Engineering Today No.181 (Issue Jan-Feb 2021)

Page 1



TURNING CHALLENGES INTO A SPECTRUM OF SOLUTIONS. POWERING GOOD FOR SUSTAINABLE ENERGY. We’re never blinded by the scale of a challenge. Uniting the talents and expertise of two pioneers, our unique perspective turns the world’s energy issues into a spectrum of solutions – leveraging our digital and energy capabilities for a stronger, smarter and greener future: www.hitachiabb-powergrids.com






EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th คณะที่ปรึกษา ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ตอตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร บรรณาธิการอํานวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรียพร วงศศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย เรืองติก พิสูจนอักษร อําพันธุ ไตรรัตน ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ ฝายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย, กัลยา ทรัพยภิรมย, วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝายผลิต ชุติมณฑน บัวผัน ฝายสมาชิก ศิรินทิพย โยธาพันธ โรงพิมพ ส เอเซียเพรส (1989) แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

อว. เผยความจริง 6 ข้อ หลังทั่วโลกฉีดวัคซีน COVID-19 แล้วกว่า 200 ล้านโดส ชี้ "ได้ผลดีเกินคาด"

นั บ เป น ข า วดี ใ นแวดวงสาธารณสุ ข ไทยและของคนไทยทั้ ง ประเทศ เมื่ อวั น ที่ 24 กุ ม ภาพั น ธ ที่ ผ  า นมา มี ก ารนํ า เข า วั ค ซี น ล็ อ ตแรก จํ า นวน 200,000 โดส จากบริษัท ซิโนแวค ไบโอเทค จํากัด จากนั้นเพียง 4 วัน อนุทนิ ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวา การกระทรวงสาธารณสุข ได ป ระเดิ ม ฉี ด วั ค ซี น ซิ โ นแวคเป น คนแรกของประเทศ ตามด ว ยรั ฐ มนตรี อีกหลายคน ทัง้ นีจ้ ะมีการฉีดวัคซีน COVID-19 ใน 3 จังหวัดแรก คือ จ.นนทบุรี ทีส่ ถาบันบําราศนราดูร จ.สมุทรสาคร ทีโ่ รงพยาบาลสมุทรสาคร และ จ.ชลบุรี ที่โรงพยาบาลชลบุรี โดยจะฉีดในกลุมเปาหมายที่มีความเสี่ยง ที่มีอายุไมเกิน 60 ป ซึง่ เปนเหตุผลสําคัญทําให พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ไมไดรับการฉีดวัคซีนชนิดนี้ ในชวงเวลากวา 2 เดือน ไดมีการฉีดวัคซีน COVID-19 แลวกวา 200 ลานโดสทัว่ โลก (26 ก.พ. 64) ซึง่ มีการเก็บขอมูลโดยละเอียดในมิตติ า งๆ ทําใหทราบผลการใชงานในสถานการณจริงพบวา “ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความปลอดภัยของวัคซีน ดีกวาที่คาดไว” โดยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ไดวิเคราะหขอมูลพรอมสรุปขอมูล การใชงานจริงที่นาสนใจไว 6 ประเด็น ดังนี้ คือ 1. ประสิทธิภาพของวัคซีน สามารถกระตุนภูมิคุมกันไดดีมาก ผูที่ไดรับวัคซีนสามารถสรางภูมิคุมกันได ในระดับสูง 2. ประสิทธิผลของวัคซีน สามารถปองกันการเกิดอาการและ ความรุนแรงจากการติดเชือ้ ไดดี โดยวัคซีนสามารถลดความรุนแรงของโรคและ ลดอัตราการเสียชีวติ ไดอยางมาก 3. ความปลอดภัยของวัคซีน วัคซีนทีใ่ ชแลว นัน้ มีความปลอดภัยสูง มีผลขางเคียงคอนขางนอย และไมพบผลขางเคียงชนิด รุนแรง 4. วัคซีนสามารถกระตุนภูมิคุมกันไดคอนขางดีหลังการฉีดเข็มแรก หลังฉีดวัคซีนเข็มแรกจะเริ่มมีภูมิคุมกัน ซึ่งอาจจะสูงเพียงพอในการปองกัน การติดเชื้อไดแลวในระดับหนึ่ง รวมทั้งพบวาการยืดเวลาการฉีดเข็มที่ 2 ออกไปทําใหการตอบสนองทางภูมิคุมกันดีขึ้นดวย 5. ความคงทนของวัคซีน สามารถเก็บและขนสงวัคซีนไดในอุณหภูมิที่สูงขึ้นได ลดขอจํากัดในการขนสง และการกระจายวัคซีนที่ตองควบคุมเปนพิเศษ และ 6. วัคซีนไดผลลดลง ตอเชื้อไวรัส COVID บางสายพันธุ โดยเฉพาะจากแอฟริกาใต จึงตองเตรียม พัฒนาวัคซีนตอเชื้อสายพันธุใหมๆ ดวย สําหรับวารสาร Engineering Today ฉบับแรกของป พ.ศ. 2564 นี้ ยังคงเกาะติดงานวิจัยรับภัย COVID-19 เริ่มจาก “คณะวิศวฯ จุฬาฯ ระดม ทัพหุนยนตปนโต-กระจก 1,200 ตัว ชวยแพทยและพยาบาลรับมือวิกฤต COVID-19 ระบาดรอบใหมทั่วประเทศ”, “ฟโบ จับมือสตารตอัป ใช AI ตรวจจับโรคบนภาพเอกซเรยปอดได 8 สภาวะโรค”, “นาโนเทค จับมือยูนซิ ลิ ตอยอดนวัตกรรมซิงกไอออนสูผลิตภัณฑฆาเชื้อ สูภัย COVID-19 ใน ราคาที่จับตองได” และคอลัมนอื่นๆ ที่นาสนใจ ติดตามไดในฉบับครับ


CONTENTS Engineering Today

January • February 2021 Vol.1 No.181

COLUMNS 8

E-Talk

อว. เผยความจริง 6 ขอ หลังทั่วโลกฉีดวัคซีน COVID-19 แลวกวา 200 ลานโดส ชี้ “ไดผลดีเกินคาด” • กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

Report 10 คณะวิศวฯ จุฬาฯ ระดมทัพหุนยนตปนโต-กระจก 1,200 ตัว

ชวยแพทยและพยาบาลรับมือวิกฤต COVID-19 ระบาดรอบใหมทั่วประเทศ

• กองบรรณาธิการ

12 ฟโบ จับมือสตารตอัป ใช AI ตรวจจับโรคบนภาพเอกซเรยปอดได 8 สภาวะโรค • กองบรรณาธิการ

19 Energy Today

สนพ. จับมือ ส.อ.ท. จัดทําฐานขอมูลการใชพลังงาน กําหนดมาตรการลดการ ปลอยกาซเรือนกระจกในอุตสาหกรรม • กองบรรณาธิการ

20 Cover Story

ชไนเดอร อิเล็คทริค เทคโนโลยีสําหรับอุตสาหกรรมแหงอนาคต • กองบรรณาธิการ

23 Innovation

นาโนเทค จับมือยูนิซิล ตอยอดนวัตกรรมซิงกไอออนสูผลิตภัณฑฆาเชื้อ สูภัย COVID-19 ในราคาที่จับตองได

10

• กองบรรณาธิการ

25 Automation

“ระบบอัตโนมัติ” หนทางสูความสําเร็จในการ Transform สูดิจิทัล • โจเซฟ การเซีย

Technology 28 สวทช. เผย 10 เทคโนโลยีพลิกโฉมธุรกิจ รับ New Normal พรอมเทรนดเทคโนโลยีอีก 3-5 ปขางหนา

• กองบรรณาธิการ

34 Virtual Twin ความสําเร็จบทใหมของโรงงานแหงอนาคต • Ying Shun Liang

37 AI

ฟูจิตสึนําปญญาประดิษฐ (AI) และ Big Data ใหบริการดูแลสุขภาพเชิงปองกัน สําหรับผูสูงอายุในเมืองอิวากิ

23

• ฟูจิตสึ

40 บทความ

หองปฏิบัติการทดสอบสภาวะการทํางานของดาวเทียมวิจัยอวกาศ และวัสดุในสภาวะสุดโตง • สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องคการมหาชน)

42 Management Tools Today

OKR’s Application : That Will Make the Difference • ดร.พรชัย องควงศสกุล

28


Report • กองบรรณาธิการ

คณะวิศวฯ จุฬาฯ

ระดมทัพหุนยนต

ปนโต-กระจก 1,200 ตั ว ชวยแพทยและพยาบาล รับมือวิกฤต COVID-19 ระบาดรอบใหมทั่วประเทศ

หุนยนต ปนโต

คณะวิศวฯ จุฬาฯ จัดสงหุนยนต “ปนโต” 200 ตัว และระบบสื่อสารทางไกล “กระจก” กวา 1,000 ตัว ชวยแพทยและพยาบาลทั่วประเทศ

คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จับมือสมาคมนิสิตเกา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริษทั HG Robotics จํากัด และบริษทั Obodroid จํากัด จัดสงหุนยนตขนสงในพื้นที่ติดเชื้อ “ปนโต” จํานวน 200 ตัว และระบบสื่อสาร ทางไกล “กระจก” กวา 1,000 ตัว ลงพื้นที่ทั่วประเทศ เพื่อชวยเหลือบุคลากร ทางการแพทยของไทย รองรับกับการระบาดรอบใหมของ COVID-19 ศ. ดร.สุพจน เตชวรสินสกุล คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย กลาววา จากการมอบหุนยนตขนสงในพื้นที่ติดเชื้อ “ปนโต” และ ระบบสือ่ สารทางไกล “กระจก” แกโรงพยาบาลตางๆ ทีต่ อ งรับหนาทีใ่ นการดูแลรักษา ผูปวยติดเชื้อ COVID-19 ในการระบาดรอบแรกนั้นพบวาไดรับการประเมินผลจาก บุคลากรทางการแพทยวาสามารถลดความเสี่ยงและเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา และดู แ ลผู  ป  ว ยติ ด เชื้ อ ได เ ป น อย า งดี ซึ่ ง ตรงต อวิ สั ย ทั ศ น แ ละพั น ธกิ จ ของคณะ วิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่มุงอุทิศองคความรูที่มีเพื่อชวยเหลือ ภาคสังคมในดานตางๆ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในสังคมไทย “การจัดสงหุนยนต “ปนโต” และระบบสื่อสารทางไกล “กระจก” ในครั้งนี้ ถู ก ส ง มอบให แ ก โ รงพยาบาลที่ ติ ด ต อ มาในโครงการ CURoboCovid จน ครบทั่วประเทศ นอกจากนี้เราไดจัดสงหุนยนตปนโต และระบบสื่อสารทางไกล “กระจก” พรอมรับกับการระบาดรอบใหมของ COVID-19 สงมอบเพิ่มเติมให โรงพยาบาลสนาม จ.สมุทรสาคร, โรงพยาบาลราชบุรี และโรงพยาบาลนครปฐม เพื่อลดความเสี่ยงและเพิ่มประสิทธิภาพดานการรักษาพยาบาลใหแกบุคลากรทาง การแพทยที่ตองดูแลผูปวย COVID-19 ปจจุบันเราไดสงมอบหุนยนต “ปนโต” รวม 200 ตัว และระบบสือ่ สารทางไกล “กระจก” กวา 1,000 ตัว ไป 140 กวาโรงพยาบาล ทั่วประเทศไทย” ศ. ดร.สุพจน เตชวรสินสกุล กลาว

หุนยนตปนโต (Quarantine Delivery Robot) หุนยนตพัฒนาเพื่อการขนสงและการสื่อสารทางไกลเพื่อชวยบุคลากรทาง การแพทยในชวงสถานการณการระบาดของ COVID-19 ไดรับการพัฒนาโดยทีม CU-RoboCovid ซึ่งเปนความรวมมือระหวางคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย Mi Workspace, HG Robotics และ Obodroid ไดรับการทดลองจริง เก็บขอมูลจากผูใชงานจริงกวา 10 โรงพยาบาล เพื่อใหตรงตามการใชงานและ ความตองการมากที่สุด

10

Engineering Today January • February 2021


ภารกิจหลักงานของหุนยนตปนโต 1 ขนสงอาหาร ยา เวชภัณฑแกคนไข โดย ใชระบบขับเคลือ่ นหุน ยนตบนรถเข็นควบคุมทางไกล ทําใหบคุ ลากรทางการแพทยเสีย่ งนอยลง ลดจํานวน ครั้งที่ตองเขาไปอยูใกลชิดผูติดเชื้อ และยังสามารถ คอยดูแลความเคลื่อนไหวของคนไขไดอยางใกลชิด 2 ชวยในการสื่อสารระยะไกล ดวยหนาจอ ที่ติดอยูบริเวณรถเข็นควบคุมทางไกล ทําใหแพทย และพยาบาลสามารถดูแลคนไขไดตลอด ซึง่ ระบบนี้ จะช ว ยลดทั้ ง อุ ป กรณ ก ารแพทย ที่ ต  อ งทิ้ ง ทุ ก ครั้ ง เมื่ อ เปลี่ ย นโซนการตรวจและลดระยะเวลาการ เขาใกลชดิ ผูต ดิ เชือ้ ลดความเสีย่ ง เพิม่ ประสิทธิภาพ และยังคงดูแลอยางดี

ระบบสื่อสารทางไกล “กระจก” (Quarantine Tele-presence System) เปนระบบผูชวยบุคลากรทางการแพทยสูภัย COVID-19 เสมือนกระจกทีแ่ สดงภาพและเสียงบุคคล ในการสื่อสารกัน คุณหมอและพยาบาลสามารถ ติดตอสื่อสารและสังเกตอาการของผูปวยได โดย ไมจําเปนตองเขาไปใกลผูปวยในหอผูปวย ลดอัตรา การเสี่ยงติดเชื้อจากการตองเขาไปในหอผูปวยเปน ระยะเวลานานๆ หรือมากเกินไป ลดจํานวนอุปกรณ การแพทยบางสวน ในการเขาไปใหบริการคนไข ในแตละโซน จะตองทําการเปลี่ยนชุด PPE และ อุ ป กรณ อื่ น ๆ จํ า นวนมาก ทั้ ง ยั ง ช ว ยเพิ่ ม ประสิทธิภาพการทํางาน มีเวลาในการดูแลผูปวย มากขึ้ น และบ อ ยขึ้ น ที่ สํ า คั ญ ยั ง ช ว ยลดความ กั ง วลของเจ า หน า ที่ แ ละผู  ป  ว ยลงได อ ย า งมาก “ปนโต” และ ”กระจก” สามารถทําความสะอาด ฆ า เชื้ อ ได ติ ด ตั้ ง ได เ อง ไม ต  อ งติ ด ตั้ ง ระบบใดๆ เพิ่มเติม เคลื่อนยายงาย ใชงานไดงายทันที

หุนยนตปนโต กับ 2 ภารกิจหลัก ขนสงอาหาร ยา เวชภัณฑแกคนไข และชวยในการสื่อสารระยะไกล

ศ. ดร.สุพจน เตชวรสินสกุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Engineering Today January • February 2021

11


Report • กองบรรณาธิการ

ฟโบ จับมือ สตาร ต อั ป ใช AI ตรวจจับโรค บนภาพเอกซเรยปอด ได 8 สภาวะโรค ชวยใหเขาถึงบริการเทียบเทาแพทยรังสี ไดทุกที่ ทุกเวลา แม ในพื้นที่หางไกล

12

Engineering Today January • February 2021

เปนที่ทราบกันดีวาโรคเกี่ยวกับปอด เชน โรคมะเร็งปอด วัณโรค ปอดอักเสบ เปนกลุม โรคทีต่ ดิ อันดับทําใหคนไทยเสียชีวติ มากที่ สุ ด ซึ่ ง ส ว นใหญ ผู  ที่ ป  ว ยด ว ยโรคเหล า นี้ จ ะได รั บ การ ตรวจวินจิ ฉัยหรือพบโรคชา ปจจุบนั การคัดกรองโรคดวยภาพถาย เอกซเรยทรวงอกเปนวิธีการที่สะดวก ตนทุนถูก และปลอดภัย ที่สุด แตการวินิจฉัยโรคปอดจากภาพถายเอกซเรยใหไดความ แมนยําสูงนั้น จะตองอาศัยความเชี่ยวชาญของแพทยรังสีวินิจฉัย เฉพาะทาง ซึ่งขาดแคลนอยางมาก ขณะเดียวกันโรงพยาบาล ในตางจังหวัดขนาดเล็กสวนใหญไมมีแพทยรังสี

ระบบ Inspectra CXR ถูกสรางขึ้นเพื่อตอบโจทยความตองการนี้ โดย Inspectra CXR เป น ระบบป ญ ญาประดิ ษ ฐ ที่ ช  ว ยเหลื อ แพทย ต รวจจั บ ความผิดปกติจากภาพถายรังสีทรวงอก เพือ่ ใหทกุ คนสามารถเขาถึง บริการเทียบเทาของรังสีแพทยผูเชี่ยวชาญไดทุกที่ ทุกเวลา แมจะ อยูในพื้นที่หางไกล โครงการดังกลาวเปนความรวมมือระหวาง สถาบันวิทยาการหุนยนตภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) กับ บริษัท เพอเซ็ปทรา จํากัด สตารตอัป ผูลงทุนทํา Inspectra Cloud Platform เพื่อ เชือ่ มตอกับโรงพยาบาลทัว่ ประเทศ ซึง่ ใชเวลาในการพัฒนาระบบ ประมาณ 1.5 ป โดยคาดวาโรงพยาบาลทั่วประเทศจะเริ่มใช ระบบนี้ไดในตนป พ.ศ. 2564 นี้


ดร.วราสิณี ฉายแสงมงคล อาจารยประจําสถาบันวิทยาการหุนยนต ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.)

ดร.วราสิณี ฉายแสงมงคล อาจารยประจําสถาบันวิทยาการหุนยนต ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) กลาววา ระบบปญญาประดิษฐของ Inspectra CXR สามารถคัดกรอง ความผิดปกติทพี่ บทัว่ ไปในภาพถายรังสีทรวงอกไดถงึ 8 สภาวะ แพทยผใู ชงาน สามารถเขาถึงไดผานหนาจอของแพทยโดยไมตองเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการ ทํางาน หรือสามารถเขาถึงไดผานเว็บแอปพลิเคชันบนมือถือ หรือแทบเล็ต ทีม่ รี ะบบการรักษาความปลอดภัยสูง ทําใหโรงพยาบาลทีข่ าดแคลนรังสีแพทย สามารถเขาถึงบริการแพทยผเู ชีย่ วชาญไดมากขึน้ ชวยใหมโี อกาสการตรวจพบ ความผิดปกติของปอดในระยะเริ่มตนสูงมากขึ้น

“ระบบปญญาประดิษฐ (AI) ไมไดมาแทน แพทย แตเปนผูชวยแพทยใหมีขอมูลเพิ่มขึ้นในการ ตัดสินใจ การวินิจฉัยยังอยูที่แพทย แต AI จะชวย แพทยอา นผลไดรวดเร็วขึน้ ลดการวินจิ ฉัยผิดพลาด และชวยลดงานไดมาก” ดร.วราสิณี กลาว การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ นี้ มี ค วามร ว มมื อ กั บ โรงเรี ย นแพทย องค ก รภาครั ฐ และเอกชนอี ก หลายแหง สําหรับองคกรการแพทยที่ชวยพัฒนา องค ความรู  ใ นระบบนี้ เ ป น หลั ก ได แ ก ภาควิ ช า รั ง สี วิ ท ยา คณะแพทยศาสตร ศิ ริ ร าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล โดยเฉพาะ รศ. นพ.ตรงธรรม ทองดี อาจารยแพทยจากแผนกรังสีวิทยา คณะ แพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ ใ ห ก ารสนั บ สนุ น เรื่ อ งข อ มู ล และมี รั ง สี แ พทย ผูเ ชีย่ วชาญทีถ่ อดประสบการณมาใสใน AI นอกจากนี้ ยังมีโรงพยาบาลขนาดใหญ กลาง และเล็กทัว่ ประเทศ กวา 30 แหง ที่เขารวมทดลองใชระบบนี้ “ขอมูลจากการวิจัยเราพบวาปญญาประดิษฐ (AI) ชวยลดเวลาการอานผลเอกซเรยทรวงอกของ รังสีแพทยได 40% นอกจากนี้ในโรงพยาบาลที่ไมมี รังสีแพทย ระบบ AI ก็จะมาชวยเปนความคิดเห็น ที่ 2 หรือ Second Opinion ได สําหรับรถโมบาย ตรวจสุขภาพ หรือตรวจคัดกรองวัณโรคที่มีเคสโรค จํานวนมาก ระบบ AI จะชวยคัดกรองวัณโรคไดกอ น ในขณะเดี ย วกั น สํ า หรั บ ห อ งฉุ ก เฉิ น ที่ ต  อ งการ ความรวดเร็วในการคัดกรองสภาวะเรงดวน ระบบ Inspectra CXR ที่เปดใหบริการตลอด 24 ชั่วโมง ก็จะเขามาชวยไดเชนกัน” ดร.วราสิณี กลาว หลั ก การทํ า งานของป ญ ญาประดิ ษ ฐ ข อง โครงการนี้ เ ป น ลั ก ษณะ Deep Learning คื อ Convolutional Neural Networks ที่เปนที่นิยม ในการใชประมวลผลภาพ โดยใชปญญาประดิษฐ มาทํางานรวมกันหลายตัวเพื่อใหสามารถตรวจจับ รอยโรคและช ว ยแพทย ไ ด อ ย า งครอบคลุ ม เช น ป ญ ญาประดิ ษ ฐ ที่ ทํ า หน า ที่ จํ า แนกภาพว า มี รอยโรคอะไรบาง เมื่อพบรอยโรคจะทําการไฮไลต เพื่อใหแพทยสามารถสังเกตเห็นไดงายขึ้น อีกทั้ง ยังทําการคํานวณอัตราสวนระหวางปอดและหัวใจ เพื่อตรวจวัดสภาวะหัวใจโตไดโดยอัตโนมัติ และ คิ ด คํ า นวณความมั่ น ใจในการแสดงผลของแต ล ะ รอยโรค รวมถึงมีปญ  ญาประดิษฐตวั อืน่ ๆ ทีส่ นับสนุน การทํางานของระบบ เชน การประมวลผลภาษา ธรรมชาติในรายงานของรังสีแพทย เปนตน Engineering Today January • February 2021

13


“ปญญาประดิษฐตัวเดียวไมเพียงพอตอการใชงานที่ซับซอนอยางงาน ทางการแพทย จําเปนตองพัฒนาและเพิ่มเติมอีกหลายฟเจอรเพื่อเพิ่มความ แมนยําของระบบ เชน การคัดกรองวัณโรค AI ตองคํานวณคะแนนความ ผิดปกติออกมาอยางแมนยํา โดยดูจากสถิตปิ ระชากรประกอบดวย หรือการฝก และใหขอมูลกับ AI ไปไฮไลตจุดตางๆ ที่พบรอยโรค หรือ AI ที่ชวยคัด ภาพเสีย และ AI ที่อานโรคที่เฉพาะเจาะจง เชน โรคปอดแฟบ เปนตน” ดร.วราสิณี กลาว

ดร.วราสิณี กลาววา ในมุมของการพัฒนา ผลิ ต ภั ณ ฑ ใ ห เ ป น ที่ ย อมรั บ ช ว งแรกก็ มี ช  อ งว า ง ในเรื่องของความคาดหวังบาง เนื่องจากหลายคน อาจจะไมเขาใจวาปญญาประดิษฐในปจจุบนั เปนแค เครื่องมือชวยแพทยเทานั้น ยังไมสามารถทําหนาที่ แทนแพทยได แตจากการทดสอบใชงานจริงของ โรงพยาบาลผูใชงานระบบ Inspectra CXR พบวา ระบบสามารถมาช ว ยงานแพทย ไ ด จริ ง ในหลาย รูปแบบ ไมวาจะชวยจัดลําดับความสําคัญของงาน และชวยปองกันการแพรกระจายของโรคในเชิงรุก สํ า หรั บ ความแม น ยํ า ในการตรวจจั บ โรค โดยรวมอยูที่ประมาณ 90% มีงานวิจัยเชิงสถิติ ที่รองรับวาผลของระบบไดผานการทดสอบแบบ ครอบคลุมและระมัดระวังแลว ทําใหระบบนี้ไดรับ การยอมรับจากรังสีแพทยวา ชวยใหสามารถอานภาพ เอกซเรยไดเร็วขึ้น และแมนยําขึ้นจริง “ระบบปญญาประดิษฐ ศูนยกลางจะอยูบน คลาวด ทําใหโรงพยาบาลทัว่ ประเทศสามารถสงภาพ เขามาไดผา นทางแอปพลิเคชัน หรือบางโรงพยาบาล จะเก็ บ ภาพเอกซเรย เ ข า มาในระบบบนคลาวด การประมวลผลแบบศูนยกลางทําใหเราสามารถให บริการอานภาพไดในราคาทีท่ กุ โรงพยาบาลเขาถึงได และสามารถวิเคราะหภาพไดทุกที่ที่มีอินเทอรเน็ต ดวยความเร็วประมาณภาพละ 2 วินาที ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั ความเร็วของอินเทอรเน็ตดวย” ดร.วราสิณี กลาว ในเรื่องความปลอดภัยและความเปนสวนตัว เนื่ อ งจากระบบคลาวด มี ม าตรฐานสากลกํ า กั บ อยูแลว เชน การทํา Encryption ระหวางการสง ขอมูลและตอนที่เก็บขอมูลในระบบคลาวด มีการ จํ า กั ด สิ ท ธิ์ ก ารดู ภ าพให เ ฉพาะบุ ค ลากรที่ ไ ด รั บ อนุญาตจากโรงพยาบาลเจาของขอมูลเทานั้น เพื่อ ปองกันการโจรกรรมขอมูลและปกปองความเปน สวนตัวของคนไข

ระบบนี้ อ ยู  ร ะหว า งดํ า เนิ น การเชื่ อ มต อ ให ไ ด ทั่วประเทศ ซึ่งในตนป พ.ศ. 2564 จะมีการทํา ตลาดในเชิ ง พาณิ ช ย อ ย า งเต็ ม รู ป แบบ และมี แผนที่จะขยายบริการไปยังประเทศแถบเอเชีย ตะวั น ออกเฉี ย งใต ที่ ป ระสบป ญ หาขาดแคลน บุคลากรเชนเดียวกัน ซึง่ ปจจุบนั ไดมโี รงพยาบาล ในหลายประเทศสนใจและทดลองใชแลว โดยมี คาใชจายเปนรายเดือนตํ่ากวาการจางแพทย รังสี 2-3 เทา

14

Engineering Today January • February 2021






Energy Today • กองบรรณาธิการ

สนพ. จับมือ ส.อ.ท. จัดท�ำฐานข้อมูลการใช้พลังงาน ก�ำหนดมาตรการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกในอุตสาหกรรม

วัฒนพงษ์ คุโรวาท ผู้อ�ำนวยการ สนพ. ลงนาม MOU กับ สุพันธุ์ มงคลสุธี ประธาน ส.อ.ท. ในการ จัดท�ำฐานข้อมูล การใช้พลังงานฯ

วัฒนพงษ์ คุโรวาท ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน และ สุพันธุ์ มงคลสุธี ประธานสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการเชือ่ มโยง ข้อมูลสารสนเทศโดยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของภาคอุตสาหกรรมในประเทศไทย หวังสร้าง ฐานข้ อ มู ล การใช้ พ ลั ง งานของสมาชิ ก สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย เพื่อก�ำหนดมาตรการที่เหมาะสมในการส่งเสริมศักยภาพของผู้ประกอบการ ภาคอุตสาหกรรมและสมาชิกสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในการลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้สอดคล้องกับนโยบายการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ของประเทศ สุพันธุ์ มงคลสุธี ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า สภาอุตสาหกรรมฯ ตระหนักถึงปัญหาภาวะโลกร้อนในปัจจุบนั สาเหตุ เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มขึ้นจากการท�ำกิจกรรมต่างๆ ของ มนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการเผาเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าและการเผาเชื้อเพลิงใน ภาคขนส่ ง ดั ง นั้ น สภาอุ ต สาหกรรมฯ จึ ง ได้ ด� ำ เนิ น งานด้ า นการส่ ง เสริ ม และสนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของภาคอุตสาหกรรมมา โดยตลอด ซึ่งได้มีการแต่งตั้ง “คณะท�ำงานส่งเสริมและสนับสนุนการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกของภาคอุตสาหกรรม” ขึ้นมาเพื่อร่วมก�ำหนดแนวทาง การด� ำ เนิ น งานที่ เ หมาะสมในการส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพของผู ้ ป ระกอบการ ภาคอุตสาหกรรมและสมาชิกสภาอุตสาหกรรมฯ ให้เกิดการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกอย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบาย การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศ การด�ำเนินการดังกล่าวมีความจ�ำเป็นต้องจัดท�ำฐานข้อมูล (Database) การใช้ พ ลั ง งานของผู ้ ป ระกอบการภาคอุ ต สาหกรรมที่ เ ป็ น สมาชิ ก สภา อุ ต สาหกรรมฯ เพื่ อ ทราบถึ ง ข้ อ มู ล การใช้ พ ลั ง งาน ปริ ม าณการปล่ อ ย ก๊าซเรือนกระจก สามารถก�ำหนดเป้าหมายในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ให้บรรลุวัตถุประสงค์และสามารถน�ำข้อมูลดังกล่าวมาวางแผนการพัฒนา อุตสาหกรรมของประเทศไทย ภายใต้ความร่วมมือระหว่างสภาอุตสาหกรรมฯ กับส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ด้าน วัฒนพงษ์ คุโรวาท ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานนโยบายและแผน พลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน กล่าวว่า สนพ. ได้รับมอบหมายจาก กระทรวงพลั ง งานให้ เ ป็ น หน่ ว ยประสานงานในการด� ำ เนิ น งานรายงาน การติดตามประเมิน ผลการลดก๊าซเรือนกระจกจากมาตรการพลังงาน ตาม เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยภายใต้การมีส่วนร่วมที่ ประเทศก�ำหนด (Nationally Determined Contribution : NDC) ฉบับปรับปรุง ของประเทศไทย (Thailand’s Updated NDC) ซึ่งได้ก�ำหนดเป้าหมาย ลดก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 20-25 จากปริมาณการปล่อยในกรณีปกติภายใน

ปี พ.ศ. 2573 ซึง่ ผลการลดก๊าซเรือนกระจกดังกล่าว จะสอดคล้องกับมาตรการพัฒนาพลังงานทดแทน และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน รวมถึง การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานในสาขาอุ ต สาหกรรมที่ เ ป็ น สาขาเศรษฐกิจหลักทีม่ ศี กั ยภาพการอนุรกั ษ์พลังงาน สูงเป็นอันดับหนึ่ง นอกจากนี้ สนพ. ยังได้รับมอบหมายให้จัดตั้ง ศูนย์สารสนเทศพลังงานแห่งชาติ หรือ National Energy Information Center (NEIC) ซึง่ จะท�ำหน้าที่ เป็นหน่วยงานให้บริการข้อมูลด้านพลังงาน และ พัฒนาระบบข้อมูลพลังงานของประเทศ (Big Data) ให้เกิดการบูรณาการเชือ่ มโยงข้อมูลจากทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องด้านพลังงานให้อยู่ภายใต้ระบบเดียวกัน และเป็นหน่วยงานหลักในการน�ำข้อมูลด้านพลังงาน มาวิเคราะห์เพื่อยกระดับการสื่อสารกับหน่วยงาน สื่อสารมวลชน และภาคประชาชน รวมถึงการใช้ ประโยชน์ในด้านการก�ำหนดนโยบาย การก�ำกับดูแล และการสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องพลังงาน ของสังคมให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ “การด�ำเนินงานภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือ ฉบับนี้ ถือเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาระบบข้อมูล พลั ง งานของภาคอุ ต สาหกรรมของประเทศไทย ซึ่งจะช่วยสนับสนุนการด�ำเนินงานตามภารกิจของ ศูนย์สารสนเทศพลังงานแห่งชาติ และภารกิจด้าน การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศของกระทรวง พลังงาน รวมถึงภารกิจในการบริหารนโยบายด้าน พลังงานของประเทศ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการ ก�ำหนดนโยบายและมาตรการการลดการใช้พลังงาน และการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกใน ภาคอุตสาหกรรม อีกทั้งการมีส่วนช่วยส่งเสริมและ เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันด้านอุตสาหกรรมของ ประเทศไทยต่อไป” ผู้อ�ำนวยการ สนพ. กล่าว Engineering Today January • February 2021

19


Cover Story • กองบรรณาธิการ

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เทคโนโลยีส�ำหรับ อุตสาหกรรม แห่งอนาคต ทุ ก วั น นี้ การแพร่ ร ะบาดของ เชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ได้ส่ง ผลกระทบต่อเศรษฐกิจทั่ว โลก โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง ภาคอุ ต สาหกรรมใน ภู มิ ภ าคเอเชี ย การปฏิ รู ป สู ่ ดิ จิ ทั ล สามารถตอบโจทย์ความต้องการของ ธุรกิจในแวดวงอุตสาหกรรม เพื่อช่วย ประคับประคองให้ธุรกิจอยู่รอด โดย เข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการปรับปรุง กระบวนการผลิ ต ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพิ่มมากขึ้น น�ำไปสู่การเพิ่ม ผลผลิต เพิ่มยอดขายและสร้างผลก�ำไร ซึ่งจะ ช่ ว ยเพิ่ ม ส่ ว นแบ่ ง ทางการตลาดได้ ในที่ สุ ด อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถจั ด การ และควบคุ ม กระบวนการผลิ ต ได้ ใ น ระยะไกล เนื่ อ งจากมี ก ารเชื่ อ มต่ อ อุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ผ่านระบบ เครื อ ข่ า ย ช่ ว ยลดค่ า ใช้ จ ่ า ยในการ ซ่ อ มบ� ำ รุ ง และปฏิ บั ติ ก าร และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการเฝ้ า ติ ด ตาม กระบวนการผลิต

20

Engineering Today January • February 2021

สเตฟาน นู ส ส์ ประธานกลุ ่ ม คลั ส เตอร์ ดู แ ลประเทศไทย ลาว และเมียนมา ชไนเดอร์ อิเล็คทริค กล่าวว่า การเพิ่มประสิทธิภาพในการ ผลิตนับเป็นเรื่องที่ท้าทายส�ำหรับภาคอุตสาหกรรม โดยการเกิดขึ้นของวิกฤต COVID-19 ส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรมต้องมองหาแนวทางและวิธีการใหม่ๆ ในการลดต้นทุน โดยการพัฒนาธุรกิจและกระบวนการต่างๆ สู่ดิจิทัล เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมากขึ้น ซึ่งเทคโนโลยีดิจิทัลนี้จะสนับสนุนให้มีการ เชื่อมโยงระบบเครือข่ายในซัพพลายเชนมากขึ้น สามารถกระจายสินค้าได้ มากขึ้น ขณะเดียวกันยังช่วยลดต้นทุนการขนส่ง และต้นทุนทางธุรกรรม ช่วยเพิม่ ความต้องการของผูบ้ ริโภค อีกทัง้ เปลีย่ นซัพพลายเชนในการผลิต และ เปิดทางไปสู่การเงินแบบดิจิทัล ซึ่งจะเป็นโอกาสใหม่ครั้งใหญ่ส�ำหรับธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมด้านอุตสาหกรรม


การพั ฒนาเข้ า สู ่ ดิ จิ ทั ล ท� ำ ให้ อุ ต สาหกรรม การผลิ ต ในภู มิ ภ าคเอเชี ย แข่ ง ขั น กั น ได้ ม ากขึ้ น แต่จากรายงานของ LNS Research พบว่า 54% ขององค์ ก รยั ง เป็ น “ผู ้ ต าม” ซึ่ ง หมายความว่ า บริษัทเหล่านั้นได้เริ่มปรับเปลี่ยนไปสู่ Industrial Transformation ในช่วงแรกๆ แต่ยังไม่ก้าวหน้า หรือประสบผลส�ำเร็จมากเท่าไรนัก โดยมีบริษทั เพียง 30% เท่านัน้ ทีไ่ ด้รบั การพิจารณาว่าเป็น “ผูน้ ำ� ” ด้าน Industrial Transformation ทั้งนี้ ภูมิภาคเอเชีย ได้การยอมรับให้เป็นศูนย์กลาง (Hub) การผลิตของ โลก และขับเคลื่อนตลาด Industrial Internet of Things (IIoT) อย่างแข็งแกร่ง ที่เราเรียกกันว่าการ ปฏิวัติอุตสาหกรรม ครั้งที่ 4 หรืออุตสาหกรรม 4.0 สเตฟาน นู ส ส์ กล่ า วว่ า “Industrial Automation ได้เปลี่ยนโฉมโลกอย่างรวดเร็ว บริษัท อุตสาหกรรมต่างต้องการที่จะสร้างความได้เปรียบ ทางการแข่ ง ขั น โดยให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การใช้ นวั ต กรรม เพื่ อ ส่ ง ผลต่ อ การเติ บ โตของธุ ร กิ จ ใน อนาคต โดยเฉพาะอย่างยิง่ ตลาดสินค้าอุตสาหกรรม” ทั้งนี้ อุตสาหกรรมในอนาคต คือ การเพิ่ม ประสิทธิภาพในภาคอุตสาหกรรม หรือความยืดหยุน่

เพือ่ การประสบความส�ำเร็จอย่างยัง่ ยืน ซึง่ ต้องการการขับเคลือ่ น ที่ ชั ด เจน และปรั บ เปลี่ ย นไปตามขั้ น ตอน โดยใช้ เ ทคโนโลยี นวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง และจัดหาโซลูชันที่สามารถดูภาพรวมของ กระบวนการหรือธุรกิจได้ในแบบเรียลไทม์ ช่วยให้ธรุ กิจขับเคลือ่ น ไปสู่ความยั่งยืนที่ดีกว่า ทั้งในเรื่องของการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิต ความคล่องตัวและผลก�ำไรจากการด�ำเนินธุรกิจ สเตฟาน นูสส์ กล่าวต่อว่า “ปัจจัยสู่ความส�ำเร็จของ อุ ต สาหกรรมแห่ ง อนาคต อยู ่ ภ ายใต้ พื้ น ฐานเทคโนโลยี ก าร ออกแบบโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งจะต้องรวมทั้ง 3 สิ่งนี้เข้าด้วยกัน ประกอบด้วย 1 การขับเคลื่อนข้อมูลผ่าน Software-based Automation ของโรงงานอัจฉริยะ ซึง่ ผูบ้ ริหารในโรงงานต้องตระหนักถึง การจัดล�ำดับความส�ำคัญในการลงทุน ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับนวัตกรรม ซอฟต์แวร์และบริการที่สามารถเปิดใช้งานร่วมกันได้ พร้อมทั้ง ต้องวิเคราะห์ขอ้ มูลได้มากกว่าระบบฮาร์ดแวร์แบบเดิม จึงจะช่วย ในการประหยัดค่าใช้จ่าย และลดเวลาในการออกผลิตภัณฑ์ สู่ตลาด ด้วยการใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Digital Twins เพื่อสร้าง สถานการณ์จำ� ลองโดยไม่ตอ้ งลงทุนฮาร์ดแวร์ สามารถตรวจสอบ ความถูกต้องและพิสูจน์แนวคิดว่าท�ำได้จริงหรือไม่ 2 ระบบเปิดอย่างแท้จริง ในทุกวันนี้ ระบบ Automation ที่มีอยู่ยังเปิดไม่มากพอ ซึ่งในโลกธุรกิจในทุกวันนี้ สภาพตลาด

Engineering Today January • February 2021

21


มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว อยู ่ ต ลอดเวลา พนักงานในภาคอุตสาหกรรมต้องการระบบเปิดแบบ โมดูลาร์ที่สามารถท�ำงานร่วมกันได้ และช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการท�ำงานที่ยืดหยุ่น พร้อมเพิ่ม ความเร็วเพื่อให้งานบรรลุผล ซึ่งเป็นสภาพแวดล้อม ที่เกิดจากแนวคิด “Universal” ที่ต้องการผลักดันให้ ระบบ Automation ก้าวสู่ Universal Automation ซึ่ ง เป็ น ซอฟต์แวร์ร ะบบเปิดที่ไ ม่จ�ำกัดค่า ยของผู้ จ�ำหน่าย แต่ขนึ้ อยูก่ บั มาตรฐานของแต่ละระบบ โดย Universal Automation มีความสามารถในการ ท�ำงานร่วมกันทีด่ กี ว่า พร้อมขับเคลือ่ นกระบวนการ ต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ให้ความยืดหยุ่น เรียลไทม์ เพื่อก้าวสู่อุตสาหกรรมที่ยั่งยืน 3 การบู ร ณาการพลั ง งานและระบบ Automation ท�ำให้สามารถมองเห็นและควบคุม ประสิ ท ธิ ภ าพในแบบเรี ย ลไทม์ ท� ำ ให้ ผู ้ ค วบคุ ม โรงงานและวิศวกรสามารถเห็น ผลกระทบด้วยการ วิเคราะห์ ทั้งเรื่องของก�ำไรและความยั่งยืนในทุกๆ ระยะในอีโคซิสเต็มส์ของโรงงาน ซึง่ จากประสบการณ์ ในธุรกิจของเรา ระบุว่าการบูรณาการพลังงานและ ระบบ Automation เข้าด้วยกันจะช่วยลดค่าใช้จ่าย ในการลงทุนในโครงการโดยเฉลี่ย 15 เปอร์เซ็นต์

22

Engineering Today January • February 2021

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค กับโซลูชันส�ำหรับ ภาคธุรกิจที่ต้องการพัฒนาสู่ดิจิทัล ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ในฐานะผูน้ ำ� ด้านดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชัน ในการจัดการพลังงานและระบบออโตเมชัน แบรนด์ยักษ์ใหญ่ ระดั บ โลก ที่ ล ่ า สุ ด ขึ้ น แท่ น ได้ รั บ การยกย่ อ งว่ า เป็ น เบอร์ 1 ของเป็นบริษัทที่ยั่งยืนที่สุดในโลก ซึ่งแบรนด์นี้มีโซลูชันส�ำหรับ ภาคธุรกิจที่ต้องการพัฒนาเข้าสู่ดิจิทัล ด้วยสถาปัตยกรรมและ แพลตฟอร์ม EcoStruxure มีความสามารถด้าน IoT ในรูปแบบ เปิด สามารถเชื่อมต่อกับผลิตภัณฑ์ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แบบไม่จ�ำกัดค่าย ครอบคลุมครบทุกอุตสาหกรรม ผู้ใช้งาน สามารถวิเคราะห์ข้อมูล มอนิเตอร์ ควบคุมได้ในแบบไร้สาย และเรี ย ลไทม์ ให้ ค วามคล่ อ งตั ว ยื ด หยุ ่ น ในทุ ก สถานการณ์ สามารถคาดการณ์แนวโน้มการซ่อมบ�ำรุงได้ ช่วยลดการปิดระบบ อย่างไม่ทันตั้งตัวของกระบวนการ และช่วยให้ธุรกิจยั่งยืนได้ ในอนาคต เพือ่ การแข่งขันในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เป็นมากกว่าบริษัทเทคโนโลยี เป็น ทั้งผู้บุกเบิก ผู้สร้างความเปลี่ยนแปลง รวมทั้งมีบทบาทส�ำคัญ ในการน�ำเสนอโซลูชันส�ำหรับอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งชไนเดอร์ อิเล็คทริค เป็นเจ้าของและด�ำเนินการโรงงาน 200 แห่งและ ศูนย์กระจายสินค้าอีก 100 แห่งทั่วโลก โดยได้น�ำเทคโนโลยี และบริ ก ารของตนเองมาใช้ ที่ ไ ซต์ ข องตั ว เอง นอกจากนี้ สภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum; WEF) ยังได้ ยกย่องให้ Schneider Smart Factories 5 แห่ง เป็นประภาคาร แห่งการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 อีกด้วย


Innovation • กองบรรณาธิการ

นาโนเทค จัต่อบยอดนวั มือตกรรมซิ ยูนิซงก์ิลไอออน สู่ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อ สู้ภัย COVID-19 ในราคาที่จับต้องได้ บริษัท ยูนิซิล กรุ๊ป จ�ำกัด ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ รับถ่ายทอด เทคโนโลยี “ซิงก์ไอออน” จาก ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ ส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) พัฒนาผลิตภัณฑ์ ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคจากธรรมชาติ ก่อนขยายสู่สารฆ่าเชื้อไวรัสและ แบคทีเรียจากซิงก์ไอออน ตอบความต้องการใช้งานในวิกฤตโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 ตั้งเป้าดันแบรนด์ไทยเทียบเท่า สินค้าน�ำเข้าในราคาที่จับต้องได้ ธนากร ตั้งเมธากุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิซิล กรุ๊ป จ�ำกัด เจ้ า ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ บนไซออน (Benzion) สารฆ่ า เชื้ อ ไวรั ส และ แบคทีเรียจากซิงก์ไอออน กล่าวว่า ผลงานดังกล่าวเป็นการต่อยอด เทคโนโลยีทรี่ บั ถ่ายทอดมาจากงานวิจยั ของศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) ส� ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เนื่องจากบริษัทฯ สนใจในกลุ่มแร่ธาตุอาหารเสริมที่สามารถ ฆ่าเชื้อได้ เพราะในท้องตลาดปัจจุบัน สารฆ่าเชื้อที่มีประสิทธิภาพสูง จะต้องน�ำเข้ามาจากต่างประเทศ ในราคาที่สูง หรือหากมีแร่ธาตุสูง

ก็ มี ค วามเป็ น พิ ษ สู ง ตามไปด้ ว ย หรื อ หากความ เป็ น พิ ษ ต�่ ำ ประสิ ท ธิ ภ าพก็ ไ ม่ สู ง เท่ า ที่ ต ้ อ งการ หรืออาจไม่ครอบคลุมเชื้อทั้งหมด จนได้ทราบว่า ทางนาโนเทคมีงานวิจัยทางด้านนี้ จึงเข้ามาพูดคุย ปรึ ก ษา จนเกิ ด เป็ น โครงการวิ จั ย ข้ า งต้ น ในปี พ.ศ. 2561 ดร.วรายุทธ สะโจมแสง นักวิจัยจากทีมวิจัย นาโนเทคโนโลยีเพือ่ สิง่ เเวดล้อม กลุม่ วิจยั วัสดุผสม และการเคลือบนาโน ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า โครงการวิจยั “การพัฒนา กระบวนการผลิ ต ซิ ง ก์ ไ อออนส� ำ หรั บ ยั บ ยั้ ง เชื้อแบคทีเรีย” เป็นโครงการย่อยภายใต้โครงการ แผนบูรณาการยุทธศาสตร์เป้าหมาย (Spearhead) ร่วมกับ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ แห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช. โดยน�ำแร่ธาตุอาหาร เสริมอย่างซิงก์ (Zinc) ซึ่งโดยปกติมีสมบัติฆ่าเชื้อ จุ ลิ น ทรี ย ์ ก ่ อ โรคได้ แต่ ป ระสิ ท ธิ ภ าพนั้ น ไม่ ดี นั ก มาเพิ่มประสิทธิภาพด้วยการเติมสารคีเลตและสาร เสริมความคงตัว เช่น พอลิแซคคาร์ไรด์ กรดอะมิโน กรดไขมัน กรดอินทรีย์และสารลดแรงตึงผิว เป็น การเสริมประสิทธิภาพให้มากขึ้นเป็นเท่าตัว และ ใช้ ไ ด้ ใ นปริ ม าณที่ น ้ อ ยลง สู ่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ท างเลื อ ก ทดแทนยาปฏิชีวนะ ทดสอบใช้ในฟาร์มหมูได้ผลดี ทั้งนี้ ยูนิซิล กรุ๊ป ได้รับถ่ายทอดเทคโนโลยี และต่อยอดเชิงพาณิชย์ เปิดตลาดอุตสาหกรรม ปศุสตั ว์ โดยนวัตกรรมซิงก์ไอออนสามารถแก้ปญ ั หา เชือ้ แบคทีเรียและไวรัสทีม่ ผี ลกระทบต่ออุตสาหกรรม ปศุ สั ต ว์ ไ ด้ อาทิ เชื้ อ ไวรั ส อหิ ว าต์ สุ ก รอั ฟ ริ กั น (African swine fever virus, ASFV) และโรคพีอดี ี (porcine epidemic diarrhea, PED) ทีน่ วัตกรรมนี้ ตอบโจทย์ โดยสามารถน�ำไปฆ่าและป้องกันเชื้อ ไวรัสอหิวาต์สุกรอัฟริกันได้ ตอบโจทย์อุตสาหกรรม การเลี้ ย งสุ ก ร ซึ่ ง มี มู ล ค่ า ตลาดรวม 74,600 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2562 หากไม่มีการป้องกัน เชื้อดังกล่าว จะท�ำให้สุกรเสียชีวิตมากกว่า 50% และยังสร้างผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมและธุรกิจ ที่เกี่ยวเนื่องอย่างมหาศาล ด้วยจุดแข็งด้านนาโนเทคโนโลยี ท�ำให้ธนากร มองว่ า ซิ ง ก์ ไ อออนจากธรรมชาติ มี โ อกาสทาง

ผลิตภัณฑ์เบนไซออน (Benzion) สารฆ่าเชื้อไวรัสและแบคทีเรียจากซิงก์ ไอออน

Engineering Today January • February 2021

23


ดร.วรายุทธ สะโจมแสง นักวิจัยจากทีมวิจัยนาโนเทคโนโลยีเพื่อสิ่งเเวดล้อม กลุ่มวิจัยวัสดุผสมและการเคลือบนาโน นาโนเทค

การตลาดสูง จึงมองเห็นโอกาสทีจ่ ะต่อยอดสูผ่ ลิตภัณฑ์ฆา่ เชือ้ ทีม่ ากกว่า แค่ อุ ต สาหกรรมปศุ สั ต ว์ จึ ง เริ่ ม ต่ อ ยอดสู ่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ “เบนไซออน (Benzion)” ซึง่ เป็นสารฆ่าเชือ้ ไวรัสและแบคทีเรียจากซิงก์ไอออนร่วมกับ สารลดแรงตึ ง ผิ ว ที่ ส� ำ นั ก งานปกป้ อ งสิ่ ง แวดล้ อ มหรื อ อี พี เ อ (U.S. Environmental Protection Agency : EPA) แนะน�ำว่า เป็นสารที่ สามารถฆ่าเชื้อโคโรนาไวรัสได้และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม “เรามองตลาดนี้ก่อนที่จะเกิดวิกฤตเชื้อ COVID-19 แต่เมื่อ การระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุใ์ หม่ ซึง่ องค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศว่าเป็นโรคระบาดร้ายแรง เนื่องจากการแพร่ระบาดที่กระจาย ไปในหลายประเทศทัว่ โลก ส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วน โดยยอดผูต้ ดิ เชือ้ ทะลุ 1 ล้านคนทั่วโลก ความต้องการผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรคจึงเพิ่มสูงขึ้น ท�ำให้เราเร่งมือผลักดันให้ผลิตภัณฑ์นี้เกิดได้เร็วกว่าแผนเดิมที่วางไว้” ธนากร กล่าว เบนไซออน (Benzion) ใช้ ไ อออนิ ก เทคโนโลยี แ ละคี เ ลชั น เทคโนโลยี ท�ำให้มีความแตกต่างจากผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ในท้องตลาด ด้วยประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อไวรัสที่อยู่ระดับสูง ผลจากการทดสอบใน ห้องปฏิบัติการ*พบว่า สามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้ภายใน 1 นาที เทียบเท่า ผลิตภัณฑ์น�ำเข้าจากต่างประเทศ ในราคาที่เข้าถึงได้ เทียบเท่ากับ ผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ในท้องตลาด ที่ประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อระดับกลาง ที่ส�ำคัญคือ ไม่มีกลิ่นและไม่ติดไฟ

นอกจากนี้ เบนไซออนยังผ่านการทดสอบ การระคายเคืองต่อผิวหนัง จาก สถาบัน Aisa Dermscan โดยทดสอบกับอาสาสมัคร รวมถึง ทดสอบด้าน Toxicology and Bio Evaluation Service Center (TBES) ศู น ย์ บ ริ ก ารทดสอบ ทางพิษวิทยาและชีววิทยา สวทช. พบว่า มีความ ปลอดภัยไม่ระคายเคือง ขณะที่แอลกอฮอล์ 70% ก่อให้เกิดการระคายเคือง “เรามองกลุ ่ ม เป้ า หมาย 2 ส่ ว นคื อ ภาค อุตสาหกรรม ซึ่งมีความต้องการใช้ฆ่าเชื้อภายใน โรงงาน ทัง้ อุตสาหกรรมยานยนต์ อาหาร โลจิสติกส์ โรงแรม สถานพยาบาล หน่วยงานราชการต่างๆ และ ภาคประชาชนที่ใช้ในที่พักอาศัย ซึ่งเป็นกลุ่มที่เรา ต้ อ งการให้ ส ามารถเข้ า ถึ ง และใช้ ง านผลิ ต ภั ณ ฑ์ นวัตกรรมนี้ได้อย่างแพร่หลายในราคาที่เอื้อมถึง ตอบโจทย์เรื่องของสุขภาพ อนามัย โดยเฉพาะใน ช่วงวิกฤตเป็นช่วงของการสร้างแบรนด์ทตี่ อ้ งแข่งกับ แบรนด์ใหม่ ๆ ที่แข่งกันออกมา ซึ่งประสิทธิภาพ จะเป็นตัวก�ำหนดว่า แบรนด์ไหนจะอยู่รอด ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ที่มีนวัตกรรมจะท�ำให้เราพลิกตลาด และ สร้างช่องทางใหม่ๆ ให้ธุรกิจ” ธนากร กล่าว ปั จ จุ บั น เบนไซออนเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น�้ ำ ยา ฆ่าเชือ้ เครือ่ งมือแพทย์ ภายใต้การก�ำกับดูแลสถานที่ ผลิ ต โดยกองเครื่ อ งมื อ แพทย์ ส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข (อย.) โดยเป็นผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่มีสารสกัดจากธรรมชาติ ทีใ่ ช้ฆา่ เชือ้ โรคทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงและครอบคลุมเชือ้ ได้อย่างกว้างขวาง สามารถยับยัง้ และท�ำลายเชือ้ เช่น เชื้อก่อโรคอาหารเป็นพิษ Escherichia coli ATCC 10536, Salmonella enterica (choleraesuis) ATCC 10708, Staphylococcus aureus ATCC 6538 และ Pseudomonas aeruginosa PRD 10 ATCC 15442 ซึง่ ได้รบั การรับรองจากคณะเทคนิค การแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล *ผลทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพการฆ่ า เชื้ อ ไวรั ส เช่ น H1N1, Influenza Virus, Human Immunodeficiency Virus (HIV), Hepatitis B Virus (HBV), Filoviridae (e.g. Ebola, Marburg), Hepatitis C Virus (HCV), Flavivirus, Coronavirus e.g. SARS, MERS และ Covid-19 เป็นต้น บริ ษั ท ยู นิ ซิ ล กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด ส่ ง ไปทดสอบจากสถาบั น ที่ เชื่อถือได้ เช่น BluTest Laboratory จากประเทศอังกฤษ

ธนากร ตั้งเมธากุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิซิล กรุ๊ป จ�ำกัด เจ้าของผลิตภัณฑ์เบนไซออน

24

Engineering Today January • February 2021


Automation • *โจเซฟ การ์เซีย

“ระบบ

อัตโนมัติ”

หนทางสู่ความส�ำเร็จในการ Transform สู่ดิจิทัล องค์ ก รในอาเซี ย นให้ ค วามส� ำ คั ญ และมุ ่ ง ความสนใจไปที่ ร ะบบ อัตโนมัติมากขึ้น แต่ในภาวะที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ การน�ำระบบ อัตโนมัติไปใช้ในองค์กรนั้นเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ที่องค์กรของคุณ ตั้งไว้แล้วหรือยัง หาค�ำตอบได้จากบทความนี้ที่ว่าระบบอัตโนมัติสามารถ ช่วยสร้างแม่แบบโครงสร้างพื้นฐานให้กับการท�ำงานด้านไอทีต่างๆ เพื่อ ให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม และเกิดผลเชิงบวกต่อองค์กรทุกส่วน อย่างแท้จริงได้อย่างไร สถานการณ์ในปี พ.ศ. 2563 เป็นสิ่งที่องค์กรจ�ำนวนมากไม่เคย เผชิญหรือคาดคิดมาก่อนว่าจะเกิดขึน้ และแสดงให้องค์กรเห็นว่า จ�ำเป็น ต้องเร่งความพยายามในการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลให้เร็วขึ้น แทนที่จะ หยุดชะงักไปตามสถานการณ์ ผลการศึกษาของ Harvard Business Review ระบุว่า 95% ของผู้บริหารในเอเชีย-แปซิฟิกระบุว่า ดิจิทัล ทรานส์ฟอร์เมชันทวีความส�ำคัญต่อองค์กรธุร กิจในช่วง 18 เดือน ที่ผ่านมา เห็นได้ชัดจากสัดส่วน 40% ของผู้บริหารในเอเชีย-แปซิฟิก ที่ก�ำลังพัฒนาและส่งแอปพลิเคชันใหม่ๆ ออกสู่ตลาดอย่างรวดเร็ว เมื่อเปรียบเทียบกับสัดส่วนของผู้บริหารในภูมิภาคอื่นของโลกที่อยู่ที่ 23% การที่องค์กรต่างๆ เร่งด�ำเนินงานตามโปรแกรมดิจิทัล ทรานส์ ฟอร์ เ มชั น ของตนให้ เ ร็ ว ขึ้ น องค์ ก รเหล่ า นั้ น ควรพิ จ ารณาว่ า ระบบ อัตโนมัติคือก้าวส�ำคัญก้าวหนึ่งในกระบวนการเปลี่ยนผ่านนี้ รูปแบบไอทีใหม่ในปัจจุบันแบบไฮบริดที่ผสมผสานการใช้งาน ระหว่างเทคโนโลยีที่เป็นระบบดั้งเดิมที่ติดตั้งอยู่ในองค์กร ไพรเวทและ พับลิคคลาวด์ กลยุทธ์ดา้ นเวิรก์ โหลดของรูปแบบไอทีใหม่นตี้ อ้ งพิจารณา ถึงค่าใช้จ่าย ความปลอดภัย และความเชื่อถือได้ รวมถึงต้องรองรับ ข้อก�ำหนดและการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบต่างๆ ด้วยความท้าทายทีใ่ หญ่ ที่ สุ ด อย่ า งหนึ่ ง ที่ ที ม ไอที ป ระสบคื อ การหาวิ ธี ล ดกระบวนการและ การท�ำงานแบบแมนนวลลง ผลการศึกษาของ IDC ที่สนับสนุนการ

จัดท�ำโดยเร้ดแฮทพบว่า 86% ของผู้เชี่ยวชาญด้านไอที กล่าวว่า “ระบบอัตโนมัตมิ คี วามส�ำคัญมาก ต่อกลยุทธ์การ ใช้คลาวด์ในอนาคตขององค์กร” แม้ ว ่ า การท� ำ งานแต่ ล ะชิ้ น แบบอั ต โนมั ติ จ ะเป็ น ตัวช่วยแก้ปัญหาหลายประการ แต่เมื่อระบบไอทีของ องค์กรเติบโตขึ้น ความพยายามที่จะติดตามตรวจสอบ กระบวนการอัตโนมัตหิ ลายๆ รายการตามชิน้ งานแต่ละชิน้ อาจก่อให้เกิดความสับสนได้มากพอๆ กับประโยชน์ทไี่ ด้รบั จากการที่ระบบอัตโนมัติช่วยแก้ปัญหาต่างๆ รายงาน จาก Forrester Research ยังระบุว่าระบบอัตโนมัติคือ “สิง่ หลีกเลีย่ งไม่ได้ทสี่ ำ� คัญมาก” (boardroom imperative) ของทุกอุตสาหกรรมและทุกภูมภิ าค ส�ำหรับระบบเครือข่าย อัตโนมัติ ผู้น�ำทางเทคโนโลยีควรมองหาโซลูชันที่ช่วยให้ ผู้ใช้งานสามารถบริหารจัดการนโยบาย การบังคับใช้ และ กระบวนการต่างๆ ณ ที่ระดับของโดเมน การแก้ปัญหา ต่างๆ ในเวลาและที่เดียวกันช่วยให้สามารถปรับขนาด การท�ำงานได้ง่าย ในขณะเดียวกันก็ท�ำให้มีแบนด์วิดท์ เพิ่มขึ้นเพื่อให้มีเวลาไปท�ำงานเชิงยุทธศาสตร์ได้มากขึ้น

คุณค่าที่เห็นได้ชัดของระบบอัตโนมัติ ขจัดการท�ำงานที่ต้องท�ำซ�้ำๆ ประโยชน์ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดคือ การลดค่าใช้จ่าย การน�ำระบบอัตโนมัติไปใช้ในกิจกรรมหรือกลุ่มงานต่างๆ หมายถึงการลดเวลาในการท�ำงานแบบแมนนวลลงไป ทีม ไอทีสามารถใช้กระบวนการแบบใหม่เพื่อสร้าง DevOps และ DevSecOps และน�ำไปใช้สร้างสรรค์แอปพลิเคชัน

*รองประธานและผู้จัดการทั่วไป, Asian Growth & Emerging Markets (GEMs) เร้ดแฮท

Engineering Today January • February 2021

25


ใหม่ๆ และอัปเดตได้ทันตามเวลาที่ต้องการ ตัวอย่าง SingTel ของ ประเทศสิงค์โปร์ที่ได้สร้างเพลย์บุ๊กส�ำหรับบริหารจัดการการตั้งค่า และ ระบบอัตโนมัติส�ำหรับงานที่ต้องใช้เวลามาก รวมถึงงานที่ต้องท�ำซ�้ำๆ เช่น การวินิจฉัยและการท�ำรายงาน การท�ำเช่นนี้ไม่เพียงช่วยให้มั่นใจ ได้วา่ การท�ำงานจะเสถียรและระบบเครือข่ายมีความพร้อมใช้งานเท่านัน้ แต่ยังช่วยให้พนักงานไม่ต้องท�ำงานที่ต้องท�ำซ�้ำๆ เป็นประจ�ำ ไปโฟกัส กับงานทีส่ ร้างรายได้ให้กบั องค์กรได้มากขึน้ การมีระบบงานทีส่ อดคล้องกัน ให้กับการพัฒนาซอฟต์แวร์และการท�ำงานด้านไอทีทุกส่วน ไม่ว่าจะ ท�ำงานบนเซิรฟ์ เวอร์ ไปจนถึงไฮบริดมัลติคลาวด์จะช่วยขับเคลือ่ นองค์กร ให้ประสบความส�ำเร็จมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ระบบอัตโนมัติยังช่วยให้สามารถดูแลตนเองและกระจายงานได้ เมื่อทุกคนท�ำงานกับองค์ประกอบรูปแบบใหม่ๆ เหมือนที่เราท�ำกัน ในปัจจุบันกับพนักงานจ�ำนวนมากที่ท�ำงานจากระยะไกล เราต่างอยู่ ภายใต้แรงกดดันด้านทรัพยากรและเวลา การกระจายงานและการดูแล ตนเองจึงเป็นสิง่ ส�ำคัญทีใ่ ช้แก้ไขความท้าทายใหม่ๆ เหล่านีไ้ ด้ Microsoft ใช้ประโยชน์จากระบบอัตโนมัตใิ นการทรานส์ฟอร์มวิธกี ารบริหารจัดการ เครือข่ายต่างๆ และเครือข่ายอัตโนมัติภายในระบบนิเวศด้านพันธมิตร ขององค์กร ซึ่งประกอบด้วยผู้จ�ำหน่ายฮาร์ดแวร์ เทคโนโลยีต่างๆ และ ข้อก�ำหนดของผู้จ�ำหน่ายทั้งหลายที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ Microsoft ได้ ท�ำงานกับสังคมเครือข่ายของ Red Hat Ansible Automation Platform ซึ่งช่วยขับเคลื่อนความล�้ำหน้าต่างๆ ให้กับระบบเครือข่ายส�ำหรับลูกค้า ระดับองค์กรของ Microsoft ที ม ต่ า งๆ ไม่ ส ามารถเขี ย นโค้ ด และสร้ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ ดยไม่ มี การก�ำกับดูแล หากปราศจากการทบทวนและการควบคุมในระดับที่ เหมาะสม องค์กรต่างๆ จะตกอยู่ในความเสี่ยงเพราะเป็นการเปิด ช่องโหว่ด้านความปลอดภัย และการก�ำหนดค่าต่างๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ ต้องดึงทรัพยากรทีม่ คี า่ เวลา และเงินมาใช้แก้ปญ ั หาทีไ่ ม่ควรเกิดขึน้ เลย ตั้งแต่เริ่มแรก นอกจากนี้ การก�ำกับดูแลในประเด็น “ใครได้รับอนุญาต ให้ท�ำอะไรได้บ้าง” เป็นสิ่งส�ำคัญเมื่อจะพิจารณาใช้ระบบอัตโนมัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเศรษฐกิจและธุรกิจต่างๆ ในอาเซียนที่มีการใช้ เทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด

ระบบอัตโนมัตทิ ขี่ บั เคลือ่ นด้วยปัญญาประดิษฐ์ (AI) ข้อมูลอยู่ทุกหนแห่ง ดังนั้นเมื่อคุณประมวลข้อมูลจ�ำนวนมาก เหล่านั้น คุณต้องการให้ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ของคุณได้รับข้อมูลเชิงลึกจากข้อมูลที่รวบรวมไว้และมีความชาญฉลาด ทีถ่ กู ต้องแท้จริง เพือ่ ให้คณ ุ อยูใ่ นสถานะพร้อมทีส่ ดุ ทีจ่ ะท�ำการปรับแต่ง แก้ไข และตอบสนอง ทั้งนี้ AI และระบบอัตโนมัติเป็นของคู่กันโดย ธรรมชาติ เพราะ AI สามารถขับเคลื่อนระบบอัตโนมัติ ในปี พ.ศ. 2564 เราคาดการณ์วา่ องค์กรต่างๆ จะผสานรวมระบบอัตโนมัตเิ ข้ากับ AI/ML (แมชชีนเลิร์นนิ่ง) เพื่อสร้างขั้นตอนการท�ำงานเกี่ยวกับข้อมูลเชิงลึก อัตโนมัตทิ ไี่ ด้รบั การออกแบบมาเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพให้กบั กระบวนการ ต่างๆ ทางธุรกิจขึ้นมาอีกระดับหนึ่ง การน�ำ AI/ML มาใช้นั้นมาพร้อม

26

Engineering Today January • February 2021

กับความท้าทายต่างๆ เช่นกัน การจะใช้ประโยชน์จาก AI ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพนั้น องค์กรจ�ำเป็นต้องบริหาร จัดการความซับซ้อนต่างๆ ของซอฟต์แวร์สแต็กที่ก�ำลัง พัฒนาขึ้นมา เตรียมโครงสร้างพื้นฐานที่จ�ำเป็นได้อย่าง รวดเร็ ว จั ด หาข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น และสะสางหรื อ แปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่น�ำไปใช้ประโยชน์กับโมเดล ที่เป็น AI ต่างๆ ได้ ธนาคารต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก�ำลังใช้ ระบบอัตโนมัติที่ทำ� งานด้วยหุ่นยนต์ (Robotic Process Automation : RPA) เพื่อให้การอนุมัติการสมัครใช้งาน บัตรเครดิต การช�ำระเงินอัตโนมัติ และการตรวจสอบ การเรียกร้องสิทธิต์ า่ งๆ การที่ RPA สามารถเสริมแต่งและ เลียนแบบการตัดสินใจและพฤติกรรมของมนุษย์ เพื่อท�ำ ส�ำเนาการกระท�ำของมนุษย์ที่ต้องปฏิบัติตามกฎต่างๆ ที่ ตั้งไว้ได้ ท�ำให้ช่วยลดเวลาในการท�ำงานเหล่านั้นให้ส�ำเร็จ และช่วยให้พนักงานมีเวลาไปโฟกัสกับงานเชิงกลยุทธ์ ต่างๆ ตัวอย่างของภาครัฐ เช่น PERKESO หน่วยงาน ประกั น สั ง คมของประเทศมาเลเซี ย ใช้ ก ระบวนการ อัตโนมัติในการลดค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน และเพิ่ม ความพร้ อ มในการให้ บ ริ ก ารได้ ม ากขึ้ น กระบวนการ อัตโนมัติช่วยให้พนักงานมากกว่า 400,000 คน สามารถ ท�ำธุรกรรมต่างๆ เช่น การส่งเงินสมทบและการช�ำระเงิน ผ่านช่องทางดิจิทัลใหม่ของ PERKESO ได้ แทนที่จะต้อง ไปท� ำ ธุ ร กรรมเหล่ า นั้ น ที่ ส� ำ นั ก งานสาขา ซึ่ ง ไม่ เ พี ย ง PERKESO จะสามารถให้บริการลูกค้าปัจจุบนั ได้ดขี นึ้ แต่ ยังช่วยให้พวกเขาขยายขอบเขตการควบคุม และช่วยให้ มั่นใจว่าพนักงานที่ท�ำงานอยู่ในกลุ่มอาชีพใหม่ๆ เช่น พนักงานขับรถทีท่ ำ� งานกับการให้บริการผ่านแอปพลิเคชัน (e-hailing) จะได้รบั การคุม้ ครองภายใต้ขอ้ บังคับของรัฐบาล ด้วยเช่นกัน ระบบอั ต โนมั ติ ช ่ ว ยให้ อ งค์ ก รต่ า งๆ สามารถ ออกแบบและปรับโครงสร้างพื้นฐานเดิมที่มีอยู่ ได้อย่าง ชาญฉลาด ในขณะเดียวกันระบบอัตโนมัติก็ก�ำลังเปลี่ยน ระบบไอทีแบบเดิมไปเป็นคลาวด์-เนทีฟ ระบบอัตโนมัติ ยังใช้ข้อมูลเพื่อเจาะหาข้อมูลเชิงลึกส�ำหรับใช้ประโยชน์ ทางธุรกิจ ช่วยให้องค์กรมั่นใจในความปลอดภัย และการ ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ ทัง้ ยังช่วยให้ใช้งานบนไฮบริดคลาวด์ ได้อย่างคล่องตัว หากการปรับเปลี่ยนคือสิ่งที่หลีกเลี่ยง ไม่ ได้ ในปีนี้แล้ว องค์กรต่างๆ ก็ควรพิจารณาน�ำระบบ อั ต โนมั ติ ม าใช้ เ ป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ พื้ น ฐาน เพื่ อ ให้ ดิ จิ ทั ล ทรานส์ฟอร์เมชันที่องค์กรก�ำลังด�ำเนินอยู่ประสบความ ส�ำเร็จอย่างงดงาม



Technology • กองบรรณาธิการ

10 สวทช. เผย

เทคโนโลยี 01 พลิกโฉมธุรกิจ รับ New Normal

วัคซีน COVID-19 (COVID-19 Vaccine)

พร้อมเทรนด์เทคโนโลยีอีก 3-5 ปีข้างหน้า

ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เผยถึง 10 เทคโนโลยีที่น่าจับมอง ซึ่งอาจมีผลกระทบ ต่อธุรกิจและชีวิตหลังยุค COVID-19 อีก 3-5 ปีข้างหน้า ภายในงาน THAILAND TECH SHOW 2020 ซึ่ง สวทช. จัดขึ้น ภายใต้ แ นวคิ ด “วิ ถี ชี วิ ต ใหม่ นวั ต กรรม เพื่ อ การลงทุ น (Technologies and Innovations for Investment in The New Normal)” บนแพลตฟอร์มออนไลน์ เป็นครัง้ แรกอย่างสมบูรณ์ เพือ่ ให้สอดคล้อง กับชีวิตวิถีใหม่ New Normal ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า 10 เทคโนโลยี ที่ สวทช. เลือกมาเป็นการคาดการณ์เทคโนโลยี ที่จะมีผลกระทบได้อย่างชัดเจนใน 3-5 ปี ข้างหน้า แต่มีความเป็นไปได้สูงที่จะส่งผล กระทบกับชีวิตและธุรกิจในอนาคตอันใกล้นี้ โดยเริ่ ม จากเทคโนโลยี ใ กล้ ตั ว และเข้ า กั บ สถานการณ์ที่สุด

28

Engineering Today January • February 2021

ด้วยสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 หลายประเทศมีการจัดการ กับการระบาดของโรค เพื่อให้อยู่กับสถานการณ์โควิดแบบในปัจจุบันได้ โดยหลักๆ จะใช้ 3 วิธี คือ การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ (Herd Immunity) การพัฒนายารักษาโรคโควิด 19 และการพัฒนาวัคซีน ซึง่ ปัจจุบนั ประเทศไทย ก็ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาวัคซีน COVID-19 ที่ถือเป็นงานเร่งด่วน โดยใช้ เทคโนโลยีวัคซีน 4 รูปแบบ → แบบที่หนึ่ง Virus Vaccine เป็นเทคโนโลยีดั้งเดิมที่ใช้ในการพัฒนา วัคซีนทั่วไป ที่ใช้ตัวไวรัสทั้งตัวมาเป็นตัวกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน ซึ่งมี ทั้งวัคซีนเชื้อเป็นที่ท�ำให้อ่อนฤทธิ์และวัคซีนเชื้อตาย → แบบที่สอง Protein-based Vaccine หรือ Subunit Vaccine โดย เอายีนของเชือ้ SARS-CoV-2 ไปใส่ในแบคทีเรียหรือยีสต์ แล้วให้แบคทีเรียหรือ ยีสต์สร้างโปรตีนขึ้นมา โดยก่อนจะน�ำไปฉีดเข้าร่างกาย จะต้องเติม adjuvant ซึ่งเป็นสารกระตุ้นที่ท�ำให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันเข้าไปด้วย → แบบที่สาม Nucleic Acid Vaccine เป็นการต่อยอดใช้สารพันธุกรรม ของแบคทีเรียหรือยีสต์ที่มีการเติมยีนของเชื้อ SARS-CoV-2 มาใช้ประโยชน์ มี 2 รูปแบบ ได้แก่ DNA Vaccine และ mRNA Vaccine ซึ่งทั้ง 2 รูปแบบนี้ จ�ำเป็นที่จะต้องพัฒนาตัวน�ำส่ง เพื่อใช้กลไกของร่างกายเปลี่ยน DNA หรือ mRNA ให้เป็นโปรตีนที่ท�ำให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อก่อโรค → แบบที่สี่ Viral Vector Vaccine เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ไวรัสวัคซีนที่มี อยู่แล้วมาเป็นตัวน�ำส่ง โดยออกแบบให้วัคซีนเหล่านี้สามารถน�ำยีนของเชื้อ SARS-CoV-2 เข้าสูร่ า่ งกาย ตัวอย่างเช่น การสร้างวัคซีนไข้หวัดใหญ่ทมี่ ยี นี ของ SARS-CoV-2 ท�ำให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันได้ทั้งโรค COVID-19 และโรค ไข้หวัดใหญ่ หรือใช้ Adenovirus Vaccine


ทั้งนี้ สวทช. ได้พัฒนาต้นแบบวัคซีน 3 รูปแบบ ยกเว้น รูปแบบ Virus Vaccine ทีต่ อ้ งใช้เชือ้ ไวรัส SARS-CoV-2 เนือ่ งจาก ยังไม่มีห้องปฏิบัติการที่มีความปลอดภัยระดับ 3 อย่างไรก็ตาม หากดูความก้าวหน้าในระดับโลก ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนที่ผ่าน การรับรองที่พร้อมผลิตเชิงพาณิชย์ แต่ก็มีหน่วยงานที่มีความ ก้าวหน้าในขั้นทดลองเฟส 3 เช่น บริษัท Pfizer และ BioNTech ของสหรัฐอเมริกา เป็น mRNA Vaccine ซึ่งประกาศความส�ำเร็จ ในการวิจัยเชิงคลินิกระยะที่ 3 (ณ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2563) และได้ยื่นขอ Emergency Use Authorization (EUA) จาก U.S. Food and Drug Administration (FDA) แล้ว มีคู่แข่ง ในแพลตฟอร์มเดียวกันคือ Moderna ของสหรัฐอเมริกา

02

ยาแก้ ไขความชรา (Rejuvenating Drug)

ยาแก้ไขความชราถือเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีแห่งความหวัง ของโลกที่ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ นอกจากจะช่วยให้เรามีชีวิต ยืนยาวแล้ว ที่ส�ำคัญคือจะช่วยให้เราสามารถใช้ชีวิตในช่วงวัยชรา ได้ อ ย่ า งมี คุ ณ ภาพและมี ค วามสุ ข ขณะนี้ ป ระเทศไทยก็ มี ย า อายุวฒ ั นะ REDGEMs หรือ มณีแดง เพือ่ แก้ไขความชรา ซึง่ เป็น ผลงานวิ จั ย ของ ศ. ดร. นพ.อภิ วั ฒ น์ มุ ทิ ร างกู ร จากคณะ แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักวิจัยแกนน�ำ สวทช. ทีพ่ บว่า ความชราของดีเอ็นเอเป็นสภาวะเหนือพันธุกรรม เกิดจาก การลดลงของข้อต่อดีเอ็นเอ ซึง่ ท�ำให้รอยโรคของดีเอ็นเอเพิม่ ขึน้ จึงพัฒนา “ยามณีแดง” ที่จะช่วยเพิ่มข้อต่อดีเอ็นเอในเซลล์ ท�ำให้รอยโรคของดีเอ็นเอลดลง เซลล์กลับมามีรูปร่างและท�ำงาน ได้เหมือนเซลล์ปกติ และได้มีการทดสอบใช้มณีแดงในเซลล์และ ในหนูทดลองแล้ว พบว่าสามารถสร้างข้อต่อดีเอ็นเอได้ เซลล์

ที่ ช ราแล้ ว กลั บ มามี รู ป ร่ า งและการท� ำ งานเหมื อ นเซลล์ ป กติ แผลไฟไหม้ในหนูทดลองหายเร็วขึ้น ไขมันลงพุงลดลง หนูชรา มีความจ�ำดีขึ้นและคล่องแคล่วว่องไวพอๆ กับหนูหนุ่มสาว ถ้า มณีแดงผลิตได้จริงในเชิงพาณิชย์ ก็จะน�ำไปใช้เพื่อการรักษาโรค ทางผิวหนัง เช่น แผลเบาหวาน แผลไฟไหม้น�้ำร้อนลวก แผล คนชรา และโรคอืน่ ๆ เช่น กระดูกผุ ความดันโลหิตสูง ไขมันพอกตับ รวมถึงร่างกายเสือ่ มโทรมจากเบาหวานหรือความชรา สมองเสือ่ ม

03

อินเทอร์เน็ตของ สรรพสิ่งสุขภาพ (Internet of Health Things, IoHT)

ปัจจุบันเริ่มมีการน�ำ Internet of Things หรือ IoT มาใช้ งานในด้านการดูแลสุขภาพเพิม่ ขึน้ โดยเทคโนโลยี 5G ทีจ่ ะเกิดขึน้ นั้น สามารถรองรับการท�ำงานของอุปกรณ์ IoT จ�ำนวนมากๆ ได้พร้อมๆ กัน (Massive IoT) ท�ำให้การติดตามสุขภาพผู้ป่วย ผ่านอุปกรณ์สวมใส่ (Mobile Medical Devices) ต่างๆ มี ประสิทธิภาพมากขึ้นตามไปด้วย

การท�ำงานของระบบ IoT ทางด้านสุขภาพ หรือ Internet of Health Things, IoHT ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ส่วนแรก คือ เซนเซอร์ ที่อยู่ในอุปกรณ์สวมใส่หรือเครื่องมือแพทย์ต่างๆ เพื่อใช้วัดสัญญาณชีพของผู้ป่วย เช่น ความดันโลหิต อุณหภูมิ อัตราการเต้นหัวใจ สัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ โดยส่งข้อมูลผ่าน ระบบเครือข่ายไปเก็บยังส่วนที่สอง คือฐานข้อมูลสุขภาพ ที่เก็บ ข้อมูลสุขภาพของแต่ละบุคคล และส่วนสุดท้าย คือซอฟต์แวร์ วิเคราะห์ขอ้ มูล ทีท่ ำ� หน้าทีป่ ระมวลผลข้อมูล ส�ำหรับแพทย์ตรวจ ติดตามและวินิจฉัย รวมทั้งแสดงผลกลับไปยังตัวผู้ป่วย ปัจจุบันบริษัท Startup ในต่างประเทศหลายแห่งออก ผลิตภัณฑ์ IoHT ในการดูแลผูป้ ว่ ยโรคเรือ้ รังและผูส้ งู อายุบา้ งแล้ว เช่น ตรวจติดตามโรคหัวใจ ตรวจติดตามโรคเบาหวาน ที่ใช้ ตรวจติดตามในช่วงการกักตัวในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ส�ำหรับประเทศไทยก็มหี ลายหน่วยงานวิจยั พัฒนาใน เรือ่ งนี้ เช่น ศูนย์วจิ ยั เทคโนโลยีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกและเครือ่ งมือ แพทย์ A-MED สวทช. ที่น�ำ IoHT มาประยุกต์ใช้ในการป้องกัน การหกล้มของผู้สูงอายุ โดยพัฒนาเป็นอุปกรณ์เซนเซอร์ส�ำหรับ สวมใส่หรือติดไว้บนร่างกาย เซนเซอร์จะส่งสัญญาณไปแจ้งเตือน ผู้ดูแล ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการพัฒนาให้เซนเซอร์มีขนาดเล็กลง ทนทานต่อการใช้งาน และมี Data Analytics ที่แม่นย�ำมากยิ่งขึ้น Engineering Today January • February 2021

29


04

ชิปสายพันธุ์ ใหม่ (Neuromorphic Chip)

นิวโรมอร์ฟิกชิปหรือชิปสายพันธุ์ใหม่ เป็นความพยายาม ในการพัฒนาชิปคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลได้รวดเร็วเหมือนกับ สมองของมนุษย์ ทีส่ ามารถเชือ่ มต่อข้อมูลต่างๆ ซึง่ มีความซับซ้อน หลายมิตไิ ด้พร้อมกัน โดย นิวโรมอร์ฟกิ ชิป นีเ้ ลียนแบบการท�ำงาน ของสมองและเส้นประสาทของมนุษย์ โดยใช้อุปกรณ์ที่ท�ำงาน คล้ายกับเซลล์ประสาทในสมอง และพัฒนาสิ่งที่เรียกว่าไซแนปส์ (synapse) หรือจุดประสานประสาท ซึง่ เป็นโครงสร้างพิเศษทีท่ ำ� หน้าที่เสมือนล�ำเลียงข้อมูลจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์ หนึ่งได้ หรือจากหน่วยประมวลผลหนึ่งไปยังอีกหน่วยหนึ่งได้ เพื่อประมวลผลและจัดเก็บข้อมูลหลายอย่างได้พร้อมกันเหมือน กับที่สมองของมนุษย์ท�ำได้ รองรับการท�ำงานขั้นสูงที่มีความ ซับซ้อนมากยิง่ ขึน้ ด้วยความรวดเร็วกว่า และใช้พลังงานน้อยกว่า คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน คาดว่าใน 10 ปีข้างหน้า นิวโรมอร์ฟิกชิปจะเป็นหัวใจ ส�ำคัญที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานของปัญญาประดิษฐ์ ให้ เ ก่ ง และสามารถท� ำ งานแทนมนุ ษ ย์ ไ ด้ ห ลายด้ า นมากขึ้ น เช่น ด้านการแพทย์ ที่น�ำมาใช้ในการวินิจฉัยโรคจากรูปภาพ ทางการแพทย์ได้รวดเร็วมากกว่าและแม่นย�ำยิ่งขึ้น

30

Engineering Today January • February 2021

05

การสื่อสารด้วยภาพ (Vision Communication)

เมื่อคอมพิวเตอร์มีสมองหรือชิปที่มาจากการเลียนแบบ การท� ำ งานของสมองของมนุ ษ ย์ ก็ ยิ่ ง ท� ำ ให้ ค อมพิ ว เตอร์ มี ความสามารถคล้ายมนุษย์มากขึน้ Vision Communication หรือ “การสื่อสารด้วยภาพ” เป็นรูปแบบการสื่อสารยุคใหม่ที่เกิดขึ้น จากวิทยาการคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ ในการท�ำให้ คอมพิวเตอร์มคี วามสามารถคล้ายมนุษย์หรือเลียนแบบพฤติกรรม มนุษย์ โดยเฉพาะความสามารถในการคิดเองได้ หรือที่เรียกว่า มีปัญญานั่นเอง ซึ่งประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีการกระท�ำ คล้ า ยมนุ ษ ย์ (Acting Humanly) คือ สื่อสารกับมนุษย์ได้ ด้วยภาษาที่มนุษย์ใช้ มีจังหวะการพูด กะพริบตา ส่ายหน้า หรือ แสดงอารมณ์และความรูส้ กึ ออกมาทางใบหน้า เช่น คิว้ ตา สายตา และมุมปาก ส่วนอีกกลุ่ม คือ กลุ่มที่มีการคิดแบบมีเหตุผล (Thinking Rationally) สามารถวิเคราะห์อารมณ์ได้จากใบหน้า แยกแยะและจดจ�ำใบหน้าได้ สามารถแยกเสียงพูด วิเคราะห์ ความหมาย อารมณ์ ความต้องการของเสียง เช่น ระบบผูเ้ ชีย่ วชาญ ระบบค้นหาข้อมูล ปัจจุบันเริ่มมีการน�ำเทคโนโลยี Vision Communication ไปใช้งานด้านการสร้างภาพยนตร์ และอีกตัวอย่างที่เริ่มมีให้เห็น บ่อยและใกล้ตัวเรามากขึ้นคือการน�ำไปใช้งานด้านการสื่อสาร เช่ น ในจี น มี ก ารสร้ า งตั ว Avatar ของผู ้ ป ระกาศข่ า วหรื อ ผู้ประกาศข่าวเสมือนอ่านข่าวแทนผู้ประกาศข่าวตัวจริง และ ล่าสุดเกาหลีใต้เพิ่งเปิดตัวผู้ประกาศข่าวเสมือนที่พูดโต้ตอบกับ ผู้ประกาศข่าวตัวจริงได้แบบเรียลไทม์ เพิ่มความรวดเร็วในการ รายงานข่าว หรือแม้กระทั่งในโรงพยาบาลที่มีแนวโน้มว่าจะน�ำ เทคโนโลยีนี้ไปใช้ในการคัดกรองคนไข้และวินิจฉัยโรคในเบื้องต้น ก่อนพบแพทย์ เพือ่ ลดความเสีย่ งจากการติดต่อสือ่ สารกันโดยตรง ระหว่างคนไข้กับบุคลากรทางการแพทย์ในยุค COVID-19 หรือ ในสถานการณ์ที่มีโรคระบาดอื่นๆ


06

ขวดพลาสติกจากพืช (PEF)

ประเทศไทยมี ข ยะพลาสติ ก เกิ ด ขึ้ น ปี ล ะประมาณ 2 ล้านตัน ในจ�ำนวนนี้สามารถน�ำไปรีไซเคิลได้เพียง 0.5 ล้านตัน อี ก 1.5 ล้ า นตั น ต้ อ งก� ำ จั ด ด้ ว ยการเผาหรื อ ฝั ง กลบ โดย 0.3 ล้านตัน ในจ�ำนวนนี้เป็นขยะประเภทขวดพลาสติก และ อีก 1.2 ล้านตัน เป็นประเภทถุงพลาสติกและซองบรรจุภัณฑ์ ต่างๆ แบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง แต่ต่อไปจะมีวัสดุที่เรียกว่า PEF (Polyethylene Furanoate) ผลิตจากวัสดุชวี ภาพหรือ bio-based 100% ซึ่งสามารถลด Carbon Footprint ได้กว่า 50% เมื่อ เทียบกับการผลิตขวด PET จากปิโตรเคมี ท�ำให้คาดว่า PEF จะมาแทนที่พลาสติก PET ในอนาคต คุ ณ สมบั ติ เ ด่ น ของ PEF ที่ เ หนื อ กว่ า PET คื อ ผลิ ต จากวัตถุดิบชีวภาพ 100% มีน�้ำหนักเบาแต่มีความแข็งแรง มีความเสถียรทางความร้อนสูง สามารถน�ำมารีไซเคิลได้ 100% ในระบบเดียวกับ PET อีกด้วย และยังมีสมบัติกันน�้ำและก๊าซ ผ่านเข้าออกได้ดีกว่า PET ด้วยคุณสมบัติเหล่านี้จึงคาดว่า PEF จะเป็นพอลิเมอร์รุ่นต่อไปที่มีศักยภาพในการแทนที่ PET นอกจากนี้ สวทช. โดยนาโนเทค ก�ำลังเริ่มศึกษาเกี่ยวกับ PEF โดยมีความร่วมมือกับ Prof. Xiaoqing Liu นักวิจัยจาก Ningbo Institute of Materials Technology and Engineering ประเทศจีน ในการน�ำ PEF มาพัฒนาเป็นต้นแบบผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ เพื่ อ ให้ ไ ด้ อ งค์ ค วามรู ้ ที่ จ ะน� ำ มาสู ่ ต ้ น แบบกระบวนการผลิ ต PEF และผลิตภัณฑ์จาก PEF ส�ำหรับถ่ายทอดสู่อุตสาหกรรม ตั้งแต่ต้นน�้ำถึงปลายน�้ำ เพื่อผลักดันให้เกิดการใช้พลาสติกจาก พอลิเมอร์ชีวภาพแทนพลาสติกจากปิโตรเลียม ซึ่งจะช่วยลด ปัญหาขยะพลาสติกและลดภาวะโลกร้อน และยังใช้ประโยชน์ จากความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย เพื่อขับเคลื่อน เศรษฐกิจไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืน

07

การออกแบบโครงสร้าง วัสดุชนิดเดียว (Monomaterial Structure Design)

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก ที่ พ ร้ อ มน� ำ กลั บ ไปใช้ ป ระโยชน์ หรือรีไซเคิล ต้องมีการออกแบบให้คัดแยกง่าย แต่ปัญหาคือ บรรจุภัณฑ์พลาสติกที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบันนั้น ส่วนหนึ่งเป็น พลาสติกแบบ Multilayer Materials เป็นวัสดุหลายชนิดเรียง ซ้อนกัน เพื่อให้มีสมบัติการใช้งานที่ดี แต่ข้อเสียคือ คัดแยกยาก (Sorting) และยังแยกชั้นฟิล์มออกจากกันยาก (Delamination) ท�ำให้น�ำไปรีไซเคิลได้น้อยมาก ตัวอย่างพลาสติกประเภทนี้คือ ซองขนมขบเคี้ยว ซองบรรจุภัณฑ์

เทคโนโลยี Monomaterial Structure Design ได้รับ การพัฒนาขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว คือท�ำให้ได้บรรจุภัณฑ์ พลาสติกที่ดีกว่าหรือเทียบเท่ากับ Multilayer Materials แต่ที่ เหนือกว่าคือ การเป็นวัสดุชนิดเดียวกัน ท�ำให้สามารถคัดแยกง่าย ไม่ต ้องมีขั้นตอนการแยกชั้นฟิล์ม ออกจากกัน น�ำมารีไซเคิล ได้ทงั้ หมดโดยไม่มขี องเสียเหลืออยู่ จึงไม่ไปเพิม่ ขยะสูส่ งิ่ แวดล้อม สวทช. มีทีมนักวิจัยจากเอ็มเทค ที่เตรียมความพร้อมเชิงเทคโนโลยี ทั้งเรื่องของ Monomaterials และ Monomaterial Structure Design เพื่อท�ำงานร่วมกับภาคเอกชนใน การพั ฒ นาบรรจุ ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก ทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพือ่ แก้ไข ปัญหาขยะพลาสติก

Engineering Today January • February 2021

31


08

วัสดุนาโนคาร์บอนจาก ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 to Nanocarbon)

ในปี พ.ศ. 2562 ความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในบรรยากาศได้เพิ่มสูงกว่า 400 ppm ส่งผลให้เกิด ภาวะโลกร้อน (Global Warming) ซึ่งเป็นปัญหาส�ำคัญของ ประเทศต่างๆ ทั่วโลก จึงเกิดแนวคิดที่จะน�ำ CO2 ที่อยู่ใน บรรยากาศมาเปลี่ ย นรู ป ให้ เ ป็ นวั ส ดุ อื่ น ที่ มี ป ระโยชน์ เพื่ อ ลดปริมาณ CO2 และลดผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ปัจจุบันเราสามารถเปลี่ยน CO2 ให้เป็นวัสดุได้หลายชนิด โดยเปลี่ยนวิธีใหม่ เอา O2 ออก ให้เหลือคาร์บอน (C) เพียง อย่ า งเดี ย ว แล้ ว ท� ำ ให้ เ ป็ น คาร์ บ อนที่ มี มู ล ค่ า สู ง เช่ น วั ส ดุ นาโนคาร์ บ อน ที่ส�ำคัญได้แก่ ท่อ นาโนคาร์บอน (Carbon Nanotubes) และกราฟีน (Graphene) ที่มีโครงสร้างระดับ นาโนแบบ 1 และ 2 มิติ ที่ได้รับความสนใจอย่างมากในแง่ วั ส ดุ ค าร์ บ อนที่ มี มู ล ค่ า สู ง เมื่ อ เที ย บกั บ วั ส ดุ อื่ น เนื่ อ งจากมี คุณสมบัติที่โดดเด่นเป็นพิเศษทั้งทางกายภาพ ไฟฟ้า และเคมี ท�ำให้เหมาะที่จะน�ำไปประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ใช้งานในหลายๆ ด้าน เช่น อิเล็กทรอนิกส์ระดับนาโน เซนเซอร์ วัสดุส�ำหรับยานยนต์และอากาศยาน แบตเตอรี่ขนาดเล็ก ในประเทศไทย โดย สวทช. มีศูนย์วิจัยด้านการสังเคราะห์ กราฟีนและการผลิตกราฟีนและวัสดุนาโนคาร์บอนจาก CO2 เทคโนโลยี ก ารแปลงก๊ า ซ CO2 ไปเป็ น กราฟี น และท่ อ นาโน คาร์บอนนี้สามารถน�ำไปใช้งานในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อช่วย ลดปริมาณก๊าซ CO2 ที่ปลดปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิต สามารถตอบสนองต่อแนวทางการใช้วัสดุซ�้ำหรือเหลือทิ้งให้เป็น ประโยชน์ เกิดเป็นธุรกิจใหม่ที่จะสร้างวัสดุที่มีมูลค่าสูง และ ขณะเดี ย วกั น ก็ ช ่ ว ยลดมลพิ ษ ในสิ่ ง แวดล้ อ ม สอดคล้ อ งกั บ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ (SDGs)

32

Engineering Today January • February 2021

09

แบตเตอรี่ปลอดภัย ไร้ลิเทียม (Non-Lithium Ion Batteries)

เมื่อไม่นานมานี้กองทัพบกสหรัฐอเมริกาและหน่วยงาน ในสหรัฐฯ ประสบความส�ำเร็จในการวิจัยแบตเตอรี่ซิงก์ไอออน ชนิดใช้นำ�้ เกลือเป็นอิเล็กโทรไลต์ มีจดุ เด่นคือสามารถเก็บพลังงาน ได้สูง โดยมีความหนาแน่นพลังงานสูงเทียบเท่ากับแบตเตอรี่ แบบลิเทียมไอออนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน แต่มีต้นทุนถูกกว่าเกือบ 3 เท่า แบตเตอรี่ซิงก์ไอออนมีข้อดีหลายด้าน ทั้งด้านราคาที่ถูก กว่า เนื่องจากแหล่งแร่สังกะสีที่ใช้เป็นวัตถุดิบมีมากกว่า ซึ่งใน ประเทศไทยก็มีแหล่งแร่สังกะสีอยู่ในหลายพื้นที่ ขณะที่ลิเทียม มีจำ� กัดแค่ในบางประเทศ และไทยต้องน�ำเข้ามาเท่านัน้ เนือ่ งจาก ลิเทียมมีความไวต่อสภาพแวดล้อม จึงต้องประกอบในห้องคลีนรูม ท�ำให้มีต้นทุนในการจัดการโรงงานผลิตแบตเตอรี่ลิเทียมสูงกว่า นอกจากนั้นแล้วข้อส�ำคัญในด้านความปลอดภัยนั้น สังกะสี เป็นธาตุทไี่ ม่ทำ� ปฏิกริ ยิ ากับอากาศและติดไฟเหมือนลิเทียม จึงไม่ ระเบิด สามารถขนส่งทางอากาศได้ เหมาะส�ำหรับประยุกต์ใช้ กับงานที่ต้องการความปลอดภัยสูง ตอบโจทย์ด้านความมั่นคง ทางพลังงานของประเทศ และยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพราะ สามารถรีไซเคิลได้ สวทช. โดยศูนย์เทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศ และการประยุกต์เชิงพาณิชย์ (NSD) มีงานวิจัยพัฒนาแบตเตอรี่ ซิงก์ไอออนด้วยวัสดุกราฟีน จนมีประสิทธิภาพเทียบเคียงได้กับ แบตเตอรี่ลิเทียมบางชนิด (Lithium iron phosphate : LIP) แต่มีความปลอดภัยสูง ไม่ระเบิดแม้ถูกเจาะ นอกจากนี้ ยังได้ ร่ ว มกั บจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย และกรมวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีกลาโหม จัดตั้งและด�ำเนินการศูนย์ความเป็นเลิศ ด้านนวัตกรรมแบตเตอรีล่ ำ�้ สมัยทีผ่ ลิตจากวัตถุดบิ ภายในประเทศ เพื่อความมั่นคง เพื่อเป็นหน่วยงานหลักในการวิจัยและเป็น ศูนย์กลางในเครือข่ายงานวิจัยนวัตกรรมแบตเตอรี่ที่ผลิตจาก วัตถุดิบภายในประเทศ


10

กรีนไฮโดรเจน (Green Hydrogen)

หลายประเทศก�ำลังมุ่งพัฒนา Green Hydrogen ซึ่ง สะอาดมาตั้ ง แต่ ต ้ น ทางไปจนถึ ง ปลายทาง ด้ ว ยการเลื อ กใช้ วัตถุดิบจากแหล่งพลังงานสะอาดอย่างแสงอาทิตย์ ลม และ ใช้ ก ระบวนการอิ เ ล็ ก โทรไลซิ ส ซึ่ ง ไม่ มี ก ารปลดปล่ อ ยก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ กระบวนการอิ เ ล็ ก โทรไลซิ ส คื อ การแยกน�้ ำ ด้ ว ยไฟฟ้ า โดยใช้เครื่องมือที่ชื่อว่า Electrolyser ซึ่งจะได้ก๊าซไฮโดรเจน กับออกซิเจนออกมา เราสามารถเก็บไฮโดรเจนไว้ได้เหมือนกับ การกักเก็บอิเล็กตรอนในแบตเตอรี่ แต่มีข้อดีกว่าคือ มีต้นทุน ต�่ำกว่า เก็บพลังงานได้มากและนานกว่า เมื่อมีความต้องการใช้ ไฟฟ้าก็สามารถน�ำไฮโดรเจนป้อนเข้าไปในเซลล์เชื้อเพลิงเพื่อ ผลิตไฟฟ้าได้ ตัวอย่างของการใช้ประโยชน์กรีนไฮโดรเจน เช่น การน�ำ ไปใช้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า ผ่ า นเซลล์ เ ชื้ อ เพลิ ง เพื่ อ ใช้ กั บ รถยนต์ ไ ฟฟ้ า (เช่น Toyota Mirai) หรือเป็นเซลล์เชื้อเพลิงที่ติดไว้กับบ้านเรือน หรื อ ป้ อ นเข้ า โรงไฟฟ้า โดยน�ำไปใช้ผลิตไฟฟ้า ผ่า นกังหันก๊าซ ร่วมกับการใช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิงในการเผาไหม้ ซึง่ ตอนนี้ มี โ ครงการน� ำ ร่ อ งผ่ า นความร่ ว มมื อ ระหว่ า งญี่ ปุ ่ น กั บ บรู ไ นฯ โดยผลิตไฮโดรเจนที่บรูไนฯ แล้วขนส่งทางเรือไปญี่ปุ่นเพื่อผลิต ไฟฟ้า

ทั้ ง หมดนี้ คื อ 10 เทคโนโลยี ที่ น ่ า จั บ ตามอง ในช่ ว งวิ ก ฤตการณ์ ค รั้ ง ส� ำ คั ญ ของโลก ซึ่ ง ต้องติดตามว่า เทคโนโลยีใดจะสามารถกอบกู้ ประเทศของเราให้ ร อดพ้ น จากวิ ก ฤตต่ า งๆ พร้อมทั้งสร้างโอกาสแก่ธุรกิจ และชีวิตวิถีใหม่ ในอนาคตอันใกล้นี้ Engineering Today January • February 2021

33


Technology • *Ying Shun Liang

Virtual Twin ความส�ำเร็จบทใหม่ ของโรงงานแห่งอนาคต การท�ำลายเชิงสร้างสรรค์ (Creative Destruction) คือการรื้อแนวทางปฏิบัติเดิมที่มีมายาวนานเพื่อหาหนทาง ไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ เป็นกระบวนการที่มีส่วน ท�ำให้อายุเฉลีย่ ของบริษทั ทีป่ ระสบความส�ำเร็จน้อยลงไปด้วย ซึ่งสอดคล้องกับผลการจัดอันดับของนิตยสาร Fortune ที่พบว่าปัจจุบันอายุเฉลี่ยของบริษัทที่ติดอันดับ Fortune 500 Company มีอายุน้อยกว่า 20 ปี ซึ่งมีจ�ำนวนที่ลดลง มาก เมือ่ เทียบบริษทั ยุคก่อนจากผลส�ำรวจเมือ่ ปี ค.ศ. 1950 ที่มีอายุเฉลี่ยอยู่ที่ 60 ปี *Industry Process Consultant, Manufacturing Dassault Systèmes

34

Engineering Today January • February 2021

เช่นเดียวกับอุตสาหกรรมการผลิตทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากการ ดิสรัปชันทางสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี ท�ำให้องค์กรต้อง มองหารูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจแบบใหม่เพื่อตอบสนอง ต่อความต้องการของลูกค้า ในขณะทีก่ ารรับมือต่อการเปลีย่ นแปลง ที่รวดเร็วอย่างมีประสิทธิภาพนั้นท�ำได้ยาก ถึงแม้จะอยู่ในช่วง เวลาที่เหมาะสมก็ตาม แต่ความท้าทายที่เกิดจาก COVID-19 มีความซับซ้อนมากกว่านั้น นับเป็นครั้งแรกที่ผู้ประกอบการ โรงงานต้องเผชิญกับวิกฤติใหม่ๆ ทีไ่ ม่เคยพบมาก่อน ซึง่ เกีย่ วข้อง กั บ ความสนใจและพฤติ ก รรมการซื้ อ ของผู ้ บ ริ โ ภคในอนาคต จากผลการส�ำรวจล่าสุดจัดท�ำโดย EY พบว่า มีผู้บริหารใน อุตสาหกรรมห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) เพียง 10% เท่านั้น ที่เตรียมพร้อมรับมือกับการดิสรัปชันที่เกิดจากการระบาดใหญ่นี้ ขณะนี้ เ ราก้ า วเข้ า สู ่ ยุ ค แห่ ง ประสบการณ์ (Age of Experience) ส่งผลให้อุตสาหกรรมการผลิตจ�ำเป็นต้องปรับตัว เพื่อขยายขอบเขตการท�ำงานแบบดั้งเดิมไปสู่การสร้างเครือข่าย ที่สามารถเพิ่มมูลค่าระดับโลกได้ โดยต้องใช้วิธีการท�ำงานและ เฟรมเวิรก์ ส�ำหรับสายงานผลิตทีอ่ จั ฉริยะขึน้ และควรตัง้ เป้าหมาย องค์กรให้เป็นมากกว่าที่หนึ่งของอุตสาหกรรม แต่ต้องปรับทัพ องค์กรและวิถีการท�ำงานให้มีความคล่องตัวมากขึ้น รวมทั้ง ดึงข้อมูลมาใช้เพือ่ ยกระดับการท�ำงานของแต่ละส่วนงานในองค์กร ให้ท�ำงานสอดคล้องและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น หรือที่เรารู้จัก กันว่ากลยุทธ์ Data-Driven


Big Data กุญแจส�ำคัญสู่การสร้าง โอกาสใหม่ๆ ให้ธุรกิจ ขณะนีเ้ ราก�ำลังอยูใ่ นยุคฟืน้ ฟูอตุ สาหกรรมทัว่ โลก (Industry Renaissance) ซึง่ เป็นการน�ำเสนอวิธกี ารมองโลกในมุมทีแ่ ตกต่าง ออกไป การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ วิธีการผลิตและการค้า ในขณะทีผ่ ปู้ ระกอบการพิจารณาแนวทางในการเพิม่ ประสิทธิภาพ การด�ำเนินงานหรือเปลี่ยนการผลิตจ�ำนวนมากไปเป็นการผลิต ที่มีขนาดเล็กลง สามารถปรับแต่งตามความต้องการได้มากขึ้น ซึ่งท�ำให้ข้อมูลจะเป็นแรงผลักดันในการเปลี่ยนแปลง Big Data คือข้อมูลมหาศาลมีอยู่รอบตัวเราและเราสามารถเสพข้อมูลจาก สตรี ม อิ น พุ ต ต่ า งๆ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เมื่ อ ผู้ประกอบการใช้ Industrial Internet of Things (IIoT) ในการ ผลิตและการด�ำเนินงานมากขึ้น ในอดีต ผู้ประกอบการมีข้อมูลไม่เพียงพอที่จะใช้ส�ำหรับ บริหารจัดการปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ นั่นหมายความว่าจะ ต้องมีการตัง้ สมมติฐานให้กบั ปัญหาต่างๆ ก่อนทีจ่ ะรวบรวมข้อมูล เพื่อหาข้อเท็จจริง ซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมในการด�ำเนินงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตรวจสอบระบบต่างๆ ด้วยตนเอง ซึ่ง ก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายสูง สิ้นเปลืองเวลา และต้องใช้แรงงานคน ในการด�ำเนินการ นอกจากนี้ จากการตรวจสอบดังกล่าวยังพบว่า การใช้แรงงานคนมีความเสีย่ งจากการท�ำงานผิดพลาดและอาจมี ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการบาดเจ็บในที่ท�ำงานอีกด้วย วันนี้ IIoT ท�ำให้ผปู้ ระกอบการมีกระบวนการใหม่ๆ ซึง่ ท�ำให้ สามารถผลิตสินค้าภายใต้กระบวนการที่มีคุณภาพ สามารถ รวบรวมข้อมูลสินค้าได้ครอบคลุมทุกขั้นตอนของห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) การผลิตและกระบวนการจัดจ�ำหน่าย ด้วยความ สามารถในการวิเคราะห์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพโดยใช้ความสามารถของ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) และการเรียนรู้ของ ระบบคอมพิวเตอร์ (Machine learning) จึงสามารถรวบรวม ข้อมูลเชิงลึกที่ต้องการเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาได้

พลิกโฉมวิธีการท�ำงาน การดิสรัปชันทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ เร็วๆ นี้ ท�ำให้ผปู้ ระกอบการ เห็นโอกาสทองในการปรับโครงสร้างการด�ำเนินงานและ ห่วงโซ่อุปทาน (supply chain) ใหม่ โดยการน�ำเอา กระบวนการการผลิตอัจฉริยะมาใช้เร่งกระบวนการทาง ดิ จิ ทั ล โดยเฉพาะเน้ น ความส� ำ คั ญ ด้ า นความสามารถ ในการปรับตัวอย่างรวดเร็วเพื่อตอบสนองต่อการดิสรัปชัน หรือเข้าถึงโอกาสใหม่ๆ ภายใต้ห่วงโซ่อุปทาน (supply chain) ที่มีความยืดหยุ่น เทคโนโลยีแฝดเสมือน (Virtual Twin) จึงมีบทบาท ส�ำคัญอย่างมากในสถานการณ์ดังกล่าว การจ�ำลองแบบ ดิจทิ ลั ทีส่ มบูรณ์ของเครือ่ งมือหรือกระบวนการผลิตทีเ่ กิดขึน้ จากการปฏิ บั ติ ง านตามแบบดั้ ง เดิ ม เช่ น โรงงานหรื อ ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) โดยใช้ Virtual Twin ท�ำให้ ช่วยจ�ำลองห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ของการผลิต ตั้งแต่ต้นน�้ำจรดปลายน�้ำ ท�ำให้สามารถตรวจสอบและ แก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ งที่ พ บได้ แ บบเรี ย ลไทม์ รวมทั้ ง มอบ ประสบการณ์และสร้างไอเดียใหม่ๆ ได้โดยใช้ระยะเวลา อันสั้น สิ่งนี้ช่วยสร้างความยืดหยุ่นและผลผลิตใหม่ๆ ไปสู่ การปฏิบัติงานจริงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะเพิ่มความยืดหยุ่น ทางธุรกิจ และเป็นการวางฐานรากเพือ่ พัฒนาไปสูก่ ารเป็น โรงงานแห่งอนาคต

Engineering Today January • February 2021

35


เพิ่มขีดความสามารถให้กับพนักงาน

ท�ำความเข้าใจ Big Data น�ำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดอย่างหนึ่งของปริมาณ ข้อมูลที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว (Exponential Data) คือ ความสามารถในการประมวลผลและสรุปข้อมูลให้เป็น รูปธรรมอย่างรวดเร็ว รวมทั้งการแสดงผลลัพธ์ต้องให้ผู้ใช้ น�ำไปใช้งานได้อย่างสะดวก ทว่าในความเป็นจริงผูป้ ระกอบการ หลายแห่งใช้เวลากว่า 30% ไปกับกระบวนการแบบเดิมๆ เช่น การค้นหาข้อมูลและการอัปเดตข้อมูล ซึ่งทั้งหมดนี้ จะสะท้อนผลลัพธ์ผ่านสินค้าที่ผลิต คุณภาพการท�ำงาน และผลก�ำไร ในขณะที่ผู้ประกอบการเพียง 6% ที่มีความมั่นใจ ในระบบและความสามารถของตนเองว่าสามารถเข้าใจ และมองเห็นขัน้ ตอนการท�ำงานจากต้นทางถึงปลายทางได้ แต่โรงงานแห่งอนาคตจะเชือ่ มต่อข้อมูลทัง้ หมดอย่างราบรืน่ และจะขยายการเชื่อ มต่อ เหล่า นั้น ไปยัง ห่ว งโซ่อุปทาน (Supply Chain) ทั้งหมด ซึ่งการเห็นและเข้าใจในทุกๆ กระบวนการนี้จะช่วยให้ได้ข้อมูลเชิงลึกที่น�ำไปใช้ได้จริง ช่วยในการตัดสินใจได้รวดเร็วขึ้น เนื่องจากจะช่วยจัดการ กับความแปรปรวนจ�ำนวนมากที่ธุรกิจการผลิตต้องรับมือ ในปัจจุบัน นอกจากนี้ ผู้ประกอบการยังสามารถเปรียบเทียบ ข้อมูลของตนเองกับข้อมูลโรงงานอื่นๆ ทั่วโลก มาใช้เพื่อ ปรับปรุงโรงงาน เพิ่มผลผลิต และปรับปรุงประสิทธิภาพ ได้อย่างต่อเนื่อง

36

Engineering Today January • February 2021

จากความไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นกับเศรษฐกิจโลก เป็นตัวบ่งชี้ ให้ผู้ประกอบการจ�ำเป็นต้องตระหนักถึงการพัฒนาบุคลากร และแรงงานมากยิง่ ขึน้ ในความเป็นจริงแล้ว แรงงานถือเป็นปัจจัย ที่โรงงานจะจัดว่าเป็นต้นทุนความเสี่ยงอย่างหนึ่ง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งกับโรงงานที่ต้องอาศัยแรงงานขับเคลื่อนเป็นหลัก (Lean Manufacturing) ดังนั้นการแก้ไขจึงควรมุ่งเน้นใช้ประโยชน์จาก ความคิดสร้างสรรค์ของพนักงาน ด้วยการใช้ความรู้และความ สามารถในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ และเพื่อแก้ปัญหา เป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการและสร้างความยั่งยืนนั่นเอง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานของบุคลากรได้มากขึ้น ท�ำงานได้ดีในสภาพแวดล้อมที่มีประสิทธิผล พวกเขาต้องการ ความมีอสิ ระในการท�ำงาน ซึง่ มาพร้อมกับแรงงานทีเ่ ข้าใจบทบาท ของตนในองค์กรและเครือข่าย เทคโนโลยี Virtual Twin สามารถ เพิ่มขีดความสามารถให้กับพนักงานในโรงงาน โดยให้พนักงาน เข้าถึงข้อมูลที่ใช้ในการวัดผลการปฏิบัติงานของตนได้ รวมทั้ง มุ่งเน้นไปที่การเพิ่มพูนทักษะ โดยพนักงานแต่ละคนสามารถ ตรวจสอบความคืบหน้าในขณะทีผ่ จู้ ดั การก็สามารถตรวจสอบและ ปรับปรุงประสิทธิภาพของพนักงานได้

เชือ่ มต่อกระบวนการต่างๆ ทางธุรกิจด้วยดิจทิ ลั การก้าวน�ำหน้าคู่แข่งจ�ำเป็นต้องอาศัยกระบวนการพัฒนา ผลิตภัณฑ์แบบครบวงจร ซึง่ เกีย่ วข้องกับ 3 เสาหลักของนวัตกรรม ได้แก่ การน�ำข้อมูลไปใช้ (Data Science) การนิยามบริบท ในมิ ติ ต ่ า งๆ (Contextualisation) และการท� ำ งานร่ ว มกั น (Collaboration) ด้วยการจัดหาจุดเชื่อมดิจิทัลตั้งแต่ขั้นตอนการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ไปจนถึงการจัดจ�ำหน่าย ท�ำให้ผปู้ ระกอบการ สามารถรวบรวม วิเคราะห์ และแปลงข้อมูลให้เป็นข้อมูลเชิงลึก ส�ำหรับการปรับปรุงผลิตภัณฑ์และการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เทคโนโลยี Virtual Twin จะขับเคลื่อนมูลค่าที่จับต้องได้ ให้กบั บริษทั ต่าง ๆ สร้างแหล่งรายได้ใหม่และไขข้อสงสัยให้กบั ค�ำถาม เชิงกลยุทธ์ทสี่ ำ� คัญ ด้วยการผสมผสานชุดความรูท้ สี่ มบูรณ์เข้ากับ โซลูชันการจ�ำลองคุณภาพสูง ผู้ประกอบการสามารถป้อนข้อมูล ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการปฏิ บั ติ ง านและจ� ำ ลองวั ฏ จั ก รของนวั ต กรรม รวมทั้งการสร้างมูลค่าที่ต่อเนื่องซึ่งอ้างอิงจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นในวงจรการผลิตจนถึงการจัดจ�ำหน่าย


AI • ฟูจิตสึ

ฟูจติ สึนำ� ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และ Big Data ให้บริการดูแลสุขภาพเชิงป้องกัน ส�ำหรับผู้สูงอายุในเมืองอิวากิ “สุขภาพของประชากรผู้สูงวัยจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ การได้ติดต่อ กับท่านเหล่านั้นและการแชร์ข้อมูล ท�ำให้เราสามารถติดตามความ เปลีย่ นแปลงดังกล่าวได้ โดยยกประโยชน์ให้กบั ระบบทีใ่ ช้ปญ ั ญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ซึ่งติดตั้งขึ้นจากการสนับสนุนของฟูจิตสึ ท�ำให้ศาลาว่าการเมืองอิวากิสามารถระบุประชากรสูงวัยผู้มีความเสี่ยง เพื่อช่วยในการคาดการณ์และจัดการเกี่ยวกับระดับการรักษาพยาบาล ในอนาคตได้” Mr.Ryo Igari, Head of Nursing Care Certification, Nursing-Care Insurance Section, Iwaki City Hall, Editor of igoku-the Iwaki Regional Comprehensive Care web-based magazine กล่าว ท่ามกลางความกังวลที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับสุขภาพของประชากร สูงอายุ เมืองอิวากิ จังหวัดฟุกุชิมะ ได้จัดตั้งโครงการเชิงรุกเพื่อให้ บริการดูแลสุขภาพเชิงป้องกัน ซึ่งใช้ข้อมูลพลเมืองจ�ำนวนมากเพื่อ ระบุผู้ที่มีแนวโน้มที่จะต้องได้รับการดูแลในระดับที่เปลี่ยนไป ทั้งนี้ เพื่อให้พวกเขาได้รับการดูแลตั้งแต่ในระยะเริ่มต้น โซลู ชั น สามารถรวบรวมข้ อ มู ล จ� ำ นวนมากที่ ท างศาลาว่ า การ เมืองอิวากิได้เก็บไว้ รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับผู้อยู่อาศัยและผู้ป่วยที่ได้รับ การรับรอง ข้อมูลเกีย่ วกับความพิการและผลการวินจิ ฉัยเฉพาะ จากนัน้ ใช้ระบบ AI เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล สืบค้น และระบุรายชื่อบุคคลที่มีความ เสี่ยง ซึ่งคาดว่าจะต้องได้รับการดูแลในอนาคตอันใกล้ โซลูชันดังกล่าว ช่วยให้สามารถระบุถึงผู้ที่มีความเสี่ยงสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้จะ มีข้อจ�ำกัดด้านเวลาและทรัพยากรช่วยเหลือหน่วยงานพยาบาลโดย ให้การสนับสนุนข้อมูลประวัติผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง ซึ่งจะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการบริหารต้นทุนด้านประกันสังคมที่เพิ่มขึ้น โดยยืด อายุขัยการมีสุขภาพดีของประชากรให้นานขึ้น

• เผยประชากรในเมืองอิวากิ 1 ใน 3 เป็นผู้สูงอายุ เมื อ งอิ ว ากิ ตั้ ง อยู ่ ใ นจั ง หวั ด ฟุ กุ ชิ ม ะ ซึ่ ง อยู ่ ทางเหนือของโตเกียว มีประชากรประมาณ 340,000 คน ในจ�ำนวนนี้ประมาณ 1 ใน 3 เป็น ผู้สูงอายุ ค่าใช้จ่ายด้านประกันการรักษาพยาบาลของที่นี่ เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย 14% ต่อปี แผนกส่งเสริม การดูแลที่ครอบคลุมระดับภูมิภาคแห่งศาลาว่าการ อิวากิกำ� ลังด�ำเนินการเพือ่ สร้างความตระหนักรูใ้ ห้แก่ ชุมชน ผ่านสิง่ พิมพ์และเนือ้ หาในเว็บไซต์ นอกจากนี้ ยังเร่งสร้างระบบเพื่อปกป้องผู้สูงวัยทั่วทั้งภูมิภาค เปิดโอกาสให้พวกเขาได้ลองใช้บริการด้านการดูแล สุขภาพ และเข้าร่วมกิจกรรมที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ สุขภาพ

• การดูแลสุขภาพเชิงป้องกัน เส้นทางสู่อนาคตของญี่ปุ่น ด้ ว ยอั ต ราการเกิ ด ที่ น ้ อ ยลงและประชากร สูงอายุเป็นปัญหาส�ำคัญส�ำหรับสังคม ค่าใช้จ่าย ในการประกั น สุ ข ภาพส� ำ หรั บ ผู ้ ป ่ ว ยที่ ไ ด้ รั บ การ รับรองยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง นับเป็นภาระ หนักส�ำหรับรัฐบาลท้องถิ่นในภูมิภาค และการดูแล สุขภาพเชิงป้องกันคือกุญแจส�ำคัญในการรับมือกับ ภาระนีไ้ ด้ดที สี่ ดุ มีการริเริม่ โครงการต่างๆ ทัว่ ประเทศ เพื่อยืดอายุขัยการมีสุขภาพดีของผู้สูงอายุให้นาน ที่สุด โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน จัดหา อาหารทีม่ คี ณ ุ ค่าทางโภชนาการและกระตุน้ ให้พวกเขา ออกก�ำลังกาย เมืองอิวากิเองก็มีส่วนร่วมอย่างมาก ในการส่งเสริม

Engineering Today January • February 2021

37


• การดูแลสุขภาพในภูมิภาค

อย่างไรก็ตาม ปัญหานี้ไม่ใช่เรื่องที่เกินความคาดหมาย Ryo Igari หัวหน้า Nursing Care Certification, Nursing-Care Insurance Section, Iwaki City Hall ซึ่งส่งเสริมการดูแลสุขภาพในภูมิภาคอย่างครอบคลุม กล่าวว่า ศาลาว่าการใช้วิธีให้ผู้สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการนี้ ซึ่งหมายความว่า ฝ่ายบริหารตระหนักถึงความจ�ำเป็นในการดูแลเมื่อมีการสมัครเข้ามาเท่านั้น ในบรรดาผู้สูงอายุจ�ำนวนมากที่ไม่ได้รับการรับรองให้เป็น ผู้ป่วยในความดูแล ในขณะนี้ เราจ�ำเป็นต้องระบุบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงซึ่งมีแนวโน้มที่จะได้รับ การพยาบาลในระดับที่แย่ลงอย่างรวดเร็วในอนาคต และผู้ที่อาจจะได้รับ ประโยชน์จากการดูแลสุขภาพเชิงป้องกัน จากนัน้ เราต้องเข้าหาและให้พวกเขา มีส่วนร่วมตั้งแต่เนิ่นๆ นักสวัสดิการสังคมด�ำเนินโครงการเพื่อดูแลผู้สูงอายุ แต่พวกเขามีเวลาและความพร้อมที่จ�ำกัด และไม่สามารถติดต่อกับผู้อยู่อาศัย ทั้งหมดได้ มีชาวเมืองอิวากิมากกว่า 50,000 คนที่เป็นผู้สูงอายุ เห็นได้ชัดว่า มีความจ�ำเป็นอย่างชัดเจนในการค้นหาวิธีที่จะระบุตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงสูง อย่างมีประสิทธิภาพ

• แนวทางที่มีประสิทธิภาพโดยใช้ข้อมูล

ในปี พ.ศ. 2560 Ryo Igari มีแนวคิดทีจ่ ะใช้ขอ้ มูลระบบประกันการดูแล สุขภาพ อย่างไรก็ตามเมือ่ ตระหนักว่าการระบุผปู้ ว่ ยทีม่ คี วามเสีย่ งสูงจากข้อมูล เพียงอย่างเดียวนั้นเป็นเรื่องยาก เขาจึงพิจารณาใช้ข้อมูลอื่นๆ ที่จัดเก็บ โดยศาลาว่าการ เช่น ข้อมูลผู้อยู่อาศัย ข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับการรับรอง ข้อมูล เกี่ยวกับความพิการและผลการวินิจฉัยเฉพาะ ในการท�ำเช่นนี้เขาจ�ำเป็น ต้องเอาชนะอุปสรรคของการท�ำงานระหว่างหน่วยงาน “ไม่ใช่เรือ่ งง่ายทีจ่ ะบรรลุเป้าหมายนี้ เราใช้เวลาถึง 9 เดือนในการพูดคุย เกี่ยวกับวิธีหลีกเลี่ยงการใช้ข้อมูลที่ไม่เหมาะสมก่อนที่จะด�ำเนินการต่อไป แต่ในทีส่ ดุ เราก็สามารถเข้าถึงข้อมูลทัง้ หมดของผูอ้ าวุโสประมาณ 97,000 คน และสมาชิกในครอบครัวของพวกเขาที่อาศัยอยู่ภายใต้หลังคาเรือนเดียวกัน” Ryo Igari กล่าว Ryo Igari ได้ติดต่อมาที่ฟูจิตสึผู้พัฒนาระบบประกันสุขภาพของเมือง อิวากิ และเริม่ ระบุกลุม่ คนทีอ่ ยูใ่ นเป้าหมายส�ำหรับการดูแลสุขภาพเชิงป้องกัน ในปี พ.ศ. 2561 ขั้นแรกคือ รวบรวมรายชื่อบุคคลที่มีความเสี่ยงสูง 298 ราย จัดท�ำขึน้ โดยเจ้าหน้าทีจ่ ากเมืองอิวากิ เมืองอิวากิตงั้ อยูใ่ นจังหวัดฟุกชุ มิ ะ ซึง่ อยู่ ทางเหนือของโตเกียว มีประชากรประมาณ 340,000 คน ในจ�ำนวนนีป้ ระมาณ 1 ใน 3 เป็นผู้สูงอายุ ค่าใช้จ่ายด้านประกันการรักษาพยาบาลของที่นี่เพิ่มขึ้น ในอัตราเฉลี่ย 14% ต่อปี แผนกส่งเสริมการดูแลที่ครอบคลุมระดับภูมิภาค แห่งศาลาว่าการอิวากิก�ำลังด�ำเนินการเพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้แก่ชุมชน ผ่านสิ่งพิมพ์และเนื้อหาในเว็บไซต์ นอกจากนี้ยังเป็นก�ำลังเร่งสร้างระบบเพื่อ ปกป้องผูส้ งู วัยทัว่ ทัง้ ภูมภิ าค เปิดโอกาสให้พวกเขาได้ลองใช้บริการด้านการดูแล สุขภาพและเข้าร่วมกิจกรรมทีใ่ ห้ขอ้ มูลเกีย่ วกับสุขภาพสินค้าและบริการ โซลูชนั การดูแลสุขภาพเชิงป้องกัน ศาลาว่าการซึ่งใช้ประสบการณ์ที่สั่งสมมาและ ข้อสมมติฐานบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับอายุ รายได้ต่อปี และการที่ผู้สมัครมี ความพิการอย่างใดอย่างหนึ่งร่วมด้วยหรือไม่ จากนั้นเจ้าหน้าที่ได้ไปเยี่ยม

38

Engineering Today January • February 2021

ผูป้ ว่ ยแต่ละคนและท�ำการสัมภาษณ์ ผลการสัมภาษณ์ ยืนยันว่ามีผใู้ ห้สมั ภาษณ์กว่า 80% เท่านัน้ ทีต่ อ้ งการ ความช่วยเหลืออย่างใดอย่างหนึ่ง จากนัน้ ได้เริม่ ใช้ระบบ AI ในปี พ.ศ. 2562 ซึง่ ใช้ผลลัพธ์จากตัวอย่างของปี พ.ศ. 2561 ในแง่ของ ประเภทของเงื่อนไขที่ใช้กับผู้ป่วยที่ได้รับการรับรอง ให้เป็นผู้ป่วยในความดูแลในช่วงเวลาสั้นๆ ผลที่ได้ คือระบบ AI สามารถระบุบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงได้ 230 คน โดยสถานการณ์ของพวกเขาได้รับการ ยืนยันจากการเยี่ยมของแพทย์

• ขยายความคิดริเริ่ม สู่การเปลี่ยนแปลงทั่วประเทศ สภาพร่ า งกายของผู ้ สู ง อายุ มั ก มี ก าร เปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ สิง่ ส�ำคัญคือต้องมีกลไกในการ ติดต่อกับพวกเขา ด้วยแนวทางและการสนับสนุน ที่เหมาะสมจะสามารถลดความจ�ำเป็นในการดูแล พยาบาลในภายหลั ง ได้ การให้ ค� ำ แนะน� ำ และ การสนั บ สนุ น ก่ อ นที่ ผู ้ ป ่ ว ยจะเข้ า สู ่ ขั้ นวิ ก ฤตยั ง สามารถช่วยให้พวกเขาฟื้นฟูสุขภาพได้ “อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติการติดต่อกับ ทุกคนนั้นเป็นเรื่องยากมาก เนื่องจากมีข้อจ�ำกัดใน เรือ่ งของเวลาและจ�ำนวนเจ้าหน้าที่ นีค่ อื เหตุผลทีเ่ รา ต้องการระบบในการกรองและเน้นกลุ่มบุคคลที่มี ความเสี่ยงสูง” Ryo Igari กล่าว Ryo Igari ต้องการเห็นการริเริ่มในปัจจุบัน ก่อให้เกิดผลประโยชน์ทขี่ ยายวงกว้างมากขึน้ ทัง้ ทาง สังคมและเศรษฐกิจ เป้าหมายการพัฒนาต่อไปของ เขาคือ การใช้ไอทีเพื่อให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เจ้าหน้าทีท่ ไี่ ปเยีย่ มบุคคลทีม่ คี วามเสีย่ งสูงจะบันทึก ผลการเยีย่ มของพวกเขาในระบบเมือ่ พวกเขากลับไป ที่ ศ าลาว่ า การ หากพวกเขาสามารถป้ อ นข้ อ มู ล ที่พบเห็นในระหว่างการเยี่ยม โดยใช้อุปกรณ์พกพา เช่น แท็บเล็ต พีซี เวลาที่ใช้ในการป้อนข้อมูลอาจ รวมอยู่ในเวลาออกเยี่ยมจริง งานด้านสวัสดิการ สังคมเกีย่ วข้องกับผูส้ งู อายุและคนอืน่ ๆ อีกมากมาย การปรับปรุงประสิทธิภาพให้ดีขึ้นแม้เพียงเล็กน้อย ก็อาจส่งผลกระทบที่ส�ำคัญได้ “หากเราสามารถเพิม่ จ�ำนวนหน่วยงานรัฐบาล ท้องถิ่นที่รับเอาแนวคิดที่คล้ายกันมาใช้ ผมก็คิดว่า เราจะมีอนาคตที่สดใสส�ำหรับญี่ปุ่นได้” Ryo Igari กล่าวสรุป


เกจวัดความดัน (Pressure Gauge)

อุปกรณที่สามารถวัดและแสดงคาความดันแบบเข็ม สะดวกในการติดตั้งและ ใชงาน เหมาะสำหรับทุกประเภทอุตสาหกรรม ที่มีความตองการวัดความดัน แบบงายๆ และรวดเร็ว

P500

P500 Low Lead

562 Mini Panel Mount

Size : 1½”, 2”, 2½”, 3½”, 4½” Range : 30” Hg VAC through 0-5000 psi

Size : 1½”, 2” Range : 0-15 through 0-300 psi

Size : 1½” Range : 30” Hg VAC Through 2000 psi

844 & 845 Panel Mount

590 Weather Resistant

570 and 915 OEMs

Size : 2”, 2½”, 3½” Range : V-844U, V-845FF: 30” Hg VAC P-844U, P-845FF: 0-15 psi though 0-3000 psi

Size : 1½”, 2” Range : 1½” P-590 with 1/8-27 NPT, LM or CBM - 0-15 through 0-160 psi 2” P-590 with 1/4-18 NPT, LM or CBM - 0-30 through 0-300 psi

เกจวัดความดันอเนกประสงค เชิงพาณิชย ใชวัดความดันสุญญากาศ

Front Flange U-Clamp Version

ABS Case

สนใจติดตอ : บร�ษัท คณิตเอ็นจ�เนียร�่ง จำกัด โทร. 02-642-8762-4, 02-642-9209-11

แฟกซ 02-248-3006

Utility Gauges

Size :

P-570 Size: 2” P-915 Size: 40 mm, 50 mm, 63 mm Range : P-570 Range: 0-30 through 0-300 psi (dual scale or metric) P-915 Range: 0-30 through 0-4000 psi

www.kanitengineering.com

E-mail : sales1@kanitengineering.com


บทความ

• สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)

ห้องปฏิบัติการทดสอบ สภาวะการท�ำงานของดาวเทียมวิจัยอวกาศและวัสดุในสภาวะสุดโต่ง

สถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน (องค์การ มหาชน) มีความเชี่ยวชาญและองค์ความรู้ ทางด้านวิศวกรรมระดับสูงที่สามารถน�ำมา ประยุ กต์ ใ ช้ ใ นการสร้ า งระบบทดสอบการ ท�ำงานของดาวเทียมและวัสดุในสภาวะสุดโต่ง ด้วยการใช้เทคโนโลยีทพี่ ฒ ั นาขึน้ เอง ท�ำให้ลด ต้นทุนการน�ำเข้าและลดการพึง่ พาเทคโนโลยี ทางด้ า นระบบทดสอบและระบบอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งจากต่ า งประเทศที่ มี ร าคาสู ง นอกจากนีย้ งั สามารถถ่ายทอดองค์ความรูไ้ ปยัง ภาคการศึกษาและธุรกิจ ก่อให้เกิดอุตสาหกรรม ใหม่ๆ ในระยะยาวต่อไป ในปี พ.ศ. 2562 สถาบั น วิ จั ย แสงซิ น โครตรอน (องค์ ก าร มหาชน) : สซ. ได้ร่วมกับโครงการภาคีความ ร่วมมือพัฒนาความสามารถเทคโนโลยีอวกาศ ไทย (Thai Space Consortium : TSC) ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิ สารสนเทศ (องค์การมหาชน : สทอภ. และ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การ มหาชน) : สดร. ในการสร้างเครือข่ายและ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในประเทศ เพื่ อ สร้ า งและพั ฒนาบุ ค ลากรให้ มี ค วามรู ้ ความสามารถและมีความเชีย่ วชาญเฉพาะทาง ด้านเทคโนโลยีดาวเทียม และระบบโดยรอบ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด อุ ต สาหกรรมอวกาศ ในประเทศอย่างยั่งยืน

40

Engineering Today January • February 2021

แนวคิดเบื้องต้นในการออกแบบและพัฒนาระบบ ทดสอบสภาวะการท�ำงานของดาวเทียมฯ ระบบทดสอบสภาวะการท�ำงานของดาวเทียมวิจัยอวกาศ เป็นระบบ ที่สร้างขึ้นเพื่อจ�ำลองสภาวะอวกาศ โดยคุณสมบัติของระบบสามารถสร้าง สภาวะสุญญากาศระดับสูง (HV) ที่ค่าความดันต�่ำกว่า 1.0 x 10-6 torr ใน ห้องสุญญากาศทรงกระบอกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5 เมตร ยาว 1.5 เมตร และสามารถสร้างสภาวะร้อน-เย็นที่อุณหภูมิ ±150 องศาเซลเซียส โดยใช้ เทคโนโลยีการผลิตความร้อน-เย็นด้วยไนโตรเจนเหลว (LN2) สามารถรองรับ การทดสอบดาวเทียมที่มีน�้ำหนักมากถึง 100 กิโลกรัม และมีระบบควบคุม การท�ำงานแบบอัตโนมัติ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการสร้ า งและพั ฒ นาดาวเที ย มขนาดเล็ ก ขึ้ น ด้ ว ย องค์ความรู้และความเชี่ยวชาญในแต่ละด้านของหน่วยงานภายในประเทศ เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเทคโนโลยีอวกาศ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมเกิดใหม่ (next new S-curve) ของประเทศ พร้อมกับ สร้าง eco-system ที่เหมาะสมและยั่งยืนต่อไป ระยะเวลาด�ำเนินการทั้งสิ้น 6 ปี (พ.ศ. 2562-2567) ผ่านกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรม ได้แก่

1

Satellite Systems

2

Scientific & Payload Development

3

Automation and Infrastructures Development


ซึ่ ง สถาบั น วิ จั ย แสงซิ น โครตรอนฯ รั บ หน้ า ที่ ใ นกิ จ กรรม Automation and Infrastructures Development เพื่อพัฒนา โครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นระบบทดสอบและ สร้างอุปกรณ์ทเี่ กีย่ วข้องเพือ่ รองรับการพัฒนา ดาวเทียมที่จะจัดสร้างขึ้น นอกจากการสร้างระบบทดสอบเพื่อ พัฒนาดาวเทียมในโครงการดังกล่าว สถาบันฯ ยังมีเป้าหมายในการเปิดให้บริการกับภาค เอกชนและหน่วยงานภาครัฐที่สนใจ รวมทั้ง มี แ ผนการถ่ า ยทอดเทคโนโลยี แ ละพั ฒนา ก�ำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมให้มี ความเชี่ ย วชาญ เพื่ อ เป็ น การสนั บ สนุ น

องค์ความรู้จากเทคโนโลยีด้านแสงซินโครตรอนและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องทางด้าน เทคนิคและวิศวกรรมขั้นสูงนี้ ให้เกิดการต่อยอดในการสร้างและพัฒนานวัตกรรม ในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีอวกาศ และอุตสาหกรรมเป้าหมายที่เป็นกลไกขับเคลื่อน เศรษฐกิจเพื่ออนาคต โดยลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการวิจัยและนวัตกรรมขั้นแนวหน้าที่ต้องใช้ห้องปฏิบัติการและเครื่องมือทาง วิทยาศาสตร์ระดับสูงเพื่อพัฒนานวัตกรรมที่ส�ำคัญ ให้ประเทศไทยสามารถสร้าง นวัตกรรมที่ตอบโจทย์ความต้องการเพื่อน�ำมาพัฒนาประเทศได้อย่างยั่งยืน

Engineering Today January • February 2021

41



Management Tools Today • ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล dr.pornchai.ong@gmail.com

OKR’s Application : เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)

That Will Make the Difference ศาสตราจารย์ ปีเตอร์ ดรักเกอร์ (Prof. Peter Drucker) ได้แต่งต�ำราชื่อ Management By Objective (MBO) และ ให้ความหมายของ MBO ไว้ว่า “เป็นการจัดการซึ่งผู้บังคับบัญชา และผู้ใต้บังคับบัญชาร่วมกันก�ำหนดวัตถุประสงค์ มาตรฐาน และ เลือกปฏิบัติงาน โดยผู้ใต้บังคับบัญชามีภาระหน้าที่ และความ รับผิดชอบต่อวัตถุประสงค์ โดยมีผู้บังคับบัญชาสนับสนุนและ กระตุ้นเพื่อให้เกิดการควบคุมตนเอง ฉะนั้น ความส�ำคัญของ การวางแผน และการควบคุมจึงขึ้นอยู่กับความสามารถในการ บริหารข้อมูล โดยการสร้างความสัมพันธ์ของระบบข้อมูลกับ การวางแผน และการควบคุมสนับสนุนการตัดสินใจร่วมกัน” และ ด้วยค�ำกล่าวที่ว่า “What gets measure, gets done” นั้นคือ ที่มาของหลักการ Management by Objective (MBO) จึงมีการ ใช้เครือ่ งมือทางการบริหารในรูปแบบ Key Performance Indicators (KPIs) เพื่อให้เรายึดเป็นเป้าหมายต่อการด�ำเนินงานเพื่อบรรลุ ความส�ำเร็จ เป็นมุมมองทีผ่ บู้ ริหารวางนโยบาย วางเป้าหมายและ ก�ำหนดความส�ำเร็จ อีกทั้งก�ำหนดรางวัลที่ได้จากความส�ำเร็จนั้น จึ ง เป็ น ที่ ม าของหลั ก การบริ ห ารองค์ ก รธุ ร กิ จ ที่ น� ำ เอา Balance Score Cards (BSCs) และ KPIs มาเป็นเป้าหมาย ที่ ส� ำ คั ญ ขององค์ ก รในโลกธุ ร กิ จ ขนาดกลางและใหญ่ จน ประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างมาก ในรูปแบบการสร้างแรงจูงใจ (Motivation) มี ก ารตั้ ง รางวั ล ในรู ป แบบของผลตอบแทนผล ของความส�ำเร็จ ทั้งโบนัส การขึ้นเงินเดือน การเลื่อนต�ำแหน่ง เป็นการบริหารที่ผู้บริหารก�ำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายใน มุมมองที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางธุรกิจ (Business Growth) แบบ Top-Down ต่อมา Andrew Stephen Grove มักจะเรียกกันว่า Andy Grove ประธานคณะกรรมการบริหารของหนึ่งในยักษ์ใหญ่ด้าน เทคโนโลยีของโลกคือ Intel (Intel Corporation) วิศวกรทีม่ แี นวคิด ทางการบริหารและเห็นความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการบริหาร เป็น หนึ่งใน Management Guru ชั้นน�ำของโลกของยุคนั้น ลักษณะ และสไตล์ในการบริหารของ Andy Grove ได้ถ่ายทอดแนวคิด ลงสู่หนังสือขายดีของเขาหลายเล่ม อาทิเช่น High Output Management หรือ Only the Paranoid Survive และได้มีการ ปรับและน�ำ MBO มาใช้ในรูปแบบที่เรียกว่า iMBO จน Intel Corporation ประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างมากถึงปัจจุบัน

John Doerr เข้ามาท�ำงานใน Silicon Valley ในยุค 1970s และได้รว่ มงานกับ Andy Grove ซึง่ สอนให้เขารูจ้ กั กับ Objective and Key Results (OKRs) หลังจากนั้นเขาได้ลาออกไปในปี ค.ศ. 1980 เพือ่ ตัง้ บริษทั เป็น Venture Capitalist (VC) เพือ่ ทีจ่ ะได้ น�ำเงินจากการระดมทุนไปลงทุนใน Startup ต่างๆ ที่ทาง VC มองเห็นอนาคต ซึง่ รวมถึง Intuit Amazon Google Twitter การที่ Venture Capitalist เป็นกองทุนที่รวบรวมเงินลงทุนมาจาก ผู้ลงทุนอื่นๆ ที่สนใจร่วมทุน โดยเอาเงินไปลงทุนใน Startup ต่างๆ ทีน่ า่ สนใจและมีอนาคต การยืน่ ข้อเสนอเบือ้ งต้นหรือ Term Sheet ซึ่งจะมีการเจรจาต่อรองกับผู้ประกอบการตามเงื่อนไขใน Term Sheets รวมทั้งจะมีการท�ำ Due Diligence และวิเคราะห์ ผลจากการท�ำ Due Diligence เพือ่ ปรับปรุงเงือ่ นไขต่างๆ ก่อนจะ ออกเอกสารการเข้าร่วมทุนกับผู้ประกอบการอย่างเป็นทางการ การที่ Venture Capitalist (VC) ลงทุนไปแล้วแต่ต้องการ เห็น ผลลัพธ์ถึงความส�ำเร็จในการลงทุน ซึ่งความส�ำคัญของผล ประกอบการจะต้องมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์ ก�ำหนดเป้าหมาย สามารถติดตามและควบคุมได้ การให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดของ Startup ได้ก็คือการหาเครื่องมือทางการบริหารที่เหมาะสม ที่สามารถน�ำมาใช้เต็มในรูปแบบ โดยแนะน�ำให้ Startup นั้นใช้ หลักการตัง้ วัตถุประสงค์และการวัดผลลัพธ์ทสี่ ำ� คัญ (Objectives and Key Results) และเรียกโดยย่อว่า OKRs และเขาได้เอา แนวคิด OKRs ไปใช้ในองค์กรเหล่านัน้ และเห็นว่ามันเกิดประโยชน์ ผลที่ได้ก็คือ Startup ที่น�ำ OKRs ไปใช้เกิดความส�ำเร็จเป็น อย่างมาก ดังเช่น Google ทาง Andy Grove จึงน�ำประสบการณ์ ดั ง กล่ า วมาเขี ย นเป็ น หนั ง สื อ เพื่ อ เล่ า เรื่ อ งราวเหล่ า นี้ ใ ห้ ฟ ั ง ในหนังสือชื่อ Measure What Matters เพื่อที่จะเล่าให้ฟังว่า OKRs คืออะไร แล้วเอาไปใช้อย่างไร เป็นการบริหารที่ผู้บริหาร ก�ำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายในมุมมองที่ผู้บริหารต้องการ และผู้ลงทุนสามารถเห็น ผลลัพธ์ที่ได้ในทุกช่วงไตรมาส และ ส่ ง ผ่ า นให้ แ ก่ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ กลางและพนั ก งานสร้ า งความมี ส่วนร่วมในภารกิจและเป้าหมายที่สามารถตั้งขึ้นมาได้เองจาก แนวความคิดเพื่อสร้างความมีส่วนร่วมในธุรกิจ เพื่อสร้างความ เจริญเติบ โตทางธุร กิจ และความยั่ง ยืนทางธุร กิจ (Business Growth and Sustainability) แบบ Bottom-Up

Engineering Today January • February 2021

43


การประยุกต์ ใช้ OKRs เพื่อความส�ำเร็จ ที่แตกต่าง (OKR’s Application : That Will Make the Difference) ต้องท�ำความเข้าใจให้ได้ว่าการที่ John Doerr ได้กล่าวถึง OKRs ว่าเป็นการก�ำหนดวัตถุประสงค์ (Objectives) ที่คาดหวัง และตั้งผลลัพธ์ที่ส�ำคัญ (Key Results) ที่เราต้องการในความ ส�ำเร็จของเป้าหมายนั้นๆ ใน OKRs 4 ด้าน ที่จะต้องใส่ใจ ได้แก่ and Commit to Priorities การมุ่งเน้น 1 Focus จุดสนใจและผูกมัดไปที่สาระที่ส�ำคัญก่อน and Connect for Teamwork การทําให้ 2 Align สิ่งที่ทําสอดคล้องในแนวทางเดียวกันกับกลยุทธ์ และเป้าหมายขององค์กรและมีการทํางานเป็นทีม Track for Accountability การติดตามและมีคน 3 รับผิดชอบ for Amazing การตั้งเป้าหมายที่ท้าทาย 4 Stretch ที่น่าอัศจรรย์ ซึ่งค�ำย่อทั้ง 4+1 ด้านนั้นเป็น Superpower ของ OKRs บนพื้นฐานของความเป็นจริง (F-A-C-T-S ; Focus - Align Commit - Track + Stretch) และจากแผนผังการวางแผนธุรกิจ (Corporate Business Plan) ทีแ่ สดง จะเห็นระดับชัน้ ของขัน้ ตอน ธุรกิจ ดังนี้ ทัศน์ธุรกิจ (Business Vision) เป็ น ความ 1 วิต้สอัยงการสู งสุดขององค์กร ที่จะก�ำหนดเป้าหมาย (Business Goal) และทิศทาง (Business Direction) ในระยะ เวลา 3-5 ปี ข้างหน้า หน้าที่ ของคณะกรรมการบริษัท (Board of Director) โดยมีกรรมการผูจ้ ดั การ (President : CEO) น�ำมาท�ำเป็นนโยบาย (Policy) ของบริษัทเพื่อก�ำหนดเป้าหมาย (Goal) และทิศทาง (Direction) นธกิจ/ภารกิจธุรกิจ (Business Mission) จะเห็น 2 พัการก� ำ หนดพั น ธกิ จ ที่ ต ้ อ งท� ำ เพื่ อ ให้ บ รรลุ ค วาม ต้องการในวิสัยทัศน์ในแต่ละด้าน โดยการใช้เครื่องมือทางการ บริหารที่เราเรียกว่า Balance Score Cards (BSCs) และ Key Performance Indicators (KPIs) หน้าที่ ของ CEO และรองกรรมการผู้จัดการในแต่ละ สายงาน น�ำมาท�ำเป็นแผนกลยุทธ์ทางธุรกิจ (Strategic Business Plan) ซึง่ พันธกิจอย่างน้อยต้องมีมมุ มองครบทัง้ 4 BSCs และ CSR ทางธุรกิจ (Objective Business) 3 วันัต่นถุคืปอระสงค์ การก�ำหนดวัตถุประสงค์หลักจากพันธกิจ/ ภารกิจธุรกิจให้สอดคล้องและบรรลุเป้าหมาย ซึ่งการก�ำหนด วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นส่ ว นนี้ นั้ น จะมี ก ารก� ำ หนดเป้ า หมายในทุ ก วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นเครื่องมือชี้วัด (Indicators) ซึ่งเราจะเรียก เป้าหมายในส่วนนี้ว่า (Targets) หน้าที่ ของรองกรรมการผู้จัดการในแต่ละสายงานก�ำหนด และส่งมอบให้กับผู้จัดการ (Managers) ด�ำเนินการวางแผน ปฏิบัติการ (Action Plans)

44

Engineering Today January • February 2021

ซึ่งในข้อที่ 1 Vision - 2 Mission - 3 Objective ทางธุรกิจ นั้น จะเป็นส่วนที่ผู้บริหารระดับสูงก�ำหนด และผู้บริหารระดับ กลางน�ำมาท�ำแผนปฏิบัติในเชิงนโยบาย โดยใช้เครื่องมือทางการ บริหารทีส่ ำ� คัญคือ KPIs (Key Performance Indicators) เป็นการ บริหารที่เน้นลักษณะจากระดับบนสู่ระดับล่าง (Top-Down) โดยการสร้างแรงจูงใจ (Motivation) เป็นรางวัล แต่อย่าลืมการ ควบคุมด้วยการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) เพื่อ ให้วัตถุประสงค์นั้นๆ สามารถท�ำได้จริง และจะต้องน�ำ OKRs 4 ที่ John Doerr กล่าวในข้อที่ 1 Focus and Commit to Priorities และข้อที่ 2 Align (ทิศทาง องค์กร) มาพิจารณาให้เห็นเด่นชัดเข้าใจถึงความต้องการองค์กร โดยการใช้ SMART Model (Specific-MeasurableAchievable-Realistic-Timely) ก�ำกับและก�ำหนดวัตถุประสงค์ ในแต่ละหัวข้อที่ต้องการ

การเข้าสู่กระบวนการท�ำ OKRs (Objectives and Key Results) เป็นการน�ำวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ (Objective Business) ในแต่ละวัตถุประสงค์ทางธุรกิจที่ก�ำหนดไว้ดีแล้วโดยผู้บริหาร พร้อมเป้าประสงค์ (Targets) มาส่งมอบหมายให้แต่ละส่วนงาน ที่เกี่ยวข้องส่วนงานนั้นๆ ด�ำเนินการให้บรรลุเป้าประสงค์นั้น หน่วยงานหรือบุคคลต้องการน�ำไปวางแผนให้เป็นวัตถุประสงค์ ส่วนงานธุรกิจ (Objective Business Sectors Plan) นั่นคือการ ท�ำวัตถุประสงค์ของส่วนงานเอง มีการตั้งเป็นวัตถุประสงค์ย่อย (Objectives) และมีก�ำหนดผลลัพธ์ส�ำคัญ (Key Results) ในทุก วัตถุประสงค์ยอ่ ยนัน้ โดยเป็นการวางแผน/หรือโดยหน่วยงานเอง ว่าจะท�ำอย่างไรให้เข้าเป้าประสงค์และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ทางธุร กิจ เป็นการคิดและวางแผนเองภายในหน่วยงานหรือ พนักงาน แต่ต้องน�ำ OKRs 4 ที่ John Doerr กล่าวในข้อที่ 1. Focus and Commit to Priorities และข้อที่ 2. Align and Connect for Teamwork มาพิจารณาให้เห็นเด่นชัดและเข้าใจ ถึงความต้องการของวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ โดยใช้ SMART Model (Specific เด่นชัด - Measurable วัดได้ - Achievable ท้าทาย - Realistic ท�ำได้จริง - Timely ตามเวลา) ก�ำกับและ ก�ำหนดวัตถุประสงค์ในแต่ละหัวข้อที่ต้องการ การคิ ด การวางแผนและน� ำ เสนอเองของหน่ ว ยงาน หรือพนักงาน จึงเกิดความมีส่วนร่วมในแผนนั้นๆ จากผลลัพธ์ ที่ตั้งขึ้นเอง การตั้งเป้าหมายที่ท้าทายที่น่าอัศจรรย์ (Stretch for Amazing) เป็นผลให้ √ เกิดความรู้สึกถึงความรับผิดชอบ (Accountability) √ เกิดภาระติดพัน (Responsibility Obligation) √ เกิดการมีส่วนร่วม (Participation) การน�ำเสนอแผนของหน่วยงานในลักษณะดังกล่าวคือ การท�ำวัตถุประสงค์และการวัดผลลัพธ์ที่ส�ำคัญ (Objectives and Key Results) และเรียกโดยย่อว่า OKRs ซึ่งต้องน�ำเสนอ ดังนี้


วัตถุประสงค์ทางธุรกิจ (Objective Business) และเป้าประสงค์ (Targets) หน่วยงาน 1 วัตถุประสงค์ย่อย (Objective) ผลลัพธ์ส�ำคัญ (Key Result) หน่วยงาน 2 วัตถุประสงค์ย่อย (Objective) ผลลัพธ์ส�ำคัญ (Key Result) หน่วยงาน 3 วัตถุประสงค์ย่อย (Objective) ผลลัพธ์ส�ำคัญ (Key Result) การทีผ่ บู้ ริหารก�ำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายในมุมมอง ธุรกิจทีผ่ บู้ ริหารต้องการให้องค์กรบรรลุเป้าหมายในวิสยั ทัศน์ดว้ ย KPIs และส่งผ่านวัตถุประสงค์ของธุรกิจให้กบั ผูบ้ ริหารระดับกลาง และพนักงานในการสร้างความมีสว่ นร่วมในภารกิจและเป้าหมาย ที่สามารถตั้งขึ้นมาได้เอง เพื่อให้เกิดแนวความคิดเพื่อสร้างความ มีส่วนร่วมในธุรกิจ จึงเป็นการด�ำเนินการตามหลัก OKRs ใน รูปแบบ Bottom-Up ขึ้นมาเป็นสิ่งผูกพันที่จะต้องท�ำและผลลัพธ์ ของหน่วยงานหรือพนักงาน

กระบวนการติดตามผลการท�ำ OKRs ในจิตส�ำนึกความ

รับผิดชอบ (Track for Accountability) เป็นการติดตามผลอย่าง ใกล้ชิด (Tracking System) และผลลัพธ์ที่ได้ตามก�ำหนดเวลา ระบบ OKRs จะมี ร ะบบการติ ด ตามอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและยั ง มี ผูร้ บั ผิดชอบ (เจ้าภาพ) ทีช่ ดั เจนในเรือ่ งนัน้ ๆ ทีจ่ ะต้องทําให้สาํ เร็จ ในแต่ละวัน-สัปดาห์-เดือน และรายไตรมาสที่ก�ำหนด กระบวนการติ ด ตามผลการท� ำ OKRs จึ ง เป็ น การน� ำ กระบวนการแสดงผล (Monitoring) ที่สามารถแสดงรายละเอียด ของวัตถุประสงค์และผลลัพธ์ของเป้าหมายที่หน่วยงานตั้งไว้ มาแสดง ซึ่งจะต้องแสดงให้ทั้งสิ่งที่จะท�ำ ผู้รับผิดชอบ ทีมงาน ที่เกี่ยวข้อง ระยะเวลา แสดงผลส�ำเร็จและความก้าวหน้าตาม ช่วงเวลา สรุปเหตุผลที่เกิดขึ้น วิธีที่ดีที่สุดคือการท�ำในรูปแบบ แผนปฏิบัติการ (OKRs Action Plan) ดังนี้

ตารางแผนปฏิบัติการในรูปแบบ Objective-Key Results in Indicator in Action หรือย่อเป็น OKRs in Action Plan ขออธิบายโดยย่อได้ดังนี้ ถุประสงค์ทางธุรกิจ (Business Objective) 1 น�มาก�ำวัตำหนดเป็ นวัตถุประสงค์หัวข้อหลัก OKRs in Action Plan และก�ำหนดเป้าประสงค์ (Business Target) หรือ OKRs Goal ลงในตารางหลัก เป็นโจทย์ให้กับทีมงานหรือบุคคล ทราบโดยละเอียดว่า องค์กรมีวสิ ยั ทัศน์ (Vision) ทีต่ อ้ งการน�ำพา องค์กรไปอยู่ ณ จุดยืนแห่งความส�ำเร็จใดและไปในทิศทางใด มีพันธกิจ (Mission) ที่แต่ละสายงานธุรกิจมีอะไรบ้าง และเรา ในหน่วยงานย่อยอยู่ในต�ำแหน่งทางธุรกิจที่ต้องท�ำอะไรให้ส�ำเร็จ ในวัตถุประสงค์ทางธุรกิจตรงไหนและเห็นซึ่งความส�ำคัญมาก ต่อความส�ำเร็จในองค์กร ทําให้สิ่งที่ทําสอดคล้องในแนวทาง เดียวกันกับกลยุทธ์และเป้าหมายขององค์กรและมีการทํางาน เป็นทีม (Align and Connect for Teamwork) เป็นการสร้าง

ขวัญก�ำลังใจว่าทีมงานเรามีความส�ำคัญในส่วนหนึ่งขององค์กร เป็นการบริหารแบบ Top-Down ให้ทราบความต้องการของ ผู้บริหารอย่างชัดเจน อบุคคลในสังกัด ช่วยระดมความคิด 2 ให้ที่จทะน�ีมงานหรื ำ เสนอแผนงานที ม หรื อ แผนงานบุ ค คลใน รูปแบบ OKRs Task และ Key Results อย่างน้อย 2-3 ข้อ ให้สามารถตอบและช่วยให้เกิดความเร็จในวัตถุประสงค์หลักทาง ธุรกิจ และน�ำเสนอผู้บริหาร/หัวหน้างานพิจารณา เป็นการท�ำให้ เกิดจิตส�ำนึกในความรับผิดชอบด้วยตนเอง (Accountability in Action) หรือเรียกว่าความเป็น “เจ้าภาพ” เป็นการบริหารแบบ มีส่วนร่วมในรูปแบบ Bottom-Up ้บริหาร/หัวหน้างาน พิจารณาปรับข้อเสนอให้มี 3 ผูความเป็ นไปได้และสอดคล้อง โดยมีการมุ่งเน้นใน จุดสนใจและตัง้ ใจ (Focus) และผูกมัดไปทีส่ าระส�ำคัญ (Commit to Priorities) ของทีมงานหรือบุคคลที่น�ำเสนอ ในรูปแบบ OKRs

การเข้าสูก่ ระบวนการติดตามผลการท�ำ OKRs และความรับผิดชอบ (Track for Accountability)

Engineering Today January • February 2021

45


in Action Plan มีการติดตามผลตามหัวข้อ OKRs Task ตาม รายเดือนและผลลัพธ์ที่ได้แสดงตามรายเดือนที่ได้ลงตารางแผน ปฏิบัติการ การสร้างกระบวนการติดตามผลในการท�ำ OKRs 4 in Action โดยทุกรายเดือนจะต้องรายงานผลลัพธ์ ที่ได้ บันทึกและแสดงให้เห็นถึงความส�ำเร็จ (Successful) หรือ มีความล้มเหลว (Fail) เพราะเหตุใด หากส�ำเร็จและท�ำได้ดีแล้ว ก็ด�ำเนินการต่อไป หากล้มเหลวก็ต้องทราบเหตุและมีแนวทาง ในการแก้ไขอย่างไร ทุกกระบวนการของการติดตามไม่ใช่การ จับผิดจับถูก แต่เป็นการระดมความคิดช่วยกันแก้ไข โดยอาจ มีการสร้าง OKRs Task มาเสริมหรือการปรับการท�ำงานให้ สามารถบรรลุผลลัพธ์ที่ตั้งกันไว้ น�ำผลในการท�ำ OKRs in Action ไปแสดงผลลัพธ์ 5 เป็นรายไตรมาสเพื่อรายงานต่อผู้บริหาร เป็นการ ทวนสอบระหว่าง KPIs กับ OKRs เพือ่ การแสดงผล (Monitoring and Indicating) การบริหารงานเข้าสู่เป้าหมายธุรกิจ (Business Goal) ในวิสัยทัศน์หรือไม่ อย่างไร ในกระบวนการ OKRs ซึ่ ง ค� ำ ย่ อ ทั้ ง 4+1 ด้ า นนั้ น เป็น Super Power ของ OKRs บนพื้นฐานของความเป็นจริง (F-A-C-T-S ; Focus – Align – Commit – Track + Stretch) แต่ระหว่างกระบวนการท�ำงานบนแผนปฏิบัติการ OKRs in Action ให้บรรลุผลส�ำเร็จเป็นเรื่องของการทํางานภายใต้ความ มีส่วนร่วมมือกัน (Participation) อย่างแท้จริงของทีมงานและ ผู้บริหาร ระบบของ OKRs จึงส่งเสริมให้เกิดความส�ำเร็จผ่านสิ่ง ที่เรียกว่า CFR เป็นปัจจัยเสริมพลังแห่งความส�ำเร็จ ดังต่อไปนี้ √ Conversation หมายถึง การเจรจาพูดคุยภายในทีมงาน ซึ่งเป็นการยากที่จะท�ำได้ แต่ถ้าผู้บริหารสามารถสร้าง วัฒนธรรมองค์กร (Organization Culture) ของความ เป็นกันเอง การเข้าถึงได้ การสื่อสารถึงซึ่งกันและกันของ พนักงาน นั่นคือการสร้างเวทีในการช่วยกันท�ำงานและ รับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน √ Feedback คือผลสะท้อนกลับ เป็นการพิจารณาและ ยอมรับผลสะท้อน เป็นการทวนสอบ การแก้ไข ทั้งจาก ภายในและภายนอก เพื่อการปรับเปลี่ยนในทุกช่วงเวลา ป้องกันความผิดพลาดในการท�ำงาน √ Recognition คือการให้ความยอมรับ การกล่าวขวัญใน ผลส�ำเร็จของทีมงานหรือบุคคล เพื่อการแสดงออกว่า สิ่งที่ท�ำมานั้นดีแล้วต่อหน้าบุคคลอื่น เป็นการให้ก�ำลังใจ ว่าท�ำได้ดีและเป็นทั้งแบบอย่างในการท�ำงาน เป็นการ ยอมรับความส�ำเร็จซึ่งกันและกัน ซึ่งวัฒนธรรมธุรกิจ สากล จะน�ำมาใช้แสดงให้เห็นต่อสาธารณชนในผลส�ำเร็จ หรือความดี John Doerr ซึ่งเป็นผู้เขียนได้บอกว่า OKRs บนพื้นฐาน ของพลังจากการสร้างแรงบันดาลใจจาก FACTS เมื่อมารวมกับ พลังจากแรงจูงใจของผูบ้ ริหารหรือหัวหน้างานด้วย CFR ก็จะเป็น

46

Engineering Today January • February 2021

ระบบที่เรียกว่า Continuous Performance Management นั้น คือระบบการจัดการผลการดําเนินงานอย่างต่อเนื่องที่เกิดพลัง ภายในและก�ำลังใจภายนอก ซึ่งจะแตกต่างกับระบบ KPIs แบบ เดิมๆ ที่เน้นการผลักดันด้วยการประเมิน ผลปีละครั้งตอนสิ้นปี และตัง้ เกณฑ์ให้สงู ขึน้ เพือ่ ตบรางวัลซึง่ อาจจะช้าเกินไปและจะไม่มี ความยืดหยุน่ เพราะผลลัพธ์ทไี่ ด้คอื การสร้างก�ำไรและผลตอบแทน เป็นหลัก หัวใจส�ำคัญของ OKRs คือการน�ำวัตถุประสงค์หลักและ เป้าหมายที่เป็นตัวชี้วัดใน KPIs มาก�ำหนดเป็นวัตถุประสงค์ย่อย (Objective) ใน OKRs เพื่อตั้งเป็นโจทย์ให้พนักงานระดับล่าง มีส่วนร่วมคิดว่าหน่วยงานของแต่ละหน่วยงานจะท�ำอะไร มีผล ชีว้ ดั อย่างไร (Key Results) ด้วยตนเอง ให้เกิดพลังความคิดอย่าง มีส่วนร่วมที่เรียกว่า พลังขับเคลื่อนธุรกิจด้วยการสร้างแรงดลใจ (Power of Motive) ด้วยตนเอง ในเมื่อผู้ปฏิบัติเป็น ผู้คิดและ ตั้ ง เป้ า หมายเองและสอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการหลั ก ของ วัตถุประสงค์เป็นลักษณะ Bottom Up ย่อมเกิดพลังผลักดันให้ เกิดความส�ำเร็จ ในรูปแบบ FACTS ความส�ำเร็จของผลงาน นัน่ คือ หัวใจของ OKRs แบบอย่างโครงสร้างการด�ำเนินการประยุกต์ใช้ OKR’s Application : That Will Make the Difference เป็นการ น�ำแผนธุรกิจ (Business Plan) ที่ก�ำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย พั น ธกิ จ และวั ต ถุ ป ระสงค์ ให้ เ ห็ น ในรู ป แบบที่ ว ่ า ด้ ว ยการ ประยุกต์การใช้ OKRs มาช่วยเป็นพลังในการสร้างพลังแห่ง แรงบันดาลใจ (Power of Inspiration) และพลังจากแรงดลใจ (Power of Motive) กับผูป้ ฏิบตั งิ านด้วยการก�ำหนดวัตถุประสงค์ (Objectives) และผลลัพธ์ของความส�ำเร็จ (Key Results) ด้วยทีมงานและผู้ปฏิบัติงานเอง ซึ่งจะช่วยท�ำให้การบริหาร ผลประกอบการโดยใช้ OKRs เกิดประโยชน์ขึ้นได้จริง สามารถ สร้างความส�ำเร็จให้เกิดขึ้นกับองค์กรได้อย่างก้าวกระโดดและ อย่างยั่งยืนต่อไป อย่างเช่นองค์กรชั้นน�ำระดับโลกที่น�ำ OKRs มาใช้เป็นเครื่องมือทางการบริหารจนประสบความส�ำเร็จใน ทุกวันนี้ แต่ OKRs มิใช้เครื่องมือส�ำหรับการบริหารองค์กรธุรกิจ เท่านั้น OKRs ยังสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กับการพัฒนาชีวิต ทั้งในด้านเศรษฐกิจครอบครัว สุขภาพ ชีวิตความเป็นอยู่ ในบท ต่ อ ไปจะเป็ น การใช้ OKRs ในการพั ฒ นาบุ ค คลสู ่ ค วาม เป็นเลิศในอาชีพการงานและชีวติ ครอบครัว สุขภาพ โดยเฉพาะ ในช่วงสถานการณ์วิกฤต COVID-19 (COVID-19 Crisis) เหมาะส�ำหรับที่องค์กรมอบหมายหน้าที่ให้พนักงานท�ำงาน ที่บ้าน (Work from Home) หรือนอกสถานประกอบการ (Work from Anywhere) เป็นอย่างยิ่ง OKRs จะช่วยให้ทุกคน ท�ำงานอย่างมีความสุข ทั้งเรื่องงานและครอบครัว แล้วพบกัน ใน Keeping Healthy and Happy Work During COVID-19 Situation เพื่อเปลี่ยนบทบาท New Normal to New ME ฉบับหน้า


ใบสมัครสมาชิก 2021

ที่อยูในการรับวารสาร / สิ่งพิมพ : ................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... เบอรโทรศัพทที่ทำงาน : ......................................................... มือถือ : ........................................................... E-mail.................................................................................. ID Line : .........................................................

สมาชิกใหม

ตออายุสมาชิก

สมาชิกใหม

ตออายุสมาชิก

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

1 ป 6 ฉบับ 450 2 ป 12 ฉบับ 900

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

1 ป 6 ฉบับ 450 2 ป 12 ฉบับ 900

ใบเสร็จรับเงินออกในนาม บุคคล บริษัท/องคกร ที่อยูในการออกใบเสร็จ ............................................... ................................................................................. ................................................................................. หมายเหตุ : กรุณาสงสำเนาการชำระเงิน (Pay-in Slip) มาใหบริษัทฯ ตามที่อยูที่แนบไวดานลาง

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำกัด

.................................................................................

TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD.

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท 0-2354-5333, 0-2644-4555 Ext. 231 โทรสาร 0-2644-6649 ID Line : membertechno E-mail : member.technologymedia.co.th@gmail.com / marketing_mag@technologymedia.co.th


INDEX January ADVERTISING • February 2021 Engineering Today • Vol.1 No.181 January - February 2021 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ต�ำแหน่งหน้า

0-2665-1000

0-2324-0502

3

www.hitachiabb-powergrids.com

FIMER

-

-

17

www.fimer.com

PROPAK

-

-

18

www.propakasia.com

PISANU ENGINEERING CO., LTD.

0-2245-9113

0-2642-9220

5

www.pisanu.co.th

SKY VIV

0-2348-8532

-

16

www.skyviv.com, piyadol@skyviv.com, info@skyviv.com

THAILAND INDUSTRIAL FAIR

0-2838-9999 Ext. 1177

-

15

www.thailandindustrialfair.com

VEGA INSTRUMENTS CO., LTD.

0-2700-9240

0-2700-9241

2

www.vega.com

กุลธร บจก.

0-2282-5775-8

0-2281-0009

6

www.kulthorn.com

คณิต เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2642-9209-11

0-2246-3214

5, 39

www.kanitengineering.com

เบย์ คอร์ปอเรชั่น บจก.

0-2926-0111

0-2926-0123-4

4

www.bay-corporation.com, sales@bay-corporation.com

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

0-2476-1711

27

www.virtus.co.th, welcome@virtus.co.th

เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอร์วิส แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

0-2702-8801, 0-2702-0581-8

0-2395-1002

7

savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com

ABB POWER GRIDS (THAILAND) LTD.

Website/E-mail

Construction Thailand • Vol.1 No.1 January - February 2021 บริษัท

48

โทรศัพท์

โทรสาร

ต�ำแหน่งหน้า

อิตัลไทย อินดัสเทรียล บจก.

0-2050-0555

-

2, 3

www.italthaiindustrial.com

INTERMACH

0-2036-0500

-

4

www.intermachshow.com

SUBCON THAILAND

0-2036-0500

-

5

www.subconthailand.com

Engineering Today January • February 2021

Website/E-mail







EDITORTALK Construction Thailand

กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2644-4555, 0-2354-5333 ต่อ 214, 231, 219, 230, และ 313 โทรสาร : 0-2644-6649 Website : www.technologymedia.co.th E-mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ E-mail : editor@engineeringtoday.net ฝ่ายโฆษณา E-mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝ่ายบัญชีและธุรการ E-mail : account@technologymedia.co.th

คณะที่ปรึกษา • ศ.อรุณ ชัยเสรี • ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร์ • ดร.ประสงค์ ธาราไชย • ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย • รศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย • รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค • รศ. ดร.การุญ จันทรางศุ • รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ • ศ. ดร.สมศักดิ์ ไชยะภินันท์ • ดร.ทศพร ศรีเอี่ยม • ผไท ผดุงถิ่น

ในปีฉลูทองนี้ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด ขอน�ำเสนอนิตยสารในเครือ น้ อ งใหม่ “Construction Thailand” นิ ต ยสารราย 2 เดื อ น ซึ่ ง รายงานข้ อ มู ล ความเคลือ่ นไหวทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมก่อสร้างในโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ (Mega Projects) เพื่อตอบสนองการใช้ชีวิตรูปแบบใหม่ (New Normal) ในยุคดิจิทัลที่มี ความอัจฉริยะ (Smart) ในทุกๆ ด้าน ในรูปแบบของรายงาน บทความ และข่าวสาร ซึ่งจะเป็นสาระความรู้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพในสายงานอุตสาหกรรมก่อสร้าง ผู้รับเหมา สถาปนิก นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ นักบริหารงานก่อสร้าง วิศวกร มัณฑนากร และ ผู้ที่เกี่ยวข้องในแวดวงก่อสร้าง ตลอดจนอาจารย์ นิสิต นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป ส�ำหรับนิตยสาร “Construction Thailand” ฉบับปฐมฤกษ์ที่ท่านถืออยู่ในขณะนี้ ประเดิมด้วยบทสัมภาษณ์ ดร.ชโลธร โลทารักษ์พงศ์ ผู้บุกเบิกและวางระบบ Conveyor ในการผลิตบล็อก “Lay & Go” นวัตกรรมปฏิวัติการก่อผนังรูปแบบใหม่ในวงการ ก่อสร้างไทย ในคอลัมน์ “Cover Story” ตามด้วยเนื้อหาต่างๆ ที่น่าสนใจมากมาย อาทิ ทล. เผยทางหลวงหมายเลข 11 ตอนปางเคาะ-ปางมะโอ พร้อมทางลอดสี่แยกแม่แขม แล้ ว เสร็ จ ป้ อ งกั น อุ บั ติ เ หตุ ท างลงเขาแบบยั่ ง ยื น , CPAC BIM พั ฒ นาโซลู ชั น ห้องแยก-ควบคุมเชื้อ ลดการแพร่เชื้อ COVID-19 ระลอกใหม่, Obodroid จับมือ แมกโนเลี ย ควอลิ ตี้ พั ฒ นาหุ ่ น ยนต์ สั ญ ชาติ ไ ทย ตอบโจทย์ ค วามต้ อ งการธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพย์, จับตาก�ำลังซื้อกลุ่มมิลเลนเนียลแข็งแรงพอขับเคลื่อนธุรกิจอสังหาฯ ไทยหรือไม่ และ นายณ์ เอสเตท” ส่ง 3 โครงการ ร่วมโครงการ “อีลิท คาร์ด” คาด สิ้นปี ’64 ดึงลูกค้าต่างชาติเข้าพักอาศัยมีระดับกว่า 10 ยูนิต นอกจาก Hard Copy แล้ว ยังมีเว็บไซต์ www.constructionthailand.net ซึ่งจะอัปเดตทุกความเคลื่อนไหวทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมก่อสร้าง รวมทั้ง Facebook : Construction Thailand ฝากทุ ก ท่ า นเข้ า ไปติ ด ตาม หากชื่ น ชอบ เนื้อหาไหน ช่วยกด Like กด Share ให้ด้วยนะครับ

บรรณาธิการอ�ำนวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ บรรณาธิการ สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย์ เรืองติก พิสูจน์อักษร อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรม ชุติภา จริตพันธ์ ฝ่ายโฆษณา พรเพ็ชร โตกทองค�ำ, มนัส ไชยเพส, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, ศิรภิ รณ์ กลิน่ ขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย์, วีรวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายผลิต ชุติมณฑ์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ โรงพิมพ์ ส เอเซียเพรส (1989) แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Facebook : Construction Thailand

www.constructionthailand.net


CONTENTS Construction Thailand

Vol.1 No.1 January - February 2021

8

Cover Story

ดร.ชโลธร โลทารักษ์พงศ์ “ผู้บุกเบิกและวางระบบ Conveyor ในการผลิตบล็อก “Lay & Go” นวัตกรรมปฏิวัติการก่อผนังรูปแบบใหม่ ในวงการก่อสร้างไทย” • สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล

8

13

Innovation

Obodroid จับมือ แมกโนเลีย ควอลิตี้ พัฒนาหุ่นยนต์สัญชาติไทย ตอบโจทย์ความต้องการ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์-ธุรกิจบริการในอนาคต • กองบรรณาธิการ

18

BIM

CPAC BIM พัฒนาชูโซลูชันห้องแยก-ควบคุมเชื้อ ลดการแพร่เชื้อ COVID-19 ระลอกใหม่ • กองบรรณาธิการ

20

Construction

ทล. เผยทางหลวงหมายเลข 11 ตอนปางเคาะ-ปางมะโอ พร้อมทางลอดสี่แยกแม่แขมแล้วเสร็จ ป้องกันอุบัติเหตุทางลงเขาแบบยั่งยืน • กองบรรณาธิการ

13

18

20

22 24

Property

จับตาก�ำลังซื้อกลุ่มมิลเลนเนียลแข็งแรงพอ ขับเคลื่อนธุรกิจอสังหาฯ ไทยหรือไม่ • DD Property

“นายณ์ เอสเตท” ส่ง 3 โครงการ ร่วมโครงการ “อีลิท คาร์ด” คาดสิ้นปี ’64 ดึงลูกค้าต่างชาติเข้าพักอาศัย มีระดับกว่า 10 ยูนิต • กองบรรณาธิการ


Cover Story • สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล

ดร.ชโลธร โลทารักษ์พงศ์ “ผู้บุกเบิกและวางระบบ Conveyor ในการ ผลิตบล็อก “Lay & Go” นวัตกรรม ปฏิวัติการก่อผนังรูปแบบใหม่ ในวงการก่อสร้างไทย” เชื่อเหลือเกินว่า ผู้ที่เข้าชมงาน ACT FORUM '20 Design + Built งานประชุม นานาชาติ ท างสถาปั ต ยกรรมและแสดง เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง ซึ่งจัดขึ้นโดย สภาสถาปนิกในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน ที่ผ่านมา ณ บูธหมายเลข B305 อาคาร ชาเลนเจอร์ 3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี จะต้อง ทึ่ ง กั บ การปฏิ วั ติ ก ารก่ อ ผนั ง ด้ ว ยบล็ อ ก Lay & Go ที่ใช้หุ่นยนต์ท�ำแทนคนได้เป็น ครั้ ง แรกในโลกอย่ า งง่ า ยดายและรวดเร็ ว โดยไม่ต้องมีชั้นปูนก่อ ถือเป็นการปฏิวัติการ ก่อสร้างของไทยครัง้ ใหญ่ในอนาคต หากค่าจ้าง แรงงานสูงและหายาก ทั้งนี้บล็อก Lay & Go ดังกล่าวเป็น ผลงานวิจยั และพัฒนาของ รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค และ ผศ. ดร.ไพจิตร ผาวัน ซึ่งใช้ เวลายาวนานกว่า 10 ปี จนกระทั่งได้แบบ Version 20 ทีส่ ามารถผลิตในระดับอุตสาหกรรม โดย บริษัท VT Innovative Alliance หรือ VTIA ภายใต้การวางระบบการผลิตแบบใหม่ ให้สามารถผลิตได้อย่างต่อเนือ่ ง (Automation) ของ ดร.ชโลธร โลทารักษ์พงศ์ คีย์แมนคน ส�ำคัญ ซึ่งดูแลและรับผิดชอบไลน์การผลิต

8

Construction Thailand January • February 2021


วางระบบ Conveyor ในการผลิตบล็อก “Lay & Go”

ตั้งเป้าเป็นผู้พัฒนานวัตกรรมก่อสร้าง ในปี พ.ศ. 2561 ดร.ชโลธร ได้จดั ตัง้ บริษทั VT Innovative Alliance (VTIA) ด้วยทุนจดทะเบียน 100 ล้านบาท โดยมีคู่ค้า (Partner) ประกอบด้วย รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค ดร.ต่อภัสสร์ ยมนาค ผศ. ดร.ไพจิตร ผาวัน และ ดร.ชโลธร โลทารักษ์พงศ์ และครอบครัว โดย VTIA มีพนั ธกิจและเป้าหมายทีจ่ ะเป็นผูพ้ ฒ ั นา นวัตกรรมก่อสร้างทีเ่ กิดจากการสัง่ สมประสบการณ์ของทีมวิศวกร และสถาปนิกที่มีมากกว่า 30 ปี รวมทั้งการศึกษาวิจัยนวัตกรรม การก่อสร้างจากมหาวิทยาลัยชั้นน�ำ และความเชี่ยวชาญในการ บริหารจัดการการผลิต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการ ก่อสร้าง

ลดแรงงานคน 50%-เพิ่มก�ำลังการผลิต ดร.ชโลธร โลทารักษ์พงศ์ Co-founder และกรรมการ ผู้จัดการบริษัท VT Innovative Alliance หรือ VTIA กล่าวว่า จากการศึกษาระบบผลิตบล็อกมวลเบาในประเทศไทย แม้ว่าจะ เป็นบริษทั มหาชนก็ตาม ค่อนข้างเป็นแบบ Manual ทีเ่ ห็นกันทัว่ ไป คือ มีบล็อกที่อยู่กับพื้น แล้วเทปูนลงไปในแบบ จากนั้นรอให้แห้ง ถึงค่อยแกะออกแล้วตัด ซึง่ ระบบนีช้ า้ และใช้เวลานานมาก ในเวลา 1 วันท�ำได้เพียง 2 รอบ อีกทั้งยังใช้แรงงานคนมาก ผลิตออกมา ได้นอ้ ย เราจึงวางผังระบบการผลิตให้เป็นระบบอุตสาหกรรมผลิต ต่อเนื่อง โดยใช้วิธีการเหมือนรถ วิ่งเป็น Conveyor System ให้โมลด์เคลื่อนที่ตามสายพาน ไปเติมปูนจุดตัดต่างๆ

“ในฐานะที่ ผ มจบด้ า นวั ส ดุ ศ าสตร์ ระดั บ ปริ ญ ญาตรี จาก Imperial College London และระดั บ ปริ ญ ญาเอก จาก University of Oxford ท�ำให้สามารถเข้าใจวัตถุดิบ อย่างเช่น การแข็งตัวของส่วนผสมปูนมีเฟสไหนบ้าง จะต้องตัดเมื่อไหร่ ซึ่งเป็นข้อได้เปรียบในการผลิต” ดร.ชโลธร กล่าว การน�ำระบบ Conveyor System ช่วยลดการใช้แรงงานคน เดิมทีใช้แรงงานคน 30 คน เหลือเพียง 15 คน ขณะเดียวกัน ก�ำลังการผลิตต่อตารางเมตรก็จะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย “ถ้าเป็นระบบเก่า ด้วยพื้นที่ไลน์การผลิตที่มี น่าจะผลิต บล็อกได้ 300-400 ก้อนต่อวัน แต่ตอนนี้เราผลิตได้ประมาณ 4,000-5,000 ก้อนต่อวัน เทียบกับพื้นที่ขนาดเดียวกัน ก�ำลัง การผลิต 1.2 แสนก้อนต่อเดือน โดยใช้เงินลงทุนวางระบบ Conveyor System หลาย 10 ล้ า นบาท ส่ ว นใหญ่ จ ะใช้ เครื่องจักรหลักๆ จากญี่ปุ่น เยอรมนี รวมทั้งไทยด้วย ระบบนี้ ถือว่าใหม่ในวงการก่อสร้างโดยเฉพาะในประเทศไทย” ดร.ชโลธร กล่าว

จัดท�ำแบบ 3D ให้ผู้รับเหมา ได้ทราบถึงวิธีการก่อทุกโปรเจ็กต์ ส�ำหรับนวัตกรรมบล็อก Lay & Go ผ่านการทดสอบ ความแข็งแรงโดยวิธี British Standard มี Soft Body Impact โดยน�ำเอากระสอบทราย 50 กิโลกรัมมาชนทีก่ ำ� แพง เพือ่ ทดสอบ ว่าก�ำแพงยุบหรือไม่ ซึ่งบล็อก Lay & Go ผ่านตามมาตรฐาน อีกทัง้ ยังได้รบั มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) ส�ำหรับบล็อกก�ำแพง

Construction Thailand January • February 2021

9


วางระบบ Conveyor ในการผลิตบล็อก “Lay & Go”

จากส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) กระทรวง อุตสาหกรรม เนื่องจากบล็อก Lay & Go เป็นนวัตกรรมที่ใหม่มาก สิ่งแรกที่จะต้องค�ำนึงก่อนติดตั้งบล็อก คือการไปดูหน้างานและ ขอดูแบบก่อสร้างว่าจะก่อก�ำแพงในรูปแบบใด เพราะนอกจาก ก�ำแพงแล้ว จะต้องมีมุมฉาก ซึ่งใช้บล็อกอีกชนิดหนึ่ง โดยบริษัท VTIA จะต้องท�ำแบบ 3D เพื่อส่งให้ผู้รับเหมาได้ทราบถึงวิธีการ ก่อทุกโปรเจ็กต์ เนือ่ งจากเป็นระบบใหม่ทมี่ วี ธิ กี ารก่อแตกต่างจาก อิฐมวลเบาหรืออิฐแดงทั่วไป “คนทีก่ อ่ จะไม่รวู้ า่ ต้องท�ำอย่างไร ไม่เหมือนอิฐมวลเบาหรือ อิฐแดง ในช่วงแรกทาง รศ. ดร.ต่อตระกูล มองว่าเราควรไปช่วย เขาก่อ ในการออกแบบก�ำแพงที่ต้องก่อ หลังจากนั้นเหมือนอิฐ มวลเบา ถ้าคนเข้าใจว่าก่ออย่างไร ก็จะง่ายแล้ว” ดร.ชโลธร กล่าว

VTIA เผยโปรเจ็กต์แรก “คอนโด Low Rise 3 ตึก ย่านห้วยขวาง” มูลค่า 40 ล้านบาท ส�ำหรับงานโปรเจ็กต์แรกของบริษทั VTIA คือ คอนโดมิเนียม Low Rise 3 ตึก ย่านห้วยขวาง พื้นที่ก�ำแพงประมาณ 46,000 ตารางเมตร ใช้บล็อกประมาณ 7-8 แสนก้อน มูลค่า 40 ล้านบาท ขณะนี้อยู่ในระหว่างการก่อสร้าง ซึ่งต้องการใช้บล็อกในเดือน กุมภาพันธ์ 2564 นอกจากนี้ Developer รายเดียวกัน ต้องการ

10

Construction Thailand January • February 2021

น�ำบล็อก Lay & Go ไปก่อสร้างตึกสูงเช่นกัน แต่ต้องการดู Reference โปรเจ็กต์คอนโดมิเนียมที่ห้วยขวางก่อน “ระบบของเราเป็น Inter Locking Block ประกอบล่าง คือ ถ้าตั้งแนวพื้นได้ตรง สามารถขึ้นตรงได้เลย ไม่ต้องมาปรับ ตอนที่ก่อก�ำแพง ถ้าไม่มีบล็อกทับหลังพิเศษ สามารถย่อได้ที่ ความสูง 2.80 เมตร เป็นห้องปกติ ระบบสามารถน�ำไปใช้ได้ทั้ง โครงการบ้าน คอนโดฯ ได้ทั้งหมด แต่ตอนนี้เรามองไปที่งาน โครงการ ควรจะให้โปรเจ็กต์ใหญ่ๆ ลองท�ำออกมาดูก่อนจะได้ เห็ น ภาพ และสามารถท� ำ ให้ ผู ้ รั บ เหมามองว่ า ระบบนี้ ก็ เ ร็ ว ดี เหมือนกัน และไปต่อได้ ตอบโจทย์วงการก่อสร้าง รวมทั้งมีการ บริการหลังการขาย โดยส่งทีมงานไปดู และรับประกันโครงสร้าง” ดร.ชโลธร กล่าว

บล็อก Lay & Go ฉาบเรียบร้อยแล้ว ราคาถูกกว่า Wall panel และ Precast แถมโอกาสร้าวน้อย หากเปรียบเทียบราคาของ Wall panel และ Precast มองก�ำแพงต่อตารางเมตร ถ้าฉาบเรียบร้อยแล้ว ราคาของบล็อก Lay & Go จะถูกกว่า และถ้าเทียบกับก�ำแพงอิฐแดง ซึ่งต้องใช้ ช่างที่มีทักษะสูง ค่าจ้างแรงงานช่างค่อนข้างสูง ถ้าช่างก่อไม่มี ความช� ำ นาญจะก่ อ ไม่ ต รง ท� ำ ให้ ใ ช้ ปู น ฉาบหนาขึ้ น เพื่ อ ให้ ก�ำแพงตรง ท�ำให้เสียค่าปูนฉาบเพิ่ม อีกทั้งการฉาบปูนฉาบ


ที่หนาขึ้นจะเสี่ยงต่อการร้าว หากมีความหนาไม่เท่ากัน ท�ำให้เกิดการหดตัวได้ ซึ่งทางผู้รับเหมาจะแก้ปัญหาโดย ใช้โครงไก่คอื เหล็กทีเ่ ป็นตาข่ายแปะเข้าไปเพือ่ ยึดหรือเสริม ท�ำให้ผู้รับเหมามีค่าใช้จ่ายเพิ่ม “ระบบของเราต่างกันตรงที่ว่า เราก่อตรงได้ เพราะ เป็ น การล็ อ กๆ เข้ า หากั น ในการฉาบก� ำ แพง เราท� ำ บล็อกของเราให้เป็น 8 เซนติเมตร มาตรฐานก�ำแพง 10 เซนติเมตร เพราะฉะนั้นต้องฉาบเข้ากันหมดข้างละ 1 เซนติเมตรทั้งสองข้าง พอเข้ากันทั้งหมด โอกาสร้าว ก็จะมีน้อย” ดร.ชโลธร กล่าว

บล็อก “Lay & Go” นวัตกรรมปฏิวัติการ ก่อผนังรูปแบบใหม่ ในวงการก่อสร้าง ไทย”

เปิดตัวบล็อก Lay & Go ในงาน ACT FORUM '20 ให้ผู้รับเหมารู้จัก เทคโนโลยีก่อก�ำแพงแบบใหม่ ดร.ชโลธร กล่าวว่า บริษัทฯ ได้เลือกเปิดตัวบล็อก Lay & Go อย่างเป็นทางการ ภายในงาน ACT FORUM '20 Design + Built เพื่อต้องการให้ผู้รับเหมาได้ทราบถึง เทคโนโลยีการก่อก�ำแพงแบบใหม่ ซึง่ ได้การตอบรับอย่างดี ตลอดระยะเวลาการจัดงาน 5 วัน โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ทัง้ สถาปนิก Developer และ DIY ให้ความสนใจเข้าเยีย่ มชม บูธอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ได้มีการพูดคุยกับ Developer ใน โครงการบ้านจัดสรรแถวพัทยา รวมทั้งโปรเจ็กต์แปลกๆ เช่น บ้านสุนัข และต่อเติมบ้าน เนื่องจากระบบสามารถ ใช้กับโครงการเก่าที่ต้องการทุบทิ้งและสร้างใหม่ได้ “ผมพอใจกับ Feed Back ที่ได้ เพราะ Developer มองว่าเป็นทางออกในการก่อก�ำแพงทีเ่ ขาหาอยู่ แต่ไม่มใี คร ท�ำ เหมือน Apple ที่ลูกค้าไม่รู้ว่ามีปัญหา จนกว่าจะมีของ แล้วรู้ว่าอันนี้ตอบโจทย์เขาอยู่ ทั้งนี้ รศ. ดร.ต่อตระกูล เคยพูดไว้ว่า การก่อก�ำแพงท�ำมานานถึง 4,000 ปี วิธีการ ก็ยงั เหมือนเดิม แต่สงิ่ ทีเ่ ราท�ำเป็นอะไรทีแ่ ปลกใหม่ เพราะ เราไม่ได้มองว่า ก�ำแพงเป็นแค่บล็อก แต่มองว่าเป็น Wall Solution ไม่ว่าจะเป็นเอ็นทับหลัง การฉาบ การก่อที่ง่าย ขึ้น การเสริมเหล็กเพื่อความแข็งแรง เป็นการมองทั้งระบบ ไม่ใช่แค่ตัวบล็อก” ดร.ชโลธร กล่าว

โชว์เทรนด์ ในการ ก่อสร้างว่า สามารถ ใช้หุ่นยนต์ก่อได้โดย ไม่จ�ำเป็นต้องใช้คน

Construction Thailand January • February 2021

11


คาดไทยใช้เวลาไม่ต�่ำกว่า 10 ปี น�ำหุ่นยนต์มาช่วยก่อก�ำแพงแทนคน ดร.ชโลธร กล่าวว่า บริษทั VTIA เต็มไปด้วยนักวิจยั น�ำทีมโดย รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค และ ผศ. ดร.ไพจิตร ผาวัน ทุกคนล้วนเป็นนักวิจยั หมด ซึง่ ได้พฒ ั นาให้บล็อก Lay & Go เป็นจุดเริ่มต้นของนวัตกรรมของบริษัทฯ รวมทั้งมองไปอนาคตข้างหน้าที่ ราคาค่าแรงช่างแพงขึ้นและแรงงานหายาก อาจมีการน�ำหุ่นยนต์เข้ามาช่วยก่อแทน แรงงานคน เนื่องจากบล็อกตัวนี้ออกแบบให้ง่ายขึ้นถึงขั้นให้หุ่นยนต์มาช่วยก่อได้ โดยทางเราได้ร่วมมือกับสถาบันไทย-เยอรมัน (TGI) ในการพัฒนาหุ่นยนต์ให้มี Tool ที่พิเศษ และตัว Flipper ที่อาจจะแตกต่างจากหุ่นยนต์ที่หยิบจับชิ้นงานทั่วไป รวมทั้ง มีตัวเทปูนเพื่อใช้ในการก่อแบบนี้ และน�ำหุ่นยนต์ดังกล่าวมาจัดแสดงใน งาน ACT FORUM '20 Design + Built เพื่อโชว์ถึงเทรนด์ในการก่อสร้างว่า สามารถใช้ หุน่ ยนต์ก่อได้โดยไม่จำ� เป็นต้องใช้คน ซึ่งในอนาคตท�ำให้สามารถเทปูนเหลวเข้าไปให้ ก่ อ เป็ น ก� ำ แพงได้ เ ลย โปรเจ็ ก ต์ นี้ ต ้ อ งมองวงการก่ อ สร้ า งประเทศในอนาคต หากแรงงานฝี มื อ ไม่ มี ห รื อ แพงมาก เราอาจจะปล่ อ ยหุ ่ น ยนต์ ใ ห้ เ ช่ า ซึ่ ง ขณะนี้ ในสหรัฐอเมริกามีบริการให้เช่าหุ่นยนต์แล้วเดือนละนับแสนบาท “การน�ำหุน่ ยนต์มาใช้ถอื ว่าเป็นการปฏิวตั วิ งการก่อสร้าง เรามองไปยังประเทศ สหรัฐอเมริกาและประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป ทีน่ ำ� หุน่ ยนต์เข้ามาใช้ เรามองว่าบล็อก ของเราสามารถเข้าสู่อนาคต โดยที่บล็อกของเรามีแล้ว ในอนาคตค่าจ้างแรงงานต้อง แพงขึ้น โดยเฉพาะแรงงาน เช่น เมียนมา ก็จะต้องกลับประเทศ ถ้าประเทศเขาเจริญ ส�ำหรับราคาค่าจ้างแรงงานจะสูงขนาดไหน ผมว่าจะต้องมีช่วง Transition อย่าง สหรัฐอเมริกา ยุโรป ถ้าในอนาคตค่าแรงเราแพงขึ้นเรื่อยๆ เหมือนสหรัฐอเมริกา คาดว่าใช้เวลาไม่ต�่ำกว่า 10 ปี” ดร.ชโลธร กล่าว

เดินหน้าผลิตบ้าน Knockdown ภายใน 5-10 ปีข้างหน้า ลดเวลาในการสร้างบ้าน

“Lay & Go” เป็น Inter Locking Block ถ้าตั้งแนวพื้นได้ตรง สามารถขึ้นตรงได้โดย ไม่ต้องปรับตอนที่ ก่อก�ำแพง

12

Construction Thailand January • February 2021

นอกจากการน�ำหุน่ ยนต์มาใช้เพือ่ ปฏิวตั กิ ารก่อสร้างแล้ว ทางบริษทั VTIA และ รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค มองในอนาคตข้างหน้าว่า จะผลิตบ้าน Knockdown ประเภทบ้านพักตากอากาศ หรือบ้านทั่วไปที่สามารถก่อขึ้นมาเองได้ เหมือนที่อีเกีย ท�ำเป็นแพ็กเกจ ซึ่งจะช่วยลดเวลาในการสร้างบ้าน คาดว่าน่าจะใช้เวลาอีกประมาณ 5-10 ปี “ขณะนี้ที่สหรัฐอเมริกามีเยอะ แต่ส่วนใหญ่จะใช้เป็นระบบไม้ ส่วนเยอรมนีใช้ 3D Printing หรือ 3D หุน่ ยนต์ทพี่ มิ พ์ออกมาเป็นบ้านเลย หากท�ำได้จะเป็นการปฏิวตั ิ วงการก่อสร้างครั้งใหญ่ของไทย ถึงเวลานั้น วิศวกร ผู้รับเหมา อาจจะไปท�ำโปรเจ็กต์ ใหญ่ที่ซับซ้อน ผมคิดว่าจะเหมือน FinTech เป็นการ Disrupt ตลาดในอนาคต” ดร.ชโลธร กล่าวทิ้งท้าย


Innovation • กองบรรณาธิการ

Obodroid จับมือ แมกโนเลีย ควอลิตี้

พัฒนาหุ่นยนต์สัญชาติ ไทย ๏ ตอบโจทย์ความต้องการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ๏ ธุรกิจบริการในอนาคต บริษัท โอโบดรอยด์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (Obodroid) ผู้พัฒนาหุ่นยนต์สัญชาติไทย เช่น หุ่นยนต์ไข่ต้ม (KAITOMM) หุ่นยนต์เพื่อน/ผู้ช่วยส่วนตัว (Companion/Personal Assistant Robot) เอสอาร์วนั (SR1) หุน่ ยนต์รกั ษาความปลอดภัย หุน่ ยนต์ ปิ่นโต (PINTO) หุ่นยนต์ส่งของเพื่อช่วยส่งของระหว่างบุคลากร ทางการแพทย์และผู้ป่วยในโรงพยาบาล และหุ่นยนต์กระจก (MIRROR) แท็บเล็ตพร้อมแอปพลิเคชันเพื่อใช้ในการสื่อสาร ทางไกล ทีส่ นับสนุนบุคลากรทางการแพทย์ในการปฏิบตั งิ านดูแล รักษาผู้ป่วย ร่วมกับ บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (MQDC) ผูน้ ำ� ด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ของไทย พัฒนาหุน่ ยนต์เพือ่ ตอบโจทย์การด�ำเนินธุรกิจทัง้ ในด้าน อสังหาริมทรัพย์และด้านอื่นๆ จนครอบคลุมถึงภาคการบริการ ทั่วไปในอนาคต

หุ่นยนต์ ไข่ต้ม

Construction Thailand January • February 2021

13


Obodroid จับมือแมกโนเลีย ควอลิตี้ พัฒนาหุ่นยนต์ สัญชาติ ไทย รองรับธุรกิจอสังหาฯ-งานบริการ พลณั ฏ ฐ์ เฉลิ ม วรรณ์ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร บริ ษั ท โอโบดรอยด์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (Obodroid) กล่าวว่า Obodroid เป็นบริษทั วิจยั และพัฒนาหุน่ ยนต์บริการและเทคโนโลยีปญ ั ญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ซึ่งเป็นบริษัทที่รวบรวมวิศวกรชั้นน�ำ ของประเทศไทยที่มีความรู้ความช�ำนาญด้านหุ่นยนต์และเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ (Robotics & AI) มารวมไว้ด้วยกัน เพื่อร่วมวิจัยและ พัฒนาหุน่ ยนต์บริการ (Service Robots) ส�ำหรับน�ำไปใช้งานจริงในงาน บริการด้านต่างๆ เช่น หุ่นยนต์รักษาความปลอดภัย หุ่นยนต์ต้อนรับ หุ่นยนต์โฆษณา หุ่นยนต์ส่งของ หุ่นยนต์เพื่อนผู้ช่วยส่วนตัว เพื่อน�ำไป ใช้ในพื้นที่สาธารณะ ห้างสรรรพสินค้า โรงแรม โรงพยาบาล การบริการ ทางการแพทย์ รวมถึงในพื้นที่ส่วนตัว เช่น บ้าน คอนโดมิเนียม หรือ ที่อยู่อาศัยต่างๆ เนื่องจากหุ่นยนต์มีความฉลาดในการคิด แยกแยะ ป้องกันภัยระบบการท�ำงานที่ผู้พัฒนาได้โปรแกรมการท�ำงานไว้อย่าง ลงตัว เป็นต้น เพื่อให้มีการน�ำหุ่นยนต์ไปใช้ในอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ มากยิ่งขึ้น ทางบริษัทฯ จึงได้ร่วมจับมือกับบริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (MQDC) ผู้น�ำด้านการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ของไทย พัฒนาหุ่นยนต์เพื่อตอบโจทย์การด�ำเนินธุรกิจ ทัง้ ในด้านอสังหาริมทรัพย์และด้านอืน่ ๆ จนครอบคลุมถึงภาคการบริการ ทั่วไป เพื่อตอบโจทย์และเติมเต็มประสบการณ์การใช้ชีวิตที่ดีให้แก่ ผู้อยู่อาศัยและประชาชนทั่วไปในอนาคต โดยเน้นให้หุ่นยนต์สามารถ ท�ำงานและอยู่ร่วมกันกับการอยู่อาศัยและใช้ชีวิตของมนุษย์ได้อย่าง กลมกลืน เช่น สามารถท�ำหน้าที่รักษาความปลอดภัยให้กับโครงการ ที่พักอาศัย และสามารถโต้ตอบกับผู้ใช้งานได้อย่างเป็นธรรมชาติและ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น พลณัฏฐ์ เฉลิมวรรณ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท โอโบดรอยด์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด

อย่ากลัวว่าหุ่นยนต์จะมาแย่งงานหากเรามีความพร้อม มีการท�ำงานที่มีความรับผิดชอบที่ ได้รับมอบหมายแต่ละหน้าที่ ของตนเองอยู่แล้ว แต่อยากให้มองว่าหุ่นยนต์เป็นผู้ช่วย เป็นส่วนเติมเต็ม ในหลายๆ สิ่งที่คนเราท�ำงานไม่ ได้ เสี่ยงภัยและก่อให้เกิดอันตราย ต่อส่วนรวมในวงกว้าง ในอนาคตคาดว่าแต่ละบ้านจะมีการน�ำหุ่นยนต์ มาใช้งานอย่างน้อย 1 ตัว ภายใน 5 ปีจากนี้

14

Construction Thailand January • February 2021


มุ่งพัฒนาหุ่นยนต์ อ�ำนวยความสะดวกในชีวิตประจ�ำวัน ดร.มหิศร ว่องผาติ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายเทคโนโลยี บริษัท โอโบดรอยด์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (Obodroid) กล่าวว่า ปัจจุบัน มีการสร้างหุน่ ยนต์หลากหลายชนิดเพือ่ น�ำมาใช้รว่ มท�ำงาน และร่วมเป็น ส่วนหนึ่งในชีวิตประจ�ำวันของคนเรามากยิ่งขึ้น ซึ่งมีทั้งรูปแบบที่เป็น หุ่นยนต์ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ตามการใช้งาน เพื่อช่วยอ�ำนวยความ สะดวกของกลุ่มคนทุกวัย โดยเฉพาะคนสูงอายุและเด็กเล็กๆ ที่ให้การ ตอบรับการน�ำหุ่นยนต์เข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�ำวันมากขึ้น ซึ่งทีม วิจัย Obodroid ได้คิดค้นหุ่นยนต์ขนาดเล็กมากว่า 6 ปี โดยพัฒนา รูปแบบการท�ำงานของหุ่นยนต์ ซอฟต์แวร์ แบตเตอรี่ส�ำหรับใช้งานให้มี ความเหมาะสมในการใช้งานในทุกๆ พื้นที่ส�ำหรับทุกๆ ภาคส่วนต่างๆ โดยเฉพาะในช่วงที่เกิดสถานการณ์ COVID-19 ได้ร่วมท�ำงานกับทีม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (MI Workspace) ใน การผลิตหุ่นยนต์ต้นแบบ “ปิ่นโต (PINTO)” ซึ่งเป็นหุ่นยนต์รถเข็น ส่งอาหารผู้ป่วย (Quarantine Delivery Robot) ที่สามารถควบคุม การเคลื่อนที่จากระยะไกลได้ และ “หุ่นยนต์กระจก (MIRROR)” เป็น แท็บเล็ตใช้ส�ำหรับสื่อสารทางไกล สามารถใช้พูดคุยระหว่างคนไข้กับ เจ้าหน้าทีท่ างการแพทย์ได้ทนั ที โดยไม่ตอ้ งกดรับสาย และคนไข้สามารถ กดเรียกหาพยาบาลได้เมื่อต้องการความช่วยเหลือ ซึ่งช่วยลดทั้งความ เสี่ยงในการติดเชื้อไวรัส COVID-19 จากการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อโดยตรง รวมทั้งดูแลท�ำความสะอาด ฆ่าเชื้อโรคได้ง่าย ไม่สะสมให้เป็นแหล่ง เพาะเชื้อโรคต่อไป ตอบโจทย์คณะแพทย์และพยาบาลในการรับมือกับ สถานการณ์วิกฤตได้ดียิ่ง โดยหุ่นยนต์ปิ่นโตและแท็บเล็ตกระจกนี้ เป็นการใช้งานแบบอิสระและเบ็ดเสร็จ ไม่จ�ำเป็นต้องติดตั้งเครื่องมือ หรือโครงสร้างอื่นใดเพิ่มเติม ท�ำให้แพทย์และพยาบาลสามารถใช้งาน ได้ทันที ปัจจุบันหุ่นยนต์และอุปกรณ์แท็บเล็ตชุดนี้ได้ถูกกระจายไปยัง โรงพยาบาลต่างๆ ในทุกภูมิภาคทั่วประเทศแล้วกว่า 1,050 ชุด

ดร.มหิศร ว่องผาติ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายเทคโนโลยี บริษัท โอโบดรอยด์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด

ดร.การดี เลียวไพโรจน์ หัวหน้าคณะที่ปรึกษาฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด

หุ่นยนต์ที่สร้างขึ้นและน�ำไปใช้จะมีโปรแกรมเฉพาะตัวเฉพาะบ้าน เพื่อให้แต่ละบ้านออกแบบการใช้หุ่นยนต์เฉพาะบริเวณบ้าน เช่น บริเวณห้องนั่งเล่น บริเวณสนามหญ้าหน้าบ้าน และ บริเวณห้องนอน เป็นต้น ซึ่งได้รับการตอบรับที่ดีจากลูกบ้าน โดยเฉพาะหุ่นยนต์ ไข่ต้มที่เด็กๆ และผู้สูงอายุจะชอบมาก เพราะจะได้มีเพื่อนพูดคุยเวลาอยู่บ้านล�ำพัง

Construction Thailand January • February 2021

15


ท�ำความรู้จัก “หุ่นยนต์ ไข่ต้ม (KAITOMM)” และ “หุ่นยนต์เอสอาร์วัน (SR1)” บริษัทฯ ยังได้พัฒนาหุ่นยนต์ “ไข่ต้ม (KAITOMM)” เพื่อ ให้เป็นหุ่นยนต์เพื่อนและผู้ช่วยส่วนตัว (Companion/Personal Assistant Robot) ที่เป็นผู้ช่วยส่วนตัวของคนทุกวัย ท�ำให้ใช้ชีวิต ได้ง่ายมากยิ่งขึ้น ตอบสนองไลฟ์สไตล์ที่ท�ำให้การเชื่อมต่อกับ ทุกสิ่งบนโลกใบนี้เป็นไปได้อย่างสะดวกรวดเร็ว โดยสามารถรับ ค�ำสั่งและพูดคุยกับผู้ใช้งานในภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้ สามารถเชื่อมต่อกับระบบบ้านอัจฉริยะ (Home Automation) เพือ่ สัง่ การเปิดและปิดไฟ รวมทัง้ อุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ภายในทีพ่ กั อาศัยได้ นอกจากนีย้ งั สามารถเชือ่ มต่อกับอุปกรณ์ทางการแพทย์ ส�ำหรับวัดค่าสัญญาณชีพต่างๆ เพื่อช่วยดูแลสุขภาพของเจ้าของ ผูใ้ ช้งาน และหุน่ ยนต์มกี ล้องภายในตัว สามารถใช้เป็นกล้องวงจร ปิด หรือโทรวิดีโอคอลได้ และมีฟังก์ชันอื่นๆ ของหุ่นยนต์ที่ สามารถตั้งเตือน ตั้งปลุก เล่นเพลง สวดมนต์ เช็กสภาพอากาศ และอื่นๆ เหมาะส�ำหรับใช้ในที่พักอาศัยเพื่อเป็น ผู้ช่วยผู้ดูแล ให้ กั บ ผู ้ ใ ช้ ง านได้ ใ นทุ ก เพศทุ ก วั ย ขณะนี้ มี ก ารสั่ ง ซื้ อ เฉพาะ หุ่นยนต์ไข่ต้มเข้ามากว่า 2,000 ตัวแล้ว ส่วน “หุ่นยนต์เอสอาร์วัน (SR1)” เป็นหุ่นยนต์รักษา ความปลอดภัย มีระบบเดินตามเส้นทางที่ก�ำหนดไว้ได้อัตโนมัติ (Auto-Navigation System) ประกอบด้วยกล้องรอบตัว 360 องศา เพื่อเก็บข้อมูลภาพและเสียงที่เกิดขึ้นในสถานที่ต่างๆ มี การใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ในหุ่นยนต์ตัวนี้คือ เทคโนโลยีการตรวจจับวัตถุในซอฟต์แวร์ของ ตัวหุน่ ยนต์ ท�ำให้สามารถตัง้ ค่าโปรแกรมในการตรวจจับวัตถุตา่ งๆ ตามทีต่ อ้ งการได้ เช่น ใบหน้า สิง่ ของ สิง่ มีชวี ติ หรืออาวุธ พร้อมทัง้ ส่ ง ข้ อ มู ล แจ้ ง เตื อ นให้ กั บ ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งหรื อ ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบด้ า น ความปลอดภัยรับทราบได้ทันที นอกจากนีย้ งั มีฟงั ก์ชนั การโทรฉุกเฉินทีผ่ อู้ ยูอ่ าศัยหรือผูค้ น รอบๆ สามารถกดปุม่ เพือ่ โทรขอความช่วยเหลือฉุกเฉินเป็นพิเศษ จากตัวหุ่นยนต์ได้ในทันที เหมาะส�ำหรับการใช้งานในโครงการ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ห้างสรรพสินค้า และสถานทีท่ มี่ พี นื้ ทีข่ นาดใหญ่ตา่ งๆ ที่ต้องดูแลรักษาด้านความปลอดภัยอีกด้วย ส�ำหรับราคาของ หุ่นยนต์ไทยนั้นจะถูกกว่าน�ำเข้า แต่ประสิทธิภาพดีเยี่ยมไม่แพ้ หุน่ ยนต์นำ� เข้า คาดว่าในอนาคตราคาจะลดลง หากผูป้ ระกอบการ ร่วมพัฒนาหุ่นยนต์ไทยออกสู่ตลาดกันมากยิ่งขึ้น

คาดตลาดหุน่ ยนต์ขนาดเล็กช่วยเหลือผูส้ งู อายุและเด็ก แข่งขันสูงขึ้นในเรื่องบริการ-ง่ายต่อการใช้งาน ส�ำหรับข้อจ�ำกัดของหุน่ ยนต์ทสี่ ร้างขึน้ นัน้ ดร.มหิศร มองว่า อาจจะมาจากการใช้ค�ำสั่งแปลกๆ คล้ายกับค�ำสั่ง Siri หรือ

16

Construction Thailand January • February 2021

Google ซึ่งหากใช้ค�ำสั่งยากเกินไปหุ่นยนต์ไม่สามารถตอบสนอง ได้ แต่จะเป็นเพียงข้อจ�ำกัดในระยะแรกในช่วงทดสอบ 1-2 ปี ต่อเมือ่ มีการปรับการท�ำงานให้รองรับแล้วคาดว่าในอนาคตระบบ การท�ำงานจะมีความเสถียรมากยิ่งขึ้น ส่วนการชาร์จแบตเตอรี่ ของตัวหุ่นยนต์ทั้ง 4 แบบนั้น หากชาร์จเต็ม 1 ครั้ง สามารถ ใช้งานได้ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่ต้องกังวลเรื่องแบตเตอรี่ ในส่วน ของราคาหุ ่ น ยนต์ เ ริ่ ม ต้ น ประมาณ 30,000-50,000 บาท ขึ้นอยู่กับโปรแกรมที่น�ำไปใช้ในงาน ในอนาคตหุ่นยนต์ขนาดเล็กที่ช่วยเหลือคนสูงอายุและเด็ก ตลาดจะมีการแข่งขันกันสูงขึน้ ซึง่ ไม่ใช่แข่งขันกันในเรือ่ งของราคา แต่จะแข่งขันในเรื่องบริการและความสะดวก และง่ายต่อการน�ำ ไปใช้งาน

คาดปีหน้าตลาดหุ่นยนต์อุตสาหกรรมของไทย ขยายตัวเร็วสูงเป็นอันดับ 1 ในอาเซียน-อันดับ 4 ของโลก ดร.การดี เลียวไพโรจน์ หัวหน้าคณะที่ปรึกษาฟิวเจอร์ เทลส์ แล็บ บริษทั แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (FutureTales Lab by MQDC) กล่าวว่า เทรนด์ในอนาคต ของหุ่นยนต์พบว่าจะมีการน�ำหุ่นยนต์มาใช้เติบโตมากขึ้นแบบ ก้าวกระโดด โดยเฉพาะในอุตสาหกรรม จะมีการน�ำหุน่ ยนต์มาใช้ เพิ่มขึ้น 31% หรือ 48 ล้านตัว ภายในปี พ.ศ. 2564 โดยกลุ่ม หุน่ ยนต์ทโี่ ตทีส่ ดุ คือ กลุม่ หุน่ ยนต์ใช้สำ� หรับงานบริการตามทีอ่ ยู่ อาศัย (Service Robot) ซึ่งประเทศไทยมีนักวิจัยและคิดค้น หุ่นยนต์ประเภทนี้ที่ได้รับการยอมรับในตลาดอาเซียนมาตลอด 2-3 ปีที่ผ่านมา โดยคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2564 ตลาดหุ่นยนต์ อุตสาหกรรมของประเทศไทยจะมีอัตราการเติบโตเฉลี่ย 19% ซึ่งจะมีการขยายตัวเร็วสุดสูงเป็นอันดับ 1 ในอาเซียน และเป็น อันดับ 4 ของโลก รองจากบราซิล 33% อินเดีย 26% และ จีน 22% เนือ่ งจากผูบ้ ริโภคเริม่ ทีจ่ ะเปิดใจรับการร่วมท�ำงาน ร่วม ใช้ชีวิตกับหุ่นยนต์มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง COVID-19 ทีห่ นุ่ ยนต์ทางการแพทย์มบี ทบาทเข้ามาช่วยเหลือการท�ำงานของ เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ ป้องกันการติดเชื้อ และส่งต่อเชื้อแก่ เจ้าหน้าทีท่ างการแพทย์ คนใกล้ชดิ และท�ำหน้าทีส่ ง่ อาหาร ส่งยา เวชภัณฑ์แก่ผู้ที่ถูกกักตัวและผู้ติดเชื้อในบริเวณที่กักกันเชื้อของ แต่ละพื้นที่ เพื่อสร้างความมั่นใจในการกักเชื้อให้อยู่ในพื้นที่ ควบคุม “อย่ากลัวว่าหุ่นยนต์จะมาแย่งงานหากเรามีความพร้อม มีการท�ำงานทีม่ คี วามรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมายในแต่ละหน้าที่ ของตนเองอยู่แล้ว แต่อยากให้มองว่าหุ่นยนต์เป็นผู้ช่วย เป็นส่วน เติมเต็มในหลายๆ สิง่ ทีค่ นเราท�ำงานไม่ได้ เสีย่ งภัยและก่อให้เกิด อันตรายต่อส่วนรวมในวงกว้าง ในอนาคตคาดว่าแต่ละบ้านจะมี


การน�ำหุ่นยนต์มาใช้งานอย่างน้อย 1 ตัว ภายใน 5 ปีต่อจากนี้” ดร.การดี กล่าว

หุ่นยนต์ช่วยเสริมการท�ำงาน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น สุนทร เด่นธรรม ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ฮิวแมนิก้า จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า หุ่นยนต์มีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในการท�ำงาน ทุกส่วน อยากให้มองว่าหุ่นยนต์เข้ามาเสริมการท�ำงานให้มนุษย์มีความ สะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น มากกว่าที่จะมองว่าหุ่นยนต์ จะมาแย่งงานทีม่ นุษย์ทำ� อยู่ หากมนุษย์ได้เสริมองค์ความรูใ้ นการท�ำงาน อยูแ่ ล้วก็ไม่ตอ้ งกังวลว่าหุน่ ยนต์จะเข้ามาแย่งงาน เนือ่ งจากมนุษย์จะเป็น ผู้เขียนโปรแกรมควบคุมการท�ำงานของหุ่นยนต์อยู่เบื้องหลังอีกที อีกทั้ง หุ่นยนต์ก็ยังมีข้อจ�ำกัดการท�ำงานในหลายๆ ส่วน ซึ่งไม่ สามารถท�ำงานแทนมนุษย์ได้ เช่น การประชุมการค้าที่เป็นความลับ การเจรจาการลงทุน เป็นต้น และในงานหลายๆ ส่วน มนุษย์ก็ท�ำงาน เสี่ยงเหมือนหุ่นยนต์ไม่ได้เช่นกัน เช่น การท�ำงานในโรงไฟฟ้า โรงหล่อ ที่อุณหภูมิเสี่ยงอันตรายต่อร่างกาย การดูแลผู้ป่วยติด COVID-19 เป็นต้น “ฉะนั้นอยากให้เปิดใจรับการเข้ามาของหุ่นยนต์แลกเปลี่ยนการ น�ำหุ่นยนต์มาใช้ระหว่างธุรกิจ มองข้อดีแล้วน�ำข้อเสียไปแก้ไขปรับปรุง ท�ำให้การท�ำงานร่วมกันระหว่างมนุษย์และหุน่ ยนต์ไร้รอยต่อ ตอบโจทย์ ชีวิตยุคใหม่ได้ดีมาก และเป็นสิ่งที่น่ายินดีที่หุ่นยนต์สัญชาติไทยจะได้ สร้างชือ่ เสียง เป็นอุตสาหกรรมส่งออกไปสูป่ ระเทศเพือ่ นบ้านในภูมภิ าค อาเซียนและในพื้นที่อื่นๆ เพิ่มเติมในอนาคต เนื่องจากหุ่นยนต์ฝีมือ คนไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก” สุนทร กล่าว

สุนทร เด่นธรรม ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ฮิวแมนิก้า จ�ำกัด (มหาชน)

กิตติพันธุ์ อุยยามะพันธุ์ ผู้อ�ำนวยการ โครงการ เดอะ ฟอเรสเทียส์ บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด

น�ำหุ่นยนต์มาใช้ในภาคอสังหาริมทรัพย์ กิตติพันธุ์ อุยยามะพันธุ์ ผู้อ�ำนวยการโครงการ เดอะ ฟอเรส เทียส์ บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด กล่าวว่า การวางระบบโดยน�ำหุ่นยนต์มาใช้ในโครงการอสังหาริมทรัพย์ นั้น เป็นการลงทุนที่คุ้มค่า ยิ่งได้ร่วมคิดค้นและพัฒนาหุ่นยนต์กับ บริษทั โอโบดรอยด์ ในการสร้างหุน่ ยนต์ใช้ในโครงการของบริษทั ฯ แต่ละ โครงการ โดยมองถึงความปลอดภัย คุณภาพของการบริการเป็นส�ำคัญ เพราะลูกบ้านของบริษทั ฯ ในแต่ละโครงการมีจำ� นวนมาก ต้องการความ เป็นส่วนตัว ซึ่งหุ่นยนต์ที่สร้างขึ้นและน�ำไปใช้จะมีโปรแกรมเฉพาะตัว เฉพาะบ้าน เพือ่ ให้แต่ละบ้านออกแบบการใช้หนุ่ ยนต์เฉพาะบริเวณบ้าน เช่น ห้องนั่งเล่น สนามหญ้าหน้าบ้าน และห้องนอน เป็นต้น โดยจะมี การอัปเดตโปรแกรมการท�ำงานให้ลูกบ้านแต่ละหลังตามการบริการ อย่างน้อยปีละ 1-2 ครั้ง เบื้องต้นที่น�ำมาใช้ได้รับการตอบรับที่ดีจาก ลูกบ้าน โดยเฉพาะหุน่ ยนต์ไข่ตม้ ทีเ่ ด็กๆ และผูส้ งู อายุจะชอบมาก เพราะ จะได้มีเพื่อนพูดคุยเวลาอยู่บ้านล�ำพัง ที่ส�ำคัญลดการว่าจ้างลูกจ้าง

หุ่นยนต์ เอสอาร์วัน

ที่ เ ป็ น แรงงานต่ า งด้ า วที่ จ ะเข้ า มาท� ำ งานเป็ น แม่ บ ้ า น พนักงานรักษาความปลอดภัย และพนักงานท�ำสวนภายใน โครงการต่างๆ เป็นต้น ส่วนในอนาคตในการร่วมกัน ผลิตหุ่นยนต์จะมีความหลากหลาย ทั้งขนาดเล็กที่มีอยู่ และขนาดใหญ่ขึ้นตามความเหมาะสมในการน�ำไปใช้ใน โครงการอสังหาริมทรัพย์ ทางการแพทย์ และอุตสาหกรรม อื่นๆ เพิ่มเติม Construction Thailand January • February 2021

17


BIM • กองบรรณาธิการ

CPAC BIM พัฒนาชูโซลูชัน •ห้องแยก •ควบคุมเชื้อ

ลดการแพร่เชื้อ COVID-19 ระลอกใหม่ การระบาดระลอกใหม่ของไวรัส COVID-19 ก�ำลังสร้างความกังวล ให้กบั ทุกภาคส่วน โดยเฉพาะตัวเลขจ�ำนวนผูต้ ดิ เชือ้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วกว่า ครั้งแรก การแก้ปัญหาแบบทันสถานการณ์เพื่อยับยั้งการแพร่ระบาดของ COVID-19 จึงเป็นโจทย์ใหญ่ที่ทั้งภาครัฐและวงการแพทย์ต้องเร่งแก้ ไม่เว้น แม้แต่ภาคเอกชนอย่าง บริษัท ผลิตภัณฑ์และวัตถุก่อสร้าง จ�ำกัด (CPAC) ผูน้ ำ� ด้านโซลูชนั การก่อสร้าง ทีพ่ ร้อมสนับสนุนและสร้างนวัตกรรมมาช่วยรับมือ โดยได้นำ� เทคโนโลยี Digital Construction พร้อมบูรณาการองค์ความรูท้ างการ แพทย์รว่ มกับผูเ้ ชีย่ วชาญ พัฒนาเป็น Medical Solution by CPAC BIM โซลูชนั ห้องแยกและควบคุมโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ เพื่อตอบโจทย์ในการป้องกัน การแพร่ระบาดครั้งนี้ วีรกร สายเทพ CPAC BIM Director บริษัท ผลิตภัณฑ์และวัตถุ ก่อสร้าง จ�ำกัด (CPAC) กล่าวว่า จากองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการ ก่อสร้างที่สั่งสมมาเป็นเวลานาน CPAC BIM ได้พัฒนาต่อยอดสู่การแก้ไข ปัญหาด้าน Medical Solution เพื่อช่วยเหลือบุคลากรทางการแพทย์ใน สถานการณ์ที่เร่งด่วน ซึ่งปัญหานี้ต้องลงมือท�ำทันที เราจึงน�ำเอาศักยภาพ ของเราทีม่ ใี นหลายด้านมาต่อยอดช่วยเหลือบุคลากรทางแพทย์หรือหน่วยงาน สาธารณสุข ภายใต้เงื่อนไขการท�ำงาน Speed with Good Enough Quality Medical Solution by CPAC BIM จึงเป็นการออกแบบ สร้างและ ปรับปรุงห้องแยกและควบคุมเชื้อเพื่อใช้ในทางการแพทย์ โดยมีจุดเด่นคือการ น�ำ Digital และ Construction Technology เข้ามาช่วยในการวางแผน และกระบวนการก่อสร้าง เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับแพทย์และผู้ใช้งานห้อง ด้านความปลอดภัย และยังสามารถสร้างได้รวดเร็ว ควบคุมงบประมาณได้ โดยปัจจุบันบริษัทฯ ได้พัฒนาห้องแยกและควบคุมโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ 2 รูปแบบด้วยกันคือ

1

คลินิกแยกโรคติดเชื้อแบบส�ำเร็จรูปพร้อมติดตั้ง (Acute Respiration Infection Outdoor Clinic, ARI Outdoor Clinic)

ภายในมีการแบ่งพื้นที่อย่างเป็นสัดส่วน ทั้งการคัดกรอง ตรวจเชื้อ และ เก็บเชือ้ ซึง่ แยกเส้นทางระหว่างแพทย์กบั ผูป้ ว่ ยออกจากกัน เพือ่ ความปลอดภัย ของบุ ค ลากรทางการแพทย์ ผสานด้ ว ยการน� ำ เทคโนโลยี ร ะบายอากาศ

18

Construction Thailand January • February 2021

วีรกร สายเทพ CPAC BIM Director บริษัท ผลิตภัณฑ์และวัตถุก่อสร้าง จ�ำกัด (CPAC)

ความดันลบและความดันบวกมาใช้ เป็นการป้องกัน ไม่ ใ ห้ อ ากาศที่ มี เ ชื้ อ โรคไหลเวี ย นเข้ า มาในพื้ น ที่ เพือ่ มิให้เชือ้ โรคแพร่กระจายไปสูบ่ คุ ลากรและผูป้ ว่ ย คนอื่นๆ ในโรงพยาบาล

2

ห้องแยกโรคติดเชื้อความดันลบ (Airborne Infection Isolation Room, AIIR)

แบบส�ำเร็จรูปแบบพร้อมติดตั้ง โดยหลักการ ท�ำงานจะใช้เทคโนโลยีความดันลบเพือ่ ควบคุมไม่ให้ เชื้อโรคภายนอกเข้ามาในห้อง และหากมีเชื้อโรค ภายในห้อง ระบบกรองอากาศจะฆ่าเชื้อโรคก่อน ปล่อยออกสู่ภายนอก ตลอดจนจ�ำกัดบริเวณการ ไหลเวียนของเชื้อโรคได้ จึงมั่นใจได้ว่าห้องบุคลากร ทางการแพทย์จะปลอดภัย ไม่ตดิ เชือ้ อากาศทีป่ ล่อย ออกไปไม่ มี เ ชื้ อ โรคและเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ที่ผ่านมาได้ด�ำเนินการแล้วเสร็จที่ โรงพยาบาล สระบุรีและโรงพยาบาลวชิรพยาบาล


ต้นแบบห้อง แยกโรคติดเชื้อ ความดันลบ (AIIR)_1 แบบส�ำเร็จรูป แบบพร้อมติดตั้ง

คลินิกแยกโรคติดเชื้อแบบส�ำเร็จรูปพร้อมติดตั้ง (Acute Respiration Infection Outdoor Clinic, ARI Outdoor Clinic)

“การระบาดของ COVID-19 ในปัจจุบันยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เราจึงรอช้าไม่ได้ที่จะปล่อยให้เกิดการแพร่ระบาดไปมากกว่านี้ โดยความ เชี่ยวชาญของ CPAC BIM เราสามารถน�ำนวัตกรรมที่มีอยู่ต่อยอดจนสามารถ สร้างคลินิกแยกโรคติดเชื้อแบบส�ำเร็จรูปพร้อมติดตั้ง และห้องแยกโรคติดเชื้อ ความดับลบแบบส�ำเร็จรูปได้ เชื่อว่า 2 นวัตกรรมที่ CPAC BIM คิดค้น จะท�ำให้เกิดประโยชน์ด้านการแพทย์อย่างมหาศาล เนื่องจากตอบโจทย์ ความรวดเร็วในการก่อสร้างให้ทันกับจ�ำนวนผู้ติดเชื้อที่เพิ่มขึ้น และที่ส�ำคัญ ได้มาตรฐานที่บุคลากรทางการแพทย์สามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัย นี่เป็น เป้าหมายส�ำคัญที่เราตั้งใจพัฒนานวัตกรรมนี้ขึ้นมา” วีรกร กล่าว ส�ำหรับเทคโนโลยี BIM ทีน่ ำ� มาใช้ในการวางแผนและควบคุมการก่อสร้าง ทั้ง 2 นวัตกรรม ในด้านการออกแบบ ท�ำให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในการก่อสร้าง เห็นภาพจริงและเข้าใจตรงกัน ทั้งแบบห้องและฟังก์ชันการใช้งาน จึงสามารถ ตรวจสอบความผิดพลาดทีจ่ ะเกิดขึน้ ได้กอ่ น ซึง่ เป็นการลดขยะจากการก่อสร้าง ที่ช่วยควบคุมงบประมาณและระยะเวลาท�ำงานได้ทันตามก�ำหนด ด้านความปลอดภัยของห้องมัน่ ใจด้วย Computational Fluid Dynamic (CFD) Program ที่จ�ำลองพลศาสตร์การไหลของอากาศ ท�ำให้สามารถ ออกแบบระบบได้ถกู ต้องแม่นย�ำและวางผังภายในห้องได้เหมาะสมกับผูใ้ ช้งาน ซึ่งมาพร้อมกับระบบ Negative Pressure ระบบระบายอากาศที่ควบคุมการ ไหลเวียนอากาศที่ทรงประสิทธิภาพ ซึ่งจ�ำกัดบริเวณการแพร่ของเชื้อโรคได้ นอกจากนีย้ งั มีระบบกรองและฆ่าเชือ้ ก่อนปล่อยออกสูช่ นั้ บรรยากาศด้วยหลอด UVC และไส้กรอง HEPA ด้วยเทคโนโลยีการก่อสร้าง CPAC BIM ที่ใช้วัสดุ ผนังฉนวนแบบส�ำเร็จรูป Clip Lock ที่ติดตั้งง่าย รวดเร็ว แข็งแรง ดูแลรักษา ความสะอาดได้ง่าย เป็นวัสดุที่ไม่สะสมเชื้อโรค น�ำมาผสานกับ Medical Technology กลุ่ม Ventilation System ส�ำหรับห้องแยกและควบคุมเชื้อ โดยเฉพาะ ซึ่ ง ได้ รั บ การรั บ รองและทดลองใช้ แ ล้ ว ในวงการแพทย์ ว ่ า มี ประสิทธิภาพใช้งานได้จริง

ผศ. นพ.อนุแสง จิตสมเกษม รองคณบดี คณะแพทยศาสตร์ ว ชิ ร พยาบาล มหาวิ ท ยาลั ย นวมินทราธิราช กล่าวว่า ในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของ COVID-19 เช่นนี้ การป้องกันบุคลากร ทางการแพทย์ไม่ให้ได้รับเชื้อและแพร่กระจายไปสู่ ผู้อื่นในโรงพยาบาล ถือเป็นสิ่งส�ำคัญและจ�ำเป็น เร่ ง ด่ ว นในการยั บ ยั้ ง การแพร่ ร ะบาด โดยทาง โรงพยาบาลได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากภาคเอกชน ได้แก่ พรูเด็นเชียลประกันชีวิต และ CPAC BIM ที่ ตระหนักถึงปัญหาทีเ่ กิดขึน้ และน�ำความเชีย่ วชาญมา พัฒนานวัตกรรมห้องแยกโรคติดเชื้อความดันลบ (Airborne Infection Isolation Room-AIIR) ในแบบ Modified Version ซึ่งถือเป็นนวัตกรรมที่คิดค้น โดยคนไทย ตอบโจทย์ ทั้ ง ในเรื่ อ งเวลาที่ จ� ำ กั ด งบประมาณทีไ่ ม่สงู มาก รวมทัง้ เป็นไปตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุขและกรมการแพทย์ การออกแบบของห้อง AIIR นี้ จุดเด่นอยู่ ที่ผนังห้องแบบ Sandvic Panel เป็น ผนังแบบ Compact รวมถึงฝ้าเพดาน ซึง่ เป็นนวัตกรรม Smart Structure ทีส่ ามารถเช็ดท�ำความสะอาดได้ ไม่สะสม เชื้อโรค ระบบดูดอากาศผ่านเครื่องกรองที่ควบคุม การไหลเวียนอากาศอย่างมีประสิทธิภาพและฆ่าเชือ้ ก่อนปล่อยออกสูภ่ ายนอก ซึง่ รวมถึงห้องน�ำ้ ผูป้ ว่ ยด้วย “COVID-19 เปรียบเสมือนสึนามิของการ แพร่ระบาดเชื้อ หมอมองว่าท�ำอย่างไรให้รวดเร็ว ทั น สถานการณ์ การสร้ า งห้ อ งแยกโรคติ ด เชื้ อ ความดันลบ ต้องใช้เวลาอย่างน้อย 1 ปี ซึ่งเรารอ ไม่ได้ แต่ส�ำหรับแบบ Modified Version ที่ CPAC BIM ได้น�ำเสนอกับโรงพยาบาล มีความเป็นไปได้ ตอบโจทย์ในแง่ความรวดเร็ว งบประมาณ และตรง ตามมาตรฐานของ Negative Pressure Room” ผศ. นพ.อนุแสง กล่าวทิ้งท้าย Construction Thailand January • February 2021

19


Construction • กองบรรณาธิการ

ทล. เผยทางหลวงหมายเลข 11 ตอนปางเคาะ-ปางมะโอ จ.แพร่ พร้อมทางลอดสี่แยกแม่แขมแล้วเสร็จ ป้องกันอุบัติเหตุทางลงเขาแบบยั่งยืน

กรมทางหลวง (ทล.) กระทรวงคมนาคม โดยส�ำนักก่อสร้างทาง ที่ 2 ด�ำเนินโครงการก่อสร้างทางหลวงหมายเลข 11 (ล�ำปาง-เด่นชัย) ตอนปางเคาะ-ปางมะโอ ระหว่าง กม. 408+100-กม. 413+800 ระยะทาง 5.7 กิโลเมตร และปรับปรุงบริเวณจุดตัดทางแยก ทางหลวงหมายเลข 11 ที่ กม. 413+411 ตัดทางหลวง หมายเลข 1023 (แพร่-วังชิ้น) ที่ กม. 56+627 (สี่แยก แม่แขม) ในพื้นที่อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ แล้วเสร็จ เพื่อ แก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง เพิ่มความสะดวก รวดเร็วปลอดภัยในการเดินทาง เนือ่ งจากเส้นทางดังกล่าว เดิมมีขนาด 2 ช่องจราจร ลักษณะถนนสองเส้นตัดกับ บริเวณสีแ่ ยกทางเขาทีล่ าดชันและคดโค้งท�ำให้เกิดอุบตั เิ หตุ บ่อยครั้ง และการจราจรติดขัดในช่วงวันหยุดยาว ในปี พ.ศ. 2563 ปริมาณการจราจรเฉลี่ย 4,779 คั น /วั น ประกอบกั บมี ร ถบรรทุ ก สิ น ค้ า ขนาดใหญ่ แ ละ รถโดยสารใช้บริการมากขึ้น ส่งผลให้สภาพผิวทางได้รับ ความเสี ย หายก่ อ นครบอายุ บ ริ ก ารแม้ จ ะบ� ำ รุ ง รั ก ษา สม�ำ่ เสมอ รัฐบาลจึงมอบให้กรมทางหลวงก�ำหนดแผนงาน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ เพื่อด�ำเนิน โครงการก่อสร้างทางหลวงสายดังกล่าว โดยมีศนู ย์สร้างทาง ล� ำ ปางเป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น โครงการก่ อ สร้ า ง มี ลั ก ษณะงาน ดังนี้

20

Construction Thailand January • February 2021


1

โครงการก่อสร้างทางหลวงหมายเลข 11 ระหว่าง กม. 409+400-กม. 413+800

ก่อสร้างตามมาตรฐานทางชั้นพิเศษขนาด 4 ช่อง จราจร และ 6 ช่องจราจร ผิวทางแบบแอสฟัลต์คอนกรีต ระหว่าง กม. 408+100-กม. 412+900 และผิวทาง แบบปอร์ตแลนด์ซีเมนต์คอนกรีตระหว่าง กม. 412+900413+800 กว้างช่องละ 3.5 เมตร ไหล่ทางกว้างข้างละ 2.5 เมตร มีเกาะกลางแบบคอนกรีตแบริเออร์สลับกับ เกาะกลางแบบ Raised Median และมีทางขนาน (Service Road) ระหว่าง กม. 412+900-กม. 413+800 ติดตั้ง ไฟฟ้าแสงสว่างตลอดเส้นทาง

2

โครงการก่อสร้างทางหลวงหมายเลข 1023 ระหว่าง กม. 55+900-กม. 57+612.500

ระยะทาง 1.7 กิ โ ลเมตร โดยออกแบบให้ เ ป็ น ทางลอดใต้สะพานทางหลวงหมายเลข 11 ก่อสร้างตาม มาตรฐานทางชัน้ พิเศษ 4 ช่องจราจร ผิวทางแบบปอร์ตแลนด์ ซี เ มนต์ ค อนกรี ต กว้ า งช่ อ งละ 3.50 เมตร ไหล่ ท าง

กว้างข้างละ 1.50 เมตร มีเกาะกลางแบบคอนกรีตแบริเออร์ และ ทางขนาน (Service Road) ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างตลอดเส้นทาง รวมงานก่อสร้างสะพาน 3 แห่งบนทางหลวงหมายเลข 11 ที่ กม. 413+441 ขนาด 6 ช่องจราจร มีความยาว 40 เมตร และบนทางหลวง หมายเลข 1023 ที่ กม. 56+100 และที่ กม. 57+278 ขนาด 4 ช่องจราจร มีความยาว 30 เมตร มีเกาะกลางแบบคอนกรีต แบริเออร์ พร้อมปรับปรุงบริเวณจุดตัดทางแยกทางหลวงแผ่นดิน ที่ กม. 413+411 ตัดกับทางหลวงหมายเลข 1023 ที่ กม. 56+627 ใช้งบประมาณก่อสร้างทั้งหมด 579,280,000 บาท ขณะนีไ้ ด้กอ่ สร้างเพิม่ เติมที่ กม. 406+700-กม.408+100 ใช้งบประมาณปี 2564 จ�ำนวน 55,000,000 บาท ปัจจุบัน ก่อสร้างแล้ว 17.32% คาดว่าจะแล้วเสร็จทั้งหมดภายในเดือน กันยายน 2564 นี้ โครงการดังกล่าวช่วยเพิ่มความปลอดภัย ให้กบั ผูใ้ ช้เส้นทางอย่างยัง่ ยืน ยกระดับมาตรฐานทางหลวงตาม ความเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจของประเทศ สามารถรองรับ น�้ำหนักรถบรรทุกและปริมาณการจราจรที่เพิ่มมากขึ้น รองรับ การขยายตัวทางเศรษฐกิจระหว่างภูมิภาคและระหว่างจังหวัด เพือ่ ผลสัมฤทธิด์ า้ นการคมนาคมขนส่งและบริการทีด่ ี ตอบสนอง ความต้องการของผู้ใช้เส้นทางทั้งในปัจจุบันและอนาคต

Construction Thailand January • February 2021

21


Property • DDproperty

จับตาก�ำลังซื้อกลุ่มมิลเลนเนียล แข็งแรงพอขับเคลื่อนธุรกิจอสังหาฯ ไทยหรือไม่ ผู ้ บ ริ โ ภคกลุ ่ ม Millennials (มิ ล เลนเนี ย ล) หรือ Gen Y ซึ่งเป็น ผูท้ เี่ กิดช่วงปี พ.ศ. 2527-2539) ได้กลาย มาเป็นฟันเฟืองส�ำคัญในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจของประเทศในศตวรรษที่ 21 ด้วยพื้นฐานการเติบโตมากับโลกดิจิทัล จึงเรียนรู้และรับเทคโนโลยีมาใช้ได้อย่าง รวดเร็ว และน�ำมาพัฒนาทักษะใหม่ๆ ตลอดเวลา นอกจากนั้ น ยั ง ตั ด สิ น ใจ รวดเร็ว จึงท�ำให้คน Gen นี้พร้อมรับมือ การเปลี่ ย นแปลงได้ เ ป็ น อย่ า งดี ไม่ ว ่ า จะเป็นเรื่องสังคม เศรษฐกิจ หรือการ ด�ำเนินชีวิต อีกทั้งยังเป็นวัยที่เต็มไปด้วย ไฟในการท�ำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ในชีวิตและอยู่ในช่วงสร้างฐานะให้มั่นคง จึงท�ำให้เป็นกลุม่ ทีม่ ศี กั ยภาพการใช้จา่ ยสูง และคาดว่าจะเป็นก�ำลังซือ้ ส�ำคัญในอนาคต ไปอีกหลายปี ข้ อ มู ล จากการคาดประมาณ ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 25532583 (ฉบับปรับปรุง) ของส�ำนักงาน สภาพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่งชาติ พบว่าในปีนี้ประชากรไทยใน ช่วงอายุ 25-39 ปี จะมีจ�ำนวนถึง 13.7 ล้ า นคน หรื อ คิ ด เป็ น 31.53% ของ

22

Construction Thailand January • February 2021

ประชากรวัยแรงงานทั้งหมด (ช่วงอายุ 15-59 ปี) กว่า 43 ล้านคน จึงท�ำให้ หลายธุรกิจจับตามองและช่วงชิงก�ำลังซือ้ จากคนกลุ่มนี้มากขึ้น แน่ น อนว่ า เมื่ อ ชาวมิ ล เลนเนี ย ล เป็นกลุม่ ลูกค้าทีม่ ศี กั ยภาพในสายตาของ หลากหลายธุรกิจ ย่อมถูกดึงดูดให้ใช้จา่ ย สนองความต้ อ งการด้ า นต่ า งๆ เสมอ และกลายเป็นอีกช่วงวัยที่เริ่มมีภาระหนี้ เพื่อซื้อทรัพย์สินที่มีราคาสูง โดยเฉพาะ ที่อยู่อาศัย เมื่อเกิดวิกฤตการแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัส COVID-19 ในไทย ภาคธุรกิจ และผู ้ บ ริ โ ภคต่ า งได้ รั บ ผลกระทบกั น ถ้ ว นหน้ า อย่ า งหลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ ไม่ ว ่ า จะทางตรงหรื อ ทางอ้ อ ม รวมทั้ ง กลุ ่ ม มิลเลนเนียลด้วยเช่นกัน บริษัท ข้อมูล เครดิตแห่งชาติ จ�ำกัด ได้เปิดเผยข้อมูล อัปเดต ณ สิ้นไตรมาสแรกปี 2563 ซึ่ง เป็นช่วงที่เริ่มมีการแพร่ระบาดของเชื้อ ไวรัส COVID -19 ในไทย พบว่า กลุ่มผู้ บริโภคที่มีการสร้างหนี้มากที่สุดคือกลุ่ม มิลเลนเนียล หรือ Gen Y โดยมีหนี้สิน รวมกันถึง 4 ล้านล้านบาท คิดเป็นหนีเ้ สีย (NPL) คงค้ า ง 2.7 แสนล้ า นบาท

เมือ่ พิจารณาเรือ่ งสินเชือ่ บ้านทีอ่ นุมตั ใิ หม่ ในช่วงเวลานั้นจ�ำนวน 80,494 สัญญา พบว่ า เป็ น ของกลุ ่ ม มิ ล เลนเนี ย ลหรื อ Gen Y มากที่สุดถึง 64% และเป็นที่ น่ากังวลในเรือ่ งปัญหาค้างช�ำระในอนาคต สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง สภาพคล่ อ งในการ ใช้ จ ่ า ยของผู ้ บ ริ โ ภคกลุ ่ ม นี้ ที่ ไ ด้ รั บ ผล กระทบจากการแพร่ระบาดฯ และเริ่มส่ง สัญญาณเตือนให้เห็นปัญหาการวางแผน ด้านการเงินแม้จะมีก�ำลังซื้อสูงก็ตาม ดีดีพร็อพเพอร์ตี้ (DDproperty) เว็บไซต์มาร์เก็ตเพลสด้านอสังหาริมทรัพย์ อันดับ 1 ของไทย เผยผลส�ำรวจความ คิดเห็นของผูบ้ ริโภคทีม่ ตี อ่ ตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัย DDproperty’s Thailand Consumer Sentiment Study ฉบับล่าสุด เจาะลึก มุมมองด้านการวางแผนการใช้จ่ายของ กลุ่มมิลเลนเนียลและความต้องการด้าน ที่อยู่อาศัยท่ามกลางความท้าทายทั้งด้าน การเงินและการงานจากสภาพเศรษฐกิจ ที่ เ ปราะบางและสถานการณ์ ก ารแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ที่ยัง ไม่คลี่คลาย ว่าส่งผลกระทบต่อก�ำลังซื้อ ของชาวมิ ล เลนเนี ย ลในตลาดอสั ง หาฯ มากน้อยเพียงใด


อยากใช้จ่ายหลากหลาย แต่ครอบครัวต้องมาก่อน เมื่อพูดถึงการวางแผนการใช้จ่าย ใน 1 ปี ข ้ า งหน้ า ของผู ้ บ ริ โ ภคกลุ ่ ม มิลเลนเนียลนั้น ส่วนใหญ่ให้ความส�ำคัญ ไปที่การใช้จ่ายภายในครอบครัวถึง 74% สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง การเป็ น ก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ในการสร้ า งรายได้ แ ละดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบ ค่าใช้จา่ ยในครอบครัวของคนวัยนี้ อย่างไร ก็ ต าม ชาวมิ ล เลนเนี ย ลยั ง คงมี ค วาม ต้องการซื้อที่อยู่อาศัยเป็นของตัวเองอยู่ ไม่น้อย แม้จะยังไม่มีความพร้อมด้าน การเงินในตอนนี้ โดย 59% เผยว่ามี ความตั้งใจออมเงินเพื่อวางแผนซื้อบ้าน ในอนาคต ในขณะที่ 46% ระบุว่าอยาก ออกไปท่ อ งเที่ ยวในวัน หยุด เนื่อ งจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดฯ ปัจจุบัน ท� ำ ให้ ทุ ก คนจ� ำ เป็น ต้อ งเก็บตัว อยู่บ้าน และชะลอแผนท่ อ งเที่ ย วออกไป เพื่ อ ช่ ว ยลดความเสี่ ย งในการติ ด เชื้ อ ไวรั ส COVID-19 และหยุดการแพร่ระบาดฯ ในประเทศ

เตรียมความพร้อม หวังซื้อ บ้านหลังแรกตอน 31 ปี เมือ่ พิจารณาในด้านการครอบครอง อสังหาฯ ในปัจจุบัน พบว่ายังมีสัดส่วน ที่ไล่เลี่ยกัน โดยผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่ม มิลเลนเนียลมีที่อยู่อาศัยเป็นของตัวเอง แล้วถึง 57% ในขณะที่อีก 43% ยังไม่ได้ เป็นเจ้าของอสังหาฯ ใดๆ ซึ่ง 2 ใน 3 ของผู้บริโภคกลุ่มนี้คิดเป็น 66% เผยว่า พวกเขาได้วางแผนที่จะซื้อบ้านหลังแรก เมื่ออายุ 31 ปีขึ้นไป ซึ่งน่าจะเป็นช่วงวัย ที่ มี ค วามพร้ อ มมากพอทั้ ง ด้ า นหน้ า ที่ การงานที่มั่นคงและสถานะทางการเงิน ที่ เ หมาะสมเมื่ อ ต้ อ งเป็ น หนี้ ก ้ อ นใหญ่ มากกว่าตอนนี้

สถานะทางการเงินสั่นคลอน อุปสรรคหลักของการมีบ้าน กลุม่ มิลเลนเนียลยอมรับว่าปัญหา ทางการเงิ น จากความไม่ แ น่ น อนทาง เศรษฐกิ จ ในตอนนี้ ถื อ เป็ น อุ ป สรรค หลั ก ๆ ที่ ท� ำ ให้ พ วกเขายั ง ไม่ มี แ ผน ย้ายออกจากบ้านพ่อแม่ โดย 1 ใน 2 ของกลุ่มนี้ หรือประมาณ 50% เผยว่า ยังไม่มีเงินออมมากพอที่จะไปเช่าหรือ ซื้อบ้านเป็นของตนเอง ในขณะที่ 41% ต้องการที่จะอยู่บ้านเดิมเพื่อดูแลพ่อแม่ อย่างใกล้ชิด ตามมาด้วยกลุ่มที่ไม่คิด จะย้ายออกเพราะยังไม่ได้แต่งงาน 33% และตัง้ ใจจะรับช่วงต่อบ้านเดิมจากพ่อแม่ อยู่แล้ว 33% จึงยังไม่มีความจ�ำเป็นที่จะ ต้องซื้ออสังหาฯ เป็นของตัวเองในตอนนี้

การเช่าโดนใจ ตอบโจทย์ ที่อยู่อาศัยแบบไร้ข้อผูกมัด ระยะยาว ด้ ว ยข้ อ จ� ำ กั ด ทางการเงิ น จาก ปัจจัยต่างๆ ส่งผลให้ชาวมิลเลนเนียล 94% ตัดสินใจเช่าแทนการซื้อที่อยู่อาศัย ในตอนนี้ เนื่องจากมองว่าการเช่าบ้าน/ คอนโดฯ จะมีค่าใช้จ่ายที่น้อยกว่าการซื้อ อสังหาฯ ซึง่ ต้องมีความพร้อมทางการเงิน ในระดับหนึง่ จึงจะได้รบั การอนุมตั สิ นิ เชือ่ ผู้บริโภคส่วนใหญ่จึงเลือกเก็บเงินก้อน

ที่มีส�ำรองไว้ใช้ในยามฉุกเฉินและหันไป เลือกเช่าอสังหาฯ ในรูปแบบที่ตอบโจทย์ การอยู ่ อ าศั ย แทน นอกจากนี้ ก ารมี สถานภาพโสดอยู ่ ตั ว คนเดี ยวก็ เ ป็ น อี ก ปัจจัยที่ส่งผลให้การเช่าที่อยู่อาศัยได้รับ ความนิยมมากกว่าการซื้อเช่นกัน แม้ผลกระทบจากภาพรวม เศรษฐกิจที่ยังไม่ฟื้นตัวจากหลายปัจจัย ในตอนนีจ้ ะท�ำให้แผนบริหารจัดการเงิน ของชาวมิลเลนเนียลต้องสะดุดลงหรือ ชะลอการใช้จ่ายในเรื่องที่ยังไม่จ�ำเป็น เร่ ง ด่ ว นออกไปก่ อ น อย่ า งไรก็ ต าม ผู ้ บ ริ โ ภคกลุ ่ ม นี้ ยั ง คงเป็ น ก� ำ ลั ง ซื้ อ ที่ ส�ำคัญในหลายอุตสาหกรรมในระยะยาว เพียงแต่รอดูสญ ั ญาณบวกของสถานการณ์ ต่างๆ เพื่อหาเวลาที่เหมาะสมในการ ออกมาใช้จา่ ยแทน ดังจะเห็นได้จากการ วางแผนใช้จา่ ยในอนาคตทีผ่ บู้ ริโภคกลุม่ มิลเลนเนียลยังคงให้ความส�ำคัญไปยัง สิง่ ทีจ่ ำ� เป็นมาก่อนความต้องการส่วนตัว ด้วยการวางแผนบริหารจัดการการเงิน ที่ ร อบคอบนี้ เ ชื่ อ ว่ า จะช่ ว ยให้ ก ลุ ่ ม มิ ล เลนเนี ย ลสามารถปรั บ พฤติ ก รรม และปรับเปลี่ยนแผนการใช้จ่ายที่มีให้ สอดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ ป ั จ จุ บั น ได้ อย่างทันท่วงที และกลับมาเป็นก�ำลัง ส�ำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ไทย ให้เติบโตได้ในอนาคตแน่นอน

Construction Thailand January • February 2021

23


Property • กองบรรณาธิการ

“นายณ์ เอสเตท” ส่ง 3 โครงการ ร่วมโครงการ “อีลิท คาร์ด” คาดสิ้นปี’64 ดึงลูกค้าต่างชาติเข้าพักอาศัยมีระดับกว่า 10 ยูนิต “บริษัท นายณ์ เอสเตท จ�ำกัด” ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ระดั บ ลั ก ชั ว รี่ ชั้ น น� ำ ประกาศร่ ว มมื อ (MOU) กั บ “บริ ษั ท ไทยแลนด์ พริวิเลจ คาร์ด” หรือบัตรอีลิท คาร์ด ส่ง 3 โครงการ พร้อมอยู่บนท�ำเลศักยภาพทั่วกรุงเทพฯ มูลค่ารวมกว่า 200 ล้านบาท เข้าโปรแกรมพิเศษ “Elite Flexible One” หวังกระตุ้น ก�ำลังซื้อชาวต่างชาติที่ต้องการลงทุนในประเทศไทย คาดดึง ความสนใจลูกค้าต่างชาติที่ต้องการที่พักอาศัยมีระดับใจกลาง กรุงเทพฯ ได้เพิม่ อีกกว่า 10 ยูนติ ฯ ภายในสิน้ ปี พ.ศ. 2564 นี้ สุธี ลิมปนชัยพรกุล ประธานอ�ำนวยการ บริษัท นายณ์ เอสเตท จ�ำกัด กล่าวว่า หลังจากที่ทาง บริษัท ไทยแลนด์ พริวิเลจ คาร์ด จ�ำกัด (บัตรอีลิท คาร์ด) เปิดตัวโปรแกรม “Elite Flexible One” ซึ่งเป็นที่น่าสนใจในวงการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และได้รับการตอบรับค่อนข้างดี ทางนายณ์ เอสเตท ซึ่งเป็นบูทีค ดีเวลลอปเปอร์ ที่ยังคงมุ่งมั่นพัฒนาโครงการบ้านและคอนโดฯ ลักชัวรีร่ ะดับไฮเอนด์ทเ่ี น้นเจาะลูกค้าเฉพาะกลุม่ ทีม่ คี วามต้องการ อย่างชัดเจน (Niche Market) ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติได้ เข้าร่วมโปรแกรมดังกล่าว เพื่อเป็นอีกหนึ่งช่องทางในการขยาย ฐานลูกค้าชาวต่างชาติได้เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในสถานการณ์ วิกฤต COVID-19 “จากสถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 ระลอกใหม่ นับเป็นปัจจัยลบที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโดยรวมให้เกิดการ ชะลอตัว แต่ในทุกวิกฤตย่อมมีโอกาสเสมอ ซึง่ การบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือกับไทยแลนด์ พริวิเลจ คาร์ด หรือบัตรอีลิท คาร์ด นับเป็นอีกโอกาสส�ำคัญในการขยายฐานลูกค้าชาวต่างชาติให้แก่ บริษัทฯ และเป็นอีกช่องทางในการช่วยกระตุ้นภาพรวมของ เศรษฐกิจ โดยครัง้ นีไ้ ด้นำ� โครงการพร้อมอยู่ (Ready to move in)

จ� ำ นวน 3 โครงการ กว่ า 10 ยู นิ ต มู ล ค่ า รวมกว่ า 200 ล้านบาท ราคาเริ่มต้นตั้งแต่ 17-80 ล้านบาท เข้าร่วม” สุธี กล่าว ด้าน สมชัย สูงสว่าง ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยแลนด์ พริวิเลจ คาร์ด จ�ำกัด (TPC) ผู้ด�ำเนินงานโครงการบัตรสมาชิก ไทยแลนด์ อีลิท กล่าวว่า บริษัทฯ ได้เล็งเห็นวิกฤตจากสภาวะ การชะลอตัวของเศรษฐกิจ อันสืบเนื่องมาจากสถานการณ์การ แพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 บริษัทฯ จึงมีแนวคิดที่จะ ขยายสิทธิประโยชน์จากที่มีอยู่ เพื่อดึงเงินลงทุนจากนักลงทุน ชาวต่างชาติที่มีศักยภาพให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจในกลุ่ม อสังหาริมทรัพย์ผ่านสมาชิกบัตร Thailand Elite ในรูปแบบของ โปรแกรมพิเศษ “Elite Flexible One” “เรามีความยินดีเป็นอย่างยิง่ ทีท่ างนายณ์ เอสเตท ให้ความ ไว้วางใจส่งโครงการที่พร้อมอยู่เพื่อเข้าร่วม “Elite Flexible One” และด้ ว ยศั ก ยภาพของนายณ์ เอสเตท ที่ มี ค วามแข็ ง แรงทั้ ง ภาพลักษณ์ของแบรนด์และของสินค้า อีกทัง้ นโยบายการด�ำเนินงาน ที่สอดคล้องกัน ก็เชื่อมั่นว่าจะสามารถดึงก�ำลังซื้อชาวต่างชาติ และสมาชิกอีลิท คาร์ด มาลงทุนเพิ่มได้อย่างแน่นอน” ส�ำหรับโครงการพร้อมอยู่ (Ready to move in) ภายใต้ การด�ำเนินงานของนายณ์ เอสเตท ที่เข้าร่วมโครงการดังกล่าว ประกอบด้วย โครงการคราม สุขมุ วิท 26, โครงการควอร์เตอร์ 31 สุขุมวิท 31, โครงการควอร์เตอร์ 39 สุขุมวิท 39 “การน�ำโครงการต่างๆ เข้าร่วมกับอีลิท คาร์ด บริษัทฯ คาดว่าภายในสิ้นปี พ.ศ. 2564 จะสามารถดึงกลุ่มลูกค้าชาว ต่างชาติทสี่ นใจทีพ่ กั อาศัยมีระดับใจกลางกรุงเทพฯ ได้เพิม่ อีกกว่า 10 ยูนิต มูลค่ารวมกว่า 200 ล้านบาท” สุธี กล่าว

สิทธิประโยชน์ของบัตรสมาชิกพิเศษ “Elite Flexible One” เงื่อนไข Elite Flexible One ค่าธรรมเนียมการสมัคร 500,000 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) Privilege Entry Visa (PE) 5 ปี อายุสมาชิก 5 ปี การโอนสมาชิกภาพ ไม่สามารถโอนได้ ค่าธรรมเนียมรายปี ไม่มีค่าธรรมเนียม ภายในก�ำหนดระยะเวลา 2 ปี นับแต่วันที่ได้รับอนุมัติให้เป็นสมาชิกพิเศษ “Elite Flexible One” สมาชิกสามารถ Upgrade เป็นบัตรสมาชิกประเภท Elite Ultimate Privilege/Elite Superiority Extension/Elite Privilege Access • Elite Ultimate Privilege จ่ายเพิ่ม 1,605,000 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) • Elite Superiority Extension จ่ายเพิ่ม 500,000 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) • Elite Privilege Access จ่ายเพิ่ม 500,000 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) สิทธิประโยชน์ Airport Service (EPA & Premium Lane) 12 ครั้งต่อปี Airport Service (Departure Lounge & Electro car) 6 ครั้งต่อปี Elite Personal Liaison (EPL) 1 90 Day Report 4

24

Construction Thailand January • February 2021


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.