EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝ่ายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝ่ายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th คณะที่ปรึกษา ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปัทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร์, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค์ ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร บรรณาธิการอ�ำนวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย์ เรืองติก พิสูจน์อักษร อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ์ ฝ่ายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ์ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย์, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายผลิต ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก กรรณิการ์ ศรีวรรณ์ โรงพิมพ์ ส เอเซียเพรส (1989) แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
กทม. เปิดให้ลงทะเบียนฉีดวัดซีน วันแรกยอดพุ่ง 1 ล้านคน สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ในวันที่ 27 พฤษภาคม 2564 ยังต้องคงเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด หลังพบผู้ติดเชื้อ COVID-19 รายใหม่ จ�ำนวน 3,323 ราย แบ่งเป็นผูต้ ดิ เชือ้ รายใหม่ 2,104 ราย และผูต้ ดิ เชือ้ ในเรือนจ�ำ 1,219 ราย ท�ำให้มียอดผู้ป่วยยืนยันสะสมแล้วจนถึงวันนี้ 141,217 ราย ส่วนยอดผู้เสียชีวิตยังคงมีอย่างต่อเนื่อง โดยวันนี้มีผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นถึง 47 ราย ซึ่งทุบสถิติเท่าที่เคยมีมา ส่งผลให้การระบาดระลอก 3 เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564 มียอดผู้เสียชีวิตจากการแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 รวม 826 ราย เมื่อรวมยอดผู้เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2563 มียอดผู้เสียชีวิตทั้งสิ้น 920 ราย ในวันเดียวกันนี้ กทม. ได้จับมือภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน อาทิ ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ไอบีเอ็ม ประเทศไทย จ�ำกัด ภายใต้ การสนั บ สนุ น จากส� ำ นั ก งานหลั ก ประกั น สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ จั ด ท� ำ โครงการ “ไทยร่ ว มใจ กรุ ง เทพปลอดภั ย ” เพื่ อ กระจายวั ค ซี น ให้ ป ระชาชนในพื้ น ที่ กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นพื้นที่เสี่ยงสูงสุด นอกเหนือจากโครงการหมอพร้อม โดยเปิดให้ผู้ที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ ที่มีอายุตั้งแต่ 18-59 ปี ซึ่งไม่ได้เป็น 7 กลุ่ม โรคเสี่ยง เริ่มลงทะเบียนผ่าน www.ไทยร่วมใจ.com ในวันที่ 27 พฤษภาคม 2564 ตั้งแต่เวลา 12.00 น. และจะเริ่มฉีดพื้นที่นอกโรงพยาบาลทั้งหมด 25 จุด ตั้งแต่วันที่ 7 มิถุนายน 2564 เป็นต้นไป ให้ได้อย่างรวดเร็วและทั่วถึง ตามแผน ที่จะส่งมอบวัคซีนแอสตราเซเนกาของกระทรวงสาธารณสุข จ�ำนวน 38,00050,000 คนต่อวัน จากการส�ำรวจพบว่ามีผลู้ งทะเบียนผ่านแอปฯ เป๋าตังเพือ่ จองคิว ฉีดวัคซีนให้ทันเดือนมิถุนายนอย่างล้นหลาม วันแรกยอดพุ่ง 1 ล้านคน เมื่อพูดถึงการให้บริการฉีดวัคซีนนอกโรงพยาบาล ถือได้ว่านวัตกรรมของ หน่วยบริการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยราชวิทยาลัย จุฬาภรณ์ มีประสิทธิภาพในการฉีดได้อย่างรวดเร็ว และในแต่ละครั้งฉีดได้เป็น จ�ำนวนมาก สามารถด�ำเนินการภาคสนาม นอกโรงพยาบาลที่มีขนาดของพื้นที่ และอุปกรณ์สารสนเทศที่จ�ำกัด อีกทั้งยังใช้เจ้าหน้าที่น้อย โดยได้น�ำมาทดลองใช้ กับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นแห่งแรก ตั้งแต่วันที่ 23 พฤษภาคม ที่ผ่านมา มีเป้าหมายฉีดวัคซีนให้บุคลากร นิสิต ประชาชน ประมาณ 120,000 คน และ จะต้องให้เสร็จสิ้นในช่วงเดือนกันยายน ศกนี้ จุดเด่นของระบบการฉีดวัคซีนอยู่ท่ีการให้ผู้เข้ารับบริการนั่งอยู่กับที่ โดยมี พยาบาลเป็นผู้เดินฉีด และแพทย์เป็นผู้ก�ำกับอย่างใกล้ชิด ซึ่งนวัตกรรมดังกล่าว อยู่ในช่วงทดลองประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม จากการสังเกตการให้บริการพบว่า มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย โดยผูเ้ ข้ารับการฉีดวัคซีนจะใช้เวลาในการรับบริการ โดยเฉลี่ยไม่เกิน 1 ชั่วโมง รวมถึงมีการสังเกตอาการและผลข้างเคียงหลังการ ฉีดวัคซีน เมื่อไม่มีอาการใดๆ ผู้เข้ารับบริการก็สามารถเดินทางกลับได้ ณ เวลานี้วัคซีนที่ดีท่ีสุดคือวัคซีนที่ฉีดเร็วที่สุด เพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันหมู่ จะต้องฉีดให้ครอบคลุม 70% ของประชากรทั้งหมด ปัจจุบันคนไทยมีประชากร 70 ล้านคน จะต้องฉีดอย่างน้อย 50 ล้านคน และใช้วัคซีนจ�ำนวน 100 ล้านโดส พร้อมใจกันลงทะเบียนฉีดวัคซีนนะครับ
CONTENTS Engineering Today
May • June 2021 Vol.3 No.183
COLUMNS 10 E-Talk
กทม. เปิดให้ลงทะเบียนฉีดวัดซีน วันแรกยอดพุ่ง 1 ล้านคน
• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
Report 12 นาโนเทค ชู “นาโนโรโบติกส์ พิชิตมะเร็ง” วางแผนสร้างบุคลากร
คาดอีก 10 ปี ช่วยแพทย์รักษาผู้ป่วย
• กองบรรณาธิการ
• กองบรรณาธิการ
16 ผู้ประกอบการ SME เผยเคล็ดลับเสริมแกร่งฝ่าฟันวิกฤต COVID-19 20 Cover Story
36 Energy Today Grundfos endorses the use of high
efficiency IE5 motors and pump solutions for efficiency and energy consumption reduction
• Editorial Staff
IT Update 38 เอสโตเนียขยายจุดให้บริการ e-Residency
บัตรพลเมืองดิจิทัลรายแรกของโลก ใน กทม. ดึงนักธุรกิจไทยตั้งบริษัท ในเอสโตเนีย รับมือ COVID-19 ระบาด
• กองบรรณาธิการ
22 EEC
เอดจ์ คอมพิวติ้ง ดาต้าเซ็นเตอร์ และศูนย์ปฏิบัติการเครือข่ายจากที่บ้าน • มาอุด จิเราวด์
42 Management Tools Today
Radar is the better ultrasonic!
• VEGA
บริษัทชั้นน�ำใน US ร่วมทุนสวนอุตสาหกรรมโรจนะ ผลิตแบตเตอรี่ขนาด 8,000 MW ใหญ่ที่สุดในอาเซียน ในพื้นที่ EEC
• กองบรรณาธิการ
23 New Course
สจล. จับมือ ม.สแตรธไคลด์ เปิดหลักสูตรปั้น “นักเคมีควบวิศวกรเคมีรุ่นใหม่” ครั้งแรกในไทย พร้อม 3 ทางเลือกการเรียนแนวใหม่
40 4 เคล็ดลับส�ำคัญในการมอนิเตอร์
• กองบรรณาธิการ
24 AI
Creative AI Camp by CP ALL ปีที่ 3 ถอดบทเรียน-วิธีคิด AI ไต้หวันสู่เยาวชนไทย
• กองบรรณาธิการ
27 บทความพิเศษ
จับตาพฤติกรรมช่วงล็อกดาวน์ที่อาจอยู่กับเราไปชั่วชีวิต
• ชาร์ลส ซอเมอร์ส
29 Innovation
24
เอ็มเทค พัฒนาเปลปกป้อง “PETE” ทลายข้อจ�ำกัดการใช้งานเปลความดันลบทั่วไป ลดการน�ำเข้าจากต่างประเทศ
• กองบรรณาธิการ
33 Smart Industry
หัวเว่ยเปิดตัวชิ้นส่วนประกอบอัจฉริยะครบชุด ส�ำหรับโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ รุกตลาดนวัตกรรมยานยนต์เต็มสูบ
• กองบรรณาธิการ
34 Robotics
ยูนิเวอร์ซัล โรบอท เผยปี ’64 อุตฯ ยานยนต์ในไทยเติบโต หนุนการใช้หุ่นยนต์โคบอทเพิ่มขึ้น
• กองบรรณาธิการ
29
KM-02 การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
• ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล
Report • กองบรรณาธิการ
นาโนเทค ชู
“นาโนโรโบติกส์ พิชิตมะเร็ง”
วางแผนสร้างบุคลากร คาดอีก 10 ปี ช่วยแพทย์รักษาผู้ป่วย ศู น ย์ น าโนเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (นาโนเทค) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดงานเสวนา “นาโนโรโบติกส์ พิชิตมะเร็ง” (The Future of Nanorobotics: A Revolution Era of Medical Treatment) เพื่ อ สนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม ศักยภาพของนาโนเทคโนโลยี ตลอดจนเผยแพร่ความรู้ ให้กับสังคม ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ภาคอุตสาหกรรม และ สร้างการตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจให้กับประชาชน ในประเทศให้มีความพร้อมในการรับข่าวสารข้อมูลนาโน เทคโนโลยีทั้งในปัจจุบันและอนาคต ตามเป้าหมายของ การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับปัจจุบัน และเพื่อตอบโจทย์นโยบาย BCG Economy ด้านการแพทย์สมัยใหม่ รวมทั้งให้ความส�ำคัญ ในการศึกษา ค้นคว้าวิจัยที่ประยุกต์ใช้นวัตกรรมนาโน โรบอทต่อสู้กับมะเร็งในอนาคต เพื่ อ ให้ ก ารด�ำเนิน งานบรรลุเ ป้า หมายได้สูง ที่สุด มี ก ารก� ำ หนดแผนที่ น� ำ ทางและวั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นแต่ ล ะ ช่วงงานวิจัย เตรียมพร้อมสู่การสร้างก�ำลังคน และส่งเสริม ให้เกิดกิจกรรมการสร้างบุคลากรให้มคี วามรูค้ วามสามารถ ในการสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านนาโนโรบอท ผ่านกลไกความร่วมมือของสถาบันศึกษาและสถาบันวิจัย ทั้งในและต่างประเทศ
12
Engineering Today May • June 2021
>> เผยนาโนโรโบติกส์พัฒนามากว่า 10 ปี เป็นที่สนใจเพราะช่วยเหลือผู้ป่วยมะเร็งให้มีชีวิตรอด ดร.เดือนเพ็ญ จาปรุง ผู้อ�ำนวยการกลุ่มวิจัยวัสดุตอบสนอง และเซ็นเซอร์ระดับนาโน ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) กล่าวว่า นาโนโรโบติกส์ เป็นหุ่นยนต์ขนาดนาโน มีขนาดที่เล็กมาก ประมาณ 1,000 เท่าของเส้น ผม มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ต้องใช้ เครื่องมือเฉพาะในการมองนาโนโรโบติกส์ ขนาดของหุ่นยนต์มีตั้งแต่ ระดับนาโนสเกล (Nanoscale) ถึงไมโครสเกล (Microscale) ขึ้นกับ ส่วนประกอบและวัตถุประสงค์ในการท�ำงาน โดยนาโนโรบอทบางชนิด มีขนาดเล็กกว่าเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว รวมทั้งเซลล์ทั้งที่ปกติ และไม่ปกติในร่างกายของคนเรา สามารถประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย เช่น 1. น�ำส่งยาเข้าไปในร่างกายของคนเรา ไปในทีท่ ที่ างการแพทย์ไม่สามารถ ส่งไปได้ เพื่อช่วยลดอาการแทรกซ้อน อาการที่มีพิษต่อการให้ยา ในหลายๆ ชนิด เช่น ยารักษาโรคมะเร็ง 2. สามารถใช้เป็นหุน่ ยนต์ผา่ ตัด ได้ เนือ่ งจากหุน่ ยนต์โรโบติกส์จะมองเห็นเซลล์ทปี่ กติและเซลล์ทผี่ ดิ ปกติ ในร่างกาย จากนั้นจะท�ำการผ่าตัดแยกเซลล์ที่ผิดปกติออกจากร่างกาย ช่วยผู้ป่วยได้ 3. สามารถใช้โรโบติกส์เป็นเซนเซอร์ โดยน�ำไปติดบริเวณ เซลล์ที่ผิดปกติแล้วน�ำไปตรวจหาเชื้อต่อไปว่าบริเวณนั้นมีความผิดปกติ อย่างไร เพื่อที่จ ะได้ท�ำการรักษาหรือผ่าตัด ช่วยผู้ป่วยได้เร็วยิ่งขึ้น 4. ช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพ Gene บ�ำบัด หรือ Gene Therapy ได้
ดร.เดือนเพ็ญ จาปรุง ผู้อ�ำนวยการกลุ่มวิจัยวัสดุตอบสนองและเซ็นเซอร์ ระดับนาโน ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ
“ในส่วนของนาโนโรโบติกส์ ได้มีการพัฒนามากว่า 10 ปีแล้ว แต่คนจะเริ่มให้ความสนใจ เนื่องจากน�ำมาใช้ แล้วมีประสิทธิภาพทีด่ ใี นการช่วยเหลือผูป้ ว่ ยทีม่ คี วามเสีย่ ง เกิดเชือ้ มะเร็งทัว่ ร่างกายให้มชี วี ติ รอด” ดร.เดือนเพ็ญ กล่าว
>> เผยการใช้งานโรโบติกส์ ต้องอยู่ภายใต้ การดูแลของแพทย์ที่รักษาอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้ การใช้งานโรโบติกส์จะต้องอยู่ภายใต้การดูแล ควบคุมของแพทย์ที่ท�ำการรักษาอย่างใกล้ชิด โดยมีส่วน ประกอบ 4 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ 1 ส่วนน�ำทาง (Navigation) มี 2 ส่วน คือ ส่วน น�ำทางภายนอก เช่น สนามแม่เหล็ก สัญญาณอัลตราโซนิก ความร้อน แสง คลื่นวิทยุและไมโครเวฟ เป็นต้น และ ส่วนน�ำทางภายใน เช่น เซนเซอร์เคมีและแสง เป็นต้น 2 ส่วนขับเคลื่อน (Propeller) จะออกแบบให้มี องค์ประกอบของ Responsive Materials ที่สามารถสั่น ได้ตามสิ่งเร้า เช่น สนามแม่เหล็ก หรือตัวเก็บประจุที่ท�ำ หน้าที่เป็น Jet Pump 3 ส่วนเครือ่ งมือ (Tool) เช่น มือหยิบจับ มีดเฉือน กระเปาะเก็บตัวยา ขั้วไฟฟ้าและเลเซอร์ 4 ขุมพลัง (Power Source) มี 2 ส่ ว นจาก ภายนอก เช่น ใช้เสารับพลังงานไฟฟ้าหรือพลังงานแสง
ใช้สนามแม่เหล็ก ใช้ไมโครเวฟสั่นวัสดุ Piezoelectric และ จากภายใน เช่น แบตเตอรี่จากขั้วไฟฟ้าโลหะและอิเล็กโทรไลต์ ในเลือด Supercapacitor ความร้อนในร่างกายด้วยเทอร์โม อิเล็กทริกส์และปฏิกิริยาเคมีกับของเหลวในเลือด การวางแผนน�ำนาโนโรโบติกส์มาใช้ทางการแพทย์ของไทย และอื่นๆ ได้ก�ำหนดแผนการด�ำเนินการไว้อย่างน้อย 10 ปี มี หลายเฟสด้วยกัน แต่เฟสที่ส�ำคัญคือการสร้างก�ำลังคน บุคลากร สร้างเครือข่าย รวบรวมผูเ้ ชีย่ วชาญทีม่ อี งค์ความรูเ้ ข้ามาเป็นคณะ ท�ำงานเป็นทีมทีป่ รึกษามุง่ มัน่ ท�ำนาโนโรโบติกส์ชว่ ยคนไทยด้วยกัน ดร.เดือนเพ็ญ กล่าวว่า ในส่วนของงานวิจัยที่ก�ำลังคิดค้น มีทงั้ การศึกษานาโนโรโบติกส์จากวิทยาการต่างประเทศ มาประยุกต์ ใช้กับการศึกษาวิจัยนาโนโรโบติกส์เพื่อคนไทยเองด้วย เพราะ จะช่วยเรื่องการควบคุมค่าใช้จ่ายที่จะใช้รักษาผู้ป่วยในอนาคต ส�ำหรับปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนานาโนโรโบติกส์ คื อ ความร่ ว มมื อ ของแต่ ล ะองค์ ก รของรั ฐ ที่ จ ะมาร่ ว มท� ำ งาน ยังล่าช้า บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญยังมีจ�ำนวนน้อย อีกทั้งงาน วิจัยที่มีต้องอาศัยต่อยอดจากต่างประเทศ และเงินสนับสนุน ยังมีน้อยมาก แต่มีนาโนเทค สวทช. เป็นหน่วยงานเริ่มต้นในการ คิดค้นและสร้างแรงผลักดันให้เกิดโครงการและเตรียมต่อยอด สู่หน่วยงานอื่นๆ ในอนาคต
Engineering Today May • June 2021
13
ดร.พรพรรณ ไวทยางกูร ผู้อ�ำนวยการศูนย์ระดับภูมิภาค ว่าด้วยสะเต็มศึกษาของซีมีโอ (SEAMEO STEM-ED)
ศ. นพ.สุรเดช หงส์อิง (ซ้าย) อาจารย์ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
>> องค์ความรู้ศาสตร์ 3 ด้าน ประยุกต์ ใช้สร้างโรโบติกส์ ในไทย ศ. นพ.สุรเดช หงส์องิ อาจารย์ประจ�ำภาควิชากุมาร เวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า โรโบติกส์เป็นเรื่องที่ใหม่ ซึ่ ง มี ก ารศึ ก ษาและท� ำ การคิ ด ค้ น กั น มาอย่ า งยาวนาน ในการน�ำองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ทางด้านสุขภาพของประชาชน โดยงานวิจยั ทีม่ อี ยู่ ในอดีตและวิวัฒนาการงานวิจัยในปัจจุบันมาพัฒนาสร้าง เป็นนาโนโรโบติกส์ ซึ่งมีหลายๆ ประเทศที่ก�ำลังคิดค้น และสร้างขึ้นรองรับวิทยาการทางการแพทย์สมัยใหม่และ ด้านอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในอนาคตต่อไป ขณะนีม้ ปี ระเทศแคนาดา ที่มีการวิจัยนาโนโรโบติกส์ทดลองใช้ในสัตว์ทดลองแล้ว และที่ประเทศญี่ปุ่นมีการคิดค้นที่ก้าวล�้ำไปข้างหน้ามาก พอสมควร รอแค่ความส�ำเร็จจ�ำเพาะในการรักษาเซลล์มะเร็ง แต่ละจุดที่จะน�ำมาใช้ช่วยเหลือแพทย์ในการรักษาโรคกับ ผูป้ ว่ ย โดยเฉพาะผูป้ ว่ ยโรคมะเร็งในอนาคตอันใกล้นี้ อย่ า งไรก็ ต าม การพั ฒ นาวิ ท ยากรก็ ต ้ อ งมี ก าร ถ่ายทอดองค์ความรู้ควบคู่กับการเข้าใจเทคโนโลยีปัจจุบัน และคาดการณ์เทคโนโลยีในอนาคตให้รเู้ ท่านัน้ ว่าเทคโนโลยีใด จะมีววิ ฒ ั นาการเพือ่ น�ำมาประยุกต์ใช้พฒ ั นานาโนโรโบติกส์ และน�ำองค์ความรู้ศาสตร์ 3 ด้านมาร่วมประยุกต์ด้วย ได้ แ ก่ 1. AI Robotics 2. Biomedical Engineer
14
Engineering Today May • June 2021
3. Gene Robotics และควรใส่องค์ความรูเ้ หล่านีต้ งั้ แต่ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น เพื่อเฟ้นหานักเรียนด้านวิทยาศาสตร์ที่เก่ง เริ่มจากโรงเรียน ในพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ ก่อน และค่อยๆ ขยายสูพ่ นื้ ทีจ่ งั หวัดใหญ่ๆ ในภูมภิ าค ต่างๆ มาเสริมทักษะภาคปฏิบัติ
>> คาดอีก 10 ปี ข้างหน้า นาโนโรโบติกส์ช่วยแพทย์ ในการรักษาผู้ป่วย ดร.พรพรรณ ไวทยางกูร ผู้อ�ำนวยการศูนย์ระดับภูมิภาคว่าด้วย สะเต็มศึกษาของซีมีโอ (SEAMEO STEM-ED) กล่าวว่า คาดว่าอีก 10 ปีข้างหน้าวิทยาการนาโนโรโบติกส์จะสามารถน�ำมาใช้ช่วยงาน ทางการแพทย์ในการรักษาผูป้ ว่ ย แต่กย็ งั มีขอ้ กังวลอยูเ่ นือ่ งจากวิทยาการ นาโนโรโบติกส์เป็นวิทยาการใหม่ที่มีความเสี่ยงเพราะเป็นการน�ำวัสดุ ชนิดเล็กๆ เข้าสู่ร่างกาย โดยที่ร่างกายของแต่ละคนจะมีภาวะที่รับ วิทยาการนี้ได้แตกต่างกัน บางคนอาจจะรับได้ดี แต่บางคนอาจจะเกิด ภาวะแทรกซ้ อ นได้ จึ ง ต้ อ งมี ก ารประเมิ น ความเสี่ ย งทุ ก ๆ ระยะที่ น�ำมาใช้ในแต่ละบุคคลประกอบด้วย โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มี หลากหลายรูปแบบ การรับการรักษาอาจจะเสี่ยงมากกว่าผู้ป่วยโรคอื่น ก็ เ ป็ น ได้ เนื่ อ งจากผู ้ ป ่ ว ยมะเร็ ง จะมี ภ าวะแพ้ ย าและแพ้ เ คมี บ� ำ บั ด อยูแ่ ล้ว เมือ่ มีนาโนโรโบติกส์เข้าไปในร่างกายก็อาจจะแพ้ได้เช่นเดียวกัน เป็นต้น นอกจากจะมีการประเมินความเสี่ยงใช้ความแม่นย�ำเฉพาะจุด ที่เกิดความผิดปกติในร่างกายของผู้ป่วยในการน�ำนาโนโรโบติกส์มาใช้ ในแต่ละอาการของผู้ป่วยมะเร็งและโรคอื่นๆ ที่ยากต่อการรักษาแล้ว
เฉลิมพล ปุณโณทก ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และผู้ก่อตั้ง บริษัท ซีที เอเชีย โรโบติกส์ จ�ำกัด
การวางแผนน� ำ นาโนโรโบติ ก ส์ ม าใช้ ท าง การแพทย์ ข องไทยและอื่ น ๆ ได้ ก� ำ หนดแผน การด�ำเนินการไว้อย่างน้อย 10 ปี มีหลายเฟส ด้วยกัน แต่เฟสที่ส�ำคัญคือการสร้างก�ำลังคน บุคลากร สร้างเครือข่าย รวบรวมผู้เชี่ยวชาญ ที่มีองค์ความรู้เข้ามาเป็นคณะท�ำงานเป็นทีม ที่ปรึกษามุ่งมั่นท�ำนาโนโรโบติกส์ช่วยคนไทย ด้วยกัน >> แนะไทยคิดค้นโรโบติกส์ที่เหมาะกับผู้ป่วยแทนน�ำเข้า ทดลองจริงแล้วพัฒนาให้ตอบโจทย์ผู้ป่วยมากที่สุด
ก็ควรที่จะสร้างบุคลากรทางการแพทย์รองรับวิทยาการนี้ ควบคู่ไปด้วย เพราะเป็นการคิดค้นวิทยาการใหม่ จึงควร ถ่ายทอดองค์ความรูใ้ หม่นแี้ ก่บคุ ลากรทีม่ อี ยูเ่ ดิมในระยะสัน้ ต่อยอดองค์ความรู้เพิ่มเสริมทางด้าน AI, Engineer, กฎหมายการรักษาผู้ป่วยที่สากลยอมรับในการน�ำนาโน โรโบติกส์ท�ำการรักษาผู้ป่วย เพื่อป้องกันการละเมิดถูก ฟ้องร้องได้ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งเปิดหลักสูตร รองรับทางการแพทย์ในระยะยาว โดยเฉพาะด้านไบโอ โรโบติกส์ นาโนโรโบติกส์ ฝึกให้มีความเชี่ยวชาญรู้จริง แม่นย�ำจริงในการน�ำวิทยาการนาโนโรโบติกส์มารักษา ผู ้ ป ่ ว ยจริ ง โดยติ ด ตามการรั ก ษาต่ อ เนื่ อ งทุ ก ๆ เดื อ น เพื่อลดความเสี่ยง ช่วยบรรเทาอาการป่วยและรักษาผู้ป่วย มะเร็ง ผู้ป่วยโรคทางพันธุกรรม หรือลูคีเมียและอื่นๆ ได้ อย่างรวดเร็ว ที่ส�ำคัญต้องลดความสูญเสียแก่ตัว ผู้ป่วยเองและ ครอบครัวของผู้ป่วยด้วย รวมทั้งมีโปรเจ็กต์ภาครัฐและ งบประมาณสนั บ สนุ น รองรั บ มี ห น่ ว ยงานที่ จ ะเป็ น ศูนย์กลางด�ำเนินโปรเจ็กต์ของประเทศไทยเพื่อท�ำการ ศึ ก ษารวบรวมผลงานวิ จั ย ต่ า งๆ ส� ำ หรั บ ใช้ วิ จั ย ศึ ก ษา ต่อยอดภายในประเทศ อาจจะประกาศเป็นวาระแห่งชาติ หรือเฉพาะกิจ เป็นโปรเจกต์เฉพาะกลุ่ม และขยายความ ร่วมมือสู่นานาชาติต่อไป เป็นต้น
เฉลิ ม พล ปุ ณ โณทก ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ ผู้ก่อตั้ง บริษัท ซีที เอเชีย โรโบติกส์ จ�ำกัด กล่าวว่า การน�ำ นาโนโรโบติกส์มาใช้ต้องให้ผู้ป่วยหายจากมะเร็งได้จริง ไม่ใช่ เป็นการเพิ่มความเจ็บป่วยทรมานจากการที่มีนาโนโรโบติกส์ เข้าไปท�ำการรักษาในร่างกายของผู้ป่วย ซึ่งแน่นอนว่าเมื่อมี สิ่งแปลกปลอมเข้าไปในร่างกายแม้มีขนาดเล็กเท่านาโนก็ตาม แต่ในร่างกายก็จะต่อต้านสิ่งแปลกปลอมที่เข้าไปอย่างนาโน โรโบติ ก ส์ จึ ง ต้ อ งมี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย ตรงส่ ว นนี้ ด ้ ว ยการระดม ที ม แพทย์ ที่ มี ค วามเชี่ ยวชาญเฉพาะด้ า นมะเร็ ง ในแต่ ล ะเรื่ อ ง โดยเฉพาะลูคีเมียให้ส�ำเร็จ อย่าท�ำงานวิจัยแบบเหวี่ยงแห ควรมี เป้าว่าภายใน 1 ปีจะเห็น ผลในเรื่องใดบ้าง เมื่อเกิดผลส�ำเร็จ ควรมีการเผยแพร่สร้างการรับรู้ในวงการแพทย์และประชาชน ผูป้ ว่ ยทุกๆ คนด้วย รวมทัง้ ควรมีวศิ วกรด้านไอทีทมี่ คี วามช�ำนาญ ทางการสร้ า งแพลตฟอร์ ม ไอที ร องรั บ และใช้ ทิ ศ ทางการวิ จั ย ทีถ่ กู ต้อง ได้รบั การยอมรับมาเป็นแนวทางในการใช้ในวงการแพทย์ ด้วย “ที่ส�ำคัญประเทศไทยควรคิดค้นเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับ ผูป้ ว่ ยใช้เองดีกว่าน�ำเข้ามาจากต่างประเทศทัง้ หมดเพราะร่างกาย ของผูป้ ว่ ยในแต่ละประเทศนัน้ แตกต่างกัน ซึง่ ต้องน�ำมาใช้ทดลอง จริงแล้วพัฒนาให้ตอบโจทย์ผู้ป่วยมากที่สุด ไม่ใช่ตอบโจทย์การ พัฒนางานวิจัยนาโนโรโบติกส์ไปเรื่อยๆ แต่ใช้งานจริงไม่เกิด ประโยชน์ต่อส่วนรวมของผู้ป่วยและต้องมีการพัฒนาด้านไอที แพลตฟอร์มใหม่ๆ แอปพลิเคชันแต่ละเรื่องแต่ละเซลล์มะเร็ง ในแต่ละจุดในร่างกายที่ใช้นาโนโรโบติกส์ในการทดสอบ มีการ น�ำวิทยาศาสตร์ใหม่ๆ และมีเดียมาใช้ เช่น หุ่นยนต์ รวมทั้ง ค่าใช้จ่ายในการรักษาแต่ละครั้งต้องเหมาะสมและราคาไม่แพง จนเกิ น ไปในการรั ก ษาเพื่ อ ให้ เ ข้ า ถึ ง ผู ้ ป ่ ว ยในทุ ก ๆ ระดั บ ให้ ครอบคลุมและทั่วถึงมากที่สุด” เฉลิมพล กล่าว Engineering Today May • June 2021
15
Report • กองบรรณาธิการ
ผู้ประกอบการ
SME
เผยเคล็ดลับเสริมแกร่ง ฝ่าฟันวิกฤต COVID-19 ท่ามกลางวิกฤต COVID-19 ทุกธุรกิจ ต่างได้รบั ผลกระทบแตกต่างกัน หลายธุรกิจ ต้องปิดกิจการลง และอีกหลายธุรกิจพยายาม หาแนวทางด�ำเนินธุรกิจประคับประคองให้ ธุรกิจอยูร่ อด เฉกเช่นเดียวกับผูป้ ระกอบการ SME ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ ผู ้ ป ระกอบการ หลายรายที่เงินลงทุนไม่มากพอ ขาดทักษะ ประสบการณ์ และไม่น�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ า มาใช้ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ จ� ำ เป็ น ต้ อ งทยอย ปิดกิจการลง อย่างไรก็ตาม มีผู้ประกอบการ SME ที่สามารถปรับตัวฝ่าวิกฤต COVID-19 ท�ำให้ ธุ ร กิ จ อยู ่ ร อด พร้ อ มน� ำ ประสบการณ์ แ ละ เคล็ดลับในการประกอบธุรกิจมาแบ่งปันเพือ่ ให้ ธุรกิจอื่นๆ น�ำไปปรับใช้ เพื่อประคับประคอง ธุร กิจ ให้อ ยู ่ร อด และสร้า งความแข็งแกร่ง ให้แก่ธุรกิจ
กุลโชค โพธิ์พัฒนชัย ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เอ.ไอ.เทคโนโลยี จ�ำกัด
16
Engineering Today May • June 2021
ปรับตัวให้ ไว น�ำจุดแข็งที่มีประคับประคองให้บริษัทอยู่รอด กุลโชค โพธิพ์ ฒ ั นชัย ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั เอ.ไอ.เทคโนโลยี จ�ำกัด กล่าวว่า บริษัทฯ ก่อตั้งมากว่า 23 ปี ด�ำเนินธุรกิจออกแบบทางด้านวิศวกรรม ใช้โปรแกรมซอฟต์แวร์ในการท�ำงานให้กับลูกค้า และต่อมาได้เพิ่มการผลิตชิ้นส่วน ยานยนต์ เครื่องยนต์การเกษตร ให้กับบริษัท สยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด และ อืน่ ๆ บ้างตามความต้องการของลูกค้า เนือ่ งจากบริษทั ฯ มีพนื้ ฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ พร้อมทัง้ มีบคุ ลากรทีพ่ ร้อมท�ำงานได้ทกุ รูปแบบ ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีพนักงานประมาณ 660 คน มีรายได้จากยอดขายผลิตภัณฑ์รวมประมาณ 1,500 ล้านบาทต่อปี ส่วนใหญ่จะส่งสินค้าและผลิตภัณฑ์ไปขายที่ประเทศอินเดียเป็นหลัก นอกจากขาย ในประเทศไทย มี โ รงงานในประเทศไทย 2 แห่ ง ได้ แ ก่ จ.ปทุ ม ธานี ซึ่ ง เป็ น โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เป็นหลักและโรงงานแห่งที่ 2 ที่ จ.ชลบุรี ทั้งนี้ หากไม่มี สถานการณ์ COVID-19 บริษัทฯ จะเปิดสาขาที่ประเทศอินโดนีเซียด้วย ในช่วง COVID-19 แน่นอนว่าบริษทั ฯ ได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์ดงั กล่าว ไม่ต่างจากบริษัทอื่นๆ แต่การปรับตัวคือ สิ่งแรกที่จ�ำเป็นและต้องปรับตัวให้ไว โดยน�ำจุดแข็งที่บริษัทฯ มีประคับประคองให้อยู่รอดได้
ท�ำงานเป็นทีม ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ผลิต ตอบโจทย์ลูกค้า ส�ำหรับหลักในการด�ำเนินธุรกิจประสบความส�ำเร็จ คือให้ความส�ำคัญกับ การท�ำงานเป็นทีม พยายามหาเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในกระบวนการผลิตทีต่ อบโจทย์ ลูกค้า มีบริการหลังการขายที่ดี พร้อมจัดอบรมพนักงานให้มีองค์ความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ โดยเฉพาะหัวใจหลัก 4 เรื่องในการท�ำงานบริการแก่ลูกค้าที่ทุกๆ บริษัทฯ ควรมี ประกอบด้วย Q (Quality คุณภาพ), C (Cost ต้นทุน), D (Delivery การขนส่ง) และ S (Service การดูแลหลังการขาย) ที่ส�ำคัญผู้ประกอบการควรท�ำระบบการเงิน ให้เป็นระบบ โดยบริษัทฯ ใช้ระบบ ERP (Enterprise Resource Planning) เข้ามา ช่วยจัดการการเงินในองค์กร ซึ่งถ้า SME จะเข้าสู่ธุรกิจยุค 4.0 จะต้องใช้ระบบ ERP ในส่วนของการปรับตัวรับมือ Digital Disruption นั้น กุลโชค มองว่า Digital Disruption ในแต่ละธุรกิจขึ้นอยู่กับวิธีคิดของแต่ละองค์กร ใครมีเงินทุนมีเทคโนโลยี ย่อมได้เปรียบ อย่างไรก็ตาม การท�ำธุรกิจแบบเดิมก็ยังคงอยู่ได้หากผลิตสินค้า
ทรงวุฒิ พัฒนศิลาพร เจ้าของ BirdEyeView Wedding Studio
ทีด่ ี ตอบโจทย์ผบู้ ริโภคด้วยคุณภาพ และราคา ไม่สูงเกินไป พร้อมทั้งรู้ทิศทางตลาดธุรกิจ มีตลาดรองรับ อย่าไปแข่งกับผู้ประกอบการ รายใหญ่ เพราะจะสู้ไม่ได้ ที่ส�ำคัญต้องมี องค์ความรู้ต่อยอดในการพัฒนานวัตกรรม ของตั ว เอง ซึ่ ง SME ต้ อ งสร้ า งขึ้ น มาเอง และสร้ า งที ม ท� ำ งานในกลุ ่ ม ที่ ช ่ ว ยเหลื อ ซึ่งกันและกัน
“ทะเลกว้างใหญ่ แต่ยังมีรูรั่วให้มือใหม่ เกิดได้” หากพร้อมปรับตัวทุกรูปแบบ ให้อยู่รอด ทรงวุฒิ พัฒนศิลาพร เจ้าของ Bird EyeView Wedding Studio กล่ า วว่ า กว่า 10 ปี ทีส่ ตูดโิ อได้ดำ� เนินธุรกิจการถ่ายภาพ บุ ค คล ถ่ า ยภาพงานแต่ ง งานทั้ ง ใน และ นอกสถานที่ รวมทั้ ง โฟโต้ บุ ๊ ก ตลอดจน งานเลีย้ งทุกรูปแบบ ยังไม่เคยเจอวิกฤตทีห่ นัก เท่า COVID-19 เมือ่ รัฐบาลประกาศล็อกดาวน์ ประเทศเพือ่ ป้องกันและยับยัง้ เชือ้ COVID-19 ไม่ให้แพร่กระจายในวงกว้างและให้เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขได้มีโอกาสท�ำงานเมื่อช่วงปลาย เดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 ทีผ่ า่ นมา งานทีเ่ คยมี จาก 100 งาน ไม่มีเหลือสักงาน ซึ่งขณะนั้น ไม่รู้ว่าจะท�ำอย่างไรดี ได้แต่กลับไปคุยกับ ครอบครัวและพยายามหาหนทางท�ำธุรกิจใหม่ๆ เพื่ อ เป็ น ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการหล่ อ เลี้ ย งธุ ร กิ จ ดูแลพนักงาน ค่าใช้จ่ายรายเดือนที่มีอย่าง ต่อเนื่องไปจนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้น
ย้อนไป ณ เวลานั้น คงไม่มีใครสามารถบอกได้ว่าจะยุติเมื่อใด ขณะที่ขาด รายได้ลง ก็ยังมีโอกาสเกิดขึ้น ในเมื่อผู้คนออกจากบ้านไปไหนมาไหนไม่สะดวก ความจ�ำเป็นในการใช้ของที่เป็นปัจจัยในการใช้ชีวิต การซื้อของทางอินเทอร์เน็ตและ การรับรู้ข่าวสารทางอินเทอร์เน็ตมีเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มคนที่มีก�ำลังซื้อ คนวัย กลางคนขึ้นไปที่ต้องท�ำงานที่บ้าน กักตัวตามมาตรการของรัฐบาล จึงได้หันมาใช้ ช่องทางโซเชียลมีเดียในการท�ำธุรกิจ จากการถ่ายภาพที่ถนัด เริ่มจากการถ่ายภาพ ของทีจ่ ะน�ำมาขาย เช่น หน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอลล์ ลงโซเชียล ผ่าน Facebook, Line และอืน่ ๆ แต่กย็ งั ไม่มรี ายได้มากพอกับค่าใช้จา่ ยทีร่ ออยู่ จนกระทัง่ เกิดความคิด จ�ำหน่ายถุงนิ้วที่กดลิฟต์ป้องกัน COVID-19 ตอนนั้นลงทุนประมาณ 5,000 บาท ได้รับการตอบรับที่ดีมาก ยอดซื้อเข้ามามีก�ำไรประมาณ 300,000 บาท และในเวลา ต่อมาก็มีคู่แข่งหลายๆ แห่งคิดท�ำถุงนิ้วส�ำหรับกดลิฟต์ขายในตลาดจ�ำนวนมากขึ้น “ผมจึงมานั่งคิดใหม่ว่า หากขายของเพียงอย่างเดียวคงจะต่อยอดการท�ำธุรกิจ ให้กลับมามียอดรายได้ในแต่ละเดือนเพิ่มขึ้นคงท�ำได้ยาก จึงได้พยายามมองหา พาร์ทเนอร์ทางธุรกิจ โดยประกาศผ่านทาง Facebook น�ำสินค้าของตนเองทีต่ อ้ งการ ขายมาร่วมท�ำธุรกิจด้วยกัน โดยผมจะเป็นคนถ่ายภาพสินค้าให้ดูน่าสนใจแล้วน�ำไป น�ำเสนอขายผู้บริโภคต่อไป ซึ่งจุดนี้เองในเวลานั้นท�ำให้ผมตระหนักว่าการปรับตัว จ�ำเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะรู้จักการน�ำจุดแข็งของตนเองมาใช้ในการต่อยอดธุรกิจ ซึ่งผมถนัดการถ่ายภาพผมก็น�ำการถ่ายภาพมาต่อยอดธุรกิจ นอกจากนี้พยายาม มองหาช่องทางในการเพิ่มพูนความรู้การถ่ายภาพและการมองหาพื้นที่การเรียนรู้ จากภาครั ฐ ที่ เ ปิ ด โอกาสให้ ร วมกลุ ่ ม ออนไลน์ พู ด คุ ย การท� ำ งาน แลกเปลี่ ย น ประสบการณ์กับผู้ประกอบการ SME สตาร์ตอัปและผู้ประกอบการรายใหญ่ๆ ใน ช่วงวิกฤต COVID-19” ทรงวุฒิ กล่าว นอกจากนี้ หน่วยงานรัฐที่เคยให้ความช่วยเหลือได้แนะน�ำให้แลกเปลี่ยน องค์ความรู้จากออนไลน์มาเปิดสอนเป็นคอร์สอิสระ มีทั้งเสียค่าใช้จ่ายและไม่เสีย ค่าใช้จ่าย ผมจึงไปเข้าร่วมเพื่อหาความรู้ใหม่ๆ Upskill และ Reskill ติดอาวุธ ให้กับตัวเอง เพื่อน�ำมาประยุกต์ใช้ในการท�ำธุรกิจอื่นๆ อย่างเต็มที่
ปรับตัวเรียนรู้วิกฤต-สร้างโอกาสใหม่ๆ รับความรู้ใหม่ๆ มาปรับใช้ ส�ำหรับ Key Success ในการท�ำให้ธุรกิจประสบความส�ำเร็จคือ มองตัวเอง ปรับตัวเองให้เรียนรูว้ กิ ฤต พร้อมสร้างโอกาสใหม่ๆ รับความรูใ้ หม่ๆ มาปรับใช้ จะท�ำ อะไรก็ทำ� เลย ไม่ตอ้ งรอเวลาแม้องค์ความรูท้ มี่ จี ะยังไม่ 100% ไม่มอี ะไรสมบูรณ์แบบ หลังจากวิกฤตนี้ โดยเชื่อว่าหากท�ำไปก่อนจะมีโอกาสที่จะเรียนรู้พฤติกรรมผู้บริโภค ในระหว่างท�ำธุรกิจร่วมกับกลุ่มผู้บริโภคในยุคหลัง COVID-19 ว่ามีความพึงพอใจ หรือไม่พอใจอะไรจากธุรกิจทีเ่ ราน�ำเสนอบ้าง เมือ่ ลองน�ำสินค้าของเราไปทดสอบตลาด ก็จะน�ำผลตอบรับทั้งดีและไม่ดีกลับมาปรับปรุง ซึ่งจะช่วยให้วิกฤตต่างๆ ดีขึ้น “อย่าท้อแม้จะไม่ประสบความส�ำเร็จ ให้ทดลองท�ำในหลายๆ ธุรกิจ อย่าลงทุน เงินก้อนเดียวด้วยธุรกิจที่เราไม่ถนัด ส�ำหรับจุดเด่นของผมในการท�ำธุรกิจคือคิด ในแง่บวก ให้ก�ำลังใจตนเองและคนที่ร่วมท�ำงานอยู่ตลอดเวลา เชื่อว่าไม่มีใครที่มีไฟ ในการท�ำตลอด มีท้อบ้าง มีอยากพักบ้าง พักได้ ไปหาแรงบันดาลใจในการท�ำงาน แล้วรีบกลับมา อีกทัง้ ต้องมองหาพาร์ทเนอร์ใหม่และให้โอกาสเพือ่ นๆ ทีใ่ ห้โอกาสผม ในระหว่างทีเ่ กิด COVID-19 อย่ากลัวทีจ่ ะล้มเหลว ทีส่ ำ� คัญอยากฝากผูป้ ระกอบการ Engineering Today May • June 2021
17
แนะ SME ต้องปรับตัวสู่ New Normal
วิฑูรย์ วงศ์หาญกุล ประธานกรรมการ บริษัท ไบโอเนท-เอเชีย จ�ำกัด
พิมพ์พิชา อุตสาหจิต ทายาทรุ่นที่ 3 ของบันลือกรุ๊ป
สุภัทรา ดวงงา เจ้าของชาบูอินดี้
ที่ก�ำลังไม่รู้ว่าทิศทางตนเองจะไปต่ออย่างไร หรือจะยุติบทบาทธุรกิจของตนเองหลังจาก COVID-19 ว่า หากจะท�ำธุรกิจอะไรจากนีค้ วร จะต้อง 1. มีการประเมินตัวเอง 2. ท�ำให้เร็ว และหากว่าล้มต้องลุกให้เร็ว ในปีนี้และปีหน้า เราจะท�ำธุรกิจในทุกๆ อย่างให้ไว เจอโอกาส ก็จะท�ำให้เร็ว ลุกให้ไว และอย่าท้อ ให้กำ� ลังใจ ตั ว เองให้ ม ากๆ จะได้ มี พ ลั ง ในการมุ ่ ง มั่ น เริ่มท�ำงานใหม่ๆ ต่อไป” ทรงวุฒิ กล่าว
18
Engineering Today May • June 2021
วิฑูรย์ วงศ์หาญกุล ประธานกรรมการ บริษัท ไบโอเนท-เอเชีย จ�ำกัด กล่าวว่า บริษัทฯ เริ่มท�ำธุรกิจผลิตวัคซีนไอกรน มากว่า 50 ปี ซึ่งประสบความส�ำเร็จ อย่างมาก และก�ำลังทดลองท�ำวัคซีน COVID-19 อยู่ในขณะนี้ การท�ำธุร กิจ แน่นอนว่าต้องมีปัญหาและอุปสรรคมากมายเข้ามาทดสอบ อยู่ตลอดเวลา อย่าท�ำธุรกิจโดยไม่รู้เนื้อแท้ของธุรกิจและควรมีเงินทุนที่เป็นเงินสด ของตนเอง อย่าหวังกู้เงินในการท�ำธุรกิจจากธนาคารเพียงอย่างเดียว เพราะจะมี โอกาสเป็นหนี้ได้มากกว่าคนที่มีเงินสดของตนเองท�ำธุรกิจ แต่หากเป็นหนี้ก็ควรมี การวางแผนจัดการหนี้ไม่ให้กลายเป็นหนี้เสีย หรือ NPL (Non-Performing-Lone) หมดความน่าเชือ่ ถือ ขณะเดียวกันพยายามทีจ่ ะมองหาโอกาสในการร่วมมือกับนักลงทุน อื่นๆ เพิ่มเติมที่มีองค์ความรู้ที่แท้จริง จะเป็นนักลงทุนชาวไทยหรือต่างชาติก็ได้ ควรมองหาคอร์สการสอนท�ำการตลาดทางออนไลน์เรียน เรียนรู้การท�ำรูปแบบ การตลาดแบบใหม่เพือ่ น�ำมาผสมผสานการท�ำตลาดแบบเดิม เพือ่ เพิม่ ยอดขายให้กบั บริษัท และเคารพผู้อาวุโสในการท�ำธุรกิจ “ไม่มีใครที่ไม่เคยล้มเหลว มีแต่เขาล้มเลิก ค�ำๆ นี้ยังใช้ได้ทุกยุคทุกสมัย ขอให้ ผู้ประกอบการ SME อย่าท้อ ปรับตัวสู้ทุกๆ วิกฤตให้ได้ ช่วยกันประคอง SME รายเล็กๆ แต่มีความตั้งใจให้ผ่านวิกฤตไปด้วยกัน มีเครือข่ายที่เข้มแข็งจะเป็นข้อ ต่อรองการตลาดที่ดีได้” วิฑูรย์ กล่าว
วอนภาครัฐช่วยหาแหล่งเงินทุนและตลาดต่างประเทศ รองรับ SME มากขึ้น ในส่วนของภาครัฐอยากให้มชี อ่ งทางในการหาแหล่งเงินทุนและตลาดต่างประเทศ รองรับผูป้ ระกอบการ SME ให้มากขึน้ ให้ทกุ กลุม่ SME ได้มโี อกาสน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ ส่งขายในระดับสากล เพราะหลายๆ ผลิตภัณฑ์ของ SME ไทยมีดีไม่แพ้ชาติใดในโลก โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องมือแพทย์ ส�ำหรับเรื่อง Disruption นั้น วิฑูรย์ มองว่า ผู้ประกอบการไทยพร้อมที่จะ ปรับตัว แต่จะให้ปรับทุกๆ ธุรกิจในเวลาเดียวกันนัน้ คงท�ำได้ยาก ธุรกิจทีม่ คี วามพร้อม จะปรับตัวได้เร็วกว่าธุรกิจที่ยังไม่พร้อม แต่เชื่อว่าไม่เกิน 5 ปีจากนี้ ทุกๆ ธุรกิจ ของไทยจะเข้าสู่ยุค Disruption ได้หมด
ปรับตัวท�ำสื่อออนไลน์ ให้มากขึ้น รับกระแสสื่อโซเชียล พิมพ์พชิ า อุตสาหจิต ทายาทรุน่ ที่ 3 ของบันลือกรุป๊ กล่าวว่า ปัจจุบนั บันลือกรุป๊ มีธุรกิจหลากหลาย ไม่ใช่มีเฉพาะการขายการ์ตูนขายหัวเราะเท่านั้น เรายังมีการ ท�ำ Animation, Production House มีสื่อออนไลน์และเพจ The Matter ปัจจุบัน มีรับถ่ายภาพหลายๆ แบบ เช่น แบบ Portrait รับท�ำ Content Marketing ให้กับ เพจอื่ น ๆ ด้ ว ย ล่ า สุ ด คื อ The Matter ส� ำ นั ก ข่ า วออนไลน์ ที่ เ ล่ า เรื่ อ งต่ า งๆ ที่น่าสนใจทั่วโลกอย่างเจาะลึก และด้วยธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ที่ค่อนข้างจะมีราคาต้นทุน ของกระดาษที่แพงขึ้น จะท�ำสื่อแบบเดิมคงไม่ได้ ประกอบกับคนอ่านหนังสือลดลง โดยเฉพาะเด็กยุคปัจจุบันหันไปอ่านทางโซเชียลมีเดียกว่า 80% โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วง COVID-19 สื่อกระดาษแทบจะมีวางแผงน้อยมาก โดยปรับตัวหันไปท�ำ ช่องทางสื่อออนไลน์มากขึ้น อีกทั้งการปิดล็อกดาวน์ของรัฐบาลส่งผลต่อห้างร้าน ชั่วคราว เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรค ท�ำให้ร้านหนังสือต้องปิดไปด้วย
“โชคดีที่ตัวเองมีพื้นฐานการท�ำหนังสือ มาจากการเรียนมาทางด้านวารสารศาสตร์ และบริหาร ท�ำให้การเข้ามารับช่วงต่อทาง ธุรกิจเข้าใจเนื้องานมากกว่าคนอื่นๆ และ โชคดีที่เราเข้ามาในยุคที่พ่อแม่ยังท�ำงานอยู่ เมื่ อ เวลามี ป ั ญ หาก็ ป รึ ก ษาพ่ อ กั บ แม่ ด ้ ว ย เพราะพ่อกับแม่มีมุมมองและประสบการณ์ ที่มากกว่าเรา แม้จะเป็นธุรกิจของครอบครัว แต่ความท้าทายและแรงกดดันจากการท�ำงาน จาก COVID-19 และจากการร่วมกับนักเขียน นั ก วาดการ์ ตู น พี่ ๆ ที่ มี ป ระสบการณ์ นั้ น มีมากกว่าคนอื่นๆ ต้องเรียนรู้และขอความรู้ หากไม่เข้าใจหรือสงสัย ให้ถามเลยอย่าปล่อย ผ่าน งานทุกงานก็เช่นกัน ไม่ยากทีจ่ ะถามและ เรียนรู้จากพี่ๆ ที่เขามีประสบการณ์มากกว่า เรา ยิ่งในช่วงการประชุม ZOOM ยิ่งต้องถาม ให้มากขึน้ การเก็บงานของพีๆ ่ นักวาดการ์ตนู จะต้องตามงานให้ตรงวันที่ก�ำหนด มิฉะนั้น งานจะปิดเล่มไม่ได้ รวมทัง้ มีการสร้างทีมคอย ที่จะคิดมุขเติมเต็มไอเดียมุขใหม่ๆ มุมมอง ใหม่ๆ ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วน�ำมา ถ่ายทอดสู่พี่ๆ นักวาดการ์ตูนให้วาดการ์ตูน ออกมาได้น่าสนใจทันยุคสมัยมากขึ้น รวมทั้ง เชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญเข้ามาสอน เทคนิคการวาดการ์ตูนจากคอมพิวเตอร์แนว ใหม่ๆ อีกด้วย” พิมพ์พิชา กล่าว
ปรับตัว-ประเมินการท�ำงานของทีมงาน ทุก 3 เดือน เติมก�ำลังใจให้ทีมงาน ส�ำหรับ Key Success ในการท�ำให้ ธุรกิจประสบความส�ำเร็จของพิมพ์พิชาคือ การปรับตัวและประเมินการท�ำงานของทีมงาน ทุกๆ ระยะ 3 เดือน และ 6 เดือน รวมทั้ง ให้กำ� ลังใจในการท�ำงานของทีมงาน ซึง่ ถือเป็น Key Success ในการท�ำงานให้ประสบความ ส�ำเร็จ “บันลือกรุ๊ปผ่านมาทุกช่วงวิกฤต ทั้ง วิกฤตต้มย�ำกุง้ น�ำ้ ท่วม และล่าสุด COVID-19 ทุกๆ ปัญหาที่เกิดขึ้นมองเป็นเรื่องที่ท้าทาย ล้มแล้วต้องลุกให้ได้ ให้โอกาสเพื่อนร่วมงาน ทุกคนในการน�ำเสนอสิ่งใหม่ๆ ต้องเริ่มที่จะ ปรับตัวแล้วมองหาองค์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อน ร่วมงานใหม่ๆ คอนเนกชันใหม่ๆ และย�ำ้ เตือน
ตัวเองอยู่เสมอว่าจะมีวิกฤตหรือไม่นั้น เราต้องมี Plan, Do, Check และ Action ต้องทบทวน และประเมินจุดแข็ง-จุดอ่อนของเรา ใช้ความเป็นบันลือกรุ๊ปที่มอบ ความสุขให้คนอ่านการ์ตนู นัน้ มอบความสุขให้พนักงานของเราด้วยเช่นกัน” พิมพ์พชิ า กล่าว
เริ่มเรียนรู้การท�ำแพลตฟอร์มการสั่งซื้อสินค้าทางออนไลน์ สู้ภัย COVID-19 สุภัทรา ดวงงา เจ้าของชาบูอินดี้ กล่าวว่า ท�ำธุรกิจชาบูอินดี้มาแล้ว 9 ปี เริ่มต้นจากเงิน 450,000 บาท ใช้กลยุทธ์ไม่จ�ำกัดเวลารับประทานของลูกค้า ซึ่ง ได้รับการตอบรับที่ดีมาก สามารถขยายแฟรนไชส์ 120 สาขา ทั่วประเทศ โดยหลักๆ จะเป็นการขยายสาขาด้วยแฟรนไชส์ 90% และท�ำเอง 10% ในช่วงเกิด COVID-19 ยังไม่คดิ ว่าจะร้ายแรงและส่งผลกระทบทางธุรกิจขนาดนี้ จนกระทัง่ เกิดการล็อกดาวน์ พื้นที่ขึ้น เราก็ตั้งตัวไม่ทัน มองไม่ออกว่าจะต้องท�ำอย่างไรต่อไป ทั้งร้านของตัวเอง ที่บริหารและร้านของลูกค้าที่เป็นแฟรนไชส์ เพราะชาบูอินดี้เป็นธุรกิจที่ลูกค้าและ กลุ่ม ผู้บริโภคต้องไปนั่งทานที่ร้าน ไม่เคยคิดที่จะเริ่มจัดส่งเดลิเวอรี่ถึงบ้านลูกค้า และต้องไปร่วมกับพาร์ทเนอร์ที่เป็นธุรกิจจัดส่งสินค้าเดลิเวอรี่ “เราต้องไปเริ่มเรียนรู้การท�ำแพลตฟอร์มการสั่งซื้อของทางออนไลน์ และ สอนให้ลกู ค้าร้านแฟรนไชส์ของเราท�ำระบบแบบเดียวกัน และด้วยทีต่ วั เองจบบัญชีมา ท�ำให้การท�ำรายรับรายจ่ายในแต่ละวันจะเห็นยอดค่าใช้จ่ายที่ไม่จ�ำเป็น จึงน�ำ ยอดค่าใช้จ่ายที่ไม่จ�ำเป็นตัดทิ้ง หรือยังไม่ต้องสั่งซื้อ อาหารในร้านจะสด ใหม่ และไม่เกิน 1 วัน ในการขายเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าว่าการขายเดลิเวอรี่ จะได้รับความสดใหม่ เช่นเดียวกับที่มาทานที่ร้าน ในราคาที่ไม่แพง เริ่มต้นชุดละ 199-299 บาท จากการคัดสรรวัตถุดิบที่มีคุณภาพ รับประทานได้ทั้งหมดจาก ซัพพลายเออร์ที่มีคุณภาพ” สุภัทรา กล่าว
แนะร้านอาหารบริหารจัดการเงินสดอย่างเคร่งครัด ท�ำธุรกิจแบบใหม่ตามเทรนด์ผู้บริโภค ส�ำหรับ Key Successs ของธุรกิจชาบูอยู่ที่การบริหารเงินสดซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญ ในการท�ำธุรกิจร้านอาหาร และยิ่งท�ำเดลิเวอรี่ด้วยยิ่งต้องมีวินัยทางการเงิน อย่าสั่ง สินค้า วัตถุดิบมาสต็อกไว้ในคลังสินค้ามากเกิน ให้สั่ง 1-3 วัน/ครั้ง เช็กสต็อก ทุกวัน ท�ำบัญชีรายรับรายจ่าย บัญชีสินค้าเข้าและออกทุกวัน ไม่เช่นนั้นมีเงิน กี่ร้อยล้านก็หมดลงได้ และถึงแม้ผ่านช่วงวิกฤตมาได้แล้วก็อย่าประมาท ยังต้อง เคร่งครัดในการบริหารจัดการเงินสดให้ได้ เมื่อถึงเวลาเราต้องช�ำระหนี้ ควรช�ำระหนี้ ให้ตรงเวลา จะได้ไม่เป็นการผิดนัดช�ำระ จะท�ำให้รายงานการเดินบัญชี (Statement) มีความน่าเชื่อถือ หากในอนาคตเราจะเข้าไปขอยอดเงินกู้จากธนาคารมาขยายธุรกิจ ของเราเพิม่ ก็จะมีความน่าเชือ่ ถือและได้รบั การอนุมตั ทิ ดี่ แี ละรวดเร็วขึน้ และพยายาม ที่จะเรียนรู้การท�ำธุรกิจรูปแบบใหม่ๆ ตามเทรนด์ของผู้บริโภคเพิ่มเติม สร้างทีมงาน ผสมผสานทั้งคนเก่าและคนใหม่ ร่วมพูดคุยกัน และให้ก�ำลังใจกัน
ที่มา : สัมมนา “Digital SMEs in New Normal Era” จัดโดยบริษัท เออาร์ไอพี จ�ำกัด (มหาชน)
Engineering Today May • June 2021
19
Cover Story • VEGA
Radar
is the better ultrasonic! VEGA adds to its portfolio of level sensors with a new non-contact radar instrument series for standard measuring tasks and price-sensitive applications. A new era in radar level measurement began a few years ago when VEGAPULS sensors based on 80 GHz technology were introduced. Thanks to the more precise focusing of the radar beam, the sensor virtually eliminates any unwanted or interfering reflections-the level measurement therefore becomes much easier and more reliable. Many difficult measuring tasks for ultrasonic sensors are now becoming standard practice with radar technology. VEGA has now added a new compact 80 GHz instrument series to its portfolio of radar sensors. It is especially suitable for price-sensitive applications, such as those found in the water/wastewater industry or in auxiliary process loops in process automation. VEGA designed a new radar microchip especially for this purpose, which is characterized by its extremely small size, fast start up time and low energy consumption. The end result is a particularly compact and versatile radar sensor.
20
Engineering Today May • June 2021
Robust, unaffected and weatherproof The new VEGAPULS instruments are ideal for both liquids and bulk solids. They are available both as compact version with cable connection housing and as a standard version with a fixed IP68 cable connection. The radar sensors maintain steady, accurate measurements without effect or loss of echo from external influences such as solar gain, air temperature fluctuations, weather conditions vapours, buildup or condensation. Users can choose from 4 ... 20 mA, HART, SDI-12 or Modbus as the direct output signal, ATEX versions are also available. The VEGAPULS instrument series are compact devices, but they are complemented by the optional VEGAMET controllers. These feature a large graphic display that can be used to visualize all measured values. They have also been particularly designed to meet the special requirements of the water/wastewater industry. VEGAMET controllers allow simple implementation of pump control, flow measurement in open channels and overfill protection according to WHG. These are designed for operation in outdoor environments and, are supplied in a weather-resistant housing.
(Group-VEGAMET-VEGAPULS)
Simple setup thanks to wireless operation Both the sensors and the controllers can be operated easily via Bluetooth with a smartphone or tablet. This makes setup, display and diagnostics considerably easier, especially in harsh environments or in hazardous areas. The new VEGAPULS radar instrument series offers many advantages over current ultrasonic level measurement technologies. Thanks to their better all-conditions reliability, ruggedness, simple operation and, last but not least, low price it’s the obvious choice for the modern water industry applications.
The new VEGAPULS instrument series is available both as compact version with cableconnection housing (left in the photo) and as standard version with fixed cable connection (IP68). The new series is complemented by the VEGAMET controller (right in the photo), which can also be used to visualize all measured values.
More information available at www.vega.com/vegapuls.
Engineering Today May • June 2021
21
EEC • กองบรรณาธิการ
บริษัทชั้นน�ำ
ใน US ร่วมทุน
สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ผลิตแบตเตอรี่ขนาด 8,000 MW ใหญ่ที่สุดในอาเซียน ในพื้นที่ EEC
EVLOMO บริ ษั ท ชั้ น น� ำ ด้ า นยานยนต์ ไ ฟฟ้ า จากประเทศสหรัฐอเมริกา ลงนาม MOU กับ บริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมทุนด�ำเนิน โครงการผลิตแบตเตอรี่เพื่อเก็บพลังงานไฟฟ้า (Battery Cell production) ขนาดการผลิต 8 GWh. หรือ 8,000 เมกะวัตต์ ซึ่งเป็นระดับที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน เทียบกับ การรองรับรถ EV ได้ 150,000 คัน จะเกิดเงินลงทุนสูงถึง 1.06 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 33,000 ล้านบาท โดยโครงการ ฯ ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมโรจนะ
22
Engineering Today May • June 2021
อ�ำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี เป็นพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ในปี พ.ศ. 2564 นี้ จะมีการลงทุนในระยะแรก 1 GWh. หรือ 1,000 เมกะวัตต์ ทันที โดยคาดว่าการก่อสร้างโรงงานจะแล้วเสร็จ และผลิตแบตเตอรี่ชุดแรกภายใน 18-24 เดือน ท�ำให้เกิดการสร้างงาน ที่มีคุณภาพ รายได้สูง ไม่น้อยกว่า 3,000 ต�ำแหน่ง ไม่นับรวมต�ำแหน่ง งานที่เชื่อมโยงอื่นๆ อีกจ�ำนวนมาก สร้างประโยชน์ให้แก่ประชาชน และขับเคลื่อนเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ โครงการฯ จะท� ำ ให้ พื้ น ที่ บ ริ เ วณหนองใหญ่ จั ง หวั ด ชลบุ รี เป็นศูนย์กลางในการรองรับเทคโนโลยีการผลิตแบตเตอรี่ที่น�ำสมัยที่สุด ของโลก และสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมยานยนต์ และ การพัฒนาพลังงานสะอาดของ EEC และของประเทศไทย โดยเมื่อ น�ำขนาดการผลิตของโครงการฯ นีไ้ ปรวมกับโครงการของบริษทั พลังงาน บริสุทธิ (Energy Absolute) ขนาด 1 GWh. และของบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) (GPSC) ขนาด 1 GWh. แล้วจะ ส่งผลให้ประเทศไทยมีก�ำลังการผลิตแบตเตอรี่รวม 10 GWh. หรือสูง ถึง 10,000 เมกะวัตต์ ก้าวสูป่ ระเทศทีม่ โี ครงการลงทุนผลิตแบตเตอรี่ มากที่ สุ ด ในอาเซี ย น รองรั บ การเป็ น ศู น ย์ ก ลางยานยนต์ ไ ฟฟ้ า ทั้งรถไฟฟ้า เรือไฟฟ้า และอากาศยานไฟฟ้าในอนาคต สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพลังงาน ให้ความเห็นถึงโครงการนี้ผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัวว่า ในช่วงเวลานี้ แม้จะมีสถานการณ์ที่ยากล�ำบากเกี่ยวกับ COVID-19 แต่ในอีกหลายภาคส่วนของประเทศไทยก็ต้องไปต่อ และยังมีเรื่องดีๆ คือ ตอนนี้อเมริกาได้จับมือไทย ร่วมทุนท�ำโครงการผลิตแบตเตอรี่ใหญ่ ที่สุดในอาเซียนที่ EEC โดย EVLOMO บริษัทชั้นน�ำด้านยานยนต์ไฟฟ้า จากประเทศสหรัฐอเมริกา และบริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จ�ำกัด (มหาชน) ได้ลงนามใน MOU ตกลงที่จะร่วมทุนกันด�ำเนินโครงการผลิต แบตเตอรี่เพื่อเก็บพลังงานไฟฟ้าขนาด 8,000 เมกะวัตต์ ซึ่งเป็นระดับ ที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน เทียบกับการรองรับรถ EV ได้ถึง 150,000 คัน ซึ่งจะเกิดเงินลงทุนสูงถึง 33,000 ล้านบาท
New Course • กองบรรณาธิการ
สจล.จับมือ ม.สแตรธไคลด์ เปิดหลักสูตรปั้น “นักเคมี
ควบวิศวกรเคมีรนุ่ ใหม่” ครัง้ แรกในไทย พร้อม 3 ทางเลือกการเรียนแนวใหม่
แก้ปัญหาอุตฯ ภาคการผลิตไทยแบบตรงจุด ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) กล่าวว่า สจล. โดยคณะวิทยาศาสตร์ จับมือมหาวิทยาลัย ชั้ น น� ำ ระดั บ โลกด้ า นการออกแบบและผลิ ต นวั ต กรรม “มหาวิทยาลัยสแตรธไคลด์” (University of Strathclyde) ประเทศสกอตแลนด์ เปิดหลักสูตร “เคมีวิศวกรรมและ อุ ต สาหกรรม หลัก สูตรนานาชาติ” (Industrial and Engineering Chemistry) หรือ “IEC” ครั้งแรก หลักสูตร ที่ขมวดรวมศาสตร์ความรู้ด้านเคมีและเคมีวิศวกรรมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ มุง่ ผลิตนักเคมีควบวิศวกรเคมีรนุ่ ใหม่ ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ และตระหนักถึงกระบวนการ ผลิตสารเคมีแบบ “เริ่มต้นจนจบ” (Start to Finish) ตั้งแต่ ความรู้ด้านเคมีและวิศวกรรมพื้นฐาน จนถึงกระบวนการ ซ่อมบ�ำรุงและแก้ปัญหา เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาทางเคมี ทางวิ ศ วกรรมในระดั บ อุ ต สาหกรรมภาคการผลิ ต แบบ รอบด้าน หลังพบข้อจ�ำกัดด้านองค์ความรู้และการสื่อสาร ระหว่างปฏิบัติงานที่ไม่เป็นไปในทิศทางเดียว อันน�ำไปสู่ การแก้ไขปัญหาที่ไม่ตรงจุด และก่อให้เกิดความสูญเสีย ทั้งทรัพยากรและงบประมาณจ�ำนวนมาก รศ. ดร.อิทธิพล แจ้งชัด คณบดี คณะวิ ท ยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) กล่าวว่า สจล. ได้ปรับหลักสูตรเพือ่ พัฒนาองค์ความรู้ให้ครอบคลุม ทัง้ 2 สายงาน เพือ่ น�ำไปใช้ในการ ท� ำ งานจริ ง ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถ ยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้มีองค์ความรู้เป็นของตนเอง (Research and Development) สามารถเรียนรู้การ ใช้งาน และการประยุกต์ความรู้ทางเคมีได้อย่างลึกซึ้ง โดย ค�ำนึงถึงภาพใหญ่ในระดับโรงงานอุตสาหกรรมการผลิต จึงมีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะตอบโจทย์การแก้ปัญหา และพัฒนาเทคโนโลยี นอกจากนี้ หลักสูตรดังกล่าวยังมา พร้อมแผนการเรียนแนวใหม่ ทีย่ ดื หยุน่ ต่อผูเ้ รียนให้สามารถ ออกแบบเส้ น ทางการศึ ก ษา เลื อ กวุ ฒิ ก ารศึ ก ษา และ ระยะเวลาการศึกษาใน 3 รูปแบบ ดังนี้
แบบที่ 1 หลักสูตร 4 ปี ที่ สจล.
ระยะเวลาเรียน 4 ปี ที่ สจล. โดยผู้ส�ำเร็จการศึกษาจะ ได้ รั บ 1 วุ ฒิ ก ารศึ ก ษา คื อ วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเคมีวิศวกรรม และอุตสาหกรรม (B.Sc. in Industrial and Engineering Chemistry) จาก สจล. อีกทั้งยังได้ประสบการณ์การแลกเปลี่ยน (Exchange Program) และฝึ ก งานกั บ มหาลั ย ชั้ น น� ำ ใน ต่างประเทศ ทั้งในทวีปยุโรปและเอเชีย อาทิ มหาวิทยาลัย สแตรธไคลด์ (University of Strathclyde) สถาบันเทคโนโลยี ฮาร์บิน ประเทศจีน (Harbin Institute University) สถาบัน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูงแห่งประเทศญี่ปุ่น (Japan Advanced Institute of Science and Technology)
แบบที่ 2 หลักสูตร 3+1
ระยะเวลาเรียน 3 ปี ที่ สจล. และอีก 1 ปี ที่มหาวิทยาลัย สแตรธไคลด์ (University of Strathclyde) โดยผู้ส�ำเร็จการศึกษา จะได้รับ 2 วุฒิการศึกษา ได้แก่ วุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี ในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเคมีวิศวกรรม และอุตสาหกรรม (B.Sc. in Industrial and Engineering Chemistry) จาก สจล. และใบประกาศนียบัตรจากมหาวิทยาลัย สแตรธไคลด์ (Certificate of Higher Education in Applied Chemistry จาก University of Strathclyde)
แบบที่ 3 หลักสูตร 2+2
ระยะเวลาเรียน 2 ปี ที่ สจล. และอีก 2 ปี ที่มหาวิทยาลัย สแตรธไคลด์ (University of Strathclyde) โดยผู้ส�ำเร็จการศึกษา จะได้รับ 2 วุฒิการศึกษา ได้แก่ วุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี ในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเคมีวิศวกรรม และอุตสาหกรรม (B.Sc. in Industrial and Engineering Chemistry) จาก สจล. และใบประกาศนียบัตร วิทยาศาสตร บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยสแตรธไคลด์ (B.Sc. in Applied Chemistry จาก University of Strathclyde) หลักสูตรดังกล่าว ได้รับการพัฒนามาจากหลักสูตรนานาชาติ (B.Sc. Polymer Technology และ B.Sc. Petrochemical Technology) ของภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ สจล. โดยปรับ ปรุงเนื้อหาให้ ตอบโจทย์ อุ ต สาหกรรมในปั จ จุ บั น ผ่ า นการเพิ่ ม เติ ม วิ ช าทางด้ า น วิศวกรรม พร้อมยกระดับมาตรฐานความเป็นนานาชาติด้วยการร่วมมือ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ในต่ า งประเทศ ทั้ ง ด้ า นการเรี ย นการสอน การฝึกงาน การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม ซึ่งจะเป็นการเพิ่มโอกาส ด้านการท�ำงานที่มากกว่าหลักสูตรวิทยาศาสตร์เคมีทั่วไป Engineering Today May • June 2021
23
AI • กองบรรณาธิการ
Creative AI Camp by CP ALL ปีที่ 3 ถอดบทเรียน-วิธีคิด AI ไต้หวันสู่เยาวชนไทย
หลายปี ที่ ผ ่ า นมา “ไต้ ห วั น ” ถื อ เป็ น พื้ น ที่ ที่ มี พั ฒ นาการด้ า นเทคโนโลยี แ ละปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ หรื อ Artificial Intelligence : AI ) อย่างโดดเด่นทีส่ ดุ อีกแห่งหนึง่ ของโลก ไต้ ห วั น มี แ ผนพั ฒ นาบุ ค ลากรด้ า น AI หรื อ AI Talent ปีละนับหมื่นคน มีนวัตกรรมที่ประยุกต์ใช้ กั บ ศาสตร์ อื่ น ๆ รวมถึ ง การน� ำ มาใช้ เ ฝ้ า ระวั ง ผู ้ ติ ด เชื้ อ COVID-19 ในปีที่ผ่านมา ล่าสุด บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) ผู้บริหาร เซเว่ น อี เ ลฟเว่ น และเซเว่ น เดลิ เ วอรี่ จึ ง ได้ จั บ มื อ Professor Che-Wei LIN ผู ้ น� ำ การขั บ เคลื่ อ น AI Talent Incubation ของรัฐบาลไต้หวันและอาจารย์ประจ�ำ มหาวิทยาลัยแห่งชาติเฉิงกง มาร่วมเป็นอีกหนึ่งวิทยากร และพันธมิตรจัดค่าย Creative AI Camp by CP ALL ปีที่ 3 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และแนวคิดของประเทศ ชั้นน�ำด้าน AI ให้แก่เยาวชนไทยในระดับมัธยมศึกษา และ ปวช. Prof.Che-Wei LIN อาจารย์ ป ระจ� ำ สาขา Biomedial Engineering มหาวิทยาลัยแห่งชาติเฉิงกง ประเทศไต้หวัน กล่าวว่า การบูรณาการ AI เข้ากับศาสตร์ และอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ จะสร้ า งความเปลี่ ย นแปลง อย่ า งมากให้ กั บ ภาคธุ ร กิ จ และอุ ต สาหกรรมในอนาคต โดยเฉพาะธุรกิจค้าปลีก อุตสาหกรรมการผลิต ไปจนถึง อุตสาหกรรมทางการแพทย์ โดยแนวโน้มจะเป็นลักษณะ ของ การเป็นผู้ช่วยที่ท�ำงานร่วมกับคน หรือ HumanComputer Cooperation เพื่อช่วยให้งานต่างๆ เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ส�ำหรับไต้หวัน ได้เดินหน้าพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้าน AI เพือ่ ใช้วจิ ยั เรือ่ งปัญหาของ AI ต่อ Supercomputer ภาคเอกชนได้นำ� เทคโนโลยี AI เชิงสร้างสรรค์หรือ Creative AI เข้ามาท�ำงานร่วมกับ คน ภาคการศึกษาก็มีการน�ำ เรื่อง AI มาให้นักเรียนตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ไปจนถึงนักศึกษามหาวิทยาลัยได้เรียนรู้
24
Engineering Today May • June 2021
ขณะเดี ยวกั น ไต้ ห วั น ก็ เ ริ่ ม น� ำ AI มาใช้ ย กระดั บ สั ง คมหรื อ แก้ปญ ั หาส�ำคัญต่างๆ เช่น การดูแลและติดตามการกักตัวของกลุม่ เสีย่ ง และผู้ติดเชื้อ COVID-19 การวิเคราะห์ COVID-19 ตามระบบขนส่ง สาธารณะ ช่วงปีใหม่ที่ผ่านมา แพลตฟอร์ม AI ของไต้หวันสามารถ ตรวจพบผู้ที่ฝ่าฝืนการกักตัวออกไปท่องเที่ยวข้างนอก ท�ำให้สามารถ ด�ำเนินการจัดการและควบคุมไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดได้อย่างทันท่วงที “ผมพยายามเล่าให้เยาวชนที่เข้าร่วมค่าย Creative AI Camp by CP ALL เห็นภาพว่า เทรนด์ AI ในอนาคตจะเปลี่ยนโลกได้อย่างไร จะสร้างผลกระทบต่อสังคม หรือ Social Impact อะไรบ้างให้กับ โลกใบนี้ ทั้งด้านผลลัพธ์ที่ดีและด้านความเสี่ยง พร้อมทั้งแลกเปลี่ยน ประสบการณ์วธิ กี ารคิดค้นหัวข้องานวิจยั ใหม่ๆ เกีย่ วกับด้าน Biomedical Engineering และการศึกษาทดลองการใช้ AI ตรวจโรคหัวใจและ หลอดเลือดให้แก่เยาวชน เพื่อให้เยาวชนมีความเข้าใจความพร้อม ในทุกสถานการณ์ และสามารถประยุกต์ใช้ AI ในฐานะศาสตร์ที่ช่วย ยกระดับและสร้างสรรค์สังคม” Prof.Che-Wei LIN กล่าว อย่างไรก็ดี เด็กๆ อาจเริ่มต้นคิดจากปัญหาเล็กๆ หรือปัญหา ใกล้ตัวก่อนได้ แล้วจึงต่อยอดสู่การใช้ AI เพื่อแก้ปัญหาส�ำคัญของ สังคมเพิ่มเติม ดร.พงส์ศักดิ์ โหลิมชยโชติกุล ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักปัญญา ประดิษฐ์สร้างสรรค์ บมจ. ซีพี ออลล์ ผู้บริหารโครงการ Creative AI Camp by CP ALL กล่าวว่า ตลอด 3 ปีที่ผ่านมา ทีมจัดค่ายพยายาม เดินหน้าจับมือกับพันธมิตรใหม่ๆ ในหลากหลายประเทศชั้นน�ำด้าน AI อย่างต่อเนือ่ ง เพราะแต่ละประเทศจะมีความเชีย่ วชาญและประสบการณ์ การใช้ AI ในด้านที่แตกต่างกัน เริ่มจากปีแรกจับมือกับ Advanced Robotics Center มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ (NUS) ซึ่งเชี่ยวชาญ ด้าน AI & Robotics ปีที่ 2 จับมือกับ Department of Information Management) มหาวิทยาลัยปักกิ่ง (PKU) ซึ่งเชี่ยวชาญด้าน AI & Digital Transformation และในปีน้ีจับมือกับ Department of Biomedical Engineering มหาวิทยาลัยแห่งชาติเฉิงกง ซึ่งเชี่ยวชาญ ด้าน AI และนวัตกรรมทางการแพทย์ “ยิง่ มีเรือ่ งราวหลากหลาย เด็กๆ ยิง่ ได้เปิดโลกกว้างยิง่ ขึน้ วันนีท้ งั้ สิงคโปร์ จีน และไต้หวัน ต่างมีเรื่องราวและเรื่องเล่าของการน�ำ AI ไป ใช้ในการพัฒนาและสร้าง Social Impact ให้กับสังคม เรื่องราวเหล่านี้ จะกลายเป็นแรงบันดาลใจที่ส�ำคัญให้เด็กๆ อยากลุกขึ้นมาเรียนรู้เรื่อง AI อย่างจริงจัง และพัฒนา AI เชิงสร้างสรรค์ที่จะช่วยแก้ปัญหาหรือ พัฒนาสังคม” ดร.พงส์ศักดิ์ กล่าว ทั้ ง 3 พั น ธมิ ต รสถาบั น การศึ ก ษาจากสิ ง คโปร์ จี น และ ไต้หวัน ตลอดจนสถาบันการศึกษาของไทยอย่างสถาบันการจัดการ ปัญญาภิวัฒน์ รวมถึงสมาคมกีฬาหมากล้อมแห่งประเทศไทยและ ชมรมเด็กหมากล้อมจิตอาสา ถือเป็นพันธมิตรที่มีศักยภาพสูงที่จะ เข้ามามีส่วนร่วมมอบองค์ความรู้และสร้างแรงบันดาลใจให้แก่เด็กๆ อย่างต่อเนื่องในค่ายครั้งต่อๆ ไปด้วย
ค่าย Creative AI Camp by CP ALL ปีที่ 3 ถ่ายทอดองค์ความรู้และแนวคิดของประเทศชั้นน�ำด้าน AI ให้แก่เยาวชนไทยในระดับมัธยมศึกษาและ ปวช.
Prof.Che-Wei LIN อาจารย์ประจ�ำสาขา Biomedial Engineering มหาวิทยาลัยแห่งชาติเฉิงกง ไต้หวัน
ดร.พงส์ศักดิ์ โหลิมชยโชติกุล ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักปัญญาประดิษฐ์สร้างสรรค์ บมจ. ซีพี ออลล์ ผู้บริหารโครงการ Creative AI Camp by CP ALL
Engineering Today May • June 2021
25
บทความพิเ ศษ
• *ชาร์ลส ซอเมอร์ส ผู้จัดการกองทุนจาก Schroders (ชโรเดอร์ส)
จับตาพฤติกรรม ช่วงล็อกดาวน์ ที่อาจอยู่กับเราไปชั่วชีวิต
ชาร์ลส ซอเมอร์ส ผูจ้ ดั การกองทุนจาก Schroders (ชโรเดอร์ ส ) เปิ ด เผยถึ ง มุ ม มองที่ เ กิ ด จากผลกระทบ ของ COVID-19 ที่มีต่อพฤติกรรมผู้บริโภคบางอย่าง ที่จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างถาวร แม้สิ้นสุดการระบาดของ COVID-19 ในระยะสั้น หุ้นที่เกี่ยวข้องกับสินค้าอุปโภคบริโภค ที่ได้รับประโยชน์จากสถานการณ์ COVID-19 น่าจะยังคง ให้ผลตอบแทนทีด่ ใี นช่วง 2-3 ปีขา้ งหน้านี้ แต่ในระยะยาว เมือ่ วิถชี วี ติ กลับเข้าสูภ่ าวะปกติแล้ว กลุม่ ธุรกิจบางประเภท อาจฟื้นตัวกลับคืนมา เมื่อมาตรการคุมเข้มต่างๆ เริ่ม ผ่อนคลายลง และอาจท�ำให้พฤติกรรมการบริโภคแบบเก่า กลับมา
เราอาจไม่สามารถหลุดพ้นจากการระบาดใหญ่นี้ ได้อย่างสมบูรณ์
ตลาดการเงินต่างๆ ขานรับต่อข่าวดีจากการประกาศใช้ วัคซีนไฟเซอร์-ไบโอเอ็นเทค (Pfizer-BioNTech) ตั้งแต่ 9 พฤศจิกายน 2563 ดังจะเห็นได้จากราคาของหุน้ ในกลุม่ อุตสาหกรรมและบริษทั ต่างๆ ทีไ่ ด้รบั การกระทบอย่างหนัก จากการล็อกดาวน์ที่ปรับตัวขึ้นมาอย่างมาก เช่น ราคา น�ำ้ มันสูงขึน้ 8.5% หุน้ กลุม่ ธุรกิจผูจ้ ดั งานคอนเสิรต์ ปรับตัว ขึ้น 24% ภายในวันเดียว ในขณะที่หุ้นของสายการบิน ทั่วโลกดีดตัวขึ้นถึง 15% ภายในระยะสั้น ทั้งนี้ แม้ว่าข่าวดี ของการพัฒนาวัคซีนถือเป็นจุดเปลี่ยนครั้งส�ำคัญ แต่จาก สถานการณ์ทเี่ กิดขึน้ กลับชีช้ ดั ว่าเราอาจไม่สามารถหลุดพ้น จากการแพร่ระบาดใหญ่นี้ได้อย่างสมบูรณ์ และยังไม่มี จุดใดที่เราสามารถประกาศชัยชนะและกลับสู่ภาวะปกติ เช่ น เดิ ม ได้ เนื่ อ งจากการกลายพั น ธุ ์ ข องไวรั ส จนเกิ ด สายพั น ธุ ์ ใ หม่ ต ่ า งๆ ท� ำให้ วั ค ซี น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพลดลง และเป็นอุปสรรคหลักที่ขัดขวางการกลับเข้าสู่ภาวะปกติ อีกทัง้ ยังมีประเด็นปัญหาด้านโลจิสติกส์เพือ่ กระจายวัคซีน และเรื่องระยะเวลาการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกัน ที่ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าจะช่วยสร้างภูมิต้านทานให้ร่างกาย มนุษย์สามารถป้องกันไวรัสได้เมื่อใด นอกจากนี้ ยังเป็นเรือ่ งยากทีจ่ ะคาดหวังการกลับมา เปิดการเดินทางเพื่อไปมาหาสู่กัน ระหว่างกลุ่มประเทศ ที่สามารถควบคุมสถานการณ์ COVID-19 ได้อย่างรัดกุม (จีน ออสเตรเลีย ฯลฯ) กับกลุม่ ประเทศทีม่ กี ารแพร่ระบาด ในวงกว้างและอยู่ในระหว่างการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ ดังนั้น
สถานการณ์ที่เราน่าจะได้เห็นคือการค่อยๆ ผ่อนคลายมาตรการคุมเข้ม ลงทีละน้อย และอาจเห็นสถานการณ์ทรุดลงบ้างเป็นครั้งคราว ซึ่งคงจะ แตกต่างกันไปอย่างมีนัยส�ำคัญในแต่ละประเทศ
การเคลือ่ นไหวของราคาหุน้ ในระยะสัน้ อาจไม่สะท้อนความเป็นจริง
รู ป แบบการใช้ จ ่ า ยของผู ้ บ ริ โ ภคอาจแปรผั น ไม่ แ น่ น อนตาม สภาพการณ์ ท่ี เ ปลี่ ย นไป โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เมื่ อ มี ก ารผ่ อ นปรน มาตรการใดๆ อาจจะได้ เ ห็ น ผู ้ บ ริ โ ภคออกมาจั บ จ่ า ยใช้ ส อย เพื่อท�ำกิจกรรมต่างๆ เพิ่มขึ้น จากความต้องการที่เพิ่มสูงขึ้นหลังจาก ถูกระงับมาตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมา ส� ำ หรั บ หลายๆ ประเทศที่ มี ก ารทยอยฉี ด วั ค ซี น เพื่ อ ช่ ว ยลด ความเสี่ยงด้านสาธารณสุขแล้ว มีโอกาสเป็นไปได้สูงที่จะเห็นกิจกรรม การท่ อ งเที่ ย วเพิ่ ม สู ง ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว ในช่ ว งฤดู ร ้ อ นที่ จ ะถึ ง นี้ ซึ่ ง ความต้องการท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นนี้สวนทางกับจ�ำนวนเที่ยวบินหรือ ห้องพักในโรงแรมทีม่ จี ำ� นวนลดลง และอาจผลักดันให้ราคาตัว๋ เครือ่ งบิน และราคาที่พักเพิ่มขึ้นได้อย่างมาก ในท�ำนองเดียวกัน หากผู้คนได้รับอนุญาตให้กลับมาเข้าสังคม อย่างเป็นอิสระมากขึน้ เราก็นา่ จะเห็นธุรกิจต่างๆ ในอุตสาหกรรมบริการ เช่น การเดินทางด้วยบริการยานพาหนะส่วนบุคคล (Ride Sharing) หรือ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีแนวโน้มที่จะกลับมาคึกคัก อีกครั้ง การใช้จา่ ยเพือ่ ท�ำกิจกรรมต่างๆ อาจเบียดเบียนการใช้จา่ ยในด้าน อื่นๆ ดังนั้น พฤติกรรมการใช้จ่ายของผู้บริโภคในช่วงฤดูร้อนที่จะถึงนี้ อาจเป็นภาพที่ไม่ได้สะท้อนความเป็นจริงของการบริโภคในยุคหลังการ แพร่ระบาดใหญ่ได้ทั้งหมด ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นเรื่องส�ำคัญที่นักลงทุนจะ ต้องมีวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป ในระยะยาว เพื่อเตรียมพร้อมส�ำหรับสถานการณ์ในอนาคต
ท�ำความเข้าใจปัจจัยต่างๆ ที่ผลักดันให้เกิดการสร้างปกตินิสัย
แม้งานวิจัยทางวิชาการ How are habits formed: Modelling habit formation in the real world ซึ่งตีพิมพ์ในวารสาร European Journal of Social Psychology เมื่อเดือนตุลาคม 2553 ชี้ให้เห็นว่า คนเราอาจใช้เวลาถึง 254 วัน ในการสร้างนิสัยใหม่ และเนื่องจาก ที่ผ่านมาผู้บริโภคส่วนใหญ่ได้ผ่านการใช้ชีวิตท่ามกลางมาตรการคุมเข้ม ช่วง COVID-19 มานานเกินกว่านัน้ แล้ว เราจึงอาจด่วนสรุปไปว่ากิจวัตร รู ป แบบใหม่ ที่ ผ ่ า นมานี้ ค งจะอยู ่ ติ ด ตั ว เราต่ อ ไป แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม การสร้างนิสัยใหม่นั้นมีปัจจัยมากไปกว่าเพียงแค่การท�ำอะไรบางอย่าง ซ�ำ้ ๆ ในช่วงเวลาติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ซึง่ รวมไปถึงวงจรของนิสยั หรือ “Habit loop” อีกด้วย ซึ่งมีองค์ประกอบ 3 ส่วนคือ สิ่งรอบข้าง ตัวพฤติกรรมนั้นๆ และความพึงพอใจที่ได้รับ เมื่อสถานการณ์กลับสู่ภาวะปกติ จะท�ำให้องค์ประกอบส�ำคัญ ทีเ่ คยเป็นเรือ่ งจ�ำเป็นเนือ่ งจากการแพร่ระบาดขาดหายไป หมายความว่า (เช่ น การเรี ย นหนั ง สื อ ที่ บ ้ า น) และจะท� ำ ให้ ค นเริ่ ม ตระหนั ก ว่ า ความพึงพอใจทีจ่ ะได้รบั อาจเกิดขึน้ ง่ายกว่าเมือ่ หันกลับไปท�ำพฤติกรรม ที่คุ้นเคยก่อนการแพร่ระบาด Engineering Today May • June 2021
27
ทั้งนี้ พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปและมีความเป็นไปได้สูงกว่าจะกลายเป็นนิสัยที่ท�ำต่อไปอย่างเหนียวแน่นถาวรในระยะยาว คือพฤติกรรมที่น�ำไปสู่ความพึงพอใจบางอย่าง ที่ไม่สามารถทดแทนได้แม้ว่ามาตรการเข้มงวดต่างๆ จะผ่อนคลายลง ตารางด้านล่างนี้ คือมุมมองของเราเกี่ยวกับแนวโน้มส�ำคัญบางประการ การเปลี่ยนแปลงช่วงการระบาดใหญ่
สิ่งที่ผู้บริโภคได้รับ
พฤติกรรมหลังจากสิ้นสุดการระบาด
ท�ำต่ออย่างเหนียวแน่น ซือ้ สินค้าอุปโภคบริโภค ผ่านช่องทางออนไลน์
ปริมาณการซื้อขายสูงขึ้นหลายเท่าตัว ในหลายๆ ประเทศ
ความปลอดภัย และลดเวลา ในการท�ำภารกิจ
เป็นช่องทางที่สะดวก และน่าจะยังคง ด�ำเนินต่อไปหลังจากสิ้นสุดการระบาด
ปรับปรุงที่อยู่อาศัย
ค่าใช้จ่ายตกแต่งบ้านเพิ่มขึ้น 20% ในตลาดประเทศเศรษฐกิจพัฒนาแล้ว
ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย
การเปลี่ยนไปท�ำงานอย่างยืดหยุ่นมีแนวโน้ม จะคงอยู่ต่อไป และจะผลักดันให้บ้าน มีความส�ำคัญมากขึ้น
มีแนวโน้มลดลงในระยะสั้น แต่ยังท�ำเป็นนิสัยต่อไปในระยะยาว การช้อปปิง้ ออนไลน์
อัตราการซื้อของออนไลน์เพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็วทั่วโลกในปี พ.ศ. 2563
ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย
เป็นช่องทางที่สะดวกกว่าอย่างมากส�ำหรับ ผู้บริโภค แม้ว่าความสนุกในการเดินเลือก ซื้อของจะหายไป โดยร้านค้าปลีกที่เน้นมอบ ประสบการณ์ที่น่าสนใจ จะสามารถดึงดูด ลูกค้ากลับมาที่หน้าร้านได้
เล่นเกม
จ�ำนวนชั่วโมงที่ใช้เล่นเกม หรืออีสปอร์ต และการใช้จ่ายเพื่อซื้อของในเกม
ได้เข้าสังคม ความรู้สึกว่า ประสบความส�ำเร็จ
ความบันเทิงรูปแบบอืน่ จะแย่งเวลาเล่นเกมไป แต่พฤติกรรมการซื้อของในเกมน่าจะกลาย เป็นนิสัยถาวร
ออกก�ำลังกาย
อุปกรณ์ออกก�ำลังกายมียอดขาย พุ่งสูงขึ้นมาก
สุขภาพแข็งแรงขึ้น เตรียมพร้อมรับมือ กับโรคระบาดได้ดีขึ้น
ไม่คอ่ ยแน่ชดั เพราะการออกก�ำลังกาย เป็นสิง่ ทีค่ อ่ นข้างยากทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง ไปเป็นนิสยั ถาวร
ท�ำอาหารง่ายๆ ด้วยตนเอง
การท�ำอาหารจากวัตถุดิบง่ายๆ ได้รับความนิยมสูงขึ้น
ได้ทานอาหารอร่อย ความรูส้ กึ บรรลุความส�ำเร็จ
การท�ำอาหารเองไม่ใช่เรื่องง่ายเมื่อเทียบกับ การซื้ออาหารปรุงส�ำเร็จหรือทานที่ร้าน
ท�ำน้อยลง
ทั้งนี้ การวิเคราะห์พฤติกรรมหลังสิ้นสุดการระบาดของ COVID-19 จะท�ำให้นกั ลงทุนสามารถคาดการณ์และคัดเลือกการ ลงทุนในกลุม่ ธุรกิจหรือบริษทั ทีจ่ ะได้รบั ประโยชน์จากพฤติกรรม ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างถาวร และช่วยให้หลีกเลี่ยงข้อผิดพลาด ในการคัดเลือกบริษัทที่จะได้รับประโยชน์จากพฤติกรรมผู้บริโภค ที่เปลี่ยนแปลงไปเพียงชั่วคราวในช่วงการระบาดเท่านั้น
การเปลี่ยนแปลงแนวทางการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทต่างๆ มีนัยส�ำคัญต่อการลงทุนเป็นอย่างมาก
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภคเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อรายได้ ของบริษัทต่างๆ อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม รางวัลใหญ่ที่สุด ส�ำหรับนักลงทุน คือการเฟ้นหาบริษทั ทีส่ ามารถเปลีย่ นวิธกี ารท�ำ ธุรกิจและมีศักยภาพที่จะสามารถท�ำก�ำไรและสร้างผลตอบแทน ได้อย่างแน่นอนในระยะยาว ตัวอย่างทีด่ อี นั หนึง่ คือกลุม่ ธุรกิจรองเท้าผ้าใบและชุดกีฬา เนื่องจากแบรนด์เหล่านี้เคยจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ของตัวเองผ่าน ร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม แต่ในช่วงหลายปีมานี้ แบรนด์ต่างๆ มุง่ สร้างร้านค้าและช่องทางอีคอมเมิรซ์ เป็นของตัวเอง และพัฒนา ระบบนิเวศภายในแอปพลิเคชันต่างๆ เพื่อหวังดึงดูดลูกค้าจาก ร้านค้าปลีกดัง้ เดิม ซึง่ แม้วา่ จะมีตน้ ทุนสูงและฉุดรัง้ ความสามารถ
28
Engineering Today May • June 2021
ในการท�ำก�ำไร แต่ดว้ ยสถานการณ์ COVID-19 ทีล่ กู ค้าจ�ำนวนมาก หันไปซื้อของผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะเป็น พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างถาวร เราจึงคาดการณ์ได้ว่า ความสามารถในการท�ำก�ำไรและผลตอบแทนของบริษัทเหล่านี้ น่าจะยังคงเติบโตได้ดีขึ้น ในทางกลั บ กั น การรุ ก คื บ ของธุ ร กิ จ ขายของช� ำ บน อีคอมเมิร์ซที่เพิ่มขึ้นก็สร้างความน่าวิตกแก่ผู้จ�ำหน่ายอาหาร แบบค้าปลีกดั้งเดิม จึงเป็นเรื่องน่าเสียดายส�ำหรับธุรกิจเหล่านี้ ทีไ่ ม่สามารถปรับตัวได้ตามสถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นแปลงไป ถึงแม้วา่ ในตอนนี้ จ ะยั ง มี ผู ้ บ ริ โ ภคบางรายที่ นิ ย มการเลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า อาหารด้วยตัวเองอยูก่ ต็ าม (โดยเฉพาะอาหารสด) แต่คนส่วนใหญ่ จะเห็ น ว่ า ความสะดวกสบายของการซื้ อ ของผ่ า นช่ อ งทาง อีคอมเมิร์ซจะเป็นพฤติกรรมที่น�ำไปสู่การได้รับความพึงพอใจ และสะดวกสบายที่ดีกว่าเดิม เป็นต้น แม้ในระยะสั้นตลาดจะยังคงมีความผันผวนอยู่ และการ เคลือ่ นไหวของราคาหุน้ ในระยะสัน้ อาจท�ำให้การประเมินมูลค่า ที่แท้จริงของหุ้นท�ำได้ยาก อย่างไรก็ตาม นี่เป็นโอกาสของ นักลงทุนที่ มี วิ สั ย ทั ศ น์ ชั ด เจนในการเลื อ กซื้ อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ที่เหมาะสม ในราคาที่สมเหตุสมผลที่น่าจะได้รับประโยชน์ จากพฤติกรรมของผู้บริโภคที่จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างถาวร
Innovation • กองบรรณาธิการ
“PETE เปลปกป้อง” นวัตกรรมเปลความดันลบส�ำหรับเคลื่อนย้าย ผู้ป่วย COVID-19 ลดการแพร่กระจายเชื้อ COVID-19
เอ็มเทค สวทช. พัฒนาเปลปกป้อง
“PETE”
ทลายข้อจ�ำกัดการใช้งาน เปลความดันลบทั่วไป ลดการน�ำเข้าจากต่างประเทศ
ในวั น ที่ เ กิ ด COVID-19 ครั้ ง แรกมู ล ค่ า เปล ความดันลบ ราคาสูงถึง 650,000-700,000 บาท ทั้งๆ ที่ต้นทุนอยู่ที่ 100,000 กว่าบาท ดังนั้นประเทศไทยต้องเปลี่ยนแนวคิดว่า เรา ต้องช่วยเหลือประเทศตัวเองให้ ได้ก่อน โดยใช้ นวัตกรรมทางการแพทย์ที่คิดค้นได้เองภายใน ประเทศ ที่ส�ำคัญลดการน�ำเข้าจากต่างประเทศ ได้ปีละหลายล้านบาท
ศู น ย์ เ ทคโนโลยี โ ลหะและวั ส ดุ แ ห่ ง ชาติ (เอ็ ม เทค) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยทีมออกแบบและแก้ปัญหาอุตสาหกรรม สร้างนวัตกรรม เปลความดันลบส�ำหรับเคลื่อนย้ายผู้ป่วย COVID-19 หรือ “PETE (พีท) เปลปกป้อง” ซึ่งออกแบบส่วนแคปซูลไร้โลหะ แข็งแรง ปลอดภัย ช่วยลดการแพร่กระจายเชื้อ COVID-19 สามารถน�ำผู้ป่วยเข้าเครื่องเอกซเรย์และเครื่องซีทีสแกนปอด ขณะอยู ่ บ นเปล เพื่ อ คั ด กรองอาการในสถานพยาบาล หรื อ เคลือ่ นย้ายผูป้ ว่ ยระหว่างโรงพยาบาลด้วยรถพยาบาล โดยเบือ้ งต้น น�ำร่องมอบให้แก่ 5 โรงพยาบาล ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช, โรงพยาบาลสนาม เอราวั ณ 2 ของโรงพยาบาลเวชการุ ณ ย์ รั ศ มิ์ กรุ ง เทพฯ, มูลนิธิรวมน�้ำใจ (คลองเตย) กรุงเทพฯ, โรงพยาบาลวิภาวดี กรุงเทพฯ และโรงพยาบาลเซนต์เมรี่ จังหวัดนครราชสีมา Engineering Today May • June 2021
29
PETE เปลปกป้อง ยังช่วยทลายข้อจ�ำกัด การใช้ ง านของเปลความดั น ลบเดิ ม ที่ มี ทัว่ ไป ส่วนแรกคือระบบ Smart Controller ท� ำ หน้ า ที่ ค วบคุ ม ความดั น ภายในเปล จึ ง สามารถใช้ ง านได้ ทั้ ง บนภาคพื้ น และ บนอากาศ สามารถตรวจสอบการรั่วไหล ของอากาศสูภ่ ายนอก ส่วนที่ 2 คือ สามารถ น� ำ เปลเข้ า เครื่ อ งเอกซเรย์ แ ละเครื่ อ ง ซี ที ส แกนได้ เนื่ อ งจากไม่ มี โ ลหะ และ ส่วนที่ 3 คือ ตัวเปลสามารถพับเก็บลง กระเป๋าและมีน�้ำหนักเบา พกพาได้สะดวก และติดตั้งง่าย
กุลประภา นาวานุเคราะห์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
30
Engineering Today May • June 2021
สวทช. น�ำเทคโนโลยีลดการน�ำเข้าอุปกรณ์ ทางการแพทย์ราคาแพง ตอบโจทย์นโยบาย BCG Economy Model กุลประภา นาวานุเคราะห์ ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า อุปกรณ์และ เครือ่ งมือแพทย์ถอื เป็นกลุม่ อุตสาหกรรมย่อยของอุตสาหกรรมการแพทย์ ในอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (New S-Curve) เพื่อตอบโจทย์การ ผลักดันให้ประเทศไทยก้าวสู่ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติและการแพทย์ ครบวงจร (Medical Hub) ในอาเซียน ซึ่งต้องใช้ความรู้ความเชี่ยวชาญ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เป็นกลไกในการยกระดับ ความสามารถในอุตสาหกรรมทางการแพทย์ของประเทศ โดยที่การ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีตอ้ งไม่มคี วามซับซ้อนมากนัก แต่มคี วามปลอดภัย สูง ซึ่ง สวทช. มีเป้าหมายที่จะใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสร้าง นวัตกรรมทีส่ ามารถน�ำไปต่อยอดและขยายผลไปสูก่ ารใช้ประโยชน์ได้จริง ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ทั้งยังมีการวางรากฐานทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศให้มีความเข้มแข็ง เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมทางด้านสุขภาพและ การแพทย์ ทีส่ ำ� คัญช่วยลดการน�ำเข้าอุปกรณ์ทางการแพทย์ทมี่ รี าคาแพง จากต่างประเทศ ตามเป้าหมายของ อว. และนโยบายของรัฐบาล โดยเฉพาะนโยบาย BCG Economy Model ที่มุ่งสร้างการเติบโตทาง เศรษฐกิจ ความยั่งยืนทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงความยั่งยืน ภาคอุตสาหกรรมด้วย
สวทช. เร่งพัฒนาผลงานวิจัยรองรับ การระบาดของเชื้อ COVID-19 ชู “เปลความดันลบ” คิดค้นโดยเอ็มเทค ผลิตได้เองในประเทศ
ที่ ผ ่ า นมา สวทช. ได้ เ ร่ ง พั ฒนาผลงานวิ จั ย และ นวัตกรรม ส�ำหรับรองรับการระบาดของเชื้อ COVID-19 ซึ่งได้ส่งมอบผลงานมากกว่า 20 ผลงาน ครอบคลุมทั้ง ด้านการป้องกัน การลดการแพร่กระจายและฆ่าเชื้อโรค รวมทัง้ การตรวจคัดกรองและการตรวจวินจิ ฉัยโรคเบือ้ งต้น ให้ กั บ หน่ ว ยงานที่ มี ค วามเสี่ ย งและมี ค วามต้ อ งการใช้ อุ ป กรณ์ อี ก ทั้ ง หลายผลงานที่ มี ค วามพร้ อ มทางด้ า น เทคโนโลยีการผลิตได้ถกู น�ำไปต่อยอดและเกิดการถ่ายทอด เทคโนโลยีให้กับผู้ประกอบการภายในประเทศเรียบร้อย แล้ว เช่นเดียวกันกับ “เปลความดันลบ” ซึ่งเป็นอีกหนึ่ง นวัตกรรมที่ สวทช. โดยเอ็มเทคคิดค้นพัฒนาและผลิต ได้เองในประเทศ ใช้ยาวนานกว่า 5 ปี “สวทช. ตั้งเป้าว่า “เปลความดันลบ” จะเป็นอีก 1 นวัตกรรมที่ช่วยสนับสนุนและป้องกันการแพร่กระจายเชือ้ COVID-19 ในการระบาดระลอกใหม่นี้ รวมถึงสถานการณ์ วิกฤตที่ไม่อาจคาดการณ์ได้ในอนาคต โดยเฉพาะโรค ติดเชื้อ เช่น วัณโรคและโรคอุบัติใหม่ เป็นต้น” ผู้ช่วย ผู้อ�ำนวยการ สวทช. กล่าว
น�ำร่องมอบเครื่อง “PETE (พีท) เปลปกป้อง” 5 ชุด ให้โรงพยาบาล 5 แห่ง สู้ภัย COVID-19
PETE เปลปกป้อง มีระบบฆ่าเชื้อที่มีประสิทธิภาพ อ�ำนวยความสะดวกในการรักษา ดร.ศราวุธ เลิศพลังสันติ หัวหน้าทีมวิจัยการออกแบบและ แก้ ป ั ญ หาอุ ต สาหกรรม ศู น ย์ เ ทคโนโลยี โ ลหะและวั ส ดุ แ ห่ ง ชาติ (เอ็มเทค) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า เปลความดันลบ คือหนึ่งในเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อหยุดยั้งการแพร่กระจายของเชื้อโรคระหว่างการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ที่ผ่านมาเปลความดันลบทั่วไปในท้องตลาดยังมีข้อจ�ำกัดในการใช้งาน อยูห่ ลายประการและมีราคาทีส่ งู ล่าสุดทีมวิจยั เอ็มเทค สวทช. ได้คดิ ค้น “PETE เปลปกป้อง (Patient Isolation and Transportation Chamber)” อุปกรณ์ส�ำหรับเคลื่อนย้ายผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินหายใจ ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก คือ เปลเคลือ่ นย้ายผูป้ ว่ ย (Chamber) มีลกั ษณะเป็นแคปซูล พลาสติกใสขนาดพอดีตัวคน และระบบสร้างความดันลบ (Negative Pressure Unit) เพื่อควบคุมการไหลเวียนอากาศภายในเปล เมื่อพา ผูป้ ว่ ยขึน้ นอนบนเปลและรูดซิปปิดเรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าทีจ่ ะเปิดระบบ ปรับค่าความดันอัตโนมัติเพื่อให้อากาศจากภายนอกไหลเวียนเข้าสู่ ตัวเปล ท�ำให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวก เมื่ออากาศไหลผ่านผู้ป่วยอาจมี เชื้อโรคที่ปนเปื้อนมาจากการหายใจ อากาศเหล่านั้นจะถูกดูดผ่าน แผ่นกรองอากาศ (HEPA Filter) เพื่อกรองเชื้อโรค และท�ำการฆ่าเชื้อ ด้วยแสง UV-C ก่อนปล่อยออกสู่ภายนอก ท�ำให้มั่นใจได้ว่าอากาศ เหล่านั้นปลอดเชื้อ นอกจากระบบฆ่าเชื้อที่มีประสิทธิภาพแล้ว ทีมวิจัย ยังพัฒนาตัวเปลให้มีช่องส�ำหรับร้อยสายเครื่องช่วยหายใจและสาย น�้ำเกลือเข้าไปยังผู้ป่วย และมีถุงมือส�ำหรับท�ำหัตถการ 6 จุดรอบเปล เพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการรักษาให้กับบุคลากรทางการแพทย์
ทั้งนี้ ทีมวิจัยเอ็มเทค สวทช. ได้ส่งมอบ PETE (พีท) เปลปกป้อง : เปลความดันลบเคลื่อนย้ายผู้ป่วย เพื่อใช้ ในการป้องกันการแพร่กระจายเชือ้ COVID-19 ระลอกใหม่ ตั้งแต่การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยรถพยาบาล จนถึงการน�ำ ผู ้ ป ่ ว ยเข้ า เครื่ อ งเอกซเรย์ ป อดและเครื่ อ งซี ที ส แกน (CT scan) โดยไม่ต้องน�ำผู้ป่วยออกจากเปลความดันลบ ช่ ว ยลดการแพร่ เ ชื้ อ โรคบนอุ ป กรณ์ ท างการแพทย์ แ ละ สถานพยาบาล รวมจ�ำนวน 5 ชุด ได้แก่ 1 คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัย นวมินทราธิราช กรุงเทพฯ 2 โรงพยาบาลสนามเอราวัณ 2 ของโรงพยาบาล
เวชการุณย์รัศมิ์ กรุงเทพฯ 3 มูลนิธิรวมน�้ำใจ (คลองเตย) กรุงเทพฯ 4 โรงพยาบาลวิภาวดี กรุงเทพฯ 5 โรงพยาบาลเซนต์เมรี่ จังหวัดนครราชสีมา
ดร.ศราวุธ เลิศพลังสันติ หัวหน้าทีมวิจัยการออกแบบ และแก้ปัญหาอุตสาหกรรม ศูนย์เทคโนโลยีโลหะ และวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช.
Engineering Today May • June 2021
31
PETE เปลปกป้อง ผ่านการทดสอบ ISO 14644 ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้เอกชนเตรียมผลิต และจ�ำหน่ายแล้ว
ผศ. นพ.อนุแสง จิตสมเกษม รองคณบดีคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
ที่ส�ำคัญ PETE เปลปกป้อง ยังช่วยทลายข้อจ�ำกัด การใช้งานของเปลความดันลบเดิมที่มีทั่วไปในท้องตลาด ส่วนแรกคือระบบ Smart Controller ท�ำหน้าที่ควบคุม ความดันภายในเปล จึงสามารถใช้งานได้ทั้งบนภาคพื้น และบนอากาศ สามารถตรวจสอบการรั่วไหลของอากาศ สู่ภายนอก (Pressure Alarm) และแจ้งเตือนการเปลี่ยน แผ่นกรองอากาศ (Filter Reminder) เมื่อถึงก�ำหนด ซึ่ง ทัง้ หมดนีล้ ว้ นเกีย่ วข้องโดยตรงกับความปลอดภัยของผูป้ ว่ ย และการควบคุมการแพร่ระบาดเชื้อที่ซึ่งได้ท�ำการทดสอบ ตามมาตรฐานสากลแล้ว ส่วนที่ 2 คือ สามารถน�ำเปลเข้า เครือ่ งเอกซเรย์และเครือ่ งซีทสี แกนได้ เนือ่ งจากไม่มโี ลหะ เป็นส่วนประกอบ จึงไม่ต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจาก เปลความดันลบเหมือนกับอุปกรณ์อื่น ช่วยลดการแพร่ กระจายเชื้อไปยังเครื่องมือต่างๆ และระบบปรับอากาศ ภายในโรงพยาบาล และลดภาระในการท�ำความสะอาด และส่วนที่ 3 คือ ตัวเปลสามารถพับเก็บลงกระเป๋า และมีน�้ำหนักเบา ท�ำให้พกพาได้สะดวกและติดตั้งง่าย เหมาะกับการใช้งานในรถพยาบาล “หากน� ำ PETE เปลปกป้ อ ง มาใช้ ตั้ ง แต่ ก าร เคลือ่ นย้ายผูป้ ว่ ยจากทีพ่ กั เจ้าหน้าทีจ่ ะสามารถควบคุมการ แพร่ระบาดของเชื้อได้เป็นอย่างดี ช่วยลดความเสี่ยงให้แก่ บุคลากรทางการแพทย์และผู้ใช้บริการสถานพยาบาลได้ โดยเฉพาะช่วงที่มีการระบาด” ดร.ศราวุธ กล่าว
32
Engineering Today May • June 2021
ส� ำ หรั บ PETE เปลปกป้ อ ง ที่ ที ม วิ จั ย พั ฒนาขึ้ น ได้ รั บ การ ให้ค�ำปรึกษาจากพันธมิตรซึ่งเป็น ผู้เชี่ยวชาญ เช่น ผศ. นพ.อนุแสง จิตสมเกษม รองคณบดีคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัย นวมิ น ทราธิ ร าช โดยให้ ค วามส� ำ คั ญ ในมุ ม ของผู ้ ใ ช้ ง านที่ ต ้ อ งท� ำ ความสะอาดเปลได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งทีมวิจัยได้ประยุกต์ใช้ปืนพ่นนาโน บรรจุนำ�้ ยาฆ่าเชือ้ เบนไซออน ทีพ่ ฒ ั นาโดยศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สวทช. สามารถท�ำความสะอาดได้ภายใน 10 นาที และ ท�ำงานต่อได้ทันที อีกทั้งยังได้ความเชี่ยวชาญจาก อาจารย์กนกลักษณ์ ดูการณ์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันพัฒนาแพทเทิร์นอุตสาหกรรมและ การออกแบบเสือ้ ผ้าส�ำเร็จรูป (PATTERN IT) ช่วยออกแบบการตัดเย็บ และขึ้นรูปนวัตกรรมเปลปกป้องให้มีความแข็งแรงปลอดภัย ถือเป็น ผลงานวิจัยไทยที่ผ่านการทดสอบคุณภาพ ISO 14644 และอยู่ใน ขั้นตอนการท�ำมาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้า IEC 60601-1 ซึ่ง ยืนยันถึงมาตรฐานความปลอดภัย โดยล่าสุด บริษทั สุพรีรา่ อินโนเวชัน่ จ�ำกัด เป็นผู้รับอนุญาตให้สิทธิใช้ประโยชน์และรับถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อเตรียมผลิตและจ�ำหน่ายต่อไป
เผยเปลความดันลดการฆ่าเชื้อ-ลดเวลา-ลดคน ช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์ปลอดภัย ผศ. นพ.อนุแสง จิตสมเกษม รองคณบดีคณะแพทยศาสตร์ วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กล่าวว่า การระบาดของ โรค COVID-19 นั้น ความส�ำคัญอยู่ที่การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย COVID-19 ไปในแต่ละจุดอย่างมาก การมีเปลความดันลบจะท�ำให้การฆ่าเชือ้ ลดลง ไปได้มาก ทั้งยังช่วยลดเวลา ลดจ�ำนวนคนที่ต้องใช้ในสถานการณ์ การแพร่ระบาด ที่ส�ำคัญคือ ช่วยระวังเรื่องความปลอดภัยของบุคลากร ทางการแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วยโรค COVID-19 ซึ่งมีอยู่ค่อนข้างจ�ำกัดและ ท�ำงานอย่างหนัก โดยในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา จะเห็นว่าหน้ากากอนามัย เป็นอุปกรณ์ส�ำคัญที่ท�ำให้ไม่เกิดการแพร่เชื้อ COVID-19 ซึ่งขณะนี้ เปลความดันลบที่เอ็มเทค สวทช. พัฒนาถือเป็นนวัตกรรมที่จะเป็นแรง ผลั ก ดั น ให้ ผู ้ ผ ลิ ต และผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อุ ป กรณ์ ท างการแพทย์ มี แ รง ผลักดันในการผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้เองในประเทศ “การระบาดของโรค COVID-19 ช่วงทีผ่ า่ นมา ประเทศไทยเจ็บปวด กับการทีไ่ ม่สามารถซือ้ หน้ากากอนามัยจากต่างประเทศมาใช้ได้ เนือ่ งจาก ความต้องการหน้ากากอนามัยสูงกว่าที่ผลิต เพื่อน�ำมาใช้ใส่ป้องกันเชื้อ COVID-19 เช่นเดียวกับเปลความดันลบ ซึ่งในวันที่เกิด COVID-19 ครัง้ แรกมูลค่าเปลความดันลบราคาสูงถึง 650,000– 700,000 บาท ทัง้ ๆ ทีต่ น้ ทุนอยูท่ ี่ 100,000 กว่าบาท ดังนัน้ ประเทศไทยต้องเปลีย่ นแนวคิด ว่ า เราต้ อ งช่ ว ยเหลื อ ประเทศตั ว เองให้ ไ ด้ ก ่ อ น โดยใช้ นวั ต กรรม ทางการแพทย์ที่คิดค้นได้เองภายในประเทศ ที่ส�ำคัญลดการน�ำเข้า จากต่างประเทศได้ปีละหลายล้านบาท” ผศ. นพ.อนุแสง กล่าว
Smart Industry
หัชิน้ ส่ววนประกอบอั เว่ยเปิจฉริดยะครบชุ ตัวด ส�ำหรับโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ รุกตลาดนวัตกรรมยานยนต์เต็มสูบ
หัวเว่ย ได้เปิดตัว ชิ้นส่วนประกอบอัจฉริยะ และโซลูชนั ส�ำหรับยานยนต์ ในการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ Huawei Inside (HI) ใช้ชอื่ ว่า “นวัตกรรมเฉพาะทาง เพื่อยานยนต์อัจฉริยะ” (Focused Innovation for Intelligent Vehicles) ภายในงาน Auto Shanghai 2021 โดยเปิดตัวชิ้นส่วนและโซลูชันอัจฉริยะแห่ง โลกอนาคต ประกอบด้วย เทคโนโลยีระบบถ่ายภาพ เรดาร์แบบ 4 มิติ (4G imaging radar) AR-HUD และ MDC 810 โดยผลิตภัณฑ์เหล่านี้ได้รับการ ออกแบบเพื่อช่วยโรงงานรับผลิตชิ้นส่วนในด้านการ ประกอบยานยนต์อจั ฉริยะขัน้ สูง พร้อมช่วยยกระดับ เทคโนโลยีในอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศจีน เพื่อมุ่งสู่การเป็น ผู้บุกเบิกด้านพลังงานใหม่และ การขับขี่แบบไร้คนขับ หัวเว่ยเล็งเห็นว่าชิ้นส่วนยานยนต์อัจฉริยะนี้ เป็นโอกาสเชิงกลยุทธ์ในระยะยาว จึงเดินหน้าเพิ่ม การลงทุนในด้านดังกล่าว โดยเฉพาะการพัฒนา ซอฟต์แวร์ส�ำหรับการขับขี่แบบไร้คนขับที่จะน�ำไปสู่ การพัฒนาระบบการขับขี่แบบไร้คนขับระดับสูง ในปีนี้ หัวเว่ยตั้งทีมท�ำงานที่ประกอบด้วย พนักงานกว่า 5,000 คน มาร่วมปฏิบัติงานในด้าน การวิ จั ย และพั ฒ นาชิ้ น ส่ ว นยานยนต์ อั จ ฉริ ย ะ โดยเฉพาะ พร้อมวางแผนการลงทุนที่มีมูลค่ารวม กว่า 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในส่วนธุรกิจดังกล่าว โดยหั ว เว่ ย ได้ ร วมกลุ ่ ม ผู ้ เ ชี่ ย วชาญระดั บ สู ง ใน ศูนย์วิจัยและพัฒนาต่างๆ ในทวีปยุโรป ประเทศ ญี่ปุ่น และประเทศจีน ตามความมุ่งมั่นของบริษัท ในการเสริ ม สร้ า งความแข็ ง แกร่ ง ด้ า นศั ก ยภาพ
• กองบรรณาธิการ
การแข่งขันของผลิตภัณฑ์หัวเว่ย โดยมุ่งเน้นที่นวัตกรรม เพื่อส่งต่อผลิตภัณฑ์ ที่ดียิ่งขึ้น รวมถึงส่งมอบประสบการณ์การขับขี่ที่ดีที่สุดให้แก่ลูกค้า ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2563 หัวเว่ยได้เปิดตัวแบรนด์ HI ในฐานะผู้จัด จ�ำหน่ายชิน้ ส่วนยานยนต์ซงึ่ เน้นกลุม่ รถยนต์ดจิ ทิ ลั โดยหัวเว่ยได้ทำ� งานร่วมกับ โรงงานรับผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์อย่างใกล้ชดิ เพือ่ พัฒนายานยนต์อจั ฉริยะระดับ พรีเมีย่ ม ภายใต้แนวคิด “Huawei Inside” ซึง่ ประกอบด้วยสถาปัตยกรรมดิจทิ ลั รูปแบบใหม่ส�ำหรับยานยนต์อัจฉริยะ โซลูชันอัจฉริยะ 5 ชนิด ได้แก่ การขับขี่ อัจฉริยะ ห้องคนขับอัจฉริยะ เทคโนโลยี mPower การเชื่อมต่ออัจริยะ และ คลาวด์สำ� หรับยานพาหนะอัจฉริยะ และชิน้ ส่วนยานยนต์อจั ฉริยะอีกกว่า 30 ชิน้ “แนวคิดของ “Huawei Inside” ได้รับการออกแบบมาเพื่อผสาน จุดแข็งด้านเทคโนโลยีของหัวเว่ยเข้ากับความสามารถด้านการผลิตยานยนต์ ของกลุ่มผู้ผลิตยานยนต์ เพื่อการพัฒนายานยนต์อัจฉริยะระดับสูงที่จะมอบ ประสบการณ์การขับขีท่ นี่ า่ พึงพอใจขึน้ ไปอีกระดับ เนือ่ งจากหัวเว่ยได้เผชิญหน้า กับการเปลีย่ นผ่านของยานยนต์อจั ฉริยะทีเ่ กิดขึน้ อย่างรวดเร็ว เราจึงมุง่ มัน่ ทีจ่ ะ จุดประกายอนาคตของยานยนต์แบบไร้คนขับผ่านนวัตกรรม” วิลเลี่ยม หวัง ประธานกลุ่มธุรกิจโซลูชันยานยนต์อัจฉริยะแห่งหัวเว่ย กล่าว ส�ำหรับโซลูชนั ห้องคนขับอัจฉริยะ หัวเว่ยได้นำ� แพลตฟอร์มการประมวลผล ที่ พั ฒนาขึ้ น เองมาใช้ ร ่ ว มกั บ ระบบปฏิ บั ติ ก าร HarmonyOS (cockpit) ที่ประกอบด้วยคุณสมบัติงานที่ครอบคลุมทั้งอีโคซิสเต็มของแอปพลิเคชัน ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์ที่จะมอบการให้บริการชั้นยอดและการท�ำงานต่างๆ ผ่านการประสานงานกับโรงงานผู้ผลิตชิ้นส่วน กลุ่มผู้จัดจ�ำหน่ายชั้นน�ำ และ พาร์ทเนอร์ด้านแอปพลิเคชันต่างๆ นอกจากนี้ หัวเว่ยยังได้เปิดตัวระบบถ่ายภาพเรดาร์แบบ 4 มิตทิ มี่ าพร้อม ความละเอียดสูง ซึ่งจะเป็นมาตรฐานใหม่ส�ำหรับอุปกรณ์เซนเซอร์ในยวดยาน พาหนะ ซึ่งจะสนับสนุนการขับขี่แบบไร้คนขับได้เป็นอย่างมากจากระบบ ตรวจจับแสงและวัดระยะ (lidar) ชั้นน�ำและกล้องความละเอียดสูง และหัวเว่ย MDC 810 ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มที่มาพร้อมขุมพลังการประมวลผลที่ไม่มีใคร เทียบเท่า โดยหัวเว่ยได้ทุ่มเทเพื่อสร้างแพลตฟอร์มการประมวลผล MDC ที่เปิดกว้างและได้มาตรฐาน ซึ่งใช้ประสบการณ์และความส�ำเร็จที่โดดเด่น ในหลากหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือวิศวกรรมด้าน ความปลอดภัย ท�ำให้หวั เว่ยสามารถพัฒนาแพลตฟอร์มประมวลผลทีท่ รงพลัง มากทีส่ ดุ ส�ำหรับการขับขีอ่ จั ฉริยะ หรือ MDC ทีจ่ ะช่วยเร่งการผลิตยานพาหนะ อัจฉริยะในจ�ำนวนมาก ผลิตภัณฑ์หัวเว่ย MDC ถือเป็นแพลตฟอร์มมาตรฐานแบบเปิดกว้าง ที่มุ่งเน้นส่งเสริมการเติบโตของอุตสาหกรรมการขับขี่อัจฉริยะ โดยหัวเว่ย ได้ร่วมงานอย่างใกล้ชิดกับผู้จัดจ�ำหน่ายเซนเซอร์ หัวฉีด และอัลกอริธึมของ แอปพลิ เ คชั น เพื่ อ การสร้ า งอี โ คซิ ส เต็ ม ของเทคโนโลยี ที่ มี พื้ น ฐานมาจาก ผลิตภัณฑ์ MDC
Engineering Today May • June 2021
33
Robotics • กองบรรณาธิการ
ยูนิเวอร์ซัล โรบอท
เผยปี ’64 อุตฯ ยานยนต์ ในไทยเติบโต หนุนการใช้หุ่นยนต์โคบอทเพิ่มขึ้น ยู นิ เ วอร์ ซั ล โรบอท (ยู อ าร์ ) ผู ้ น� ำ ตลาดหุ ่ น ยนต์ ร ่ ว ม ปฏิบัติงาน (โคบอท) จากประเทศเดนมาร์ก พร้อมสนับสนุน ผูผ้ ลิตในอุตสาหกรรมยานยนต์ของไทย เปิดโอกาสใหม่สำ� หรับ การใช้โซลูชันหุ่นยนต์ในโรงงานผลิตรถยนต์ในไทย ระบบอั ต โนมั ติ แ ละหุ ่ น ยนต์ เ ป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ ในโมเดล Thailand 4.0 ด้วย Thailand 4.0 รัฐบาลได้มุ่งมั่นที่จะพัฒนา เศรษฐกิ จ โดยขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยนวั ต กรรมและเพิ่ ม การลงทุ น ใน ภาคหุ่นยนต์ ในความเป็นจริงการผลิตยานยนต์ ถือเป็นหนึ่งใน อุตสาหกรรมหลักทีเ่ ร่งการเติบโตของระบบอัตโนมัตแิ ละหุน่ ยนต์ จากข้อมูลของสถาบันยานยนต์ (TAI) คาดว่าการผลิตโดยรวมของ อุตสาหกรรมยานยนต์ของไทยจะมีจ�ำนวนประมาณ 1.4 ล้านคัน ในปี พ.ศ. 2564 ด้วยการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องในการใช้งาน หุ ่ น ยนต์ แ ละประสิ ท ธิ ภ าพของมาตรการรั บ มื อ COVID-19 คาดว่าภาคยานยนต์ในประเทศไทยจะฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว
เราเห็นว่าโคบอทของเรา ถูกน�ำไปใช้ในภาคยานยนต์ เพื่อการตรวจสอบคุณภาพ การประกอบชิ้นส่วนขนาดเล็ก การจ่ายและการใช้งาน ขั้นสุดท้าย โดยเป้าหมาย ของเราคือเพื่อให้ อุตสาหกรรมยานยนต์ สามารถปรับใช้โคบอท ของเราได้ในทุกส่วน ของกระบวนการผลิต
34
Engineering Today May • June 2021
เจมส์ แมคคิว ผู้อ�ำนวยการประจ�ำภูมิภาคเอเชียแปซิฟกิ บริษทั ยูนเิ วอร์ซลั โรบอท กล่าวว่า อุตสาหกรรม ยานยนต์เป็นหนึง่ ในผูท้ ใี่ ช้หนุ่ ยนต์อตุ สาหกรรมแบบดัง้ เดิม มากที่สุดและเป็นหนึ่งในผู้ใช้โคบอทที่แพร่หลายมากที่สุด ปัจจุบันระบบอัตโนมัติแทรกซึมเข้าไปในเกือบทุกด้านของ การผลิตรถยนต์ ตั้งแต่ชิ้นส่วนและการผลิตชิ้นส่วนย่อย ที่ซัพพลายเออร์ระดับที่ 1 และ 2 ไปจนถึงผลิตภัณฑ์ ขัน้ สุดท้ายทีอ่ อกจากสายการผลิตของโรงงานผลิต โคบอท ของยูนิเวอร์ซัล โรบอท ได้เพิ่มการผลิตยานยนต์ เนื่องจาก ความยืดหยุน่ มีขนาดเล็ก ผลตอบแทนจากการลงทุนอย่าง รวดเร็วและประสิทธิภาพที่สม�่ำเสมอ อุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยยังคงมุ่งมั่น อย่างต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. 2564 ประเด็นปัญหาการผลิต ยานยนต์ทนี่ า่ กังวล ระหว่างผูผ้ ลิตรถยนต์และระบบอัตโนมัติ มีมานานหลายทศวรรษแล้ว แต่ในปี พ.ศ. 2562 ตามข้อมูล ของสหพันธ์หนุ่ ยนต์นานาชาติพบว่า โคบอทเติบโตมากกว่า หุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบเดิม แมคคิว กล่าวว่า การผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์เป็นระบบ อัตโนมัติมีมานานหลายทศวรรษ แต่งานด้านการประกอบ ยังคง “ขึ้นอยู่กับการใช้แรงงานคนเป็นอย่างมาก” อาทิ การขันสกรู ซึ่งความยืดหยุ่นและขนาดเล็กของโคบอท ของยูอาร์ จะเป็นประโยชน์ส�ำหรับผู้ผลิตรถยนต์ การผลิต
รถยนต์จ�ำนวนมากมักเกิดขึ้นในพื้นที่เมือง ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่จะ หาพื้นที่เพิ่มอีก 100,000 ตารางเมตรเพื่อขยาย “ประโยชน์อัน งดงามอย่างหนึ่งของโคบอทคือความยืดหยุ่น สามารถติดตั้ง ในทิศทางใดก็ได้และสามารถติดตัง้ ร่วมกับมนุษย์ได้โดยไม่ตอ้ ง มีกรงนิรภัย (เมื่อประเมินความเสี่ยง)” ในภาคส่วนที่มีการควบคุมสูง เช่น การผลิตยานยนต์ การตรวจสอบย้ อ นกลั บ เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ โคบอทยั ง ช่ ว ยผู ้ ผ ลิ ต ในการควบคุมและติดตามกระบวนการผลิตที่ส�ำคัญ เช่น แรงบิด ที่แม่นย�ำที่ใช้กับสกรูเมื่อติดตั้งเข้ากับกุญแจรถ “เราเห็นว่าโคบอทของเราถูกน�ำไปใช้ในภาคยานยนต์เพื่อ การตรวจสอบคุณภาพ การประกอบชิ้นส่วนขนาดเล็ก การจ่าย และการใช้ ง านขั้ น สุ ด ท้ า ย โดยเป้ า หมายของเราคื อ เพื่ อ ให้ อุตสาหกรรมยานยนต์สามารถปรับใช้โคบอทของเราได้ในทุกส่วน ของกระบวนการผลิต” แมคคิว กล่าว ผลพวงของการพัฒนาอย่างรวดเร็วของตลาดยานยนต์ ท�ำให้บริษัท Beijing BAI Lear Automotive System Co., Ltd. ซึ่งเป็นผู้ผลิตในประเทศจีน ได้ขยายก�ำลังการผลิตอย่างต่อเนื่อง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา โซลูชันระบบอัตโนมัติที่มีประสิทธิภาพ หมายถึงความล่าช้าในการผลิตน้อยที่สุด โดยมีระยะเวลาการ ปรับตัวทีส่ นั้ ทีส่ ดุ ระหว่างคนงานและอุปกรณ์ใหม่ ด้วยความร่วมมือ ระหว่างยูนิเวอร์ซัล โรบอท และ BAI Lear ได้ใช้ประโยชน์ จากการท�ำงานร่วมกันระหว่างมนุษย์กับเครื่องจักรและระบบ
อัตโนมัติในอุตสาหกรรม ด้วยการใช้งานโคบอทรุ่น 38 UR ที่น�ำ มาใช้สำ� หรับการขันสกรูทเี่ บาะรถยนต์ การตรวจสอบระบบไฟฟ้า การหยิบและวางชิ้นส่วน ตลอดจนกระบวนการอื่นๆ ซอง เซียวหุ่ย ผู้จัดการทั่วไปของ BAI Lear กล่าวว่า ในฐานะองค์กรด้านการผลิต เราได้รับความต้องการที่มากขึ้น จากลูกค้าของเราทุกปี ดังนั้นเราจึงต้องปรับปรุงการควบคุม กระบวนการผลิ ต อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รั บ ประกั น การผลิ ต ที่ มั่ น คง และปรับปรุงความสอดคล้องของการผลิต การแนะน�ำโคบอทของ ยูอาร์ได้ตอบสนองความต้องการข้างต้นในขณะที่ได้ปรับปรุง การผลิตในโรงงานและความยืดหยุ่นของบุคลากร ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ของไทยมีการเปลี่ยนแปลง อย่างมาก ส�ำหรับผูผ้ ลิตและซัพพลายเออร์ภายในประเทศจ�ำเป็น ต้องเตรียมพร้อมส�ำหรับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตเพื่อ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีเ่ ปลีย่ นแปลงใหม่ ดังนัน้ ความ แม่นย�ำของประสิทธิภาพและความยืดหยุ่นจึงกลายเป็นปัจจัย ส�ำคัญในอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ความยืดหยุ่นไม่ถือเป็น ความสามารถหลักของหุ่นยนต์ในอุตสาหกรรมแบบดั้งเดิมที่ อยู่ในกรง ซึ่งมักจะท�ำงานเดียวเท่านั้น ดังนั้นการน�ำโคบอทมาใช้อาจเป็นแนวทางแก้ปัญหา ดังกล่าว และส่งเสริมการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2564
Engineering Today May • June 2021
35
Energy Today • Editorial Staff
Grundfos endorses the use of high efficiency IE5 motors
and pump solutions for efficiency and energy consumption reduction
It is said that as much as half of the world’s electricity is consumed by motors1. Motor-driven systems in the industry sector alone consumes 64% of the electric energy, while the commercial sector consumes 20% and the residential sector consumes 13%2. There is a growing focus on improving the efficiencies of motors and reducing energy consumption to meet the carbon emission targets around the world. There is a lot of excitement around the world of motors, given the recent high profile investments in this area, validation from key Governments and industry leaders to further promote the development and adoption on energy efficient motors across the various sectors. The International Efficiency (IE) standards stipulate the energy efficiency and basically has set five levels of motor efficiency: IE1 to IE5. The highest efficiency level being IE5 the ‘Ultra-Premium Efficiency’. These IE codes serve as a reference for governments who specify the efficiency levels for their minimum energy performance standards for motors in their respective countries. Pumps account for a large portion of this electricity consumed across the various sectors, especially in industries and commercial sectors. As a world leading manufacturer of pumps and pump equipment, Grundfos makes electrical motors of exceptional quality. Grundfos has several decades of experience in building state-ofthe-art electronic controlled pumps (E-pumps) and been manufacturing its own motors with integrated frequency converters with energy-saving and speed control functionality for domestic, commercial, and industrial pump applications. In fact, the world’s first speed controlled pump with integrated frequency converter saw the light of day in its laboratories back in the late 1980s, and, ever since, Grundfos has worked intensively to optimise and extend its E-pump programme every year. Grundfos is dedicated to keep at the forefront of the technological development, introducing truly innovative solutions for the benefit of its customers and the environment. Grundfos’ E-pumps with integrated frequency converter are designed with total control, customer convenience, and environmental sustainability
36
Engineering Today May • June 2021
in mind. Grundfos’ MGE E-motors exceeds the IE5 requirements - for example, looking at a MGE 11.0 kW 3x380-500V medium speed, the IE5 requirement for the motor efficiency is 93.2%, but the Grundfos MGE E-motor exceeds that by more than 2% by having a motor efficiency of 95.7 % at 380V/2600 rpm. The PDS (Power Drive System, including Variable Frequency Drive or VFD) efficiency of a MGE 11,0 kW reaches as highs as 93.2% at 380V/2900 rpm. So even including the VFD the MGE motor matches the IE5 requirements for the motor part itself. Commenting on the growing focus and adoption of E-Motors, Markus Brandstetter, Chief Technology Officer, Grundfos says “Digital transformation is inevitable across the various segments and we at Grundfos are proud to pioneer in creating the products and digital solutions of the future. Our focus on developing IE5 E-motors is strategic not only for our business, but we see that it is a critical solution to alleviate the world’s energy and climate issues. E-motors are known to not only improve the efficiency of the entire system but also help in reducing energy consumption and helping us mitigate climate change. This is what we push further to the benefit of our customers and end-users in reducing cost and CO2 emissions.” High efficiency E-pumps with IE5 motors contribute substantially to energy savings and reduced CO2 footprint. Grundfos estimates that the yearly avoided CO2 emission can be significant. In 2020 alone the avoided CO2 emissions from Grundfos E-pumps was 270,000 tons. Grundfos is witnessing a strong market trend where more pumps are being fitted with VFDs and control units. The market for VFDs, including those applied with pumps, is witnessing a projected annual growth of around 6% in the coming years due to growing urbanization, industrialization and rising government mandates for energy efficiency3. Another growth driver is the need for manufacturers to optimize their manufacturing processes and cut operational costs, and even small reductions in speed and flow lead to significant energy cost savings.
Energy and cost savings with optimised efficiency
The Grundfos MGE E-motors are the most energy efficient yet. These permanent magnet synchronous motors (PMSM) are designed especially for frequency converter operations and optimised for pump applications and high part-load efficiency. The motor PMSM also has a built-in frequency converter that enables variable-speed operation with benefits in pump applications ranging from energy
recommended changing to close-coupled, end-suction pumps with variable frequency drives–intelligent NB-E pumps. These could provide the exact flow requirements to the chillers without wastage and improve the Delta-T to five degrees Celsius. A simple, turnkey solution. H&H saw results almost immediately. At Indigo Tower, the pumps previously used 36 kW every hour. After the upgrade, they used between 7-10 kW/h. Now two years in operation, they use 81% less electricity than previously. In addition, pump efficiency is not only better, but also the efficiency of the whole HVAC system. Actual payback time on the investment is just eight months. The numbers on the other two building retrofits in 2018 tell similar stories. Falcon Tower cut its pumps’ electricity consumption by 46% and Green Tower cut its use by 57%. Overall, the buildings cut their total energy savings–including that from chillers, ventilation and lights–between 20-25%. At Grant’s distilleries in United Kingdom, Grundfos replaced the fixed-speed CR pumps for boiler feed on four steam boilers with a steam capacity from 12.5 tons to 30 tons with a steam pressure of 10 bar, with Grundfos iSOLUTIONS CRIE15-8 pumps with MGE motors. They also removed the modulating valve from the boiler. The CRIE pump controls the level in the steam boilers, going up and down in speed depending on demand. At the same time, the Grundfos pumps use built-in functions in the drive–that is limit-exceed and signal relay output–to control a bypass valve to secure flow through the economiser when the burner is running but the boiler is not calling for water. All control is handled by the drive at exactly the right time to have a safe and efficient boiler operation and reduce complexity. The outcome has been a 40 percent energy saving on one pump alone which equates to about 5.000 GBP a year. On top of that a 6% saving on the gas usage for the boiler as a result of the more stable level control. Three words, which can easily describe Grundfos’ MGE-motors are reliable, customizable and energy efficient. Grundfos has embedded our deep understanding of efficient and optimal pump operation into the MGE motors to create a cutting edge product - and when put together with the reliability of E-motors, this reduces the payback time of an E-pump. This is an important achievement. In combination with our pumps, these motors can give our customers an unsurpassed level of efficiency. Engineering Today May • June 2021
Sources: 1 & 2: https://www.sciencedirect.com/topics/engineering/electric-energy-consumption#:~:text=Concerning%20the%20worldwide%20situation%2C%20it,19%25%20to%20the%20total%20consumption. 3 : https://www.grandviewresearch.com/industry-analysis/variable-frequency-speed-drives-vfd-vsd-market
savings, process control, extra functionalities, built-in motor protection, higher performance and more compact pumps, reduced water hammer due to long ramp times and low starting currents. This results in lower energy and lifecycle costs. Adjusting the speed of the pump based on demand, rather than throttling the system flow with a valve, also results in no excess pressure causing stress in the system and noise in the valve due to cavitation and reduced power consumption due to lower pump speed. Grundfos iSOLUTIONS brings a new era of intelligence to pump systems and water technology with solutions that look beyond individual components and optimise the entire system. Powered by the company’s deep understanding of water, Grundfos iSOLUTIONS utilises intelligent pumps, cloud connectivity and digital services. Together they enable real-time monitoring, remote control, fault prediction and system optimisation to help you reach a new level of performance. Grundfos iSOLUTIONS delivers the optimal combination of pumps, drives and auxiliary components for the specific application, incorporating special features and functions and building on application knowledge and experience. iSOLUTIONS allows easy integration of pumps, drives, measurement, controls, protections, and communication, saving you valuable engineering, installation and commissioning time. Grundfos has many success stories from around the world on how E-Motors and iSOLUTIONS are helping its customers solve their water management issues as well as helping them converse water and energy, thereby reducing their costs and carbon emissions. Buildings unlock up to 80% energy savings with simple pump swaps: Taka Solutions (an energy consulting company) worked with Grundfos to determine the problems around the existing HVAC (heating, ventilation and air conditioning) pumping systems in three buildings belonging to H&H Property Management and Development in Dubai - Indigo Towers (residential), Green Tower (commercial) and Falcon Tower (residential). These building were experiencing unusually high electricity costs. A Grundfos Energy Check determined that the buildings were equipped with oversized pumps, inefficient operation and poor balancing in their constant, primary chiller systems and these pumps ran at constant speed. Thus, Grundfos
37
IT Update • กองบรรณาธิการ
เอสโตเนี ย ขยายจุดให้บริการ
e-Residency บัตรพลเมืองดิจิทัล
รายแรกของโลกใน กทม.
เอสโตเนียขยายจุดให้บริการ e-Residency บัตรพลเมืองดิจิทัลรายแรกของโลกใน 4 ประเทศ
ดึงนักธุรกิจไทยตั้งบริษัทในเอสโตเนีย รับมือ COVID-19 ระบาด
e-Residency โดยรัฐบาลประเทศเอสโตเนีย ซึ่ ง ถื อ เป็ น ระบบพลเมื อ งดิ จิ ทั ล รายแรกของโลก ประกาศให้กรุงเทพฯ เป็นจุดให้บริการรับเอกสาร ยื น ยั น ตั ว ตน (Pick-up point) แห่ ง ใหม่ โดย ประเทศไทยถู ก เลื อ กเป็ น 1 ใน 4 จากประเทศ ทั่ ว โลก เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของผู ้ ป ระกอบการภายในประเทศ ในการขยาย ธุรกิจในระดับนานาชาติ รวมไปถึงการเข้าถึงตลาด ในแถบทวีปยุโรป e-Residency เป็ น สตาร์ ต อั ป ของรั ฐ บาล ประเทศเอสโตเนีย ก่อตั้งในปี ค.ศ. 2014 บริการ ดังกล่าวได้รบั ความนิยมอย่างแพร่หลาย และนับเป็น การน�ำร่องแนวคิดของรัฐบาลที่มีต่อผู้ประกอบการ ชาวต่างชาติ จากการคาดการณ์จ�ำนวนของ Digital Nomads จากทัว่ โลก ทีอ่ าจรวมตัวในภูมภิ าคนีม้ ากถึง 5-10 ล้านคน ส่งผลให้ความต้องการบริการทีร่ องรับ ในด้ า นนี้ มี ม ากขึ้ น เช่ น กั น ซึ่ ง การเปิ ด ตั ว 4 จุ ด บริการใหม่นใี้ นสิงคโปร์ แอฟริกาใต้ บราซิล และไทย สะท้อนให้เห็นถึงการเพิ่มขึ้นของคนท�ำงานที่เป็น อิ ส ระในด้ า นสถานที่ ท� ำ งานในระดั บ นานาชาติ และยังแสดงให้เห็นถึงค�ำมัน่ สัญญาของ e-Residency ที่มีต่อการเพิ่มความสามารถในการเข้าถึง ให้กับ กลุ่มผู้ประกอบการที่อาศัยอยู่นอกทวีปยุโรป ประธานาธิ บ ดี เคร์ ส ตี คั ล ยู ไ ลด์ แห่ ง เอสโตเนีย กล่าวว่า แม้ว่าทั่วโลกก�ำลังเผชิญอยู่กับ การแพร่ระบาดของ COVID-19 ซึ่งส่งผลกระทบ
38
Engineering Today May • June 2021
ในด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นข้อจ�ำกัดด้านการเดินทาง การท�ำงานและด�ำเนินธุรกิจ ระหว่ า งประเทศซึ่ ง เป็ น ปั จ จั ย เร่ ง ให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงสู ่ ร ะบบดิ จิ ทั ล ของทั้งภาครัฐบาล ธุรกิจ และผู้ประกอบอาชีพอิสระต่างๆ ซึ่งในปัจจุบัน ผู ้ ค นจ� ำ นวนมากเลื อ กที่ จ ะท� ำ งานโดยไม่ ยึ ด ติ ด กั บ สถานที่ ใ ดสถานที่ ห นึ่ ง ท�ำให้เกิดความต้องการเครื่องมือที่สามารถรองรับการท�ำงานของพวกเขาได้ และในฐานะที่เอสโตเนียถือเป็นประเทศแรกของโลกที่เปลี่ยนแปลงเป็นสังคม รู ป แบบดิ จิ ทั ล เราจึ ง มี ค วามยิ น ดี อ ย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ นรั บ ผู ้ ป ระกอบการ เจ้าของธุรกิจ และผู้ประกอบอาชีพอิสระต่างๆ จากทั่วโลก ในการเข้าร่วม เป็นสมาชิก e-Residency กับเรา ดร.วีระชัย เตชะวิจิตร์ กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์ของเอสโตเนีย ประจ�ำ กรุงเทพมหานคร กล่าวว่า การเปิดตัวในครั้งนี้ นับเป็นโอกาสที่ดีในการ เพิ่ม ขีด ความสามารถให้กับ ผู้ประกอบการภายในประเทศ เนื่องจากการ แพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 บังคับให้หลากหลายธุรกิจต้องปรับเปลี่ยน รูปแบบการด�ำเนินธุรกิจให้ทันต่อบริการที่หลากหลายทางดิจิทัลมากยิ่งขึ้น ความไม่ม่ันคงในเส้นทางอาชีพยังส่งผลให้หลายคนหันมาเริ่มธุรกิจของตัวเอง มากยิ่งขึ้น ดังนั้น การเลือกใช้บริการจาก e-Residency จึงเป็นทางเลือกที่ดี ส�ำหรับทั้งผู้ประกอบอาชีพอิสระ และผู้ประกอบการที่ก�ำลังมองหาแนวทาง ขยายธุรกิจในช่วงที่ประเทศถูกล็อกดาวน์ หลังจากลงทะเบียนเป็น e-Resident เรียบร้อยแล้ว ผูใ้ ช้งานจะได้รบั บัตร ยืนยันตัวตนดิจิทัลที่อนุญาตให้จัดตั้งบริษัทในสหภาพยุโรปได้อย่างอิสระ สามารถบริหารธุรกิจจากที่ใดก็ได้ โดยสมาชิกที่ได้รับการยืนยันตัวตนอย่าง ถูกต้องแล้วจะสามารถเข้าถึงช่องทางบริการ e-service ต่างๆ ของเอสโตเนีย ได้ อาทิ การบริการที่สามารถใช้ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ และการเปิดตัวและ ด�ำเนินธุรกิจในรูปแบบออนไลน์ 100% ในสหภาพยุโรป
ดร.วีระชัย เตชะวิจิตร์ กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์ ของเอสโตเนีย ประจ�ำกรุงเทพมหานคร
Lauri Haav กรรมการผู้จัดการ e-Residency
Mattia Montantri ผู้ร่วมก่อตั้งครีเอทีฟเอเจนซี่ Resonance
ทั้งนี้สถานกงสุลสาธารณรัฐเอสโตเนียประจ�ำ ประเทศไทย ตั้งอยู่ถนนประชาอุทิศ มี Technology Provider ให้ค�ำแนะน�ำผู้ประกอบการไทยที่ต้องการ ท�ำธุรกิจในสหภาพยุโรป และจัด Matching Partner เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ประกอบการไทย ที่ต้องการประกอบธุรกิจในเอสโตเนีย Lauri Haav กรรมการผูจ้ ดั การ e-Residency กล่าวว่า โครงการ e-Residency ได้ออก Digital ID Card เมื่อ 6 ปีที่แล้ว นับเป็นประเทศแรกในโลก ในปีนี้ขยายบริการจุด Pick-up point บัตร Digital ID Card 4 จุด ในสิงคโปร์ แอฟริกาใต้ บราซิล และไทย ณ เลขที่ 399 อาคารอิ น เตอร์ เ ชนจ์ ชั้น B2 ยูนิต A/1 ถนนสุขุมวิท คลองเตย วัฒนา กรุงเทพฯ ส�ำหรับเหตุผลหลักที่เลือกไทยเป็นจุด Pick-up point ในภู มิ ภ าคนี้ มี 2 ประการคื อ 1. ปัจจุบันโลกมีพลเมือง 8.5 พันล้านคน ไทยเป็น ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ และ 2. หลายประเทศต้องการมาเที่ยว ประเทศไทย ทั้งนี้ในปี ค.ศ. 2025 มีการคาดการณ์
ว่าเกือบ 70% ของงานจะอยู่ในท้องถิ่น คนจะเลือกสถานที่อยู่ที่ไม่ใช่ที่ท�ำงาน ซึ่งคาดว่าจะเลือกไทยเป็นที่อยู่อาศัย นอกจากธุรกิจที่ท�ำอยู่ โครงการ e-Residency มีบริการในรูปแบบ e-service ที่หลากหลาย ของประเทศเอสโตเนีย ส่วนใหญ่สภาพแวดล้อมอยู่บนดิจิทัลเกือบ 100% ที่ เอือ้ ต่อการท�ำงานของสตาร์ตอัป ท�ำให้มสี ตาร์ตอัปทีป่ ระสบความส�ำเร็จระดับ UNICORN ก่อตั้งในเอสโตเนียถึง 7 แห่ง ถือได้ว่ามีอัตราส่วนของ UNICORN ทีส่ งู มาก เป็นรองแต่เพียงประเทศอิสราเอล อีกทัง้ การจัดตัง้ ธุรกิจในเอสโตเนีย ท�ำได้ง่าย มีขั้นตอนง่าย ระบบภาษีที่แตกต่างจากประเทศอื่นๆ บริษัทจะจ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคลก็ต่อเมื่อมีผลก�ำไรเท่านั้น ท�ำให้บริษัทใหม่เติบโตได้ นอกจากนี้มีการคอร์รัปชันค่อนข้างต�่ำ กฎนิติรัฐและนิติธรรมที่มีมาตรฐานสูง สามารถท�ำธุรกิจที่ไหนก็ได้บนออนไลน์ ปัจจุบันมี e-Residents กว่า 80,000 คน จาก 170 ประเทศทั่วโลก ส่วนใหญ่เป็นประเทศเพื่อนบ้านเอสโตเนีย ได้แก่ รัสเซีย ยูเครน ฟินแลนด์ ส่วนประเทศในเอเชีย ได้แก่ ไทย 135 ราย สิงคโปร์ 300 ราย มาเลเซีย เวียดนาม 130-140 ราย และจีน ซึ่งได้ท�ำการเปิดบริษัทไปแล้วกว่า 17,000 แห่ง ส่วนใหญ่ประกอบธุรกิจข้ามชายแดน Programming ออกแบบ การตลาด ที่ ป รึ ก ษา ซึ่ ง ทั้ ง ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารและรั บ บริ ก ารสามารถท� ำ งานอยู ่ ที่ ไ หนก็ ไ ด้ บนออนไลน์ ขณะนี้มีพนักงานกว่า 2,000 คน ถูกจ้างงานจาก e-Resident เหล่านี้ โดยบริษัทเหล่านี้มีมูลค่าการซื้อขายอยู่ที่ 3.68 พันล้านยูโร ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2021 นับตั้งแต่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 2014 e-Residency ได้ ถูกบันทึกไว้ว่า ได้สร้างรายได้ขาเข้าให้กับรัฐบาลเอสโตเนียถึง 54 ล้านยูโร Lauri Haav กล่าวว่า ส�ำหรับเทรนด์ใหม่ของธุรกิจคือ ขายสินค้าออนไลน์ ซึ่งมีการเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศ เช่น ผู้ประกอบการที่มีโรงงานผลิตสินค้า มาเข้าร่วมโครงการ e-Residency เหมือนมีบริษัทในเอสโตเนียและซื้อขาย จากเอสโตเนีย เป็นต้น “สหภาพยุโรปทั้งหมดเป็นสหภาพศุลกากร มีชายแดน (Border) แห่ง เดียว ใครจะผ่านไปประเทศใดก็ได้ ท�ำให้สามารถขยายธุรกิจในสหภาพยุโรป ได้งา่ ย และสามารถขายสินค้าอะไรก็ได้จากเอสโตเนียไปยังประเทศในสหภาพ ยุโรป” กรรมการผู้จัดการ e-Residency กล่าว ด้าน Mattia Montantri ผู้ร่วมก่อตั้งครีเอทีฟเอเจนซี่ Resonance ซึง่ เข้าร่วมโครงการ e-Residency โดยควบคุมการด�ำเนินธุรกิจผ่านการท�ำงาน ระยะไกล (Remote) จากบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย กล่าวว่า e-Residency เป็นก้าวส�ำคัญในการพัฒนาธุรกิจต่อไปในอนาคต ทั้งนี้การท�ำงานระยะไกล ไม่ได้เป็นเพียงทางเลือกอีกต่อไป แต่เป็นเส้นทางใหม่ในการประกอบธุรกิจ โดย ประเทศเอสโตเนียเป็นผู้ริเริ่มแนวคิดนี้ ผ่านระบบพลเมืองดิจิทัล และคาดว่า อีกไม่นานหลายประเทศจะด�ำเนินการในแนวทางนี้เช่นกัน ส�ำหรับประโยชน์ หลักในการเป็น e-Resident ของเอสโตเนีย คือการลดอุปสรรคในการก่อตั้ง บริษทั ในสหภาพยุโรป ไม่วา่ จะเป็นการด�ำเนินงานโดยไม่ตอ้ งผ่านระบบราชการ ต่างๆ รวมไปถึงการด�ำเนินธุรกิจจากที่ใดก็ได้ นอกเหนือจุดให้บริการรับเอกสารยืนยันตัวตน “Pick-up point” ใหม่ ในประเทศไทย บราซิล สิงคโปร์ และแอฟริกาใต้ แล้ว ผู้ใช้บริการสามารถ รับบัตร e-Residency ได้อีก 50 จุดบริการใกล้เคียงที่มีอยู่ทั่วโลก Engineering Today May • June 2021
39
IT Update • *มาอุด จิเราวด์
Connected Services Hubs (CSHs) ของเราทั้ง 7 แห่งทั่วโลก เราต้องการแบ่งปันประสบการณ์กับบริษัทอื่นๆ ที่ไม่สามารถ เข้าถึงศูนย์ปฏิบัติการเครือข่าย (NOCs) และถูกบังคับให้ต้อง มอนิเตอร์การด�ำเนินงานของศูนย์ทั้งหมดจากที่บ้าน ซึ่งสามารถ สรุปเป็นเคล็ดลับส�ำคัญ 4 ประการ
เคล็ดลับที่
01
4
เคล็ ด ลั บ ส� ำ คั ญ ในการมอนิเตอร์ เอดจ์ คอมพิวติ้ง ดาต้าเซ็นเตอร์ และศูนย์ปฏิบัติการ เครือข่ายจากที่บ้าน
ในช่วงไม่กเี่ ดือนทีผ่ า่ นมา หลายองค์กรต้องปรับตัวกันอย่าง รวดเร็ว สูก่ าร Work from Home หรือท�ำงานจากบ้าน แม้วา่ บาง องค์กรอาจจะทยอยกลับมาท�ำงานในออฟฟิศเหมือนเดิม แต่ก็มี บทเรียนระหว่างทางทีต่ ้องเรียนรูก้ นั ไป รวมถึงสิง่ ทีต่ อ้ งท�ำในการ มอนิเตอร์ เอดจ์ คอมพิวติ้ง ดาต้าเซ็นเตอร์ทั่วโลก ในขณะที่ ผู้มีหน้าที่มอนิเตอร์ก็ก�ำลังท�ำงานจากที่บ้านเช่นกัน การมอนิเตอร์ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกเหล่านี้ น่าจะเป็น เรื่องส�ำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะบริษัทต่างๆ ล้วนต้องอาศัย แพลตฟอร์มดิจิทัลของตนเพื่อช่วยรับมือกับการแพร่ระบาดที่ เกิดขึน้ ทัว่ โลกในขณะนี้ แต่ในระหว่างทีก่ ำ� ลังเขียนเรือ่ งนี้ พนักงาน ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค (Schneider Electric) ทั้งหมดก็ก�ำลัง มอนิเตอร์เอดจ์ ดาต้าเซ็นเตอร์และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกอื่นๆ ได้อย่างเสมือนจริง ให้กับลูกค้าของเราทั่วโลกที่ก�ำลังนั่งท�ำงาน จากที่บ้าน ซึ่งบางรายโดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ได้ด�ำเนินการ เรื่องนี้มาเป็นเวลานานนับสิบปีแล้ว โดยเป็นเรื่องปกติของธุรกิจ ส่วนรายอื่นๆ เช่น ในอินเดีย ก็จ�ำเป็นต้องท�ำเรื่องที่ค่อนข้าง ล�ำบากในการจัดพื้นที่ส�ำหรับการท�ำงานที่บ้าน ด้วยประสบการณ์ที่กว้างขวาง และข้อเท็จจริงที่ว่าเรา มอนิ เ ตอร์ โ ลเคชั น เอดจ์ คอมพิ ว ติ้ ง นั บ หลายพั น แห่ ง จาก
สือ่ สารกันได้อย่างอิสระ
ในการพู ด คุ ย กั บ หั ว หน้ า ของศู น ย์ ก ลางบริ ก ารในการ เชื่อมต่อ หรือ CSH หลายๆ แห่ง เกี่ยวกับวิธีการรับมือในช่วง การระบาดของ COVID-19 การสื่อสารดูจะเป็นเรื่องที่ต้องท�ำ เหมือนๆ กัน ทั้งในฝั่งของลูกค้า และในส่วนของพนักงานภายใน องค์กรในฝั่งลูกค้า ทีมงานของเราในประเทศอินเดีย น่าจะอยู่ใน จุ ด ที่ ท ้ า ทายมากที่ สุ ด เนื่ อ งด้ ว ยต� ำ แหน่ ง ที่ ตั้ ง ที่ ท� ำ ให้ ลู ก ค้ า หลายแห่งไม่สามารถเข้าถึงอาคารของตนได้ นัน่ หมายความว่าเราเป็น จุดเชื่อมต่อเพียงจุดเดียวที่เชื่อมโยงสถานะการท�ำงานของเอดจ์ ดาต้าเซ็นเตอร์ของลูกค้าเหล่านี้ ดังนั้น ทีมงานจึงประสานงาน ร่วมมือในแคมเปญอีเมลทุกสัปดาห์ที่รวมถึงการรายงานสถานะ ของดาต้าเซ็นเตอร์แต่ละแห่ง รวมถึงให้คำ� แนะน�ำทีเ่ ป็นประโยชน์ ในหัวข้อต่างๆ อย่างเช่น วิธีการใช้งาน Mobile Status Apps หรื อ การก� ำ หนดล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ ของการโทร (Set Call Priorities) ซึ่งช่วยลดความกังวลและปล่อยให้ตัวแทนรับมือกับ เรื่องส�ำคัญ อย่างการเจรจากับหน่วยงานรัฐบาลในการช่วยให้ ลูกค้ารายหนึ่งได้รับอนุญาตเข้าไปที่โรงงานเพื่อเปลี่ยนแบตเตอรี่ ของ UPS ที่ก�ำลังอยู่ในอันตรายจากการท�ำงานล้มเหลว ตัวแทนของเราทั้งหมดยังได้ชี้ให้เห็นถึงความส�ำคัญของ การสื่อสารกับพนักงานของตัวเอง ที่ปัจจุบันก�ำลังท�ำงานจาก ที่บ้าน บางคนประชุม ผ่านระบบวิดีโอเป็นเวลาสั้นๆ ในทุกวัน และใช้วธิ เี ดียวกันในการเช็กอิน และช่วยให้มนั่ ใจได้วา่ ทัง้ พนักงาน และครอบครัวของพนักงานเหล่านั้นสบายดี รวมถึงพูดคุยกันถึง ปัญหาลูกค้าที่ต้องจัดการ นั่นคือสิ่งที่ช่วยได้มาก โดยเฉพาะ ตัวแทนในประเทศฟิลิปปินส์ที่อยู่ในช่วงของการ Lockdown อย่างเข้มงวด ส่วนประเทศอินเดียซึง่ เป็นประเทศทีไ่ ม่มพี นักงาน คนไหนเคยท�ำงานจากที่บ้านมาก่อน ส่วนใหญ่จะอยากกลับไป ท�ำงานในออฟฟิศกันตั้งแต่แรก ซึ่งต้องใช้เวลาถึง 2 สัปดาห์ ในการปรับให้ทุกคนท�ำงานจากที่บ้าน แต่ก็ยังมีการโทรหากัน บ่อยๆ เพือ่ ให้มน่ั ใจว่าพนักงานสามารถพูดในเวลาทีม่ ปี ญ ั หาและ ผู้จัดการก็สามารถช่วยเหลือได้
*รองประธาน Connected Services Hubs ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ในสายงานดิจิทัลเซอร์วิส
40
Engineering Today May • June 2021
เคล็ดลับที่
02
ใช้ระบบโครงสร้างที่ทันสมัย รวมถึงเครื่องมือระบบดิจิทัล
แน่นอนว่าเทคโนโลยีมีบทบาทส�ำคัญอย่างมากส�ำหรับ การท�ำงานจากที่บ้าน ทีมงานในประเทศสหรัฐอเมริกาได้เริ่ม การท� ำ งานจากที่ บ ้ า นก่ อ นใคร และใช้ เ วลาหลายปี ใ นการ ปรับระบบให้ทันสมัย ปัจจุบันแอปฯ สมัยใหม่ที่ท�ำงานบนคลาวด์ และเทคโนโลยี VoIP (Voice-over-IP) ได้ถกู น�ำมาใช้ในศูนย์กลาง CSHs ในอเมริกาเหนือ โดยช่วยให้สามารถด�ำเนินการทั้งหมด ได้ จ ากทุ ก ที่ การระบาดที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั่ ว โลกผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การ ปรั บ เปลี่ ย นพื้ น ฐานการด� ำ เนิ น งานผ่ า นระยะไกลทั้ ง 100 เปอร์เซ็นต์ภายในเวลาชั่วข้ามคืน ซึ่งความพยายามในการปรับ กระบวนการท� ำ งานสู ่ ร ะบบดิ จิ ทั ล ที่ ท� ำ กั น มานานเป็ น เวลา หลายปี ช่วยให้เรามีความยืดหยุ่นและด�ำเนินการไปโดยส�ำเร็จ ราบรื่น ส� ำ หรั บ เครื่ อ งมื อดิ จิ ทั ล ดั ง กล่ า ว ชไนเดอร์ อิ เ ล็ ค ทริ ค ใช้ Microsoft 365 รวมถึงซอฟต์แวร์ในการประสานการท�ำงาน ร่วมกันอย่าง Microsoft Teams ซึ่งเป็นสิ่งที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว ว่ามีความส�ำคัญ แม้วา่ ครัง้ หนึง่ คุณอาจจะแค่เดินไปมาในออฟฟิศ เพื่อไปคุยงานกับเพื่อนร่วมงานก็ตาม ปัจจุบันคุณสามารถท�ำ ในลักษณะเดียวกันโดยใช้เครื่องมือในการประสานการท�ำงาน ร่วมกัน ทีมของเราเคยใช้เครือ่ งมือเหล่านีใ้ นการพูดคุย มอบหมาย งาน ช่วยให้สามารถมองเห็นถึงปัญหาของอีกฝั่งหนึ่ง และอีก มากมาย เครื่องมือเหล่านี้ที่มีอยู่ทั้งในสมาร์ทโฟน แทบเล็ต แล็ ป ท็ อ ป ยั ง ช่ วยให้ค วามยืดหยุ่น แก่พนักงานในการท�ำงาน หากต้องเดินออกจากออฟฟิศเพื่อไปดูลูก ก็ไม่ท�ำให้สูญเสีย การเชื่อมต่อ ยังคงแก้ปัญหาได้อยู่
เคล็ดลับที่
03
รักษารายชือ่ เครือ่ งมือ ที่ ได้รบั การอนุมตั ิใช้งาน
ภายในเวลาไม่กี่ปี ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ได้จัดท�ำ List รายชือ่ ของนโยบายด้านดิจทิ ลั ต่างๆ รวมถึงเรือ่ งอืน่ ๆ เช่น VPNs ที่ได้รับการอนุมัติ เพื่อให้มั่นใจเรื่องการรักษาความปลอดภัยได้ อย่างเหมาะสม เรื่องนี้เริ่มอย่างจริงจังเพียงไม่กี่ปีที่ผ่านมา เมื่อ ที ม งานของเราในสหราชอาณาจั ก รต้ อ งออกจากศู น ย์ CSH เป็นเวลา 2 สัปดาห์ แทนทีจ่ ะต้องจัดการกับเครือ่ งมืออะไรก็ตาม
ที่พนักงานอาจจะใช้อยู่ที่บ้าน ทีมงานได้จัดท�ำ List รายชื่อ เครื่องมือที่ได้รับการอนุมัติใช้งาน เช่น โปรแกรม Soft Phones และ VPN โดยยังได้น�ำรายชื่อเหล่านี้มาปรับใช้ส�ำหรับลูกค้า ที่ต้องการเข้าระบบเพื่อมอนิเตอร์สิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ในดาต้าเซ็นเตอร์ของตน
เคล็ดลับที่
04
เตรียมการและทดสอบ
การหยุดชะงักที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้มีการวางแผน น�ำมาซึ่ง การเปิดช่องสู่ความผิดพลาดในแผนการเตรียมรับมือกับภัยพิบัติ ด้วยเช่นกัน ตัวอย่างเช่น โลเคชันของเราที่อยู่ในนิวอิงแลนด์ จะต้องถูกปิดเป็นบางครั้งเนื่องจากพายุหิมะ ท�ำให้พนักงานต้อง ท�ำงานจากที่บ้าน โดยในบางวันก็จะกลายเป็นศึกแย่งชิงเพื่อ เอาพอร์ต VPN เข้าไปในระบบปัจจุบัน ระบบมีการตั้งค่าให้ สามารถรองรับ 75 เปอร์เซ็นต์ของพนักงานที่ท�ำงานจากที่บ้าน ซึง่ พิสจู น์แล้วว่าเพียงพอ (ทัง้ นีค้ วามต้องการของแต่ละคนอาจจะ แตกต่างกันออกไป) แน่นอนว่า วิธีเดียวที่คุณสามารถรู้ได้แน่ชัดว่าทุกอย่างจะ ด�ำเนินไปตามแผนที่วางไว้คือต้องท�ำการทดสอบระบบ เมื่อเรา ออกโปรแกรม Work-at-home ในประเทศฟิลิปปินส์ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ตัวอย่างก็คือ เรามีพนักงานที่ท�ำงานจากบ้าน หนึ่งวันต่อสัปดาห์ โดยสลับหมุนเวียนกันไป ซึ่งเรื่องน่าปวดหัวนี้ ให้ประโยชน์อยู่ 2 ประการ คือเราได้มีเวลาประเมินการท�ำงาน ของระบบ (หรือหาว่าส่วนไหนที่ยังท�ำงานได้ไม่ดี) และพนักงาน ก็ ไ ด้ ผ ่ อ นคลายบ้ า งจากการที่ ต ้ อ งสื่ อ สารทุ กวั น โปรแกรมนี้ ประสบความส�ำเร็จมาก จริงๆ แล้ว เราก็ยังคงใช้โปรแกรมนี้ ต่ อ หลั ง จากเสร็ จ สิ้ น การประเมิ น ซึ่ ง ช่ ว ยให้ พ นั ก งานมี ก าร เตรียมพร้อมส�ำหรับสถานการณ์ปัจจุบัน
จะเห็นได้ว่าความมุ่งมั่นพยายามของเราเห็นผล เนื่องจากบริการด้านการมอนิเตอร์ของ Eco Struxure IT ด� ำ เนิ น การได้ เ ป็ น ปกติ ทุ ก วั น ตลอด 24 x 7 ตลอดช่วงการแพร่ระบาดของ COVID-19 ซึ่งจะช่วยสนับสนุนความมุ่งมั่น ในการปฏิรูปสู่ระบบดิจิทัลของลูกค้ามากมาย ได้เป็นอย่างดี
Engineering Today May • June 2021
41
Management Tools Today • ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล dr.pornchai.ong@gmail.com
เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)
KM-02
การจัดการความรู้
(Knowledge Management) ในบทที่แล้วได้กล่าวถึงการพัฒนาการเรียนรู้ (Learning Curve) ฐานเบื้องต้นของแหล่งความรู้ (Knowledge) เป็นสิ่ง ทีส่ ำ� คัญเป็นอย่างยิง่ และในบทนีจ้ ะเป็นการกล่าวถึงกระบวนการ จัดการความรู้ (Knowledge Management, KM) อย่างเป็นระบบ ในการจัดการ การส่งต่อและการเชื่อมโยง การจัดการข้อมูล สารสนเทศหรื อ ความรู ้ ร ะหว่ า งบุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งในเวลา ที่ต้องการ การจัดการความรู้ (Knowledge Management) หรือ ที่เรียกย่อๆ ว่า KM คือ เครื่องมือเพื่อใช้ในการบรรลุเป้าหมาย อย่างน้อย 3 ประการไปพร้อมๆ กัน ได้แก่ บรรลุเป้าหมายของงาน บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน และบรรลุเป้าหมายการพัฒนา องค์กรไปสูก่ ารเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ การส่งเสริมให้บคุ ลากร สามารถถ่ า ยทอดความรู ้ ที่ มี ใ ห้ ส ามารถปฏิ บั ติ ง านได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงขึ้น เป็นการสนับสนุนการเพิ่ม คุณค่าของความรู้ที่ส�ำคัญให้กับองค์กร KM จึงเป็นเครื่องมือ เพื่อใช้ในการบรรลุเป้าหมายที่ส�ำคัญในส่วนของการปฏิบัติงาน ผ่านประสบการณ์ การถ่ายทอด อีกทั้งเป็นการพัฒนาความรู้ ของบุคลากรทั้งผู้ให้และผู้รับ เป็นการพัฒนาองค์กรและการเก็บ รักษาความรู้ไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อน�ำไปสู่การก้าวเป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ผ่านกระบวนการจัดการ ความรู้ โดยการจัดการให้มีการค้นพบความรู้ ความช�ำนาญที่ แฝงเร้นในตัวคน หาทางน�ำออกมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตกแต่งให้ ง่ายต่อการใช้สอยและมีประโยชน์เพิ่มขึ้น มีการต่อยอดให้งดงาม และใช้ได้เหมาะสมกับสภาพความเป็นจริงและกาลเทศะยิ่งขึ้น มีความรูใ้ หม่หรือนวัตกรรมเกิดขึน้ จากการเอาความรูท้ ไี่ ม่เหมือนกัน มาเจอกัน มีการต่อยอดให้งานที่ผ่านการพิสูจน์ว่าเป็นจริง ท�ำให้
เกิ ด ความรู ้ ใ หม่ ห รื อ นวั ต กรรมเกิ ด ขึ้ น จากการเอาความรู ้ ที่ ไม่เหมือนกันมาบูรณาการณ์ และกระบวนการจัดเก็บความรู้ ให้เป็นระบบ การรวบรวมองค์ความรูท้ มี่ อี ยูใ่ นองค์กร ซึง่ กระจัดกระจาย อยู่ในตัวบุคคล หรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผูร้ ู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กร มีความสามารถเชิงแข่งขันสูงสุด แล้วน�ำมาพัฒนาตัวเองและ น�ำไปใช้เพื่อพัฒนาองค์กรอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด KM จึงเป็น กระบวนการอย่างเป็นระบบในการจัดการ ส่งต่อ และเชื่อมโยง ข้อมูลสารสนเทศหรือความรู้ระหว่างบุคลากรที่เกี่ยวข้องในเวลา ที่ต้องการ
ประเภทขององค์ความรู้ (Knowledge) ส� ำ หรั บ ประเภทขององค์ ค วามรู ้ (Knowledge) นั้ น มี 2 ประเภท คือความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (tacit knowledge) และ ความรู้ที่ชัดแจ้ง (explicit knowledge)
1
ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) : เป็ น ความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านกระบวนการ จัด การข้อมูลสารสนเทศ ที่กล่าวถึงในการพัฒนาการเรียนรู้ (Learning Curve) เป็นกระบวนการเก็บความรู้ขององค์การ (Organization Knowledge) ที่บุคคลปฏิบัติงานอยู่กับองค์การ มานาน จนกระทั่งมีความช�ำนาญ ดังนั้น หากบุคคลลาออกจาก
Engineering Today May • June 2021
43
องค์การ หรือเกษียณอายุ ความรูข้ องงานก็จะหายไปจากองค์การ เพราะไม่มีการบันทึกสาระส�ำคัญของงานเอาไว้ ดังนั้นงานที่ ส�ำคัญๆ จึงควรต้องบันทึกและต้องจัดเก็บไว้เป็นระบบ ซึ่งจะมี ประโยชน์ในการถ่ายทอดความรู้ไปสู่คนรุ่นหลังที่เข้ามาใหม่ ให้สามารถปฏิบัติงานขององค์การไปได้อย่างต่อเนื่อง ไม่เกิด การชะงักของงาน และไม่เกิดความเสียหายต่อองค์การ ซึ่งเป็น ความรู้ที่ชัดแจ้งเป็นรูปธรรมในเชิงพิสูจน์ได้จริงและเห็นผลน�ำมา ใช้เพื่อการปฏิบัติงานได้ ถึงขั้นเป็น 2 ความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge) : เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาตญาณของ แต่ ล ะบุ ค คลในการท� ำ ความเข้ า ใจในสิ่ ง ต่ า งๆ เป็ น ความรู ้ ที่ ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นค�ำพูด หรือลายลักษณ์อักษรได้ โดยง่าย เช่น ทักษะในการท�ำงาน งานฝีมือ ประสบการณ์ แนวความคิด บางครัง้ จึงเรียกว่าความรูแ้ บบนามธรรม เป็นความรู้ ส่วนบุคคล (Personnel Knowledge) ที่แต่ละบุคคลมีอยู่ ซึ่งได้ จากการปฏิบัติงานและมีความเชี่ยวชาญจนได้รับการยอมรับ เป็นความสามารถเฉพาะบุคคล (Personal Competancy) แต่ บางคนจะหวงความรู้ และไม่ถ่ายทอดให้ผู้อื่น หรือการถ่ายทอด จะถ่ายให้เพียงบางส่วน และจะเก็บรักษาความรูไ้ ว้บางส่วน ทีเ่ รา เรี ย กว่ า หวงวิ ช าความรู ้ แต่ ถ ้ า บุ ค คลนั้ น มี ค วามตั้ ง ใจในการ ถ่ายทอดวิชาความรู้ที่ลึกซึ้ง อยากที่จะเข้าใจและเข้าถึงด้วย ความตั้งใจจริง เราสามารถเรียกท่านผู้นี้ได้ว่า “ปรมาจารย์” ซึ่ง ลูกศิษย์นับร้อยอาจมีเพียงแค่หนึ่งที่สามารถรับการถ่ายทอด ความรูน้ นั้ ได้จริง จึงมีคำ� ว่า “ศิษย์เอก” ทีเ่ ป็นทีย่ อมรับ แต่อย่างไรเสีย ก็ไม่สามารถเข้าถึงความรู้นั้นได้ทั้งหมด เพราะบางสิ่งมันเป็นทั้ง ศาสตร์และศิลป ขอยกตัวอย่าง อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ศิลปิน แห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) อาจารย์ได้รับการยอมรับ ในผลงานทัศนศิลป์ทั้งในและต่างประเทศ และได้ถ่ายทอดวิชา ให้กับชนรุ่นหลังที่มีพรสวรรค์ แต่ศาสตร์ด้านจิตรกรรมนั้นพอจะ สอนและถ่ายทอดได้บางส่วน แต่ศิลป์ในการน�ำเสนอผลงานนั้น เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวท่าน ในลีลาและค�ำพูดที่ลึก ซึ่งคมคาย ตรงไปตรงมา เป็นศิลป์ที่ไม่สามารถถ่ายทอดให้เหมือนได้และ เป็นที่ยอมรับในเอกลักษณ์หนึ่งเดียวเท่านั้น
44
มาท�ำแผนกลยุทธ์ (KM-Strategy) ซึ่งขอบเขตของ KM คือการ ก�ำหนดวัตถุประสงค์ (KM-Objectives) เป็นหัวเรื่องต่างๆ ของ ความรูท้ จี่ ำ� เป็นและสอดคล้องกับธุรกิจ และตัง้ เป้าหมายทีช่ ดั เจน (KM-Targets and Goal) เพื่อการด�ำเนินการตามประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ได้วางแผนไว้ โดยมีแนวทางในการด�ำเนินการ การก�ำหนดขอบเขตและเป้าหมาย KM เพือ่ จัดท�ำแผนการจัดการ ความรู้ขององค์กรได้เป็น 3 แนวทาง คือ แนวทางที่ 1 เป็ น ความรู ้ ที่ จ� ำ เป็ น และสนั บ สนุ น ความ ต้องการขององค์กรในแผนธุรกิจ (Business Plan) ที่วางไว้ ในด้านวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) เป้าหมายองค์กร (Goal) นั้นคือความรู้ในประเด็นยุทธศาสตร์ขององค์กร ต้องใช้ ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) และมีการจัดเก็บและ สามารถใช้งานได้ ในลักษณะ Knowledge Asset (KA) คือ คลังความรู้ ซึ่งเปรียบเสมือน “Data Center” ที่เราน�ำเอาความรู้ มาใส่ไว้ แล้วใช้ระบบการจัดเก็บเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้สามารถ เข้าถึงได้งา่ ย เพือ่ ผูใ้ ช้ประโยชน์สามารถน�ำเอาไปใช้ได้จริง ซึง่ ความรู้ ที่มีอยู่ในคลังนี้ การเข้าคลังข้อมูลจะต้องเป็นการรักษาให้มั่นคง และเป็นความลับทางธุรกิจ ในการช่วยเสริมความส�ำเร็จอย่าง มั่นคง ยั่งยืน แนวทางที่ 2 เป็นความรู้ที่ส�ำคัญต่อองค์กร ความรู้ที่ฝัง อยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge) : เช่น ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า ประสบการณ์ความรูท้ สี่ งั่ สมมาในความส�ำเร็จของการท�ำจริงหรือ การแก้ไขปัญหาได้จริง ซึ่งต้องมีการถอดระหัสความรู้ในรูปแบบ การแชร์ประสบการณ์ การเล่าให้ฟังและซักถาม สร้างสังคมเวที แห่งการเรียนรู้ ผู้บริหารต้องให้เวลากับบุคลากรให้มีโอกาส พูดคุย สนทนา เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อการ แก้ไขปัญหาหรือเพือ่ การปรับปรุงการท�ำงานให้ดีขึ้น เป็นลักษณะ ของ Knowledge Sharing ความส�ำคัญในเรือ่ งนีจ้ ะเป็นในรูปแบบ ตัวละครที่จะกล่าวถึงต่อไป
ขอบเขต วัตถุประสงค์ และเป้าหมายการจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แนวทางที่ 3 เป็นการน�ำปัญหาที่เกิดขึ้น หรือเป้าหมาย ส�ำคัญที่ต้องท�ำให้ส�ำเร็จ ที่องค์กรประสบปัญหาอยู่ โดยสามารถ น�ำ KM มาช่วยได้ด้วยการระดมสมอง (Brainstorm) ในรูปแบบ การแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจ (Problem Solving and Decision Marking) เป็นน�ำ KM มาช่วยในการตัดสินใจอย่าง เป็นระบบ
ในระดับองค์กร ก่อนที่จะมีการจัดการความรู้หรือท�ำ KM ผู้บริหารต้องมีการวางแนวทางแผนการปฏิบัติในการก�ำหนด ขอบเขต วัตถุประสงค์และเป้าหมาย KM ที่ต้องการก่อน แล้วน�ำ
ในส่วนเป้าหมายที่ส�ำคัญของการท�ำการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ก็คือ
Engineering Today May • June 2021
1
การจัดตั้งคณะท�ำงาน KM-Team ความรับผิดชอบ ในการสร้างและพัฒนา โดยมีผู้บริหารสูงสุดเป็นประธาน โดยมี ตัวแทนทีมผู้บริหาร KM-Representative เป็นผู้น�ำและตัวแทน จากทุกสายงานร่วมรับผิดชอบ ก�ำหนดขอบเขตในวัตถุประสงค์ อย่างชัดเจน เป้าหมาย คือคณะท�ำงาน KM ต้องมีตัวแทนผู้บริหาร การจัดการความรู้ (Chief Knowledge Officer หรือ CKO) ต้องเข้ามามีบทบาทเป็น ผู้ขับเคลื่อนเชิง ยุทธศาสตร์ จะต้อง วางแผนงานระบบจัดการที่มีความสามารถและเอาจริงเอาจัง คือ ต้องมียุทธศาสตร์ มีเป้าหมายรายทาง มีแผน มีการจัดการ มีทีมจัดการที่ท�ำงานเป็นทีม มีทรัพยากร มีการวัดผล และต้อง ไม่อยู่ในสภาพพึ่งพาวิทยาการ KM ภายนอกตลอดไป มีการ จัดตั้งแกนน�ำ ท�ำหน้าที่ขับเคลื่อน KM สู่ LO ต้องได้สมาชิก ของแกนน� ำ ที่ มี ศ รั ท ธาต่ อ KM มี แ รงบั น ดาลใจที่ จ ะท� ำ งาน แบบฟันฝ่าและมีจริตในการท�ำงานเป็นทีม 2 การสร้างองค์กร ที่ให้ความส�ำคัญในความรู้ท่ีมี และการสร้างความรู้ใหม่ที่เรียกว่าเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization ; LO) จนฝังลึกเป็นระดับวัฒนธรรม องค์กร (Km-Socioculture) เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
เป้าหมาย โดยการใช้วิธีการเปลี่ยนแปลงที่สามารถท�ำ แบบค่อยเป็นค่อยไปได้ เพื่อลดแรงต้านทาน (Resistance) มี การน�ำการจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management) ที่เอาจริงเอาจัง ต้องมี โดยมีหน่วยงานในประเทศไทยที่ประสบ ความส�ำเร็จในแนวทางนี้ มีหลายองค์กรไม่รู้ว่าตนใช้ KM และ เห็นความส�ำคัญของ KM ต่อการสร้างองค์กรเพื่อความยั่งยืน 3 ต้องการให้คนในองค์กรรูจ้ กั KM / วิธกี ารด�ำเนินการ KM และน� ำ ไปใช้ ต ามความเหมาะสม โดยการควบคุ ม และ ประเมินผล เป้าหมาย ต้องการท�ำให้คนในองค์กรรู้จัก KM/วิธีการ ด�ำเนินการในระบบ KM และน�ำไปใช้ตามความเหมาะสม : ส�ำหรับแนวที่ 2 ท�ำง่าย แค่จัดการอบรม หรือ Workshop มีวิทยากรภายนอกมาจัดกระบวนการให้เป็นระยะๆ มีเงินจ้าง วิทยากรก็ท�ำได้แล้วส�ำหรับ KM ที่มีเป้าหมายสู่ LO ทั้ ง นี้ ส� ำ หรั บ KM เป็ น เครื่ อ งมื อ ช่ ว ยการพั ฒนางาน พัฒนาคน พัฒนาองค์กร โดยการน�ำความรู้ที่มีมาจัดการให้เป็น ระบบ มีการถ่ายทอด ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน หนึ่งความคิด หนึ่งความรู้ หนึ่งประสบการณ์ และหนึ่งเดียวในความตั้งใจ สามารถน�ำพาองค์กรเดินไปข้างหน้าอย่างมัง่ คงและแข็งแรงสืบไป
ที่มา: http://www.lib.su.ac.th/km/index.php/kmis บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา สัปดาห์ที่ 9 /20151026
Engineering Today May • June 2021
45
กระบวนการการจัดการความรู้ ในแต่ละองค์กร กระบวนการการจั ด การความรู ้ ใ นแต่ ล ะองค์ ก รควร ประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้
1
“คุณเอื้อ” คือผู้ที่ท�ำให้เกิดผลงาน KM มีหน้าที่ คัดเลือกหาทีมงานจากหลายสังกัดมาเป็นแกนน�ำ สนับสนุน ทรัพยากรแก่ทีมงานอย่างเต็มที่ ส่งเสริมให้เกิดเวทีแลกเปลี่ยน ความรู้ที่เกิดจากความส�ำเร็จหลากหลายรูปแบบ เสมื อ นเป็ น KM-Strategy เพื่ อ ให้ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ขอบเขตและเป้าหมายที่วางไว้
2
“คุ ณ อ� ำ นวย” ท� ำ หน้ า ที่ อ� ำ นวยความสะดวกใน การจั ด การความรู ้ ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ และอ� ำ นวยความสะดวกต่ อ การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ทั้ ง ใน เชิงกิจกรรม เชิงระบบ และเชิงวัฒนธรรม เสมือนเป็น KM-Management ในการบริหารจัดการใน การด�ำเนินการ P-O-L-C-E วางแผน (Planning) จัดหน่วยงาน (Organizing) แต่งตัง้ ตัวแทน (Leader) ควบคุมแผน (Controlling) และประเมิน (Evaluation)
3
“คุณกิจ” ผูด้ ำ� เนินกิจกรรมจัดการความรูร้ อ้ ยละ 90-95 อาจสรุปได้ว่าคุณกิจคือผู้จัดการความรู้ตัวจริง เป็น ผู้มีความรู้ (Explicit Knowledge) และเป็น ผู้ต้องมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ใช้ หา สร้าง แปลง ความรู้เพื่อการปฏิบัติให้บรรลุถึง “เป้าหมาย/ หัวปลา” ที่ตั้งไว้ เสมือนเป็น KM-Organization Culture สร้างวัฒนธรรม องค์กรแห่งการเรียนรู้
4
“คุณลิขติ ” ท�ำหน้าทีจ่ ดบันทึกในกิจกรรมการจัดการ ความรู้ อาจท�ำหน้าที่เป็นการเฉพาะกิจ หรือท�ำหน้าที่เป็นระยะ ยาว กึ่งถาวรในกิจกรรมจัดการความรู้ของกลุ่ม หรือหน่วยงาน หรือองค์กร สิง่ ที่ “คุณลิขติ ” จดบันทึก ได้แก่ เรือ่ งเล่าจากกิจกรรม ขุมความรู้จากกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บันทึกการประชุม และบันทึกอื่นๆ เสมือนเป็น KM-Corporate Politics ก�ำหนดนโยบาย และการบั น ทึ ก เป็ น หลั ก ฐานทั้ ง ด้ า นแนวทางการปฏิ บั ติ แ ละ การท�ำงาน
46
Engineering Today May • June 2021
5
“คุณวิศาสตร์” คือนัก IT ที่เข้ามาช่วยเป็นทีมงาน KM ค�ำว่า “วิศาสตร์” มาจากค�ำว่า “IT wizard” หรือพ่อมด ไอที จะเข้ามาช่วยคิดเรื่องการวางระบบ IT ที่เหมาะกับการ ด�ำเนินการ KM เสมือนเป็น KM-Technology นั้นคือการน�ำ Technology การน�ำเสนอ การเข้าถึงข้อมูล Data Information การเก็บข้อมูล (Data Center)
6
“คุณประสาน” ในการท�ำ KM แบบเครือข่าย มีการ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ข ้ า มองค์ ก ร “คุ ณ ประสาน” จะท� ำ หน้ า ที่ ประสานงานให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในเครือข่าย ท�ำให้เกิดการเรียนรู้ฝังลึก เกิดการหมุนเกลียวความรู้ได้อย่างมี พลังมาก เรียกว่า “การหมุนเกลียวความรู้ผ่านเขตแดน” เสมือนเป็น KM-Organization Process เป็นกระบวนการ ด� ำ เนิ น การให้ เ กิ ด เวที แ ห่ ง การเรี ย นรู ้ การแชร์ ป ระสบการณ์ การเปิดช่องให้น�ำเสนอ และอ�ำนวยความสะดวกให้ทุกรูปแบบ ที่ต้องการ จากรู ป ภาพประกอบ เราจะเห็ นว่ า การจั ด การความรู ้ (Knowledge Management) หรือที่เรียกย่อๆ ว่า KM จะต้องมี ตัวละครในการสนับสนุนให้เกิดมีการจัดการความรู้ ซึง่ หน่วยงาน ที่มีความสนใจ ให้ลองสร้างเวทีแห่งการเรียนรู้ และด�ำเนินการ จัดตั้งบุคคลให้ตรงตามตัวละครชื่อดังกล่าว สรุปความสัมพันธ์ ระหว่างความรู้ องค์กรแห่งการเรียนรู้ และเทคโนโลยี การจัดการ องค์กรเพื่อให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เป็นการจัดการกับ ความรู้ที่มีอยู่ในตัวบุคคล และความรู้ที่เกิดจากองค์กรเพื่อน�ำมา รวบรวม จัดเก็บ โดยอาศัยเครื่องมือคือ เทคโนโลยีสารสนเทศ มาช่วยบริหารจัดการองค์กรเพื่อให้เกิดเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ กันต่อๆ ไป
ใบสมัครสมาชิก 2021
ที่อยูในการรับวารสาร / สิ่งพิมพ : ................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... เบอรโทรศัพทที่ทำงาน : ......................................................... มือถือ : ........................................................... E-mail.................................................................................. ID Line : .........................................................
สมาชิกใหม
ตออายุสมาชิก
สมาชิกใหม
ตออายุสมาชิก
1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960
1 ป 6 ฉบับ 450 2 ป 12 ฉบับ 900
1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960
1 ป 6 ฉบับ 450 2 ป 12 ฉบับ 900
ใบเสร็จรับเงินออกในนาม บุคคล บริษัท/องคกร ที่อยูในการออกใบเสร็จ ............................................... ................................................................................. ................................................................................. หมายเหตุ : กรุณาสงสำเนาการชำระเงิน (Pay-in Slip) มาใหบริษัทฯ ตามที่อยูที่แนบไวดานลาง
บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำกัด
.................................................................................
TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD.
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท 0-2354-5333, 0-2644-4555 Ext. 231 โทรสาร 0-2644-6649 ID Line : membertechno E-mail : member.technologymedia.co.th@gmail.com / marketing_mag@technologymedia.co.th
INDEX ADVERTISING May • June 2021 Engineering Today • Vol.3 No.183 May - June 2021 บริษัท
โทรศัพท์
โทรสาร
ต�ำแหน่งหน้า
Website/E-mail
ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK
0-2036-0564
-
8
www.asew-expo.com
PISANU ENGINEERING CO., LTD.
0-2245-9113
0-2642-9220
3
www.pisanu.co.th
VEGA INSTRUMENTS CO., LTD.
0-2700-9240
0-2700-9241
ปกหน้า
กุลธรอินเตอร์เนชั่นแนล บจก.
0-2282-5775-8
0-2281-0009
6
www.kulthorn.com
ชไนเดอร์ อิเล็คทริค บจก.
-
-
5
www.se.com
คณิต เอ็นจิเนียริ่ง บจก.
0-2642-9209-11
0-2246-3214
26
www.kanitengineering.com
เบย์ คอร์ปอเรชั่น บจก.
0-2926-0111
0-2926-0123-4
ปกหน้าใน
www.bay-corporation.com, sales@bay-corporation.com
โปรแมช (ประเทศไทย) บจก.
08-1592-4456
-
4
www.promach.co.th
เวอร์ทัส บจก.
0-2876-2727
0-2476-1711
9
www.virtus.co.th, welcome@virtus.co.th
เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอร์วิส แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.
0-2702-8801, 0-2702-0581-8
0-2395-1002
7
savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com
www.vega.com
Construction Thailand • Vol.1 No.3 May - June 2021 บริษัท
48
โทรศัพท์
โทรสาร
ต�ำแหน่งหน้า
CIVIL STATES CO., LTD.
0-2848-0999
0-2848-0806
5
www.civilstates.com
INTERMACH
0-2036-0564
-
4
www.intermachshow.com
ปตท. น�้ำมันและการค้าปลีก บมจ.
0-2239-7847
0-2239-7898
3
www.pttlubricants.pttor.com
อิตัลไทย อินดัสเทรียล บจก.
0-2050-0555
-
ปกหน้าใน
Engineering Today May • June 2021
Website/E-mail
www.italthaiindustrial.com
Vol.1 | No.3 | May-Jun 2021
กบ ั ภารกจิทท ่ี าทาย ทง้ัวก ิ ฤต COVID-19
EDITORTALK CONSTRUCTION THAILAND
กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน
เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2644-4555, 0-2354-5333 ตอ 214, 231, 219, 230, และ 313 โทรสาร : 0-2644-6649 Website : www.technologymedia.co.th E-mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ E-mail : editor@engineeringtoday.net ฝายโฆษณา E-mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝายบัญชีและธุรการ E-mail : account@technologymedia.co.th
คณะที่ปรึกษา • ศ.อรุณ ชัยเสรี • ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร • ดร.ประสงค ธาราไชย • ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย • รศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย • รศ. ดร.ตอตระกูล ยมนาค • รศ. ดร.การุญ จันทรางศุ • รศ. ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก • ศ. ดร.สมศักดิ์ ไชยะภินันท • ดร.ทศพร ศรีเอี่ยม • ผไท ผดุงถิ่น
จากสถานการณ ก ารแพร ร ะบาดของเชื้ อ COVID-19 ระลอก 3 ที่ ไ ด แ พร ก ระจายไปในวงกว า ง จากคลัสเตอรเรือนจํา มาสูค ลัสเตอรกอ สรางยานหลักสี่ โดยเมือ่ วันที่ 17 พฤษภาคมทีผ่ า นมา กรุงเทพมหานคร ไดตรวจคัดกรองเชิงรุกไซตงานกอสรางโรงพยาบาลจุฬาภรณ และศูนยราชการแจงวัฒนะ เขตหลักสี่ รวมถึง ชาวชุมชนโดยรอบบริเวณ จํานวน 2,000 คน ลาสุดพบผูติดเชื้อแลว 680 คน จากจํานวนแรงงานทั้งหมด 1,667 คน สงรักษาตัวในโรงพยาบาลแลว 120 คน สวนกลุม สัมผัสเสีย่ งสูงไดจดั โซนแยกตัวเพือ่ เฝาสังเกตอาการ ในเรื่องนี้ คุณลิซา งามตระกูลพานิช นายกสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (TCA) ไดออกประกาศสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ที่ 0046/2564 ลงวันที่ 17 พฤษภาคม 2564 สรุปสาระสําคัญไดวา นอกจากสมาคมฯ จะประกาศขอความรวมมือไปยังสมาชิก สมาคมฯ และผูป ระกอบการกอสราง ตามประกาศเลขที่ 0053/2563 เมือ่ วันที่ 9 เมษายน 2563 นัน้ สมาคมฯ ไดขอความรวมมือทุกทานปฏิบัติตามมาตรการเพิ่มเติมฉบับนี้ เพื่อปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อ COVID-19 อยางเครงครัด ดังนี้ 1. ขอความรวมมือผูประกอบการควบคุมแรงงานกอสรางในแคมป โดยจํากัดการติดตอ กับบุคคลภายนอก หรือใหมีการติดตอนอยที่สุด 2. การจัดใหมีจุดคัดกรองบริเวณเขตกอสรางและที่พักคนงาน 3. การดูแลและบริหารจัดการเขตกอสรางและที่พักคนงาน โดยกําหนดแบงพื้นที่ Quarantine เพื่อรองรับ การกักตัวกรณีตรวจพบบุคลากร/แรงงานกอสรางเขาขายกลุมเสี่ยง และจะตองจัดใหมีพื้นที่พักอาศัยและ สาธารณูปโภคแยกออกจากสวนรวม อยางไรก็ตาม สมาคมฯ มีความเห็นวา ภาคอุตสาหกรรมกอสรางเปนกลุม อุตสาหกรรมทีม่ กี ารใชแรงงาน และกําลังคนจํานวนมาก จึงถือเปนกลุมเสี่ยงที่ควรไดรับการดูแลอยางเรงดวน โดยเฉพาะการตรวจคนหาผูปวย หรือผูต ดิ เชือ้ COVID-19 เชิงรุก และการไดรบั การจัดสรรวัคซีน ทางสมาคมฯ จึงไดจดั ตัง้ “ศูนยสมาคมกอสราง รวมตานโควิด” เพื่อเปนหนวยงานกลางที่ประสานงานระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของกับผูประกอบการกอสราง เพือ่ แจงความตองการในการตรวจคนหาผูป ว ยหรือผูต ดิ เชือ้ COVID-19 เชิงรุก (Active Case Finding หรือ ACF) รวมทั้งการจัดหาวัคซีนอยางเรงดวนและความชวยเหลือที่จําเปน โดยสามารถประสานงานมายังสมาคมฯ ได ผานทาง LINE Official Account: @tca_thaicontractor หรือโทรศัพทหมายเลข 0-2251-4471-3 สําหรับนิตยสาร Construction Thailand ฉบับที่ 3 นี้ เกาะติดสถานการณคลัสเตอรกอสรางติดเชื้อ COVID-19 กับ คุณลิซา งามตระกูลพานิช นายกสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (TCA) ถึงภารกิจที่ทาทายทั้งวิกฤต COVID-19 และราคาเหล็กปรับตัวสูงขึ้น ตามดวย “บทวิเคราะหการพัฒนา ท า อากาศยานอู ต ะเภา ในทั ศ นะวิ ศ วกร & ผั ง เมื อ งโลจิ ส ติ ก ส ” โดย รศ. ดร.ระหั ต ร โรจนประดิ ษ ฐ , “PropertyGuru Thailand Property Awards ครั้งที่ 16 เฟนหาที่สุดของวงการอสังหาริมทรัพยป 2564”, “โครงการใหมที่นาจับตามอง ‘เดอะ ฟอเรสเทียส’ ชูจุดเดนโครงการเมืองเพื่อชีวิตสุขภาพดีขึ้น-มีความสุข มากขึ้น บนพื้นที่ EEC”, “MDPC แนะ 5 Tips ปรับโฉม Compact Condo 29 ตร.ม. ใหดูกวางขวาง รับกระแส Work From Home” และ “ระบบการเขา-ออกอาคารแบบไรสัมผัส เทรนดใหมรับ COVID-19” ทายนี้ ขอทุกทานชวยกันรับผิดชอบตอสังคมดวยการลงทะเบียนรับการฉีดวัคซีนปองกัน COVID-19 กันครับ บรรณาธิการอํานวยการ บรรณาธิการวิชาการ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ พิสูจนอักษร ศิลปกรรม ฝายโฆษณา
กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ สุรียพร วงศศรีตระกูล ทัศนีย เรืองติก อําพันธุ ไตรรัตน ชุติภา จริตพันธ พรเพ็ชร โตกทองคํา, มนัส ไชยเพส, กัลยา ทรัพยภิรมย, ศิรภิ รณ กลิน่ ขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย, วีรวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝายผลิต ชุติมณฑ บัวผัน ฝายสมาชิก กรรณิการ ศรีวรรณ โรงพิมพ ส เอเซียเพรส (1989) แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Facebook : Construction Thailand
www.constructionthailand.net
Vol.1 No.3 May - June 2021
CONTENTS
CONSTRUCTION THAILAND
15
Cover Story
คุณลิซา งามตระกูลพานิช นายกสมาคม อุตสาหกรรมกอสรางไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (TCA) “กับภารกิจที่ทาทายทั้งวิกฤต COVID-19 และราคาเหล็ก ปรับตัวสูงขึ้นตอเนื่อง”
8
‘เดอะ ฟอเรสเทียส’ ชูจุดเดนโครงการเมืองเพื่อชีวิต สุขภาพดีขึ้น-มีความสุขมากขึ้น บนพื้นที่ EEC เปดขาย 3 โครงการที่อยูอาศัยอยางเปนทางการ
• กองบรรณาธิการ
Tips
MDPC แนะ 5 Tips ปรับโฉม Compact Condo 29 ตร.ม. ใหดูกวางขวาง รับกระแส Work From Home
บทวิเคราะหการพัฒนาทาอากาศยานอูตะเภา ในทัศนะวิศวกร & ผังเมืองโลจิสติกส • รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ
20
20
• กองบรรณาธิการ
13
• บริษัท เอ็มดีพีซี จํากัด
Logistics
New Project
Property
PropertyGuru Thailand Property Awards ครั้งที่ 16 เฟนหาที่สุดของวงการอสังหาริมทรัพยป 2564
22
• กองบรรณาธิการ
15
Technology
ระบบการเขา-ออกอาคารแบบไรสัมผัส เทรนดใหมรับ COVID-19 • กองบรรณาธิการ
24
Cover Story • กองบรรณาธิการ
คุณลิซา งามตระกูลพานิช
นายกสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทย ในพระบรมราชูปถัมภ คนที่ 20
“กับภารกิจที่ทาทายทั้ง COVID-19 และราคาเหล็กปรับสูงขึ้นตอเนื่อง”
เมื่ อ พู ด ถึ ง ผู ห ญิ ง ในแวดวง วิ ศ วกรรมศาสตร ที่ มี ค วามโดดเด น และทํางานครํา่ หวอดในวงการกอสราง มาอยางยาวนาน ชื่อของ “คุณลิซา งามตระกูลพานิช” เปนที่รูจักอยาง กวางขวาง ในฐานะกรรมการในองคกร วิชาชีพตางๆ มากมาย ทั้งกรรมการ สมาคมวิ ศ วกรหญิ ง ไทย เลขาธิ ก าร สมาพั น ธ ส มาคมการก อ สร า งแห ง อาเซียน และกรรมการบริหารสมาพันธ ผูประกอบการกอสรางภาคพื้นเอเชีย แปซิฟกฝงตะวันตก (IFAWPCA) และ ไดรับรางวัล ASEAN Outstanding Engineering AchievementContribution Award จาก ASEAN Federation of Engineering Organization (AFEO)
8
Construction Thailand May • June 2021
ลาสุดเมือ่ วันที่ 25 มีนาคม 2564 คุณลิซา งามตระกูลพานิช ได รั บ เลื อ กให ดํ า รงตํ า แหน ง นายกสมาคมอุ ต สาหกรรม กอสรางไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (THAI CONTRACTORS ASSOCIATION UNDER H.M. THE KING'S PATRONAGE : TCA) วาระป พ.ศ. 2564-2566 นับเปนนายกสมาคมฯ คนที่ 20 หลังจากดํารงตําแหนงอุปนายกสมาคมฯ เปนเวลา กวา 5 ป ทําใหคุณลิซามีความรูและเขาใจสถานการณในแงมุม ตางๆ ของอุตสาหกรรมกอสรางของไทยเปนอยางดี
ภารกิจแรกของนายกสมาคม TCA คนที่ 20 เรงแก ไขปญหา COVID-19 ในแคมปคนงานกอสราง คุณลิซา งามตระกูลพานิช นายกสมาคมอุตสาหกรรม กอสรางไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (TCA) กลาววา ภารกิจแรก ในตําแหนงนายกสมาคมฯ คือ การเรงแกไขปญหา COVID-19 ที่เกิดขึ้นในแคมปคนงานกอสราง ซึ่งถือเปนภารกิจที่ทาทาย ความสามารถเปนอยางมาก เนื่องจากวิกฤต COVID-19 ได สงผลกระทบตอการทํางานในวงการกอสราง ตั้งแตระลอกแรก ระลอก 2 และลาสุดระลอก 3 ที่มีการแพรระบาดของเชื้อ COVID-19 ในแคมปคนงานกอสราง สมาคมฯ จึงไดประกาศ เพิ่มเติมที่ 0046/2564 ณ วันที่ 17 พฤษภาคม 2564 เพื่อ
ขอความรวมมือสมาชิกทุกทานปฏิบัติตามมาตรการเพิ่มเติม ฉบับนี้ เพื่อปองกันและควบคุมโรค COVID-19 อยางเครงครัด ดังนี้ 1 ขอความร ว มมื อ การดู แ ลและบริ ห ารจั ด การเขต กอสรางและที่พักคนงาน ใหคํานึงถึงความปลอดภัยเปนหลัก ชวยลดการแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 โดยปฏิบัติ ตามข อ แนะนํ า การดู แ ลและบริ ห ารจั ด การเขตก อ สร า งและ ที่พักคนงาน 2 จั ด ให มี จุ ด คั ด กรองบริ เ วณเขตก อ สร า งและที่ พั ก คนงาน จัดใหมีแมบานดูแลทําความสะอาดและฆาเชื้อในบริเวณ จุดที่มีความเสี่ยง เชน พื้นที่สวนกลาง หองนํ้า และหองพักของ คนงาน โดยจัดใหมีการพนนํ้ายาฆาเชื้อ และทําความสะอาดตาม รอบระยะเวลาใหมคี วามถีม่ ากกวาชวงเวลาปกติ รวมทัง้ ใหทกุ คน ปฏิบัติตามคําแนะนําของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ในการล า งมื อด ว ยสบู ห รื อ เจลแอลกอฮอล ทุ ก ครั้ ง ที่ ก ลั บ เข า หนวยงาน สวมหนากากอนามัยตลอดเวลาระหวางปฏิบัติงาน วัดอุณหภูมิกอนเขาหนวยงาน สวมถุงมือ เวนระยะหางการ สนทนาหรือพบปะ 1-2 เมตร สวนบุคลากรแรงงานกอสราง ที่ อ อกจากหน ว ยงานไปติ ด ต อ บุ ค คลภายนอกให ดู แ ลตั ว เอง อยางเครงครัด โดยจํากัดการติดตอกับบุคคลภายนอกหรือให มีการติดตอนอยที่สุด 3 การดูแลและบริหารจัดการเขตกอสรางและที่พัก คนงาน โดยกําหนดแบงพื้นที่ Quarantine เพื่อรองรับการกักตัว กรณีตรวจพบบุคลากร/แรงงานกอสรางเขาขายกลุมเสี่ยง และ จะตองจัดใหมีพื้นที่พักอาศัยและสาธารณูปโภคแยกออกจาก สวนรวม พรอมกันนี้ สมาคมฯ ไดจัด “ศูนยสมาคมกอสรางรวม ต า นโควิ ด ” เพื่ อ เป น หน ว ยงานกลางที่ ป ระสานงานระหว า ง หนวยงานที่เกี่ยวของกับผูประกอบการกอสราง เพื่อแจงความ ตองการในการตรวจคนหาผูปวยหรือผูติดเชื้อ COVID-19 เชิงรุก (Active Case Finding หรือ ACF) รวมทั้งการจัดหาวัคซีนอยาง เรงดวน และความชวยเหลืออื่นๆ ที่จําเปน โดยเบื้องตนทาง สมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทยฯ ไดประสานไปยังกระทรวง แรงงานในการขอความอนุเคราะหจัดหาวัคซีนมาฉีดแกแรงงาน กอสรางเพื่อปองกัน COVID-19 โดยเร็ว
Construction Thailand May • June 2021
9
“ขณะทีภ่ าครัฐไดใหทาํ งานทีบ่ า น (Work from Home) ใน หลายๆ หนวยงาน แตอุตสาหกรรมกอสรางไมสามารถหยุด กอสราง เพราะหากหยุดกอสรางจะทําใหไมสามารถสงมอบงาน ไดตามกําหนดสัญญาวาจาง ซึ่งจะมีผลทําใหถูกปรับเงินตาม สัญญาวาจางที่ระบุทั้งงานภาครัฐและงานเอกชน จึงตองวาง มาตรการเพื่อปองกันและควบคุมโรค COVID-19 อยางเครงครัด โดยใมใหกระทบการดําเนินงานกอสราง”
เสนอรัฐยกเลิกสวนตางคาปรับราคา (คา K) โดยดวน แกปญหาเหล็กปรับราคาสูงขึ้นตอเนื่อง ขณะเดียวกันก็มอี กี หนึง่ ภารกิจทีต่ อ งเรงดําเนินการไมแพกนั เนื่องจากสงผลกระทบตอผูประกอบการในวงการกอสรางเปน อยางมาก คือ เหล็กปรับราคาสูงขึ้น โดยนับตั้งแตเดือนธันวาคม 2563 จนถึงปจจุบัน รวม 5 เดือน ราคาเหล็กหลายประเภท ไดปรับเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว 50-75% เนื่องจากประเทศจีน ปดโรงงานผลิตเหล็กจํานวนมาก เพราะมีปญหาผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม จีนจึงกวานซื้อเหล็กในตลาดโลกจํานวนมากเพื่อนํา ไปใชงาน ดีมานดของเหล็กทั่วโลกจึงมีมากขึ้น ในขณะที่ทั่วโลก ยังขาดแคลน ไมสามารถหาเหล็กไดทัน ทําใหราคาและแนวโนม จะสูงยิ่งขึ้น ซึ่งสงผลกระทบตอตนทุนการประกอบธุรกิจของ ผูประกอบการกอสรางทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยดวย ทําให ผูประกอบการในแตละโครงการตองแบกภาระตนทุนรวมที่สูงขึ้น 15-30% ขึ้นอยูกับวาโครงการนั้นๆ จะใชเหล็กประเภทใด และ ใชเหล็กมากนอยแคไหน นับตั้งแตเกิดสถานการณ COVID-19 ธุรกิจกอสรางยัง สามารถดําเนินธุรกิจไปไดดวยดี อีกทั้งความตองการเหล็กเพิ่ม สูงขึน้ สงผลใหราคาเหล็กจึงยังสูงขึน้ อยางตอเนือ่ ง ปจจุบนั มูลคา งานกอสรางทัง้ หมดของไทยคิดเปน 8-9% ของผลิตภัณฑมวลรวม ของประเทศ (GDP) อีกทัง้ ภาคการกอสรางมีการจางงานแรงงาน กวา 3,000,000 คน ซึง่ สงผลกระทบเปนลูกโซไปยังผูท เี่ กีย่ วของ กับงานกอสรางทั้งหมด ไมวาจะเปนภาครัฐ ประชาชน ภาควัสดุ กอสราง เครื่องจักร และการขนสง
10
Construction Thailand May • June 2021
เพือ่ บรรเทาปญหาความเดือดรอนและวิกฤตการณทเี่ กิดขึน้ สมาคมฯ จึงขอใหภาครัฐพิจารณาใหความชวยเหลือในเรื่องนี้ อยางเรงดวนและตอเนื่อง ทั้งมาตรการระยะสั้นและระยะยาว ไดแก 1 มาตรการเรงดวน พิจารณายกเลิกสวนตางคาปรับ ราคา (คา K) ± 4% จากสูตรการคํานวณคาปรับราคา เปนการ ชั่วคราว ตั้งแตเดือนมกราคม พ.ศ. 2564-ธันวาคม พ.ศ. 2565 กับโครงการที่ยังมีนิติสัมพันธอยู และโครงการที่จะดําเนินการ จัดซือ้ จัดจางในอนาคต ทัง้ นี้ มาตรการดังกลาวไดเคยถูกพิจารณา โดยมติคณะรัฐมนตรีมาแลว เมื่อราคาวัสดุกอสรางในป พ.ศ. 2551 มีความผัน ผวนอยางมาก และขอใหพิจารณาใชฐาน ดัชนีราคาในเดือนที่คิดราคากลางในการคํานวณคา K แทนการ ใชดัชนีราคาในเดือนที่เปดซองประกวดราคา เพื่อใหสะทอน ฐานดัชนีราคาที่ใชในการคิด รวมทั้งพิจารณาเรงรัดการเบิกเงิน ชดเชยคา K ภายใน 60 วัน นับจากวันที่ยื่นขอเบิกจายเงินชดเชย พิจารณาการคิดราคากลางใหสะทอนกับราคาเหล็กเสริมคอนกรีต ที่แทจริงในทองตลาด โดยใชราคาไมเกิน 30 วันกอนประกาศ ประกวดราคา และ 2 มาตรการระยะยาว ขอใหภาครัฐพิจารณาเรงรัดใหมี การปรับสูตรการคํานวณคา K ใหสะทอนโครงสรางตนทุนที่ เปนธรรมและใกลเคียงความเปนจริงที่สุด รวมทั้งใหภาครัฐ ชวยเหลือ การหางบประมาณ หาแหลงเงินกูราคาพิเศษจาก ธนาคารของรัฐมาชวยเหลือผูประกอบการกอสราง
ผูป ระกอบการกอสรางอยางหลีกเลีย่ งไมได เนือ่ งจากเปนกฎหมาย ที่ประกาศบังคับใช หากจะมีการแกไขก็คงจะยาก แตหากมีการ แกไขจริง ทางสมาคมฯ อยากใหเสนอภาครัฐพิจารณาใหสมาคมฯ ไดเขาไปนั่งในคณะกรรมการพิจารณาแกไขกฎหมายตางๆ ดวย เนื่องจากปจจุบันคณะกรรมการที่เขาไปนั่งพิจารณาขอกฎหมาย ตางๆ นั้นไมไดเปน ผูประกอบการกอสรางโดยตรง อาจจะ แกปญหาหรือแกไขขอกฎหมายตางๆ ไมตรงจุดและตอบโจทย ผูประกอบการกอสรางอยางแทจริง “อยามองวาสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทยฯ เปนสมาคม ของผูประกอบการกอสรางที่ตั้งมาเพื่อผูประกอบการกอสราง เทานัน้ ทีผ่ า นมาสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทยฯ ไดดาํ เนินการ ทํางานรวมกับหลากหลายองคกร รวมทั้งสถาบันการศึกษา เชน การวิจัยเรื่องคา K เปนตน”
เดินหนาผลักดันการจัดตั้ง “สภากอสราง” ควบคุมผูร บั เหมาเทงาน-ยกระดับมาตรฐานงานกอสราง
“โดยทั่ ว ไปผู ป ระกอบการจะต อ งรั บ ผิ ด ชอบ 4% แรก ยกตัวอยางเชน คา K แรกออกมา 5% เราไปขอภาครัฐไดแค 1% สิ่ ง ที่ เ ราขอไปคื อ ขอให 4% นี้ ภ าครั ฐ ช ว ยรั บ ผิ ด ชอบ ทั้งหมดไดมั้ย คือถาเปน 5% ใหภาครัฐจายคืนเราใหทั้งหมด ในส ว นของราคากลางนั้ น ให คิ ดหลัง จากที่คิดราคากลางแลว ในการเปดซอง เพราะจะไดไมตองคิดคาเหล็ก” “ราคาเหล็กที่พุงสูงตอเนื่อง สงผลใหเกี่ยวของกับวัสดุที่มี เหล็กเปนสวนประกอบในการนํามาใชในงานกอสรางขึ้นราคาสูง ตามไปดวย เชน ประตู หนาตาง สายไฟและอื่นๆ หากลดสเปก ของวัสดุจะทําใหการตรวจรับงานไมผาน โดยเฉพาะโครงการ ภาครัฐ นับจากนี้ราคาเหล็กจะยังคงสูงอยางตอเนื่องตอไปอีก 2 ป สําหรับผูรับเหมาที่ไมแบกรับภาระตนทุนเหล็กที่สูงขึ้น อยางตอเนื่อง ประกอบกับพระราชบัญญัติจัดซื้อจัดจางและการ บริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ซึ่งจะตองปฏิบัติตามกฎระเบียบ อยางเครงครัด หากไมสามารถสงมอบงานใหทันตามที่กําหนด จะต อ งจ า ยค า ปรั บ อาจทํ า ให ผู รั บ เหมาทิ้ ง งาน และถู ก ขึ้ น Blacklist ได”
วอนรัฐใหสมาคมฯ มีบทบาทในคณะกรรมการพิจารณา แก ไข กม. ชวยเหลือผูประกอบการไดตรงจุด สําหรับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจางและการบริหาร พั ส ดุ ภ าครั ฐ พ.ศ. 2560 ที่ นํ า มาใช นั้ น ส ง ผลกระทบต อ
นอกจาก 2 เรื่องสําคัญเรงดวน ยังมีอีกเรื่องสําคัญที่ คุณลิซา ตองการผลักดันใหเกิดขึ้นในชวงที่รับตําแหนงนายก สมาคมฯ คือ การจัดตั้ง “สภากอสราง” ซึ่งไดริเริ่มแนวคิดตั้งแต 16-17 ปทผี่ า นมา เนือ่ งจากเล็งเห็นความสําคัญและความจําเปน ในการที่สมาชิกผูประกอบการกอสรางจะไดมีกฎระเบียบใน การควบคุ ม ดู แ ลผู ป ระกอบการก อ สร า งภายในประเทศและ ตางประเทศที่จะเขามาดําเนินงานกอสรางในประเทศไทยใหอยู ภายใตองคกรกลาง ซึ่งจะทําหนาที่ดูแลผูประกอบการกอสราง พรอมกันนี้จะไดจัดกิจกรรมตางๆ ที่เปนประโยชนดานการ กอสรางแกสมาชิก เชน การจัดอบรมสัมมนาใหความรูเรื่องการ ต อ ใบอนุ ญ าตวิ ช าชี พ การก อ สร า ง การอบรมให ค วามรู เ รื่ อ ง เทคโนโลยีสมัยใหมที่จะนํามาใชในการกอสรางและอื่นๆ เปนตน “รูปแบบการจัดตั้งสภากอสรางจะคลายๆ กับสภาวิชาชีพ ตางๆ ในไทย แตประเทศไทยเปนประเทศเดียวในอาเซียนที่ยัง ไมมสี ภากอสราง ผูป ระกอบการจากตางประเทศทีเ่ ขามาทําธุรกิจ กอสรางในไทย เพียงแคไปขอจดทะเบียนจัดตัง้ บริษทั กับหนวยงาน ของกระทรวงพาณิชยกส็ ามารถเขามาดําเนินธุรกิจกอสรางไดแลว แตเมือ่ เกิดปญหาการละทิง้ งานขึน้ ก็จะเปนการยากในการติดตาม ผูประกอบการตางชาติมารับผิดชอบงาน เพื่อชดใชคาเสียหาย ตางๆ ที่เกิดขึ้นได หรือแมกระทั่งควบคุมจรรยาบรรณวิชาชีพใน การทํางานไดคงจะกระทําไดเพียงขึ้น Blacklist ผูประกอบการ และบริษัทเทานั้น” คุณลิซา กลาวยํ้าวา เมื่อไมมีสภากอสราง เมื่อภาครัฐ ออกกฎหมายบังคับใชกจ็ ะไมตอบโจทยงานกอสราง เนือ่ งจากขาด ผูที่มีความรูความเขาใจสะทอนปญหาที่ผูประกอบการกอสราง ประสบป ญ หามาโดยตลอดได อ ย า งแท จ ริ ง ในการเข า ไปนั่ ง Construction Thailand May • June 2021
11
ที่เขามาในประเทศไทยจะสงผลใหเกิดระลอกที่ 4 ดวยหรือไม แตอยางไรก็ตาม หากมีการจัดหาวัคซีนจากภาครัฐไดตามเวลา ทีร่ ะบุและมีความชัดเจนในการกระจายวัคซีนใหรวดเร็วขึน้ นาจะ ชวยใหสถานการณ COVID-19 คลี่คลาย “จริงๆ แลวภาคเอกชนเขาไดรบั ผลกระทบมาตัง้ แตปท แี่ ลว งานเอกชนนี่ คื อ ลบเลย คื อ กํ า ลั ง ซื้ อ ลดลงเลย งานก อ สร า ง ภาครั ฐ เริ่ ม มากระทบหนั ก ในช ว งเดื อ นธั น วาคมที่ ผ า นมา เราพยายามที่จะประคับประคองอยู ตั้งแตธันวาคมที่ผานมา เริ่มหนักหนวงขึ้น กอนที่ขยายสัญญา ไมยอมใหขยาย ระเบียบ แนวทางที่ออกมามีใครนําไปปฏิบัติ เริ่มจะมีการทิ้งงานมากขึ้น อันนี้เหมือนเขาไมไหว ก็ตองทิ้งงาน และก็โดน Blacklist ไป”
พิจารณากฎหมายที่เกี่ยวของ เชน พระราชบัญญัติการจัดซื้อ จัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ซึง่ มีคณะกรรมการ 5 คณะ ประกอบดวย คณะกรรมการนโยบาย คณะกรรมการ วินิจฉัย คณะกรรมการอุทธรณ คณะกรรมการจัดทําเรื่องราคา กลาง และคณะกรรมการจัดทําผูลงทะเบียนการกอสราง แตไมมี ตัวแทนจากสมาคมฯ เขาไปรวมอยูในคณะทํางานเลย จะมีเพียง ที่นั่งในอนุกรรมการในบางคณะเทานั้น เนื่องจากสมาคมฯ ไมมี กฎหมายรองรับในการเปนสภาวิชาชีพ “ที่สําคัญ เราตองการยกระดับมาตรฐานอุตสาหกรรม กอสรางขึน้ มา ไมอยากใหผปู ระกอบการกอสรางถูกมองจากสังคม วาเปนผูรายตลอดเวลา เมื่อเกิดปญหากอสรางขึ้น ทั้งปญหาการ ละทิ้งงาน การเกิดอุบัติเหตุระหวางการกอสรางในโครงการ กอสรางตางๆ สมาคมฯ ไมมีอํานาจเขาไปชวยเหลือและจัดการ ซึ่งในอดีตสมาคมฯ อยูภายใตการกํากับดูแลของหลายกระทรวง เชน กระทรวงมหาดไทย ปจจุบนั มีการปรับโครงสรางการดูแลจาก ทางรัฐบาลในหลายๆ สมัยที่ผานมาอยูที่กระทรวงอุตสาหกรรม แตจริงๆ แลวสมาคมฯ มีความประสงคและหวังวาในอนาคตจะ ไดอยูภายใตสังกัดของสํานักนายกรัฐมนตรีซึ่งมีนายกรัฐมนตรี กํากับดูแลโดยตรง เพื่อที่สํานักนายกรัฐมนตรีจะไดแกไขปญหา งานกอสรางที่สั่งสมมานานใหคลี่คลายไดในที่สุด”
ภาพรวมอุตฯ กอสรางไทยป ’64 เผชิญศึก 2 ดาน หวังวัคซีนชวยคลี่คลายสถานการณ สําหรับภาพรวมอุตสาหกรรมกอสรางไทยในป พ.ศ. 2564 คุณลิซา มองวา การกอสรางในปนจี้ ะเหนือ่ ยทัง้ จากสถานการณ COVID-19 ที่ยังไมยุติ ตองมีการประเมินสถานการณวันตอวัน ในระลอกที่ 3 เนื่องจากมีการติดสูคนงานในแคมปกอสราง แต ในชวงระลอกที่ 1 และ 2 ไมปรากฏวามีคนงานกอสรางติดเชื้อ COVID-19 แตอยางใด และจะตองประเมินอีกวาสายพันธุอ นิ เดีย
12
Construction Thailand May • June 2021
จับตาโดรน-AR ตอบโจทยงานกอสรางชวง COVID-19 การนําเทคโนโลยีใหมๆ มาใชในงานกอสรางเพือ่ ลดตนทุน การผลิต และทําใหงานเสร็จเร็วขึ้น คุณลิซา มองวา ปจจุบัน มีการนําเทคโนโลยี BIM (Building Information Modeling) มาใชบางแลวในบาง Site งานกอสรางในแตละพื้นที่ เนื่องจาก เทคโนโลยี BIM ชวยใหผูประกอบการมองภาพการกอสราง ชัดขึ้น แตเทคโนโลยี BIM ไมไดทําใหตนทุนการกอสรางลดลง เชน เหล็กหรือตนทุนการบริการ แตเทคโนโลยี BIM ชวยลดการ สูญเสียใหการกอสราง รนระยะเวลาในการทํางานในหลายๆ สวน ใหนอ ยลง ซึง่ มีแผนทีจ่ ะทยอยนํามาใช อยางไรก็ตาม ผูป ระกอบการ กอสรางรายเล็กๆ ยังเขาถึงเทคโนโลยี BIM คอนขางนอยและ ตองลงทุนในการจางผูเชี่ยวชาญที่มีความรูในเรื่องนี้ ซึ่งมีจํานวน นอย เมื่อไดรับการฝกอบรมก็อาจถูกซื้อตัวไปได ทั้งนี้ภาคการ ศึกษาควรเปดการเรียนการสอนดานเทคโนโลยี BIM และฝกอบรม ให ม ากขึ้ น เพื่ อจะได ส ร า งแรงจู ง ใจให ผู ป ระกอบการเข า ใจ เทคโนโลยี BIM มากขึ้น สวนเทคโนโลยีอนื่ ๆ ทีน่ าํ มาใชใน Site งานกอสราง ใน Site งานเอกชนมีการนําเทคโนโลยี “โดรน” มาชวยเก็บภาพมุมสูงของ ตึกสูง ซึง่ มีพนื้ ทีก่ อ สรางกวาง เพือ่ สํารวจภาพการกอสรางใน Site งาน และควบคุมดูงานในมุมสูงไดละเอียดและรอบดานมากขึ้น ในจุดเสี่ยงที่คนงานกอสรางเขาไมถึง ที่สําคัญในชวงที่เกิดวิกฤต COVID-19 การใชโดรนเขาควบคุมงานจะชวยลดจํานวนคนใน การเขาออก Site งาน ซึ่งจะชวยลดการติดเชื้อไดอีกทางหนึ่งดวย อีกหนึง่ เทคโนโลยีทใี่ ชในงานกอสราง คือ AR (Augmented Reality) ซึ่งใหผูควบคุมงานสวมหมวก AR เขาไปตรวจพื้นที่งาน ตามตํ า แหน ง งานและพิ กั ด จริ ง จะได ภ าพเสมื อ นจริ ง ในการ ควบคุมการทํางาน โดยเฉพาะในชวง COVID-19 ซึ่งจะชวย ปองกันการติดเชื้อ ลดจํานวนเขาออกของพื้นที่ Site งานกอสราง เปนตน
TIPS • บริษัท เอ็มดีพีซี จํากัด
MDPC แนะ
5 Tips ปรับโฉม Compact Condo 29 ตร.ม. ใหดูกวางขวาง รับกระแส Work From Home จากความกาวหนาของเทคโนโลยีที่เขามาเชื่อมตอใหสามารถทํางาน ไดทุกที่ทุกเวลา และภาวะโรคระบาดที่เกิดขึ้น หลายองคกรไดปรับเปลี่ยนวิธี ดําเนินงานเปนรูปแบบ Work From Home มากขึ้น นิยามของ Workplace จึงไมไดจํากัดอยูแคในออฟฟศเพียงอยางเดียว ทําใหที่พักอาศัยในปจจุบัน ตองมีพื้นที่ใชสอยพรอมรองรับทุกกิจกรรม แตหากจําเปนตองใชชีวิตในพื้นที่ จํากัดอยางคอนโดมิเนียม การตกแตงและเลือกเฟอรนิเจอรที่เหมาะกับ ขนาดหองจะเปนตัวชวยสําคัญในการแปลงโฉมหองพักใหมีสัดสวนพื้นที่และ บรรยากาศเอื้อตอการทํางานยิ่งขึ้น
การจัดวางเฟอรนิเจอรชิ้นใหญใหชิดผนัง
ธนา ตอสหะกุล กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็ ม ดี พี ซี จํ า กั ด MDPC Expertise Meets Excellence ในฐานะผูใ หบริการดานอสังหาริมทรัพย แบบครบวงจร รวมถึงบริการตกแตงและปรับปรุง ที่อยูอาศัย ไดเผยถึงเทคนิคการตกแตงที่อยูอาศัย ใหเหมาะกับวิถชี วี ติ Work From Home ในปจจุบนั โดยเฉพาะห อ งพั ก ในโครงการคอนโดมิ เ นี ย ม ที่ ส ว นใหญ จ ะมี พื้ น ที่ ใ ช ส อยกะทั ด รั ด ประมาณ 29 ตารางเมตร ใหรองรับทั้งชีวิตการทํางานและ พักผอนไดอยางลงตัว ดวย 5 เทคนิคสําคัญ ไดแก
1.
ตกแตงผนังหองดวย Earth Tone
นอกจากช ว ยให บ รรยากาศผ อ นคลาย และรูสึกสบายตาแลว การเลือกใชวอลเปเปอรสี โทนธรรมชาติ หรือ Earth Tone โดยเฉพาะสีเบจ (Beige) และสีเบจอมเทา (Greige) จะชวยให หองแลดูมีพื้นที่กวางขวางและสวาง มีชีวิตชีวา โดย ไมสะทอนแสงไฟจนรบกวนสายตาเกินไป เหมาะกับ ชวงเวลาที่ตองใชสมาธิและความสรางสรรค ขณะ เดียวกัน สีโทนนีย้ งั เขากันไดกบั อีกหลายโทน จึงงาย ตอการตกแตง ชวยขับใหเฟอรนิเจอรชิ้นอื่นภายใน หองพักดูโดดเดน และยังสะดวกตอการหามุมสําหรับ Video Conference
ธนา ตอสหะกุล กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็มดีพีซี จํากัด MDPC Expertise Meets Excellence
Construction Thailand May • June 2021
13
2.
วางเฟอรนิเจอรชิ้นใหญชิดผนัง
การจัดวางเฟอรนิเจอรชิ้นใหญใหชิดผนังหรือเขามุม แลวเปดพื้นที่ กลางหองใหโลง มีทางเดิน จะชวยใหหองดูโปรง เชน วางโตะทํางานชิดผนัง หอง เพื่อใหมีพื้นที่โลงดานหลัง ชวยลดความรูสึกอึดอัดขณะนั่งทํางาน และ สะดวกตอการถอยเกาอี้ ทัง้ นี้ ควรเลือกเฟอรนเิ จอรชนิ้ ใหญทมี่ ดี ไี ซนเรียบงาย มีทรงเหลี่ยม เนื่องจากจัดวางไดงายกวาทรงอื่น รวมถึงการใชเฟอรนิเจอร แนวสูงอยางชั้นเก็บของแบบเขามุม จะชวยประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บของ ไดมากขึ้น
3.
เลือกใชเฟอรนิเจอรแบบ Dual-purpose
โครงการคอนโดมิ เ นี ย มส ว นใหญ มั ก ติ ด ตั้ ง เฟอร นิ เ จอร Built-in ที่ออกแบบมาใหเหมาะกับขนาดหองพัก อยางตูเสื้อผา เคานเตอรครัว หรือ ชั้นวางแบบติดผนัง แตเฟอรนิเจอรอื่นๆ เชน เตียง โตะรับประทานอาหาร โตะกลางหนาโซฟา และโซฟา จะเปนเฟอรนิเจอรลอยตัวซึ่งใชพื้นที่ใชสอย มากกวา จึงควรเลือกใชเฟอรนิเจอรแบบ Dual-purpose หรือเฟอรนิเจอร ที่ใชงานไดมากกวา 1 ฟงกชัน และเฟอรนิเจอรพับเก็บได อยางเตียงที่มีลิ้นชัก เก็บของ โซฟาเบด และเกาอีท้ สี่ ามารถเก็บของไดจะชวยลดจํานวนเฟอรนเิ จอร ในหองและประหยัดพื้นที่ใชสอย
4.
กั้นหองดวยฉากโปรงใส
แมพนื้ ทีใ่ นหองพักจะไมเหมาะกับการแบงหอง แตหากตองการจัดพืน้ ที่ พักผอนในหองนอนกับพืน้ ทีท่ าํ งานแยกออกจากกัน ควรใชฉากกัน้ แบบโปรงใส ประตูกระจกบานเลื่อน ติดตั้งมานที่สามารถเลื่อนเก็บได หรืออาจจะใช
14
Construction Thailand May • June 2021
เฟอรนิเจอรที่มีลักษณะโปรง เชน ชั้นวางของที่ไมมี ผนังทึบ ซึง่ ยังสามารถมองเห็นบริเวณอืน่ ของหองได ชวยไมใหหองดูคับแคบจนเกินไป มอบความรูสึก โลงสบายขณะพักอาศัย
5.
ติดกระจกเงาบานใหญ
การนํากระจกเงาบานใหญตดิ ตัง้ บนผนังหอง ในมุมทํางานหรือมุมนัง่ เลน และเลือกใชเฟอรนเิ จอร อยางตูเสื้อผาที่มีกระจกเงาตรงประตู และตูเก็บ อุปกรณในหองนํา้ ทีเ่ ปนบานกระจก นอกจากจะใชงาน ไดแบบ Dual-purpose แลว ยังชวยสะทอนภาพ ใหหองพักดูกวางขึ้น “การอยูอาศัยในคอนโดมิเนียมหรือที่พักที่มี ขนาดกะทัดรัด ไมไดเปนอุปสรรคตอการใชชีวิต ทามกลางกระแส Work From Home หากตกแตง และประยุกตพื้นที่ใหมีฟงกชันรองรับการใชชีวิต ได ห ลากหลาย ซึ่ ง ที่ ผ า นมาที ม ผู เ ชี่ ย วชาญด า น Interior Design ของ MDPC ไดเขาไปชวยแก Pain Point เหลานี้กับผูพักอาศัย รวมถึงการตกแตง แบบ Personalized Design เติมเต็มไลฟสไตล ผู พั ก อาศั ย ที่ แ ตกต า งกั น ให พ ร อ มก า วทั น ได ทุ ก จังหวะชีวิต” ธนา กลาวสรุป
Logistics • รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ
บทวิเคราะหการพัฒนา
ทาอากาศยานอูตะเภา
ในทัศนะวิศวกร & ผังเมืองโลจิสติกส บทความนี้ขอเสนอการสํารวจคนควาและทํา Workshop & Brain Strom Online ของกลุมนิสิตปริญญาโท หลักสูตรวิทยาการ จัดการโลจิสติกส จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2021 ในฐานะของวิศวกร และนักวิเคราะหผังเมืองโลจิสติกสในสหสาขาที่อาจเกิดประโยชน แกผูที่มีสวนเกี่ยวของตอไป โครงการพัฒนาสนามบินอูต ะเภาและเมืองการบินภาคตะวันออก เปนหนึ่งในโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (The Eastern Economic Corridor: EEC) ภายใตยทุ ธศาสตรของวิสยั ทัศนเชิงนโยบาย “ไทยแลนด 4.0” ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ “ยุทธศาสตรชาติ 20 ป” มี วัตถุประสงคเพื่อพัฒนาประเทศไทยและยกระดับคุณภาพของประเทศ ในทุกภาค และยกระดับสนามบินอูต ะเภาเปน “สนามบินนานาชาติเชิง พาณิชยหลัก แหงที่ 3” โดยเขาเชื่อมโยงเปนสวนขยายของกรุงเทพฯ ปริ ม ณฑลไปทางตะวั น ออก ด ว ยการเชื่ อ มสนามบิ น ดอนเมื อ งกั บ สุวรรณภูมิดวยรถไฟความเร็วสูง ทําใหทั้ง 3 สนามบินสามารถรองรับ ผู โ ดยสารรวมกั น ได ม ากถึ ง 200 ล า นคนต อ ป และเพื่ อ ผลั ก ดั น ใหประเทศไทยเปนศูนยกลางทางการบินและประตูเศรษฐกิจสูเอเชีย จากการวิเคราะหโครงการของกลุมวิศวกรและผังเมืองโลจิสติกสดวย SWOT Analysis สามารถสรุปได ดังนี้
>> STRENGTH
ตําแหนงที่ตั้งอยูใกลพื้นที่เศรษฐกิจ ค า ครองชี พ ตํ่ า ทํ า ให ไ ด เ ปรี ย บประเทศ เพือ่ นบาน เนือ่ งจากตนทุนแรงงานในพืน้ ที่ ที่ไมสูงมากและสามารถแขงขันได มีความรวมมือระหวางรัฐบาลกับเอกชน เรื่ อ งการศึ ก ษาและพั ฒ นาแผนการ ดําเนินงาน ความเปนไปไดในการพัฒนา รวมถึงการลงทุนในรูปแบบ Public Private Partnership (PPP) ซึ่ ง ส ง ผลให ก าร ดําเนินการของโครงการมีความคืบหนา
>> WEAKNESS
การขาดแคลนบุคลากรที่มีทักษะ ความรู ความชํานาญดานการบริหารการจัดการ ท า อากาศยาน อุ ต สาหกรรมการผลิ ต ชิ้นสวนทาอากาศยาน รวมถึงการสื่อสาร ภาษาตางประเทศเพือ่ รองรับนักทองเทีย่ ว และผูลงทุนตางชาติ ข อ จํ า กั ด ทางด า นโครงสร า งพื้ น ฐานที่ อาจจะไมสามารถรองรับ ขอจํากัดทางดานการวางแผนผังการใช พืน้ ทีแ่ ละการควบคุมการจราจรทางอากาศ ของสนามบิน พื้นที่อยูใกลชุมชน ซึ่งอาจเกิดปญหากับ ประชาชนในพื้ น ที่ จากการขยายพื้ น ที่ และการเวนคืนพื้นที่
Construction Thailand May • June 2021
15
>> OPPORTUNITIES
ภู มิ ศ าสตร ข องประเทศไทยเป น จุ ด ศูนยกลางของภูมิภาค ทําใหเพิ่มโอกาส ในการแขงขัน และเปดเขตการคาเสรีใน ภูมิภาคอาเซียน โอกาสในการเปนจุดเชื่อมตอของระเบียง เศรษฐกิจระหวางภาคตะวันออกกับภาคใต ซึ่งมีทั้ง รถไฟฟาความเร็วสูง การขยาย เสนทางมอเตอรเวย ทาเรือแหลมฉบัง รวมถึงประเทศเพื่อนบานอยางประเทศ กัมพูชา ประเทศจีน เพิ่มขีดความสามารถในดานการกระจาย ปริมาณการจราจรทางอากาศจากสนามบิน หลัก (สนามบินสุวรรณภูมิ และสนามบิน ดอนเมือง) เพื่อรองรับจํานวนผูโดยสาร และสินคาจากทั้งภายในและตางประเทศ ส ง เสริ ม กลุ ม ธุ ร กิ จ ทางด า นโลจิ ส ติ ก ส ในการลงทุ น เช น คลั ง สิ น ค า กิ จ การ สาธารณูปโภคและบริการเพื่อการขนสง (Air Cargo) ศูนยรวมกิจการโลจิสติกส ทันสมัย การบริการซอมบํารุงอากาศยาน
>> THREAT
การย า ยฐานการผลิ ต ของอุ ต สาหกรรม เทคโนโลยีที่มีสัดสวนการใชบริการขนสง ทางโอกาสมาก ลดปริมาณการขนสงทาง อากาศ รวมถึงเครือ่ งมือตางๆ ไมสามารถ ใชงานไดเต็มประสิทธิภาพ การปรั บ ตั ว ของราคาที่ ดิ น ค า แรงงาน คาวัสดุกอสราง ทําใหตนทุนในการลงทุน สูงขึน้ ซึง่ อาจสงผลกระทบตอการตัดสินใจ ลงทุนของนักลงทุน ความไมแนนอนของตลาดโลก อันเนื่อง มาจากสถานการณการแพรระบาดของ โควิด-19 ทําใหเศรษฐกิจทั่วโลกผัน ผวน จึ ง ไม ส ามารถวางแผนในระยะยาวที่ แมนยําได ปญหาทางดานสิ่งแวดลอมที่อาจเกิดขึ้น จากการดําเนินงานของโครงการ ซึ่งสงผล กระทบตอประชาชนในพื้นที่ ทั้งทางดาน สิ่งแวดลอม มลพิษ มลภาวะ ปญหาการ คมนาคม และอาจกอใหเกิดปญหาการ ตอตานจากประชาชนในพื้นที่
16
Construction Thailand May • June 2021
อเสนอแนวทางการปรับปรุงโครงการพัฒนา >> ขสนามบิ นอูต ะเภาและเมืองการบินภาคตะวันออก 1 Marketing & Technical Engineer (ปริญญารัตน, 2021)
A ดานยุทธศาสตร โลจิสติกส (Strategy Logistics Plan) ยุทธศาสตรทางดานโลจิสติกส ไดแก การพัฒนาระบบทาอากาศยาน และโครงสรางพื้นฐาน การบริหารจัดการทาอากาศยาน สนับสนุน นโยบายรัฐบาลเพื่อสรางโอกาสทางการแขงขันของประเทศ การบริหาร จัดการรายไดและดําเนินการดานการตลาด B ดานการจัดการโลจิสติกส (Management Logistics Plan) ให มี ก ารพั ฒนาโครงสร า งพื้ น ฐานตลอดจนสิ่ ง อํ า นวยความสะดวก ใหมีคุณภาพและเปนมาตรฐาน มีการจัดสรรการใชประโยชนสนามบิน อูตะเภาเพื่อเพิ่มความมั่นคงในเชิงพาณิชยอยางสมดุล โดยใหมีการ จัดทําระเบียบแบบแผนการบริหารจัดการใหเปนสากลมากขึ้น C ดานการปฏิบัติการโลจิสติกส (Operation Logistics Plan) ดานการปฏิบตั งิ านไดมกี ารเพิม่ ขีดความสามารถทาอากาศยานใหมกี าร รองรับการขนสงในรูปแบบตางๆ มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ความรวมมือ ระหวางกองการบินทหารเรือกับการทาอากาศยานอูตะเภา ยังเปนสิ่ง ที่ชวยสงเสริมการปฏิบัติงานดานโลจิสติกสใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อีกดวย
2
Logistics Engineer (พิมพธาดา, 2021)
A ดานยุทธศาสตร โลจิสติกส (Strategy Logistics Plan) ตัง้ เปาหมายการเปนศูนยกลางการขนสงสินคา โดยภายในเขตสนามบิน ใชเปนพื้นที่ประกอบธุรกิจโลจิสติกส ซึ่งเปนการเชื่อมตอกันของทั้ง 3 สนามบิน ที่สามารถเชื่อมตอไปยังทั้งรถไฟราง รถไฟความเร็วสูง และรถโดยสาร อีกทั้งสามารถเชื่อมตอไปยังทาเรือแหลมฉบังและ มาบตะพุด นอกจากนี้ เขตสนามบินยังมีคลังสินคาอีคอมเมิรซ และ ศูนยขนสงและกระจายสินคาทางอากาศของภาคเอกชนดวย B ดานการจัดการโลจิสติกส (Management Logistics Plan) เพื่อรองรับการเปนศูนยกลางการขนสงสินคา จึงควรศึกษาการใชงาน รันเวยเฉพาะสําหรับเครือ่ งบินขนสงสินคา พัฒนามาตรฐานการใหบริการ และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อชวยในการจัดการระบบโลจิสติกส และท า อากาศยาน เพื่ อ ความสะดวกรวดเร็ ว ลดค า ใช จ า ย เพิ่ ม ประสิทธิภาพใหการทํางานดานตางๆ อีกทัง้ ทําใหการพยากรณกจิ กรรม และความตองการตางๆ มีความถูกตองแมนยํามากขึ้น และหนวยงาน อื่นๆ ยังสามารถใชประโยชนจากการนําขอมูล Big Data มาวิเคราะห ในเชิงลึก เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและเพิ่มคุณภาพสินคาและบริการ อีกทั้งสรางมูลคาเพิ่ม (Value Added) ใหกับผูใชบริการได จําเปนตอง มีการบริหารจัดการพื้นที่เพื่อรองรับและอํานวยความสะดวกตอการ ขนสงสินคาระหวางประเทศ รวมถึงการเดินทางเขา-ออกของผูโดยสาร
พื้นที่คลังสินคาจึงควรออกแบบใหสามารถรองรับปริมาณสินคา นําเขาและสงออก เพื่อการสนับสนุนภาคการผลิตของประเทศ ตามระบบหวงโซอุปทานใหมีประสิทธิภาพสูงสุด C ดานการปฏิบัติการโลจิสติกส (Operation Logistics Plan) แกไขความซับซอนของกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับพิธีการ ศุลกากร และความไมชัดเจนของขอกฎหมายในการดําเนินการ นําเขา-สงออกสินคาภายในพื้นที่ปลอดอากร ซึ่งเปน ผลมาจาก การขาดการวางแผนพัฒนาอยางเปนระบบทั้งในระยะสั้นและ ระยะยาว ปรับปรุงความไมพรอมของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ใชในการควบคุมการเคลื่อนไหวของสินคา ซึ่งการใชเพียงแค ระบบ WMS คงไมเพียงพอตอการพัฒนาใหทันตามกระแสโลก จึงควรมองหาและศึกษาเทคโนโลยีใหมมาใชกับระบบคลังสินคา เชน Robot, AI, โดรน ซึ่งจะแสดงใหเห็นถึงศักยภาพของโดรน ในอุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกสของไทยอยางแทจริง
3
International Business Management (ณัฐติกาญจน, 2021)
A ดานยุทธศาสตร โลจิสติกส (Strategy Logistics Plan) โครงการควรจะมีการลงทุนในดานการใหบริการสนามบิน เชิงพาณิชย การพัฒนาอุตสาหกรรมในดานธุรกิจและอุตสาหกรรม การบิ น ซึ่ ง เป น โอกาสในการแข ง ขั น ที่ ดี และส ง เสริ ม การใช เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส ใหมากขึน้ เพือ่ ขยายตลาด สรางโอกาสทางธุรกิจ พัฒนาบุคลากร ดานโลจิสติกสใหมีคุณภาพ และยกระดับประสิทธิภาพระบบ อํานวยความสะดวกทางการคาใหไดมาตรฐานสากล ปรับเปลีย่ น รูปแบบการขนสงใหมีประสิทธิภาพ เพื่อลดตนทุนการขนสงและ เพิ่มประสิทธิภาพบริการขนสงและเครือขายโลจิสติกส C ดานการจัดการโลจิสติกส (Management Logistics Plan) ควรมีกระบวนการจัดการ ดวยการรวบรวมสินคาทีส่ ง มอบ จากขั้ น ตอนแรกไปจนขั้ น ตอนการส ง มอบสิ น ค า ที่ จุ ด หมาย ปลายทาง โดยจะยึดจากความตองการของลูกคา มาตรฐาน ด า นอุ ต สาหกรรม และมาตรฐานด า นการขนส ง นอกจากนี้ การจัดการดานโลจิสติกสยังชวยในการวางแผนดานกลยุทธ และการดําเนินการอีกดวย C ดานการปฏิบัติการโลจิสติกส (Operation Logistics Plan) การตัดสินใจทีผ่ ดิ พลาดในดานโลจิสติกส การสงมอบสินคา หรือบริการที่ผิดพลาดหรือลาชา ซึ่งนําไปสูความไมพอใจของ ผูซ อื้ ความเสียหายของสินคาจากขัน้ ตอนการขนสงทีไ่ มระมัดระวัง การเลื อ กใช เ ส น ทางสํ า หรั บ การขนส ง ที่ ไ ม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ทําใหสูญเสียรายจายเพิ่มขึ้นโดยไมจําเปน ควรมีการแกปญหา ของผูขายสินคาหรือบริการในการจางหรือใหบริการในการจัดสง สินคา รวมทั้งขั้นตอนของการจัดสงที่มีคุณภาพและความพรอม ไมเพียงพอ
4
International Marketing Operation (นงลักษณ, 2021)
A ดานยุทธศาสตร โลจิสติกส (Strategy Logistics Plan) การพัฒนากฎระเบียบ สิทธิพิเศษ หรือขอยกเวนตางๆ ทีช่ ว ยสงเสริมธุรกิจใหคลองตัว รวมถึงการลดภาษี การลดขัน้ ตอน ของกฎระเบียบหรือการอํานวยความสะดวกในการติดตอกับ ราชการ การพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานและการคมนาคมตางๆ เพือ่ รองรับและอํานวยความสะดวกตอระบบโลจิสติกสและหวงโซ อุ ป ทานในอนาคต โดยคํ า นึ ง ถึ ง มาตรฐานและผลกระทบต อ สิ่งแวดลอมเปนสําคัญ เพื่อหลีกเลี่ยงปญหาที่อาจเกิดขึ้นจาก การกอสรางดําเนินงาน รวมถึงความขัดแยงหรือการตอตาน ของคนในพื้นที่ ซึ่งอาจสงผลใหเกิดความลาชาของโครงการ การพิจารณาเวลาของแตละโครงการของ EEC ใหสอดคลองกัน เพื่ อ ให แ ต ล ะโครงการถู ก ใช ง านได ต ามเป า ประสงค แ ละเกิ ด ประโยชนสูงสุด โครงการควรมีการประชาสัมพันธ สรางการรับรู การมีสวนรวม เพื่อสรางความเชื่อมั่น ความนาเชื่อถือตอคน ในพื้นที่ กลุมลูกคาเปาหมาย และผูลงทุน B ดานการจัดการโลจิสติกส (Management Logistics Plan) การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการคมนาคม เพื่อรองรับ ปริมาณนักทองเที่ยว นักลงทุน และสินคา โดยระบบโลจิสติกส และหวงโซอุปทานที่รองรับตอกลุมอุตสาหกรรมเพื่อสรางความ ไดเปรียบทางการแขงขัน เนื่องจากโครงการพัฒนาสนามบิน อู ต ะเภาและเมื อ งการบิ น ภาคตะวั น ออก จะกลายเป น พื้ น ที่ ศู น ย ก ลางของการพั ฒนาอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง จะส ง ผลให ค วาม ตองการการขนสงและจัดการหวงโซอุปทานเพิ่มขึ้น นับเปน โอกาสทางธุ ร กิ จ ของผู ป ระกอบการในกลุ ม ธุ ร กิ จ โลจิ ส ติ ก ส และธุรกิจอื่นๆ อาทิ ธุรกิจคลังสินคา ธุรกิจการรับบรรจุหีบหอ ธุรกิจโลจิสติกสยอนกลับ (Reverse Logistics) และธุรกิจกําจัด ของเสีย การนําเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมเขามาใช C ดานการปฏิบัติการโลจิสติกส (Operation Logistics Plan) การเตรียมบุคลากรใหมีความพรอมทางดานทักษะตางๆ เช น การบริ ห ารจัด การธุ ร กิ จการบิน ภาษา เทคโนโลยีแ ละ นวัตกรรม เพือ่ รองรับนักทองเทีย่ วและนักลงทุนทัง้ ในประเทศและ ตางประเทศ การศึกษาและวางแผนอัตราการเพิ่มของเที่ยวบิน และสายการบินเพื่อรองรับการขนสงใหเหมาะสมและเพียงพอ ตอความตองการ เพื่อหลีกเลี่ยงความแออัดของคนและสินคา การจัดเตรียมพื้นที่รองรับตอโอกาสทางธุรกิจที่จะเกิดขึ้น เชน คลั ง สิ น ค า และธุ ร กิ จ เกี่ ย วกั บ โลจิ ส ติ ก ส แ ละห ว งโซ อุ ป ทาน เพื่อใหเกิดความสามารถทางการแขงขันตางๆ
Construction Thailand May • June 2021
17
5
Farming Management (ปภาวรินทร, 2021)
A ดานยุทธศาสตร โลจิสติกส (Strategy Logistics Plan) การใหความสําคัญของการรวมงานกันระหวางผูร ว มลงทุน ในโครงการภาครัฐและเอกชนที่รวมลงทุน โดยตองมีการรวม วางแผน เสนอความคิดเห็น และประเมินความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น การกําหนดระเบียบขอบังคับเพือ่ เปนตัวควบคุมมาตรฐานของการ ดําเนินงานและการบริการผูบริโภค ทั้งผูโดยสาร ผูบริการดาน การสงสินคา และชุมชนในพืน้ ที่ ความยืดหยุน ในเรือ่ งการพัฒนา โครงการและการบริหารความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นและความ ผันผวนของตลาด วางแผนเพื่อพัฒนาพื้นที่สนับสนุนการบริการ รถไฟฟา อาจมีจุดสําคัญเพิ่มเติมนอกจากสถานีมักกะสันและ ศรีราชา เพิ่มสถานีชลบุรีและพัทยาที่เปนแหลงทองเที่ยวสําคัญ B ดานการจัดการโลจิสติกส (Management Logistics Plan) การจัดการวางแผนการกอสรางสนามบิน ปริมาณการ จราจร เสนทางการบิน ประเภทเครื่องบินที่จะรองรับผูโดยสาร หรือสินคา อาคารสถานที่ การบริการ และพัฒนาชุมชนใกลเคียง เปนตน เพื่อใหสามารถบริการลูกคาอยางมีประสิทธิภาพ ระบบ การบริหารสินคาเพื่อใหเกิดการหมุนเวียนและกระจายสินคา ออกไปยังลูกคา เปนการจัดสรรเครือ่ งบินและพนักงานผูใ หบริการ ที่ใหบริการลูกคาอยางตอเนื่องและทันกับเวลาที่ตองการใชงาน การจัดการคําสั่งซื้อโดยการบริการจัดการวัตถุดิบ จัดหาวัตถุดิบ ที่มีคุณภาพ ปริมาณที่เหมาะสม และตรงตามเวลาที่ตองการ การจัดลําเลียงสินคาเพื่อใหเกิดคาใชจายตํ่าที่สุดตลอดหวงโซ การจั ด การ การจั ด เก็ บ สิ น ค า ซึ่ ง คํ า นึ ง ถึ ง สถานที่ เ ก็ บ รั ก ษา สภาพแวดลอมในการเก็บ ความปลอดภัยตอสินคา การเคลือ่ นยาย และการขนส ง สิ น ค า ที่ เ ป น การขนส ง ทั้ ง ในและต า งประเทศ โดยตองจัดสรรประเภทและขนาดเครือ่ งบินทีจ่ ะทําหนาทีล่ าํ เลียง ผูโดยสารหรือสินคา C ดานการปฏิบัติการโลจิสติกส (Operation Logistics Plan) Scheduling the Establishment โดยกําหนดระยะเวลา ที่สําคัญสําหรับโครงการอยางชัดเจนและประเมินความเสี่ยง ในแตละระยะที่ดําเนินการ ระยะเวลาการวางแผนโครงการ ขั้นตอนสําคัญที่ทุกหนวยงานที่เกี่ยวของตองมีสวนรวมใหการ ระดมความคิดและวิเคราะหขอมูลกอนเริ่มโครงการ เพื่อใหได แผนงานโครงการกอนที่จะเริ่มกอสรางจริง ระยะการใชงานจริง พรอมสําหรับการใหบริการลูกคา วัดผลความสามารถในการ กระตุน เศรษฐกิจ สรางผลกําไร ความพึงพอใจของลูกคาและชุมชน ใกลเคียง ระยะการพัฒนาโครงการ เพือ่ วางแผนขยายผลโครงการ ตอเนื่อง โดยพัฒนาทั้งในแงของปญหาที่พบในการใชงานจริง มาปรั บ ปรุ ง แก ไ ข และพั ฒนาโครงการระยะยาวเพื่ อ แข ง ขั น ในตลาดโลก
18
Construction Thailand May • June 2021
6
Quality Management (พรรทิตา, 2021)
A ดานยุทธศาสตร โลจิสติกส (Strategy Logistics Plan) เพิ่มการประชาสัมพันธศักยภาพของสนามบินอูตะเภา เทียบเทาสนามบินนานาชาติ ใหเปนที่รูจักทั้งในและตางประเทศ โดยเนนที่ทําเลภูมิศาสตรของสนามบิน ที่อยูใกลแหลงทองเที่ยว Logistics Hub ศูนยการแพทยขนาดใหญ และเขตอุตสาหกรรม เพื่อจูงใจการลงทุน สรางความรวมมือกับสายการบิน ในการเพิ่ม เที่ยวบินตรงสูอูตะเภา เพิ่มนักทองเที่ยวและเที่ยวบินการขนสง สินคา โดยจัดใหมีคลังสินคาปลอดภาษี ในระยะเวลาที่กําหนด ทบทวนการดําเนินงานและกฎระเบียบตางๆ ในการบริหารจัดการ สนามบินอูต ะเภา เพราะขัน้ ตอนการบริหารจัดการโดยกองทัพเรือ และภาคเอกชนมีรูปแบบและระยะเวลาที่แตกตางกัน จึงควร หารือรวมกันเพื่อใหโครงการดําเนินอยางมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น และบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว B ดานการจัดการโลจิสติกส (Management Logistics Plan) ขอความชวยเหลือจากภาครัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของ กับงานโลจิสติกส ในการใหความรู จัดอบรม ในเรื่องกฎหมาย การนําเขา-สงออกสินคา การเดินพิธีการ และสิทธิประโยชนจาก สนธิสัญญาดานการคาประเทศตางๆ กับประเทศไทย ใหกับ บุคลากรหรือคนในชุมชนที่มีความสนใจ สํารวจเสนทางหลัก ปายการจราจร สัญญาณไฟ ในเขตพื้นที่ 3 จังหวัด ใหมีคุณภาพ และความปลอดภัยสูงสุด โดยเฉพาะถนนสายเชื่อมตอสนามบิน อูต ะเภา ทาเรือแหลมฉบัง และเขตนิคมอุตสาหกรรม ทีต่ อ งรองรับ การขนสงสินคาปริมาณมากในแตละวัน ศึกษาเทคโนโลยีและ ระบบสารสนเทศใหมๆ เพือ่ รองรับแผนการเปนมหานครการบิน และ เพิม่ ศักยภาพการแขงขันกับสนามบินอืน่ ๆ ในเอเชียตะวันออกเชียงใต C ดานการปฏิบัติการโลจิสติกส (Operation Logistics Plan) การเพิ่มบุคลากรที่มีความรูความสามารถทางดานการบิน การชางอุตสาหกรรมการบิน และอวกาศ ที่ปจจุบันประเทศไทย สามารถผลิตบุคลากรดังกลาวในแตละปไดนอ ยกวาความตองการ เพิ่มประสบการณการเรียนรู และการทํางานในดานการผลิต ชิ้นสวนอุตสหกรรมการบิน และการปฏิบัติการอวกาศ โดยสงผูมี ความรูความสามารถโดดเดนไปเรียนรูเพิ่มเติมจากประเทศอื่นๆ พัฒนาศักยภาพดานภาษาตางประเทศแกคนในพื้นที่ เชน ภาษา อังกฤษ ภาษาจีน และภาษาญีป่ นุ เพือ่ รองรับงานและนักทองเทีย่ ว ชาวตางชาติ จากโครงการพัฒนาสนามบินอูตะเภาในอนาคตที่มี การคาดการณวา นาจะดึงดูดการลงทุนจากตางชาติเพิม่ ขึน้ ในเขต พืน้ ทีจ่ งั หวัดระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา สงเสริมการประชาสัมพันธ โครงการ รวมถึงการขยายตัวของชุมชน เพื่อสรางความเขาใจแก คนในชุมชน ในการเตรียมพรอมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและ โอกาสในการสรางงาน สรางรายไดแกคนในชุมชนตอไป
7
Supporting Logistics (พิมพชนก, 2021)
A ดานยุทธศาสตร โลจิสติกส (Strategy Logistics Plan) นํา E-logistics มาปรับใชกับการพัฒนาสนามบินอูตะเภา และเมืองการบินภาคตะวันออก ดังนี้ 1. EDI (Electronic Data Interchange) การแลกเปลี่ยน เอกสารทางธุรกิจระหวางบริษทั คูค า ในรูปแบบมาตรฐาน สากลจากเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปยังเครื่อง คอมพิวเตอรอกี เครือ่ งหนึง่ เปนการใชเอกสารอิเล็กทรอนิกส แทนเอกสารทีเ่ ปนกระดาษ และอยูใ นรูปแบบมาตรฐานสากล 2. PMS (Phase Management System) ระบบบริหาร การขนสง โดยจะเนนในเรือ่ งคาบริหารการขนสงในแตละ รูปแบบ จะนํามาปรับใชกับสนามบินอูตะเภาทั้งทางนํ้า ทางบก และทางอากาศ เพื่อใหไดตนทุนที่ตํ่าที่สุด 3. MMS (Maintenance Management System) การบริ ก ารการจั ด การการซ อ มบํ า รุ ง ควบคุ ม อะไหล ปริมาณชาง และประวัติการซอมยานพาหนะภายใน สนามบินอูตะเภาทั้งหมด 4. EDC (E-Document Center) ใชสําหรับเก็บรวบรวม ขอมูลเอกสารทั้งหมดในที่เดียว งายตอการคนหา และ การจัดเก็บของที่เกี่ยวของกับสนามบินอูตะเภาทั้งหมด B ดานการจัดการโลจิสติกส (Management Logistics Plan) พาณิชยอเิ ล็กทรอนิกส (E-Commerce) คือ การทําธุรกรรม ทุกรูปแบบ โดยครอบคลุมทั้งการซื้อ-ขายสินคา บริการ การชําระ เงิน และการโฆษณาโดยผานสื่ออิเล็กทรอนิกสประเภทตางๆ โดยเฉพาะเครือขายทางอินเทอรเน็ต โดยจะพัฒนาใหสนามบิน อูตะเภาดวยการพัฒนาระบบการจัดการของสนามบินอูตะเภา และเมื อ งการบิ น ภาคตะวั น ออก โดยระบบติ ด ตามสั ม ภาระ แบบทันเวลา (Real Time) C ดานการปฏิบัติการโลจิสติกส (Operation Logistics Plan) การอบรมและพั ฒ นาศั ก ยภาพให กั บ บุ ค คลที่ ทํ า งาน ในสนามบินอูตะเภาผาน Digital Training ไดแก Application ในมือถือ หรือเว็บ Browser เปนตน เพือ่ ลดตนทุนในการจัดอบรม พรอมทั้งสงเสริมเรื่องการใชเทคโนโลยีใหกับบุคลากรทั้งหมด การเพิ่มเนื้อหาอบรมเกี่ยวกับระบบอิเล็กทรอนิกสที่เกี่ยวของกับ การจัดการภายในสนามบินอูตะเภาทั้งหมด เพื่อใหพนักงาน ทุกคนไดมีพื้นฐานที่เทาเทียมกัน พรอมทั้งเก็บคะแนนเพื่อวัด ความสนใจในเนื้อหาที่ทําการสอนอยางแทจริง การสนับสนุน อุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่เกี่ยวของกับงานทั้งหมดใหกับบุคลากร เพื่อใหสามารถนําอุปกรณดังกลาวใหบริการกับผูโดยสารไดแบบ เต็มประสิทธิภาพ
8
Logistics Management (มธุริน, 2021)
A ดานยุทธศาสตร โลจิสติกส (Strategy Logistics Plan) พัฒนาบริการและการขนสงในเสนทางตางๆ ที่เชื่อมตอ กั บ สนามบิ น อู ต ะเภา เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพให กั บ ระบบใน ห ว งโซ อุ ป ทาน เช น การปรั บ เพิ่ ม เส น ทางที่ เ ชื่ อ มต อ กั บ การ ขนส ง โหมดอื่ น ๆ ให เ กิ ด ความคล อ งตั ว และสะดวกต อ การ เปนจุดศูนยกลางการขยายตัวในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก B ดานการจัดการโลจิสติกส (Management Logistics Plan) ควรบริ ห ารจั ด การเที่ ย วบิ น พานิ ช ย ใ นแต ล ะวั น ให เ กิ ด ประโยชน สู ง สุ ด เมื่ อ เที ย บกั บ สิ่ ง อํ า นวยความสะดวกภายใน สนามบิน เชน อาคารรองรับผูโดยสารที่เพิ่มขึ้นอีก 2 อาคาร จะทําใหรองรับผูโ ดยสารไดอกี จํานวนมาก ซึง่ ควรจะเพิม่ เทีย่ วบิน พาณิชยใหมากขึ้น จะไดพัฒนาเปนจุดศูนยกลางของเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออกจริงๆ เนื่องจากทุกวันนี้สนามบินอูตะเภา ยังมีเที่ยวบินพาณิชยนอยรอบมากเกินไป C ดานการปฏิบัติการโลจิสติกส (Operation Logistics Plan) พั ฒนาศั ก ยภาพบุ ค ลากรให มี ความรู ค วามสามารถใน ดานโลจิสติกส เพื่อใหการทํางานภายในมีประสิทธิภาพจาก ตัวบุคลากรในสนามบินอูตะเภาเอง ซึ่งจะเปนแรงผลักดันให สนามบินอูตะเภาแข็งแกรง และเติบโตเปนสนามบินพาณิชย แหงที่ 3 ของกรุงเทพฯ ไดอยางรวดเร็ว
9
Logistics Planning & Management (เมธนุช, 2021)
A ดานยุทธศาสตร โลจิสติกส (Strategy Logistics Plan) แนวทางปรับปรุงการใชประโยชนรวมกันของ 3 สนามบิน ทั้ ง สุ ว รรณภู มิ ดอนเมื อ ง และอู ต ะเภา เพื่ อ รองรั บ ปริ ม าณ การจราจรทางอากาศที่เพิ่มขึ้นในอนาคต B ดานการจัดการโลจิสติกส (Management Logistics Plan) การปรับปรุงดานการจัดการโลจิสติกสรองรับศักยภาพ ของสนามบิ น อู ต ะเภาที่ มี อั ต ราการเติ บ โตที่ ค อ นข า งรวดเร็ ว แนวทางการปรับปรุงในดานนี้ใหมีการเติบโตที่มีระเบียบ คือ การที่ จ ะต อ งมี ก ฎเกณฑ แ ละข อ ปฏิ บั ติ ที่ แ น ชั ด ในศั ก ยภาพ แตละดาน อาทิเชน ดานจํานวนเที่ยวบิน มีการจัดทําแผนการบิน เพื่อไมใหเกิดปญหาคอขวดที่สนามบิน เปนตน C ดานการปฏิบัติการโลจิสติกส (Operation Logistics Plan) พัฒนาดานบุคลากรสําหรับการบริหารจัดการสนามบินทีต่ อ ง มีความรูทั้งทางดานการบริหาร การจัดการทาอากาศยาน จัดทํา แผนพัฒนาบุคลากรตามสายวิชาชีพ และพัฒนาบุคลากรใหมี สวนรวมในเปาหมายขององคกร และพัฒนาใหมีผูเชี่ยวชาญ เฉพาะดาน อีกทัง้ ยังควรมีการจัดตัง้ ใหมบี คุ ลากรในทุกสายอาชีพ Construction Thailand May • June 2021
19
New Project • กองบรรณาธิการ
‘เดอะ ฟอเรสเทียส’
ชูจดุ เดนโครงการเมืองเพือ่ ชีวติ สุขภาพดีขนึ้ -มีความสุขมากขึน้ บนพื้นที่ EEC เปดขาย 3 โครงการที่อยูอาศัย อยางเปนทางการ
บริ ษั ท แมกโนเลี ย ควอลิ ตี้ ดี เ วล็ อ ปเม น ต คอรปอเรชั่น จํากัด (MQDC) หนึ่งในบริษัทผูพัฒนา อสังหาริมทรัพยชั้นนําของประเทศไทย ประกาศเปดตัว ‘ฟอเรสต พาวิลเลียน’ อาคารศูนยการเรียนรู ซึ่งตั้งอยู บนพื้นที่ขนาด 398 ไร ของโครงการ ‘เดอะ ฟอเรสเทียส’ อาคาร ‘ฟอเรสต พาวิลเลียน’ จัดแสดงหองตัวอยาง 11 หอง จาก 3 โครงการทีพ่ กั อาศัยใน ‘เดอะ ฟอเรสเทียส’ และจัดแสดงวิสยั ทัศนตลอดจนแนวคิดสําคัญในการพัฒนา โครงการผาน Immersive Experience ลํา้ สมัย ทีอ่ อกแบบ โดยผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ Experience ระดับโลก เดอะ ฟอเรสเทียส ตั้งอยูบนทําเลที่มีศักยภาพมาก ที่สุดแหงหนึ่ง ดวยเปนพื้นที่ยุทธศาสตร EEC ประกอบ ไปดวยโครงการทีพ่ กั อาศัยหลากหลายรูปแบบ ทีอ่ อกแบบมา เพื่อตอบสนองไลฟสไตล และความตองการที่หลากหลาย ของคนทุ ก ช ว งวั ย โดยที่ พั ก อาศั ย หลากหลายรู ป แบบ ได รั บ การออกแบบจั ด สรรพื้ น ที่ อ ย า งเป น สั ด ส ว นและ เป น ส ว นตั ว แต ส ามารถเชื่ อ มโยงถึ ง กั น และเชื่ อ มโยง ไปยังองคประกอบอื่นๆ ในโครงการไดอยางสะดวกสบาย ไรรอยตอ มุง เนนการออกแบบทุกมิตดิ ว ยมาตรฐานคุณภาพ สูงสุด ทั้งในที่พักอาศัยและสภาพแวดลอมทั้งหมดของ โครงการ เพื่อสงเสริมการใชชีวิตอยางมีสุขภาพดียิ่งขึ้น และมีความสุขมากขึ้น โครงการที่พักอาศัยตางๆ ไดรับ การออกแบบจัดสรรออกมาในหลายระดับราคาทีส่ อดคลอง สําหรับชวงวัยและไลฟสไตลรูปแบบตางๆ โดยมีโครงการ ที่พักอาศัยราคาเริ่มตนตั้งแต 5.14 ลานบาท ไปจนถึง 250 ลานบาท กิตติพันธุ อุยยามะพันธุ ผูอํานวยการโครงการ เดอะ ฟอเรสเทียส โดย MQDC กลาววา MQDC มุงมั่น พัฒนา ‘เดอะ ฟอเรสเทียส’ ใหเปนโครงการตนแบบแหงใหม ของโลกในการพั ฒนาเมื อ งที่ ทุ ก มิ ติ ไ ด รั บ การออกแบบ
20
Construction Thailand May • June 2021
โครงการที่พักอาศัยหลากหลายรูปแบบใน เดอะ ฟอเรสเทียส
อย า งละเอี ย ดรอบคอบ เพื่ อวั ต ถุ ป ระสงค สํ า คั ญ คื อ การส ง เสริ ม ให ผู ค นได ใ ช ชี วิ ต อย า งมี สุ ข ภาพดี ยิ่ ง ขึ้ น และมี ค วามสุ ข มากขึ้ น โดย ‘เดอะ ฟอเรสเที ย ส ’ ได รั บ การออกแบบรั ง สรรค แ ละก อ สร า งโดย ผูเชี่ยวชาญซึ่งไดรับการยอมรับและยกยองมากที่สุดกลุมหนึ่งของโลก รวมทั้งสถาบันชั้นนําระดับโลกและสถาบันชั้นนําของไทย ดวยแนวคิด การสรางสรรคที่อยูอาศัยและสภาพแวดลอมที่สงเสริมในเรื่องสุขภาพ และความสุข ทั้งเรื่องของความปลอดภัย การไดอยูใกลชิดกับธรรมชาติ การผสานธรรมชาติ เ ข า มาเป น ส ว นหนึ่ ง ในการใช ชี วิ ต ประจํ า วั น การออกแบบจัดการคุณภาพอากาศ แสง และการเลือกใชวสั ดุตา งๆ ทัง้ ภายในที่พักอาศัยและสภาพแวดลอมในโครงการ รวมไปถึงการจัดวาง ผังองคประกอบตางๆ ในโครงการ “เดอะ ฟอเรสเทียส ไดรบั การตอบรับอยางดี และไดรบั ความสนใจ มากขึ้ น เรื่ อ ยๆ อย า งต อ เนื่ อ ง ส ว นหนึ่ ง น า จะมาจากสถานการณ COVID-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ทําใหผูคนเขาใจและใหความสําคัญกับ การเลือกที่พักอาศัยและสภาพแวดลอมที่จะสงเสริมการใชชีวิตที่มี สุขภาพดีอยางแทจริง” กิตติพันธุ กลาว เดอะ ฟอเรสเทียส ตั้งอยูบนถนนบางนา-ตราด กม.7 ซึ่งเปน ประตูสูความเจริญภาคตะวันออก ประกอบดวยโครงการที่พักอาศัย หลากหลายรูปแบบ พืน้ ทีเ่ ชิงธุรกิจสําหรับสํานักงาน สปอรตคอมเพล็กซ กิจกรรมไลฟสไตลตางๆ รานคาปลีก รานอาหารและเครื่องดื่ม พื้นที่ Family Center สําหรับกิจกรรมสรางสรรคของครอบครัว และพื้นที่ Town Center สําหรับกิจกรรมชุมชนและกิจกรรมทางวัฒนธรรมตางๆ โรงละคร อีเวนทฮอลล และตลาด
คอนโดมิเนียม ‘วิสซดอม’
บรรยากาศปาใน เดอะ ฟอเรสเทียส
ที่อยูอาศัย ‘มัลเบอรรี โกรฟ’
โครงการที่พักอาศัยใน เดอะ ฟอเรสเทียส ไดแก คอนโดมิเนียม แบรนด ‘วิสซดอม’ แบบ High-rise จํานวน 3 อาคาร ที่มุงตอบโจทย คนวัยเริ่มตนทํางาน วัยสรางครอบครัว ครอบครัวใหม และคนรัก สัตวเลี้ยง โดยมีหอง 7 แบบ ขนาดตั้งแตประมาณ 35 ตารางเมตร ไปจนถึง 205 ตารางเมตร คอนโดมิเนียมแบรนด ‘มัลเบอรรี โกรฟ’ คอนโดมิเนียมแบบ Low-rise ที่มุงตอบโจทยไลฟสไตลที่เหนือระดับ ใกลชิดกับธรรมชาติ จํานวน 6 อาคาร โดยมีหอง 16 แบบ ขนาดตั้งแต 63 ตารางเมตร ไปจนถึง 1,027 ตารางเมตร ที่อยูอาศัยแบรนด ‘มัลเบอรรี โกรฟ’ บานสไลตคลัสเตอรโฮม ทีม่ งุ ตอบโจทยครอบครัวใหญ หลากหลายเจนเนเรชั่น จํานวน 37 หลัง 3 ขนาด ตั้งแต 4-6 หองนอน พืน้ ทีใ่ ชสอยเริม่ ตนประมาณ 1,000 ตารางเมตร ถึง 1,600 ตารางเมตร
ที่อยูอาศัยแบรนด ‘ดิ แอสเพน ทรี’ โครงการ ที่พักอาศัยพรอมมอบบริการดูแลตลอดชีวิต สําหรับผูที่ ตองการวางแผนการใชชีวิตในระยะยาว ที่มีอายุตั้งแต 50 ปขึ้นไป มีทั้งแบบ Active Living Condominiums และ Sky Villa Residences เพียบพรอมทั้งที่พักอาศัย สิ่งอํานวยความสะดวก การบริการอยางครบครัน และ การดูแลดานสุขภาพจากผูเชี่ยวชาญอยางครบวงจร นอกจากนี้ ใน เดอะ ฟอเรสเทียส ยังมีองคประกอบ สําคัญที่โดดเดนเปนพิเศษคือ ปาขนาดใหญพื้นที่ 30 ไร ที่เริ่มปลูกมาตั้งแตเปนเมล็ดและตนกลา ครอบคลุมพื้นที่ ใจกลางของโครงการ และยังมีทางเดินยกระดับความยาว กวา 1.6 กิโลเมตร ซึ่งรวมทางเดินที่เชื่อมโยงไปยังพื้นที่ ตางๆ และทางเดินที่ทอดตัวอยูเหนือผืนปาซึ่งอยูบริเวณ ใจกลางโครงการ มอบเป น เส น ทางเดิ น เท า ท า มกลาง ธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ ดวยความเชื่อที่วา การไดอยู ใกลชดิ กับความมหัศจรรยอนั หลากหลายของธรรมชาติมาก ยิ่งขึ้น เปนปจจัยที่สําคัญที่สุดอยางหนึ่งที่สงมอบความสุข ใหกับผูคน Construction Thailand May • June 2021
21
Property • กองบรรณาธิการ
Property Guru Thailand Property Awards ครั้งที่ 16 เฟนหาที่สุดของ
วงการอสังหาริมทรัพย ป 2564 จูลส เคย กรรมการผูจัดการ พร็อพเพอรตี้กูรู เอเชีย พร็อพเพอรตี้ อวอรดส แอนด อีเวนต
22
Construction Thailand May • June 2021
พร็ อ พเพอร ตี้ กู รู ไทยแลนด พร็ อ พเพอร ตี้ อวอร ด ส ครั้ ง ที่ 16 (PropertyGuru Thailand Property Awards) จับมือพันธมิตรเฟนหาบริษัท อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ไ ทยที่ ส ร า งผลงาน และสร า งมาตรฐานเป น ที่ ย อมรั บ ของ ผูบริโภคและนักลงทุน ประกาศเดินหนา จัดงานตามแผน พรอมเปดรับการเสนอชือ่ โครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ต า งๆ เพื่ อ เขาชิงรางวัลประจําป 2564 โดยกําหนด จัดงานมอบรางวัลอันทรงเกียรติ พรอม งานกาลาดินเนอรสุดเอ็กซคลูซีฟ เตรียม จัดขึ้นที่กรุงเทพฯ 21 ตุลาคม ศกนี้ จู ล ส เคย กรรมการผู จั ด การ พร็อพเพอรตี้กูรู เอเชีย พร็อพเพอรตี้ อวอร ด ส แอนด อี เ วนต กล า วว า ตลอดระยะเวลา 16 ปที่ผานมา การจัด งาน PropertyGuru Thailand Property Awards (พร็อพเพอรตี้กูรู ไทยแลนด พร็ อ พเพอร ตี้ อวอร ด ส ) นั บ เป น งาน ประกาศรางวัลในวงการอสังหาริมทรัพย ทีม่ คี วามนาเชือ่ ถือมากทีส่ ดุ และดําเนินการ จัดงานมาอยางยาวนานทีส่ ดุ ในประเทศไทย ซึ่ ง การมอบรางวั ล อั น ทรงเกี ย รติ ใ ห กั บ โครงการตางๆ นับเปนสวนหนึ่งที่ทําให การค น หาโครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย คุณภาพไดงายขึ้น รวมทั้งเปนการชวยให ผูบริโภคที่กําลังเลือกซื้ออสังหาริมทรัพย มีขอมูลประกอบการตัดสินใจ จากการ สนั บ สนุ น ข อ มู ล เชิ ง ลึ ก และเทคโนโลยี
ที่แตกตางจาก DDProperty.com ใน ฐานะมารเก็ตเพลสอสังหาริมทรัพยที่ได รับการยอมรับ การจั ด งาน PropertyGuru Thailand Property Awards เปนหนึ่ง ในภารกิ จ ค น หาบริ ษั ท และโครงการ อสังหาริมทรัพยที่มีความโดดเดนและ มีผลงานเปนที่ยอมรับ ดวยกระบวนการ นํ า เสนอรายชื่ อ และตั ด สิ น โดยคณะ กรรมการทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในหลากหลาย สาขา คณะกรรมการอิสระ ซึง่ ประกอบดวย ผูเชี่ยวชาญและผูดูแลการตัดสินที่ไดรับ ความเชื่ อ ถื อ ในแวดวง โดยมี สุ พิ น ท มีชชู พ ี ประธานกรรมการ บริหาร บริษทั โจนส แลง ลาซาลล (ประเทศไทย) จํากัด ในฐานะประธานคณะกรรมการตัดสิน รางวัล ทําใหงานมอบรางวัลนี้ไดรับการ ยอมรั บ ในด า นมาตรฐานการจั ด งาน ที่เชื่อถือได เที่ยงธรรม และโปรงใส “เนือ่ งจากเสียงสะทอนลาสุดพบวา ความเชือ่ มัน่ ผูบ ริโภคตอภาคอสังหาริมทรัพย ยังดีอยูต อ เนือ่ ง แมจะอยูใ นชวงสถานการณ COVID-19 ดั ง นั้ น ได เ ตรี ย มจั ด งาน PropertyGuru Thailand Property Awards ครั้งที่ 16 ตามแผนเดิมในปนี้ ทั้งนี้ การจัดงานฯ ตองการมีสวนชวยให ผูบริโภคที่กําลังเลือกซื้ออสังหาริมทรัพย ไดรับแนวทางและขอมูลในการตัดสินใจ ซื้ออสังหาริมทรัพยที่มีคุณภาพ” จูลส กลาว
ในชวงการแพรระบาดของ COVID-19 และสภาพเศรษฐกิ จ ในป จ จุ บั น การได รั บ ข อ มู ล ที่ ถู ก ต อ ง และครบถวน รวมถึงการพัฒนาโครงการ ทีไ่ ดมาตรฐานและเปนทีย่ อมรับจะชวยให ผูบริโภคที่กําลังเลือกซื้ออสังหาริมทรัพย มี ข อ มู ล ในการตั ด สิ น ใจซื้ อ ที่ ดี ม ากขึ้ น สอดรับกับผลสํารวจ ความเชื่อมั่นของ ผูบริโภคครึ่งแรกของป พ.ศ. 2564 จาก DDproperty.com พบวา ผูบริโภค 69% กํ า ลั ง เลื อ กซื้ อ ที่ อ ยู อ าศั ย ในประเทศ ในอนาคตอันใกล และมากกวาครึ่งได แสดงถึงความตั้งใจวาจะซื้อที่อยูอาศัย ภายใน 2 ปนี้ นอกจากนี้ ผลสํารวจยังพบวามี คนไทยเพียง 56% เทานั้นที่ไดรับผล กระทบจากการซื้อที่อยูอาศัยซึ่งตํ่ากวา ครึง่ หลังของป พ.ศ. 2563 และยังพบอีกวา ผูบริโภคที่กําลังเลือกซื้ออสังหาริมทรัพย ในชวงอายุ 40-50 ป ไดมีการหาขอมูล อสังหาริมทรัพยทางออนไลนเพิม่ มากขึน้ ขณะที่ ผู บ ริ โ ภคที่ มี อ ายุ น อ ยกว า นั้ น จะ รวบรวมขอมูลตางๆ เพิม่ เติมจากครอบครัว เพื่อนสนิท และเพื่อนรวมงาน สิ่ ง ที่ ดึ ง ดู ด ใจผู บ ริ โ ภคส ว นใหญ คื อ ข อ เสนอมากมาย อาทิ แพ็ ก เกจ หลากหลายและแผนตางๆ ใหเลือกซื้อ ส ว น ล ด แ ล ะ เ งิ น คื น ที่ นั ก พั ฒน า อสังหาริมทรัพยไดนําเสนอตอผูบริโภค ในชวงสถานการณการแพรระบาดของ COVID-19
สําหรับโครงการทีไ่ ดรบั การเสนอชือ่ เขาชิงรางวัลและผูเขารวมการประกวด จะผ า นกระบวนการตั ด สิ น ที่ มี ค วาม ยุติธรรม มีความโปรงใส และมีจริยธรรม ภายใต ก ารกํ า กั บ ดู แ ลและรั บ รองการ ตัดสินจากบริษทั เอช แอล บี (ประเทศไทย) ในฐานะ Official Supervisor ของงาน ประกาศรางวัล PropertyGuru Thailand Property Awards ดวยการนําทีมกํากับ ดู แ ลและรั บ รองการตั ด สิ น โดย พอล แอชเบิรน หุนสวนของบริษัท เอช แอล บี (ประเทศไทย) และ ASPAC Leader ของ บริษัท เอช แอล บี เรียลเอสเตท กรุป จู ล ส กล า วต อว า งานประกาศ รางวั ล PropertyGuru Thailand Property Awards ครั้งที่ 16 เปดรับ การเสนอชื่ อ โครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ตางๆ เพื่อเขาชิงรางวัลประจําป 2564 ไดแลวตั้งแตวันนี้ และจะจัดมอบรางวัล ใหกับผูชนะทุกสาขาและรางวัล Highly Commended ของโครงการ และบริษัท ผูพัฒนาอสังหาริมทรัพย ในวันพฤหัสบดี ที่ 21 ตุลาคม 2564 ในงานกาลาดินเนอร สุดเอ็กซคลูซีฟ ณ โรงแรม ดิ แอทธินี โฮเทล แบงค็อก, อะ ลักซชูรี คอลเล็คชั่น โฮเทล ซึ่งจัดขึ้นตามแนวทางการปฏิบัติ ดานสุขภาพและสุขอนามัยของกรุงเทพฯ เพือ่ เขาถึงผูช มในวงกวางไดมากขึน้ ทั้ ง ผู บ ริ โ ภค นั ก ลงทุ น และนายหน า อสังหาริมทรัพยที่มีอยูทั่วประเทศและ ทั่วภูมิภาค ทางผูจัดงานไดวางแผนการ การถายทอดสดในชองทางออนไลนเปน
ครัง้ แรกพรอมกันผานทาง AsiaProperty Awards.com/tv-podcast และชองทาง บน Facebook, LinkedIn, Twitter และ YouTube นอกจากนั้นจะมีการรวบรวม ไฮไลตของงานออกอากาศทางชอง History Channel พั น ธมิ ต รเคเบิ ล ที วี ข องการ จัดงานในปนี้ ทัง้ นี้ ผูช นะรางวัลจากประเทศไทย จะไดรบั เกียรติผา นเขารอบสุดทายในงาน ประกาศรางวัลระดับภูมิภาค Propert Guru Asia Property Awards Grand Final เพื่อเขาชิงรางวัล “Best in Asia” ซึ่งจะจัดงานประกาศรางวัลที่กรุงเทพฯ ในวั น พฤหั ส บดี ที่ 9 ธั นวาคม 2564 และตอเนื่องในสัปดาหเดียวกันจะมีการ จัดงานประชุม PropertyGuru Asia Real Estate Summit โดยรูปแบบการจัดงาน จะเปนแบบ Hybrid ซึง่ จะมีการเขารวมงาน และรับชมแบบออนไลน ซึง่ เปนแพลตฟอรม ชั้นนําทางดานความคิดและเทคโนโลยี ของ PropertyGuru Group สํ า หรั บ ผู ส นั บ สนุ น ระดั บ โกลด ไดแก บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค และ บริ ษั ท เจแอลแอล (ประเทศไทย) พันธมิตรสื่อออนไลน ไดแก เว็บไซต DDProperty.com ช อ งเคเบิ ล ที วี History Channel นิตยสาร Property Guru Property Report พั น ธมิ ต ร ฝ า ย ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ I n fi n i t y Communications พันธมิตรสื่อมวลชน ไดแก HOT Magazine, Locanation, Luxury Society Asia และ REm Thailand พันธมิตรดานการกุศล Right To Play พันธมิตรดานการดําเนินธุรกิจ อยางยั่งยืน (Environmental, Social, Governance: ESG) ได แ ก มู ล นิ ธิ เครือขายพัฒนาบานเด็ก และสมาคม ที่ ใ ห ก ารสนั บ สนุ น Green Building Consulting & Engineering ซัพพลายเออรอยางเปนทางการ GFour Wines & Spirits และผูกํากับดูแลและ รั บ รองการตั ด สิ น อย า งเป น ทางการ บริษัท เอช แอล บี (ประเทศไทย) Construction Thailand May • June 2021
23
Technology • กองบรรณาธิการ
ระบบการเขา-ออกอาคารแบบไรสัมผัส เทรนด ใหมรับ COVID-19
สถานการณการแพรระบาดของ COVID-19 ทั่วโลก ไดทําใหประเด็นความ ปลอดภัยและสุขอนามัยในอาคารสํานักงานทวีความสําคัญมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ ในบางประเทศ ที่สถานการณเริ่มดีขึ้น และผูคนไดเริ่มทยอยกลับเขาสํานักงานแลว เพื่อความปลอดภัยและสบายใจของทั้งพนักงานและผูมาติดตอ ผูบริหารขององคกร และอาคารตางก็ตองหามาตรการปองกัน ทั้งการกําหนดนโยบาย การใชโซลูชันการ บริหารจัดการการเขา-ออกที่หลีกเลี่ยงการสัมผัส และลดการปฏิสัมพันธใหไดมาก ที่สุด เพื่อลดความเสี่ยงในการแพรกระจายของเชื้อไวรัสผานทางจุดสัมผัสตางๆ หนึง่ ในแนวทางทีช่ ว ยคลายปญหานีไ้ ดคอื การใชเทคโนโลยีสมัยใหม เชน ระบบ การเขา-ออกอาคารแบบไรสัม ผัส ที่ใชโทรศัพทมือถือแทนการแตะบัตร โซลูชัน เครือขายที่ชวยเก็บขอมูลการเขา-ออก เพื่อการตรวจสอบยอนหลังได ระบบที่เอื้อให พนักงานและบุคคลภายนอกเขาถึงพื้นที่โดยไมตองมีการสัมผัสใดๆ จึงเกิดสะดวก และปลอดภัยมากกวาที่เคย จากเหตุการณ COVID-19 นี้ HID Global บริษัทผูนําระดับโลกดานโซลูชัน การระบุตัวตน ซึ่งมีสํานักงานใหญอยูที่เมืองออสติน สหรัฐอเมริกา ไดจัดทํารายงาน ในหัวขอ “Returning to the Workplace” เพื่อแนะนําแนวทางและโซลูชันที่จะเอื้อ ใหองคกรตางๆ สามารถวางแผนการกลับเขาทํางานในสํานักงานไดอยางปลอดภัย และสรางความสบายใจใหแกทั้งพนักงานและผูมาติดตอ ในรายงานฉบับดังกลาว HID Global ไดแนะนําเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการเขาออกอาคาร ที่เหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน เชน แอปพลิเคชันในโทรศัพทมือถือ ซึง่ เมือ่ ผูใ ชงานเดินเขาใกลเครือ่ งติดตัง้ ระบบจะทํางานและเปดประตูใหโดยอัตโนมัติ โดยไมตองสัมผัสอุปกรณใดๆ และหากผูใชงานมีระบบการยืนยันตัวตน 2 ขั้นตอน หรือไบโอแมทริกซ เชน การใชลายนิ้วมือหรือสแกนใบหนาเพื่อปลดรหัสบนโทรศัพท มือถือ ก็จะยิ่งทําใหความปลอดภัยทั้งสวนบุคคลและองคกรแนนหนาขึ้น เทคโนโลยี ดังกลาวไมไดจาํ กัดอยูเ พียงการเปดประตูเทานัน้ แตยงั ใชงานไดหลากหลายประเภท เชน การชําระเงิน หรือการสั่งพิมพงาน การระบุและอนุญาตใหบุคคลเขา-ออกอาคารยังสามารถทําผานเทคโนโลยี ที่เรียกวา Over-the-Air Credentialing ที่อํานวยความสะดวกใหพนักงานหรือ ผูมาติดตอไมตองยืนรอตอแถวที่แผนกตอนรับอีกตอไป เพราะสามารถแจงการมา ติดตอไวลวงหนาและพนักงานที่ดูแลระบบจะสามารถบริหารจัดการ สงการรับรอง และอนุญาตการเขาพื้นที่ไปทางโทรศัพทมือถือ สวนพนักงานก็ไมจําเปนตองรอรับ บัตรพนักงานเพื่อใชแตะเขา-ออกอาคารและสํานักงานอีกตอไป นอกจากนี้ ยังมี เทคโนโลยีที่ชวยใหการดูแลสํานักงานครบวงจรยิ่งขึ้น เชน Visitor Management Solutions ที่สามารถเชื่อมตอกับระบบที่กลาวมาขางตน เมื่อผูมาติดตอทําการ ลงทะเบียน ระบบจะสงขอมูลไปใหระบบภายใน ผูติดตอแตละคนจะสามารถเดิน เขาถึงแตละพืน้ ทีไ่ ดตามทีก่ าํ หนดไว จึงเหมาะแกการใชงานในพืน้ ทีท่ มี่ คี นจํานวนมาก เชน โรงพยาบาล โรงเรียน ซึง่ ผูด แู ลสามารถกําหนดระยะเวลาการอนุญาต นอกจากนี้ โซลูชันของ HID Global ยังทําใหผูติดตอสามารถลงทะเบียนลวงหนาออนไลนเพื่อ ประหยัดเวลาไดอกี ดวย ทัง้ หมดนีย้ งั สามารถนําไปเชือ่ มตอกับแอปพลิเคชันอืน่ ๆ ของ
24
Construction Thailand May • June 2021
อาคารไดดวย Application Programming Interface (API) เพื่อใหการใชงานทั้งระบบ นิเวศเปนไปในทิศทางเดียวกัน อีกหนึง่ เทคโนโลยีทเี่ หมาะแกการเลือกใช ดวยฟงกชันที่มีประโยชนอยางมากในชวง COVID-19 คือ โซลูชัน Location Services ที่ชวยใหองคกรและผูดูแลระบบสามารถรับรู ตําแหนงของแตละบุคคลไดแบบเรียลไทม และยังชวยใหพนักงานตรวจสอบดูไดวา พืน้ ที่ หรือหองใดยังวางอยู และไมมีผูคนแออัด เพื่อจัดสรรการใชพื้นที่เมื่อตองการไดอยางมี ประสิทธิภาพและมีระยะหางทีเ่ หมาะสม และ จากการที่ระบบทุกอยางทํางานดวยดิจิทัล องคกรจึงสามารถกยอนดูขอ มูลในภายหลังได เมื่อเกิดเหตุจําเปน เชน กรณีมีคนติดเชื้อ เดินเขามาภายในอาคาร เทคโนโลยี นั บ เป น เครื่ อ งมื อ สํ า คั ญ ที่จะชวยสรางความมั่นใจใหพนักงานเมื่อ ตองกลับมาทํางานรวมกันอีกครั้ง อยางไร ก็ตาม การสื่อสาร การวางนโยบายที่ชัดเจน จากทางผูบริหาร และการเก็บรักษาขอมูล สวนบุคคลใหปลอดภัย ก็เปนอีกปจจัยหนึ่ง ที่สําคัญในการสรางความเชื่อมั่นและชวย รั ก ษาความปลอดภั ย ของพนั ก งาน เมื่ อ ผสมผสานกันกับเทคโนโลยีสมัยใหมแลว จะชวยใหการกลับมาทํางานรวมกันทีอ่ งคกร เปนเรื่องไมนากังวลอีกตอไป