คณะที่ปรึกษา
ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ดร.อัศวิน จินตกานนท์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย ประสงค์ ธาราไชย ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รศ. ดร.สิงห์ อินทรชูโต
นินนาท ไชยธีรภิญโญ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ พานิช พงศ์พิโรดม ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ดร.สุรพล ด�ารงกิตติกุล ชาย ชีวะเกตุ
บรรณาธิการอ�านวยการ/บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
บรรณาธิการ
กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
บรรณาธิการข่าว
สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล
กองบรรณาธิการ
ณัฐชยา แก่นจันทร์
พิสูจน์อักษร
อ�าพันธ์ุ ไตรรัตน์
ศิลปกรรม
พฤติยา นิลวัตร, ศศิธร มไหสวริยะ
ประสานงาน
ภัทรกันต์ กิจสินธพชัย
ฝ่ายการตลาด
ทิพวัลย์ เข็มพิลา, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, วีรวรรณ พุทธโอวาท
เลขานุการฝ่ายการตลาด ชุติมณฑน์ บัวผัน
ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์
ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์
แยกสี
บริษัท คลาสิคสแกน จ�ากัด
โรงพิมพ์
หจก.รุ่งเรืองการพิมพ์
เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ากัด
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 (ฝ่ายการตลาด Ext. 230) แฟกซ์ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail : editor@greennetworkthailand.com
สวัสดีครับ ท่านสมาชิกและท่านผู้อ่านทุกท่าน ในช่วงทีผ่ า่ นมา ข่าวใหญ่ในแวดวงพลังงานและสิง่ แวดล้อม นอกจาก การลาออกของ สนธิรตั น์ สนธิจริ วงศ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน แล้ว เห็นทีจ่ ะหนีไม่พน้ เรือ่ ง การประชุมสมัชชา “BCG : โมเดลเศรษฐกิจสูก่ ารพัฒนา ที่ยั่งยืน” ซึ่ง พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เดินทางมาเป็น ประธานในพิธีด้วยตัวเอง พร้อมปาฐกถาพิเศษในหัวข้อเดียวกันคือ “BCG : โมเดลเศรษฐกิจสูก่ ารพัฒนาทีย่ งั่ ยืน” ณ อิมแพ็คฟอรัม่ ห้องแกรนด์ ไดมอนด์ บอลรูม ศูนย์การแสดงสินค้าอิมแพ็ค เมืองทองธานี เพื่อแสดงให้เห็นถึง โอกาสและศักยภาพของประเทศไทยในการพัฒนาประเทศในทุกๆ ด้าน จากการใช้โมเดลเศรษฐกิจ BCG และร่วมกันก�าหนดเป้าหมายการพัฒนา รวมถึงผลิตภัณฑ์เป้าหมาย หรือสิ่งที่ต้องการให้เกิดการขับเคลื่อน เช่น ปรับแก้กฎหมาย ลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐาน สร้างตลาด มาตรการทางการเงิน การเร่งรัดความสามารถด้านการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยี การกระจายความรู้ และเทคโนโลยีไปสูภ่ าคส่วนต่างๆ พร้อมผลักดันเศรษฐกิจ 4.4 ล้านล้านบาท ภายในอีก 5 ปีข้างหน้า โมเดลทางเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า “BCG” เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจ 3 ส่วน คือ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) และเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ไปพร้อมๆ กัน โดยตัง้ เป้าหมายให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรมในระยะเวลา 5 ปี ประกอบด้วย สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่ง BCG มีมูลค่าทางเศรษฐกิจรวมกันกว่า 3.4 ล้านล้านบาท (ก่อนการระบาดของเชื้อ COVID-19) สร้างงาน ปัจจุบัน เศรษฐกิจ BCG สร้างการจ้างงานทัง้ ระบบ 16.5 ล้านคน และสร้างการเติบโต เชิงคุณภาพของโมเดลเศรษฐกิจ BCG ซึ่งเป็นการตอบโจทย์การพัฒนาที่ ยัง่ ยืน เน้นการพัฒนาโดยไม่ทงิ้ ใครไว้ขา้ งหลัง กระจายรายได้อย่างเป็นธรรม ลดความเหลื่ อมล�้ าในการเข้ า ถึ ง ยาและเวชภั ณฑ์ ลดการใช้ท รัพยากร ลดปัญหามลพิษและสิง่ แวดล้อม ลดความเสีย่ งจากโรคระบาดในคน สัตว์และ พืช ลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มุ่งเน้นการเติบโต อย่างยั่งยืน ส�าหรับนิตยสาร Green Network ฉบับนี้ เดินทางมาถึงฉบับที่ 100 แล้ว ทางทีมกองบรรณาธิการยังคงมุ่งมั่นที่จะน�าเสนอสาระความรู้ทางด้าน พลังงานและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เริ่มจาก “นายกฯ หนุน BCG ผนึกทุกภาคส่วนขับเคลื่อนประเทศไทย”, ทิศทางการใช้พลาสติกใน บรรจุภณ ั ฑ์จะลดลง เพือ่ ความปลอดภัยของผูบ้ ริโภค-เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม”, “UddC เสนอ 3 ยุทธศาสตร์ 8 มาตรการ เสริมภูมิคุ้มกันเมืองท่องเที่ยว ออกแบบนิเวศการท่องเทีย่ ว “เมืองภูเก็ต” รองรับ COVID-19”, “นักวิชาการ ชูแนวคิด Green Tourism และ Building Back Better จัดการทรัพยากร ธรรมชาติหลัง COVID-19”, “สวทช. เดินหน้าจัดตัง้ ศูนย์เทคโนโลยีพลังงาน แห่งชาติ (ENTEC) มุ่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานของประเทศ”, “คณะแพทยศาสตร์ สจล. จับมือเอกชน เปิดตัว “แอนตาเวียร์” นวัตกรรม สมุนไพรไทยเสริมภูมิต้าน COVID-19 มุ่งยกระดับวงการแพทย์ไทย” และ “Drone อากาศยานไร้คนขับกับเกษตรวิถีใหม่” ฯลฯ ท้ า ยนี้ ข อเชิ ญ ชวนทุ ก ท่ า นเข้ า ไปเยี่ ย มชมเว็ บ ไซต์ www.green networkthailand.com และ FB : Green Network ทีอ่ ปั เดตข้อมูลข่าวสาร ทางด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมด้วยครับ แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
Contents July-August 2020
13
Health
25 คณะแพทยศาสตร์ สจล. จับมือเอกชน เปิดตัว “แอนตาเวียร์”
27
นวัตกรรมสมุนไพรไทยเสริมภูมิต้าน COVID-19 มุ่งยกระดับ วงการแพทย์ไทย กองบรรณาธิการ
Biz Technology
30 ผู้เชี่ยวชาญโปรแกรม ITAP น�าเทคโนโลยี Plant Factory 9
Environment
นักวิชาการชูแนวคิด Green Tourism และ Building Back Better จัดการทรัพยากรธรรมชาติหลัง COVID-19 ประมณฑ์ กาญจนพิมลกุล, ดร.กรรณิการ์ ธรรมพานิชวงค์
In Trend
13 UddC เสนอ 3 ยุทธศาสตร์ 8 มาตรการ เสริมภูมิคุ้มกัน
เมืองท่องเที่ยว ออกแบบนิเวศการท่องเที่ยว “เมืองภูเก็ต” รองรับ COVID-19 ศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง (UddC-CEUS)
Energy
32 Drone อากาศยานไร้คนขับ กับเกษตรวิถีใหม่
พิชัย ถิ่นสันติสุข 34 BGRIM ย�้า ADB ขายหุ้นบางส่วน ไม่กระทบธุรกิจและ แผนงานในอนาคต มั่นใจผลประกอบการปีนี้โต 10-15% กองบรรณาธิการ
Report
16 ทิศทางการใช้พลาสติกในบรรจุภัณฑ์จะลดลง
เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค - เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กองบรรณาธิการ 19 สวทช. เดินหน้าจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ (ENTEC) มุ่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานของประเทศ กองบรรณาธิการ
BCG
21 นายกฯ หนุน BCG ผนึกทุกภาคส่วนขับเคลื่อนประเทศไทย
กองบรรณาธิการ
Innovation
24 นักวิจัยนาโนเทคพัฒนาสเปรย์ลดกลิ่นเท้าจากกากเมล็ดชา
ยับยั้งเชื้อราเป็นเลิศ สร้างรายได้ให้ชาวบ้านบนพื้นที่สูง กองบรรณาธิการ
ช่วยผู้ประกอบการปลูกผัก - ผลไม้ออแกนิกในอพาร์ตเมนต์ กองบรรณาธิการ
30
Environment
นักวิชาการชูแนวคิด
Green Tourism และ Building Back Better จัดการทรัพยากรธรรมชาติหลัง COVID-19
การแพร่ระบาดของ COVID-19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อเศรษฐกิจและสังคม แต่ส�าหรับด้าน สิง่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ การแพร่ระบาดของเชือ้ COVID-19 ก่อให้เกิดผลกระทบทัง้ เชิงลบ และเชิงบวก โดยผลกระทบเชิงลบจากวิกฤตการณ์ COVID-19 ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะ หน้ากากอนามัย ขยะติดเชื้อ รวมถึงขยะพลาสติกจากการให้บริการฟู้ดเดลิเวอรี่ ในขณะที่ผลกระทบ เชิงบวกช่วงที่มีการล็อกดาวน์และจ�ากัดการเดินทางทั้งของประชาชาชนทั่วไปและนักท่องเที่ยว ได้แก่ ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลดลง ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ สัตว์ปา่ สัตว์ทะเล ปะการัง ฯลฯ ได้รับการฟื้นฟู
9
GreenNetwork4.0 July-August
2020
ประมณฑ์ กาญจนพิมลกุล, ดร.กรรณิการ์ ธรรมพานิชวงค์
บทความนี้จะให้ความส�าคัญกับผลกระทบของการแพร่ระบาด ของ COVID-19 ต่อทรัพยากรธรรมชาติทงั้ ในระยะสัน้ และในระยะยาว รวมถึ ง ให้ ข ้ อ เสนอแนะแนวทางการจั ด การและอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร ธรรมชาติในระยะยาวหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 สิ้นสุดลง
การลดลงของปริมาณนักท่องเที่ยว และมาตรการ ปิดพื้นที่อุทยานช่วยให้ธรรมชาติได้ฟื้นตัว
สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ COVID-19 ส่งผลกระทบต่อ จ�านวนนักท่องเที่ยวชาวไทยและนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทาง มาท่องเที่ยวในประเทศไทย โดยพบว่าจ�านวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ระหว่างช่วงเดือนมกราคมถึงเมษายนลดลงจาก 13.99 ล้านคนในปี พ.ศ. 2562 เหลือ 6.69 ล้านคนในช่วงเวลาเดียวกันในปี พ.ศ. 2563 หรือ ลดลงประมาณ 52.17% (กองเศรษฐกิจการท่องเทีย่ วและกีฬา กระทรวง การท่องเทีย่ วและกีฬา) โดยการลดลงของจ�านวนนักท่องเทีย่ วมาจากหลาย ปัจจัย แต่ปจั จัยทีส่ า� คัญ ได้แก่ มาตรการจ�ากัดการเดินทาง ทัง้ การเดินทาง ข้ามประเทศและการเดินทางระหว่างจังหวัด มาตรการปิดแหล่งท่องเทีย่ ว ฯลฯ ส�าหรับประเทศไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ได้ประกาศปิดพืน้ ทีแ่ หล่งท่องเทีย่ วในสังกัดของกระทรวงฯ1 ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติกว่า 148 แห่งทัว่ ประเทศ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ 36 แห่ง และเขตห้ามล่าสัตว์ป่าอีก 48 แห่ง โดยวัตถุประสงค์ส�าคัญคือ เพื่อลด กิจกรรมการท่องเที่ยวที่คนจะมารวมตัวกันเป็นจ�านวนมาก ซึ่งอาจเพิ่ม โอกาสในการแพร่กระจายเชื้อ COVID-19 ในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศอินเดีย พบสัตว์ป่าและ สัตว์ทะเลหายากบ่อยครัง้ ขึน้ ในช่วงทีม่ กี ารแพร่ระบาดของ COVID-19 เมือ่ พืน้ ทีอ่ ทุ ยาน ป่า ภูเขา ทะเล หรือเกาะ ปราศจากนักท่องเทีย่ ว ธรรมชาติมีโอกาสได้รับการฟื้นฟู ตัวอย่างเช่น การปิดอุทยานแห่งชาติ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้เจ้าหน้าที่ของอุทยานฯ มีการพบเห็น สัตว์ปา่ เช่น หมีดา� กวาง แมวบอบแคต และหมาป่าไคโยตี้ บ่อยครัง้ ขึน้ 2 ส�าหรับประเทศอินเดีย พบว่ามีเต่าทะเลสายพันธุ์ Olive Ridley ซึ่งเป็น สัตว์ทะเลใกล้สูญพันธุ์ตามบัญชีแดงของ IUCN Red List นับแสนตัว ขึ้นมาวางไข่บนหาด Gahirmatha และหาด Rushikulya ซึ่งอยู่ใน รัฐ Orissa ในช่วงทีป่ ดิ ไม่ให้นกั ท่องเทีย่ วเข้าไปเทีย่ วเนือ่ งจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชือ้ COVID-19 ทีผ่ า่ นมา มีเต่าทะเลขึน้ มาวางไข่บริเวณ ดังกล่าวค่อนข้างน้อย เพราะมีเรือประมง เรือน�าเทีย่ ว และนักท่องเทีย่ ว เข้าออกบริเวณดังกล่าวอย่างหนาแน่น ซึง่ รบกวนเส้นทางหากินของเต่าทะเล ชนิดนี้
ทรัพยากรทางธรรมชาติทั้งทางบกและทางทะเล ของไทย มีโอกาสฟื้นตัวในระยะสั้น
หลังจากทีม่ กี ารปิดอุทยานแห่งชาติและไม่อนุญาตให้นกั ท่องเทีย่ ว เข้าชมพืน้ ทีใ่ นเขตอุทยานฯ ในช่วงทีม่ กี ารแพร่ระบาดของเชือ้ COVID-19 พบว่าทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศได้รบั การฟืน้ ตัว เช่น ในอุทยาน ภูซาง จังหวัดพะเยา พบว่าพืชพันธุ์ไม้หายากกลับมาเจริญงอกงามอย่าง รวดเร็ว สัตว์ปา่ ต่างๆ เช่น หมูปา่ กระรอกบิน ผีเสือ้ ชนิดต่างๆ นกนานา ชนิดที่ไม่ค่อยปรากฏตัวให้เห็น สามารถพบเห็นได้บ่อยครั้ง3 นอกจากนี้ ทรัพยากรทางทะเลในหลายพื้นที่ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยมีโอกาส 10
ฟื้นตัวอย่างเห็นได้ชัด อย่างน้อยในระยะสั้น โดยเฉพาะปะการังและ หญ้าทะเล สาเหตุหนึง่ ทีก่ ารแพร่ระบาดของ COVID-19 ท�าให้ทรัพยากรทาง ทะเลเหล่านีฟ้ น้ื ตัวคือ การปล่อยน�า้ เสียจากแหล่งชุมชนและโรงแรมทีพ่ กั ตลอดแนวชายฝัง่ ลดลง ส่งผลให้คณ ุ ภาพน�า้ ทะเลดีขนึ้ ท�าให้ปะการังและ หญ้าทะเลฟื้นตัวและเติบโตดีขึ้น นอกจากนี้ คุณภาพน�้าทะเลที่ดีขึ้นและ การลดการรบกวนจากกิจกรรมการท่องเที่ยวส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ ปะการังฟอกขาวลดลง อย่างไรก็ดี ปะการังบางชนิดอาจจะใช้ระยะเวลา นานในการฟื้นตัว แต่ในช่วงที่มีการระงับการท่องเที่ยว ปะการังเหล่านี้
ก็จะมีการก่อตัวและงอกใหม่ ส�าหรับสัตว์ทะเล เช่น เต่ามะเฟือง พะยูน ปลาโลมาอิรวดี และปลาฉลามหูดา� มีคนพบเห็นสัตว์ทะเลเหล่านีบ้ อ่ ยครัง้ ขึน้ โดยเฉพาะในช่วงทีม่ กี ารปิดอุทยานแห่งชาติทางทะเล 23 แห่ง สืบเนือ่ ง จากวิกฤตการณ์ COVID-19
เฝ้าระวังสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ หลังจากเริ่มมีมาตรการคลายล็อกดาวน์
หลังจากที่มีการผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์ สถานที่ท่องเที่ยว ทางธรรมชาติหลายแห่งเริ่มเปิดรับนักท่องเที่ยวอีกครั้ง ในกรณีของ ประเทศเวียดนาม หลังจากที่รัฐบาลเวียดนามคลายล็อกข้อจ�ากัดการ เดินทางภายในประเทศ มีชาวเวียดนามจ�านวนมากแห่ไปเที่ยวแหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ โดยเฉพาะสถานที่ที่มีทัศนียภาพที่งดงาม เช่น อ่าวฮาลอง เป็นต้น ส�าหรับประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากที่อุทยาน
GreenNetwork4.0 July-August
2020
กระทรวงทรัพย์ฯ ควรเดินหน้าด�าเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ทุกภาคส่วนทั้งประชาชนทั่วไปและนักท่องเที่ยวมีความรู้ ความตระหนัก และเห็นความส�าคัญของการดูแลและอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์ทะเล ทรัพยากร ทางทะเล
แห่งชาติบางแห่งเริ่มเปิดท�าการ เช่น Everglades National Park ซึ่ง อยู่ทางตอนใต้ของรัฐ Florida และเปิดท�าการในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ผู้เชี่ยวชาญได้แสดงความกังวลว่าการเปิดให้นักท่องเที่ยว จ�านวนมากเข้าไปในอุทยานแห่งชาติ เสียงจากกลุ่มนักท่องเที่ยวอาจ รบกวนสัตว์ปา่ นอกจากนี้ สัตว์ปา่ ทีเ่ คยออกมาหาอาหารกินบริเวณถนน ช่วงที่อุทยานฯ ปิด อาจเสี่ยงต่อการถูกรถยนต์ของนักท่องเที่ยวชนจน ได้รับบาดเจ็บอีกด้วย4 ส�าหรับผลกระทบระยะยาว ประเด็นส�าคัญที่ควรเฝ้าระวัง ได้แก่ ประเด็นเรื่องการส่งเสริมและเพิ่มจ�านวนนักท่องเที่ยวโดยไม่ค�านึงถึง ความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) ของแหล่งท่องเทีย่ ว (Overtourism) ซึง่ อาจน�าไปสูป่ ญั หาการสูญเสียถิน่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยทางธรรมชาติ (Habitat Destruction) การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Loss) ฯลฯ 11
น�าแนวคิด Green Tourism และ Building Back Better มาใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ หลัง COVID-19
หลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ COVID-19 สิง่ ส�าคัญ ที่หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องควรเร่งด�าเนินการเพื่อวางแผนระยะยาว ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมี 4 เรื่อง คือ 1. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมควรเดินหน้าด�าเนินการ ประชาสัมพันธ์ให้ทุกภาคส่วน ทั้งประชาชนทั่วไปและนักท่องเที่ยว มีความรู้ ความตระหนัก และเห็นความส�าคัญของการดูแลและอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์ทะเล ทรัพยากรทางทะเล ฯลฯ โดยอาจร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการในการสอดแทรกประเด็น เหล่านี้ไว้ในหลักสูตรตั้งแต่ระดับประถมศึกษา และร่วมมือกับกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬาในการให้ข้อมูลและสร้างความตระหนักให้กับ
GreenNetwork4.0 July-August
2020
นักท่องเที่ยว 2. การด�าเนินมาตรการเพื่อแก้ปัญหา Overtourism ใน ระยะยาว5 เช่น การจ�ากัดจ�านวนนักท่องเที่ยวที่สามารถเข้าไปยังแหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติในช่วงเวลาต่างๆ โดยในเมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีการน�าแอปพลิเคชันมาใช้ในการแจ้งเตือนเมือ่ มี นักท่องเทีย่ วหนาแน่นในแหล่งท่องเทีย่ วต่างๆ เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วสามารถ ปรับเปลีย่ นแผนเพือ่ มาเยือนแหล่งท่องเทีย่ วในช่วงเวลาอืน่ หรือมาตรการ ปิดแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติเพือ่ ให้ธรรมชาติบริเวณแหล่งท่องเทีย่ ว ได้รบั การฟืน้ ฟู ซึง่ แนวทางนีก้ ระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม มีการด�าเนินการในบางพื้นที่อยู่แล้ว แต่ควรมีการพิจารณาต่อยอดหรือ ขยายผลไปยังแหล่งท่องเทีย่ วในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ต่อไป 3. ประเทศไทยเป็นประเทศ ทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ และมีขมุ ทรัพย์ดา้ นการ ท่องเทีย่ วจ�านวนมาก เนือ่ งจากแต่ละภูมภิ าคของประเทศมีแหล่งท่องเทีย่ ว ทางธรรมชาติที่หลากหลาย ทั้งภูเขา ทะเล ฯลฯ ดังนั้นประเทศไทยควร พลิกวิกฤต COVID-19 ให้เป็นโอกาสในการปรับเปลี่ยนและยกเครื่อง กลยุทธ์ในการดึงดูดนักท่องเทีย่ ว โดยปรับเปลีย่ นจากการท่องเทีย่ วแบบ ทีเ่ น้นการเพิม่ จ�านวนนักท่องเทีย่ วเป็นการท่องเทีย่ วเชิงคุณภาพ (Quality Tourism) เช่น การท่องเทีย่ วสีเขียว (Green Tourism) ซึง่ เป็นการท่องเทีย่ ว แบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม6 ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า เกิด การอนุรกั ษ์ทรัพยากรทางธรรมชาติและเกิดความยัง่ ยืนด้านสิง่ แวดล้อม โดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ควรบูรณาการการท�างานร่วมกันเพื่อขับเคลื่อนแนวคิด ดังกล่าวให้เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 12
สุดท้ายควรมีการส่งเสริมการน�าแนวคิด “Building Back Better” ซึ่งเป็นแนวคิดที่ใช้ในการจัดการภัยพิบัติมาใช้ โดยหลักการภายใต้ แนวคิดดังกล่าวคือการบริหารจัดการเพือ่ ให้สถานการณ์ดา้ นสิง่ แวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติหลังสถานการณ์ COVID-19 สิ้นสุดลงดีกว่า ช่วงทีเ่ กิด COVID-19 เพือ่ ให้ทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศมีความ ยัง่ ยืนและมีภมู คิ มุ้ กันในการรับมือกับ Shock ทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคต * ข้อเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของ “TDRI Policy Series on Fighting Covid-19” ภาพ: กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 1
ที่มา: https://www.ryt9.com/s/prg/3116132 ที่มา: https://www.theguardian.com/environment/2020/may/ 21/wildlife-national-parks-covid-19-shutdown-death-valley 3 ที่มา: https://www.posttoday.com/social/local/624223 4 ที่มา: https://www.nbcnews.com/news/us-news/nationalpark-closings-gave-wildlife-room-roam-rangers-advisecaution-n1208216 5 ที่มา: https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/Southern/ ReasearchPaper/Overtourism.pdf 6 ที่มา: https://www.thaipost.net/main/detail/64337 2
GreenNetwork4.0 July-August
2020
In Trend ศูนย์ออกแบบ และพัฒนำเมือง (UddC-CEUS)
UddC เสนอ
3 ยุทธศาสตร์ 8 มาตรการ เสริมภูมิคุ้มกันเมืองท่องเที่ยว ออกแบบนิเวศการท่องเที่ยว
“เมืองภูเก็ต” รองรับ COVID-19
ศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง (UddC-CEUS) เสนอ 3 ยุทธศาสตร์ ฟืน้ ฟูเมืองท่องเทีย่ วในวิกฤต COVID-19 พลิกวิกฤตเป็นโอกาสของเมือง อย่างยัง่ ยืนในภาวะโรคระบาด สร้างแบรนด์เมืองปลอดเชือ้ /ตรวจโรคเข้ม เมืองต้นทางถึงเมืองปลายทาง/เชื่อมต่อเมืองกับบริการสาธารณสุข คุณภาพ ชีท้ กุ ภาคส่วนต้องร่วมมืออย่างเร่งด่วนแข่งกับเวลา ป้องกันธุรกิจ ทีเ่ กีย่ วข้องในอุตสาหกรรมและลูกจ้างได้รบั ผลกระทบ ย�า้ เมืองท่องเทีย่ ว ต้องพร้อมเป็นเมืองล้มลุก ทีส่ ามารถตอบสนองต่อสภาวะแวดล้อมภายนอก ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและฉับพลันได้เสมอ 13
ศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง (UddC) หนึ่งในศูนย์เชี่ยวชาญ เฉพาะทางด้านยุทธศาสตร์เมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CE.US) น� ำ เสนอยุ ท ธศาสตร์ เ สริ ม สร้ า งภู มิ คุ ้ ม กั น เมื อ งท่ อ งเที่ ย วในวิ ก ฤต COVID-19 กรณีศึกษาเมืองภูเก็ต โดยกำรออกแบบนิเวศแห่งกำร ท่องเที่ยวเพื่อรองรับมำตรกำรสำธำรณสุข ที่จะดึงดูดนักท่องเที่ยว กลุ่มใหม่ที่ก�ำลังมองหำที่พักพิงหรือลี้ภัยในช่วงวิกฤต ปรับเมืองภูเก็ต กลำยเป็นจุดหมำยปลำยทำงของกำรท่องเที่ยวและอยู่อำศัยชั่วครำว ที่ปลอดภัย สร้ำงระบบควำมเชื่อมั่น (Immunitised Community) บนพื้นฐำนของกำรปรับตัวของต้นทุนทรัพยำกรเดิมที่มีอยู่ของเมือง โดยใช้ยุทธศำสตร์หลัก 3 ข้อ ดังนี้ 1) ท�ำกำรตลำดและสร้ำงแบรนด์ เมืองในฐำนะพืน้ ทีป่ ลอดเชือ้ ในกลุม่ นักท่องเทีย่ วปลอดภัย และต้องกำร อยู่อำศัยระยะยำวเพื่อลดผลกระทบจำกมำตรกำรกำรกักตัว 14 วัน 2) จัดกำรตรวจสอบโรคตัง้ แต่ตน้ ทำงและปลำยทำง รวมถึงสร้ำงระบบ กำรเดินทำงแบบปลอดเชือ้ ตลอดห่วงโซ่อปุ ทำนของกำรท่องเทีย่ ว และ 3) สร้ ำ งพื้ น ที่ ท ่ อ งเที่ ย วปิ ด ล้ อ มทำงด้ ำ นสำธำรณสุ ข พร้ อ มไปกั บ กำรท่องเทีย่ ว เพือ่ สร้ำงควำมมัน่ ใจให้กบั ทัง้ ผูอ้ ยูอ่ ำศัยและนักท่องเทีย่ ว ทีต่ อ้ งกลำยมำเป็นพลเมืองในระยะสัน้ และน�ำมำซึง่ พลเมืองทีม่ คี ณ ุ ภำพ ในระยะยำวต่อไป
GreenNetwork4.0 July-August
2020
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นิรมล เสรีสกุล ผูอ้ า� นวยการ ศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง (UddC-CEUS) กล่ำวว่ำ วิกฤต COVID-19 สะท้อนให้เห็นจุดอ่อนและควำมเปรำะบำง ของอุ ต สำหกรรมกำรท่ อ งเที่ ย วของประเทศทั้ ง ระบบ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งประเทศไทยที่ต้องพึ่งพำกำรท่องเที่ยว ในระดับสูง (Hyper Tourism Dependency) โดยเฉพำะ เมืองภูเก็ต ซึ่งในแต่ละปีสำมำรถสร้ำงรำยได้จำกกำร ท่องเที่ยวให้กับประเทศได้มหำศำล มีผลิตภัณฑ์มวลรวม จังหวัดประมำณ 450,000 ล้ำนบำทต่อปี โดยร้อยละ 49 ผศ. ดร.นิรมล เสรีสกุล มำจำกภำคท่องเที่ยวและบริกำร แต่ทว่ำทันทีที่ภำครัฐ ผู้อ�ำนวยกำรศูนย์ออกแบบ และพัฒนำเมือง (UddC-CEUS) ก� ำ หนดมำตรกำรเข้ ม ป้ อ งกั น กำรแพร่ ร ะบำดของเชื้ อ COVID-19 ส่งผลให้ภำคกำรท่องเที่ยวเกิดภำวะชะงักงัน จึงเป็นทีม่ ำของยุทธศำสตร์ฟน้ื ฟูเมืองท่องเทีย่ วอย่ำงยัง่ ยืน มีเป้ำหมำยเพือ่ ให้ภเู ก็ตและเมืองท่องเทีย่ วอืน่ ๆ กลับมำเป็น เป้ำหมำยกำรเดินทำงที่นักท่องเที่ยวให้ควำมเชื่อมั่น และ สำมำรถขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศได้ต่อไป
“มาตรการที่จะช่วยฟื้นฟูพื้นที่เมืองหลวงของการ ท่องเทีย่ วอย่างภูเก็ตนัน้ เป็นเรือ่ งทีท่ กุ ภาคส่วนต้องร่วมกัน เสนอแนะและด�าเนินการอย่างเร่งด่วนแข่งกับเวลา เนือ่ งด้วย มีธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวจ�านวนไม่น้อยเลย ทีเ่ ป็นต้นทางของการจ้างงาน ซึง่ ต่างมีขอ้ จ�ากัดเรือ่ งสายป่าน ของทุนที่ใช้ในการหล่อเลี้ยงและฟื้นตัว อันเป็นเหตุให้ต้อง เร่งวางยุทธศาสตร์และวางแผนด�าเนินการฟื้นตัวพร้อมกับ การเยียวยาตัง้ แต่วนั นี้ ก่อนทีส่ ายป่านจะหมดแล้วเกิดวิกฤต เศรษฐกิจซ�า้ อีกระลอกจนฟืน้ ตัวได้ยากกว่าเดิม” ผูอ้ า� นวยการ UddC-CEUS กล่ำว 14
GreenNetwork4.0 July-August
2020
เพื่อให้ยุทธศำสตร์ 3 ประกำรสัมฤทธิผล เมืองท่องเที่ยวจ�ำเป็น ต้องด�ำเนินมำตรกำรอย่ำงเป็นระบบใน 8 ขัน้ ตอน ตัง้ แต่พนื้ ทีต่ น้ ทำงถึง พืน้ ทีใ่ ห้บริกำร ดังนี้ 1) ประเทศต้นทำงและปลำยทำงประสำนควำมร่วมมือ คัดกรองเฉพำะผู้เดินทำงปลอดเชื้อ 2) ส่งเสริมแพลตฟอร์มออนไลน์ แจ้งข่ำวสำรและบริกำรส�ำคัญในเมืองท่องเที่ยว 3) วำงมำตรกำรเข้ม ทีส่ นำมบินนำนำชำติ ประตูแรกสูเ่ มืองท่องเทีย่ ว 4) ประสำนผูป้ ระกอบกำร จัดสรรโรงแรมใกล้สนำมบินเป็นพื้นที่กักตัวคุณภำพ 5) พัฒนำคุณภำพ โครงข่ำยกำรสัญจรในเมือง พร้อมก�ำหนดมำตรกำรป้องกันกำรแพร่เชือ้ 6) ทีพ่ กั ปลอดภัยตำมมำตรฐำนสำกล ถูกหลักเกณฑ์ดำ้ นวิศวกรรม และ กำรให้บริกำรพืน้ ฐำน 7) สร้ำงเครือข่ำยกำรท่องเทีย่ วโดยผูป้ ระกอบกำร ท้องถิน่ เชือ่ มโยงรัฐและเอกชน และ 8) มีจดุ บริกำรสำธำรณะระดับท้องถิน่ ในรัศมี 2.5 กิโลเมตร และโรงพยำบำลขนำดใหญ่ในรัศมี 5 กิโลเมตร พร้อมโครงข่ำยกำรสัญจรที่เข้ำถึงได้สะดวกในยำมฉุกเฉิน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิรมล กล่ำวว่ำ ส�ำหรับรูปแบบกำร ท่องเทีย่ วหลังวิกฤต COVID-19 มีแนวโน้มไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป หรือ อำจต้องใช้เวลำปรับตัวยำวนำนร่วม 2-3 ปี ซึ่งขณะนั้นควำมต้องกำร ของนักท่องเทีย่ วจะเปลีย่ นไป ทัง้ ในเชิงประสบกำรณ์และควำมต้องกำร
ส่วนบุคคล เช่น ให้ควำมส�ำคัญด้ำนควำมปลอดภัยและควำมสะอำด มำกขึ้ น เป็ น ทวี คู ณ แต่ สิ่ ง ส� ำ คั ญ คื อ ภำคกำรท่ อ งเที่ ย วจ� ำ เป็ น ต้ อ ง ถอดบทเรียนเพื่อเตรียมรับมือกับควำมไม่แน่นอน ดังนั้นโจทย์ส�ำคัญ ของกำรบริหำรจัดกำรด้ำนกำรท่องเที่ยวควบคู่ไปกับกำรออกแบบหรือ ข้อเสนอเชิงยุทธศำสตร์ คือกำรเตรียมควำมพร้อมให้เกิดภำวะล้มลุก อย่ำงมีเสถียรภำพ “ยุทธศาสตร์สา� คัญของความล้มลุกคือ ต้องมียาส�ารองในกระเป๋า อยูเ่ สมอเพือ่ เยียวยาและรับมือกับสิง่ ทีไ่ ม่คาดคิดทีเ่ กิดขึน้ และต้องท�าให้ ทันท่วงที ส�าหรับภูเก็ตเอง ในฐานะมหานครด้านการท่องเทีย่ วทางภาคใต้ ของประเทศไทย หรืออาจเรียกได้วา่ เป็นมหานครการท่องเทีย่ วแห่งภูมภิ าค เลยก็ว่าได้ คงหนีไม่พ้นกับโจทย์ด้านความสามารถในการล้มลุก รวมถึง การตอบสนองต่อสภาวะแวดล้อมภายนอกอย่างรวดเร็วและฉับพลัน เพื่อให้สามารถยังคงใช้ศักยภาพและจุดแข็งด้านการเป็นศูนย์กลาง ของการท่องเที่ยวที่ตอบโจทย์ ความต้องการที่หลากหลายทั้งในปัจจุบัน และอนาคตหลังการเปิดเมือง เพราะนี่คือโอกาสของการปรับเปลี่ยน เพือ่ ความอยูร่ อด และก้าวกระโดดต่อไปอย่างมีเสถียรภาพ” ผูอ้ า� นวยการ UddC-CEUS กล่ำว
สิ่งส�ำคัญคือภำคกำรท่องเที่ยวจ�ำเป็น ต้องถอดบทเรียนเพื่อเตรียมรับมือกับควำม ไม่แน่นอน ดังนั้นโจทย์ส�ำคัญของกำรบริหำร จัดกำรด้ำ นกำรท่องเที่ยวควบคู่ไ ปกั บ กำร ออกแบบหรือข้อเสนอเชิงยุทธศำสตร์ คือ กำรเตรียมควำมพร้อมให้เกิดภำวะล้มลุกอย่ำงมี เสถียรภำพ 15
GreenNetwork4.0 July-August
2020
Report กองบรรณาธิการ
ทิศทางการใช้พลาสติก ในบรรจุภัณฑ์จะลดลง
เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค - เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) โดยโครงการพัฒนา เครือข่ายภาคอุตสาหกรรม เรื่อง ความปลอดภัยนาโนเทคโนโลยี จัดสัมมนาในหัวข้อ “ทิศทางการใช้พลาสติกในบรรจุภณ ั ฑ์” เพือ่ สร้าง ความรู้ให้แก่ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมและประชาชนทั่วไป ได้มคี วามรู้ ความเข้าใจทีถ่ กู ต้องในเรือ่ งการใช้พลาสติกบรรจุภณ ั ฑ์ท่ี ในอนาคตจะมีทศิ ทางการใช้ลดลง แล้วหันไปใช้วสั ดุทดแทนพลาสติก ทีใ่ ช้นาโนเทคโนโลยีมาร่วมในกระบวนการผลิตตัง้ แต่ตน้ น�า้ กลางน�า้ และปลายน�้ามากขึ้น เพื่อความปลอดภัยในการน�าไปใช้บรรจุอาหาร และผลิตภัณฑ์ต่างๆ ขณะเดียวกันก็ช่วยรักษาคุณภาพ คงความสด ความปลอดภัย และคุณค่าทางโภชนาการไว้ได้ตลอดเส้นทางการขนส่ง และมีอายุอยู่บนชั้นวางได้นานที่สุด ที่ส�าคัญเป็นการเปิดโอกาสให้ ผูบ้ ริโภคและผูป้ ระกอบการได้ใช้ผลิตภัณฑ์นาโนเทคโนโลยีทเี่ ป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และสุขภาพอนามัยของผู้บริโภค 16
น�าเทคโนโลยีการผลิตบรรจุภัณฑ์ขั้นสูงมาใช้ เพื่อสิ่งแวดล้อม สังคม สุขภาพอนามัย
รศ. พล.ต. ดร.ชัยณรงค์ เชิดชู ประธานคณะท�างานโครงการ พัฒนาเครือข่ายภาคอุตสาหกรรม เรือ่ ง ความปลอดภัยนาโนเทคโนโลยี กล่าวว่า การจัดสัมมนาในครั้งนี้เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากร เพื่อสร้างความรู้ให้กับผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง มีความตระหนัก ในการใช้บรรจุภัณฑ์ที่ถูกต้อง โดยเฉพาะการน�าเทคโนโลยีการผลิต บรรจุภณ ั ฑ์ทเี่ ป็นเทคโนโลยีขนั้ สูงในอนาคตมาใช้ เช่น 3D Printing, Robotics และ Machine Learning เพื่อลดค่าใช้จ่าย สร้างความ สามารถและประสิทธิภาพในการท�างาน เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้ ผู้บริโภคและผู้ประกอบการได้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สังคม สุขภาพอนามัยของผู้บริโภคร่วมกัน เนื่องจากปัจจุบันการน�า เทคโนโลยีมาใช้ได้คา� นึงถึงสิง่ แวดล้อม ไม่กอ่ ให้เกิดสารตกค้างในอาหาร เครือ่ งดืม่ และบรรจุภณ ั ฑ์ตา่ งๆ มากขึน้ ดังนัน้ ผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ
GreenNetwork4.0 July-August
2020
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมพลาสติกควรตระหนัก เตรียมความพร้อมทั้ง ด้านความรู้และความเข้าใจในเรื่องนาโนเทคโนโลยีในการผลิตพลาสติก และ มองหาเทคโนโลยีที่จะเข้ามาช่วยในกระบวนการผลิตในการท�าธุรกิจที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
ทิศทางการใช้พลาสติกในบรรจุภัณฑ์ในอนาคต มีแนวโน้มลดลง
ดร.วรรณี ฉินศิรกิ ลุ ผูอ้ า� นวยการศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า จากกระแสการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ ทัว่ โลก ท�าให้การใช้บรรจุภณ ั ฑ์ทผี่ ลิต จากพลาสติกมีแนวโน้มทีล่ ดลง แต่พลาสติกก็ยงั เป็นวัสดุสา� คัญส�าหรับบรรจุภณ ั ฑ์ ซึ่งปัจจุบันมีการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านนาโนเทคโนโลยี ที่ช่วยให้ พลาสติกส�าหรับบรรจุภณ ั ฑ์มคี ณ ุ ภาพและประสิทธิภาพในการยืดอายุอาหารและ ผลิตภัณฑ์ดีขึ้น มีความปลอดภัยมากขึ้น และสามารถย่อยสลายตามธรรมชาติ ได้ง่ายขึ้น ท�าให้ทิศทางการใช้พลาสติกส�าหรับบรรจุภัณฑ์ยังมีโอกาสเติบโตได้ ในเชิงพาณิชย์ ปัจจุบันการใช้พลาสติกยังมีอยู่ในแทบทุกธุรกิจ อุตสาหกรรม โดยเฉพาะใน 4 อุตสาหกรรม ได้แก่ 1. เกษตร และอาหาร 2. สุขภาพ 3. พลังงาน และ 4. การท่องเทีย่ ว จึงเป็นโจทย์ใหญ่ที่ภาครัฐบาลที่ดูแลมาตรฐานการใช้ และออกกฎหมายควบคุมต้องเข้มงวดมากขึ้น เพื่อความ ปลอดภัยของผู้บริโภค อีกทั้งยังไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อมและ ก่อให้เกิดความยัง่ ยืนตามคุณสมบัตหิ ลัก 3R ประกอบด้วย Reduce ลดการใช้ คิดก่อนใช้ Reuse น�ากลับมาใช้ซ�้า ใช้แล้วใช้อกี และ Recycle น�ากลับมาใช้ใหม่ เพือ่ ก่อให้เกิด การจัดการที่เหมาะสม ไม่ก่อให้เกิดขยะพลาสติกที่เป็น มลพิษ แต่การก�าจัดขยะพลาสติกยังเป็นเรือ่ งทีย่ าก ดังนัน้ นาโนเทคจึงได้คิดค้นนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการ จัดการขยะพลาสติก โดยอาศัยงานวิจัยและนักวิจัยที่มี ความเชี่ ย วชาญเข้ า มาร่ ว มคิ ด ค้ น นาโนพลาสติ ก ที่ จ ะ ย่อยสลายง่าย ไม่ก่อให้เกิดมลพิษ ลดสารตกค้างต่างๆ และมองหาวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติกอย่างไรให้คุ้มค่า โดยเฉพาะในเครือข่ายภาคอุตสาหกรรม ซึ่งล้วนแต่เป็น เรือ่ งทีต่ อ้ งใช้เวลาในการปรับเปลีย่ นทัศนคติ และปรับเปลีย่ น การลงทุนให้ไปใช้วัสดุทดแทนพลาสติกที่มีราคาสูงกว่า ในการน�ามาใช้ในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ในอนาคต
เผยปี ’62 ไทยใช้พลาสติกสูงถึง 9 ล้านตัน
ดร.วรรณี ฉินศิริกุล ผู้อ�ำนวยกำรศูนย์นำโนเทคโนโลยีแห่งชำติ (นำโนเทค)
17
ดร.วีระ ขวัญเลิศจิตต์ ผูอ้ า� นวยการสถาบันพลาสติก กล่าวว่า ส�าหรับแนวโน้มในการใช้พลาสติกนั้น มีการเพิ่ม มากขึ้นในทุกๆ ปี เมื่อย้อนกลับไปในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา มี ก ารใช้ เ ม็ ด พลาสติ ก ในประเทศไทยเพื่ อ น� า มาผลิ ต พลาสติกขึ้นรูปในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ สูงถึง 6.2% โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในปี พ.ศ. 2562 มีการใช้พลาสติกเพิม่ ขึน้ 2.5% หรือเพิ่มขึ้นเป็น 9 ล้านตัน แบ่งเป็นการน�าเข้า พลาสติกจากต่างประเทศ 2.5 ล้านตัน ที่เหลือประมาณ 6.5 ล้านตัน ผลิตเองภายในประเทศแล้วส่งออกไปจ�าหน่าย GreenNetwork4.0 July-August
2020
ยังต่างประเทศ เช่น บรรจุภณ ั ฑ์อาหารและเครือ่ งดืม่ สินค้า อิเล็กทรอนิกส์ สินค้าที่ใช้ในด้านการก่อสร้างแพ็กเกจจิ้ง ต่างๆ และเครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นต้น สร้างรายได้กว่า 1.1 ล้านล้านบาท คิดเป็น 7.28% ของ GDP ของประเทศ ซึ่งการผลิตพลาสติกเพื่อขึ้นรูป ส�าหรับน�าไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ ในปัจจุบนั ต้องมีการ พัฒนาพลาสติกให้สอดรับกับมาตรฐานสากลที่ก�าหนด เช่น มาตรฐาน DIN (Deutsches Institut fur Normung) มาตรฐาน JIS (Japanese Industrial Standards) มาตรฐาน ASTM (American Society for Testing and Materials) มาตรฐาน ISO (International Organization for Standardization) เป็นต้น ส�าหรับมาตรฐาน ISO ของพลาสติกในประเทศไทย นัน้ แบ่งย่อยมาตรฐานออกเป็น 3 เรือ่ ง ได้แก่ 1. เกีย่ วกับ เม็ ด พลาสติ ก ส่ ว นใหญ่ อ ยู ่ ใ นกระบวนการผลิ ต 15% 2. วิธีการทดสอบเนื้อพลาสติก 30% เช่น ความแข็งแกร่ง ในเชิงกล ความต้านทานแรงกระแทก เน้นไปในการใช้และ การย่ อ ยสลายรวดเร็ว ที่เ ป็นมิต รกับสิ่งแวดล้อ ม และ 3. Products เกีย่ วกับพลาสติก 55% โดยมีสา� นักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) เข้ามารับรองมาตรฐาน ในทุกๆ กระบวนการผลิตทีจ่ ะเกิดขึน้ เมือ่ ตรวจสอบแล้วว่า ได้มาตรฐานจะได้รับเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (มอก.) รับรองคุณภาพสินค้าและผลิตภัณฑ์ พลาสติกตามเงือ่ นไข ซึง่ มีแนวโน้มในการผลิตพลาสติกทีใ่ ช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ผสมผสานนาโนเทคโนโลยีที่นักวิจัย พั ฒ นาคิ ด ค้ น เข้ า ไปใช้ ใ นกระบวนการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พลาสติกต่างๆ มากขึน้ ตามโจทย์รกั ษ์โลกของทุกประเทศ ที่ท�าธุรกิจพลาสติกต้องปรับเปลี่ยนการใช้งานพลาสติก ในอุตสาหกรรมต่างๆ โดยในประเทศไทยมีการประยุกต์ใช้ นาโนเทคโนโลยีที่คิดค้นได้มาใช้ในการพัฒนาพลาสติก เช่น Polymer Nanocomposite, Nano Coating และ Nanoencapsulation เป็นต้น โดยค�านึงถึงเรื่องราคา ความสะดวกรวดเร็ว และคุณภาพตามมาตรฐานที่ก�าหนด ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ เพือ่ ให้สามารถน�าสินค้าและ ผลิตภัณฑ์พลาสติกของผู้ประกอบการไทยขายได้ในตลาด ทั่วโลก
18
ชี้อนาคตนาโนเทคโนโลยีมีบทบาทต่ออุตสาหกรรมภาคธุรกิจหลากหลายสาขา
ดร.เวฬุรีย์ ทองค�า นักวิชาการอาวุโส ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า ปัจจุบนั แทบทุกอุตสาหกรรมมีการน�าบรรจุภณ ั ฑ์ทใี่ ช้พลาสติกไปใช้งาน ตามการขยายตัวทางธุรกิจมากขึ้น ดังนั้นการคิดค้นนาโนเทคโนโลยีรองรับ การใช้งานจึงต้องมีการพัฒนางานวิจัยที่มีอยู่เดิมและงานวิจัยใหม่ๆ รองรับ เพือ่ สร้างมูลค่าให้กบั ผลิตภัณฑ์ ใช้งานแล้วมีความปลอดภัยอยูเ่ สมอ โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมอาหารทีป่ ระเทศไทยเป็น Hub ทางด้านอาหารในภูมภิ าคอาเซียน จึงจ�าเป็นที่จะต้องมีนวัตกรรมบรรจุภัณฑ์อาหารส่งจ�าหน่ายยังต่างประเทศและ ภายในประเทศไม่ให้ปนเปื้อนสิ่งสกปรกจากภายนอก และป้องกันไม่ให้อาหาร เน่าเสียก่อนที่ผู้บริโภคจะซื้อมารับประทาน ซึ่งการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่สามารถ รักษาสภาพภายในบรรจุภัณฑ์ให้มีการเปลี่ยนแปลงน้อยที่สุด เช่น ซองใส่สาร ดูดความชืน้ ทีบ่ รรจุมาพร้อมกับขนมในกล่อง เป็นอีกวิธหี นึง่ ทีผ่ ผู้ ลิตใช้เพือ่ คงสภาพ ภายในบรรจุภัณฑ์ให้ปราศจากความชื้น แต่วัสดุพลาสติกธรรมดาจะป้องกัน การซึมผ่านของก๊าซได้เพียงระดับหนึง่ เท่านัน้ เนือ่ งจากยังมีขอ้ จ�ากัดอีกหลายอย่าง ที่ต้องมีการวิจัยขจัดปัญหาที่เกิดในกระบวนการผลิตให้หมดไปในอนาคต เพิม่ เติม ซึง่ ปัจจุบนั ได้มกี ารน�ามาใช้งานจริงแล้ว โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหาร และการเกษตรแปรรูป แต่ผู้ผลิตน�านวัตกรรมบรรจุภัณฑ์มาใช้เพียงบางส่วน เพือ่ รักษาคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร ซึง่ จะส่งผลต่อความมัน่ ใจและ พึงพอใจของผู้บริโภคมากขึ้น
ในอนาคต นาโนเทคโนโลยีจะเป็น เทคโนโลยีอเนกประสงค์ที่สามารถ น�าไปประยุกต์ใช้กับอุตสาหกรรมและ ภาคธุรกิจต่างๆ ได้หลากหลายสาขา และมีโอกาสท�าให้เกิดนวัตกรรมสู่ เชิงพาณิชย์สูง สร้างรายได้เข้าประเทศ เพิ่มเติมได้มากขึ้น
GreenNetwork4.0 July-August
ดร.เวฬุรีย์ กล่าว
2020
สวทช. เดินหน้าจัดตั้ง
ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ
(ENTEC)
มุ่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี พลังงานของประเทศ
ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล
ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำน พัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี แห่งชำติ (สวทช.)
ดร.ณรงค์ ศิรเิ ลิศวรกุล ผูอ้ ำ� นวยกำรส�ำนักงำน พัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) กล่าวว่า สวทช. มีแนวคิดจัดตัง้ ศูนย์เทคโนโลยีพลังงาน แห่งชาติ หรือ National Energy Technology Center (ENTEC) ซึ่งอยู่ในแผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับที่ 6.2 (พ.ศ. 2562-พ.ศ. 2566) เพื่อให้เป็นหน่วยงานหลัก ในการสร้ า งความเป็ น เลิ ศ ในการเป็ น ผู ้ น� า ด้ า น เทคโนโลยีพลังงานของประเทศ (Power to Lead) ให้ เกิดการเชือ่ มโยงงานวิจยั และพัฒนาร่วมกับกระทรวง พลังงานและภาคส่วนต่างๆ ในการขับเคลื่อนแผน พลั ง งานไปสู ่ ก ารปฏิ บั ติ และเกิ ด การใช้ ง านจริ ง เพื่อลดการพึ่งพิงเทคโนโลยีจากต่างประเทศ และ ช่วยแก้ปัญหาในอุตสาหกรรมพลังงานของประเทศ โดยได้เริ่มด�าเนินการศึกษาเชิงนโยบายการจัดตั้ง ศูนย์ฯ ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2562 และได้หารือกับ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในช่วงเวลาต่อมา ดังนัน้ หากนับ ตั้งแต่การศึกษาในเชิงวิชาการจนได้รับอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรี (ครม.) รวมเป็นระยะเวลาประมาณ 1 ปี 4 เดือน เพือ่ เดินหน้าในเรือ่ งการวิจยั และพัฒนา 19
Report กองบรรณาธิการ
สวทช. พร้อมเดินหน้ำจัดตั้งศูนย์เทคโนโลยี พลังงำนแห่งชำติ (National Energy Technology Center: ENTEC) ตำมแผนกลยุทธ์ สวทช. ฉบับที่ 6.2 (พ.ศ. 2562-พ.ศ. 2566) ภำยหลังได้รับกำรเห็นชอบ อนุมตั จิ ำกคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมือ่ วันที่ 9 มิถนุ ำยน 2563 ให้จัดตั้งศูนย์ดังกล่ำวขึ้นเพื่อให้เป็นหน่วยงำน หลักในกำรสร้ำงควำมเป็นเลิศในกำรเป็นผู้น�ำด้ำน เทคโนโลยีพลังงำนของประเทศ เกิดกำรเชือ่ มโยงงำน วิจยั และพัฒนำของกระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิ จัยและนวั ตกรรม กระทรวงพลั ง งำน กระทรวง อุตสำหกรรม และหน่วยงำนทีม่ บี ทบำทเกีย่ วข้องต่ำงๆ เพื่อขับเคลื่อนแผนพลังงำนไปสู่กำรปฏิบัติ พร้อม เกิดฐำนองค์ควำมรูท้ บี่ รู ณำกำรร่วมกันมำกขึน้ เพือ่ น�ำ ประเทศสู ่ อิ ส รภำพทำงด้ ำ นเทคโนโลยี พร้ อ มทั้ ง ยกตัวอย่ำงถึงพลังงำนชีวมวล มีศกั ยภำพในกำรพัฒนำ เป็นพลังงำนเพือ่ ใช้ภำยในประเทศและส่งออก รวมถึง จะมุ่งพัฒนำเทคโนโลยีพลังงำนด้ำนอื่นๆ
พร้อมบูรณาการเชื่อมโยงเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องใน ทุกภาคส่วนเข้ามา เพื่อความมั่นคงทางพลังงานของ ประเทศ “การพัฒนาประเทศจ�าเป็นต้องใช้ทรัพยากร หลายประเภท หนึ่งในทรัพยากรที่ส�าคัญคือเรื่อง พลังงาน ในสมัยก่อน อุตสาหกรรมธุรกิจการท่องเทีย่ ว และการเกษตร มีเรือ่ งพลังงานเข้ามาเกีย่ วข้องจ�านวน มาก ความมัน่ คงทางพลังงานเป็นเรือ่ งจ�าเป็น ทีผ่ า่ นมา ประเทศไทยน�าเข้าพลังงานประมาณ 70% และส่งออก พลังงานชีวมวล (Biomass Energy) ไปจ�านวนมาก สิ่งเหล่านี้ถือเป็นโอกาสส�าหรับประเทศไทย เพราะ เรามีชีวมวลจ�านวนมาก ตั้งแต่ปศุสัตว์ การท�าก๊าซ ชีวภาพ (Biogas) หรือแม้กระทัง่ ในภาคเกษตรกรรม ที่ ส ามารถน� า ส่ ว นหนึ่ ง ของชี ว มวลเหล่ า นี้ ม าใช้ ใ น เรื่องของพลังงานได้ รวมถึงต้องให้ความส�าคัญกับ กระบวนการรวบรวมแหล่ ง ของพลั ง งานชี ว มวล ในด้านเชิงนโยบายและโลจิสติกส์ เพราะเรามีพื้นที่ ที่เกี่ยวข้องจ�านวนมาก” ดร.ณรงค์ กล่าว
GreenNetwork4.0 July-August
2020
นอกจากนี้ เทคโนโลยีทางด้านพลังงาน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ ซึง่ การผลิตในประเทศทีผ่ า่ นมา ยั ง ไม่ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งจริ ง จั ง สิ่ ง ที่ ต ้ อ งท� า ต่ อ คื อ เทคโนโลยี ที่ ไ ปข้ า งหน้ า มี ม ากกว่ า เทคโนโลยี ใ น ปัจจุบันหรือไม่ ถ้ามี เราจะสามารถน�าอุตสาหกรรม โซลาร์เซลล์ (Solar Cell) ได้ในอนาคต เนือ่ งจากเรา มีหลายเทคโนโลยีท่ีอยู่ระหว่างการศึกษาวิจัย หรือ แม้กระทัง่ เทคโนโลยีทเี่ กีย่ วข้องกับการสังเคราะห์แสง เพราะในความจริงพลังงานชีวมวลเกิดขึ้นจากการใช้ น�้า แสงแดด คลอโรฟิล (Chlorophyll) ในการผลิต เป็นต้น เราอาจสามารถสร้างแหล่งพลังงานใหม่ใน อนาคตในเชิงขัน้ สูงระดับ Technology Globalization เพื่อให้ประเทศไทยเรามีอิสรภาพทางด้านเทคโนโลยี ซึ่งเหมาะสมและเฉพาะเจาะจงกับพลังงานชีวมวล ที่อยู่ในบ้านเราด้วย ดร.ณรงค์ กล่าวว่า เมื่อพูดถึงพลังงาน จะมี เรื่องระบบการกักเก็บพลังงาน (Energy Storage) เช่น แบตเตอรี่ ยานยนต์ไฟฟ้า โทรศัพท์มือถือ หรือ อุปกรณ์ทตี่ อ้ งเคลือ่ นที่ ซึง่ วัตถุดบิ ในการผลิตทีเ่ รียกว่า แร่หายาก (Rare Earth) และต้องน�าเข้า ขณะที่ บ้านเรามีแร่จา� นวนหนึง่ ทีอ่ ยูใ่ นประเทศไทยหรือทีเ่ ห็น จากในสมัยโบราณ มีการใช้สังกะสีเป็นจ�านวนมาก น�ามาท�าภาชนะ หลังคา เป็นต้น สังกะสีถอื เป็นส่วนหนึง่ ของวัตถุดิบในการผลิตเป็นแบตเตอรี่ได้ การวิจัย ทีผ่ า่ นมา สวทช. ได้รว่ มกับจุฬาฯ พัฒนาให้แบตเตอรี่ ดังกล่าวมีความเสถียรและต้องไม่ระเบิด เป็นการสร้าง เสถียรภาพ ในยามทีเ่ กิดปัญหาเราสามารถทีจ่ ะผลิต
แบตเตอรีช่ ดเชยในประเทศได้ ฉะนัน้ การศึกษาวิจยั ใน เรือ่ งนีจ้ งึ เป็นเรือ่ งส�าคัญ และสิง่ เหล่านีเ้ มือ่ ผลิตแล้ว ต้องมีการบริหารจัดการ ในตัวแบตเตอรีท่ เี่ ห็นเป็นก้อน ภายในจะมีแบตเตอรีก่ อ้ นเล็ก เรียกว่าแบตเตอรีเ่ ซลล์ (Battery Cell) เมือ่ น�าแบตเตอรีเ่ ซลล์มาเกาะรวมกัน จะเรียกว่าแบตเตอรีแ่ พ็ค (Battery Pack) ทีเ่ ป็นก้อน ทีเ่ ราพบเห็นพวกนีเ้ ป็นก้อนขนาดเล็ก เมือ่ มีการเสือ่ ม ต้องมีการบริหารจัดการ มีซอฟต์แวร์ในตัวเองว่าจะ ชาร์จ (Charge) ไปทีเ่ ซลล์ใด ปล่อยจากเซลล์ใดเพือ่ ยืดอายุการใช้งานของเซลล์ เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด ฉะนั้นการจัดตั้งศูนย์ ENTEC จึงเป็นเรื่องที่ ต้องลุกขึน้ มาท�าอย่างจริงจัง เพราะเรือ่ งความมัน่ คง ทางด้านพลังงานจะเป็นโจทย์ท้าทายในอนาคต ด้าน ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล ผู้อ�ำนวยกำร ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชำติ (เอ็มเทค) สวทช. ในฐานะผูบ้ ริหารทีด่ แู ลการจัดตัง้ ศูนย์ ENTEC ในเบื้องต้น กล่าวว่า ส�าหรับการวางเป้าหมายของ ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ จะเป็นไปตามหลักคิด ของ สวทช. สิง่ ทีเ่ ราลงทุนสร้างขีดความสามารถทาง เทคโนโลยีตา่ งๆ ผ่านการวิจยั และพัฒนา จะเกิดผลงาน วิจัยที่จะสร้างผลกระทบในทางเศรษฐกิจและสังคม มูลค่า 4-5 เท่าขึน้ มา เช่น ถ้ามองถึงเทคโนโลยีในเรือ่ ง ของพลังงานชีวมวล ต่อไปเราจะต้องมีความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับบ้านเราในการ แปลงวัตถุดิบที่มีศักยภาพมาเป็นพลังงานหมุนเวียน ในรายละเอี ย ดจะมี ก ารหารื อ ให้ ส อดรั บ กั บ แผน นโยบายของประเทศ ซึ่งกระทรวงพลังงานดูแลอยู่ รวมถึงในเรือ่ งอืน่ ๆ เช่น สัดส่วนของพลังงานหมุนเวียน ควรจะใช้ประมาณร้อยละเท่าใด จะมีแนวทางเพิ่ม มูลค่าของผลผลิตทางการเกษตร เป็นการสร้าง เทคโนโลยี สร้างอุตสาหกรรม สร้างกิจการสร้างงาน รองรับขึ้นมาอย่างไร ตลอดจนทางด้านเทคโนโลยี การกับเก็บพลังงาน จะมีการพัฒนาระบบกักเก็บ พลังงานที่เหมาะกับการใช้ในประเทศเขตเมืองร้อน เพือ่ ให้เรามีเทคโนโลยีทมี่ คี วามเหมาะสมกับลักษณะ อากาศที่ร้อนชื้นสูง ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึน้ ส่วนไหนทีอ่ าจใช้วตั ถุดบิ ในประเทศหรือภูมภิ าค เข้ามาเป็นวัสดุประกอบได้ ก็จะเป็นโอกาสในการเพิม่ มูลค่าให้สิ่งที่เป็นวัตถุดิบต้นทางเหล่านั้น ข้อส�าคัญ ในอนาคตคือ ความมัน่ คงทางพลังงาน หากเกิดกรณี ทีม่ ปี ญ ั หาขึน้ ความสามารถในการฟืน้ ตัวและสามารถ ผลิตพลังงานขึ้นมาใช้เองในภาวะวิกฤตต่างๆ ตรงนี้ จะเป็นหัวใจในการรักษากิจกรรมทางเศรษฐกิจใน ทุกภาคส่วนให้เดินหน้าต่อไปได้ ตัวอย่ำงเทคโนโลยีระบบกำรกักเก็บพลังงำน (Energy Storage) เช่น แบตเตอรี่
20
GreenNetwork4.0 July-August
2020
ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล
ผู้อ�ำนวยกำรศูนย์เทคโนโลยีโลหะ และวัสดุแห่งชำติ (เอ็มเทค)
“ศูนย์เทคโนโลยีพลังงาน แห่งชาติทจี่ ะจัดตัง้ ขึน้ ในเบือ้ งต้น เอ็มเทคจะช่วยดูแลในระยะแรก และจะรวบรวมบุ ค ลากรวิ จั ย สวทช. ที่ท�างานด้านพลังงาน มาท�างานร่วมกัน จะมีการสร้าง เครื อ ข่ า ยการวิ จั ย และพั ฒ นา ทัง้ ในและต่างประเทศ ภาพรวม ทีจ่ ะเกิดขึน้ คือ ประเทศไทยจะมี ศูนย์แห่งชาติทางด้านเทคโนโลยี พลังงาน ที่เป็นแกนหลักในการ บู ร ณาการงานของภายใต้ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร อุ ด ม ศึ ก ษ า วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม กระทรวงพลังงาน กระทรวง อุตสาหกรรม และหน่วยงานทีม่ ี บทบาทเกี่ยวข้องต่างๆ ในการ ท�างานทีจ่ ะติดต่อกับต่างประเทศก็ดี และท�างานกับภาคอุตสาหกรรม ก็ดี จุดนีจ้ ะเกิความชัดเจนขึน้ และ ลักษณะส�าคัญของการเป็นศูนย์ฯ คือมีองค์ความรู้ในหลากหลาย สาขาวิชา ทัง้ วิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน เคมี ฟิสิกส์ วิศวกรรมไฟฟ้า วัสดุศาสตร์ และด้านต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องในการท�างาน ซึ่งฐาน ความรู้ในแต่ละศาสตร์จะมีการ เชือ่ มโยงเพือ่ ให้เกิดการบูรณาการ กันมากขึ้น” ดร.จุลเทพ กล่าว
BCG กองบรรณาธิการ
นายกฯ หนุน BCG
ผนึกทุกภาคส่วน ขับเคลื่อนประเทศไทย ด้านเอกชนจับมือรัฐลงขัน เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจ
4.4 ล้านล้านบาท กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย ส�านักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สป.อว.) ส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ส�านักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) และส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดการประชุมสมัชชา “BCG : โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” เพื่อแสดง ให้เห็นถึงโอกาสและศักยภาพของประเทศไทยในการพัฒนาประเทศในทุกๆ ด้าน จากการใช้โมเดลเศรษฐกิจ BCG และร่วมกันก�าหนดเป้าหมายการพัฒนา รวมถึง ผลิตภัณฑ์เป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องการให้เกิดการขับเคลื่อน เช่น ปรับแก้กฎหมาย ลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐาน สร้างตลาด มาตรการทางการเงิน การเร่งรัดความสามารถ ด้านการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยี การกระจายความรู้และเทคโนโลยีไปสู่ภาคส่วน ต่างๆ ผลักดันเศรษฐกิจ 4.4 ล้านล้านบาท ณ อิมแพ็คฟอรัม่ ห้องแกรนด์ ไดมอนด์ บอลรูม ศูนย์การแสดงสินค้าอิมแพ็ค เมืองทองธานี 21
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ประธานในพิธี
นอกจากนี้ยังมีพิธีลงนามความร่วมมือ “โครงการ ขับเคลือ่ นการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และ เศรษฐกิจสีเขียว (BCG โมเดล) สร้างความมัน่ คง มัง่ คัง่ และ ยัง่ ยืน จากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถาบันการเงิน จ�านวน 18 หน่วยงาน” ซึง่ จะช่วยสนับสนุนการลงทุนให้เกิดผลกระทบ ไม่นอ้ ยกว่า 40,000 ล้านบาท และมีผไู้ ด้รบั ผลประโยชน์ไม่นอ้ ย กว่า 50,000 คน ภายในงานได้รบั เกียรติจาก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธเี ปิดงาน และแสดงปาฐกถา เรือ่ ง “BCG : โมเดลเศรษฐกิจสูก่ ารพัฒนาทีย่ งั่ ยืน” พร้อมด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) และผู้บริหารจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมงาน
GreenNetwork4.0 July-August
2020
พิธีลงนาม ความร่วมมือ “โครงการขับเคลื่อน การพัฒนาเศรษฐกิจ ชีวภาพ เศรษฐกิจ หมุนเวียน และ เศรษฐกิจสีเขียว (BCG โมเดล) จากหน่วยงาน ภาครัฐ เอกชน และสถาบัน การเงิน จ�านวน 18 หน่วยงาน”
ตามที่ รั ฐ บาลประกาศนโยบายที่ จ ะเร่ ง รั ด พั ฒ นาประเทศ ด้วยการใช้โมเดลทางเศรษฐกิจใหม่ทเี่ รียกว่า “BCG” ซึง่ เป็นการพัฒนา 3 เศรษฐกิจ คือ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) และเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ไปพร้อมๆ กัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนของ ประเทศ โดยตั้งเป้าหมายให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรมในระยะเวลา 5 ปี ประกอบด้วย 1) สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่ง BCG มีมูลค่า ทางเศรษฐกิจรวมกันกว่า 3.4 ล้านล้านบาท (ก่อนการระบาดของโรค โควิด-19) ซึง่ หากมีนโยบายและการบริหารจัดการทีเ่ หมาะสม ประมาณการ ว่าในอีก 5 ปีขา้ งหน้า กลุม่ อุตสาหกรรมภายใต้โมเดลเศรษฐกิจ BCG นี้ จะมีมูลค่าทางเศรษฐกิจเพิ่มเป็น 4.4 ล้านล้านบาท 2) การสร้างงาน ปัจจุบัน เศรษฐกิจ BCG สร้างการจ้างงานทั้งระบบ 16.5 ล้านคน และ ผลของการเติบโตทางเศรษฐกิจใน 5 ปีขา้ งหน้า คาดว่าจะมีการจ้างงาน ได้กว่า 20 ล้านคน 3) การสร้างการเติบโตเชิงคุณภาพของโมเดล เศรษฐกิจ BCG คือการตอบโจทย์การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน เน้นการพัฒนาโดย ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง กระจายรายได้อย่างเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล�้า ในการเข้าถึงยาและเวชภัณฑ์ ลดการใช้ทรัพยากร ลดปัญหามลพิษและ สิง่ แวดล้อม ลดความเสีย่ งจากโรคระบาดในคน สัตว์ และพืช ลดผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มุ่งเน้นการเติบโตอย่างยั่งยืน
22
ที่ผ่านมา กระทรวง อว. ได้วางรากฐานและด�าเนินการพัฒนา เศรษฐกิจ BCG ภายใต้แนวคิด “อว. สร้างคน สร้างงาน และยกระดับ เศรษฐกิจชุมชนแบบบูรณาการ” ได้แก่ “โครงการ อว. จ้างงาน” ซึ่ง ระยะที่ 1 ได้จา้ งงานแล้ว 10,000 อัตรา ระยะที่ 2 จ้างงานเพิม่ อีก 32,000 อัตรา ส�าหรับปฏิบตั งิ านภายในหน่วยงานของ อว. ทัง้ หน่วยงานวิจยั และ มหาวิทยาลัย นอกจากนีย้ งั เตรียมเพิม่ การจ้างงานบัณฑิต นักศึกษา และ ประชาชนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจาก COVID-19 รวม 300,000 คน เข้าร่วม “โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายต�าบลแบบบูรณาการ” หรือ “โครงการ 1 ต�าบล 1 มหาวิทยาลัย” มีวัตถุประสงค์ในการแก้ไขปัญหา ความยากจนแบบมีเป้าหมายชัดเจน (Targeted Poverty Alleviation) โดยมีมหาวิทยาลัยทั่วประเทศท�าหน้าที่ดูแลพื้นที่ในระดับต�าบลแบบ บูรณาการร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาสังคม เพื่อ น�าองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม โดยเฉพาะด้าน Area Base BCG Economy ลงไปพัฒนาในด้านต่างๆ เช่น Smart Farmer การพัฒนา พืชสมุนไพร การพัฒนาสินค้าและบริการ การพัฒนาการตลาดและ สิง่ อ�านวยความสะดวก การส่งเสริมและพัฒนาฝีมอื แรงงาน การส่งเสริม ให้เกิดการฟื้นฟูและพัฒนาท้องถิ่น การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน ซึ่ง เป็นการผลักดันนโยบายเศรษฐกิจ BCG ลงสู่พื้นที่ให้เกิดการปฏิบัติจริง เพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยจากเศรษฐกิจฐานรากสู่ความยั่งยืนอย่าง
GreenNetwork4.0 July-August
2020
แท้จริง โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง การจัดประชุมสมัชชา BCG ในครัง้ นี้ ได้รบั การตอบรับเป็นจ�านวน มากจากภาคเอกชน ผู้น�าชุมชน นักวิชาการ/นักวิจัย และผู้แทนจาก ภาครัฐ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจ�านวน 1,300 คน ทั้งจากที่ประชุมและ ผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ ในการประชุมแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ภาคเช้า ประกอบด้วย พิธีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือโครงการ ขับเคลือ่ นการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจ สีเขียว (BCG โมเดล) สร้างความมัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน โดยมีหน่วยงาน ภาครัฐ เอกชน และสถาบันการเงิน ร่วมลงนามรวม 18 หน่วยงาน มีมลู ค่าการลงทุนของภาคเอกชนในระยะแรก 10,000 ล้านบาท ก่อให้เกิด ผลกระทบไม่นอ้ ยกว่า 40,000 ล้านบาท และมีผไู้ ด้รบั ผลประโยชน์ไม่นอ้ ยกว่า 50,000 คน และปาฐกถาพิเศษ “BCG : โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนา ที่ยั่งยืน” โดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พร้อมกันนี้ยังมีการน�าเสนอมุมมองต่อการน�า BCG Economy โมเดล มาเป็นเครื่องมือในการสร้างโอกาสเพื่อพลิกฟื้นเศรษฐกิจไทย ให้ก้าวเดินต่อไปได้ด้วยการอาศัยจุดแข็งของประเทศ พร้อมกับการ ด�าเนินการวิถีใหม่ด้วยการ Reinventing ประเทศไทยในด้านต่างๆ โดย ผูท้ รงคุณวุฒจิ า� นวน 9 ท่าน ซึง่ ได้ให้ขอ้ เสนอแนะว่า ประเทศไทยมีโอกาส ในการแข่งขันบนเวทีโลกอย่างน้อย 5 เรื่อง คือ 1. Hygienic Kitchen
of the World เป็นแหล่งผลิตอาหารของโลกที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ความปลอดภัย และความสะอาด เพื่อน�าไปสู่ความมั่นคงด้านอาหาร โภชนาการระดับประเทศและโลกในทุกสถานการณ์ 2. High Value-Added Products from Innovation and Creativity สร้างความมัง่ คัง่ จากการ เพิม่ มูลค่าภาคการผลิตและบริการด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ 3. Healthy People สร้างความสามารถในการพึง่ พาตนเองด้านสุขภาพ และการแพทย์ 4. Happy Destination การท่องเทีย่ วทีเ่ น้นความปลอดภัย รูปแบบใหม่ ยั่งยืน กระจายรายได้สู่ชุมชน 5. Harmonious and Sustainable Society การพัฒนาทีส่ มดุลและการประยุกต์ใช้หลักการของ เศรษฐกิจหมุนเวียน ส่วนภาคบ่าย จะเป็นการระดมความเห็นของผู้เข้าร่วมประชุม โดยแบ่งออกเป็น 8 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มเกษตร 2) กลุ่มอาหาร 3) กลุ ่ ม พลั ง งาน วั ส ดุ แ ละเคมี ชี ว ภาพ 4) กลุ ่ ม เครื่ อ งมื อ แพทย์ 5) กลุ่มยาและวัคซีน 6) กลุ่มท่องเที่ยว 7) กลุ่มเศรษฐกิจหมุนเวียน 8) กลุ่มเศรษฐกิจสร้างสรรค์ นอกจากนี้ยังมีการจัดนิทรรศการแสดงตัวอย่างผลงาน ภายใต้ แนวคิดเศรษฐกิจ BCG จ�านวน 38 บูธ อีกด้วย ซึ่ง BCG โมเดล เศรษฐกิจใหม่จะน�าไปสู่การสร้างงานและโอกาสใหม่ของประเทศ พลิกฟื้นเศรษฐกิจ ผนึกก�าลังทุกภาคส่วน รวมไทยสร้างชาติ
ศูนย์นาโนเทคพัฒนา สเปรย์ระงับเหงื่อลดกลิ่นเท้า สกัดจากกากเมล็ดชาน�้ามัน
23
GreenNetwork4.0 July-August
2020
พัฒนาสเปรย์ลดกลิ่นเท้า จากกากเมล็ดชา
Innovation กองบรรณาธิการ
ยับยั้งเชื้อราเป็นเลิศ สร้างรายได้ให้ชาวบ้านบนพื้นที่สูง จากแนวทางการพัฒนาต่อยอดเพิ่ม มูลค่าเมล็ดชาน�้ามัน เพื่อสร้างรายได้ให้แก่ ประชาชนบนพืน้ ทีส่ งู ทางทีมวิจยั ศูนย์นาโนเทค ซึง่ มี ดร.อุดม อัศวาภิรมย์ ผูอ้ า� นวยการกลุม่ วิจยั การห่อหุ้มระดับนาโน นาโนเทค เป็นหัวหน้า โครงการ ได้มแี นวคิดในการพัฒนากระบวนการ สกัดสารซาโปนิน (Saponin) จากกากเมล็ดชา น�้ามัน และพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มมูลค่า ให้กับกากเมล็ดชา และประยุกต์ใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด งานวิจยั ดังกล่าวเริม่ ต้นในเดือนตุลาคม 2557 โดยเริ่มตั้งแต่การพัฒนากระบวนการ สกั ด สารซาโปนิ น จากกากน�้ า มั น เมล็ ด ชาที่ เหมาะสม เพือ่ ให้ได้สารส�าคัญในปริมาณมาก ทีส่ ดุ การทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดใน การยับยัง้ เชือ้ แบคทีเรียและเชือ้ รา การพัฒนา สูตรต�ารับด้วยนวัตกรรมทางนาโนเทคโนโลยี การทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพในการยั บ ยั้ ง เชื้ อ และการระคายเคืองต่อผิวหนังของสูตรต�ารับ และท�าการผลิตสเปรย์ระงับเหงือ่ ลดกลิน่ เท้า ในระดับอุตสาหกรรม ณ โรงงานต้นแบบผลิต อนุภาคนาโนและเครือ่ งส�าอาง (Nanoparticles and Cosmetics Production Plant) ภายใต้ การด�าเนินงานของศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ ด้วยมาตรฐาน Asean GMP Cosmetic รวมทัง้ การทดสอบความคงตัวเพื่อก�าหนดอายุของ ผลิตภัณฑ์
ดวงพร พลพานิช
หัวหน้าทีมวิจัยนาโนเทคเพื่อคุณภาพชีวิต และเวชส�าอาง กลุ่มวิจัยการห่อหุ้มระดับนาโน
24
ดวงพร พลพานิช หัวหน้าทีมวิจยั นาโนเทคเพือ่ คุณภาพชีวติ และเวชส�าอาง กลุม่ วิจยั การห่อหุม้ ระดับนาโน กล่าวว่า สเปรย์ระงับเหงื่อ ลดกลิ่นเท้า สกัดจากกากเมล็ดชาน�้ามันโดยใช้เทคโนโลยี การกักเก็บเมล็ดชา (Encapsulation) ให้เป็น Shelf ทีห่ อ่ หุม้ ท�าให้ซมึ เข้าผิวได้อย่างรวดเร็ว และ ได้สารที่ออกฤทธิ์ต่อเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา โดยเฉพาะเชื้อรา เหมาะส�าหรับนักกีฬา ส�าหรับผลิตภัณฑ์นี้ทางศูนย์นาโนเทคร่วมกับมูลนิธิชัยพัฒนา ใช้ระยะเวลาในการพัฒนา 2 ปี ซึง่ เป็นการเพิม่ มูลค่ากากเมล็ดชาน�า้ มันจากเดิมมีราคาขายทีก่ โิ ลกรัมละ 10-15 บาท เมือ่ ผ่าน กระบวนการสกัดและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ สามารถสร้างมูลค่าเพิม่ เป็นผลิตภัณฑ์ปลายทางในราคา ขวดละ 200 บาท ดวงพร กล่าวว่า ในส่วนของการทดสอบประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อและการระคายเคือง ต่อผิวหนัง สเปรย์ระงับเหงือ่ สูตรต�ารับได้ผา่ นการทดสอบคุณสมบัตใิ น 4 ส่วนด้วยกันคือ 1. ผ่านการ ทดสอบคุณสมบัตใิ นการยับยัง้ การเจริญเติบโตของเชือ้ แบคทีเรียและเชือ้ รา ซึง่ ตรวจสอบด้วยเทคนิค Disk diffusion method กับเชือ้ Escherichia coli (E. coli), Staphylococcus aureus (S. aureus) และ Micrococcus Spp. และ Trichophyton mentagrophytes (T. mentagrophytes), T. rubrum และ Candida albicans (C. albicans) เป็นตัวแทนของเชือ้ รา 2. ผ่านการทดสอบการระคายเคือง ต่อผิวหนัง (In vivo primary irritation potentials of cosmetic products) ด้วยเทคนิค Single patch test method โดยใช้อาสาสมัครทัง้ หมด 30 คน 3. ผ่านการทดสอบความคงตัวและวิเคราะห์ ลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ เพือ่ ก�าหนดอายุของผลิตภัณฑ์ พบว่า ผลิตภัณฑ์มอี ายุการใช้งาน 24 เดือนนับจากวันผลิต และ 4. ผ่านการทดสอบประสิทธิภาพของสารกันเสียในการยับยัง้ การเจริญ ของจุลินทรีย์ (Antimicrobial effectiveness testing for topically used products) โดยอ้างอิง วิธีการทดสอบจาก USP40 (Chapter 51) ทัง้ นี้ ผลิตภัณฑ์สเปรย์ดงั กล่าวได้มกี ารจดแจ้งกับทางส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) และวางจ�าหน่ายทีร่ า้ นภัทรพัฒน์ ภายใต้แบรนด์ ”MALETCHA เมล็ดชา” เมือ่ ต้นปี พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา ในราคาขวดละ 200 บาท เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกันที่มีหลากหลายยี่ห้อ ซึ่งจะแตกต่างกันในด้านคุณภาพ สนนราคาขายตั้งแต่ขวดละ 60-300 บาท แต่สเปรย์ระงับเหงื่อ ลดกลิน่ เท้า มีคณ ุ สมบัตโิ ดดเด่นในด้านการยับยัง้ เชือ้ รา และได้มกี ารแต่งกลิน่ ให้เย็น (Cool) จึงเหมาะ ส�าหรับนักกีฬา อีกทัง้ ยังช่วยเพิม่ มูลค่ากากน�า้ มันเมล็ดชา ซึง่ เป็นของเสียทีเ่ หลือทิง้ สร้างรายได้ให้ ประชาชนบนพื้นที่สูงอีกทางหนึ่งด้วย GreenNetwork4.0 July-August
2020
Health กองบรรณาธิการ
นายแพทย์อนวัช เสริมสวรรค์ รองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะแพทยศาสตร์ สจล. “แอนตาเวียร์” นวัตกรรมสมุนไพรไทย เสริมภูมิต้าน COVID-19
คณะแพทยศาสตร์ สจล. จับมือเอกชน เปิดตัว
“แอนตาเวียร์” นวัตกรรมสมุนไพรไทย เสริมภูมิต้าน COVID-19 มุ่งยกระดับวงการแพทย์ไทย
นักวิจยั คณะแพทยศาสตร์ สจล. ร่วมกับ บจก.เมดิกรีน เปิดตัว “แอนตาเวียร์” นวัตกรรมสมุนไพรไทยต้าน COVID-19 ด้วยเทคโนโลยี กระบวนการสกัดสมัยใหม่ และเทคโนโลยีห่อหุ้มสารส�าคัญ โดย นวัตกรรมสมุนไพรดังกล่าวจะช่วยเสริมภูมิร่างกาย ต้านการอักเสบ ยับยั้งพายุไซโตไคน์ และลดการขยายตัวของไวรัส ซึ่งจะเป็นอีกหนึ่ง ทางรอดในการป้องกันโรคติดเชือ้ ต่างๆ รวมถึงเชือ้ COVID-19 ทีย่ งั คง แพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง
25
นายแพทย์อนวัช เสริมสวรรค์ รองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) กล่าวว่า เนือ่ งด้วยสถานการณ์โรคอุบตั ใิ หม่ อย่าง COVID-19 ที่ยังคงแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง โดยมี ผูเ้ สียชีวติ สูงถึงร้อยละ 5 หรือมากกว่า 6 แสนคนทัว่ โลก ท�าให้ คณะแพทยศาสตร์ สจล. ตระหนักถึงความส�าคัญในการเตรียมพร้อม รับมือการระบาดของเชือ้ COVID-19 โดยเฉพาะการคิดค้นยาต้าน ไวรัสที่ดีและปลอดภัย ซึ่งมีความจ�าเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากการ แพร่เชื้อง่ายและมีความรุนแรง เป็นที่มาของการศึกษาวิจัย สมุนไพรไทยเพื่อน�ามาใช้ในการรักษาไข้หวัด ล่าสุด สจล. ร่วมกับภาคเอกชน ท�าการศึกษาวิจยั สมุนไพร ต้าน COVID-19 ในชื่อ “แอนตาเวียร์” โดยใช้เทคโนโลยีการ ห่อหุม้ สารส�าคัญจากสมุนไพรเพือ่ ก�าจัดเชือ้ ไวรัส และได้รบั การ รับรองอนุสิทธิบัตรมานานกว่า 3 ปี อีกทั้งเทคโนโลยีดังกล่าว ได้รับการสนับสนุนจากส�านักการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เพื่อสร้าง ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพให้กับคนไทย ซึ่งทางผู้บริหารของ สจล. ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ วช. ไปเป็นทีเ่ รียบร้อย ในปี พ.ศ. 2561 นายแพทย์อนวัช กล่าวว่า โครงการศึกษาวิจยั สมุนไพรไทย ดังกล่าวได้ทดสอบประสิทธิภาพและความปลอดภัยของสมุนไพร ไทย อาทิ ขมิ้น พลูคาว และกระชายขาว มาเป็นเวลานานกว่า 5 ปี จนค้นพบว่าสมุนไพรดังกล่าวสามารถหยุดยัง้ การเติบโตของ เชื้อไวรัสได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการรักษาไข้หวัด โดยเฉพาะไข้หวัดที่มีความรุนแรง เช่น COVID-19
GreenNetwork4.0 July-August
2020
ดร.เกรียงศักดิ์ ขาวเนียม อาจารย์ประจ�าคณะแพทยศาสตร์ สจล.
นอกจากนี้ คณะแพทยศาสตร์ สจล. ยังเตรียมเดินหน้า พัฒนางานวิจัยดังกล่าวเพื่อประยุกต์ใช้กับสมุนไพรไทยตัวอื่นๆ เพื่อเป็นทางเลือกแทนการรักษาด้วยยาน�าเข้าจากต่างประเทศ ทีม่ ผี ลข้างเคียงและราคาแพง ป้องกันการใช้ยาผิดประเภท เช่น การใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจ�าเป็น ซึ่งการขับเคลื่อนงานวิจัยนี้ จะมีสว่ นช่วยลดต้นทุนการน�าเข้ายาจากต่างประเทศในระยะยาว ส่งเสริมการพึง่ พาตนเอง สร้างและผลิตยาส�าหรับโรคติดเชือ้ ไวรัส ได้เองภายในประเทศ โดยใช้องค์ความรู้ บุคลากร และทรัพยากร สมุนไพรที่มีในประเทศไทย เพื่อให้ประเทศไทยสามารถพึ่งพา ตัวเองและสร้างความเข้มแข็งให้กับภาคการเกษตร ด้ า น ดร.เกรี ย งศั ก ดิ์ ขาวเนี ย ม อาจารย์ ป ระจ� า คณะแพทยศาสตร์ สจล. กล่าวเสริมว่า “แอนตาเวียร์” หรือ นวัตกรรมสมุนไพรไทยต้าน COVID-19 ได้รบั การพัฒนาในรูปแบบ ซอฟต์เจลร่วมกับแคปซูลปกติ เพือ่ เพิม่ การดูดซึมของสารออกฤทธิ์ เพิ่มความเสถียรของสารส�าคัญ ไม่ให้ถูกท�าลายโดยออกซิเจน อีกทั้งเป็นสูตรต�ารับที่พัฒนาจากสมุนไพรที่มีงานวิจัยรองรับ ในการยับยัง้ เชือ้ ไวรัสโดยเฉพาะ โดยใช้องค์ความรูด้ า้ นเทคโนโลยี กระบวนการสกัดสมัยใหม่ และเทคโนโลยีห่อหุ้มสารส�าคัญ นวัตกรรมสมุนไพรต้าน COVID-19 มีสว่ นประกอบของ สารสกัดพลูคาว ขมิ้น กระชายขาว ช่วยยับยั้งการแบ่งตัวของ ไวรัส สารสกัดเบต้ากลูแคนจากยีสต์ และสารสกัดเห็ดหลินจือ และถั่งเช่า ช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกัน และสารสกัดขมิ้น กระชายขาว ยังช่วยยับยั้งการเกิดพายุไซโตไคน์ที่เป็นสาเหตุส�าคัญน�าไปสู่ ภาวะการหายใจล้มเหลวอีกด้วย ซึ่งงานวิจัยดังกล่าวได้รับการ พัฒนาขึน้ เพือ่ น�าไปสูก่ ารใช้ประโยชน์ (Translational Research) ซึง่ นอกจากจะใช้สา� หรับเชือ้ COVID-19 แล้ว ทางทีมวิจยั ต้องการ ขยายผลเพื่อใช้กับโรคหวัดอีกด้วย
26
GreenNetwork4.0 July-August
2020
Magazine to Save The World
กกพ. จัดโครงการ “เครือข่ายสื่อมวลชนไทย ใส่ใจทางเลือกใหม่พลังงานไฟฟ้า” เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับชุมชน กิตติพงษ์ ภิญโญตระกูล
ดรุณวรรณ ชาญพิพัฒนชัย โครงการสร้างเครือข่ายสื่อมวลชนไทยใส่ใจทางเลือกใหม่พลังงานไฟฟ้า ได้รับ การสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนพัฒนาไฟฟ้าเพื่อกิจการตามมาตรา 97(5) ประจ�าปี งบประมาณ 2562 ของคณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน (กกพ.) เพื่อจัดตั้งเครือข่าย สื่อมวลชนไทยฯ ซึ่งได้ด�าเนินการมาตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา โดยเครือข่าย สื่อมวลชนไทยใส่ใจทางเลือกใหม่พลังงานไฟฟ้า ที่จะเกิดนับต่อจากนี้ไปจะท�าให้เกิดการ ขยายผลไปสูภ่ าคประชาชนและสังคม ให้เกิดความตระหนักรู้ และมีความรูค้ วามเข้าใจเรือ่ ง พลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์และจากขยะมากยิง่ ขึน้ อีกทัง้ ทางโครงการฯ พร้อมเดินหน้า สร้างการมีส่วนร่วมเรื่องพลังงานสะอาด เนื่องจากความร่วมมือของสื่อมวลชนที่เกิดขึ้น จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการสร้างความมั่นคงทางด้านพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย ในอนาคต กิตติพงษ์ ภิญโญตระกูล รองเลขาธิการ ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน (ส�านักงาน กกพ.) กล่าวว่า โครงการสร้างเครือข่ายสื่อมวลชนไทยใส่ใจทางเลือกใหม่ พลังงานไฟฟ้า เป็นหนึง่ ในโครงการทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนพัฒนาไฟฟ้า เพือ่ กิจการตามมาตรา 97(5) ประจ�าปีงบประมาณ 2562 ซึง่ ส�านักงาน กกพ. ได้เล็งเห็นว่า ในปัจจุบนั บทบาทของสือ่ มวลชนไม่ใช่เฉพาะการสือ่ สารสาธารณะเท่านัน้ แต่จะต้องมีบทบาท ส�าคัญในการเป็น Change Agent หรือผูน้ า� การเปลีย่ นแปลง เพือ่ เป็นต้นแบบในการรณรงค์ และสื่อสารความเข้าใจเรื่องพลังงานที่ถูกต้องสู่สาธารณะ ดรุณวรรณ ชาญพิพัฒนชัย กรรมการผู้จัดการ บริษัท ดิ เอ็กโซลูชั่นส์ จ�ากัด ในฐานะผู้บริหารโครงการสร้างเครือข่ายสื่อมวลชนไทยใส่ใจทางเลือกใหม่พลังงานไฟฟ้า กล่าวว่า เครือข่ายสือ่ มวลชนทีเ่ กิดขึน้ นีม้ าจากตัวแทนสือ่ มวลชนทัว่ ประเทศ ทัง้ สือ่ โทรทัศน์ สื่อวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อออนไลน์ เพื่อเป็นต้นแบบผู้น�าการเปลี่ยนแปลงในการรณรงค์ และสือ่ สารความเข้าใจด้านพลังงานทีถ่ กู ต้องสูส่ าธารณะ โดยมีเป้าหมายทีต่ อ้ งการเห็นผลเป็น รูปธรรม คือ ท�าให้ภาคประชาชนหรือสาธารณชนได้เข้าใจถึงความจ�าเป็นของการมีพลังงาน ทางเลือกอื่นๆ เพื่อน�ามาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า โดยเฉพาะพลังงานจากแสงอาทิตย์และ เชื้อเพลิงขยะ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่เครือข่ายฯ จะมีการก�าหนดแนวทางในการด�าเนินกิจกรรม ร่วมกัน และจะมีการประชุมร่วมกันอีก 3 ครั้ง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและเติมองค์ความรู้ที่ จ�าเป็นและสอดคล้องกับสถานการณ์พลังงานทีอ่ าจมีการเปลีย่ นแปลง เพือ่ น�าไปเผยแพร่ตอ่ เพื่อสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้อง 27
มนูญ ศิริวรรณ มนูญ ศิรวิ รรณ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านพลังงานและ ที่ปรึกษาโครงการสร้างเครือข่ายสื่อมวลชนไทย ใส่ใจทางเลือกใหม่พลังงานไฟฟ้า กล่าวว่า เครือข่าย สื่อมวลชนที่จัดตั้งขึ้นจะต้องเข้ามามีบทบาทในการ ให้ข้อมูลด้านพลังงานทางเลือกที่ถูกต้องแก่ชุมชน และเป็นตัวเชื่อมที่จะท�าให้ชุมชนสามารถเข้ามามี ส่วนร่วมกับนโยบายต่างๆ ของภาครัฐได้มากขึ้น ซึ่งจะท�าให้คนในชุมชนสามารถที่จะร่วมกันผลักดัน ให้เกิดโครงการต่างๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชน ของตัวเองในอนาคต ทั้งนี้บทบาทของสื่อมวลชน ไม่เพียงแต่จะให้ความรู้ความเข้าใจกับคนในชุมชน ในเรื่องพลังงานทางเลือกเท่านั้น แต่ยังรวมถึงเรื่อง พลังงานของประเทศว่าเราอยู่ในฐานะของผู้น�าเข้า พลังงาน จ�าเป็นทีจ่ ะต้องใช้พลังงานให้มปี ระสิทธิภาพ พร้อมๆ กับท�าอย่างไรจะดูแลในเรือ่ งของสิง่ แวดล้อม ซึ่งสื่อมวลชนจะต้องช่วยกันท�าให้เกิดเป็นรูปธรรม ให้ได้
GreenNetwork4.0 July-August
2020
บีซีพีจี เคพเพล จับมือทีมกรุ๊ป รุกธุรกิจ District Cooling System ประเดิมโครงการ Chula Smart City คาดท�ารายได้ 7,500 ล้านบาท
บีซีพีจี เคพเพล ดีเอชซีเอส และทีมกรุ๊ป ผนึกก�าลังคว้างาน ระบบผลิตความเย็นจากส่วนกลาง (District Cooling System) ในโครงการ “เมืองจุฬาฯ อัจฉริยะ” (Chula Smart City) บริเวณพื้นที่เขตพาณิชย์ สวนหลวง-สามย่าน บริหารโดยส�านักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย คาดการณ์ตลอดระยะเวลา 20 ปี มีรายได้รวม 7,500 ล้าน บาท ส�าหรับระบบผลิตความเย็นจากส่วนกลางมีขนาดก�าลังการผลิต ติดตัง้ (Cooling Load) 18,000 ตันความเย็น (Refrigeration Tons : RT) ให้บริการพืน้ ทีโ่ ดยรอบโครงการฯ ครอบคลุมอาคารส�านักงาน ร้านค้าปลีก และทีอ่ ยูอ่ าศัย ซึง่ คาดว่าจะสามารถเริม่ เปิดด�าเนินการในเฟสแรกพร้อม รับรูร้ ายได้ในปี พ.ศ. 2565 และด�าเนินการได้อย่างเต็มรูปแบบในปี พ.ศ. 2570 การพัฒนาพื้นที่เขตพาณิชย์สวนหลวง-สามย่านดังกล่าวถือเป็น โครงการต้นแบบด้านการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ด้วยพลังงานทดแทน และนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการพลังงาน ภายใต้โครงการ “เมืองจุฬาฯ อัจฉริยะ” บัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั บีซพี จี ี จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า ในฐานะผู้น�าธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานสีเขียวในเอเชีย แปซิฟิก การเติบโตของเรานอกจากจะโตจากการเข้าลงทุนโครงการ โรงไฟฟ้าในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ แล้ว เรายังมีแผนขยายธุรกิจสูน่ วัตกรรม ด้าน Smart Energy อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ตอบโจทย์การพัฒนาเมืองรูปแบบ ใหม่ทมี่ แี นวโน้มเพิม่ มากขึน้ ซึง่ เราได้เริม่ พัฒนาด้านนีม้ าตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2561 28
จากความส�าเร็จของโครงการ Peer to Peer Trading โดยใช้เทคโนโลยี บล็อกเชนในโครงการ T77 และโครงการมหาวิทยาลัยอัจฉริยะ (Smart University) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นต้น การร่วมมือกับเคพเพล ดีเอชซีเอส ซึง่ เป็นบริษทั ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ ด้ า นพั ฒ นาและบริ ห ารจั ด การระบบผลิ ต ความเย็ น จากส่ ว นกลาง ที่มีประสบการณ์ยาวนานกว่า 20 ปี จากประเทศสิงคโปร์ และบริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จ�ากัด (มหาชน) หรือ ทีมกรุ๊ป ผู้น�าด้านบริการที่ปรึกษาแบบบูรณาการ ในการน�านวัตกรรม ระบบผลิตความเย็นจากส่วนกลางมาบริหารจัดการการท�าความเย็น แทนการใช้ระบบท�าความเย็นจากเครื่องปรับอากาศแบบเดิม ท�าให้ ประหยัดพลังงานและลดต้นทุนค่าไฟฟ้า รวมถึงลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน ไดออกไซด์สชู่ นั้ บรรยากาศ ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและสร้างคุณภาพ ชีวิตที่ดีให้แก่ชุมชนโดยรอบ เป็นการบริหารจัดการพลังงานตามแนวคิด Smart Energy ของโครงการ “เมืองจุฬาฯ อัจฉริยะ” (Chula Smart City) บัณฑิต กล่าวว่า การบริหารจัดการและด�าเนินการวางระบบผลิต ความเย็นจากส่วนกลางในเขตพื้นที่เขตพาณิชย์สวนหลวง-สามย่าน ภายใต้โครงการ “เมืองจุฬาฯ อัจฉริยะ” ครัง้ นี้ แสดงถึงความมุง่ มัน่ และ แผนการเติบโตที่ชัดเจนของบริษัทฯ ในการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและ นวัตกรรมที่ล�้าสมัย เพื่อแก้ปัญหาและส่งเสริมการใช้พลังงานสีเขียว เพื่อความยั่งยืน
GreenNetwork4.0 July-August
2020
Magazine to Save The World
สวนสุขสันต์ พื้นที่ความสุขสีเขียวแห่งใหม่ย่านอุดมสุข สร้างโอกาสทางธุรกิจ - พัฒนาชีวิตคนเมือง
โครงการวันอุดมสุข คอมมูนิตี้มอลล์ ย่านอุดมสุข ได้เนรมิตพื้นที่ความสุขแห่งใหม่ภายใต้ชื่อ สวนสุขสันต์ เพือ่ ตอบรับไลฟ์สไตล์ของผูค้ นในปัจจุบนั ด้วยการมอบพืน้ ทีใ่ ช้สอยทีม่ ากขึน้ เป็นทีน่ งั่ รอ และเป็นความร่มรืน่ เล็กๆ ให้ได้พกั ผ่อนหย่อนใจ ทัง้ ยังสร้างโอกาสใหม่ๆ ให้ผคู้ า้ ปลีกได้มพี นื้ ทีต่ อ่ ยอด ธุรกิจให้เติบโตต่อไป สวนสุขสันต์ ในโครงการวันอุดมสุข สร้างขึ้นจากแนวคิดเพื่อเพิ่มพื้นที่แห่งความสุขให้กับ คนในชุมชนย่านอุดมสุขและผูท้ ผี่ า่ นไปมา เนือ่ งจากตัวโครงการอยูต่ ดิ ถนนสุขมุ วิทและใกล้สถานีรถไฟฟ้า อุดมสุข สวนสุขสันต์ยงั ท�าให้โครงการมีพนื้ ทีก่ ว้างขวางขึน้ ลดความแออัดและหนาแน่นของผูค้ นภายใน พืน้ ทีโ่ ครงการ เพือ่ ตอบรับกับการด�าเนินชีวติ ตามคอนเซ็ปต์ของความปกติรปู แบบใหม่ (New Normal) ทางโครงการมีนโยบายในเรื่องการลดความแออัดของพื้นที่ เพราะสังคมต้องการพื้นที่ที่กว้างขึ้น ในการใช้ชีวิตแบบ New Normal ซึ่งวันอุดมสุขเป็นโครงการที่มีผู้ผ่านไปมาเป็นจ�านวนมากในแต่ละวัน โครงการจึงมองเห็นถึงความส�าคัญทีต่ อ้ งมีพนื้ ทีส่ ว่ นกลางทีท่ กุ คนสามารถเข้ามาใช้สอยได้ นอกจากจะมี พืน้ ทีน่ งั่ รอในร่มแล้ว ในสวนสุขสันต์ยงั มีการปลูกต้นไม้เป็นพืน้ ทีส่ เี ขียวในเมืองอีกแห่งทีเ่ ปิดให้ผคู้ นเข้ามา
29
GreenNetwork4.0 July-August
2020
พักผ่อนหย่อนใจ เพราะทางโครงการ ต้องการท�าให้วนั อุดมสุขเป็นแลนด์มาร์ก แห่งใหม่ที่ให้ประโยชน์ทั้งผู้คนและผู้เช่า ควบคู่ไปกับการยกระดับคุณภาพชีวิต ของคนในชุมชนย่านอุดมสุขได้อย่างยัง่ ยืน ในการออกแบบสวนสุ ข สั น ต์ ได้ถ่ายทอดแนวความคิดเพื่อสะท้อนถึง ความหลากหลายของผู้คนในชุมชน โดย มี ก ารใช้ เ ส้ น สายที่ มี สี สั น แตกต่ า งกั น และหลั ง คาที่ เ ป็ น วงกลมสะท้ อ นให้ เห็นถึงเส้นทางของผู้คนที่หลากหลาย แต่มาบรรจบรวมกันในสวนสุขสันต์แห่งนี้ ในอนาคตทางโครงการได้ ว างแผน จั ด กิ จ กรรมต่ า งๆ ภายใต้ ค วามปกติ แบบใหม่ไว้มากมาย ถือเป็นการกระชับ ความสัมพันธ์ เพื่อพัฒนาชุมชนย่านนี้ ให้มีความน่าสนใจและมีความเป็นอยู่ ที่ดีขึ้นอีกด้วย สวนสุขสันต์ตงั้ อยูภ่ ายในโครงการ วันอุดมสุข แหล่งช้อปปิง้ ร้านค้า ฟิตเนส พิลาทิส คลินิกท�าฟัน และร้านอาหาร มากมายในย่านอุดมสุข โดยโครงการ ตั้งอยู่ริมถนนสุขุมวิท ปากซอยอุดมสุข ติดกับสถานีรถไฟฟ้าอุดมสุข ไม่ไกลจาก ใจกลางเมืองเพียง 10 นาที สู่ทางด่วน เฉลิมมหานคร และทางยกระดับบูรพาวิถี
Technology กองบรรณาธิการ
ผู้เชี่ยวชาญโปรแกรม
ITAP น�าเทคโนโลยี
Plant Factory
ช่วยผู้ประกอบการปลูกผัก ผลไม้ออแกนิกในอพาร์ตเมนต์ โปรแกรมสนั บ สนุ น การพั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละ นวั ต กรรม (Innovation Technology Assistance Program : ITAP) ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สนับสนุนจากอาจารย์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ (มจพ.) พัฒนาเทคโนโลยีระบบฟาร์มเกษตรในอาคาร หรือ Plant Factory ส�าหรับการปลูกพืชออแกนิกใน ห้องพักอพาร์ตเมนต์ไว้รับประทานได้ทุกฤดูกาล แก่ บริษทั ลอฟท์ บิวเดอร์ จ�ากัด ผูป้ ระกอบการรับเหมาก่อสร้าง เพือ่ แตกไลน์ธรุ กิจ และเป็นต้นแบบของระบบฟาร์มเกษตร ในอาคาร ชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึกษาอาวุโสโปรแกรม สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Innovation Technology Assistance Program : ITAP) ส�านักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า โครงการยกระดับผักและผลไม้ไทย : โอกาสส�าหรับ พัฒนาเกษตรกรรมสู่ความยั่งยืน ด้านโรงเรือนอัจฉริยะ เป็นโครงการที่ส่งเสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการสินค้า เกษตรและกลุ่มเกษตรกรด้านผักและผลไม้ในการพัฒนา ศักยภาพการแข่งขัน และยกระดับมาตรฐานการผลิต สินค้าการเกษตร โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีรองรับ “เกษตร 4.0” ซึ่งเป็นการเกษตรสมัยใหม่ เพื่อพัฒนา เกษตรกรรมของประเทศให้ยงั่ ยืน ในส่วนของผูป้ ระกอบการ รับเหมาก่อสร้าง บริษัท ลอฟท์ บิวเดอร์ จ�ากัด ได้รับการ สนับสนุนผู้เชี่ยวชาญจากโปรแกรมสนับสนุนการพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรม (ITAP) โดย รองศาสตราจารย์วนั ชัย แหลมหลักสกุล จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า 30
พระนครเหนือ (มจพ.) ได้เข้ามาช่วยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในระบบฟาร์มเกษตร ในอาคาร หรือ Plant Factory ท�าให้หอ้ งสีเ่ หลีย่ มขนาด 10 ตารางเมตรในอพาร์ตเมนต์ ใจกลางเมือง สามารถเป็นต้นแบบห้องที่ปลูกผักและผลไม้ออแกนิกชนิดต่างๆ เช่น สตรอเบอร์ร,ี Kale และสมุนไพรเมืองหนาว เช่น พาสเลย์และดอกไม้กนิ ได้ ส�าหรับไว้ ปั่นกินหรือเป็นน�้าผักสุขภาพเพื่อดื่มกินเองได้ทุกฤดูกาล และยังเป็นสถานที่ที่ให้ลูกค้า ของบริษัทฯ ที่มีความสนใจจะท�าระบบฟาร์มเกษตรในอาคารได้เห็นต้นแบบของธุรกิจ ประเภทนีด้ ว้ ย เพราะผักและผลไม้ออแกนิกทีป่ ลูกในระบบนีเ้ ป็นพืชทีม่ มี ลู ค่าสูงในตลาด ราคาแพง และการลงทุนของเทคโนโลยีนเี้ กษตรกรหรือผูส้ นใจสามารถทีจ่ ะลงทุนได้ดว้ ย ก�าลังของตัวเอง รองศาสตราจารย์วันชัย แหลมหลักสกุล ผู้เชี่ยวชาญโปรแกรมสนับสนุนการ พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Innovation Technology Assistance Program : ITAP) ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และหัวหน้า ศูนย์วิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมระบบไซเบอร์-กายภาพทางการผลิต มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) กล่าวว่า การปลูกพืชในอาคารนั้น เหมาะสมต่อการเพาะปลูกผักและผลไม้บางชนิด ส่วนใหญ่เป็นผักใบและผักผลไม้ เมืองหนาว เช่น ผักสลัด สมุนไพร และสตรอเบอร์รี เป็นต้น ซึ่งไม่หลากหลายและ มีขนาดตลาดที่จ�ากัดอยู่เฉพาะผู้บริโภคบางกลุ่ม เช่น โรงพยาบาลเอกชนระดับบน ทีต่ อ้ งการผักและผลไม้ปลอดสารพิษเพือ่ ให้บริการผูป้ ว่ ย ร้านอาหาร โรงแรมทีใ่ ห้บริการ อาหารเพื่อสุขภาพ และครัวเรือนที่มีรายได้ระดับปานกลางค่อนไปทางสูง เป็นต้น แต่ ในต่างประเทศกระแสซูเปอร์มาร์เก็ตปลูกผักเองในอาคารตามห้างสรรพสินค้าหรือ ตามสถานีรถไฟใต้ดินก�าลังได้รับความนิยมทั่วทั้งยุโรป อเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งจะเน้น ปลูกผักที่มีคุณภาพสูงและอุดมด้วยสารอาหาร ซึ่งมีจุดเด่นคือ ผักที่ปลูกแบบนี้ ทั้งสด สะอาด ปลอดภัยจากยาฆ่าแมลง และมีรสชาติกรอบอร่อยกว่าผักที่ปลูกแบบเดิม
GreenNetwork4.0 July-August
2020
บรรยากาศ ห้องพักอพาร์ตเมนต์ ใจกลางเมืองที่มีการปลูก ผักและผลไม้ออแกนิก
พีรพงษ์ ตันตยาคม
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ลอฟท์ บิวเดอร์ จ�ากัด
ระบบฟาร์มเกษตร ในอาคาร
ส�าหรับระบบฟาร์มเกษตรในอาคาร หรือ Plant Factory ในไทย การปลูกทั่วไปจะเป็นพืชผักและผลไม้เมืองหนาว เพราะข้อจ�ากัดด้าน ภูมิอากาศท�าให้มีการเจริญเติบโตที่ดี และให้ผลผลิตที่มีคุณภาพ โดย ควบคุมและใช้ปัจจัยการผลิต เช่น การให้แสง การให้น�้า แร่ธาตุอาหาร ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ปลดปล่อย ของเสียสูส่ ภาพแวดล้อมน้อยทีส่ ดุ และใช้ตน้ ทุนในการผลิตต�า่ เนือ่ งจาก ระบบฟาร์มเกษตรในอาคารนั้นเป็นระบบที่ประหยัดการใช้ทรัพยากร ไม่วา่ จะเป็นน�า้ แร่ธาตุอาหาร พืน้ ทีเ่ พาะปลูกและแรงงาน รวมถึงยังสามารถ ควบคุมปริมาณและคุณภาพผลผลิตได้ตามที่ต้องการ จึงช่วยลดความ ผันผวนในด้านปริมาณและคุณภาพของผลผลิตได้ดีกว่าการเกษตรแบบ ดัง้ เดิม จึงเป็นหนึง่ ในเทรนด์สา� คัญของภาคการเกษตรทีค่ อ่ ยๆ มีบทบาท ในเชิงพาณิชย์มากขึ้นในไทย โดยเทคโนโลยีระบบฟาร์มเกษตรของ บริษทั ฯ สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมด้วยระบบอัตโนมัติ เช่น อุณหภูมิ แสงเทียม (LED) เพื่อการสังเคราะห์แสงของพืช ในกระบวนการสังเคราะห์แสงนี้จะผ่านแสงจากหลอดไฟ LED ที่มีการควบคุมความเข้มของแสง คลื่นความถี่ และระยะเวลาของแสง ในแต่ละช่วงการปลูก เพือ่ ให้มคี วามคล้ายคลึงกับการสังเคราะห์แสงจาก ดวงอาทิตย์ ซึง่ การใช้แสง LED จะช่วยลดระยะเวลาการปลูกลงได้ครึง่ หนึง่ ของระยะเวลาการเติบโต อีกทัง้ ยังมีการควบคุมลมและความชืน้ ในอากาศ หากความชืน้ สัมพัทธ์ในอากาศต�า่ กว่าก�าหนด ระบบจะเชือ่ มต่อกับระบบ พ่นละอองน�้าแบบพิเศษ เพื่อปรับความชื้นสัมพัทธ์ให้อยู่ในช่วงที่ก�าหนด โดยตั้งค่าการท�างานผ่านแอปพลิเคชัน สามารถปรับตั้ง แก้ไข ควบคุม การท�างานผ่านสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตจากนอกสถานที่ได้ โดยระบบ 31
จะควบคุมพารามิเตอร์ต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมกับพืชแต่ละชนิด พีรพงษ์ ตันตยาคม กรรมการผู้จัดการ บริษัท ลอฟท์ บิวเดอร์ จ�ากัด กล่าวว่า บริษัท ลอฟท์ บิวเดอร์ จ�ากัด ขอรับการสนับสนุน ผูเ้ ชีย่ วชาญจากโปรแกรม ITAP สวทช. ในการเริม่ พัฒนาธุรกิจการเกษตร ในอนาคตด้วยการพัฒนาระบบฟาร์มเกษตรในอาคาร หรือ Plant Factory แบบอินทรีย์ ด้วยการน�าเทคโนโลยีและระบบควบคุมสภาวะการเพาะปลูก ที่ทันสมัย เช่น แสง อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ น�้า และสารอาหารพืช แบบอัจฉริยะ เพื่อให้บริษัทสามารถปลูกพืชผักผลไม้เมืองหนาวในเมือง ทีม่ คี ณ ุ ภาพได้ตลอดทัง้ ปี ส�าหรับผลทีไ่ ด้รบั จากการน�าระบบฟาร์มเกษตร ในอาคารมาใช้ในบริษทั ฯ คือ ได้นวัตกรรมการปลูกสตรอเบอร์รอี นิ ทรีย์ ในอาคารที่กรุงเทพมหานคร รวมทั้งบริษัทฯ ยังสามารถปลูกให้ผลผลิต ตลอดทั้งปี ไม่มีฤดูกาล มีคุณภาพทางกายภาพ ทางเคมีของผลผลิต สะอาด ปลอดภัย ปราศจากสารเคมีและยาปราบศัตรูพชื ซึง่ แตกต่างจาก การปลูกโดยทัว่ ไปทีจ่ ะออกผลผลิตตามฤดูกาลและต้องใช้นา�้ และสารเคมี และยาปราบศัตรูพืชเป็นจ�านวนมาก นอกจากนีย้ งั ช่วยลดต้นทุนด้านการขนส่ง เนือ่ งจากปลูกใกล้แหล่ง จัดจ�าหน่ายให้กับผู้บริโภค รวมถึงยังเป็นศูนย์สาธิตระบบฟาร์มเกษตร ในอาคาร เนือ่ งจากบริษทั ฯ ด�าเนินธุรกิจก่อสร้างเป็นหลัก เมือ่ ด�าเนินการ โครงการแล้วเสร็จ บริษทั ฯ ได้ใช้เป็นห้องสาธิตระบบฟาร์มเกษตรในอาคาร ให้กบั ลูกค้าของบริษทั ฯ และผูส้ นใจในการน�าระบบฟาร์มเกษตรในอาคาร ไปใช้ในธุรกิจ ร้านอาหาร และบ้านอยู่อาศัย เป็นต้น ส่งเสริมให้บริษัทฯ ได้งานก่อสร้างเพิ่มมากขึ้น
GreenNetwork4.0 July-August
2020
ยุคหลัง COVID-19 คนไทยเริม่ เห็นคุณค่ำภำคเกษตรกรรมมำกขึน้ เกษตรกรรมอำจกลำยเป็นฟำงเส้นสุดท้ำยของเศรษฐกิจไทย ในฐำนะ สำมัญชนคนเดินดิน ขอขอบคุณและยกย่องควำมคิดกำรส่งเสริมเกษตร แปลงใหญ่ (แปลงเล็กๆ มำรวมกัน) ด้วยกำรให้ควำมรู้ด้ำนเทคโนโลยี และเครือ่ งจักร อุปกรณ์เพือ่ ให้ไทยสูเ่ กษตรแม่นย�ำ และจะลืมไม่ได้กค็ อื โครงกำรโรงไฟฟ้ำชุมชนเพือ่ เศรษฐกิจฐำนรำก ซึง่ จะมีกำรปลูกพืชพลังงำน เช่น หญ้ำเนเปียร์กว่ำ 200,000 ไร่ จะช่วยอีสำนเขียวให้เห็นทันตำ และ แน่นอนทีส่ ดุ ก็คอื โครงกำรดีๆ ใหญ่ๆ ระดับนี ้ คงต้องพึง่ พำวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยีและแนวคิดเชิงนวัตกรรม จึงขอเจำะลึก Drone อากาศยาน ไร้คนขับ (Unmanned Aerial Vehicle) และขอขอบคุณ คุณปภังกร โชคทวีชัยเจริญ www.sb1andseenbo.com ที่อนุเครำะห์ข้อมูลและ ภำพถ่ำยมำลงใน Green Network ฉบับนี้
Energy พิชัย ถิ่นสันติสุข
Drone อากาศยานไร้คนขับ กับเกษตรวิถีใหม่
ปลอดภัยมลพิษ เพิ่มผลผลิตสู่ยุคเกษตรแม่นย�า
32
1
ใครคือผู้ประดิษฐ์ Drone คนแรกของโลก
2
เทคโนโลยีอัจฉริยะของ Drone
ส�ำหรับ Drone อำจมีขอ้ มูลไม่ชดั เจนเหมือนสิง่ ประดิษฐ์อนื่ ๆ ของ โลก เนือ่ งจำกมีกำรริเริม่ และพัฒนำมำโดยตลอดในช่วงปลำยสงครำมโลก ครั้งที่ 1 ต่อเนื่องมำถึงต้นสงครำมโลกครั้งที่ 2 คือในรำว ค.ศ. 1920 วิศวกรชำวฝรั่งเศสได้เริ่มผลิตอำกำศยำนไร้คนขับ ซึ่งมีรูปทรงคล้ำย เครือ่ งบินขนำดเล็กแต่ไม่มคี นขับ ต่อมำรำวปี ค.ศ. 1939 สหรัฐอเมริกำ ก็ได้นำ� แนวคิดของ Drone มำต่อยอดใช้ในสงครำม Drone สำมำรถบิน ได้อย่ำงจริงจังรำว ค.ศ. 1955 Drone ได้ผลิตมำส�ำหรับใช้ถำ่ ยภำพและ ส�ำรวจโดยนักศึกษำชำวจีนจำกมณฑลหำงโจว ทีไ่ ปศึกษำด้ำนวิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยีทฮี่ อ่ งกง ได้ตอ่ ยอดเทคโนโลยี Drone เพือ่ ใช้งำนด้ำนกำร ถ่ำยภำพ จนถึงปัจจุบนั สำมำรถถ่ำยภำพนิง่ ได้ถงึ 20 MB และ VDO ระดับ 4k ในรำคำไม่กี่หมื่นบำทต่อเครื่อง
ท่ำนอำจก�ำลังจะชินกับกำรที่หุ่นยนต์ท�ำงำนหนักๆ และอันตรำย แทนคนในโรงงำนอุตสำหกรรม ซึ่งมีประสิทธิภำพสูงกว่ำ ปลอดภัยกว่ำ ต้นทุนต�่ำกว่ำ ... แต่ Drone ไม่ใช่แค่นั้น Drone คือหุ่นยนต์ที่เหำะเหิน เดินอำกำศได้ ท�ำงำนแทนคนและท�ำงำนทีค่ นอย่ำงเรำๆ ท�ำไม่ได้อกี ด้วย บำงท่ำนคิดว่ำมี Internet มีโทรศัพท์มอื ถือ ก็สำมำรถบังคับกำรท�ำงำน ของ Drone ได้แล้ว แท้ที่จริงจะมี Internet หรือไม่ Drone ก็บินได้ เนือ่ งจำกเจ้ำหุน่ ยนต์บนิ ได้ตวั นีม้ จี ำนดำวเทียมเล็กๆ ฝังอยู ่ สำมำรถเชือ่ มโยง กับระบบระบุต�ำแหน่งบนพื้นโลก GPS (Global Position System) และ มีกล่องบังคับกำรบิน Flight Controller/Quadrocopter โดยใช้พลังงำน จำกแบตเตอรี่
GreenNetwork4.0 July-August
2020
3
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ Drone
5
ประสิทธิภาพการท�างาน
4
ส่วนประกอบ Drone เพื่อการเกษตร วิถีใหม่
6
Drone เพื่อความมั่นคง เกษตรกรรม และการท่องเที่ยว ฯลฯ
ปัจจุบนั ยังมีหน่วยงำนทีเ่ ข้ำมำเกีย่ วข้องไม่มำกนัก แต่หำก Drone ได้รับควำมนิยมมำกขึ้นในประเทศไทย ก็จะมีหน่วยงำน เสนอตัวเข้ำมำดูแลมำกมำย และจะไม่สำมำรถซื้อง่ำยใช้คล่อง เหมือนในปัจจุบนั อีกต่อไป ส�ำหรับ Drone เพือ่ กำรเกษตรทีผ่ ลิตใน ประเทศ โดยน�ำเข้ำชิน้ ส่วนหลักๆ ผูผ้ ลิตต้องจดแจ้งจ�ำนวนและชนิด พร้อม Serial No. ไว้ให้กบั กสทช. ซึง่ ไม่ตำ่ งกับกำรผลิตประกอบ รถยนต์ในปัจจุบัน ส�ำหรับผู้ใช้งำนต้องขออนุญำตเป็นผู้บังคับ หรือปล่อยอำกำศยำนซึ่งไม่มีนักบินกับกรมกำรบินพลเรือน ซึ่ง โดยปกติผู้ขำย Drone จะเป็นผู้ด�ำเนินกำรให้ เท่ำนี้ก็น�ำ Drone ไปใช้งำนในภำคเกษตรได้แล้ว แต่ส�ำหรับผู้อยำกจะมีสิทธิ์ใช้งำน มำกกว่ำนีก้ ต็ อ้ งไปสอบใบขับขีเ่ หมือนรถยนต์ คือต้องไปฝึกอบรม และเรียนรู้กฎระเบียบอีกมำกมำย เนื่องจำก Drone คือหุ่นยนต์ ที่มีคุณอนันต์และโทษมหันต์ โดยกำรไปสอบที่ สทม. : สถาบัน เทคโนโลยีป้องกันประเทศ
ท่ำนทรำบหรือไม่วำ่ เจ้ำหุน่ ยนต์เหินฟ้ำทรงสีเ่ หลีย่ มทีผ่ นั ตัว จำกเพชฌฆำตเวหำมำสู่เกษตรวิถีใหม่ ที่มีควำมอัจฉริยะสำรพัด อย่ำงที่มนุษย์ท�ำไม่ได้ ทันทีที่ท่ำนเปิดสวิตช์สัญญำณ GPS จะ แสดงผลให้ทำง กสทช. ทรำบทันที ส่วนประกอบส�ำคัญมีดังนี้ 1) ตัวเฟรม รูปทรงสี่เหลี่ยมคล้ำยเครื่องดับเพลิงแบบ หำบหำม น�้ำหนักเบำ ยกเคลื่อนย้ำยได้ด้วยคนเพียง คนเดียว มีแขนพับได้เพื่อติดตั้งใบพัด พร้อมมอเตอร์ ไฟฟ้ำ มีจำ� นวนใบพัด 4 ใบ 6 ใบ และ 8 ใบ ตำมขนำด ของถังน�้ำที่ต้องกำร 2) Flight Controller เป็นเหมือนมันสมองควบคุมกำรบิน และกำรท�ำงำนได้อย่ำงอัจฉริยะ 3) Remote Control พร้อม Application 4) แบตเตอรี่แบบ Lithium Polymer ซึ่งมีอัตรำกำรจ่ำย กระแสสูง เหมำะกับงำนหนักๆ อำจจะรำคำสูงแต่ใช้งำน ได้ยำวนำนไม่เสื่อมตำมกำลเวลำ น�้ำหนักเบำ ไม่ต้อง กระตุ้นก่อนใช้ 5) ชุดถังและปั๊มน�้า มีขนำดตั้งแต่ 10 ลิตร 16 ลิตร และ 20 ลิตร ตำมควำมต้องกำร 33
ยุคเกษตรวิถีใหม่หรือเกษตรแม่นย�ำ Drone อำจจะกลำยมำเป็น ของใช้จ�ำเป็นของเกษตรกรถัดจำกรถไถ รถพิกอัป โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง เกษตรอินทรีย์ด้วยแล้ว ขำด Drone ไม่ได้ Drone เพื่อเกษตรกรรม ถูกจ�ำกัดทั้งควำมสูงและน�้ำหนักบรรทุก รวมทั้งระยะเวลำกำรบิน ทั้งนี้ เพื่อป้องกันกำรก่ออำชญำกรรม ขนำดที่นิยมใช้และรำคำเพียงแสนต้นๆ ก็คือขนำดบรรทุกน�้ำ/ น�้ำยำได้ 10 ลิตร 4 ใบพัด น�้ำหนักขึ้นบิน 22 กิโลกรัม ควำมกว้ำงของ กำรละออง 6-8 เมตร กำรขึน้ บินแต่ละครัง้ ได้พนื้ ที ่ 5 ไร่ ใช้เวลำประมำณ 15 นำที เฉลีย่ ประสิทธิภำพกำรท�ำงำน 100-150 ไร่/วัน กำรท�ำงำนของ Drone สำมำรถพ่นปุย๋ พืชสำรเคมีได้ทวั่ ถึงกว่ำกำรใช้คน และช่วยให้คน ท�ำงำนปลอดภัยจำกสำรพิษ อีกทั้งมีประสิทธิภำพกำรท�ำงำนสูงกว่ำ กำรใช้คนท�ำงำนกว่ำ 10 เท่ำตัว หำกท่ำนยังไม่ม ี Drone ปัจจุบนั มีบริษทั ที่รับจ้ำงฉีดพ่นในรำคำเพียงไร่ละ 60 บำท ท่ำนที่อ่ำนมำถึงตรงนี้แล้ว มีคำ� ถำมในใจมำกมำย ลองติดต่อสอบถำมไปที ่ FACEBOOK : โดรนเพือ่ การเกษตร sb1 หรือ LINE ID : sb1drone
ถ้ำกล่ำวถึงควำมมั่นคงแล้ว Drone คือยุทธภัณฑ์จ�ำเป็นอย่ำงยิ่ง ดังนัน้ เกือบทุกประเทศจะมี Drone ประจ�ำกำรในกองทัพ ซึง่ มีประสิทธิภำพ กำรท�ำงำนสูง ทัง้ ด้ำนกำรสือ่ สำร สอดแนม และท�ำลำย ส�ำหรับ Drone เพื่อกำรเกษตร ในอนำคตรำคำจะต�่ำลงและใช้ง่ำยขึ้น และกลำยเป็น เสมือนรถจักรยำนยนต์ที่เกษตรกรใช้กันอย่ำงแพร่หลำย ส�ำหรับกำร ท่องเที่ยว หลังยุค COVID-19 คำดว่ำจะมีกำรใช้ Drone กันมำกขึ้น นอกจำกช่วยถ่ำยภำพมุมสูงแล้ว นักเที่ยวยังสำมำรถดูภำพ Bird Eye View ตำมทีโ่ ฆษณำ หรือดูมมุ ต่ำงๆ ทีน่ กั ท่องเทีย่ วไม่สำมำรถเข้ำไปถึง ในอนำคตอำจจะมี 1 Drone ต่อ 1 แหล่งท่องเที่ยวก็ได้ Drone อำกำศยำนไร้คนขับตอบโจทย์คนรุน่ ใหม่ยคุ ไอที ด้วยรำคำ ทีจ่ บั ต้องได้ แอปพลิเคชันทีแ่ สนสะดวก Drone ไม่ใช่แค่ผชู้ ว่ ยทีแ่ สนดี แต่ Drone จะสร้ำงอำชีพ สร้ำงงำน สร้ำงกลุม่ Startup มำต่อยอดกำรใช้งำน ให้กว้ำงขึน้ ส�ำหรับภำรกิจเกษตรแปลงใหญ่ของ Drone รวมถึงกำรปลูกพืช พลังงำนอย่ำงเนเปียร์ ซึง่ เป็นแปลงเล็กๆ มำรวมกันเป็นเกษตรแปลงใหญ่ นัน้ จะเป็นเพียงบททดสอบประสิทธิภำพของ Drone เบือ้ งต้น อนำคตของ Drone จะแทรกเข้ำไปสู่วิถีชีวิตและควำมเป็นอยู่วิถีใหม่ของมนุษย์อย่ำง หลีกเลี่ยงไม่ได้
GreenNetwork4.0 July-August
2020
Energy กองบรรณาธิการ
BGRIM ย�้ำ ADB ขำยหุ้นบำงส่วน ไม่กระทบธุรกิจและแผนงำนในอนำคต
มั่นใจผลประกอบกำรปีนี้โต 10-15%
BGRIM เผยการขายหุน้ เพียงบางส่วนของ ADB ในสัดส่วน ประมาณ 2.61% จากเดิมถือหุน้ 4.72% เป็นไปตามนโยบายภายใน และเป็นการบริหารวงเงินภายในของ ADB เพือ่ รองรับการลงทุน ในโครงการของ BGRIM ในอนาคตย�้าไม่กระทบพื้นฐานธุรกิจ เดินหน้าขยายก�าลังการผลิตไฟฟ้าตามแผน มัน่ ใจผลประกอบการ ปีนี้โต 10-15%
34
ปรียนาถ สุนทรวาทะ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั บี.กริม เพาเวอร์ จ�ากัด (มหาชน) หรือ BGRIM กล่าวถึงประเด็นการขายหุน้ ของธนาคารพัฒนาเอเชีย หรือ Asia Development Bank (ADB) ออกมา 68 ล้านหุ้น (คิดเป็นสัดส่วน 2.61% ของหุน้ BGRIM) จากที่ ADB ถือหุน้ ทัง้ หมด 123 ล้านหุน้ (4.72% ของหุน้ BGRIM) นัน้ เป็นนโยบายภายในของ ADB และเป็นสิทธิข์ องผูถ้ อื หุน้ เอง ซึง่ บริษทั ฯ ไม่ได้ทราบเรือ่ งดังกล่าว เป็นเรือ่ งของการบริหารพอร์ตการลงทุน และเป็นการ บริหารวงเงินภายในของ ADB เพื่อเตรียมสนับสนุนหรือลงทุนในโครงการของ BGRIM อาทิ Green Bond 5,000 ล้านบาททีผ่ า่ นมา โครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ในเวียดนาม และโครงการอื่นในอนาคต นอกจากนีย้ งั ไม่สง่ ผลกระทบใดๆ ต่อการด�าเนินงานของ BGRIM เนือ่ งจาก ADB เป็นผูถ้ อื หุน้ ในลักษณะ Passive Investor โดยทีพ่ นื้ ฐานของ BGRIM ยังคงมี ความแข็งแกร่ง พร้อมกันนีเ้ ดินหน้าขยายการลงทุนทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ จากปัจจุบนั มีโครงการทีเ่ ปิดด�าเนินการแล้ว 47 โครงการ รวม 3,019 เมกะวัตต์ และ อยูร่ ะหว่างก่อสร้างและพัฒนาอีกหลายโครงการ รวมเป็นก�าลังการผลิตทัง้ หมด 3,547 เมกะวัตต์ ปรียนาถ กล่าวว่า บริษทั ฯ ยังคงมุง่ เน้นการลงทุนอย่างมีคณ ุ ภาพและยัง่ ยืน ควบคูไ่ ปกับเป้าหมายเติบโตไปสูก่ ารมีสญั ญาซือ้ ขายไฟฟ้า หรือ PPA 5,000 เมกะวัตต์ ภายในปี พ.ศ. 2565 ซึง่ ปัจจุบนั อยูร่ ะหว่างการพิจารณาการลงทุนหลายโครงการ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ เช่น การควบรวมกิจการ (M&A) ในประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน รวมไม่ต�่ากว่า 500 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้าพลังงานลม ในหลายประเทศ รวม 300-400 เมกะวัตต์ และโครงการโรงไฟฟ้าจากก๊าซ LNG ในเวียดนาม ไม่ต�่ากว่า 3,000 เมกะวัตต์ เป็นต้น “ในปีนเี้ ชือ่ ว่าผลการด�าเนินงานของบริษทั ฯ สามารถเติบโตในกรอบ 10-15% ด้วยการขยายก�าลังการผลิตและขยายฐานลูกค้าอุตสาหกรรมอย่างต่อเนือ่ ง รวมถึง โปรแกรมการเพิม่ ประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าและการบริหารค่าใช้จา่ ยด้วย” ปรียนาถ กล่าว
GreenNetwork4.0 July-August
2020
BooksFP-2019.pdf
1
10/3/2562 BE
3:49 PM
Leading Journals and well-known in the industry, Engineering and Renewable Energy for over 20 Years in Thailand Technology Media’s Journals Quality Awarded : Thailand Energy Awards, the awards promote energy conservation by the Department of Alternative Energy Development and Energy Conservation, Ministry of Energy and the Asian Green TJ Awards.
www.electricityandindustry.com www.greennetworkthailand.com www.engineeringtoday.net www.thaipack.or.th www.intania.com 4 Vol.29 No.136 July-August 2019
#Ä =L bi "9" =L acf + : )Ĺł2< 3: ) befb
THAI PACKAGING NEWSLETTER
����ŕ¸&#x201E; �ร��ŕ¸&#x2122;ŕ¸&#x2014;���ŕ¸&#x2122;ŕš&#x20AC;��ร�ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2122;�ู�ŕ¸&#x2122;ďż˝ŕ¸&#x2122;฼ ����� "L3XD."W1 Y3Y?<O 3AK/ ==;. L3 L=4==#Ä&#x2013;:K-+ X?J L=8Ä&#x160;;8 =K`"<NÄ&#x17D;"ZE} Z3[1<
#Ä =L bi "9" =L acf + : )Ĺł2< 3: ) befb
www.electricityandindustry.com
www.greennetworkthailand.com
www.thaipack.or.th
www.intania.com
www.engineeringtoday.net
8Ä&#x160;2O;G4=L"AK?
80.00.-THB
Packaging 4.0 â&#x20AC;&#x153;Smart Packaging the Wave of the Futureâ&#x20AC;? ŕ¸ŕ¸¸ŕ¸&#x2022;สา�ภรร�ŕš&#x201E;ŕ¸&#x2014;ยŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2022;ร�ย�ŕ¸&#x201E;วา�ŕ¸&#x17E;ร�ŕ¸ďż˝ŕ¸ �� â&#x20AC;&#x153;Single Use Plastic Directiveâ&#x20AC;? �ร�ŕ¸ŕ¸˘ďż˝ŕ¸&#x2021;�� ภารส�รว�ŕ¸&#x17E;ďż˝ŕ¸&#x2022;�ภรร�ภาร�ŕ¸&#x160;ďż˝ŕ¸&#x201A;ว�ŕ¸&#x17E;฼าสŕ¸&#x2022;�ภŕ¸&#x201A;ŕ¸ŕ¸&#x2021;ŕ¸&#x201E;ŕ¸&#x2122;ŕš&#x201E;ŕ¸&#x2014;ย� ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x17E;��ŕ¸ŕ¸Şďż˝ŕ¸&#x2021;ŕš&#x20AC;สร��ภาร�ŕ¸&#x160;ďż˝ŕ¸&#x201A;ว�ŕ¸&#x17E;฼าสŕ¸&#x2022;�ภร�ŕš&#x201E;ŕ¸&#x2039;ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x201E;�฼ŕ¸ŕ¸˘ďż˝ŕ¸˛ŕ¸&#x2021;�฼ŕ¸ďż˝ďż˝ďż˝ŕ¸˘ ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2014;ŕ¸&#x201E;ŕš&#x201A;ŕ¸&#x2122;ŕš&#x201A;฼ย� Smart Factory สร�าŕ¸&#x2021;สรรŕ¸&#x201E;ď&#x153;&#x17D;ŕ¸&#x2122;ว�ŕ¸&#x2022;ภรร� ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x17E;����ร�ส�ŕ¸&#x2014;ŕ¸&#x2DC;��าŕ¸&#x17E;ภาร�฼�ŕ¸&#x2022;๠ล�ŕš&#x20AC;��ŕ¸&#x2122;��ŕ¸&#x2022;รภ��ส��ŕ¸&#x2021;๠ว�ล�ŕ¸ďż˝
ĂX;^ Y = .N#N1K? DY/= ĂŽ ��าŕ¸&#x2021;ŕ¸&#x201E;�าส�ŕ¸&#x2021;ŕ¸ďż˝ďż˝ďż˝ŕ¸Łďż˝ŕ¸˘ďż˝ ďż˝ŕ¸&#x2122;ยุŕ¸&#x201E;ŕ¸ďż˝ŕ¸&#x2122;ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2014;ŕ¸ŕ¸Łď&#x153;&#x17D;ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2122;ďż˝ŕ¸&#x2022;ŕ¸ŕ¸ŕ¸&#x;ŕ¸&#x2DC;ďż˝ŕ¸&#x2021;สď&#x153;&#x17D; LUMAFIN ��ŕ¸&#x2022;����� ๠��ŕ¸&#x2021;ภารŕ¸&#x2022;ภ๠ŕ¸&#x2022;ďż˝ŕ¸&#x2021;�รร������ď&#x153;&#x17D; ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2014;ŕ¸&#x201E;ŕš&#x201A;ŕ¸&#x2122;ŕš&#x201A;฼ย�ŕ¸&#x2014;���ŕš&#x20AC;�฼��ยŕ¸&#x2122;ŕš&#x201A;�� ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x201E;ร��ŕ¸ŕ¸&#x2021;��ภร�รร������ď&#x153;&#x17D; ŕ¸&#x201A;ďż˝ŕ¸ďż˝ďż˝ŕ¸Ľŕ¸&#x2014;��ŕš&#x201E;����ŕ¸&#x201E;ุ��าŕ¸&#x17E; ภ���าร�ŕ¸&#x201E;�า�ŕ¸&#x160;���ายŕ¸&#x201A;ŕ¸ŕ¸&#x2021;ŕ¸ŕ¸&#x2021;ŕ¸&#x201E;ď&#x153;&#x17D;ภร
ThaiStar Packaging Awards 2019
190710
80.00
Directory Year Book
:
www.yellowgreenthailand.com
www.thaiconstructionpages.com
www.technologymedia.co.th
www.technologymedia.co.th www.yellowgreenthailand.com
Directory & Catalogue â&#x20AC;˘ Network Solution & Mobile App â&#x20AC;˘ Exhibition & Distribution
TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD. 471/3-4 Phayathai Places, Sri-Ayutthaya Rd., Thung Phayathai, Ratchathewi, Bangkok 10400 Tel. +66 (0)23 545 333, (0)26 444 555 Fax. +66 (0)26 446 649, (0)23 545 322
ŕ¸&#x161;ร�ชูŕ¸&#x2014; ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2014;ŕ¸&#x201E;ŕš&#x201A;ŕ¸&#x2122;ŕš&#x201A;฼ย฾ ล฾ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x201D;฾ย ŕ¸&#x2C6;ำภูŕ¸&#x201D;
471/3-4 ŕ¸ŕ¸˛ŕ¸&#x201E;าŕ¸&#x17E;ŕ¸?าŕš&#x201E;ŕ¸&#x2014;ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x17E;฼ส ŕ¸&#x2013;ŕ¸&#x2122;ŕ¸&#x2122;ศร�ŕ¸ŕ¸˘ŕ¸¸ŕ¸&#x2DC;ยา ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x201A;ŕ¸&#x2022;ราŕ¸&#x160;ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2014;ว� ภรุŕ¸&#x2021;ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2014;ŕ¸&#x17E;ฯ 10400 ŕš&#x201A;ŕ¸&#x2014;ร. +66 (0)23 545 333, (0)26 444 555 ŕš ŕ¸&#x;ภŕ¸&#x2039;ď&#x153;&#x17D;. +66 (0)26 446 649, (0)23 545 322