Green Network Issue 103

Page 1

ISSUE 103 : January-February 2021

โรงไฟฟา Track 4A ในมาเลเซีย ใชเทคโนโลยีกังหันกาซระดับโลก 9HA.02 ของ GE จายไฟเชิงพาณิชยเปนครั้งแรกในโลก

โรงไฟฟาชุมชน ไดเวลาพัฒนา พันธุพ�ชและเทคโนโลยีการผลิตไฟฟาชุมชน “หญายักษ VS กระถินยักษ”

ศูนยว�จัย RISC by MQDC ผานการรับรองมาตรฐาน WELL Building Standard ระดับ Gold จาก IWBI เปนแหงแรกในอาเซียนและไทย

'บานปู เน็กซ' ผนึก 4 ภาคีเคร�อขาย นำโซลูชันฉลาดว�เคราะห ยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย ในภูเก็ตสมารทซิตี้

วช. รวมกับเคร�อขายนักว�จัยพัฒนา นวัตกรรมรับมือฝุนจิ�ว พรอมแนะแนวทางแกปญหา ในแตละภูมิภาคของประเทศ

210210


p.3-c4-DigiSignAge Size A4.pdf

1

2/18/2564 BE

11:34



IEEE Power & Energy Society Series:

Power Engineering

ขอเชิญเขารวมงานสัมมนาเชิงว�ชาการ

สถานี ไ ฟฟ า แรงสู ง : ขอกำหนดการเชื่อมตอ, การออกแบบ, การทดสอบ และการนำเขาใชงาน (High Voltage Substation: Connection Code, Design, Testing and Commissioning)

วันที่ 29 – 31 มีนาคม 2564

หองกมลทิพย โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพฯ ขอกำหนดการเชื่อมตอสถานีไฟฟาเอกชนระดับแรงดัน 15 เควี กับการไฟฟานครหลวง และการไฟฟาสวนภูมิภาค รูปแบบการจัดวาง และประเภทของสถานีไฟฟาแรงสูง ขอกำหนดที่สำคัญในการออกแบบ, การออกแบบและคำนวณดาน Primary System การจัดสัมพันธทางฉนวนและการเลือกกับดักเสิรจของสถานีไฟฟาแรงสูง การออกแบบและการคำนวณการปองกันฟาผาของสถานีไฟฟาแรงสูงตามมาตรฐาน IEEE 998 การออกแบบและการคำนวณระบบลงดิน, ระบบลงดินโดยโปรแกรมสำหรับออกแบบกราวดกริดและกรณีศึกษา ระบบปองกัน การทดสอบอุปกรณและระบบสถานีไฟฟา และการนำเขาใชงาน และการบำรุงรักษาสถานีไฟฟา โดย ผูเชี่ยวชาญจาก การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค สถาบันการศึกษา และผูผลิต

www.greennetworkseminar.com/substation



senseFly - Solar 360 A Drone Imagery Specialists Company For Engineering & Science

senseFly Duet-T camera • Captures thermal and radiometric RGB imagery • Exclusive to eBee X

eBee X

eMotion software • Simple mission-block flight planning • 2D/3D interface options • Connect to cloud services, weather updates, airspace data etc. • Instant integration with senseFly GeoBase Raptor Maps cloud service • Requires 5X fewer images minimising the flight time required • Analyse every aerial image using AI • Identifies, classifies and localises anomalies into a digital twin • Automatically generates an actionable inspection report and enterprise-compatible output

Indoor Inspection Collision-resilient Shockproof payload Confined space accessibility Robust wireless transmission

Data Quality

Close up inspection 4 k camera Thermal camera 180° tiltable camera pod 10k lumen Adjustable lighting Oblique lighting Obstruction-free

Intuitive to fly GPS-free stabilization Distance lock Full HD live streaming 4K video record

ส น ใ จ ติ ด ต่ อ : ป ย ะ ด ล ( ท็ อ ป ) 085-815-9292 02-348-8532 piyadol@skyviv.com info@skyviv.com www.skyviv.com

Flyability Elios 2 Built for your success Easy maintenance Training included Dedicated support team

Data Processing Streamlined data management 3D modeling 2D measurement


คณะที่ปรึกษา

ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ดร.อัศวิน จินตกานนท์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย ประสงค์ ธาราไชย ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รศ. ดร.สิงห์ อินทรชูโต

นินนาท ไชยธีรภิญโญ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ พานิช พงศ์พิโรดม ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ดร.สุรพล ด�ารงกิตติกุล ชาย ชีวะเกตุ

บรรณาธิการอ�านวยการ/บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

บรรณาธิการ

กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

บรรณาธิการข่าว

สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล

กองบรรณาธิการ

ณัฐชยา แก่นจันทร์

พิสูจน์อักษร

อ�าพันธ์ุ ไตรรัตน์

ศิลปกรรม

พฤติยา นิลวัตร, ศศิธร มไหสวริยะ

ประสานงาน

ภัทรกันต์ กิจสินธพชัย

ฝ่ายการตลาด

ทิพวัลย์ เข็มพิลา, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, วีรวรรณ พุทธโอวาท

เลขานุการฝ่ายการตลาด ชุติมณฑน์ บัวผัน

ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์

ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์

แยกสี

บริษัท คลาสิคสแกน จ�ากัด

โรงพิมพ์

หจก.รุ่งเรืองการพิมพ์

สวัสดีครับ ท่านสมาชิกและท่านผู้อ่านทุกท่าน ในเดือนกุมภาพันธ์นี้ ถือว่ามีเรือ่ งทีน่ า่ ยินดีสา� หรับคนไทย 2 เรือ่ ง ด้วยกัน เรือ่ งแรก คือ ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ มีการน�าเข้าวัคซีนล็อตแรก จ�ำนวน 200,000 โดส จากบริษทั ซิโนแวค ไบโอเทค จ�ำกัด เพือ่ กระจาย การฉีดให้กับ 10 จังหวัดน�าร่องตามแผนของรัฐบาล ได้แก่ สมุทรสำคร กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธำนี สมุทรปรำกำร ระยอง ชลบุรี จันทบุรี ตรำด และอ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตำก ซึ่งเป็นพื้นที่จังหวัดควบคุมสูงสุด และเข้มงวด 10 จังหวัดในช่วงเดือนมีนาคมนี้ นับเป็นนิมิตหมายที่ดีที่จะ ท�าให้วิกฤต COVID-19 เริ่มคลี่คลายลง ส่วนเรือ่ งที่ 2 คือ ปัญหามลพิษทางอากาศ ทุกวันนีน้ อกจากคนไทย จะต้องเผชิญปัญหาการติดเชือ้ COVID-19 แล้ว ยังต้องประสบกับปัญหา PM2.5 มหันตภัยจากฝุน่ จิว๋ อีกด้วย อย่างไรก็ตาม เมือ่ เร็วๆ นี้ กระทรวง กำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้มอบเครื่อง ตรวจวัดปริมำณฝุ่นละอองขนำดเล็กในอำกำศด้วยระบบเซนเซอร์ (DustBoy) จ�านวน 500 เครื่อง ซึ่งเป็นผลงานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุน จากส�ำนักงำนกำรวิจยั แห่งชำติ (วช.) ให้แก่ กระทรวงสำธำรณสุข (สธ.) เพือ่ น�าไปใช้การเฝ้าระวัง แจ้งเตือนประชาชนให้พร้อมรับมือกับสถานการณ์ PM2.5 ได้อย่างทันท่วงที ช่วยลดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน เพื่อสุขภาพของประชาชนที่ดีขึ้นต่อไป ส�าหรับนิตยสาร Green Network ฉบับเริ่มต้นของปี 2021 นี้ ขอน�าเสนอ โรงไฟฟ้ำ Track 4A ในมำเลเซีย ใช้เทคโนโลยีกังหันก๊ำซ ระดับโลก 9HA.02 GE จ่ำยไฟในเชิงพำณิชย์เป็นครั้งแรกในโลก, ‘บ้ำนปู เน็กซ์’ ผนึก 4 ภำคีเครือข่ำย น�ำโซลูชนั ฉลำดวิเครำะห์ ยกระดับ มำตรฐำนควำมปลอดภัยในภูเก็ตสมำร์ทซิต,ี้ วช. ร่วมกับเครือข่ำยนักวิจยั พัฒนำนวัตกรรมรับมือฝุ่นจิ๋ว พร้อมแนะแนวทำงแก้ปัญหำในแต่ละ ภูมิภำคของประเทศ, โรงไฟฟ้ำชุมชน ได้เวลำพัฒนำพันธุ์พืชและ เทคโนโลยีกำรผลิตไฟฟ้ำชุมชน “หญ้ำยักษ์ VS กระถินยักษ์”, ศูนย์วจิ ยั RISC by MQDC ผ่ำนกำรรับรองมำตรฐำน WELL Building Standard ระดับ Gold จำก IWBI เป็นแห่งแรกในอำเซียนและไทย, เมือ่ “ดิจทิ ลั ” เป็นเครือ่ งมือส�ำคัญในกำรฟืน้ ฟูโลกสีเขียว และคอลัมน์อนื่ ๆ ทีน่ า่ สนใจ เช่นเคย แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

เจ้ำของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 (ฝ่ายการตลาด Ext. 230) แฟกซ์ 0-2640-4260 เว็บไซต์ http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail editor@greennetworkthailand.com

VACCINE


Contents January-February 2021

9

Cover Story

โรงไฟฟ้า Track 4A ในมาเลเซีย ใช้เทคโนโลยีกังหันก๊าซ ระดับโลก 9HA.02 GE จ่ายไฟในเชิงพาณิชย์เป็นครั้งแรก ในโลก กองบรรณาธิการ

Smart City

13 ‘บ้านปู เน็กซ์’ ผนึก 4 ภาคีเครือข่าย น�าโซลูชนั ฉลาดวิเคราะห์

ยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยในภูเก็ตสมาร์ทซิตี้ กองบรรณาธิการ

In Trend

16 ทีมวิจัยแนะพื้นที่ EEC รับมือภัยแล้งล่วงหน้า

วางมาตรการเสริม - จัดตั้งองค์กรเฉพาะจัดการน�้า กองบรรณาธิการ

Report

18 วช. ร่วมกับเครือข่ายนักวิจัยพัฒนานวัตกรรมรับมือฝุ่นจิ๋ว

พร้อมแนะแนวทางแก้ปัญหาในแต่ละภูมิภาคของประเทศ ทัศนีย์ เรืองติก

Energy

23 โรงไฟฟ้าชุมชน ได้เวลาพัฒนาพันธุ์พืชและเทคโนโลยี

การผลิตไฟฟ้าชุมชน “หญ้ายักษ์ VS กระถินยักษ์” พิชัย ถิน่ สันติสุข

Building

26 ศูนย์วิจัย RISC by MQDC ผ่านการรับรองมาตรฐาน

WELL Building Standard ระดับ Gold จาก IWBI เป็นแห่งแรกในอาเซียนและไทย กองบรรณาธิการ

Automotive

28 PEA ร่วมกับ มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) และเดลต้า

ยกระดับการชาร์จรถไฟฟ้าทั่วไทย - หนุนแผนรัฐมีรถไฟฟ้า 1.2 ล้านคัน ในปี ’79 กองบรรณาธิการ

Innovation

30 นาโนเทค พัฒนา “นวัตกรรมสารคีเลต 8 ชนิด”

ตอบโจทย์ความต้องการอุตฯ อาหารสัตว์ ลดการทิ้งของเสีย - เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กองบรรณาธิการ

Technology

32 เมื่อ “ดิจิทัล” เป็นเครื่องมือส�าคัญในการฟื้นฟูโลกสีเขียว

34

กองบรรณาธิการ

Biz


Cover Story กองบรรณาธิการ

โรงไฟฟ้า Track 4A ในมาเลเซีย

ใช้เทคโนโลยีกังหันก๊าซระดับโลก 9HA.02 GE จ่ายไฟในเชิงพาณิชย์เป็นครั้งแรกในโลก

เมือ่ เร็วๆ นี้ บริษทั General Electric (GE) ร่วมด้วยบริษทั CTCI Corporation (CTCI) และบริษัท Southern Power Generation Sdn Bhd (SPG) ประกาศเดินเครื่องจ่ายไฟในเชิงพาณิชย์ที่โรงไฟฟ้า Track 4A ของบริษัท Southern Power Generation ซึ่งเป็นโรงไฟฟ้า พลังความร้อนร่วมทีใ่ ช้กงั หันก๊าซ ขนาดก�าลังการผลิต 1,440 เมกะวัตต์ ในเมืองปาซีรก์ ดู งั รัฐยะโฮร์ ประเทศมาเลเซีย ความน่าสนใจของโรงไฟฟ้า พลังความร้อนร่วมแห่งนี้คือ การใช้เทคโนโลยีกังหันก๊าซ 9HA.02 จาก GE ในการจ่ายไฟเชิงพาณิชย์เป็นครั้งแรกในโลก โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมแห่งนี้ มีบริษัท CTCI จากประเทศ ไต้หวัน ซึ่งเป็นพันธมิตรร่วมในสัญญาพลังงาน EPC เป็นผู้ก่อสร้าง โรงไฟฟ้าภายใต้มาตรฐานความปลอดภัยที่รัดกุม โดยแบ่งการผลิต ออกเป็น 2 ชุด แต่ละชุดมีการติดตั้งกังหันก๊าซ กังหันไอน�้า เครื่องผลิต กระแสไฟฟ้า และเครือ่ งผลิตไอน�า้ แรงดันสูง (HRSG) ซึง่ ทัง้ หมดล้วนเป็น อุปกรณ์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูงจาก GE นอกจากนี้ ภายใต้ขอ้ ตกลงระยะเวลา 21 ปี GE ยังเสนอดิจทิ ลั โซลูชนั และบริการต่างๆ เพือ่ คอยปรับปรุงระบบ ทัศนวิสัย ความน่าเชื่อถือ และความพร้อมของโรงไฟฟ้า Track 4A ซึ่งจะผลิตไฟฟ้าได้เพียงพอต่อความต้องการของชาวมาเลเซียประมาณ 3 ล้านครัวเรือน 9

ดาโต๊ะ ฮาจี นูร์ อัซมาน บิน มุฟตี ประธานกรรมการ บริษทั SPG กล่าวว่า เรามีความสัมพันธ์อันดีกับ GE มาเป็นเวลานาน และมีความ เชื่อมั่นในเทคโนโลยี HA ซึ่งจะช่วยให้เราสามารถรองรับความต้องการ ใช้พลังงานที่เพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งความมั่นคงทางพลังงานในระยะยาว ของมาเลเซีย เราภูมิใจที่ได้เห็น GE ท�างานอย่างมุ่งมั่น ทุ่มเท และ มีประสิทธิภาพเพือ่ บรรลุเป้าหมายการจ่ายไฟในเชิงพาณิชย์เป็นครัง้ แรก จากเครื่ อ งกั ง หั น ก๊ า ซ 9HA.02 แม้ ว ่ า จะอยู ่ ใ นช่ ว งการระบาดของ COVID-19 ก็ตาม โรงไฟฟ้าดังกล่าวเป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนแบบเพลาเดี่ยว 2 ชุด แต่ละชุดประกอบไปด้วย กังหันก๊าซ 9HA.02 จ�านวน 1 เครือ่ ง และ กังหันไอน�า้ STF-D650 จ�านวน 1 เครือ่ ง ขับเคลือ่ นด้วยเครือ่ งก�าเนิดไฟฟ้า W88 และยังนับเป็นครัง้ แรกทีม่ กี ารติดตัง้ หม้อไอน�า้ แบบ Once-Through ในโรงไฟฟ้ า H-Class ของ GE เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของระบบ พลังความร้อนร่วม นอกจากนี้ยังติดตั้งระบบควบคุมครบวงจร Mark Vie ของ GE รวมทั้งติดตั้งระบบควบคุม Single Operator Interface และเครื่องมือส�าหรับแก้ไขปัญหาทั่วไป ท�าให้ผู้ปฏิบัติการในโรงงาน สามารถด�าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ และสามารถแก้ปญ ั หา ได้อย่างรวดเร็วหากเกิดกรณีต่างๆ ขึ้น เพื่อเพิ่มความพร้อมในภาพรวม

GreenNetwork4.0 January-February

2021


ของโรงไฟฟ้า โดย GE จะเป็นผูใ้ ห้บริการดิจทิ ลั โซลูชนั และบริการต่างๆ เพือ่ คอย ปรับปรุงโรงไฟฟ้าให้ดขี นึ้ อย่างครบวงจร รวมไปถึงตรวจสอบการท�างาน ของกังหันก๊าซ 9HA.02 ควบคู่ไปกับการให้ค�าปรึกษาทางเทคนิคด้วย นอกจากนี้ จะมีการใช้ GE Digital’s Predix* ซอฟต์แวร์ดา้ นการบริหาร จัดการประสิทธิภาพเครื่องก�าเนิดไฟฟ้าแบบกังหันก๊าซในการมอนิเตอร์ และยกระดับประสิทธิภาพในองค์รวมของโรงไฟฟ้า เพือ่ ช่วยปรับปรุงใน ด้านทัศนวิสยั ความน่าเชือ่ ถือ และความพร้อม ซึง่ จะช่วยลดค่าใช้จา่ ยใน ด้านการด�าเนินการและการบ�ารุงรักษาอีกด้วย ในขณะทีศ่ นู ย์ Monitoring & Diagnostics ของ GE ในกรุงกัวลาลัมเปอร์ จะเป็นผูต้ ดิ ตามและวิเคราะห์ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากเซนเซอร์ทั้งหมดภายในโรงไฟฟ้า ราเมช ซิงการาม ประธานและหัวหน้าเจ้าหน้าที่บริหารของ GE Gas Power ภาคพื้นเอเชีย ผู้น�าระดับโลกด้านเทคโนโลยี บริการ และโซลูชนั บริหารจัดการพลังงานก๊าซธรรมชาติ กล่าวว่า ด้วยนวัตกรรม ที่ไม่หยุดนิ่งและการท�างานร่วมกับลูกค้าอย่างต่อเนื่อง เราผลิตพลังงาน ที่ล�้าหน้า สะอาด และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจ�าเป็นอย่างยิ่งใน ปัจจุบนั นอกจากนี้ เรายังสร้างสรรค์เทคโนโลยีพลังงานแห่งอนาคตด้วย ด้วยฐานผู้ใช้งานกังหันก๊าซที่ใหญ่ที่สุดของโลก และชั่วโมงท�างานกว่า 600 ล้านชั่วโมงทั่วฐานก�าลังของ GE เราส่งมอบเทคโนโลยีล�้าสมัยและ ประสบการณ์หาที่เปรียบไม่ได้ในอุตสาหกรรมในการสร้าง ด�าเนินการ และบ�ารุงรักษาโรงไฟฟ้าพลังงานก๊าซชั้นน�า *เครื่องหมายการค้าของบริษัทจีอี

10

ส�าหรับประเทศมาเลเซีย กว่า 40 ปีของการปฏิบัติงาน และ การขับเคลื่อนโรงไฟฟ้ากังหันก๊าซที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ส่งผลให้ GE มีความพร้อมและมีความเหมาะสมเป็นอย่างยิ่งที่จะช่วยรับมือกับความ ต้องการใช้พลังงานทีเ่ พิม่ ขึน้ ในประเทศ การเดินเครือ่ งจ่ายไฟเชิงพาณิชย์ ในครัง้ นีจ้ งึ นับเป็นก้าวย่างครัง้ ส�าคัญส�าหรับกลุม่ กังหันก๊าซ HA ของเรา กับการฉลองความส�าเร็จจากการจ่ายไฟในเชิงพาณิชย์จากกังหันก๊าซ รุ่นที่เป็น Flagship ของจีอีเป็นครั้งแรกในประเทศ

GreenNetwork4.0 January-February

2021


“เรามี ค วามมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะร่ ว มมื อ กั บ บริ ษั ท Southern Power Generation เพื่อให้ได้ประโยชน์จากเทคโนโลยีล่าสุดของเรามากที่สุด เช่นเดียวกับบริการดิจิทัลโซลูชันและบริการต่างๆ เพื่อการส่งมอบไฟฟ้า ทีร่ าบรืน่ มีความเสถียร ให้กบั ประเทศมาเลเซีย” ราเมช ซิงการาม กล่าว ไมเคิล หยาง ประธานกรรมการ บริษัท CTCI Corporation ผู้ให้บริการด้านวิศวกรรมชั้นน�าระดับโลก ซึ่งน�าเสนอบริการ ผลิตภัณฑ์ และโซลูชนั ทีค่ รอบคลุมหลากหลายประเภท กล่าวว่า นับตัง้ แต่กอ่ ตัง้ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2522 CTCI ได้ส่งมอบงานด้านวิศวกรรม งานจัดซื้อจัดจ้าง งานประกอบ งานก่อสร้าง งานระบบ และบริการด้านการจัดการโครงการ มาแล้วทั่วโลก CTCI มีส�านักงานใหญ่อยู่ที่นครไทเป ไต้หวัน โดยบริษัท ด�าเนินธุรกิจในตลาดเกี่ยวกับไฮโดรคาร์บอน พลังงาน สิ่งแวดล้อม การคมนาคมขนส่ง และอุตสาหกรรม CTCI นับเป็นผู้น�าในด้านบริการ EPC ในไต้หวัน โดยมีพนักงานประมาณ 7,000 คน ในพื้นที่ด�าเนินการ 40 แห่ง ในกว่า 10 ประเทศทั่วโลก และบริษัทฯ ยังเป็นสมาชิกของ ดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์ในกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่ (Dow Jones SustainabilityTM Emerging Markets) อีกด้วย จากประสบการณ์อันโชกโชนในการด�าเนินโครงการโรงไฟฟ้า แบบ EPC มาแล้วทั่วโลก ทั้ง CTCI และ GE ต่างภาคภูมิใจที่ได้ช่วยให้ โครงการนี้สามารถประหยัดแรงงานคนได้ถึง 10 ล้านชั่วโมงแรงงาน ซึง่ นับเป็นบทพิสจู น์ถงึ ความน่าเชือ่ ถือในทีมงานของเรา ความส�าเร็จร่วมกัน ของทั้ง 2 บริษัทยังช่วยปูทางไปสู่ความร่วมมืออีกครั้งในช่วงปลายปี พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา กับการคว้าสัญญา EPC ในโครงการโรงไฟฟ้า กังหันก๊าซ 5 แห่งในไต้หวัน มูลค่านับพันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

GE ได้ด�าเนินการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมระดับ H-Class แบบพร้อมสรรพ (Turnkey) เพือ่ สนับสนุนวัฏจักรของโรงไฟฟ้าอย่างเต็ม รูปแบบ ตั้งแต่อุปกรณ์การผลิตกระแสไฟฟ้า บริการดิจิทัลโซลูชัน และ ข้อตกลงด้านการบริการ โดยกังหันก๊าซรุน่ HA ของ GE ถือเป็นกังหันก๊าซ ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งได้รับค�าสั่งซื้อ แล้วมากกว่า 100 เครือ่ ง จากลูกค้ากว่า 48 ราย ใน 20 ประเทศทัว่ โลก กลุ่มกังหันก๊าซ H-Class รุ่นที่ 2 ของ GE สามารถจ่ายไฟในเชิงพาณิชย์ ได้แล้วถึง 850,000 ชั่วโมงท�าการ (ณ เดือนมกราคม 2564) และเพื่อ ช่วยลดปริมาณการปล่อยคาร์บอนให้มากขึน้ ท�าให้ปจั จุบนั กลุม่ กังหันก๊าซ H-Class มีความสามารถในการเผาไหม้ได้สูงสุดถึง 50% ของปริมาณ ไฮโดรเจนเมื่อผสมกับก๊าซธรรมชาติ

Track 4A Power Plant in Malaysia

starts Operation with GE’s First 9HA.02 Gas Turbines in Commercial Operation Globally JOHOR, MALAYSIA : GE (NYSE: GE), CTCI Corporation (CTCI), and Southern Power Generation Sdn Bhd (SPG) today announced the start of commercial operation for Southern Power Generation’s Track 4A Power Plant, a 1,440-megawatt combined cycle gas power plant in Pasir Gudang, Johor, Malaysia. This site will feature GE’s first 9HA.02 Combined-Cycle Power Plant in commercial operation today. This plant was safely constructed with the Taiwanese EPC partner, CTCI, and consists of two generating blocks, each equipped with the highly efficient gas turbine, a steam turbine, a generator, and a Heat Recovery Steam Generator (HRSG) from GE. In addition,

11

under the terms of a 21-year agreement, GE will provide services and digital solutions to improve asset visibility, reliability, and availability of the Track 4A plant—which will produce the equivalent electricity needed to power approximately three million homes in Malaysia. “We have a longstanding relationship with GE and we trust its HA technology will help us meet the increasing power demand and contribute to long-term energy security needs in Malaysia.” said Dato’ Haji Nor Azman bin Mufti, Chairman of SPG. “We are proud to see how GE has adapted with hard work and efficiency to achieve the start of their first ever commercial operation for the

GreenNetwork4.0 January-February

2021


9HA.02 gas turbines despite the COVID-19 pandemic without compromising on health and safety.” The plant features two single-shaft generating blocks, each equipped with a 9HA.02 gas turbine and a STF-D650 steam turbine, driving a W88 generator, and, for the first time installed in an H-Class Plant, a GE Once Through Heat Recovery Steam Generator delivering higher combined cycle efficiency. The plant is controlled by GE’s Mark* VIe integrated Plant Control System. Equipped with a single Operator Interface and common troubleshooting tools, plant personnel can operate the plant more efficiently and, when issues do arise, rapidly recover to improve overall plant availability. GE will provide a full spectrum of digital solutions and plant improvement services, major inspections of the 9HA.02 gas turbines, along with technical advisory services. Overall plant performance will be monitored and enhanced with GE Digital’s Predix* Asset Performance Management software to help improve asset visibility, reliability, and availability while reducing operating and maintenance *Trademark of General Electric Company

12

costs. In addition, data collected from sensors throughout the facility will be monitored and analyzed 24/7 at GE’s Monitoring & Diagnostics (M&D) Center in Kuala Lumpur. “With more than 40 years of operations and the largest base of installed gas turbines in the country, GE is uniquely qualified to help meet the growing power demand in Malaysia.” said Ramesh Singaram, President and CEO of GE Gas Power in Asia. “Today marks a tremendous milestone for our HA fleet, as we celebrate the world’s first commercial operation of our flagship turbine here in Malaysia. We look forward to helping Southern Power Generation reap the benefits of our latest technology as well as combined services and digital solutions, helping to deliver more reliable and flexible power generation for the country.” “By drawing on our rich experience in global power plant EPCs, CTCI and GE have proudly achieved more than 10 million safe man-hours on this project, a testament to the team’s reliability. The two companies’ joint success also paved way to another recent partnership in late 2020, helping us win a multi-billion dollar EPC contract for five combined cycle gas power units in Taiwan.” said Michael Yang, Chairman of CTCI Corporation.

GreenNetwork4.0 January-February

2021


‘บ้านปู เน็กซ์’ ผนึก 4 ภาคีเครือข่าย

น�าโซลูชันฉลาดวิเคราะห์

Smart City กองบรรณาธิการ

ยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยในภูเก็ตสมาร์ทซิตี้

บ้านปู เน็กซ์ น�า Smart Community Platform Application Workflow มาใช้เป็นรายแรกของไทย บ้านปู เน็กซ์ ผนึกก�าลัง 4 ภาคี ‘เทศบาลนครภูเก็ต’ ‘เทศบาลต�าบลราไวย์’ ‘ชุมชนย่านเมืองเก่าภูเก็ต’ และ ‘แพลนเน็ต’ มุ่งพัฒนาภูเก็ตสมาร์ทซิตี้เฟสที่ 1 ภายใต้ โครงการ “ภูเก็ต ชุมชนน่าอยู่ สมาร์ท ปลอดภัย สุขใจ ทุ ก ชี วิ ต ” ระดมทั พ โซลู ชั น ฉลาดวิ เ คราะห์ (Smart Data Analytics) ยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยรับ วิถีชีวิตยุคใหม่ ครอบคลุม 3 ด้านส�าคัญ ได้แก่ ภัยจาก โรคระบาด โดยเฉพาะ COVID-19 อาชญากรรม และ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยติ ด ตั้ ง ระบบความปลอดภั ย แบบ ครบวงจรทั้งระบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ น�าร่อง 2 พืน้ ที่ บริเวณถนนถลาง-ซอยรมณีย์ และต�าบลราไวย์ (บริเวณเทศบาลและแหลมพรหมเทพ) ชูเป็นบริษัท รายแรกของไทยที่ Smart Community Platform และ แอปพลิเคชันมาใช้รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ประมวลผล และควบคุมระบบด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) สร้ า งความมั่ น ใจให้ ค นในชุ ม ชนและนั ก ท่ อ งเที่ ย ว เตรียมเดินหน้าน�าโซลูชันอื่นๆ เติมเต็มการพัฒนาภูเก็ต สมาร์ทซิตี้ในฐานะเมืองต้นแบบให้สมบูรณ์ในทุกมิติ 13

บ้านปู เน็กซ์ น�าโซลูชันฉลาดวิเคราะห์ และ Smart Community Platform พัฒนาโครงการฯ

สมฤดี ชั ย มงคล ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหาร บริษัท บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) และ บริษัท บ้านปู เน็กซ์ จ�ากัด กล่าวว่า ในปี พ.ศ. 2564 นี้ บ้านปู เน็กซ์ ซึง่ เป็นบริษทั ลูกของบ้านปู ยังคงด�าเนินงานภายใต้กลยุทธ์ Greener & Smarter โดยได้รวบรวมความรู้ ความเชีย่ วชาญ ด้านโซลูชันพลังงานสะอาดมาพัฒนาต่อยอด เป็น 5 โซลูชันพลังงานฉลาด (Smart Energy Solutions) ประกอบด้วย ฉลาดวิเคราะห์ ฉลาด ผลิต ฉลาดเก็บ ฉลาดใช้ และฉลาดหมุนเวียน เพื่อสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ พัฒนาประเทศสูส่ มาร์ทซิตไี้ ด้อย่างเป็นรูปธรรม ประเดิมด้วยการน�าโซลูชันฉลาดใช้ ได้แก่ เรือ ท่องเที่ยวไฟฟ้า และสถานีอัดประจุไฟฟ้า ไปให้ บริการในแหล่งท่องเทีย่ วทางทะเลทีจ่ งั หวัดภูเก็ต

GreenNetwork4.0 January-February

2021

สมฤดี ชัยมงคล

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) และบริษัท บ้านปู เน็กซ์ จ�ากัด


ประพัฒน์ รัฐเลิศกานต์

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท แพลนเน็ต คอมมิวนิเคชั่น เอเชีย จ�ากัด (มหาชน)

ล่าสุดร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และ ชุมชน เดินหน้าโครงการใหญ่ “ภูเก็ต ชุมชนน่าอยู่ สมาร์ท ปลอดภัย สุขใจทุกชีวิต” น�าโซลูชันฉลาด วิเคราะห์มาใช้วเิ คราะห์ประเด็นปัญหาของทัง้ 2 พืน้ ที่ และออกแบบระบบความปลอดภัยทีต่ อบโจทย์ความ ต้องการของแต่ละพื้นที่ โดยให้บริษัท แพลนเน็ต คอมมิวนิเคชัน่ เอเชีย จ�ากัด (มหาชน) หรือ PLANET เป็นผู้ติดตั้งระบบฮาร์ดแวร์และระบบปฏิบัติการ Internet of Things (IoT) พร้ อ มกั น นี้ ยั ง น� า Smart Community Platform และแอปพลิเคชัน ซึ่งเป็นระบบซอฟต์แวร์ ที่บ้านปู เน็กซ์ พัฒนาขึ้นเป็นรายแรกของไทยมาใช้ พัฒนาโครงการสมาร์ทซิตดี้ งั กล่าว โดยแพลตฟอร์มนี้ สามารถเชื่อมต่อระบบปฏิบัติการของอุปกรณ์อื่นๆ และท�างานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่วา่ จะเป็น การรวบรวมข้อมูลทัง้ หมดมาวิเคราะห์และประมวลผล ด้วยปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ส่งเข้าสู่ศูนย์ควบคุมส่วนกลาง (War Room) ซึ่งจะ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการท�างาน ท�าให้เจ้าหน้าที่ สามารถวางแผนและป้องกันสถานการณ์ต่างๆ ได้ อย่างแม่นย�า ส่วนแอปฯ Smart Community จะเป็น ตัวช่วยให้เจ้าหน้าที่ใช้ดูอุปกรณ์ต่างๆ ของระบบฯ เพื่อเฝ้าระวัง ตรวจสอบ และสั่งการได้ทุกที่ทุกเวลา “ระบบความปลอดภัยที่น�ามาติดตั้งนี้ ยังช่วย เพิ่มประสิทธิภาพเรื่องการเฝ้าระวังสถานการณ์ COVID-19 ครอบคลุม 5 ด้านตามมาตรการเว้น ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ได้แก่ 1. นับจ�านวนคน เพือ่ จ�ากัดคนเข้าออก 2. ตรวจสอบ ความหนาแน่นของคนในพื้นที่ 3. ตรวจคัดกรอง อุณหภูมริ า่ งกาย 4. ตรวจจับผูท้ ไี่ ม่ใส่หน้ากากอนามัย 5. น�าข้อมูลมาวิเคราะห์ไทม์ไลน์เบือ้ งต้นของผูท้ เี่ ข้ามา ในพืน้ ที่ และตรวจสอบผูท้ สี่ งสัยว่าติดเชือ้ COVID-19 ซึ่งเจ้าหน้าที่สามารถใช้แอปฯ ติดตามข้อมูลทั้งหมด พร้อมระบบแจ้งเตือนแบบเรียลไทม์เมื่อพบความ ผิดปกติ และรายงานเหตุการณ์ไปยังศูนย์ควบคุม ส่วนกลาง เพือ่ ควบคุมสถานการณ์ได้ทนั เวลา” สมฤดี กล่าว

แพลนเน็ตติดตั้งระบบฮาร์ดแวร์ ด้านความปลอดภัย พร้อมระบบ IoT ให้โครงการฯ

สมใจ สุวรรณศุภพนา

นายกเทศมนตรีนครภูเก็ต

ประพัฒน์ รัฐเลิศกานต์ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บริษัท แพลนเน็ต คอมมิวนิเคชั่น เอเชีย จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า แพลนเน็ตเป็นผูใ้ ห้บริการ ด้ า นเทคโนโลยี ร ะบบสื่ อ สารโทรคมนาคมแบบ ครบวงจร ที่มุ่งน�าเทคโนโลยีมาเสริมศักยภาพการ ด�าเนินธุรกิจขององค์กรต่างๆ ให้สอดรับกับยุคดิจทิ ลั โดยบริษทั ฯ เป็นผูต้ ดิ ตัง้ ระบบฮาร์ดแวร์ของโครงการนี้ 14

ระบบความปลอดภัยบริเวณถนนถลาง-ซอยรมณีย์ ซึ่งบ้านปู เน็กซ์ ได้มีการออกแบบโซลูชันทั้งหมด มาเป็นอย่างดี จึงเอื้อให้เราสามารถเลือกฮาร์ดแวร์ ล�้าสมัยที่ตอบโจทย์การใช้งานได้อย่างครบวงจร ส�าหรับระบบด้านความปลอดภัยที่บริษัทฯ ติดตัง้ ประกอบด้วย 1. เซนเซอร์คดั กรอง COVID-19 แบบไร้สัมผัส มีระบบตรวจจับอุณหภูมิร่างกายที่มี ความแม่นย�าสูง 2. สถานีเฝ้าระวังอัจฉริยะ (Smart Surveillance) ประกอบด้วย กล้อง CCTV ทีใ่ ช้บนั ทึก ภาพเหตุการณ์และบุคคลในระบบซอฟต์แวร์ของ ศู น ย์ ค วบคุ ม ส่ ว นกลาง (War Room) พร้ อ มมี เทคโนโลยี AI ทีน่ บั จ�านวนคนเข้าออกพืน้ ที่ แจ้งเตือน เหตุการณ์ผิดปกติ ตรวจจับวัตถุต้องสงสัย สืบค้น และติดตามบุคคล (Tracking) ด้วยการวิเคราะห์ จดจ�าใบหน้า (Face Recognition) ระบบเสียงตามสาย สาธารณะ (Public Address) และระบบรับแจ้งเหตุ ฉุกเฉิน (SOS) 24 ชั่วโมง ซึ่งมีการใช้เทคโนโลยี Cloud 3. สถานีเฝ้าระวังสภาพอากาศ (Air Quality) ตรวจวัดอุณหภูมิ ปริมาณฝุ่น PM2.5 และความชื้น 4. เซนเซอร์ตรวจวัดสถานะจุดจอดรถ (Smart Parking) เทคโนโลยีตรวจจับต�าแหน่งการจอดรถที่มีเซนเซอร์ แจ้งเตือนแบบเรียลไทม์ นอกจากนี้ยังได้น�าระบบ ปฏิบตั กิ าร IoT มาใช้ในการควบคุมและรวบรวมข้อมูล จากอุปกรณ์ต่างๆ ส่งไปยังแพลตฟอร์มของบ้านปู เน็กซ์ เพื่อประมวลผลต่อไป

น�าร่องติดตั้งระบบบริเวณ ถนนถลาง-ซอยรมณีย์

ผลักดันภูเก็ตสู่เมืองต้นแบบการจัดการ ความปลอดภัย

สมใจ สุ ว รรณศุ ภ พนา นายกเทศมนตรี นครภูเก็ต กล่าวว่า เทศบาลให้ความส�าคัญในการ ผลักดันภูเก็ตให้เป็นเมืองต้นแบบการจัดการความ ปลอดภัยและป้องกันภัยที่ครอบคลุม ทั้งภัยจาก อาชญากรรม สิง่ แวดล้อม และโดยเฉพาะโรคระบาด

GreenNetwork4.0 January-February

2021


ติดตั้งสถานีเฝ้าระวังอัจฉริยะ สถานีเฝ้าระวังสภาพอากาศ บริเวณแหลมพรหมเทพ

ตอบโจทย์ความปลอดภัยในการท่องเทีย่ ว

ระบบความปลอดภัยบริเวณแหลมพรหมเทพ ซึ่งทางเทศบาลได้เตรียมการร่วมกับทางชุมชนและ ภาคเอกชนมาโดยตลอด เพราะเราเชื่อว่าความ ปลอดภัยคือรากฐานของการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ให้กับคนในพื้นที่และนักท่องเที่ยว รวมถึงผลักดันให้ เมืองภูเก็ตน่าอยู่และช่วยเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ดังนั้นเราจึงน�าร่องติดตั้งระบบนี้บริเวณถนนถลางซอยรมณีย์ ซึ่งเป็นถนนสายเก่าแก่ที่มีเสน่ห์ทาง ประวัติศาสตร์และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ส�าคัญ “การน�าโซลูชันของบ้านปู เน็กซ์ มาติดตั้งนี้ ท�าให้เราสามารถตรวจสอบบุคคลและจ�ากัดจ�านวน คนเข้ า ออก ลดความหนาแน่ น ในพื้ น ที่ สอดรั บ มาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม รวมถึงตรวจจับ ภาพบุคคลทีไ่ ม่ใส่หน้ากากอนามัยและวัตถุตอ้ งสงสัย ในพืน้ ที่ ในส่วนของเซนเซอร์ตรวจวัดสถานะจุดจอดรถ จะช่วยจัดระเบียบในการจอดรถ อ�านวยความสะดวก ด้านการสัญจรในพืน้ ทีน่ ี้ เนือ่ งจากย่านนีม้ กั พบปัญหา การจอดรถในจุดห้ามจอดบ่อยครั้ง” สมใจ กล่าว

อรุณ โสฬส นายกเทศมนตรีต�าบลราไวย์ กล่าวว่า ราไวย์เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชายหาดและ จุดชมวิวทีง่ ดงามติดอันดับโลกอย่างแหลมพรหมเทพ มีนกั ท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและต่างชาติมาเทีย่ วจ�านวน มาก ทางเทศบาลจึงมุ่งสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี และพั ฒนาสิ่งอ�า นวยความสะดวกอย่ างต่อเนื่อง โดยค�านึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก ดังนัน้ การติดตัง้ สถานีเฝ้าระวังอัจฉริยะและสถานีเฝ้าระวังสภาพ อากาศบริเวณแหลมพรหมเทพ จะช่วยเติมเต็มการ พัฒนาหาดราไวย์และพื้นที่โดยรอบให้เป็นระเบียบ ยิง่ ขึน้ ตอบโจทย์ดา้ นความปลอดภัยในการท่องเทีย่ ว ได้เป็นอย่างดี ระบบเหล่านี้จะช่วยให้เราสอดส่อง นักท่องเที่ยวที่ไปยังจุดชมวิวให้มีจ�านวนที่เหมาะสม และเฝ้าระวังอุบัติเหตุต่างๆ เนื่องจากมีภูมิทัศน์ที่ ค่อนข้างชัน อีกทัง้ ยังได้ตดิ ตัง้ จุดคัดกรอง COVID-19 ที่ส�านักงานเทศบาล ซึ่งเราเชื่อว่าระบบฯ ที่บ้านปู เน็กซ์ น�ามาติดตัง้ จะยกระดับมาตรฐานการท่องเทีย่ ว สร้างความมัน่ ใจให้นกั ท่องเทีย่ ว ช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจ ให้ ชุ ม ชน และลดความกั ง วลเรื่ อ งสถานการณ์ COVID-19 ได้

อรุณ โสฬส

นายกเทศมนตรีต�าบลราไวย์

จุดคัดกรอง COVID-19 ที่ส�านักงานเทศบาลต�าบลราไวย์ “ระบบความปลอดภัยเหล่านี้ สอดรับ กับแนวทางการพัฒนาสมาร์ทซิตี้ด้านการ ปกครอง (Smart Governance) สิง่ แวดล้อม (Smart Environment) เศรษฐกิจ (Smart Economy) ความเป็นอยู่ (Smart Living) การเดินทางและขนส่ง (Smart Mobility) ซึง่ ทุกระบบฯ ได้เปิดใช้งานอย่างเป็นทางการ แล้ว ทั้งนี้ เราจะเดินหน้าน�าโซลูชันพลังงาน ฉลาดอืน่ ๆ พร้อมบริการทีค่ รบวงจรในราคา ที่เหมาะสม มาเติมเต็มการพัฒนาภูเก็ตให้ ก้าวสู่สมาร์ทซิตี้โดยสมบูรณ์ โดยเราจะวาง ภูเก็ตเป็นโครงการต้นแบบสมาร์ทซิตคี้ รบวงจร ซึ่ ง เราจะน� า โซลู ชั น และแพลตฟอร์ ม นี้ ไปประยุกต์ใช้กับโครงการสมาร์ทซิตี้อื่นๆ ในอนาคตต่อไป” สมฤดี กล่าวสรุป

15

GreenNetwork4.0 January-February

2021


In Trend กองบรรณาธิการ

ทีมวิจัยแนะพื้นที่ EEC รับมือภัยแล้งล่วงหน้า

วางมาตรการเสริม - จัดตั้งองค์กรเฉพาะจัดการน�้า ที ม แผนงานวิ จั ย เข็ ม มุ ่ ง ด้ า นการบริ ห าร จั ด การน�้ า ภายใต้ ก ารสนั บ สนุ น ของส� า นั ก งาน คณะกรรมการการวิจยั แห่งชาติ (วช.) และส�านักงาน คณะกรรมการส่ ง เสริ ม วิ ท ยาศาสตร์ วิ จั ย และ นวัตกรรม (สกสว.) แนะ EEC รับมือกับน�้าล่วงหน้า ดังเช่นปี พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา พร้อมเสนอให้มี มาตรการเสริมเพิม่ เติมจากแผนแม่บท จัดตัง้ องค์กร เฉพาะเพือ่ การบริหารจัดการน�า้ ทุกภาคส่วนใน EEC ตัง้ เป้าขยายผลการบริหารจัดการน�า้ ใน 4 เขือ่ นหลัก และขยายงานโครงการชลประทานในแผนวิจัยปี 2

รศ. ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์

ประธานแผนงานวิจัยเข็มมุ่ง ด้านการบริหารจัดการน�้า ภายใต้การสนับสนุนของ วช. และ สกสว. รศ. ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ ประธานแผนงานวิจัยเข็มมุ่ง ด้ า นการบริ ห ารจั ด การน�้ า ภายใต้ ก ารสนั บ สนุ น ของส� า นั ก งาน คณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และส�านักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) กล่าวว่า จากแนวคิด การพัฒนาเทคนิคและระบบใหม่ให้เชือ่ มโยงกับระบบวางแผนและบริหาร น�า้ ในปัจจุบนั โดยเลือกประเด็นส�าคัญมาพัฒนาเทคนิคเพือ่ น�ากลับเข้าไป ใส่ในระบบที่มีอยู่ด้วยเทคนิคใหม่ได้ ตลอดจนพัฒนาการเชื่อมโยงของ ระบบและทดลองการรันคู่ขนานกับระบบปัจจุบันเพื่อการทดสอบได้ ซึ่งในปีแรกเป็นการวิจัยพัฒนาต้นแบบ ปีที่ 2 ประยุกต์ใช้ร่วมกับ หน่วยงานปฏิบัติ และปีที่ 3 วิจัยเสริมพร้อมถ่ายทอดผลงานวิจัยให้กับ หน่วยงานปฏิบัติต่อไป ผลการวิเคราะห์สภาพน�้า ในเขตระเบีย งเศรษฐกิจ พิเ ศษภาค ตะวันออก (EEC) พบว่ามีโอกาสเกิดภาวะแล้งเช่นปี พ.ศ. 2563 โดยเฉพาะ เมื่ อ มี โ ครงการพัฒ นาเพิ่มขึ้นและสภาพภาวะอากาศสุ ด โต่ ง เกิ ด ขึ้ น การน�าน�า้ จากภาคกลางไปช่วยจะท�าได้ยากขึน้ จึงจ�าเป็นต้องมีมาตรการ เสริมเพิ่มจากแผนแม่บทของพื้นที่ EEC ทั้งด้านจัดหา เก็บกัก บริหารน�้า การจัดการความขัดแย้งและการจัดการน�า้ ด้านอุปสงค์เพือ่ ลดความเสีย่ ง และความเสียหายในอนาคต การขยายผลการจัดการน�้าด้านอุปสงค์ 16

ต้องการกติกา กฎระเบียบรองรับ เพื่อให้ขับเคลื่อนทุกภาคส่วนอย่างมี มาตรฐาน โดยเริ่มจากโครงการใหม่และโครงการขนาดใหญ่ที่พร้อมจะ ลงทุน รวมถึงมาตรการช่วยเหลือสนับสนุนที่จ�าเป็น มีศูนย์ถ่ายทอด เทคโนโลยีการประหยัดน�้าและการใช้น�้าซ�้าให้ผู้ประกอบการเห็นเป็น ตัวอย่าง และอบรมผู้ประกอบการที่สนใจ ซึ่งเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย เพื่อเสนอต่อส�านักงานทรัพยากรน�้าแห่งชาติพิจารณาต่อไป “คณะวิ จั ย เห็ น ว่ า ควรก� า หนดให้ มี ห น่ ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบด้ า น การบริหารจัดการน�้าทุกภาคส่วนในเขต EEC เป็นการเฉพาะ เพื่อให้เกิด ความมัน่ คงและมีประสิทธิภาพ เป็นศูนย์รวมทีค่ รอบคลุมทัง้ น�า้ ต้นทุนและ การใช้นา�้ ทุกภาคส่วน โดยมีหน้าทีเ่ บือ้ งต้นในการก�าหนดกติกาการใช้นา�้ การจัดล�าดับความส�าคัญการใช้นา�้ การจัดสรรน�า้ การเตรียมแผนรองรับ กรณีฉุกเฉิน ซึ่งจะต้องค�านึงถึงขอบข่ายและความทับซ้อนอ�านาจและ หน้าที่ของคณะกรรมการลุ่มน�้า ตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน�้า พ.ศ. 2561” รศ. ดร.สุจริต กล่าว นอกจากนีย้ งั ควรศึกษารูปแบบต่างๆ ด้านการเงินส�าหรับโครงการ ด้านน�้า เริ่มจากการศึกษาและประเมินสถานะการลงทุนที่มีอยู่ เพื่อ น�ามาวิเคราะห์ ระบุช่องว่างการลงทุนและการจัดหาเงินทุน เพื่อจัดท�า ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับการลงทุนในโครงการด้านน�้าเพื่อ การพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมุ่งเน้นพื้นที่ที่มีศักยภาพและสามารถดึงดูด นักลงทุนได้ เช่น พื้นที่ EEC และในเขตเมือง ซึ่งพัฒนาอย่างรวดเร็ว มีการลงทุนสูง และเสีย่ งต่อการขาดแคลนน�า้ ทัง้ นี้ ผลการวิจยั ได้นา� ไปสู่ ข้อเสนอแนะการศึกษาความเป็นไปได้ทจี่ ะจัดองค์กรเฉพาะขึน้ ในอนาคต ส�าหรับพืน้ ที่ EEC รวมทัง้ เผยแพร่และชีแ้ จงต่อคณะอนุกรรมการพิจารณา ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการกลุม่ ลุม่ น�า้ ตะวันออก สภาผูแ้ ทนราษฎร และคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนแม่บทฯ ของ สนทช. ต่อไป

GreenNetwork4.0 January-February

2021


รศ. ดร.สุจริต กล่าวว่า ส�าหรับการใช้ เทคโนโลยีในการบริหารจัดการเขื่อนภูมิพล พบว่า ชุดต้นแบบ ชุดโปรแกรมการจ�าลอง การปล่อยน�้า ช่วยให้ตัดสินใจปล่อยน�้าได้ อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ส่งผล ต่อการเพิ่มน�้าต้นทุนของเขื่อนตามเป้าหมาย ของงานวิจัย หลังการเรียนรู้ข้อมูลในอดีต 10 ปียอ้ นหลังมาใช้ในการปล่อยน�า้ ช่วงฤดูฝน ในปี พ.ศ. 2563 ซึ่งเป็นปีที่แล้ง เทียบกับ การปล่อยน�้าตามเกณฑ์ที่มีอยู่ พบว่าสามารถ เสนอค่าปริมาณการปล่อยน�้าที่เพิ่มเติมได้ เทียบกับวิธีการที่ใช้อยู่ นอกจากนี้ยังพัฒนา แบบจ�าลองและติดตัง้ เครือ่ งวัดระดับน�า้ บาดาล อั ต โนมั ติ เพื่ อ ติ ด ตามสถานการณ์ ก ารใช้ น�้าบาดาลในพื้นที่เจ้าพระยาตอนบน และ ศักยภาพทีม่ ี พร้อมกับถ่ายทอดให้กบั ผูบ้ ริหาร กรมทรัพยากรน�้าบาดาลได้ใช้ประโยชน์จาก งานวิจัยต่อไป ขณะที่ “ท่อทองแดงโมเดล” สามารถสรุปแนวปฏิบัติและบทเรียนปรับปรุง การท�างานระหว่างเจ้าหน้าที่ชลประทานกับ กลุม่ ผูใ้ ช้นา�้ ให้พดู ภาษาเดียวกันได้บนฐานของ ข้อมูลและความเข้าใจกันมากขึ้น

โครงการน ชลประทาดง ท่อทองแ

“งานวิจยั ท�าให้เห็นโอกาสในการบริหารน�า้ ทีล่ ดความ สูญเสียเนือ่ งจากมีการวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิคใหม่ และมีระบบ จัดการข้อมูลที่ทันกาลมากขึ้น การทดลองในพื้นที่น�าร่อง ท�าให้เกิดการเรียนรูท้ งั้ กับนักวิจยั ผูป้ ฏิบตั ิ และผูใ้ ช้นา�้ ท�าให้ มีความเข้าใจและการมีสว่ นร่วมมากขึน้ ทัง้ นี้ การบริหารน�า้ ในเขือ่ นจะขยายผลให้ครอบคลุม 4 เขือ่ นหลักของภาคกลาง ตอนล่าง และขยายการท�านายฝนจาก 14 วัน เป็นฤดูกาล เพือ่ ให้บริหารจัดการน�า้ ล่วงหน้าได้ดขี นึ้ โดยจะท�างานร่วมกับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยและกรมชลประทาน รวมถึงขยายพื้นที่การบริหารน�้าในโครงการชลประทานให้ ครอบคลุมทั้งโครงการชลประทานท่อทองแดงในระยะที่ 2 เพื่อเป็นพื้นที่ตัวอย่างในการน�าเทคโนโลยีและการสื่อสาร มาใช้ในโครงการชลประทานอืน่ ต่อไป” รศ. ดร.สุจริต กล่าว 17

GreenNetwork4.0 January-February

2021


Report ทัศนีย์ เรืองติก

ส�ำนักงำนกำรวิจยั แห่งชำติ (วช.) ร่วมกับ เครือข่ำยนักวิจยั จำกมหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ (มอ.) มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ (มช.) มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ (มก.) และมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีสรุ นำรี (มทส.) จัดงำนเสวนำวิชำกำรเรื่อง “วิจัย นวัตกรรม สู้ฝุ่นจิ๋ว” เพื่อน�ำเสนองำนวิจัยและนวัตกรรมในกำรแก้ปัญหำ ฝุ่น PM2.5 และแนวทำงกำรแก้ไขปัญหำฝุ่น PM2.5 ในแต่ละภูมิภำคของประเทศ

วช. ร่วมกับเครือข่ายนักวิจัย

พัฒนานวัตกรรมรับมือฝุ่นจิ๋ว

พร้อมแนะแนวทางแก้ปัญหาในแต่ละภูมิภาคของประเทศ วช. เผย 2-3 ปีที่ผ่านมาปัญหาฝุ่น PM2.5 เริ่มรุนแรงมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในช่วงเข้าสู่ฤดูหนาว

ดร.วิภำรัตน์ ดีอ่อง

รองผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำนกำรวิจัยแห่งชำติ รักษำรำชกำรแทน ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำนกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.)

18

ดร.วิภำรัตน์ ดีอ่อง รองผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำนกำรวิจัย แห่งชำติ รักษำรำชกำรแทน ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำนกำรวิจัย แห่งชำติ (วช.) กล่ำวว่ำ ปัญหำฝุ่นละอองขนำดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือ PM2.5 เป็นปัญหำที่ไทยได้รับผลกระทบมำอย่ำง ต่อเนือ่ งในทุกๆ ปี แต่ในช่วง 2-3 ปีทผี่ ำ่ นมำสถำนกำรณ์เริม่ รุนแรง มำกยิง่ ขึน้ โดยเฉพำะในช่วงเข้ำสูฤ่ ดูหนำวในประเทศไทย ในช่วง เดือนธันวำคม-เดือนกุมภำพันธ์ของทุกปี ส่งผลให้เกิดปัญหำ สุขภำพและกระทบกับสิ่งแวดล้อมในวงกว้ำงขึ้น ส�ำหรับแนวทำงในกำรแก้ปญ ั หำ รัฐบำลยกระดับมำตรกำร แก้ไขปัญหำฝุ่นละอองเป็นวำระแห่งชำติ ร่วมกับหน่วยงำน ที่เกี่ยวข้องทุกภำคส่วนร่วมท�ำวิจัย สร้ำงนวัตกรรมที่ช่วยชะลอ ยับยั้ง ตรวจสอบพื้นที่ที่มีปัญหำฝุ่น PM2.5 ซึ่ง วช. ก็เป็นอีกหนึ่ง

GreenNetwork4.0 January-February

2021


หน่วยงำนที่ได้เข้ำร่วมขับเคลื่อนด้วย ในฐำนะที่เป็นหน่วยงำนบริหำร จัดกำรทุนวิจัยและนวัตกรรม ตำมแพลตฟอร์มที่ 2 กำรวิจัยและสร้ำง นวัตกรรมเพื่อตอบโจทย์ท้ำทำยของสังคม โปรแกรมที่ 7 โจทย์ท้ำทำย ด้ำนทรัพยำกร สิง่ แวดล้อม และกำรเกษตร แผนงำนทีส่ ำ� คัญ (Flagship Project) กลุม่ เรือ่ ง PM2.5 เพือ่ ใช้กำรวิจยั และนวัตกรรมจัดกำรกับปัญหำ ท้ำทำยเร่งด่วนส�ำคัญของประเทศในเรื่องคุณภำพอำกำศและฝุ่นละออง ขนำดไม่เกิน 2.5 ไมครอน เพื่อมุ่งเน้นกำรลดปัญหำมลพิษทำงอำกำศ สร้ำงเทคโนโลยีและนวัตกรรมกำรป้องกันผลกระทบต่อสุขภำพ วิจัย ศึกษำองค์ประกอบและแหล่งก�ำเนิดมลพิษทำงอำกำศ กำรตรวจสอบ คุณภำพกำรแพร่กระจำยของหมอกควัน กำรใช้งำนระบบพยำกรณ์คณ ุ ภำพ อำกำศเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจในกำรบริหำรจัดกำรเชื้อเพลิง รวมทั้ง กำรติดตำมกำรเฝ้ำระวังและกำรเตือนภัยคุณภำพอำกำศของประเทศไทย เป็นต้น โดย วช. ได้มอบทุนให้กบั หน่วยงำนต่ำงๆ ทีจ่ ะน�ำไปใช้ทำ� งำนวิจยั สร้ำงนวัตกรรมในกำรตรวจสอบฝุ่น PM2.5 เช่น เครื่องวัดฝุ่นละออง ขนำดเล็ก หรือ Dustboy ทีส่ ำมำรถวัดค่ำ PM2.5 ได้อย่ำงถูกต้องแม่นย�ำ รำยงำนค่ำทีว่ ดั ได้แบบเรียลไทม์ ทีส่ ำ� คัญพยำกรณ์สภำพอำกำศล่วงหน้ำ ได้อย่ำงน้อย 3 วัน ขณะนี้ได้น�ำไปติดตั้งจุดพื้นที่เสี่ยงที่เกิดฝุ่น PM2.5 แล้วกว่ำ 200 จุดทั่วประเทศ นอกจำกนี้ วช. ได้ใช้งำนวิจยั พัฒนำนวัตกรรมเรือ่ งฝุน่ PM2.5 สร้ำง เครือข่ำยงำนวิจัยสนับสนุนผลงำนเชิงรุกเพิ่มเติมทั่วประเทศ เพื่อให้ แต่ละพื้นที่น�ำงำนวิจัยนวัตกรรมที่คิดค้นได้ไปช่วยให้ฝุ่นในแต่ละพื้นที่ ลดลงอย่ำงยั่งยืน

ผศ. ดร.สุรัตน์ บัวเลิศ

คณบดีคณะสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ (มก.)

ผลการศึกษาพบ กทม. มีฝนุ่ ละเอียดทีม่ สี ารก่อมะเร็ง เกิดจากการเผาไหม้ของรถยนต์จ�านวนมาก

ผศ. ดร.สุรัตน์ บัวเลิศ คณบดีคณะสิ่งแวดล้อม มหำวิทยำลัย เกษตรศำสตร์ กล่ำวว่ำ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ได้ท�ำงำนวิจัยฝุ่น PM2.5 เมือ่ ประมำณ 10 ปีทผี่ ำ่ นมำ โดยได้รบั เงินสนับสนุนงำนวิจยั จำก วช. ในกำรวิจยั ในพืน้ ทีก่ รุงเทพมหำนคร เบือ้ งต้นได้ศกึ ษำชัน้ บรรยำกำศ 19

และมลภำวะทำงอำกำศบนตึ ก สู ง ของกรุ ง เทพมหำนคร พบว่ ำ กรุงเทพมหำนครนั้นมีฝุ่นละเอียดที่มีองค์ประกอบของสำรก่อมะเร็ง ที่เกิดจำกกำรเผำไหม้ของรถยนต์จ�ำนวนมำก และมีวัฏจักรเกิดฝุ่น 4 แบบในรอบปี ได้แก่ 1. ฝุน่ หลังเทีย่ งคืน ทีค่ วำมเข้มข้นของฝุน่ สูงมำก ถึง 10 ไมโครกรัมต่อลูกบำศก์เมตร มักจะเกิดในช่วงเดือนพฤศจิกำยนเดือนธันวำคม เกิดจำกกำรเผำไหม้ของรถยนต์ในพื้นที่เป็นส่วนใหญ่ 2. ฝุน่ จำกอุณหภูมผิ กผัน ซึง่ อุณหภูมทิ ผี่ กผันท�ำให้เกิดสภำวะลมนิง่ เหมือน มีฝำชีครอบ ท�ำให้ฝุ่นระบำยออกจำกพื้นที่ไม่ได้ ท�ำให้อำกำศไม่บริสุทธิ์ หำยใจอึดอัด และส่งผลให้เกิดโรคทำงเดินหำยใจตำมมำได้ มักจะเกิด ในช่วงเดือนธันวำคม-เดือนกุมภำพันธ์ เช่น เหตุกำรณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อ 14-15 ธันวำคม พ.ศ. 2563 ที่ผ่ำนมำ จำกกำรเผำไหม้ของรถยนต์และ กำรเผำในภำคกำรเกษตร เป็นต้น 3. ฝุ่นเคลื่อนที่ระยะไกล ซึ่งเป็นฝุ่นที่ ถูกพัดพำมำจำกพืน้ ทีอ่ นื่ เกิดขึน้ ได้ตลอดเวลำของทุกๆ เดือน แต่เกิดใน ปริมำณมำกในช่วงเดือนกุมภำพันธ์-เดือนมีนำคม และจะมีปริมำณฝุ่น มำกน้อยขึ้นอยู่กับสภำพอำกำศในแต่ละช่วงปีประกอบด้วย และ 4. ฝุ่น ทุติยภูมิ ที่เกิดขึ้นเมื่อมีแสงแดดจัดและท�ำให้เกิดปฏิกิริยำเคมีกลำยเป็น ฝุน่ ขนำดเล็ก จึงจ�ำเป็นต้องมีกำรท�ำวิจยั ฝุน่ ในแต่ละช่วงอย่ำงละเอียดและ สร้ำงนวัตกรรม ลดกำรใช้รถยนต์ในบริเวณพืน้ ทีก่ รุงเทพมหำนคร รวมทัง้ กำรฉีดพ่นน�ำ้ เพือ่ ก�ำจัดฝุน่ ในพืน้ ทีท่ มี่ ปี ริมำณฝุน่ จ�ำนวนมำกให้เบำบำงลง เช่น พื้นที่เขตดินแดง อโศก สุขุมวิท ในช่วงเวลำกำรจรำจรเร่งด่วน ในช่วงเช้ำ 07.00-09.00 น. และช่วงเย็น 16.00-18.00 น. และควรใช้ กฎหมำยที่ควบคุมห้ำมรถบรรทุกทุกชนิดเข้ำในพื้นที่กรุงเทพมหำนคร ในช่วงเวลำทีเ่ กิดปัญหำฝุน่ PM2.5 โดยเด็ดขำด อีกทัง้ ควรมีกำรควบคุม กำรก่อสร้ำงอำคำรสูงให้มีกำรใช้ผ้ำคลุมในระหว่ำงท�ำกำรก่อสร้ำงใหม่ หรือทุบทิง้ อำคำรเก่ำ ซึง่ หลำยๆ ครัง้ จะพบว่ำกำรก่อสร้ำงจะส่งผลให้เกิด ฝุ่นจ�ำนวนมำกเช่นเดียวกัน นอกจำกนี้ กรุงเทพมหำนครควรร่วมกับพื้นที่ใกล้เคียงหำวิธีกำร และแนวทำงในกำรควบคุมกำรเผำในภำคกำรเกษตร ซึ่งจะเป็นอีกหนึ่ง สำเหตุในอนำคตที่จะเพิ่มควำมรุนแรงของฝุ่น PM2.5 เข้ำในพื้นที่ โดยร่วมกับหน่วยงำนกำรเกษตรลงพื้นที่แนะน�ำเกษตรกรให้เข้ำมำมี ส่วนร่วมในกำรลดกำรเผำเศษเหลือจำกกำรท�ำกำรเกษตรไปท�ำเป็นปุย๋ หมัก น�ำไปฝังกลบเพือ่ เพิม่ ธำตุอนิ ทรียใ์ นดิน หรือแม้กระทัง่ ใช้มำตรกำรรุนแรง ทำงกฎหมำย จับและปรับเกษตรกรทีเ่ ผำเศษเหลือจำกกำรท�ำกำรเกษตร ให้เป็นกรณีตัวอย่ำง เป็นต้น

GreenNetwork4.0 January-February

2021


ศูนย์รวมกำรจัดท�ำบัญชีแหล่งก�ำเนิดของฝุ่น PM2.5 อำจจะเป็น

กรมควบคุมมลพิษ กรมโรงงำนอุตสำหกรรม หรือมหำวิทยำลัย แห่งหนึ่งแห่งใด เพื่อให้หน่วยงำนเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้ไปใช้ แก้ปญ ั หำกำรเกิดฝุน่ PM2.5 สะดวก รวดเร็ว แก้ปญ ั หำได้ตรงจุด มำกที่สุด “หากแก้ปัญหาในระดับมหภาคไม่ได้ ก็ให้เริ่มแก้ปัญหา เรือ่ งฝุน่ PM2.5 ทีต่ วั เราก่อน เริม่ จากปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการใช้ รถยนต์ส่วนบุคคลมาใช้รถบริการสาธารณะที่มีอยู่ ปั่นจักรยาน ไปสอนในมหาวิทยาลัย ปลูกต้นไม้เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว รวมทัง้ ช่วยกัน ปลูกฝังจิตส�านึกที่ดีในการไม่ก่อมลพิษฝุ่น PM2.5 ให้แก่เยาวชน อีกด้วย” รศ. ดร.นเรศ กล่ำว

รศ. ดร.นเรศ เชื้อสุวรรณ

หัวหน้ำวิจัยสถำนวิจัย ส�ำนักวิชำสำธำรณสุขศำสตร์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีสุรนำรี (มทส.)

แหล่งก�าเนิดของ PM2.5 ในพื้นที่ภาคอีสาน มาจากรถยนต์-โรงงาน-การเผา

รศ. ดร.นเรศ เชื้อสุวรรณ หัวหน้ำวิจัยสถำนวิจัย ส�ำนักวิชำ สำธำรณสุขศำสตร์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีสุรนำรี (มทส.) กล่ำวว่ำ ส่วนใหญ่แล้วแหล่งที่มำของ PM2.5 มำจำกกำรเผำไหม้จำกเชื้อเพลิง รถยนต์ทกุ ประเภททีไ่ ม่สมบูรณ์ประมำณ 30% โรงงำนภำคอุตสำหกรรม ประมำณ 30% กำรเผำจำกกำรท�ำกำรเกษตรประมำณ 30% และกำรใช้ ชีวติ ประจ�ำวันของคนเรำประมำณ 10% ขึน้ อยูก่ บั กำรเก็บข้อมูลในแต่ละ พื้นที่ด้วย จึงจ�ำเป็นต้องท�ำกำรศึกษำและเก็บข้อมูลเป็นสถิติในทุกๆ ปี เพื่อน�ำมำสังเครำะห์ วิเครำะห์ เพื่อที่จะท�ำกำรสร้ำงนวัตกรรมในกำร ที่จะเริ่มแก้ไขปัญหำในแต่ละปัญหำอย่ำงเป็นระบบ ซึ่งประเทศไทยเพิ่ง จะท�ำกำรวิจัยและคิดค้นสร้ำงนวัตกรรมในกำรควบคุม ตรวจสอบฝุ่น PM2.5 อย่ำงจริงจังเมื่อ 2 ปีที่ผ่ำนมำนี้เอง “อยากให้หลายงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันเก็บรวบรวมข้อมูลที่ตัวเอง มีอยู่แล้วน�ามาสู่หน่วยงานกลาง รวบรวมแหล่งก�าเนิดหลักว่าปัญหาของ ฝุ่น PM2.5 จะเปลี่ยนแปลงไปตามพื้นที่ใดบ้าง และการเปลี่ยนแปลงจะ เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร เพื่อมาจัดท�ามาตรฐานสภาพอากาศของไทย โดยน�ามาตรฐานสภาพอากาศของสากลมาเปรียบเทียบด้วย” รศ. ดร.นเรศ กล่ำว ส�ำหรับในพื้นที่ภำคตะวันออกเฉียงเหนือนั้น ส่วนใหญ่แล้วปัญหำ PM2.5 จะเกิดจำกกำรเผำทำงกำรเกษตร เผำฟำงข้ำว เศษใบอ้อย เป็น ส่วนใหญ่ เนื่องจำกเป็นพื้นที่ท�ำกำรเกษตร รองลงมำจะมำจำกกำรใช้ รถยนต์ รถบรรทุก และรถอื่นๆ สัญจรนั่นเอง กำรที่จะสำมำรถทรำบ สภำพอำกำศ สภำพฝุ่น PM2.5 ได้แบบเรียลไทม์มำกขึ้น คือ กำรสร้ำง สถำนีตรวจวัดสภำพอำกำศของกรมควบคุมมลพิษ และปัจจุบันนี้มีกำร สร้ำงสถำนีตรวจวัดสภำพอำกำศทีม่ ำกขึน้ ในพืน้ ทีภ่ ำคตะวันออกเฉียงเหนือ จะมีทใี่ นตัวเมืองจังหวัดนครรำชสีมำ ในตัวเมืองขอนแก่น และในตัวเมือง เลย เป็นต้น แต่สงิ่ ทีจ่ ำ� เป็นและต้องปรับให้ทนั กับฝุน่ PM2.5 คือ กำรบังคับ ใช้กฎหมำยในทุกๆ พืน้ ทีค่ วบคุมแก้ปญ ั หำเรือ่ งฝุน่ PM2.5 อย่ำงเข้มงวด และท�ำงำนร่วมกันโดยมีหน่วยงำนภำครัฐหน่วยงำนใดหน่วยงำนหนึง่ เป็น 20

ปัญหาฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ภาคเหนือ

เกิดขึ้นจากฝีมือคนไทยและประเทศเพื่อนบ้าน

รศ. ดร.เสริมเกียรติ จอมจันทร์ยอง ผู้อ�ำนวยโครงกำร ประเทศไทยไร้หมอกควัน มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ กล่ำวว่ำ ปัญหำ ฝุ่น PM2.5 เป็นปัญหำซับซ้อน ไม่สำมำรถอธิบำยได้ด้วยวิชำกำร เพียงอย่ำงเดียว และเป็นปัญหำเชิงพฤติกรรมทำงสังคม นับเป็น ควำมท้ำทำยของรัฐบำลไทยและเป็นโจทย์ใหญ่ เพรำะมีทั้งฝุ่นที่ เกิดขึน้ จำกฝีมอื คนไทยและมำจำกประเทศเพือ่ นบ้ำน แต่หำกท�ำได้ ก็จะเป็นกำรแก้ไขปัญหำได้ระยะยำว

GreenNetwork4.0 January-February

2021


ส�ำหรับภำคเหนือใน 10 จังหวัดนั้น มีหลำยปัจจัยท�ำให้ เกิดฝุ่น ทั้งลักษณะภูมิประเทศที่เป็นแอ่งกระทะ มีทั้งแอ่งล�ำพูน แอ่งเชียงใหม่ และแอ่งล�ำปำง เป็นต้น ลักษณะภูมิอำกำศที่เอื้อ ให้เกิดฝุ่นตำมฤดูกำล อีกทั้งในพื้นที่เกิดไฟป่ำทุกปี แต่ละปีมีกว่ำ 30-50 ไร่ที่ถูกเผำโดยน�้ำมือมนุษย์ และอีกประมำณ 10 กว่ำไร่ ที่ถูกเผำโดยธรรมชำติ ซึ่งในอดีตไม่มีผลกระทบมำกนัก แต่เมื่อ ช่วงปี พ.ศ. 2558-พ.ศ. 2559 เป็นต้นมำ มีปญ ั หำมำกขึน้ เพรำะ บริบททำงสังคม เศรษฐกิจ อำกำศ และอำชีพของคนเปลี่ยนไป เป็นกำรประกอบอำชีพน�ำพืชผลเชิงเดี่ยวที่มีมูลค่ำไปปลูกมำกขึ้น เนื่องจำกรำคำพืชผลชนิดนี้มีรำคำสูงและตลำดมีควำมต้องกำร จึงเป็นปัญหำยำกที่จะแก้จวบจนปัจจุบัน “การแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 ต้องอาศัยความร่วมมือจาก ท้องถิ่น ซึ่งเป็นเจ้าของพื้นที่ เปรียบเสมือนต้นน�้าของปัญหา เข้ามามีส่วนร่วมในการท�างานร่วมกับภาครัฐ ซึ่งเป็นกลางน�้าใน การน�านโยบายการแก้ไขปัญหาเข้าไป แนะน�าไม่ให้มีการเผาใน พื้นที่ซ�้าซาก พร้อมแนะน�าให้ชาวบ้านปลูกพืชเศรษฐกิจพอเพียง กันมากขึ้น รวมทั้งน�างานวิจัย นวัตกรรม และเจ้าหน้าที่ ซึ่งเป็น ปลายน�า้ เข้าไปช่วยแก้ปญ ั หาให้เข้มข้น เพือ่ ลดสาเหตุและต้นเหตุ ของแหล่งที่เกิดไฟป่า ซึ่งจะช่วยให้พื้นที่ภาคเหนือที่ปัจจุบันกลาย เป็นแหล่งไม่น่าเที่ยว ไม่มีนักท่องเที่ยวไปท่องเที่ยวในช่วงเวลาที่ เกิดมลพิษฝุ่น PM2.5 ซึ่งเป็นช่วงฤดูท่องเที่ยว และผลผลิตไม้ผล เมืองหนาวออกสู่ตลาดให้กลับเข้ามาท่องเที่ยวอย่างเดิมอีกครั้ง” รศ. ดร.เสริมเกียรติ กล่ำว

21

รศ. ดร.เสริมเกียรติ จอมจันทร์ยอง

ผู้อ�ำนวยโครงกำรประเทศไทยไร้หมอกควัน มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ (มช.)

GreenNetwork4.0 January-February

2021


อย่าท�าเพียงภาครัฐ หรือ ท�าเพียงชุมชนครั้งสองครั้ง แล้วละทิ้ง ไม่มีการต่อยอด การท�างาน จะสูญเสีย งบประมาณโดยเปล่าประโยชน์ ที่ส�าคัญ ต้องสร้างการ ตระหนักรู้ด้วยองค์ความรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้เจ้าของพื้นที่อนุรักษ์และ รับผิดชอบพื้นที่ พร้อมดูแล ให้เรื่องฝุ่น PM2.5 เป็นเรื่อง ที่ทุกๆ คนต้องช่วยกันอย่าง จริงจัง

22

ศ. ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล

ผูอ้ ำ� นวยกำรศูนย์วจิ ยั มลพิษทำงอำกำศและผลกระทบต่อสุขภำพ คณะวิศวกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ (มอ.)

ฝุ่น PM2.5 ในภาคใต้มาจากรถติด และจากการเผาป่าพรุในอินโดนีเซีย

ศ. ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล ผูอ้ ำ� นวยกำรศูนย์วจิ ยั มลพิษทำงอำกำศ และผลกระทบต่อสุขภำพ คณะวิศวกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยสงขลำ นครินทร์ (มอ.) กล่ำวว่ำ ปกติภำคใต้มอี ำกำศสะอำดทัง้ ปี เพรำะมีพนื้ ที่ ขนำบด้วยทะเลทัง้ สองฝัง่ อำจมีปญ ั หำรถติดในพืน้ ทีจ่ งั หวัดท่องเทีย่ วบ้ำง เช่น จังหวัดภูเก็ต สุรำษฎ์ธำนี ตรัง และนครศรีธรรมรำช รวมทัง้ ปัญหำ ฝุ่นละอองจำกประเทศเพื่อนบ้ำนจำกกำรเผำป่ำพรุในอินโดนีเซียในช่วง ประมำณเดือนกันยำยนจนถึงต้นเดือนมกรำคมในปีถัดไป หำกในปีนั้น มีช่วงฤดูฝนในพื้นที่ภำคใต้น้อยกว่ำปกติ ซึ่งฝุ่นละอองขนำดเล็กจำก อินโดนีเซียนีม้ รี ะยะทำงพัดไกลกว่ำ 1,000 กิโลเมตร จะถูกกระแสลมบนพัด มำถึงประเทศไทยในเวลำเพียง 1-2 วัน ขณะที่ประเทศเพื่อนบ้ำน ทัง้ อินโดนีเซีย มำเลเซีย และสิงคโปร์ ต่ำงก็ได้รบั ผลกระทบเช่นเดียวกัน ยิง่ มีปรำกฏกำรณ์เอลนีโญ (El Nino) ยิง่ ท�ำให้ไฟป่ำรุนแรงและมีปริมำณ ฝุ ่ น PM2.5 ที่ สู ง มำก และพบควำมเป็ น พิ ษ ของฝุ ่ น สู ง ท� ำ ให้ เ กิ ด โรคทำงเดินหำยใจในพื้นที่มำกขึ้นตำมไปด้วย จึงต้องแก้ปัญหำทั้งระบบ อย่ำงจริงจัง หำกเกีย่ วข้องกับควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศก็ควรพูดคุย เจรจำกันในระดับรัฐ ส่วนในระดับประเทศไทยนั้น ในเชิงกำรท�ำงำน ควรร่วมมือกันอย่ำงจริงจังในกำรแก้ปัญหำที่แหล่งก�ำเนิดทั้งในชุมชน ในสังคมเมือง โดยให้เจ้ำของพื้นที่เข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรแก้ไขปัญหำ ในทุกกระบวนกำร “อย่าท�าเพียงภาครัฐ หรือท�าเพียงชุมชนครั้งสองครั้งแล้วละทิ้ง ไม่มีการต่อยอดการท�างาน จะสูญเสียงบประมาณโดยเปล่าประโยชน์ ที่ส�าคัญ ต้องสร้างการตระหนักรู้ด้วยองค์ความรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีให้เจ้าของพื้นที่อนุรักษ์และรับผิดชอบพื้นที่ พร้อมดูแลให้ เรือ่ งฝุน่ PM2.5 เป็นเรือ่ งทีท่ กุ ๆ คนต้องช่วยกันอย่างจริงจัง หากจ�าเป็น ต้องใช้กฎหมายพิเศษเข้าไปจัดการก็ควรชีแ้ จงให้ประชาชนในแต่ละพืน้ ที่ ทราบ ไม่ใช้กฎหมายบังคับเพราะจะไม่ได้ความร่วมมือในการแก้ปัญหา และการเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ในแต่ละพื้นที่เป็นสิ่งที่จ�าเป็นต้องมี เพื่อที่จะ น�ามาเปรียบเทียบ สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็น ระบบต่อไป” ศ. ดร.พีระพงศ์ กล่ำว

GreenNetwork4.0 January-February

2021


โรงไฟฟ้าชุมชน

Energy พิชัย ถิ่นสันติสุข

ได้เวลาพัฒนาพันธุ์พืชและ เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าชุมชน

“หญ้ายักษ์ VS กระถินยักษ์” โครงการโรงไฟฟ้าชุมชนเพือ่ เศรษฐกิจฐานราก ฝันของชุมชนภาค เกษตรก�าลังจะเป็นจริง ใช้เวลาเกือบ 2 ปีกว่าจะมีก�าหนดคลอด ถึงแม้ จะต้องขับเคี่ยวกันเองเพื่อเข้าสู่เส้นชัยด้วยวิธี Bidding ก็ตาม นาทีนี้ พลังงานสีเขียวมาแรงตามกระแสโลก ผู้บริหารพลังงานที่ช่ืนชอบใน พลังงานจากซากดึกด�าบรรพ์จึงเก็บตัวเงียบอยู่ ปัจจัยสู่ความส�าเร็จของ โรงไฟฟ้าชุมชนประการหนึง่ ก็คอื วิสาหกิจชุมชน หลายๆ โครงการต้อง ล้มเลิกอันเนือ่ งมาจากความไม่เข้มแข็งของวิสาหกิจชุมชน ถ้าจะกล่าวถึง ความท้าทายของโรงไฟฟ้าชุมชนแล้ว คงอยูท่ กี่ ารท�างานร่วมกันของเอกชน ผูล้ งทุนและเกษตรกรทีร่ วมตัวเป็นวิสาหกิจชุมชน ซึง่ ไม่เคยคิดมาก่อนว่า จะต้องร่วมงานกันผลิตไฟฟ้าขายภาครัฐยาวนานถึง 20 ปี ส่วนความ ท้าทายด้านเทคโนโลยีกค็ งเป็นเรือ่ งของการพัฒนาพันธุพ์ ชื และเทคโนโลยี ทั้งด้านการเผา (BIOMASS) และการหมักแบบไร้อากาศ (BIOGAS)

1.

ด้านเชื้อเพลิง

1.1 BIOGAS คาดว่าเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ใช้หญ้าในตระกูล เนเปียร์เป็นวัตถุดบิ หลัก ซึง่ มีให้เลือกหลากหลายสายพันธุใ์ นประเทศไทย บางสายพันธุก์ เ็ กิดจากการตัง้ ชือ่ เพือ่ การตลาด แต่ทเี่ ป็นคูเ่ ปรียบเทียบกัน เหมือนมวยคู่เอกก็คือ “ปากช่อง 1” ที่เกิดจากการพัฒนาสายพันธุ์ โดยกรมปศุสัตว์ และ “เขียวสยาม” ซึ่งเกิดจากการพัฒนาสายพันธุ์

โดยอาจารย์มหาวิทยาลัยและออกสูต่ ลาดในหลายๆ ชือ่ เช่น เขียวสยาม รากแก้ว สุวรรณภูมิ นอกจากนี้ยังมีสายพันธุ์อื่นๆ ที่อาจน�าเข้าจาก ประเทศเพื่อนบ้าน เช่น พันธุ์ไต้หวัน จินเฉ่า อาลาฟัล นรกจักรพรรดิ จากการตรวจสอบเชิงลึก เนเปียร์แต่ละสายพันธุ์สามารถใช้เป็นวัตถุดิบ หมักก๊าซชีวภาพผลิตไฟฟ้าได้ไม่ต่างกันจนมีนัยส�าคัญ ขึ้นอยู่กับการ เลือกใช้ประโยชน์ในช่วงแต่ละอายุ ซึง่ หญ้าจะมีโปรตีนและน�า้ ตาลแตกต่าง กันไป ขึน้ อยูก่ บั ดินและวิธกี ารปลูก การดูแล รวมทัง้ ภูมอิ ากาศทีแ่ ตกต่างกัน จะขอสรุปว่า พันธุไ์ หนก็ไม่แตกต่างกันมาก ส�าหรับ Yield ของหญ้าเนเปียร์ จากหลายๆ ส�านักจะมาลงตัวที่ 40-70 ตันต่อไร่ตอ่ ปีทอี่ ายุ 90 วัน เพือ่ ใช้ หมักก๊าซชีวภาพ ซึง่ โดยปกติ Crop แรกของเนเปียร์จะมี Yield ค่อนข้างต�า่ 1.2 BIOMASS เชือ้ เพลิงชีวมวลกลายมาเป็นเรือ่ งปราบเซียน จากที่เคยใช้ไม้สับจากแหล่งไหนไม่ต้องรับรู้ กลายมาเป็นพืชปลูก ซึ่ง อาจมีราคาสูงกว่าไม้สับทั่วไป โดยปกติราคาไม้สับขึ้นๆ ลงๆ และสูงต�่า ขึน้ อยูก่ บั อุปสงค์อปุ ทาน พืน้ ทีใ่ ดมีโรงไฟฟ้าชีวมวลมาก ราคาไม้สบั ก็จะ สูง เมือ่ โจทย์ใหม่เป็นพืชปลูก และยังให้คา� นวณพืน้ ทีป่ ลูกทีส่ อดคล้องกับ ปริมาณไฟฟ้าที่จ�าหน่ายด้วยแล้ว คงมีพืชไม่กี่ชนิดที่โตเร็ว ค่าความร้อน สูง ความชื้นต�่า เก็บเกี่ยวง่าย พืชที่ได้รับการกล่าวขานและเป็นตัวเลือก ได้แก่ กระถิน ไผ่ รวมทั้งเนเปียร์ที่อายุไม่น้อยกว่า 6 เดือน

โรงไฟฟ้าชีวมวล

23

GreenNetwork4.0 January-February

2021


หญ้ายักษ์เนเปียร์ปากช่อง 1

กระถินยักษ์

กระถิน มีหลากหลายสายพันธุ์ ซึ่งเหมาะกับพื้นที่ที่แตกต่างกัน

• Acacia กลุม่ ของกระถินเทพา กระถินณรงค์/กระถินลูกผสม (เทพา+ณรงค์ เหมาะกับการปลูกในภาคใต้และภาคตะวันออก ที่มีความชื้นสูง) • Leucaena กระถินยักษ์ เหมาะส�าหรับการปลูกในภาค ตะวันตก ภาคกลาง ภาคอีสาน และภาคเหนือตอนล่าง โดยปกติค่าความร้อนเฉลี่ยของกระถิน (LHV) ประมาณ 4,000 kcal/kg ส่วนความชืน้ เมือ่ เป็นไม้สบั ประมาณ 45% ไผ่ มีกว่า 10 สายพันธุ์ที่ปลูกกระจายทั่วทุกพื้นที่ในประเทศไทย ส�าหรับใช้เป็นเชื้อเพลิงชีวมวล กูรูหลายท่านยังเลือกปลูกไผ่รวกใหญ่ ซึง่ มีนา�้ หนักดี ค่าความร้อนสูง เก็บเกีย่ วง่าย และค่าขนย้ายประหยัดพืน้ ที่ กว่าไผ่ที่มีล�าต้นใหญ่ เนเปียร์ บางสายพันธุข์ องเนเปียร์เมือ่ อายุ 5 เดือนขึน้ ไป จะมีคา่ ความร้อนสูงกว่าพันธุอ์ นื่ ๆ 10-15% จนเป็นทีต่ อ้ งตาต้องใจของโรงไฟฟ้า ชีวมวล แต่เมื่อความชื้นของเนเปียร์เฉลี่ยสูงถึง 65% และมีน�้าหนักเบา เมื่ อ เที ย บกั บ ไผ่ แ ละกระถิ น เนเปี ย ร์ จึ ง ยั ง เป็ น ทางเลื อ กที่ ท ้ า ทาย นักเทคโนโลยีอยู่

2.

ด้านเทคโนโลยี

2.1 BIOGAS เป็นเทคโนโลยีที่เริ่มมีใช้ในประเทศไทย มากว่า 30 ปี เริ่มจากภูมิปัญญาชาวบ้าน การน�าเข้าเทคโนโลยี และ “ครูพกั ลักจ�า” กระทรวงพลังงาน โดยส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน ได้ส่งเสริมให้โรงงานประเภทต่างๆ กว่า 500 โรง ผลิตก๊าซชีวภาพจาก น�า้ เสีย โดยอุดหนุนค่าใช้จา่ ยบางส่วน ได้ใช้งบประมาณทัง้ สิน้ กว่า 3,500 ล้านบาท โดยเริม่ ด�าเนินโครงการตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551-พ.ศ. 2555 ตัง้ แต่ นั้นมาเทคโนโลยี Biogas ก็กลายเป็นที่รู้จักและแพร่หลายจนถึงปัจจุบัน เทคโนโลยี Biogas คนไทยหลายคนยังเข้าใจว่า ถ้าทุม่ งบประมาณ ซื้อเทคโนโลยีดังๆ แพงๆ Yield แก๊สก็จะสูง แต่ส�าหรับ Biogas แล้ว การเตรียมวัตถุดิบหรือเชื้อเพลิง และความเข้าใจในการท�างานของ จุลนิ ทรียน์ นั้ มีความส�าคัญไม่นอ้ ยไปกว่าระบบการท�างานของเครือ่ งจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Biogas ที่มีวัตถุดิบหลายๆ ชนิดในถังหมักเดียวกัน โดยที่ระยะเวลาการย่อยสลายก็แตกต่างกัน ยิ่งการผลิตแก๊สจากหญ้า เนเปียร์ดว้ ยแล้ว ต้องค�านึงถึงองค์ประกอบทัง้ ความหวานและโปรตีน ซึง่ ยิง่ มากยิง่ ดี ส่วนค่า C/N Ratio (คาร์บอนต่อไนโตรเจน) ซึง่ เป็นตัวบอกว่า วัตถุดิบนั้นย่อยสลายง่ายหรือยาก มีความส�าคัญเช่นกัน ดังนั้นระบบ ไบโอแก๊สไม่ว่าจะเป็น Thermophilie หรือ Medophilie ล้วนจ�าเป็น ปรับปรุงคุณภาพของวัตถุดิบก่อนน�าเข้าถังหมักทุกครั้ง

ตารางเปรียบเทียบระยะเวลาปลูก กระถิน ไผ่ เนเปียร์

24

ระยะเวลาใช้งาน

การปลูก

18 เดือน

ปลูกครั้งเดียว อยู่ได้กว่า 20 ปี

3-4 ปี

ปลูกครั้งเดียว อยู่ได้กว่า 20 ปี

5-6 เดือน

ปลูกใหม่ทุกๆ 5-7 ปี

GreenNetwork4.0 January-February

2021


แต่เมื่อโจทย์เป็นโรงไฟฟ้าระดับชุมชนและต้องประมูล แข่งขันด้านราคา จึงเป็นงานท้าทายผู้ผลิตอุปกรณ์และผู้สร้าง โรงไฟฟ้าอย่างยิ่ง ผู้เขียนหวังว่าจะมีการพัฒนาเทคโนโลยี โรงไฟฟ้าขนาดเล็กนี้ให้สามารถประหยัดเชื้อเพลิง มลพิษต�่า และรองรับเชื้อเพลิงหลากหลายที่มีความชื้นค่อนข้างสูงได้ดี และราคาแข่งขันได้ คือ ถูกและดี กว่าท่านจะได้อ่านบทความนี้ อาจจะได้ทราบแล้วว่า บริษทั ใดได้รบั คัดเลือกบ้าง การ Bidding แข่งขันราคามีขอ้ ดี คือ รัฐซือ้ ไฟฟ้าได้ในราคาถูก แต่ยงั มีขอ้ กังวลว่าจะได้โรงไฟฟ้า ที่มีมาตรฐานขั้นต�่า ชุมชนได้ประโยชน์ไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย และปิดโอกาสบริษัทเล็กๆ หรือบริษัทในท้องถิ่น แต่เมื่อ Ranking 1-5 แล้ว โรงไฟฟ้าชุมชนยังได้คะแนนไม่น้อยกว่า 4 คะแนน ในฐานะทีใ่ ช้พลังงานกระตุน้ เศรษฐกิจฐานรากอย่าง เป็นรูปธรรมโครงการแรกของประเทศไทย

2.2 BIOMASS เทคโนโลยี

โรงไฟฟ้าชีวมวลดูเหมือนจะเป็นเรื่องธรรมดา ส�าหรับผู้สร้างโรงไฟฟ้า โดยปกติถ้าต้องการ ประสิทธิภาพสูง คือ ใช้เชือ้ เพลิงน้อย มลพิษต�า่ ราคาก็อาจจะสูง แต่ส�าหรับโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อ เศรษฐกิจฐานรากอาจมีคา� ถามมากกว่านัน้ ก็คอื เป็นโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก 3 เมกะวัตต์ ซึ่งหาดู ได้ยากในประเทศไทย เนือ่ งจากมีราคาไม่แตกต่าง กับโรงไฟฟ้าขนาด 6-7 เมกะวัตต์ มากนัก และ ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าก็ต�่ากว่า

25

GreenNetwork4.0 January-February

2021


Building กองบรรณาธิการ

ศูนย์วิจัย RISC by MQDC ผ่านการรับรองมาตรฐาน WELL Building Standard ระดับ Gold จาก IWBI

เป็นแห่งแรกในอาเซียนและไทย วิ สิ ษ ฐ์ มาลั ย ศิ ริ รั ต น์ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด (MQDC) กล่าวว่า ศูนย์วิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน โดย บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด (RISC by MQDC) ผ่านการรับรองมาตรฐาน WELL Building Standard ระดับ Gold ประเภท New and Existing Interiors จาก International WELL Building Institute (IWBI) สถาบัน ที่ก�าหนดมาตรฐานอาคารที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างสุขภาพและ ความเป็นอยู่ที่ดีของผู้อาศัยภายในอาคารทั้งในแง่การท�างาน และกิจกรรมต่างๆ เป็นแห่งแรกในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศไทย ทั้งนี้ MQDC ได้ให้ความส�าคัญกับการอยู่อาศัยภายใต้ สุขภาวะที่ดี หรือ “Well-Being” และพร้อมน�ามาตรฐาน WELL Building Standard ไปประยุกต์ใช้ในโครงการของ MQDC เช่น โครงการเดอะ ฟอเรสเทียส์ (The Forestias) เป็นต้น และ ทุกโครงการของ MQDC เพือ่ สร้างความเป็นอยูท่ ดี่ ใี ห้กบั สรรพสิง่ หรือ ‘For All Well-Being’ อย่างแท้จริง

26

ศูนย์วิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน โดยบริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด (RISC by MQDC) ผ่าน การรับรองมาตรฐาน WELL Building Standard ระดั บ Gold ประเภท New and Existing Interiors จาก International WELL Building Institute (IWBI) เป็นแห่งแรกในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศไทย

วิสิษฐ์ มาลัยศิริรัตน์

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด (MQDC)

GreenNetwork4.0 January-February

2021


รศ. ดร.สิงห์ อินทรชูโต หัวหน้า คณะที่ปรึกษาศูนย์วิจัยและนวัตกรรม เพื่อความยั่งยืน (RISC by MQDC) กล่าวว่า RISC by MQDC ภูมิใจที่ ได้รับการรับรองในระดับ “Gold” เป็น อาคารแห่ ง แรกในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นแห่งแรก ของไทย โดยผ่า นการประเมินตาม แนวคิดทัง้ 7 ประเภททีเ่ ป็นองค์ประกอบ ส�าคัญที่ท�าให้อาคารมีประสิทธิภาพ ได้แก่ อากาศ (Air) น�้า (Water) แสงสว่ า ง (Light) โภชนาการ (Nourishment) ฟิตเนส (Fitness) สภาวะอยูส่ บาย (Comfort) และจิตใจ (Mind) ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย 2 ด้ า นหลั ก ของ RISC by MQDC ได้ แ ก่ 1. สุ ข ภาพและสุ ข ภาวะที่ ดี (Health & Wellness) และ 2. วัสดุ และการใช้ทรัพยากร (Materials & Resources) โดย WELL Building Standard ใช้เวลากว่า 7 ปี ในการ พัฒนามาตรฐานผ่านการท�าการวิจัย ร่ ว มกั บ บุ ค ลากรทางการแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ และผู้เชี่ยวชาญใน อุตสาหกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง RISC by MQDC ได้ รั บ การ ประเมิ น อย่ า งเข้ ม ข้ น โดยขั้ น ตอน สุดท้ายได้รับการประเมินจาก Green Business Certification Inc. (GBCI) ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานกลางที่ ท� า หน้ า ที่ รั บ รองการประเมิ น ตามมาตรฐาน WELL Building Standard วสุธา เชน สถาปนิกวิจัยอาวุโส ศู น ย์ วิ จั ย และพั ฒ นานวั ต กรรม เพื่อความยั่งยืน (RISC by MQDC) นักวิจัยผู้เชี่ยวชาญระดับ LEED AP BD+C และ WELL AP ด้านมาตรฐาน อาคารต่างๆ กล่าวว่า การผลักดัน มาตรฐานการออกแบบ WELL Building Standard ให้เกิดขึ้นจริงภายใต้การ ออกแบบอาคารส�านักงานของ RISC by MQDC ซึง่ ตัง้ อยูท่ อี่ าคารแมกโนเลียส์ ราชด�าริ บูเลอวาร์ด จะต้องผ่านมาตรฐาน ทั้ง 7 ด้านของ WELL ประกอบด้วย

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

อากาศ (Air) ภายใน RISC by MQDC ถูกออกแบบให้มีการหมุนเวียนอากาศที่ดี และป้องกันมลพิษจากภายนอกด้วยฟิลเตอร์กรองอากาศ ท�าให้อากาศภายในสะอาด ปราศจากฝุน่ ละออง เชือ้ โรค และสารอินทรียร์ ะเหย (VOCs) นอกจากนีย้ งั มีการติดตัง้ เซ็นเซอร์ตรวจวัดอากาศและระบบแสดงผลคุณภาพอากาศแบบ Real-Time รวมทั้งใส่ใจการ เลือกใช้วัสดุประกอบอาคารที่ไม่ปล่อยสารพิษอีกด้วย น�้า (Water) RISC by MQDC ส่งเสริมให้ผู้ใช้อาคารเข้าถึงน�้าสะอาดทั้งการอุปโภค และบริโภค โดยวางตู้น้�าในจุดที่ส�าคัญและเข้าถึงได้ง่าย ซึ่งน�้าจะต้องสะอาด ไม่ขุ่น ปราศจากสารเคมีปนเปื้อนและเชื้อแบคทีเรีย รวมทั้งมีการส่งตัวอย่างน�้าเพื่อทดสอบ คุณภาพและตรวจหาสารเจือปนต่างๆ ในทุก 3 เดือน

แสงสว่าง (Light) ระบบแสงใน RISC by MQDC ออกแบบให้สามารถรับแสงจาก ธรรมชาติได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ส่งผลต่ออุณหภูมิภายใน นอกจากนี้ แสงประดิษฐ์ ภายในอาคารมีความสว่างเพียงพอต่อการท�ากิจกรรมต่างๆ และช่วยป้องกันแสงแยงตา รบกวน ซึ่งคุณภาพแสงที่เหมาะสมจะเป็นผลดีต่อนาฬิกาชีวิตของมนุษย์ (Circadian Rhythm) เช่น การผลิตฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin) ที่ส่งผลต่อการนอน โภชนาการ (Nourishment) RISC by MQDC สนับสนุนให้ผู้ใช้อาคารได้เข้าถึง การบริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ลดความเสี่ยงต่อการเกิด โรคต่างๆ ในระยะยาวจากการรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ หรือโรค NCDs (Non-Communicable Diseases) และออกแบบให้มพี นื้ ทีร่ บั ประทานอาหาร รวมทัง้ มีการค�านวณ จ�านวนที่นั่งรับประทานอาหาร โดยอิงจากจ�านวนผู้ใช้อาคาร ฟิตเนส (Fitness) ภายใน RISC by MQDC ออกแบบสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้ ผู้ใช้อาคารได้ออกก�าลังกาย หรือเปลี่ยนอิริยาบถในระหว่างวัน เพื่อลดรูปแบบการใช้ ชีวิตนิ่งเฉย (Sedentary Lifestyle) และโรคออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) ขณะที่โต๊ะท�างานสามารถปรับระดับท่ายืน ท่านั่งได้ ส่วนเก้าอี้ท�างานจะเลือกตามเกณฑ์ BIFMA ที่รองรับสรีระและการปรับเปลี่ยนท่าทางในอิริยาบถต่างๆ

สภาวะอยูส่ บาย (Comfort) ภายใน RISC by MQDC ออกแบบตามหลักอารยสถาปัตย์ (Universal Design) และเลือกใช้เฟอร์นิเจอร์ตามหลักการยศาสตร์ (Ergonomic Design) รองรับการใช้งานของคนทุกวัย รวมทั้งควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น เสียง กลิ่น ภายในอาคารให้อยูใ่ นสภาวะอยูส่ บาย และติดตัง้ ระบบ Sound Masking เพือ่ ลดมลภาวะทางเสียง จิตใจ (Mind) RISC by MQDC ปรับสภาพแวดล้อมให้ส่งผลดีต่อสุขภาพจิตของ ผู้ใช้อาคาร ด้วยการสร้างพื้นที่สีเขียวตามหลัก Biophilic Design ให้รู้สึกผ่อนคลาย เวลาท�างาน มีมมุ งีบหลับเพือ่ กระตุน้ ประสิทธิภาพการท�างาน และมีตเู้ ก็บของให้เพียงพอ ต่อความต้องการ โดยมีพื้นที่เก็บของปริมาตรอย่างน้อย 0.1 ลูกบาศก์เมตร นอกจากนี้ยังส�ารวจ ความพึงพอใจของผู้ใช้อาคาร เพื่อปรับปรุงระบบต่างๆ ภายในอาคารให้ดีขึ้นในทุกปี

27

GreenNetwork4.0 January-February

2021


Automotive กองบรรณาธิการ

PEA ร่วมกับ มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) และเดลต้า

ยกระดับการชาร์จรถไฟฟ้าทั่วไทย – หนุนแผนรัฐมีรถไฟฟ้า 1.2 ล้านคัน ในปี ’79

จากซ้าย เลิศชาย แก้ววิเชียร ผู้ช่วยผู้ว่าการธุรกิจและการตลาด PEA โมะริคาซุ ชกกิ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บจก. มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) และ แจ็คกี้ จาง ประธานบริหาร บมจ. เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) จับมือบริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จ�ากัด และบริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด (มหาชน) เดินหน้าสนับสนุนยานยนต์ไฟฟ้า (EV) สถานีชาร์จ และ แอปพลิเคชันของ PEA ส�าหรับการชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อเร่งผลักดัน ให้เกิดการใช้ยานพาหนะทีข่ บั เคลือ่ นด้วยพลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย ผ่านการแบ่งปันข้อมูลส�าคัญเกี่ยวกับการใช้รถยนต์ไฟฟ้าจากมิตซูบิชิ มอเตอร์ส และที่ตั้งสถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าของเดลต้า โดยสามารถ ใช้งานผ่านแอปพลิเคชันของ กฟภ. เพือ่ ค้นหาและเข้าใช้งานเครือข่าย สถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าของเดลต้าทีค่ รอบคลุมทัว่ ไทยได้อย่างง่ายดาย เลิศชาย แก้ววิเชียร ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การธุรกิจและการตลาด การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค (PEA) กล่าวว่า PEA สนองนโยบายด้านยานยนต์ไฟฟ้า ของภาครั ฐ ด้ ว ยการพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานการให้ บ ริ ก ารสถานี อั ด ประจุ ไ ฟฟ้ า ให้ ค รอบคลุ ม เส้ น ทางการคมนาคมในเส้ น ทางหลั ก ทุก 100 กิโลเมตร ทั่วประเทศ จ�านวน 62 สถานี ภายในปี พ.ศ. 2564 เพื่อส่งเสริมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าและอ�านวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ ยานยนต์ไฟฟ้าผ่าน PEA’s Mobile Application โดยผู้ใช้บริการสถานี อัดประจุไฟฟ้าสามารถค้นหาสถานี จองคิว สั่งชาร์จ และหยุดชาร์จ ได้อย่างง่ายดาย 28

โมะริคาซุ ชกกิ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั มิตซูบชิ ิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จ�ากัด กล่าวว่า มิตซูบชิ ิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) มีความ ยินดีทไี่ ด้รว่ มลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค และเดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) โดยบริษัทฯ เชื่อมั่นว่าความร่วมมือในครั้งนี้ จะผลักดันให้เกิดการขยายจ�านวนสถานี ชาร์จส�าหรับรถยนต์ไฟฟ้า รวมถึงรถพีเอชอีวีไปทั่วประเทศไทยอย่าง รวดเร็ว เพิ่มความสะดวกสบายคลายข้อกังวลในเรื่องของข้อจ�ากัดด้าน ระยะทางการขับขี่ เป็นการส่งเสริมให้คนไทยหันมาใช้รถยนต์ไฟฟ้ากัน มากขึ้น “ความร่วมมือครัง้ นี้ ระหว่างมิตซูบชิ ิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) กับ พันธมิตรทีม่ คี วามแข็งแกร่งและเป็นองค์กรชัน้ น�าด้านธุรกิจพลังงานไฟฟ้า อย่างการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และเดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จะช่วยเพิ่มความสะดวกสบายในการค้นหาสถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า ผ่านแอปพลิเคชันของ กฟภ. และช่วยมอบความเชือ่ มัน่ ด้านความปลอดภัย ในการติดตั้งอุปกรณ์ชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าที่บ้านให้กับผู้ใช้รถยนต์มิตซูบิชิ เอาต์แลนเดอร์ พีเอชอีวี ที่ไม่ใช่เป็นเพียงรถเอสยูวีแบบปลั๊กอินไฮบริด รุ่นแรกของโลกเท่านั้น แต่ยังเป็นรถพีเอชอีวีที่ขายดีที่สุดในโลกอีกด้วย และสามารถใช้ได้ทั้งพลังงานไฟฟ้าและน�้ามัน” โมะริคาซุ ชกกิ กล่าว

GreenNetwork4.0 January-February

2021


แจ็คกี้ จาง ประธานบริหาร บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า รู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้ ร่วมงานกับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค และมิตซูบชิ ิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) เพื่ อ น� า ประเทศไทยสู ่ ก ารขั บ ขี่ ร ถยนต์ ที่ ใ ช้ พ ลั ง งานสะอาดและ มอบประสบการณ์การขับขี่รถยนต์ไฟฟ้าที่สะดวกและปลอดภัยยิ่งขึ้น ด้วยความสามารถหลักอันโดดเด่นด้านการแปลงกระแสไฟฟ้าและ การจัดการพลังงานของเดลต้าฯ ท�าให้เราสามารถพัฒนาโซลูชนั การชาร์จ ประสิทธิภาพสูง พร้อมมาตรฐานความปลอดภัยทีผ่ า่ นการใช้งานจริงและ ได้รบั การยอมรับในระดับสากล ซึง่ ทีผ่ า่ นมาเดลต้าฯ ได้รบั ความไว้วางใจ จากผูผ้ ลิตรถยนต์ไฟฟ้าระดับโลกอย่างมิตซูบชิ ิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) รวมถึงผู้ขับขี่รถยนต์ไฟฟ้าทั่วโลก ส�าหรับการด�าเนินงานของทัง้ 3 หน่วยงาน ประกอบด้วย การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค จะให้การสนับสนุนการใช้งานแอปพลิเคชันของ PEA และ มอบบริการตรวจสอบระบบไฟฟ้าแรงต�า่ ณ สถานทีต่ ดิ ตัง้ จริง (ทีอ่ ยูอ่ าศัย และส�านักงาน) รวมถึงการติดตั้งระบบไฟฟ้าเพื่อเตรียมพร้อมส�าหรับ ทีช่ าร์จรถยนต์ไฟฟ้า ขณะทีม่ ติ ซูบชิ ิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จะให้ขอ้ มูล

29

ด้ า นการตลาดและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร ถยนต์ ไ ฟฟ้ า ประเภทปลั๊ ก อิ น ไฮบริ ด พีเอชอีวี ข้อมูลสถานีชาร์จ (สถานที่ตั้งและชนิดของเครื่องชาร์จ) และ ร่วมพัฒนา แบ่งปันฐานข้อมูลความรู้เกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้าให้กับ PEA ส่วนเดลต้าฯ ภายหลังการวางจุดต�าแหน่งสถานีชาร์จของเดลต้าฯ ผูข้ บั ขีร่ ถยนต์ไฟฟ้าสามารถใช้แอปพลิเคชันของ PEA เพือ่ ด�าเนินการจอง สัง่ งาน การเริม่ ต้น และหยุดชาร์จไฟ ตลอดจนช�าระเงินผ่านแอปพลิเคชัน ภายใต้ความช่วยเหลือและสนับสนุนจากเดลต้าฯ แล้ว เดลต้าฯ จะส่งข้อมูล จากเครือ่ งชาร์จไปยังเซิรฟ์ เวอร์ของ PEA ตามมาตรฐาน OCPP (Open Charge Point Protocol) ความร่วมมือของ PEA และ 2 บริษทั ชัน้ น�าในครัง้ นี้ ช่วยสนับสนุน แผนพัฒนาด้านพลังงานไฟฟ้าของรัฐบาลไทย ที่ก�าหนดเป้าหมายให้มี รถยนต์ไฟฟ้า 1.2 ล้านคัน (ทั้งประเภทปลั๊กอินไฮบริดและใช้แบตเตอรี่ เพียงอย่างเดียว) บนท้องถนนภายในปี พ.ศ. 2579 โดยทัง้ 3 พันธมิตร จะร่วมมือกันเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้ขับขี่ชาวไทย ทั้งใน เรือ่ งความรูพ้ นื้ ฐานของระบบรถยนต์ไฟฟ้า รวมถึงข้อก�าหนดด้านความ ปลอดภัยของโครงสร้างพื้นฐานด้านการชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าต่อไป

GreenNetwork4.0 January-February

2021


นาโนเทค พัฒนา

Innovation กองบรรณาธิการ

นั ก วิ จั ย ศู น ย์ น าโนเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (นาโนเทค) ส� า นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี (สวทช.) รับทุน Spearhead พัฒนา ต้นแบบสารคีเลต 8 ชนิด สู่ธาตุอาหารเสริมแบบ คอกเทล ซึ่งพัฒนาสูตรให้เหมาะกับสัตว์ประเภท ต่างๆ ได้ ตอบโจทย์ความต้องการของอุตสาหกรรม อาหารสัตว์ ในการเพิ่มประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์จาก สัตว์ ลดการทิ้งของเสีย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สร้างนวัตกรรมไทยใช้เองในประเทศ ลดการน�าเข้า พร้อมส่งต่อเอกชนสู่เชิงพาณิชย์ หวังขยายการใช้ ประโยชน์ทั้งไทยและตลาดโลก ดร.วรายุทธ สะโจมแสง หัวหน้าทีมวิจยั นาโน เทคโนโลยีเพื่อสิ่งเเวดล้อม กลุ่มวิจัยวัสดุผสมและ การเคลือบนาโน ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) ส� า นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี (สวทช.) กล่าวว่า งานวิจยั เรือ่ ง “การพัฒนา กระบวนการผลิตสารคีเลตของกรดอะมิโนกับโลหะ ส�าหรับใช้เป็นแร่ธาตุอาหารเสริมของสัตว์” ของ นาโนเทค ได้รับทุนจากแผนงานวิจัยและนวัตกรรม ขนาดใหญ่เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยและ นวัตกรรม 20 ปี (Spearhead ปีงบประมาณ 2562) ภายใต้ชดุ โครงการวิจยั เรือ่ ง “การพัฒนาอุตสาหกรรม การผลิต Functional Ingredients และการประยุกต์” ร่วมกับ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ แห่งชาติ (ไบโอเทค) เป็นการพัฒนาเทคโนโลยีคเี ลชัน และพั ฒ นาสู ต รเป็ น ธาตุ คี เ ลตรวมของสารคี เ ลต กรดอะมิโนกับโลหะในระดับกึ่งอุตสาหกรรม ซึ่งใน ปัจจุบันเป็นสารที่ต้องน�าเข้าจากต่างประเทศ 100%

30

ตอบโจทย์ความต้องการ อุตฯ อาหารสัตว์

ลดการทิ้งของเสีย - เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สารคีเลต 8 ชนิด สู่ธาตุอาหารเสริม แบบคอกเทล ตอบโจทย์ ความต้องการของ อาหารสัตว์

ในปี พ.ศ. 2562 อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ของประเทศไทยมีมูลค่ามากถึง 2.6 แสนล้านบาท และในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา มีการเติบโตสูงถึงร้อยละ 7-10 ต่อปี โดยเป็นการผลิตอาหารส�าหรับสัตว์ปกี มากทีส่ ดุ 11.4 ล้านตัน รองลงมาคืออาหาร สุกร 5.5 ล้านตัน อาหารสัตว์นา�้ 1 ล้านตัน และอาหารสัตว์เคีย้ วเอือ้ ง 0.9 ล้านตัน ข้อจ�ากัดหลักของอุตสาหกรรมนี้คือ สารคีเลตของกรดอะมิโนทั้งหมดต้องน�าเข้า จากต่างประเทศ ไม่สามารถผลิตได้เองในประเทศไทย ท�าให้ต้นทุนอาหารสัตว์ สูงขึน้ ส่งผลให้ผผู้ ลิตอาหารสัตว์ตอ้ งเลือกใช้ได้เฉพาะกับอาหารเกรดคุณภาพสูงที่ สามารถขายได้ในราคาแพงขึน้ เท่านัน้ การใช้ประโยชน์จากสารคีเลตของกรดอะมิโน จึงอยู่ในวงจ�ากัด นอกจากนี้ ด้วยข้อจ�ากัดของสิทธิบตั รการประดิษฐ์สารคีเลตของกรดอะมิโน จากต่างประเทศ ยังส่งผลให้ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ในไทยมีแนวโน้มการใช้อาหารสัตว์ ที่มีส่วนผสมคุณภาพต�่าลง เนื่องจากแรงกดดันจากต้นทุนราคาอาหารสัตว์ที่สูงขึ้น การผลิตอาหารสัตว์สว่ นใหญ่ยงั คงใช้แร่ธาตุอนินทรียท์ อี่ ยูใ่ นรูปเกลือจ�าพวกซัลเฟต เช่น ทองแดงซัลเฟต แมงกานีสซัลเฟต และเกลือออกไซด์อย่างซิงค์ออกไซด์ เป็นต้น ซึ่งแร่ธาตุในรูปนี้มีการดูดซึมต�่า สัตว์ไม่สามารถน�าไปใช้ใน ร่างกายให้เกิดประโยชน์ได้เต็มประสิทธิภาพ และยังถูกขับทิ้งเป็น ของเสียออกสู่ธรรมชาติอีกด้วย ดร.วรายุทธ กล่าวว่า ปัจจุบันแนวโน้มการบริโภคผลิตภัณฑ์ จากสัตว์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งสุกร ไก่ และสัตว์น�้า ท�าให้ผู้ผลิต จ�าเป็นต้องหาวิธีการที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้ได้ผลผลิตที่คุณภาพดี ต้นทุนต�่า และเพียงพอต่อความต้องการของตลาด ผลิตภัณฑ์ จากสัตว์จะมีคณ ุ ภาพดีตอ้ งมาจากสัตว์ทสี่ ขุ ภาพดี ดังนัน้ อาหาร ส�าหรับสัตว์จึงเป็นปัจจัยส�าคัญในการเพิ่มผลผลิตจากสัตว์ ต่างๆ การเสริมแร่ธาตุในรูปสารคีเลตของกรดอะมิโนกับ โลหะในอาหารสัตว์ จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

GreenNetwork4.0 January-February

2021


ดร.วรายุทธ สะโจมแสง

หัวหน้าทีมวิจัยนาโน เทคโนโลยีเพื่อสิ่งเเวดล้อม กลุ่มวิจัยวัสดุผสมและ การเคลือบนาโน นาโนเทค

“จุดเด่นของสารคีเลตที่พัฒนาขึ้นนั้น สามารถยืนยัน การเกิดคีเลตของกรดอะมิโนกับโลหะได้ สารคีเลตมีความคงตัว ในช่วง pH ที่กว้าง ละลายน�้าได้ดี ที่ส�าคัญ ยังสามารถพัฒนา สูตรเป็นแร่ธาตุคีเลตรวมที่ประกอบไปด้วยแร่ธาตุคีเลตของ โลหะต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมกับสัตว์แต่ละประเภทได้ เช่น สัตว์บก สัตว์นา�้ สัตว์ปกี สัตว์ทใี่ ห้นา�้ นม และสัตว์เลีย้ ง เป็นต้น” ดร.วรายุทธ กล่าว

โฉมหน้าทีมวิจัยสารคีเลต 8 ชนิด

ปัจจุบันงานวิจัยนี้ได้รับอนุสิทธิบัตร 4 เรื่อง และ อยูร่ ะหว่างการเจรจากับเอกชนในการรับถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งหากเกิดการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีคีเลชัน น�าไปสู่ การผลิตสารคีเลตได้เองภายในประเทศ จะช่วยลดการน�าเข้า สารคีเลตจากต่างประเทศและสามารถแข่งขันในเรื่องราคา และประสิทธิภาพ ทีส่ ามารถท�าตลาดได้ทงั้ ในและต่างประเทศ ซึ่งเป็นวิธีที่เริ่มเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ดังนัน้ ทีมวิจยั จึงได้สงั เคราะห์สารคีเลตจากกรดอะมิโน 2 ชนิด ได้แก่ ไกลซีน และเมไทโอนีน และโลหะอีก 4 ชนิด ได้แก่ ทองแดง สังกะสี แมงกานีส และเหล็ก ได้ผลิตภัณฑ์เป็นสารคีเลตแบบน�า้ และสามารถท�าเป็นคีเลตแบบผงแห้งด้วยวิธกี าร ท�าแห้งแบบพ่นฝอย หรือด้วยการท�าแห้งเยือกแข็งแบบสุญญากาศ ทัง้ หมด 8 ชนิด คือ ไกลซีนคอปเปอร์คเี ลต ไกลซีนซิงค์คเี ลต ไกลซีนเฟอรัสคีเลต ไกลซีนแมงกานีส คีเลต เมไทโอนีนคอปเปอร์คเี ลต เมไทโอนีนซิงค์คเี ลต เมไทโอนีนแมงกานีสคีเลต และเมไทโอนีนเฟอรัสคีเลต โดยแร่ธาตุรอง (Trace Mineral) ที่จ�าเป็นในรูปแบบของกรดอะมิโนคีเลต มีความเสถียรสูง ไม่เข้าท�าปฏิกิริยากับสารอื่น ท�าให้ใช้ประโยชน์ของแร่ธาตุได้ มากขึ้น ลดการขับของเสียทิ้งลง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเพิ่มกระบวนการ ดูดซึมบริเวณผนังล�าไส้ผา่ นทางกลไกการดูดซึมกรดอะมิโน สามารถผสมเข้ากันกับ อาหารได้ดี จากผลการทดสอบประสิทธิภาพสารคีเลต เพือ่ ใช้เป็นแร่ธาตุอาหารเสริม ในกุง้ และปลานิลด�า พบว่า สารคีเลตสามารถเพิม่ การดูดซึมในกุง้ ขาวและปลานิลด�า และสามารถใช้ประโยชน์จากแร่ธาตุของสารคีเลตได้ดี แม้มปี ริมาณน้อยกว่าแร่ธาตุ อนินทรีย์ถึง 2 เท่า 31

ค�าว่า คีเลต (Chelate) เป็นค�าที่ได้มาจาก ภาษากรีก คือ Chele ซึ่งมีความหมายว่า “กรงเล็บ” (Claw) ดังนั้นถ้าพิจารณาจากรากศัพท์จะเห็นได้ว่า โลหะประจุบวกถูกจับด้วยลิแกนด์มากกว่าหนึง่ ต�าแหน่ง ในลิแกนด์หนึ่งตัว ในที่นี้ลิแกนด์คือ กรดอะมิโน ซึ่ง การจับโลหะประจุบวกของลิแกนด์สามารถเกิดขึน้ ได้ มากว่าหนึง่ ตัว ท�าให้เกิดโครงสร้างทีเ่ รียกว่า เฮทเทอโรไซคลิกริง (Heterocyclic Ring) ระหว่างโลหะประจุบวก กับลิแกนด์ ซึ่งท�าให้มีลักษณะคล้ายกับกรงเล็บของ ล็อบสเตอร์ (Lobster) หรือกรงเล็บของปู (Crab) โดย สารลิแกนด์จะยึดจับโลหะประจุบวกให้อยู่ร่วมกัน อย่างเหนียวแน่นในรูปของสารคีเลตด้วยพันธะทาง เคมีที่แข็งแรง

GreenNetwork4.0 January-February

2021


Technology กองบรรณาธิการ

“ดิจิทัล”

เมื่อ เป็นเครื่องมือส�ำคัญ ในกำรฟื้นฟู โลกสีเขียว

แคทเธอรีน เฉิน

รองประธานอาวุโสและผู้อ�านวยการคณะผู้บริหาร บริษัท หัวเว่ย

วิกฤติ COVID-19 ในขณะนี้ ไ ด้ ส ่ ง ผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจ สังคม และวิถีชีวิตของ ประชาชนทั่ ว โลกในวงกว้ า ง ท� า ให้ เ ราต้ อ ง ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์การด�าเนินการให้สอดรับกับวิถีที่มี ความคล่องตัวและยั่งยืนมากขึ้น เพื่อให้ทุกฝ่ายสามารถฟื้นตัว กลับมาได้อย่างรวดเร็ว รวมทัง้ ป้องกันวิกฤติจากประวัตศิ าสตร์ซา�้ รอย ในอนาคต ทัง้ นี้ บรรดาผูเ้ ชีย่ วชาญจากทัว่ โลกต่างมองว่า หนึง่ ในเครือ่ งมือ ที่จะช่วยให้การฟื้นฟูอย่างยั่งยืนเป็นจริงขึ้นมาได้ก็คือ “เทคโนโลยีดิจิทัล” ซึ่ง จะเป็นองค์ประกอบส�าคัญของการเปลีย่ นแปลงครัง้ ยิง่ ใหญ่ในยุคหลัง COVID-19 ภายในงานสัมมนาออนไลน์หวั ข้อ “A green recovery in Asia: Opportunities for concerted action” ซึง่ จัดขึน้ เมือ่ เร็วๆ นี้ แคทเธอรีน เฉิน รองประธานอาวุโสและ ผู้อ�านวยการคณะผู้บริหาร บริษัท หัวเว่ย ได้กล่าวว่า เราเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่า การน�า เทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้เพือ่ ช่วยอนุรกั ษ์โลกของเราเป็นสิง่ จ�าเป็น เราได้เห็นภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน หันมาให้ความส�าคัญกับปัญหาด้านธรรมชาติและภาวะโลกร้อนมากขึน้ อย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งหัวเว่ยเชื่อมั่นว่าศักยภาพของเราไม่ได้จ�ากัดอยู่แค่การผลักดันเทคโนโลยีให้ก้าวหน้า 32

GreenNetwork4.0 January-February

2021


ยิง่ ขึน้ เท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงการผลักดันศักยภาพของสังคมโลก และมุง่ มัน่ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืนด้วยเช่นกัน ที่ผ่านมา บริษัทเทคโนโลยีบางรายได้ริเริ่มโครงการพัฒนาด้าน สิ่งแวดล้อมไปบ้างแล้ว โดยหัวเว่ยได้ปรับเปลี่ยนวิธีการด�าเนินการของ องค์กรไปแล้วหลายโครงการในปัจจุบนั เพือ่ ให้ตอบโจทย์การพัฒนาอย่าง ยั่งยืน อาทิ ลดจ�านวนการใช้กระดาษกว่า 350 ตัน ลดการใช้พลังงาน กว่า 60% ในระบบหลังบ้านของโซลูชันต่างๆ รวมถึงใช้แผงโซลาร์เซลล์ ผลิตพลังงานมากกว่า 6 ล้านกิโลวัตต์ชั่วโมง ในเขตปกครองตนเอง หนิงเซี่ยหุย เป็นต้น

อาซาด นาควี หัวหน้าฝ่ายเลขานุการ โครงการ The Partnership for Action on Green Economy (PAGE) สหประชาชาติ กล่าวถึง บทบาทของเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ทีม่ ผี ลต่อการฟืน้ ฟูสโู่ ลกสีเขียวว่า โครงสร้าง พื้ น ฐานด้ า นไอที ถื อ เป็ น สิ่ ง ส� า คั ญ มากในขณะนี้ เพราะทุ ก อย่ า งจะ ปรับเปลี่ยนสู่การเป็นดิจิทัลทั้งหมด ข้อมูลจะเป็นสิ่งส�าคัญส�าหรับการ ตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ และการเปลีย่ นแปลงอย่างยัง่ ยืนจ�าเป็นต้อง พึ่งเทคโนโลยีดิจิทัลและปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence)

“ในปี ค.ศ. 2021 นี้ หัวเว่ยจะยังคงมุ่งหน้าลดการ ปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกและหั น มาใช้ พ ลั ง งานทดแทน เพือ่ รองรับเศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืนต่อไป ต่อยอดไปถึงการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ 5G ให้ใช้พื้นที่น้อยลง ใช้ไฟน้อยลง รวมถึง พัฒนาระบบคลาวด์และปัญญาประดิษฐ์ (AI) ให้ใช้งาน ง่ายขึ้น ส�าหรับคู่ค้าและภาคอุตสาหกรรมทุกฝ่าย เพื่อให้ สามารถสร้างผลิตภัณฑ์หรือโซลูชนั ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม มากขึ้น เพราะวิถีการฟื้นฟูที่ค�านึงถึงสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่อง ของทุกประเทศ ทุกองค์กร และประชาชนทุกคน เราจึง จ�าเป็นต้องจับมือเพื่อร่วมกันสร้างโลกที่สวยงาม ล�้าสมัย และเท่าเทียมให้เกิดขึ้นต่อจากนี้” แคทเธอรีน เฉิน กล่าว

ในบรรดาผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานนานาชาติต่างมีความเห็น ไปในทิศทางเดียวกันว่า เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั คือค�าตอบของปัญหาสิง่ แวดล้อม ในปัจจุบนั โดย ยอน ชุล ยู ทูตภาวะโลกร้อนจากกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐเกาหลีใต้ มองว่าการพัฒนาของเทคโนโลยีจะช่วยยกระดับ คุณภาพชีวติ มนุษย์ในแบบทีไ่ ม่เคยปรากฏมาก่อนในเวลา 20 ปีตอ่ จากนี้ ซึ่งการเปลี่ยนผ่านเชิงดิจิทัลจะน�าไปสู่การลดการใช้พลังงานที่ก่อให้เกิด ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลงทุนด้านเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง เพื่อวาง อนาคตที่สดใสให้แก่เยาวชนรุ่นถัดไป “ทุกภาคส่วนต้องท�าความเข้าใจและมองหาโอกาสจากสถานการณ์ การระบาดของ COVID-19 เพื่อน�าไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนั้นไม่สามารถเกิดขึ้นได้จาก ภาครัฐ ภาคธุรกิจ หรือภาคสังคม เพียงส่วนใดส่วนหนึง่ แต่ตอ้ งเกิดจาก ความร่ ว มมื อ กั น ของทุก ฝ่า ยเพื่อ ให้ก ารเปลี่ย นแปลงเป็ น ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพ” ยอน ชุล ยู กล่าว

33

“ปัจจุบนั เราจะเห็นได้วา่ ภาครัฐในหลายประเทศให้ความส�าคัญกับ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมากขึ้น ซึ่งประเทศไทยเองเป็นหนึ่งในประเทศ ที่อนุมัติแผนการพลิกฟื้นและพัฒนาเศรษฐกิจที่ค�านึงถึงสิ่งแวดล้อม “Green Recovery” ตอนนีเ้ รามีโอกาสตัดสินใจว่าจะให้อนาคตต่อจากนี้ เป็นอย่างไร และเราสามารถใช้โอกาสนีเ้ พือ่ รีเซ็ตโมเดลธุรกิจหรือวิถชี วี ติ ของเราใหม่ เพื่อให้เป็นไปอย่างยั่งยืน” อาซาด กล่าว เมิง หลิว หัวหน้าโครงการ UNGC สาขาภูมิภาคเอเชียและ โอเชียเนีย กล่าวว่า ความต้องการใช้งานโครงสร้างพืน้ ฐานด้านเทคโนโลยี และข้อมูลจะเป็นสิง่ ส�าคัญมากในโลกยุคหลัง COVID-19 สังเกตได้จาก ในปัจจุบันที่เราหันมาใช้โปรแกรมประชุมออนไลน์ เช่น Zoom มากขึ้น ผลการศึกษาจากสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศระบุวา่ เราต้องใช้ เงินทุนประมาณ 428,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อให้คนจ�านวน 3,000 ล้านคนทีเ่ หลือทัว่ โลกเชือ่ มต่อถึงกันได้ภายในปี ค.ศ. 2030 งบประมาณ การลงทุนก้อนนี้จะมาจากภาคเอกชนถึง 70% ซึ่งควรให้ความส�าคัญใน การท�าให้โครงสร้างพื้นฐานทั้งโครงข่ายและดิจิทัลเป็นไปอย่างยั่งยืน

GreenNetwork4.0 January-February

2021


Biz กองบรรณำธิกำร

บอร์ด GPSC อนุมัติลงทุนโรงงานแบตเตอรี่ในจีน

ป้อนตลาดยานยนต์ไฟฟ้า ขยายธุรกิจ New S-Curve

บอร์ด GPSC ไฟเขียวตั้งบริษัทย่อย เข้าลงทุนในบริษัท Anhui Axxiva New Energy Technology Co., Ltd. ประเทศจีน ในสัดส่วนประมาณ 11.1% วงเงินลงทุนประมาณ 500 ล้านบาท เดินหน้าสร้างโรงงานผลิตแบตเตอรี่ ก�าลังการผลิตรวม 1 กิกะวัตต์ ชั่วโมงต่อปี ใช้เทคโนโลยีจากบริษัท 24M รับเทรนด์อุตสาหกรรม ยานยนต์ไฟฟ้า ต่อยอดการขยายธุรกิจ New S-Curve วรวัฒน์ พิทยศิริ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ากัด (มหาชน) หรือ GPSC ผูน้ ำ� นวัตกรรมธุรกิจไฟฟ้ำ กลุม่ ปตท. กล่ำวว่ำ ทีป่ ระชุม คณะกรรมกำรของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2564 วันที่ 20 มกรำคม 2564 ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ จัดตัง้ บริษทั ย่อยเพือ่ ลงทุนในบริษทั Anhui Axxiva New Energy Technology Co., Ltd. (AXXIVA) ประเทศ สำธำรณรัฐประชำชนจีน ด�ำเนินธุรกิจโรงงำนผลิตแบตเตอรี่ ด้วยเงิน ลงทุนประมำณ 500 ล้ำนบำท คิดเป็นกำรลงทุนในสัดส่วนประมำณ 11.1% ของ Equity Interest ทัง้ หมดของ AXXIVA โดยใช้เทคโนโลยี กำรผลิตจำก 24M Technologies Inc. (24M) “การเข้าลงทุนใน AXXIVA ครั้งนี้ เป็นไปตามแผนกลยุทธ์ การเติบโตของบริษัทฯ เพื่อต่อยอดเทคโนโลยีและเป็นฐานในการ สร้างรายได้จากธุรกิจในรูปแบบใหม่ที่เป็น New S-Curve รองรับ การเปลีย่ นแปลงของธุรกิจพลังงานและธุรกิจไฟฟ้าในอนาคต อีกทัง้ ยังเป็นการแสวงหาโอกาสทางธุรกิจร่วมกับพันธมิตรในต่างประเทศ โดยเฉพาะในประเทศจีน ที่มีอัตราการเติบโตของอุตสาหกรรม ยานยนต์ไฟฟ้าอย่างต่อเนือ่ ง เนือ่ งจากประเทศจีนให้ความส�าคัญเรือ่ ง การพัฒนาระบบขนส่งที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม” วรวัฒน์ กล่ำว ทั้งนี้ บริษัทฯ สำมำรถต่อยอดและขยำยควำมร่วมมือ ทำงธุรกิจ รวมถึงกำรแบ่งปันควำมรู้และประสบกำรณ์ ทำงเทคนิครองรับกำรขยำยกำรผลิตสูร่ ะดับเชิงพำณิชย์ (Giga Scale) และควำมร่วมมืออื่นๆ เช่น กำรจัดหำ วัตถุดิบและ Electrode Active Materials ร่วมกัน เพื่อเพิ่มศักยภำพของกำรแข่งขัน รวมถึงผลักดัน ให้บริษัทฯ สำมำรถด�ำเนินธุรกิจผลิตแบตเตอรี่ให้ ประสบควำมส�ำเร็จได้อย่ำงรวดเร็วต่อไป วรวัฒน์ กล่ำวถึงเป้ำหมำยกำรเข้ำระดมทุน ของ AXXIVA ว่ำ เพือ่ ใช้ในกำรลงทุนก่อสร้ำงโรงงำน แบตเตอรี่ Semi-solid ระยะที่ 1 ที่ประเทศจีน ก�ำลังกำรผลิต 1 กิกะวัตต์ชั่วโมง (GWh) ต่อปี คำดว่ำจะก่อสร้ำงแล้วเสร็จภำยในปลำยปี พ.ศ. 2564 และเริ่มด�ำเนินกำรผลิตแบตเตอรี่เชิงพำณิชย์ ภำยในต้นปี พ.ศ. 2565 เพือ่ ป้อนให้กบั กลุม่ ลูกค้ำ 34

หลักในอุตสำหกรรมยำนยนต์ไฟฟ้ำของประเทศจีน เช่น Chery New Energy Automobile ซึ่งเชื่อมั่นในประสิทธิภำพและควำม ปลอดภัยของแบตเตอรี่ Semi-solid พร้อมร่วมพัฒนำไปกับ AXXIVA โดย AXXIVA ยังมีแผนขยำยก�ำลังกำรผลิตต่อไปในอนำคต เพื่อ รองรับควำมต้องกำรใช้แบตเตอรี่ส�ำหรับรถยนต์ไฟฟ้ำต่อไป ล่ำสุดเมือ่ วันที่ 8 กุมภำพันธ์ 2564 บริษทั ฯ ได้ลงนำมสัญญำ เพิ่มทุนกับ AXXIVA เป็นที่เรียบร้อย โดยบริษัทฯ อยู่ระหว่ำงกำร ด�ำเนินกำรจัดตั้งบริษัทย่อยเพื่อเข้ำลงทุนดังกล่ำว และคำดว่ำจะ ด�ำเนินกำรเพิ่มทุนแล้วเสร็จภำยในไตรมำส 1 ปี พ.ศ. 2564

GreenNetwork4.0 January-February

2021


TURNING CHALLENGES INTO A SPECTRUM OF SOLUTIONS. POWERING GOOD FOR SUSTAINABLE ENERGY. We’re never blinded by the scale of a challenge. Uniting the talents and expertise of two pioneers, our unique perspective turns the world’s energy issues into a spectrum of solutions – leveraging our digital and energy capabilities for a stronger, smarter and greener future: www.hitachiabb-powergrids.com



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.