04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 1
22/4/2564 BE 12:16
CONNECT WITH ENERGY LEADERS DRIVING ASIA’S ENERGY TRANSITION Future Energy Asia 2021 will be held from 30 June - 2 July 2021 at BITEC, Bangkok (Thailand) and for 2021, the exhibition and summit will focus on growth resurgence post COVID-19 combined with enabling the energy transition and transformation mission for the region. The exhibition and summit will be attended by Energy Ministers, Policy Makers, Energy Majors including NOCs and IOCS, Power Generation authorities, midstream gas and LNG players, EPCs and Project Consultants and renewable energy developers. The conference will advance innovation and collaboration with the participation of key energy stakeholders, project developers, policy makers and Ministers. Participate in Future Energy Asia 2021 and network with key decision makers from across the globe.
5,000+
SENIOR DECISION MAKER CONFERENCE DELEGATES
200+
100+
100+
STRATEGIC & TECHNICAL CONFERENCE SESSIONS
Endorsed by
04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 2
30 JUNE – 2 JULY 2021 BITEC, BANGKOK, THAILAND
ASIA’S LEADING INTEGRATED ENERGY TRANSFORMATION EVENT www.FutureEnergyAsia.com
Meet asia’s energy leaders live and in-person within a safe and secure environment.
1,000+
VISITING ENERGY PROFESSIONALS
INDUSTRY LEADING SPEAKERS
E X H I B I T I O N A N D S UMMIT
GLOBAL & REGIONAL EXHIBITORS
5
EXHIBITING INTERNATIONAL COUNTRY PAVILIONS
Co-hosts
CONTACT US FOR MORE PARTICIPATION DETAILS. E: FEA.Sales@dmgevents.com T: +65 6856 5205
Organised by
22/4/2564 BE 12:16
04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 3
22/4/2564 BE 12:16
04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 4
22/4/2564 BE 12:16
จากสถานีกรุงเทพ สู่สถานีกลางบางซื่อ ศูนย์ประชาสัมพันธ์ การรถไฟแห่งประเทศไทย
ธ์ ยทไ
WWW.RAILWAY.CO.TH.
FACEBOOK : ทีมพีอาร์การรถไฟแห่งประเทศไทย CALL CENTER : 1690
0
WWW.RAILWAY.CO.TH.
FACEBOOK : ทีมพีอาร์การรถไฟแห่งประเทศไทย CALL CENTER : 1690
0
าห
การพัฒนาสถานีกลางบางซื่อ ไม่ใช่เป็นเพียงการสร้างสถานีขนาดใหญ่ที่สามารถรองรับจ�านวนผู้โดยสารได้เพิ่มมากขึ้นเท่านั้น หากแต่เป็นการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นย่านธุรกิจแห่งใหม่ (Central Business District: CBD) ทดแทนสถานีกรุงเทพ
04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 5
22/4/2564 BE 12:16
04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 6
22/4/2564 BE 12:16
คณะที่ปรึกษา
ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ดร.อัศวิน จินตกานนท์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย ประสงค์ ธาราไชย ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รศ. ดร.สิงห์ อินทรชูโต
นินนาท ไชยธีรภิญโญ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ พานิช พงศ์พิโรดม ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ดร.สุรพล ด�ารงกิตติกุล ชาย ชีวะเกตุ
บรรณาธิการอ�านวยการ/บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
บรรณาธิการ
กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
บรรณาธิการข่าว
สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล
กองบรรณาธิการ
ณัฐชยา แก่นจันทร์
พิสูจน์อักษร
อ�าพันธ์ุ ไตรรัตน์
ศิลปกรรม
พฤติยา นิลวัตร, ศศิธร มไหสวริยะ
ประสานงาน
ภัทรกันต์ กิจสินธพชัย
ฝ่ายการตลาด
ทิพวัลย์ เข็มพิลา, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, วีรวรรณ พุทธโอวาท
เลขานุการฝ่ายการตลาด ชุติมณฑน์ บัวผัน
ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์
กรรณิการ์ ศรีวรรณ์
แยกสี
บริษัท คลาสิคสแกน จ�ากัด
โรงพิมพ์
หจก.รุ่งเรืองการพิมพ์
เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ากัด
สวัสดีครับ ท่านสมาชิกและท่านผู้อ่านทุกท่าน ในช่วงที่ผ่านมา แวดวงพลังงานกลับมาคึกคักและอยู่ในกระแส อีกครั้ง เมื่อที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายยานยนต์ไฟฟ้าแห่งชาติ (บอร์ดอีว)ี ได้รว่ มก�าหนดแผนยุทธศาสตร์สง่ เสริมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า ในประเทศ เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนต์ที่ผ่านมาผลิตเครื่องยนต์ สันดาป ซึง่ เป็นสาเหตุหนึง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 จึงได้วางเป้าหมายการส่งเสริม การผลิตและการใช้รถยนต์ไฟฟ้า (EV) โดยคาดการณ์วา่ ในปี พ.ศ. 2568 รถยนต์ไฟฟ้าจะมีราคาเทียบเท่ากับรถยนต์สันดาป เพื่อก้าวสู่เป้าหมาย การลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ การด�าเนินงานขับเคลือ่ นส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้า เพือ่ ให้ประเทศไทย ก้าวสู่การเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าและชิ้นส่วนที่ส�าคัญของโลก ได้มอบหมายให้กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพลังงาน และกระทรวง คมนาคม ร่วมกันพิจารณาส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้า ประกอบด้วย รถยนต์ รถจักรยานยนต์ และรถบัสสาธารณะ โดยกระทรวงอุตสาหกรรมและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเตรียมความพร้อมทั้งในส่วนของอุปทาน (ผู้ผลิต) โดยเฉพาะการเชือ่ มโยงผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนและอุปกรณ์ทเี่ กีย่ วเนือ่ งในยานยนต์ ไฟฟ้า รวมถึงผลักดันผูป้ ระกอบการทีม่ ศี กั ยภาพ เพือ่ เร่งให้เกิดการผลิต ยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยโดยเร็ว ซึง่ มีเป้าหมายการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า ทุกประเภทในปี พ.ศ. 2568 รวมจ�านวนทั้งสิ้น 1,055,000 คัน แบ่งเป็น รถยนต์/รถพิกอัป 402,000 คัน รถจักรยานยนต์ 622,000 คัน และ รถบัส/รถบรรทุก 31,000 คัน และได้วางเป้าหมายการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า ของประเทศในปี พ.ศ. 2568 จ�านวนรวมทัง้ สิน้ 1,051,000 คัน แบ่งเป็น รถยนต์/รถพิกอัป 400,000 คัน รถจักรยานยนต์ 620,000 คัน และ รถบัส/รถบรรทุก 31,000 คัน ส�าหรับนิตยสาร Green Network เดินทางมาถึงฉบับที่ 104 โดยน�าเสนอ MG จับมือ สวทช. ร่วมทดสอบมาตรฐานรถยนต์ไฟฟ้า รับลูกบอร์ด EV หนุนใช้รถยนต์ไฟฟ้าในไทยปี ’68, 3 จังหวัดท่องเทีย่ ว ชายทะเลชื่อดังของไทย น�าร่องจัดการปัญหาขยะพลาสติกในทะเล, กัลฟ์ เอสอาร์ซี เริม่ เดินเครือ่ งกังหันก๊าซ M701JAC ยูนติ แรกของเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ที่โรงไฟฟ้าในจังหวัดชลบุรี ก�าลังการผลิต 2,650 เมกะวัตต์, ซีพี ออลล์ ชูแผน 7 Go Green Mission 2021 เพือ่ สิง่ แวดล้อม 24 ชัว่ โมง ตัง้ เป้าปี ’64 ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเทียบการปลูกไม้ 347,648 ต้น และคอลัมน์ตา่ งๆ อีกมากมาย ติดตามได้ในรูปแบบ Hard Copy และ E-Book ทีเ่ ว็บไซต์ www.greennetworkthailand.com ครับ พบกันฉบับหน้า สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 (ฝ่ายการตลาด Ext. 230) แฟกซ์ 0-2640-4260 เว็บไซท์ http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail editor@greennetworkthailand.com
04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 7
22/4/2564 BE 12:16
Contents March-April 2021
9
Cover Story
MG จับมือ สวทช. ร่วมทดสอบมาตรฐานรถยนต์ไฟฟ้า รับลูกบอร์ด EV หนุนใช้รถยนต์ไฟฟ้าในไทยปี ’68 กองบรรณาธิการ
Report
27 กัลฟ์ เอสอาร์ซี เริ่มเดินเครื่องกังหันก๊าซ M701JAC
น�าร่องจัดการปัญหาขยะพลาสติกในทะเล สุรยี ์พร วงศ์ศรีตระกูล
บทความ
19 แสงอาทิตย์พลังงานของทุกชนชั้น Energy for All
ยูนิตแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่โรงไฟฟ้า ในจังหวัดชลบุรี ก�าลังการผลิต 2,650 เมกะวัตต์ กองบรรณาธิการ
Automotive
29 SANY เปิดตัวรถบรรทุกใช้เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน 2 รุ่น
พิชัย ถิ่นสันติสุข
Environment
21 สผ. ร่วมกับกรมทรัพยากรน�้า และ UNDP จัดกิจกรรม
เพื่อสิ่งแวดล้อม 24 ชั่วโมง ตั้งเป้าปี ’64 ลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกเทียบการปลูกไม้ 347,648 ต้น กองบรรณาธิการ
Energy
14 3 จังหวัดท่องเที่ยวชายทะเลชื่อดังของไทย
25 ซีพี ออลล์ ชูแผน 7 Go Green Mission 2021
วันพื้นที่ชุ่มน�้า ประจ�าปี 2564 หวังอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ พืน้ ที่ชุ่มน�้าอย่างยั่งยืน กองบรรณาธิการ
ชูจุดเด่น “ปล่อยมลพิษเป็นศูนย์” กองบรรณาธิการ
Health
30 นักวิจัยไบโอเทคผลิต “โปรตีนทางเลือกจากจุลินทรีย์”
เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พัฒนาสู่เนื้อบดเทียม- ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก กองบรรณาธิการ
Gadget
32 Innergie แบรนด์สินค้ากลุ่ม Mobile Power
ในเครือ Delta เปิดตัวแคมเปญรักษ์โลก ลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ในไทย กองบรรณาธิการ
BCG
33 วว. เปิดตัวโครงการจัดตั้งสถานีจัดการ
ขยะชุมชนฯ ตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน ที่หนองคาย กองบรรณาธิการ
14 21 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 8
22/4/2564 BE 12:16
MG จับมือ สวทช. ร่วมทดสอบ มาตรฐานรถยนต์ไฟฟ้า
Cover Story กองบรรณาธิการ
รับลูกบอร์ด EV หนุนใช้รถยนต์ไฟฟ้าในไทยปี ’68
บริษัท เอสเอไอซี มอเตอร์-ซีพี จ�ำกัด และบริษัท เอ็มจี เซลส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผูผ้ ลิตและผูจ้ ำ� หน่ำยรถยนต์เอ็มจีในประเทศไทย ลงนำมควำมร่วมมือกับส�ำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี แห่งชำติ (สวทช.) เพือ่ พัฒนำระบบกำรรับรองและมำตรฐำน EV Charging Station รองรับกำรใช้งำนยำนยนต์ไฟฟ้ำในประเทศไทยในอนำคต
เอ็มจี จับมือ สวทช. ขับเคลื่อนสร้างโครงสร้าง พื้นฐานรองรับการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าของไทย
มร.จำง ไห่โป กรรมกำรผูจ้ ดั กำร บริษทั เอสเอไอซี มอเตอร์-ซีพี จ�ำกัด และบริษทั เอ็มจี เซลส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ความร่วมมือ ในครั้งนี้นับเป็นอีกก้าวส�าคัญของรถยนต์พลังงานไฟฟ้าของเมืองไทย ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างเอ็มจี ที่เป็นภาคเอกชน กับ สวทช. ที่เป็น หน่วยงานภาครัฐที่มีเป้าหมายเดียวกันเพื่อขับเคลื่อนสร้างโครงสร้าง พื้นฐานเพื่อรองรับการเปลี่ยนผ่านใช้ยานยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยน�้ามัน เชือ้ เพลิงสูย่ านยนต์ไฟฟ้าของประเทศไทยให้มคี ณ ุ ภาพและประสิทธิภาพ ที่ปลอดภัยแก่ลูกค้าของเอ็มจี
มร.จำง ไห่โป
กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอสเอไอซี มอเตอร์-ซีพี จ�ากัด และบริษัท เอ็มจี เซลส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด 9 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 9
GreenNetwork4.0 March-April Gr
2021
22/4/2564 BE 12:16
ส�าหรับแนวทางการท�างานจะมีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ประสบการณ์ และบุคลากร รวมทั้งการทดสอบประสิทธิภาพของ อะไหล่ยานยนต์ไฟฟ้าทีห่ อ้ งทดสอบของ สวทช. ทีไ่ ด้รบั การยอมรับว่า ได้มาตรฐานตามหลักวิชาการระดับสากล สร้างบรรทัดฐานมาตรฐาน การทดสอบ รวมทัง้ ออกใบรับรองอะไหล่ แบตเตอรีไ่ ฟฟ้า ระบบการ ชาร์จของเอ็มจี ช่วยเสริมความแข็งแกร่งให้กับ EV Ecosystem ไปสู่ สังคมรถยนต์พลังงานไฟฟ้าไปอีกขั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้าง สถานีชาร์จรถยนต์พลังงานไฟฟ้าที่จะช่วยสร้างความมั่นใจและความ เชือ่ มัน่ ให้กบั กลุม่ ลูกค้าในประเทศไทยเปิดใจยอมรับในประสิทธิภาพ ยานยนต์ไฟฟ้าของเอ็มจีมากยิ่งขึ้น
เอ็มจีผลิตรถยนต์ไฟฟ้ารุ่นแรกได้ผลตอบรับที่ดี จากทุกกลุ่ม
พงษ์ศักดิ์ เลิศฤดีวัฒนวงศ์ รองกรรมกำรผู้จัดกำร บริษัท เอ็มจีเซลล์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า กระแสการอนุรกั ษ์พลังงาน และสร้างยานยนต์ไฟฟ้าของผู้ประกอบการค่ายรถยนต์ต่างๆ เริ่มมี มากกว่า 10 ปีแล้ว ซึง่ เอ็มจีกไ็ ด้มแี ผนการผลิตยานยนต์ไฟฟ้ารองรับ ตลาดยานยนต์ไฟฟ้าเช่นเดียวกัน โดยค�านึงถึงเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม และความคุ้มค่าของยานยนต์ไฟฟ้าที่สร้างขึ้นในทุกๆ กระบวนการ ผลิต ส�าหรับยานยนต์ไฟฟ้ารุ่นแรกที่ผลิตส�าเร็จคือ MG ZS EV และ ได้นา� มาทดลองขายในตลาดแล้ว ทัง้ ทีเ่ คยเป็นลูกค้าของเอ็มจีอยูแ่ ล้ว และเป็นลูกค้ารายใหม่ๆ หลังจากนั้นอีกประมาณ 5 ปี เอ็มจีได้น�า ประสบการณ์การใช้งานจากลูกค้าที่สอบถามภายหลังจากการซื้อ
ยานยนต์ไฟฟ้าของเอ็มจีไปใช้แล้วมีประสบการณ์อย่างไร ต้องการให้ เอ็มจีปรับเปลี่ยนตรงจุดไหนของยานยนต์ไฟฟ้าบ้าง เช่น ระยะเวลา การใช้งานแบตเตอรี่เมื่อชาร์จเต็มแล้วจะสามารถใช้งานได้ระยะทาง เท่าใด รวมทัง้ การสร้างสถานีชาร์จของเอ็มจีให้มคี วามเพียงพอรองรับ ในจุดบริการต่างๆ ทีล่ กู ค้าของเอ็มจีจะสามารถสะดวกเข้าใช้บริการชาร์จ ในแต่ละพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นศูนย์จ�าหน่ายของเอ็มจีตามสถานที่ ราชการที่มีความร่วมมือกับเอ็มจี และพื้นที่ของภาคเอกชนที่เอ็มจี ไปเช่าพื้นที่ทดลองติดตั้ง เป็นต้น เมื่อทราบความต้องการของลูกค้า แล้ว เอ็มจีจงึ ได้นา� ข้อมูลทีไ่ ด้ไปพัฒนาต่อยอดการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า ให้มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น ส�าหรับการรับประกันแบตเตอรีน่ นั้ เอ็มจีจะรับประกันการใช้งาน ประมาณ 8 ปี หรือประมาณ 180,000 กิโลเมตร ระยะเวลาการใช้งาน แบตเตอรีเ่ มือ่ ชาร์จเต็มแล้วจะสามารถใช้งานในระยะทางได้ 24 ชัว่ โมง ในระยะเวลาประมาณ 2-3 วัน ในระยะทางประมาณ 200-400 กิโลเมตร ขึน้ อยูก่ บั ความเร็วของผูข้ บั ขีท่ ใี่ ช้ขบั ในแต่ละครัง้ การชาร์จ ต่อครั้งจะใช้เวลาประมาณ 25-30 นาที ด้วยการตอบรับที่ดีจากลูกค้าที่เลือกซื้อยานยนต์ไฟฟ้าเอ็มจี มากขึน้ เอ็มจีจงึ ได้ผลิตยานยนต์ไฟฟ้ารุน่ ใหม่อกี 2 รุน่ ออกมารองรับ การใช้งานเพิ่มเติม ได้แก่ MG HS PHEV และ MG EP ซึ่งทั้ง 2 รุ่น ก็ได้รับการตอบรับที่ดีเกินความคาดหมายเช่นเดียวกัน
พงษ์ศักดิ์ เลิศฤดีวัฒนวงศ์
รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็มจีเซลล์ (ประเทศไทย) จ�ากัด
10 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 10
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
MG - NSTDA Lab test
เดินหน้าติดตั้งสถานีชาร์จระยะที่ 2 อีก 500 จุดทั่วประเทศให้แล้วเสร็จภายในปีนี้
นอกจากนี้ เอ็มจีได้ให้ความส�าคัญกับการสร้างสถานีชาร์จของเอ็มจีทไี่ ด้ มาตรฐานรองรับการใช้งานของลูกค้า ซึง่ สถานีชาร์จของ MG SUPER CHARGE ที่สร้างขึ้นนั้น ได้รับการออกแบบภายใต้แนวคิดที่ใช้งานง่าย ลูกค้าสามารถใช้ เครือ่ งชาร์จได้ดว้ ยตัวเอง โดยสามารถตรวจสอบเวลาการท�างานและความพร้อม ใช้งานของ MG SUPER CHARGE ค้นหา จอง และเติมเงินก่อนเริม่ ชาร์จรถยนต์ พลังงานไฟฟ้าได้จากโทรศัพท์มือถือผ่านแอปพลิเคชัน i-SMART ซึ่งลูกค้า สามารถดาวน์โหลดเวอร์ชันใหม่ของ i-SMART ได้แล้วตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ส� า หรั บ ความคื บ หน้ า ของแผนงานการขยายสถานี ช าร์ จ ของเอ็ ม จี ที่ประกาศไว้เมื่อปี พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา ล่าสุดได้บรรลุแผนระยะที่ 1 มีการ ติดตัง้ สถานีชาร์จจ�านวน 108 สถานีทโี่ ชว์รมู และศูนย์บริการเอ็มจีเรียบร้อยแล้ว โดยมีความพร้อมเปิดให้บริการแล้ว 67 สถานี ซึง่ ราคาค่าบริการในช่วง Off Peak ในวันจันทร์-วันศุกร์ ระหว่างเวลา 22.00-08.00 น. และวันเสาร์-วันอาทิตย์ ตลอด 24 ชัว่ โมง ราคาจะอยูท่ ี่ 6.5 บาทต่อกิโลวัตต์ชวั่ โมง และในช่วงเวลา Peak ตั้งแต่วันจันทร์-วันศุกร์ ระหว่างเวลา 08.00-22.00 น. ราคาจะอยู่ที่ 7.5 บาท ต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง นอกจากนี้ เพื่อลดความกังวลเกี่ยวกับสถานีชาร์จและเพิ่ม ความมั่นใจในการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าด้วยจ�านวนสถานีชาร์จที่ครอบคลุมมาก ยิง่ ขึน้ ซึง่ ในแต่ละสถานีการติดตัง้ จะห่างกันประมาณ 150 กิโลเมตร และพืน้ ที่ กรุงเทพมหานครจะมีการติดตั้งสถานีชาร์จไฟฟ้ามากที่สุดประมาณ 50% และ กระจายสูพ่ นื้ ทีจ่ งั หวัดท่องเทีย่ ว จังหวัดทีม่ ฐี านลูกค้าของเอ็มจี เช่น นครราชสีมา ขอนแก่น เชียงใหม่ พิษณุโลก สุราษฎร์ธานี และอ�าเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ตามปริมาณฐานลูกค้าเพื่ออ�านวยความสะดวกและสร้างความมั่นใจเมื่อซื้อ ยานยนต์ไฟฟ้าจากเอ็มจีไปจะมีสถานีชาร์จไฟฟ้ารองรับอย่างแน่นอน
“ส� ำ หรั บ โอกำสในกำรเป็ น ผู ้ น� ำ เรื่ อ ง ยำนยนต์ ไฟฟ้ำของประเทศไทยนั้น มองว่ำ ประเทศไทยมี ศั ก ยภำพเรื่ อ งอุ ต สำหกรรม ยำนยนต์ ม ำก่ อ น ทั้ ง เรื่ อ งกำรเป็ น ผู ้ ผ ลิ ต ชิ้ น ส่ ว นยำนยนต์ ใ ห้ กั บ หลำยๆ บริ ษั ท ทั้ ง เอเชียและยุโรป จึงท�ำให้กำรปรับเปลี่ยนสู่กำร ผลิตชิน้ ส่วนยำนยนต์ทใี่ ช้นำ�้ มันไปสูย่ ำนยนต์ ไฟฟ้ำจะท�ำได้งำ่ ยและรวดเร็วกว่ำประเทศอืน่ ๆ ในภูมภิ ำค ซึง่ หำกท�ำได้อย่ำงครบวงจรจะช่วย ให้ประเทศไทยก้ำวสูผ้ นู้ ำ� ทีจ่ ะเป็นฐำนกำรผลิต ยำนยนต์ ไฟฟ้ำในภูมิเอเชียในอนำคตได้” พงษ์ศักดิ์ กล่ำว 11 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 11
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
สวทช. พร้อมน�าองค์ความรูท้ มี่ ใี ห้บริการ ทดสอบยานยานยนต์ไฟฟ้า
ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำน พัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) กล่าวว่า จากนโยบายของภาครัฐ โดยกระทรวงพลังงาน ที่มีการส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าให้เป็นส่วนหนึ่งในแผน อนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2558-พ.ศ. 2579 (Energy Efficiency Plan : EEP 2015) มีเป้าหมายให้เกิดการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้า รวมทัง้ สิน้ 1.2 ล้านคัน ภายในปี พ.ศ. 2579 ดังนัน้ การร่วมมือ กันระหว่าง สวทช. และเอ็มจี ในครั้งนี้ ถือเป็นก้าวย่าง ที่ส�าคัญที่จะช่วยสนองนโยบายของรัฐบาลยานยนต์ไฟฟ้า ของไทยเทียบเท่าระดับสากล โดย สวทช. จะน�าความรู้
ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล
ผู้อ�านวยการส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
12 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 12
งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง บุคลากรทีม่ คี วามรูท้ างอิเล็กทรอนิกส์และวิศวกรรม ยานยนต์ไฟฟ้าโดยเฉพาะ รวมทั้งห้องปฏิบัติการที่ใช้ทดสอบยานยนต์ ไฟฟ้าโดยเฉพาะเรื่องมอเตอร์และแบตเตอรี่ท่ีปลอดภัย คุ้มค่า และ มีประสิทธิภาพแก่ผู้บริโภค ห้องปฏิบัติการทดสอบสถานีอัดประจุไฟฟ้า และห้องปฏิบัติการทดสอบความถี่มาใช้ทดสอบยานยนต์ไฟฟ้าของเอ็มจี ก่อนน�าไปสูข่ นั้ ตอนการขอยืน่ รับรองมาตรฐานยานยนต์ไฟฟ้า มอก. จาก สมอ. กระทรวงอุตสาหกรรม ขณะนี้เอ็มจีได้ติดตั้งสถานีชาร์จจ�านวน 3 แห่ง ให้กับ สวทช. ซึ่งจะกระจายติดตั้งที่อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี อาคารวิจัยโยธี ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ และศูนย์เทคโนโลยีไมโคร อิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) อ�าเภอบางน�้าเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อ สนับสนุนการให้บริการผู้ใช้ยานยนต์ไฟฟ้าได้อย่างครอบคลุม นอกจาก เอ็มจีแล้ว ยังมีผู้ประกอบการยานยนต์ไฟฟ้ารายอื่นๆ อีก 2 บริษัทสนใจ ติดต่อทีจ่ ะเข้ามาร่วมท�างานกับ สวทช. ในเรือ่ งยานยนต์ไฟฟ้า เพือ่ รองรับ การเปลี่ยนผ่านยานยนต์ที่ใช้น�้ามันไปสู่การใช้ยานยนต์ไฟฟ้าในอนาคต
บอร์ด EV ตั้งเป้าปี ’68 ใช้ยานยนต์ไฟฟ้า รวมทุกประเภทกว่า 1 ล้านคัน
เมื่อเร็วๆ นี้ สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชำว์ รองนำยกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวงพลังงำน เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการ นโยบายยานยนต์ไฟฟ้าแห่งชาติ (บอร์ดอีวี) โดยมี สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงอุตสำหกรรม พร้อมด้วยผู้บริหารระดับสูงของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุม 109 ส�านักงาน ปลัดส�านักนายกรัฐมนตรี ท�าเนียบรัฐบาล เพือ่ ก�าหนดทิศทางการส่งเสริม ยานยนต์ไฟฟ้า ด้วยการลดการใช้รถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สันดาปไปสู่ รถยนต์ไฟฟ้ำ (EV) เพือ่ ก้าวเข้าสูส่ งั คมคาร์บอนต�า่ (Low Carbon Society) และการเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าและชิ้นส่วนที่ส�าคัญของโลก โดยที่ ป ระชุ ม ได้ ร ่ ว มก� า หนดแผนยุ ท ธศาสตร์ ส ่ ง เสริ ม การใช้ ยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศ เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนต์ที่ผ่านมา ผลิตเครื่องยนต์สันดาปซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์และปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 จึงได้วาง เป้าหมายการส่งเสริมการผลิตและการใช้รถยนต์ไฟฟ้ำ (EV) โดย คาดการณ์วา่ ในปี พ.ศ. 2568 รถยนต์ไฟฟ้ำจะมีราคาเทียบเท่ากับรถยนต์ สันดาป เพื่อก้าวสู่เป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในการด� า เนิ น งานขั บ เคลื่ อ นส่ ง เสริ ม ยานยนต์ ไ ฟฟ้ า เพื่ อ ให้ ประเทศไทยก้าวสูก่ ารเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าและชิน้ ส่วนทีส่ า� คัญ ของโลก ได้มอบหมายให้กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพลังงาน และ กระทรวงคมนาคม ร่วมกันพิจารณาส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้า ประกอบด้วย รถยนต์ จักรยานยนต์ และรถบัสสาธารณะ โดยกระทรวงอุตสาหกรรม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเตรียมความพร้อมทั้งในส่วนของอุปทาน (ผู้ผลิต) โดยเฉพาะการเชื่อมโยงผู้ผลิตชิ้นส่วนและอุปกรณ์ที่เกี่ยวเนื่อง ในยานยนต์ไฟฟ้า รวมถึงผลักดันผู้ประกอบการที่มีศักยภาพ เพื่อเร่งให้ เกิดการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยโดยเร็ว โดยมีเป้าหมายการใช้ ยานยนต์ไฟฟ้ารวมทุกประเภทในปี พ.ศ. 2568 รวมจ�านวนทั้งสิ้น 1,055,000 คัน แบ่งเป็นรถยนต์/รถพิกอัป 402,000 คัน รถจักรยานยนต์ 622,000 คัน และรถบัส/รถบรรทุก 31,000 คัน และในปี พ.ศ. 2578 ให้เพิ่มขึ้นเป็นจ�านวนรวม 15,580,000 คัน แบ่งเป็นรถยนต์/รถพิกอัป 6,400,000 คัน รถจักรยานยนต์ 8,750,000 คัน และรถบัส/รถบรรทุก
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
NEW MG HS PHEV (Metal Ash Grey) น�ำมำจัดแสดงในงำน Bangkok International Motor Show ครั้งที่ 42
430,000 คัน และได้วางเป้าหมายการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าของ ประเทศในปี พ.ศ. 2568 จ�านวนรวมทั้งสิ้น 1,051,000 คัน แบ่ง เป็นรถยนต์/รถพิกอัป 400,000 คัน รถจักรยานยนต์ 620,000 คัน และรถบัส/รถบรรทุก 31,000 คัน และในปี พ.ศ. 2578 ให้ เพิม่ ขึน้ เป็นจ�านวนรวม 18,413,000 คัน แบ่งเป็นรถยนต์/รถพิกอัป 8,625,000 คัน รถจักรยานยนต์ 9,330,000 คัน และรถบัส/ รถบรรทุก 458,000 คัน
วางนโยบายขับเคลื่อนอุตฯ ยานยนต์ไฟฟ้า ด้วยมาตรการเร่งด่วนและมาตรการระยะ 1-5 ปี
นอกจากนี้ ที่ ป ระชุ ม ยั ง ได้ ว างนโยบายการขั บ เคลื่ อ น อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าด้วยมาตรการระยะเร่งด่วนและ มาตรการระยะ 1-5 ปี ดังนี้ มาตรการกระตุ้นการใช้รถ EV ระยะเร่งด่วน โดยจะมุ่งส่งเสริมการใช้รถยนต์ไฟฟ้าทั้งประเภท 2 ล้อ 3 ล้อ และ 4 ล้อไฟฟ้า โดยวางแผนจัดตัง้ สถานีอดั ประจุไฟฟ้า ส�าหรับรถยนต์และรถจักรยานยนต์ รวมทั้งส่งเสริมการจัดตั้ง ศู น ย์ ท ดสอบมาตรฐานแบตเตอรี่ แ ละการบริ ห ารจั ด การ ซากแบตเตอรี่ที่เกิดจากการใช้งานภายในประเทศอย่างเป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม มาตรการกระตุน้ ระยะ 1-5 ปี ด�าเนินการส่งเสริม การปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิต การเตรียมการด้านการบริหาร จัดการซากรถยนต์ แบตเตอรีท่ ใี่ ช้แล้ว โดยค�านึงถึงความปลอดภัย และสิง่ แวดล้อมเป็นหลัก ตามมาตรฐานสากล (EcoSystem) เพือ่ 13 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 13
ส่งเสริมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าพลังงานสะอาด ผลพวงจากนโยบายดังกล่าว ล่าสุดภายในงาน Bangkok International Motor Show ครัง้ ที่ 42 ผูเ้ ข้าชมงานได้ให้ความสนใจรถยนต์ไฟฟ้า โดยเฉพาะ บูธเอ็มจี ซึง่ ได้ยกขบวนยนตรกรรมหลากรุน่ มาจัดแสดง โดยมีรถปลัก๊ อินไฮบริด อย่าง MG HS PHEV ที่มาพร้อมสีใหม่ สีเทา Metal Ash Grey อีกทั้งยังมี รถยนต์พลังงานไฟฟ้า 100% ทั้งรุ่น MG EP และ MG ZS EV ให้ผู้ที่เข้าชมได้มี โอกาสสัมผัสกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมทีข่ บั เคลือ่ นด้วยไฟฟ้า หรือ xEV ทัง้ ใน รูปแบบรถยนต์ Plug-In Hybrid และรถยนต์พลังงานไฟฟ้า 100% (BEV)
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
Report สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล
จังหวัดท่องเที่ยว
ชายทะเลชื่อดังของไทย น�าร่องจัดการปัญหาขยะพลาสติกในทะเล
“ขยะทะเล” เป็นปัญหาท้าทายระดับโลกที่ทวีความรุนแรง ขึน้ ซึง่ เป็นภัยคุกคามต่อระบบนิเวศ การประมง และการท่องเทีย่ ว บรรจุภัณฑ์พลาสติกและพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว เช่น หลอด ถุงพลาสติก ส่งผลให้เกิดขยะทะเลในปริมาณมาก เอเชียตะวันออก และตะวันออกเฉียงใต้มขี ยะทีไ่ หลลงสูท่ ะเลมากทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของ โลก และส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ โดยทวีป เอเชียได้ชื่อว่าเป็นผู้ผลิตพลาสติกมากถึงร้อยละ 50 ของโลก ขยะทะเลในที่ นี้ ร วมไปถึ ง เครื่ อ งมื อ หาปลาที่ สู ญ หาย หรือถูกโยนทิ้ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อสัตว์น�้ากว่า 800 สายพันธุ์ ในท้องทะเลและบริเวณชายฝั่ง1 ประมาณร้อยละ 60-90 ของ ขยะทะเลประกอบไปด้วยพลาสติก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นบรรจุภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว
เผยไมโครพลาสติกสามารถเข้าสู่อาหารและ น�้าดื่ม เป็นอันตรายต่อสัตว์และสุขภาพ
จากสถิตปิ ี พ.ศ. 2557 ระบุวา่ พลาสติกราว 5-13 ล้านตัน ไหลลงสูท่ ะเลทุกปี สิง่ ทีน่ า่ กังวลอย่างมากก็คอื เศษพลาสติกขนาด เล็กหรือไมโครพลาสติก ส่งผลร้ายแรงและสามารถเข้าสู่อาหาร และน�า้ ดืม่ ซึง่ เป็นอันตรายต่อสัตว์และสุขภาพมนุษย์ ดังนัน้ ภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ภาคประชาสังคม และผู้บริโภค จึงตระหนักถึงความจ�าเป็นในการด�าเนินการและการริเริ่ม เช่น ในที่ประชุม G20 การประชุมสหประชาชาติและอาเซียน รวมถึง ในสหภาพยุ โ รปที่ น� า เสนอยุ ท ธศาสตร์ ยุ โ รปเพื่ อ พลาสติ ก การประชุมหารือแลกเปลี่ยนที่ยังด�าเนินการมาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงความร่วมมือระหว่างสหภาพยุโรปและประเทศในเอเชีย ตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ที่มีโอกาสด�าเนินงานร่วมกัน 14 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 14
GreenNetwork4.0 work4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
โครงการส่งเสริมการใช้เศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อจัดการ ปัญหาขยะทะเล ระหว่าง EU และ 7 ประเทศภาคี
โครงการส่งเสริมการใช้เศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อจัดการปัญหา ขยะทะเล (Rethinking Plastics-Circular Economy Solutions to Marine Litter) ภายใต้ทุนสนับสนุนจากสหภาพยุโรป (EU) และกระทรวงเพื่อความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนาแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (BMZ) จึงเกิดขึน้ เพือ่ สนับสนุนการเปลีย่ นแปลงทีน่ า� ไปสูเ่ ศรษฐกิจหมุนเวียน ส�าหรับพลาสติกในเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อลดการ รั่วไหลของขยะพลาสติกลงสู่ทะเล ในระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนมีการใช้ และการจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและยัง่ ยืนมากยิง่ ขึน้ โดยผ่าน กระบวนการ 3R ประกอบไปด้วย การลดการใช้ การใช้ซ�้า และการรีไซเคิล โดยโครงการฯ สนับสนุนความร่วมมือการด�าเนินงานระหว่างสหภาพ ยุโรป (EU) และ 7 ประเทศภาคี ภายใต้หวั ข้อเศรษฐกิจหมุนเวียน การจัดการ ขยะพลาสติก และให้ข้อเสนอแนะกับประเทศภาคีในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. การจัดการขยะพลาสติก โดยผลักดันให้ผผู้ ลิตเข้ามามีสว่ นรับผิดชอบ (EPR) อีกทั้งจัดท�าโครงการวางมัดจ�าบรรจุภัณฑ์ (DRS) และผลิตภัณฑ์พลาสติก 2. การบริโภคและผลิตพลาสติกอย่างยัง่ ยืน รวมทัง้ การออกแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อน�ากลับมาใช้ (Reuse) และหมุนเวียน (Recyclability) และ 3. การลด ปริมาณขยะ ณ แหล่งทิ้งขยะลงสู่ทะเล เช่น พื้นที่รับขยะจากเรือ บริเวณ ท่าเรือต่างๆ การเก็บขยะหรือการ (ตก) ขยะ (Fishing-for-Litter Schemes) นอกจากนี้ โครงการฯ ยังสร้างความตระหนักรูใ้ ห้กบั หน่วยงานภาครัฐ และสาธารณชนในด้านการบริโภคและการผลิตพลาสติกทีย่ งั่ ยืนและผลกระทบ ของขยะในทะเลทีม่ ตี อ่ สิง่ แวดล้อม และสนับสนุนการหารือเชิงนโยบายระหว่าง สหภาพยุโรป องค์กรระดับภูมภิ าค และประเทศภาคีในภูมภิ าคเอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เกี่ยวกับการผลิตและการจัดการพลาสติก ในประเทศญี่ปุ่นและสิงคโปร์ เน้นความร่วมมือเรื่องการจัดซื้อจัดจ้างของ ภาครัฐที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โครงการฯ ดังกล่าวได้น�าร่องในประเทศจีน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย โดยกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) และเวียดนามได้ทดลองวิธีการใหม่ๆ หรือพัฒนาต่อยอดแนวปฏิบตั กิ ารจัดการขยะพลาสติกทีม่ อี ยู่ การบริโภคและ ผลิตพลาสติกอย่างยัง่ ยืน และการลดปริมาณขยะ ณ แหล่งทิง้ ขยะลงสูท่ ะเล โดยครอบคลุมไปถึงการแลกเปลีย่ นความรูผ้ า่ นการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารและ การประชุมสัมมนาออนไลน์ การศึกษาดูงาน และการรณรงค์
เปิดตัวโครงการน�าร่อง 3 โครงการ ลดปริมาณ ขยะพลาสติกลงสู่ทะเลในภูเก็ต-ระยอง-ตรัง
เมือ่ เร็วๆ นี้ กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม (ทส.) ร่วมกับโครงการส่งเสริมการใช้เศรษฐกิจหมุนเวียน เพื่อจัดการปัญหาขยะทะเล ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจากสหภาพยุโรป (EU) และกระทรวงเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนาแห่งสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี (BMZ) ด�าเนินงานโดย องค์กรความร่วมมือระหว่าง ประเทศของเยอรมัน (GIZ) และ Expertise France (EF) เปิดตัวโครงการ น�าร่อง 3 โครงการ เพือ่ ลดปริมาณขยะพลาสติกทีร่ วั่ ไหลลงสูท่ ะเลในจังหวัด ภูเก็ต ระยอง และตรัง โดยมุง่ เน้นไปทีก่ ารลด การเก็บรวบรวม การคัดแยก และการรีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ให้ได้เฉลี่ย 60% ของปริมาณขยะ ทั้งหมดใน 3 จังหวัดท่องเที่ยวทางทะเล มีระยะเวลาด�าเนินงานถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2565 15 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 15
GreenNetwork4.0 March-April GreenNe
2021
22/4/2564 BE 12:16
เปิดตัวโครงการส่งเสริมการใช้เศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อจัดการปัญหาขยะทะเล น�าร่อง 3 โครงการ ในภูเก็ต ระยอง และตรัง
คพ. หนุนใช้เศรษฐกิจหมุนเวียน จัดการปัญหาขยะพลาสติกในทะเล ตั้งเป้าลดปริมาณขยะพลาสติก 60% ของขยะทั้งหมด
ปรีญาพร สุวรรณเกษ
รองอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ
ดร.กีเซปเป้ บูซินี่
อัครราชทูต รองหัวหน้าคณะผู้แทน สหภาพยุโรปประจ�าประเทศไทย
04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 16
และการจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและ ยั่งยืน” ปรีญาพร กล่าว ส� า หรั บ เหตุ ผ ลส� า คั ญ ที่ เ ลื อ กน� า ร่ อ งใน 3 จังหวัด เนื่องจากต�าบลเกาะลิบง จังหวัดตรัง มีข่าวพะยูนมาเรียมและมีคณะท�างานทางด้านนี้ อยูแ่ ล้ว ส่วนอีก 2 จังหวัด ได้แก่ ภูเก็ตและระยอง มีความพร้อม โดยตั้งเป้าลดปริมาณขยะพลาสติก เฉลีย่ 60% ทัง้ นี้ ไทยถือเป็นประเทศแรกในอาเซียน ที่ ใ ห้ ค วามส� า คั ญ ในเรื่ อ งเศรษฐกิ จ หมุ น เวี ย น (Circular Economy) และตื่นตัวในเรื่องนี้
ปรีญาพร สุวรรณเกษ รองอธิบดีกรมควบคุม มลพิษ กล่าวว่า โครงการส่งเสริมการใช้เศรษฐกิจ หมุนเวียนเพื่อจัดการปัญหาขยะทะเล เป็นการ ด�าเนินงานทีม่ เี ป้าหมายสอดคล้องกับวาระแห่งชาติ เรื่องนโยบายการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม ด้วยการใช้โมเดลเศรษฐกิจใหม่ คือ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bio Economy) เศรษฐกิจ หมุนเวียน (Circular Economy) และเศรษฐกิจ สีเขียว (Green Economy) หรือ BCG Model รวมทั้ง Roadmap การจัดการขยะพลาสติก พ.ศ. 2561-พ.ศ. 2573 และแผนปฏิบตั กิ ารด้านการจัดการ ขยะพลาสติก พ.ศ. 2563-พ.ศ. 2565 ซึง่ รัฐบาลไทย ให้ความส�าคัญในเรือ่ งเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) และการด�าเนินการตามหลัก 3R โดย หาแนวทางแก้ไขทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อ จัดการปัญหาขยะพลาสติก “ขยะพลาสติกเป็นเรื่องที่น่ากังวลส�าหรับ ทุกคน เราต้องก้าวไปสูก่ ารพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียน ส�าหรับพลาสติก ซึ่งเป็นระบบเศรษฐกิจที่มีการใช้
ดร.กีเซปเป้ บูซินี่ อัครราชทูต รองหัวหน้า คณะผู ้ แ ทนสหภาพยุ โ รปประจ� า ประเทศไทย กล่าวว่า โครงการส่งเสริมการใช้เศรษฐกิจหมุนเวียน เพื่อจัดการปัญหาขยะทะเล เป็นเวทีส�าหรับการ แลกเปลีย่ นประสบการณ์ระหว่างระดับภูมภิ าคและ ยุโรป โดยด�าเนินงานใกล้ชดิ กับประเทศไทยในการ ป้องกันขยะพลาสติกรัว่ ไหลลงสูท่ ะเล ซึง่ โครงการ น�าร่องสามารถส่งเสริมความพยายามให้ก้าวไปสู่
16
2021
GreenNetwork4.0 March-April
ใช้โครงการฯ เป็นเวทีแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ระหว่างภูมิภาคและ ยุโรป ป้องกันขยะพลาสติกรั่วไหล ลงสู่ทะเล
22/4/2564 BE 12:16
เศรษฐกิจหมุนเวียน พร้อมกับการด�าเนินงานทีเ่ ป็น รูปธรรมและสัง่ สมประสบการณ์จากระดับท้องถิน่ รวมไปถึงระดับชุมชน ระดับครัวเรือน ภาคธุรกิจใน ท้องถิ่น และหน่วยงานในระดับท้องถิ่น เราหวังว่า โครงการน�าร่องนี้จะเป็นแนวปฏิบัติท่ีดีและก่อให้ เกิดแรงบันดาลใจและการพัฒนาทางด้านนโยบาย ในอนาคต มร.ยาน แชร์ อัครราชทูตและรองหัวหน้า ป ฏิ บั ติ ก า ร แ ล ะ หั ว ห น ้ า ฝ า ย เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ประจ�าประเทศไทย กล่าวว่า มั่นใจว่าเราสามารถ เรียนรูไ้ ด้จากการแก้ปญ ั หาและเรียนรูไ้ ด้จากการที่ จังหวัดภูเก็ต ระยอง และตรัง เป็นศูนย์กลางทาง ด้านเศรษฐกิจและแหล่งท่องเที่ยวที่ส�าคัญ อีกทั้ง ยังเป็นจังหวัดที่มีสิ่งแวดล้อมทางทะเลอันล�้าค่า เราสามารถเรียนรูไ้ ด้จากความท้าทายทีต่ อ้ งเผชิญ ในแต่ละพื้นที่ และเป็นข้อได้เปรียบอย่างยิ่งที่ทาง โครงการน�าร่องมีภาคีที่มีประสบการณ์และมีผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องที่ส�าคัญ
พะยูน เพือ่ ให้เป็นการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมทางทะเล เอาไว้ โครงการน�าร่องจึงได้รว่ มกับชุมชนในท้องถิน่ และภาคการท่องเที่ยวเพื่อหลีกเลี่ยงการก่อให้เกิด ขยะพลาสติก และจะด�าเนินงานให้มีการจัดการ ขยะพลาสติกให้ดีขึ้น ศิริพร ศรีอร่าม รักษาการองค์การระหว่าง ประเทศเพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ (IUCN) กล่าวว่า ชุมชนเกาะลิบงท�างานกันมานาน แล้ว ทั้งนี้ โครงการฯ อยากได้ความเป็นไปได้ใน การจัดการและพัฒนาฐานข้อมูล ใช้หลักการ 3R ได้แก่ ลดการใช้วัสดุ ผลิตภัณฑ์ ที่ก่อให้เกิดขยะ เพือ่ ลดปริมาณขยะทีเ่ กิดขึน้ (Reduce) การน�าวัสดุ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ยั ง สามารถใช้ ง านได้ ก ลั บ มาใช้ ซ�้ า (Reuse) และการน�าวัสดุผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานแล้ว มาแปรรู ป เพื่ อ น� า กลั บ มาใช้ ป ระโยชน์ ใ หม่ หรือรีไซเคิล (Recycle) รวมทั้งลดผลกระทบด้าน สิ่ ง แวดล้ อ มจากการท่ อ งเที่ ย ว โดยอบรม ผู ้ ป ระกอบการท่ องเที่ ย วและผู ้ ที่เ กี่ ย วข้ องให้ มี องค์ความรู้ทางด้านนี้มากขึ้น
แนะชุมชนท้องถิ่นและภาคการ ท่องเที่ยว หลีกเลี่ยงการก่อให้เกิด ขยะพลาสติกบนเกาะลิบง ทีอ่ ยูอ่ าศัย ของพะยูน
เพิ่มประสิทธิภาพการคัดแยก ขยะพลาสติกจากครัวเรือนให้ได้ มูลค่าเพิ่มขึ้น ศึกษาแนวทาง ในการน�าไปเป็นวัตถุดิบใหม่
ส� า หรั บ โครงการน� า ร่ อ งทั้ ง 3 จั ง หวั ด ประกอบด้วย โครงการส่งเสริมรูปแบบเศรษฐกิจ หมุนเวียนในระดับท้องถิ่น เพื่อปรับปรุงรูปแบบ และนโยบายด้านการจัดการขยะพลาสติกในพืน้ ที่ ต�าบลเกาะลิบง จังหวัดตรัง ด�าเนินงานโดยองค์การ ระหว่ า งประเทศเพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร ธรรมชาติ (IUCN) เกาะลิบง จังหวัดตรัง มีความ ส�าคัญต่อความหลากหลายทางชีวภาพของทัง้ สัตว์ปา่ และสัตว์น�้า เนื่องจากเป็นบริเวณที่มีหญ้าทะเล มากทีส่ ดุ ในประเทศไทย และเป็นถิน่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยของ
มร.ยาน แชร์
อัครราชทูตและรองหัวหน้า ปฏิบัติการและหัวหน้าฝ่ายเศรษฐกิจ สถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนีประจ�าประเทศไทย
มร.อัลวาโร่ ซูริต้า
โครงการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการคั ด แยก ขยะพลาสติกจากบ้านเรือนเพื่อการรีไซเคิลแบบ วงจรปิด ด�าเนินงานโดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชุมชนท้องถิน่ โรงเรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตลอดห่วงโซ่คุณค่าของ พลาสติกในจังหวัดระยอง ได้มีส่วนร่วมในการ คั ด แยกและเก็ บ รวบรวมขยะพลาสติ ก ให้ ดี ขึ้ น โดยมีเป้าหมายเพือ่ ยกระดับอัตราการรีไซเคิลและ ลดการรั่วไหลของพลาสติกลงสู่ทะเล
ผูอ้ า� นวยการโครงการส่งเสริมการใช้ เศรษฐกิจหมุนเวียนเพือ่ จัดการปัญหา ขยะทะเล องค์กรความร่วมมือ ระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ)
ศิริพร ศรีอร่าม
รักษาการองค์การระหว่างประเทศ เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN)
17 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 17
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
ศาสตราจารย์ ดร.อรทัย ชวาลภาฤทธิ์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฐิติ สาวิสัย
ผู้จัดการโครงการ มูลนิธิเพื่อสิ่งแวดล้อมภูเก็ต
ศาสตราจารย์ ดร.อรทัย ชวาลภาฤทธิ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมสิง่ แวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า โครงการดังกล่าว ทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้เข้าช่วยท�างาน วิ จั ย ซึ่ ง เป็ น ครั้ ง แรกที่ รั บ งานวิ จั ย ด้ า นชุ ม ชน โดยปกติจะรับงานวิจัยส�าหรับภาคอุตสาหกรรม โดยโครงการฯ พยายามจะน�าขยะพลาสติกทีค่ ดั แยก แล้วมาใช้ประโยชน์ตามหลัก Circular Economy เน้นบรรจุภัณฑ์พลาสติก 80% ซึ่งเกี่ยวข้องในชีวิต ประจ�าวัน ดังนั้นวัตถุประสงค์ของโครงการฯ คือ เพิ่มประสิทธิภาพการคัดแยกขยะพลาสติกจาก บ้านเรือน เพือ่ ให้ได้มลู ค่าเพิม่ ขึน้ และศึกษาแนวทาง ในการน�าไปเป็นวัตถุดบิ ใหม่ ชดเชยน�า้ มันและก๊าซ ธรรมชาติทเี่ ป็นวัตถุดบิ ส�าคัญในการผลิตพลาสติก โดยท�าชุมชนต้นแบบหรือโรงงานต้นแบบพลาสติก วงจรปิด เพิม่ ความสามารถของบุคลากรในการน�า พลาสติกกลับมาใช้ใหม่ และน�าผลการศึกษามาใช้ เพื่อประยุกต์กับระบบ EPR System ที่ให้ผู้ผลิต น�าซากมาจัดการ พร้อมกันนี้จะน�าเครื่องอัดขยะ พลาสติ ก และเครื่ อ งล้ า งขยะพลาสติ ก มาใช้ ใ น โรงเรียนหรือชุมชนต้นแบบ คาดว่าโครงการจะ แล้วเสร็จในเดือนกุมภาพันธ์ 2565 “สิ่งที่ชุมชนจะได้รับ คือ ชุมชนมีรายได้ จากการขายพลาสติ ก ช่ ว ยสร้ า งงานให้ ชุ ม ชน และส่งเสริมให้มีการน�าพลาสติกกลับมาใช้ใหม่” ศาสตราจารย์ ดร.อรทัย กล่าว
“สิ่งที่ชุมชนจะได้รับคือ ชุมชนมีรายได้ จากการขายพลาสติก ช่วยสร้างงาน ให้ชมุ ชนและส่งเสริมให้มกี ารน�าพลาสติก กลับมาใช้ใหม่” ศาสตราจารย์ ดร.อรทัย กล่าว
18 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 18
GreenNetwork4.0 March-April
โครงการจัดการและลดขยะพลาสติก ภาคครัวเรือนและธุรกิจในภูเก็ต ลดค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะลดก๊าซเรือนกระจก
โครงการจัดการและลดขยะพลาสติกภาค ครัวเรือนและธุรกิจในจังหวัดภูเก็ต ด�าเนินงาน โดยมู ล นิ ธิ เ พื่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มภู เ ก็ ต จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต ในฐานะที่เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มี จุ ด มุ ่ ง หมายที่ จ ะลดและจั ด การปริ ม าณขยะ พลาสติกในภาคธุรกิจและครัวเรือนให้ดีขึ้น โดยมี การใช้วสั ดุทางเลือกแทนพลาสติกแบบใช้ครัง้ เดียว ในภาคบริการส่งอาหารและภาคการท่องเที่ยว ฐิติ สาวิสัย ผู้จัดการโครงการ มูลนิธิเพื่อ สิ่งแวดล้อมภูเก็ต กล่าวว่า ในช่วง Peak จังหวัด ภูเก็ตมีขยะ 1,000 ตัน/วัน ปัจจุบันโดยเทศบาล นครภูเก็ตจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะ โดยการเผาและฝังกลบ 528 บาท/ตัน ปัจจุบันมี ขยะประมาณ 650 ตัน/วัน โครงการฯ นี้ช่วยลด ค่าใช้จา่ ยในการจัดการขยะในจังหวัดภูเก็ตและลด ก๊าซเรือนกระจก โดยโครงการฯ ได้พฒ ั นา 6 พืน้ ที่ สูแ่ หล่งเรียนรูใ้ นโรงเรียน 6 แห่งและโรงแรม 6 แห่ง จากสถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 รอบ 2 ท�าให้โรงแรมหลายแห่งต้องปิดตัวลง ท�าให้พฒ ั นา ในโรงแรมได้เพียง 2 แห่ง ทางโครงการฯ จึงขอ GIZ จัดท�าในโรงเรียนแทน ขณะที่ได้จัดอบรม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารโครงการ “จั ด การและลดขยะ พลาสติกภาคครัวเรือนและธุรกิจจังหวัดภูเก็ต” ในโรงเรียนต่างๆ ครบแล้วทั้ง 6 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนวัดสว่างอารมณ์ โรงเรียนเทศบาลพิบลู สวัสดี และโรงเรียนวัดเทพนิมิต เป็นต้น ในจังหวัดภูเก็ตมีมะพร้าวอ่อนจ�านวนมาก ทางโครงการฯ จึ ง มี แ นวคิ ด ที่ จ ะน� า กลั บ มาใช้ ประโยชน์ใหม่ มีการท�าถังน�้าหมักและปุ๋ยน�้าหมัก จ�าหน่ายในราคากิโลกรัมละ 10 บาท นอกเหนือจากโครงการน�าร่องทัง้ 3 จังหวัด ในประเทศไทยแล้ ว โครงการส่ง เสริมการใช้ เศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อจัดการปัญหาขยะทะเล ยังสนับสนุนโครงการน�าร่องกว่า 20 โครงการ ใน 5 ประเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงเรื่องการจัดการ ขยะพลาสติกที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การบริโภค และการผลิตพลาสติกอย่างยัง่ ยืน ตลอดจนการลด ขยะ ณ แหล่งทิ้งขยะลงสู่ทะเลจากเรือพาณิชย์ และเรือประมงในประเทศจีน อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์ ไทย และเวียดนาม ประสบการณ์และบทเรียน ของโครงการน�าร่องจะสามารถเป็นตัวอย่างที่ดี และก่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาทางด้ า นนโยบาย ในอนาคต 2021
22/4/2564 BE 12:16
แสงอาทิตย์ พลังงานของทุกชนชั้น Energy for All ไม่ ว ่ า คุ ณ จะถู ก จั ด อั น ดั บ ให้ เ ป็ น อภิมหาเศรษฐีของโลก หรือเป็นกลุม่ ผูย้ ากจน พิ เ ศษที่ รั ฐ ต้ อ งเลี้ ย งดู ก็ ล ้ ว นอยู ่ ภ ายใต้ ดวงอาทิตย์ดวงเดียวกัน และสิง่ มีชวี ติ ในโลกนี้ ก็ ล ้ ว นต้ อ งพึ่ ง พาดวงอาทิ ต ย์ ไ ม่ ท างตรง ก็ทางอ้อม ดวงอาทิตย์นอกจากจะช่วยให้โลก เรามีแสงสว่าง มีกลางวัน กลางคืน มีน�้าขึ้น น�้าลงแล้ว พลังงานทุกชนิดบนโลกใบนี้ที่เรา ใช้อยู่ล้วนมาจากดวงอาทิตย์ คนไทยนิยม เรียกดวงอาทิตย์ว่า ดวงตะวัน และยังได้ เปรียบเปรยผูม้ อี ำ� นำจว่ำดัง่ ดวงตะวันอีกด้วย มนุ ษ ย์ ไ ด้ น� า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ มาใช้ในรูปแบบต่างๆ เช่น การใช้พลังงาน โดยตรง ได้แก่ การผลิตน�า้ ร้อน หรือพลังงาน เซลล์แสงอาทิตย์ ใช้พลังงานทางอ้อม เช่น พลังงานลม พลังงานคลื่น นอกจากนี้แล้ว มนุ ษ ย์ ยั ง สามารถแปลงพลั ง งานจากการ ดูดซับพลังงานแสงอาทิตย์โดยพืชด้วยการ สังเคราะห์แสงมาใช้ โดยใช้เทคโนโยลีด้าน การหมักแบบไร้อากาศและการเผา เช่น โรงไฟฟ้าชีวมวล ทุ ก วั น นี้ แ ม้ แ ต่ เ ด็ ก อนุ บ าลก็ ยั ง รู ้ จั ก พลั ง งานเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ ใ นชื่ อ ของ “ไฟจากฟ้า” เนื่องจากประชาสัมพันธ์ของ กระทรวงพลังงาน โดยใช้ดาราชือ่ ดังมาน�าเสนอ นับว่าได้ผลเป็นอย่างดี เรามาท�าความรูจ้ กั กับ ไฟจากฟ้า หรือพลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์ ซึ่งปัจจุบันนิยมใช้กันอยู่ 3 เทคโนโลยี คือ
19 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 19
1. 2. 3.
บทความ พิชัย ถิ่นสันติสุข
โมโนคริสตัลไลน์ (Monocrystalline Solar Cells) เป็นช่องสี่เหลี่ยมตัดมุม เรียงต่อกัน ผลิตจากซิลิคอนที่มีความบริสุทธิ์สูง ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า สูงประมาณ 17%-20% มีความทนทานใช้ได้นานมากกว่า 25 ปี โพลีคริสตัลไลน์ (Polycrystalline Solar Cells) มีคุณภาพรองลงมาจาก แผงโมโน ใช้ซลิ คิ อนอัดรวมกันเป็นแผง ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าสูงประมาณ 15%-19% อายุการใช้งานประมาณ 20 ปี อมอร์ฟัส (Amorphous Solar Cells) แผงแบบนี้ไม่ได้ใช้ซิลิคอนผลิต แต่ เป็นการใช้ Thin Film Technology เคลือบสารที่สามารถเปลี่ยนพลังงาน แสงอาทิตย์เป็นไฟฟ้าได้ไว้บนแผงมีราคาถูกที่สุด และสามารถท�างานได้ แม้จะอยู่ในที่แสงน้อย รวมถึงการเคลือบสารบนพลาสติกได้ น�าไปปรับใช้กับ พื้นที่ที่มีความโค้งมนได้
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
ปัจจุบันนี้พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์คุ้มค่าต่อการลงทุน เนื่องจาก ต้นทุนต�่ากว่าการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงฟอสซิลและมีความคล่องตัว จนภาครัฐไม่จา� เป็นต้องอุดหนุนด้านงบประมาณ แต่สา� หรับภาคเกษตรกรรม แล้ ว ยั ง มี ค วามจ� า เป็ น เร่ ง ด่ ว นที่ รั ฐ จะต้ อ งสนั บ สนุ น ด้ า นงบประมาณ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โซลาร์เซลล์สูบน�้าบาดาลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เกือบทุกจังหวัด โดยการใช้งบประมาณจากกองทุนเพือ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์ พลังงาน ซึง่ เก็บจากภาษีการใช้นา�้ มันเชือ้ เพลิงของพวกเรานัน่ เอง กองทุนนี้ มีทกุ ปี ปีละกว่า 1 หมืน่ ล้านบาท ถ้าไม่นา� ไปช่วยภารกิจอืน่ ๆ และขอฟันธง เลยว่า การใช้กองทุนที่ได้ผลและเป็นรูปธรรมมากที่สุดก็คือ โซลาร์เซลล์ สูบน�้าบาดาลส�าหรับภาคเกษตรกรรม Solar Floating อีกหนึง่ พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ทนี่ า่ สนใจ เนือ่ งจาก เม็ดพลาสติกทีใ่ ช้ผลิตทุน่ ลอยน�า้ เป็นวัตถุดบิ ทีผ่ ลิตในประเทศไทย นอกจากนี้ โซลาร์ลอยน�า้ ยังไม่ตอ้ งใช้พนื้ ทีบ่ นบก ซึง่ เหมาะกับภาคเกษตรกรรมมากกว่า การใช้ผลิตไฟฟ้า ขอยกตัวอย่าง โซลาร์เซลล์ลอยน�า้ ไฮบริดทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก ท�างานร่วมกันระหว่างพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ (กลางวัน) และพลังงานจาก น�า้ ในเขือ่ น (กลางคืน) ขนาดก�าลังผลิต 45 เมกะวัตต์ ซึง่ เป็นของการไฟฟ้า
20 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 20
ฝ่ายผลิต (EGAT) แผงโซลาร์เซลล์เป็นชนิด Double Glass ทนต่อ ความชื้นสูงได้ดี ทุ่นลอยน�้าชนิด HDPE เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ สัตว์น�้า ต้นทุนค่าไฟฟ้าไม่เกิน 2.44 บาทต่อหน่วย มูลค่าการลงทุน 842 ล้านบาท สามารถลด CO2 ได้ถึง 47,000 ตันต่อปี ที่ส�าคัญคือ โซลาร์ลอยน�้านี้จะเริ่มผลิตไฟฟ้าปี พ.ศ. 2564 และเนรมิตจังหวัด อุบลราชธานีให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว เป็นจุดเช็คอิน เป็นแหล่ง เรียนรู้ และเป็นอะไรอีกหลายๆ อย่างที่ภาคอีสานไม่เคยมีมาก่อน พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์นั้นดีและมีคุณค่าในตัวเอง โดยไม่มี ความจ�าเป็นที่ภาครัฐจะเข้าไปอุดหนุน ควรปล่อยให้กลไกตลาดได้ ท�าหน้าทีอ่ ย่างอิสระ ภาคเอกชนพร้อมลงทุนในทุกรูปแบบ ส่วนภาครัฐ ก็ควรใช้พลังงานอันยิ่งใหญ่หาที่เปรียบไม่ได้เพื่อลดความเหลื่อมล�้า และช่วยเศรษฐกิจฐานราก สมค�ากล่าว Energy for All
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
Environment กองบรรณาธิการ
สผ. ร่วมกับกรมทรัพยากรน�้า และ UNDP จัดกิจกรรม วันพื้นที่ชุ่มน�้า ประจ�าปี 2564 หวังอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พื้นที่ชุ่มน�้าอย่างยั่งยืน ส�ำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ร่วมกับ กรมทรัพยำกรน�ำ้ กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิง่ แวดล้อม (ทส.) และโครงกำรพัฒนำ แห่งสหประชำชำติ (United Nations Development Programme : UNDP) จัดกิจกรรม เนื่องในวันพื้นที่ชุ่มน�้ำ ประจ�ำปี พ.ศ. 2564 ในหัวข้อ “Wetlands and Water” พร้อมจัด เวทีเสวนาในหัวข้อ “พื้นที่ชุ่มน�้ำ สำยน�้ำ กับวิถีชุมชนเมือง” เพื่อประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงาน ภาครัฐและภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน และประชาชนที่เกี่ยวข้อง ได้ตระหนักถึงความ ส�าคัญและความเชื่อมโยงกันระหว่างพื้นที่ชุ่มน�้าและน�้า ซึ่งมีบทบาทส�าคัญต่อวิถีชีวิตและ ความมั่นคงทางอาหารของมนุษย์ และเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องเกิดความหวงแหนในการอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์พื้นที่ชุ่มน�้าอย่างยั่งยืน รวมทั้งสามารถน�าประสบการณ์และความรู้จากการ จัดกิจกรรมครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ชุ่มน�้าอื่นๆ ต่อไป
21 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 21
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
ประเสริฐ ศิรินภำพร
ไทยมีพื้นที่ชุ่มน�้ากว่า 1,000 แห่ง
รองเลขำธิกำรส�ำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติ และสิ่งแวดล้อม (สผ.) กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติ และสิ่งแวดล้อม (ทส.)
ร่วมลงนามเป็นภาคีในอนุสัญญาแรมซาร์ล�าดับที่ 110
ประเสริฐ ศิรินภำพร รองเลขำธิกำรส�ำนักงำนนโยบำยและ แผนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) กระทรวงทรัพยำกร ธรรมชำติและสิง่ แวดล้อม (ทส.) กล่าวว่า ปัจจุบนั พืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ ทัว่ โลกมีการ เปลีย่ นแปลงไปมาก ทัง้ จากธรรมชาติ เช่น การเกิดไฟป่า พายุ และอุทกภัย ต่างๆ เป็นต้น และจากฝีมือมนุษย์ ที่มีการพัฒนาขยายเมืองเพื่อใช้เป็น ที่อยู่อาศัยมากขึ้น ท�าให้พื้นที่ชุ่มน�้าถูกบุกรุกและถูกท�าลายลงอย่าง ต่อเนื่อง ส�าหรับประเทศไทย มีพื้นชุ่มน�้าประมาณ 7.5% คิดเป็นจ�านวน กว่า 1,000 แห่ง ทั้งที่เป็นพื้นที่ชุ่มน�้าท้องถิ่น พื้นที่ชุมน�้าระดับประเทศ และพื้นที่ชุ่มน�้านานาชาติ โดยมีการก�ากับดูแลพื้นที่ชุ่มน�้าด้วยมติ ครม. ดูแลพื้นที่ชุ่มน�้าเพื่อเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์น�้า รวมทั้ง เป็นแหล่งน�้าส�าหรับด�ารงชีวิตของคนในชุมชนที่อยู่อาศัยใกล้พื้นที่ชุ่มน�้า แหล่งอาหารของมนุษย์ แหล่งป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ และระบบนิเวศที่ สมบูรณ์ทชี่ ว่ ยควบคุมคุณภาพและบ�าบัดน�า้ ในพืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ ต่างๆ ให้เกือ้ กูล ทุกๆ สิ่งมีชีวิตให้อาศัยร่วมกันไปชั่วลูกชั่วหลาน ตามอนุสัญญาว่าด้วย พื้นที่ชุ่มน�้า หรืออนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) ซึ่งเป็น ข้อตกลงระหว่างรัฐบาล ก�าหนดกรอบการท�างานส�าหรับความร่วมมือ ระหว่างประเทศ เพือ่ การอนุรกั ษ์แหล่งทีอ่ ยูอ่ าศัยทีเ่ ป็นพืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ ยับยัง้ และลดการสูญเสียของพื้นที่ชุ่มน�้าในโลก รวมทั้งมีกระบวนการจัดการ พื้นที่ชุ่มน�้าเพื่อใช้ประโยชน์อย่างชาญฉลาด ซึ่งประเทศไทยร่วมลงนาม เป็นภาคีในอนุสัญญาแรมซาร์เป็นล�าดับที่ 110 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2541 ที่ผ่านมา นับเป็นการแสดงเจตนารมณ์ของ ประเทศไทยที่ต้องการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน�้า โดยมีส�านักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (สผ.) ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นหน่วยงาน ประสานงานกลางอนุสญ ั ญาแรมซาร์ และทุกๆ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ของทุกปี จะมีการจัดกิจกรรมเนื่องในวันพื้นที่ชุ่มน�้าโลกขึ้น เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน และประชาชน ทีเ่ กีย่ วข้องได้ตระหนักถึงความส�าคัญและความเชือ่ มโยงกันระหว่างพืน้ ที่ ชุ่มน�้าและน�้า ซึ่งมีบทบาทส�าคัญต่อวิถีชีวิตและความมั่นคงทางอาหาร ของมนุษย์ และเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องเกิดความหวงแหนในการอนุรักษ์และ ใช้ประโยชน์พนื้ ทีช่ มุ่ น�า้ อย่างยัง่ ยืน รวมทัง้ สามารถน�าประสบการณ์และ ความรูจ้ ากการจัดกิจกรรมครัง้ นีไ้ ปประยุกต์ใช้กบั พืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ อืน่ ๆ ต่อไป
เผยไทยมีพื้นที่ชุ่มน�้าที่มีความส�าคัญ ระหว่างประเทศ 15 แห่ง
ส�าหรับพืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ ทีม่ คี วามส�าคัญระหว่างประเทศ (Ramsar Site) ภายใต้อนุสัญญาแรมซาร์แห่งแรกของประเทศไทย คือ พรุควนขี้เสียน ในเขตห้ามล่าสัตว์ปา่ ทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง เป็นล�าดับที่ 948 ในทะเบียน พื้ น ที่ ชุ ่ ม น�้ า ที่ มี ค วามส� า คั ญ ระหว่ า งประเทศของอนุ สั ญ ญาแรมซาร์ ซึง่ ปัจจุบนั ประเทศไทยมีแรมซาร์ไซต์รวม 15 แห่ง ได้แก่ พรุควนขีเ้ สียน ในเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย จังหวัดพัทลุง พื้นที่ชุ่มน�้าเขตห้ามล่า สัตว์ป่าบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ พื้นที่ชุ่มน�้าดอนหอยหลอด จังหวัด สมุทรสงคราม พืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ ปากแม่นา�้ กระบี่ พืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ เขตห้ามล่าสัตว์ปา่ หนองบงคาย เชียงราย พืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ เฉลิมพระเกียรติ 22 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 22
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (พรุโต๊ะแดง) จังหวัดนราธิวาส พืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม-เขตห้ามล่าสัตว์ปา่ หมูเ่ กาะลิบง-ปากน�า้ ตรัง จังหวัดตรัง พื้นที่ชุ่มน�้าอุทยานแห่งชาติแหลมสน-ปากแม่น�้ากระบุรีปากคลองกะเปอร์ พื้นที่ชุ่มน�้าอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง จังหวัด สุราษฎร์ธานี พื้นที่ชุ่มน�้าอุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา จังหวัดพังงา พื้นที่ ชุ่มน�้าอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่ ชุม่ น�า้ กุดทิง จังหวัดบึงกาฬ พืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ เกาะกระ จังหวัดนครศรีธรรมราช พืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ เกาะระ-เกาะพระทอง จังหวัดพังงา และล่าสุดพืน้ ทีช่ มุ น�า้ แม่นา�้ สงครามตอนล่าง จังหวัดนครพนม
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
พื้นที่ชุ่มน�้าเป็นพื้นที่ที่ถูกท�าลายมากที่สุดในโลก ด้วยอยู่ใกล้ชุมชนเมือง
ดร.เพชร มโนปวิตร นักวิชำกำรอิสระ กล่าวว่า เรือ่ งของพืน้ ที่ ชุ่มน�้าเป็นระบบนิเวศที่ใกล้ตัวเราที่สุด จากข้อเท็จจริงพบว่า พื้นที่ ชุม่ น�า้ เป็นพืน้ ทีท่ ถี่ กู ท�าลายมากทีส่ ดุ ในโลก เนือ่ งจากอยูใ่ กล้ชมุ ชนเมือง เมื่อเมืองเกิดการขยายตัว พื้นที่ชุ่มน�้าจะถูกบุกรุกเข้าปรับพื้นที่เพื่อ ใช้เป็นที่รองรับเมือง แต่เมื่อพื้นที่ชุ่มน�้าถูกบุกรุกมากขึ้น ท�าให้ระบบ นิเวศ สภาพภูมิอากาศ สภาพแวดล้อมของโลกเปลี่ยนแปลงตามไป อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ธรรมชาติเกิดภัยพิบัติต่างๆ แล้วย้อนกลับมา ท�าลายสมดุลการใช้ชวี ติ ของมนุษย์ เช่น การเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ่ พายุถล่ม สภาพอากาศที่หนาวเย็น และปรากฏการณ์ลูกเห็บตก ในประเทศที่ไม่เคยมีมาก่อน เป็นต้น “ถึงเวลาแล้วที่ทุกๆ คนจะช่วยกันร่วมกันดูแลสภาพแวดล้อม รอบๆ ตัวเรา ไม่ทา� ลาย เป็นหูเป็นตาให้เจ้าหน้าทีร่ ฐั หากพบเห็นการ กระท�าทีท่ า� ลายธรรมชาติ และทีส่ า� คัญ ต้องอาศัยความร่วมมือของทุก ภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชน ชุมชน ในการร่วมกันอนุรักษ์ และฟื้นฟูดูแลพื้นที่ชุ่มน�้าให้มีความยั่งยืนต่อไป” ดร.เพชร กล่าว
วิถีชุมชนกับความสมดุลของป่าพรุ
ผศ. ดร.กอบศั ก ดิ์ วั น ธงไชย คณบดี ค ณะวนศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ กล่าวถึงการดูแลป่าพรุในประเทศไทยว่า ปีนี้เป็นปีที่ 9 แล้วที่ได้ดูแลป่าพรุในประเทศไทย โดยปัจจุบันพบว่า พืน้ ทีป่ า่ พรุทวั่ โลกมีอยูป่ ระมาณ 380,000 ล้านตารางกิโลเมตร หรือ 0.25% ของป่าทั้งหมด ส่วนใหญ่จะมีอยู่ในเขตร้อนและอบอุ่น 70% ที่เหลือกระจายอยู่ท่ัวไป ส�าหรับในประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 400,000-500,000 ไร่ คิดเป็น 0.3-0.4% ของป่าทั้งหมด แบ่งเป็น ป่าพรุที่อยู่ในพื้นที่ภาคใต้จ�านวนกว่า 9% ภาคตะวันออกอีก 4% และ ภาคอื่นๆ อีกประมาณ 1% โดยป่าพรุมีด้วยกัน 2 แบบ คือ ป่าพรุธรรมชาติ และป่าพรุ ที่มีปัจจัยท�าให้เกิดขึ้นทั้งจากธรรมชาติและน�้ามือมนุษย์ ซึ่งมีบทบาท ในการท�าให้เกิดพืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ ท�าให้สามารถเก็บกักคาร์บอนไดออกไซด์ ได้สงู กว่าป่าทัว่ ไปหลายเท่ามาก แต่อย่างไรก็ตาม ป่าพรุถอื เป็นพืน้ ที่ ทีไ่ ด้รบั การบุกรุกท�าลายจากนายทุนเพือ่ ใช้พนื้ ทีป่ า่ พรุมาท�าประโยชน์ ส่วนตัว เช่น ปลูกปาล์มน�า้ มัน ท�าสวนยางพารา และน�าไม้ในพืน้ ทีป่ า่ พรุ
ทีห่ ายาก ราคาแพงกว่า 148 ชนิด มาลักลอบจ�าหน่าย ส่วนประชาชน ในพื้นที่ที่ถางป่าพรุเพื่อท�าการเกษตรและภัยธรรมชาติ ท�าให้เกิด ไฟไหม้ป่าพรุมาตลอดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 ในพื้นที่ป่าพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นต้น “หากไม่มกี ารอนุรกั ษ์และดูแลอย่างเป็นระบบ ทัง้ จากชาวบ้าน ที่อยู่อาศัยใกล้พื้นที่ป่าพรุ ก็จะท�าให้พื้นที่ป่าพรุเปลี่ยน วิถีชีวิต การด�ารงชีวิตของคนในชุมชนเปลี่ยน ทั้งนี้ภาครัฐควรจัดท�านโยบาย เข้าไปดูแล พร้อมจัดสรรงบประมาณที่จะท�าการฟื้นฟูป่าพรุอย่าง เร่งด่วน โดยจัดแบ่งพื้นที่ให้เกิดความสมดุลระหว่างป่าพรุ ชาวบ้าน เอกชน และภาครัฐ ได้ท�าประโยชน์ร่วมกับการอนุรักษ์ ก่อนที่จะมี เพี ย งภาพถ่ า ยป่ า พรุ ไ ว้ ใ ห้ ลู ก หลานในอนาคตได้ เ รี ย นรู ้ เ ท่ า นั้ น ” ผศ. ดร.กอบศักดิ์ กล่าว
สายน�้าท�าให้มีส่วนร่วมในพื้นที่ชุ่มน�้า 20 ล้านไร่ ที่จะต้องดูแลตามอนุสัญญาแรมซาร์
ดร.วิเทศ ตรีเนตร ผูเ้ ชีย่ วชำญด้ำนระบบนิเวศและกำรมีสว่ นร่วม กล่าวว่า สายน�้าท�าให้เกิดการมีส่วนร่วมในพื้นที่ชุ่มน�้า 20 ล้านไร่ ทีจ่ ะต้องดูแลตามอนุสญ ั ญาแรมซาร์ ซึง่ เกือบทัง้ หมดยังขาดการสร้าง การรับรู้ข้อมูลข้อเท็จจริง การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน และการจัดการ ซึ่งจะท�าให้รู้ว่าพื้นที่ชุ่มน�้าที่ถูกต้องแก่ภาคประชาชนในพื้นที่เป็น อย่างไร อีกทั้งกระบวนการท�างานยังกระจุกตัวเฉพาะพื้นที่ รวมถึง งบประมาณทีน่ า� ไปใช้บริหารจัดการพืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ ให้เหมาะสมสอดคล้อง กับวิถชี มุ ชนในพืน้ ทีต่ ามพืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ นัน้ ๆ เช่น เมือ่ น�าโครงการไปฟืน้ ฟู อนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน�้าให้เกิดการเปลี่ยนผ่านที่ดีขึ้น ควรมีกระบวนการ 23 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 23
ท�างานให้ประชาชนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วม อาจตั้งเป็นคณะท�างานเป็น ทีมงานหลักและทีมงานย่อยในรูปแบบต่างๆ โดยค�านึงถึงประโยชน์ของ ส่วนรวมเป็นหลัก รวมทัง้ เชือ่ มโยงการท�างานของพืน้ ทีช่ มุ น�า้ ในประเทศให้เป็น หน่วยงานเดียวกัน เมือ่ มีปญ ั หา มีเรือ่ งการพัฒนาทีก่ อ่ ประโยชน์จะได้รว่ มกัน แลกเปลี่ยนการท�างานต่อเนื่องเป็นระบบ ทีส่ า� คัญคือ การจัดเก็บองค์ความรู้ ควรจัดเก็บทัง้ แบบจดรายละเอียด บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร และบันทึกลงในคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการ สืบค้นข้อมูลในระบบในอนาคตให้งา่ ยและสะดวกมากยิง่ ขึน้ เช่น หากมีการ จัดท�าพื้นที่กักเก็บน�้าในรูปแบบเขื่อนธรรมชาติ จะเป็นเขื่อนดิน เขื่อนไม้ไผ่
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
เวทีเสวนำ “พื้นที่ชุ่มน�้ำ สำยน�้ำ กับวิถีชุมชนเมือง” ผสมดินจากภูมิปัญญาของชาวบ้านกักเก็บน�้าไว้ใช้จากฤดูฝน สูฤ่ ดูแล้ง แล้วเกิดผลส�าเร็จ และเป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวมก็ควร ขยายผลสู่พื้นที่ชุ่มน�้าอื่นๆ รวมทั้งการปลูกป่าทดแทนการตัด เพื่อน�าป่าไปใช้ประโยชน์ต่างๆ เป็นต้น
พื้นที่ชุ่มน�้าเมือง
มุมมองใหม่ของภูมิสถาปัตย์
ดร.กชกร วรอำคม ผู้เชี่ยวชำญด้ำนกำรออกแบบและ วำงผังพื้นที่สีเขียว กล่าวว่า พื้นที่ชุ่มน�้าในเมืองมีอยู่น้อยมาก แต่ก็สามารถที่จะสร้างพื้นที่ชุ่มน�้ารองรับน�้าให้เกิดสมดุลใน เมืองได้ ด้วยการออกแบบด้านบนของตึกสูงๆ ในเมือง ทัง้ ตึกเก่า และตึกใหม่ที่ก�าลังท�าการก่อสร้างให้เป็นพื้นที่ชุมน�้าได้ด้วยการ ออกแบบสร้างแหล่งเก็บน�า้ แบบขัน้ บันได เหมือนการท�านาแบบ ขัน้ บันไดของเกษตรกร ปลูกต้นไม้ สร้างสวนผักสวนครัวทีเ่ หมาะสม ช่วยเพิม่ ออกซิเจนในเมือง เพือ่ ดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และ ช่วยลดภาวะฝุ่น PM2.5 ซึ่งจะช่วยลดความร้อนของอาคารใน ช่วงกลางวันที่อากาศร้อนได้ด้วย
24 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 24
พลังคนรุ่นใหม่
กับการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน�้า
ศุภศิษฏ์ จงชีวีวัฒน์ นักแสดงและประธำนกรรมกำรบริหำร บริษัท มิวศุภศิษฏ์ สตูดโิ อ จ�ำกัด กล่าวว่า การทีจ่ ะให้คนรุน่ ใหม่หนั มาช่วยกันอนุรกั ษ์พนื้ ที่ ชุม่ น�า้ แล้วประสบผลส�าเร็จนัน้ ต้องรูก้ อ่ นว่าคนรุน่ ใหม่ทเี่ ลือกเข้ามาร่วมท�างานนัน้ มีองค์ความรู้ มีความถนัด และมีประสบการณ์การเรียนรูเ้ รือ่ งพืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ มากน้อย แค่ไหน ซึ่งหากคนที่มาร่วมงานไม่มีองค์ความรู้ ก็ควรจัดอบรมการท�างานพื้นที่ ชุม่ น�า้ อธิบายความส�าคัญ วิธขี นั้ ตอนการท�างาน แยกการท�างานโดยกระจายจาก ส่วนกลางกรุงเทพฯ สู่พื้นที่ส่วนภูมิภาคอื่นๆ เพื่อจะได้ท�างานคู่ขนานกัน ซึ่งอาจ จะแต่งตั้งคณะท�างานเยาวชนคนรุ่นใหม่ท่ีมีองค์ความรู้เรื่องพื้นที่ชุ่มน�้าและเรื่อง สิ่งแวดล้อมมากที่สุดในแต่ละภูมิภาค ให้ท�าหน้าที่เป็นหัวหน้าท�างานเพื่อให้การ ท�างานด�าเนินตามแผนการท�างานที่วางเอาไว้ นอกจากนี้ ควรมีพี่เลี้ยงที่เป็น เจ้าหน้าที่ภาครัฐและชาวบ้านในชุมชนในพื้นที่ชุ่มน�้าร่วมท�างานกับคนรุ่นใหม่ ด้วย
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
ซีพี ออลล์ จับมือผูบ้ ริหารเซเว่น อีเลฟเว่น และเซเว่น เดลิเวอรี่ เดินหน้าขับเคลือ่ นนโยบายเซเว่น โก กรีน 2021 (7 Go Green Mission 2021) เพือ่ สิง่ แวดล้อม 24 ชัว่ โมง ภายใต้การด�าเนินงานด้านสิง่ แวดล้อม สังคม และ บรรษัทภิบาล (Environmental, Social and Governance : ESG) เพือ่ สังคม ชุมชน และประเทศชาติอย่างยัง่ ยืน พร้อมเชิญชวนคนไทย ลด ละ เลิกใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม
Environment กองบรรณาธิการ
ซีพี ออลล์ ชูแผน
7 Go Green
Mission 2021 เพื่อสิ่งแวดล้อม 24 ชั่วโมง
ตั้งเป้าปี ’64 ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เทียบการปลูกไม้ 347,648 ต้น
ยุทธศักดิ์ ภูมิสุรกุล
กรรมการผูจ้ ดั การ (ร่วม) บริษทั ซีพี ออลล์ จ�ากัด (มหาชน) 25 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 25
ยุทธศักดิ์ ภูมสิ รุ กุล กรรมการผูจ้ ดั การ (ร่วม) บริษทั ซีพี ออลล์ จ�ากัด (มหาชน) กล่าวถึงนโยบาย 7 Go Green 2021 เพื่อสิ่งแวดล้อม 24 ชั่วโมง ว่า ซีพี ออลล์ มีความมุ่งมั่นที่จะร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ภายใต้ชื่อโครงการ 7 Go Green ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2550 เพือ่ ลดและเลิกใช้ถงุ พลาสติกทีร่ า้ นเซเว่น อีเลฟเว่น ทั่วประเทศ พร้อมกันนี้ได้ขับเคลื่อนแคมแปญ “ลดวันละถุง... คุณท�าได้” เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2561 ที่ผ่านมา เพื่อรณรงค์เชิญชวน ลูกค้าที่มาใช้บริการที่ร้านเซเว่น อีเลฟเว่น ปฏิเสธการใช้ถุงพลาสติก รวมทัง้ รณรงค์ให้ใช้ถงุ ผ้าแทนถุงพลาสติก ซึง่ ได้รบั การตอบรับและความ ร่วมมือจากลูกค้าทัว่ ประเทศเป็นอย่างดียงิ่ ท�าให้แคมเปญ “ลดวันละถุง คุณท�าได้” สามารถลดการใช้ถุงพลาสติกและเปลี่ยนเป็นยอดสมทบทุน รวมกว่า 211 ล้านบาท มอบให้กับโรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลใน ชุมชน และโรงพยาบาลในถิ่นทุรกันดาร 154 โรงพยาบาลทั่วประเทศ “ซีพี ออลล์ ได้ดำ� เนินธุรกิจบนพืน้ ฐำนของควำมรับผิดชอบต่อสังคม และสิง่ แวดล้อม และตระหนักถึงควำมส�ำคัญของสภำวะกำรเปลีย่ นแปลง ของสภำพภูมิอำกำศ อุณหภูมิโลกที่สูงขึ้น ท�ำให้ ซีพี ออลล์ มิอำจ นิ่งนอนใจต่อกำรเปลี่ยนแปลงและรับผิดชอบต่อกำรด�ำเนินธุรกิจด้วย หัวใจทีเ่ อือ้ อำทรต่อสิง่ แวดล้อมอย่ำงจริงจัง โดยมุง่ มัน่ ในกำรพัฒนำและ ปรับปรุงกระบวนกำรท�ำงำนเพือ่ ป้องกันผลกระทบเชิงลบต่อสิง่ แวดล้อม ควบคู่ไปกับกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืนบนแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน อำทิ กำรลดกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก กำรเรียนรู้กำรใช้พลังงำนอย่ำงมี ประสิทธิภำพ มุ่งมั่นพัฒนำผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม พร้อมสร้ำงกำรมีสว่ นร่วมกับผูบ้ ริโภค เพือ่ ช่วยกันลดโลกร้อน ด้วยสองมือเรำ” ยุทธศักดิ์ กล่าว ในปี พ.ศ. 2564 ซีพี ออลล์ ได้วางแนวทางในการด�าเนินงานด้าน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ภายใต้นโยบาย 7 Go Green Mission 2021 ประกอบด้วย
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
1.
Green Building การออกแบบและบริหารจัดการร้าน
อย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเน้นการจัดการพลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมการปรับปรุงระบบและอุปกรณ์ไฟฟ้า ต่างๆ ในร้านเซเว่น อีเลฟเว่น ภายใต้กลยุทธ์ “ร้านเพื่อสิ่งแวดล้อม” อาทิ โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพคอยล์เย็นส�าหรับตูแ้ ช่เย็นขนาดใหญ่ โครงการเครื่องปรับอากาศ ประเภท Inverter ภายในร้านฯ โครงการ ใช้หลอดไฟ LED โครงการส�ารวจและติดตามสภาพอากาศภายในร้านฯ โครงการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการปรับปรุง ระบบท�าความเย็นของตู้แสดงสินค้าชนิดไร้บานประตูเป็นแบบรวมศูนย์ โครงการ Knockdown Store น�าวัสดุเปลือกอาคารกลับมาใช้ใหม่ และ โครงการสถานีอัดประจุไฟฟ้าส�าหรับยานยนต์ไฟฟ้า ในปี พ.ศ. 2564 นี้ ซีพี ออลล์ ตั้งเป้าแผนการด�าเนินงานเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ทดแทนได้ 82,987,000 กิโลวัตต์ชั่วโมง (kWh) ลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกได้ 40,248 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (tCO2e) หรือ เปรียบเทียบการปลูกไม้ยืนต้นจ�านวน 111,554 ต้น
2.
Green Store โครงการด้านการจัดการออกแบบบรรจุภณั ฑ์
เพื่อสิ่งแวดล้อมที่มีในร้านเซเว่น อีเลฟเว่น มุ่งหวังลดปริมาณ ขยะพลาสติก ผ่านแนวคิด “ลดและทดแทน” โดยพิจารณาตัง้ แต่ขนั้ ตอน การออกแบบและการเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่ค�านึงถึงทุกกระบวนการ ในวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการหาวัสดุที่มาจากแหล่งทรัพยากร ทีส่ ามารถทดแทนได้ และต้องสามารถน�ากลับมาใช้ซา�้ (Reusable) หรือ น�ามาใช้ใหม่ (Recyclable) หรือสามารถย่อยสลายได้ (Compostable) ได้แก่ การจัดการบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อม พลาสติกแบบใช้ครัง้ เดียว ทิ้ง โดยได้เริ่มใช้ฝายกดื่มไม่พึ่งหลอด ตั้งแต่เมษายน 2563 ในร้าน All Cafe จ�านวน 8,492 สาขาทั่วประเทศ และใช้ “แก้วรักษ์โลก” หรือ กระดาษทีส่ ามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติสา� หรับเครือ่ งดืม่ ร้อน-เย็น ในร้านเซเว่น อีเลฟเว่นทั่วประเทศ เริ่มใช้ตั้งแต่ธันวาคม 2562 ปัจจุบัน ใช้แก้วรักษ์โลกในร้านสาขาพื้นทีเ่ กาะ สถานศึกษา และส�านักงาน รวมกว่า 874 สาขา โครงการการลดใช้พลาสติกแบบ ครั้งเดียวทิ้ง (Single-Use Plastic) ลดการใช้ พลาสติกแบบครัง้ เดียวทิง้ และใช้วสั ดุทมี่ าจาก ธรรมชาติทดแทน ได้แก่ ถุงกระดาษ ไม้คน กาแฟ และกระดาษหุ้มหลอด นอกจากนี้ ยั ง ขั บ เคลื่ อ นโครงการ 7 Go Green ในพื้ น ที่ เ กาะที่ เ ป็ น แหล่ ง ท่องเที่ยวทั่วประเทศ เพื่อรณรงค์พื้นที่เป็น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ รณรงค์ ใ ห้ ผู ้ บ ริ โ ภคและนั ก ท่ อ งเที่ ย วมี ส ่ ว นร่ ว มและ มีความรับผิดชอบต่อธรรมชาติ น�าไปสู่การ สร้างพฤติกรรมใหม่ให้เกิดแนวคิดท่องเที่ยว 26
04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 26
เชิงอนุรักษ์ โครงการเสื้อพนักงานที่ผลิตจากขวดพลาสติกรีไซเคิล โดยน�าขวดพลาสติกมารีไซเคิลเป็นเสื้อ และโครงการใบเสร็จรับเงิน/ ใบก�ากับภาษีเต็มรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ รณรงค์ในการลดใช้กระดาษ โดยในปีนี้ ซีพี ออลล์ ตั้งเป้าลดปริมาณการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติก จ�านวน 10,813 ตัน ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 80,921 ตันคาร์บอน ไดออกไซด์เทียบเท่า (tCO2e) หรือเปรียบเทียบการปลูกไม้ยนื ต้นจ�านวน 224,283 ต้น
3.
Green Logistic ซีพี ออลล์ ได้ดา� เนินงานด้านการขนส่ง
และการกระจายสินค้าทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมมาอย่างต่อเนือ่ ง โดยมุง่ เน้นการจัดการพลังงานผ่านโครงการต่างๆ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ด้านการขนส่งและออกแบบศูนย์กระจายสินค้าทั่วประเทศ เพื่อลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ภายใต้กลยุทธ์ “โลจิสติกส์เพือ่ สิง่ แวดล้อม” ทั้งนี้ ซีพี ออลล์ ได้น�าหลักเกณฑ์ส�าหรับการประเมินอาคารสีเขียว (Leadership in Energy & Environmental Design : LEED) เป็น หลักเกณฑ์ที่ใช้การพัฒนาและออกแบบศููนย์กระจายสินค้าทั่วประเทศ อีกด้วย ปัจจุบันมีทั้งหมด 20 แห่ง ใน 12 จังหวัดทั่วประเทศ และ ได้ตดิ ตัง้ แผง Solar Cell เพือ่ ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ทั่วประเทศ ในปี พ.ศ. 2564 ซีพี ออลล์ ตั้งเป้าเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ พลังงานทดแทนได้ 8,786,280 กิโลวัตต์ชั่วโมง (kWh) ลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกได้ 4,261 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (tCO2e) หรือเปรียบเทียบการปลูกไม้ยืนต้นจ�านวน 11,810 ต้น
4.
Green Living ซีพี ออลล์ ได้สานต่อโครงการ “ลดและ ทดแทน” ภายใต้แนวคิด “ปลูกจิตส�านึกเพื่อสิ่งแวดล้อม” โดย รณรงค์และเชิญชวนลดการใช้พลาสติกแบบครั้งเดียวทิ้ง ซึ่งมีเป้าหมาย หลักเพือ่ ป้องกันผลกระทบเชิงลบต่อสิง่ แวดล้อม และค�านึงถึงการพัฒนา อย่างยัง่ ยืนบนแนวคิดหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน หรือ Circular Economy โดยล่าสุดจัดให้มโี ครงการ “ถังคัดแยกขยะ” เพือ่ รณรงค์ให้คนไทยช่วยกัน คัดแยกขยะพลาสติก เพือ่ น�าขยะพลาสติกเข้าสูก่ ระบวนการ แนวคิด เศรษฐกิจหมุนเวียน หรือ Circular Economy อย่างยั่งยืน ในปี พ.ศ. 2564 ซีพี ออลล์ ได้กา� หนดแผนการด�าเนินงาน เพื่อลดและชดเชยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวม 128,426 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (tCO2e) หรือเปรียบเทียบ การปลูกไม้ยืนต้นจ�านวน 347,648 ต้น “ซีพี ออลล์ ตระหนักถึงควำมส�ำคัญของสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับกำรด�ำเนินธุรกิจอย่ำงรับผิดชอบ ผ่ำนมำตรกำร ต่ำงๆ ในกำรเพิ่มประสิทธิภำพและกำรอนุรักษ์พลังงำน ที่สอดคล้องกับแผนธุรกิจ และสร้ำงจิตส�ำนึกในกำรให้ควำม ส�ำคัญของประเทศชำติ ภำยใต้ปณิธำน “ร่วมสร้ำงสรรค์และ แบ่งปันโอกำสให้ทุกคน” ยุทธศักดิ์ กล่าวทิ้งท้าย
GreenNetwork4.0 M March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
Energy กองบรรณาธิการ
กัลฟ์ เอสอาร์ซี
เริ่มเดินเครื่องกังหันก๊าซ M701JAC ยูนิตแรก ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่โรงไฟฟ้าในจังหวัดชลบุรี ก�าลังการผลิต 2,650 เมกะวัตต์
มิตซูบิชิ พาวเวอร์ บริษัทในเครือมิตซูบิชิ เฮฟวี่ อินดัสตรี่ส์ กรุ๊ป (MHI) ได้เริ่มใช้งานกังหันก๊าซ M701JAC ยูนิตใหม่อย่างเป็น ทางการเมือ่ วันที่ 31 มีนาคม โดยกังหันก๊าซนีจ้ ะเป็นส่วนประกอบหลัก ในงานก่อสร้างโรงไฟฟ้าเชือ้ เพลิงก๊าซธรรมชาติ 2 แห่งในประเทศไทย ส�าหรับกังหันก๊าซ M701JAC ทีเ่ ริม่ ใช้งานใหม่นอี้ ยูใ่ นกังหันก๊าซ กลุ่ม J-Series และ JAC-Series ซึ่งมีชั่วโมงการเดินเครื่องสะสม มากกว่า 1.3 ล้านชั่วโมง โดยมีค�าสั่งซื้อทั่วโลกแล้ว 83 ยูนิต โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่งของการร่วมลงทุนระหว่างบริษัท กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเมนท์ จ�ากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ผลิต ไฟฟ้าอิสระ (IPP) รายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย กับบริษัท มิตซุย แอนด์ คัมปนี จ�ากัด M701JAC เป็นกังหันก๊าซยูนิตแรกจาก 8 ยูนิตที่มีการสั่งซื้อ แบบครบวงจร (Full-Turnkey) ในปี พ.ศ. 2561 และยังเป็นยูนติ แรก ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยกังหันก๊าซทั้ง 8 ยูนิตนี้ จะรวมอยู่ในระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมกังหันก๊าซ (GTCC) ที่มีก�าลังการผลิตรวมอยู่ที่ 5,300 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ ยังมีสัญญาการให้บริการระยะยาว (LTSA) เป็นเวลา 25 ปีส�าหรับ 27 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 27
กังหันก๊าซเหล่านีด้ ว้ ย งานก่อสร้างของ 7 ยูนติ ทีเ่ หลือได้เริม่ ขึน้ แล้ว และก�าหนดเริ่มเดินเครื่องเชิงพาณิชย์อย่างเต็มรูปแบบในปี พ.ศ. 2567 โรงไฟฟ้าขนาดใหญ่พิเศษ 2 แห่งอยู่ระหว่างการก่อสร้างใน จังหวัดชลบุรแี ละจังหวัดระยอง อยูห่ า่ งจากกรุงเทพมหานครไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 130 กิโลเมตร ซึง่ โรงไฟฟ้าแต่ละแห่ง จะใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นแหล่งเชื้อเพลิงหลัก และมีก�าลังการผลิต อยูท่ ี่ 2,650 เมกะวัตต์ แบ่งเป็น 4 ชุด โดยแต่ละชุดจะประกอบด้วย กังหันก๊าซ กังหันไอน�้า เครื่องก�าเนิดไอน�้า และเครื่องก�าเนิดไฟฟ้า อย่างละ 1 ยูนิต โดยบริษัท มิตซูบิชิ พาวเวอร์ จะผลิตและจัดหา กังหันก๊าซและกังหันไอน�้า รวมทั้งอุปกรณ์เสริม ในขณะที่บริษัท มิตซูบชิ ิ อิเล็คทริค จะจัดหาเครือ่ งก�าเนิดไฟฟ้า ส�าหรับไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้ จะจ�าหน่ายให้กบั การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เพือ่ ให้ ประเทศมีพลังงานสะอาดจากแหล่งพลังงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงและ ไว้วางใจได้ M701JAC ที่ เ ริ่ ม ใช้ ง านใหม่ เ ป็ น ส่ ว นประกอบหลั ก ของ โรงไฟฟ้าในจังหวัดชลบุรี ซึ่งด�าเนินการโดยบริษัท กัลฟ์ เอสอาร์ซี จ�ากัด1 แม้ขณะนี้การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทัว่ โลกจะส่งผลกระทบต่อการส่งมอบอุปกรณ์และการติดตัง้ โดยรวม
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
จากปัญหาด้านโลจิสติกส์และความยากล�าบากในการส่งวิศวกรไปยัง พื้นที่โครงการ แต่การเดินเครื่องของกังหันก๊าซยูนิตแรกก็ยังเป็นไป ตามก�าหนดเวลา เนื่องจากความพยายามร่วมกันของทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง พรทิพา ชินเวชกิจวานิชย์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเมนท์ จ�ากัด (มหาชน) กล่าวถึง ความส�าเร็จในการเริ่มใช้งานดังกล่าวว่า เราขอแสดงความชื่นชม และขอบคุณต่อทุกคนทีม่ ติ ซูบชิ ิ พาวเวอร์ ซึง่ ท�างานอย่างขยันขันแข็ง เพื่อให้สามารถเปิดตัวกังหันก๊าซยูนิตแรกของโครงการได้ตาม ก�าหนดเวลา แม้ในช่วงที่ก�าลังเกิดการระบาดใหญ่ ความส�าเร็จ ครั้งแรกนี้สนับสนุนความคาดหวังของเราที่ว่า บริษัทฯ จะยังคง ด�าเนินการบริหารโครงการที่โดดเด่นเพื่อให้กังหันก๊าซทั้ง 8 ยูนิต สามารถเดินเครื่องเข้าสู่ระบบได้ตามก�าหนดเวลา ด้าน โคจิ นิชิคาวะ ประธานและกรรมการผู้จัดการของ มิตซูบิชิ พาวเวอร์ (ประเทศไทย) กล่าวถึงความมุ่งมั่นของบริษัทฯ ในการท�างานในประเทศไทยว่า เรายินดีที่จะสนับสนุนการผลักดัน การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืนของประเทศไทย ผ่านกังหันก๊าซทีม่ ี
ประสิทธิภาพสูงและไว้วางใจได้ของเรา นับจากนี้เราจะสานต่อตาม ความมุ่งมั่นอันยาวนานของเราที่มีต่อประเทศไทยต่อไป โดยจะน�า กังหันก๊าซอีก 7 ยูนติ ทีเ่ หลือเดินเครือ่ งเข้าสูร่ ะบบ เพือ่ สร้างการเติบโต ด้านการผลิตไฟฟ้าที่มั่นคงในประเทศไทย มิตซูบิชิ พาวเวอร์ ก�าลังสร้างผลงานที่มั่นคงในการติดตั้ง กังหันก๊าซขนาดใหญ่ในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2554 บริษทั ฯ ได้รบั ค�าสัง่ ซือ้ แบบครบวงจร (Full-Turnkey) จากบริษทั แห่งหนึง่ ทีส่ นับสนุน โดยกัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเมนท์ เพื่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงาน ความร้อนร่วม GTCC ทีอ่ า� เภอหนองแซงและอ�าเภออุทยั ซึง่ โรงไฟฟ้า ดังกล่าวได้เริม่ เดินเครือ่ งเชิงพาณิชย์ในปี พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2558 ตามล�าดับ และในปี พ.ศ. 2563 บริษทั หินกอง พาวเวอร์ จ�ากัด ซึง่ เป็นอีกบริษัทหนึ่งที่ร่วมก่อตั้งโดยกัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเมนท์ ได้สั่งซื้อโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมกังหันก๊าซ GTCC ที่ใช้ กังหันก๊าซ M701JAC จ�านวน 2 ยูนิต 1
โรงไฟฟ้าในจังหวัดระยอง ด�าเนินการโดยบริษัท กัลฟ์ พีดี จ�ากัด
Southeast Asia’s First M701JAC Goes Online at Plant in Chonburi Province Operated by Gulf SRC
Mitsubishi Power, a subsidiary of Mitsubishi Heavy Industries (MHI) Group, inaugurated operation of a newly completed M701JAC gas turbine, which will serve as a core component in a project to build two natural gas-fired power plants in Thailand on March 31. The newly inaugurated M701JAC joins the global fleet of J-Series and JAC-Series gas turbines that have amassed more than 1.3 million operating hours; with 83 units ordered across the globe. The project is part of a joint venture between Gulf Energy Development Public Company Limited, one of Thailand’s largest independent power producers (IPP), and Mitsui & Co., Ltd. The M701JAC is the first of eight units ordered on a full-turnkey basis in 2018 and is the first of its kind in Southeast Asia. These eight units will comprise gas turbine combined cycle (GTCC) systems with a total output of 5,300 megawatts (MW). A 25-year long-term service agreement (LTSA) for these units is also in effect. The construction of the remaining seven units have commenced and are scheduled for full launch of commercial operations in 2024. The two ultra-large-scale power plants are under construction in Chonburi and Rayong Provinces, approximately 28 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 28
130 kilometers southeast of Bangkok. Each plant will have an output of 2,650MW and use natural gas as its primary fuel source, along with four power trains each incorporating a gas turbine, steam turbine, heat recovery steam generator and generator. Mitsubishi Power will manufacture and supply the gas and steam turbines as well as ancillary equipment, while Mitsubishi Electric Corporation will provide the generators. The power generated will be sold to the Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT) to support providing the country with a reliable and highly efficient source of clean energy. The newly inaugurated M701JAC is a core component of the power plant in Chonburi Province, which is operated by Gulf SRC Company Limited1. At a time when the global coronavirus pandemic is impacting equipment deliveries and installations as a whole due to logistical issues and difficulty in sending engineers to project sites, operation of the first gas turbine unit is on schedule thanks to the concerted efforts of all parties involved. 1
The power plant in Rayong Province is operated by Gulf PD Company Limited.
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
Automotive กองบรรณาธิการ
ฉางซา-จีน : ในทุกๆ ปี ผูค้ นหลายล้านคนทัว่ โลกต่างปิดไฟในบ้าน อาคาร และตามท้องถนน ในโครงการ Earth Hour โดยนับตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 เป็นต้นมา “การปิดไฟ 1 ชั่วโมง” ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของการประหยัดพลังงานและ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อโลกของเรา ในส่วนของ SANY นั้น ได้พัฒนาโซลูชันประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อมในเครือ่ งจักรของเราอย่างต่อเนือ่ ง โดยตัวอย่างล่าสุดคือ รถบรรทุกดิน และรถบรรทุกผสมคอนกรีต ที่เพิ่งออกมาจากโรงงานอัจฉริยะของ SANY ทั้ง 2 คันใช้เทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน และคันหลังถือเป็นรถบรรทุก ผสมคอนกรีตที่ใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนคันแรกของโลก วิศวกรด้านการวิจัยและพัฒนาของโครงการระบุว่า รถก่อสร้างที่ใช้ เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจนมีจุดแข็งส�าคัญ 5 ประการ หนึ่งในนั้นคือ “การปล่อย มลพิษเป็นศูนย์” โดยจะมีการปล่อยน�้าและความร้อนออกมาเท่านั้น ซึ่งถือเป็น ก้าวกระโดดของอุตสาหกรรมไปสู่อนาคตสีเขียว จีนให้ความส�าคัญกับการบรรลุเป้าหมายเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี พ.ศ. 2603 ซึ่งการบรรลุเป้าหมายนี้ต้องใช้มาตรการที่เป็นรูปธรรม โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในกลุ่มผู้ผลิต นอกเหนือจาก “การปล่อยมลพิษเป็นศูนย์” แล้ว รถก่อสร้างทีใ่ ช้เซลล์เชือ้ เพลิง ใหม่ ยังมีประสิทธิภาพเหนือรถก่อสร้างทั่วไปในอีก 4 ด้าน ได้แก่
1. 2.
แบตเตอรี่ใช้งานได้ยาวนาน ชุดกระบอกสูบ ไฮโดรเจนขนาดรวม 1,680 ลิตร รับประกันระยะวิง่ มากกว่า 500 กิโลเมตร ช่วยให้ขับขี่สบายไร้กังวล
ก�าลังมากกว่า มอเตอร์แรงบิดสูงขนาดใหญ่และ กระปุกเกียร์ AMT พร้อมเซลล์เชือ้ เพลิงก�าลังสูง ที่มีอัตราการแปลงพลังงานสูงกว่า 50% ส่งผลให้อัตรา เร่งเพิ่มขึ้นและมีก�าลังไต่ทางชันมากขึ้น
3.
ปรับตัวเข้ากับสภาพอากาศได้ดขี นึ้ ระบบจัดการ ความร้อนแบบบูรณาการสามารถท�าความร้อน และความเย็นโดยอัตโนมัตติ ามสภาพอากาศร้อนและเย็น เพื่อสมรรถนะการท�างานสูงสุด
4.
ความปลอดภัยสูงเป็นพิเศษ ฟังก์ชนั ต่างๆ อย่าง ระบบป้องกันความร้อนสูงเกิน ระบบป้องกัน กระแสไฟฟ้าเกิน ระบบแจ้งเตือนความดันต�่า รวมถึง ระบบตรวจจับและควบคุมการรั่วในระบบจ่ายไฮโดรเจน ช่วยรับประกันประสบการณ์การขับขี่ที่ปลอดภัยไร้กังวล
หลี่ ตันป๋อ รองผู้จัดการทั่วไป ธุรกิจรถเครน SANY กล่าวในพิธีเปิดตัวรถก่อสร้างรุ่นใหม่ว่า SANY ได้เข้าสูร่ ะยะใหม่ทกี่ ารพัฒนาเครือ่ งจักรก่อสร้างให้ความ ส�าคัญกับการใช้พลังงานสีเขียวและเทคโนโลยีอุปกรณ์ อัจฉริยะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดย SANY ตั้งเป้าว่า จะก้าวขึ้นเป็นผู้ให้บริการโซลูชันเชื้อเพลิงไฮโดรเจน ครบวงจรรายใหญ่ท่ีสุด และผู้ผลิตรถก่อสร้างพลังงาน ไฟฟ้าอันดับหนึ่งในจีนภายใน 5 ปี 29 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 29
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
Health กองบรรณาธิการ
นักวิจัยไบโอเทคผลิต “โปรตีนทางเลือกจากจุลินทรีย์” เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พัฒนาสู่เนื้อบดเทียม-ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม โดย ไบโอเทค สวทช. เปิดตัวความ ส�าเร็จผลงานวิจัย “โปรตีนทางเลือกจากจุลินทรีย์” หรือ “มัยคอโปรตีน (Mycoprotein)” ที่ผลิตเป็น ครั้งแรกในประเทศไทย เผยโปรตีนที่ได้มีลักษณะ เส้นใยคล้ายเนื้อสัตว์ ไม่มีโคเลสเตอรอล อุดมด้วย ไฟเบอร์ ไวตามิน และเบต้ากลูแคน ทีส่ า� คัญ บริโภค ได้อย่างมั่นใจ ปลอดภัย ไร้สารปนเปื้อน พร้อม ร่วมมือบริษัทเอกชน พัฒนาสู่ “เนื้อบดเทียม” และ “ผลิตภัณฑ์อาหารส�าเร็จรูป” ออกสู่ตลาด 30 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 30
ดร.กอบกุล เหล่าเท้ง นักวิจยั อาวุโส กลุม่ วิจยั ส่วนผสมฟังก์ชนั และนวัตกรรมอาหาร ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า ปัจจุบนั ผูบ้ ริโภคนิยมรับประทานโปรตีนทางเลือก มากขึน้ เนือ่ งด้วยความใส่ใจในสุขภาพ และความกังวลต่อความปลอดภัยของเนือ้ สัตว์ทอี่ าจพบ การปนเปื้อนของยาปฏิชีวนะ รวมถึงโรคต่างๆ ที่สัตว์อาจติดมา ท�าให้มีผลิตภัณฑ์โปรตีน ทางเลือกต่างๆ เช่น โปรตีนจากพืช โปรตีนจากแมลง รวมถึงโปรตีนจากจุลินทรีย์กินได้ ออกมาวางจ�าหน่ายจ�านวนมากในท้องตลาด “โปรตีนจากจุลนิ ทรีย์ หรือมัยคอโปรตีน (Mycoprotein) ไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ใหม่ เพราะ มีการวางขายแล้วในยุโรป ส่วนในประเทศไทยที่ผ่านมายังไม่สามารถผลิตเองได้ และมีการ น�าเข้าจากต่างประเทศ แต่ขณะนีท้ มี วิจยั ไบโอเทค สวทช. สามารถพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
“ตอนนี้ เ รามองการพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ไปทีอ่ าหารส�าเร็จรูป รวมถึง การขายเป็นวัตถุดิบเนื้อเทียมให้แก่ โรงงานอุ ตสาหกรรมอาหารต่างๆ เพราะผู ้ บ ริ โ ภคปั จ จุ บั น รั ก สุ ข ภาพ มากขึ้น สังเกตจากผู้บริโภครุ่นใหม่ ที่ปรับเปลี่ยนมารับประทานโปรตีน จากพืชเป็นจ�านวนมาก หรือแม้แต่ใน ผู้สูงอายุที่มีปัญหาเรื่องสุขภาพฟัน และระบบการย่อยอาหาร ไม่สามารถ ทานเนื้อสัตว์ได้ปริมาณมาก โปรตีน จากจุลนิ ทรียจ์ ะเป็นทางเลือกหนึง่ ทีม่ า ทดแทนได้ นอกจากนี้ยังตอบโจทย์ กลุม่ คนทีร่ กั สิง่ แวดล้อม เพราะการลด การบริโภคเนื้อสัตว์ถือเป็นวิธีหนึ่ง ในการช่ ว ยลดการปล่ อ ยก๊ า ซ เรือนกระจกออกสู่ชั้นบรรยากาศ” อัจฉรา กล่าว ส� า หรั บ ความคื บ หน้ า การ พัฒนาผลิตภัณฑ์ตอนนี้ อยู่ระหว่าง การวิ จั ย ปรั บ เนื้ อ สั ม ผั ส ให้ เ หมื อ น เนื้อสัตว์มากที่สุด มีรสชาติดี และ ต้นทุนการผลิตต�่า เพื่อให้สามารถ แข่งขันได้ในตลาด คาดว่าอาจจะ เปิดตัวผลิตภัณฑ์ได้ภายในปลายปี พ.ศ. 2564 นี้
ดร.กอบกุล เหล่าเท้ง (ขวา) นักวิจัยอาวุโส ไบโอเทค อัจฉรา งานทวี (กลาง) ผู้อ�านวยการ ฝ่ายขายและการตลาด ไทยรุง่ เรืองอุตสาหกรรม และ รศ. ดร.ประเสริฐ ภวสันต์ (ซ้าย) ทีป่ รึกษา ไทยรุ่งเรืองอุตสาหกรรม
โปรตีนจากจุลนิ ทรียไ์ ด้สา� เร็จ ถือเป็นเทคโนโลยี ของคนไทย และผลิตจากจุลินทรีย์ที่พบใน ประเทศ” ดร.กอบกุล กล่าว การพั ฒ นาเทคโนโลยี ที ม วิ จั ย ได้ คัดเลือกสายพันธุ์จุลินทรีย์ที่มีความปลอดภัย เป็นเกรดอาหาร (Food-Grade Microbe) และ มีประสิทธิภาพในการผลิต โดยมีคณ ุ สมบัตเิ ด่น คือ 1. เป็นสายพันธุ์จุลินทรีย์ที่ผลิตโปรตีน ปริมาณมาก 2. มีการสร้างเส้นใยทีม่ ลี กั ษณะ เหมาะสม และ 3. เป็นสายพันธุ์จุลินทรีย์ที่ ปลอดภัย ไม่สร้างสารพิษ หรือมัยคอทอกซิน (Mycotoxin) ที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค โดยทีมวิจยั น�าเส้นใยมัยคอโปรตีนทีผ่ ลิตได้ไป ตรวจวิเคราะห์เพื่อรับรองความปลอดภัยด้วย หลั ง จากได้ ส ายพั น ธุ ์ จุ ลิ น ทรี ย ์ ที่ เ หมาะสม มีการพัฒนาเทคโนโลยีกระบวนการผลิตทั้ง ในระดับห้องปฏิบัติการและโรงงานต้นแบบ เพื่ อ ให้ พ ร้ อ มต่ อ ยอดสู ่ ร ะดั บ อุ ต สาหกรรม โดยมุ่งเน้นการผลิตโปรตีนที่มีคุณภาพและ ต้นทุนต�่า เพื่อให้แข่งขันกับคู่แข่งในตลาดได้ “โปรตีนที่จุลินทรีย์ผลิตมีลักษณะเป็น เส้นใยคล้ายกับเนือ้ สัตว์ แต่ทมี วิจยั ได้ปรับปรุง โครงสร้ า งทางกายภาพเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให้ ไ ด้ เนื้อสัมผัสที่ดีมากขึ้น ตอนนี้ผลิตภัณฑ์จะมี ลักษณะคล้ายเนือ้ เทียมบด สามารถใช้ประกอบ อาหารปรุงรสทดแทนเนือ้ สัตว์บดได้ เช่น ลาบ เบอร์เกอร์ กะเพรา น�้าพริกอ่อง รวมถึงสาคู จากโปรตี น ทางเลื อ ก ซึ่ ง ในอนาคตมี แ ผน พัฒนาขึ้นรูปให้เป็นชิ้นเนื้อที่มีความคล้ายคลึง เนื้อสัตว์มากขึ้น ส่วนคุณค่าทางโภชนาการ 31 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 31
พบว่า มีโปรตีนสูงเทียบเท่ากับโปรตีนจากไข่ ไม่มีโคเลสเตอรอล อีกทั้งยังมีกรดอะมิโน จ�าเป็นครบทุกตัว มีไฟเบอร์ ไวตามิน รวมถึง เบต้ากลูแคน นอกจากจะเป็นแหล่งโปรตีน ที่มีคุณภาพแล้ว ยังมีความปลอดภัยในการ บริโภคด้วย เพราะในกระบวนการผลิตซึง่ เป็น เทคโนโลยีการหมักไม่ใช้สารเคมี และไม่มี ยาปฏิชีวนะ” ดร.กอบกุล กล่าว ขณะนี้ทีมวิจัยไบโอเทค สวทช. ได้ร่วม กับ บริษัท ไทยรุ่งเรืองอุตสาหกรรม จ�ากัด เจ้าของแบรนด์ “น�า้ ตาลลิน” ผูผ้ ลิตและส่งออก น�้าตาลรายใหญ่ของประเทศไทย ต่อยอดงาน วิจัยในระดับกึ่งอุตสาหกรรม รวมทั้งการวิจัย พัฒนาเพิ่มมูลค่าโปรตีนทางเลือกสู่ผลิตภัณฑ์ เนื้อเทียมต่างๆ ด้วย อัจฉรา งานทวี ผู้อ�านวยการฝ่ายขาย และการตลาด บริษทั ไทยรุง่ เรืองอุตสาหกรรม จ�ากัด กล่าวว่า ทุกวันนีน้ า�้ ตาลถูกมองเป็นสิง่ ที่ อันตรายต่อสุขภาพ และรณรงค์ให้ทานน�า้ ตาล น้อยลง บริษทั ฯ จึงพยายามมองหานวัตกรรม ที่ จ ะต่ อ ยอดการผลิ ต ไปสู ่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ๆ ที่มีมูลค่ามากขึ้น กระทั่งมาเจองานวิจัยการ พัฒนามัยคอโปรตีนจากจุลนิ ทรียข์ องไบโอเทค สวทช. ท�าให้เห็นโอกาสและเกิดเป็นความร่วมมือ ในการวิจัยพัฒนา เนื่องจากในกระบวนการ ผลิตต้องใช้น�้าตาลเป็นอาหารให้แก่จุลินทรีย์ ประกอบกั บ โปรตี น ทางเลื อ กคื อ “เทรนด์ อาหารแห่งอนาคต” เป็นอุตสาหกรรมอาหาร รูปแบบใหม่ที่มีแนวโน้มเติบโตอย่างมาก GreenNetwork4.0 March-April h-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
Gadget กองบรรณาธิการ
Innergie แบรนด์ภายใต้ Delta Electronics ได้เปิดตัว แคมเปญรักษ์โลกใหม่ โดยน�าเสนอผลิตภัณฑ์ชาร์จพลังงานที่มี ค่าประสิทธิภาพสูง และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อลดปัญหา ขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่ก�าลังเติบโตขึ้นในประเทศไทย ในฐานะที่ เ ป็ น ผู ้ น� า ระดั บ โลกทางด้ า นพลั ง งานและอุ ป กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ เดลต้าน�าเสนอผลิตภัณฑ์ “อัจฉริยะ” ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง Innergie ได้ใช้นวัตกรรมของ Delta เพื่อสร้างวิถีชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อมในประเทศไทย โดย Innergie มุง่ มัน่ ทีจ่ ะปกป้องโลกร่วมกับ ลูกค้าและผู้ถือหุ้น จากรายงานของกรมควบคุมมลพิษ ปริมาณขยะ อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยมีประมาณเกือบ 4 แสนตันต่อปี และ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่องทุกปีเป็นทวีคูณ การก�าจัดผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือขยะอิเล็กทรอนิกส์ หาก ไม่ผ่านกระบวนการจัดการที่ถูกต้อง ขยะเหล่านี้ก็จะเป็นพิษกลับมา ท�าลายสิ่งแวดล้อมและมนุษย์เราได้ เนื่องจากขยะประเภทนี้ย่อยสลาย ได้ยากและมีส่วนประกอบของสารที่เป็นพิษต่อธรรมชาติและสิ่งมีชีวิต ส�าหรับแคมเปญเก่าแลกใหม่ จาก Innergie เปลีย่ นอะแดปเตอร์เก่า ที่ไม่ใช้หรือช�ารุดให้มีมูลค่า และยังช่วยก�าจัดอะแดปเตอร์อย่างถูกวิธี เพียงน�าอะแดปเตอร์ที่ไม่ใช้แล้วมาแลกเป็นส่วนลดสูงสุด 500 บาท เพื่อซื้ออะแดปเตอร์ One For All Series ที่ร้าน .life และ iStudio by Copperwired ซึ่งจะช่วยสนับสนุนลูกค้าที่เลือกซื้อสินค้าได้อย่างคุ้มค่า ด้วยการน�าเสนออะแดปเตอร์ One For All ซีรสี ์ ทีส่ ามารถชาร์จอุปกรณ์ ได้หลากหลาย ตัง้ แต่โน้ตบุก๊ แทบเล็ต มือถือ และอุปกรณ์อนื่ ๆ Innergie ช่วยให้ผใู้ ช้สามารถตอบสนองทุกความต้องการในการชาร์จด้วยอะแดปเตอร์ ที่มีคุณภาพสูงเพียงแค่ตัวเดียว 32 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 32
ในยุคดิจิทัลนี้ เรามีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลากหลายมากมาย และจ�านวนอะแดปเตอร์จะมีมากขึน้ ตามจ�านวนอุปกรณ์ทเี่ รามี Innergie ได้พัฒนาอะแดปเตอร์อเนกประสงค์ที่สามารถปรับกระแสไฟอัตโนมัติ ตามแต่อุปกรณ์ที่ใช้ เพื่อลดจ�านวนอะแดปเตอร์ในการใช้งานลง การเลือกอะแดปเตอร์ที่เหมาะสมจาก Innergie ช่วยให้ผู้ใช้งาน ประหยัดเงิน ประหยัดพืน้ ที่ และปกป้องโลกใบนี้ Innergie ท�างานร่วมกับ ลูกค้าเพือ่ ส่งมอบหลักการของ Delta “Smarter. Greener. Together.” มุ่งสร้างนวัตกรรมพลังงานสะอาด เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เพื่ออนาคตที่ดีกว่า ส�าหรับแคมเปญรักษ์โลกนี้ เริ่มตั้งแต่วันนี้-31 พฤษภาคม 2564 เพือ่ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ สิง่ แวดล้อมและใช้ชวี ติ ในยุคดิจทิ ลั ได้งา่ ยขึน้
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
วว. เปิดตัวโครงการ จัดตั้งสถานีจัดการขยะชุมชนฯ
BCG กองบรรณาธิการ
ตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียนที่หนองคาย
ศ. (วิจัย) ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ วว.
สถาบั น วิ จั ย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้รับการ สนั บ สนุ น ส� า นั ก งานสภานโยบายการอุ ด มศึ ก ษา วิ ท ยาศาสตร์ วิ จั ย และนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ โดย หน่ ว ยบริ ห ารและจั ด การทุ น ด้ า นการเพิ่ ม ความ สามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) เปิดตัว โครงการจั ด ตั้ ง สถานี จั ด การขยะชุ ม ชนร่ ว มกั บ ของเหลือทิ้งภาคการเกษตรเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ มูลค่าเพิม่ ตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน ระบุ “จังหวัด หนองคาย” เป็นพื้นที่ต้นแบบของภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ในการน�าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม ขับเคลือ่ นการจัดการขยะชุมชนทีต่ น้ ทาง/ 33 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 33
น�้าเสีย/ผลิตพลังงานทดแทนชีวภาพ เร่งถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมแก่ชุมชน วัด โรงเรียน สร้างความรูค้ วามเข้าใจด้านการจัดการขยะ เปลีย่ นขยะเป็นทรัพยากร สร้างรายได้ เสริมคุณภาพชีวิตชุมชน ลดปัญหาสิ่งแวดล้อม ศ. (วิจยั ) ดร.ชุตมิ า เอีย่ มโชติชวลิต ผูว้ า่ การสถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.) กล่าวว่า ปัญหาขยะชุมชนจัดเป็นปัญหาหนึง่ ทีม่ คี วามจ�าเป็นเร่งด่วน ต่อการแก้ไขและลดมลพิษทางสิ่งแวดล้อม วว. จึงได้ด�าเนินการจัดตั้ง “โครงการจัดตั้ง สถานีจดั การขยะชุมชนร่วมกับของเหลือทิง้ ภาคการเกษตรเพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์มลู ค่าเพิม่ ตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน” เพือ่ ขับเคลือ่ นการจัดการขยะชุมชนทีต่ น้ ทาง การใช้ประโยชน์ สร้างมูลค่าเพิม่ ตามหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน ร่วมกับการจัดการขยะชุมชน น�า้ เสีย และ การผลิตพลังงานทดแทนชีวภาพ ขับเคลือ่ นโครงการให้ประสบความส�าเร็จอย่างเป็นรูปธรรม จึงต้องมีการถ่ายทอดองค์ความรูแ้ ละนวัตกรรมให้กบั กลุม่ เป้าหมาย ได้แก่ ชุมชน วัด โรงเรียน เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจด้านการจัดการขยะประเภทต่างๆ และการน�ากลับมาใช้ใหม่ เพื่อเปลี่ยนขยะเป็นทรัพยากร สร้างมูลค่าเพิ่ม และการน�าไปใช้ประโยชน์
ดร.เรวดี อนุวัฒนา
นักวิจัยอาวุโส ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมพลังงานสะอาดและสิ่งแวดล้อม วว. GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
“เป็นโอกาสอันดีที่ วว. ได้ลงพื้นที่ในจังหวัดหนองคาย และ ได้รับเกียรติจากรองผู้ว่าราชการจังหวัด (รนิดา เหลืองฐิติสกุล) และ ผู้อ�านวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ” (รศ. ดร.สิรี ชัยเสรี) ส�าหรับพิธีเปิดกิจกรรมฝึกอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ภายใต้ โครงการจัดตัง้ สถานีจดั การขยะชุมชนร่วมกับของเหลือทิง้ ภาคการเกษตร เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน ณ พาร์ค แอนด์ พูล รีสอร์ท จังหวัดหนองคาย มีผู้เข้ารับการอบรมกว่า 150 คน เพือ่ รับฟังการเสวนาจากผูท้ รงคุณวุฒิ การบรรยายพิเศษ รวมถึงกิจกรรม เชิงปฏิบตั กิ าร เพือ่ เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจในการน�าขยะกลับมาใช้ ประโยชน์ และน�าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์และปรับใช้ให้เหมาะสมกับ ชุมชนให้เกิดความยั่งยืน... “วว. ขอขอบคุณ บพข. จังหวัดหนองคาย เทศบาลต�าบลหาดค�า ชุมชนต�าบลหาดค�า และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ได้บูรณาการความ ร่วมมือกันเป็นอย่างดี และมีปณิธานร่วมกันในการแก้ไขปัญหาด้านการ จัดการขยะชุมชน การสร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างงาน สร้างรายได้ ยกระดับ คุณภาพชีวติ ของประชาชน รวมถึงช่วยลดปัญหาสิง่ แวดล้อมอันเนือ่ งจาก การเผากลางแจ้งอันเป็นสาเหตุของ PM2.5 ได้อย่างยัง่ ยืน” ผูว้ า่ การ วว. กล่าว ดร.เรวดี อนุวัฒนา นักวิจัยอาวุโส ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรม พลังงานสะอาดและสิ่งแวดล้อม วว. กล่าวถึงแนวคิดของโครงการฯ ว่า วว. ได้คัดเลือกพื้นที่ที่มีขยะประมาณ 1-5 ตันต่อวัน ส�าหรับการจัดตั้ง สถานี จั ด การขยะชุ ม ชนเพื่ อ คั ด แยกที่ ต ้ น ทางและน� า กลั บ มาใช้ ใ หม่ โดยจะน�าขยะมาสร้างมูลค่าเพิม่ ตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) โดยใช้กลุม่ เป้าหมาย “บ ว ร” หรือ บ้าน-วัด-โรงเรียน เป็น กลุ่มขับเคลื่อนในการใช้นวัตกรรมในการจัดการขยะชุมชนเพื่อแปรรูป ในพื้นที่ มีการเชื่อมต่อกับชุมชนที่มีรูปแบบธนาคารขยะ/สหกรณ์ หรือ 34 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 34
กองทุนขยะ ให้เกิดอาสาสมัครรวบรวมขยะเข้าสูส่ ถานี โดยใช้ Application ที่ วว. พัฒนาขึ้น จัดการในรูปแบบ “Waste for Cash” และ “Waste for Sharing” เพือ่ สร้างความตระหนักและเรียนรูใ้ นการคัดแยกทีต่ น้ ทาง โดย วว. ได้พฒ ั นานวัตกรรมส�าหรับใช้ในโครงการ เช่น การใช้นวัตกรรม ลดขนาดขยะพลาสติกหรือของเหลือทิง้ ภาคการเกษตร ร่วมกับการแปรรูป ที่สถานี การจัดการขยะเป็นวัตถุดิบรอบสองที่มีคุณภาพคืนกลับโรงงาน พร้อมระบบบ�าบัดมลพิษ เพื่อท�าให้เกิดการสร้างรายได้ ร่วมกับการใช้ ประโยชน์จากของเหลือทิง้ ภาคการเกษตรและขยะพลาสติก ในการผลิต เป็นเชื้อเพลิงขยะคุณภาพสูง (RDF5) ที่ให้ค่าความร้อน 5,000-7,500 kcal/kg ส�าหรับใช้ทดแทนถ่านหินและชีวมวล นอกจากนี้ โครงการฯ ยังพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตอัตลักษณ์ให้แก่ ท้องถิ่น อาทิ กระดาษจากตอซังหรือฟางข้าว ที่มีคุณสมบัติดูดซับคราบ น�้ามันและกันมด ขยายผลสู่ผลิตภัณฑ์ต้นแบบภาชนะหรือกระดาษ รองจาน และงานหัตถกรรมดอกไม้จากกระดาษ ทีส่ ามารถน�าไปต่อยอด ท�าผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ ส�าหรับใช้ได้ในชีวติ ประจ�าวัน การผลิตน�า้ หมักชีวภาพ และปุย๋ มูลไส้เดือน ระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะเศษอาหารและน�า้ เสีย เศษอาหาร “กลไกที่ วว. สร้างขึ้นท�าให้เกิดการพึ่งพากันในชุมชน เกิดการ จัดการขยะชุมชนเพือ่ คัดแยกและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ สร้างอาชีพ สร้างรายได้ กลับคืนสู่ชุมชน ช่วยลดผลกระทบจากของเหลือทิ้งภาค การเกษตร และลดมลพิษจากการเผาไหม้ในทีโ่ ล่งแจ้ง เพิม่ ประสิทธิภาพ การใช้พลังงานทดแทนให้เกิดประโยชน์ ด้วยนวัตกรรมสร้างมูลค่าเพิ่ม จากขยะชุมชนร่วมกับของเหลือทิ้งภาคการเกษตร เพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน ผลักดันให้เกิดการขยายผลจากท้องถิ่นสู่ระดับประเทศ ด้วยการใช้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม จาก วว. และหน่วยงาน เครือข่าย อีกทั้งยังเป็นการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจหมุนเวียนอย่าง เป็นรูปธรรม” ดร.เรวดี กล่าว
GreenNetwork4.0 March-April
2021
22/4/2564 BE 12:16
04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 35
22/4/2564 BE 12:16
บริการดานวิศวกรรมไฟฟา
ใหบริการงานกอสรางสถาน�ไฟฟาระบบแรงดันไฟฟา 115 เควี และปรับปรุงสถาน�ไฟฟา ใหบริการกอสรางสายสงระบบ 115 เควี งานจัดหาและติดตั้งระบบสื่อสาร, ระบบ Intertrip และระบบ Teleprotection งานจัดหาและติดตั้งระบบสื่อสาร และเสนใยแกวนำแสง
กองบริการวิศวกรรมระบบสง การไฟฟาสวนภูมิภาค 200 ถนนงามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 02-590-9590 โทรสาร 02-590-9598 Email : egs@pea.co.th 04517-1_M15 (1) 104_Green Network_Mar-Apr21.indd 36
http://sbu.pea.co.th 22/4/2564 BE 12:16