Green Network Issue 105

Page 1

06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 1

14/6/2564 BE 18:00


06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 2

14/6/2564 BE 18:00


06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 3

14/6/2564 BE 18:00


CONNECT WITH ENERGY LEADERS DRIVING ASIA’S ENERGY TRANSITION Future Energy Asia 2021 will be held from 25-27 August 2021 at BITEC, Bangkok (Thailand) and for 2021, the exhibition and summit will focus on growth resurgence post COVID-19 combined with enabling the energy transition and transformation mission for the region. The exhibition and summit will be attended by Energy Ministers, Policy Makers, Energy Majors including NOCs and IOCS, Power Generation authorities, midstream gas and LNG players, EPCs and Project Consultants and renewable energy developers. The conference will advance innovation and collaboration with the participation of key energy stakeholders, project developers, policy makers and Ministers. Participate in Future Energy Asia 2021 and network with key decision makers from across the globe.

5,000+

SENIOR DECISION MAKER CONFERENCE DELEGATES

200+

100+

100+

STRATEGIC & TECHNICAL CONFERENCE SESSIONS

Endorsed by

06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 4

25 - 27 AUGUST 2021 BITEC, BANGKOK, THAILAND

ASIA’S LEADING INTEGRATED ENERGY TRANSFORMATION EVENT www.FutureEnergyAsia.com

Meet asia’s energy leaders live and in-person within a safe and secure environment.

1,000+

VISITING ENERGY PROFESSIONALS

INDUSTRY LEADING SPEAKERS

E X H I B I T I O N A N D S UMMIT

GLOBAL & REGIONAL EXHIBITORS

5

EXHIBITING INTERNATIONAL COUNTRY PAVILIONS

Co-hosts

CONTACT US FOR MORE PARTICIPATION DETAILS. E: FEA.Sales@dmgevents.com T: +65 6856 5205

Organised by

14/6/2564 BE 18:00


06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 5

14/6/2564 BE 18:00


06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 6

14/6/2564 BE 18:00


คณะที่ปรึกษา ดร.ปยสวสัด์ิ อมัระนนัทน ดร.อศัวนิ จนิตกานนท ดร.ประเสรฐิ ภัทรมยั ประสงค ธาราไชย ดร.ประเสรฐิ สนิสขุประเสรฐิ ไกรฤทธ์ิ นลิคหูา ดร.ทวารฐั สตูะบตุร รศ. ดร.สงิห อนิทรชโูต

นนินาท ไชยธรีภญ ิ โญ ศ. ดร.ธงชยั พรรณสวสัด์ิ พานชิ พงศพโิรดม ดร.กมล ตรรกบตุร ดร.วฑิรูย สมิะโชคดี ดร.สรุพล ดาํรงกติตกิลุ ชาย ชวีะเกตุ

บรรณาธิการอำนวยการ/ บรรณาธิการผูพิมพโฆษณา กติติ วสิทุธริตันกลุ บรรณาธิการ กติติ วสิทุธริตันกลุ บรรณาธิการขาว สุรียพร วงศศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ณัฐชยา แกนจันทร พิสูจนอักษร อำพันธุ ไตรรัตน ศิลปกรรม พฤติยา นิลวัตร, กันยา จำพิมาย ประสานงาน ภัทรกนัต กจิสนิธพชัย ฝายการตลาด ทิพวัลย เข็มพิลา, กัลยา ทรัพยภิรมย, วีรวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝายการตลาด ชตุิมณฑน บัวผัน ฝายวิเทศสัมพันธ กรรณิการ ศรีวรรณ แยกสี บริษัท คลาสิคสแกน จำกัด โรงพิมพ หจก.รุงเรืองการพิมพ

เจาของ บรษิทั เทคโนโลยี มเีดยี จาํกดั

Editor Talk

สวัสดีครับ ทานสมาชิกและทานผูอานทุกทาน

วันที่ 5 มิถนุ ายน ของทุกป เปน วันสิง่ แวดลอมโลก ในป พ.ศ. 2564 นี้ โครงการ สิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme หรือ UNEP) ไดกําหนด Theme วันสิ่งแวดลอมโลกวา “Ecosystem Restoration (การฟนฟู ระบบนิ เ วศ)” เพื่ อ ป อ งกั น หยุ ด และย อ นกลั บ ความเสื่ อ มโทรมของระบบนิ เ วศ ในทุกทวีปและในทุกมหาสมุทรทัว่ โลก เพือ่ ชวยยุตคิ วามยากจน ตอสูก บั การเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศ และปองกันการสูญพันธุของสิ่งมีชีวิตครั้งใหญ โดยปากีสถาน เปนเจาภาพจัดงาน ซึ่งไดจัดประชุมผานแพลตฟอรมออนไลน บนเว็บไซต World Environment Day และ Youtube ในระหวางวันที่ 4-5 มิถุนายน เพื่อรวมกันฟนฟู ระบบนิเวศอันเปราะบางกอนจะสายเกินไป สําหรับประเทศไทย สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม (สผ.) รวมกับ องคการระหวางประเทศเพื่อการอนุรักษธรรมชาติ (IUCN) และ สถาบันสิ่งแวดลอมไทย (TEI) ไดเผยแพร “รายงานสรุปการประเมินระดับโลก วาดวยความหลากหลายทางชีวภาพและบริการจากระบบนิเวศ (Global Assessment Report) ฉบับภาษาไทย” ภายใตการสนับสนุนจาก The Norwegian Environmental Agency (NEA) รายงานฉบับนี้ สะทอนใหเห็นวาธรรมชาติและประโยชนที่มนุษยไดรับ จากธรรมชาติกาํ ลังเสือ่ มโทรมลงทัว่ โลก ซึง่ ลวนเกิดจากการกระทําของมนุษย หากไมมี การเปลี่ยนแปลงเชิงปฏิรูปก็อาจจะสายเกินไป โดยในชวง 50 ปที่ผานมา ธรรมชาติ ทั่วโลกถูกแปรสภาพไปอยางมีนัยสําคัญ เกิดความสูญเสียทั้งบนบกและในทะเล จนยากทีจ่ ะฟน สภาพใหกลับคืนมา พืน้ ทีช่ มุ น้าํ กวารอยละ 85 สูญเสียและถูกแปรสภาพ พื้ น ที่ ป าไม ล ดลง โดยเฉพาะในพื้ น ที่ เ ขตร อ นที่ มี ค วามหลากหลายทางชี ว ภาพสู ง แนวปะการังกวาครึ่งหนึ่งไดสูญเสียไป ระดับน้ําทะเลโดยเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้น 16-21 เซนติเมตร อีกทั้งปญหาเหลานี้ยังถูกเรงดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทายสุด ไดเนนย้าํ ใหองคกรทองถิน่ ตระหนักในองคความรู นวัตกรรม และผสาน การจัดการองคความรูของทองถิ่น ในเขตเมืองที่กําลังขยายตัวมากขึ้นในทุกภูมิภาค ของโลกใหแกปญหาโดยอาศัยธรรมชาติเปนฐาน (Nature Based Solution) ที่สําคัญ ใชทรัพยากรและการบริโภคดวยความระมัดระวังถึงผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ ตามมา จึงจะ ปกปองดูแลสิ่งแวดลอมของโลกนี้ได นิตยสาร Green Network ฉบับที่ 105 นี้ เจาะลึก “เทคโนโลยีลดขยะอาหาร ในกรุงเทพมหานคร : เมืองแหงความอรอย” เพือ่ นําเสนอเทคโนโลยีทชี่ ว ยในการจัดการ ขยะอาหารตัง้ แตการผลิต การใชวตั ถุดบิ และการจัดการขยะอาหารหรืออาหารสวนเกิน เพือ่ ลดพืน้ ทีก่ ารฝงกลบ ลดการเกิดกาซมีเทน และกาซเรือนกระจก ซึง่ เปนตนเหตุสาํ คัญ ทําใหเกิดภาวะโลกรอน ตามดวย “คายรถ EVชั้นนําในไทย แนะรัฐออกนโยบายหนุน EV ชัดเจน สรางแรงจูงใจใหผูบริโภคใช EV กอนใชเต็มรูปแบบในป 2578”, “GPSC จับมือ CHPP พัฒนานวัตกรรม G Float รุกตลาดทุนโซลารลอยน้ํา ชูจ�ดเดนผลิตไฟ ประสิทธิภาพสูง อายุการใชงานนาน-เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม”, “Hybrid Wind-Solar Cell คุม คาทุกมิต”ิ , “ไมโครกริด ชวยใหธรุ กิจเพิม่ ความยืดหยุน ดานการจัดการพลังงาน” และคอลัมนที่นาสนใจอีกมากมาย เชิญพลิกอานไดในฉบับครับ พบกันฉบับหนา สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถ.ศรอียธุยา แขวงทงุพญาไท เขตราชเทวี กรงุเทพฯ 10400 โทรศพัท 0-2354-5333 (ฝายการตลาด ext. 503) แฟกซ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com e-Mail : editor@greennetworkthailand.com

06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 7

14/6/2564 BE 18:00


Contents May-June 2021 18

9 14

9

14

18

Cover Story

27

Report

30

Automotive

32

คายรถ EV ชั้นนําในไทย แนะรัฐออกนโยบายหนุน EV ชัดเจน สรางแรงจูงใจใหผูบริโภคใช EV กอนใชเต็มรูปแบบในป 2578 กองบรรณาธิการ อีทราน ระดมทุน Series A เปนผลสําเร็จ เตรียมเปดตัวมอเตอรไซคไฟฟา 2 รุน พรอมกาวสูผูนํามอเตอรไซคพลังงานสะอาดภายใน 3 ป กองบรรณาธิการ

20 GPSC จับมือ CHPP พัฒนานวัตกรรม G Float

รุกตลาดทุนโซลารลอยนํ้า ชูจุดเดนผลิตไฟประสิทธิภาพสูง อายุการใชงานนาน-เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม กองบรรณาธิการ

24

26 กกพ. เลื่อนประกาศผลโรงไฟฟาชุมชน เปน 26 ส.ค. นี้

เทคโนโลยีลดขยะอาหารในกรุงเทพมหานคร : เมืองแหงความอรอย กองบรรณาธิการ

Solar

22

Energy

In Trend

ทีมกรุป เผยปรากฏการณลานีญา ป ’64 ทําใหฝนทิ้งชวง แนะเตรียมรับมือนํ้าหลาก กองบรรณาธิการ

33 34

กองบรรณาธิการ Hybrid Wind-Solar Cell คุมคาทุกมิติ พิชัย ถิ่นสันติสุข

Innovation

ศาสตราจารยวิจัยดีเดน จาก มช. สราง “นวัตกรรมสีเขียว” วิเคราะหทางเคมี จากภูมิปญญาบรรพชนฝาง กองบรรณาธิการ

News

PT LPG จัดโครงการ “PT TAXI TRANSFORM เปลี่ยนเพื่ออนาคต” ตั้งเปาติดตั้งอุปกรณเชื้อเพลิงใหมใหแท็กซี่ NGV 10,000 คัน ภายในสิ้นปนี้ กองบรรณาธิการ อีสท วอเตอร ผนึกกําลัง ที ยูทิลิตีส รวมพัฒนาแหลงนํ้าในพื้นที่ EEC กองบรรณาธิการ ลองกิ โซลาร เผยรายไดไตรมาสแรกป ‘64 เพิ่มขึ้น 84.35% ชูกลยุทธใหมเนนคุณภาพ ตนทุน และแบรนด หนุนรายไดและผลกําไร เติบโตตอเนื่อง กองบรรณาธิการ

9

Technology

ไมโครกริดชวยใหธุรกิจเพิ่มความยืดหยุนดานการจัดการพลังงาน เจมส ฮอกกินส

06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 8

14/6/2564 BE 18:00


Cover Story

เทคโนโลยี

ลดขยะอาหาร ในกรุงเทพมหานคร :

กองบรรณาธิการ

เมืองแหงความอรอย

สถาบันสิง่ แวดลอมไทย (TEI) รวมกับ โครงการสิง่ แวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) และ กรุงเทพมหานคร จัดงานเสวนาออนไลน “เทคโนโลยีการลดขยะอาหาร: โอกาสสําหรับ กรุงเทพมหานคร” ภายใต “โครงการ Build back better: using green and Digital Technologies to Reduce Food Waste at Consumer Level” เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูล สถานการณขยะอาหาร การดําเนินงานเพือ่ จัดการขยะอาหารของกรุงเทพฯ รวมทัง้ แบงปน กรณีตัวอยางในการนําเทคโนโลยีมาใชเพื่อถนอมอาหารและชวยในการจัดการขยะอาหาร ตั้งแตการผลิต การใชวัตถุดิบ และการจัดการขยะอาหารหรืออาหารสวนเกิน

UNEP ใหความสําคัญในการใชเทคโนโลยีลดขยะอาหารใน กทม. มุงลดปญหาขยะอาหาร - แกปญหาสิ่งแวดลอม

Mr.Mushtaq Memon, Regional Coordinator for Resource Efficiency โครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP) กลาววา UNEP ไดใหความสําคัญ เรือ่ งการใชเทคโนโลยีการลดขยะอาหารในกรุงเทพมหานคร เนือ่ งดวยกรุงเทพมหานคร เปนเมืองแหงอาหาร แตเบื้องหลังของอาหารเหลานั้นมีการสูญเสีย กลับมีปญหาขยะ อาหาร ซึ่งนํามาสูปญหาสิ่งแวดลอม ทั้งพื้นที่การฝงกลบ การเกิดกาซมีเทน กาซ เรือนกระจก มีปญหาการสูญเสียในการขนสง ยอนกลับไปถึงตนทางการเพาะปลูก ซึ่งตองใชที่ดินและทรัพยากรตางๆ จํานวนมาก

9 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 9

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


“ในวันนีจ้ ะมาพูดถึงการใช้เทคโนโลยีทจี่ ะเข้ามา ช่วยลดขยะอาหารในภาคของการบริโภค ทัง้ นีภ้ าคการ บริโภคไม่ได้หมายถึงบ้านเรือนเพียงอย่างเดียว แต่รวม ไปถึงศูนย์อาหารในมหาวิทยาลัย ร้านอาหารต่างๆ ต้อง ดูทั้งตลอดห่วงโซ่อาหาร ซึ่งเทคโนโลยีจะเข้ามาช่วย ในการขนส่ง การบรรจุภัณฑ์ การจัดการ Big Data หรือนวัตกรรมอื่นๆ ได้อย่างไร ซึ่งเป็นประเด็นสำาคัญ ที่ต้องพิจารณาต่อไป” Mr.Mushtaq Memon กล่าว

กทม. เน้นลดขยะมูลฝอยที่แหล่งก�ำเนิด เพิ่มประสิทธิภำพกำรจัดกำรมูลฝอย ก�ำจัดอย่ำงถูกหลักวิชำกำร

ดร.ภานุวฒ ั น์ อ่อนเทศ สำานักงานจัดการมูลฝอย และสิ่ ง ปฏิ กู ล สำ า นั ก สิ่ ง แวดล้ อ มกรุ ง เทพมหานคร กล่าวว่า แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556-2575) ได้จัดทำาแผนภายใต้วิสัยทัศน์ของ ประชาชน โดยให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ไม่ว่า จะเป็นประชาชน ภาคเอกชน ซึ่งได้กระจายไปทุกกลุ่ม 6 เขตในการแลกเปลี่ยนและให้ความคิดเห็น ภายใน 10 ปีของแผนฯ กรุงเทพมหานครจะเป็น มหานคร ปลอดภัยและจะเป็นมหานครที่สะดวกสบาย ประหยัด และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ด้านมหานครปลอดภัยจะเป็นเรื่องของน้ำาเสีย ขยะ และมลพิษอากาศ ซึง่ ต้องทำาให้มลพิษหมดไปและ ประชาชนปลอดภัย ในส่วนของการจัดการขยะในแผน พัฒนากรุงเทพมหานคร 20 ปี ซึง่ มีวสิ ยั ทัศน์ทปี่ ระชาชน เห็นด้วย คือ กรุงเทพมหานครมีการบริหาร จัดการมูลฝอยและของเสียอันตรายด้วย แนวคิดขยะเหลือศูนย์ โดยนำากลับ มาใช้ ใ หม่ แ ละขยะเหลื อ น้ อ ย ที่สุด และกำาจัดที่เหลือด้วย เทคโนโลยีทมี่ ปี ระสิทธิภาพ

10 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 10

โดยเป้ า ประสงค์ ข องกรุ ง เทพมหานครจะลดขยะ มูลฝอยที่แหล่งกำาเนิดเป็นหลักและเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการมูลฝอยตั้งแต่แหล่งกำาเนิด จนถึงการกำาจัด อย่างถูกหลักวิชาการ ซึง่ เป้าหมายสำาคัญ คือ เป้าหมาย ที่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง สำาหรับ ต้น ทาง เป็นจุดสำาคัญที่อยากให้ทุก ภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมกับกรุงเทพมหานครในการ จัดการขยะ โดยใช้หลักการ 3R คือ การนำาขยะไปใช้ ประโยชน์เพิ่มขึ้นมากกว่า 50% ก่อนสิ้นสุดแผน 20 ปี ได้ดำาเนินมาเกือบครึ่งหนึ่งของแผนแล้ว แต่ยังไม่ถึง เป้าหมาย จึงอยากให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ส่วน กลางทาง มุ่งเน้นที่จะแยกขยะอันตราย ซึ่งมีระบบเก็บขยะอันตรายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ โดย ประชาชนก็เข้ามาส่งเสริมในการเก็บแยกขยะอันตราย ออกจากขยะทัว่ ไป และ ปลายทาง กำาจัดโดยเทคโนโลยี ในการกำาจัดขยะที่เหลือนำาเอาไปกำาจัดขยะอาหารที่ ปลายทาง ก่อนจะทิ้งไปในบ่อฝังกลบ ซึ่งจะก่อให้เกิด ปัญหาจำานวนมาก เช่น การหมักปุ๋ยที่สถานีอ่อนนุช มี ก ารหมั ก แบบผสมผสานหรื อ MBT ซึ่ ง สามารถ ใช้ประโยชน์ได้ และการใช้เตาเผา

น�ำแนวคิดจำก UN มุ่งลดขยะอำหำร ที่แหล่งก�ำเนิดก่อน โดยใช้หลัก 3R

สำาหรับภาพรวมของกรุงเทพมหานคร ต้องจัดการ ตามแผน โดยลดทีแ่ หล่งกำาเนิดก่อน ด้วยการส่งเสริม ให้ประชาชนหรือทุกภาคมีการใช้หลักการ 3R ซึ่งใน กระบวนการคัดแยกขยะมีการพัฒนาองค์ความรู้ ซึ่ง เป็นส่วนที่ทำาให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในเรื่อง การเก็ บ รวบรวมและขนส่ ง พยายามที่ จ ะเก็ บ ขยะ แยกประเภท พั ฒ นารถเก็ บ ขยะให้ มี ช่ อ งแยกขยะ อั น ตรายและขยะรี ไ ซเคิ ล ไม่ ร วมกั บ ขยะชิ้ น ใหญ่ พวกใบไม้กงิ่ ไม้ ในอนาคตจะมีการเอาขยะอาหารไปใช้ ประโยชน์ได้มากขึ้น

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


แนวคิ ดในการแก ไ ขป ญ หาขยะอาหาร ที่เพิ่มขึ้น โดยนําแนวคิดจาก UN เขามาใชโดย มุงเนนการลดขยะที่แหลงกําเนิดกอน โดยใช หลัก 3R จากอดีตเราอาจจะเนนการกําจัดเปน สวนใหญ แตจะเริ่มมุงเนนลดการใช ใชซ้ํา และ การนํากลับมาใชใหม ใหมากขึ้น ซึ่งทําที่แหลง กําเนิดและการนําไปแปรรูปเปนปุยอินทรียและ พลังงานตางๆ กอนจะไปสูกระบวนการกําจัด โดย 10 ปที่ผานมาก็ไดใชวิธีนี้และอีก 10-20 ป ก็จะดําเนินการในวิธีนี้ตอไป “องคประกอบขยะที่เปนกังวลจะเปนเศษ ผักผลไมทต่ี ดิ มากับรถขนขยะ ทางกรุงเทพมหานคร ไดไปสํารวจรถขนขยะทีป่ ลายทางโดยการเทขยะ รวมกันแลวทําการคัดแยกขยะ ซึง่ จะทําการคัดแยก กันทุกสัปดาห ในแตละปจะมีเศษผักผลไม 47% กิง่ ไมใบไม 6% รวมขยะอินทรียแ ลวประมาณ 50% แตจะมีองคประกอบพลาสติกทีเ่ พิม่ ขึน้ 25% เปน พลาสติกที่ใชประโยชนไมได เชน ถุงแกง ซองขนม เปลือกลูกอม หรือบรรจ�ภัณฑตางๆ ที่รานซื้อ ของเกาไมรับซื้อ อีกสวนหนึ่งเปนกระดาษ 13% ที่ถูกทิ้งในรถขนขยะ ซึ่งใชประโยชนไมไดเลย อาจจะเปนกระดาษเคลือบมัน กระดาษเคลือบ เทียน ฯลฯ และเปนขยะรี ไซเคิลจําพวกแกว 2.46%, โลหะ 1.75% และ Textiles 1.86%” ดร.ภานุวัฒน กลาว

11 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 11

GreenNetwork4.0 May-June

กทม.พยายามใหประชาชนทุกคน มีสวนในการลดขยะที่ตนทาง และสงเสริมการใชซํ้า

จะเห็นไดวา ภาพรวมในการจัดการขยะ ในกรุงเทพมหานคร มุง เนนการลดการคัดแยกที่ แหลงกําเนิดมาตลอด ซึ่งพยายามใหประชาชน ทุกคนมีสวนในการลดขยะที่ตนทาง Reduce, Reuse กอน โดยทุกภาคสวนใหความรวมมือใน การประกาศนโยบายระดับประเทศในการลดใช ถุงพลาสติก เพิ่มความหนาถุงพลาสติก ซึ่งชวย ในการลดการทิ้งขยะ และ Reuse สงเสริมการ ใชซ้ํา เชน ขวดแกวที่บรรจ�เครื่องดื่มที่สามารถ ใชซ้ําชวยลดการกําจัด ในสวน Recycle ใหประชาชนมีสวนรวม ในการคัดแยก โดยคัดแยกขยะรี ไซเคิลแลวนํา ไปขายที่รานรับซื้อของเกาหรือบริจาคใหคนที่มี อาชีพเก็บของเกาขายเพื่อสงโรงงานรี ไซเคิล ในสวนเศษอาหารอยากใหประชาชนทําทีต่ น ทาง ก อ น เนื่ อ งจากยั งไม มี ร ะบบเก็ บ ครอบคลุ ม ทุกพืน้ ที่ โดยใชประโยชนในการหมักปุย การทํา น้ําหมักชีวภาพ Bio gas และการเลี้ยงสัตว ใน สวนของขยะอันตรายมีทั้งสวนที่รี ไซเคิลไดและ รีไซเคิลไมได ขยะอันตรายที่รีไซเคิลไมไดจะสง ใหโรงงาน โดยใหเอกชนนําไปกําจัดโดยเฉพาะ ตั น ละหมื่ น กว า บาท ซึ่ ง ราคาค อ นข า งแพง

2021

14/6/2564 BE 18:00


สําหรับขยะอันตรายที่รีไซเคิลไดนําไปใหรานรับซื้อของเกา และขยะ สุดทายที่กรุงเทพมหานครตองกําจัดในแตละวันมีจํานวน 10,000 ตัน ตอวัน ทางกรุงเทพมหานครไดพยายามหาเทคโนโลยีใหมเขามาชวย ไมวาจะเปนการหมักปุยหรือการเผาไดพลังงาน เพื่อที่จะลดการ ฝงกลบ ลดกาซมีเทน และนําขยะกลับมาใชใหมใหมากขึ้น

กลุม เซ็นทรัลเผยจัดทําโครงการ Journey to zero อัตราขยะที่แปรรูปในป ’63 เพิ่มขึ้น 2,645 ตัน

ปรียวัท ภูเ กษแกว บริษทั กลุม เซ็นทรัล จํากัด กลาวถึงแนวทาง ในการจัดการขยะอาหารวา สถานการณกอ นป พ.ศ. 2562 ปริมาณขยะ ที่ไดแปรรูปนอยมาก อยางไรก็ตามในป พ.ศ. 2562-2563 ปริมาณขยะ ที่กลุมฯ นําไปแปรรูปเพิ่มขึ้น 6-8 ตัน เนื่องจากกลุมเซ็นทรัลมีกลุม ธุรกิจทีห่ ลากหลาย ไมวา จะเปนธุรกิจคาปลีก รานสะดวกซือ้ โรงแรม ภัตตาคาร และอสังหาริมทรัพย ทุกกลุมธุรกิจไดเขารวมในป พ.ศ. 2562 โดยมีนโยบายดานสิง่ แวดลอมภายใตแคมเปญ Central Group Love the Earth ซึ่งมีเปาหมายลดขยะลงหลุมฝงกลบใหเหลือศูนย ภายใตโครงการ Journey to zero โดยใชแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) เพือ่ ผลักดันใหมกี ารคัดแยกขยะเขาสูก ระบวนการ แปรรูปใหเกิดประโยชนมากที่สุด หลัง จากกลุม เซ็ น ทรั ล ดํ า เนิ น โครงการ Journey to zero พบวาในป พ.ศ. 2563 อัตราขยะทีแ่ ปรรูปมีปริมาณเพิม่ ขึน้ 2,645 ตัน จากขยะทั้งหมด ซึ่งไดมีการประชาสัมพันธใหความรูกลุมธุรกิจ โดยมีนําเทคโนโลยีมาเกี่ยวของดวย

กลุมเซ็นทรัลวางมาตรการปองกันการลด การสูญเสียอาหารและขยะอาหาร 5 ขั้นตอน

ดานมาตรการในการลดการสูญเสียอาหารและขยะอาหาร (Food Lost and Food Waste Reduction) กลุมเซ็นทรัลมีกรอบ นโยบายทีช่ ดั เจนเกีย่ วกับการลดขยะและขยะอาหาร ซึง่ มีแนวนโยบาย สําหรับการพัฒนาแผนปฏิบัติงานปองกันการลดการสูญเสียอาหาร และขยะอาหาร 5 ขัน้ ตอน คือ 1) การปองกัน (Prevention) ปองกัน การเกิดขยะตัง้ แตตน ทางโดยใชเทคโนโลยีเขามาเกีย่ วของ โดยระบบ Auto Replenishment เปนสวนชวยควบคุมปริมาณสินคาในการ สั่งซื้อสินคาปลายทางใหเหมาะสมกับกลุมลูกคาที่จําหนายในแตละ พื้นที่ เพื่อปองกันการสูญเสียอาหาร 2) การจัดสรรอาหารที่ยัง สามารถบริโภคไดเพือ่ ประโยชนสงู สุด (Optimization) นําอาหารที่ สามารถบริโภคไดไปบริจาค มีมูลนิธิสโกลารส ออฟ ซัสทีแบรนซ ประเทศไทย (SOS) ซึ่งเปนภาคีที่กลุมเซ็นทรัลนําอาหารไปบริจาค และมี ม าตรการลดราคาสิ น ค าในช ว งตอนเย็ น เช น ใน Tops, Family Mart อีกกลุมโรงแรมจะลดตั้งแตขั้นตอนการเตรียมอาหาร ซึ่งวัตถุดิบตองใชแปรรูป ใหเกิดประโยชนใหมีคามากที่สุด โดยจะ ติดตอพูดคุยกับเชฟตลอด 3) การนํามาผลิตเพื่อใชใหม (Recycle) การนําขยะอาหารเขาสูกระบวนการเพื่อนํากลับมาใชใหม มี 2 สวน ที่ไดดําเนินการ คือ การทําเปนปุยและ Biogas ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่ เขามาชวยในการทํางานแปรรูป 4) การกําจัดเพือ่ พลังงานมาใชใหม (Recovery) การกําจัดและการเผาเพื่อเปนพลังงานไฟฟา ซึ่งเปน สวนที่ตองทํางานรวมกับกรุงเทพมหานคร และ 5) การกําจัด (Disposal) ซึ่งเปนขั้นตอนที่ยากและทํานอยที่สุด คือ การฝงกลบ และการเขาเตาเผา

รวมมือกับ กทม. คัดแยกขยะตนทาง นํา Waste Management App วัดปริมาณขยะ ที่คัดแยกในแตละวัน

ปรี ย วั ท กล า วถึ ง แนวทางจั ด การขยะอาหารที่ ร ว มมื อ กั บ กรุงเทพมหานคร โดยมีศูนยการคาที่กรุงเทพฯ และนนทบุรี มีการ คัดแยกขยะตนทาง พวกขยะอินทรีย ทั้งผูประกอบการรานคา ศูนย อาหารตางๆ ที่คัดแยกไดทางกรุงเทพมหานครจะนําไปเขาสูระบบ การแปรรูป ไมวาจะเปน Biogas หรือปุยอินทรีย ในสวนการทํางาน เบือ้ งตนจะใหความรูแ กผปู ระกอบการในศูนยการคา โดยเทคโนโลยี ที่ไดนํามาใช Waste Management Application ใชในการบันทึก ข อ มู ลในแต ล ะประเภทและส ง ข อ มู ลไปที่ สํ า นั ก งานใหญ เ พื่ อให ทราบถึงปริมาณขยะที่คัดแยกในแตละวัน ในศูนยการคามีขยะ อะไรบาง เพื่อชวยคิดแผนในการจัดการและมองหาองคกรที่จะ เขามาชวยแปรรูปขยะ

12 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 12

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


ตลาดถนอมมิตรคัดแยกขยะที่ตนทาง สามารถดึงขยะออกจากระบบ 46 ตันตอเดือน

ศุภกร กิจคณากร จากตลาดถนอมมิตร กลาววา ตลาด ถนอมมิตรตัง้ อยูท ี่ใจกลางชุมชนบริเวณถนนวัชรพล-รามอินทรา เขตบางเขน เปนตลาดขนาดกลางถึงใหญ มีแผงคาประมาณ 1,000 แผง ผูคาประมาณ 1,300 คน ลูกคาที่เขา-ออกตลาด ประมาณ 12,000 คนต อ วั น ร า นค า ส ว นใหญ เ ป น ร า นค า เกีย่ วกับอาหาร อาหารปรุงสําเร็จ 30% ของสด 45% ซึง่ จะมีขยะ อิน ทรียเปนสวนใหญ ขยะอิน ทรียในตลาดประกอบไปดวย ของสด เศษผักผลไม ซากสัตว และเศษอาหาร การจัดการขยะในตลาดถนอมมิตร เริ่มจากคัดแยกที่ ตนทาง ทีแ่ ผงสินคา ไมวา จะเปนเศษผักผลไม ซากสัตว จะมีถงั ทิ้งประจําแผง และมีการพูดคุยกับผูคา เชน หัวกุง จากเดิม ที่รวมกันใสถุงแลวทิ้งใสถังขยะ ใหเปลี่ยนเปนรวบรวมทิ้งที่ถัง โดยทางตลาดจะเก็บวันละ 2 รอบ สวนเศษผักผลไม ดวยมี ปริมาณมากจึงเปลีย่ นจากถังมาใสเขงแทน สําหรับผัก กอนทีจ่ ะ มาถึงตลาดจะถูกตัดแตงกอน ซึง่ จะคัดแยกเศษผักออกมา สวน เศษอาหาร เวลาที่เก็บโตะหรือเวลาลางแผงและมีเศษขยะ หลงเหลื อให เ ทลงถั งไว ทางตลาดจะไปรั บ วั น ละ 2 รอบ หลังเที่ยง 1 รอบ และหัวค่ําอีก 1 รอบ

13 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 13

เมื่อรวบรวมเศษผักผลไมจะเขามาในกระบวนการผลิตกาซ ชีวภาพ ซึ่งทางตลาดฯ ไดงบสนับสนุนจากสํานักงานคณะกรรมการ กํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) เพือ่ ลดการจัดการขยะในกรุงเทพมหานคร ในชวงแรกประสบปญหาในการใช เนื่องจากระบบนี้เหมาะกับเศษ อาหารเท า นั้ น หากนํ า พวกไส ป ลาหรื อ ผั ก บางชนิ ด ที่ มี เ ส น ใยสู ง จะเขาไปพันกับตัวมอเตอร ทําใหระบบลม จึงกําจัดไดเฉพาะพวก เศษอาหาร เศษผักบางชนิดที่มีเสนใยนอย ผลิตภัณฑที่ ไดเปนกาซ ชีวภาพ น้าํ หมักชีวภาพ และปุย สวนขยะอินทรียท มี่ ปี ญ  หา แกปญ  หา โดยนําไปทําปุย หมัก ซึง่ ใชเวลานานและเปลืองพืน้ ที่ จึงใชเครือ่ งกําจัด เศษอาหาร ซึ่งเปนเทคโนโลยีจากเกาหลีใต เหมาะสําหรับพวกไสไก ไสปลา และเศษผักทีม่ เี สนใยสูง ในการทํางานตัวเครือ่ งจะรีดน้าํ ออก และใชความรอนในการอบใชเวลา 24 ชั่วโมง และนําไปหมักตออีก 2 สัปดาห ที่ผานมา ตลาดฯ ไดเก็บสถิติโดยเฉลี่ย สามารถดึงขยะออก จากระบบ 46 ตันตอเดือน ทั้งนี้ ตลาดถนอมมิตรไดต้ังเปาไวจะลด ใหได 1 ใน 3 ของขยะทั้งหมด เพื่อชวยลดภาระของหนวยงาน ภาครัฐ

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


Report กองบรรณาธิการ

สมาคมยานยนตไฟฟาไทย (EVAT) รวมกับ สมาคมเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานไทย และ อินฟอรมา มารเก็ตส จัดสัมมนาออนไลน (WEBINAR) ในหัวขอ “มุมมองการเปลี่ยนเทคโนโลยีสูยานยนตไฟฟาป ค.ศ. 2035 จากผูป ระกอบการผลิตรถยนตชนั้ นําของประเทศ” โดยมีผเู ขารวมเสวนาทีค่ ร่าํ หวอดในวงการยานยนต จากบริษั ทชั้นนํารวมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น พรอมเสนอแนะภาครัฐใหความสําคัญในการจัดทํานโยบาย นําเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย เหมาะสม ชวยสรางแรงจูงใจเอือ้ ประโยชนตอ การลงทุน แกผปู ระกอบการและผูบ ริโภค เพื่อกระตุนตลาดยานยนตไฟฟาเปลี่ยนเทคโนโลยีสูยานยนตไฟฟาป พ.ศ. 2578 และสรางการปรับเปลี่ยน การใชงานยานยนตเชื้อเพลิงน้ํามันมาสูยานยนตไฟฟามากขึ้นและตอเนื่อง

คแนะรัายรถ EV ชั้นนำในไทย ฐออกนโยบายหนุน EV ชัดเจน

สรางแรงจูงใจใหผูบริโภคใช EV กอนใชเต็มรูปแบบในป 2578

BMW ตั้งเปาผลิต Battery Electric Vehicle สําหรับยานยนตไฟฟา รองรับตลาดใหได 5 รุน ภายในปนี้

อนันตเดช อินทรวิศิษฏ ผูจัดการผลิตภัณฑยานยนต ไฟฟา E-Mobility Manager บริษัท บีเอ็มดับเบิลยู ประเทศไทย กลาววา ขณะนี้ยานยนตไฟฟาของประเทศไทยกําลังขับเคลื่อนไปตามแผน การดําเนินงานของการเปลี่ยนผานเทคโนโลยีเครื่องยนตสันดาป จากน้ํามันไปสูยานยนตไฟฟาในป ค.ศ. 2035 (ป พ.ศ. 2578) หรือ อีก 14 ปขางหนา ตามนโยบายรัฐบาล ซึ่งทาง BMW ไดดําเนินการ เปลี่ ย นผ า นการผลิ ต ยานยนต ไ ฟฟ า สนองนโยบายรั ฐ บาลไทย เชนเดียวกัน โดยภายในป พ.ศ. 2564 นี้ BMW ตั้งใจที่จะผลิต BEV (Battery Electric Vehicle) สําหรับยานยนตไฟฟาทีม่ เี ฉพาะมอเตอร ไฟฟาเปนตนกําลังใหยานยนตเคลื่อนที่ รองรับตลาดใหได 5 รุน 14

06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 14

ไดแก BMW i3, Mini Electric, BMW iX3 เปนรุนแรกใชระบบ ขับเคลื่อนรุนที่ 5, BMW i4 และ BMW iNEXT จากนั้นภายในป พ.ศ. 2566 จะพัฒนายานยนตไฟฟา BMW เพิ่มในตลาดทั้ง BEVs อีกอยางนอย 12 รุน และ PHEVs (Plug-in Hybrid Electric Vehicle) รถไฮบริดพลังงานไฟฟาแบบชารจได อยางนอย 13 รุน

ทิศทางยานยนตไฟฟาทั่วโลกในอนาคตดีขึ้น แนะรัฐกําหนดกฎระเบียบและนโยบายใหชัดเจน และตอเนื่อง

อนาคตยานยนตไฟฟาทั่วโลกกําลังมีทิศทางที่ดี ทั้งผูผลิตตาง สนใจผลิตเพิม่ ขึน้ และผูบ ริโภคใหความสําคัญเลือกใชยานยนตไฟฟา เพราะนอกจากจะชวยลดสภาวะโลกรอนแลว ราคาการชารจดวย ไฟฟาจะถูกลงกวาการใชน้ํามันเชื้อเพลิงหลายเทาตัว แตการผลิต

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


ก็จาํ เปนตองอาศัยบุคลากรทีม่ ที กั ษะ มีความเขาใจในเทคโนโลยีสมัยใหมและพรอม ที่จะปรับตัวอยูเสมอในการที่จะเรียนรูเพิ่มเติม รวมทั้งตองมี Mindset ที่ดี พรอม ถายทอดเทคโนโลยีจากรุนสูรุน “ประเทศไทยโชคดีที่มีฐานการผลิตชิ้นสวนยานยนต มีโรงงานผลิตชิ้นสวน ยานยนตและเปนผูร บั จางผลิตสินคา OEM (Original Equipment Manufacturer) ใหกับบริษั ทยานยนตช้ันนําของโลกหลายๆ บริษั ทมาอยางตอเนื่องและยาวนาน ทําใหคนุ เคยและทราบความตองการของกลุม ผูผ ลิตกลุม นักลงทุนจากตางประเทศ เปนอยางดี และมีความชํานาญในการผลิต จะปรับเปลี่ยนการทํางานไดงาย และ สะดวกขึน้ กวาในหลายๆ ประเทศ แตหากไมมกี ารกําหนดกฎระเบียบ เรือ่ งมาตรการ ภาษี มาตรฐานหรือทิศทางนโยบายภาครัฐทีช่ ดั เจนและตอเนือ่ ง จะทําใหผปู ระกอบการ นักลงทุนยายฐานการผลิตไปสูป ระเทศทีม่ แี นวนโยบายยานยนตไฟฟาทีช่ ดั เจนกวา ประเทศไทยได ทีส่ าํ คัญควรนอมรับฟงความคิดเห็นจากกลุม ลูกคาผูบ ริโภคแลวนํา มาปรับแกไข อยาละเลยเสียงวิจารณยานยนตไฟฟา รถยนตและผลิตภัณฑตางๆ ของบริษั ทที่ผลิตออกไป ซึ่งอาจจะมีประสิทธิภาพที่ ไมดีบางจากกลุมผูบริโภคที่ นําไปใช เพราะหากไมรับฟงเลยอาจจะทําใหธุรกิจไดรับผลกระทบได” อนันตเดช กลาว สําหรับ BMW ยังคงสานตอการพัฒนายานยนตไฟฟาที่ดีและเหมาะสมกับ ทุกๆ กลุมผูบริโภคอยางเต็มที่และพรอมที่จะใหความชวยเหลือภาครัฐของไทย ในการถายทอดองคความรู ประสบการณผลิตยานยนตไฟฟาแกบุคลากรและ หนวยงานของไทยในทุกๆ ภาคสวนอยางดีที่สุด

สํ า หรั บ ผู ที่ ใ ช ย านยนต เ ชื้ อ เพลิ ง น้ํ า มั น ปกติ การที่สงเสริมใหผูบริโภคหันมาใชยานยนตไฟฟานั้น ภาครัฐจะตองกําหนดนโยบายในการชวยเหลือทั้ง ผู บ ริ โ ภคและผู ผ ลิ ต ให ชั ด เจน มี แ ผนงานรองรั บ ระยะสัน้ ระยะกลางและระยะยาว และกําหนดมาตรการ ของการสงเสริมยานยนตไฟฟาใหเปนเชิงรุก โดยปรับ เวลาและแผนสงเสริมทุกดานใหเร็วขึ้น ซึ่งกระทรวง พลังงานและหนวยงานทีเ่ กีย่ วของตองเรงผลักดัน เพือ่ ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยียานยนตไฟฟา และการใชพลังงานของโลก และเทาทันกับแรงกดดัน ทางการตลาดและพฤติกรรมผูบริโภค ที่เปลี่ยนแปลง รวดเร็วมากตามเทคโนโลยีทเ่ี ปลีย่ นไปดวย อาจกําหนด แผนงบประมาณในการอุดหนุนระยะสั้นเทาใด แผน ระยะกลางเทาใด และแผนระยะยาวเทาใด พรอม จัดตั้งหนวยงานที่รับผิดชอบแบบบูรณาการโดยตรง เพื่ อ กํ า หนดยุ ท ธศาสตร แ ผนงาน เพื่ อ ศู น ย ก ลาง ประสานงานและดําเนินการสงเสริมสนับสนุนยานยนต ไฟฟาใหไปในแนวทางเดียวกัน มีการจัดทําแผนโรดแมป ควบคุมกํากับดูแล และประสานงานทั้งภาครัฐและ เอกชน รวมทั้งเรื่องภาษีและการจดทะเบียนยานยนต ไฟฟา การสรางสถานีชารจไฟฟา ที่ยังไมครอบคลุม ทั่วประเทศ และการพัฒนาระบบโครงขายไฟฟาที่ใช เทคโนโลยีสารสนเทศเชื่อมตอผานมิเตอรอัจฉริยะ เพื่ อให ก ารใช ร ถยนต ไ ฟฟ า สามารถรองรั บ ระบบ Vehicle-to-Home (V2H) ในอนาคตได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ เพือ่ เปนอีกแรงจูงใจทีจ่ ะใหกลุม ผูบ ริโภค ยานยนตที่ใชน้ํามันเปนเชื้อเพลิงหันมาปรับเปลี่ยนใช ยานยนตไฟฟามากขึ้น

รัฐตองกําหนดนโยบายยานยนตไฟฟาใหชัดเจน จูงใจใหผูบริโภคหันมาใชยานยนตไฟฟา

พงษศักดิ์ เลิศฤดีวัฒนวงศ รองกรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็มจี เซลส (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา จากความชํานาญที่ประเทศไทยเปนฐานการผลิต ยานยนต ที่ ใ ช น้ํ า มั น เป น เชื้ อ เพลิ ง มาก อ น ช ว ยให ก ารผลิ ต ยานยนต ไ ฟฟ าใน ประเทศไทยพัฒนาไปไดรวดเร็วยิ่งขึ้น แตจะมีปญหาเรื่องแบตเตอรี่ที่มีราคาสูง การนํามาใชในยานยนตไฟฟานั้น ไทยยังตองสั่งซื้อนําเขามาประกอบในประเทศ แตละปจํานวนมาก และการใชงานแบตเตอรี่ ในแตละประเทศจะมีภูมิประเทศ แตกตางกัน เนื่องจากการจราจรที่แตกตางกันและมีการกําหนดระยะทางสถานี อัดประจ�ไฟฟาในแตละพื้นที่ ใหมีความเหมาะสมแตกตางกัน ตองมีการคํานวณ การผลิตแบตเตอรีท่ รี่ องรับการใชงาน และตนทุนของแบตเตอรี่ ซึง่ จะเปนอีกปญหา ที่จะทําใหราคายานยนตไฟฟาแพงกวายานยนตใชน้ํามันปกติทั่วไป จึงยังเปนเรื่อง ที่จับตองยาก

15 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 15

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


แนะรัฐปรับเปลี่ยนแผนอุตฯ ยานยนต ใหสอดคลองกับสภาวการณของโลก อยางสมํ่าเสมอ

ที่สําคัญควรเตรียมการเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงในระยะ เปลี่ยนผานการใชพลังงานครั้งสําคัญ เชน การปรับเปลี่ยนแผน อุตสาหกรรมยานยนต ซึ่งเปนอุตสาหกรรมใหญของประเทศให เหมาะสมสอดคลองกับสภาวการณของโลกในระยะยาวอยางตอเนือ่ ง และมีการประเมินความเสี่ยงทุกๆ ไตรมาสอยางสม่ําเสมอ สําหรับ MG ถือเปนผูป ระกอบการรายแรกทีก่ ลาดําเนินธุรกิจ ยานยนตไฟฟาในประเทศไทย ไดพยายามพัฒนาเทคโนโลยียานยนต ไฟฟาที่เหมาะสมกับตลาดในประเทศไทยและตลาดอื่นๆ ตามความ เหมาะสม มีการทํางานวิจัยรวมกับหนวยงานภาครัฐอยางตอเนื่อง ในเรื่องแบตเตอรี่ เพื่อจะใหราคาถูกลงจากทองตลาดนําเขามาจาก ตางประเทศ โดยเฉพาะเรื่องราคาที่จะตองใหกลุมผูบริโภคจับตอง ไดจริง นอกจากนั้นจะตองพัฒนาประสิทธิภาพการใชงานและความ ปลอดภัยของผูบริโภคเปนสําคัญดวยเสมอ

เดินหนาพัฒนาเทคโนโลยีและบุคลากร รองรับความตองการของผูบริโภคอยางตอเนื่อง

ครรชิต ไชยสุโพธิ์ รองประธาน บริษัท เกรทวอล มอเตอร ประเทศไทย และภูมิภาคอาเซียน กลาววา การจัดการเปลี่ยนผาน จากยานยนตที่ใชเชือ้ เพลิงน้าํ มันไปสูย านยนตไฟฟานัน้ ปจจ�บนั ไมใช เรือ่ งทีย่ าก เนือ่ งจากผูป ระกอบการทุกๆ บริษัท ตางคิดคนเทคโนโลยี

16 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 16

การจัดการผลิตรองรับเพือ่ ใหสนองตอบความตองการและการใชงาน ทีป่ ลอดภัยแกผบู ริโภคมากยิง่ ขึน้ และผูบ ริโภคก็เปดใจรับการใชงาน ยานยนตไฟฟามากขึน้ ทุกๆ ป จากทีเ่ คยมีความกังวลเรือ่ งการใชงาน เรื่องแบตเตอรี่และอื่นๆ แตเมื่อมีการพัฒนาและทดลองใชงานจริง วามีประสิทธิภาพ ทําใหกลุมผูบริโภคคลายความกังวลและหันมา ยอมรับ ปรับใชงานยานยนตไฟฟามากขึน้ ในหลายๆ ประเทศ รวมทัง้ ประเทศไทยดวย เนือ่ งจากการใชงานยานยนตไฟฟาของแตละประเทศจะมีความ แตกตางกัน โดยบริษัทฯ มุง มัน่ ทีจ่ ะดําเนินนโยบายเพือ่ ผลิตยานยนต เพื่อผูบริโภค รับฟงเสียงติชมแลวนํามาปรับแกไข เพราะยานยนต ไฟฟาถือวายังเปนเรือ่ งใหมแมจะมีการเปดตัวใชงานในหลายๆ ประเทศ มานานแลวก็ตาม ทัง้ นีบ้ ริษัทฯ มีเทคโนโลยีทจี่ ะพัฒนาตอยอดรองรับ ในทุกๆ สินคา มีแผนงานรองรับยานยนตไฟฟาในทุกๆ ป แมจะมี สถานการณทางดานเศรษฐกิจ หรือการแพรระบาดของโรคระบาดใดๆ จะคุกคาม แตการพัฒนายานยนตไฟฟาของบริษั ทฯ จะไมหยุดนิ่ง ชะงักไปดวย ในทางตรงกันขาม จะพยายามพัฒนาใหดียิ่งๆ ขึ้น นอกจากนี้ จะมีการพัฒนาบุคลากรและถายทอดเทคโนโลยี ยานยนตไฟฟาใหบคุ ลากรในองคกรของเรา รวมทัง้ คูค า ของบริษัทฯ เพือ่ พัฒนายานยนตไฟฟาในดานตางๆ ทัง้ การทํางานและกระบวนการ ผลิตยานยนตไฟฟาทุกๆ ขั้นตอน ใหมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ ตรงโจทยความตองการของกลุมผูบริโภคและตลาดการคายานยนต ไฟฟา

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


วอน BOI ออกกฎใหบริษทั ผูผ ลิตชิน้ สวนรถไฟฟา ที่ลงทุนในไทย ตองถายทอดเทคโนโลยี อยางเปนรูปธรรม ครรชิต กลาววา ในสวนความชวยเหลือของภาครัฐนัน้ ตองการ ใหทางคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) ชวยออกมาตรการ บังคับใหบริษั ทผูผลิตชิ้นสวนรถยนตไฟฟาที่มาลงทุนในไทยตอง ถายทอดเทคโนโลยีอยางเปนรูปธรรม โดยกําหนดสัดสวนวิศวกร ช า งเทคนิ คในโรงงานที่ เ ป น คนไทยและชาวต า งชาติ ใ นอั ต ราที่ เหมาะสม เพื่อใหคนไทยไดเรียนรูเทคโนโลยีชั้นสูง และตอยอด การผลิตของผูประกอบการไทย ซึ่งหากไมกําหนดจะทําใหตางชาติ นําวิศวกรและชางมาเองและไมมีการถายทอดเทคโนโลยี ใดๆ แก บุคลากรคนไทย ก็เทากับไมเกิดประโยชนใดๆ ขึน้ เลย หากจําเปนตอง ใชกฎหมายเฉพาะในการดําเนินการทั้งสรางหลักสูตรผลิตบุคลากร นําผูเ ชีย่ วชาญจากประเทศทีม่ อี งคความรูย านยนตไฟฟาเฉพาะเขามา ถายทอดสูผ ปู ระกอบการไทย มีกจิ กรรมสัมมนาตางๆ เพือ่ แลกเปลีย่ น องคความรูระหวางรัฐตอรัฐ หรือเอกชนดวยกัน ก็ควรดําเนินการ ทํา เพื่อชวยเหลือผูประกอบการยานยนตไฟฟาอยางเรงดวน “สวนการกําหนดมาตรฐานวาบุคลากรใดควรเขาไปทํางานใน สวนใดของยานยนตไฟฟานั้น ควรกําหนดเปนแบบทดสอบเปน มาตรฐานการสอบในแตละครัง้ เหมือนการสอบใบขับขีแ่ ยกประเภท ทดลองทํา เชือ่ วาในชวงแรกๆ จะมีปญ  หาติดขัด ทําใหผปู ระกอบการ และบุคลากรไมคุนชิน แตเมื่อเวลาผานไป การทดสอบนี้จะชวย เพิม่ พูนองคความรูใ หกบั ผูป ระกอบการและบุคลากรทีเ่ ขารวมทดสอบ เขารวมประเมินเรื่องยานยนตไฟฟา” ครรชิต กลาว

บูรณาการทุกหนวยงาน มุงขับเคลื่อนยานยนตไฟฟาของไทยอยางจริงจัง

กฤษณะ เศรษฐธรางกูล กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ซีพี โฟตอน เซลส จํากัด กลาววา แมวาจะมีสถานการณ COVID-19 สงผล กระทบใหเศรษฐกิจทั่วโลกแยลงกวา 2 ปแลว แตยอดขายรถของ บริษัทฯ กลับสวนทางเศรษฐกิจดังกลาว เนือ่ งจากบริษัทฯ ยังคงครอง แชมปยอดขายรถบรรทุกเพื่อการพาณิชยอันดับ 1 ในประเทศจีน 16 ปซอ น โดยในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 ทีผ่ า นมา สามารถปดยอด ไดถึง 54,726 คันในประเทศจีน และมียอดขายทั่วโลกรวมทั้งหมด ถึง 680,200 คัน เพิ่มขึ้น 26% ซึ่งสูงเปนประวัติการณเมื่อเทียบกับ หลายปทผี่ า นมา แสดงถึงความเชือ่ มัน่ ในคุณภาพ ความทนทานและ ตอบโจทยการใชงานไดอยางหลากหลาย ทีพ่ รอมขับเคลือ่ นธุรกิจคุณ ดวยคุณภาพระดับเวิลดคลาส

17 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 17

สําหรับเรื่องยานยนตไฟฟานั้น บริษัทฯ ไดทําการตลาดเรื่อง ยานยนตไฟฟามากวา 5 ป มองเห็นศักยภาพของตลาดทีจ่ ะโตเพิม่ ขึน้ เทาตัว หากผูป ระกอบการไทยสามารถทีจ่ ะสรางศักยภาพของตนเอง สรางเอกลักษณของยานยนตไฟฟาของตนเอง มีเทคโนโลยีและ องคความรู ประกอบกับมีหนวยงานภาครัฐ เอกชน และมหาวิทยาลัย และอื่นๆ ที่สําคัญการทํางานวิจัยควบคูไปกับตลาดยานยนตไฟฟา ของไทยตองเรงทําวิจัยดวย เพื่อเปนฐานขอมูลชวยสนับสนุนจะยิ่ง ทําใหยานยนตไฟฟาของไทยพัฒนาเปนที่ยอมรับของคนในประเทศ กอนที่จะไปสรางความมั่นใจในตลาดตางประเทศ แตในขณะนี้ภาพการทํางานรวมกันของแตละหนวยงานยังไม ชัดเจนทั้งเรื่องแนวการทํางาน แผนการทํางาน บุคลากรและใคร จะเปนผูน าํ ในการนําแผนการทํางานทัง้ หมดเสนอตอผูอ นุมตั โิ ครงการ อนุ มั ติ ง บประมาณที่ จ ะช ว ยเหลื อ ผู ป ระกอบการ อี ก ทั้ ง ยั งไม มี หน ว ยงานกลางที่ เ ชื่ อ มการทํ า งานอย า งเป น รู ป ธรรม หรื อ เป น ที่ปรึกษาสําหรับภาคเอกชน ผูประกอบการที่จะเขามาปรึกษาขอ คําแนะนําในการทําการตลาดยานยนตไฟฟา โดยเฉพาะยานยนต ไฟฟาที่เปนรถขนาดใหญอยางของบริษั ทฯ เพราะหากทํายานยนต ไฟฟ า ทั้ ง ระบบจริ ง สถานี อั ด ประจ� ไ ฟฟ า ต อ งมี ค วามใหญ แ ละ ความพรอมรองรับการชารจแบตเตอรี่ประจ�ไฟฟาในแตละครั้ง อาจจะแยกสถานีอดั ประจ�ไฟฟาขนาดใหญและขนาดเล็กออกจากกัน หรือทําสถานีอัดประจ�ไฟฟารวมกัน ทั้งขนาดใหญและขนาดเล็ก เพื่อใหมีความสะดวก แตระยะทางของแตละสถานีอัดประจ�ไฟฟา ควรไมเกิน 150 กิโลเมตรตอ 1 สถานี

แนะพัฒนาหัวชารจไฟฟาในสถานีอัดประจุไฟฟา ใหใชไดกับทุกระบบเหมือนสมารทโฟน

สําหรับตามหัวเมืองใหญๆ หรือในจังหวัดที่มีการใชยานยนต ไฟฟาจํานวนมาก ควรเพิ่มสถานีอัดประจ�ไฟฟาใหมากขึ้น อาจจะใช เทคโนโลยีคน หาสถานีอดั ประจ�ไฟฟาผานสมารทโฟนใหผใู ชยานยนต ไฟฟาสะดวกมากขึ้นดวยในอนาคต ซึ่งจะเปนอีกแรงจูงใจที่ชวยให ผูบริโภคหันมาใชยานยนตไฟฟามากขึ้น “ในสวนของหัวชารจไฟฟาแตละสถานีอดั ประจ�ไฟฟาในอนาคต จะมีการพัฒนาใหใชไดทกุ ๆ หัวชารจทุกๆ ระบบ เหมือนกับการชารจ โทรศัพทมอื ถือ สมารทโฟนในปจจ�บนั ทีพ่ ฒ ั นาใหชารจไดในทุกๆ ระบบ ในสายชารจเสนเดียว ซึ่งโดยปกติแลวการชารจยานยนตไฟฟาปกติ 4 ลอจะใชเวลาชารจแบบปกติ 10-20 นาที ก็จะไดแบตเตอรีป่ ระมาณ 70-80% ชารจแบบควิกชารจ 10-15 นาที ก็จะชารจได 100% แต สําหรับรถขนาดใหญของบริษัทจะใชเวลาชารจอยางนอย 1-2 ชัว่ โมง ถึงจะชารจเต็มแบตเตอรี่ในแตละครั้ง” กฤษณะ กลาว

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


Automotive กองบรรณาธิการ

อีทราน ระดมทุน

Series A

เปนผลสำเร็จ

เตรียมเปดตัวมอเตอรไซคไฟฟา 2 รุน พรอมกาวสูผูนำมอเตอรไซคพลังงานสะอาดภายใน 3 ป

อีทราน (ETRAN) เผยความสําเร็จในการระดมทุน Series A มูลคาราว 3.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือกวา 100 ลานบาท จาก 2 นักลงทุนรายใหญ ไดแก บริษทั เอ็น.ดี.รับเบอร จํากัด (มหาชน) หรือ NDR ผูผลิตและจําหนายยางลอรถมอเตอรไซคสัญชาติไทย ที่จดทะเบียนอยูในตลาดหลักทรัพย เอ็ม.เอ.ไอ (mai) และ Angle Investor หรือนักลงทุนอิสระ ซึง่ การระดมทุนครัง้ นีจ้ ะชวยใหอที ราน สามารถทําการตลาดกับกลุมผูบริโภคในวงกวาง รวมถึงกลุม ผูบริโภคที่ใสใจตอสิ่งแวดลอมที่กําลังเติบโตอยางมีนัยสําคัญ ในชวง 5 ปทผี่ า นมา อีทรานไดวจิ ยั และพัฒนารถมอเตอรไซค ไฟฟา ภายใตตนทุนการผลิตที่เหมาะสม จ�ดเปลี่ยนแบตเตอรี่และ การบริการหลังการขายทีค่ รอบคลุม และมองการตลาดเปนการสราง Community ใหไทยเปดรับการเติบโตของรถมอเตอรไซคไฟฟา และการสรางการเติบโตอยางยั่งยืนใหอีทราน สรณัญช ชูฉัตร ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท อีทราน (ไทยแลนด) จํากัด (ETRAN) กลาววา รถมอเตอรไซคไฟฟา ETRAN ถูกสรางขึน้ ภายใตแนวคิด Drive The Better World ผาน 3 กลยุทธ หลัก ไดแก 1. Clean มุงมั่นพัฒนาอีโคซิสเต็มส ของรถมอเตอรไซคใหเปน Cleaner Mobility ทําให Value Chain เปน Clean Energy ทีเ่ ปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม ตั้งแตตนน้ําไปจนถึงปลายน้ํา ลด การใชพลาสติกจากพลังงานฟอสซิลมากขึน้ อยาง ตอเนื่อง 2. Efficient พัฒนารถมอเตอรไซค ไฟฟ า พลั ง งานสะอาดที่ มี ประสิทธิภาพ ใชพลังงานนอยลง

สรณัญช ชูฉัตร ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท อีทราน (ไทยแลนด) จํากัด (ETRAN)

สมรรถนะโดดเดน ใชงานไดทุกรูปแบบ และ 3. Equitable สงเสริม ความเทาเทียม ลดความเหลื่อมล้ํา โดยทําใหรถมอเตอรไซคไฟฟา พลังงานสะอาดของอีทรานเขาถึงไดงาย ประหยัดคาใชจาย และ เพิ่มโอกาสในการสรางรายไดใหผูใชงาน เพื่อสรางประสบการณ ในการขับขี่ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ในปนี้อีทรานวางแผนจะเปดตัวรถมอเตอรไซคไฟฟาพลังงาน สะอาดจํานวน 2 รุน คือ รุนที่ 1 KRAF ทําตลาดในกลุมผูใชรถ มอเตอรไซคทั่วไป ซึ่งจะเปดตัวในปลายปนี้ สวน รุนที่ 2 MYRA รถมอเตอรไซคไฟฟา รุนใหมที่ออกแบบเพื่อการขนสงโดยเฉพาะ รุกตลาดกลุม ไรเดอรเดลิเวอรี่ ดวยระยะทาง ต อ การชาร จ 190 กิ โ ลเมตร ทําความเร็วสูงสุด 120 กิโลเมตร ตอชั่วโมง เนื่องจากผูขนสง ทั่วไปใชยานพาหนะวิ่งขนสง สินคา 100-200 กิโลเมตร ต อ วั น โดยเฉพาะในช ว ง ก อ นเกิ ด COVID-19 วิ่ ง ระยะทางเกิน 200 กิโลเมตร ตอวัน และมุง เนนการปรับเปลีย่ น รองรับอุปกรณพเิ ศษ เชน กลอง ขนส ง ตู เ ย็ น อุ ป กรณ ติ ด ตาม และระบบบริหารจัดการเครือขาย ขนสงขนาดใหญ อารชวัส เจริญศิลป ประธานกรรมการบริหาร บริษัท อีทราน (ไทยแลนด) จํากัด

KRAF ทําตลาดในกลุมผูใช รถมอเตอรไซคทั่วไป ซึ่งจะเปดตัวในปลายปนี้ 18 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 18

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


พร อ มกั น นี้ ไ ด ส ร า งระบบเปลี่ ย นแบตเตอรี่ ใ นรู ป แบบของ ETRAN Power Station ที่จะติดตั้งทั่วกรุงเทพฯ และปริมณฑล 100 จ�ด ภายใน 3 ป เพื่อรองรับผูใชงานโดยเฉพาะกลุมไรเดอร โดย ในปนี้จะสราง ETRAN Power Station เฟสแรก 3 จ�ด ในใจกลาง กรุงเทพมหานคร และมองเปาหมายเติบโตไปกับภาคการขนสง Last Mile Delivery กวา 10,000 คัน ภายในป พ.ศ. 2567 สรณัญช กลาววา ตามแผนการดําเนินธุรกิจอีทราน ในป พ.ศ. 2565 บริษั ทฯ ตั้งเปาสรางรายไดที่ประมาณ 400-500 ลานบาท และในป พ.ศ. 2566 คาดวารายไดจะเติบโตกาวกระโดดแตะ 1,000 ลานบาท พรอมกันนี้ไดวางเปาหมายสรางยอดขาย 50% ของตลาด รถมอเตอรไซคไฟฟารวม ภายในป พ.ศ. 2568 ดวยยอดขายกวา 100,000 คัน “อีทรานตัง้ เปาเปนผูน าํ รถมอเตอรไซคไฟฟาในไทยภายใน 3 ป โดยมีกลุม เปาหมาย 4 กลุม ไดแก กลุม ขนสง วินมอเตอรไซค ภาครัฐ และผูรักมอเตอรไซค ซึ่งมีการพัฒนาตนแบบแลวกวา 40 คัน คาดวา จะไดการตอบรับที่ดีจากกลุมผูรักและชื่นชอบมอเตอรไซค” สรณัญช กลาว อารชวัส เจริญศิลป ประธานกรรมการบริหาร บริษัท อีทราน (ไทยแลนด) จํากัด กลาววา ประเทศไทยกําลังมีความพยายามพัฒนา ระบบโครงสรางพื้นฐาน (Infrastructure) กับภาคนโยบาย (Policy) เพื่อผลักดัน EV ในประเทศอยางเปนรูปธรรม สงผลใหตลาด EV ใน ประเทศมีแนวโนมเติบโตอยางกาวกระโดด ดวย 3 ปจจัยหลัก ไดแก 1. ภาครัฐเดินหนานโยบายจริงจังผานคณะกรรมการนโยบายยานยนต ไฟฟาแหงชาติ (บอรด EV) วางเปาหมายผลักดันประเทศไทยใหกลาย เปนศูนยกลางการผลิต EV ของภูมิภาคอาเซียน (EV Hub) พรอมทั้ง วางเปาหมายสนับสนุนใหมีการใชรถมอเตอรไซค EV ในประเทศ จํานวน 1,800,000 คัน ภายใน 3 ป 2. ภาคผูผ ลิต เริม่ มีรถ EV ในแผนการพัฒนาและผลิตผลิตภัณฑ เพื่อทําการตลาดในประเทศมากขึ้น ซึ่งอีทราน เปนหนึ่งในผูประกอบการที่พรอมจะรวมเปน ผูนําในการขับเคลื่อนใหประเทศไทยเปน EV Hub อยางเต็มรูปแบบ และ 3. ภาคผูบริโภค เห็ น ความสํ า คั ญ ของสิ่ ง แวดล อ มและ เปลี่ยนไปใชพลังงานทางเลือกมากขึ้น ประกอบกับเทคโนโลยีมปี ระสิทธิภาพ สูงขึ้น สงผลใหผูบริโภคมีความ มั่ น ใจต อ ศั ก ยภาพของรถ EV และประโยชนที่ ไดรับจากการ ใชรถ EV

ชัยสิทธิ์ สัมฤทธิวณิชชา กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็น.ดี.รับเบอร จํากัด (มหาชน) หรือ NDR 19 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 19

เพื่อรองรับการเติบโตของธุรกิจและเตรียมพรอมรับโอกาส จากแนวโนมตลาด EV ที่จะเติบโตในอนาคต อีทรานไดวางแผน ปรับองคกร กาวจากสตารตอัปสูองคกรธุรกิจเต็มรูปแบบ โดยตั้ง คณะกรรมการบริหาร (Board of Directors) เพิม่ เติมจํานวน 3 ทาน ไดแก ศิโรตม เสตะพันธุ Managing Partner บริษทั เอ็กซฟอรแม็ท จํากัด ฐิติ ตวงสิทธิตานนท กรรมการผูจัดการ บริษัท Dole Packaged Foods และ ธันวา มหิทธิวาณิชชา Partner บริษัท แกรนท ธอนตัน จํากัด เพือ่ วางแผนพัฒนาองคกรและสรางแบรนด อยางยั่งยืน เปนองคกรที่มีธรรมาภิบาลที่เขมแข็ง ทั้งในเรื่องของ การบริหารจัดการ การเงิน การตลาด การสรางแบรนด การสราง วัฒนธรรมองคกร เพือ่ นําไปสูก ารเติบโตอยางยัง่ ยืน โดยมีเปาหมาย เขาสูตลาดหลักทรัพยในอนาคต และตั้งเปาหมายใหบริษัทฯ เปน ผูนําใหเกิดกระบวนการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยานยนตสูการมี สวนรวมในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน ตั้งแตการผลิตตั้งแตตนน้ําถึงปลายน้ํา ดาน ชัยสิทธิ์ สัมฤทธิวณิชชา กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็น.ดี.รับเบอร จํากัด (มหาชน) หรือ NDR กลาววา ที่ประชุม คณะกรรมการบริษั ทฯ มีมติอนุมัติเขาทํารายการซื้อหุนสามัญ ในบริษัท อีทราน (ไทยแลนด) จํากัด จํานวน 157,500 หุน มูลคา ที่ตราไว 100 บาท ในราคา 382.22 บาท คิดเปนสัดสวน 35% ของ ทุนจดทะเบียนของอีทราน ดวยมูลคารวม 60.20 ลานบาท ซึ่งจะ ชําระคาหุนสามัญของ ETRAN โดยการออกหุนสามัญเพิ่มทุนของ บริษั ทในลักษณะการเสนอขายแบบเฉพาะเจาะจงใหแกบุคคลใน วงจํากัด (PP) แทนการชําระดวยเงินสด จํานวนไมเกิน 31.5 ลานหุน มีมูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท ในราคาเสนอขายหุนละ 2.72 บาท คิดเปนมูลคา 60.20 ลานบาท (Share Swap) โดยมีอตั ราแลกเปลีย่ น หุนเทากับ 1 หุนใหมของอีทราน ตอ 140.52 หุนใหมของบริษัท “การเขารวมลงทุนในอีทรานสอดคลองกับนโยบายของ บริษั ทฯ ในการมองหาธุรกิจที่มีศักยภาพในการเติบโตเพื่อสราง New S-curve ซึ่งเล็งเห็นวาอุตสาหกรรมยานยนตไฟฟาเปนธุรกิจ ที่กําลังอยูในชวงเริ่มตนของการ Growth Cycle ซึ่งการรวมลงทุน ครัง้ นีจ้ ะทําใหบริษัทฯ มีธรุ กิจทีห่ ลากหลายมากขึน้ เปนการกระจาย ความเสี่ยงของธุรกิจและตอยอดจากธุรกิจเดิม อีกทั้งจะชวย สนับสนุนใหผลดําเนินการของบริษั ทฯ เติบโตอยางตอเนื่องและ กาวกระโดดไดในอนาคต โดยคาดวาอีทรานจะสามารถสรางรายได และผลกําไรไดตั้งแตป พ.ศ. 2565 เปนตนไป” ชัยสิทธิ์ กลาว

MYRA รถมอเตอรไซคไฟฟารุนใหม ที่ออกแบบเพื่อการขนสงโดยเฉพาะ รุกตลาดกลุมไรเดอรเดลิเวอรี่ GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


GPSC จับมือ

Solar

CHPP พัฒนานวัตกรรม G Float

กองบรรณาธิการ

GPSC จับมือ CHPP บริษัทในเครือ เปดตัว ผลิตภัณฑ G Float นวัตกรรมทุนโซลารลอยน้ํา เชิงพาณิชย ในรูปแบบ New Normal ครัง้ แรกของ ไทย ชูจ�ดเดนสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดอยางมี ประสิทธิภาพสูง มีอายุการใชงานของวัสดุยาวนาน ถึง 25 ป ทัง้ ยังเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม สามารถนํากลับ อายุการใชงานนาน-เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม มารีไซเคิลได ชวยลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก และมีความปลอดภัยตอระบบนิเวศใตนา้ํ ผานการทดสอบ Food Contact ขององคการอาหารและยาสหรัฐอเมริกา (US FDA) รับเทรนดพลังงานสะอาด กาวสูอุตสาหกรรม New S-Curve รสยา เธียรวรรณ รองกรรมการผูจัดการใหญพัฒนาธุรกิจ บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จํากัด (มหาชน) หรือ GPSC ผูนํานวัตกรรมธุรกิจไฟฟา กลุม ปตท. ในฐานะประธานกรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟาและพลังงานรวม จํากัด (CHPP) กลาววา GPSC ไดรว มกับพันธมิตรในการพัฒนานวัตกรรมพลังงานสะอาด G Float นวัตกรรม ทุน โซลารลอยน้าํ (Floating Solar) ทีพ่ รอมดําเนินการในเชิงพาณิชยในรูปแบบ New Normal เปนครั้งแรกของไทย เพื่อใชสําหรับระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยแบบติดตั้งบนทุน ลอยน้ํา (Floating PV System) ปอนสูกลุมลูกคาโรงงานอุตสาหกรรม ลูกคาในนิคม อุตสาหกรรม รวมถึงหนวยงานภาครัฐและเอกชนตางๆ เพื่อติดตั้งโซลารลอยน้ําบนแหลงน้ํา ขนาดใหญ จากความรวมมือในการพัฒนาเทคโนโลยีรวมกับบริษั ทชั้นนําของโลก ในการพัฒนา รสยา เธียรวรรณ ผลิตภัณฑเพือ่ ใหตอบโจทยความตองการของกลุม ลูกคาทีจ่ ะนําไปสูก ารบริหารจัดการพลังงาน ที่มีประสิทธิภาพ ดวยมาตรฐานและความปลอดภัยที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดย GPSC ให ความสําคัญกับการนํานวัตกรรมพลังงานสูการสรางสรรคอนาคตดวยแนวคิด Smart Energy for Evolving Life ที่จะรองรับการเติบโตในอุตสาหกรรม New S-Curve ซึ่งเปนกลยุทธหลัก ในการขับเคลื่อนธุรกิจของบริษั ทฯ และกลุม ปตท. เพื่อรองรับเทรนดการเปลี่ยนแปลง พลังงานโลก ทีห่ นั มาใหความใสใจในการใชพลังงานทีเ่ ปนมิตร กับสิ่งแวดลอม สงผลให GPSC เดินหนาขยายการลงทุนใน ธุรกิจพลังงานสะอาด ผานการดําเนินงานของ CHPP ซึ่ง GPSC ถือหุน 100% โดย CHPP จะเปนหนวยธุรกิจหลัก ที่สําคัญ ในการนํานวัตกรรมพลังงานมาเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการไฟฟาภายใตแพลตฟอรมตางๆ ที่สามารถ เพิ่มศักยภาพการผลิตกระแสไฟฟาจากพลังงานทดแทน รสยา กลาววา การพัฒนานวัตกรรมทุนโซลารลอยน้ํา ไดผานการพัฒนา และออกแบบที่มีจ�ดเดนใหสามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลิตกระแสไฟฟาจากการติดตั้งแผง โซลาร บ นทุ น ลอยน้ํ า ที่ ใ ช น วั ต กรรมเม็ ด พลาสติ ก (High Density Polyethylene หรือโพลิเอทิลีนความหนาแนนสูง) ซึ่งเปนผลิตภัณฑของบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) หรือ GC ที่ไดรับการพัฒนาเพื่อใหไดเม็ดพลาสติก

รุกตลาดทุนโซลารลอยน้ำ ชูจุดเดนผลิตไฟประสิทธิภาพสูง

20 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 20

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


ทีม่ คี ณ ุ สมบัตพิ เิ ศษ มีความยืดหยุน แข็งแรง ทนทาน สามารถ ผสมสารปองกัน UV และขึ้นรูป ไดงาย เพื่อผลิตเปน ทุน ลอยน้าํ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีอายุการใชงานยาวนาน โดย CHPP ยังไดออกแบบจ�ดยึดของทุนโซลาร เพื่อใหมีความแข็งแรง ทนตอสภาพการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ ทั้งกระแสคลื่น และลมไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหทนุ ลอยน้าํ มีความมัน่ คง และไมสงผลตอประสิทธิภาพผลิตไฟฟา การออกแบบยังได คํานึงถึงความสะดวกรวดเร็วในการประกอบทุนและงาย ตอการบํารุงรักษาระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย “G Float ยังไดออกแบบใหสามารถรองรับการติดตั้ง แผงโซลารเซลลขนาดมาตรฐานจนถึงขนาดใหญเพื่อรองรับ กับแผงโซลารเซลลที่จะมีขนาดใหญและน้ําหนักที่มากขึ้น รวมถึงอุปกรณประกอบตางๆ ในอนาคต เทคโนโลยี G Float จะเปนผลิตภัณฑทชี่ ว ยสงเสริมใหโครงการผลิตพลังงานไฟฟา จากแสงอาทิตยชนิดติดตัง้ บนทุน ลอยน้าํ สามารถผลิตกระแส ไฟฟาไดอยางมีประสิทธิภาพสูง มีอายุการใชงานของวัสดุ ยาวนานถึง 25 ป ทั้งยังเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม สามารถนํา กลับมารีไซเคิลได ชวยลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก และมีความปลอดภัยตอระบบนิเวศใตนํ้า ผานการทดสอบ Food Contact ขององคการอาหารและยาสหรัฐอเมริกา (US FDA)” รสยา กลาว

G Float ยังไดออกแบบใหสามารถรองรับ การติดตั้งแผงโซลารเซลลขนาดมาตรฐาน จนถึงขนาดใหญเพื่อรองรับกับแผงโซลาร เซลลที่จะมีขนาดใหญและนําหนักที่มากขึ้น รวมถึงอุปกรณประกอบตางๆ ในอนาคต สามารถผลิ ต กระแสไฟฟ า ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพสูง มีอายุการใชงานของวัสดุ ยาวนานถึ ง 25 ป ทั้ ง ยั ง เป น มิ ต รกั บ สิ่งแวดลอมสามารถนํากลับมารีไซเคิลได

นอกจากนี้ G Float ไดถูกนําไปใชในโครงการที่ประสบความ สําเร็จมาแลวตางๆ กอนหนานี้ เชน โครงการเมืองอัจฉริยะ ใหกับ สถาบันวิทยสิริเมธี (VISTEC) เพื่อพัฒนานวัตกรรมใหมๆ รองรับ อุตสาหกรรมเปาหมายการติดตั้งโซลารบนหลังคาและโซลารลอยน้ํา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี ซึง่ อยูร ะหวางการดําเนินการ โดยผสาน นวัตกรรมพลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) ทัง้ BESS, Peer-to-Peer Energy Trading และ AI เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต รวมถึง โครงการความรวมมือกับกลุม ปตท. ในการติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟาจาก พลังงานแสงอาทิตยชนิดลอยน้ําทะเล (Floating Solar on Sea) ขนาด 100 กิโลวัตต ในพืน้ ทีบ่ ริษัท พีทที ี แทงค เทอรมนิ ลั จํากัด (PTT Tank) ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง เปนตน

21 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 21

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


In Trend กองบรรณาธิการ

“ที ม กรุ ป ” คาดการณ ฤ ดู ฝ น ประเทศไทยป พ.ศ. 2564 เริ่ ม กลางเดื อ นพฤษภาคม เตื อ นฝน ทิ้ ง ช ว งเดื อ นมิ ถุ น ายน-กรกฎาคม สวนพื้น ที่ลุมต่ําภาคกลาง-อีสานใต และภาคใตฝงตะวันออก ระวังน้ําทวม ฉับพลัน-น้ําปาไหลหลาก ย้ํายังไมพบ สั ญ ญาณน้ํ า ท ว มใหญ ซ้ํ า รอยเหมื อ นป พ.ศ. 2554 แนะเตรียมรับมือน้ำหลาก ชวลิต จันทรรัตน ประธานกรรมการ บริหาร บริษทั ทีม คอนซัลติง้ เอนจิเนียริง่ แอนด แมเนจเมนท (TEAMG) ผูเชี่ยวชาญเรื่องน้ําของ ประเทศ กลาวถึงการติดตามและวิเคราะหแนวโนม สถานการณน้ําฝนในป พ.ศ. 2564 วา จากปรากฏการณ ลานีญา จะเกิดฝนตกหนัก-ลมกระโชกแรง-ลูกเห็บตก จากอิทธิพล พายุฤดูรอนตั้งแตเดือนเมษายน ซึ่งสงผลดีตอการบรรเทาปญหาภัยแลง ที่เกิดขึ้น ทําใหประเทศไทยจะเขาสูฤดูฝนอยางเปนทางการตามเกณฑทางอุตุนิยมวิทยา ตั้งแตวันที่ 15 พฤษภาคม 2564 เปนตนไป โดยจะมีฝนตกชุกตอเนื่อง และมีปริมาณฝน เพิม่ ขึน้ ชวงปลายเดือน แตเมือ่ เขาสูเ ดือนมิถนุ ายนตอเนือ่ งถึงเดือนกรกฎาคม ปริมาณฝน จะลดลง เกิดภาวะฝนทิ้งชวง มีผลกระทบตอภาคการเกษตรนอกเขตชลประทาน อยางไรก็ตาม ในชวงเดือนสิงหาคมและกันยายน ฝนจะเริ่มกลับมาชุก และมีฝน ตกหนักถึงหนักมากบางแหง อาจทําใหเกิดภาวะน้าํ ทวมฉับพลัน น้าํ ปาไหลหลากไดในหลาย พื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่ลุมแมน้ํายม ตั้งแตจังหวัดสุโขทัยลงมาจนถึงจังหวัดพิจิตรและ นครสวรรค ซึง่ ไมมอี า งเก็บน้าํ ขนาดใหญ มีเพียงแคพนื้ ทีแ่ กมลิงหนองหลวง จังหวัดสุโขทัย และแกมลิงบางระกํา จังหวัดพิษ ณุโลก เปนแหลงรองรับน้ํา ซึ่งมีขนาด ไมเพียงพอตอการรองรับปริมาณน้าํ ฝนตกพืน้ ทีท่ า ยเขือ่ น และจากรองมรสุม ที่พาดผานภาคเหนือ ทําใหฝนตกหนักจนเกิดน้ําทวมในจังหวัดสุโขทัย พิจิตร และนครสวรรค เปนประจําทุกป ทีผ่ า นมา กรมชลประทานไดจดั เตรียมพืน้ ทีแ่ กมลิงหนองหลวง จังหวัด สุโขทัย และแกมลิงบางระกํา จังหวัดพิษ ณุโลก ไวรับมวลน้ําหลาก ลด ผลกระทบน้ําทวมพื้นที่ชุมชนและแหลงเศรษฐกิจจังหวัดลุมน้ําเจาพระยา ตามรูปแบบโครงการบางระกําโมเดล ที่ดําเนินการมาตั้งแตป พ.ศ. 2560 โดยขอความรวมมือจากเกษตรกรในการปรับเปลีย่ นระยะเวลาปลูกขาวใหเร็ว ขึน้ เริม่ ตัง้ แตเดือนเมษายน กอนจะทําการเก็บเกีย่ วผลผลิตในเดือนกรกฎาคม และปรับพื้นที่ใหเปนทุงรับน้ํา ชวยบรรเทาปญหาน้ําทวมซ้ําซากในลุมน้ํายม ได ขณะที่พื้นที่น้ําปงมีอางเก็บน้ําเขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก พื้นที่ลําน้ําวัง มีอา งเก็บน้าํ เขือ่ นกิว่ ลม จังหวัดลําปาง พืน้ ทีล่ าํ น้าํ นานมีอา งเก็บน้าํ เขือ่ นสิรกิ ติ ์ิ จังหวัดอุตรดิตถ ที่เปนแหลงเก็บกักน้ําและระบายน้ําใหเหมาะสมตาม สภาวการณของปริมาณน้ํา ซึ่งมีสวนชวยปองกันน้ําทวมในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ ยังมีอางเก็บน้ํา เขื่อนแควนอยบํารุงแดน จังหวัดพิษณุโลก อางเก็บน้ําปาสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี ที่ชวยบรรเทาน้ําทวมที่เกิดจากลุมน้ํา ภาคเหนือได

ทีมกรุป เผยปรากฏการณ

ลานีญาป ’64 ทำใหฝนทิ้งชวง

22 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 22

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


ในเดือนกันยายนและตุลาคม ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฝนจะ ตกหนักถึงหนักมากบางแหง จากอิทธิพลของรองมรสุมกําลังแรงพาดผาน และหากมี พายุกอตัวขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟกหรือทะเลจีนใต พัดผานเขามาทางภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ในลักษณะพายุไตฝุน พายุโซนรอน พายุดีเปรสชั่น หรือหยอมความกด อากาศต่ํา จะทําใหเกิดฝนตกหนักเปน บริเวณกวางในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนลาง โดยเฉพาะพื้นที่เสี่ยงภัยในจังหวัดนครราชสีมา ศรีสะเกษ ยโสธร และ อุบลราชธานี ซึ่งเมื่อป พ.ศ. 2562 พายุโซนรอนวิภา พายุโซนรอนโพดุล และพายุ โซนรอนคาจิกิ ที่เคลื่อนผานภาคอีสาน ในจังหวัดกาฬสินธุ รอยเอ็ด ยโสธร และ อุบลราชธานี ฤทธิข์ องพายุทาํ ใหฝนตกหนักทัง้ วันทัง้ คืน น้าํ ทวมฉับพลันและทะลักเขา ทวมบานเรือนประชาชน พืน้ ทีเ่ กษตรจํานวนมาก ในป พ.ศ. 2564 ก็ตอ งเฝาระวังดวย เชนเดียวกัน เพราะมีความเปนไปไดที่จะมีพายุหมุนเขตรอนเหมือนปที่ผานมา สําหรับพื้นที่ภาคกลาง จังหวัดสิงหบุรี อางทอง และพระนครศรีอยุธยา ยังมี พื้นที่ลุมต่ําที่เปนจ�ดออนที่จะเกิดน้ําทวม ชาวบานริมแมน้ําในพื้นที่ลุมต่ําและพื้นที่ นอกคันกั้นน้ํา ตองระวังฝนตกหนักตอเนื่องและมวลน้ําหลากจากภาคเหนือตลอด เดือนตุลาคมอยางใกลชิด ขณะที่ภาคตะวันออกและภาคใตยังคงมีฝนตกชุกหนาแนนและฝนตกหนักถึง หนักมากบางพื้นที่ชวงปลายฤดูฝน จังหวัดชลบุรี ระยอง และจันทบุรี จะเกิดน้ําทวม จากการระบายน้ําฝนที่ตกหนักนานติด กัน หลายชั่วโมงลงสูคลองและทะเลไมทัน จังหวัดเพชรบุรี อําเภอปราณบุรี และอําเภอบางสะพาน ของจังหวัดประจวบคีรีขันธ น้ําจะหลากทวมพื้นที่ชวงเดือนตุลาคมตอเนื่องถึงพฤศจิกายนและเดือนธันวาคม น้ํา อาจจะทวมสงทายปที่จังหวัดนครศรีธรรมราช พั ทลุง และอําเภอหาดใหญ จังหวัด สงขลา “จากการประมวลวิเคราะหและติดตามสถานการณน้ําป พ.ศ. 2564 แมฝน จะมาเร็ว และคาดการณปริมาณฝนชวงกอนมรสุมจะมีฝนตกมาก แตยงั ไมพบสัญญาณ ความเสีย่ งน้าํ ทวมใหญคลายกับป พ.ศ. 2554 ประกอบกับความสามารถของอางเก็บน้าํ เขื่อนใหญทั้ง 4 ไดแก เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนแควนอยบํารุงแดน และเขื่อน ปาสักชลสิทธิ์ ยังมีน้ําอยูนอย สามารถรองรับน้ําไดมากกวาป พ.ศ. 2554 ซึ่งปจจ�บัน อางเก็บน้ําเขื่อนขนาดใหญทั้ง 4 มีน้ํารวมกัน 5,000 ลานลูกบาศกเมตร ซึ่งถือวานอย และมีปริมาณน้ําเพียงพอตอการอุปโภคบริโภคจนสิ้นฤดูแลงเทานั้น และสภาพพื้นที่ รับน้ําก็เปลี่ยนแปลงแตกตางจากเมื่อ 10 ปที่แลวเปนอยางมาก” ชวลิต กลาว

ชวลิต จันทรรัตน ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท (TEAMG) ผูเชี่ยวชาญเรื่องนําของประเทศ

อยางไรก็ตาม กองอํานวยการน้ําแหงชาติ ได สั่ ง การให ห น ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งทางด า นน้ํ า เตรียมแผนรับมือน้ําหลากในฤดูฝนป พ.ศ. 2564 ติ ด ตามสภาพอากาศ และประเมิ น แนวโน ม สถานการณน้ํา ปริมาณฝน และพายุอยางใกลชิด รวมถึงวางแผนบริหารจัดการน้ําอยางรอบคอบ เตรียมมาตรการชวยเหลือเยียวยา และแผนการ ฟนฟูเมื่อเกิดอุทกภัยขึ้น

23 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 23

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


Technology *เจมส ฮอกกินส

ไมโครกริด

ชวยใหธุรกิจเพิ่มความยืดหยุน

ดานการจัดการพลังงาน

เมื่อไมกี่ปที่ผานมา ทั้งดาตาเซ็นเตอรขนาดใหญ โรงพยาบาล ทาเรือ และระบบสาธารณูปโภคสําคัญตางๆ ทั่วทั้งสหรัฐอเมริกา ตางเสริมความ แข็งแกรงดวยไมโครกริด เพื่อชวยเรื่องการไหลเวียนของพลังงานไฟฟา แมกระทั่งในชวงเวลาที่กริดลมก็ตาม รานขายของชํา รานขายยา และระบบสาธารณูปโภคอื่นๆ ที่มีความ ตองการใชพลังงานนอยกวาภาคธุรกิจอืน่ ๆ ไมเคยอยูใ นวงสนทนาเรือ่ งไมโครกริด จวบจนปจจ�บัน การแพรระบาดของ COVID-19 เปลี่ยนมุมมองของสังคมที่เราอยู โดยสิ้นเชิง ทั้งเรื่องความจําเปนดานธุรกิจและการบริการ ผลก็คือ ผูที่อยูใน อุตสาหกรรมหลักตอนนี้กําลังหันมาทบทวนและประเมินใหมวา ใครหรือ ธุรกิจใดบางที่ตองการความยืดหยุนดานพลังงาน โชคดีที่ความกาวหนาดานเทคโนโลยี ไมโครกริด และความสามารถ ในการเขาถึงโมเดลธุรกิจตางๆ ทําใหบริษั ททุกขนาดธุรกิจสามารถไดรับ ประโยชนจากเครือขายไฟฟาทีส่ รางไฟฟาไดเอง และในบทความนี้ ไดอธิบาย ถึงเหตุผลและการที่ไมโครกริดชวยใหมั่นใจไดวา อาคารของคุณจะมีระบบ พลังงานที่นาเชื่อถือไดโดยไมตองกังวล

“ทําไม” เราจึงสามารถ คาดการณถึงการเปลี่ยนแปลงได

ในป ค.ศ. 2012 ดวยสภาพอากาศที่รุนแรง ทําใหเกิดไฟดับทัว่ มอนตโกเมอรีเคาทต้ี รัฐแมรีแลนด ทําใหผอู ยูอ าศัยจํานวนกวา 250,000 คน ไมมีไฟฟา ใชหลายวัน ระหวางชวงฤดูใบไมรว งในป ค.ศ. 2019 บริษั ทผลิตไฟฟารายใหญที่สุดของสหรัฐอเมริกา Pacific Gas and Electric ตัดไฟในครัวเรือนผูพ กั อาศัยกวาลานราย เพื่อปองกันไฟปาลาม และใน ตอนนี้รัฐเท็กซัสก็กําลังเผชิญกับปญหาไฟดับที่ เกีย่ วเนือ่ งจากสภาพอากาศในแบบที่ไมเคยเกิดขึน้ มากอน ทําใหไฟดับไปทั่วเนื่องจากอุณหภูมิลดลง ต่ําเปนประวัติการณ

*ผูจัดการโครงการฝายกลยุทธนานาชาติ ชไนเดอร อิเล็คทริค

24 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 24

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


สภาพอากาศรุนแรงมากขึ้น ทุกที และระบบกริด ก็มีอายุการใชงานมากขึ้น สําหรับธุรกิจสวนใหญ คําถาม ไมไดอยูท ค่ี าํ วา “หาก” เกิดการเปลีย่ นแปลงดานพลังงานขึน้ แตอยูที่ “เมื่อไหร” และเรื่องนี้ก็ทําใหไมโครกริดเขามามี บทบาทสําคัญ

ยืดหยุนดานพลังงาน “อยางไร”

ไมโครกริด คือเครือขายไฟฟาที่กักเก็บไฟไดใน ตัวเอง ชวยใหคณ ุ สรางไฟฟาไดเองที่ไซต และใชพลังงานได ในเวลาทีต่ อ งการ ระบบไมโครกริดสามารถเชือ่ มตอกับกริด ของระบบสาธารณูปโภคไดโดยตรง โดยการเก็บพลังงาน สวนเกินไวในระบบกักเก็บพลังงานในรูปแบตเตอรี่ หรือ “island” เพือ่ กระจายพลังงานภายในพืน้ ที่ หรือถากริดที่ให พลังขับเคลือ่ นระบบสาธารณูปโภคเกิดลมขึน้ มา ในกรณีน้ี คุณสามารถใชระบบควบคุมอัจฉริยะ (Intelligent Controls) จากในระบบงานคุณ ปรับเปลี่ยนแหลงพลังงานจากกริด ของระบบสาธาณูปโภคไปใชไมโครกริด ณ ไซตงานได โดยอัตโนมัติ

ความยืดหยุนดานพลังงานและความยั่งยืน เปน 2 อรรถประโยชนที่ ไดจากระบบไมโครกริด แตถาหาก คุณตองการลดคาใชจายดานพลังงานในแตละรอบบิล ไมโครกริดชวยไดเชนกัน เพราะไมโครกริดจะชวยใหคุณ ปรับเปลี่ยนแหลงพลังงานในปจจ�บันไดคุมคาใชจายมาก ที่สุด ดวยการใชระบบควบคุมอัจฉริยะตัวเดิม

กาวขามความกังวลไดตั้งแต “ตอนนี้”

คุณอาจจะสงสัย หากเทคโนโลยีน้ีดีมากขนาดนั้น จริง ทําไมทุกธุรกิจถึงไมมรี ะบบไมโครกริดเปนของตัวเอง? คําตอบก็คอื คุณอาจตองพิจารณาวาเทคโนโลยีและโมเดล ธุรกิจมีการพัฒนาไปแลวมากนอยแคไหน ในอดีตที่ผานมา คาใชจายที่รับรูได รวมถึงคาซอม บํารุงของระบบงาน อาจทําใหเปนอุปสรรคในหลายธุรกิจ การปรับเปลี่ยนแหลงพลังงาน การกําเนิดไฟฟา และการ กักเก็บพลังงานแยกไว ยังคงเปนแนวคิดใหมสาํ หรับหลาย ธุรกิจที่ไมตองการใชพลังงานสูง ในชวงเวลา 2-3 ปที่ผานมา เทคโนโลยีไมโครกริด มีความกาวหนาอยางมีนยั สําคัญ ปจจ�บนั หลายระบบมีขนาด เล็กลง และขยายขีดความสามารถไดมากกวาที่ผานมา เชนเดียวกัน โมเดลธุรกิจดานพลังงานเชิงการบริการ หรือ Energy as a service (EaaS) Business Model ก็ทําให สามารถเขาถึงพลังงานได ไม ใชแตเฉพาะองคกรใหญ แตยังรวมไปถึงองคกรในทุกขนาดและทุกอุตสาหกรรม เชนกัน 25 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 25

โซลูชนั EaaS เชน AlphaStruxure™ นําเสนอโซลูชนั ไมโครกริดใหองคกร ระดับคอรปอเรตที่มีขนาดใหญ ผานขอตกลงดานการใหบริการพลังงานตาม ประสิทธิภาพการใชงาน องคกรธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กจะไดรบั ประโยชน ในโมเดลเดียวกับพันธมิตรอยาง GreenStruxure โซลูชัน EaaS ชวยใหองคกร ธุรกิจไมตองมีคาใชจายลวงหนาและไมตองรับผิดชอบเรื่องการซอมบํารุง การ บริการตางๆ หรือการดําเนินการ ดังนัน้ คุณจะไดรบั ประโยชนจากความยืดหยุน ดานพลังงานและไดความยั่งยืนมากขึ้นโดยไมมีความเสี่ยงดานการเงินหรือ ตองทําอะไรพิเศษเพิ่มเติม

ความสําคัญลําดับตอไปคือ การเชื่อมโยงกับพันธมิตร

ความทาทายของความยืดหยุน ดานพลังงานยังคงมีอยูต อ ไป สําหรับในฐานะ ผูจ ดั การอาคาร ควรระบุเปาหมายดานพลังงานใหชดั เจนเปนอันดับแรกเพือ่ มองหา โซลูชันที่ตอบโจทย ลองคิดวา คุณตองการผสานรวมพลังงานหมุนเวียนเพื่อ สรางความยั่งยืน หรือตองการลดคาใชจายดานพลังงานเพื่อประหยัดคาใชจาย หรือตองการปองกันปญหาไฟดับในระยะยาว หรือคุณตองการตอบโจทยทั้ง 3 เรื่อง และเมื่อคุณรูวาคุณตองการอะไร ก็สามารถติดตอพันธมิตรทางธุรกิจ ที่เชื่อถือได เพื่อแนะนําแนวทางที่เหมาะสมตอไป

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


Energy

กกพ.เลื่อนประกาศผลโรงไฟฟาชุมชน เปน 26 ส.ค. นี้

กองบรรณาธิการ

กกพ. ประเมินสถานการณ COVID-19 ระลอกใหม ลงมติเลือ่ น และกําหนดกรอบระยะเวลาใหมในการดําเนินการโครงการโรงไฟฟา ชุมชนเพือ่ เศรษฐกิจฐานราก (โครงการนํารอง) พ.ศ. 2564 จํานวน 150 เมกะวัตต ออกไปจากกําหนดเดิมอยางนอย 1 เดือน หลังโควิด-19 รอบใหมยังลุกลามไมหยุด คมกฤช ตันตระวาณิชย เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการ กํากับกิจการพลังงาน (สํานักงาน กกพ.) ในฐานะโฆษกของ กกพ. กลาววา จากการประชุมคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม ที่ผานมา กกพ. มีมติเห็นชอบใหปรับเปลี่ยน ระยะเวลาในการดําเนินการโครงการโรงไฟฟาชุมชนเพื่อเศรษฐกิจ ฐานราก (โครงการนํารอง) พ.ศ. 2564 ตามที่ กฟภ. เสนอ โดย สํานักงาน กกพ. จะประกาศผลรายชื่อผูผานการคัดเลือกเขารวม โครงการ เปนภายในวันที่ 26 สิงหาคม 2564 จากกําหนดเดิมภายใน วันที่ 15 กรกฎาคม 2564 “เนื่องจากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ระลอกใหมที่คอนขางรุนแรง และขยายตัวเปนพื้นที่ วงกวางทั่วประเทศไทย ประกอบกับมีขอกําหนดออกตามความใน มาตรา 9 แหงพระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณฉกุ เฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 22) กําหนดการปฏิบตั งิ านนอกสถานทีต่ งั้ ใหหวั หนา สวนราชการและหนวยงานของรัฐ เจาของกิจการหรือผูประกอบการ ภาคเอกชน พิจารณาดําเนิน มาตรการขั้นสูงสุดเพื่อลดจํานวนการ เดินทางของเจาหนาที่และบุคลากรในความรับผิดชอบในการปองกัน และลดโอกาสเสีย่ งทีจ่ ะติดเชือ้ การไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) จึงเสนอ กกพ. ขอปรับเปลีย่ นการดําเนินการโครงการโรงไฟฟาชุมชนเพือ่ เศรษฐกิจ ฐานราก (โครงการนํารอง) ออกไปกอน เพือ่ ใหสอดคลองกับสถานการณ ที่เปลี่ยนแปลงไป” คมกฤช กลาว สําหรับมติ กกพ. ที่พิจารณาเห็นชอบกรอบระยะเวลาในการ ดําเนินการโครงการใหม ประกอบดวย

อยางไรก็ตาม ผลสรุปจํานวนผูยื่นเสนอขอขายไฟฟาโครงการ โรงไฟฟาชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก (โครงการนํารอง) ในเขตพื้นที่ การไฟฟานครหลวง ไมมีผูยื่นคําขอเสนอขายไฟฟา สําหรับ กฟภ. ซึ่ง ไดเปดรับขอเสนอ โดยหมดเขตรับยืน่ ไปเมือ่ วันที่ 30 เมษายนทีผ่ า นมา มีผูยื่นคําขอเสนอขายไฟฟาจํานวนทั้งสิ้น 246 ราย แบงตามประเภท เชื้อเพลิงไดเปน ประเภทชีวมวล จํานวน 143 ราย และประเภทกาซ ชีวภาพ (พืชพลังงานผสมน้ําเสีย/ของเสีย) จํานวน 103 ราย ปจจ�บัน อยูระหวางการพิจารณาคําเสนอขอขายไฟฟาดานเทคนิค คมกฤช กลาววา หลังจากกระบวนการพิจารณาคําเสนอขอขาย ไฟฟาเทคนิคเสร็จสิ้นแลว กกพ. จะพิจารณาคําเสนอขอขายไฟฟาดาน ราคา โดยมีคณะอนุกรรมการพิจารณาคําเสนอขอขายไฟฟาดานราคา ดวยวิธกี ารแขงขันดานราคา (Competitive Bidding) ซึง่ จะเรียงลําดับ คําเสนอขอขายไฟฟาทีเ่ สนออัตราสวนลด (รอยละ) จากมากไปหานอย โดยผูยื่นคําเสนอขอขายไฟฟาที่เสนออัตราสวนลดมากจะไดรับการ พิจารณาคัดเลือกเขาบรรจ�ในสายปอน (Feeder) ที่วางกอนจนกวา จะครบเปาหมายการรับซื้อ โดยจะตองคํานึงถึงศักยภาพระบบไฟฟา ที่จะรองรับไดดวย “กกพ. จะสามารถประกาศรายชื่อผู ทีผ่ า นการคัดเลือกเขารวมโครงการไดภายใน วันที่ 26 สิงหาคม 2564 เพื่อใหทันกําหนด วันลงนามในสัญญาซือ้ ขายไฟฟากับการไฟฟา ฝายจําหนายภายใน 120 วัน นับจากวัน ที่ประกาศรายชื่อผูผานการคัดเลือก และสามารถดําเนินการจายไฟฟาเขา ระบบเชิงพาณิชย (SCOD) ภายใน 36 เดือน นับจากวันที่ ไดลงนามสัญญา ซื้อขายไฟฟา” คมกฤช กลาวทิ้งทาย

กระบวนการ

กรอบระยะเวลา (เดมิ) กรอบระยะเวลา (ใหม)

การไฟฟาฝายจาำหนายประกาศผลการพจิารณาคณ ุ สมบตัแิละคาำเสนอขอขายไฟฟา ดานเทคนคิ ผูท่ีไมผานการพจิารณาคณ ุ สมบตัแิละคาำเสนอขอขายไฟฟาดานเทคนคิยน่ือทุธรณ ตอ กกพ. (ภายใน 15 วนั) คณะอนกุรรมการพจิารณาอทุธรณ พจิารณาอทุธรณ (ภายใน 30 วนั) กกพ. พจิารณาผลอทุธณ คณะอนกุรรมการพจิารณาคาำเสนอขอขายไฟฟาดานราคาพจิารณาคาเสนอขอขาย ำ ไฟฟาดานราคา และเสนอ กกพ. พจิารณา สำานกังาน กกพ. ประกาศรายชอ่ืผูผานการคัดเลือกเขารวมโครงการ การไฟฟาฝายจำหนายแจงผูที่ผานการคัดเลือกทราบและยอมรับเงื่อนไขการลงนาม สัญ ั ญาซื้อขายไฟฟา (ภายใน 7 วันนับจากวันประกาศรายชื่อผูผานการคัดเลือก เขารวมโครงการ) ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟา (ภายใน 120 วันนับจากวันประกาศรายชื่อผูผานการ คัดเลือกเขารวมโครงการ) กำหนดวันจายไฟฟาเขาระบบเชิงพาณิชย 26 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 26

21 พ.ค. 64

2 ก.ค. 64

ภายในวนัท่ี 4 ม.ิย. 64

ภายในวนัท่ี 16 ก.ค. 64

ภายในวนัท่ี 3 ก.ค. 64 ภายในวนัท่ี 7 ก.ค. 64 ภายในวนัท่ี 14 ก.ค. 64

ภายในวนัท่ี 14 ส.ค. 64 ภายในวนัท่ี 18 ส.ค. 64 ภายในวนัท่ี 25 ส.ค. 64

ภายในวนัท่ี 15 ก.ค. 64 ภายในวนัท่ี 22 ก.ค. 64

ภายในวนัท่ี 26 ส.ค. 64 ภายในวนัท่ี 2 ก.ย. 64

ภายในวนัท่ี 12 พ.ย. 64

ภายในวนัท่ี 24 ธ.ค. 64

ภายในวนัท่ี 12 พ.ย. 67

ภายในวนัท่ี 24 ธ.ค. 67

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


Hybrid Wind-Solar Cell

Energy พิชัย ถิ่นสันติสุข

คุมคาทุกมิติ

มนุษ ยรูจักการนําพลังงานลมมาใชประโยชนมาตั้งแตสมัยโบราณ เริ่มจากการสีขาว การสูบน้าํ ในภาคเกษตรกรรม จวบจนปจจ�บนั กังหันลมไดรบั การพัฒนาเทคโนโลยีจนสามารถ ผลิตไฟฟาดวยกระแสลมที่คอนขางต่ํา นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยีการทํางานให ไมตอ งใชเกียร (Gearless) จึงทําใหไมมเี สียงดังรบกวนเหมือนกังหันลมผลิตไฟฟาแบบเดิมๆ

Key Success หากเปรียบเทียบกับการผลิตไฟฟาจากเชือ้ เพลิงชีวมวล (Biomass) ปจจัยสูความสําเร็จของโครงการนอกจากเทคโนโลยีนั้นก็คือเชื้อเพลิง ซึ่งตองมีราคาไมสูง จนเกินไป มีคาความรอนสูง คาความชื้นต่ํา หากเปรียบกับการผลิตไฟฟากาซชีวภาพ (Biogas) ก็ตองคํานึงถึงวัตถุดิบที่สามารถยอยสลายงาย และดูคาทางเคมีอีกหลายตัว อาทิ คา TS (Total Solid Content) และคา CN Ratio เปนตน สวนของการผลิตไฟฟาจากพลังงานลมนอกจากเทคโนโลยีที่พัฒนา อยางไมสนิ้ สุดแลว ความสม่าํ เสมอของกระแสลมตลอดทัง้ ป และความเร็วลม จะเปนปจจัยสําคัญตอการ พิจารณาการลงทุน ดังนัน้ นักลงทุนมืออาชีพ โดยเฉพาะอยางยิง่ โครงการผลิตไฟฟาขนาดใหญ จึงจําเปน อยางยิ่งตองมีการตรวจวัดลมอยางนอย 1 ป เพิ่มเติมจากขอมูลที่ทางราชการมีอยู ปจจ�บันประเทศไทยมีกําลังการผลิตติดตั้งกังหันลมผลิตกระแสไฟฟาจํานวน 1,517 เมกะวัตต โดยมีกังหันลมทั้งสิ้นประมาณ 1,132 ตน สามารถผลิตพลังงานสะอาดสีเขียว เขาสูระบบบริโภคของประเทศไทยประมาณ 2,059 ลานหนวยตอป คิดเปนประมาณ 0.8% ของกําลังการผลิตไฟฟาทัง้ หมดของประเทศ และมีสว นชวยลดปริมาณการปลอย คารบอนสูช นั้ บรรยากาศในอัตราประมาณ 1,340,000 ตันตอป แมวา การสงเสริม และ เปดรับซือ้ ไฟฟาจากพลังงานลมจะหยุดชะงักมาตัง้ แตชว งป พ.ศ. 2560 อีกทั้งพลังงานลมยังถูกจัดอันดับเปนพลังงานทดแทนที่มี ต น ทุ น ที่ สู ง สํ า หรั บ ประเทศ โดยเหตุ ผ ลดั ง กล า ว สั ม พั น ธ กั บ ศั ก ยภาพลมและประสิ ท ธิ ภ าพ ของกังหันลมผลิตไฟฟาในสภาวะลม ความเร็วต่ํา ซึ่งปจจ�บันก็มีความ กาวหนาไปอยางมาก

27 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 27

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


ดร.สุเมธ สุทธภักติ นักวิจัยพลังงานลม วิทยาลัยพลังงานทดแทนและสมารตกริดเทคโนโลยี อดีตรองนายกสมาคมกังหันลมแหงประเทศไทย

“ในบรรดาพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) ใน ประเทศไทย พลังงานลมอาจถูกสังคมลืมไปแลว อาจเนื่องมาจาก ไมคอยมีขาวในสื่อตางๆ และไมมีบทบาทในตลาดหลักทรัพยฯ เหมือนพลังงานประเภทอืน่ ๆ อีกทัง้ ยังมีการเขาใจทีค่ ลาดเคลือ่ นวา กังหันลมอาจสงเสียงดัง และมีตนทุนการผลิตไฟฟาคอนขางสูง ปจจ�บันกังหันลมผลิตไฟฟามีการพัฒนาเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง จนตนทุนการผลิตไฟฟาตอหนวยไมแตกตางจากการผลิตไฟฟาจาก เชื้อเพลิงชีวมวล (Biomass)” “ปจจ�บันประเทศไทยมีกังหันลมขนาดใหญผลิตไฟฟากวา 1,000 ตน กําลังการผลิตติดตัง้ กวา 1,500 เมกะวัตต สามารถผลิต ไฟฟาไดกวา 2,000 ลานหนวยตอป นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลง สภาวะภูมิอากาศมีแนวโนมที่จะเกิดพายุเพิ่มมากขึ้นกวาเดิม ซึ่งจะ เปนปจจัยบวกทําใหกังหันลมผลิตไฟฟาไดดีขึ้นอีกดวย”

28 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 28

ขอเท็จจริงอีกมุมที่ตองยอมรับคือ ประเทศเราตั้งอยูใน จ�ดที่มีกําลังลมประจําถิ่นแรงไมมากนัก ประเทศไทยมีทิศทาง ผานของลมหลักอยู 2 ทิศทาง คือ ลมจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และลมจากทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต เฉลี่ ย ทิ ศ ละ 6 เดื อ น มี ภูมปิ ระเทศทีเ่ ปนแนวไหลเขาและพืน้ ทีร่ าบสูงอยูก ระจัดกระจาย มีพน้ื ทีแ่ นวชายฝง ทีม่ คี วามยาวประมาณ 3,152 กิโลเมตร แตมี กําลังลมออนในระดับไมเกิน 3 เมตรตอวินาที ที่ระดับความสูง 100 เมตร มากกวา 7 เดือน อยางไรก็ตาม ทีต่ ง้ั ของประเทศไทย อยูบ ริเวณใกลเสนศูนยสตู รของโลก ทําใหเราไดรบั อานิสงสจาก ลมคา (Trade Wind) และพายุหมุนเขตรอน ระหวางละติจูด

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


30 องศาเหนือ จนถึง 30 องศาใต เปนปจจัยเสริมจากลมประจําถิ่น การผลิตกระแส ไฟฟาจากพลังงานลมของประเทศจึงพิจารณาถึงความเพียงพอของพายุมรสุมและลม การคาในแตละชวงรอบป เพราะปจจัยดังกลาวคิดเปนสวนถึง 70% ของเนือ้ ศักยภาพ ลมของประเทศโดยรวม ผลจากการวิจัยเชิงสถิติและศึกษาศักยภาพลมของประเทศ พบวา ประเทศไทยยังมีพนื้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพลมสําหรับพัฒนาโครงการผลิตกระแสไฟฟา จากกังหันลมที่มีระดับความเร็วลมตรวจวัดเฉลี่ยรายปตั้งแต 5.50-7.50 เมตรตอ วินาที ที่ระดับความสูง 120 เมตร อยูพอสมควร หากคํานวณจากแผนที่ประเทศไทย นั้น เรามีพื้นที่กวา 174,628 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ที่มีศักยภาพพลังงานลมคิดเปน 34.02% ของพื้นที่ประเทศไทยเลยทีเดียว

ผศ. ดร.วิรชัย โรยนรินทร ผูอํานวยการศูนยวิจัยพลังงาน คณะวิศวกรรมศาสตร มทร.ธัญบุรี ประธานหลักสูตรปริญญาเอก วิศวกรรมพลังงานและวัสดุ วิศวกรรมศาสตร มทร.ธัญบุรี ประธานที่ปรึกษาสมาคมพลังงานทดแทน สูชุมชนแหงประเทศไทย และประธานที่ปรึกษา บริษัทเทคโนโลยีพลังงานแหงอนาคตไทย

“การใชพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย ควบคูไปในระบบการผลิตไฟฟาแบบผสมผสานจะ ทําใหระบบมีประสิทธิภาพสูงขึน้ กวาการใชเทคโนโลยี เดี่ ย ว โดยเฉพาะการใช กั ง หั น ลมผลิ ต ไฟฟ า ที่ ออกแบบมาพิ เ ศษให ทํ า งานที่ ค วามเร็ ว ลมต่ํ า ที่ สามารถผลิตไดในประเทศ จะเกิดประโยชนมากใน ทุกมิติ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในการนําไปใชใหเกิดการ สรางงานและผลิตภัณฑตางๆ ในชุมชน และพัฒนา พื้ น ที่ ใ ห เ ป น แหล ง ท อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศน สร า ง ผลิตภัณฑชมุ ชนสูต ลาดทองถิน่ ดังตัวอยางโครงการ พระราชดําริ “ชั่งหัวมัน” เปนตน” “ปจจ�บันกังหันลมไดมีการออกแบบพิเศษให เหมาะกับศักยภาพความเร็วลมในประเทศไทยและ มีคุณภาพดี เปนการลดการนําเขา และชวยพัฒนา เทคโนโลยีในประเทศสูการผลิตเชิงอุตสาหกรรม”

เปาหมายกำลังการผลิตใหมของโรงไฟฟาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ที่จะรับซื้อไฟฟา ตาม PDP2018 ระหวางป พ.ศ. 2561-2580 กำลังผลิตตามสัญญา พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (เมกะวัตต)

พลังงานแสงอาทิตย

พลังงานแสงอาทิตยทุนลอยน้ำรวมกับโรงไฟฟาพลังน้ำ ชีวมวล โรงไฟฟาชีวมวลประชารัฐในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต พลังงานลม กาซชีวภาพ (น้ำเสีย/ของเสีย/พืชพลังงาน) ขยะชุมชน ขยะอุตสาหกรรม พลังน้ำขนาดเล็ก รวม

9,290 2,725 3,380 120 1,485 1,183 400 44 69 18,696

การลงทุนผลิตไฟฟาจากกังหันลมในประเทศไทย สวนใหญจะอยู ในแนว เทือกเขาที่ราบสูง ซึ่งมีกระแสลมแรงและคอนขางสม่ําเสมอเกือบตลอดทั้งป เชน จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ เพชรบูรณ สงขลา และนครศรีธรรมราช อีกทั้งยังมี กังหันลมขนาดเล็กๆ ติดตั้งเพื่อสาธิตและเพื่อการศึกษาในหลายจังหวัด เชน จังหวัด เพชรบุรี สุราษฎรธานี สมุทรสาคร และภูเก็ต เปนตน โครงการผลิตไฟฟาจากกังหันลม ขนาดใหญ (50-100 เมกะวัตต) มักจะมีการขายเปลี่ยนมือผูลงทุนกันบอยครั้ง ตามแผน AEDP 2018 ไดกําหนดเปาหมายการรับซื้อไฟฟาจากพลังงานลม จนถึงปลายแผนไววา จะรับซือ้ เพิม่ อีก 1,485 เมกะวัตต แตในชวงแรกตามแผน PDP นั้น จะรับซื้อ 270 เมกะวัตตกอน โดยแบงเปน 90 MW + 90 MW + 90 MW

เหตุใดจึงควรไฮบริดพลังงานลมกับพลังงานเซลลแสงอาทิตย

เนือ่ งจากเปนพลังงานจากธรรมชาติทงั้ คู และไมตอ งเสียคาเชือ้ เพลิง เพียงแต มี Plant Factor คอนขางต่ํา และใชพื้นที่คอนขางมาก มีขอจํากัดดานตําแหนงที่ตั้ง ของโครงการ โดยเฉพาะอยางยิง่ กังหันลมจําเปนตองเลือกตําแหนงทีม่ กี ระแสลมแรง และสม่ําเสมอตลอดทั้งป ซึ่งสวนใหญเปนที่ราบสูง การคมนาคมไมสะดวก จึงมีการ ลงทุนถนนหนทางคอนขางมากในแตละโครงการ ดังนัน้ หากพลังงานลม ไฮบริดกับพลังงานเซลลแสงอาทิตยในสัดสวนที่เหมาะสมประมาณ 70:30 ขึ้นอยูกับพื้นที่ ก็จะเกิดความคุมคาในทุกมิติ วิธีการนี้เปนที่ นิยมอยางแพรหลายในประเทศพัฒนาแลวหลายๆ ประเทศ

29 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 29

ชุมชนควรไดอะไรจากโครงการเหลานี้

ดวยเทคโนโลยีปจจ�บันที่กังหันลมไมมีเสียงดัง รบกวนเหมือนแตกอน ในบริเวณพื้นที่รอบโรงไฟฟา กังหันลม ยังสามารถพัฒนามาเปนแหลงทองเที่ยว เชิงนิเวศน และศูนยการเรียนรูดานพลังงานสะอาด อีกทัง้ ยังมีสว นชวยใหชมุ ชนสามารถขนสงสินคาเกษตร ไปสงยังตลาดไดอยางรวดเร็วมากขึ้น โดยอาศัยถนน ในโครงการ ที่สําคัญที่จะขอเสนอไวในที่นี้คือ การ แบงปนรายไดจากการจําหนายไฟฟาทุกๆ เดือน กอน หักคาใชจายในอัตราที่เหมาะสมใหกับชุมชนบริเวณ โรงไฟฟาในรูปแบบของวิสาหกิจชุมชน หรือการรวมตัว แบบใดแบบหนึ่ง จากวิกฤต COVID-19 สงผลใหเกิดชีวิตวิถีใหม (New Normal) ลดการแขงขัน เพิ่มการแบงปนให พออยูพ อกิน ไมวา โครงการ Hybrid Wind-Solar Cells จะไดรับการพิจารณาจากภาครัฐหรือไมก็ตาม ผูเขียน หวังวาการแบงปนสัมปทานการขายไฟฟาใหกบั ภาครัฐ สูชุมชนรอบโรงไฟฟาในรูปแบบตางๆ ทุกเชื้อเพลิงจะ ไดรบั การพิจารณา เพราะนีค่ อื “สวัสดิการแหงรัฐวิถีใหม Energy For All”

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


Innovation

ศาสตราจารยวิจัยดีเดน จาก มช.

กองบรรณาธิการ

สราง “นวัตกรรมสีเขียว”

วิจากภู เคราะห ท างเคมี มิปญญาบรรพชนฝาง

ศาสตราจารยวิจัยดีเดน มหาวิทยาลัยเชียงใหม พัฒนาภูมิปญญามากกวา 100 ปของบรรพชนชาวฝาง สู “นวัตกรรมสีเขียว” ในการวิเคราะหทางเคมี สราง เครือขายความรวมมือ เกิดตัวอยางการใชจริง รวมถึง ใชในการศึกษาแนวใหม-ปฏิบัติการวิเคราะหทางเคมีท่ีบาน ผานระบบออนไลน ศ. ดร.เกตุ กรุดพันธ หัวหนาศูนยวิจัยทางนวัตกรรม ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการวิเคราะห มหาวิทยาลัยเชียงใหม กลาววา ไดริเริ่มพัฒนาการวิเคราะหทางเคมีโดยใชรีเอเจนตจากธรรมชาติ ซึ่งบุกเบิกการ สรางนวัตกรรมจากภูมิปญญาทองถิ่นดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมากวา 15 ป อยาง ตอเนื่องมาจนถึงปจจ�บัน จนไดรับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ และไดรับทุน ศาสตราจารยวิจัยดีเดน จาก สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและ นวัตกรรม (สกสว.) ภายใต กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม (อว.) ใหดําเนินโครงการ “นวัตกรรมสีเขียวในการวิเคราะหทางเคมีกับภูมิปญญา ทองถิน่ ” โดยมีวสิ ยั ทัศนและเปาหมาย “Local issues-Global impact-Sustainable world” มุงเนนการนําภูมิปญญาทองถิ่น มาตอยอดเปนการวิเคราะหทางเคมี แบบสะอาดสมัยใหม รวมถึงการสรางและขยายเครือขายเพื่อการพัฒนาตอยอด งานวิจัยเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องเพื่อตอบสนองการพัฒนาอยางยั่งยืนในหลายมิติ จากภูมิปญญาทองถิ่นมากกวา 100 ป ของบรรพชนชาวฝาง นํามาสูการ ศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร รวมกับศูนยวิจัยทางนวัตกรรมทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีการวิเคราะห และคลัสเตอรความเปนเลิศดานเศรษฐกิจและสังคมบนฐาน ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมี ดร.กนกวรรณ คิวฝอ เขารวมพัฒนาตนแบบ

หัวหนาศูนยวิจัยทางนวัตกรรม ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการวิเคราะห มหาวิทยาลัยเชียงใหม

30 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 30

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


รีเอเจนตธรรมชาติแบบพรอมใช และขยายเครือขายการใชงานเริม่ ตนไปยังมหาวิทยาลัย ทั้งในและตางประเทศ 8 แหง ไดแก มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยแมฟา หลวง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ สกลนคร) University of Malaya ประเทศมาเลเซีย และ Hamburg University of Applied Science สหพันธ สาธารณรัฐเยอรมนี ซึ่งไดปรับใชรีเอเจนตธรรมชาติแบบพรอมใชงานที่พัฒนาขึ้นกับ การเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยเปนครั้งแรกในกระบวนวิชาเภสัชควบคุมคุณภาพ กอน ตอยอดและพัฒนาเปนการทดลองที่บานโดยความรวมมือกับคณะวิจัยของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี และการอบรมเชิงปฏิบัติการออนไลนรวมกับคณะวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ซึง่ ถือเปนการริเริม่ การใชนวัตกรรมสีเขียวเพือ่ การวิเคราะหทางเคมี กับการเรียนการสอนแบบออนไลนในยุควิถีใหมเปนครั้งแรกของโลก

วิเคราะหหาปริมาณเหล็ก

บรรยากาศการเรียนการสอน การวิเคราะหผานโทรศัพทมือถือ

“มีพชื หลายชนิดทีส่ ามารถนํามาใชเปนรีเอเจนตธรรมชาติ เพื่อใชวิเคราะหทางเคมีสําหรับสารตางๆ ไดหลากหลาย เชน การวิเคราะหหาปริมาณเหล็กซึ่งเกี่ยวของกับการใชสารเคมี ที่ปลอดภัย ในปฏิบัติการเคมีแบบเดิมจะเกี่ยวของกับสารเคมี บางตัวทีเ่ ปนสารกอมะเร็ง เปนสารประกอบของไนโตรเจน ซึง่ จะตองนําเขาจากตางประเทศ อาจใชเวลามากกวา 3 เดือน และมีราคาสูงกวารีเอเจนตธรรมชาติทส่ี ามารถผลิตไดในทองถิน่ ประมาณ 4 เทา หากนําปฏิบัติการนี้มาใชในการเรียนการสอน ทั่วประเทศ คาดวาจะชวยประหยัดงบประมาณไดในหลัก 10 ลานบาท ในแตละปการศึกษา และมีความปลอดภัยในการ กําจัดของเสียทีเ่ ปนสารกอมะเร็ง ขณะนี้ไดยน่ื ขอจดอนุสทิ ธิบตั ร เรื่อง “สารทดสอบปริมาณเหล็กและกรรมวิธีการเตรียม” เรียบรอยแลว” ศ. ดร.เกตุ กลาว 31 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 31

การใชจริงในการศึกษาแบบวิถีใหมไดรบั ผลตอบรับอยางดีจากทัง้ ผูเ รียน และอาจารยผูสอน โดยเพิ่มความสามารถในการเรียนการสอนแบบออนไลน ไดเปนอยางมาก ขณะนี้ ไดขยายไปยังมหาวิทยาลัยและสถานศึกษาตางๆ มากขึ้น โดยพยายามปรับสมรรถนะขององคความรูใหเขากับบริบทของแหลง เรียนรูแตละแหง นอกจากนี้ยังไดนําวิธีการวิเคราะหทางเคมีที่พัฒนาขึ้นเพื่อ การวิเคราะหในตัวอยางตางๆ เชน ยาบํารุงเลือด น้าํ บาดาล โดยการวิเคราะห ทางเคมีเพื่อหาปริมาณเหล็กทําไดโดยนําสารละลายมาผสมกับสารสกัด อยางงายของใบฝรัง่ ในสภาวะทีค่ วบคุม จะเกิดสีมว งน้าํ เงิน ซึง่ ความเขมของสี จะสัมพันธกบั ปริมาณเหล็กในตัวอยาง ทัง้ นีส้ ามารถใชกลองของโทรศัพทมอื ถือ ถายภาพ และประมวลผลโดยใชแอปพลิเคชันทีส่ ามารถสงขอมูลผานทางระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม นอกจากนี้ คณะวิจัยยังไดพัฒนาการวิเคราะหทางเคมีเพื่อหาปริมาณ สารอืน่ ๆ โดยใชพชื ทีห่ ลากหลาย เชน การหาปริมาณอะลูมเิ นียมที่ใชรเี อเจนต ธรรมชาติจากแกนฝาง การหาปริมาณเหล็กโดยใชสารสกัดจากขาวมีสี การ หาปริมาณคารบาริล ซึ่งเปนสารกําจัดศัตรูพืชโดยใชเอนไซมจากยางขนุน

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


News กองบรรณาธิการ

PT

LPG “PT TAXI TRANSFORM จัดโครงการ

เปลี่ยนเพื่ออนาคต”

ตั้งเปาติดตั้งอุปกรณเชื้อเพลิงใหมใหแท็กซี่ NGV 10,000 คัน ภายในสิ้นปนี้

PT LPG ทุมงบกวา 150 ลานบาท จัดโครงการเปลี่ยนประเภทการใชเชื้อเพลิงในรถแท็กซี่ จาก NGV เปน LPG ในโครงการ “PT TAXI TRANSFORM เปลี่ยนเพื่ออนาคต” ติดตั้งอุปกรณ การใชเชื้อเพลิงใหมใหผูขับขี่รถแท็กซี่ NGV ตั้งเปาแท็กซี่เขาโครงการ 10,000 คัน สิ้นปนี้ สุวชั ชัย พิทกั ษวงศาภรณ กรรมการผูจ ดั การ บริษทั โอลิมปส ออยล จํากัด ในกลุม บริษทั พีทีจีเอ็นเนอยี จํากัด (มหาชน) กลาววา สถานีบริการแกส LPG ภายใต เครื่องหมายการคา “PT” ไดจัดโครงการเปลี่ยนประเภท การใชเชื้อเพลิงในรถแท็กซี่จาก NGV เปน LPG ดวยการ ติดตั้งอุปกรณการใชเชื้อเพลิงใหม โดยอูติดตั้งเชื้อเพลิง แกสรถยนตทมี่ มี าตรฐานและคุณภาพ ทีผ่ า นการรับรอง โดยกรมการขนสงทางบกอยางถูกตองภายใตชื่อ กิจกรรม “PT TAXI TRANSFORM เปลีย่ นเพือ่ อนาคต” เพื่อเปนสวนหนึ่งของการขยาย ความชวยเหลือกลุมแท็กซี่ที่บริษั ทฯ มุงมั่น ใหความชวยเหลือมาโดยตลอด

สําหรับโครงการ “PT TAXI TRANSFORM เปลี่ยนเพื่ออนาคต” บริษัทฯ ไดนาํ เสนอเพือ่ สรางความคุม คากับผูข บั ขีแ่ ท็กซี่ 3 ดาน ดังนี้ “คุม เวลา” กับสถานีบริการ PT LPG ที่มี ใหบริการเปนจํานวนมาก ทั้งกรุงเทพฯ ปริมณฑลและตางจังหวัด โดยไมตองเสียเวลาในการหาปม และเติมแกส LPG เปนเวลานานๆ “คุมคา” กับการไดรับการติดตั้งอุปกรณใหมทั้งหมด ซึง่ มีมลู คากวา 20,000 บาท ชําระคาสมัครเพียง 3,000 บาทเทานัน้ “คุม สุด” กับการรับสิทธิส์ ว นลดในการซือ้ แกส LPG ทัง้ ป รวมมูลคาสูงสุด 4,200 บาท โดยบริษั ทฯ ไดจัดเตรียมงบประมาณสําหรับโครงการดังกลาวนี้ 150 ลานบาท ตั้งเปาภายใน พ.ศ. 2564 คาดวาจะมีรถแท็กซี่เขารวมโครงการ จํานวน 10,000 คัน โดยกิจกรรมดังกลาวเริ่มตั้งแตวันที่ 11 พฤษภาคม 2564 ที่ผานมา “โครงการ “PT TAXI TRANSFORM เปลีย่ นเพือ่ อนาคต” เปนสวนหนึง่ ของการขยายความชวยเหลือกลุม แท็กซีท่ บี่ ริษัทฯ ใหความชวยเหลือในชวง การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 มาโดยตลอด ทั้งกิจกรรมฉีดพนฆาเชื้อ รถแท็กซี่ กิจกรรมแจกขาวกลองเพื่อลดคาครองชีพ และกิจกรรม PT TAXI Rewards เพื่อแท็กซี่สูวิกฤต เพื่อชวยเหลือพี่นองผูขับขี่แท็กซี่ LPG ใหได ฝาวิกฤตที่ผานมาไปดวยกัน” สุวัชชัย กลาว 32 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 32

ทั้งนี้ บริษั ทฯ มีจ�ดประสงคที่จะขยายความชวยเหลือ ไปยังกลุม ผูข บั ขีร่ ถแท็กซี่ NGV ในการลดตนทุนคาเชือ้ เพลิงแกส และให เ กิ ด ความคล อ งตั วในการประกอบอาชี พ ของผู ร ว ม โครงการ ไดแก การประหยัดเวลาในการหาสถานีบริการ LPG และลดระยะเวลาในการเติมแกส นอกจากนี้ยังชวยลดน้ําหนัก โดยรวมของอุปกรณ โดยเฉพาะถังบรรจ�แกสทีม่ นี า้ํ หนักเบากวา เพื่อถนอมการใชงานของเครื่องยนตและประหยัดพลังงานใน การขับเคลื่อนลง “บริษัทฯ จึงอยากเชิญชวนแท็กซีท่ ี่ใชบริการ NGV อยูใน ปจจ�บนั ซึง่ มีใบอนุญาตในการใชแท็กซีม่ ากกวา 3 ป ก็ใหแท็กซี่ เปลี่ยนจาก NGV เปน LPG ซึ่งจะชวยทําใหคุณภาพชีวิตและ ตนทุนในการประกอบอาชีพดีขึ้น นี่เปนอีกหนึ่งโครงการดีๆ ที่ PT LPG อยากสนับสนุนและชวยเหลือแท็กซี่ที่บริษั ทฯ มุงมั่น ใหความชวยเหลือมาโดยตลอด” สุวัชชัย กลาว

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


News กองบรรณาธิการ

อีผนึกสกำลัทง วอเตอร

ที ยูทิลิตี้ส

รวมพัฒนาแหลงน้ำในพื้นที่ EEC “อีสท์ วอเตอร์” ผสานความร่วมมือ “ที ยูทิลิตี้ส์” วางแผน พัฒนาแหล่งน้ำาและการจัดการทรัพยากรน้ำาจากกลุ่มบ่อดินพื้นที่ จังหวัดชลบุรีและจังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อรองรับความต้องการใช้น้ำา ในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) สร้างความมัน่ คงและ รักษาเสถียรภาพด้านแหล่งน้ำาตามนโยบายของรัฐบาล บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำาภาคตะวันออก จำากัด (มหาชน) หรือ อีสท์ วอเตอร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการน้ำา แบบครบวงจร โดย จิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการผู้อำานวยการใหญ่ ลงนามบันทึกความเข้าใจกับ เกรียงไกร เพียรวิทยาสกุล กรรมการ บริหาร บริษัท ที ยูทิลิตี้ส์ จำากัด ซึ่งเป็นบริษั ทในเครือของบริษั ท พร็อพเพอร์ต้ี เพอร์เฟค จำากัด (มหาชน) และบริษัท เอสซีไอ อีเลคตริค จำากัด (มหาชน) ร่วมกันศึกษาศักยภาพและความเป็นไปได้ของแหล่งน้าำ เพือ่ จัดหาและพัฒนาแหล่งน้าำ ดิบจากบ่อดินเอกชนในพืน้ จังหวัดชลบุรี และจังหวัดฉะเชิงเทรา ตามแนวถนนหมายเลข 331 สำาหรับเป็น แหล่งน้ำาต้นทุนในพื้นที่ EEC ประมาณ 96 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี รองรับ ความต้องการใช้น้ำาได้อย่างเพียงพอและยั่งยืนตามนโยบายของ 33 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 33

จิรายุทธ รุง่ ศรีทอง และ เกรียงไกร เพียรวิทยาสกุล

รัฐบาล โดยอาศัยความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในการบริหาร จัดการน้ำาให้กับพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกมาเกือบ 30 ปี ของ อีสท์ วอเตอร์ ประกอบกับความพร้อมของโครงข่ายท่อส่งน้ำาดิบ ความยาวเกือบ 500 กิโลเมตร เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและเพิ่ม ศักยภาพในการลงทุน จิรายุทธ รุง่ ศรีทอง กรรมการผูอ้ าำ นวยการใหญ่ อีสท์ วอเตอร์ กล่าวว่า ปีนอี้ สี ท์ วอเตอร์ เตรียมประกาศรุกธุรกิจน้าำ ครบวงจรอย่าง เต็มรูปแบบ ควบคู่ไปกับการขับเคลื่อนตามนโยบายของรัฐบาลใน โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซึง่ อีสท์ วอเตอร์ เป็น ส่วนหนึ่งในการสนับสนุนด้านการให้บริการน้ำาครบวงจร ตลอดจน การบริหารจัดการน้ำาให้แก่ EEC พร้อมก้าวสู่การเป็น Smart Water รองรับความต้องการใช้น้ำาในพื้น ที่ภาคตะวันออกในทุกภาคส่วน จึงมั่นใจได้ว่าอีสท์ วอเตอร์ จะยังคงเติบโตอย่างยั่งยืนต่อไป โดยใช้ ความเชี่ยวชาญด้านการบริการจัดการน้ำาแบบครบวงจร สร้างความ มั่นคงและเสถียรภาพด้านน้ำา เตรียมพร้อมสำาหรับการเติบโตทาง เศรษฐกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคต

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


News กองบรรณาธิการ

ลองกิ โซลาร เผยรายไดไตรมาสแรกป ‘64 เพิ่มขึ้น 84.35%

ชูกลยุทธใหมเนนคุณภาพ ตนทุน และแบรนด หนุนรายไดและผลกำไรเติบโตตอเนื่อง

ลองกิ บริษัทเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ชั้นนำาของโลก ประกาศรายงานประจำาปี 2563 ต่อผู้ถือหุ้นทั่วโลก ซึ่งเป็นรายงาน แสดงผลการเติบโตของรายได้อย่างต่อเนื่องและการจัดส่งทั่วโลก ทีเ่ พิม่ ขึ้นอย่างมาก ท่ามกลางวิกฤตการณ์การแพร่ระบาดนี้ บริษัทฯ ยังคงดำาเนินงานอย่างต่อเนื่องด้วยแนวทางที่มุ่งเน้นการสร้างคุณค่า ให้กับลูกค้าโดยการจัดหาผลิตภัณฑ์และบริการที่เชื่อถือได้และมี ประสิทธิภาพสู่ตลาด จากรายงานระบุวา่ ลองกิมรี ายได้จากการดำาเนินงานในปี พ.ศ. 2563 ที่ 54.583 พันล้านหยวน (8.416 พันล้านดอลลาร์) เพิ่มขึ้น 65.92% เมื่อเทียบเป็นรายปี กำาไรสุทธิที่เป็นของบริษัทใหญ่ในช่วง เวลานัน้ อยูท่ ่ี 8.552 พันล้านหยวน (1.319 พันล้านดอลลาร์) เพิม่ ขึน้ 61.99% เมื่อเทียบเป็นรายปี ขณะที่กำาไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้น ของบริษัทจดทะเบียนหลังจากหักกำาไรและขาดทุนทีเ่ กิดขึน้ ซ้าำ 8.143 พันล้านหยวน (1.256 พันล้านดอลลาร์) เพิ่มขึ้น 59.87% เมื่อเทียบ เป็นรายปี สำาหรับไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2564 ลองกิมีรายได้จากการ ดำาเนินงานทั้งหมด 15.854 พันล้านหยวน (2.413 พันล้านดอลลาร์) ซึ่งเพิ่มขึ้น 84.36% จาก 8.599 พันล้านหยวน (1.309 พันล้าน ดอลลาร์) ในปีที่แล้ว โดยมีกำาไรสุทธิอยู่ที่ 2.502 พันล้านหยวน (0.381 พันล้านดอลลาร์) เพิม่ ขึน้ 34.24% หรือ 1.864 พันล้านหยวน (0.284 พันล้านดอลลาร์) เมือ่ เทียบกับในช่วงเวลาเดียวกันในปี พ.ศ. 2563 กำาไรสุทธิท่ีไม่รวมกำาไรและขาดทุนที่ไม่เกิดขึน้ ประจำา (เรียกว่า การหักกำาไรที่ไม่ใช่กำาไรสุทธิ) อยู่ที่ 2.421 พันล้านหยวน (0.368 พันล้านดอลลาร์) เพิ่มขึ้น 37.46% เมื่อเทียบเป็นรายปี กลยุทธ์ใหม่ของลองกิทชี่ ว่ ยเร่งการขยายธุรกิจในต่างประเทศ และเพิ่มประสิทธิภาพการขาย อ้างอิงจากในปี พ.ศ. 2563 มีหัวใจ สำาคัญที่คุณภาพ ต้นทุน และแบรนด์ โดยลองกิได้ตอบสนองความ ต้องการของตลาดสำาหรับผลิตภัณฑ์โมโนมากขึ้น ทำาให้ยอดขาย โมโนเวเฟอร์และโมดูลเพิ่มขึ้นอย่างมากทุกปี โดยมีรายได้และ ผลกำาไรจากการดำาเนินงานที่เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วย 1. การผลิตและการขายแผงโซลาร์แบบแผ่นเติบโตขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง 34 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 34

และยังคงเป็นผู้นำาอันดับ 1 ในการส่งมอบทั่วโลก ในปี พ.ศ. 2563 อันเป็นผลมาจากคำาสั่งซื้อระยะยาว การจัดหาและกำาลังการผลิต ทีด่ ขี น้ึ รวมถึงการกำาหนดราคาทีเ่ หมาะสม ทำาให้ลองกิสามารถจัดส่ง เวเฟอร์หรือแผงโซลาร์แบบแผ่นขนาดเล็กได้ที่ 58.15 จิกะวัตต์ (GW) โดยมียอดขายจากภายนอก 31.84 จิกะวัตต์ (GW) และ 26.31 จิกะวัตต์ (GW) สำาหรับการใช้งานภายใน ซึง่ เป็นการเติบโตแบบปีตอ่ ปี จาก 25.65% โดยบริษัทฯ ยังคงรักษาตำาแหน่งในฐานะซัพพลายเออร์ ซิลคิ อนเวเฟอร์รายใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก ซึง่ มีสว่ นแบ่งการตลาดราว 46% และยังคงสถานะเป็นผูผ้ ลิตโซลาร์เซลล์แบบโมโนคริสตัลไลน์รายใหญ่ ที่สุดในโลก อ้างอิงตามแผนงานการพัฒนาอุตสาหกรรมไฟฟ้า โซลาร์ เ ซลล์ ข องจี น (ฉบั บ ปี 2563) ที่ เ ผยแพร่ โ ดย Chinese Photovoltaic (CPIA) ระบุว่า ส่วนแบ่งของโมโนคริสตัลไลน์ในปี พ.ศ. 2563 เพิ่มขึ้นเป็น 90.2% ซึ่งเพิ่มขึ้นมากกว่า 20% จากปี พ.ศ. 2562 และ 2. การผลิตและการขายโมดูลเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล และมีการจัดส่งเป็นอันดับ 1 ทั่วโลก ลองกิมียอดส่งมอบโมดูล โมโนคริสตัลไลน์อยู่ที่ 24.53 จิกะวัตต์ (GW) โดยเป็นยอดขาย ภายนอกคิดเป็น 23.96 จิกะวัตต์ (GW) ซึ่งเพิ่มขึ้น 223.98% เมื่อ เทียบเป็นรายปี และการใช้งานภายในอยู่ที่ 0.57 จิกะวัตต์ (GW) จากข้อมูลของ PV InfoLink การจัดส่งของลองกิตดิ อันดับ 1 ของโลก โดยมีส่วนแบ่งการตลาด 19% เพิ่มขึ้น 11% จากปี พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ ลองกิยงั ได้ลงทุน 2.592 พันล้านหยวน ในการวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซึ่งคิดเป็น 4.75% ของรายได้ และได้รับ สิทธิบัตรที่ได้รับอนุญาตรวม 1,001 รายการ ลองกิ โซลาร์มีทีมวิจัย และพั ฒ นามากกว่ า 800 คน แม้ จ ะได้ รั บ ผลกระทบจากการ แพร่ระบาดและความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน แต่ลองกิ ยังคงสามารถเร่งการเติบโตของกำ าลังการผลิตได้ โดยรายงาน ประจำาปียังได้ระบุว่าภายในสิ้นปี พ.ศ. 2563 ความสามารถในการ ผลิตเวเฟอร์แบบโมโนคริสตัลไลน์เซลล์และโมดูลของบริษั ทมีถึง 85GW, 30GW และ 50GW ตามลำาดับ ลองกิยังประเมินว่ากำาลัง การผลิตเวเฟอร์เซลล์และโมดูลจะสูงถึง 105GW, 38GW และ 65GW ภายในปี พ.ศ. 2564

GreenNetwork4.0 May-June

2021

14/6/2564 BE 18:00


06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 35

14/6/2564 BE 18:00


บริการดานวิศวกรรมไฟฟา

ใหบริการงานกอสรางสถาน�ไฟฟาระบบแรงดันไฟฟา 115 เควี และปรับปรุงสถาน�ไฟฟา ใหบริการกอสรางสายสงระบบ 115 เควี งานจัดหาและติดตั้งระบบสื่อสาร, ระบบ Intertrip และระบบ Teleprotection งานจัดหาและติดตั้งระบบสื่อสาร และเสนใยแกวนำแสง

กองบริการวิศวกรรมระบบสง การไฟฟาสวนภูมิภาค 200 ถนนงามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 02-590-9590 โทรสาร 02-590-9598 Email : egs@pea.co.th 06300-1_M15(1) Green105 May-June2021 A4 11-06-64.indd 36

http://sbu.pea.co.th 14/6/2564 BE 18:00


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.