Green Network Issue 84

Page 1





43AþA1. 9 é 0O

2R=<K N_"<Q#3

เรื่องเลาของ “เอสซีจี” กับการดําเนินธุรกิจ ตาม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 10 บทเรียน อันประกอบดวย

1. กับดัก “ต มยํากุง ” บนเส นทาง “ไม พอประมาณ”

ในปทเี่ กิดวิกฤตตมยํากุง เอสซีจมี ยี อดหนีเ้ งินกู สูงถึง 246,700 ลานบาท และมีผลขาดทุนกวา 52,551 ลานบาท เปนบริษั ทที่มีหนี้สินสูงติดอันดับตนๆ ของ ประเทศ ทางออกที่ยั่งยืนอยางแรกของปญหานี้คือ หันกลับมายึดหลักความพอประมาณ ประหยัด ใช ทรัพยากรที่มีอยางคุมคา

2. เดินหน าผ าทางตันด วยศาสตร ของพระราชา

เอสซีจีไดนอ มนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใชเปนแนวทางในการทํางาน เริม่ จากความพอประมาณ โดยปรับลดขนาดโครงสรางธุรกิจที่ใหญโตมากมายลง และกําหนดธุรกิจเปน Core Business, Non-Core Business และ Potential-Core และตองยอมขาย ธุรกิจที่ไมใชธุรกิจหลักเพื่อลดหนี้

3. กล าเผชิญความจริง มีเหตุมีผล

ความจริงใจในการรับผิดชอบตอสัญญาเงินกู ไมเคยขอลดหนี้ และจายเงินกูพรอมดอกเบี้ยไดครบ ตามกําหนด ทําใหสถานการณไมเลวรายลงไปกวาเดิม

4. “ลด” ต นทุน แต “เพิม่ ” ความสําคัญของ “คน”

ในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ องคกรจะอยูร อดไดตอ ง ประหยัด แตเอสซีจี ไมเคยเอาคนออก ยังรับคนเพิ่ม ทุกป และไมเคยตัดงบประมาณพัฒนาบุคลากร

5. เติบโตด วยนวัตกรรม ภายใต หลัก “เศรษฐกิจพอเพียง”

ไมใชเรือ่ งงายเลยสําหรับองคกรเกาแกทมี่ อี ายุ กวา 100 ป ทีจ่ ะตัง้ เปาการเติบโตบนเสนทางขององคกร นวัตกรรม โดยเฉพาะองคกรที่มีสินคา Commodity เปนหลัก แตกลับเกิดขึ้นไดจริงภายใตยุทธศาสตรที่ วางไว

6. เอสซีจีบนวิถีแห งความสมดุล

จดเปลี่ยนขององคกรเกาแกสูการเปนองคกร ที่ทันสมัย ดวยนวัตกรรรมที่มีมูลคาเพิ่มสูง (HVA) ทุกยางกาวยืนอยูบ นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

7. พลิก “คน” พลิก “องค กร”

เทคนิคงายๆ ทีท่ าํ ลายความกลัวระหวางพนักงาน กับผูบริหาร กลายเปนความรูสึกใหมๆ ที่ทําใหเกิด ความกลาในการแสดงความคิดเห็น และกลาพูดในสิ่ง ที่ตัวเองคิดเพื่อนําไปสูสิ่งใหมๆ ที่ดีกวา

8. “รู เขา-รู เรา” คาถา Go Regional

หลังจากทีอ่ าการบาดเจ็บเพราะพิษ ของตมยํากุง คอยๆ ดีขึ้น ผานไปประมาณ 2-3 ป เอสซีจีก็เริ่มมอง การลงทุนในตางประเทศใหมอีกครั้ง เพื่อกระจาย ความเสีย่ งในเรือ่ งรายได จะรอเพียงกําลังซือ้ ของตลาด ในประเทศที่ฟนตัวคอนขางชาไมไดแนนอน ในขณะที่ กําลังผลิตสินคาของเอสซีจยี งั มีเหลือเฟอ และทีส่ าํ คัญ องคกรตองโตขึ้นอยางตอเนื่อง

9. สร าง “คน” สร าง “ภูมิคุ มกัน”

การสราง “คน” คือการสราง “ภูมิคุมกัน” ที่ แข็งแรงใหกบั องคกร เพือ่ รับมือกับความเสีย่ งตางๆ ที่ อาจเกิดขึ้น การออกแบบพัฒนาผูนําและพนักงานคือ อีกหนึ่งเคล็ดลับที่สําคัญของเอสซีจี

10. “คนดี” วัฒนธรรมองค กรต องหล อหลอม

อุดมการณ 4 ของเอสซีจีคือ ตั้งมั่นในความ เปนธรรม มุงมั่นในความเปนเลิศ เชื่อมั่นในคุณคา ของคน และถือมัน่ ในความรับผิดชอบตอสังคม ซึง่ ไมใช สิง่ ทีจ่ ะเกิดขึ้นไดเองตามธรรมชาติ แตตองหลอหลอม ปลูกฝง ใหหยั่งรากลึก แข็งแรง และตองเติบโตใน จิตวิญญาณของคนอยางจริงจัง

W/N4Y/. A<

:L<Z/ E?K òWB=C* N#8GW8ċ<"ó

ในป 2549 ทันทีที่ กานต ตระกูลฮุน ขึ้นมารับตําแหนงกรรมการผูจัดการใหญในขณะนั้น ก็ไดประกาศวิสัยทัศนวา เอสซีจีตองเปนองคกรนวัตกรรม เปนความเห็นรวมกันของคนทั้งองคกรที่ตองการทะยานไปขางหนา ดวยการพัฒนาสินคา และบริการใหเหนือกวาคูแขง กาวเปนผูนําธุรกิจระดับภูมิภาคอาเซียน และตอบโจทยตลาดโลก อีกนัยหนึ่งที่สําคัญคือ เพื่อ เตือนใหพนักงานไมประมาท ไมหลงระเริงกับความสําเร็จที่เกิดขึ้น และกระตุนใหพนักงานออกมาจาก Comfort Zone เปลี่ยนแปลงตัวเอง เพื่อเปาหมายที่วางไวรวมกันขางหนา

¾©¤ª µ

«² ¢

«µÆ ¿¨ ¦n®¢

¨² ¤¤¢

«¢ ¹¦¿¦± ¤n®¢¤² m® ³¤¾ ¦¶Æ£ ¿ ¦

ไม ใช แค Product แต คือ Process ด วย

รุงโรจน รังสิโยภาส กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี กลาววา “นวัตกรรม” ของเอสซีจี หมายถึง การสรางสรรค สิ่งใหมๆ ซึ่งครอบคลุมสินคาและบริการ (Product & Service) กระบวนการทํางาน (Process) รูปแบบธุรกิจ (Business Model) ตลอดจนพัฒนาเทคโนโลยีขององคกร พรอมๆ กับการกาวสูอ งคกรนวัตกรรม บริษัทก็ไดตง้ั งบประมาณดานการวิจยั และพัฒนา (Research & Development หรือ R&D) เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จนปจจบันประมาณ 1% ของยอดขาย หรือปละ 5 พันลานบาท เปนที่ยอมรับกันวาเปนบริษัทที่ใชงบดานนี้สูงมากบริษัทหนึ่งในอาเซียน “บางคนอาจมองวา R&D ทําใหมีสินคาใหมๆ อยางเดียว จริงๆ แลวไมใช ที่ผานมาเราใชเงินสําหรับ New Product ไมเกิน 50% เงินสวนที่เหลือจะไปใชในเรื่องของ Process Innovation ที่มีผลเรื่องการลดคาใชจายในขั้นตอนตางๆ ชวยลด พลังงาน การทําสินคาใหเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม และทีม่ ากกวานัน้ คือสามารถนําของเสียมารีไซเคิลไดเพิม่ ขึน้ ทุกป ตรงนีค้ อื กุญแจของความสําเร็จที่แข็งแรงของเรา”

® ¤±¢³

¢¶¾¬ ¹ ¦

¨³¢¤ºn

¡º¢µ ¹n¢ ² Á ²¨ ¶Æ ¶

¹ ¤¤¢


อีสท วอเตอร

ฉลอง 25 ป สร างฝายอนุรักษ ป าต นนํ้า เพื่อชุมชนมั่นคงด านนํ้า สู การสร างชีวิตที่ยั่งยืน

ฉลองครบรอบ 25 ป “อีสท วอเตอร” ผสานพลังการอนุรักษทุกภาคสวน เพื่อมุงแสวงหาการแกปญหาการขาดแคลนนํ้าสรางความเขมแข็งดานนํ้าใหกับ ชุมชน จัดกิจกรรรมสรางฝายชะลอนํ้าและสางปาในรูปแบบจิตอาสา “ตามรอย รักษาปาตนนํ้า Step On Water Path of Sustainability” สงตอพลังการอนุรักษ ปาตนนํา้ สูค วามรวมมือของชุมชน สรางจิตสํานึกการอนุรกั ษเพือ่ ความยัง่ ยืนของ ทรัพยากรธรรมชาติ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หรือ อีสท วอเตอร จัดกิจกรรม “ตามรอย รักษาปาตนนํ้า Step On Water Path of Sustainability” ในโอกาสครบรอบ 25 ป การดําเนินงานของอีสท วอเตอร โดย รวมพลังทุกภาคสวนทัง้ หนวยงานราชการเอกชน ผูม อี ปุ การคุณและพันธมิตรทาง ธุรกิจของบริษัทฯ ตลอดจนประชาชนในพื้นที่กวา 700 คน รวมสรางฝายชะลอนํ้า และสางปาในรูปแบบจิตอาสาที่ บานหนองมวง ต.ชุมแสง อ.วังจันทร จ.ระยอง บนพื้นที่ปาชุมชนกวา 70 ไร จิรายุทธ รุงศรีทอง กรรมการผูอํานวยการใหญ อีสท วอเตอร กลาวถึง กิจกรรมในครัง้ นีว้ า “อีสท วอเตอร ในฐานะทีท่ าํ ธุรกิจเกีย่ วกับทรัพยากรนํา้ จึงเห็น

ความสําคัญในการสรางความมัน่ คงดานนํา้ ใหกบั ชุมชน โดยเฉพาะปาตนนํา้ ทีเ่ ปน จุดกําเนิดของแหลงนํา้ ทีห่ ลอเลีย้ งชุมชน ซึง่ ปจจุบนั ถูกทําลายเสือ่ มโทรมลงไปมาก กอปรกับในปนี้ อีสท วอเตอร ไดรว มมือกับภาคีเครือขายปาชุมชนรอยตอ 5 จังหวัด ภาคตะวันออก ดูแลรักษาฟนฟูปาชุมชนบานหนองมวง จ.ระยอง เพื่อสรางคุณคา รวมระหวางวิถชี วี ติ ของคนในชุมชนกับผืนปาอยางเปนรูปธรรมและยัง่ ยืนตามแนว ประชารัฐ จึงไดจัดกิจกรรม “ตามรอย รักษาปาตนนํ้า” เพื่อรวมพลังแนวรวมคืน ความอุดมสมบูรณใหกบั ระบบนิเวศในพืน้ ทีน่ าํ รองแหงนี้ สําหรับกิจกรรมอาสาครัง้ นี้ เราไดเชิญชวนจิตอาสาทั่วไป 40 คน เขารวมกิจกรรมดวย โดยรายไดทั้งหมด ไมหักคาใชจายใดๆ จะนํามาสมทบทุนกับอีสท วอเตอร มอบใหกับโรงพยาบาล สมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย เพือ่ รวมพัฒนาหนวยพยาบาล ระดับภูมิภาคใหเปนศูนยกลางการใหบริการทางการแพทยในภาคตะวันออก” ดาน ภิรมย ชุมนุม นายอําเภอวังจันทร จังหวัดระยอง กลาววา “กิจกรรม ครั้งนี้นับเปนความรวมมือดานการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและอนุรักษปาตนนํ้า อยางจริงจังของประชาชนทุกภาคสวนใน อ.วังจันทร จ.ระยอง ซึ่งเราเห็นวาเปน กิจกรรมทีม่ คี ณ ุ คาและแสดงถึงความรับผิดชอบตอสิง่ แวดลอมและสังคมโดยรวม และสิ่งสําคัญสูงสุดคือ เปนการสนองพระราชดําริของในหลวงรัชกาลที่ 9 และ สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 9 ดานการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่ทรงใหความสําคัญและเสด็จทรงงานดานนี้มาโดย ตลอด” กิจกรรม “ตามรอย รักษาปาตนนํา้ Step On Water Path of Sustainability” เนื่องในโอกาสครบรอบ 25 ป อีสท วอเตอร ในครั้งนี้ เนนการสรางฝายชะลอนํ้า และสางปาในรูปแบบจิตอาสา จัดกิจกรรมขึน้ ทีบ่ า นหนองมวง ต.ชุมแสง อ.วังจันทร จ.ระยอง บนพืน้ ทีป่ า ชุมชนกวา 70 ไร ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของโครงการ 25th EastWater… Steps of Growth การสรางความมัน่ คงดานนํา้ ตลอดเสนทางนํา้ ผานชุมชนตนแบบ ตั้งแตตนนํ้าสูปลายนํ้า “ภายหลังจากกิจกรรมสรางฝายชะลอนํา้ และสางปาในครัง้ นีแ้ ลว อีสท วอเตอร มีแผนในการดูแลและบํารุงรักษาเพื่อใหเปนประโยชนตอประชาชนชาวอําเภอ วังจันทรใหมากทีส่ ดุ ซึง่ เราจะจัดกิจกรรมอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมเชนนีต้ อ เนือ่ งเปนประจํา ทุกป เพื่อรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของภาคตะวันออกใหคงอยู อีสท วอเตอร พรอมเดินหนาสูอ นาคต รวมเปนสวนหนึง่ ของความมัน่ คงดานนํา้ ใน ภาคตะวันออก และสงมอบความเชีย่ วชาญดานการบริหารจัดการนํา้ ใหกบั ประเทศ หนึง่ ในความมุง มัน่ และตัง้ ใจของอีสท วอเตอรในการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม เพือ่ ยกระดับ การอนุรักษแหลงนํ้าและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ภาคตะวันออกอยางยั่งยืน” จิรายุทธ กลาวทิ้งทาย


CONTENTS

November - December 2017

15

14 Green Tips by MR. Save 15

16 20 21 22 24 25

26 28 29

30 32 33 34

36 38 41 42

เลือกหลอด LED ใหคุมคา Green Health by คุณนายเขียว โฮลเกรน ธัญพืชไมขัดสี ดีตอสุขภาพ Green Cover by กองบรรณาธิการ Smart City พัฒนาชุมชนเมืองสูเมืองอัจฉริยะ Green Travel by ตะลอนทัวร เย็นกาย สบายใจ ไปกับ The Chill Resort @ Nakornnayok Green Building by กองบรรณาธิการ The NEST ตนแบบบาน Smart Eco-Care ตอบโจทยการอยูอาศัย Green Report by กองบรรณาธิการ Modernizing the Thailand Grid มุงหนาสูความล้ําสมัยของระบบโครงขายไฟฟาไทย Green Innovation by กองบรรณาธิการ เอปสัน จับมือสถาบันไทย-เยอรมัน เปดศูนยนวัตกรรมหุนยนต Green CSR by กองบรรณาธิการ ปตท.สผ. จดประกายพลังเยาวชน กาวเพื่อรักษ นอมนําศาสตรพระราชาพัฒนาชุมชน Welcome From Supporting Utilities เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค Green Scoop by กองบรรณาธิการ ก.พลังงาน แปลงรถตุกตุกเกาเปนรถตุกตุกไฟฟา Green Focus by พิชัย ถิ่นสันติสุข ปฏิรูปพลังงานขยะ Special Scoop by กองบรรณาธิการ Roadmap การผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืน สูการเติบโตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม Green Learning by กองบรรณาธิการ Bioplastics Innovation Contest 2017 สงเสริมการคิดคนผลิตภัณฑพลาสติกชีวภาพเชิงพาณิชย Green World by กองบรรณาธิการ ฟารมกังหันลมลอยน้ําแหงแรกของโลกที่สกอตแลนด Green Visit by จีรภา รักแกว IWIND นักลาลม ชูสวนกังหันลมเลียบชายฝง ปากพนัง เสริมสรางความมั่นคงใหชุมชน Green Energy by กองบรรณาธิการ Energy 4.0 พลังงานฐานนวัตกรรมแหงอนาคต Green Article by รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, ดร.ณัฐวิญญ ชวเลิศพรศิยา, รัฐพล เจียวิริยะบุญญา ฝนเยอะ-ขยะลน : ปญหา (ที่กําลังจะ) เรื้อรังของกรุงเทพฯ (1) Green Scoop by กองบรรณาธิการ ‘บานทับไฮ’ ชุมชนตนแบบเปลี่ยนขยะเปนพลังงานทดแทน ผลิตแกสชีวภาพใชในครัวเรือน Special Scoop by กิตติ วิสุทธิรัตนกุล, ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล นวัตกรรมพลังงานสีเขียวสูเศรษฐกิจสรางสรรคอยางยั่งยืน

21

30

26

16 20 10 Green News by กองบรรณาธิการ

12 Green Read by หนอนหนังสือ

13 Green Product by ชื่น ชอบ ช็อป

44 Green Activity by กองบรรณาธิการ

46 Green Biz by กองบรรณาธิการ



ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ฯพณฯ พลอากาศเอก กําธน คณะที่ปรึกษา ดร.ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน ดร.อัศวิน จินตกานนท ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย ประสงค ธาราไชย ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รศ. ดร.สิงห อินทรชูโต บรรณาธิการอํานวยการ/ บรรณาธิการผูพิมพโฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ผูชวยบรรณาธิการ จีรภา รักแกว เลขานุการกองบรรณาธิการ ปฐฐมณฑ อุยพัฒน พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม กันยา จําพิมาย ประสานงาน ภัทรกันต กิจสินธพชัย ผูจัดการฝายการตลาด เขมจิรา บุญพระรักษา ฝายการตลาด กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝายการตลาด ชุติมันต บัวผัน ฝายวิเทศสัมพันธ นันธิดา รักมาก แยกสี บจก. คลาสสิคสแกน โรงพิมพ บจก. ฐานการพิมพ

Editor Talk สินธวานนท นินนาท ไชยธีรภิญโญ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ พานิช พงศพิโรดม ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล ชาย ชีวะเกตุ

เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

471/ 3-4 อาคารพญาไท เพลส ถ.ศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-5333 (ฝายการตลาด ext. 503) แฟกซ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com e-Mail : editor@greennetworkthailand.com

สวัสดีครับ ทานสมาชิกและทานผูอานทุกทาน

ดวยจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นทําใหตองมีการพัฒนาพื้นที่เมืองเพื่อรองรับการเติบโต ของจํานวนประชากร ยกระดับชีวิตความเปนอยูของประชาชนในพื้นที่ใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยไมไดเนนไปที่การพัฒนาใหเปนเมืองขนาดใหญ หรือมีความความทันสมัยทางดาน เทคโนโลยีแตเพียงดานเดียว แตทศิ ทางการพัฒนาเมืองในปจจบันจะเปนไปในแบบการพัฒนา ที่ยั่งยืนและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม นั่นก็คือ เมืองอัจฉริยะ (Smart City) เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City เปนเมืองทีอ่ อกแบบวางแผนเพือ่ การอยูอ าศัยในอนาคต โดยคํานึงถึงคุณภาพสิ่งแวดลอม คุณภาพชีวิต และสังคมวัฒนธรรม การนําเทคโนโลยีดิจิทัล มาปรับใชกบั เมืองเพือ่ ใหมคี วามนาอยูม ากขึน้ การสงเสริมการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอม รวมไปถึงการใชพลังงานทดแทน Green Network ฉบับนี้ คอลัมน Green Cover “Smart City พัฒนาชุมชนเมือง สูเ มืองอัจฉริยะ” ไดนาํ เสนอเรือ่ ง การพัฒนาเมืองธรรมดาใหกลายเปน Smart City โครงการ สนับสนุนการออกแบบเมืองอัจฉริยะ (Smart Cities-Clean Energy) เพื่อรองรับการเติบโต ของเมือง โดยไดหยิบยกโครงการที่ผานการคัดเลือกในขั้นตอนที่ 2 อาทิ นิดา มหาวิทยาลัย อัจฉริยะ รูรักษพลังงาน สูการพัฒนาที่ยั่งยืน, ขอนแกน Smart City (ระยะที่ ๑) : ขนสง สาธารณะเปลีย่ นเมือง, เมืองใหมอจั ฉริยะบานฉาง, โครงการเมืองจฬาฯ อัจฉริยะ, มช. (เมือง) มหาวิทยาลัยอัจฉริยะพลังงานสะอาด และ ธรรมศาสตร ศูนยรงั สิต : ตนแบบเมืองมหาวิทยาลัย อัจฉริยะ โดยเปนรูปแบบของการใหการสนับสนุนการออกแบบผานกระบวนการแสดงภาพฝน ที่สามารถจับตองไดในการพัฒนาเมืองไปสูความเปนเมืองอัจฉริยะ คอลัมน Green Report พบกับ “Modernizing the Thailand Grid มุงหนาสูความ ล้ําสมัยของระบบโครงขายไฟฟาไทย” การปรับโฉมระบบโครงขายไฟฟาไทยใหทันสมัย เพื่อ รองรับการใชไฟฟาในอนาคต พาไปเยีย่ มชมกังหันใหญยกั ษ “IWIND นักลาลม ชูสวนกังหันลม เลียบชายฝง ปากพนัง เสริมสรางความมั่นคงใหชุมชน” กับคอลัมน Green Visit เชนเคยกับ คอลัมน Green Energy กับ “Energy 4.0 พลังงานฐานนวัตกรรมแหงอนาคต” เคล็ด (ไม) ลับ Green Tips “เลือกหลอด LED ใหคมุ คา” และสุขภาพดีหางไกลโรคภัยไปกับ Green Health “โฮลเกรน ธัญพืชไมขัดสี ดีตอสุขภาพ” สุดทายนี้ สงทายปเกา ตอนรับปใหม พ.ศ. 2561 กับการเติบโตกาวสูป ท ่ี 8 ของ Green Network กองบรรณาธิการขอขอบคุณ ทานสมาชิก และทานผูอานทุกทานที่ใหการสนับสนุน เปนอยางดีมาโดยตลอด กระผมขอถือโอกาสนี้ อวยพรใหทา นประสบแตความสุข ความเจริญ สมหวังดังที่ใจปรารถนาทุกประการ แลวพบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล


GREEN

สนพ. จัดทํา Load Forecast สอดรับ ยุคเทคโนโลยีเปลี่ยนผานระดมความเห็นดึงปจจัย ขับเคลื่อนนโยบาย Energy 4.0 รวมพิจารณา

News กองบรรณาธิการ

สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ระดมความคิดเห็น การจัด ทําพยากรณความตองการใชพลังงานของประเทศ (Load Forecast) ใหทันสมัย หลังจากมีปจ จัยใหมๆ ทีก่ ระทบตอความตองการใชพลังงาน และเพือ่ ใหไดมาซึง่ คา พยากรณความตองการไฟฟาทีเ่ ปนทีย่ อมรับ วิธกี ารพยากรณและแบบจําลองการ พยากรณความตองการไฟฟาในระยะยาว จึงไดจดั สัมมนารับฟงความคิดเห็นครัง้ นี้ ขึ้น โดยขอคิดเห็น และขอเสนอแนะที่ไดจากงานสัมมนา จะนําไปเปนสวนหนึ่งใน การปรับปรุงการพยากรณความตองการใชไฟฟาใหมีความเหมาะสม สอดคลอง กับสถานการณโดยเฉพาะเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็วในยุค Disruptive Technology ซึ่งมีอิทธิพลทําใหทิศทางการใชไฟฟาของประเทศเปลี่ยนแปลงไป ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และโฆษกกระทรวงพลังงาน ในฐานะประธานคณะทํางานจัดทําคาพยากรณ ความตองการไฟฟา เปดเผยวา สนพ. ไดจดั สัมมนาหัวขอ “Load Forecast : ทิศทาง การใชไฟฟาอนาคต” เพื่อรับฟงความคิดเห็นตอการจัดทํา Load Forecast หรือ การพยากรณความตองการไฟฟาของประเทศ ซึง่ เปนกระบวนการทีม่ คี วามสําคัญ ในการวางแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาของประเทศ เพราะคาพยากรณความ ตองการไฟฟาในอนาคตที่มีความแมนยําจะชวยใหการวางแผนและการลงทุน ดานการจัดหาไฟฟาของประเทศเปนไปอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่ง ปจจุบนั สภาวะดานเศรษฐกิจสังคมและเทคโนโลยีเปลีย่ นแปลงรวดเร็วทําใหการใช ไฟฟามีการเปลีย่ นแปลงตามไปดวย จึงมีความจําเปนตองปรับปรุงขอมูลใหสอดคลอง กับสถานการณและปจจัยที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะปจจัยดานนโยบายรัฐ อาทิ นโยบาย Energy 4.0 ที่สงเสริมการใชยานยนตไฟฟา (Electric Vehicle : EV) โครงการรถไฟความเร็วสูง โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern

Economic Corridor : EEC) รวมถึงปจจัยดานผูใชไฟฟา เชน พฤติกรรมของผูใช ไฟฟาประเภทบานอยูอาศัยที่เปลี่ยนแปลงไปผลิตไฟฟาใชเองจากพลังงานแสง อาทิตยบนหลังคา (Solar Rooftop) ซึ่งปจจุบันมีตนทุนที่ลดลงอยางมาก ปจจุบนั การพยากรณความตองการไฟฟามีคณะทํางานจัดทําโดยผูแ ทนจาก หนวยงานทีเ่ กีย่ วของ 3 การไฟฟา คือ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) และการไฟฟานครหลวง (กฟน.) รวมทัง้ ผูท รงคุณวุฒิ จะทําหนาทีศ่ กึ ษาและวิเคราะหขอ มูลรวมทัง้ ปรับปรุงและพัฒนาวิธกี ารพยากรณฯ เพือ่ ใหไดคา ทีม่ คี วามถูกตองและแมนยํา เสนอตอคณะอนุกรรมการพยากรณความ ตองการไฟฟา และจัดทําแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศ พิจารณาและใช เปนขอมูลพื้นฐานในการวางแผนและกําหนดนโยบายดานไฟฟาของประเทศ ตอไป

เจาะลึกขาวสารพลังงาน รูเร็วราคานํ้ามันวันตอวัน คลิกโหลดวันนี้ แอพพลิเคชั่น “กระทรวงพลังงาน” ยุคดิจิทัล 4.0 กระทรวงพลังงาน พลิกประสบการณใหม รูครบ รวดเร็ว ทันเหตุการณ พลังงานไทยยุค 4.0 ขอเชิ ญ ชวนร ว มดาวน โ หลดแอพพลิ เ คชั่ น ใหม “กระทรวงพลังงาน” บนโทรศัพทมือถือ เพื่อให ประชาชนและผูประกอบการดานกิจการพลังงาน เขาถึงขอมูลดานพลังงานอยางถูกตองทันสถานการณ ในคลิกเดียว อัดแนนไปดวยขาวสารดานพลังงาน ทีเ่ ปนเรือ่ งเดนประเด็นรอน พรอมบริการแจงเตือน การเปลี่ยนแปลงราคานํ้ามัน รูกอนใครไดที่นี่ ปริมาณการใชไฟฟาทั้งประเทศแบบ Real-time ตลอดจนสินคาประหยัดพลังงาน ความรูด า นพลังงาน ทดแทนตางๆ เพียงแคคนหาคําวา “กระทรวง พลังงาน” พรอมใหดาวนโหลดแลววันนี้ รองรับ ทัง้ ระบบปฏิบตั กิ าร iOS และ Android และสามารถ ติ ด ตามร ว มสนุ ก กั บ กิ จ กรรมตอบคํ า ถามด า น พลังงานชิงรางวัลพิเศษผานแอพพลิเคชั่นทุกเดือน จากกระทรวงพลังงานอีกดวย 10

GreenNetwork November-December 2017


จุฬาฯ เปดเมืองนวัตกรรมแหงสยาม เนน 5 กลุมธุรกิจนวัตกรรม เขาถึงแหลงเงินทุน เพื่อผลักดันเศรษฐกิจประเทศ

จุฬา เปดเมืองนวัตกรรมแหงสยาม (Siam Innovation District หรือ SID) อัดงบ กวา 100 ลานบาท สนับสนุนสตารทอัพ ผานโครงการสงเสริมนวัตกรรมแหงสยาม 100 SID เพือ่ สนับสนุนการจัดตัง้ ธุรกิจใหมทมี่ นี วัตกรรม 5 กลุม ธุรกิจ ไดแก กลุม ไลฟสไตล กลุม ดิจทิ ลั และหุน ยนต กลุม ความยัง่ ยืนทางทรัพยากร กลุม เมืองอัจฉริยะ และกลุม นวัตกรรมการศึกษา ทําใหสามารถเขาถึงแหลงเงินทุน เพือ่ ผลักดันเศรษฐกิจและประโยชนตอ การพัฒนานวัตกรรม ของประเทศไทย รศ. ดร.ณัฐชา ทวีแสงสกุลไทย ผูอํานวยการโครงการเมืองนวัตกรรมแหงสยาม (Siam Innovation District หรือ SID) กลาววา โครงการเมืองนวัตกรรมแหงสยาม ภายใต การดําเนินงานของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดจัดตั้งขึ้นมาเพื่อเปนโครงการตนแบบในการ เปลีย่ นแปลงพืน้ ทีก่ ารคาทัว่ ไปใหเปนแหลงอุดมปญญาสําหรับการแกปญ  หาของประเทศ โดย เมืองนวัตกรรมจะเปนพืน้ ทีส่ าํ หรับความรวมมือระหวางภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา เพื่อเอื้อตอการเกิดธุรกิจใหมๆ หรือธุรกิจที่จะสรางประโยชน หรือแกปญหาของประเทศ โครงการเมืองนวัตกรรมแหงสยามมีพนั ธกิจอยู 4 ดาน คือ 1. การสรางพืน้ ทีเ่ พือ่ ใหเกิด พรสวรรค นั่นคือการพัฒนาคน 2. การสรางตนแบบที่ใชงานไดของเมืองแหงอนาคต 3. การ สรางความสัมพันธระหวางเอกชน รัฐบาล และมหาวิทยาลัยเพือ่ รวมกันสรางนวัตกรรมทีเ่ ปน ประโยชน หรือแกปญหาของประเทศ และ 4. การสรางพื้นที่ใหเกิดการเจอกันระหวางคนที่มี ความคิดสรางสรรค หรือไอเดียและคนทีส่ ามารถทําไดจริง ซึง่ ความคิดสรางสรรคจะเปนสวน หนึ่งที่ทําใหการเขาถึงเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมตางๆ งายขึ้น สําหรับโครงการสงเสริมนวัตกรรมแหงสยาม 100 SID จะเปดรับผลงานนวัตกรรมเพือ่ สงเสริมและสนับสนุนการจัดตัง้ ธุรกิจเกิดใหม (Seed Fund) และเพือ่ สงเสริมการเพิม่ ศักยภาพ ในการเติบโตของธุรกิจใหม (Scale Up Fund) โดยมีเงินทุนสนับสนุนใหแกโครงการตางๆ รวมเปนเงินกวา 100 ลานบาท โดยจะกระจายใหแกโครงการตางๆ ทีน่ า สนใจ โดยไมกาํ หนด จํานวนโครงการที่มาขอรับการสนับสนุน เพื่อสงเสริมใหธุรกิจสตารทอัพของไทย พัฒนาขีด ความสามารถและสรางศักยภาพของผูประกอบการธุรกิจใหสามารถเติบโตไดอยางมั่นคง ในระยะยาว เพราะธุรกิจสตารทอัพนับวามีความสําคัญมากขึ้นและสงผลตอการเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศไทยในอนาคต 11

Thailand Lighting Fair 2017 มหกรรมเวทีแสดงสินคา และเทคโนโลยีไฟฟาแสงสวาง

เมือ่ เร็วๆ นี้ เสริมสกุล คลายแกว ผูว า การ การไฟฟาสวน ภูมภิ าค เปนประธานในพิธเี ปดงาน Thailand Lighting Fair 2017 ภายใตธมี Smart City. Safe City. ซึง่ จัดโดยการไฟฟาสวนภูมภิ าค รวมกับ เมสเซแฟรงคเฟรต และ บริษทั ดิเอ็กซซบิ สิ จํากัด ภายใน งานมีผูประกอบการไทยและตางประเทศเขารวมกวา 500 บูธ ยกทัพเทคโนโลยีเพือ่ การบริหารและจัดการพลังงานไฟฟาอัจฉริยะ ใหมปี ระสิทธิภาพสูงสุดและนําเสนอมิตใิ หมแหงการออกแบบแสง ในยุคสถาปตยกรรม 4.0 จากนักออกแบบแสงชือ่ ดังระดับโลกและ ของไทย เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการ การไฟฟาสวนภูมิภาค กลาววา งาน Thailand Lighting Fair 2017 นอกจากจะเปนการ เปดโอกาสใหนักลงทุนจากทั่วภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต ใชเปนศูนยกลางเครือขายธุรกิจในระดับภูมิภาคแลว ยังมุงเนน ผลิตภัณฑนวัตกรรมชาญฉลาด เทคโนโลยีทลี่ าํ้ สมัย พรอมความ ปลอดภัย และรูปแบบทีส่ รางสรรค เพือ่ การใชชวี ติ ทีง่ า ยขึน้ รวม ทั้งจัดแสดงผลิตภัณฑดานไฟฟาแสงสวางเพื่ออาคารประหยัด พลังงาน เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย เทคโนโลยีอาคารอัตโนมัติ และระบบรักษาความปลอดภัยอัจฉริยะ เพือ่ สงเสริมใหชมุ ชนเมือง เปนเมืองอัจฉริยะและเปนเมืองปลอดภัยอยางแทจริง ในสวนบูธจัดแสดงนิทรรศการของ กฟภ. มีการนําเสนอระบบ บริหาร และจัดการพลังงานอัจฉริยะ หรือ PEA HiVE Platform ทีส่ ามารถบริหารจัดการการใชพลังงานภายในบาน ใหสอดคลอง กับความตองการไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ ใหคาํ ปรึกษาดาน บริหารจัดการเพื่อประหยัดพลังงาน สําหรับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคอุตสาหกรรม ใหความรูทางดานเทคนิค การลงทุน การ ใหบริการติดตั้ง Solar Rooftop และ Solar Farm พาขวัญ เจียมจิโรจน ผูจัดการทั่วไป บริษัท ดิเอ็กซซิบิส จํากัด กลาววา การจัดงาน Thailand Lighting Fair 2017 ไดขยาย พื้นที่การจัดงานเปน 3 ฮอลล บนพื้นที่กวา 15,000 ตารางเมตร โดยจัดพรอมกับงาน Thailand Building Fair 2017 เพื่อแสดง เทคโนโลยีระบบอาคารอัตโนมัติตามแนวงาน Light+Building ของ Messe Frankfurt ที่ประสบความสําเร็จอยางสูงในเยอรมนี และงาน Secutech Thailand 2017 ภายใตแนวคิด Smart City. Safe City. ทัง้ นี้ พิธเี ปดงานจัดขึน้ ณ ฮอลล 102 ศูนยนทิ รรศการ และการประชุมไบเทค บางนา

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

GREEN

Read

Story

หนอนหนังสือ

พาไล

ศาสตร ชะลอวัย 1

ผูเขียน : ศ. ดร.นพ.วิจิตร บุณยะโหตระ สํานักพิมพ : วิจิตร บุณยะโหตระ หนังสือเลมนีไ้ ดรวบรวมเนือ้ หาสาระ สําคัญอันเกี่ยวของกับ “ศาสตรชะลอวัย” เอาไวอยางละเอียดถี่ถวนสมบูรณแบบ จนแทบจะเรียกไดวาเปน “คัมภีรแหงการ ชะลอวัย” ผูที่ไดนําหนังสือเลมนี้ไปศึกษา หาความรูแลวเอาความรูไปสูภาคปฏิบัติ อยางจริงจังและสมํา่ เสมอก็มนั่ ใจไดวา จะ สามารถยืดอายุขยั หรือตายชาลง เสมือนหนึง่ การแชแข็งอายุ ชะลอวัยเอาไว ไดอยางแนนอนไมมากก็นอ ย ศาสตรชะลอวัย 1 จะชวยใหผอู า นมีสขุ ภาพทีด่ ี แข็งแรง สดชืน่ เยาววยั และมีอายุยนื ยาว เมือ่ อานดวยจิตสมาธิ อานซํา้ ๆ บอยๆ และยังสามารถปฏิบัติตามไดงายอีกดวย

วิธีขโมยความสําเร็จจาก อนาคต : The Success Principles

ผูแตง : Jack Canfield ผูแปล : พรเลิศ อิฐฐ สํานักพิมพ : วีเลิรน “ความพยายามอยูท ไี่ หน ความสําเร็จ อยูท นี่ นั่ ” นัน่ คือคติพจนประจําใจของผูค น มากมาย พวกเขาทุม เททําปจจุบนั ใหดที สี่ ดุ แลว “รอ” ใหชวี ติ ดีขนึ้ อยางทีห่ วังไวสกั วัน ไมวา จะรวยขึน้ เกงขึน้ หรือประสบความสําเร็จมากขึน้ ปญหาคือบางคนตอง รอถึง 10 ป 20 ป 30 ป หรือที่แยกวานั้นคือตองรอไปตลอดทั้งชีวิต! แตจะ เกิดอะไรขึน้ ถาเราสามารถเรงความสําเร็จจากอนาคตใหเกิดขึน้ ไดตงั้ แตวนั นี้ เลย หนังสือเลมนี้จะเผยกฎแหงความสําเร็จ 25 ขอที่เรียบงาย ใชไดผลจริง และชวยเปลีย่ นชีวติ คนมาแลวนับลานๆ จากผูเ ชีย่ วชาญดานความสําเร็จอันดับ หนึง่ ของโลก ไมวา สิง่ ทีค่ ณ ุ วาดฝนไวจะเปนอะไร แคนาํ กฎเหลานีไ้ ปใช คุณก็ จะเห็นตัวเองประสบความสําเร็จเร็วขึ้นได

ชีวิตดี๊ดี แค เปลี่ยนวิธี ตัดสินใจ

ผูเขียน : Hilly Janes ผูแปล : จิตรลดา สิงหคํา เมื่อการตัดสินใจสามารถเปลี่ยน แปลงชีวิตของคุณได หนังสือ “ชีวิตดี๊ดี แคเปลีย่ นวิธตี ดั สินใจ” Hilly Janes กูรดู า น ไลฟสไตลชื่อดังจากอังกฤษ ไดรวบรวม เคล็ดลับการตัดสินใจทีจ่ ากประสบการณ ขอเท็จจริง และขอมูลทางวิทยาศาสตร มาแนะนําไวอยางเขาใจงาย ซึ่งจะชวยใหคุณตัดสินใจกับสิ่งที่พบเจอในชีวิต ประจําวันไดงายขึ้น และเปลี่ยนแปลงชีวิตของคุณไปในทางที่ดีขึ้น 12

ธงกฐิน

ตุลาคมทีผ่ า นมาไดไปทอดกฐิน สังเกตวาในงานมีธง แตกอ นเลาถึงธง คุยทีม่ าของ กฐินกันสักนิด กฐิน ตามศัพทบาลีแปลวา สะดึงหรือกรอบ หมายถึงกรอบไมหรือไมแบบทีใ่ ชขงึ ผา ที่จะเย็บ ผาที่วานี้ก็คือผาเปอนฝุน หรือผาหอศพที่พระภิกษุเก็บจากปาหรือกองขยะ เหตุ เพราะในสมัยพุทธกาลผาหายาก ภิกษุสงฆตองอาศัยผาเหลานี้นุงหม เรียกวา ผาบังสุกุล กอนใชก็ยอมดวยแกนขนุนกลบรอยไมนามอง แลวจึงตัดและเย็บเปนจีวร ขั้นตอนนี้เองที่ ตองอาศัยสะดึง พระสงฆในสมัยนัน้ ไมอยูป ระจําทีย่ กเวนในพรรษา ดังนัน้ เมือ่ สิน้ พรรษาทานก็เตรียม ออกเดินทาง เครือ่ งนุง หมจึงตองพรอม แมทา นครองจีวรสามผืนแตเปนพุทธานุญาตพิเศษ ใหพระสงฆที่อยูรวมกันจนครบพรรษาตั้งแตหารูปขึ้นไป สามารถรับจีวรไดอีกหนึ่งผืน จะ เปนผาทับซอน ผาหม หรือผานุงก็ได แตตองยอมและเย็บใหเสร็จภายในหนึ่งวัน เรียกวา ผากฐิน ผาทีว่ า นัน้ ก็ตอ งมีผถู วาย จะเปนคฤหัสถถวายหรือพระรูปใดรูปหนึง่ เก็บมาก็ได แต หามเอยปากขอ เมือ่ มีผา แลว คณะสงฆตอ งประชุมหารือวา ผาทีไ่ ดมานีเ้ หมาะควรแกพระรูป ใด ขอพิจารณาก็คาํ นึงถึงความประพฤติและความจําเปน เมือ่ ไดฉนั ทานุมตั แิ ลว พระสงฆ ผูไดรับเลือกก็อธิษฐานครองจีวร ตอจากนั้นพลังสามัคคีในหมูสงฆก็บันดาลใหผาหนึ่งผืน สําเร็จลุลว งเปนจีวรไดภายในหนึง่ วัน สุดทายพระสงฆผไู ดรบั ผาตองกลับมาแจงในทีป่ ระชุม อีกครัง้ วาผากฐินสําเร็จพรอมใชงานแลว เรียกขัน้ ตอนนีว้ า กรานกฐิน คํานีโ้ ดยศัพทหมายถึง ขึงผากับไมสะดึงเพือ่ ตัดเย็บ แตในทีป่ ระชุมขณะนัน้ หมายถึงอนุโมทนารับผาทีเ่ สร็จเรียบรอย ผากฐินวันนีไ้ มตอ งระดมสรรพกําลังสงฆเชนในพุทธกาล เพราะอุบาสกอุบาสิกาจัด สําเร็จ แถมดวยบริวารกฐินอีกมากมาย และกอนทอดถวาย (โดยไมเจาะจง) ก็นิยมนําผา กฐินพรอมบริวารแหรอบพระอุโบสถ ขั้นตอนนี้เองที่ธงกฐินจะปรากฏชัด ปจจุบันธงกฐินมีใหเห็นนอย แตในสมัยบรรพบุรุษที่วัดและบานเรือนตั้งอยูริมนํ้า ธงกฐินชวยสื่อความหลายเรื่อง เชน ธงตะขาบสื่อวาวัดนี้มีผูจองกฐินแลว ธงจระเขใชนํา ขบวนเรือ ธงนางมัจฉาใชประดับขณะทอดถวายผา เพราะเชื่อวาเกิดชาติหนาจะมีรูปงาม สวนธงเตานั้นปกใหรูวาวัดนี้ทอดกฐินเรียบรอยแลว (บางแหงก็ปกธงจระเข) ทุกวันนีส้ ธี่ งหายาก แตธงจระเขกบั ธงนางมัจฉายังพอมีใหเห็น แตกเ็ ห็นไมนาน เพราะ เสร็จพิธแี ลวสองธงก็จะหายวับไปจากวัดดวยเชือ่ วา ธงจระเขเปนธงเศรษฐี เก็บไปปกทีบ่ า น แลวจะรํา่ รวย ธงนางมัจฉาก็เลยหายตามไปดวย หนาวัดจึงไมเหลือธงใหผผู า นไปมาอนุโมทนา บุญดังเชนแตเกากอน ตํานานเลาวา ธงจระเขนนั้ มีทมี่ าจากเศรษฐีหวงสมบัติ ครัน้ ตายแลวก็ไปเกิดเปนจระเข เฝาสมบัติที่ฝงไว คราหนึ่งนํ้าทวมใหญตลิ่งใกลพัง สมบัติกําลังจะจมหาย จระเขจึงไปเขา ฝนลูกชายใหนาํ ทรัพยทงั้ หมดทีฝ่ ง ไวไปทําบุญ ขบวนเรืองานบุญคราวนัน้ จึงมีจระเขวา ยนํา้ นําไป แตอีกนัยหนึ่งกลาววาธงกฐินแทนคติธรรมสี่คือ ธงจระเขปากใหญกินไมรูอิ่มแทน โลภะ ธงนางมัจฉางามชวนหลงใหลแทนโมหะ ธงตะขาบพิษรอนแทนโทสะ และธงเตาแทน สติเพราะรูจักหดหัวปดกั้นอารมณกระทบ ธงทั้งสี่จะอยูหรือไปไมสําคัญเทา ธงปฏิบัติขัดเกลาและธงสามัคคียังมีอยู อางอิงภาพ z http://www.flagvictory.com/images/Buddhist/flag_victory_b.jpg

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Product ชื่น ชอบ ช็อป

Rocketbook Wave สมุดโนต Rocketbook Wave มอบอิสรภาพใหม ใหกับปากกาและสมุดโนตแบบเดิมๆโดยสามารถสงขอมูล ที่เขียนบัน ทึกไวไปยังระบบคลาวด เพื่อจัดเก็บทัน ทีผาน สมารทโฟนและเมือ่ ใชปากกา Pilot FriXion เขียนลงบนสมุด Wave เลมนี้ ผูใชสามารถลบขอมูลที่เขียนไวโดยใชเตา ไมโครเวฟ เทานี้สมุดโนตก็พรอมกลับมาใชงานไดอีกครั้ง มีใหเลือก 2 ขนาด สมุดโนต 1 เลม มาพรอมปากกา 1 ดาม สําหรับผูท ส่ี นใจติดตอไดท่ี Ecotopia ชัน้ 4 สยามดิสคัฟเวอรี่

Solar Paper Solar Paper หรือทีช่ ารจแบตเตอรีจ่ ากพลังงานแสงอาทิตย ที่ ดี ไ ซน อ อกมาได บ างเหมื อ นกระดาษ น้ํ า หนั ก เบาพกพาง า ย สามารถใชกับอุปกรณพวกสมารทโฟน แท็บเล็ต หรืออุปกรณ พกพาอื่นๆ ได แถมชารจแบตเตอรี่ไดเร็วพอๆ กับการชารจจาก ไฟบาน จดเดน คือ เรื่องของดี ไซนที่ทําออกมาใหบางและเบา สามารถพกพาไดสะดวก และถาตองการชารจอุปกรณที่ตองใช พลังงานมากขึ้นก็สามารถตอแผง Solar Paper เพิ่มเขาไปเพื่อรับ พลังงานแสงอาทิตยไดมากขึ้น ทําใหชารจไฟเขาไดเสถียรเหมือน ชารจไฟบาน สําหรับผูที่สนใจติดตอไดที่ Ecotopia ชั้น 4 สยาม ดิสคัฟเวอรี่

Grow Up Paper Grow Up Paper สุมดโนตและกระดาษโนตที่สามารถ นําไปปลูกผักได โดยในสมุดโนตและกระดาษโนตไดมีการฝง เมล็ดพันธุผักที่สามารถบริโภคได เพียงแครดน้ํากระดาษใหชุม ทุกวัน ประมาณ 7-14 วัน ตนกลาเล็กๆ จะงอกออกมาจาก กระดาษ หลังจากนัน้ นําไปวางบนดินทีต่ อ งการปลูก โดยไมตอ ง ดึงกระดาษที่ติดรากตนกลาออก รดน้ําสม่ําเสมอทุกวัน รากจะ คอยๆ ไชลงสูพื้นดินและเติบโตตอไป กระดาษก็จะยอยสลาย ตามธรรมชาติ Grow Up Paper นับวาเปนกระดาษที่สื่อความ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม สําหรับผูที่สนใจติดตอไดที่ Ecotopia ชั้น 4 สยามดิสคัฟเวอรี่

13

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Tips Mr.Save

A);1 /)1 หลายคนเปลี่ ย นมาใช ห ลอด LED เพราะชวยใหประหยัดไฟไดมากกวาถึง 80% ใหแสงสวางที่มากกวา ไมมีรังสี UV มาทํารายผิว ของเราอีกดวย และอายุการใชงานหลอดก็ยาวนาน กวาหลอดทั่วไป

LED D/ę <ę% Ę6

3. หลอดขาวขุ นหรือหลอดใส

เราจะสังเกตไดวา หลอดไฟมีทั้งแบบ หลอดใสและแบบขาวขุน ซึ่งผิวเคลือบของ หลอดที่ตางกันก็จะใหแสงที่ตางกัน หลอดใส เหมาะใชกับโคมไฟที่ออกแบบตัวโคมใหสราง ลวดลาย ก็จะตองการการกระจายแสงที่มาก ส ว นหลอดขาวขุ น จะให แ สงที่ ส ม่ํ า เสมอ เหมาะใชกับพื้นที่ใหแสงแบบไมตองมีตัวโคม

LED กับเทคโนโลยีส องสว าง

Light Emitting Diode เปนเทคโนโลยี ของการสองสวางแบบใหม ที่ทนทาน ใหความ สวางสูง กินไฟนอย เกิดความรอนต่ํา ซึ่งระดับ ความสวางก็ตา งกันตาม Chip LED โดยสามารถ ดูคาความสวางหรือปริมาณแสง (ลูเมน : lm) ที่จะบงบอกคาความสวาง เชน หลอดไสขนาด 100 วัตต ใหแสงสวาง 400 ลูเมน เมือ่ เทียบกับ LED จะกินไฟเพียง 5 วัตตเทานั้น

4. สวิตช หรี่ไฟ Dimmable

การเลือกใชหลอด LED สําหรับแตละที่ ตองดูดวยวาตองการใหหรี่ไฟไดหรือไม หลอด LED บางรุนหรี่ไฟได บางรุนหรี่ไฟไมได สังเกต ได จ ากสั ญ ลั ก ษณ (ภาพ Dimmable / Not Dimmable)

วิธีเลือกหลอดไฟ LED 1. สีของแสง

5. รูปทรงหลอดไฟ LED

แสงของหลอดไฟ จะมี 2 แสงหลัก คือ แสงนวล (สี Warm White) จะใหแสงนวลตา อบอุนเหมาะกับการ พักผอน และแสงขาว (สี Day Light) ใหแสงสวางมาก เหมาะ กับพืน้ ที่ใชงาน เชน หองทํางาน หองครัว ทีต่ อ งการแสงทีส่ วางชัด สบายตา สี Warm White ใหแสงสีแดงออกโทนสม เปนโทนสีรอน โทนอบอุน คาอุณหภูมิสีของแสงอยูที่ ต่ํากวา 3,000 เคลวิน สี Cool White ใหแสงสีในทาง สีขาว เปนโทนสีดูเย็นสบายตา คอนขางสวางกวาเมื่อเทียบกับสี Warm White คาอุณหภูมิสีของแสงอยูที่ 3,000-4,500 เคลวิน สี Day Light ใหแสงสีโทน ออกขาวอมฟา คลายแสงธรรมชาติตอนกลางวัน คาอุณหภูมิสีของแสงอยูที่ 4,500-6,500 เคลวินขึ้นไป ใหคาสีที่สมจริง

2. ขั้วหลอดต างขนาด

ขั้วหลอดไฟ LED ที่ใชกับโคมเปนแบบไหน ตองไมลืมสังเกตใหแนใจวา เปนขั้วเกลียว ขั้วเกลียวเล็ก ขั้วเข็ม หรือขั้วเสียบ

หลอดจําปา ใหแสงคลายแสงเทียนเหมาะสําหรับ โคมไฟประดับที่ตองการเพียงแสงสลัวๆ หลอดทรงกลม ใหแสงสวางองศากวาง เหมาะใชโคมไฟ และโปะโคมที่สรางลวดลายเวลาเปดไฟ หลอดทรงยาว ใหแสงคลายหลอดฟลูออเรสเซนตหรือหลอด นีออน เหมาะสําหรับใหแสงสวางทั่วไป

6. มุมกระจายของแสง

การใหแสงของหลอด LED จะเปนแบบแสงพุงตรงเหมือนแสงจากไฟฉาย ดังนั้นในการเลือกหลอด LED จึงตองดูเรื่องการกระจายแสง จากรีเฟลกเตอร ของหลอดไฟแตละรุนประกอบดวย เพื่อใหแนใจวาการเปลี่ยนมาใชหลอด LED จะใหความประหยัดจริง ตองดูทคี่ า ประหยัดไฟของหลอดไฟ ทีม่ ตี งั้ แตระดับ A++ คือประหยัดสูงสุด ไปจนถึง E ซึ่งจะลดระดับความประหยัดลงมา การเปลี่ยนมาใชหลอดไฟ LED ทดแทนหลอดไฟที่ ใชอยูปจจบัน ซึ่งให ความสวางที่มากกวา แตกินไฟนอยกวาหลอดไฟแบบเดิม นอกจากชวยประหยัด รายจายแลว ยังมีสวนชวยในการดูแลสิ่งแวดลอมไปพรอมกัน ที่มา : HomePro

14

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Health คุณนายเขียว

C2)A '

5g"÷ E%Ę 5 .9 9 Ę1.< $6"

โฮลเกรน (Whole Grains) คือ ธัญพืชเต็มเมล็ดที่ไมผานการขัดสี หรือขัดสีนอยที่สุด โดยยังคงมีสวนประกอบ สําคัญอยูอ ยางครบถวน ไดแก เยือ่ หุม เมล็ด เนือ้ เมล็ด และจมูกขาว ถือเปนสวนทีม่ คี ณุ คาโภชนาการสูงทัง้ ไฟเบอร วิตามิน แรธาตุ และไฟโตนิวเทรียนท หรือสารตอตานอนุมูลอิสระตางๆ โฮลเกรน อุดมดวยวิตามินอี วิตามินบีรวม แรธาตุตางๆ และใยอาหาร มีสารตานอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพสูง ซึ่งชวยปกปองการเสื่อมสภาพของเซลล เสริมสรางระบบประสาทและเซลลเม็ดเลือดแดงใหแข็งแรงสมบูรณ ตัวอยางของ โฮลเกรน ไดแก ขาวกลอง ขาวสาลี ขาวโพด ขาวโอต ขาวบารเลย ขาวไรย ลูกเดือย รวมถึงอาหารจําพวกขนมปงโฮลวีต ซีเรียลธัญพืช สวน โฮลวีต (Whole Wheat) นั้นคือ ธัญพืชเต็มเมล็ดที่เปนขาวสาลีเทานั้น แตความจริงแลวไมใชแคขาวสาลี ที่เปนโฮลเกรน ดังนั้นจึงตองทําความเขาใจกับทั้งสองคํานี้ใหถูกตอง เพื่อใหไดรับประโยชนสูงสุดในการบริโภค จากขอมูลของงานวิจยั พบวาการรับประทานอาหารทีอ่ ดุ มดวยโฮลเกรนอาจชวยลดความเสีย่ งของการมีอายุสน้ั ได นักวิจยั พบวาคนทีร่ บั ประทานโฮลเกรนอยางนอย 3 หนวยบริโภคทุกวัน มีแนวโนมทีจ่ ะเสียชีวติ จากสาเหตุใดๆ ก็ตาม นอยกวาคนทีร่ บั ประทาน โฮลเกรนนอยกวาหนึ่งหนวยบริโภคตอวันถึง 20% ชวยลดความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากโรคหัวใจลง 25% และชวยลดความเสี่ยงของ การเสียชีวติ จากโรคมะเร็งลง 14% เมือ่ เทียบกับการรับประทานโฮลเกรน 1 หนวยบริโภคหรือนอยกวา ในการศึกษาครัง้ นี้ไดวเิ คราะหขอ มูล ของผูคนทั้งหมดมากกวา 786,000 คน โดยผูที่เสียชีวิตเกือบ 98,000 คน เปนผูเสียชีวิตจากโรคหัวใจกวา 23,000 คนและจากโรคมะเร็ง กวา 37,000 คน นอกจากนี้ยังพบวาแตละหนึ่งหนวยบริโภคหรือ 0.5 ออนซ (16 กรัม) ของโฮลเกรนตอวันจะชวยลดความเสี่ยงของการ เสียชีวิตจากสาเหตุใดๆ ลง 7% ลดความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากโรคหัวใจลง 9% และลดความเสี่ยงของการเสียชีวิตจาก โรคมะเร็งลง 5% ทั้งยังชวยลดระดับน้ําตาลในเลือด ลดระดับคอเลสเตอรอล และลดไขมันในรางกาย และงานวิจัยยังไดคนพบวา การเกิดของโรคจอประสาทตาเสื่อม (AMD) มาจากคาดัชนีน้ําตาลที่สูงอีกทั้ง Macular หรือจดกลางรับภาพจอประสาทตานัน้ เปนสวนที่ไวตอการมองเห็นมากทีส่ ดุ ดังนัน้ การบริโภคโฮลเกรน ซึง่ เปนธัญพืชทีผ่ า น กระบวนการขัดสีนอยเปนประจํา ก็จะสามารถชวยใหการเกิดของโรคจอประสาทตาเสื่อม (AMD) ลดลงไดถึง 8% อีกหนึ่งกรณีศึกษาจากวารสารโภชนาการประเทศอเมริกา เผยวาคนที่กินโฮลเกรนเปนประจําทุกวัน อยางเชน ขาวโอต ขาวกลอง หรือขาวบารเลย จะมีหุนที่สวยเพรียวกวาคนที่ไมกินถึง 85% เนื่องจากโฮลเกรนเต็มไปดวยไฟเบอร ที่เมื่อกินไปแลวกระเพาะจะยอยอยางชาๆ ชวยใหคุณอิ่มทองไดนานขึ้น ไมกินจบจิบระหวางวัน โฮลเกรนเปนอีกหนึ่ง เคล็ดลับทีช่ ว ยสาวๆ ควบคุมนา้ํ หนัก และดูแลสุขภาพโดยรวมของสาวๆ ใหดขี นึ้ อยางไรก็ดี มันยังชวยลดการอักเสบ ตางๆ ภายในรางกายไดดวย อยางรอยฟกช้ํา และอาการบวมอักเสบ สารอาหารทีพ่ บในโฮลเกรนนัน่ เองทีท่ าํ ใหคนเรามีสขุ ภาพดี เชน ไฟเบอรชว ยลดคอเลสเตอรอล และชวยใหรสู กึ อิม่ ทําใหกนิ นอยลง แมกนีเซียมชวยทําใหอนิ ซูลนิ ทํางานไดดขี นึ้ และลดความดันโลหิต และสารตานอนุมูลอิสระชวยในการตอสูกับความเครียดไดอีกดวย ที่มา : www.takieng.com

15

GreenNetwork November-December 2017


ปจจบันจํานวนประชากรไทยเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง และมีอัตราการโยกยายเขามาอาศัยอยูในเมืองใหญมากขึ้น ทําให เมืองมีขนาดใหญและซับซอนกวาอดีต จึงจําเปนตองสงเสริมใหชมุ ชนเมืองมีสงั คมและเศรษฐกิจทีม่ คี ณุ ภาพ ดวยการใชเทคโนโลยี GREEN สารสนเทศมาพัฒนาระบบการขนสงและการใชพลังงานที่มีประสิทธิภาพ เพื่อใหประชากรมีสุขพลานามัยที่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี Cover ภายใตสิ่งแวดลอมที่มีคุณภาพ สะดวก สะอาด ปลอดภัย รองรับสังคมที่จะมีความซับซอนยิ่งขึ้นในอนาคต กองบรรณาธิการ ลาสุดกระทรวงพลังงาน ไดมีการสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ โดยในระยะแรกไดจัดใหมีโครงการสนับสนุน การออกแบบเมืองอัจฉริยะ ซึ่งไดรับการตอบสนองจากนักพัฒนาเมืองในทุกระดับเปนอยางดี โดยผานนโยบายที่จะสงเสริมการ พัฒนาเมืองอัจฉริยะ 4 ดาน คือ 1. ดานพลังงานและสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน พิจารณาสงเสริมการพัฒนาระบบผลิตไฟฟาเพือ่ ใชเองภายในเมืองอัจฉริยะ การสงเสริม ใหดําเนินการระบบ Micro-grid การพิจารณาสงเสริมการสงจายและจําหนายไฟฟาภายในโครงการโดยใหภาคเอกชนสามารถซื้อขายแลกเปลี่ยนไฟฟาเองได การสงเสริมการลงทุนในการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทน การสงเสริมการเดินทางโดยพาหนะที่เปนมิตรกับ สิง่ แวดลอม ตลอดจนการสงเสริมใหเมืองอัจฉริยะสามารถผลิตและใหบริการโครงสรางพืน้ ฐานทัง้ ดานกายภาพ (Physical Infrastructure) และโครงสรางดานดิจิทัล (Digital Infrastructure) ไดเองภายในขอบเขตของเมือง 2. ดานผังเมืองและการขนสง พิจารณาการจัดรูปผังเมืองเฉพาะสําหรับเมืองอัจฉริยะ เพื่อลดขอจํากัดในการใชพื้นที่ สําหรับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ และสามารถจัดผังเมืองทีส่ ง เสริมใหใชพลังงานนอยลงในการเดินทาง หรือ เดินหรือขีจ่ กั รยาน ซึ่งไมตองใชพลังงานในการเดินทางไดโดยสะดวก รวมทั้งพิจารณาสงเสริมใหเมืองอัจฉริยะสามารถใหบริการระบบขนสง มวลชนภายในเมืองของตนเอง โดยจะใหความสําคัญกับระบบพลังงานสะอาดเปนหลัก 3. ดานชุมชนเมือง สิ่งแวดลอม และการทองเที่ยว สงเสริมใหมีการกําหนดมาตรฐานดานความปลอดภัย สุขภาพ การปองกันภัยพิบัติ การดูแลผูสูงอายุ ผูทพุ พลภาพ ใหความสําคัญกับรูปแบบการเรียนรูตลอดชีวิตโดยการพัฒนาแหลง เรียนรูดานตางๆ ภายในเมืองอัจฉริยะ ตลอดจนพิจารณาความเปนไปไดในการใหสิทธิ หรือสวัสดิการพิเศษสําหรับผูอยู อาศัย หรือทํางานในเมืองอัจฉริยะ กําหนดทิศทางใหเมืองอัจฉริยะเปนแหลงเรียนรู สถานทีพ่ กั ผอน และทองเทีย่ ว สําหรับครอบครัว 4. ดานการบริหารจัดการเมือง สงเสริมใหมีระบบการบริหารจัดการเมืองอัจฉริยะเพื่อใหเมือง คงความเปนอัจฉริยะในดานตางๆ ไดอยางตอเนือ่ ง เนนการมีสว นรวมของชุมชน โดยใชเทคโนโลยี ดิจิทัลชวยในการบริหารจัดการและตองสามารถตรวจสอบขอมูลตางๆ ไดตลอดเวลา โครงการสนับสนุนการออกแบบเมืองอัจฉริยะ โดยการสนับสนุนจากกองทุนเพือ่ สงเสริม การอนุรักษพลังงาน มีสถาบันอาคารเขียวไทยเปนผูดําเนินโครงการ เพื่อกระตุนและใหการ สนับสนุนหนวยงานภาครัฐ องคกรเอกชน ในการออกแบบและพัฒนาเมือง หรือโครงการ ในลักษณะชุมชนเมืองไปสูเ มืองอัจฉริยะ โดยโครงการทีผ่ า นการพิจารณามี 6 โครงการ ไดแก

16

GreenNetwork November-December 2017


นิด า

มหาวิทยาลัยอัจฉริยะ รู รักษ พลังงาน สู การพัฒนาที่ยั่งยืน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (นิดา) ไดเขารวมการประกวดการ ออกแบบเมืองอัจฉริยะ Smart Cities -Clean Energy ครั้งแรกของประเทศไทย ซึ่งจัดโดยกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน รวมกับ มูลนิธิอาคารเขียวไทย รศ. พ.ต.อ.ดร.ประพนธ สหพัฒนา รองอธิการบดีฝายบริหาร กลาววา การเขารวมโครงการสนับสนุนการออกแบบเมืองอัจฉริยะ (Smart Cities - Clean Energy) ในครั้งนี้ ชวยใหนิดาไดแนวทางในการพัฒนาเมืองของชุมชนที่มีผลตอ การลดความตองการพลังงานและการใชพลังงานสูงสุด สงเสริมการใชพลังงาน ทดแทน ลดปญหาสิง่ แวดลอม นําไปสูก ารพัฒนาอยางยัง่ ยืน เพือ่ รองรับการเติบโต ของเมืองและเกิดการเรียนรูดานพลังงานสูชุมชนผานกระบวนการทางความคิด สรางสรรค และเพื่อเปนตนแบบมหาวิทยาลัยอัจฉริยะในพื้นที่เพียง 44 ไร นิดา มุงหนาสูการเปน “Smart Compact City” ที่มีจดเดนดังนี้ 1) พลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) เปนการพัฒนาระบบตางๆ เพือ่ ลด ความตองการพลังงาน และการใชพลังงานสูงสุด รวมทั้งสงเสริมการใชพลังงาน ทดแทน ไดแก โครงการ Solar Rooftop โครงการติดตั้ง LED โครงการติดตั้ง VSD สําหรับ Chilled Water Pump โครงการผลิต Biogas จากขยะอินทรีย โครงการติดตั้ง District Cooling โครงการติดตั้ง Air Inverter และโครงการ Smart Grid 2) การสัญจรอัจฉริยะ (Smart Mobility) เปนการพัฒนาระบบคมนาคม ขนสงภายในและเชื่อมโยงกับภายนอกใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดวยการ สรางเมืองมหาวิทยาลัยแหงนี้ใหเปน Intermodal Transportation Hub แหงใหม ของกรุงเทพฯ โซนตะวันออก โดยการเชื่อมโยงทางเดินเทา ทางจักรยาน และ รถไฟฟาในอนาคต โดยจะมีรถ Shuttle Bus พลังงานไฟฟาจากสถานีรถไฟฟา และทาเรือเขาสูสถาบัน พรอมทั้งมีระบบสื่อสารระยะไกล พลังงานตํ่าหรือ LoRa-Wan เชื่อมตออุปกรณอัจฉริยะ เขาสู Data Analytic Center ของเมือง เพื่อประมวลผลขอมูลสําหรับการวางแผนอยางมีสวนรวมพัฒนาเมืองในทุกมิติ

3) ชุมชนอัจฉริยะ (Smart Community) เปนการพัฒนาสังคมในอนาคตที่ ผูม สี ว นเกีย่ วของ ทุกกลุม มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ แี ละมีความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ 4) สิ่งแวดลอมอัจฉริยะ (Smart Environment) พัฒนาสภาพแวดลอม โดยการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวและการลดปญหาสิง่ แวดลอม ผานโครงการ Smart Nature Trails โครงการ Smart Waste Management และโครงการ Smart Water โดย หลังพัฒนา Smart Campus พื้นที่สีเขียวจะเพิ่มขึ้นอีก 70% ขยะจะถูกรีไซเคิลเพื่อ ทําปุย อินทรียใ หตน ไมและนําไปทําเปนไบโอแกสภายใน 3 ป ขยะจะลดลงเหลือ 40% และภายใน 5 ป จะเหลือเพียง 20% 5) เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart Economy) การพัฒนาแบบจําลองทางธุรกิจ เพื่อประเมินความคุมคาทางเศรษฐกิจของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ นิดาจะเปน แมแบบและศูนยกลางในการถายทอดความรูผาน Online Courseware โดย โครงสราง Crowd Funding Platform จะเชื่อมโยงระหวางคนในชุมชน และให คําปรึกษาผาน Business Insight and Neuroscience สวนคาไฟฟาที่ลดลงปละ 24 ลานบาทจะถูกนํามาลงทุนโครงการ Smart Campus ผลักดันใหนดิ า เปน World Class University 6) อาคารอัจฉริยะ (Smart Building) นอกจากอาคารสูงที่สุด 2 อาคาร จะถูกปรับปรุงตามมาตรฐานอาคารเขียวของ TREES ใน ระดับ Platinum แลว ยังมีการปรับปรุงอาคารใหเปนอาคารที่มีการใชพลังงานสุทธิเปนศูนย Net Zero Energy Building อีก 8 อาคารรวมอาคารหอประชุมฯ ทั้งนี้ Payback Period ทั้งโครงการอยูที่ 7.3 ป 7) การบริหารจัดการเมืองอัจฉริยะ (Smart Governance) ผูบริหารจะไม เพียงทราบอัตราการใชพลังงานจาก Smart Control System แตยังทราบขอมูล ปฏิบตั งิ านตามยุทธศาสตรและสถิตติ า งๆ ของสถาบันผาน Smart Dashboard ทัง้ นี้ Smart Campus ของนิดาใหความสําคัญตอ Open Data 8) Smart Innovation พัฒนา Machine Learning และ Big Data Analytics รวมกันเปนระบบ

เทศบาลนครขอนแกนไดมกี ารบริหารเชิงพืน้ ที่ และการบริหารจัดการในรูปแบบ ของความเปนเมืองสรางสรรค (Smart City) ซึ่งองคประกอบแหงความสําเร็จ หลายประการที่สามารถนํารูปแบบการบริหารจัดการเชิงสรางสรรคมานํารองปรับใช กับเมืองได โดยเฉพาะกระบวนการมีสว นรวมภาคประชาชนหรือกับองคกรเอกชน ไดแก บริษัท ขอนแกนพัฒนาเมือง (เคเคทีท)ี จํากัด ซึง่ เกิดจากการรวมตัวของกลุม นักธุรกิจ ชั้นแนวหนาของจังหวัดขอนแกน ทั้งหมดกวา 20 บริษัท เพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ของจังหวัดตนเองในเชิงออกแบบและพัฒนาเมืองอยางถูกหลักวิชาการ รองรับบทบาท ของเมืองที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต สามารถตอบสนองตอพลวัตของเมืองที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของสถานการณในการพัฒนาเมืองสูสากล สรางสังคม แหงความสุขไดนั้น ทางเทศบาลนครขอนแกน กับ บริษั ท ขอนแกนพัฒนาเมือง (เคเคทีที) มีแนวคิดพัฒนาแบบโครงขายระบบขนสงสาธารณะ 5 เสนทาง Mobility Drives City เพื่อทําใหเกิดการพัฒนา TOD และ การฟนฟูยานใจกลางเมืองปจจบัน CBD จึงเปนเหตุผลและความสําคัญของการศึกษาโครงการ “โครงการขอนแกน Smart City (ระยะที่ 1) กอสรางระบบขนสงมวลชน ระบบรางเบาสายเหนือ-ใต ตนแบบใน เมืองภูมภิ าคจังหวัดขอนแกนพรอมกับการพัฒนาโครงสรางเมือง และการจัดตัง้ กองทุน โครงสรางพื้นฐานโดยการลงทุนจากภาคเอกชนเพื่อการสรางโครงสรางเมืองอยาง นําสมัยและยั่งยืน

ขอนแก น Smart City

(ระยะที่ ๑) : ขนส งสาธารณะ เปลี่ยนเมือง

17

GreenNetwork November-December 2017


เมืองใหมอัจฉริยะบานฉาง ออกแบบเมืองใหม ในพื้นที่เกษตรกรรมและ พืน้ ทีว่ า งเปลา ซึง่ มีมลู คาทางเศรษฐกิจตา่ํ เพือ่ เปนเมืองแหงธุรกิจและการพักอาศัย ในเขตจังหวัดระยอง รองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศไทย ที่มีความพรอมดานโครงสรางสาธารณูปโภคพื้นฐานและการคมนาคมที่สมบูรณ การพัฒนาเทคโนโลยีกับองคกรภาคเอกชน มีการพัฒนาระบบขอมูลเปด (Open Data) ใหคนเขาถึงกิจกรรมที่เกิดขึ้นในแหลงธุรกิจและรองรับการเติบโต ของประชากรในอนาคต มีการผลิตและใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพจากระบบ ผลิตไฟฟาและความรอนรวมและระบบผลิตจากโซลารฟารม และบริหารจัดการ โดยระบบโครงขายอัจฉริยะที่ควบคุมและจัดการการผลิตและใชพลังงานในพื้นที่ ตนเอง ติดตั้งระบบการจัดเก็บพลังงานแบบผสมผสาน (Hybrid Solar-Wind Power with battery system) ลดการใชพลังงานใหตํา่ กวาเกณฑ มีอาคารสมดุล พลังงาน (Net Zero Energy Building) และ บริการรถไฟฟาสาธารณะที่ใหบริการ แกคนทุกกลุม (Universal Design) สนับสนุนการเดินทางดวยทางเดินเทาและ ทางจักรยานภายในเมืองที่ประหยัดพลังงานและสงเสริมสุขภาวะแกผูอยูอาศัย โครงสรางพื้นฐานใชเทคโนโลยีสารสนเทศ IoT และโครงขายเคเบิลใยแกวนําแสง บรอดแบรนด เพื่อการติดตอสื่อสารและบริหารจัดการอยางทั่วถึงแกผูรับบริการ ทุกกลุม ทุกเวลา มี Free WiFi ทีค่ วามเร็วสูงใหใชในยานธุรกิจและทองเทีย่ วในเมือง และการควบคุมการจราจรจะถูกควบคุมและบริหารจัดการดวยนวัตกรรม OCR : Optical Character Recognition และยังเปนระบบรักษาความปลอดภัยของเมือง ดวย

เมืองใหม อัจฉริยะ

บ านฉาง

โครงการพัฒนาพื้นที่เขตพาณิชยของจฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริเวณสวนหลวง-สามยาน ถือเปนการพัฒนาพื้นที่ ที่เปนกรรมสิทธิ์ที่ดินขนาดใหญเพียงแหงเดียวในเขตพาณิชยกรรมศูนยกลางเมืองของกรุงเทพมหานคร ที่อยูติดกับพื้นที่ สถาบันการศึกษา ดวยขนาดพื้นที่ถึง 291 ไร จากที่ดินทั้งหมด 1,153 ไร ของจฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แนวคิดหลักในการทําผังแมบทสวนหลวง-สามยาน ประกอบดวย พื้นที่ตนแบบเมืองสุขภาวะ ที่คนสามารถใชชีวิต ไดอยางมีสุขภาพที่ดี ปราศจากมลพิษ พื้นที่ตนแบบทางธุรกิจ-สังคมเมืองใหม เปนจดนัดพบระหวางผลผลิตทางวิชาการ กับประชาคมเมืองกรุงตางๆ และ พื้นที่ตนแบบเมืองอัจฉริยะ ที่นําเอาเทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดลอมแบบตางๆ เขามาใช เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี และลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการอยูอาศัยในเมือง การที่โครงการพัฒนาพื้นที่เขตพาณิชยของจฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริเวณสวนหลวง-สามยาน จะกลายเปนพื้นที่ตัวอยางของ “เมืองอัจฉริยะ” ในบริบทของพื้น ที่พาณิชยกรรมศูนยกลางเมืองหลวง นอกจากจะสงผล ทางดานบวกกับคนเปนจํานวนมากในพืน้ ทีเ่ มืองทีม่ คี วามหนาแนนสูงทัง้ ในทุก มิตอิ จั ฉริยะของการจัดการพลังงาน การสัญจร ชุมชน สิง่ แวดลอม เศรษฐกิจ อาคาร รวมทั้งการบริหารจัดการเมือง และการสรางนวัตกรรมเมืองแลว วัตถุประสงคที่สําคัญและยั่งยืนที่สุดในการสรางเมืองอัจฉริยะ ที่นอกเหนือ ไปจากการสรางโครงสรางพื้นฐานและเทคโนโลยีใดๆ คือ ความสามารถใน การพัฒนาสังคมอัจฉริยะ ทีป่ ระกอบไปดวย “คน” ทีม่ จี ติ สํานึกอยางอัจฉริยะ พืน้ ทีเ่ มืองจฬาอัจฉริยะนี้ จะชวยยกระดับการเรียนการสอน สนับสนุนงานวิจยั และพัฒนา พฤติกรรมของนิสิตและบุคลากรอยางเต็มศักยภาพ สามารถ แลกเปลี่ยน ถายทอดความรูเชิงวิชาการ จากมหาวิทยาลัยสูสังคมภายนอก อยางแทจริงและเปนรูปธรรม อาทิ นวัตกรรมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานการแพทย ดานการพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรค สามารถพัฒนานวัตกรรม รวมกันระหวางมหาวิทยาลัย กับสถาบันการศึกษา อื่นๆ หรือหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งในและตางประเทศ รวมทั้งสงเสริมใหเกิด การพัฒนาองคความรูม าตอยอดในเชิงธุรกิจ ผานการพัฒนาพืน้ ทีพ่ าณิชยกรรม ศู น ย ก ลางเมื อ งที่ ตั้ ง อยู  เ คี ย งคู  กั บ พื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาเพี ย งแห ง เดี ย วของ กรุงเทพมหานคร ซึ่งจะเปนพื้นที่เมืองอัจฉริยะ ที่มีศักยภาพรองรับความ เปลี่ยนแปลงจากพลวัตของสิ่งแวดลอมโลก และพลวัตของคนรุนใหมจาก มหาวิทยาลัยที่หลอเลี้ยงเขามาในพื้นที่ตลอดไป

18

GreenNetwork November-December 2017

โครงการ

เมืองจุฬาฯ อัจฉริยะ


มหาวิทยาลัยเชียงใหม มีนโยบายดานการบริหารจัดการพลังงานสีเขียวหลายโครงการ ทั้งที่ดําเนินการไปแลว และ อยูระหวางการดําเนินการ อาทิ โครงการผลิตพลังงานสะอาดจากแสงอาทิตยและชีวมวล โครงการลดการใชรถสวนตัว ในเมือง โครงการขยะเปนศูนย และโครงการรถสาธารณะพลังงานจากขยะ รวมถึงโครงการที่กําลังดําเนินการจัดตั้ง อีกมากมาย ไดแก โครงการเครือขายเมืองอัจฉริยะ (Absolute SMART Control) ทีเ่ นนการวางระบบเครือขายการควบคุม ตรวจสอบ และตรวจวัดระบบของเมืองครบวงจร ทั้งระบบ เกี่ยวกับพลังงาน ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบการสัญจร และระบบสงเสริมการมีสวนรวมของประชากร เปนตน โครงการเพิ่มเครือขายการสัญจรสาธารณะ โครงการธุรกิจอัจฉริยะ โครงการปรับปรุงอาคารเดิมใหเปนอาคารเขียว (TREEs) และจัดทําแผน การกอสรางอาคารใหมใหเปนอาคารเขียวระดับยอดเยี่ยม (TREEs-Platinum) เปนตน ทั้งนี้เมืองมหาวิทยาลัยมุงเนนผลประโยชนของโครงการในภาพรวมออกเปน 3 สวน ไดแก ภาพรวมประโยชนทางพลังงาน ภาพรวมผลกระทบทางสิ่งแวดลอม และภาพรวมผลประโยชนตอ ชุมชน โดยที่เมืองสามารถสรางผลประโยชนทางพลังงานสุทธิไดจากการผลิตพลังงานสะอาดจาก แสงอาทิตยและชีวมวลไดถึงรอยละ 40 ของปริมาณการใชพลังงานของเมือง พลังงานสะอาดเหลานี้ นอกจากจะนํามาหักลบกับการใชพลังงานจากการไฟฟาในหมูบานและชุมชนแลว เมื่อเหลือใช ยังสามารถแบงปนไปยังหมูบานและชุมชนอื่นๆ ไดอีกดวย ผลกระทบทางสิง่ แวดลอม ในภาพรวมเมืองมีเปาหมายลดผลกระทบในแงการลดการปลดปลอย ปริมาณคารบอน (Carbon Reduction) ใน 20 ป ไดถงึ 32,370.68 tCO2/y คิดเปนรอยละ 55.2 ของ ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกปจจบัน (ป 2559) มหาวิทยาลัยเชียงใหมถือไดวาเปนปอดใหกับ เมืองและชุมชนรอบขางไดจากการมีปริมาณพื้นที่สีเขียวรอยละ 40 นอกจากนั้นยังมุงเนนเปนตนแบบ การจัดการพลังงานและ สิง่ แวดลอมครบวงจรใหกบั เมืองขางเคียงไดพฒ ั นาสูส งั คมสีเขียวแบบอัจฉริยะ สวนผลประโยชนตอชุมชน เปนที่แนนอนวาประชาชนทั้งในเมืองจํานวน 14 หมูบาน และ 6 ชุมชน ขางเคียงจะสามารถใชประโยชนพื้นที่สีเขียวในเมือง มีความสะดวกสบายในการสัญจรเพิ่มขึ้น อีกทั้ง การพัฒนาเทคโนโลยีที่สนับสนุนเมืองอัจฉริยะยังจะเปนการสรางนวัตกรรมและสามารถสงตอ องคความรูสูภาคธุรกิจ (Knowledge Transfer) โดยรอบได ซึ่งจะสามารถเพิ่มการลงทุนและสราง รายไดในเทคโนโลยีที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

ธรรมศาสตร ศูนย รังสิต :

ต นแบบเมือง มหาวิทยาลัยอัจฉริยะ

มช. (เมือง)

มหาวิทยาลัยอัจฉริยะ พลังงานสะอาด

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรงั สิต ไดจดั ทําการปรับปรุงผังแมบท ศูนยรงั สิตระยะยาว พ.ศ. 2577 (ธรรมศาสตร 100 ป) มุงเนนไปที่การปรับโครงหลักของผังใหเหมาะสม ไดแก การแบงสวนพื้นที่การสัญจร พื้นที่เปดโลงสีเขียว จดรวมกิจกรรมและ ระบบสาธารณูปโภคตางๆ เพื่อสรางความเปน “เมืองธรรมศาสตร” ที่เชื่อมโยงกันดวย 3 องคประกอบสําคัญ คือ 1. ศูนยธรรมศาสตรบริการ เพื่อสะทอนถึงอัตลักษณดั้งเดิมของมหาวิทยาลัย จึงสงเสริมการใชงาน และปรับลักษณะ ทางกายภาพของการเปน “ศูนยธรรมศาสตรเพือ่ ประชาชน” ในบริเวณ “ดานหนา” ทุกๆดานของมหาวิทยาลัย โดยใหมลี กั ษณะ เปดรับตอชุมชนภายนอกและมีการใชงานทีเ่ อือ้ ตอการบริการประชาชนอยางเต็มที่ ไดแก บริเวณทิศตะวันออก (ถนนพหลโยธิน) ใหเปนพื้นที่การบริการวิชาการดานการสงเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาล บริการ หองสมุด พิพิธภัณฑ และสงเสริมความรู ดานธุรกิจ บริเวณทิศตะวันตก (สถานีรถไฟฟาสายสีแดง) ใหเปนพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมแบบผสมผสาน เพื่อสงเสริมเศรษฐกิจ และพัฒนาคุณภาพชีวิต และบริเวณทิศใต (ถนนเชียงราก) ใหเปนพื้นที่บริการดานนันทนาการ กีฬาและวัฒนธรรม 2. ตนแบบเมืองมหาวิทยาลัย ครอบคลุมพืน้ ทีส่ ว นการศึกษาและสวนพักอาศัย ซีง่ ตัง้ อยูบ ริเวณ ใจกลางมหาวิทยาลัยและเปนหัวใจสําคัญของสถาบันการศึกษาและการปรับพื้นที่คํานึงถึงการใชงาน ทีค่ รบถวน สะดวกสบาย และเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม สรางความสะดวกในการเดินเทา การใชจกั รยาน และระบบขนสงมวลชน สรางความใกลชดิ ของกลุม คณะตางๆ เพือ่ ใหเกิด “ศูนยรวม” ทีช่ ดั เจนทัง้ ดาน กิจกรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู และการสรางสุนทรียภาพในการใชชีวิต รวมทั้งสงเสริมการใชถนน ตลาดวิชาและถนนยูงทองเพือ่ สรางการเชือ่ มโยงทางกายภาพกับสถาบันเพือ่ นบาน ไดแก สวทช. และ A.I.T. ซึ่งมีบทบาทสําคัญในการกอใหเกิด “ตนแบบเมืองมหาวิทยาลัย” อยางแทจริง 3. สวนธรรมศาสตรสาธารณะ องคประกอบหลักทั้ง 2 สวน ทั้งดานการบริการประชาชนและ ดานการศึกษา จะเชื่อมโยงเขาหากันดวย “สวนธรรมศาสตรสาธารณะ” ไดแก พื้นที่สวนนันทนาการ กีฬาและวัฒนธรรม และพื้นที่สวนการอนุรักษสิ่งแวดลอมเพื่อการเรียนรู โดยยึดแนวทางการจัดการ พืน้ ทีส่ เี ขียวภายในศูนยรงั สิตใหเกิดประโยชนสงู สุด ทัง้ ดานกิจกรรมพักผอนนันทนาการ พบปะสังสรรค การอนุรักษฟนฟูระบบนิเวศ และการใชงานดานสาธารณูปโภค โดยการสรางใหเกิดโครงขายสีเขียว (Green Network) ที่เชื่อมโยงคนทุกกลุมและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ใหอยูรวมกันอยางเกื้อกูล โครงการทัง้ หมดนี้ ชวยเปลีย่ นแปลงจากเมืองสูเ มืองอัจฉริยะ ไปพรอมกับการลดปญหาทางดาน สิง่ แวดลอม เกิดการใชพลังงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ตอลดจนการพัฒนานวัตกรรมเชิงสรางสรรค นําไปสู ธุรกิจใหม นับเปนสวนสําคัญที่ชวยกระตุนใหเกิดการพัฒนาตอยอดการสรางเมืองอัจฉริยะใหเกิดขึ้น อยางเปนรูปธรรมในอนาคตอันใกล 19

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Travel ตะลอนทัวร์

“นครนายก” เปนจังหวัดเล็กๆ ที่ ไมธรรมดา ทั้งยังอยูไมไกลจาก กรุงเทพฯ มากนัก ดวยระยะทางหางเพียง 105 กิโลเมตรเทานั้น แตหลายคน อาจจะมองขามไป ทั้งที่จริงแลวนครนายกเปนทั้งเมืองประวัติศาสตร มีทั้งภูเขา นาํ้ ตก ไมวา จะเปน วัดหลวงพอปากแดง, เขือ่ นขุนดานปราการชล (เขือ่ นคลองทาดาน), ซุม ปาไผ ณ วัดจฬาภรณวนาราม, พ.ฟารมเมลอน หรือภูกะเหรีย่ ง ทีร่ อใหนกั ทองเทีย่ ว ไดเขามาสัมผัสในมนตเสนหของนครนายกกัน

A&H 6& . 6&D E 5

The Chill Resort @Nakornnayok สําหรับหลายๆ คนที่วางแผนจะมาเที่ยวนครนายก แตยังไมมีสถานที่พัก เอาใจ คนรักธรรมชาติ อยาง “The Chill Resort @ Nakornnayok” รีสอรตทามกลางธรรมชาติ โอบลอมดวยขุนเขา ดานหนาติดแมนาํ้ นครนายก ใหความรูส กึ เย็นสบาย รมรืน่ โดยจะมี บานพักหลากหลายรูปแบบ ทั้งเรือนไทยริมน้ํา หองพักสไตลโมเดิรนในสวน และเต็นท กลางสนาม ใหกับนักทองเที่ยวที่ตองการสัมผัสกับธรรมชาติแบบใกลชิด นอนฟงเสียง สายน้ํา นอกจากนี้รีสอรตสามารถเห็นวิวไดรอบดาน ไมวาจะเปนแมน้ําหรือภูเขา และ ที่สําคัญ เทรนดการทองเที่ยวในเชิงธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกําลังไดรับความนิยม The Chill Resort มีการออกแบบและสรางขึน้ ใหใกลชดิ กับสภาพแวดลอมมากทีส่ ดุ โดย

20

ใกลจะสิน้ ปแลว จะไปเทีย่ วไหนดี พักที่ไหนดี เชือ่ วาหลายๆ คนกําลัง มองหาที่เที่ยวในชวงวันหยุดยาวอยูอยางแนนอน สําหรับการออกเดินทาง แตละครั้งจําเปนตองวางแผนและศึกษาหาขอมูลที่หลากหลาย เพื่อใหการ ทองเที่ยวเปนทริปที่สุขสนุกและเปนที่นาจดจํา

เนนจดเดนที่ธรรมชาติของพื้นที่ รีสอรตติดกับแมน้ํานครนายก ที่ใส และ สะอาด ที่เกิดจากการไหลรวมกันของน้ําตกวังตะไคร, น้ําตกนางรอง และ นํ้าจากเขื่อนขุนดาน ซึ่งเปนแมนํ้าที่ ใชในการลองแกงจากเขื่อนขุนดาน โดยนักทองเทีย่ วสามารถลงเลนนา้ํ ไดในแกงบริเวณพืน้ ทีส่ ว นตัวของรีสอรต และที่ขาดไมไดภายในรีสอรตมีสวนสุขภาพและสระวายน้ํา ในบรรยากาศ ที่รมรื่น เงียบสงบ ผสมผสานการตกแตงบานอยางรวมสมัยหลากหลาย สไตล The Chill Resort ตองการใหนักทองเที่ยวที่มาพักไดสัมผัสกับ คํานิยามของคําวา Chill อยางแทจริง นั่นก็คือ C = Charming : เสนห จากสายน้ํา H = Happiness : ความสุขที่ไดจากสถานที่ I = Impression : ความประทับใจที่ไดรับจากการบริการ L = Laughing : เสียงหัวเราะ ความ สบายใจ ที่เกิดขึ้นเมื่อมาเยือน และ L = Lifestyle : เลือกรูปแบบที่พักได ตามรสนิยมและวิถีชีวิต สําหรับหลายๆ คนที่กําลังวางแผนทองเที่ยวในจังหวัดนครนายก The Chill Resort @ Nakornnayok เปนอีกหนึ่งตัวเลือกของที่พักริมน้ํา ที่เนนความใกลชิดกับธรรมชาติ แมน้ําและขุนเขามากกวาความหรูหรา

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Building กองบรรณาธิการ

The NEST ę B ę6

Eco-Care 1 C &Ĝ 6'1&=Ę16,5& เมื่อเร็วๆ นี้ คณะผูจัดงานประชุม Sustainable Brands 2017 Bangkok หรือ SB’17 Bangkok งานประชุมประจําปครัง้ ที่ 3 ซึง่ ภาคธุรกิจ ภาครัฐ ภาคการศึกษา และองคกรตางๆ จะมารวมกันแลกเปลีย่ นมุมมองทีจ่ ะชวยนําพาธุรกิจและประเทศ ใหกา วไปสูก ารเปนแบรนดทยี่ งั่ ยืน รวมกับ เอสซีจี จัดกิจกรรมเยีย่ มชม “The NEST” โครงการตนแบบบาน Smart Eco-Care ที่ผสมผสานเทคโนโลยีของความเปนบาน Smart Eco-Care ไวอยางลงตัว สอดรับกับ Living Trend ของโลกทีก่ าํ ลังเปลีย่ นไป คํานึงถึงการอยูอ าศัยรวมกันของผูค นทุกวัยอยางสะดวก ปลอดภัย และเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม The NEST ยอมาจาก The Next Eco-Sustainable Technology for Home เปนโครงการตนแบบ ที่ไดรับการออกแบบใหเปนบานแหงอนาคตเพื่อความยั่งยืน สําหรับการอยูอ าศัยในเขตภูมอิ ากาศแบบรอนชืน้ โดยผสมผสานความเปนบาน Eco, Smart และ Care อยางลงตัว ดวยการบูรณาการเทคโนโลยีและระบบตางๆ เขา ดวยกัน ทําใหเปนบาน Energy plus หลังแรกในอาเซียน ฎายิน เกียรติกวานกุล New Business Development Manager บริษัท เอสซีจี ซิเมนต-ผลิตภัณฑกอสราง จํากัด กลาววา The NEST จะประกอบดวย 3 คอนเซ็ปตหลัก ซึง่ เปนบานทีอ่ อกแบบบนแนวคิดของ Passive Green ทีต่ อบสนอง การใชชีวิตแบบ Eco ชวยประหยัดพลังงานและน้ํา เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ในสวน ของพลังงาน มีการพัฒนาเทคโนโลยีและการออกแบบ Energy Saving ประหยัด พลังงานดวยการออกแบบอาคารทีช่ ว ยระบายความรอน และลดพลังงานจากการใช ไฟฟา โดยใชแสงธรรมชาติจากดวงอาทิตยมาบูรณาการกับระบบแสงสวางภายใน บาน เมื่อเทียบกับบานทั่วไปสามารถประหยัดพลังงานได 24% ลดพลังงานไฟฟา ที่ใชจากเครื่องปรับอากาศ 52% ลดพลังงานจากอุปกรณสองสวางภายในบาน 22% นอกจากการประหยัดพลังงานแลว บานหลังนี้ยังมีพลังงานตางๆ มาจากการผลิต ดวยตัวบานเอง อยาง Energy Generation สามารถผลิตพลังงานไฟฟาใชในบาน

ไดเองจากเซลลแสงอาทิตย พรอมดวยระบบ Backup Power System จาก Electrolyser Fuel Cell System ที่ชวยใหบานยังคงมีไฟฟาใชตามจดที่สําคัญแมใน ขณะไฟฟาดับ และทั้งปสามารถผลิตพลังงานไดมากกวาสวนที่เราใชงานจริง จึง ทําใหบานหลังนี้เปน Energy Plus หลังแรกในอาเซียน และในเรื่องของน้ํา Water Saving การจัดการการใชน้ําภายในบานใหเกิดประโยชนสูงสุด ทั้งในดานการ ประหยัด การนํากลับมาใชใหม รวมทั้งการนํานํ้าฝนและนํ้าจากเครื่องปรับอากาศ มาใชในระบบชวยใหใชน้ํานอยกวาบานทั่วไป จะชวยประหยัดการใชน้ําถึง 59% “ดวยการบูรณาการออกแบบอาคารตามแนวทาง Bioclimatic Design กับ Passive Cooling Technology รวมกับระบบระบายอากาศเชิงกลตามแนว Envelope ของบาน ตลอดจนการสราง Microclimate รอบบานเพื่อการประหยัดพลังานจาก ผลการทดสอบการใชพลังงานไฟฟาของบาน The NEST พบวามีการใชพลังงานไฟฟา สุทธิหลังจากที่คํานวณสวนที่ประหยัดแลวคิดเปน 15,028 กิโลวัตตตอป ในขณะที่ สามารถผลิตไฟฟาได 16,889 กิโลวัตตตอ ป ซึง่ เกินความตองการใช 1,861 กิโลวัตต ตอป” สวน Smart คือการเพิ่มประสิทธิภาพการใชงาน และความสะดวกสบาย ในการใชชีวิต ดวย Intelligent Home Automation ระบบควบคุมอุปกรณไฟฟา และนา้ํ ภายในบานแบบไรสาย รวมถึงการตรวจสอบการใชนา้ํ และไฟฟาภายในบาน เพื่อชวยในการวางแผนรายจายของบานได และระบบ Smart for Care ที่ชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพในดานความปลอดภัยและความสะดวกสบายกับผูส งู อายุแมไมมผี ดู แู ล อยูขางกาย และ Care คือการออกแบบบานใหรองรับการอยูอาศัยของคนทุกวัย เขาใจความแตกตางของผูส งู อายุ ดวยการออกแบบทีป่ อ งกันหรือลดการเกิดอุบตั เิ หตุ และเพิม่ ความสะดวกสบายในการใหผสู งู อายุไดทาํ กิจกรรมตางๆ ไดอยางปลอดภัย (Independent Living) และอาศัยรวมกับทุกคนในบานอยางมีความสุข เอสซี จี เ ป น หนึ่ ง ในองค ก รที่ เ ข า ร ว มเป น ผู ส นั บ สนุ น หลั กในงานประชุ ม Sustainable Brands ซึง่ ถือเปนศูนยรวมของนักสรางแบรนด นักการตลาด นักธุรกิจ ที่ใหความสําคัญกับการทําธุรกิจอยางรับผิดชอบ รวมทั้งสรางแบรนดเพื่อใหมีสวน ในการพัฒนาอยางยัง่ ยืนกับสังคม โดยงานประชุม SB’17 Bangkok นําเสนอแนวคิด เรื่อง “Redefining the Good Life” หรือการนิยามคุณภาพชีวิตที่ดี โดยครอบคลุม ถึง 8 หัวขอหลัก ไดแก Good Food, Good Home, Good Health-Care, Good Money, Good Design, Good Energy, Good Technology และ Good Destination งานการประชุมระดับนานาชาติ SB’17 Bangkok นับวาเปนโอกาสดีที่ผูเขา รวมงานจะไดพบกับสุดยอดผูนําและนักวิชาการระดับนานาชาติกวา 40 คนจาก แบรนดชนั้ นําทัง้ ในและตางประเทศกวา 50 แบรนด ทีจ่ ะมารวมเสวนาในเรือ่ งความ ยั่งยืนของโลกธุรกิจระดับสากลในแงมุมตางๆ ซึ่งจะจัดขึ้นในประเทศไทยเปนปที่ 3 ระหวางวันที่ 29-30 พฤศจิกายนนี้ ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์

ฎายิน เกียรติกวานกุล 21

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Report กองบรรณาธิการ

Modernizing the Thailand Grid

%<Ę / ę6.=Ę +6%)J7.%5& 1 '4 C ' Ę6&E##Ĕ6E &

สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย (IEEE Thailand Section) และ IEEE Power & Energy Society - Thailand (IEEE PES - Thailand) จัดงาน IEEE PES Dinner Talk 2017 ในหัวขอ “Modernizing the Thailand Grid มุง หนาสูค วามลา้ํ สมัยของระบบโครงขาย ไฟฟาไทย” โดยไดรับเกียรติจาก ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอํานวยการสํานักงาน นโยบายและแผนพลังงาน, กรศิษฏ ภัคโชตานนท ผูว า การการไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย, ชัยยงค พัวพงศกร ผูวาการการไฟฟานครหลวง และ เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค รวมเสวนา เพื่อใหขอมูล แลกเปลี่ยนความคิดเห็นดานนโยบายและทิศทางการพัฒนาดานพลังงานและ โครงขายไฟฟาไทยแกผูรวมงาน

ทําไมต อง Modernizing Grid ?

ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอํานวยการสํานักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน กลาววา การปรับโฉมระบบโครงขายไฟฟาไทยใหทันสมัย หรือ Modernizing the Thailand Grid เปนการสรางโอกาสในการจัดหา แหลงผลิตไฟฟาตนทุนต่ําใหกับผูใชไฟ การผลิตไฟฟาขนาดเล็กๆ ผลิตเอง ใชเองจะมีมากขึ้น กอปรกับการเขาสูยุคของการเปลี่ยนผานทางเทคโนโลยี โดยมีเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และอีกมากมายเขามาเกีย่ วของ ซึง่ เทคโนโลยีลกั ษณะนี้ ตองการให Grid มาเสริมการทํางานในหลายๆเรื่อง เพื่อใหตนทุนการใชไฟ ของผูใชไฟถูกลง บริหารจัดการไฟฟาไดมากขึ้น ใชพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น หาก Grid ไมสนับสนุน สิ่งเหลานั้นก็เกิดขึ้นไมได นอกจากนี้ความรวมมือของ แตละภาคสวนในการ Modernizing the Thailand Grid ทั้ง 3 การไฟฟาตอง ชวยกัน กกพ. สนพ. จะชวยขับเคลื่อน ผลักดัน ปลดล็อกกฎระเบียบที่ยังไม เอื้ออํานวยตอการปรับเปลี่ยนสูความล้ําสมัย

ขับเคลื่อน Modernizing Grid ไปสู Smart Grid ได อย างไร

ดร.ทวารัฐ กลาววา ประเทศไทยไดมแี ผนขับเคลือ่ น Smart Grid ทําให ระบบไฟฟาตอบสนองความตองการไดเรียลไทม คือสามารถที่จะเลือกผลิต ไฟฟาของตัวเองได ซือ้ ไฟจากการไฟฟาหรือจะซือ้ ไฟเพือ่ นบานขางๆ สิง่ ทีต่ อ ง ขับเคลือ่ น Modernizing Grid ไปสู Smart Grid โดยมีทศิ ทางนโยบายทีต่ อ งการ ให Grid เขามาชวย เชน เพิม่ สัดสวนพลังงานทดแทน สงเสริมใหประเทศไทย ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดตน ทุนใหภาคการผลิต ทั้งนี้ ภาครัฐเองก็อยากใหเกิดนวัตกรรมใหมๆ ที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการ ไฟฟา หรือตนทุนพลังงานของภาคเอกชน และ Grid ยังมีปญหา แตการ Modernzing Grid นั้นควรสอดคลองกับนโยบายภาพใหญ โดยโยงออกมา เปนภาพนโยบายรัฐบาล

หาก Smart Gird ที่มีความสมดุลระหวาง Demand Supply แบบ เรียลไทม ไฟฟาตนทุนต่ําชวงที่ระบบมีความตองการใชไฟฟานอย (Off Peak) สามารถนํามาใชในชวงทีร่ ะบบมีความตองการใชไฟฟามาก (On Peak) ลดตนทุน คาไฟของผูใชไฟได ทําใหเกิดระบบนวัตกรรมใหมๆ ที่บริหารจัดการไฟฟาของ ตัวเองได นํามาสูการใชพลังงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น การใชพลังงานที่มี คารบอนต่ํามากขึ้น และกาวไปสู Grid Society การขับเคลื่อน Smart Grid ในประเทศไทย โดยมีแผนแมบทที่สอดคลอง กับแผน PDP ในอีก 20 ปขา งหนา โดยแผน Smart Gird ประกอบดวย 3 เสาหลัก คือ การจัดการ Demand การพยากรณสภาพอากาศ และ การจัดหาเชื้อเพลิงที่ หลากหลาย ไมใชเชือ้ เพลิงเพียงชนิดเดียว มี Energy Storage Microgrid เปนตน การขั บ เคลื่ อ น 3 เสาหลั ก จะทํ าให เ กิ ด เทคโนโลยี ใ หม ๆ เพื่ อให เ กิ ด Grid Modernzing และมีมาตรการเสริม เชน มาตรการ Demand Response หรือ มาตรการที่จะทําใหเกิดการจัดการ Microgrid ดวยตัวเองได “ความคาดหวังของความลาํ้ สมัย จะนําเราไปสูก ารจัดหาไฟฟาทีม่ ที างเลือก ทีห่ ลากหลายขึน้ และตนทุนตา่ํ ลงได และในขณะเดียวกัน Grid ก็จะรองรับพลังงาน สะอาดพลังงานหมุนเวียนไดดขี น้ึ และทีน่ า สนใจทัง้ หลายทัง้ ปวงนําไปสู Customer Choice คือผูบริโภคผูใชไฟมีทางเลือกมากขึ้น โดยมีแผนพัฒนา Smart Grid เปนตัวขับเคลื่อนเพื่อจะใหเกิดผลลัพธที่คาดหวัง”

ระบบกักเก็บพลังงาน กุญแจสําคัญ สู เสถียรภาพ และความมั่นคง

กรศิษ ฏ ภัคโชตานนท ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย กลาววา ระบบการผลิตไฟฟาในอนาคตจะไมใชแคโรงไฟฟาขนาดใหญอีกตอไป พลังงานทดแทนที่เขามาเปนจํานวนมากทําให Energy Storage มีความสําคัญ มากยิ่งขึ้น เมื่อมีพลังงานใหมๆ เขามาซึ่งเปนพลังงานทดแทน ก็จะเกิดการ กระทบกับระบบการจัดการในเรื่องกักเก็บพลังงาน การแกไขปญหาที่เรียกวา “กราฟรูปเปด” หรือ Duck Curve การผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตยบนหลังคา ไมตรงกับชวงเวลาที่มีการใชไฟฟามาก ความตองการใชไฟฟาสูงสุดในตอนเชา

(จากขวา) ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอํานวยการสํานักนโยบายและแผนพลังงาน เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค กรศิษฏ ภัคโชตานนท ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ชัยยงค พัวพงศกร ผูวาการการไฟฟานครหลวง 22

GreenNetwork November-December 2017


การใชไฟฟาจะต่ําลงชวงที่ประชาชนไมอยูบาน ซึ่งเปนชวงที่การผลิตไฟฟา จากแสงอาทิตยสงู ทีส่ ดุ และการใชไฟฟาจะกลับมาสูงอีกครัง้ ในตอนเย็น ซึง่ การ ผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตยก็จะหายไปพรอมกัน ฉะนั้นจําเปนตองมีการกักเก็บ พลังงาน การจัดการกําลังการผลิตในชวงที่แสงอาทิตยหายไป รวมไปถึงความ ยืดหยุนของระบบเดิมจะตองรองรับพลังงานทดแทน นั่นคือ แสงอาทิตย เปน สิ่งที่ กฟผ.มุงพัฒนาโดยไดการศึกษาเรื่อง แบตเตอรี่กักเก็บพลังงาน หรือ Battery Storage 3 แหงทั่วประเทศ ที่จังหวัดแมฮองสอน ลพบุรี และชัยภูมิ ทําใหการจายไฟฟาจากพลังงานทดแทนมีเสถียรภาพ และชวยจายไฟฟา ชวงความตองการสูง “กฟผ. ตองนําเอา Renewable Portfolio เขาไปอยูในโจทยนดี้ ว ย รองรับ เทรนดของพลังงานหมุนเวียนและการจัดการใหล้ําสมัย บทบาทของ Energy Storage โดยมีระบบสารสนเทศเขามาบริหารจัดการมากขึน้ จะนําไปสูก ารจัดการ ที่ตอบโจทยความล้ําสมัยนี้”

เตรียมพร อมสู Smart Grid รับการใช ไฟฟ าในอนาคต

เสริมสกุล คลายแกว ผูว า การการไฟฟาสวนภูมภิ าค กลาววา การทีร่ ะบบ ไฟฟาของประเทศไทยจะกาวไปสู Modernizing the Thailand Grid ได จะตอง ไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อรวมมือกัน ผลักดัน เตรียมความพรอมรับมือกับการเปลีย่ นแปลงของระบบไฟฟาในอนาคต ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในส ว นของ PEA มี แ ผนงานสํ า คั ญ ที่ ส อดคล อ งกั บ แผนงาน ของกระทรวงพลังงาน ทั้งโครงการ Smart Meter, Smart Grid, Microgrid โครงการพลังงานทดแทน โดยปจจบันอยูระหวางการทํา Smart Grid ซึ่งเปน โครงการตนแบบในจังหวัดชลบุรีใชระยะเวลาในการดําเนินการประมาณ 3 ป สวนในเรื่องของ Microgrid ปจจบัน PEA พัฒนาตนแบบ Microgrid ในพื้นที่ นํารอง บานขุนแปะ จังหวัดเชียงใหม ซึ่งมีโรงไฟฟาพลังนํ้า กําลังผลิตไฟฟา ขนาด 90 กิโลวัตต โซลารฟารม กําลังผลิตไฟฟาขนาด 100 กิโลวัตต มีผูใชไฟ จํานวน 200 หลังคาเรือน และยังมี Microgrid ขนาดใหญขนึ้ ทีอ่ าํ เภอแมสะเรียง จังหวัดแมฮองสอน กําลังการผลิตไฟฟาขนาด 3 เมกะวัตต เปนตนแบบ ของ Micro Grid ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และยังเปนโครงขายไฟฟาในอนาคต ที่เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศของประเทศไทย “การบริหารจัดการพลังงาน เมื่อมีแหลงผลิตไฟฟาเขามาในระบบการ จายกระแสไฟฟามากขึ้น การบริหารจัดการจะยากขึ้น มั่นใจ Smart Grid จะ ชวยในการบริหารจัดการระบบพลังงานทดแทนตางๆ ซึ่งเปนกระแสของโลกที่ จะเขามาอยางแนนอน ดังนัน้ จึงมีการเตรียมความพรอมในการบริหารใหมคี วาม เสถียรในดานพลังงานทดแทนที่เพียงตอความตองการในอนาคต”

23

ในอนาคตระบบจําหนายจะเปลีย่ นโครงสราง มีอปุ กรณตา งๆ เขามาเชือ่ ม กับระบบจําหนาย โดยเฉพาะแหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็กที่กระจายอยูตามพื้นที่ ตางๆ (Distributed Generation) รวมไปถึงรถยนตไฟฟา Smart Appliances ทําใหระบบจําหนายจะเปนในลักษณะ Active Network มากขึน้ อยางไรก็ดี PEA มีแผน Smart Grid ซึ่งไมไดพัฒนาเฉพาะดานเทคโนโลยีแตเพียงอยางเดียว แต ยังพัฒนาในเรื่องธุรกิจ IT Platform ตางๆ ที่จะเขามารองรับดวย ฉะนั้นทิศทาง ของ PEA ในการดําเนินการเรือ่ งของ Modernizing Grid ภายใตภารกิจหลัก คือ การใชบริการจําหนายไฟฟา 19 ลานราย ไฟฟาตองมีเสถียรภาพและความมัน่ คง เสริมสกุล กลาวเพิ่มเติม

Building Block Microgrid ยกระดับระบบจําหน ายไฟฟ าที่เหนือกว า

ชัยยงค พัวพงศกร ผูวาการการไฟฟานครหลวง กลาววา ระบบ Smart Grid ในพื้นที่เมืองหลวง เดิมทีโครงขายจะเปนลักษณะใยแมงมุม การบริหาร จัดการจะยากมาก หากตองการใหเกิดความมั่นคง อาจจะตองมีการปรับปรุง ระบบโครงขายไฟฟาในพื้นที่นครหลวงใหมทั้งหมด ดวยการปรับเปน Metro Microgrid กฟน. มีแผนการพัฒนา Microgrid ที่ผลิตไฟเองขายไฟเอง ซึ่งจะ ตางกับ Microgrid ของ กฟผ. ที่จะอยูพื้นที่หางไกล จําเปนตองผลิตไฟใชเอง สวน Microgrid ของ กฟน.จะอยูในพื้นที่เมืองหลวง การบริหารจัดการพลังงาน จากเดิมที่ระบบไฟฟามีความซับซอน จึงมีการแบง Grid ดวยวิธีที่เรียกวา Building Block Microgrid เปน Grid ยอยๆ โดยในแตละ Microgrid ตอเชื่อม ถึงกันเหมือนโครงขายเซลลูลาร เพือ่ การบริหารจัดการทีง่ า ยขึน้ กรณีที่ Grid ใด มีปญหาก็จะตัด Grid นั้นออกกอน เพื่อให Grid สวนใหญสามารถจายไฟได ตามปกติ ชวยใหการบริหารจัดการงายขึ้นและมีประสิทธิภาพที่ดีกวา “เดิมที ในมุมมองของ กฟน. ไดมีแผนพัฒนา Smart Grid แตปจจบัน ไดปรับเปลี่ยนแผนเปน Building Block Microgrid โดย Microgrid Smart Gird รวมทั้งพลังงานทดแทนตางๆ จะถูกผนวกเขากับ Smart City อยูดวยกันในพื้นที่ ทีเ่ ปนจดยุทธศาสตรสาํ คัญทีส่ ดุ ของกรุงเทพมหานคร นัน่ ก็คอื ถนนพระราม 1 พญาไท และถนนพระราม 4 - รัชดาภิเษก โดยมีลกู คากวา 2 หมืน่ รายในโครงการ นํารองนี้” สิง่ สําคัญทีจ่ ะทําใหประเทศไทยกาวไปสู Thailand 4.0 คือการเตรียมระบบ โครงขายใหทันสมัย หรือที่เรียกวา Modernizing Grid เพื่อรองรับเทคโนโลยี Smart Gird และการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทน ไดแก โครงการโซลาร รูฟท็อป โครงการ Microgrid และโครงการ Energy Storage การเตรียมระบบ ไฟฟาใหทันสมัย จะทําใหสามารถบริหารจัดการและครอบคลุมระบบไฟฟาใหมี ความมั่นคง เชื่อถือได และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Innovation กองบรรณาธิการ

A1 .5 5 %;1. 6 5 E & A&1'%5

A ď ,= &Ĝ +5 ''%/<Ę & Ĝ เมือ่ เร็วๆ นี้ เอปสัน รวมกับสถาบันไทย-เยอรมัน ซึง่ เปนหนวยงานดานการวิจยั และพัฒนา บุคลากรและเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมการผลิต เปดศูนยนวัตกรรมหุนยนตมุงใหความรู เกีย่ วกับเทคโนโลยีหนุ ยนตแขนกลกับผูป ระกอบการไทย เพือ่ เพิม่ ศักยภาพดานการผลิตรับยุค ไทยแลนด 4.0 ยรรยง มุนีมงคลทร ผูจัดการทั่วไป บริษัท เอปสัน (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา เอปสันไดพัฒนาเทคโนโลยีหุนยนตมาอยางตอเนื่องนานกวา 36 ป และจําหนายไปยังกลุม ประเทศอุตสาหกรรมชั้นนําของโลก เชน อเมริกา ยุโรป ญี่ปุน จีน และเกาหลี สวนใน ประเทศไทยหุนยนตแขนกลของเอปสันมี ใชในโรงงานผลิตอยางแพรหลายกวา 20 ปแลว มีลูกคาหลักเปนบริษั ทขามชาติที่ขยายฐานการผลิตมายังประเทศไทย โดยที่บริษั ทแม ใน ตางประเทศคุน เคยกับเทคโนโลยีของเอปสันเปนอยางดีอยูแ ลว จึงเลือกใชหนุ ยนตของเอปสัน ในโรงงานผลิตที่มีสาขาในประเทศไทยดวยเชนกัน ที่ผานมาตลาดหุนยนตแขนกลของ ประเทศไทยยังมีขนาดเล็กและมีแนวโนมการเติบโตอยางคอยเปนคอยไป การดูแลดานการจัด จําหนายของเอปสันในตลาดประเทศไทย จึงยังอยูในการดูแลของสํานักงานภูมภิ าคทีส่ งิ คโปร แตหลังการเปดตัวโมเดลไทยแลนด 4.0 ตามดวยอุตสาหกรรม 4.0 ของรัฐบาล ทําใหวงการ เทคโนโลยีหุนยนตและระบบอัตโนมัติเกิดการตื่นตัวขึ้นมาก “เอปสัน ประเทศไทยจึงเขามาดูแลดานการตลาดและการจัดจําหนายอยางเต็มตัว โดย จะเริม่ ขยายตลาดไปยังกลุม โรงงานผลิตขนาดเล็กและขนาดกลางของคนไทย ควบคูไ ปกับการ รักษาฐานลูกคากลุมบริษั ทขามชาติในปจจบันซึ่งสวนมากอยู ในอุตสาหกรรมยานยนตและ อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส” ปจจบันโรงงานอุตสาหกรรมของไทยสวนใหญยงั ใชระบบแมนวล มีเพียงราว 15% ทีเ่ ริม่ ผสมผสานระบบอัตโนมัตเิ ขารวมกับกระบวนการผลิต ซึง่ เปนโรงงานขนาดใหญใน 5 อุตสาหกรรม หลักไดแก ยานยนต เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส โรงงานเหล็ก โรงงานผลิตภัณฑยาง และพลาสติก และการแปรรูปอาหาร แตกม็ แี นวโนมการเติบโตเพิม่ ขึน้ ตอเนือ่ ง เอปสันเล็งเห็น ถึงโอกาสทางการตลาดที่เปดกวาง และไดเริ่มนําหุนยนตแขนกลขนาดเล็ก 2 ประเภท คือ SCARA Robot และ6-Axis Robot เขามาทําตลาด ไดแก รุน T3 SCARA Robot, LS-Series

SCARA Robot และ C-Series Compact 6-Axis Robot ซึ่งเหมาะกับ หลายอุตสาหกรรมทั้งงานประกอบชิ้นสวนอุปกรณเครื่องใชไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกส โรงงานผลิตเครือ่ งจักร หองปฏิบตั กิ ารอัตโนมัติ ไลนการผลิต อุปกรณทางการแพทย เซมิคอนดักเตอร และอุปกรณโทรคมนาคม เปนตน สําหรับ T3 SCARA Robot และ LS-Series SCARA Robot เปนหุน ยนตแขนกลทํางานในแนวระนาบ เหมาะกับงานทีต่ อ งการความเร็วและความ แมนยําสูงใชงานงาย มีขนาดเล็กกะทัดรัดเหมาะกับการทํางานในพืน้ ทีจ่ าํ กัด ขณะที่ C-Series compact 6-Axis Robot เปนแขนกล 6 แกนหมุนอิสระ มีประสิทธิภาพสูง สามารถทํางานไดหลากหลายใกลเคียงกับแขนคน มีความ ยืดหยุนและความเร็วสูง ทั้งยังใชระบบควบคุมการเคลื่อนไหว หรือ Quartz Micro Electro Mechanical System ชวยลดความสั่นสะเทือนและเขาถึง ตําแหนงไดอยางรวดเร็ว โดยหุน ยนตแขนกลทัง้ 3 รุน นีย้ งั สนับสนุนการใชงาน กับระบบ Vision ผานซอฟตแวร Epson Vision Guide เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ของหุน ยนตใหสามารถรับรูแ ละแยกแยะประเภทของวัตถุ ตรวจสอบคุณภาพ และรับรูต าํ แหนงของวัตถุ ชวยใหหนุ ยนตหยิบจับหรือประกอบชิน้ งานไดอยาง ถู ก ต อ งยิ่ ง ขึ้ น ทั้ ง นี้ หุ น ยนต ข องเอปสั น ยั ง รองรั บ การพั ฒ นาระบบไปสู อุตสาหกรรม 4.0 โดยสามารถใชงานผานทั้ง PC Base และ PLC Base มี ระบบตรวจสอบความผิดพลาดภายในตัวเองและแจงเตือนระยะเวลาการ ซอมบํารุงตางๆ ทั้งยังมีซอฟตแวรที่ ใชงานงาย สนับสนุนการพัฒนาระบบ M2M (Machine to Machine) ทําใหหุนยนตของเอปสันสามารถสงขอมูล ระหวางเครื่องจักรหรือระบบมายังหุนยนตไดอยางงายดาย ยรรยง กลาววา เนือ่ งจากมูลคาในการลงทุนกับหุน ยนตอตุ สาหกรรม และระบบอัตโนมัติคอนขางสูง และมีขั้นตอนการใชงานที่ตองอาศัยเวลา ในการทําความเขาใจ เอปสันจึงไดสรางทีมพรีเซล เพื่อคอยใหคําปรึกษา เกีย่ วกับสินคา ลักษณะงาน และขัน้ ตอนในการทํางาน การติดตัง้ และระบบ การสั่งงานและควบคุม รวมถึงการใหความชวยเหลือทางเทคนิคในชวงกอน และระหวางการติดตัง้ หุน ยนตใหแกลกู คา และทีมบริการหลังการจําหนายที่ จะคอยใหความชวยเหลือภายหลังการติดตัง้ สนับสนุนงานดานการซอมบํารุง ศึกษาความตองการเพิ่มเติมของลูกคา เพื่อตอกย้ําใหลูกคาเกิดความมั่นใจ มากขึ้น ลาสุดเอปสันไดจบั มือกับสถาบันไทย-เยอรมัน (TGI) ซึง่ เปนหนวยงาน ดานการวิจัยและพัฒนาบุคลากรและเทคโนโลยี ในอุตสาหกรรมการผลิต พรอมใหคําปรึกษาและฝกอบรมแกโรงงานอุตสาหกรรมในการเปด “ศูนย นวัตกรรมหุน ยนตเอปสัน” หรือ TGI - EPSON: Epson Robotics Innovation Center เพื่อจัดแสดงและทําการสาธิตพรอมจัดคอรส อบรมการใชงาน หุน ยนตแขนกลของเอปสันใหแกผสู นใจทัง้ บุคลากรจากโรงงานอุตสาหกรรม และจาก System Integrator ประกอบดวยหลักสูตรเกี่ยวกับพื้นฐานการ ใชงาน EpsonRobot, SCARA Robot, การบํารุงรักษาหุนยนต EpsonRobot และการประยุกตการใชงาน EpsonRobot Vision

ยรรยง มุนีมงคลทร 24

GreenNetwork November-December 2017


ปตท.สผ. จุดประกาย

พลังเยาวชน ก าวเพื่อรักษ น อมนําศาสตร พระราชา

GREEN

CSR

พัฒนาชุมชน

กองบรรณาธิการ

กิตติศักดิ์ หิรัญญะประทีป ผู จัดการอาวุโส โครงการร วมทุนบนฝ ง (ประเทศไทย) ปตท.สผ. บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. เปดคาย PTTEP Teen Teenergy ปที่ 4 ตอน กาวเพือ่ รักษ ษ (ภาคอีสาน) นํานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 70 คน เขาคาย ล ่งแวดลอม พรอมกับศึกษา เรียนรู​ูการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผานกิจกรรมทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ณ โครงการทองเที่ยวเชิงนิเวศภูฝอยลม จ.อุดรธานี คาย PTTEP Teenergy ปที่ 4 ภาคอีสาน จัดขึน้ โดย ปตท.สผ. รวมกับสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรมสงเสริมคุคณภาพสิ่งแวดลอม และมูลนิธิ ยุวสถิรคุณ มีกจิ กรรมพิเศษสําหรับคายภาคอีสาน คือ เยาวชนจะไดเรียนรูเ ขาใจและ ละธรรม ใกลตวั ผานกิจกรรมเดินปา ตระหนักถึงคุณคาและประโยชนของปาไมและธรรมชาติ ศึกษาธรรมชาติและรวมสรางแนวกันไฟทีภ่ ฝู อยลม พรอมกับเรียนรู “ศาสตรแหง พระราชา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” อาทิ การ การเลีย้ งไก เลีย้ งหมูหลุม ปลูกพืช ผักริมรัว้ จากพลังงานแสงอาทิตย และกิจกรรมทําออาหาร “พอเพียง” จากผลผลิต ทีไ่ ด รวมถึงเยีย่ มชมและเรียนรูก ารเปลีย่ นขยะเปนพลังงาน จากโครงการบอกาซ ชีวภาพ (Biogas)

25

กิตติศกั ดิ์ หิรญ ั ญะประทีป ผูจ ดั การอาวุโส โครงการรวมทุนบนฝง (ประเทศไทย) ปตท.สผ. กลาววา PTTEP Teenergy ปที่ 4 ตอน กาวเพือ่ รักษ (ภาคอีสาน) จัดขึน้ ภายใตแนวคิด “กาวเพือ่ รักษ” มุง สงเสริมใหเยาวชนกลาคิด กลาทํา กลามีสว นรวมในการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม พรอมกาวสูก าร เปนนักอนุรกั ษรนุ เยาว ภายใตกลยุทธ 3 ป. คือ “ปลูก-ปน -เปลีย่ น” ปลูกจิตสํานึก อนุรกั ษธรรมชาติและสิง่ แวดลอมใหกบั เยาวชน ปน เยาวชนจากทุกภูมภิ าค ใหมหี วั ใจ อนุรกั ษ เพือ่ ทําประโยชนใหกบั สังคม เปลีย่ นใหชมุ ชนและสังคมดีขนึ้ โดย ปตท.สผ. เปดโอกาสใหเยาวชนนําเสนอโครงงานดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอม เพือ่ รับทุน 10 ทุน ทุนละ 10,000 บาท นําไปดําเนินการในชุมชนอยาง เปนรูปธรรม โดยคายภาคอีสานครัง้ นี้ เยาวชนจะไดเรียนรูจ ากวิทยากรผูเ ชีย่ วชาญ ผานกิจกรรมทีน่ า สนใจ เชน การเปลีย่ นขยะเปนพลังงานจากโครงการบอกาซชีวภาพ โรงเรียนบานทับไฮ ตําบลแสงสวาง, ศาสตรแหงพระราชาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรมทําอาหารพอเพียง ถอดบทเรียนจากกิจกรรมฐานการเรียนรู และเดินปา ศึกษาธรรมชาติภูฝอยลม ซึมซับความหลากหลายทางชีวภาพบนผืนปาตนนํ้าของ จังหวัดอุดรธานี โครงการ PTTEP Teenergy จัดขึ้นเปนประจําทุกป และจากความสําเร็จ นํามาสูคาย PTTEP Teenergy ปที่ 4 นับเปนการสงตอจิตสํานึกไปสูสังคมวงกวาง นํานอมศาสตรพระราชา หลักเศรษฐกิจพอเพียงสูก ารเรียนรูข องเยาวชน การเตรียม ความพรอมของเยาวชน สูก ารเปนนักอนุรกั ษรนุ เยาว และเปดโอกาสใหเยาวชนนําเสนอ โครงงานเพือ่ รับทุนไปดําเนินโครงการของตนเองอยางเปนรูปธรรม โดยโครงการ ปที่ 4 ขยายโครงการไปสูเยาวชนทั่วประเทศกับกิจกรรมคาย 4 ภาค ภาคกลาง ณ อุทยานแหงชาติเขาใหญ จังหวัดนครราชสีมา, ภาคใต ณ สวนประวัติสาสตร พลเอกเปรม ติณสูลานนท จังหวัดสงขลา, ภาคเหนือ ณ สวนปาเขากระยาง จังหวัด พิษณุโลก และภาคอีสาน ณ โครงการทองเทีย่ วเชิงนิเวศภูฝอยลม จังหวัดอุดรธานี “ปตท.สผ. เชือ่ มัน่ วาการปลูกจิตสํานึกใหเยาวชนไดตระหนักถึงคุณคาของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ดวยการสรางโอกาสการเรียนรูน อกหองเรียน ปนเยาวชนใหมีความรูสูการหลอหลอมหัวใจอนุรักษ สงเสริมการสรางเครือขาย เยาวชนใหมคี วามพรอมในการทําประโยชนใหกบั สังคม จะเปนจุดเริม่ ตนทีด่ ใี นการ กาวไปทํากิจกรรมสาธารณประโยชน เพือ่ เปลีย่ นแปลงใหชมุ ชนและสังคมดีขนึ้ ”

GreenNetwork November-December 2017


Welcome From

Supporting Utilities

การจัดงาน

IEEE GTD ASIA 2019

ความตองการใชพลังงานไฟฟาที่เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ ประเทศ โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจเปนแรงผลักดันสําคัญที่ทําให รัฐบาลมีนโยบายการสงเสริมใชพลังงานทดแทนตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือก โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานน้ําขนาดเล็ก ชีวมวล กาซชีวภาพและขยะ เพราะหากเทคโนโลยีพลังงานทดแทนเหลานี้มีตนทุน ถูกลงและไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง พลังงานทดแทนจะกลายเปนทางเลือก ทีส่ าํ คัญในการผลิตไฟฟาสําหรับประเทศไทยในอนาคต เพือ่ ทดแทนการผลิตพลังงาน ไฟฟาในปจจบันที่ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงหลัก ซึ่งมีปริมาณจํากัด

นอกจากนี้ ภายใตแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก เพิ่มขึ้น เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาล ยังมีการสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวม ในการผลิตและการใชพลังงานทดแทนอยางกวางขวาง ปรับมาตรการจูงใจ สําหรับ การลงทุนจากภาคเอกชนใหเหมาะสมกับสถานการณ และปรับปรุงระบบโครงสราง พืน้ ฐาน เชน ระบบสายสง สายจําหนายไฟฟา รวมทัง้ การพัฒนาสูร ะบบ Smart Grid อีกดวย ดังนั้น ในอนาคตภาคประชาชนจะมีสวนรวมในการผลิตและใชพลังงาน ทดแทนมากขึ้น เชน การติดตั้งพลังงาน แสงอาทิตยบนหลังคา หรือ Solar Rooftop การใชยานยนตไฟฟาหรือ EV รวมถึงระบบโครงขายไฟฟาจะกลายเปนรูปแบบของ ระบบโครงขายไฟฟาขนาดเล็ก หรือ Microgrid มากขึ้น ซึ่งการไฟฟาฝายผลิต จําหนาย ไดแก การไฟฟาสวนภูมิภาค และการไฟฟานครหลวง จะตองปรับปรุง และพัฒนาระบบโครงขายไฟฟาของตนเองใหรองรับกับรูปแบบพลังงานไฟฟา ที่จะเปลี่ยนไปในอนาคต รวมทั้งภาคเอกชนจะตองพัฒนาอุปกรณและเทคโนโลยี ใหมๆ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรม พลังงานในอนาคต สําหรับงาน GTD Asia 2019 ที่จะจัดขึ้น ระหวางวันที่ 19-23 มีนาคม พ.ศ. 2562 ณ ศูนย นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ นั้น นับเปนโอกาสอันดีของประเทศไทยที่ไดรับความ ไววางใจจาก IEEE PES สํานักงานใหญ ประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก า ให ดํ า เนิ น การจั ด งานระดั บ นานาชาติที่ประเทศไทย และเปนครั้งแรกใน เอเชีย โดยงาน GTD Asia 2019 นี้เปนการ รวมการจัดงาน 3 งาน ประกอบดวย งาน Power Generation (PG Asia) งาน Transmission and Distribution (T&D Asia) และงาน Renewable Energy (RE Asia) เข า ด ว ยกั น ซึ่ ง การประชุ ม วิ ช าการและ

26

จะเป นการเป ดโลกทัศน ให วิศวกร นิสิต นักศึกษาของประเทศไทยในการพัฒนา ทักษะ ความรู ความสามารถด านพลังงานไฟฟ า และมีโอกาสได เรียนรู ประสบการณ การทํางาน ขององค กรชั้นนําด านพลังงานไฟฟ าทั่วโลก เพื่อเป นกําลังสําคัญในการพัฒนา ประเทศไทยต อไปในอนาคต นิทรรศการระดับโลกในครั้งนี้ จะมีเนื้อหาครอบคลุมทุกดานเกี่ยวกับระบบผลิต การสงและจําหนายไฟฟา การผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนและอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ การไฟฟาสวนภูมิภาค ซึ่งเปนองคกรชั้นนําที่ใหบริการพลังงานไฟฟา ถือวาเปนผูนําที่มีความเชี่ยวชาญดานระบบจําหนายไฟฟาของประเทศไทยและ ในระดับภูมิภาค ไดใหการสนับสนุนการจัดงานดังกลาว โดยสนับสนุนบุคลากรที่มี ความรู ความสามารถ ทัง้ ผูบ ริหารระดับสูง ระดับรองผูว า การ จนถึงพนักงานระดับ ปฏิบัติ เขาไปเปนคณะทํางานในการจัดงานสัมมนา IEEE PES GTD ในครั้งนี้ ในหลายๆ สวน รวมถึงการรวมกําหนดหัวขอการสัมมนาในสวนตางๆ ใหมีความ นาสนใจเปนประโยชนตอวิศวกร นิสิต นักศึกษา และจะสนับสนุนใหพนักงานของ การไฟฟาสวนภูมภิ าค เขารวมสงบทความวิชาการเพือ่ จะไดมโี อกาสนําเสนอผลงาน วิจัย แลกเปลี่ยนความรู ประสบการณในสวนงานของตนเอง เพื่อเปนการพัฒนา ศักยภาพของบุคลากรดวย และในสวนของนิทรรศการ การไฟฟาสวนภูมภิ าคจะจัด นิทรรศการใหความรูในงานดานระบบจําหนายไฟฟา นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ ทันสมัยเกี่ยวกับระบบโครงขายไฟฟา เชน งานดาน Smart Grid, Smart Home, EV Charging Station เปนตน และงานดาน Renewable Energy เปนตน เปนการ สงเสริมใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณเกี่ยวกับระบบโครงขายไฟฟา นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหมๆ ทั้งยังเปนการสงเสริมธุรกิจอุตสาหกรรมพลังงาน ไฟฟาใหมีการคาการลงทุนเพิ่มมากขึ้นดวย นอกจากนี้ การไฟฟาสวนภูมภิ าค ยังมีความยินดีทจี่ ะเปดศูนยสงั่ การจายไฟ หรือ SCADA & Control Center ของการไฟฟาสวนภูมิภาคใหผูที่ลงทะเบียน รวมงาน Technical Visit ไดเขาเยี่ยมชมการปฏิบัติงาน การสั่งการจายไฟและ ระบบควบคุมไฟฟา ของการไฟฟาสวนภูมิภาคอีกดวย หวังเปนอยางยิ่งวาการจัดงาน IEEE GTD ASIA 2019 จะเปนการเปด โลกทัศนใหวิศวกร นิสิต นักศึกษาของประเทศไทยในการพัฒนาทักษะ ความรู ความสามารถดานพลังงานไฟฟา และมีโอกาสไดเรียนรูประสบการณการทํางาน ขององคกรชั้นนําดานพลังงานไฟฟาทั่วโลก เพื่อเปนกําลังสําคัญในการพัฒนา ประเทศไทยตอไปในอนาคต

GreenNetwork November-December 2017


ประมวลภาพกิจกรรมประชาสัมพันธ เมือ่ เร็วๆ นี้ IEEE Power&Energy Society - Thailand รวมกับ สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟาและอิเล็คโทรนิคสแหงประเทศไทย (IEEE Thailand Section) จัดงาน IEEE PES Dinner Talk 2017 เพื่อใหขอมูลทางดานนโยบายและทิศทางการพัฒนาดานพลังงาน และโครงขายไฟฟาของประเทศ โดยมี ชัยพล ธิติศักดิ์ อธิบดีกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย และประธานกรรมการการไฟฟา สวนภูมิภาค เปนประธานเปดงาน พรอมการเสวนาในหัวขอเรื่อง “Modernizing the Thailand Grid : มุงหนาสูความล้ําสมัย ของระบบโครงขายไฟฟาไทย” ซึ่งไดรับเกียรติจาก ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กรศิษฏ ภัคโชตานนท ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ชัยยงค พัวพงศกร ผูวาการการไฟฟานครหลวง และ เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค รวมเสวนา พรอมกันนี้ ภายในงานยังมีการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธงานประชุมวิชาการและนิทรรศการระดับนานาชาติ IEEE PES Generation Transmission and Distribution (GTD) Grand International Conference and Exposition Asia 2019 ระหวาง วันที่ 19-23 มีนาคม 2562 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ ซึ่งเปนการรวมงาน Power Generation (PG Asia) งาน Transmission and Distribution (T&D Asia) และงาน Renewable Energy (RE Asia) เขาดวยกัน การประชุม วิชาการและนิทรรศการระดับโลกในครัง้ นี้ จะมีเนือ้ หาครอบคลุมทุกดานเกีย่ วกับระบบผลิต สง และจําหนายไฟฟา การผลิตไฟฟาจาก พลังงานหมุนเวียน และอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วของ นอกจากนีม้ นี ทิ รรศการจากบริษัทและองคกรชัน้ นําระดับโลก รวมถึงเปนการกระตุน เศรษฐกิจ และการพัฒนาดานงานวิจยั และนวัตกรรมดานเทคโนโลยีไฟฟาและพลังงานของประเทศใหกา วสูร ะดับสากลอยางเปนรูปธรรม ทัง้ นี้ กิจกรรมประชาสัมพันธดงั กลาว จัดขึน้ บริเวณดานหนาหองวิภาวดี บอลรูม โรงแรมเซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพราว กรุงเทพฯ

27

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

")5

6

B ) ' <Ě <Ě A Ę6 A ğ ' <Ě <Ě E##Ĕ6 A 'é&% 7'Ę1 åää 5 B' D Đ ¡¢å

กระทรวงพลังงาน เดินหนาแผนการขับเคลื่อนยานยนต ไฟฟาในกลุมรถ สาธารณะ ตามแผนอนุรักษพลังงาน (EEP 2015) เปดโครงการสนับสนุนการเปลี่ยน รถตุกตุกเกาที่ใชน้ํามันและกาซแอลพีจี นํารอง 100 คันแรก ในป 2561 และทยอย เปลี่ยนใหครบ 22,000 คันทั่วประเทศภายใน 5 ป พลเอก อนันตพร กาญจนรัตน รัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลังงาน เปดเผยวา แผนอนุรักษพลังงาน (EEP 2015) มีเปาหมายลดความเขมการใชพลังงานลงรอยละ 30 ในป 2579 เมื่อเทียบกับป 2553 โดยในสวนของการลดใช น้ํามันในภาคขนสง ซึ่งเปนภาคที่มีการใชพลังงานสูงสุด กระทรวงพลังงานไดมมี าตรการสงเสริมการใชยานยนตไฟฟา เพือ่ เพิม่ ทางเลือกการใชพลังงาน ลดการพึง่ พานาํ้ มันเชือ้ เพลิง และลดผลกระทบดานสิง่ แวดลอม ตัง้ เปาใหเกิดการใชงานยานยนตไฟฟา 1.2 ลานคัน ในป 2579 โดยแผนการขับเคลื่อนภารกิจดานพลังงานเพื่อสงเสริมการใชยานยนต ไฟฟา แบงการดําเนินงานเปน 4 ระยะ ซึ่งปจจบันอยูในระยะที่ 1 (ป 2559-2560) มุงเนนการเตรียมความพรอมรองรับการใชงานยานยนตไฟฟาที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต ทั้งดานกฎหมาย การสนับสนุนการวิจัยเรื่องแบตเตอรี่ การเตรียมความพรอมดาน สถานี Charging Station และสนับสนุนการนํารองยานยนตไฟฟาในกลุม รถสาธารณะ อาทิ รถขนสงมวลชน ขสมก. และรถตุกตุกไฟฟา (eTukTuk) เปนตน รถตุก ตุก เปนสัญลักษณของประเทศไทย ทีม่ คี วามสําคัญตอการทองเทีย่ วและ อุตสาหกรรมประกอบดัดแปลงรถยนตขนาดเล็ก ในปจจบันมีรถตุกตุกที่จดทะเบียน กับกรมการขนสงทางบกทัว่ ประเทศประมาณ 20,000 คัน แบงเปนประเภทรถรับจาง 18,000 คัน และรถสวนบุคคล 2,000 คัน จึงเปนที่มาของโครงการสนับสนุนการ เปลี่ยนรถตุกตุกใหเปนรถตุกตุกไฟฟา ภายใตการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อสงเสริม การอนุรักษพลังงาน สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)

ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และโฆษกกระทรวงพลังงาน กลาววา กระทรวงพลังงานไดรบั การสนับสนุนจากกองทุน เพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน โดย สนพ. ไดมอบหมายใหมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี เปนผูดําเนินงาน “โครงการสนับสนุนการเปลี่ยนรถตุกตุกเปน รถตุกตุกไฟฟา” โดยมีเปาหมายในการเปลี่ยนรถตุกตุกเกาที่ใชน้ํามันและกาซแอลพีจี ใหเปนรถตุกตุกไฟฟา ภายใน 5 ป เพื่อลดการใชน้ํามันและลดการปลอยมลพิษ โดย จะนํารอง 100 คันแรกภายในป 2561 โดยการนํารถตุก ตุก คันเกามาแลกรถตุก ตุก ไฟฟา คันใหม ซึง่ ผูเ ขารวมโครงการจะตองสงมอบรถตุก ตุก ดังกลาวใหกบั โครงการเพือ่ นําไป ทําลาย เพื่อไม ใหหมุนเวียนใชอีกในระบบสาธารณะ และจะทยอยเปลี่ยนใหครบ 22,000 คันทั่วประเทศภายใน 5 ป การดําเนินโครงการนํารองเปลีย่ นรถตุก ตุก เกาเปนรถตุก ตุก ไฟฟา 100 คันแรก แบงเปน 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 ระยะสาธิตเทคโนโลยี สนับสนุนกลุมรถตุกตุกประเภท รับจางจํานวน 10 คัน ผูขอรับการสนับสนุนจะตองมีคุณสมบัติผานขอกําหนดของ โครงการฯ และจะไดรบั การสนับสนุนในอัตราสูงสุด แตไมเกินราคากลางของโครงการ ตามสเปกรถ สูงสุด 350,000 บาทตอคัน ปจจบันไดผูเขารวมโครงการครบ 10 คัน แลว สําหรับ ระยะที่ 2 ระยะทดลองตลาด สนับสนุนผูส นใจ ทัง้ กลุม ประเภทรถรับจาง และประเภทสวนบุคคล อาทิ รถที่ ใหบริการในโรงแรมและคอนโดมิเนียม จํานวน 90 คัน โดยใหการสนับสนุนรอยละ 85 แตไมเกินราคากลางตามสเปกรถ สูงสุด ประมาณ 300,000 บาทตอคัน นอกจากนี้ รถตุก ตุก ที่ใชเชือ้ เพลิงนัน้ จะกอใหเกิดเขมา เกิดสารไฮโดรคารบอน 3.4 กรัมตอกิโลเมตร กาซคารบอนมอนอกไซด 8.4 กรัมตอกิโลเมตร ขณะทีร่ ถตุก ตุก ไฟฟาไมมีไอเสียการใชพลังงาน และการปลอยกาซเรือนกระจกต่ํากวารถตุกตุกที่ใช เชื้อเพลิงฟอสซิสถึงรอยละ 60-70 ในดานคาใชจายราคาพลังงานไฟฟาของรถตุกตุก ไฟฟาก็ต่ํากวาราคาเชื้อเพลิง ในกรณีที่ใชเครื่องยนตถึงรอยละ 70

กระทรวงพลังงาน ตั้งเปาวาการเปลี่ยนรถ ตุกตุกเกาเปนรถตุกตุกไฟฟาครบ 100 คัน จะเกิดผล ประหยัดพลังงานรวม 0.1 พันตันเทียบเทาน้ํามันดิบ (ktoe) ลดการปลอยกาซ เรือนกระจก 385 ลานตันตอป และเมือ่ รวมจนถึงสิน้ แผนอนุรกั ษพลังงาน (EEP 2015) ในป 2579 จะประหยัดพลังงานไดถึง 1.75 พันตันเทียบเทาน้ํามันดิบ (ktoe) คิดเปนมูลคาการประหยัด พลังงานประมาณ 40 ลานบาทตอป และหากเปลีย่ นเปนรถตุก ตุก เกา 2.2 หมืน่ คัน เปนรถตุก ตุก ไฟฟาทั้งหมด จะชวยประหยัดพลังงานไดถึง 20 พันตันเทียบเทาน้ํามันดิบ (ktoe)/ป ทั้งยังชวย ผลักดันใหเกิดอุตสาหกรรมตอเนือ่ งในการผลิตรถยนตไฟฟาในประเทศ และสงเสริมอุตสาหกรรม ทองเที่ยวอีกดวย 28

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข

ปฏิรูป

พลังงานขยะ

อานชื่อก็คงเขาใจไดวาจะ ปฏิรูปการจัดการขยะดวยการนําขยะไปใช ประโยชนดานพลังงานดวยเทคโนโลยีตางๆ เพื่อใหไดประโยชนสูงสุด อาจจะ ฟงดูขดั หูบา งวาขยะเปนเสมือนของไรคา จะใหประโยชนสงู สุดอยางไร จากอดีตจน ถึงปจจุบันภาครัฐไดใชจายงบประมาณปละหลายหมื่นลานบาท เพื่อจัดการขยะ 27 ลานตันตอป และหากไมนาํ ขยะมาผลิตพลังงาน ขยะก็จะยังคงทับถมอยูใ นบอ ฝงกลบ ดังนัน้ ภาครัฐโดยกระทรวงพลังงานจึงไดมมี าตรการเชิญชวนเอกชนใหผลิต ไฟฟาโดยใชขยะเปนเชื้อเพลิง และจูงใจดวยอัตราการรับซื้อไฟฟาที่สูงกวาการใช เชื้อเพลิงจากฟอสซิล และนี่คือสาเหตุของคําวาใหไดประโยชนสูงสุด กระทบตอ สิ่งแวดลอมนอยสุด และที่สําคัญ ชุมชนตองยอมรับและมีสวนไดประโยชน พ.ร.บ.รักษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง (ฉบับที่ 2) เมือ่ วันที่ 15 มกราคม 2560 มาตรา 34/1 กําหนดให “การมอบใหเอกชน ดําเนินการหรือรวมดําเนินการดังกลาว มิใหถือวาเปนการรวมทุนตามกฎหมาย” มีผลใหการจัดการขยะชุมชนหลุดจาก พ.ร.บ.รวมทุนฯ มาอยูภ ายใต พ.ร.บ.รักษา ความสะอาดฯ แตทุกอยางก็ยังไมสามารถเดินหนาไปไหน ทุกฝายที่เกี่ยวของตาง รอกฎหมายลูก อันเนื่องจาก พ.ร.บ.รักษาความสะอาดฯ ไมมีบทเฉพาะกาล 10 เดือนตอมา กระทรวงมหาดไทยไดออกประกาศ เรือ่ งการจัดการมูลฝอย เมือ่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 ตามประกาศนีซ้ งึ่ ถือวาเปนกฎหมายลูกของ พ.ร.บ.รักษาความ สะอาดฯ แตกไ็ มมขี อ กําหนดหรือขอบังคับใดๆ ทีช่ ดั เจน เนนเรือ่ งการสงเสริมและ แนะนําทองถิน่ มากกวา เชน ควรกําจัดขยะในแหลงกําเนิด ควรคัดแยกขยะกอนกําจัด ในทุกเทคโนโลยี และมีการเพิม่ คณะกรรมการจังหวัดใหมอี าํ นาจแทนผูว า ราชการ จังหวัด หากมองในมุมมองการรักษาความสะอาด ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 ที่ผานมา ก็ถือวาไดพยายามวางพื้นฐานการจัดการ ขยะ ถึงแมจะไมไดกาํ หนดอัตราคากําจัดทีเ่ หมาะสมของการจัดเก็บ-กําจัดขยะ แต ถามองในมุมของการผลิตพลังงานจากขยะ ตามทีก่ ระทรวงพลังงานมุง หมายแลว ประกาศของกระทรวงมหาดไทย ยังไมมสี ว นใดชวยใหเอกชนทีส่ นใจลงทุนมีความ คลองตัวมากขึ้นแตอยางใด อาจตองใชเวลามากกวา 2 ป ในการพัฒนาโครงการ Waste to Energy เพือ่ ไปขอสัญญาขายไฟจากคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน ั ญา (กกพ.) ซึง่ อาจตองใชเวลาอีกนับปเหมือนกัน รวมๆ แลวกวา 3 ป ก็ยงั ไมไดสญ ดูเหมือนวาการจัดการขยะโดยอาศัยมาตรการจูงใจใหผลิตเปนพลังงานไฟฟาของ กระทรวงพลังงานยังคงตองรองเพลงรอ…ตอไป

29

ตอมาเมือ่ วันที่ 8 ธันวาคม 2560 “คณะกรรมการปฏิรปู ประเทศดานพลังงาน” ซึ่งตั้งขึ้นโดยคณะรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญ ป 2560 ไดมีการรับฟงความคิดเห็น “ดานพลังงานทดแทนรวมทั้งดานการนําขยะมูลฝอยไปผลิตเชื้อเพลิงเพื่อผลิต ไฟฟา” ณ จังหวัดนครราชสีมา แตเนื่องจากเปนเพียงการโยนหินถามทาง เนื้อหา สาระจึงยังไมชดั เจน ตามแนวทางในเอกสารทีแ่ จกเผยแพรกค็ งไมตา งจากประกาศ กระทรวงมหาดไทยมากนัก จะมีสว นเพิม่ ทีช่ ดั เจนบางก็คอื จัดใหมี การรับฟงความ คิดเห็นโดยคณะกรรมการจังหวัด ที่ตั้งขึ้นโดยประกาศกระทรวงมหาดไทย เพื่อ ลดความขัดแยงของการเมืองระดับทองถิน่ แตหากจะปฏิรปู กันแลวคงตองทุบโตะ ลดขัน้ ตอน ลดระยะเวลา อาทิ การใชแบบ 3:6:3 กลาวคือ 1) องคกรปกครองสวน ทองถิน่ ใชเวลาทุกขัน้ ตอนภายใน 3 เดือน 2) คณะกรรมการจังหวัดและคณะกรรมการ กลางของกระทรวงมหาดไทย ใชเวลาทุกขั้นตอนไมเกิน 6 เดือน 3) กกพ.ดําเนิน การทุกขั้นตอนจนถึงการทําสัญญา PPA (Power Purchase Agreement) ภายใน 3 เดือน รวมแลวพลังงานขยะก็จะใชเวลา 1 ป (จากเดิมซึง่ ใชเวลา 3 ป) ผูไ ดรบั สัญญา ก็จะตองใชเวลากอสรางโครงการอีกไมนอ ยกวา 2 ป กวาจะขายไฟฟาไดเงิน 1 บาท แรกจากพลังงานขยะซึ่งยังตองใชเวลากวา 3 ป ผลพลอยดีพลอยไดก็คือ ขยะใน บอฝงกลบก็จะกลายเปนพลังงานไฟฟาสวางไสว บอฝงกลบขยะก็จะรับภาระเฉพาะ ขยะที่ไมยอยสลาย (Inert Waste)ไมสงกลิ่น และไมทําลายนํ้าใตดิน คณะกรรมการปฏิรูปประเทศดานพลังงาน มีวาระการทํางานถึง 5 ป จึง เปนความทาทายวา จะปฏิรูปพลังงานอันเปนวาระแหงชาติไดสําเร็จหรือไม

GreenNetwork Green Network November-December 2017


SPECIAL

Scoop กองบรรณาธิการ

การผลิตและการบริโภคอยางยัง่ ยืน มีความสําคัญใหเกิดการดําเนินงานมากยิง่ ขึน้ ทัง้ ภายในประเทศ และระหวางประเทศ ภายหลังจากที่เรื่องนี้ไดถูกกําหนดไวเปนเปาหมายที่ 12 ภายใตเปาหมายการพัฒนา ทีย่ งั่ ยืน ค.ศ. 2030 ซึง่ ประเทศไทยเปนประเทศหนึง่ ที่ไดใหคาํ มัน่ สัญญาวาจะมุง มัน่ ใหมกี ารพัฒนาประเทศ ไปในทิศทางทีย่ ง่ั ยืน โดยพลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ไดเคยเดินทางไปรวมใหคาํ รับรองการ ดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน ค.ศ. 2030 (พ.ศ. 2573) เมือ่ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2558 ณ นครนิวยอรก สหรัฐอเมริกา

Roadmap 6' )8 B)4 6' 'èC$ 1&Ę6 &5I &; .=Ę 6'A 8 C 9IA ğ %8 ' 5 .8ø B+ )ę1%

ดังนั้น ประเทศไทยจึงตองมีการดําเนินงานดานการผลิตและการบริโภคอยาง ยัง่ ยืนใหเปนไปตามเปาหมาย เปาประสงค และตัวชีว้ ดั ทีส่ หประชาชาติกาํ หนด โดยตัง้ แต ป พ.ศ. 2558 ประเทศไทยไดเริม่ จัดทํา Roadmap การผลิตและการบริโภคอยางยัง่ ยืน ระยะ 20 ป โดยการสนับสนุนผูเชี่ยวชาญระยะสั้นจากทั้งตางประเทศและในประเทศ มารวมเปนที่ปรึกษา ภายใตโครงการ Policy Dialogues Support Facility หรือ PDSF แกกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อจะกําหนดวาประเทศไทยในแต ละชวง 5 หรือ 10 ปขางหนา จะมีการพัฒนาดานการผลิตที่ยั่งยืน และดานการบริโภค ทีย่ ง่ั ยืน ใหมคี วามกาวหนาเปนอยางไร มีความรวมมือของหนวยงานหรือภาคสวนใดบาง และจะมีการดําเนินการอยางไรใหเกิดการเติบโตทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม รวมถึงการ บรรลุเปาการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน โดยไดนอ มนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนกรอบ แนวคิดในการจัดทํา ใหมคี วามสอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน สอดคลองกับ ยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป และแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมของประเทศ จากนั้น จึงไดนาํ เสนอตอคณะกรรมการเพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนใหเห็นชอบเมือ่ วันที่ 7 กรกฎาคม ทีผ่ า นมา ขณะนีย้ งั อยูร ะหวางการนําเสนอคณะรัฐมนตรี เพือ่ ประกาศใชในระยะตอไป เนือ่ งในวันยุตคิ วามยากจนสากล กระทรวงทรัพยากรและสิง่ แวดลอม สํานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม รวมกับคณะผูแ ทนสหภาพยุโรป ประจําประเทศไทยและประเทศสมาชิกประกาศยุตคิ วามยากจน ดวยการขับเคลือ่ นตาม นโยบายการผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืน โดยมีการนําเสนอ Roadmap และจัด เสวนาระหวางภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม มีผูเขารวมกวา 150 คน เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) เปน วาระการพัฒนาหลังป 2558 ขององคการสหประชาชาติ โดยมีสมาชิก 195 ประเทศ ไดรบั ไปดําเนินการใหแลวเสร็จภายในป 2573 มีเปาหมายทัง้ สิน้ 17 ขอ โดยมีเปาหมาย แรก คือ ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่ 30

ในทั่วโลก ผูคนมากกวา 800 ลานคน ยังคงอยูไดดวยเงินนอยกวา 1.25 ดอลลารสหรัฐตอวัน หลายคนยังขาดการเขาถึงอาหาร นา้ํ ดืม่ ทีส่ ะอาดและสุขอนามัย ทีเ่ พียงพอ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็วในประเทศ เชน จีนและอินเดีย ไดชวยยกระดับประชากรออกจากความยากจน แตความเติบโตในเรื่องดังกลาวก็ยัง ไมมีความสม่ําเสมอเทาใดนัก ประชากรผูหญิงมีสัดสวนที่อยูในความยากจนมากกวา ผูชาย เนื่องจากการเขาถึงที่ไมเทากันในเรื่องคาแรงงาน การศึกษา และทรัพยสิน SDGs มีเปาหมายที่จะขจัดความยากจนในทุกรูปแบบใหแลวเสร็จภายในป 2573 ซึ่งเปาหมายดังกลาวเกี่ยวของกับการกําหนดกลุมเปาหมายที่อาศัยอยู ใน สถานการณที่มีความเสี่ยงในการเขาถึงทรัพยากรและการบริการขั้นพื้นฐาน รวมถึง ชวยเหลือชุมชนที่ ไดรับผลกระทบจากความขัดแยงและภัยพิบัติที่เกี่ยวของกับสภาพ ภูมิอากาศ หลุยซา รัคเอร อัครราชทูตทีป่ รึกษา รองหัวหนา คณะผูแทนสหภาพยุโรปประจําประเทศไทย กลาววา วันที่ 17 ตุลาคม 2560 เปนวันยุติความยากจนสากล สหภาพยุโรปไดเล็งเห็นความสําคัญของการแกไขปญหา ความยากจน โดยใชแนวทางของการผลิตและการบริโภค ที่ยั่งยืน และไดสนับสนุนการดําเนินการตางๆ ของไทย ในเรือ่ ง SCP มาโดยตลอด สหภาพยุโรปพรอมทีจ่ ะเดิน เคียงขางไปกับไทย เพื่อชวยใหไทยบรรลุเปาหมายการ พัฒนาที่ยั่งยืนตามแผนงานที่วางไว ดาน ดร.วิจารย สิมาฉายา ปลัดกระทรวง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม กล า วว า ประเทศไทยไดเริ่มจัดทําแผนการขับเคลื่อนการผลิต และการบริโภคอยางยั่งยืน ระยะ 20 ป โดยไดรับการ สนับสนุนผูเชี่ยวชาญจากสหภาพยุโรป และไดนอมนํา หลักเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนกรอบแนวคิดในการ จัดทํา Roadmap นี้เนนมาตรการในการดําเนินการ ในภาคสวนตางๆ ทั้งภาคอุตสาหกรรมการผลิต ภาค เกษตรกรรมและอาหาร ภาคอุตสาหกรรมการบริการ การจัดซื้อจัดจางสีเขียว ภาคเมืองและองคการปกครองสวนทองถิ่น ภาคการสราง ความตระหนักและการศึกษา ปจจบันไดผา นความเห็นชอบจากคณะกรรมการแหงชาติ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และอยูระหวางการนําเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อประกาศใชใน ระยะตอไป การจัดสัมมนาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อสรางความรู ความเขาใจในเรื่อง การผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืนใหแกภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวของ สามารถนําไป เปนแนวทางในการดําเนินงานใหสอดคลองกับแผนการขับเคลื่อนการผลิตและการ บริโภคอยางยั่งยืน ตลอดจนใหมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

GreenNetwork November-December 2017


มากยิ่งขึ้น อีกทั้งไดกําหนดจัดการสัมมนาตรงกับวันขจัดความยากจนสากล โดย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม รวมกับสหภาพยุโรป ไดเล็งเห็นความ สําคัญของการแกไขปญหาความยากจน โดยใชแนวทางของการผลิตและการบริโภค ที่ยั่งยืนมาแกไขปญหา ที่ไมเพียงที่จะสามารถแกไขปญหาดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมเทานั้น ยังจะสามารถชวยแกไขปญหาทางสังคม หรือปญหาความ ยากจนไดอกี ดวย ความยากจนไดนาํ มาซึง่ ปญหาอืน่ อีกหลายๆ ปญหา โดยเฉพาะการ บุกรุกฐานทรัพยากรของประเทศ ไดแก การบุกรุกพื้นที่อนุรักษหรือพื้นที่สาธารณะ เพื่อการเกษตร หรือการเปนตนเหตุของความเสื่อมโทรมดานสิ่งแวดลอมจากการใช สารเคมีปราบศัตรูพชื หรือวัชพืช ทีป่ ราศจากความรูค วามเขาใจอยางดีพอ ทําใหคณุ ภาพ ดินเสือ่ มโทรมลงและปนเปอ นสารเคมี รวมถึงการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่นั้นๆ และยังทําใหเกิดปญหาดานสุขภาพตอผูใชสารเคมีและผูบริโภคตามมา การสงเสริมความรูความเขาใจและดําเนินงานตามแนวทางการผลิตและการบริโภค ทีย่ งั่ ยืน เปนแนวทางหนึง่ ทีท่ าํ ใหประชาชนมีการใชทรัพยากรอยางพอเพียงและคุม คา สงผลใหประเทศมีทรัพยากรมากพอและมีคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีในระยะยาว การผลิตและการบริโภคอยางยัง่ ยืนชวยสงเสริมการขจัดความยากจน ใหโอกาส การแบงปนทรัพยากรจากผูที่มีมากกวาไปใหผูที่ยังขาดแคลน เกิดผลทําใหการใช ทรัพยากรเกิดความสมดุลและลดผลกระทบจากตอสิง่ แวดลอมลง โดยวัตถุประสงคหลัก ของการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน คือ การใชทรัพยากรทุกประเภท อาทิ การใช ทรัพยากรนาํ้ ปาไม พลังงาน อาหาร และอืน่ ๆ ใหคมุ คาทีส่ ดุ และกอใหเกิดผลกระทบ ตอคุณภาพสิ่งแวดลอมนอยที่สุด ยกตัวอยางในเรื่องอาหารที่เราบริโภคกัน จากผล การศึกษาขององคการอาหารและการเกษตรแหงสหประชาชาติ หรือ (FAO) ระบุวา โลกเราสามารถผลิตอาหารไดเพียงพอตอประชากรประมาณ 7 พันลานคนทั่วโลก แตคนสวนใหญมีพฤติกรรมการกินทิ้งกินขวาง และขาดความเขาใจตอผลกระทบที่ เกิดขึ้น จึงทําใหอาหารประมาณ 1 ใน 3 กลายเปนขยะ ผูคนทั่วโลกประมาณ 870 ลานคนหรือประมาณ 1 ใน 8 อยูในภาวะขาดแคลนอาหารและเสี่ยงตอการเสียชีวิต จากการขาดอาหาร ทีส่ าํ คัญคือ มากกวาครึง่ หนึง่ เปนประชากรในทวีปเอเชีย ในขณะ ที่บางภูมิภาคมีการบริโภคอาหารไมคุมคา มีปริมาณอาหารที่ถูกปลอยทิ้งใหเนาเสีย ไปอยางไรประโยชน ผลกระทบอีกดานหนึ่งที่เกิดขึ้นคือ ขยะอาหารที่เกิดขึ้นทั่วโลก สงผลกระทบตอสิง่ แวดลอม หรือทําใหเกิดกาซเรือนกระจกทีส่ ง ผลใหเกิดภาวะโลกรอน มีสูงถึง 3,300 ลานตันคารบอนไดออกไซดตอป (World Resource Institute 2012 เปรียบเทียบ 1 ตันคารบอนไดออกไซด เทากับลูกบอลทีม่ เี สนผานศูนยกลาง 10 เมตร ลอยอยูบนทองฟา ในกรณีนี้ทําใหลูกบอลขนาดเสนผานศูนยกลาง 10 เมตร ลอยอยู บนทองฟา 3,300 ลานลูก) เปนการสิ้นเปลืองทรัพยากรที่ ใชในการเพาะปลูก การขนสง กระบวนการผลิต หรือการกําจัดของเสียจากกระบวนการผลิต โดยเปลา ประโยชน

31

ในประเทศไทยเราเอง มีการทิ้งทรัพยากรตอปไปไมนอย ดังจะเห็นไดจาก ในปที่ผานมา มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ ประมาณ 27 ลานตัน จาก จํานวนประชากรทั้งประเทศ 66 ลานคน ในขณะที่กรุงเทพฯ มีปริมาณขยะมูลฝอย เกิดขึน้ 4 ลานตันตอป และรอยละ 50 ของปริมาณขยะมูลฝอยนีเ้ ปนขยะจากอาหาร หากเราสามารถจัดการใหดี ไมใหเกิดขยะจากอาหารภายในครัวเรือนของเรา หรือ พฤติกรรมการบริโภคของเราใหมีความพอเพียงหรือพอดี จะสามารถลดของเสียที่ เกิดขึน้ ใหมปี ริมาณนอยลง มีการจัดการงายขึน้ สามารถลดคาใชจา ยในการจัดการ สิง่ อืน่ ตามมา หรือนําไปใชประโยชนอนื่ ๆ อาทิ การแบงปนใหผทู ขี่ าดแคลน การนํา ไปมอบใหองคกรที่เกี่ยวของกับการเลี้ยงสัตว การทําปุยหมัก การผลิตกาซชีวภาพ เปนตน นอกจากนี้ จากรายงานผลการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม จํานวน 773 แหง ณ เดือนพฤษภาคม 2560 พบวามีมูลคาการจัดซื้อ จัดจางสินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมประมาณ 550 ลานบาท และ ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดทลี่ ดไดประมาณ 55,000 ตัน โดยการจัดซือ้ จัดจาง สินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม หนึ่งในเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนได ถูกหยิบยกมาใชในการสนับสนุนและผลักดันกลไกในการลดกาซเรือนกระจก และ นําไปสูส งั คมการผลิตและการบริโภคอยางยัง่ ยืน (Sustainable Consumption and Production : SCP) ซึ่งจะนํารองกับภาครัฐทั้งสวนกลางและขยายผลไปสูองคกร ปกครองสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ มหาวิทยาลัย องคกรมหาชน หนวยงานในกํากับ ของรัฐ และจะขยายไปสูภาคเอกชน รวมทั้งภาคประชาชนตอไป

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Learning กองบรรณาธิการ

ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ (PETROMAT) รวมกับ บริษัท ทอทาล คอรเบี้ยน พีแอลเอ จํากัด ผูนําดาน การผลิตโพลีแลคติคแอซิด (Poly Lactic Acid : PLA) ประกาศผลผูชนะเลิศโครงการผลงานนวัตกรรม “Bioplastics Innovation Contest 2017” หรือโครงการคนหานวัตกรรมการเพิ่มมูลคาพลาสติกชีวภาพ ภายใตแนวคิดการ ใชงานในวิถีชีวิตยุคใหมและสังคมยั่งยืน สนับสนุนใหเยาวชนไทยไดมีโอกาสในการใชความคิดสรางสรรค ดานเทคโนโลยีเพือ่ การตลาด และเสริมสรางจิตสํานึกในดานการรักษาสิง่ แวดลอมและความยัง่ ยืน ดานการใชทรัพยากรธรรมชาติหวังยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ สงเสริมการคิดคน นวัตกรรม เพิม่ มูลคาและประยุกตใชงานพลาสติกชีวภาพหรือไบโอพลาสติกในดาน ตางๆ พรอมผลักดันใหประเทศไทยเปนศูนยกลางอุตสาหกรรมพลาสติก ชีวภาพของภูมิภาคเอเชีย

Bioplastics

Innovation

Contest 2017

.Ę A.'è% 6' 8 ę )8 $5 Ĝ ")6. 8 9+$6"A 8 "6 8 &Ĝ รศ. ดร.หทัยกานต มนัสปยะ รองผูอํานวยการ ศูนยความเปนเลิศดานเทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ (PETROMAT) กลาววา โครงการผลงานนวัตกรรม “Bioplastics Innovation Contest 2017” ไดเริ่มดําเนินการ ตั้งแตปลายป 2559 จนถึงปจจบัน มีนักศึกษาจากหลายสถาบันใหความสนใจและสงผลงานเขารวม ประกวด โดยในขั้นสุดทายไดคัดเลือกผลงานนักศึกษาที่ผานการพิจารณาจากคณะกรรมการผูทรง คุณวุฒิเขารอบคัดเลือกรอบสุดทายจํานวน 5 ทีม คือ 1) ทีม “Go Grow Go Green” จาก Sirindhorn International Institute of Technology มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร นําเสนอผลงาน Green Bagging (Polylactic acid/Silica composite films) 2) ทีม “พฤหัสบดี” จาก มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ นําเสนอผลงาน Xtra Life by SWU 3) ทีม “อายมา 4 คน” จาก มหาวิทยาลัย ศิลปากร นําเสนอผลงานผากันเปอ นยอยสลายไดจาก PLA 4) ทีม CushPack จาก วิทยาลัยปโตรเลียม และปโตรเคมี จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นําเสนอผลงาน PLA Composite for Foamed Packaging Cushion Application และ 5) ทีม Splint Printed FIN GNER จาก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ นําเสนอผลงาน Sense Splint X SWU โดยจะมีหลักเกณฑในการพิจารณาผลงานมุงเนนไปที่การ ใชงานใหเกิดคุณคาในเชิงพาณิชย โครงการทีส่ ง ประกวดแตละโครงการจะตองมีพนั ธมิตรภาคธุรกิจ เปนผูกําหนดคุณลักษณะเฉพาะ เพื่อใหประสบความสําเร็จในเชิงพาณิชย “ทางศูนยฯ คาดหวังวาผลสําเร็จที่ ไดจากโครงการนี้จะไดรับการตอยอดพัฒนาผลิตภัณฑ ไดตรงตามวัตถุประสงค และไดรบั รวมมือกับภาคเอกชนจัดโครงการทีเ่ ปนประโยชนตอ ไปอีกในอนาคต ซึ่งทางศูนยฯ มีพันธกิจหลักในการสรางองคความรูเทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ พัฒนาตอยอดเพื่อ ตอบสนองการพัฒนาอุตสาหกรรมปโตรเคมีและวัสดุของประเทศใหมคี วามไดเปรียบทางการแขงขัน อยางยั่งยืนและรับผิดชอบตอสังคม” โครงการ Bioplastics Innovation Contest 2017 หรือโครงการคนหานวัตกรรมการเพิ่ม มูลคาพลาสติกชีวภาพ ภายใตแนวคิดการใชงานในวิถชี วี ติ ยุคใหมและสังคมยัง่ ยืน จัดขึน้ เพือ่ สงเสริม ใหเยาวชน โดยเฉพาะนักศึกษาไดเขามามีสว นรวมในการพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ สมัคร เขารวมโครงการทีมละไมเกิน 7 คน โดยสงผลงานความคิดสรางสรรคที่เปนนวัตกรรมที่สามารถ นํามาประยุกตใชไดจริงกับพลาสติกชีวภาพ อันเปนการพัฒนาผลิตภัณฑโดยแนวคิดของคนรุนใหม

32

ชิงรางวัลมูลคารวมกวา 300,000 บาท ซึ่งทีมที่ชนะเลิศ ไดแก ทีม “อายมา 4 คน” จากมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยนําเสนอผลงาน ผากันเปอนยอยสลายไดจาก PLA ซึ่งเหมาะสําหรับการใชงาน ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารหรือแปรรูปอาหาร สามารถประหยัด คาใชจายไดเปนจํานวนมาก กัลย เฉลิมเกียรติกลุ ผูอ าํ นวยการฝายพัฒนาธุรกิจ-พลาสติก ชีวภาพ บริษัท ทอทาล คอรเบี้ยน พีแอลเอ จํากัด กลาววา จากความรวมมือในการจัดการประกวดนวัตกรรมรวมกับทาง PETROMAT จะกอใหเกิดความตื่นตัวใหกับทุกภาคสวน ทั้งภาค เอกชนเจาของแบรนด และภาคสถาบันการศึกษา รวมมือกันคิดคน ทําการวิจัยสรางนวัตกรรมใหภาคเอกชนไดนําไปตอยอดสราง มูลคาเพิ่ม และดวยหลักการ Bio Economy หรือ เศรษฐกิจฐาน ชีวภาพ เพื่อสรางมูลคาเพิ่มจากผลผลิตทางการเกษตร จะชวยให ประเทศไทยสามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจไดเร็วยิ่งขึ้น การจัด โครงการ Bioplastics Innovation Contest 2017 ในครั้งนี้ จึง เปนหนึ่งในความพยายามของทุกภาคสวนในการรวมกันพัฒนา อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพของไทยใหเติบโตอยางยั่งยืนตอไป อนาคต

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

World กองบรรณาธิการ

#6'Ĝ% 5 /5 )%)1& J7

B/Ę B' 1 C) 9I. 1 B) Ĝ

กังหันลมในทะเลถูกใชเพื่อผลิตไฟฟามาตั้งแตทศวรรษ 1990 จนกลายเปนแหลงพลังงานหมุนเวียน ทีส่ าํ คัญของโลกในปจจบัน กังหันลมแบบตัง้ บนฐานรากทีพ่ นื้ ทะเลมีขอ จํากัดทีค่ วามลึกของนา้ํ ทะเล หากลึก เกิน 60 เมตรราคาคากอสรางจะมากเกินไปจนไมคมุ คา แนวคิดเรือ่ งทํากังหันลมลอยนาํ้ เพือ่ ทําลายขอจํากัดนี้ จึงเกิดขึ้น และตอนนี้ฟารมกังหันลมลอยน้ําแหงแรกของโลกที่สกอตแลนดไดสรางเสร็จและเปดใชงานแลว สําหรับสกอตแลนดนั้น ถือเปนหนึ่งในประเทศที่มีศักยภาพพลังงานลมสูงสุดในทวีปยุโรป โดยไดเริ่มจาย ไฟฟาที่ผลิตจากฟารมกังหันลมลอยนํ้าแหงแรกของโลก ในเมืองแอเบอรดีน เขาสูระบบแลว โดยบริษัท Statoil เจาของโครงการ Hywind ฟารมกังหันลมลอยน้ําแหงแรกนี้ไดเล็งเห็นถึงศักยภาพของแหลงพลังงานลมเหนือทะเล นา้ํ ลึกที่ครอบคลุมพื้นที่ถึง 80% ของทั้งหมด โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่สําคัญบางแหงที่มีไหลทวีปชันเปนพิเศษ เชน บางสวนของสหรัฐอเมริกาและญีป่ นุ รวมไปถึงจดเดนทีล่ มเหนือทะเลนา้ํ ลึกมีความเร็วสูงกวา และโอกาสในการลดตนทุน ของกังหันลมได จึงสรางนวัตกรรมใหมนี้ขึ้นมาเพื่อโอกาสที่ดีในอนาคต โครงการ Hywind ตั้งอยูหางจากชายฝง Aberdeenshire ประเทศสกอตแลนด ราว 25 กิโลเมตร ประกอบดวย กังหันลมลอยน้ําขนาด 6 เมกะวัตตจํานวน 5 ตัว ครอบคลุมพื้นที่ราว 4 ตารางกิโลเมตร มีกําลังการผลิตรวม 30 เมกะวัตต ซึ่งเพียงพอจายไฟฟาใหบานเรือน 22,000 หลัง มีตนทุนคากอสรางราว 263 ลานดอลลาร ทั้งนี้ กังหันลมแตละตัวสูง 253 เมตร ลอยอยูในน้ําทะเลที่ระดับความลึกระหวาง 95 ถึง 129 เมตร และถูกยึดไวอยาง มัน่ คงดวยสมอ 3 ตัว รับลมในทะเลเหนือบริเวณนีท้ ม่ี คี วามเร็วเฉลีย่ กวา 36 กิโลเมตรตอชัว่ โมง กังหันลมทัง้ หมดเชือ่ มตอเขาดวยกัน และสงไฟฟาที่ผลิตไดไปบนฝงทางสายเคเบิลที่ระดับความดันไฟฟา 33 กิโลโวลต แมวา ฟารมกังหันลม Hywind จะมีกาํ ลังการผลิตไฟฟาเพียงนอยนิดเมือ่ เทียบกับฟารมกังหันลมนอกชายฝง ที่ใหญทสี่ ดุ ในโลก ในปจจบันอยาง London Array ที่มีกําลังการผลิต 630 เมกะวัตต หรือโครงการใหญมากๆ อยางโครงการ Hornsea Project One และ Hornsea Project Two ที่กําลังอยูในระหวางการกอสรางตางก็มีกําลังการผลิตเกิน 1,000 เมกะวัตต แต Hywind เปนเพียงโครงการทดลองหรือโครงการเริ่มตนเทานั้น ในอนาคตสามารถขยายขนาดใหใหญกวานี้มากกวา 10 เทา ที่สําคัญกังหันลมลอยน้ําสามารถดําเนินการในบริเวณที่มีน้ําลึกไดถึง 800 เมตร Irene Rummelhoff รองประธาน Statoil กลาว Statoil ตองการที่จะลดตนทุนของพลังงานจากฟารม กังหันลมลอยนํา้ ใหเหลือ 47-71 ดอลลารตอเมกะวัตต-ชั่วโมง ภายใน ค.ศ. 2030 และมีพื้นที่ถึง 80% ที่เปน บริเวณนาํ้ ลึกซึง่ กังหันลมแบบเดิมไมเหมาะสม ฟารมกังหันลมลอยนาํ้ จึงถูกคาดหวังวาจะมีบทบาทสําคัญตอการ เติบโตของพลังงานลมนอกชายฝงในอนาคต ขอมูลและภาพจาก : https://www.takieng.com 33

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Visit กองบรรณาธิการ

โครงการสวนกังหันลมเลียบชายฝง ปากพนัง ดําเนินการโดย บริษทั อินเตอร ฟารอสี ท วินด อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด ดวยการใชพลังงานลมในการผลิตกระแสไฟฟา ขนาดกําลังการผลิต 10 เมกะวัตต ในพื้นที่ อําเภอปากพนัง จังหวัด นครศรีธรรมราช ปอนกระแสไฟฟาใหแกการไฟฟาสวนภูมิภาค เมือ่ เร็วๆ นี้ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน (พพ.) ไดเขาเยีย่ มชมโครงการสวนกังหันลมเลียบชายฝง ปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช บริษัท อินเตอร ฟารอีสท วินด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด หรือ iWind เจาของรางวัล Thailand Energy Awards 2017

iWind 5 )Ę 6 )% =.+ 5 /5 )% A)9& 6&!ĝĠ 6 " 5

A.'è%.'ęę6 +6%%5I D/ę <%

วัชรินทร บุญฤทธิ์ ผูอํานวยการกลุมสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ภาคประชาชนและธุรกิจ สํานักสงเสริมการอนุรกั ษพลังาน กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กลาววา โครงการสวนกังหันลม เลียบชายฝง อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เปนโครงการที่ ไดรับรางวัลดีเดนจากการประกวด Thailand Energy Awards 2017 ดานพลังงานทดแทน ประเภทโครงการที่เชื่อมโยงกับระบบสายสงไฟฟา (On-Grid) ซึ่งเปนการบูรณาการอยางลงตัวระหวางโรงไฟฟา แหลง ทองเที่ยว และการใชประโยชนสําหรับชุมชน ทั้งนี้โครงการดังกลาว ยังไดออกแบบพื้นที่ ใหสอดคลองและกลมกลืนไปกับระบบนิเวศชายฝง และสภาพพืน้ ทีเ่ ดิมซึง่ เปนนากุง รางและเปนพืน้ ทีเ่ สือ่ มโทรมเลียบชายฝง รวมไปถึงการกําหนดรูปแบบการพัฒนาเปนสวนกังหันลมควบคูกับพื้นที่ สาธารณประโยชนสําหรับชุมชน

โครงการสวนกังหันลมเลียบชายฝ งปากพนัง ขนาด 10 เมกะวัตต

โครงการสวนกังหันลมเลียบชายฝงปากพนัง มีกําลังการผลิต 10 เมกะวัตต จากการศึกษามาเปนเวลานานพบวาลมทางภาคใต ของไทยมาจาก 2 ฝงคือ จากฝงอาวไทยและจากฝงทะเลอันดามัน ทิศทางของลมมีการเปลี่ยนแปลงทุกๆ 6 เดือน ซึ่งจดที่ตั้งกังหันลมที่นี่ สามารถรับลมไดตลอดทั้งป จากลักษณะภูมิศาสตรที่เปนแนวชองเขา ซึ่งเปดชองรับลมไดทั้ง 2 ฝง และนําศักยภาพมาผลิตกระแสไฟฟาได ตลอด

34

ดร.สุเมธ สุทธภักดี ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั อินเตอร ฟารอีสท วินด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด หรือ iWind กลาววา ความเร็วของลมเปนปจจัยหลักทีม่ ผี ลตอประสิทธิภาพการผลิตไฟฟา ของกังหันลม ดังนั้นการคัดเลือกสถานที่ตั้งโครงการที่มีศักยภาพ พลังงานลมสูงทั้งดานความเร็วลมและชวงเวลาที่ไดรับลมจึงสําคัญ อยางยิง่ บริษัทฯไดศกึ ษาศักยภาพในพืน้ ทีเ่ กือบ 3 ป และไดคดั เลือก พื้นที่ตั้งโครงการบนแนวชายฝงทะเลดานอาวไทย บริเวณตําบล บางพระ อําเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึง่ มีคา ความเร็วลม เฉลี่ยตลอดทั้งป 5.21 เมตร/วินาที ประกอบกับมีลมทั้งจากฝง อาวไทยและฝงอันดามันพัดผานพื้นที่โครงการตลอดทั้งป เนื่องจาก อยูในแนวรับลมที่พัดผานชองเขาหลวงพอดี จึงมีศักยภาพพลังงาน ลมเพียงพอสําหรับการติดตั้งกังหันลมขนาดใหญ โดยโครงการ สวนกังหันลมแหงนี้ มีขนาด 10 เมกะวัตต ติดตั้งกังหันลม จํานวน 4 ตน มีกําลังผลิตตนละ 2.5 เมกะวัตต เสนผาศูนยกลางใบพัด 121 เมตร ผลิตไฟฟาจําหนายใหการไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) ภาย ใตสัญญา VSPP แบบ Non-Firm โดยเริ่มผลิตไฟฟาไดที่ความเร็ว ลม 2.1 เมตร/วินาที สามารถผลิตกระแสไฟฟาไดอยางสม่ําเสมอ ในทุกสภาพอากาศ แมจะมีพายุหรือมรสุมตางๆ “ในป 2559 ทีผ่ า นมา โครงการนีส้ ามารถผลิตไฟฟาจากพลังงาน ไดรวมประมาณ 18.9 ลานหนวย และลดการปลอยกาซเรือนกระจก ไดประมาณ 10,579 ตันคารบอนไดออกไซด”

GreenNetwork November-December 2017


บริษั ทฯ ไดทุมงบประมาณในการกอสรางโครงการดังกลาว 800 ลานบาท (รวมที่ดิน) มีอัตราผลตอบแทนการลงทุน (IRR) 12.3% และมีระยะ เวลาคืนทุน 10 ป โดยมีมูลคาการลงทุนผลิตไฟฟา 80 ลานบาท/เมกะวัตต ซึ่งถือเปนตน ทุนตอหนวยการผลิตไฟฟาต่ําสุดสําหรับโครงการกังหันลม ในประเทศไทย ทัง้ นี้ โครงการมีความเชือ่ มัน่ วาจะมีศกั ยภาพลมเพียงพอทัง้ ป และสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดอยางตอเนื่อง บริษัทฯ ไดใชเวลาศึกษาวิจัย และทําประชาพิจารณในพื้นที่เปนเวลา 5-6 ป และมองเห็นถึงศักยภาพ ในหลายๆ ดาน สําหรับโครงการสวนกังหันลมเลียบชายฝงนี้ เปน 1 ใน 60 โครงการของบริษัทฯ ในประเทศไทย และไดนําโครงการนี้มาเปนโครงการ ตนแบบเพือ่ แสดงถึงศักยภาพทางอุตสาหกรรมพลังงานลมใหภาครัฐไดเห็นถึง ประสิทธิภาพ

เทคโนโลยีกังหันลมกึ่งหุ นยนต ไร เกียร จากเยอรมนี

โครงการดังกลาว ใชกังหันลมกึ่งหุนยนตไรเกียร (Gearless SemiRobot Wind Turbine) จาก Goldwind ซึ่งเปนระบบและเทคโนโลยีจาก ประเทศเยอรมนี รุน GW121/2500 KW กังหันรุน นีส้ ามารถหมุนหาลมไดเอง

360 องศา โดยคํานวณทิศทางและกําลังลมในแตละขณะเพื่อเตรียมระบบ รองรับ สามารถหมุนปรับองศาใบพัดไดเองอัตโนมัติ (Automatic Pitch Control) ทําใหกังหันลมเพิ่มและลดความเร็วของรอบหมุนตามความเร็วลม ชวงตางๆ ได มีระบบเซ็นเซอรควบคุมและปองกันเหตุตางๆระหวางการผลิต กระแสไฟฟา โดยแจงขอมูลตลอด 24 ชัว่ โมงไปยังหองควบคุม รวมถึงมีระบบ ควบคุมอัจฉริยะ สามารถสื่อสารกับเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานได สวนตัวกังหัน เคลือบกัลวาไนซ (Galvanize) ปองกันการกัดกรอนจากไอเกลือ และสามารถ ปรับโทนสี ไดเองตามความเขมของแสง และทาสีปลายใบพัดเปนสีแดง เทาแดง และขาวสลับ เพือ่ ปองกันการชนของนก และยังควบคุมใหใบพัดหมุน ที่ความเร็วสูงสุด 14 รอบ/นาที (RPM) ซึ่งไมเปนอันตรายตอวิสัยการบิน ของนกที่อาศัยอยูโดยรอบ สวนระบบไฟฟาของโครงการนี้ ใชระบบ SVG (Static Var Generator) ในการควบคุมคุณภาพของไฟฟากอนสงออกสูระบบจําหนาย รวมทั้งชดเชย รักษาระดับแรงดันระหวางระบบของการไฟฟาและของโครงการ ทําใหการ ผลิตไฟฟาราบรื่นและมั่นคง และวางระบบสายสงไฟฟาใตดินเพื่อความ เรียบรอยและลดปญหาในการดูแล โดยมีระบบรองรับน้ําทวม

พัฒนาสวนกังหันลมควบคู พื้นที่สาธารณประโยชน ชุมชน

ดร.สุเมธ กลาววา เหตุผลทีบ่ ริษัทฯ เลือกดําเนินโครงการสวนกังหันลม ในชายฝงปากพนัง เนื่องจากเล็งเห็นวาเปนพื้นที่ที่ลมมีศักยภาพสมํ่าเสมอ ทั้งยังไดรับการยอมรับจากประชาชนในพื้นที่เปนอยางดี อันเกิดจากไดจัดทํา โครงการนํารองของกระทรวงพลังงาน ที่อําเภอหัวไทร ซึ่งตั้งอยูไ มไกล สวนกังหันลมเลียบชายฝง ปากพนัง ทําใหชาวบานเกิดความเขาใจ ใหการ

35

ตอบรับเปนอยางดี และทีส่ าํ คัญบริษัทฯ ไมตอ งการใหพน้ื ทีแ่ หงนีเ้ ปนแตเพียง ที่ตั้งของกังหันลมแตเพียงอยางเดียว จึงไดมีการที่จะพัฒนาบริเวณรอบๆ ใหเปนสาธารณประโยชนสูชุมชน เพื่อใหพื้นที่ดังกลาวเปนสวนสาธารณะ แหลงเรียนรูดานพลังงานทดแทน ลานกีฬาอเนกประสงค ศูนยอนุรักษ พันธุไมปาชายเลนและปาชายหาด เสนทางจักรยานเลียบสวน รวมถึงการ เตรียมการในเรือ่ ง การจัดตัง้ ศูนยเตือนภัยพิบตั ทิ างทะเลและศูนยวจิ ยั สภาพ อากาศ โดยประยุกตใชขอ มูลเซ็นเซอรตรวจวัดสภาพอากาศจากตัวกังหันลม ในการเตือนภัยใหแกชุมชน และที่สําคัญยังชวยสรางอาชีพและรายไดที่ มั่นคงใหกับชุมชน ดวยการจางแรงงานที่มีภูมิลําเนาอยูใกลเคียงโครงการ นอกจากนี้ เปาหมายและหลักคิดในการวางยุทธศาสตรพัฒนา โครงการโดยนําพื้นที่ดินของบริษั ทและโครงการกังหันลมตางๆ ที่มีอยู ยกระดับใหเปนฟารมกังหันลมแบบอัจฉริยะ ซึ่งมุงเนนการไลหาพลังงาน จากลมบนบก และพลังงานลมในทะเลนอกชายฝง ทั้งนี้หนวยผลิตไฟฟา พลังงานลมทั้ง 2 รูปแบบ จะถูกเชื่อมโยงเขาดวยกันเพื่อปอนไฟฟาเขาสู เครือขายของการไฟฟา โดยมีระบบการจัดการบริหารพลังงานอัจฉริยะ (Smart Wind Farm Micro Grid Controller) และระบบการสํารองเพื่อ

กักเก็บพลังงานทีห่ าไว (Energy Storage SystemESS) ประกอบกับระบบนําสงพลังงานจากแบตเตอรี่ เพือ่ เติมเขาระบบเครือขายของการจายไฟตามรูปแบบ สัญญา VSPP ใหมีความเสถียร และมีประสิทธิภาพ มากขึ้ น ระบบดั ง กล า วจะทํ าให พ ลั ง งานทดแทนจากลม สามารถพึ่งพาไดอยางมั่นคง และลดขอจํากัดการแปรผันของ พลังงานจากธรรมชาติไดเปนอยางดี

กังหันลมสีเขียว เป นมิตรกับสิ่งแวดล อม

ดร.สุเมธ กลาววา การอยูอยางสีเขียว คือการ พัฒนาที่มุงเนนถึงความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตและ สิง่ แวดลอมอยางเปนระบบ โดยโครงการนีจ้ ะมุง เนน ถึงการมีสวนรวมของชุมชนในการพัฒนา เพื่อ ให เ กิ ด ความรู สึ ก ในการเป น ส ว นหนึ่ ง ของ สิ่ ง แวดล อ มสี เ ขี ย วใหม ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น จาก แนวคิดนี้ ไดนําไปสูการพัฒนาโปรแกรม และกิจกรรมตางๆ ที่มุงเนนถึงความ เชื่อมตอระหวางชุมชน และสิ่งแวดลอม และขณะเดียวก็ตองตอบสนอง ตอความตองการของชุมชน สอดคลองกับวิถีชีวิต และวัฒนธรรมชุมชน เพือ่ สงเสริมใหเกิดความสัมพันธอนั ดีระหวางชุมชนและสิง่ แวดลอม และ ระหวางชุมชนดวยกันเอง โดยกําหนดแนวทางในการออกแบบและพัฒนา ที่สงเสริมการอยูกับสิ่งแวดลอมไดอยางยั่งยืน

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Energy กองบรรณาธิการ

Energy 4.0

")5

6 6 +5 ''%B/Ę 1 6 ปจจบันประเทศไทยกําลังขับเคลือ่ นการพัฒนาไปสูย คุ Thailand 4.0 โดยปฏิรปู โครงสรางเศรษฐกิจจากประเทศรายไดปานกลางสูป ระเทศรายไดสงู โดยใชเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาขับเคลือ่ น ทัง้ ความมัน่ คง เศรษฐกิจ สังคม และการดูแลสิง่ แวดลอม เพื่อสรางเศรษฐกิจที่มุงเนนคุณคา (Value-Based Economy) หรือ Thailand 4.0 ในภาคพลังงาน กระทรวงพลังงานไดวางยุทธศาสตรพลังงานฐานนวัตกรรม (Energy 4.0) ดวยการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาเชื่อมโยงกับพลังงาน เชน โซลารเซลล ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage Systems) หรือยานยนตไฟฟา (Electric Vehicle) เปนตน อีกสวนคือพลังงานฐานเกษตร ในเรื่องพลังงานจากพืช หรือรูปแบบการผลิต ไฟฟาทีผ่ สมผสานระหวาง “พลังงานธรรมชาติ” และ “พลังงานชีวภาพ” โดยตองเปน การตอยอดเพือ่ สรางรายไดในอนาคตไดดว ยพืชพลังงาน เชน นา้ํ มันปาลม เอทานอล หรือพลังงานจากชีวมวลของเหลือจากการเกษตร อีกทั้งยังรวมถึงการผลิตไฟฟาที่ ผสมผสานระหวางพลังงานธรรมชาติและพลังงานชีวภาพ (SPP Hybrid Firm) ควบคู ไปกับการสงเสริมการวิจัยดานพลังงาน ที่มุงเนนใหเกิดการใชพลังงานที่สะอาดและ มีประสิทธิภาพสูงสุด ไมสรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ชวยยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนไปพรอมกัน โดยมีการขับเคลื่อนที่ครอบคลุมพลังงานทั้งระบบ ตั้งแต ผลิต จัดหา แปรรูป ขนสง จนถึงการใช และครอบคลุมถึงแผนพลังงานระยะยาว ไดแก แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง แผนบริหารจัดการกาซธรรมชาติ และแผน พัฒนากําลังผลิตไฟฟา มาตรการขับเคลื่อนที่สําคัญ 3 มาตรการ ไดแก 1. ดานเชื้อเพลิงภาคขนสง อาทิ พัฒนาเทคโนโลยี เพื่อสงเสริมการผลิตและ การใชเชื้อเพลิงชีวภาพใหมากขึ้น เพิ่มศักยภาพการขนสงน้ํามันทางทอ และใชระบบ ขนสงทางราง ลดการใชน้ํามันในรถยนตใหมากขึ้น 2. ดานไฟฟา อาทิ การจัดทําแผนการผลิตไฟฟาพลังงานทดแทนรายภาค การสรางตลาดซือ้ ขายไฟใหโรงไฟฟาเกาทีม่ ศี กั ยภาพ การเปลีย่ นอุปกรณประสิทธิภาพสูง การนํารองตนแบบไมโครกริด 3. ดานเชือ้ เพลิงผลิตความรอน อาทิ การสนับสนุนการอนุรกั ษพลังงาน สงเสริม การใชพลังงานทดแทน การเปดเสรีกาซธรรมชาติ และการขับเคลื่อน Third Party Access การสรางความตอเนื่องการผลิต และการขยาย LNG Terminal และทอกาซ ธรรมชาติ ทั้งหมดนี้ ไมใชเพียงแคการสรางรายไดใหกับประชาชนและประเทศ เพื่อให ประเทศชาติในภาพรวมหลุดพนจากการเปนประเทศรายไดระดับปานกลาง ตาม นโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาลเทานัน้ แตหมายถึงกระบวนการสรางความประหยัด ลดการใชพลังงาน และกาวสูจดหมายแหงความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ทางพลังงาน ตอไป สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ไดรับมอบหมายจากกระทรวง พลังงาน ในการขับเคลือ่ นนโยบาย Energy 4.0 โดยไดรบั งบประมาณจากกองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน ซึง่ ปจจบันโครงการทีอ่ ยูร ะหวางดําเนินการ ประกอบดวย 4 โครงการหลัก คือ 1. ยานยนตไฟฟา (Electric Vehicle : EV) และสถานีอัดประจไฟฟา (EV Charging Station) เปนทางเลือกการใชพลังงาน ลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงจากฟอสซิล และสงผลดีตอสิ่งแวดลอม 36

ยานยนตไฟฟาเปนหนึ่งในอุตสาหกรรมแหงอนาคต (Future Industry และได ตั้งเปาหมายใหไทยเปนฐานการผลิตสําคัญของภูมิภาคอาเซียนโดยมีมาตรการเพื่อ สงเสริมใหยานยนตไฟฟาในประเทศไทยสามารถเดินหนาไปได อาทิ มาตรการสงเสริม การลงทุนสายการผลิตรถยนตไฮบริด ปลั๊กอินไฮบริด และยานยนตไฟฟา รวมถึง มาตรการดานภาษีตางๆ ที่ชวยสงเสริมใหเกิดการลงทุนมากขึ้นตามแผนอนุรักษ พลังงาน พ.ศ. 2558-2579 (EEP2015) กระทรวงพลังงานตั้งเปาใหมีการใชยานยนต ไฟฟาถึง 1.2 ลานคัน ในป 2579 สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ไดมกี ารสงเสริม ยานยนตไฟฟาในระบบขนสงมวลชน ภายใตโครงการสนับสนุนการเปลี่ยนรถตุกตุก ใหเปนรถตุก ตุก ไฟฟา (eTukTuk) เพือ่ เปดโอกาสใหเจาของรถตุก ตุก นํารถที่ใชงานอยู มาเปลี่ยนเปนรถตุกตุกไฟฟาทั่วประเทศกวา 22,000 คัน ภายใน 5 ป ซึ่งจะมีการนํา รองกอน 100 คัน ในป 2560-2561 ซึ่งการขับเคลื่อนภารกิจยานยนตไฟฟา แบงเปน 3 ระยะ โดยปจจบันอยูในระยะที่ 1 เปนการเตรียมความพรอมการใชงานยานยนต ไฟฟา (ระหวางป 2559-2560) มุง เนนการนํารองการใชงานกลุม รถโดยสารสาธารณะ ไฟฟา เนื่องจากจะเกิดประโยชนในวงกวางและสามารถพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เพื่อรองรับการใชงานไดงาย อาทิ องคการขนสงมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) นํารอง โครงการจัดหารถโดยสารสาธารณะไฟฟา 200 คันมีการไฟฟานครหลวง (กฟน.) ชวย ดําเนินการปรับปรุงระบบไฟฟารองรับสถานีอัดประจไฟฟาทั้ง 4 สถานี ของ ขสมก. เพื่อรองรับโครงการนํารองรถดังกลาว, การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ดําเนินโครงการนํารองสาธิตการใชงานยานยนตไฟฟา และพัฒนาระบบรวบรวมขอมูล, การไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) ดําเนินโครงการนํารองรถโดยสารสาธารณะไฟฟา และ วิ่งระหวางเมือง และปตท.ดําเนินโครงการนํารองรถโดยสารรับ-สง พนักงาน ปตท. สํานักงานใหญ-รถไฟฟา BTS (หมอชิต) การเตรียมความพรอมรองรับยานยนตไฟฟา มีเรือ่ งโครงสรางพืน้ ฐานทีส่ าํ คัญ คือ “สถานีอัดประจไฟฟา” หรือ Charging Station ในป 2560 กระทรวงพลังงาน มีโครงการสนับสนุนการลงทุนสถานีอัดประจไฟฟา (Charging Station) สําหรับ หนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน จํานวน 150 สถานี โดยใชงบประมาณ จากกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ซึ่งมีทั้ง 2 รูปแบบ คือ Normal Charge ทีเ่ ปนสถานีอดั ประจไฟฟาหัวจายแบบธรรมดา ใชเวลาในการอัดประจไฟฟาประมาณ 4-6 ชั่วโมง และ Quick Charge สถานีอัดประจไฟฟาหัวจายเรงดวน ใชเวลาในการ อัดประจไฟฟาประมาณ 30 นาที และคาดวาในป 2579 จะมีสถานีอัดประจไฟฟา ทั่วประเทศ 690 สถานี 2. เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage Systems) ในระบบผลิต และจําหนายไฟฟาจากพลังงานทดแทนเพื่อสนับสนุนการพัฒนาพลังงานทดแทนใหมี เสถียรภาพ เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน หรือทีร่ จู กั กันดี คือแบตเตอรีห่ รือพาวเวอรแบงก ขนาดใหญ นับเปนเทคโนโลยีที่มีความจําเปนสําหรับระบบไฟฟาในอนาคต มีหนาที่ หลักคือ กักเก็บสะสมพลังงานสวนเกินที่ผลิตได เพื่อนํามาใชในยามจําเปน สําหรับ รักษาสมดุลของการผลิตกับการบริโภคพลังงานทีเ่ กิดขึน้ โดยเทคโนโลยีระบบกักเก็บ พลังงาน แบงเปน 2 กลุมหลัก ไดแก 1. เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานสําหรับ โรงไฟฟา ชวยใหการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทนมีเสถียรภาพมากขึ้น และ 2. เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานสําหรับผูใชไฟฟา ไดแก บานพักอาศัย อาคาร สํานักงาน เพือ่ ใชบริหารจัดการการใชไฟฟาของตัวเอง กลาวคือ ระบบสามารถกักเก็บ ไฟฟาในชวงการผลิตที่มีตนทุนตํา และนําไฟฟาไปจายชวงที่มีตนทุนสูง ซึ่งผูใชไฟฟา

GreenNetwork November-December 2017


x¿¶Ã¸Ê ã ")5

6 6 +5 ''%

1 ä &6 & Ĝ E##Ĕ6B)4. 6 915 '4 ĀE##Ĕ6

1 x¿¶Ã¸Ê ÅÀò¸¶ ÊÄŶ¾Ä '4 5 A H ")5

6 1 {ʳúµ yºÃ¾ ")5

6 /%< A+é& 9I"öI "6E ę

พลังงาน เปนตน สําหรับการรับซื้อไฟฟาในลักษณะ Competitive Bidding ใชอัตรา FiT เดียวแขงกันทุกประเภทเชื้อเพลิง กําหนดวันจายไฟฟาเขาระบบเชิงพาณิชย (SCOD) ภายในป 2563 โดยกระทรวงพลังงานไดจัดทําอัตราการรับซื้อไฟฟา FiT สําหรับ SPP Hybrid Firm ซึ่ ง พิ จ ารณาต น ทุ น การผลิ ตไฟฟ า แบบผสมผสานหลายประเภทเชื้ อ เพลิ ง บนพื้นฐานเชื้อเพลิงที่มีศักยภาพในการดําเนินการผลิตไฟฟาในรูปแบบ Firm และ สรุปอัตรารับซื้อไฟฟาในรูปแบบ FiT สําหรับ SPP Hybrid Firm ไดดังนี้ กําลังผลิต (เมกะวัตต)

1 ¾²ÃÅ vºÅº¶Ä ¥ A%;1 15 'è&4

สามารถเลือกที่จะใชไฟฟาที่เก็บสะสมไวแทนการซื้อไฟจากระบบในชวงพีก เพื่อชวย ลดภาระคาใชจา ยของผูใ ชไฟฟาได เปนตน บทบาทสําคัญอีกประการคือ ชวยสนับสนุน ยานยนตไฟฟา (Electric Vehicle : EV) โดยเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานสามารถ ตอบโจทยขอ จํากัดของแบตเตอรีส่ าํ หรับยานยนตไฟฟา ใหสามารถใชงานไดในระยะทาง ที่ไกลมากขึ้น สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) โดยกองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษ พลังงาน ไดสนับสนุนใหมีการศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยีดังกลาวในดานตางๆ โดยนํารองการใชงานในดานความมั่นคงและเมื่อเกิดภัยพิบัติ ใชสํารองไฟในนิคม อุตสาหกรรม การกักเก็บไฟฟาที่ผลิตจากพลังงานทดแทน ในพื้นที่หางไกล ตลอดจน ใชในยานยนตไฟฟา ซึง่ จะสรางความเขมแข็งดานการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีระบบ กักเก็บพลังงาน ตลอดจนหวงโซคุณคา เพื่อสรางฐานการพัฒนาเทคโนโลยีระบบ กักเก็บพลังงานใหมคี วามเขมแข็งและแขงขันไดในระยะยาว โดยมอบหมายใหสาํ นักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เปนผูบริหารจัดการโครงการ 3. SPP Hybrid Firm สงเสริมระบบโรงไฟฟารายเล็ก จากพลังงานหมุนเวียน เพือ่ ความมัน่ คงดานพลังงานเปนการเปดใหมกี ารผลิตไฟฟาแบบผสมผสานใชเชือ้ เพลิง ไดมากกวา 1 ประเภท ทั้งพลังงานจากธรรมชาติ เชน แสงอาทิตย ลม กับพลังงาน ชีวภาพ เชน ชีวมวล กาซชีวภาพ และสามารถผลิตพลังงานไฟฟาไดตลอดเวลา เพื่อ ลดความผันผวนของพลังงานทดแทน สรางความมัน่ คงตอระบบไฟฟา โดยมีเปาหมาย การรับซื้อไฟฟาทั่วประเทศ 300 เมกะวัตต เปนโรงไฟฟาขนาดกําลังการผลิต 10-50 เมกะวัตต นโยบายดังกลาวเปนการสงเสริมการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน เพือ่ ให มีการใชทรัพยากรภายในประเทศใหเกิดประโยชนสูงสุด ซึ่งจะชวยลดการพึ่งพาการ นําเขาพลังงาน และเพิ่มความมั่นคงดานพลังงาน โดยการพิจารณาอัตรารับซื้อไฟฟา จากพลังงานหมุนเวียนในรูปแบบ Feed-in-Tariff (FiT) ที่ 3.66 บาทตอหนวย สําหรับ ผูผ ลิตไฟฟารายเล็ก แบบ SPP Hybrid Firm โดยกําหนดเงือ่ นไขไวดงั นี้ คือ ใชสาํ หรับ การเปดรับซือ้ รายใหมเทานัน้ และขายเขาระบบเปน SPP ขนาดมากกวา 11 เมกะวัตต แตไมเกิน 50 เมกะวัตต โดยสามารถใชเชื้อเพลิงไดมากกวาหรือเทากับ 1 ประเภท โดยไมกําหนดสัดสวน ทั้งนี้อาจพิจารณาใชระบบกักเก็บพลังงาน (ESS) รวมได และตองเปนสัญญา ประเภท Firm กับ กฟผ. เทานั้น (เดินเครื่องผลิตไฟฟา 100% ในชวง Peak และใน ชวง Off-peak ไมเกิน 65% โดยอาจต่ํากวา 65% ได ทั้งนี้ ใหเปนไปตามที่ กกพ. กําหนด) นอกจากนีย้ งั หามใชเชือ้ เพลิงฟอสซิลมาชวยในการผลิตไฟฟา ยกเวนชวงการ เริ่มตนเดินเครื่องโรงไฟฟา (Start up) เทานั้น และยังตองมีแผนการจัดหาเชื้อเพลิง และตองมีแผนการพัฒนาเชื้อเพลิงใหมเพิ่มเติมใชพื้นที่รวมดวย เชน การปลูกพืช 37

FiT (บาท/หนวย) ระยะเวลาสนับสนุน (1) (ป) FiTF FiTV,2560 FiT

SPP Hybrid Firm กําลังผลิตติดตั้ง 10-50 เมกะวัตต 1.81 1.85 3.66 20 ป หมายเหตุ อัตรา FiT จะใชสาํ หรับโครงการทีจ่ า ยไฟฟาเขาระบบภายในป 2560 โดยภายหลัง จากป 2560 นัน้ อัตรา FiTV จะเพิม่ ขึน้ ตอเนือ่ งตามอัตราเงินเฟอขัน้ พืน้ ฐาน (Core Inflation)

4. Smart Cities เมืองอัจฉริยะ เพื่อคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ดีขึ้น และ เป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ ม กองทุ น เพื่ อ ส ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานได ส นั บ สนุ น งบประมาณใหกับมูลนิธิอาคารเขียวไทย ดําเนินโครงการสนับสนุนการออกแบบ เมืองอัจฉริยะ (Smart Cities - Clean Energy) เพื่อสนับสนุน หนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ หนวยงานสวนทองถิน่ มหาวิทยาลัย องคกรเอกชน รวมโครงการออกแบบ และพัฒนาเมือง ที่ ใหความสําคัญกับการพัฒนารูปแบบและโครงสรางของเมือง การสงเสริมการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม และการสงเสริมการใชพลังงาน ทดแทน โดยจะมีการจัดตัง้ คณะกรรมการประเมินเกณฑ และจะประกาศใหยน่ื ขอเสนอ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณสําหรับการออกแบบเมืองอัจฉริยะ ซึ่งใหความ สําคัญกับ 3 องคประกอบหลัก คือ การจัดรูปเมืองและโครงสรางพื้นฐานหลัก ของเมือง เชน โครงสรางระบบขนสง ระบบราง การสงเสริมการอนุรกั ษพลังงานและ สิ่งแวดลอมในทุกรูปแบบ และการสงเสริมการใชพลังงานทดแทนใหเต็มศักยภาพ ประกอบกับการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและขอมูลมาชวยในการบริหารจัดการ เพื่อ จะเปนการชวยลดปญหาดานสิ่งแวดลอม รวมทั้งยังเปนการรวมสงเสริมการพัฒนา นวัตกรรมเชิงสรางสรรคอีกดวย โดยผลที่คาดวาจะไดรับ คือจะไดแนวทางในการ พัฒนาเมืองของชุมชนที่มีผลตอการลดความตองการพลังงาน และการใชพลังงาน สูงสุด สงเสริมการใชพลังงานทดแทน ลดปญหาสิ่งแวดลอม นําไปสูการพัฒนาอยาง ยั่งยืน เพื่อรองรับการเติบโตของเมือง และเกิดการเรียนรูดานพลังงาน สูชุมชนผาน กระบวนการทางความคิดสรางสรรค การสงเสริมการดําเนินงานในทุกเรือ่ งที่ไดกลาวในขางตน ทัง้ เรือ่ งการสงเสริม ยานยนตไฟฟา (Electric Vehicle) การพัฒนาระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) ผูผ ลิตไฟฟาขนาดเล็กจากพลังงานหมุนเวียนแบบผสมผสาน (SPP - Hybrid) และการพัฒนาเมืองชุมชน สูเ มืองอัจฉริยะ (Smart Cities) ทุกเรื่องลวนเปนการวาง รากฐานการพัฒนาพลังงานในอนาคต และใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการ บริหารจัดการ หากทุกเรื่องดําเนินการไดตามเปาหมายที่วางไวนอกจากจะเปนการเพิ่ม ศักยภาพของประชาชนทุกภาคสวนแลว ยังลดการนําเขาพลังงาน และลดการใช คารบอน ใหกับโลกไดอีกทางหนึ่งดวย ที่มา : ศูนยประชาสัมพันธกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Article รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล ดร.ณัฐวิญญ ชวเลิศพรศิยา รัฐพล เจียวิริยบุญญา

ฝนเยอะ-ขยะล น : ป ญหา (ที่กําลังจะ) เรื้อรังของกรุงเทพฯ (1) “ฝนตก-นํ้าทวม” ดูจะเปนคําที่มาคูกันในประเทศไทยโดยเฉพาะในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร โดยปจจุบนั “ยิง่ ทิง้ ยิง่ ทวม” ก็เปนอีกการรณรงคทเี่ ห็นกันทัว่ ไป ในชวงหลายปที่ผานมา เราจะเห็นไดวา ฝนที่ตกลงมานั้นตกหนักและนานกวาแต กอนมาก จะดวยเหตุผลดานการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ฤดูกาล มรสุม ฯลฯ แตปริมาณนํา้ ฝนทีต่ กสะสมในพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ ก็ไดทาํ ใหเกิดนํา้ ทวมขัง (หรือนํา้ รอ การระบาย) รถราไมสามารถสัญจรไปมาได หรือแมกระทัง่ ฝนตกหนักมีนาํ้ ทวมขัง สูงจนจมรถเกงเล็กไปกวาครึง่ คันก็เกิดขึน้ อยูบ อ ยครัง้ แตลา สุดคําวา “ฝนตก-นํา้ ทวม” คงจะไมเพียงพอ ตองเพิม่ เติมวาเปน “ฝนตก-นํา้ ทวม ขยะเกลือ่ น” ถอยคําดังกลาว คงจะพิสจู นไดชดั เจนจากภาพขาวทางสือ่ โซเชียลทีม่ ใี หเห็นไดไมยาก จนทําใหเกิด ความสงสัยวาขยะเหลานัน้ มาจากทีใ่ ด บางคนก็วา ถังขยะลม ขยะลอยออกมานอก ถังบาง หรือเปนขยะทีส่ ะสมอยูต ามทอระบายนํา้ บาง พอนํา้ ทวมขยะพวกนีก้ ถ็ กู ดัน ออกมา พอนํา้ ลดก็เลยกองอยูต ามถนนเต็มไปหมด และแนนอนวาขยะเหลานีถ้ กู มอง วาเปนตนเหตุทาํ ใหเกิดการอุดตันขวางทางนํา้ จนทําใหเกิดนํา้ ทวม ซึง่ ปจจัยทีท่ าํ ให เกิดนํา้ ทวมยังมีอกี หลายประการ ซึง่ แบงออกเปนปจจัยธรรมชาติ (1-3) และปจจัย เชิงพฤติกรรม (4-7) ดังนี้ ฝนตก ปริมาณฝนตกในปจจุบนั มีแนวโนมทีจ่ ะตกหนักและยาวนานขึน้ ทําใหไมสามารถระบายนํา้ ฝนไดทนั จึงเกิดนํา้ ทวมขังหรือนํา้ รอการระบาย (คืนวันที่ 13-14 ตุลาคม ทีผ่ า นมา มีปริมาณฝนตกสูงสุด 120 และ 200 มิลลิเมตรตอชัว่ โมง บริเวณฝง ธนบุรี และฝง กรุงเทพฯ ตามลําดับ ซึง่ มากกวาศักยภาพการระบายนํา้ ที่ ออกแบบไวที่ 60 มิลลิเมตรตอชัว่ โมง) ซึง่ จะเห็นไดวา ถึงแมฝง ธนบุรี จะมีปริมาณ ฝนตกสูงกวา แตกลับไดรับผลกระทบจากนํ้าทวมขังที่ตํ่ากวาอยางชัดเจน มวลนํา้ จากทีอ่ นื่ ปญหานํา้ ทวมในบางครัง้ ไมไดมสี าเหตุมาจากการเกิด ฝนตกในพืน้ ที่ แตเปนมวลนํา้ ทีไ่ หลมาตามแมนาํ้ ลําคลอง หรือทางนํา้ ทีเ่ ชือ่ มตอกัน จากภาคเหนือสูภ าคกลางเพือ่ จะไหลออกสูท ะเล เมือ่ มวลนํา้ มีปริมาณมากอาจทําให เกิดนํ้าลนตลิ่งทวมพื้นที่ที่ไหลผาน ดังเชนเหตุการณนํ้าทวมในป 2554 ข อจํากัดของพื้นที่ สภาพแวดล อม และระบบระบายนํ้า กรุงเทพฯ เปนพืน้ ทีท่ มี่ ลี กั ษณะเปนแองกระทะเมือ่ ฝนตกจึงเกิดการสะสมของนํา้ ฝนในพืน้ ทีต่ าํ่ อีกทั้งระบบระบายนํ้าในเขตกรุงเทพฯ ก็ไมสามารถใชงานไดเต็มประสิทธิภาพทั้ง จากปญหาทอระบายนํ้าทรุดตัว เกิดตะกอนดินสะสม รวมไปถึงระดับนํ้าขื้นนํ้าลง ในแตละชวงเวลา ก็ทําใหเกิดขอจํากัดในการระบายนํ้าไดเชนกัน

38

กิจกรรมชุมชน ชุมชนเมืองอยางกรุงเทพฯ ผลิตขยะในปริมาณสูงถึง

1.1 กิโลกรัม/คน/วัน (กลายเปนขยะมูลฝอยกวา 10,000 ตันตอวัน) เนื่องจาก กรุงเทพฯ มีผูคนอาศัยอยูอยางหนาแนนทั้งคนที่อยูอาศัยในเมืองเองและคนตาง จังหวัดที่เขามาทํางานและศึกษาเลาเรียน อีกทั้งยังมีสถานที่ทองเที่ยวมากมาย ที่เปนที่สนใจของนักทองเที่ยว ซึ่งกิจกรรมเหลานี้ลวนกอใหเกิดขยะปริมาณมาก เมื่อมีการจัดการขยะไดไมทั่วถึงจึงเกิดการสะสมอุดตันขวางทางนํ้าในที่สุด การก อสร าง/ปรับเปลี่ยนสภาพพื้นที่ พื้นที่ที่เคยเปนจุดรับนํ้าหรือ เปนรองนํา้ ทีใ่ ชระบายลงสูล าํ รางสาธารณะถูกปรับปรุงกลายเปนอาคารบานเรือน ทําใหนาํ้ ทีเ่ คยกักขังในพืน้ ทีด่ งั กลาว (เดิมไมมผี คู นอาศัยอยูใ นพืน้ ที)่ ไหลไปรวมกัน ในบริเวณพืน้ ทีแ่ องกระทะในเขตเมือง ทําใหดเู หมือนกับวานํา้ ฝนมีปริมาณมาก แต แทจริงแลวนํา้ ฝนเพียงแคยา ยจากทีห่ นึง่ ไปทวมอีกทีห่ นึง่ เทานัน้ เอง ในสวนของการ กอสรางที่กีดขวางรองนํ้าธรรมชาตินั้นสงผลใหนํ้าระบายลงสูลํารางสาธารณะได ชาลง จึงเกิดนํ้ารอระบายทวมขังในพื้นที่ การทํางานของหน วยงานและเจ าหน าที่ ดวยจํานวนเจาหนาทีผ่ ปู ฎิบตั ิ งานที่มีอยูจํากัด ขาดแคลนงบประมาณ และแนวทางในการบริหารจัดการแบบ บูรณาการ ขาดการวางแผน/คาดการณลว งหนา ทําใหเมือ่ เกิดฝนตกหนักจนทําให เกิดนํา้ ทวมการเขาแกไขปญหาจึงเปนไปอยางทุลกั ทุเล ทําไดเทาทีค่ วามสามารถและ อุปกรณที่มีจะเอื้ออํานวย เหตุการณนํ้าทวมจึงสงผลรุนแรงอยางที่เราไดรับทราบ กัน เมือ่ พิจารณาจากทีบ่ างถนนใชเวลาการระบายกวา 9 ชัว่ โมง ซึง่ ตอกยํา้ ขอจํากัด ของการทีท่ กุ ภาคสวนในสังคมไมชว ยเหลือกัน โดยปลอยใหเปนหนาทีข่ องหนวยงาน หรือเจาหนาที่รับผิดชอบเปนหลัก ทัศนคติของประชาชน ขยะในทอระบายนํ้าเปนอีกปญหาที่ทวีความ รุนแรงมากขึ้น การเจริญเติบโตของเมืองทําใหความหนาแนนของประชากรเพิ่ม มากขึน้ แนนอนวาปริมาณขยะก็ยงิ่ เพิม่ มากขึน้ ตามไปดวย แตเรือ่ งปริมาณขยะนัน้ อาจไมใชปญหาที่แทจริง เนื่องจากเมืองใหญทั่วโลกลวนมีการสรางปริมาณขยะ ตอคนตอวันสูงอยูแ ลว แตขนึ้ อยูก บั การจัดการขยะและมาตรการรับมือขยะควรถูก รณรงคอยางจริงจัง ดังตัวอยางในอดีต เชน โครงการตาวิเศษ เพื่อสรางจิตสํานึก ใหประชาชนหยุดการทิ้งไมลงถังหรือแอบทิ้งในที่ตางๆ ซึ่งทําใหเกิดปญหาในการ รวบรวมและเก็บขนคัดแยกขยะเพือ่ นําไปใชประโยชนตอ ไป อยางไรก็ดี การตรวจสอบ และบํารุงรักษาระบบและอุปกรณที่ใชในการระบายนํ้าใหอยูในสภาพสมบูรณ พรอมใชงานก็เปนเรือ่ งทีไ่ มควรละเลย เชน การกําจัดใบไมทสี่ ะสมอุดตันในระบบ ตะแกรง ทอระบายนํ้าและเครื่องสูบนํ้า เปนตน

GreenNetwork November-December 2017


การจัดการนํ้า/นํ้าทวมในกรุงเทพฯ อยูในความรับผิดชอบของสํานักการ ระบายนํา้ กรุงเทพมหานคร โดยการแกไขปญหานํา้ ทวมขังเนือ่ งจากฝนตกในพืน้ ที่ ปดลอม กรุงเทพมหานครไดกอสรางระบบระบายนํ้าเพื่อเรงระบายนํ้าทวมขังใน พืน้ ทีอ่ อกสูแ มนาํ้ เจาพระยาและอาวไทยโดยเร็ว โดยปจจุบนั ระบบระบายนํา้ สามารถ รองรับปริมาณฝนตกสะสมรวมไดไมเกิน 80 มิลลิเมตรใน 1 วัน (ใน 1 วัน โดยเฉลีย่ แลวฝนตก 3 ชัว่ โมง) หรือแปลงเปนความเขมของฝนไมเกิน 60 มิลลิเมตรตอชัว่ โมง โดยประกอบดวยระบบตางๆ ดังนี้ z คูและคลองระบายนํา ้ จํานวนทัง้ สิน้ 1,682 คลอง ความยาวรวมประมาณ 2,604 กิโลเมตร มีการดําเนินการขุดลอกเปดทางนํา้ ไหล เก็บขยะวัชพืชและผักตบชวา เปนประจําทุกป เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการรองรับและระบายนํา้ ในคลองเมือ่ มีฝนตก z ท อระบายนํ้า ความยาวประมาณ 6,368 กิโลเมตร แบงเปนถนนสาย หลัก 1,950 กิโลเมตรในตรอกและซอย ความยาวประมาณ 4,418 กิโลเมตร กรุงเทพมหานครดําเนินการลางทําความสะอาดทอระบายนํา้ เปนประจําทุกป เพือ่ ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพการระบายนํา้ จากถนนและบานเรือนประชาชนใหระบายลงสู ทางระบายนํ้าไดเร็วยิ่งขึ้น z สถานีสบ ู นํา้ ประตูระบายนํา้ บอสูบนํา้ เพือ่ ระบายนํา้ ทวมขังออกสูแ มนาํ้ เจาพระยา โดยประกอบดวยสถานีสูบนํ้า 176 แหงประตูระบายนํ้า 230 แหง และ บอสูบนํ้า 255 แหง z อุโมงค ระบายนํา ้ ขนาดใหญ ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพการระบายนํา้ บริเวณ ทีม่ ปี ญ  หานํา้ ทวมเนือ่ งจากเปนทีล่ มุ ตํา่ และระบบระบายนํา้ ในพืน้ ที่ เชน ทอระบายนํา้ คู คลอง มีขอจํากัดไมสามารถนํานํ้าทวมขังออกจากพื้นที่ไปสูแมนํ้าเจาพระยาได โดยเร็ว จึงไดมกี ารกอสรางอุโมงคระบายนํา้ ใตดนิ ขนาดใหญ 5 จุด เพือ่ เรงระบาย นํ้าออกสูแมนํ้าเจาพระยาโดยไมตองระบายผานระบบคลองตามปกติ และชวย ลดระดับนํ้าในคลองระบายนํ้าสายสําคัญใหมีระดับตํ่าไดรวดเร็ว ซึ่งเปนการเพิ่ม ประสิทธิภาพการระบายนํ้าในคลองได นอกจากนี้อุโมงคระบายนํ้ายังชวยในการ เจือจางนํ้าเนาเสียในคลองสําหรับพื้นที่ชุมชนชั้นในในฤดูแลงโดยไมสงผลกระทบ กับปญหานํ้าทวมในคลองระบายนํ้าในพื้นที่ไดอีกดวย อยางไรก็ตาม อุโมงคขนาดใหญ หรืออุโมงคยกั ษ 5 แหงนัน้ ไมไดถกู ออกแบบ ใหระบายนํา้ จากถนน แตออกแบบใหรบั นํา้ จากคูคลองระบายนํา้ ลดระดับนํา้ ในคลอง เพื่อเรงใหเกิดการระบายนํ้าออกจากระบบไดรวดเร็วขึ้น ซึ่งการที่อุโมงคยักษจะ สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและชวยปองกันปญหานํ้าทวมขังไดนั้น จําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองอาศัยการทํางานทีส่ อดประสานกันเปนระบบ ตัง้ แตตะแกรง รับนํ้า ทอระบายนํ้า คูคลองระบายนํ้า และสถานีสูบนํ้า ประตูระบายนํ้า บอสูบนํ้า ซึง่ จะเห็นไดวา ขยะมูลฝอยและทัศนคติของประชาชน มีความสําคัญอยางยิง่ เผลอๆ อาจจะมากกวาการติดตัง้ อุปกรณหรือระบบตางๆ เนือ่ งจากถาเราไมสามารถทําให

39

มวลนํา้ เหลานัน้ ไหลเขาสูร ะบบระบายได ไมวา จะมีระบบระบายราคาแพงอีกกีร่ ะบบ เราก็จะเจอปญหานํ้าทวมอยูดี ดังภาพแสดงดานลาง

ภาพรวมระบบระบายนํ้าในกรุงเทพมหานคร https://suwath.wordpress.com/2011/10/19/kingproject/

ภาพระบบปองกันนํ้าทวมกรุงเทพมหานคร https://suwath.wordpress.com/2011/10/19/kingproject/

GreenNetwork November-December 2017


ทัง้ นี้ เราพอจะสรุปความสัมพันธระหวางการเคลือ่ นตัวของขยะและมวลนํา้ เมือ่ เกิดฝนตกหนักไดกลาวคือ เมือ่ เกิดฝนตกหนักเปนเวลานานในพืน้ ทีจ่ ะเกิดนํา้ รอ การระบายในพื้นที่และตามถนนหนทางทั่วไป แตมีความเสี่ยงที่จะเกิดการทวมขัง ในพืน้ ทีเ่ ปราะบางหลายจุด ไดแก พืน้ ทีน่ าํ้ ทวมใหมเนือ่ งจากเกิด การเปลีย่ นแปลง แหลงรับนํา้ หรือทางระบายนํา้ เนือ่ งจากสิง่ กอสรางของมนุษย และบริเวณทีม่ กี จิ กรรม ของมนุษย จนทําใหเกิดการอุดตันของระบบระบายนํ้าหรือทําใหระบบระบายนํ้า ทํางานไดไมเต็มประสิทธิภาพ รวมไปถึง พื้นที่ที่ระบบระบายนํ้าไมไดรับการดูแล อยางเหมาะสม ซึ่งการทวมขังของนํ้าฝนนี้ทําใหเกิดการสะสมตัวของขยะตามจุด ตางๆ ดังที่ไดกลาวมา และเมื่อรวมกับขยะที่เคลื่อนตัวมากับ มวลนํ้าที่ไหลมาจาก พื้นที่อื่นแลวจึงทําใหเกิดการสะสมตัวของขยะในพื้นที่ที่เปนแองกระทะ หรือเกิด การพัดพาออกสูป ากแมนาํ้ หรือทะเล และมีบางสวนทีเ่ คลือ่ นตัวไปยังพืน้ ทีอ่ นื่ ทีเ่ กิด เหตุการณนํ้าทวมขังเชนกัน และกลายเปน วงจรความสัมพันธระหวางขยะและ มวลนํ้า ที่กลายเปนเรื่องเดียวกันจนแยกออกกันไดยากในปจจุบัน โดยหากเราติดตามรายงานขาวนํ้าทวมในชวงวันที่ 13-14 ตุลาคม 2560 เราจะเห็นวายานเศรษฐกิจหลายแหงในกรุงเทพฯ ไมวา จะเปนสุขมุ วิท รัชดาภิเษก ซอยอารียส มั พันธ เกิดนํา้ ทวมขังพรอมกับมีขยะลอยอยูเ หนือผิวนํา้ และเมือ่ ระดับ นํ้าลดลงขยะจึงกองอยูบนถนนและมีปริมาณมากจนนาตกใจ ขยะเหลานี้เกิดจาก กิจกรรมของชุมชน ไมวา จะเปนการใชชวี ติ ประจําวัน การกอสรางอาคาร ขยะทีเ่ ก็บ ทิ้งไมหมด รวมถึงเศษกิ่งไมใบไมตางๆ ซึ่งสะสมอยูตามซอกมุมถนน พื้นที่รกราง หรือแมแตภายในทอระบายนํา้ เมือ่ เกิดนํา้ ทวมจึงไมไดมเี พียงมวลนํา้ เทานัน้ แตยงั มี มวลขยะปรากฏขึน้ พรอมกันดวย ขยะเหลานีเ้ องทีส่ รางปญหาใหกบั ระบบระบายนํา้ โดยตรง จากการกีดขวางทางนํ้าและเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดนํ้าทวม เราอาจ จัด 5 อันดับของสาเหตุนาํ้ ทวมทีม่ คี วามเกีย่ วของกับขยะมูลฝอยในพืน้ ทีเ่ มือง ดังนี้ 1. ขยะมูลฝอยจากกิจกรรมของมนุษย/ชุมชน (ที่ไมไดรับการจัดเก็บและ จัดการอยางเหมาะสม) 2. เศษขยะทีท่ บั ถมหรือกีดขวางระบบรับนํา้ (บริเวณฝาตะแกรงหรืออุดตัน ทอรับนํ้าเพื่อสงเขาสูระบบ) 3. ขยะจากการกอสรางและการปรับสภาพ ซึ่งมีการจัดวางบริเวณรอบๆ พื้นที่กอสราง

4. ขยะมูลฝอยทีส่ ะสมในระบบระบายนํา้ (ตามคูคลองและหนาประตูระบาย นํ้า) ซึ่งขัดขวางการระบายนํ้าโดยรวมออกจากพื้นที่ 5. ขยะมูลฝอยที่สงผลกระทบตอศักยภาพหรือสภาพการทํางานของระบบ หรืออุปกรณระบายนํา้ อาทิ ปม นํา้ ไมสามารถทํางานไดเต็มประสิทธิภาพ กีดขวางการเขาไปทําหนาที่ของเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ เปนตน

ภาพการเกิดการสะสมของขยะและมวลนํ้าที่ทําใหเกิดนํ้าทวมขัง อานตอฉบับหนา

40

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

‘บ านทับไฮ’ ชุมชนต นแบบ

เปลี่ยนขยะเป นพลังงานทดแทน ผลิตแก สชีวภาพใช ในครัวเรือน

เมือ่ 5 ปทผี่ า นมา หมูบ า นบานทับไฮ อําเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ประสบ มลภาวะจากการเลีย้ งสัตว มูลสัตวโดยเฉพาะสุกร ซึง่ เปนสัตวเศรษฐกิจของชุมชน กอปญหามลภาวะทางกลิน่ และเปนแหลงเพาะพันธุข องเชือ้ โรค ปนเปอ นลงสูแ หลง นํา้ จึงเปนภาระของฟารมหรือผูป ระกอบการในชุมชนทีจ่ ะตองมีคา ใชจา ยทีเ่ พิม่ สูง ขึน้ เพือ่ ดูแลและจัดการปญหาเหลานี้ ไมใหสง ผลกระทบตอปญหาสุขภาพของคน ในชุมชน จากปญหาดังกลาว ผูใ หญบา นและชาวบานรวมกันหาทางออกดวยการคิดคน บอแกสชีวภาพ เริม่ จากการศึกษาหาขอมูลรวมไปถึงการขอความรูจ ากนักวิชาการ ทองถิน่ เพือ่ นํามาสูก ารจัดการดานพลังงานทดแทนและลดขยะในชุมชน โดยบริษทั ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. ซึ่งมีโครงการ สินภูฮอมสํารวจและผลิตกาซธรรมชาติตั้งอยูในจังหวัดอุดรธานี ไดรวมกับชุมชน ในการแกปญหาดังกลาว ดวยการสนับสนุนการจัดทําโครงการบอแกสชีวภาพ (Bio-Gas) เพื่อผลิตกาซใชในชีวิตประจําวัน ที่จะชวยพลิกวิกฤตเปนโอกาสใหแก ชุมชน กิตติศักดิ์ หิรัญญะประทีป ผูจัดการอาวุโส โครงการรวมทุนบนฝง (ประเทศไทย) ปตท.สผ. กลาววา การสนับสนุนการจัดทําโครงการบอแกสชีวภาพ สงเสริมใหชาวบานคัดแยกขยะในครัวเรือน จัดทําปุย หมักจากเศษอาหาร และกําจัด สิง่ ปฏิกลู จากฟารมสัตว ดวยการจัดทําบอกาซชีวภาพ ซึง่ นํามาสูก ารจัดการพลังงาน ทดแทนในชุมชน ชวยลดปญหาขยะ ประหยัดคาใชจายในการใชเชื้อเพลิงสําหรับ ชุมชนและโรงเรียนในหมูบ า น นับเปนการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และพึ่งพาตนเองมาปรับใชไดอยางเปนรูปธรรม โดยโครงการดังกลาวไดรับ ความรวมมือจากชาวบานเปนอยางดี จนสามารถพลิกฟน วิกฤตปญหาขยะในชุมชน ใหกลายเปนโอกาสได จําทําใหปจจุบันมีชมุ ชน 112 ครัวเรือนเขารวมในโครงการ ผลิตแกสชีวภาพ สําหรับบอแกสชีวภาพที่ใชติดตั้งในชุมชน มีตนทุน 8,000 บาทตอบอ โดย ขนาดบอกวาง 1.7 เมตร ยาว 4 เมตร และขุดลึกจากพื้นดิน สวนหัวบอประมาณ 0.8 เมตร ลาดเทไปยังสวนทายบอลึก 1 เมตร สามารถผลิตแกสชีวภาพที่ใชงาน ไดทั้งกับฟารมขนาดใหญและขนาดยอม รวมไปถึงโรงเรือนเลี้ยงสัตวขนาดเล็ก ของชาวบานในชุมชน โดยประยุกตใชวสั ดุทหี่ าไดในทองถิน่ มาเปนอุปกรณ สําหรับ

41

กักเก็บมูลสัตวและหาจุดขุดหลุมสําหรับบอกาซ จากนัน้ ทําถุงหมักกาซชีวภาพจาก พีวซี ี ขนาด 7 ลูกบาศกเมตรตอหลุม นํามูลสัตวและขยะทีแ่ ยกไวมาหมักจนไดกา ซ มีเทนที่นําไปเปนเชื้อเพลิงได เฉลี่ยวันละ 2-3 ลูกบาศกเมตรตอหลุม สามารถใช ทดแทนกาซแอลพีจี (LPG) ไดประมาณเดือนละ 1 ถัง ชวยชาวบานประหยัดเงิน คากาซไดประมาณ 300-400 บาทตอครัวเรือน อีกทั้งเศษมูลสัตวที่เหลือจากบอ กาซชีวภาพยังสามารถนํามทําปุยหมัก ชวยลดคาใชจายจากการใชปุยเคมีไดถึง 300 บาทตอเดือน ละมอม สิทธิศาสตร ผูใ หญบา น บานทับไฮ ตําบลแสงสวาง อําเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี กลาววา โครงการกําจัดมูลสัตวนํามาผลิตกาซชีวภาพเพื่อใชเปน พลังงานทดแทน เริ่มขึ้นในป 2554 โดยมี 7 ครัวเรือนที่เขารวม เมื่อประสบความ สําเร็จ ก็มคี นสนใจมากขึน้ เพราะเห็นวาใชไดจริง ทําใหคนในชุมชนเกิดความรูส กึ อยากมีสว นรวม ปจจุบนั มีครัวเรือนในบานทับไฮ ทีใ่ ชบอ กาซชีวภาพจํานวน 60 บอ และคาดวาจะมีชาวบานทําบอกาซเพิ่มมากขึ้น โครงการดังกลาวนอกจากจะชวย แกปญหากลิ่นเหม็นของมูลหมูและขยะจากเศษอาหารแลว ยังไดเชื้อเพลิงมาใช เพือ่ ประกอบอาหารสําหรับสมาชิกในครอบครัว ชวยประหยัดคาใชจา ยในครัวเรือน นอกจากนี้บอแกสชีวภาพยังถูกติดตั้งที่โรงเรียนในชุมชนและวัดอีกดวย สําหรับโรงเรียนไดเริ่มจัดทําบอกาซชีวภาพมาตั้งแตป 2557 ปจจุบันมีบอกาซ ชีวภาพจํานวน 2 บอ ทีผ่ ลิตกาซมีเทนจากเศษอาหารและหญาเนเปยรสบั โดยไดรบั การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ และงบประมาณจาก ปตท.สผ. ชวยลดภาระคาใชจาย ของกาซหุงตม หากเทียบกับการซือ้ กาซหุงตมเดือนละถัง ในระยะเวลา 3 ปทผี่ า นมา โรงเรียนสามารถประหยัดงบประมาณการซื้อกาซหุงตม มากกวา 14,000 บาท การรวมมือจากภาคประชาชน ทําใหจากเดิมบอแกสมีเพียงไมกี่บอ จน ปจจุบันไดเพิ่มจํานวนมากขึ้น ดวยการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ในการดําเนินงานดวยการ พึง่ พาตัวเองและเห็นคุณคาจากสิง่ ทีม่ แี ละใชใหเกิดประโยชนสงู สุด จนบานทับไฮได เปนชุมชนตนแบบที่สามารถแกไขปญหาดานขยะและเปลี่ยนเปนพลังงานทดแทน ทัง้ ยังเปนหมูบ า นตนแบบทีพ่ รอมสงตอองคความรูเ หลานีไ้ ปสูช มุ ชนใกลเคียง และ พัฒนาใหเปนชุมชนพอเพียงอยางยั่งยืน

GreenNetwork November-December 2017


+5 ''%")5

6 .9A é&+

SPECIAL

Scoop

.=ĘA,'- 8 .'ę6 .'' Ĝ1&Ę6 &5I &;

กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล

Green Energy Innovation Harmonising Creative Economy and Sustainability

“Taiwan Green Industry and Photovoltaic-PV Exhibition Trip”, October 18-20, 2017 ชวงวันที่ 18-20 ตุลาคม ศกนี้ ที่ศูนยการประชุมและนิทรรศการไทเป กองบรรณาธิการ ไดรับเชิญใหไปรวมชมงานแสดงสินคาอุตสาหกรรมนานาชาติ พลังงานสีเขียวและพลังงานแสงอาทิตยของไตหวัน ทีม่ กี ารแสดงทีย่ ง่ิ ใหญผสมผสาน ถึง 3 งานไดแก โลกพลังงานสีเขียว (TiGiS) งานอุตสาหกรรมโฟโตโวลตาอิก (PV Taiwan) และ งานระบบกรองอากาศและอนามัย (TIAP) งานแสดงนี้เปนงานใหญประจําป แสดงถึงอุตสาหกรรมพลังงานสีเขียวที่มี ความกาวหนาและไดนํามาประยุกตใชดานพลังงานของชาติและธุรกิจพลังงาน สีเขียว การแสดงของงานนี้จัดขึ้นโดย หนวยงานการสงเสริมการคาไตหวัน ชื่อ Taiwan External Trade Development Council (TAITRA) และรวมกับ อีกหลายสถาบันของชาติ ไดแก Taiwan Photovoltaic Industry Association (TPVIA), Expo Union Corporation and Well-supported by Different Industry Organizations and Authorities in the Countries Including the Industrial Technology Research Institute (ITRI) under the Commission of the Bureau of Energy, Ministry of Economic Affairs (MOEA) ภายในงานมีการจัดแสดงงานสัปดาหแหงพลังงานทดแทน มีการแสดง นวัตกรรมพลังงานทีม่ ศี กั ยภาพและประสิทธิภาพสูง เชือ่ มโยงแนวทางและเครือขาย ในการพัฒนาระดับโลกรวมกัน ที่ประสานงานเศรษฐกิจสังคมอยางยั่งยืน ในลาน ธุรกิจเทคโนโลยีพลังงานสีเขียว ซึ่งสืบสานมาถึง 11 ปแลว มีบูธและพาวิเลียนกวา 260 แหง ทีด่ งึ ดูดผูเ ขาชมมาจาก 25 ประเทศ และยังรวมไปถึงงานประชุมนานาชาติ

อีกถึง 20 เรื่อง สําหรับกลุมนักวิชาการและผูเชี่ยวชาญ รายละเอียดติดตามไดจาก www.pvtaiwan.com, www.greentaiwan.tw and www.tiap.com.tw

Taiwan President Tsai Ing-wen Speech @Opening Ceremony

พิธีเปดที่ดูจะเรียบงายแตมีบุคคลสําคัญเขารวมเต็มทุกที่นั่ง และไดรับเกียรติ สูงสุดจากประธานาธิบดีไตหวัน Tsai Ing-wen มาเปดงาน และแสดงวิสัยทัศนที่จะ นําพาประเทศไปสูการใชพลังงานทดแทนหรือพลังงานสีเขียวผลิตไฟฟาสูงถึง 20% ในป 2568 ซึง่ จะมีการใชพลังงานแสงอาทิตยผลิตไฟฟาถึง 1.52 กิกะวัตต (GW) และ เปนจดเปลี่ยนที่จะทําใหพลังงานของไตหวันเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วเปนเทาตัว

การแสดงศักยภาพขับเคลื่อนตลาดผลึกพลังงาน ที่โดดเด นและหลากหลาย

ไตหวันและอีกหลายประเทศทั่วโลก มีแนวโนมที่เดนชัดที่จะเติบโตอยางเร็ว ในการใชพลังงานทดแทนสีเขียวผลิตไฟฟาโดยเล็งไปทีพ่ ลังงานแสงอาทิตย อุตสาหกรรม ดานนี้จึงโดดเดนมากที่สุดในปนี้ และแสดงใหเห็นถึงคุณคาทางพลังงานสะอาดเพื่อ สุขภาพของชีวิตและสิ่งแวดลอมในสังคมคารบอนต่ํา ตามแผนงานและนโยบาย พลังงานทดแทนของประเทศ ไตหวันไดตั้งเปาหมายสูงกวาเทาตัวในการผลิตไฟฟา จากพลังงานแสงอาทิตยในปจจบัน และนําไปสูส ดั สวน 20% ของพลังงานสีเขียว ทีท่ าํ ให

ประธานาธิบดีไตหวัน ไช อิงเหวิน (Tsai Ing-wen) เปดงานแสดงอุตสาหกรรมสีเขียว TiGis และ โฟโตโวลตาอิก PV เซลลแสงอาทิตย 2017 สัปดาหแหงพลังงานทดแทน จัดโดย TAITRA , SEMI, TPVIA และอื่นๆ

42

GreenNetwork November-December 2017


การใชแผงเซลลแสงอาทิตยเพิ่มขึ้นแบบกาวกระโดด จาก 1.52 GW ในปนี้ ไปเปน 6.5 GW ในอีก 3 ป และจะเปน 20 GW ในเวลาอีก 8 ป จากการใชพลังงานทดแทนที่สูงถึง 27 GW ในอนาคตนั้น นับเปนการทาทายขบวนการผลิตและระบบเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมพลังงาน แสงอาทิตย การติดตั้ง การลงทุนมหาศาล งานแสดงนี้ ไดนําแนวทางหรือทางออกในการ แกปญ  หาไดอยางครบถวน และจะทําใหไตหวันขับเคลือ่ นไปสูจ ดเปลีย่ นเปนสังคมคารบอนตาํ่ ที่มีการใชัพลังงานทดแทน 20% ถานหิน 30% และกาซธรรมชาติ 50% ในการผลิตไฟฟา อยางสมบูรณ อุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตยของไตหวัน นับเปนอันดับสองของโลกทีผ่ ลิตและ พัฒนาเซลลแสงอาทิตย และแผงเซลลชนิดตางๆ ที่มีมาตรฐานและคุณภาพ ซึ่งปที่ 11 นี้ มีการแสดงมีนวัตกรรมใหมๆ มากมาย และไดเชื่อมโยงลานเทคโนโลยีของโลกเขาไว โฟโตโวลตาอิก หรือเรียกสั้นๆ วา PV นี้ ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง ทั้งแบบ ผลึกเดียวและหลายผลึก ทําใหเกิดแผงเซลลแสงอาทิตยชนิดใหม รวมไปถึงแบบทีผ่ ลิต พลังงานไดทั้งสองดานในเวลาเดียวกัน เพื่อสรางประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟาที่มี ประสิทธิภาพสูงถึงระดับ 21% ขึ้นไป ในทางการใชงานติดตั้งจริงที่เรียกวา แผง Passivated Emitter Rear Contact (PERC) มีการนําเสนออีกหลายรูปแบบและมี การประยุกตใช ทั้งบนหลังคา บนดิน และลอยบนน้ํา ครบระบบอุตสาหกรรมและ วิศวกรรมพลังงาน เปนการแสดงทีน่ า จดจําและนํามาเปนรูปแบบในการนําเสนอเพือ่ สรางศักยภาพในการพัฒนาอุตสาหรรมของประเทศตางๆ รวมถึงการประยุกตใช ทีเ่ หมาะสมในชนบทหางไกล เชน การสูบนา้ํ ขนาดเล็กทีม่ เี ทคโนโลยีอนิ เวอรเตอร เปนสินคาชนิดใหมๆ มากมาย นํามาแสดงไวใหเลือกอยางนาสนใจยิ่ง ควรได ติดตามอีกในปหนาอยางที่บริษั ทอุตสาหกรรมที่นํามาแสดงดังตอไปนี้ TSEC Corporation (www.tsecpv.com); Brave c&h Supply Co., Ltd. (www. bch.com.tw); Win Win Precision Technology Co., Ltd. (www. winaico.com) ; Chun Yu Works & Co., Ltd. (www.chunyu.com.tw); AU Optronics Corporation (www.solar.auo.com); CSI Technology Co., Ltd. (www.hamak-tech.com); Motech Industries Inc. Science Park Branch (www.motechsolar.com); Most-Shalun Green Energy Science City Office (www.sgesc.nat.gov.tw); Industrial Technology Research Institute @ The Green Energy and Environment Laboratories of Itri (www.itri.org.tw); @ Gintung Energy Corporation (www.gtectw.com) เปนตน

บริษัทอุตสาหกรรมแสดงสินคาเดน PV และการใชงาน

43

GreenNetwork November-December 2017


GREEN

Activity กองบรรณาธิการ

โซลูชั่นแบบครบวงจร จากบีเอเอสเอฟช วยให การผลิตโฟมโพลียูรีเทน มีความรวดเร็วและประหยัด ต นทุนได มากยิ่งขึ้น

โซลูชั่นแบบครบวงจรใหมจากบีเอเอสเอฟ ทําใหการผลิตโฟมโพลียูรีเทนมีความ รวดเร็วยิง่ ขึน้ และประหยัดตนทุนสําหรับบริษทั ผูผ ลิตในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก Autofroth® ซึ่งเปนโซลูชั่นที่ครบวงจรแบบใหมนี้เปนระบบนวัตกรรมที่ผสมผสานกระบวนการผลิต ริจิดโฟมทั้งหมดโดยใชระบบโฟมโพลียูรีเทนที่มีประสิทธิภาพสูงในบรรจุภัณฑประเภท รูปทรงกระบอกดวยอุปกรณการจายทีใ่ ชงานงาย ซึง่ ทัง้ หมดไดรบั การสนับสนุนจากบีเอเอสเอฟ เมือ่ เปรียบเทียบกับระบบแบบเดิม Autofroth® ทําใหกระบวนการผลิตมีความรวดเร็วยิง่ ขึน้ ดังนั้นจึงชวยลดตนทุนอยางเห็นไดชัดและเพิ่มประสิทธิภาพภาพของผลิตภัณฑ ระบบทีม่ อี งคประกอบ 2 ชนิด จะใหความรวดเร็ว ใชตน ทุนทีต่ าํ่ ในการติดตัง้ และ อุปกรณในการจายสามารถบํารุงรักษาไดอยางงายดายและดําเนินการไดที่โรงงาน ซึ่ง แตกตางจากระบบแบบเดิม สารฟูตวั (Blowing Agent) ของโฟมไดถกู ผสมมากอนแลวเขา ไปในในบรรจุภณ ั ฑประเภทรูปทรงกระบอกในระบบ Autofroth® และดวยบรรจุภณ ั ฑประเภท รูปทรงกระบอกทีส่ ามารถใชเติมใหมได ยังทําใหโซลูชนั่ นีเ้ ปนทางเลือกทีย่ งั่ ยืนมากยิง่ ขึน้ สําหรับอุตสาหกรรมเพราะวาขจัดการจัดการกับถังบรรจุสารเคมีและการกําจัดออกไป

“แสนสิริ-บีซีพีจี” ลงนาม MOU เป ดตัว ชุมชนพลังงาน สีเขียวอัจฉริยะครั้งแรกในไทย

อุทัย อุทัยแสงสุข ประธานผูบริหารสายงานปฏิบัติการ บริษัท แสนสิริ จํากัด (มหาชน) บริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพยระดับแนวหนาของไทย และ บัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) ผูประกอบธุรกิจผลิตไฟฟาจากพลังงานสะอาดที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ ไดลงนามในขอตกลงความรวมมือในการพัฒนา Smart Green Energy Community หรือชุมชนพลังงานสีเขียวอัจฉริยะรวมกัน โดยบีซีพีจีจะเปน ผูล งทุนติดตัง้ ระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยในโครงการของแสนสิริ เพือ่ ใหผอู ยูอ าศัย ในโครงการสามารถผลิตและใชไฟฟาจากพลังงานสะอาดไดดวยตนเอง รวมถึงยังสามารถซื้อ ขาย-แลกเปลี่ยนไฟฟาระหวางกันภายในโครงการไดอยางเปนรูปธรรม ดวยการใช Blockchain Technology และแอพพลิเคชั่นบนสมารทโฟน โดยความรวมมือดังกลาวเปนแผนระยะยาว 5 ป เบื้องตนมีโครงการของแสนสิริที่จะเขารวมกวา 20 โครงการแลว

BAFS รับโล เกียรติยศจากกระทรวง ทรัพยากรฯ และประกาศนียบัตร คาร บอนฟุตพรินต

ดร.วิจารย สิมาฉายา ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอม มอบโลเกียรติยศแก บริษทั บริการเชือ้ เพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ในการพัฒนาโครงการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) ในการดําเนินโครงการติดตั้ง ระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากโซลารเซลล และโครงการเปลี่ยนหลอดไฟ สองสวางเปนแบบ Light Emitting Diode ระยะสอง นอกจากนี้ บริษัทยัง ไดรับประกาศนียบัตรจากการจัดทําคารบอนฟุตพรินตองคกรประจําป 2559 พิธดี งั กลาวจัดขึน้ ณ หองวิภาวดีบอลรูม โรงแรมเซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัลพลาซาลาดพราว กรุงเทพฯ

RoboCup Asia-Pacific 2017 ผนึกกําลังภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา เป ดฉากการแข งขันวิชาการ หุ นยนต ใหญ สุดของเอเชียแปซิฟ ก

อัจฉรินทร พัฒนพันธชยั (กลาง) ปลัดกระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม และ อิทธิชยั ปทมสิรวิ ฒ ั น (ที่ 4 จากซาย) รองผูอ าํ นวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ใหเกียรติรว มงานแถลงขาวการจัด RoboCup Asia-Pacific 2017 การแขงขันวิชาการหุน ยนตระดับ นานาชาติ ครัง้ แรกของภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก และ Thailand Robotics Week 2017 ซึง่ จัดขึน้ เพือ่ กระตุน การวิจยั และพัฒนาวิทยาการหุน ยนตของประเทศไทย ตอบรับนโยบาย “ไทยแลนด 4.0” ทัง้ ยัง เปนเวที Pitching ใหสตารทอัพไทยไดพบกับนักลงทุน Venture Capital และสถาบันการเงินจาก ทั้งในและตางประเทศ โดยมี ผศ. ดร.จักรกฤษณ ศุทธากรณ (ที่ 3 จากขวา) ประธานจัดงาน Thailand Robotics Week 2017 และ RoboCup Asia-Pacific 2017 ใหการตอนรับ 44

GreenNetwork November-December 2017



GREEN

BIZ ยิปรอค ประกาศผลโครงการ แซง-โกแบ็ง ยิปรอค เนชั่นแนล โทรฟี ไทยแลนด 2017 บริษทั ไทยผลิตภัณฑยบิ ซัม่ จํากัด (มหาชน) หรือ ยิปรอค ประกาศผลผูช นะเลิศ โครงการ “แซง-โกแบ็ง ยิปรอค เนชั่นแนล โทรฟ ไทยแลนด 2017” เฟนหาโครงการ สถาปตยกรรมชัน้ นําของไทยทีไ่ ดรบั การตกแตงภายในดวยฝาและผนังยิปซัมของยิปรอค ตลอดตัวอาคาร เพือ่ เขารวมประกวดและแสดงผลงานในงานนวัตกรรมยิปซัมระดับโลก ผูชนะการประกวดโครงการ “แซง-โกแบ็ง ยิปรอค เนชั่นแนล โทรฟ ไทยแลนด 2017” ประกอบดวย โครงการชนะเลิศประเภทนวัตกรรมและความยัง่ ยืน (Innovation & Sustainability) ไดแก โรงพยาบาลบํารุงราษฎร อินเตอรเนชัน่ แนล โดยบริษทั คอนไซส จํากัด และ บริษทั ทัสค อินทีเรีย จํากัด โครงการชนะเลิศประเภทงานปูนฉาบยิปซัม (Plaster) ไดแก เดอะ ริทซ-คารลตัน เรสซิเดนเซส บางกอก โดยบริษทั เพซ อินทีเรีย เซอรวสิ เซส จํากัด โครงการชนะเลิศประเภทงานยิปซัมบอรด (Plasterboard) ไดแก โรงแรมไอบิส อิมแพ็ค (เมืองทองธานี) กรุงเทพ โดยบริษัท บวิค-ไทย จํากัด และโครงการที่ชนะเลิศประเภท อาคารที่ไมใชที่พักอาศัย (Non-Residential) ไดแก ศูนยการคาเทอรมินอล 21 โคราช โดยบริษทั ฤทธา จํากัด โดยผูช นะในแตละประเภทจะไดเปนตัวแทนประเทศไทยเขารวม แขงขันกับอีก 45 ประเทศทัว่ โลก ในโครงการ แซง-โกแบ็ง ยิปซัม อินเตอรเนชัน่ แนล โทรฟ ครั้งที่ 11 ในวันที่ 23 มีนาคม 2561 พรอมทั้งเปดประสบการณการทองเที่ยวและดูงาน ณ กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส

1

2

3

4

5

6

1. มร.ริชารด จูเชรี กรรมการผูจ ดั การ บริษัท ไทยผลิตภัณฑยบิ ซัม่ จํากัด (มหาชน) 2-4. มอบรางวัลโครงการ แซง-โกแบ็ง ยิปรอค เนชั่นแนล โทรฟ ไทยแลนด 2017 5-6. บรรยากาศภายในงาน 7-8. ถายภาพรวมกัน

7

8

“เป ดตาดีสู สังคมไทยป ที่ 5” คืนตาดีให ผู สูงวัย ในถิ่นทุรกันดาร 2 1

3

4

6 5

7

8

46

สภากาชาดไทย โดยการสนับสนุนจาก บริษทั บิก๊ คาเมรา คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) เดินหนาสานตอโครงการ “เปดตาดีสสู งั คมไทย ปที่ 5” ชูแนวคิด “Begin Again : ภาพแหงชีวิต…ชัดเจนอีกครั้ง” ชวนคนไทยรวมเปนผู “ให”  หาดวงตาไดกลับมามองเห็น โอกาสแกผสู งู อายุทยี่ ากไรในพืน้ ทีห่ า งไกลทีม่ ปี ญ ชัดเจนอีกครั้ง ดวยการบริจาคสมทบทุนสนับสนุนการขับเคลื่อนหนวยแพทย จักษุศัลยกรรมสภากาชาดไทย ใหเขาถึงผูปวยที่รอการรักษาทั่วประเทศได ทันเวลาขยายชองทางบริจาคออนไลน สอดรับไลฟสไตลคนรุนใหมใจกุศล เริ่มตั้งแตวันนี้ ถึงวันที่ 1 มิถุนายน 2561 โดยจะนํารายไดทั้งหมดไปจัดซื้อ อุปกรณทางการแพทย และนําไปเปนคาใชจา ยในการขับเคลือ่ น “รถจักษุคลินกิ เคลื่อนที่” นําทีมแพทยลงพื้นที่ไปตรวจรักษาผูปวยโรคตาที่ดอยโอกาสทั่ว ประเทศไทย เพราะยังมีผปู ว ยกวาอีกจํานวนมากทีร่ อการรักษาใหทันตอเวลา โดยการลงพืน้ ทีแ่ ละการรักษาในแตละปมคี า ใชจา ยสูงถึงปละกวา 15 ลานบาท ทั้งนี้สําหรับผูที่ตองการบริจาคสมทบทุนเขาโครงการเปดตาดีสูสังคม ไทย สามารถบริจาคไดที่ www.bigcamera.co.th/beginagain หรือบริจาค ผานกลอง “Love Sharing Box” ที่ บิ๊ก คาเมรา กวา 230 สาขาทั่วประเทศ และบริจาคตรงผานบัญชีธนาคารไทยพาณิชย ประเภทออมทรัพย ชื่อบัญชี สํานักงานจัดหารายได สภากาชาดไทย เลขที่บัญชี 045-2-62588-8 1. ถายภาพรวมกัน โครงการ “เปดตาดีสูสังคมไทย ปที่ 5” 2-5. ใหบริการตรวจรักษาผูปวยโรคตาที่ดอยโอกาส 6. รถจักษุคลินิกเคลื่อนที่ 7-8. บรรยากาศผูปวยโรคตาที่รอการรักษา

GreenNetwork November-December 2017


Magazine to Save The World

1

2

3

4

สัมมนาเชิงวิชาการและนิทรรศการ Solar Pavilion ในงาน Thailand Lighting Fair 2017

5

6

7

9

8

11

10

13

14

12

47

เมื่อเร็วๆนี้ งาน Thailand Lighting Fair 2017 เวทีแสดงสินคา และเทคโนโลยีนานาชาติดานไฟฟาแสงสวางภายใตแนวคิด Smart City. Safe City. ไดมโี ซนพิเศษทีม่ กี ารจัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมสัมมนา ดานเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพือ่ การผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตย ซึง่ อยูใ น โซน Solar Pavilion จัดใหมกี ารสัมมนาเชิงวิชาการเกีย่ วกับการผลิตไฟฟา จากพลังงานแสงอาทิตย ในหัวขอเรือ่ ง “อัพเดต…กฎระเบียบ นโยบายการ ผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยแบบเสรี” โดย กัลย แสงเรือง ผูอ าํ นวยการ ฝาย ใบอนุญาต สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.), “เจาะลึก…ธุรกิจพลังงานแสงอาทิตยในประเทศไทย ป 2561” โดย สุรีย จรูญศักดิ์ ผูอํานวยการสํานักพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย พพ. คอนันต ตปนียสร ฝายบริหารกองทุน ESCO FUND มูลนิธิอนุรักษพลังงานแหง ประเทศไทย และ ดร.เกษรา ธัญลักษณภาคย กรรมการบริหาร บมจ. เสนาดีเวลลอปเมนท, “การใชแผงเซลลแสงอาทิตยแบบติดตัง้ บนหลังคา : กรณีศกึ ษาอาคารทีพ่ กั อาศัยตนทุนตํา่ ” โดย ผศ. ดร.พิมลมาศ วรรณคนาพล คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, “การปฏิรปู พลังงานเพือ่ ความยัง่ ยืน” โดย ศ. ดร.ดุสติ เครืองาม กรรมการ ปฏิรูปประเทศดานพลังงาน และ “การจัดการขยะแผงโซลารเซลลใน ประเทศไทย และกรณีศกึ ษา” โดย ปทมวรรณ คุณประเสริฐ นักวิทยาศาสตร ชํานาญการ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งนี้ งานสัมมนาดังกลาวจะเปนประโยชนตอทั้งผูประกอบการ เจาของกิจการ นักลงทุน วิศวกร ผูรับผิดชอบดานพลังงาน รวมถึงผูที่ เกี่ยวของ และผูที่สนใจทั่วไป จัดขึ้น ณ Hall 102-104 ศูนยนิทรรศการ และการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ 1. กัลย แสงเรือง ผูอํานวยการฝายใบอนุญาต สํานักงาน คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) 2. สุรีย จรูญศักดิ์ ผูอํานวยการสํานักพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย พพ. 3. อนันต ตปนียสร ฝายบริหารกองทุน ESCO FUND มูลนิธอิ นุรกั ษ พลังงานแหงประเทศไทย 4. ดร.เกษรา ธัญลักษณภาคย กรรมการบริหาร บมจ. เสนาดีเวลลอปเมนท 5. ผศ. ดร.พิมลมาศ วรรณคนาพล คณะสถาปตยกรรมศาสตร และการผังเมือง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 6. ศ. ดร.ดุสิต เครืองาม กรรมการปฏิรูปประเทศดานพลังงาน 7. ปทมวรรณ คุณประเสริฐ นักวิทยาศาสตรชํานาญการ กรมโรงงานอุตสาหกรรม 8. มอบของที่ระลึกใหแกวิทยากร 9-14. บรรยากาศภายในหองสัมมนา

GreenNetwork November-December 2017




www.cacasiasummit.com 7-8 December, 2017 QSNCC, Bangkok, Thailand

th

6 CAC Asia Summit Organizer: ŽͲKƌŐĂŶŝnjĞƌƐ͗

CCPIT Sub-council of Chemical Industry dŚĂŝ ŐƌŽ ƵƐŝŶĞƐƐ ƐƐŽĐŝĂƟ ŽŶ sŝĞƚŶĂŵ WĞƐƟ ĐŝĚĞ ƐƐŽĐŝĂƟ ŽŶ ĂŶŐůĂĚĞƐŚ ƌŽƉ WƌŽƚĞĐƟ ŽŶ ƐƐŽĐŝĂƟ ŽŶ /ŶĚŽŶĞƐŝĂ ƌŽƉ ĂƌĞ ƐƐŽĐŝĂƟ ŽŶ

^ƵƉƉŽƌƚĞƌƐ͗

Media Partners:

Combine the Synergy of the Agrochemical Industry

dŚĂŝ DŝŶŝƐƚƌLJ ŽĨ ŐƌŝĐƵůƚƵƌĞ ĂŶĚ ŽŽƉĞƌĂƟ ǀĞƐ Kĸ ĐĞ ŽĨ ŽŵŵĞƌĐŝĂů ī ĂŝƌƐ ZŽLJĂů dŚĂŝ ŵďĂƐƐLJ dŚĂŝůĂŶĚ ŽŶǀĞŶƟ ŽŶ Θ džŚŝďŝƟ ŽŶ ƵƌĞĂƵ New Ag International Asia Agrochemical Alliance Agrow AgroPages

ϲƚŚ ƐŝĂ ^Ƶŵŵŝƚ ǁŝůů ďĞ ƚŚĞ ŽŶĞͲƐƚŽƉ ƉůĂƞ Žƌŵ ƚŽ ƵŶĚĞƌƐƚĂŶĚ ƚŚĞ ůĂƚĞƐƚ ƌĞŐƵůĂƚŽƌLJ ŝƐƐƵĞƐ͕ ƌĞŐŝƐƚƌĂƟ ŽŶ ƵƉĚĂƚĞƐ͕ ŵĂƌŬĞƚ ĚLJŶĂŵŝĐƐ ŽĨ ƐŝĂŶ ĐŽƵŶƚƌŝĞƐ͕ ŵĞĞƚ ǁŝƚŚ ϭϬϬн ůĞĂĚŝŶŐ ĂŐƌŽĐŚĞŵŝĐĂů ƉƌŽĚƵĐƚƐ͕ ĞƋƵŝƉŵĞŶƚƐ ĂŶĚ ƐŽůƵƟ ŽŶƐ ƐƵƉƉůŝĞƌƐ͕ ĂƐ ǁĞůů ĂƐ ŽǀĞƌ ϱϬϬ ŝŶĚƵƐƚƌLJ ƉůĂLJĞƌƐ ĨƌŽŵ ŽǀĞƌ ϯϬ ĐŽƵŶƚƌŝĞƐ ĂŶĚ ƌĞŐŝŽŶƐ͘ ƐŝĂ ^Ƶŵŵŝƚ ǁĂƐ ŚĞůĚ ƐƵĐĐĞƐƐĨƵůůLJ ŝŶ DƵŵďĂŝ͕ ĂŶŐŬŽŬ ĂŶĚ :ĂŬĂƌƚĂ ǁŝƚŚ ŚŝŐŚ ƌĞƉƵƚĂƚŝŽŶ ĂŶĚ ƐƚƌŽŶŐ ŝŶĨůƵĞŶĐĞ ŝŶ dŚĂŝůĂŶĚ ĂŶĚ ƐŝĂŶ ĐŽƵŶƚƌŝĞƐ͘ /ƚ ĂĐĐƵŵƵůĂƟ ǀĞůLJ ŚĂĚ ϰϬϬ ĂŐƌŽĐŚĞŵŝĐĂů ĞdžŚŝďŝƟ ŶŐ ĐŽŵƉĂŶŝĞƐ ĨƌŽŵ ŚŝŶĂ͕ /ŶĚŝĂ͕ dŚĂŝůĂŶĚ͕ sŝĞƚŶĂŵ /ŶĚŽŶĞƐŝĂ͕ DĂůĂLJƐŝĂ͕ ƵƐƚƌĂůŝĂ͕ h<͕ 'ĞƌŵĂŶLJ ĂŶĚ ŐLJƉƚ͕ ĂŶĚ ĂƩ ƌĂĐƚĞĚ ŶĞĂƌůLJ ϮϬϬϬ ƉƌŽĨĞƐƐŝŽŶĂů ǀŝƐŝƚŽƌƐ ĨƌŽŵ ŽǀĞƌ ϱϬ ĐŽƵŶƚƌŝĞƐ ĂŶĚ ƌĞŐŝŽŶƐ͕ ďĞĐŽŵŝŶŐ Ă ǁĞůůͲŬŶŽǁŶ ŝŶƚĞƌŶĂƟ ŽŶĂů ĂŐƌŽĐŚĞŵŝĐĂů ƚƌĂĚĞ ƉůĂƞ Žƌŵ ŝŶ ƐŝĂ͘

džŚŝďŝƚ WƌŽĮ ůĞ Ͳ WĞƐƟ ĐŝĚĞƐ Θ ŝŽůŽŐŝĐĂů WĞƐƟ ĐŝĚĞƐ Ͳ &ĞƌƟ ůŝnjĞƌ Θ EĞǁ &ĞƌƟ ůŝnjĞƌƐ Ͳ DĂŶƵĨĂĐƚƵƌŝŶŐ Θ WĂĐŬĂŐŝŶŐ ƋƵŝƉŵĞŶƚ͕ >ŽŐŝƐƟ ĐƐ Ͳ ^ĞĞĚ Ͳ WĞƐƟ ĐŝĚĞƐ ĨŽƌ ĞLJŽŶĚ ŐƌŝĐƵůƚƵƌĞ Ͳ '>W͕ ZĞŐŝƐƚƌĂƟ ŽŶ ŽŶƐƵůƚĂŶƚƐ͕ DĂƌŬĞƚ ŶĂůLJƐƚƐ͕ ĂƚĂ ŽŶƐƵůƚĂŶĐŝĞƐ ĂŶĚ ĞƌŝĂů WĞƐƟ ĐŝĚĞƐ ƉƉůŝĐĂƚŽƌƐ

Contact W/d ^ƵďͲĐŽƵŶĐŝů ŽĨ ŚĞŵŝĐĂů /ŶĚƵƐƚƌLJ ; W/d , DͿ DƐ͘ ^ŝŵŽŶ zĞ dĞů͗ нϴϲͲϭϬͲϲϰϮϮϮϴϰϱ YY͗ ϭϬϯϰϳϳϳϱϬϴ ͲŵĂŝů͗ LJĞdžŝŵĞŶŐΛĐĐƉŝƚĐŚĞŵ͘ŽƌŐ͘ĐŶ

dŚĂŝůĂŶĚͶdŚĂŝ ŐƌŽ ƵƐŝŶĞƐƐ ƐƐŽĐŝĂƟ ŽŶ ;d Ϳ Dƌ͘ DŽŶƚŽů <ŝĂƚŬĂŵŽůǁŽŶŐ DŝƐƐ dŚƌĞĞƌĂŶƵũ ZƵĞŶŐƌĂƚ DŽďŝůĞ͗ нϲϲͲϴϰͲϬϵϭͲϲϭϭϭ dĞů͗нϲϲͲϵϳϭϵϮϭϱϱϭ ŵĂŝů͗ ŵŽŶƚŽŶ͘ŵŝƚƐŽŵŶΛŐŵĂŝů͘ĐŽŵ ŵĂŝů͗ ĞĂƌŶͺĐŚĂŶΛŚŽƚŵĂŝů͘ĐŽŵ

ĂƌůLJ ŝƌĚƐ ŐĞƚ ĨƌĞĞ ďƵī Ğƚ ůƵŶĐŚ͕ ŽŶůLJ ĨŽƌ Į ƌƐƚ ϭϬϬ ƉƌĞͲƌĞŐŝƐƚĞƌƐ

www.cacasiasummit.com




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.