Green Network Issue 86

Page 1



A1'6+5

B/)Ē Ĕ6 ''% 6 8.7 5e 1 E &

'6&E ēD/$ē 6 6 ē ' . ' 5

B/)ě A1'6+5 B)4 ;1A ę þ A'æö% ē 1 6'"ôI "6 A1 6 ē6 ")5

6 1 '4A ,E & C &"5 6A ę B/)Ē

")5

6 /)5 9I.'ē6 +6%%5I 6 ē6 ")5

6 .'ē6 '6&E ē '+% : A ę '6 6 D 6'"5 6A,'- 8 19 /)6&B 9I '+% Ē1&1 %6 6 Ĕ6 ''% 6 8 )1 Ē1A 8 6' ē6

6 .'ē6 16 9"D/ē 5 E & B)4 '4A ,E &%6 +Ē6 Ċ ė þ 5 Ĕ6 ''% 6 8 9I )8 E ē 6 B/)Ē 9J 8 A ę '4%6 x 1 'æ%6 Ĕ6 ''% 6 8 9I )8 E ēD '4A , '4 :I '4A ,E &D ē Ĕ6 ''% 6 8A ę A ;J1A")8 /)5 D 6' )8 E##Ď6D .5 .Ē+ +Ē6 x 5J 9J B/)ě A1'6+5 B)4 &5 %9,5 &$6"D 6' )Ď ĝ6 ''% 6 8 A"÷I1.'Ĝ6 +6%%5I Ĝ6 ")5

6 D/Ĝ 5 '4A , 1&ě6 ě1A ;I1 E Ĝ19 +ě6 ã ē '4 '+ ")5

6 C & '%A ;J1A")Ď ''% 6 8 4 'è/6' 5 6'1&ě 6 %9 '4.Ď 8$6""'Ĝ1%E 5 6'' ' ğD/Ĝ '4 6 6+E &D Ĝ")5

6 1&ě6 '4/&5 B)4 <Ĝ% ě6 6+

.'ē6 '6&E ēD/ē$6 '5 z Ē6$6 /)+ {

'+% 423,076.28 )ē6 6 z .8÷ Ċ âå {


Contents March-April 2018

Special Scoop

8 10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 30 32 34 35 36 38

เมกะเทรนด “อาคารเขียว” กับอนาคตมาตรฐานอาคารสมัยใหมทั่วโลก by ภิญญาภรณ ชาติการุณ อาคารยุคใหม ที่มากกวาการอนุรักษพลังงาน by กองบรรณาธิการ Green Focus by พิชัย ถิ่นสันติสุข เยือนหลวงพระบางเมืองมรดกโลก สปป.ลาว ชื่นชมโรงไฟฟาพลังน้ําไซยะบุรี Green Report by กองบรรณาธิการ Digital Park Thailand เมืองใหมอัจฉริยะดวยนวัตกรรม Green Building by กองบรรณาธิการ อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย อนุรักษพลังงานเขียวแหงอนาคต Green Article by ดร.พรลดา ดาวรัตนชัย, ดร.วีระวัฒน แชมปรีดา, ศ. ดร.นวดล เหลาศิรพิ จน ความสําคัญของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงและเคมีชีวภาพตอประเทศไทย Auto Challenge by ยาน-ยนต สนพ. - สมาคมยานยนตไฟฟาไทย เรงขยาย Charging Station ปูทางสูยานยนตไฟฟาในอนาคต Green People by จีรภา รักแกว จักรพันธ ภวังคะรัตน อาคารเขียว เมกะเทรนดเปลี่ยนโลก Green Factory by จีรภา รักแกว โชคยืนยงอุตสาหกรรม ชูโรงไฟฟาแกสชีวภาพ ผลิตไฟฟาและความรอน ลดตนทุน เพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน Green World by กองบรรณาธิการ อวสาน รถยนตที่ใชน้ํามันเชื้อเพลิง แทนที่ดวยรถ EV 100% RE Update by กองบรรณาธิการ สถานีผลิตพลังงานสีเขียว (DGG) เสริมความมั่นคงโรงไฟฟาชีวมวลระดับชุมชน Green Scoop by กองบรรณาธิการ พพ. จับมือ กรอ. เยือนถิ่นกะทิชาวเกาะ ชูตนแบบโรงงาน 4.0 Energy Saving by Mr.Save ออกแบบอาคารอยางไร ใหสํานึกเรื่องพลังงาน Green Industry by ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี นวัตกรรมสีเขียว (Green Innovation) Green Hotel by กองบรรณาธิการ ชาเทรียม ริเวอรไซด ยกระดับมาตรฐานการบริการใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม Green Article by รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล ทางของฝุน PM2.5 อันตรายที่มองไมเห็น Green Biz by กองบรรณาธิการ

22


ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ฯพณฯ พลอากาศเอก กําธน คณะที่ปรึกษา ดร.ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน ดร.อัศวิน จินตกานนท ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย ประสงค ธาราไชย ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รศ. ดร.สิงห อินทรชูโต บรรณาธิการอํานวยการ/ บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ ภิญญาภรณ ชาติการุณ ผู้ช่วยบรรณาธิการ จีรภา รักแกว เลขานุการกองบรรณาธิการ ปฐฐมณฑ อุยพัฒน พิสูจน์อักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม กันยา จําพิมาย ประสานงาน ภัทรกันต กิจสินธพชัย ผู้จัดการฝ่ายการตลาด เขมจิรา บุญพระรักษา ฝ่ายการตลาด กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝ่ายการตลาด ชุติมันต บัวผัน ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ นันธิดา รักมาก แยกสี บจก. คลาสสิคสแกน โรงพิมพ์ บจก. ฐานการพิมพ

สินธวานนท นินนาท ไชยธีรภิญโญ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ พานิช พงศพิโรดม ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล ชาย ชีวะเกตุ

เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถ.ศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-5333 (ฝายการตลาด ext. 503) แฟกซ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com e-Mail : editor@greennetworkthailand.com

Editor Talk สวัสดีครับ ทานสมาชิกและทานผูอานทุกทาน

“กบง. ออกกฎคุมอาคารใหญ ตามมาตรฐานประหยัดพลังงาน” เมือ่ เร็วๆ นี้ คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) เห็นชอบการออกกฎกระทรวงฯ เพื่อเปนมาตรการบังคับใชขั้นต่ํากับอาคารขนาดใหญที่มีปริมาณการใชพลังงานสูง คือ เกณฑ มาตรฐานประสิทธิภาพดานพลังงานในอาคาร (Building Energy Code) ดวยการกําหนด มาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธกี ารจัดการพลังงานกับอาคารทีจ่ ะกอสรางใหมหรือดัดแปลงตัง้ แต เริม่ ตนออกแบบอาคาร เพือ่ ใหอาคารมีการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ โดยกําหนดใหอาคาร ทีจ่ ะกอสรางใหมหรือดัดแปลง 9 ประเภทอาคาร ไดแก 1. สํานักงาน 2. โรงแรม 3. โรงพยาบาล 4. ศูนยการคา 5. โรงมหรสพ 6. สถานบริการ 7. อาคารชุมนุมคน 8. อาคารชุด 9. สถานศึกษา ที่มีขนาดพื้นที่ตั้งแต 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ตองออกแบบใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน ทีร่ ะบุในกฎกระทรวงฯ ไดแก ระบบกรอบอาคาร ระบบปรับอากาศ ระบบไฟฟาแสงสวาง ระบบ ผลิตน้ํารอน และการใชพลังงานหมุนเวียน โดยใหมีการบังคับใชกับอาคารขนาดใหญที่มีความ พรอมกอน และทยอยบังคับใชกับอาคารทั้ง 9 ประเภท ภายใน 3 ป Green Network 4.0 ฉบับนี้ คอลัมน Special Scoop กับ “อาคารยุคใหม ทีม่ ากกวาการ อนุรักษพลังงาน” ไดนําเสนอตัวอยางอาคารไทยที่กอสรางใหมตั้งแตเริ่มตนออกแบบ เพื่อให อาคารมีการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ พรอมกับสรางความยั่งยืนทางดานสิ่งแวดลอม รวมไปถึงอาคารเกา ที่มีปรับปรุงเพื่อการประหยัดพลังงานมากยิ่งขึ้น โดยไดรับรางวัลการันตี จากเวที Thailand Energy Awards 2017 และ รางวัล ASEAN Energy Awards 2017 สําหรับ Green Report “Digital Park Thailand เมืองใหมอัจฉริยะดวยนวัตกรรม” คอลัมน Green Building กับ “อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย อนุรักษพลังงานเขียว แหงอนาคต” อาคารที่มุงหมายใหเปน Landmark ในการลงทุนของประเทศ ที่คํานึงถึงการ ประหยัดพลังงานและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม คอลัมน Auto Challenge กับ “สนพ. - สมาคม ยานยนตไฟฟาไทย เรงขยาย Charging Station ปูทางสูยานยนตไฟฟาในอนาคต” คอลัมน Green People พบกับ จักรพันธ ภวังคะรัตน “อาคารเขียว เมกะเทรนดเปลี่ยนโลก” บอกเลา เรื่องราวของอาคารเขียว ซึ่งไมไดมองแคเรื่องการเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเทานั้น แตตองมอง ในหลากหลายมิติ อาทิ ความยัง่ ยืนทางดานพลังงาน เศรษฐกิจ และคุณภาพชีวติ ของผูอ ยูอ าศัย ภายในอาคาร เปนตน คอลัมน RE Update กับ “สถานีผลิตพลังงานสีเขียว (DGG) เสริมความ มัน่ คงโรงไฟฟาชีวมวลระดับชุมชน” และสุดทาย คอลัมน Energy Saving กับ “ออกแบบอาคาร อยางไร ใหสํานึกเรื่องพลังงาน” สาระนารูเพื่อการอนุรักษพลังงานภายในอาคาร แลวพบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล


Conference 19th-23rd March 2019

Exposition st

21 -23rd March 2019 Bangkok International Trade & Exhibition Centre (BITEC), Bangkok, Thailand

10,000+ ATTENDEES

400+ EXHIBITORS

300+ INTERNATIONAL SPEAKERS

24 CONFERENCE TRACKS

SUPER SESSIONS

PANEL SESSIONS

FORUM SESSIONS

POSTER SESSIONS

MULTIPLE NETWORKING OPPORTUNITIES


คณะทำงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 รวมออกบูธ นิทรรศการงาน World Smart Energy Week 2018 ¾¢¸Æ ® ¾¤Å ¨ Ä ¶Ç ± Ë ³ ³ ,((( 3(6 *7' $6,$  n¾ µ ³  ¤±¾ ©é¶ Æ h¹ ¾ ¸®Æ ¤m¨¢®® º µ ¤¤© ³¤Á ³ :RUOG 6PDUW (QHUJ\ :HHN ·Æ ¾ | ³ µ ¤¤© ³¤ n ³ ¦² ³ ²Ç Ë ³ ® À¦ 7RN\R %LJ 6LJKW ¤¹ À ¾ ¶£¨ ¤±¾ ©é¶Æ ¹h ¡³£Á ³ ² ¦m³¨ ¤± ® n¨£ ³ µ ¤¤© ³¤ ¬¦³£ ³ ¤¨¢ ² ®³ µ )& ([SR 39 ([SR 39 6\VWHP ([SR ,17t/ %LRPDVV ([SR %DWWHU\ -DSDQ ,17t/ 6PDUW *ULG ([SR 7KHUPDO 3RZHU ([SR :LQG ([SR ·Æ ¢¶ ºn ¤± ® ³¤ n³ ¦² ³ ¤m¨¢®® º µ ¤¤© ³¤ ¿« «µ n³ ¨² ¤¤¢¿¦±¾ À À¦£¶ n³ ¦² ³ ¨m³ ¤µª² ² Ç ¶ Ç ± ˳ ³ ,((( 3(6 *7' $6,$  n ¾ n³¤m¨¢®® º Á ³ ,17t/ 6PDUW *ULG ¬¢³£¾¦ ( Q ¾ ¸®Æ ¤± ³«²¢ ² q ³ ¤± ¹¢¿¦± µ ¤¤© ³¤ n³ ¦² ³ ,((( 3(6 *7' $6,$ ·Æ ± ² ·Ç Á d ¶Æ ¤±¾ ©Â £ ¤±¬¨m³ ¨² ¶Æ ¢¶ ³ ¢ © ©º £q µ ¤¤© ³¤¿¦± ³¤ ¤± ¹¢Â ¾ ³ ³


SPECIAL

Scoop ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ

D) 8D +! č ß5: :+D =*/à 9"5!: ): + :!5: :+2)9*G3)ĉ 9L/F-

“อาคารเขียว” หรือ “Green Building” เปนอาคารทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ พือ่ การอนุรกั ษพลังงาน ซึง่ การออกแบบกอสราง อาคารสมัยใหมแทบทุกอาคารจะตองคํานึงถึงคุณสมบัติของการเปนอาคารเขียว เพียงแตระดับความเขียวนั้นจะเขมขน มากนอยเพียงใด ขึ้นอยูกับความตองการของเจาของอาคารนั้นๆ เปนผูกําหนด ปจจบันอาคารเขียวกลายเปนเมกะเทรนดที่ทั่วโลกใหความสนใจ และหลายๆ ประเทศก็กําหนดใหเปนมาตรฐาน ในการออกแบบกอสรางอาคารเสียดวยซา้ํ ดังนัน้ อาคารเขียวจึงไมใชเรือ่ งใหม หากแตเปนเรือ่ งทีก่ ลายเปนแนวทางสามัญ ปฏิบตั ทิ นี่ บั วันจะทวีความเขมแข็งมากขึน้ ซึง่ ผูเ ขียนเชือ่ เหลือเกินวาอนาคตขางหนาเราจะไดเห็น “อาคารเขียว” กลายเปน มาตรฐานหลักในการออกแบบกอสรางอาคารทั่วโลก ไมวาอาคารนั้นจะมีขนาดเล็กหรือใหญก็ตาม สําหรับตัวอยางอาคารเขียวที่ไดรับการรับรองจาก สภาอาคารเขียว หรือ USGBC ประเทศสหรัฐอเมริกา ปจจบัน มีอยูห ลายแหงทัว่ โลก ซึง่ แตละแหงนัน้ ก็มคี ณ ุ สมบัตหิ รือความโดดเดนดานการอนุรกั ษพลังงานทีแ่ ตกตางกันออกไป อาทิ >> Council House 2 6 ดาวสีเขียวจาก Green Building Council of Australia

>> ไทเป 101 อาคารประหยัดพลังงานดวยระบบอัตโนมัติ

เพิ่มพื้นที่กระจกบนผนังพื้นถึงเพดาน กระจกที่ ใชบนผนัง เหล า นี้ มี ส ว นผสมของเหล็ กในปริ ม าณน อ ย ซึ่ ง ช ว ยลด ปริมาณแสงสีเขียวทําใหกระจกใสขึ้น นอกจากนี้ ยังติดตั้งแผงโซลารเซลลขนาด 60,000 Photovoltaic Cells ซึ่ ง สามารถผลิ ต กระแสไฟฟ าได ประมาณ 213,000 กิโลวัตตอาวร หรือคิดเปนพลังงาน 10% ของพลังงานไฟฟาทั้งหมดที่ใชในอาคารทั้งป ทั้งยังมีที่จอด รถจักรยาน และสถานที่ชารจไฟฟาสําหรับรถยนตไฟฟา บริเวณดานนอกอาคาร มีระบบใหความรอนใตพื้นอาคาร ดวยการออกแบบใหมีระบบทอฝงอยูใตพื้นอาคาร เพื่อให น้ํารอนจะไหลอยูในทอและทําใหพื้นมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น ซึ่ง ระบบนีช้ ว ยลดการใชพลังงานลงไดโดยประมาณ 10% ตอป >> Centre for Sustainable Energy Technology (CSET) อาคารคารบอนเปนศูนยแหงแรก

ภาพประกอบ :http://www.asiagreenbuildings.com ภาพประกอบ : https://www.archdaily.com

เป น อาคารอั ต โนมั ติ แ ละใช พ ลั ง งานอย า งมี ประสิทธิภาพ อาคารไดรับการปรับปรุงใหเหมาะสมเพื่อให เกิดการใชพลังงานลดลงโดยประมาณ 10% ของการใชไฟฟา การใชนา้ํ และปริมาณขยะ มุง เนนใหมกี ารประหยัดพลังงาน จากระบบปรับอากาศ โดยระบบกรอบอาคารใชกระจก ประเภท Non-Reflective Double Low-E Glass ซึ่ง แสงสวางสามารถผานเขามาได และเปนฉนวนปองกัน การถายเทความรอน อีกทัง้ มีการติดตัง้ อุปกรณตรวจจับการ เคลือ่ นไหวในหองเพือ่ ใหระบบแสงสวางทํางานอยูเ หมาะสม พรอมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพของอุปกรณ โดยทําการทดสอบ วางแผนการทํ า งานของชิ ล เลอร ใ ห เ หมาะสม มี ก าร ตรวจสอบการใชพลังงานและรับรองการใชพลังงาน อาคารแหงนี้มีการติดตั้งระบบการจัดการพลังงาน เพื่อใหเกิดการประหยัดพลังงาน เมื่อไมมีคนอยูในบริเวณ นั้ น ระบบจะป ด หลอดไฟฟ า และระบบทํ า ความเย็ น แบบ อัตโนมัติ ขณะเดียวกันก็ยังใหความสําคัญดานสิ่งแวดลอม โดยออกแบบใหมีระบบการจัดการของเสีย ที่มีอัตราการ รีไซเคิลสูงอีกดวย

เป น อาคารสํ า นั ก งาน แหงแรกในออสเตรเลียที่ ไดรับ การจัดอันดับสูงที่สุด คือ 6 ดาว สี เ ขี ย วจาก Green Building Council of Australia เมื่ อ เปรียบเทียบกับอาคารหลังเกา สามารถลดการใชไฟฟาลง 85% มีหลักการสําคัญในการออกแบบ อาคาร โดยคํานึงถึงพื้นฐานของ ระบบนิเวศและสภาพภูมิอากาศ การออกแบบใหสามารถใชงาน ไดสองโหมดตามฤดูกาล ฤดูหนาวมีการใชระบบทําความรอน เปนระบบทอน้ํารอนเฉพาะพื้น ที่ที่ตองใชงานในชวงเวลา กอนเชาของฤดูหนาว ขณะที่ฤดูรอนออกแบบใหมีระบบ เพดานสูง เพือ่ ชวยใหความรอนระบายออกตามชองวางของ เพดานได สวนระบบโหมดกลางวันดานบนหลังคาจะติดตั้ง กังหันลมและแผงโซลารเซลลเพื่อผลิตกระแสไฟฟาในชวง กลางวัน และระบบโหมดกลางคืนหนาตางจะเปดอัตโนมัติ เพือ่ รับอากาศเย็นจากภายนอกเขาสูต วั อาคารทําใหอณ ุ หภูมิ ภายในอาคารลดลง นอกจากนี้ ยังออกแบบใหอาคารสามารถใชประโยชน จากแสงธรรมชาติใหไดมากที่สุด มีการใช Light Shelf ดาน หน า ต า งทิ ศ เหนื อ เพื่ อ ป อ งกั น หน า ต า งจากแสงอาทิ ต ย โดยตรงเพื่อกันความรอน แตยังใหแสงสวางจากธรรมชาติ เขาสูภายในอาคารไดสวนระบบความเย็นจะมี 2 ระบบ คือ คอนกรีตดูดซับความรอนจากอุณหภูมิของอากาศที่เพิ่มขึ้น และการใชแผนเพดานทําความเย็นโดยไหลเวียนนา้ํ เย็น ดาน ระบบความรอนออกแบบใหมีระบบน้ํารอนไหลในทอใตพื้น อาคารโดยเฉพาะบริเวณรอบหนาตางเพื่อปองกันความเย็น จากภายนอก อาคารแหงนี้ยังออกแบบใหมีเพดานคอนกรีต โคง ทําใหอากาศรอนลอยตัวขึ้นไปอยูในตําแหนงที่หางจาก บริ เ วณที่ มี ค นทํ า งาน และสามารถรั บ แสงธรรมชาติ ไ ด มากขึ้น โดยผนังอาคารฝงทิศตะวันตกมีบานไมรี ไซเคิล ซึ่งชวยปกปองอาคารจากแสงอาทิตยในตอนบายอีกดวย

>> California Academy Of Sciences พิพิธภัณฑรักษพลังงานผลิตไฟฟา จากโซลารเซลล

ภาพประกอบ : https://www.calacademy.org

เปนพิพิธภัณฑเขียวแหงหนึ่งของโลก ที่มีการใชดิน ทํ า หน า ที่ เ ป น ฉนวน ซึ่ งไม เ พี ย งแต เ ป น หลั ง คาเขี ย วที่ มี สวนอยูขางบน แตยังใหประสิทธิภาพดานความรอนและ ความเย็น สามารถปองกันการถายเทความรอน และชวย ดูดซับเสียงไดดี มีการใชแสงสวางจากธรรมชาติ โดยการ 8

GreenNetwork4.0 March-April 2018

ภาพประกอบ : https://www.archdaily.com

อาคารนี้มีวัตถุประสงคในการออกแบบกอสราง เพื่ อ ลดผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ มให น อ ยที่ สุ ดโดยเน น ประสิทธิภาพดานพลังงาน การสรางพลังงานขึ้นมารวมถึง การใชพลังงานทดแทนจากวัสดุในทองถิน่ ทีม่ พี ลังงานสะสม ตา่ํ โดยอาคารแหงนีถ้ อื เปนอาคารทีค่ ารบอนเปนศูนย (Zero Carbon Building) แหงแรกของประเทศจีน ภายใตเทคนิค ออกแบบ 5 ประการ กลาวคือ 1) มีระบบกรอบอาคาร ประสิทธิภาพสูง 2) มีการถายเทมวลความรอน 3) มีการ ควบคุมแสงอาทิตย 4) มีการหมุนเวียนอากาศตามธรรมชาติ และ 5) มีการหมุนเวียนอากาศผานระบบทอ นอกจากนี้ ยังมุง เนนใหอาคารมีประสิทธิภาพการใช พลังงานและสิ่งแวดลอม ใชพลังงานทดแทนใหเหมาะสม ในแตละวันหรือใหเหมาะสมในแตละฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลง ตามภูมิอากาศ มีการออกแบบมาเพื่อรับแสงอาทิตยและ ปองกันความรอนจากภายนอก ซึง่ จะชวยลดการใชพลังงาน ของหลอดไฟฟา และมีการใชระบบกระจกสองชั้นจะทําให เกิดการกักเก็บอากาศรอนและการแลกเปลี่ยนอากาศกับ อากาศหมุนเวียนโดยการพาความรอนแบบธรรมชาติออกไป สวนระบบทําความเย็น ใชระบบทอความเย็นที่ฝงไวในพื้น อาคารเป น กลไกที่ ทํ าให อ ากาศในอาคารได รั บ การลด ความชืน้ ดวยระบบทําความเย็นแบบรวมศูนย พรอมทัง้ มีการ หมุนเวียนอากาศ โดยการใชระบบอัตโนมัติควบคุมปริมาณ การหมุนเวียนของอากาศ


>> Chicago Center for Green Technology ศูนยพลังงานสีเขียวแหงเดียว ในเขตมิดเวสต

>> Elithis Tower ลดการปลอยกาซเรือนกระจกได 6 เทา

>> Zero Energy Building (ZEB) ศูนยรวมเทคโนโลยีอาคารเขียว ประเทศสิงคโปร

ภาพประกอบ : http://www.arte-charpentier.com ภาพประกอบ : https://farrside.com/

เปนศูนยพลังงานของเมือง และเปนศูนยพลังงาน สีเขียวของชิกาโก ทําหนาที่ใหความรูเกี่ยวกับการออกแบบ อาคารเขียวในเขตมิดเวสตตัวอาคารไดรับการออกแบบ กอสรางใหเปนอาคารเขียว โดยอาศัยหลักการออกแบบใหมี ระบบแสงสวาง ปรับความสวางของหลอดไฟฟาอัตโนมัติ ใหมีความสวางที่เหมาะสมในหอง หนาตางของตัวอาคาร เปนกระจกชนิด Low-E ซึ่งสามารถปองกันความรอนจาก ภายนอกผานเขามา ทั้งยังออกแบบใหมีระบบทําความรอน และเย็น ระบบหมุนเวียนอากาศทั้งหมดในอาคารโดยการ นําอากาศภายนอกเขามาบริเวณใกลพื้นลางของอาคาร และระบายอากาศออกที่บริเวณเพดานหลังคาโปรงแสง เพือ่ ปองกันความรอนเขามาในตัวอาคารเนือ่ งจากเปนฉนวน >> Pusat Tenaga ประเทศมาเลเซีย อาคารสำนักงาน พลังงานสุทธิเปนศูนย

อาคารแหงนี้สามารถลดอัตราการปลอยกาซเรือน กระจกไดถึง 6 เทาเมื่อเปรียบเทียบกับโครงสรางของ สํานักงานทั่วไป ตัวอาคารสวนใหญไดรับการออกแบบให เปดรับและกระจายแสงจากภายนอก ใชกระจกที่เปนฉนวน ความรอนเพื่อลดการใชพลังงานสําหรับระบบทําความเย็น และความรอน โดยมีหลักการออกแบบทีส่ าํ คัญ คือตัวอาคารมีสว น โคงเพือ่ ลดพืน้ ทีท่ สี่ มั ผัสความรอน พืน้ ทีก่ รอบอาคารทีล่ ดลง ชวยลดพื้นที่การแลกเปลี่ยนความรอนกับภายนอก มีการ ใชประโยชนจากแสงธรรมชาติใหเกิดประโยชนมากที่สุด แผงกั้นแสงอาทิตยจะชวยลดความสวางและความรอน พรอมกับมีการเติมอากาศใหมจากภายนอกตามมาตรฐาน ที่อัตรา 25 ลูกบาศกเมตรตอคน ระบบระบายอากาศนี้ สามารถทํางานได 3 ระดับขึ้นอยูกับฤดูกาล นอกจากนี้ ยั ง ออกแบบให มี ก ารใช แ สงสว า งจาก ภายนอก เพือ่ ลดการใชพลังงานของแสงสวางภายในอาคาร ช ว ยปกป อ งผู ใ ช อ าคารจากการแผ รั ง สี แ สงอาทิ ต ย จ าก ภายนอก โดยสวนหนึ่งของความรอนที่ตองใชในอาคารได มาจากเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงานความรอน และออกแบบให มี ท อ กล อ งพื้ น ที่ ห น า ตั ด สี่ เ หลี่ ย มติ ด ตั้ ง ในอาคารเพื่อรองรับระบบความเย็นและระบบความรอน พรอมทัง้ ออกแบบอาคารใหใชนา้ํ นอยทีส่ ดุ มุง เนนการรักษา สมดุลระหวางการใชพลังงานไฟฟาและการผลิตจากแผง โซลารเซลล

ภาพประกอบ : https://architizer.com

มีจดมุง หมายเพือ่ เปนทีร่ วมกันของเทคโนโลยีอาคาร สีเขียว เปนอาคารที่ไดรับการออกแบบใหมีกรอบอาคารที่ สามารถปองกันความรอนจากภายนอกโดยใชกระจก Low-e ซึ่ ง เป น กระจกที่ มี ก ารเคลื อ บสารสะท อ นรั ง สี ค วามร อ น ออกไป มีการนําเทคนิคหลายรูปแบบมาใชในอาคารนี้ เพื่อ ทําใหแสงธรรมชาติสามารถถูกนํามาใชประโยชนไดสูงสุด ทั้งยังออกแบบอาคารภายใตแนวคิดเรื่องระบบปรับอากาศ โดยระบบระบายอากาศดวยอากาศรอนที่ไมใชเครื่องกล นอกจากนี้ยังออกแบบใหมีการใชพลังงานทดแทน ทําใหอาคารแหงนีเ้ ปนอาคารพลังงานศูนยเนือ่ งจากมีระบบ สรางพลังงานทดแทนดวยตัวเอง >> Pearl River Tower อาคารเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมทีม่ ต ี น ทุน พลังงานต่ำทีส่ ด ุ

>> Kroon Hall อาคารเขียวในอุดมคติของมหาวิทยาลัยเยล

ภาพประกอบ : http://www.p-perdana.com

เป น อี ก หนึ่ ง อาคารในประเทศมาเลเซี ย ที่ ถู ก ออกแบบมาใหเปนอาคารสํานักงานทีม่ พี ลังงานสุทธิเปนศูนย ที่ใหญเปนอันดับ 3 ของโลกในป พ.ศ. 2555 ภายใตหลัก การออกแบบอาคารทีม่ รี ะบบทางกลและระบบไฟฟาของตัว อาคาร ระบบกรอบอาคารที่มีประสิทธิภาพดวยการเคลือบ ผนังสองชัน้ และใชผนังและหลังคาทีเ่ ปนฉนวน ใชแสงสวาง จากภายนอก และใชอุปกรณสํานักงานที่มีประสิทธิภาพทั้ง ยังการติดตัง้ แผงโซลารเซลลบนหลังคาของอาคาร กลางวัน หลังคาจะกลายเปนแหลงผลิตพลังงานไฟฟาสําหรับอาคาร และในชวงเวลากลางคืน หลังคาจะกลายเปน หอระบาย ความรอน ไมเพียงเทานี้ หลังคาอาคารแหงนีย้ งั ทํางานแบบ Trickling Night Cooling Roof ระบบชิลเลอรทํางานเฉพาะ ชวงเวลากลางคืน และความรอนถูกระบายออกทางหลังคา ที่มีลักษณะเอียงลาดโดยมีน้ําไหลบนหลังคา นอกจากนี้ ยังเนนการใชแสงสวางจากภายนอก เพื่อลดการใชพลังงานจากหลอดไฟ และใชประโยชนจาก แสงสวางภายนอกใหเปนแสงสวางหลักในอาคารพืน้ คอนกรีต ของตัวอาคาร จะมีการเดินทอระบบความเย็น ความเย็น จะถูกปลอยจากพื้นขึ้นไปในหองที่อยูดานบนและดานลาง ตลอดชวงเวลากลางวัน อีกทั้งยังมาตรการอื่นๆ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพพลังงาน การปฏิบตั ทิ ดี่ แี ละมาตรการการดูแล รักษาที่ดีสามารถชวยลดการใชพลังงานอีกดวย 9

ภาพประกอบ : https://www.som.com

ภาพประกอบ : https://www.theplan.it

ถือเปนสัญลักษณของอุดมคติของมหาวิทยาลัย ที่ สะทอนถึงการพัฒนาลาสุดในเทคโนโลยีสเี ขียวซึง่ ไดรบั การ ออกแบบใหมีการนําของเสียหรือเศษวัสดุจากการรื้อถอน และการกอสรางกลับมารีไซเคิลใชใหมอีกครั้ง มุงเนนการ รี ไซเคิลอยางยั่งยืน อีกทั้งวัสดุกอสรางทั้งหมดที่ ใชจะวัสดุ ประหยัดพลังงานโดยเฉพาะผนังที่เลือกใชวัสดุเปนฉนวน กันความรอน สวนผนังอาคารดานทิศใต ซึง่ มีความยาว 218 ฟุต ไดรบั การออกแบบใหมกี ารนําความรอนจากแสงอาทิตย มาใชในฤดูหนาวและไดรบั แสงสวางตลอดทัง้ ปตามธรรมชาติ โดยแสงสวางภายในอาคารปรับเปลี่ยนใหเหมาะสม โดย ระบบแสงจะปดอัตโนมัติเมื่อไมมีคนในบริเวณนั้น การ ติดตัง้ แผงโซลารเซลลบนหลังคา ทําใหสามารถผลิตกระแส ไฟฟาทั้งหมดของอาคาร ทั้งยังมีระบบพลังงานความรอน ใตพื้นและมีการกักเก็บน้ําฝนเพื่อใชประโยชนอีกดวย GreenNetwork4.0 March-April 2018

อาคารแหงนี้ตั้งอยู ในประเทศจีนเปนตัวอยางของ อาคารที่ออกแบบมาเพื่อใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ เปนอาคารทีม่ กี ารใชพลังงานเปนศูนย มีตน ทุนดานพลังงาน ต่ําที่สุดโดยอาศัยความกาวหนาทางวิศวกรรมการกอสราง ที่ล้ําสมัย ดวยการติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟาพลังลม แผง โซลารเซลล ระบบพื้นเย็น เปนตน หลักการออกแบบที่สําคัญของอาคารแหงนี้ คือ การใชเทคนิคการลดการใชพลังงาน โดยการใหความเย็น จากเพดานแทนการหมุนเวียนอากาศและการปรับอากาศ แบบปกติ มีการใชผนังสองชั้นรวมกับระบบมานบังแสง อัตโนมัติติดตั้งทางทิศเหนือและทิศใต เปนการเก็บความ รอนไวในผนังสองชัน้ พรอมทัง้ ใชเทคนิคการดูดซับพลังงาน จากธรรมชาติรอบๆ อาคาร โดยใชเทคโนโลยีการผลิต พลังงานไฟฟาจากลมและจากแสงอาทิตย ทัง้ หมดนีเ้ ปนเพียงสวนหนึง่ ของอาคารเขียวทีเ่ กิดขึน้ ทั่วโลกและเปนเครื่องพิสูจนประการหนึ่งที่สะทอนใหเห็น วาปรากฏการณอาคารเขียวที่เปนเมกะเทรนดในวันนี้ จะ กลายเปนมาตรฐานใหมของอาคารทัว่ โลกในอนาคตไดจริงๆ ที่มา : www.2e-building.com


SPECIAL

Scoop กองบรรณาธิการ

คิง เพาเวอร ศรีวารี คอมเพล็กซ อาคารใหมสรางสรรคอนุรักษพลังงาน

5: :+*@ G3)ĉ =L): /ĉ: :+5!@+9 1č&-9 :!

ทราบหรือไมวา อาคาร หรือสิง่ กอสรางตางๆ สรางผลกระทบ ตอสภาพแวดลอม สุขภาพและคุณภาพชีวติ ของผูค น รวมไปถึงสภาพ เศรษฐกิจ การกอสรางอาคารอนุรักษพลังงานหรือ Green Building จึงมีบทบาทสําคัญมากในยุคปจจบัน โดย Green Building จะตอง พิจารณาขัน้ ตอนตัง้ แตการออกแบบ การกอสราง การปรับปรุงอาคาร เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด สําหรับประเทศไทยไมไดนิ่งเฉย องคกรหนวยงานภาครัฐ หรือภาคเอกชนตางใหความสําคัญ โดยอาคารที่กอสรางใหมก็จะมี การออกแบบให เ ป น อาคารที่ มี ก ารอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานเป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอม ในขณะที่อาคารเกาก็พยายามจะปรับปรุงใหเปนอาคาร ที่ลดการใชพลังงานมากยิ่งขึ้น ซึ่งหลายอาคารที่ออกแบบกอสราง ใหอาคารอนุรักษพลังงาน หรือการปรับปรุงอาคารเกาใหลดการใช พลังงาน ยังไดรับรางวัลการันตีจากเวที Thailand Energy Awards และรางวัล ASEAN Energy Awards

อาคารคิง พาวเวอร ศรีวารี คอมเพล็กซ เปนศูนยการคาปลอดอากร ที่ตั้งใจ ออกแบบตั้งแตเริ่มกอสรางอาคาร โดยนําเอาเอกลักษณของศิลปะไทยทองถิ่นมา ผสมผสานกับสถาปตยกรรมสมัยใหม สรางความโดดเดน และประหยัดพลังงาน นําลวดลายหกเหลีย่ มของงานจักรสานมาประยุกตใชเปนแผงกรองแสงแดดทางดานหนา และดานหลังของอาคาร ดานบนหลังคาอาคารสรางเปนลักษณะ Square Baskets ออกแบบอยูเหนือสวนหยอมกลางอาคารทั้งสองดานของโถงตอนรับ สูง 12 เมตร ในสวนของหลังคาอาคารเลือกใชวัสดุ Metal Sheet ปองกันความรอนและเสียง ผนังโปรงแสง ใชกระจกประหยัดพลังงาน (Low-E Glass) เคลือบผิวกระจกดวย สารเงิน (Silver) สะทอนพลังงานความรอนออกไปไดมากและโปรงแสง ในสวนผนังทึบ ใชอิฐมวลเบาสองชั้นมีชองวางอากาศตรงกลาง (Double Wall with Gap) เพื่อเปน ฉนวนปองกันความรอนที่จะเขาสูภายในอาคารและชวยลดอุณหภูมิภายในอาคาร ดานวิศวกรรม ออกแบบระบบปรับอากาศเปนแบบรวมศูนย เลือกใชเครื่อง ทําน้ําเย็นประสิทธิภาพสูง ชนิดปรับการทํางานตามภาระการใชงาน (VSD Chiller) ขนาด 700 TR 2 เครื่อง และ ขนาด 350 TR 2 เครื่อง ระบบแสงสวาง ภายในอาคาร หองโถงทางเดิน ที่จอดรถ หองน้ํา และอื่นๆ มีการใชแสงธรรมชาติ โดยผานผนัง หรือหนาตาง และเลือกใชหลอดไฟ LED ภายในพื้นที่สวนกลางและสํานักงาน สวนดานการจัดสภาพแวดลอม ของอาคารนั้น ดวยการปลูกไมยืนตนและพืช คลุมดินรอบอาคารและปลูกหญาบริเวณดานหนาอาคารดานทิศใตเปนไมยนื ตนเพือ่ เปน รมเงาใหกบั อาคาร มีบอ นา้ํ ธรรมชาติขนาด 4,800 ลบ.ม. และสระบัวขนาด 3,000 ลบ.ม. วางขนานกับตัวอาคาร โดยนําน้ําไปใชรดน้ําตนไมและพื้นหญาบริเวณหนาอาคาร ดวยการใส ใจการออกแบบอาคารตั้งแตกอสรางเพื่อเกิดการอนุรักษพลังงาน ทําใหอาคารคิง เพาเวอร ศรีวารี คอมเพล็กซ ไดรับรางวัลดีเดนดานอนุรักษพลังงาน อาคารสรางสรรคเพื่อการอนุรักษพลังงาน ประเภทอาคารใหม (New and Existing Building) จากเวที Thailand Energy Awards 2017

อินเตอรเชนจ 21 อาคารใหเชาลดการใชพลังงาน อาคารอินเตอรเชนจ 21 ไดรบั รางวัลดีเดน ประเภทอาคารควบคุม จาก Thailand Energy Awards 2017 อาคาร ดังกลาวมีขนาดความสูง 35 ชั้น เปนอาคารสํานักงานใหเชาบนแยกถนนสุขุมวิทและถนนอโศก ที่ตระหนักถึงความ จําเปนในการลดการใชพลังงาน เพือ่ ลดคาใชจา ยดานไฟฟา ซึง่ ถือวาเปนตนทุนหลักของอาคาร และยังเปนการลดภาวะ โลกรอนที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จึงไดกําหนดนโยบายอนุรักษพลังงาน เพื่อใชเปนแนวทาง ในการอนุรักษพลังงาน สนับสนุนการเรียนรู และอบรมใหกับพนักงานในหนวยงาน โดยสงพนักงานเขาอบรมกับ หนวยงานภายนอก ผลการดําเนินการอนุรักษพลังงาน ในชวงป พ.ศ. 2557-2559 อาคารดําเนินการอุนรักษพลังงานที่ไมใชเงิน ลงทุนและใชเงินลงทุน เชน การปรับตั้งอุณหภูมิ Set point น้ําเย็น จาก 50 ํF เปน 51 ํF ปรับสมดุลอัตราการไหล ของน้ําเย็น Chiller High Zone เปลี่ยนหลอดไฟลานจอดรถ จากหลอด T5 ขนาด 28 วัตต เปนหลอด LED 16 วัตต ติดตั้งชุด Motion Sensor ตรวจจับความเคลื่อนไหวและควบคุมไฟฟาแสงสวางหองน้ํา 72 หอง สามารถลดการใช พลังงานไฟฟาไดถึง 1,036,559 kWh/ป คิดเปนมูลคาที่ประหยัดได 3,109,678 บาท/ป ดานการรักษาสิ่งแวดลอม อาคารมีระบบบําบัดน้ําเสีย เปนระบบเติมอากาศ และใชจลินทรีย Bio ชวยในการ บําบัดแทนการใชสารเคมี และมีการตรวจวิเคราะหนํา้ ทิ้งเปนประจําทุกเดือน และดูดกากของเสียทิ้งปละ 2 ครั้ง เพื่อ ไมใหเกิดปญหากลิ่นรบกวน ในสวนของแบตเตอรี่เกาหมดอายุ อาคารไดจัดทํากลองรวบรวมและตั้งกระจายตาม จดตางๆ ของอาคารจํานวน 3 ชุด เพื่อใหผูเชาและผูใชอาคารไดรับความสะดวกในการทิ้งแบตเตอรี่เกา สงใหกับ สํานักงานเขตเพื่อนําไปทําลายอยางถูกวิธี 10

GreenNetwork4.0 March-April 2018


สยามพิวรรธนทาวเวอร อาคารปรับปรุงประหยัดพลังงาน อาคารสยามพิวรรธนทาวเวอร อาคารสํานักงานอัจฉริยะสไตลเอ็กซคลูซฟี สูง 30 ชัน้ ตัง้ อยูในทําเลที่ดีที่สุดกลางใจเมือง เปนที่ตั้งของสํานักงาน บริษัท สยามพิวรรธน จํากัด ลาสุดรับ รางวัลดีเดน อาคารสรางสรรคเพื่อการอนุรักษพลังงาน ประเภทอาคารปรับปรุง (Retrofitted Building) จากเวที Thailand Energy Awards 2017 ในป พ.ศ. 2558 บริษัท สยามพิวรรธน จํากัด ไดทําการปรับปรุงงานระบบกรอบอาคาร เนื่องจากเครื่องจักรมีอายุการใชงานมานาน สงผลตอประสิทธิภาพที่ลดลง กอใหเกิดการสิ้น เปลืองพลังงาน แตการปรับปรุงระบบในครัง้ นีย้ งั คงรักษามาตรฐาน อํานวยความสะดวกใหแกผู มาใชบริการและผูเ ชา การตัง้ คาระบบตางๆ ใหเหมาะสมกับการใชงาน ไดแก การปรับเวลาเปด ไฟสองอาคาร ตั้งคาอุณหภูมิใหเหมาะสมกับสภาพอากาศ และบํารุงรักษาเครื่องจักรใหอยูใน สภาพดีพรอมใชงานและทํางานไดอยางเต็มประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถลดการใชพลังงานได มากกวารอยละ 27.30 เมื่อเทียบกับกอนดําเนินการปรับปรุง ดานระบบปรับอากาศ ไดเปลี่ยนเครื่องจักรของระบบทําความเย็นชนิดระบายความรอน ดวยน้ํา (Water Cooled Chiller) ใหมทั้งหมดเปนจํานวน 5 เครื่อง เพื่อทดแทนชุดเดิมที่มีอายุ การใชงานมากกวา 18 ป และไดมกี ารติดอุปกรณเพือ่ ชวยในการประหยัดพลังงาน ไดแก ติดตัง้ ระบบ Chiller Management System เพื่อชวยในการควบคุมระบบ ติดตั้งระบบ Ball Cleaning เพือ่ ชวยลางทําความสะอาดไสทอ Condenser ใหสะอาดเหมือนใหมอยูต ลอดเวลา โดยปราศจาก สารเคมีใดๆ ติดตัง้ ระบบ VAV with VSD ใหกบั ระบบ AHU เพือ่ ปรับลมเย็นใหเหมาะสมกับโหลด ความเย็นและสามารถลดความเร็วรอบที่พัดลมของ AHU สวนดานระบบแสงสวางนั้น ไดดําเนิน การเปลี่ยนหลอดไฟเปน LED ขนาด 18,20 วัตต ทดแทนหลอดฟลูออเรสเซนต ขนาด 36.42 วัตต โดยติดตั้งในพื้นที่สํานักงาน ชั้น 7-30 และติดตั้งระบบ Motion Sensor พื้นที่บันไดหนีไฟ ในขณะที่ ดานการจัดการพลังงานและสิง่ แวดลอม มีการรณรงคทงั้ ในสวนของผูใ ชอาคาร และพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทฯไดมกี ารเขารวมโครงการชดเชยคารบอนกับองคการบริหาร กาซเรือนกระจก เพื่อเปนการแสดงเจตนารมณในการชวยลดปญหากาซเรือนกระจก

โรงแรมเดอะชิลล รีสอรท แอนด สปา ออกแบบสำหรับภูมิอากาศรอนชื้น โรงแรมเดอะชิลล รีสอรท แอนด สปา ตั้งอยูบนเกาะชาง จังหวัดตราด ดวยสภาพพื้นที่ที่ติดกับชายฝงทะเล จึงออกแบบ อาคารหองพักใหมีความสูง 2 ชั้น และ 3 ชั้น เพื่อทุกหองพักสามารถรับแสงสวางจากธรรมชาติ และมีสระน้ําลอมรอบทุกอาคาร ชวย ประหยัดพลังงานและลดปญหาสิ่งแวดลอม พื้นที่โดยสวนใหญเปดโลงรับลมจากธรรมชาติไดทุกทิศทาง และมีตนไมลอมรอบชวยใหอากาศเย็น สบาย ปลูกพืชคลุมดินเปนสนามหญาและไมพุม ปลูกตนไผเปนแนวสูง การออกแบบตัวอาคารใหตงั้ อยูในแนวเดียวกันและหนาอาคารรับลมธรรมชาติทพี่ ดั มาจากทะเลเขาสูภ ายในอาคาร โดยอาคารมีรปู ทรงสีเ่ หลีย่ ม ผนังทึบใชอฐิ มวลเบาฉาบดวยปูนผสมนา้ํ ยากันซึมดานนอกและดานใน ผนังดานในกรุดว ยยิปซัมบอรด ทาสีดา นนอกและดานในเปนสีขาว ชวยลดความรอนเขาสูอ าคาร ผนังโปรงแสง ใชกระจก Tempered แตละอาคารมีชายคายื่นออกมาเพื่อกันแสงแดดสองเขาหองพัก อาคารก็ใหความสําคัญในเรือ่ งพลังงาน โดยระบบปรับอากาศเปนระบบหนึง่ ที่ใชพลังงานไฟฟาคอนขางสูงเมือ่ เทียบกับสัดสวนการใชพลังงานไฟฟาในระบบอืน่ ๆ ทัง้ นี้ เปนอาคารประเภทโรงแรมหองพักซึง่ แยกเปนหองชัดเจน เพือ่ สะดวกในการเปดปดใชงานที่ไมตรงกัน จึงเลือกติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศแบบแยกสวน (Split type) ขนาดทําความเย็นที่เหมาะสมกับหองพัก ระบบแสงสวางในอาคารและพื้นที่ ใชสอย ใชหลอดไฟประหยัดพลังงาน เชน หลอดชนิด LED โดยติดตั้งใหเหมาะสมกับ ประเภทของการใชงานในแตละพื้นที่ เชน หองพัก สนามหญา ทางเดิน หองออกกําลังกาย สปา สระวายน้ํา เปนตน นอกจากนี้ยังไดนําพลังงานหมุนเวียนมาใชเพื่อ ลดตนทุนคาใชจายดานพลังงาน โดยการติดตั้งโซลารรูฟท็อป ขนาดกําลังการผลิตรวม 18.50 กิโลวัตต จํานวน 74 แผง เพื่อผลิตพลังงานไฟฟาแลวจายใหกับหองพัก ซึ่งในป พ.ศ. 2559 สามารถลดการซื้อพลังงานไฟฟาจากการไฟฟาสวนภูมิภาคไดถงึ 24,830 กิโลวัตตตอป คิดเปนมูลคา 95,844 บาทตอป ลาสุด ไดรับ รางวัลดีเดน อาคารสรางสรรคเพื่อการอนุรักษพลังงาน ประเภทอาคารออกแบบสําหรับภูมิอากาศรอนชื้น (Tropical Building) จากเวที Thailand Energy Awards 2017 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท Tropical Building จาก ASEAN Energy Awards 2017 เพราะการกอสรางหรือปรับปรุงอาคาร ในยุ ค ป จ จบั น ไม ไ ด มี เ ป า หมายเพี ย งแค การประหยัดพลังงาน แตตองคํานึงถึงสังคม คุณภาพชีวติ เศรษฐกิจ และสิง่ แวดลอม ควบคู กัน อาคารอนุรักษพลังงาน อาคารเขียว หรือ อาคารที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ลวนมีทิศทาง เดียวกัน นั่นก็คือความยั่งยืน 11

GreenNetwork4.0 March-April 2018


GREEN

Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข

จากความหลากหลายดานเชื้อชาติ และวิถีชีวิตของอาเซียน คงตองเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แลววา ประเทศลาว หรือ สปป.ลาว เปรียบเสมือนแคปซูลแหงกาลเวลา ที่คอยเก็บเรื่องราวในอดีตของอาเซียนไวใหคนรุนหลังไดศึกษา ใชวา สปป.ลาว จะไมมกี ารพัฒนาและปลอยใหเปนประเทศลาหลัง แต สปป.ลาวไดประสบการณจาก เพื่อนบานอยางประเทศไทย จึงพัฒนาประเทศแบบไมถอนรากถอนโคน โดยเฉพาะ อยางยิ่งดานวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม จะเห็นไดวา สปป.ลาวมีการใชทรัพยากร ธรรมชาติอยางระมัดระวัง และใชเทาทีจ่ าํ เปน จึงเปนแรงบันดาลใจใหตอ งเขียนตีแผ เรื่องราวที่ควรคาแกการเสียเวลาอาน นั่นคือ “หลวงพระบางเมืองมรดกโลกดาน วัฒนธรรม” นอกจากนี้ หลวงพระบางยังสามารถรักษาสภาพแวดลอมใหชุมน้ํา จนสามารถสรางโรงไฟฟาไซยะบุรแี บบไมตอ งกัน้ เขือ่ น (ROR: Run - of - the - River) “หลวงพระบางเมืองมรดกโลกดานวัฒนธรรม” ของ สปป.ลาว และมรดก ของมวลมนุษ ยชาติ เพชรเม็ดงามของอาเซียนแหงนี้ ไดรับการประกาศใหเปน มรดกโลกทางวัฒนธรรมทั้งเมือง ไม ใชเพียงสวนหนึ่งสวนใด หรือสิ่งกอสรางใด สิง่ กอสรางหนึง่ ซึง่ เปนความภาคภูมใิ จของชาวหลวงพระบางในการรักษามรดกลา้ํ คา นี้ไวตราบผืนดินกลบหนา คนรุนใหมชาวหลวงพระบางถึงกับมีความรูสึกวา ตัวตน ของพวกเขาก็คอื สวนหนึง่ ของมรดกทางวัฒนธรรมและก็เปนมรดกโลกเชนกัน ซึง่ คง ยากที่จะบรรยาย นอกจากทานผูอานจะไปเยือนหลวงพระบางใหเห็นกับตา หลวงพระบาง เมืองเกาแกราชธานีแหงแรกของอาณาจักรลานชาง ไดมีการ เปลี่ยนชื่อหลายครั้งตามผูมีอํานาจปกครองในแตละสมัย จนในที่สุดเปลี่ยนจาก ชือ่ เชียงทองเปน “หลวงพระบาง” จนถึงปจจบัน หลวงพระบางไดรบั การขึน้ ทะเบียน เปนมรดกโลกดานวัฒนธรรม เนื่องจากมีวัดวาอารามเกาแกมากมาย มีบานเมือง อันเปนเอกลักษณแบบโคโลเนียลสไตล ตัวเมืองตั้งอยูริมแมนํ้าโขงและแมนํ้าคาน ซึ่งไหลมาบรรจบกันทามกลางธรรมชาติอันงดงาม นอกจากนี้ชาวหลวงพระบางยัง มีบุคลิกยิ้มแยมแจมใสดวยแววตาอันเปนมิตร อีกทั้งยังมีขนบธรรมเนียมประเพณี อันงดงาม จึงผานหลักเกณฑการพิจารณาเมืองมรดกโลกของยูเนสโกถึง 3 ขอ หลวงพระบางไดรบั การขึน้ ทะเบียนทัง้ เมืองเมือ่ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2538 และไดรบั การยกยองวาเปนเมืองที่ไดการปกปกรักษาที่ดีที่สดุ ในอาเซียน หลวงพระบางเมืองเสนหแหงการทองเที่ยวของกลุม CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม) เปนเมืองเล็กๆ ทีโ่ อบลอมดวยขุนเขาทีม่ คี วามสูงเฉลีย่ 1,500 เมตรจากระดับน้ําทะเล อากาศจึงดีตลอดทั้งป นอกจากวัดวาอาราม โบราณสถาน และผูคนที่ดึงนักทองเที่ยวทั่วโลกใหมาที่หลวงพระบางแลว ดานความปลอดภัย การเดิ น ทางก็ มี ส ายการบิ น ให เ ลื อ กมากมาย รองรั บ ด ว ยสนามบิ น นานาชาติ (International Airport) ความปลอดภัยระดับสากล หลวงพระบางอยูตอนเหนือ ของ สปป.ลาว ทีบ่ รรดาเราทานรูเ พียงวา สปป.ลาวไมมพี น้ื ทีท่ อ่ี อกสูท ะเล จึงเสียเปรียบ 12

D*?5!

3-/ &+8":

D)?5 )+ F- 2##Ŵ-:/ ?L! )F+ H''ą:&-9 !M;

H *8"@+=

ดานเศรษฐกิจ วันนี้ สปป.ลาวสงขายสินคาดวยสายสงไฟฟานําหนาสู ASEAN Power Grid ไมงอ ทาเรือ และจดแข็งอีกประการหนึง่ ทีม่ องขามไปไมได ก็คือ สปป.ลาวมี พื้ น ที่ อ ยู ใจกลางคาบสมุ ท รอิ น โดจี น ล อ มรอบด ว ยประเทศที่ สวนใหญมฐี านะทางเศรษฐกิจสูงกวา ไดแก ประเทศจีน เวียดนาม ไทย กัมพูชา และเมียนมา ซึ่งมีนอยประเทศในโลกที่มีชายแดนติดตอกับเพื่อนบานถึง 5 ประเทศ ถาจะขนานนามวา สปป.ลาว คือ “Truly ASIA” ก็คงจะไมผิด

Xayaburi Power XPCL โรงไฟฟาพลังน้ำไซยะบุรี โรงไฟฟาพลังนาํ้ ไซยะบุรี สปป.ลาว กอสรางในรูปแบบของ Run - of the - River ไมมีเขื่อนกักเก็บน้ํา ซึ่งปริมาณน้ําที่ ไหลเขาเทากับปริมาณน้ํา ที่ ไหลออก ไมมีการกักเก็บหรือเบี่ยงน้ําออกจากแมน้ําโขง ปริมาณน้ําที่ ไหลผานโครงการจึงเปนไปตามธรรมชาติ การกอสรางในรูปแบบฝายน้ําลน Run - of - the - River นีเ้ หมาะกับแมนา้ํ ที่ไหลสมา่ํ เสมอตลอดทัง้ ปและไมแรง เกินไป ซึ่งการบริหารจัดการอาจมีความเสี่ยงสูงกวาโรงไฟฟา พลังน้ําแบบมี เขื่อนกักเก็บนํา้ (Reservoir)

GreenNetwork4.0 March-April 2018


สถานที่ตั้ง โครงการไฟฟาพลังนา้ํ ไซยะบุรี ตัง้ อยูบ นแมนา้ํ โขงในสวนที่ไหลผานเขาไป ใน สปป.ลาว แขวงไซยะบุรี อยูห า งจากเมืองหลวงพระบางไปทางทิศใตประมาณ 80 กิโลเมตร และหางจากปากน้ําโขงประมาณ 1,900 กิโลเมตร สถานที่ตั้ง โรงไฟฟาเปนบริเวณทีม่ ปี ระชากรอยูน อ ย จึงมีการอพยพยายผูค นเพียง 400-600 ครอบครัว หากจะถามถึงการกอสรางโรงไฟฟาไซยะบุรีมีผลกระทบตอวิถีชีวิตและ สิ่งแวดลอมมากนอยเพียงใด คงตองหาคําตอบจากหลายๆ ฝาย คําตอบสุดทาย คงตองอยูท คี่ วามคุม คาระหวางสิง่ ที่ไดมากับสิง่ ทีเ่ สียไป ซึง่ มีหลายๆ ฝายออกมา แสดงความคิดเห็น บางก็เปนผูที่ไดรับผลกระทบโดยตรง บางก็เปนผูที่ออกมา แสดงบทบาทเพือ่ ใหมที ย่ี นื ในสังคม และวันนี้ “โรงไฟฟาพลังนาํ้ ไซยะบุร”ี เดินหนา พรอมที่จะเสร็จตามกําหนด และจายไฟฟาตามสัญญาซื้อขายใหประเทศไทย ภาพรวมการลงทุน : โรงไฟฟาพลังนํา้ ไซยะบุรี Timeline รายละเอียด ระยะเวลาดําเนินการ พ.ศ. 2550-2554 ศึกษาความเปนไปได Pre - Const. 5 ป พ.ศ. 2555-2262 กอสราง, Const. 8 ป พ.ศ. 2563-2593 สัมปทาน, O&M 30 ป มูลคาโครงการ EPC (คากอสราง) Project Admin Financial Cost (ดอกเบี้ย) รวมมูลคาโครงการ

ลานบาท 95,000 15,000 25,000 135,000

สัดสวนการถือหุน

เปอรเซ็นต 12.50 30 20 7.5 25 5

EGCO ช.การชาง EDL BECL GPSC PT Construction and Irrigation

การจัดการผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ผูพัฒนาโครงการ (Xayaburi Power Company Limited) ไดดําเนินการ ศึกษาผลกระทบดานสังคมและสิง่ แวดลอม ดานผลกระทบตอคุณภาพนา้ํ อากาศ ดิน ปาไม สัตวปา สัตวน้ํา และระบบนิเวศวิทยาโดยรวม และนําเสนอรายงาน การศึกษาดังกลาว พรอมทัง้ แผนงานแกไขปญหาผลกระทบตอรัฐบาล สปป.ลาว เนือ่ งจากโครงการฯ ตัง้ อยูบ นลํานาํ้ โขง ผูพ ฒ ั นาโครงการฯ ไดดาํ เนินการออกแบบ ตามแนวปฏิบัติ (Guideline) ของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (Mekong River Commission : MRC) โดยมีแผนงานสําคัญในการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม สรุปไดดังนี้ 1. การจัดทําระบบทางปลาผาน ผู พั ฒ นาโครงการฯ จะจั ดให มี ท างปลาว า ยน้ํ า ผ า นขึ้ น ลงขนาดกว า ง 10 เมตร เพือ่ ใหปลาสามารถเดินทางไดตามฤดูกาลตางๆ รวมทัง้ จะจัดใหมสี ถานี ขยายพันธุปลา เพื่อใหมั่นใจวาจะมีผลผลิตที่เหมาะสมตอการประกอบอาชีพ ประมงของประชาชนที่อาศัยตามริมฝงแมนํา้ โขง 2. ชองทางเดินเรือ ปจจบันการคมนาคมและการขนสงทางเรือไมสามารถทําไดตลอดป เพราะชวงหนาแลงจะมีเกาะแกงโผลขนึ้ หลายแหง จึงเปนอุปสรรคตอการเดินเรือ ขนาดใหญ ผูพ ฒ ั นาโครงการฯ จะกอสรางชองทางเดินเรือทีร่ องรับเรือขนสงสินคา ขนาดใหญ 500 ตัน ทําใหการเดินเรือสะดวกมากกวาเดิม 3. การระบายตะกอน สําหรับตะกอนแขวนลอยที่มากับน้ํานั้น โดยธรรมชาติจะมีมากในชวง นาํ้ หลาก และนาํ้ ไหลเร็ว สวนในฤดูแลงตะกอนจะนอยลง และเนือ่ งจากโครงการฯ ไดปลอยน้ําผานในปริมาณที่ ไหลอยูตามธรรมชาติทุกวัน ความเร็วของน้ําจะ ใกลเคียงกับธรรมชาติเดิม อยางไรก็ตาม โครงการฯ ไดออกแบบใหมีประตู ระบายทรายเพิ่มเติมไว เพื่อไมใหขัดขวางการไหลของตะกอนและอาหารของ สิ่งมีชีวิตในลําน้ําอีกสวนหนึ่งดวย 4. การปองกันการกัดเซาะตลิ่ง การปองกันการกัดเซาะตลิ่ง โครงการฯ จะรักษาการระบายน้ําใหเทากับ ปริมาณน้ําที่ ไหลในลุมแมน้ําโขงในแตละวัน โดยการควบคุมน้ําจะเปนแบบ รายวัน การเปลี่ยนแปลงระดับน้ําเหนือเขื่อนไมเกิน 0.5 เมตร และทายเขื่อน ไมเกิน 1.5 เมตร ดังนั้น เมื่อโครงการนี้แลวเสร็จ ระดับนํ้าดานเหนือเขื่อน จะคอนขางคงที่ตลอดเวลา สวนทางดานทายน้ํานั้นจะเปนไปตามธรรมชาติ คือ ระดับน้ําจะสูงในฤดูน้ํามากและต่ําในฤดูน้ํานอย ซึ่งขึ้นอยูกับปริมาณน้ํา ในแมน้ําโขงตามปกติ

เบื้องหลังความสําเร็จของโรงไฟฟา พลังน้ําไซยะบุรี ใน สปป.ลาว และอีก หลายแหงในอดีตลวนมาจาก CEO ช.การชาง ลูกผูชายวัย 70 ป ชื่อ ปลิว ตรีวิศวเวทย ในฐานะ คนไทยคนหนึ่งตองขอขอบคุณ “คุณปลิว” ที่ชวยให คนไทยได ใ ช ไ ฟฟ า พลั ง งานสะอาดในราคาที่ ถู ก กว า พลังงานจากซากดึกดําบรรพ (Fossil) และเชื่อตอไปวา เราจะมีโรงไฟฟาพลังงานนํ้าจาก สปป.ลาวเพิ่มขึ้นไปอีก จากฝมือนักพัฒนาโครงการชั้นครูจากชายผูนี้

13

GreenNetwork4.0 March-April 2018


GREEN

Report กองบรรณาธิการ

Digital Park Digital Park Thailand เมืองนวัตกรรม มาพรอมความ อัจฉริยะ ที่มีบริการครบวงจร นับเปนการผลักดันศูนยกลางของ การคา การลงทุน การสรางสรรคนวัตกรรมดิจทิ ลั ของภูมภิ าคอาเซียน ใหเกิด สถาบันไอโอที (IoT Institute) เปนครั้งแรกในประเทศไทย เพื่อใชเปนศูนยกลาง การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล

Thailand D)?5 G3)ĉ59 +<*8 Ċ/*!/9 ++)

Digital Park Thailand เมืองนวัตกรรมอัจฉริยะครบวงจร Digital Park Thailand ตัง้ อยูท เี่ ทศบาลแหลมฉบัง อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี เปน สวนหนึง่ ของแผนการใหญ Eastern Economic Corridor (EEC) ของรัฐบาล มีพนื้ ที่ ทั้งหมดกวา 700 ไร แบงออกเปน 3 สวน คือ Digital Innovation Zone พื้นที่ เพือ่ การสรางสรรคนวัตกรรมดิจทิ ลั ถูกวางไวใหเปนพืน้ ทีศ่ นู ยกลางการเรียนรูแ ละ ถายทอดเทคโนโลยีดิจิทัล มีมหาวิทยาลัยและสถาบันสรางสรรคนวัตกรรมดิจิทัล จากทัง้ ในและตางประเทศมาตัง้ หนึง่ ในนัน้ คือ IoT Institute Digital Service Zone พื้นที่สําหรับบริษัทดานดิจิทัลที่จะเขามาลงทุนในประเทศไทย และ Smart Living Zone พื้นที่อยูอาศัยภายใตระบบอัจฉริยะ เพื่อใหประชาชนทั่วไปเขาถึงได พ.อ.สรรพชัย หุวะนันทน กรรมการ ผูจัดการใหญ CAT กลาววา Digital Park Thailand ตั้งอยูในจังหวัดชลบุรี เปนพื้นที่ ทีม่ ศี กั ยภาพทําใหเกิดเมืองนวัตกรรม โดยดึง ผูท มี่ คี วามสนใจรวมกัน ผานการบริการตางๆ ใหมคี วาม Smart เปลีย่ นผานนวัตกรรมทีจ่ ะ ชวยสนับสนุนกิจกรรมเพื่อนําไปสู Thailand 4.0 และพื้นที่แหงนี้ ไมไดดึงเพียงนักลงทุน เทานัน้ แตยงั ผลักดันใหเปนพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพ นําไปสูการขยายผลการใชงานดานดิจิทัล เทคโนโลยี ในพื้นที่ EEC และพรอมขยายตอไปทั่วทั้งประเทศ สําหรับ CAT เอง มีแผนที่จะพัฒนาพื้นที่ Digital Park Thailand ใหเปนศูนยกลางการลงทุนและการ สรางสรรคนวัตกรรมดานดิจทิ ลั ทีท่ นั สมัยและใหญทสี่ ดุ ของประเทศ ภายใตแนวคิด Smart City อันจะมีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอนาคต

14

GreenNetwork4.0 March-April 2018


Digital Park Thailand แมเหล็กดึงดูดนักลงทุน พ.อ.สรรพชัย กลาววา โครงการดังกลาว ซึง่ ตัง้ อยูในพืน้ ที่ EEC ถือวา เปนพื้นที่ที่ดึงดูดความสนใจของนักลงทุนใหตัดสินใจเขามารวมลงทุนอยูแลว ดวยทัง้ สิทธิประโยชนตา งๆ ทีต่ ามมา ทัง้ BOI Plus ทีส่ งู กวา BOI ปกติ อีกทัง้ รัฐบาลปจจบัน มีการลงทุนคอนขางมากในพื้น ที่ EEC ไมวาจะเปนรถไฟ ความเร็วสูง รถไฟรางคู สนามบินอูตะเภา ทาเรือแหลมฉบัง หรือแมกระทั่ง การบริการ Smart Aqua ที่มีความสําคัญ ฉะนั้นแลวความนาเชื่อถือในดาน Digital Solution ใหมคี วามอัจฉริยะ พรอมทีจ่ ะดึงผูล งทุนเขามาในพืน้ ทีแ่ หงนี้ ซึ่งประเทศไทยเองก็อยูในศูนยกลาง CLMV อยูแลว จึงเปนความทาทายของ พื้นที่ Digital Park Thailand ที่จะสรางความสนใจ และพัฒนาพื้นที่ใหเปน Smart City ขนาดเล็กๆ โดยมี East Water เขามามีสวนรวมในการวางแผน ระบบน้ําครบวงจร เปนการตอกย้ําวา Digital Park Thailand นอกจากจะ ผลักดันในดานดิจิทัลแลว ยังใหความสําคัญดานสิ่งแวดลอมอีกดวย “แนวคิด Smart City มองวาเปนเมืองเล็กๆ ถาหากสามารถสราง ตนแบบของเมืองอัจฉริยะขนาดเล็กๆ ในพื้นที่แหงนี้ ได จะงายกวาในพื้นที่ ที่เปนจังหวัดใหญ แนวคิดที่นําเอาเทคโนโลยีมาใชงานเพื่อใหเกิดเปนผลผลิต CAT ในฐานะผูใหบริการเทคโนโลยีชั้นนําของประเทศไทย เปนสวนหนึ่ง ในการพัฒนา Digital Park Thailand พรอมทั้งวางแนวคิดจากพลังงานไปสู Smart City ดวยเทคโนโลยีขน้ั สูงสุด และเปนประโยชนสงู สุดตอพืน้ ทีด่ งั กลาว” CAT ผสานความรวมมือ East Water พัฒนาระบบน้ำครบวงจร เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ําภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หรือ East Water ผูเชี่ยวชาญดานการบริหารจัดการน้ํา แบบครบวงจร ไดลงนามความรวมมือกับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ CAT เพื่อวางแผนพัฒนาระบบสาธารณูปโภคดานน้ําแบบ ครบวงจรภายในพื้น ที่เขตสงเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัลหรือ Digital Park Thailand ใหเกิดประสิทธิภาพและคุมคาสูงสุด จิรายุทธ รุง ศรีทอง กรรมการผูอ าํ นวยการใหญ East Water กลาวถึง ความรวมมือในครั้งนี้วา เปนประโยชนที่จะชวยรองรับความตองการใชนํ้า ไดอยางเพียงพอและยัง่ ยืน East Water จะสนับสนุนขอมูลและแนวทางในการ จัดหาและพัฒนาแหลงนา้ํ ดิบ การใหคาํ แนะนําในการวางระบบนา้ํ อุตสาหกรรม ระบบน้ําเสีย และน้ํารีไซเคิล ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจน แลกเปลี่ยนประสบการณ และถายทอดเทคโนโลยีรวมกัน เพื่อสรางความ เชื่อมั่นและเพิ่มศักยภาพในการลงทุน โดยในปนี้ East Water เตรียมรุก

15

ธุรกิจนา้ํ ครบวงจรอยางเต็มรูปแบบ พรอมกาวสูก ารเปน Smart Water 4.0 เพื่อขานรับนโยบาย Thailand 4.0 ของ รัฐบาล และสนับสนุนการเติบโตของอุตสาหกรรมตามนโยบาย โครงการ EEC ดวยความพรอมของโครงขายทอสงน้ําดิบ “มั่นใจไดวาความรวมมือในครั้งนี้ จะรองรับอุตสาหกรรมดิจทิ ลั ที่ใหญทสี่ ดุ ของประเทศในอนาคตไดอยางครบวงจร พรอมทั้งบริการแบบเบ็ดเสร็จ รวดเร็ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพคุ ม ค า สู ง สุ ด เพื่ อ สนับสนุนใหประเทศไทยมีศักยภาพและ ขีดความสามารถในการแขงขัน” สําหรับการจัดตั้ง Digital Park Thailand ภายใตแนวคิด Smart City ของ CAT นัน้ East Water ตอบรับแนวคิด ดังกลาว โดยรวมวางแผนพัฒนาระบบบริหารจัดการนาํ้ ดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ทันสมัย ชูความเปน Smart Water 4.0 เพื่อใหบริการแบบเบ็ดเสร็จ สามารถ ตรวจสอบขอมูลการใชน้ํา คุณภาพ แรงดัน และการรั่วซึมในระบบไดแบบ Real-time ผานระบบโครงขาย IoT ของ CAT โดยทัง้ หมดนีส้ ามารถดําเนินการ ไดผานแอพพลิเคชั่นหรือเว็บเพจ เพิ่มความรวดเร็วและแมนยํา ลดปริมาณน้ํา สูญเสียและตนทุนในการดูแลระบบ รวมถึงระบบการชําระคาน้ํา พรอมการ แจงเตือนอัตโนมัติหากมีเหตุผิดปกติเกิดขึ้นในระบบ ดวยการควบคุมทั้งระบบ จาก Control Center เพียงจดเดียว ซึ่งจะชวยใหการบริหารจัดการนํ้าภายใน Digital Park Thailand เปนไปอยางมีประสิทธิภาพและทันสมัยมากยิง่ ขึน้ พรอม กาวสูการเปน Smart City อยางไรก็ตาม พืน้ ทีด่ งั กลาวถือวาเหมาะสําหรับการสรางเมืองใหมอยาง Digital Park Thailand ใหเปนศูนยกลางการลงทุนและการสรางสรรคนวัตกรรม ดานดิจิทัล เนื่องจากมีความพรอมในเรื่องสาธารณูปโภค ซึ่งเปนโครงสราง พื้นฐานสําคัญสําหรับการคิดคนและสรางนวัตกรรมใหมๆ

GreenNetwork4.0 March-April 2018


GREEN

Building กองบรรณาธิการ

อาคาร ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย

อนุรักษ พลังงานเขียว แหงอนาคต

Green Building ไมใชกระแสอีกตอไป เพราะทัว่ โลกตางพากันใหความสําคัญ และพรอมจะพลิกโฉมใหอาคารที่สรางใหมหรือการปรับปรุงอาคารเกา กาวไปสู ยุคของอาคารเขียว ที่นอกจากจะชวยในเรื่องของการรักษาสิ่งแวดลอมแลว เชื่อหรือไมวา อาคารเขียว ยังชวยใหเจาของอาคารหรือผูอยูอาศัยลดคาใชจาย ทางดานพลังงาน นําสูก ารชะลอการสรางโรงไฟฟา ซึง่ เปนปญหาระดับประเทศ ในขณะนี้อีกดวย อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เปนอาคารขนาดใหญทมี่ ี แนวคิดในการออกแบบโดยไดแรงบันดาลใจมาจากตราสัญลักษณ รูป “ปลาคู” ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มาผสมผสานกับ แนวคิดดานการอนุรักษพลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม มุงหมายใหอาคารเปน Landmark ในการลงทุนของประเทศ เปนอาคารที่เนนความทันสมัย คํานึงถึงการประหยัดพลังงาน และเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม จนไดรบั การรับรองตามมาตรฐาน LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) ในระดับ Gold ของสถาบันสภาอาคารเขียวแหงประเทศ สหรัฐอเมริกา สํ า หรั บ การออกแบบด า นสถาป ต ยกรรมนั้ น พื้ น ที่ ใชสอยอาคารออกแบบเปนทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส รูปทรงที่มี ประสิทธิภาพการใชพลังงานและมีพื้นที่ใชสอยไดเหมาะสม ที่สุด มีพื้นที่ผนังนอยเมื่อเทียบกับรูปแบบอื่นๆ ผนังประกอบ อาคารเปนผนังแบบสองชัน้ (Double Skin Facade) โดยกระจก ชัน้ นอกเปนกระจกหนาสองชัน้ ชนิด Insulated Glass เพือ่ ปองกัน 16

GreenNetwork4.0 March-April 2018


ความรอนและความชื้นเขาสูภายในอาคาร ชองวางระหวางผนังทั้งสอง รักษาอุณหภูมริ อ นโดยปลอยความรอนออก และมีพดั ลมระบายดึงอากาศ รอนออกเมือ่ อุณหภูมสิ งู เกินคาทีก่ าํ หนด เพิม่ มานกันแดดปองกันความ รอนที่เลื่อนปด-เปดอัตโนมัติตามความเขมของแสงอาทิตย ทําให ผนังกรอบอาคารมีคาการปองกันความรอน (U-Value) สูง และเปน ผนังกระจกทีย่ งั คงความสามารถมองทิวทัศนภายนอกอาคารไดอยาง เต็มที่ โดยผูใชอาคารไมรูสึกรอนหรือไดรับผลกระทบจากแสงแดด ทีม่ ากเกินไป และยังชวยใหเพิม่ ประสิทธิภาพการสองสวาง เนือ่ งจาก มีแสงธรรมชาติเขาสูต วั พืน้ ทีภ่ ายในมาก เกิดพืน้ ที่ Daylight Zone ลด การใชโคมไฟแสงสวางลงตั้งแตออกแบบได นอกจากนี้ การวางรูปแบบอาคารในบริเวณทางเขาอาคารหรือ เชือ่ มตอกับพืน้ ทีม่ ปี รับอากาศภายในอาคาร ไดออกแบบใหมพี นื้ ทีก่ นั้ อากาศ รอน หรือ Transition Area ทีใ่ ชประตูหมุน Revolving Doors กักอากาศรอน และความชื้นจากภายนอกไมใหเขาสูพื้นที่ปรับอากาศภายในมาก และลดการ สูญเสียความเย็นดวย ทีส่ าํ คัญอาคารยังใชระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย Chilled Water System เลือกใชเครือ่ งทํานํา้ เย็นประสิทธิภาพสูง (Hi-Efficiency Chiller)ที่ 0.58 kW/Ton เลือกปม สงนํา้ เย็นไหลเวียนทีม่ คี า อัตราการไหลเพียง 2.0 GPM/Ton ทีต่ าํ่ กวาทัว่ ไป ทําใหขนาดทอสงนํา้ และปม นํา้ เย็นไหลเวียนเล็กลงแตยงั คงประสิทธิภาพดี ติดตั้งรวมกับอุปกรณบริหารจัดการเดินระบบ CPMS (Chiller Plant Management System) เพือ่ ควบคุมการทํางานจัดการ ระบบใหเหมาะสมกับภาระ Load และมี VSD (Variable Speed Drive) ควบคุมการทํางานของปมสงนํ้าเย็น

ใหเหมาะสมกับภาระ Load ลดการใชไฟฟาในระบบปรับอากาศไดถึง 10% ติดตั้ง VAV (Variable Speed Value) ปรับอุณหภูมิลมที่หัวจาย และใหควบคุม VSD เพื่อปรับความเร็วรอบของมอเตอร AHU (Air Handling Unit) ใหเหมาะสมกับ ภาวะการทําความเย็นในแตละชั้น ใชหลอดประหยัดไฟฟาชนิด (LED) ในทุกพื้นที่ รวมกับพื้นที่เปน Daylight Zone สงผลใหมีคาการใชไฟฟาระบบแสงสวาง เพียง แค 4.34 Watt/M2 เลือกใช Solar Cell เปนพลังงานหมุนเวียน โดยติดตัง้ บนหลังคา อาคารจอดรถมีกาํ ลังผลิต 63.36 kWp ผลิตกระแสไฟฟาใชจริงไดถงึ 72,000 หนวย ตอป ชวยลดการใชไฟฟาลงไดรอ ยละ 1 ตอเดือนของปริมาณการใชพลังงานไฟฟา ทัง้ หมด รวมถึงมีการติดตัง้ ระบบ BAS การบริการระบบตางๆ ของอาคาร เชน ระบบ ควบคุมไฟฟาแสงสวาง ระบบควบคุมอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศอัตโนมัติ เปนตน

17

สวนดานสิ่งแวดลอมมีการนํานํ้าเสียที่ผานการบําบัดกวา 90% มากรอง (Recycle) และนํากลับมาใชใหม (Reuse) ในระบบระบายความรอน Cooling Tower ใหกบั Chiller และนํามาใชกบั ระบบรดนํา้ ตนไม แทนการใชนาํ้ ประปา มีการติดตัง้ กอกนํา้ และสุขภัณฑประหยัดนํา้ ทีล่ ดการใชนาํ้ ไดถงึ 43.2% สงผลใหอาคารมีเกณฑ ใชนาํ้ ทีต่ าํ่ และยังมีการคัดแยกขยะออกเปน 4 ประเภท คือ ขยะรีไซเคิล ขยะอินทรีย ขยะอันตราย ขยะทั่วไป อีกทั้งยังมีนโยบายรณรงคใหพนักงานลดปริมาณขยะ ผานโครงการงดใชบรรจุภณ ั ฑทที่ าํ มาจากโฟม Zero Foam No Plastic หรือแบงปน า เพื อ ่ ทดแทนถุ ง พลาสติ ก เปนตน ถุงผ เพราะอาคารเขียว มีความสําคัญตอทัง้ ผูอ ยูอ าศัยภายในอาคารเอง รวมไป ถึงสังคมรอบขาง ฉะนั้นแลว การสรางอาคารเขียวจึงตองมองในหลากหลายมิติ ไมเพียงแตดา นพลังงานเทานัน้ แตยงั ตองใสใจถึงคุณภาพชีวติ และสภาพสิง่ แวดลอม เปนสําคัญ

GreenNetwork4.0 March-April 2018


GREEN

Article ดร.พรลดา ดาวรัตนชัย ดร.วีระวัฒน แชมปรีดา ศ. ดร.นวดล เหลาศิริพจน

ความสําคัญของ

อุตสาหกรรมเชื้อเพลิง และ เคมีชีวภาพตอประเทศไทย จากขอมูลในป พ.ศ. 2557 พบวาประเทศไทยมีการใชนาํ้ มันดิบถึง 45 ลานตัน ซึ่งเปนการนําเขาจากตางประเทศถึง 35 ลานตัน คิดเปนรอยละ 75 ของนํ้ามันดิบ ทีใ่ ชทงั้ หมดในประเทศ (www.eig.gov) ปโตรเลียมจัดเปนทรัพยากรทางธรรมชาติ ที่ใชแลวหมดไปไมสามารถทดแทนได เปนผลใหปริมาณปโตรเลียมที่มีสํารองใน ธรรมชาติลดลงอยางตอเนือ่ ง ซึง่ สวนทางกับความตองการในการใชงานทีเ่ พิม่ ขึน้ นํา้ มันดิบสวนใหญถกู นําไปใชเพือ่ การผลิตเปนเชือ้ เพลิงเหลว เชน นํา้ มันเบนซิน และดีเซล ซึง่ นํา้ มันเหลานีห้ ลังจากการถูกเผาไหมในเครือ่ งยนตแลวจะถูกปลดปลอย ออกมาในรูปของกาซคารบอนไดออกไซด ซึ่งเปนกาซเรือนกระจก (Greenhouse Gas, GHG) และถือเปนแหลงมลพิษทางอากาศทีส่ าํ คัญ จากรายงานของสํานักงาน พลังงานระหวางประเทศ (International Energy Agency : IEA) ประจําป พ.ศ. 2560 ไดระบุวา ในป พ.ศ. 2559 การปลอยกาซคารบอนไดออกไซดทวั่ โลกมีจาํ นวนทัง้ สิน้ 33 พันลานตัน โดยรอยละ 22 มาจากอุตสาหกรรมการขนสง (www.iea.org) วิกฤตดานพลังงานและสิง่ แวดลอมดังกลาวนับเปนสิง่ สําคัญมากสําหรับการพัฒนา ที่ยั่งยืนตามเปาหมาย Sustainable Development Goals (SCGs) ขององคการ สหประชาชาติ และเปนปญหาทีม่ คี วามสําคัญอยางมากทัง้ ในระดับภูมภิ าคและใน ระดับโลก สงผลใหประเทศทีม่ คี วามพรอมตางทุม เทงบประมาณจํานวนมากเพือ่ คนหา วิธีผลิตพลังงานรูปแบบใหมที่สามารถทดแทนแหลงพลังงานธรรมชาติเดิม เชน นํ้ามัน ถานหิน และแกสธรรมชาติ ที่คาดวากําลังจะหมดไปในอนาคต หนึง่ ในเทคโนโลยีการผลิตเชือ้ เพลิงทางเลือกใหมทนี่ า สนใจ ไดแก เทคโนโลยี การผลิตเชื้อเพลิงเหลวและสารเคมีมูลคาสูงจากชีวมวล เพื่อใชทดแทนนํ้ามัน เชื้อเพลิงหรือสารเคมีที่ไดจากการกลั่นนํ้ามัน ซึ่งอาจเรียกเทคโนโลยีดังกลาววา 18

อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงและเคมีชีวภาพ (Biorefinery) ในอนาคตจะเริ่มมีบทบาท มากขึน้ ในอุตสาหกรรมการผลิตพลังงาน สารเคมี และวัสดุระดับโลก ทัง้ นีเ้ ชือ้ เพลิง ชีวภาพมีบทบาทสําคัญในแผนพลังงานของไทยตัง้ แตสองทศวรรษทีผ่ า นมา ดวยการ แขงขันทีส่ งู ขึน้ และการคาดการณรปู แบบการใชเชือ้ เพลิงและพลังงานทีห่ ลากหลาย ขึน้ ในภาคขนสง จึงมีความจําเปนสําหรับอุตสาหกรรมเอทานอลในปจจุบนั เพือ่ เปน อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงและเคมีชีวภาพที่สามารถผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพสมัยใหม ควบคูกับผลิตภัณฑเคมีที่มูลคาในตลาดสูงขึ้น ซึ่งรวมถึงการเปลี่ยนจากการใช วัตถุดบิ รุน ทีห่ นึง่ ซึง่ สามารถบริโภคได (นํา้ ตาลและแปง) เปนวัตถุดบิ รุน ทีส่ องซึง่ เปน วัสดุเหลือใชทางการเกษตรที่มีความยั่งยืนกวาและไมมีผลกระทบตอการใชเปน อาหาร ซึ่งเชื่อมโยงไปถึงความมั่นคงดานพลังงานของประเทศและการเพิ่มมูลคา ทางเศรษฐศาสตรของภาคเกษตรกรรม การจัดตั้ง “Bio-complex” จําเปนตองมี การพัฒนาเทคโนโลยีหลายดานที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนวัสดุเหลือใชทางการ เกษตรในทองถิ่นเปนเชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑเคมีที่มีความตองการใน ตลาด เพื่อตอบสนองความจําเปนในดานการพัฒนาอุตสาหกรรรมเชื้อเพลิงและ เคมีชีวภาพ ประเทศไทยเปนประเทศหนึ่ง ที่มีศักยภาพในการพัฒนาอุตสาหกรรม เชือ้ เพลิงและเคมีชวี ภาพอยางมาก เนือ่ งจากมีวตั ถุดบิ ทางการเกษตรทีห่ ลากหลาย และมีอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพและสารเคมีที่มีความ เขมแข็ง ปจจุบนั ภาคเอกชนใหความสนใจในการพัฒนาอุตสาหกรรมเชือ้ เพลิงชีวภาพ และเคมีชวี ภาพเปนอยางมาก โดยเฉพาะในดานอุตสาหกรรมการผลิตทีม่ คี วามยัง่ ยืน และเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ซึง่ เปนทางเลือกทีม่ ศี กั ยภาพ ในการลดการพึง่ พาการ

GreenNetwork4.0 March-April 2018


ผลิตจากปิโตรเลียม และเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม ไทย ตามแผนพัฒนาและขับเคลือ่ นอุตสาหกรรมเป้าหมาย อุตสาหกรรมเชือ้ เพลิง ชีวภาพและเคมีชีวภาพ เป็นหนึ่งในห้าของอุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศสู่ยุค 4.0 โดยใช้พืชเศรษฐกิจที่ไทยมีความ พร้อมอยู่แล้วเป็นพืชน�ำร่อง อาทิ มันส�ำปะหลังและอ้อย พร้อมบริหารจัดการใน รูปแบบเกษตรสมัยใหม่ และการสร้างศูนย์อตุ สาหกรรมชีวภาพครบวงจรเพือ่ ต่อยอด ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มสูง อาทิ การผลิตกรดแลกติกและกรดซักซินิกจากน�้ำตาล เป็นสะพานเชือ่ มระหว่างอุตสาหกรรมต้นน�ำ้ (ผลิตน�ำ้ ตาลและเอทานอล) และปลายน�ำ้ (อุตสาหกรรมเคมี) ทีม่ อี ยูแ่ ล้วรวมถึงผลิตภัณฑ์เคมีทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมและ ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ชนิดพิเศษ ซึง่ หากมองในเชิงการพัฒนาในระยะสัน้ พบว่า การ พัฒนาอุตสาหกรรมเดิมทีใ่ ช้แป้งและน�ำ้ ตาล มีความเป็นไปได้สงู กว่าการใช้วตั ถุดบิ ทีไ่ ม่เป็นพืชอาหารหรือของเสียจากอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ซังข้าวโพด ชานอ้อย ฟางข้าว ทะลายปาล์ม น�ำ้ เสียจากอุตสาหกรรมเกษตร หรือผลิตภัณฑ์พลอยได้จาก โรงงานอุตสาหกรรมไบโอดีเซล เช่น กลีเซอรอล แต่อย่างไรก็ตาม หากมองทิศทางการพัฒนาที่มั่นคงและยั่งยืน การผลิต เชื้อเพลิงและสารเคมีจากวัตถุดิบที่ไม่ใช่อาหารจึงเป็นทางเลือกที่น่าสนใจ โดย พืน้ ฐานพืชทุกชนิดทัง้ ประเภท ไม้เนือ้ แข็ง ไม้เนือ้ อ่อน และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร มีโครงสร้างทางเคมีในรูปแบบชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลส ซึ่งประกอบด้วย องค์ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนิน โดยโครงสร้าง ชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลสมีความแข็งแรงและทนทานต่อการย่อยสลายทัง้ โดย วิธที างกายภาพ เคมี และชีวภาพ การใช้งานชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลสในการ ผลิตเชือ้ เพลิงเหลวชีวภาพและสารเคมีทมี่ มี ลู ค่าสามารถท�ำได้โดยการน�ำชีวมวลมา

19

ผ่านกระบวนการแยกส่วนก่อน เพือ่ แยกองค์ประกอบของชีวมวลออกเป็นเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนิน ซึ่งกระบวนการนี้มีความส�ำคัญคล้ายๆ กับกระบวนการ แยกก๊าซธรรมชาติและน�ำ้ มันดิบ (Oil and Gas Refinery) เนือ่ งจากก๊าซธรรมชาติ และน�้ำมันดิบเป็นของผสมและแต่ละองค์ประกอบสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ใน หลากหลายรูปแบบทีแ่ ตกต่างกันได้ เช่น มีเทน ทีแ่ ยกได้จากก๊าซธรรมชาติสามารถ น�ำไปเผาไหม้เพือ่ ผลิตพลังงานไฟฟ้าหรือน�ำไปใช้เป็นเชือ้ เพลิงในรถยนต์ อีเทนและ โพรเพน ทีแ่ ยกได้เป็นสารตัง้ ต้นทีส่ ำ� คัญในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเพือ่ ผลิตพลาสติก ส่วนบิวเทน สามารถน�ำไปใช้เป็นก๊าซหุงต้มได้ เป็นต้น เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และ ลิกนิน ในชีวมวลก็สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกันหลากหลายรูปแบบ เช่นเดียวกัน โดยเมือ่ ผ่านกระบวนการแยกส่วนชีวมวลแล้วองค์ประกอบแต่ละส่วน สามารถน�ำไปผ่านกระบวนการหรือผ่านปฏิกริ ยิ าเคมีทมี่ คี วามจ�ำเพาะเพือ่ ผลิตเป็น เชือ้ เพลิงเหลวซึง่ มีสมบัตคิ ล้ายน�ำ้ มันเบนซิน ดีเซล น�ำ้ มันเครือ่ งบิน หรือสารเคมีที่ ต้องการ เช่น สารประกอบอนุพนั ธ์ฟวิ แรน กรดซักซินกิ กรดไฮดรอกซีโพรพิโอนิก ซอร์บิทอล ไซลิทอล เป็นต้น ในอนาคตวิกฤตการณ์ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมจะส่งผลกระทบต่อ ประเทศไทยอย่างแน่นอน ซึง่ แนวทางส�ำคัญในการลดผลกระทบดังกล่าวคือ การมี เทคโนโลยีในการผลิตพลังงาน เชือ้ เพลิง หรือเคมีภณ ั ฑ์ เป็นของตัวเองจากวัตถุดบิ ที่หาได้ในประเทศเพื่อลดการน�ำเข้าน�้ำมันฟอสซิลที่มีราคาสูงขึ้นและก�ำลังจะ หมดลง การพัฒนากระบวนการแยกส่วน และการผลิตเคมีภัณฑ์ทดแทนการผลิต จากน�้ำมันปิโตรเลียมจะช่วยเพิ่มความมั่นคงทางพลังงานของประเทศไทยอย่าง ยั่งยืนในอนาคต โดยสามารถลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ทั้งยังเป็น การเพิม่ มูลค่าให้กบั ผลิตผลทางการเกษตร รวมถึงวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรของ ประเทศได้อีกทางหนึ่ง

GreenNetwork4.0 March-April 2018


AUTO

Challenge ยาน - ยนต์

2!&Ŵų2): )*:!*! čH''ą:H *

D+ĉ *:*

Charging Station #A : 2Aĉ*:!*! čH''ą:G!5!:

ฏิเสธไมไดวา ยานยนตไฟฟาเปนเทรนดใหมทที่ วั่ โลกกําลังจับตามองอยูใน ขณะนี้ อีกทัง้ ปจจบันเริม่ มีการสนับสนุนใหใชรถยนตไฟฟามากขึน้ เห็นได จากหลายๆ ประเทศทีเ่ ริม่ ตัง้ เปาไววา จะยกเลิกใชรถยนตพลังงานเชือ้ เพลิงฟอสซิล นับเปนการสงสัญญาณเพือ่ เตรียมความพรอมรับมือสําหรับผูผ ลิตยานยนตไฟฟา

ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร

20

ปจจบันยานยนตไฟฟามีการขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยทั่วโลกมียานยนต ไฟฟามากกวา 2 ลานคัน เปนยานยนตไฟฟาแบบแบตเตอรี่ประมาณ 1.2 ลานคัน สําหรับประเทศไทยเริ่มตื่นตัวและมีการใชยานยนตไฟฟาเพิ่มขึ้น ซึ่งเปนยานยนตที่ใชมอเตอรไฟฟาในจํานวน 103,702 คัน แบงเปน ยานยนต ที่ใชมอเตอรไฟฟาทัง้ แบบไฮบริด (HEV) และปลัก๊ อินไฮบริด (PHEV) 102,308 คัน และยานยนตไฟฟาแบบแบตเตอรี่ (BEV) 1,394 คัน ซึง่ ในอนาคตจํานวนยานยนต ไฟฟาโดยเฉพาะรถยนตสวนบุคคลจะมีจํานวนเพิ่มขึ้น ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กลาววา กระทรวงพลังงานใหความสําคัญและสนับสนุนการใชยานยนต ไฟฟาเพื่อเพิ่มทางเลือกการใชพลังงาน ลดการพึ่งพาน้ํามันเชื้อเพลิง และลด ผลกระทบดานสิ่งแวดลอม โดยตั้งเปาหมายใหเกิดการใชยานยนตไฟฟาใน ประเทศไทย 1.2 ลานคัน ตั้งแตป 2560-2579 ทั้งแบบยานยนตไฟฟาปลั๊กอิน ไฮบริด (Plug-in Hybrid Electric Vehicle) และยานยนตไฟฟาแบตเตอรี่ (Battery Electric Vehicle) เปนสวนหนึ่งของแผนพัฒนาพลังงานของประเทศ และแผนอนุรักษพลังงาน โดยที่ผานมา กระทรวงพลังงานไดมีการเตรียม ความพรอม รองรับการใชยานยนตไฟฟาที่กําลังขยายตัว และจะเพิ่มขึ้นใน อนาคต ไดแก การปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของ การ สนั บ สนุ น การวิ จั ย แบตเตอรี่ สนั บ สนุ น การนํ า ร อ งยานยนต ไ ฟฟ าในกลุ ม รถสาธารณะ อาทิ รถตุกตุกไฟฟา การเตรียมความพรอมดานสถานีอัดประจ ไฟฟา (Charging Station) การสงเสริมยานยนตไฟฟาจากทางภาครัฐ ผานมาตรการสงเสริม การลงทุน ทั้งในกลุมที่เปน HEV ซึ่งไดปดการสนับสนุนไปแลว ในขณะที่กลุม PHEV ยังมีการสนับสนุนไปจนถึงสิ้นป 2561 โดยทั้งในกลุมของ HEV PHEV หรือ BEV หากทําตามเงื่อนไขของคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) จะใหสิทธิประโยชนยกเวนอากรขาเขาเครื่องจักร โดยการยกเวนภาษีเงินได นิติบุคคล แบงตามประเภทของรถยนตไฟฟา อยางเชน การผลิตรถยนตไฟฟา แบบเต็มรูปแบบ จะไดรับสิทธิประโยชนสูงสุด 10 ป รถยนตไฟฟา HEV และ PHEV ไดสิทธิประโยชน 6 ป เพราะฉะนั้นจะเปนการกระตุนใหเกิดการผลิต ในประเทศมากขึ้น สวนรถยนตไฟฟา BEV ก็ยังเปดรับการสนับสนุนไปจนถึง สิน้ ป 2561 เชนกัน โดยกลุม นีจ้ ะไดรบั สิทธิประโยชน 8 ป ในสวนของสถานีชารจ

GreenNetwork4.0 March-April 2018


ดร.ยศพงษ ลออนวล ก็เชนกัน หากมีกลุมบริษัทที่สนใจการลงทุน สถานีอดั ประจไฟฟา หรือทีเ่ รียกวา Smart Charging สามารถที่จะขอการสนับสนุนจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) โดยจะมีการลดหยอนภาษีรายไดให 5 ป ซึ่งยังคงเปดรับการสนับสนุน ไปจนถึงป 2562 รวมไปถึงของชิ้นสวนรถยนต ก็จะมีการใหการสนับสนุนที่ นาสนใจเชนกัน สมาคมยานยนตไฟฟาไทย ไดรับมอบหมายจากสํานักงานนโยบายและ แผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ใหดาํ เนินโครงการสนับสนุนการลงทุน สถานีอดั ประจไฟฟา (Charging Station) สําหรับ หนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน โดยการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษ พลังงาน ตั้งเปาหมายสนับสนุนสถานีอัดประจไฟฟาใหได 150 หัวจายภายใน ป 2561 ซึง่ ทีผ่ า นมา ตัง้ แตเดือนตุลาคม 2559-กันยายน 2560 สมาคมฯ ไดมกี าร เปดรับสมัครผูสนใจที่เปนหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน ขอรับการ สนับสนุนจัดตัง้ สถานีอดั ประจไฟฟา รวมแลว 4 รอบ ไดสถานีอดั ประจไฟฟารวม 94 หัวจาย แบงเปนสถานีอัดประจไฟฟาหัวจายแบบธรรมดา (Normal Charge) จํานวน 60 หัวจาย และสถานีอัดประจไฟฟาหัวจายเรงดวน (Quick Charge) จํานวน 34 หัวจาย โดยปจจบัน มีสถานีอดั ประจไฟฟาทีต่ ดิ ตัง้ เสร็จเรียบรอยแลว 21 หัวจาย ไดแก ศูนยการคาเทอรมินอล 21 โครงการคริสตัลดีไซนเซ็นเตอร ศูนยการคาเซ็นทรัลเวิลด อาคารซีพี ทาวเวอร และโรงแรม โซ โซฟเทล เปนตน โอกาสของอุตสาหกรรมยานยนตไฟฟาไทยที่กําลังเติบโตขึ้นมาถึงแลว สมาคมยานยนตไฟฟาไทย ประกาศรับสมัครหนวยงานที่สนใจ ซึ่งถือเปนโคง สุดทายสําหรับโครงการนี้ ยื่นขอรับสนับสนุนเงินลงทุนติดตั้ง Charging Station เพื่อทําการคัดเลือกผูไดรับการสนับสนุนในรอบที่ 5 ดร.ยศพงษ ลออนวล นายกสมาคมยานยนตไฟฟาไทย กลาววา ป 2561 กองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงานตัง้ เปาหมายสนับสนุนสถานีอดั ประจไฟฟา ใหได 150 หัวจาย โดยระหวางวันที่ 1-30 มี.ค. 2561 จะเปดรับสมัครผูสนใจ ขอรับเงินชวยเหลือในการติดตั้งสถานีอัดประจไฟฟารอบที่ 5 ระยะแรกเพิ่มเติม อีก 31 หัวจาย โดยสวนราชการจะไดรบั เงินสนับสนุนรวมคาติดตัง้ สําหรับหัวจาย แบบเรงดวน 1.8 ลานบาท หัวจายแบบธรรมดา 1.9 แสนบาท สวนรัฐวิสาหกิจ ไดคาสนับสนุนหัวจายแบบเรงดวน 1 ลานบาท และภาคเอกชนไดรับสนับสนุน ในอัตรา 30% ของราคาหัวจายแบบเรงดวน (Quick Charge) สําหรับรอบที่ 5 ในระยะที่ 1 สวนรอบที่ 5 ในระยะที่ 2 จะใหการสนับสนุนในอัตรา 20% ของ ราคาหัวจายแบบเรงดวน (Quick Charge) อยางไรก็ตาม จะเห็นไดวา ภาคเอกชนใหความสนใจทีจ่ ะลงทุนสถานีอดั ประจ ไฟฟาหัวจายแบบธรรมดา (Normal Charge) ในชวงแรก เนือ่ งจากตลาดรถยนต ไฟฟา PHEV อยูในชวงของการเติบโตและยังอยูในแผนของโครงการสนับสนุน

21

การลงทุนสถานีอัดประจไฟฟา (Charging Station) ที่ตั้งเปาไว 150 หัวจาย ภายในป 2561 ฉะนั้นในกลุม Normal Charge จะมีการเติบโตที่คอนขางดี มากันที่รถยนตไฟฟา BEV ที่เติบโตคอนขางชา ฉะนั้นการสนับสนุนโครงการ ในรอบที่ 5 เนนไปที่กลุม Quick Charge 30 หัวจาย สวน Normal Charge มี เพียง 1 หัวจาย สําหรับติดตั้งในสวนราชการ “การสนับสนุนครั้งนี้ อยากจะเห็นกลุมโรงแรม ปมน้ํามันที่จะมีหัวจาย 3 หัวจาย 10 หัวจาย เพราะวาการชารจแบบ Quick Charge จะใชเวลาเพียง เล็กนอยประมาณ 15-30 นาทีเทานั้น ฉะนั้นจึงอยากจะโฟกัสกลุมนี้” ทั้งนี้ เปนการเปดรับสมัครรอบสุดทายเพิ่มเติมจากที่ผานมามีหนวยงาน ราชการ รัฐวิสาหกิจและเอกชนขอรับการสนับสนุนจัดตั้งสถานีอัดประจไฟฟา 4 รอบรวมแลว 94 หัวจาย เปนสถานีอัดประจไฟฟาหัวจายแบบธรรมดา (Normal Charge) 60 หัวจาย และสถานีอัดประจไฟฟาหัวจายเรงดวน (Quick Charge) 34 หัวจาย ซึ่งติดตั้งแลวเสร็จ 21 หัวจาย แนนอนวา การสงเสริมยานยนตไฟฟาในอนาคต เพือ่ ใหมยี านยนตไฟฟา เขาสูต ลาดในประเทศไทยมากขึน้ เนือ่ งจากสถานีอดั ประจไฟฟาสําหรับในพืน้ ที่ กรุงเทพมหานคร คอนขางขยายตัวเร็ว อยางบริเวณหางสรรพสินคา ซึ่งถือวา เปนจดทีล่ กู คาเขามาใชบริการคอนขางมาก ซึง่ กลุม ดังกลาวใหความสนใจในการ เขารวมของโครงการ สนับสนุนการลงทุนสถานีอัดประจไฟฟา (Charging Station) เพราะสถานีอัดประจไฟฟากับยานยนตไฟฟาตองคูกัน ฉะนั้นการ ขยายตัวของสถานีอัดประจไฟฟา ยอมสงผลตอการเติบโตของยานยนตไฟฟา อยางแนนอน

GreenNetwork4.0 March-April 2018


GREEN

People จีรภา รักแก้ว

“อาคารสีเขียว” ควรจะเปนอยางไร หลายคนมองวาตอง สรางพื้นที่สีเขียวในปริมาณเยอะๆ ในขณะที่บางคนกลับมองวา ตองเปนอาคารประหยัดพลังงาน แตจริงๆ อาคารเขียวจะตองเปน อาคารที่มีความยั่งยืนทางดานพลังงานและสิ่งแวดลอม สําหรับ ผูพักอาศัยใหมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น สถาบั น อาคารเขี ย วไทย ซึ่ ง เป น องค ก รภายใต มู ล นิ ธิ อาคารเขี ย วไทย ที่ เ กิ ด จากการรวมตั ว กั น ของสองสมาคม วิชาชีพ ไดแก สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ และ วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ทําหนาที่ใหการรับรองวา อาคารไหนที่ผานเกณฑผานมาตรฐานอาคารเขียวไทย

D) 8D +! čD#-=L*!F- ทำไมตองอาคารเขียว ?

จักรพันธ ภวังคะรัตน

22

“เพราะในอดีต เราสรางอาคารโดยไมคํานึงถึงผลกระทบกับคนรอบขาง เนน ประโยชนเพื่อตัวเราเอง สรางตึกเพื่อขาย เนนประหยัดตนทุนเขาไว ไมสนใจผูอยูอาศัย สรางผลกระทบตอผูอื่น ตอสิ่งแวดลอม นั่นก็คือ อาคารไมเขียว” จักรพันธ ภวังคะรัตน รองประธานกรรมการ สถาบันอาคารเขียวไทย กลาววา อาคารเขียว (Green Building) หรือ Sustainable Building เปนเมกะเทรนดตั้งแต 10 ปทผี่ า นมา สรางตึกอยางไรใหมผี ลกระทบกับสิง่ แวดลอมนอยทีส่ ดุ ตัง้ แตกระบวนการ ตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา การสรางอาคารในอดีตจะคํานึงถึงเรื่องการประหยัด พลังงานภายในอาคารเปนสําคัญ แตในยุคปจจบันและอนาคต การสรางอาคารที่ดีนั้น จะตองคํานึงในหลากหลายมิติ อาทิ อาคารทีด่ นี นั้ ตองประหยัดนา้ํ ใชนา้ํ นอยๆ ไมรบกวน แหลงนาํ้ จากธรรมชาติ หรือแมแตการใสใจสุขภาพของผูอ ยูอ าศัยภายในอาคาร ทีเ่ รียกวา Indoor Environment Quality ตัง้ แต ระบบปรับอากาศ ระบบไฟฟาแสงสวาง ทีม่ คี วาม เหมาะสมตอการใชชีวิตของผูอยูอาศัย อาคารเขียว จึงกลายเปนทีจ่ บั ตา เนือ่ งจากรัฐบาลทัว่ โลกใหการสนับสนุนเกีย่ วกับ Green Building ทัง้ ในสวนภาคการสงเสริมและภาคบังคับ อีกทัง้ องคกรธุรกิจขนาดใหญ เริม่ หันมาสรางอาคารของตัวเองใหมลี กั ษณะตามเกณฑอาคารเขียว จึงทําใหอาคารเขียว เกิดแพรหลายมากขึ้น GreenNetwork4.0 March-April 2018


กาวตอไปของสถาบันอาคารเขียวไทย การจะบอกวาอาคารไหนเขียว อาคารไหนไมเขียวนัน้ สําหรับประเทศไทยเอง เรามีสถาบันอาคารเขียวไทย ซึ่งเปนองคกรที่ทําหนาที่ออกหลักเกณฑอาคารเขียว ไทย พรอมกับใหการรับรองอาคารที่ผานเกณฑมาตรฐานอาคารเขียวไทย จักรพันธ กลาววา สถาบันอาคารเขียวไทย พรอมทีจ่ ะสนับสนุนใหอาคารเขียว ในประเทศไทยเติบโตเพิ่มมากขึ้น ภายใตกลไกการสงเสริมเปนหลัก เริ่มตั้งแต การจัดทําหลักเกณฑมาตรฐานอาคารเขียวไทยเพื่อเผยแพรสูสาธารณชน นําไป ประยุกตใชในการกอสรางอาคารเขียวที่ดี พรอมทั้งการจัดอบรมสัมมนาความรู เบื้องตนเรื่องอาคารเขียว โครงการอบรมหลักสูตรผูเชี่ยวชาญดานอาคารเขียว รวมไปถึงความรวมมือกับหนวยงานภาครัฐในการสงเสริมอาคารเขียว อยางเชน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ความรวมมือในเรื่อง การอนุรักษพลังงาน รวมทั้งการลงนามความรวมมือกับการนิคมอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย (กนอ.) ในการใหขอมูลและความรูกับเจาหนาที่และหนวยงาน ตางๆ ที่ กนอ.เขาไปสนับสนุน นอกจากนั้นแลว ทางดานกฎหมาย กรมโยธาธิการ และผังเมือง ซึ่งจะมีเจาหนาที่รับผิดชอบเรื่องการออกกฎเกณฑ กฎระเบียบ การสรางอาคารใหมๆ สถาบันอาคารเขียวไทยยังสงเสริมใหผอู อกกฎหมาย มีความ เขาใจเรื่องอาคารเขียวมากขึ้น “การสรางอาคารเขียวในประเทศไทย จะเนนมาตรการสงเสริมเปนหลัก ยังไมถึงขั้นภาคบังคับ เหมือนอยางประเทศสิงคโปร โดยหนวยงานภาครัฐไดออก ขอกําหนดไววา อาคารที่สรางในสิงคโปร จะตองผานเกณฑมาตรฐานอาคารเขียว ของภาครัฐเทานั้น”

อาคารเขียวไทย เติบโตอยางตอเนื่อง จักรพันธ กลาววา เดิมทีสว นตนทุนการสรางอาคารเขียวกับอาคารทัว่ ไปนัน้ ตางกันมากถึง 30% ในขณะทีป่ จ จบันอาคารเขียวจะสูงกวาอาคารทัว่ ไปเพียง 5-10% เทานั้น สวนศักยภาพของอาคารเขียวในประเทศไทยมีแนวโนมการเติบโตอยาง ตอเนื่อง ดวยอาคารเขียวนั้นเปนเกณฑมาตรฐานใหมของการกอสรางไปแลว จึง ทําใหอาคารสํานักงานที่กอสรางขึ้นในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกินครึ่งลวนเปน อาคารเขียว นักพัฒนาอสังหาริมทรัพยรายใหญหนั มาพัฒนาอาคารเขียว โดยเฉพาะ อาคารสํ า นั ก งานเกรดเอ หรื อ อาคารขนาดใหญ ก ว า 80% ที่ เ ป น สํ า นั ก งาน อาคารเขียว หรือแมแตอาคารคอนโดมิเนียมพักอยูอ าศัยบางรายเริม่ ใหความสําคัญ กับเรื่องนี้ เชน บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) ไดริเริ่มโครงการ ออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษพลังงาน แตในขณะที่กลุมอาคารคอนโดมิเนียม สวนใหญ มองวาผูบริโภคยังไมตองการ ยังติดอยูกับความหรูหรา ไมสนใจเรื่อง อาคารเขียว ฉะนั้นในสวนของคอนโดมิเนียม ควรจะกระตุนไปที่ผูบริโภคกอน

ความรวมมือทุกภาคสวน กระตุนการสรางอาคารเขียวไทย หลายคนมักเขาใจวาการจะสรางอาคารเขียว ในตึกจะตองปลูกตนไมจาํ นวน มากๆ มีพื้นที่สนามหญา ซึ่งเปนเพียงสวนหนึ่งในหลักเกณฑของการสรางอาคาร เขียวเทานั้น เพราะจริงๆ แลว อาคารเขียวจะตองเปนอาคารที่สงเสริมใหคน ประหยัดพลังงาน ลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอม เชน ทีต่ งั้ ของอาคารเขียว สงเสริม ใหตั้งอยูที่ในบริเวณที่เชื่อมตอระบบขนสงมวลชน จึงจําเปนตองสรางความเขาใจ เรื่องของอาคารเขียวมากขึ้น แตอยางไรก็ตาม บางกลุมกลับมองวาอาคารเขียว มีตน ทุนทีส่ งู จึงไมกลาทีจ่ ะสรางอาคารเขียวขึน้ มา ฉะนัน้ สถาบันอาคารเขียวไทย จึงพยายามปอนขอมูลและเหตุผลเพื่อยืนยันวาการสรางอาคารเขียวในยุคปจจบัน ราคาไมไดแตกตางกับการสรางอาคารทั่วไป คาใชจายที่เพิ่มขึ้น จะสามารถคืน กลับมาในรูปแบบการประหยัดพลังงาน ประหยัดน้ํา หรือมูลคาอาคารที่เพิ่มขึ้น ทั้งหมดนี้จะเห็นผลในระยะยาว ฉะนั้นกลุมคนที่มองไมเห็นโอกาสดังกลาว ก็เสีย โอกาสในการทําเรื่องอาคารเขียว จักรพันธ กลาว จักรพันธ กลาวเพิ่มเติมวา ในดานการสงเสริมอาคารเขียวในประเทศไทย ก็อยากใหหนวยงานของรัฐออกกฎเกณฑที่สอดคลองกับแนวทางที่สถาบันฯ ได กําหนดไว โดยเฉพาะ กรมโยธาธิการและผังเมือง ซึง่ เปนกลไกสําคัญของประเทศ 23

ใหมีความรูความเขาใจในอาคารเขียวที่ถูกตอง เพราะผูพัฒนาโครงการจะเนนที่ ความตองการของผูบ ริโภคเปนหลัก หรือแมแตผปู ระกอบการบางรายทีย่ งั ไมสนใจ เรือ่ งของอาคารเขียว อยางอาคารศูนยการคา ในสวนองคกรภาครัฐเอง ทัง้ กฟผ. กฟภ. หรือกระทรวงพลังงาน ก็ไมไดนงิ่ เฉย เริม่ สรางอาคารใหมทเี่ ปนอาคารเขียว กัน มากขึ้น นับเปนแนวโนมที่ดีของภาครัฐที่จะสรางอาคารของตัวเองใหเปน อาคารเขียว เพื่อเปนตัวอยางที่ดีแกสังคม “แมอาคารเขียวไทยจะเติบโตอยางตอเนื่อง แตจํานวนกลุมที่สนใจเรื่อง อาคารเขียวยังนอย เทียบกับตางประเทศ โดยเฉพาะอาคารขนาดเล็ก ศูนยการคา คอนโดมิเนียมพักอาศัย เนื่องจากยังขาดมาตรการจูงใจจากภาครัฐ แตในแงของ การสรางมาตรฐานก็ยังคงเปนเกณฑมาตรฐานเดียวกับตางประเทศ”

TREES มาตรฐานอาคารเขียวไทย อิงเกณฑระดับสากล จักรพันธ กลาววา TREES เปนเกณฑมาตรฐานของสถาบันอาคารเขียวไทย ที่อิงกับระดับมาตรฐานสากล ทั้งสหรัฐอเมริกา เยอรมนี อังกฤษ ออสเตรเลีย ญี่ปุน และสิงคโปร ซึ่งแตละประเทศจะมีหลักเกณฑพื้นฐานในรายละเอียดที่ แตกตางกันไป ในขณะทีห่ ลักคิดจะมีลกั ษณะเหมือนกัน นัน่ ก็คอื ลดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม พื้นที่สีเขียว ประหยัดน้ํา ลดการใชพลังงาน และสุขภาพที่ดี โดยไดมี การปรั บ ให มี ค วามเหมาะสมกั บ ศั ก ยภาพของประเทศไทย สามารถใช วั ส ดุ ในประเทศไทยมากขึ้น ที่จะเหมาะกับการกอสรางในประเทศไทยมากกวา ทั้งยัง เปนการสงเสริมผูผลิตไทย อยางเชน วัสดุที่นําไปใชในการกอสรางอาคารเขียว ตองเปนวัสดุที่ไดรบั ฉลากเขียวประเทศไทย ซึง่ หากใหเกณฑมาตรฐาน LEED วัสดุ ที่ใชก็ตองนําเขามาจากตางประเทศเทานั้น สถาบันอาคารเขียวไทยไดเริ่มใหการรับรองอาคารเขียวในประเทศไทย เปนครั้งแรกตั้งแตป พ.ศ. 2555 ปจจบันมีสงรายชื่ออาคารเขียวที่กอสรางใหม มาแลว 97 ราย ตรวจประเมินรับรองอาคารเขียวไปแลว 31 ราย อยางไรก็ตาม การที่จะใหอาคารไทยกาวไปสูอาคารเขียวทั้งหมดไดนั้นถือวาเปนเรื่องที่ยาก เพราะในสังคมไทยไมใชทุกคนที่จะชอบหรือยินดีจะจายใหกับคาการเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม สังคมจะมองเรื่องความเขียวหลายระดับ สําหรับเมืองไทยคงตอง ใชเวลาอีกสักระยะหนึ่ง เพราะในตางประเทศเองก็ ไมไดกอสรางอาคารเขียว ทัง้ หมด เพียงแตสดั สวนประชากรทีน่ ยิ มเรือ่ งความเขียวมีมากกวาเมืองไทย ฉะนัน้ สภาพสังคม รายไดของประชากร เปนสวนหนึ่งของการเกิดขึ้นของอาคารเขียว “สถาบันอาคารเขียวไทย ไมไดหวังถึงขนาดใหมีอาคารเขียวเกิดขึ้น 100% เพียงแตตอ งการเห็นองคกรขนาดใหญทกี่ าํ ลังลงทุนอยูน นั้ ใหความสําคัญกับเรือ่ ง อาคารเขียว ลงทุนทําในสิ่งที่เปนประโยชนกับสภาพแวดลอมและสังคมโดยรวม” ในการกําหนดทิศทางการกอสรางในประเทศไทย ควรจะเปนองคกรที่ชี้นํา หาก ขณะนี้ยังทําไมได อีก 5 ปตอไปตองทําใหได ยกตัวอยาง กรมโยธาธิการอาจจะ รวมมือกับสถาบันอาคารเขียวไทย ออกเกณฑในการขอใบอนุญาตกอสราง อาคารเขียว แนวทางการสรางแบบอาคารเขียว โดยระยะแรกเนนการสงเสริม ใหเกิดการใชอาคารเขียวผานการใหโบนัส เชน อาคารทีผ่ า นการรับรองจะสามารถ กอสรางอาคารไดมากกวาอาคารปกติ หรือสามารถขอใบอนุญาตไดเร็วขึ้น เปน แนวทางการสงเสริมทีจ่ ะจูงใจใหเกิดการกอสรางอาคารเขียวเพิม่ มากขึน้ และหลัง จากนั้นจึงปรับแผนมาสูภาคบังคับของทางภาครัฐ ดังนั้น จึงจําเปนตองกําหนดทิศทางการกอสรางของประเทศไทยวาควรจะ เปนอยางไร รวมไปถึงหนวยงานทีต่ อ งสรางอาคารขนาดใหญ โดยเฉพาะการพัฒนา ทีก่ ารรถไฟ การพัฒนาทีต่ ามแนว EEC ควรจะบรรจเขาไปในแผนวาหากจะกอสราง ตองมีความเปนแบบสีเขียวเพิม่ เขาไปในการพัฒนาโครงการของรัฐบาลดวย เพราะ หนวยงานของรัฐตองกระตุนใหทุกคนรูสึกวาเปนสิ่งจําเปน ลาสุด สถาบันอาคารเขียวไทยจะจัดงานสัมมนาทางวิชาการและแสดง นิทรรศการประจําป 2561 “7th TGBI Expo 2018” เพื่อเปนการใหความรูในเรื่อง ของอาคารเขียว ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ณ ศูนยนิทรรศการ และการประชุมไบเทค

GreenNetwork4.0 March-April 2018


GREEN

Factory จีรภา รักแกว

โชคยืนยงอุตสาหกรรม ชูโรงไฟฟาแกสชีวภาพ

ผลิตไฟฟาและความรอน

โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน รวมโชคยืนยงอุตสาหกรรม

ลดตนทุน เพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน

บริษทั โชคยืนยงอุตสาหกรรม จํากัด ตัง้ อยู เลขที่ 100 หมู 5 ตําบลโปงแดง อําเภอขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา บนพืน้ ทีป่ ระมาณ 400 ไร โดยการดําเนิน ธุรกิจโรงงานผลิตแปงมันสําปะหลัง ขนาดกําลังการผลิตแปงมันสําปะหลัง 750 ตัน แปงตอวัน มีระบบผลิตไฟฟาจากกาซชีวภาพเพือ่ ผลิตกระแสไฟฟาจําหนายใหกบั การไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) และใชเองภายในโรงงาน รวมถึงนําความรอนเหลือ ทิง้ จากระบบผลิตไฟฟากลับมาใชในกระบวนการอบแปงและใชในระบบทําความ เย็นแบบดูดซึม (Absorption Chiller) ใชทดแทนเครือ่ งปรับอากาศแบบแยกสวน ที่ใชอยูเดิม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน ในกระบวนการผลิตแปงมันสําปะหลังนัน้ จะมีนาํ้ เสียจากกระบวนการผลิต ม าณมากกว า 12,000 ลูกบาศกเมตรตอวัน เดิมโรงงานไดใชการบําบัดนํ้าเสีย ปริ โดยวิธกี ารบําบัดแบบบอผึง่ (Stabilization Pond) ซึง่ กอใหเกิดปญหากลิน่ รบกวน แกชุมชน ดังนั้นจึงปรับเปลี่ยนมาใชระบบบําบัดนํ้าเสียและผลิตกาซชีวภาพแบบ UASB หรือ Up-Flow Anaerobic Sludge Blanket ที่สามารถบําบัดนํ้าเสียใหมี คุณภาพ เปนไปตามกฎหมายกําหนด แกไขปญหากลิน่ รบกวนไดอยางมีประสิทธิภาพ และยังมีผลพลอยได นัน่ ก็คอื กาซชีวภาพทีน่ าํ กลับมาใชทดแทนนํา้ มันเตาไดอกี ดวย สําหรับโครงการพลังความรอนรวม (Cogeneration) ของบริษทั โชคยืนยง อุตสาหกรรม จํากัด ประกอบดวยระบบการผลิตพลังงาน 2 ระบบหลัก คือ ระบบ ผลิตกาซชีวภาพดวยวัตถุดิบนํ้าเสีย และ โรงไฟฟาพลังความรอนรวมกาซชีวภาพ ซึ่งผลิตกระแสไฟฟาและความรอนดวยวัตถุดิบกาซชีวภาพ

ผลิตกาซชีวภาพจากนํ้าเสีย ทดแทนการใชนํ้ามันเตา ระบบผลิตกาซชีวภาพ ใชระบบบําบัดนํ้าเสียแบบ UASB สามารถรองรับ นํา้ เสียไดถงึ 7,800 ลูกบาศกเมตรตอวัน ระยะเวลาในการกักเก็บนํา้ เสีย 36 ชัว่ โมง สามารถบําบัดหรือลดความสกปรกของนํา้ เสียทีม่ คี า COD 30,000 มิลลิกรัมตอลิตร ใหมีคุณภาพที่ดีขึ้นมากกวา 90% (COD Removal Rate >90%) ผลิตแกสชีวภาพ ที่มีสัดสวนกาซมีเทน (CH4) ประมาณ 65% นําเขาสูระบบปรับปรุงคุณภาพแบบ Bio Scrubber เพือ่ กําจัดกาซไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) จากนัน้ จึงใช Blower สงกาซ ชีวภาพไปยังจุดทีต่ อ งการใชงาน โดยกาซชีวภาพทีผ่ ลิตไดประมาณ 55% จะถูกสง ไปใชทดแทนนํา้ มันเตาในกระบวนการอบแปงมันสําปะหลัง ไดสงู สุดถึง 100% สวน ที่เหลืออีกประมาณ 45% จะสงไปใชในการผลิตกระแสไฟฟาตอไป สําหรับ Biogas Engine Set ใชหลักการทํางานเดียวกับเครือ่ งยนตเผาไหม ภายใน กาซชีวภาพจะถูกปอนเขาสูกระบอกสูบในเครื่องยนต ลูกสูบเคลื่อนที่เพื่อ 24

อัดความดันในกระบอก เกิดการจุดระเบิดพรอมดันลูกสูบและคายไอเสีย ลูกสูบที่ เคลือ่ นที่ ขึน้ ลงเชือ่ มตอเขากับเพลาขอเหวีย่ ง พลังงานทีไ่ ดจากการขับเพลาใหหมุน นี้จะสงตอไปขับชุดกําเนิดไฟฟา (Generator) เพื่อผลิตกระแสไฟฟาตอไป

โรงไฟฟาพลังความรอนรวมกาซชีวภาพ ลดคาใชจายดานพลังงาน กาซชีวภาพทีผ่ ลิตไดในสัดสวน 45% ซึง่ เปนสวนทีเ่ หลือจากการนําไปทดแทน นํา้ มันเพือ่ ใชในกระบวนการอบแปงมันสําปะหลัง จะสงไปใชยงั โรงไฟฟาพลังความ รอนรวมกาซชีวภาพ โดยโรงไฟฟาดังกลาวมีกําลังการผลิตติดตั้ง 5.44 เมกะวัตต สามารถผลิตกระแสไฟฟาได 4.4 เมกะวัตต โดยบริษทั ไดทาํ สัญญาจําหนายไฟให แกการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) 1 เมกะวัตต สวนที่เหลืออีก 3.4 เมกะวัตต นํา ไปใชภายในบริษัทฯ เพื่อลดคาใชจายดานพลังงานและใชภายในโรงไฟฟา และยัง ผลิตความรอนเพื่อนําไปใชในการอบแปงมันสําปะหลัง และใชแทนไฟฟาในการ ผลิตนํ้าเย็นสําหรับ Absorption Chiller

นำความรอนเหลือทิ้งกลับมาใชประโยชน จากกระบวนการ Biogas Engine มีการนําความรอนเหลือทิ้งกลับมาใช ประโยชน คือ Heat Recovery System และ Absorption Chiller 1. Heat Recovery System โดยการนําความรอนจากทอไอเสียของระบบผลิตไฟฟา ซึ่งมีความรอนสูง กวา 500 องศาเซลเซียส ไปผานหมอนํา้ และถายเทความรอนใหกบั นํา้ ทําใหนาํ้ เดือด กลายเปนไอนํา้ นําไปใชทดแทนกับไอนํา้ จากหมอไอนํา้ เดิม ลดการใชเชือ้ เพลิงของ หมอไอนํ้า ซึ่งเดิมเปนหมอไอนํ้าที่ใชเชื้อเพลิงจาก Biogas 2. Absorption Chiller ใชความรอนจากนํา้ หลอเย็นแทนไฟฟาในการผลิตนํา้ เย็น ทีอ่ ณ ุ หภูมปิ ระมาณ 90 องศาเซลเซียส สามารถทําความเย็นได 86 ตันความเย็น (RT) และใชกา ซชีวภาพ ที่ผลิตไดสวนหนึ่งเปนเชื้อเพลิงในการตมสารสื่อตัวนําเพื่อรักษาเสถียรภาพของ ความเย็นที่ผลิตได เทียบเทา 24 ตันความเย็น รวมพลังงานความรอนเหลือทิ้งที่ นํากลับมาใชผลิตนํ้าเย็นทั้งหมด 110 ตันความเย็นดังกลาวจะนําไปใชแทนเครื่อง ปรับอากาศแบบแยกสวนที่ใชอยูเดิมทั้งหมด ซึ่งชวยเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ ปรับอากาศ โดยลดทั้งการใชพลังงานไฟฟาและลดการซอมบํารุง

GreenNetwork4.0 March-April 2018


ในสวนของมูลคาการลงทุนรวม 210 ลานบาท แบงออกเปน การลงทุนของระบบบําบัดนํ้าเสีย 100 ลานบาท ระบบผลิตไฟฟา 88 ลานบาท ระบบการนําความรอนเหลือทิ้งกลับมาใชประโยชน 2.5 ลานบาท และระบบ Absorption Chiller 10 ลานบาท อัตราผลตอบแทน (IRR) 43.33% ระยะเวลาคืนทุนประมาณ 5 ป

การจัดการสิ่งแวดลอมภายในโรงงาน ใสใจชุมชนรอบขาง บริษัท โชคยืนยงอุตสาหกรรม จํากัด ดําเนินธุรกิจควบคูไปการคํานึงถึง ผลกระทบตอสิง่ แวดลอม ปจจุบนั มีสภาพแวดลอมทีด่ ขี นึ้ มาก เมือ่ เทียบกับการบําบัด นํา้ เสียในอดีต ทีน่ าํ้ เสียของอุตสาหกรรมแปงมันสําปะหลัง มีการเจือปนของสารพิษ ในป พ.ศ. 2559 โครงการสามารถผลิตพลังงานและนําพลังงานกลับมาใช หลายชนิด หากปลอยสูล าํ นํา้ สาธารณะจะเปนผลเสียตอสิง่ แวดลอม และสงกลิน่ เหม็น ประโยชนไดคิดเปนมูลคาพลังงานที่ประหยัดได 83,286,458 บาท หรือเทียบเทา จากการนํา Biogas มาสันดาปเผาไหมในเครื่องกําเนิดไฟฟา และมานําความรอน การลดการปลอยกาซเรือนกระจกรวม 7,427 ตันคารบอนไดออกไซด (tCO2) ที่ทิ้งกลับมาผลิตพลังงานความรอนรวม ทําใหลดการปลอยไอเสีย ไมทําใหเกิด เขมาควัน หรือสรางมลภาวะใหแกชุมชนบริเวณ พลังงานที่ผลิตได/นํามาใช พลังงานที่ทดแทน มูลคาที่ประหยัดได การลดการปลอยกาซเรือนกระจก รอบขาง นอกจากนี้ยังมีการคลุมผาใบบอนํ้าเสีย กอนเขาระบบ Biogas เพื่อลดกลิ่นไมพึงประสงค กาซชีวภาพ 10,406,464 นํ้ามันเตา 54,766,731 บาท 1,786.60 tCO2 ลูกบาศกเมตร 5,476,673 ลิตร รวมไปถึงการนํานํ้ากลับมาใชในกระบวนการลาง ไฟฟา 38,305.04 MWh ไฟฟาซื้อจาก กฟภ. 25,387,200 บาท 5,156.14 tCO2 มันสําปะหลัง เพือ่ ลดการปลอยลงสูค ลองสาธารณะ 8,462.40 MWh ทัง้ ยังมีการปลูกปายูคาลิปตัส ปาลมจํานวน 400 ไร นํ้ามันเตา 887,165 บาท 28.94 tCO2 ความรอนเหลือทิ้งจาก เพื่อรองรับนํ้าเสียและยังปลอยนํ้าที่บําบัดแลวให 88,716 ลิตร ทอไอเสียของระบบผลิตไฟฟา 168,574 ลูกบาศกเมตร กับชาวบานและเกษตรกรทีป่ ลูกหญาเนเปยรบริเวณ รอบขางดวย ความรอนเหลือทิ้งจากนํ้าหลอเย็น ไฟฟาซื้อจาก กฟภ. 2,245,362 บาท 456.03 tCO2 12,453,840,000 กิโลจูล

748.45 MWh

25

GreenNetwork4.0 March-April 2018


GREEN

World กองบรรณาธิการ

อวสาน รถยนตที่ใชนํ้ามันเชื้อเพลิง แทนที่ดวย

รถ EV 100%

ในไมชา การใชพลังงานทดแทน โดยเฉพาะพลังงานไฟฟา จะเขามาแทนที่ การใชพลังงานจากเชือ้ เพลิงฟอสซิส หรือนํา้ มัน อยางเต็มรูปแบบ ทีเ่ ห็นไดชดั เจน ก็คือ การกาวไปสูยุคของยานยนตไฟฟา ที่ไมไดเปนเพียงแคความฝนอีกตอไป เพราะหลายๆ ประเทศเริ่มพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมยานยนตไฟฟากัน มากขึน้ พรอมทัง้ ประกาศแผนเดินหนาสนับสนุนสงเสริมหรือแมแตภาคบังคับให หันมาใชยานยนตไฟฟา ลาสุดหลายประเทศ ตางเห็นดวยกับการเกิดขึน้ ของยานยนตไฟฟา แนนอน วารถยนตไฟฟาจะเขามาแทนที่การใชงานรถยนตรูปแบบที่เดิมที่ใชเชื้อเพลิงจาก นํ้ามัน ที่นอกจากชวยประหยัดคาใชจายใหกับผูใชงานและยังเปนการลดการใช เชื้อเพลิงนํ้ามัน ที่เปนสาเหตุหลักของมลภาวะทางอากาศ เยอรมนี เตรียมออกมาตรการทางภาษีเพือ่ บังคับใหผผู ลิตรถยนต หยุดการ จําหนายรถยนตทใี่ ชนาํ้ มันเชือ้ เพลิงภายในป พ.ศ. 2573 นีเ้ พือ่ เปนการสงเสริม รถยนตประเภท Zero-emission ทางการเยอรมนีจึงเตรียมบังคับ ใหผูผลิตรถยนตทุกราย ยุติการจําหนายรถยนตที่ใชนํ้ามัน เชือ้ เพลิง แลวหันมาใชพลังงานไฟฟาหรือพลังงานที่ ไมปลอยมลพิษแทนภายในป พ.ศ. 2573 รวมถึง ยังเปนการใหกลุม ประเทศในสหภาพ ยุโรปหันมพิจารณามาตรการ ดังกลาวรวมกันดวย

26

ในขณะที่ ฝรัง่ เศส โดยรัฐบาลของ ประธานาธิบดี เอ็มมานูเอล ประกาศยกเลิก จําหนายรถยนตที่ใชนํ้ามันเบนซินและดีเซลทั้งหมดภายในป พ.ศ. 2583 นั่นก็คือ 22 ปขา งหนา เพราะเปนสวนหนึง่ ของแผนการเพือ่ ใหเปนไปตามเปาหมายขอตกลง ลดโลกรอนในกรุงปารีส ที่ตองการใหฝรั่งเศสเปนประเทศที่ไมมีการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดในป พ.ศ. 2593 อีกดวย และสิง่ สําคัญทีท่ าํ ใหฝรังเศสลุกขึน้ มา ประกาศยกเลิกการจําหนายรถยนตทใี่ ชนาํ้ มันเบนซินและดีเซลนัน้ เนือ่ งดวยสภาพ อากาศทีเ่ ลวรายมาก โดยเฉพาะในกรุงปารีส ทีม่ กี ารรณรงควนั ปลอดรถ และการ หามใชรถเกา นอกจากนี้ รัฐบาลก็ยังมีมาตรการเงินสนับสนุนใหแกครอบครัวที่มี รายไดตํ่า ในการปรับเปลี่ยนรถใหมใหเปนรถยนตไฟฟาแทนรถยนตรุนเกา ซึ่ง อยางไรก็ตาม เปาหมายดังกลาว ยังเปนแรงกดดันใหผผู ลิตรถยนตในประเทศฝรัง่ เศส หันมาพัฒนาและปรับเปลี่ยนการผลิตไปสูรถยนตไฮบริดและรถยนตไฟฟากัน มากขึ้น ลาสุด อังกฤษ ก็ยังประกาศและเตรียมยกเลิกผลิต นําเขา และจําหนาย รถยนตทใี่ ชนาํ้ มันเบนซินและนํา้ มันดีเซล ภายใน ป พ.ศ. 2583 เชนเดียวกับฝรั่งเศส เพื่อแกไขปญหา มลพิษทางอากาศและชวยลดภาวะโลกรอน จากกาซ CO2 ในไอเสีย โดยรัฐบาล อังกฤษยังจะเตรียมงบประมาณ กวา 3 พันลานปอนด

GreenNetwork4.0 March-April 2018


หรือกวา 1.3 แสนลานบาท เพือ่ ฟน ฟู สภาพอากาศบนทองถนนที่ยํ่าแยให กลับมามีคณ ุ ภาพทีด่ ขี นึ้ ทัง้ การปรับโครงสราง พื้นฐานระบบขนสงมวลชนตางๆ การใชเทคโนโลยี ยานพาหนะไฟฟาในเชิงพาณิชย และสถานีชารจ ฝรัง่ เศสและอังกฤษไมใชประเทศแรกๆ ทีป่ ระกาศยกเลิกการ จําหนายรถยนตทใี่ ชเชือ้ เพลิงนํา้ มันเบนซินและดีเซล นอรเวย ซึง่ เปนประเทศ ที่มีการใชรถยนตไฟฟามากที่สุดในโลก ก็ยังไดตั้งเปาหมายไววาจะใหมีการ จําหนายไดเฉพาะรถยนตไฟฟาและรถยนตไฟฟาชนิดไฮบริดภายในป พ.ศ. 2568 นับวาเปนประเทศแรกของโลกที่บรรลุเปาหมายผลักดันการใชรถยนตไฟฟา แบบ 100% ซึง่ สําหรับรถทีใ่ ชนาํ้ มันเบนซินหรือนํา้ มันดีเซลจะถูกเก็บภาษีทสี่ งู มาก ในขณะที่รถยนตไฟฟากลับไดประโยชนในเรื่องภาษีที่ชวยใหราคาซื้อนั้นถูกลง จนสามารถแขงขันในตลาดได และนอกจากนี้ผูที่เปนเจาของรถยนตไฟฟานั้น ยังไดสทิ ธิพเิ ศษ เชน ฟรีคา ทางดวน คาเรือขามฟาก คาจอดรถ รวมถึงชารจไฟ ฟรีในที่จอดรถสาธารณะ ไมเวนแต สกอตแลนด ก็ยงั ประกาศหามจําหนายรถใหมทใี่ ชนาํ้ มันเบนซิน และดีเซลเชนกัน โดย นิโคลา สเตอรเจียน นายกรัฐมนตรีของสกอตแลนด ไดเผยแผนการของรัฐบาลที่มีกําหนดการยกเลิกการขายรถยนตและรถตูใหม ที่ใชนํ้ามันภายในป พ.ศ. 2575 และเรงพัฒนาระบบและสถานีชารจไฟสําหรับ ยานยนตไฟฟาทัว่ ประเทศ แผนดังกลาว ถือเปนการผลักดันการสรางโครงสราง พื้นฐานสําหรับรถยนตไฟฟาอยางที่ชารจไฟตามถนนเสนทางหลัก เพื่อกระตุน  หาภาวะเรือนกระจกและ ใหเกิดการใชงานรถยนตไฟฟามากขึน้ และเพือ่ แกปญ ปญหามลพิษที่เกิดจากรถยนต จีน เดินหนาเตรียมออกประกาศมาตรการหามผลิตและจําหนายรถยนต ทีใ่ ชนาํ้ มัน ในปจจุบนั จีนเปนตลาดรถยนตทใี่ หญทสี่ ดุ ในโลก โดยเมือ่ ป พ.ศ. 2559 ยอดการผลิตรถยนตในจีนสูงถึง 28 ลานคัน หรือเกือบ 1 ใน 3 ของยอดการผลิต รถยนตทวั่ โลก จีนตัง้ เปาหมายภายในป พ.ศ. 2568 ราวๆ 1 ใน 5 ของยอดขาย รถยนตใหมทั่วประเทศ จะเปนรถยนตไฟฟาและรถยนตไฮบริด โดยคาดวาใน ป พ.ศ. 2562 ยอดขายรถยนตไฟฟาและรถยนตไฮบริดจะโตขึ้นรอยละ 8 และ ในป พ.ศ. 2563 จะโตขึน้ รอยละ 12 อยางไรก็ตาม นโยบายในเรือ่ งนีจ้ ะเปนการ สงเสริมใหเกิดการเปลีย่ นแปลงครัง้ สําคัญในดานสิง่ แวดลอมและเปนแรงผลักดัน ในดานการพัฒนาอุตสาหกรรมรถยนตของจีน สวน อินเดีย ตัง้ เปาใหมกี ารจําหนายเฉพาะรถยนตไฟฟาภายในป พ.ศ. 2573 การเติบโตทางเศรษฐกิจทําใหอนิ เดียกลายเปนผูน าํ เขานํา้ มันอันดับ 3 ของโลก ตองจายเงินซื้อนํ้ามันถึงปละ 150 พันลานดอลลารสหรัฐ สําหรับการเปลี่ยน มาใชรถยนตไฟฟาจะลดความตองการการใชนํ้ามันลงอยางมาก สําหรับการ เปลี่ยนแปลงนี้คาดวาจะทําใหอินเดียประหยัดคาใชจายดานพลังงานไดถึงปละ 60 พันลานดอลลาร ในขณะเดียวกันยังจะชวยลดคาใชจายของเจาของรถ เมื่อหลายประเทศตางเดินหนาประกาศนโยบายที่จะกาวไปสูยานยนต ไฟฟาอยาง 100% ผานแผนมาตรการการสงเสริมใหเกิดการใชยานยนตไฟฟา ในแตละประเทศนัน้ ๆ เพิม่ มากขึน้ ดวยการลดหยอนภาษีตา งๆ เพือ่ เปนการจูงใจ ใหคนหันมาใหยานยนตไฟฟากันมากขึน้ ไมเพียงแตมาตรการสงเสริม หลายๆ ประเทศ ก็ไดประกาศยกเลิกการจําหนายยานยนตไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิงมาจาก นํ้ามัน แลวประเทศไทยละ พรอมหรือยัง? ที่มา : inhabitat.com 27

GreenNetwork4.0 March-April 2018


RE

Update กองบรรณาธิการ

สถานีผลิต พลังงานสีเขียว (DGG)

แมวาความตองการใชชีวมวลเพื่อ ผลิตเปนพลังงานไฟฟายังมีแนวโนมเพิม่ ขึน้ แตการสงเสริมการใชชีวมวลแบบผลิตพลังงาน ก็ยังมีปญหาอุปสรรค ยังขาดขอมูลที่ทันสมัยสําหรับ วางแผนบริหารจัดการเชื้อเพลิงชีวมวล ปญหาเรื่องการ ขาดแคลนเชื้อเพลิงชีวมวล หรือแมแตการตอตานโรงไฟฟา ชีวมวล ปญหาการตอตานของชุมชนในพืน้ ทีร่ อบโครงการ รวมไป ถึงปญหาดานเทคโนโลยี และกฎหมาย ขัน้ ตอน และระเบียบทีเ่ กีย่ วของ ที่ผานมา กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ได ดําเนินการศึกษาแนวทางการสงเสริมโรงไฟฟาชีวมวลชุมชนแบบครบวงจร เพือ่ เปน ตนแบบของการพัฒนาโรงไฟฟาชีวมวลระดับชุมชนขนาดไมเกิน 1 เมกะวัตต ใหกบั พืน้ ที่ อื่นๆ โดยไดปรับปรุงระบบผลิตพลังงานจากชีวมวลใหมีการใชงานและดูแลรักษาที่งายขึ้น พรอมทัง้ สรางความรู ความเขาใจใหกบั ชาวบานทีม่ หี นาทีร่ บั ผิดชอบในการดูแลระบบดวย รวมถึง การจัดตั้งศูนยประสานงานชีวมวล เพื่อคอยติดตามการดําเนินงานพัฒนาใชเชื้อเพลิงชีวมวลผลิต พลังงานในแตละพื้นที่อยางใกลชิด เพื่อไมกอใหเกิดผลกระทบที่บานปลายจนเปนเหตุใหเกิดการตอตาน ในภายหลัง อยางไรก็ตาม เพื่อใหการสงเสริมเปนไปตามเปาแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 10 ป จึงเรงสงเสริมใหชุมชน มีสวนรวมในการผลิตและการใชพลังงานทดแทนอยางกวางขวาง โดยการสงเสริมใหมีการจัดตั้ง “สถานีผลิตพลังงาน ชุมชน” มีการปรับมาตรการจูงใจสําหรับการลงทุนจากภาคเอกชนใหเหมาะสม มีการปรับปรุงระบบโครงสรางพื้นฐาน เชน ระบบสายสง สายจําหนายไฟฟา เพื่อรองรับการพัฒนาโครงการชีวมวล เรงประชาสัมพันธ และสรางความรูความ เขาใจตอประชาชน สงเสริมใหงานวิจยั เปนเครือ่ งมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนอยางครบวงจร ตัวอยาง เชน การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากชีวมวล เทคโนโลยีการแปรรูปเชื้อเพลิงชีวมวล เปนตน นอกจากนี้ ก็จะมีการจัดเก็บขอมูลปริมาณผลผลิตทางการเกษตรใหมีความทันสมัยและจัดเก็บเขาสูระบบ ฐานขอมูลชีวมวล วางแผนกําหนดปริมาณ พื้นที่ในการใชเชื้อเพลิงชีวมวล (Zoning) ศึกษาปญหาอุปสรรค ในการสงเสริมใหเกิดการเพิม่ ปริมาณเชือ้ เพลิงชีวมวลในการผลิตพลังงาน และหาแนวทางแกไข ศึกษา การใชเชื้อเพลิงชีวมวลที่ยังไมไดถูกนํามาใช เชน ยอดออย ใบออย มาแปรรูปโดยการอัดเม็ด กอนทําการขนสงไปยังโรงไฟฟาชีวมวล ปรับปรุงประสิทธิภาพหมอไอนํ้าชีวมวลใหมี ความเหมาะสมกับกําลังการผลิตและการใชพลังงาน พัฒนาเทคโนโลยีชวี มวลให มีความสะดวก งาย ไมซบั ซอน และมีหลายขนาด เพือ่ ใหเหมาะสมในแตละ พืน้ ทีด่ ว ย ซึง่ หากรัฐบาลสามารถดําเนินการไดตามทีต่ งั้ เปาไว ในอนาคต ประเทศไทยก็จะมีโรงไฟฟาชีวมวลแบบครบวงจรเพิม่ มากขึน้ ก็แนนอนวาจะชวยลดการกอสรางโรงไฟฟาขนาดใหญ

เสริมความมั่นคง

โรงไฟฟาชีวมวล ระดับชุมชน

28

GreenNetwork4.0 March-April 2018


แตปญ  หาเรือ่ งการขาดแคลนเชือ้ เพลิงชีวมวลนับวาเรือ่ งทีส่ าํ คัญ เนือ่ งดวย ปจจุบนั มีโรงไฟฟาชีวมวล และโรงงานอุตสาหกรรมไดปรับเปลีย่ นมาใชชวี มวลมาก ขึ้น ขณะที่ปริมาณชีวมวลไมไดมีปริมาณเพิ่มขึ้น อาจเนื่องจากพื้นที่การเกษตรมี จํากัด พฤติกรรมการปรับเปลี่ยนการเพาะปลูกของเกษตรกรโดยหันไปเพาะปลูก พืชทีม่ รี าคาสูง ทําใหยกเลิกการเพาะปลูกพืชชนิดเดิม ทําใหไมสามารถยืนยันปริมาณ ผลผลิตทางการเกษตรทีจ่ ะไดในปนนั้ ๆ วาจะสามารถเพียงพอกับโรงไฟฟาหรือโรงงาน อุตสาหกรรมทีใ่ ชชวี มวลเดิม หรือโรงใหมๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตอันใกลหรือไม หรือ แมกระทัง่ การประสบภัยพิบตั อิ นั จะสงผลใหพนื้ ทีก่ ารเกษตรเสียหาย ซึง่ จะกอใหเกิด การแยงเชือ้ เพลิงสงผลใหเชือ้ เพลิงมีราคาสูงในขัน้ แรก และนําไปสูก ารขาดแคลน เชื้อเพลิงได วิสาหกิจชุมชน อ.ซําสูง จ.ขอนแกน ตามโครงการสนับสนุนเพือ่ จัดตัง้ สถานี ผลิตพลังงานสีเขียว (DGG) ณ ปจจุบนั นอกจากมีเชือ้ เพลิงชีวมวลเขาสูโ รงงานเพือ่ เดินเครือ่ งผลิตไฟฟาไดอยางตอเนือ่ งแลว ยังสรางรายไดจากขายไมสบั 1,100-1,200 บาทตอตัน ในขณะที่เดิมทีขายทอนไมไดเพียง 300-400 บาทตอตันเทานั้น นับวา เปนการไดประโยชนทงั้ ฝายโรงไฟฟาและชุมชนเอง การเปลีย่ นจากไมทอ นๆ มาเปน ไมสบั เพือ่ ขายสูโ รงงานผลิตไฟฟาถือเปนโครงการระยะแรก สําหรับโครงการระยะ ตอไปจะแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ การขยายผลรูปแบบดังกลาวไปยังจังหวัดอืน่ ๆ ทัว่ ประเทศ สวนลักษณะทีส่ อง จะขยายไปสูก ารทํา Wood Pellets อัดแทงขนาดเล็ก ที่ชวยชวยสรางมูลคาใหสูงขึ้นและยังชวยลดปญหาเรื่องฝุนละออง โครงการสนับสนุนเพื่อจัดตั้งสถานีผลิตพลังงานสีเขียว (DistributedGreen-Generaton : DGG) เพือ่ ใหเปนวิสาหกิจชุมชนทีส่ ามารถสรางรายไดจากการ ผลิตและใชพลังงานทดแทนจากชีวมวล สําหรับวิสาหกิจชุมชนซําสูง ถือเปนชุมชน 10 แหงที่ พพ.โดยกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ไดใหการสนับสนุน คาจัดตัง้ โรงงานผลิตไมสบั ใหกบั ชุมชน เครือ่ งสับไมพรอมระบบปอนวัตถุดบิ ระบบ ไฟฟาพรอมอุปกรณ เปนตน โดยทั้ง 10 แหงดังกลาวมีเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ รวม 18,240,500 บาท หรือเฉลี่ยแหงละ 1,824,050 บาท ทัง้ นี้ พพ. ไดเตรียมขยายผลใหการสนับสนุนเพิม่ เติมจากโครงการ DGG ทัง้ 10 แหง ซึ่งนับไดวาประสบความสําเร็จในการสนับสนุนเงินทุนใหวิสาหกิจชุมชน เพียงครั้งเดียว แตชุมชนสามารถตอยอดจนสามารถดําเนินการไดดวยตัวเอง เชน วิสาหกิจชุมชนซําสูงแหงนี้ โดยในป พ.ศ. 2561 นี้ พพ.ไดเตรียมวงเงินรวม 150 ลานบาท เพือ่ ขยายผลใหการสนับสนุนในอีก 2 รูปแบบ ไดแก แบบที่ 1 ใหกบั วิสาหกิจชุมชน และสหกรณการเกษตร ดําเนินโครงการผลิตเชือ้ เพลิงพลังงานทดแทน เชนจัดตัง้

29

โรงงานผลิตไมสับ จัดตั้งโรงงานผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลอัดเม็ด โดยจะสนับสนุนไม เกินรอยละ 80 ของเงินลงทุนแตไมเกิน 3,000,000 บาทตอแหง และแบบที่ 2 ใหกบั กลุม วิสาหกิจชุมชน สหกรณการเกษตรและผูป ระกอบการธุรกิจขนาดเล็ก (SME) เปนผูใ ชเชือ้ เพลิงพลังงานทดแทน เชน การเปลีย่ นหัวเผาทีใ่ ชเชือ้ เพลิงฟอสซิล ไปใชเชือ้ เพลิงชีวมวลในหมอไอนํา้ หรือในระบบอบแหงตางๆ เปนตน โดยจะ สนับสนุนไมเกินรอยละ 40 ของเงินลงทุนแตไมเกิน 3,000,000 บาทตอแหง ที่ผานมา พพ. ไดรวมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรในการศึกษา การจัดตัง้ สถานีผลิตพลังงานสีเขียว (DGG) ซึง่ ในปจจุบนั อยูร ะหวางศึกษา โครงการระยะที่ 2 สําหรับวิสาหกิจชุมชนที่จะไดรวมโครงการระยะที่ 2 จํานวน 10 แหง ไดแก 1. วิสาหกิจชุมชนละหาน จ.ชัยภูมิ 2. วิสาหกิจชุมชนนาหวา จ.ขอนแกน 3. วิสาหกิจชุมชนซําสูง จ.ขอนแกน 4. วิสาหกิจชุมชนนามะเฟอง จ.หนองบัวลําภู 5. วิสาหกิจชุมชนกุดจิก จ.หนองบัวลําภู 6. วิสาหกิจชุมชนจําป จ.อุดรธานี 7. วิสาหกิจชุมชนไผ จ.กาฬสินธุ 8. วิสาหกิจชุมชนโพธิ์ศรี จ.รอยเอ็ด 9. วิสาหกิจชุมชนคําเขื่อนแกว จ.อุบลราชธานี 10. วิสาหกิจชุมชนคลองเมือง จ.นครราชสีมา โครงการสนับสนุนเพือ่ จัดตัง้ สถานีผลิตพลังงาน สีเขียว (DGG) เพื่อใหเปนวิสาหกิจชุมชนที่สามารถ สรางรายไดจากการผลิตและใชพลังงานทดแทน จากชีวมวล จะเนนไปที่ชุมชนใหรวมตัวกันเปน วิสาหกิจชุมชน เพือ่ ใหเกิดประโยชนทงั้ ในแงการ สรางความมัน่ คงทางดานเชือ้ เพลิงชีวมวลและ เปนการเพิ่มรายไดใหแกชุมชน

ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน (พพ.)

GreenNetwork4.0 March-April 2018


GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

&&Ŵ 9")?5 +5Ŵ

8 < :/D :8

D*?5! <L! A Ċ!E""F+ :! dŴ`

เมื่อเร็วๆ นี้ ประพนธ วงษทาเรือ อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรกั ษพลังงาน (พพ.) รวมกับ ศุภกิจ บุญศิริ ผู อํ า นวยการสํ า นั ก เทคโนโลยี ค วามปลอดภั ย กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) และคณะ เขาเยี่ยม โรงงานของ บริษัท เทพผดุงพรมะพราว จํากัด อ.สามพราน จ.นครปฐม โดยมี เกียรติศักดิ์ เทพผดุงพร กรรมการบริหารและ ผูจัดการโรงงานชาวเกาะ ใหการตอนรับ พรอมนําเสนอระบบตรวจสอบ การใชพลังงานของหมอน้ําแบบออนไลน (Smart Boiler Monitoring System) อันเปนผลจากโครงการยกระดับประสิทธิภาพพลังงานในระบบไอนา้ํ สําหรับโรงงานควบคุม ภายใตเงินกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2560

Internet of Things สูการใชงานจริงดวย “Smart Boiler” บริษัท เทพผดุงพรมะพราว จํากัด เจาของผลิตภัณฑภายใตแบรนด ชาวเกาะ, แมพลอย, TCC และ ยอดดอย ปจจบันโรงงานชาวเกาะมีการใชงาน Boiler หรือ หมอไอนาํ้ ทั้งหมด 3 เครื่อง ทําหนาที่ผลิตพลังงานความรอนมาใชฆาเชื้อในรูปแบบไอนาํ้ ผศ. ดร.สุรชัย สนิทใจ หัวหนาศูนยวิศวกรรมอุณหภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี รวมกับ สุวัฒน ปานบุญลือ ผูจัดการสิ่งแวดลอม และคณะ อธิบายหลักการทํางานของ Smart Boiler วาเปนการยกระดับ Boiler ที่มีอยูเดิมใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยติดตั้งเซ็นเซอรหลายชนิด รอบเครือ่ งจักรเพือ่ ตรวจวัดคาตางๆ อาทิ อุณหภูม,ิ ความดัน, อัตราการสงจายไอนาํ้ ฯลฯ เซ็นเซอรจะสงสัญญาณดิจทิ ลั มาแสดงผลทางหนาจอ คอมพิวเตอรและสมารทโฟนไดแบบเรียลไทม รวมกับระบบ Controller ทีผ่ ใู ชสามารถสัง่ การเปด-ปด ปรับเพิม่ -ลด คาดังกลาวไดอยาง สะดวกรวดเร็วผานระบบออนไลน นอกจาก Smart Boiler แลว บริษัท เทพผดุงพรมะพราว จํากัด ยังไดนําแพลตฟอรมระบบตรวจสอบการใช พลังงานแบบออนไลนไปใชกบั เครือ่ งจักรอีก 3 ระบบ ไดแก Chiller หรือระบบนาํ้ เย็น, เครือ่ งอัดอากาศ และระบบบําบัดนาํ้ เสีย ซึง่ สะทอนการนําเอาแนวคิด Internet of Things (IoT) มายกระดับ ประสิทธิภาพของโรงงานไดอยางเปนรูปธรรม

30

GreenNetwork4.0 March-April 2018


ประหยัดพลังงาน ขานรับนโยบาย Energy 4.0 เกียรติศักดิ์ เทพผดุงพร กรรมการบริหารและ ผูจัดการโรงงานชาวเกาะ ใหความเห็นถึงผลสําเร็จดาน พลังงานหลังจากใช Smart Boiler วา “แตเดิมเมือ่ เรายังไมมกี าร ควบคุมที่ชัดเจน เราคิดวา Boiler เราไมพอ เราจึงเดินเครื่องทั้ง 3 ลูก แตในปจจบันเมื่อประเมินได คิดวา 2 ลูกก็พอแลว” พรอมกันนี้ ประสพชัย เอี่ยมลือนาม ผูรับผิดชอบพลังงาน ยังไดกลาว เสริมวา เมื่อทราบปริมาณความตองการใชไอน้ําในแตละจดไดอยางชัดเจน ทางโรงงานจึงไดเพิ่มมาตรการหยุดพักการผลิตไอน้ํา วันละ 1 ชั่วโมง พบวา ยังมีปริมาณไอนา้ํ เพียงพอตอการใชงานในแตละวัน ซึง่ ชวยลดการใชพลังงาน เชื้อเพลิงไดอีกทางหนึ่ง ในสวนของ Chiller ซึ่งมีอยูทั้งหมด 8 เครื่อง ระบบจะแสดงผลการใช พลังงาน ประสิทธิภาพในการทําความเย็น อุณหภูมนิ า้ํ เย็นทีผ่ ลิตได ฯลฯ สวน Air Compressor ซึง่ มีอยูท งั้ หมด 3 เครือ่ ง ก็ดาํ เนินมาตรการคลายคลึงกันคือ จากเดิมใชงานครบทุกเครือ่ ง ก็ใชระบบชวยวิเคราะหแลวควบคุมใหสอดคลอง กับความตองการใชงานจริง ดานระบบบําบัดนาํ้ เสีย แตเดิมเคยวาจางทีป่ รึกษามาตรวจวัดทุกสัปดาห เมื่อติดตั้งระบบก็สามารถวัดคาตางๆ อาทิ DO, BOD, COD, pH ไดแบบ เรียลไทม สามารถปรับเปลีย่ นเกณฑมาตรฐานของคาดังกลาวไดทางออนไลน พรอมดวยระบบแจงเตือนหากคาใดๆ ขยับเขาใกลเกณฑที่กําหนด ในทาง ตรงกันขามหากนา้ํ มีคณ ุ ภาพสูงกวาเกณฑคอ นขางมาก ก็อาจหยุดพักบางระบบ ชัว่ คราวเพือ่ ประหยัดพลังงานได โดยสรุปการบําบัดนา้ํ เสียจากเดิมใชพลังงาน ไฟฟาประมาณ 150 กิโลวัตตตอชั่วโมง เมื่อมีระบบที่ควบคุมไดก็จะใชไฟฟา เพียงประมาณ 100 กิโลวัตตตอชั่วโมง ประโยชนรอบดาน สูก ารพัฒนาเปน Smart Industry ประสพชัย กลาวถึงคาใชจายในการติดตั้งระบบ Smart Boiler ซึ่ง สวนหนึ่งไดรับซอฟตแวร Free License จาก Department of Energy ของ สหรัฐอเมริกา รวมกับซอฟตแวรที่พัฒนาโดย บริษั ท ไอ.เอ็น.ซี.เทคโนโลยี จํากัด ควบคูกัน ตลอดจนคาอุปกรณตรวจวัดคาตางๆ รวมคาใชจายประมาณ 4 ลานบาท คาดวาสามารถคืนทุนไดภายใน 1 ป นอกเหนือจากการประหยัดพลังงานแลว การติดตั้งระบบตรวจสอบ การใช พ ลั ง งานแบบออนไลน ที่ เ ครื่ อ งจั ก รหลายชนิ ด ยั ง ให ป ระโยชน อี ก นานัปการ ทัง้ ในดานความปลอดภัย ซึง่ มีระบบแจงเตือนเมือ่ ตรวจพบอุปกรณ ชํารุด หรือเมื่อตรวจพบคาตางๆ เชน อุณหภูมิ, ความดัน สูงกวาเกณฑที่ กําหนด ซึ่งอาจเปนอันตรายตอเครื่องจักรและบุคลากร เมื่อมีระบบแจงเตือน ก็สามารถแกไขไดอยางทันทวงที ชวยยืดอายุการใชงานของเครือ่ งจักรซึง่ เปน การประหยัดตนทุนไดอีกทางหนึ่ง นอกจากนี้ ขอมูลดิจิทัลที่ระบบประมวลผล ได ยังสามารถจัดเก็บไวเปน Big Data ของบริษัท เพือ่ ประโยชนในการพัฒนา อยางรอบดานในอนาคตได

“เนื่องจากมีบริษัทมาเสนอ พรอมกับเปนขวัญและกําลังใจใหลูกนองซึ่งได ศึกษามาแลว จึงตัดสินใจลองดู ในสวนของ Boiler จากเดิมตนทุนการผลิตของเรา ประมาณ 1.5 บาทตอ 1 กิโลกรัมไอนาํ้ เมือ่ ปรับมาใช Smart Boiler ตนทุนเหลือแค 0.58 บาท แลวเรายังสามารถ Control ไดวา แตละจด แตละแผนก จดไหนใช ไอน้ําเทาไรบาง มีจดไหนที่ใชแลวผิดปกติก็สามารถตรวจสอบได ในการคํานวณ ตนทุนตางๆ เราจะแยกแผนก ซึ่งสามารถคํานวณไดละเอียดขึ้น แตเดิมโรงงานอุตสาหกรรมอาจจะมองไปที่วัตถุดิบ คาแรงคนงาน แตผม คิดวาเราอาจจะมองขามไปวาพลังงานเชื้อเพลิงก็มีสวนมาก โดยเฉพาะโรงงาน อาหารเราใชพลังงานเชื้อเพลิงเยอะครับ” เกียรติศักดิ์ กลาว

ภาครัฐปลื้ม พรอมหนุนโรงงานทั่วไทยใช Smart Boiler จากการที่ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) และ กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) ไดรวมลงนามบันทึกขอตกลง (MOU) ดําเนิน โครงการยกระดับประสิทธิภาพพลังงานในระบบไอน้ําสําหรับโรงงาน โดยจัดสรร งบประมาณ 98 ลานบาท ใหแกโครงการนํารองตางๆ ดังเชนบริษัท เทพผดุงพร มะพราว จํากัด นี้ ศุภกิจ บุญศิริ ผูอํานวยการสํานักเทคโนโลยีความปลอดภัย กรมโรงงาน อุตสาหกรรม (กรอ.) กลาววา หมอน้ําที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกํากับดูแลอยู มีทั้งหมดประมาณ 15,000 เครื่อง จากโรงงานประมาณ 8,000 แหง หลังจากที่ได MOU กับทาง พพ. ดําเนินการไป 7 โครงการเพื่อชวยเหลือสงเสริมผูประกอบการ ที่มีหมอน้ํา โดยการเพิ่มประสิทธิภาพ จัดทํามาตรการประหยัดพลังงาน รวมถึง การวางระบบ Smart Boiler ซึง่ กําลังเตรียมการใหโรงงานทีม่ หี มอนา้ํ มาเขาสูร ะบบ Smart Boiler ทัง้ หมด ภาครัฐก็จะสามารถกํากับดูแล ชวยดูเรือ่ งการใชงานใหเกิด ความปลอดภัย รักษาสิ่งแวดลอมรวมถึงประหยัดพลังงาน เนื่องจากภารกิจของ กรอ. จะกํากับดูแลในเรื่องความปลอดภัย เรื่องสิ่งแวดลอม โดยรวมมือกับ พพ. ในการดูแลดานพลังงานก็จะเติมเต็มไดทั้งหมด ประพนธ วงษทา เรือ อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน (พพ.) ใหความเห็นวา “Smart Boiler เปนตัวอยางของการนําเอานวัตกรรมใหมๆ มาใชไดจริง ไมใชวาอยูในทฤษฎีเทานั้น วันนี้มันเกิดขึ้นจริงแลว ผมก็ยังเรียนกับ ทางผูบริหารของบริษัท เทพผดุงพรมะพราว วาอยากจะขอใหสงตัวแทนไปอธิบาย ใหบริษั ทอื่นไดเห็นวาลงทุนแลวคุมคา เกิดประโยชนจริง นี่คือสิ่งที่ดีที่เราอยาก ผลักดันขึ้นครับ” “Boiler ในประเทศไทยมีคอนขางมาก เปนเครือ่ งจักรที่ใชพลังงานเกือบ 30% ของการ ใชพลังงานในโรงงาน เฉพาะ Boiler ตัวเดียว ถาเราทําใหประหยัดพลังงานลงไปไดประมาณ 5 - 10% พลังงานในประเทศจะลดลงเปนอยาง มาก นี่คือสิ่งที่เรามองเห็นความสําคัญจึงไดมี การจับมือกับทางกรมโรงงานอุตสาหกรรมวา เปาหมายแรกเราจะตองพัฒนา Boiler ใหได นี่คือประเด็นสําคัญที่สุดในวันนี้ครับ”


ENERGY

Saving Mr.Save

ออกแบบอาคารอยางไร

ใหสํานึกเรื่องพลังงาน

จากการวิเคราะห การใชพลังงานภายในอาคาร พบวา ระบบปรับอากาศมีสดั สวนการใชพลังงาน 65% ระบบไฟฟาแสงสวาง 25% และอื่นๆ 10% ดังนั้นการ ประหยัดพลังงานในอาคาร สวนใหญจึงมุงเนนไปที่ การลดใชพลังงานในการดําเนินกิจกรรมในอาคาร และการออกแบบระบบปรับอากาศรวมไปถึงระบบ ไฟฟาแสงสวางใหมปี ระสิทธิภาพสูง แตอยางไรก็ตาม หากตัวอาคารเองไมมีประสิทธิภาพในการปองกัน ความรอนแลวนัน้ การประหยัดพลังงานก็ไมสามารถ บรรลุเปาหมายไดอยางยั่งยืน ในทางกลับกัน ถาตัวอาคารเองมีการออกแบบ โดยคํ า นึ ง ถึ ง การสํ า นึ ก เรื่ อ งพลั ง งาน (Energy Conscious Design) แตระบบปรับอากาศและระบบ ไฟฟาแสงสวางมีประสิทธิภาพตํ่าและไมสอดคลองกับการดําเนินกิจกรรมในอาคารตามที่ออกแบบไวแลวนั้น อาคารก็ไมสามารถใชพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพเชนกัน ดวยเหตุนกี้ ารทํางานรวมกันระหวางผูอ อกแบบทัง้ สถาปนิกและวิศวกรจึงสําคัญมากตอการออกแบบอาคารใหประหยัดพลังงาน โดยควรเริม่ ตนออกแบบอาคารให ไดรับความรอนนอยที่สุด และเลือกระบบใหสอดคลองกับการใชงานและมีประสิทธิภาพสูง

ปจจัยภายนอกตอการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษพลังงาน ทิศทางแสงแดด ควรออกแบบใหดานแคบของอาคารหันไปทางทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก เพื่อใหดาน ทีม่ พี นื้ ทีผ่ นังนอย รับความรอนจากรังสีอาทิตย โดยเฉพาะในชวงบายทีม่ แี สงแดดรอนจัด สงผลใหความรอนเขาสู อาคารลดลง และลดการสิ้นเปลืองคาไฟฟาของระบบปรับอากาศ พืชพันธุธ รรมชาติ การปลูกตนไมขนาดใหญทมี่ ที รงแผกวางและพุม ใบโปรงบริเวณรอบๆ อาคารเพือ่ ให รมเงา ชวยลดความรอนทีเ่ กิดจากรังสีโดยตรงจากดวงอาทิตย หรือการปลูกไมพมุ และการสรางบอนํา้ เพือ่ สราง ความเย็นใหกับสภาพแวดลอม หรือการปลูกหญาและพืชคลุมดินเพื่อปองกันความรอน สภาพภูมปิ ระเทศ การออกแบบอาคารใหสามารถประหยัดพลังงานไดเต็มที่ มีปจ จัยทีจ่ าํ เปนอยางยิง่ ทีต่ อ ง นํามาพิจารณา คือ สภาพภูมิประเทศที่อาคารจะสรางขึ้นเหนือพื้นที่นั้น การปรับสภาพภูมิอากาศใหเหมาะกับการกอสรางอาคาร สามารถทําได หลายวิธดี ว ยกัน เชน การปรับพืน้ ดินใหลาดเอียงไปทางทิศเหนือเพือ่ ใหรบั แสงแดดนอยลง หรือการสรางบอนํา้ ขนาดใหญเพือ่ ใหลมพัดผานสราง ความเย็นใหกับสภาพแวดลอม เปนตน สภาพภูมอิ ากาศ การสรางอาคารควรคํานึงถึงสภาพภูมอิ ากาศของทองถิน่ นัน้ ๆ เนือ่ งจากการสรางอาคารทีเ่ หมาะสมกับสภาพภูมอิ ากาศ ไมวา จะเปนเขตรอนหรือเขตหนาวจะชวยลดการใชพลังงานได เชน การใชประโยชนจากลมประจําถิน่ ดวยการวางตัวอาคารและชองเปดใหขวาง 32

GreenNetwork4.0 March-April 2018


ทิศทางลม สําหรับประเทศไทยมีลมประจําถิน่ ไดแก ลมฤดูรอ นพัดจากทางทิศใต หรือตะวันตกเฉียงใต และลมฤดูหนาวพัดจากทางทิศเหนือหรือตะวันออกเฉียงเหนือ

ปจจัยภายในตอการออกแบบอาคาร เพื่อการอนุรักษพลังงาน ผนังทึบ เปนสวนสําคัญในการชวยใหอาคารมีประสิทธิภาพในการประหยัด พลังงาน เนือ่ งจากพลังงานสวนใหญในอาคารใชเพือ่ ควบคุมอุณหภูมใิ นอาคารให เหมาะสม กับกิจกรรมตางๆ ของผูใ ชอาคาร การเลือกใชผนังทึบทีเ่ หมาะสมจะเปน สวนสําคัญในการลดภาระการใชพลังงานสําหรับระบบปรับอากาศภายในตัวอาคาร ลงได แนวทางการออกแบบผนังทึบ เพิม่ ความสามารถการตานทานความรอนให สูง (R-value) หรือคาสัมประสิทธิก์ ารถายเทความรอนรวมใหคา (U-value) ดวย การติดตั้งฉนวนกันความรอนที่ผนังดานนอกหรือใชผนัง 2 ชั้นที่มีชองวางอากาศ ระหวางชั้นเพื่อกันความรอนจากภายนอก รวมทั้งสีของผนังทึบภายนอกควรเปน สีโทนออน เชน ขาว สีโทนออนมีคุณสมบัติดูดกลืนรังสีแสงอาทิตยนอยกวาสีโทน เขม แตถา จําเปนใชสโี ทนเขมไมควรใชในตําแหนงทีโ่ ดนแสงอาทิตยมาก หรือตอง มีการติดตั้งฉนวนกันความรอนดานหลังบริเวณที่ใชสีเขม ผนังโปรงแสง หรือกระจกเปนสวนประกอบหนึง่ ของอาคาร ทีส่ ง ผลตอการ ใชพลังงานในอาคาร เนื่องจากเปนสวนที่รับความรอน และถายเทความรอนจาก พลังงานแสงอาทิตยเขาสูใ นอาคารไดมากกวาผนังทึบ 5-10 เทา การเลือกชนิดกระจก และเทคนิคการติดตั้ง จึงเปนสวนสําคัญที่ชวยลดการใชพลังงานในอาคารได

คุณสมบัติของกระจกที่เหมาะสม Visible Transmittance (VT) คาการสองผานของแสงไมควรนอยกวา 20% เพื่อสามารถนําแสงธรรมชาติมาใชประโยชนในอาคารได U-Value คาสัมประสิทธิก์ ารถายเทความรอนทีเ่ กิดจากการถายเทความ รอนจากภายนอกเขาสูภ ายในอาคาร เชน กระจกเขียวตัดแสง กระจก Low-E เปนตน Solar Heat Gain Coefficient (SHGC) คือผลรวมของรังสีแสงอาทิตยที่ สงผานกระจกกับสวนของรังสีทถี่ ดู ดู ซับอยูภ ายในกระจก ซึง่ ควรมีคา นอย เพือ่ ปองกัน รังสีแสงอาทิตย และเพื่อความสบายตาของผูใชอาคาร การถายเทความรอนจาก ภายนอกเขาสูภายในอาคาร เชน กระจกเขียว ตัดแสงกระจก Low-E เปนตน หลังคา อาคารควรมีการติดตั้งฉนวนกันความรอน เพื่อทําใหตัวอาคารมี ประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานไดดีขึ้น เชน ฉนวนใยแกว ฉนวนโพลียูรีเทน ยิปซัมบอรด แผนสะทอนความรอน อะลูมิเนียมฟอยล เปนตน อุปกรณบงั แดดภายนอก มีประสิทธิภาพภายใน การลดปริมาณความรอน เขาสูภายในอาคารดีกวาแบบภายใน ดังนั้นการออกแบบชองเปดของอาคาร ตอง มีอุปกรณบังแดดภายนอกติดตั้งดวยเสมอ สําหรับการออกแบบอุปกรณบังแดด ภายนอกอาคารทีด่ ี ควรคํานึงหลายปจจัยประกอบกัน เชน การวางทิศทางตัวอาคาร ขนาดชองเปด และชองวางระหวางอุปกรณบังแดดกับผนังอาคาร

ระบบไฟฟาแสงสวาง การลดการใชไฟฟา จากแสงประดิษฐหรือหลอดไฟตางๆ ใหนอ ยลง แต ค วามสว า งต อ งเพี ย งพอกั บ การใช ง าน เพราะหากการประหยัดแสงสวางแลวทําให ประสิทธิภาพของผูใชงานอาคารลดลง เชน นั้นแลวก็ถือวาไมใชการประหยัดคาใชจายสุทธิ ที่แทจริง แนวทางการออกแบบ เชน การ เลือกใชหลอดไฟที่มีประสิทธิภาพสูง หรือหลอดไฟ LED การใชประโยชนจากแสงธรรมชาติในเวลา กลางวัน ดวยเทคนิคการติดตั้งแยกสวิตชเปด-ปดดวงโคม สําหรับพื้นที่ตามแนวกรอบอาคาร ระบบปรับอากาศ การใชเครื่องปรับอากาศตอง คํานึงถึงปจจัยตางๆ เชน เลือกเครือ่ งปรับอากาศทีม่ กี าํ ลัง ทําความเย็นเหมาะสมกับภาระการทําความเย็น และมี ประสิทธิภาพสูงหรือเปนรุนประหยัดไฟเบอร 5 เปนตน





แนวทางการออกแบบอาคารตนแบบประหยัดพลังงาน โครงการนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและพัฒนาตนแบบอาคารประหยัด พลังงานสําหรับภาครัฐ โดยการคัดเลือกอาคารของภาครัฐ 4 ประเภท จํานวน 5 แบบ ไดแก อาคารสถานศึกษา อาคารชุมนุมคน อาคารสํานักงานขนาดใหญ อาคาร สํานักงานทัว่ ไป และอาคารสถานพยาบาล มาวิเคราะหการใชพลังงาน และพัฒนา ใหเปนอาคารตนแบบประหยัดพลังงาน ปจจัยที่พิจารณาในการออกแบบอาคาร ไดเนนไปที่ 3 ปจจัยหลัก ประกอบดวย การเลือกใชวสั ดุกอ ผนังทึบและผนังโปรงแสง การเลือกใชวสั ดุหลังคาและการติดตัง้ ฉนวนกันความรอน และการเลือกใชหลอดไฟ ประสิทธิภาพสูง LED ขอมูลจาก : คูมือเผยแพรอาคารตนแบบประหยัดพลังงานภาครัฐ

33

GreenNetwork4.0 March-April 2018


GREEN

Industry วิฑูรย์ สิมะโชคดี

!/9 ++)

2=DGreen

=*/ Innovation

เรือ่ ง “Green Industry” (อุตสาหกรรมสีเขียว) ของ “กระทรวงอุตสาหกรรม” ก็ตองถือวาเปน “Green Innovation” (นวัตกรรมสีเขียว) ประเภทหนึ่งดวย เพราะเนือ้ หาแนวทางปฏิบตั แิ ละวิธกี ารรับรองของ “Green Industry” เกิดขึน้ จากมันสมองของ “คณะทํางาน” หรือ “Support Team” ที่ผมตั้งขึ้นในสมัยที่เปน ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ทีมงานทุกคนทุมเททั้งแรงงานและความคิด โดยหารือ รวมกับนักวิชาการและหนวยงานตางๆ หลายตอหลายครั้งจนตกผลึก ไดคํานิยาม ของ “Green Industry” และ “บันได 5 ขั้นสูอุตสาหกรรมสีเขียว” เปนมาตรฐาน ฉบับของไทยเราเองที่ไดรบั การยอมรับอยางกวางขวาง ซึง่ ยังคงมีผลทางปฏิบตั แิ ละ มีการรับรองใหวุฒิบัตรที่ระบุระดับของ Green Industry จนถึงปจจบันนี้ วาไปแลว “นวัตกรรม” (Innovation) มักจะเกิดขึ้นจากความพยายามของ มนุษยในการปรับปรุงหรือเปลีย่ นแปลงเรือ่ งใดๆ รอบตัวใหดขี นึ้ (ไมวา จะเปนสิง่ ของ อุปกรณเครื่องใช รวมทั้งสภาพแวดลอม) จึงมีนักวิชาการหลายทานใหความหมาย ของ “นวัตกรรม” วา “การทําสิ่งหนึ่งสิ่งใดใหดีขึ้นกวาเดิม” เพราะเมื่อเราพยายาม ทําอะไรใหดีขึ้น เราก็ตองคิดตองหาวิธีใหมๆ เพื่อทําใหสิ่งนั้นๆ หรือเรื่องนั้นๆ ดีขึ้น อยางนอยก็เพื่อใหเราสามารถใชชีวิตไดงายขึ้น ทําอะไรๆ ไดเร็วขึ้น หรือสะดวกขึ้น ซึง่ หมายถึงการทํางานหรือการผลิตมีประสิทธิภาพมากขึน้ และมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ดวย “นวัตกรรม” จึงไมใชเรือ่ งทีเ่ ขาใจยาก หรือไกลตัวอยางทีห่ ลายคนคิด แตเปน เรือ่ งใกลตวั ทีเ่ กิดขึน้ นานมาแลว ตัง้ แตมโี ลกนีเ้ กิดขึน้ และมีมนุษยหรือสัตวทสี่ ามารถ ใชสมองคิดอานเพื่อการตางๆ แลว บอยครัง้ ที่ “นวัตกรรม” จะสอดคลองกับคําวา “พัฒนา” เพราะนวัตกรรมก็คอื การแสวงหาหรือการสราง “สิง่ ใหมๆ” ทีท่ าํ ใหชวี ติ ดีขนึ้ กวาเดิม ดังนัน้ เมือ่ นวัตกรรม ทําใหเกิดของใหมหรือผลลัพธใหมๆ นวัตกรรมจึงทําใหเกิดการพัฒนาดวย แตทกุ วันนี้ นวัตกรรมมักจะเนนไปในเรื่องของการใช “เทคโนโลยี” เพื่อทําใหเกิดสิ่งใหมๆ มากกวาการใชความคิดตอยอดของเดิมเพื่อทําใหเกิดสิ่งใหมๆ 34

ปจจบัน เราตางตระหนักถึงความเสียหายจากปญหาดานมลพิษสิง่ แวดลอม ที่มีผลทําใหโลกรอนขึ้นจนมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของฤดูกาล เกิดภัยธรรมชาติบอ ยขึน้ และมีผลตอทุกชีวติ บนโลก ผูค นทัว่ โลกจึงหันมาใหความ สําคัญกับการดูแลรักษาและฟนฟูสิ่งแวดลอมมากขึ้น ดวยการยึดหลักการของ “การพัฒนาอยางยั่งยืน” (Sustainable Development: SD) ที่เนนใหคนรุนหลัง ยังมีโอกาสไดเห็นไดใชทรัพยากรธรรมชาติเชนเดียวกับที่คนรุนเราไดเห็นไดใช ทุกวันนี้จึงมีคนพูดถึง “Green Innovation” มากขึ้น ในเชิงของการเปน อีกหนึง่ “ทางเลือก” สําหรับการแกปญ  หาสิง่ แวดลอมในปจจบัน และการกาวเขาสู การพัฒนาอยางยั่งยืน โดยใหความหมายของคําวา “Green Innovation” (นวัตกรรมสีเขียว) หมายถึง วิธีคิด วิธีปฏิบัติ และวิธีบริหารจัดการที่ยึดเอา “คุณภาพทีด่ ขี องสิง่ แวดลอม” เปนศูนยกลางซึง่ เกีย่ วของกับการออกแบบผลิตภัณฑ หรือกระบวนการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การปองกันมลพิษ การรีไซเคิล ของเสีย ฯลฯ แนวความคิดในเรื่องของ Green Innovation นี้จึงมีความสอดคลองกับ แนวความคิดของการพัฒนาอยางยั่งยืน ที่สามารถตอบสนองความตองการของ ผูบริโ ภคไดตามปกติ และผูผลิตเองก็ ไดประโยชนในการลดตน ทุนการผลิต จากการปรับปรุงกระบวนการผลิตใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมดวย หลายประเทศในโลกจึงสนับสนุนและพัฒนาแนวความคิดเรื่อง “Green” ในวงกวาง ไมวา จะเปน Green Labours, Green Logistics, Green Supply Chain และ Green อื่นๆ อีกมากมาย ทั้งหมดทั้งปวงนี้ เพียงตองการใหเห็นวา เมื่อโลกภาวะสิ่งแวดลอม เปลีย่ นแปลงไปมากเทาใด เรายิง่ มีความจําเปนตองอาศัยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อสรางความสมดุลใหกับการเปลี่ยนแปลงที่เลวรายลง เพื่อให โลกและพวกเราทุกคนมีชวี ติ ทีด่ ขี นึ้ ภายใตธรรมชาติและสิง่ แวดลอมที่ใสสะอาด ดวย “Green Innovation” ครับผม !

GreenNetwork4.0 March-April 2018


:D +=*) +<D/5+čH č

GREEN

* +8 9"): + :! :+"+< :+

Hotel กองบรรณาธิการ

โครงการโรงแรมสีเขียว (Green Hotel) คือรูปแบบหนึ่งที่สงเสริมศักยภาพ โรงแรมใหมกี ารใชทรัพยากรและพลังงานอยางคุม คา และมีประสิทธิภาพ มีการจัดการ สิ่งแวดลอมที่นําไปสูความยั่งยืน โรงแรมชาเทรียม ริเวอรไซด กรุงเทพ เปนทีพ่ กั ติดแมนาํ้ เจาพระยาในกรุงเทพฯ ทีน่ อกจากจะเนนการบริการประทับใจแลว ยังมีนโยบายทีช่ ดั เจนเกีย่ วกับเรือ่ ง Green Hotel ตั้งแตการประกาศเจตนารมณจากผูบริหาร มาสูพนักงาน และลูกคาที่เขาพัก หรือผูใชบริการใหรับรูและตระหนักในเรื่องของการเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ชัชวาล นภาวรรณ ผูจ ดั การประจําสํานัก โรงแรมชาเทรียม ริเวอรไซด กรุงเทพ กลาววา โครงการ Green Hotel เปนหนึง่ ในสีเ่ สาหลักของบริษัทฯ ซึง่ เปน Hotel KPI นั่นก็คือ Green Sustainability การอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ลดการใช พลังงาน พรอมทัง้ การจัดการและลดปริมาณขยะ โดยผูบ ริหารไดสง เสริมใหพนักงาน ไดมสี ว นรวม ตัง้ แตการใหความรูพ นักงานในการคัดแยกประเภทขยะ โดยการจัดเตรียม ถังขยะทีแ่ ยกประเภท จัดใหมหี อ งขยะ Recycle เพือ่ แยกประเภทขยะ และขายใหกบั ผูรับซื้อนําไปจัดการตอไป สวนขยะอินทรียนํามาหมักน้ํา EM เพื่อนําไปใชประโยชน ภายในโรงแรม ทัง้ ยังไดแจงผูป ระกอบการลดบรรจภัณฑ หีบหอสินคาในการสงสินคา ใหกบั บริษัทฯ ลดการใชถงุ พลาสติก โดยจัดเตรียมลังพลาสติกเพือ่ รับสินคาเขาบริษัทฯ นอกจากนี้ยังไดรวมมือกับ Thai Harvest | SOS ในการเก็บอาหารที่เหลือจากการ ใหบริการลูกคาในมือเชา บริจาคเพือ่ สงตออาหารไปยังผูด อ ยโอกาส และมูลนิธติ า งๆ สวนดานการจัดการพลังงานในโรงแรมนั้น จะมีการเก็บสถิติเพื่อประเมิน สถานการณในแตละชวงตลอดทั้งป ตั้งเปาหมายลดการใชพลังงาน ทั้งในสวนของ ไฟฟา นา้ํ และแกส โดยเริม่ ตัง้ แต Energy Saving การตัง้ คาเครือ่ งปรับอากาศภายใน หองพักไวที่ 25 องศาเซลเซียส ในสวนของระเบียงหองพักเลือกใชบานเลื่อนใส เพื่อ ลดการใชปริมาณไฟฟา ในกรณีที่ลูกคาบางรายตองการใชแสงสวางในตอนกลางวัน และยังเลือกใชหลอดไฟ LED เพื่อลดปริมาณการใชไฟฟาในหองพัก สิ่งที่อํานวย ความสะดวกในหองพัก จะเลือกใชผลิตภัณฑที่ยอยสลายไดตามธรรมชาติ และใน หองพักไดวางปายรณรงคประหยัดนา้ํ ไฟฟา และลดการใชสารเคมี ดวยการไมเปลีย่ น เครือ่ งนอนและชุดผาขนหนูทกุ วัน โดยลูกคาจะวางปายไวบนทีน่ อนหรือ แขวนผาไวบนราวเพื่อเปนการสื่อสารวาจะไมเปลี่ยนผาประเภทตางๆ ในวันนั้นๆ โดยหลังที่เขารวมโครงการมาเปนระยะเวลา 5 ป สงผลให ปแรกสามารถคาใชจายทางดานพลังงานไดถึง 5% และในปถัดๆ มา ลดได 3% ตอป ไมเพียงเทานัน้ ทางโรงแรมยังไดจดั กิจกรรมใหความรู เผยแพร ขอมูลดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม จัดฝกอบรมวิชา Think First Think Earth ซึง่ เปนหลักสูตรของบริษัทฯ แบงออกเปน 3 ดาน คือ การใหความรูดานสิ่งแวดลอม การจัดการขยะ และ การอนุรกั ษพลังงาน รวมไปถึงจัดกิจกรรม 3R สงเสริมให พนักงานสรางสรรคผลงานจากการ Reuse, Recycle และ Reduce ขยะ เชน Garage Sale เพื่อนําสิ่งของเครื่องใช เสื้อผาที่ ไมใชแลว มาจําหนายใหผูสนใจซื้อกลับไปใชไดอีก สวนกิจกรรมประจําปจะตองเกีย่ วของกับการอนุรกั ษธรรมชาติ

35

G3ĊD#đ!)< + 9"2<L E/ -Ċ5)

และสิ่งแวดลอม สงเสริมความเปนไทย และเปนประโยชนตอสังคม (Green & CSR Activities) และทีส่ าํ คัญ บริษัทฯ ยังเลือกใชผลิตภัณฑที่ไดรบั การรับรองฉลากเขียว และฉลากอืน่ ๆ ที่ไดรบั รองมาตรฐานการอนุรกั ษสง่ิ แวดลอมหรือไมทาํ ลายสิง่ แวดลอม ในขัน้ ตอนการผลิต และยังเลือกใชตน กลวยไม แทนไมตดั ดอกเพือ่ ประดับในบริเวณ โรงแรมและหองพัก จากความสําเร็จแหงการไดลงมือทํา โรงแรมชาเทรียม ริเวอรไซด กรุงเทพ ไดรบั การรับมาตรฐานโรงแรมสีเขียว โดยมูลนิธใิ บไมเขียว (Green Leaf Foundation), G-Mark สาขา Green Hotel ระดับทอง จากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม 2 ครั้งติดตอกัน, Bangkok Clean and Green ระดับดีเยี่ยม จาก กรุงเทพมหานคร, TCEB (Thailand) Ravipa 1-2/River 1-2 มาตรฐานหองประชุม ระดับประเทศ และ TCEB (ASEAN) Chatrium Ballroom มาตรฐานหองประชุม ระดับอาเซียน รางวัลดังกลาวถือเปนกลไกในการขับเคลื่อนสังคมใหเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม สําหรับกลุม ลูกคาทีก่ าํ ลังมองหาการทองเทีย่ วแบบยัง่ ยืน โดยเฉพาะผูเ ขาพัก ผูเขามาใชบริการหองอาหาร หองประชุมสัมมนา ใหความสนใจเรื่องของ Green Hotel มากขึน้ ทุกป และจากแบบสอบถามกอนตัดสินใจใชบริการหองประชุมสัมมนา ในเรื่องเกี่ยวกับมาตรฐานโรงแรมสีเขียวจากหลายๆ บริษั ท โดยเฉพาะบริษั ทใน ตางประเทศ ที่เลือกมาใชบริการกับโรงแรมชาเทรียม ริเวอรไซด กรุงเทพ นอกจากจะมีมาตรฐานเรื่องการบริการที่ดี มาตรฐานในเรื่องของหองพัก มาตรฐานในเรื่องความปลอดภัย ปจจัยอื่นๆ ที่ลูกคาเลือกใชพิจารณาโรงแรมก็คือ มาตรฐานโรงแรมสีเขียว

GreenNetwork4.0 March-April 2018


GREEN

Article รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล

หลายคนอาจคิดวา ป ญ หามลพิ ษ อากาศยั ง คงเป น เรื่องไกลตัวเพราะในประเทศไทยจะมีก็แคปญหา หมอกควันขามแดนหรือปญหาไฟปาในบางพืน้ ทีเ่ ทานัน้ แตในทีส่ ดุ ปญหา มลพิษอากาศก็เกิดขึ้นแลว โดยสาเหตุหลักของปญหามาจากไอเสียของรถยนต ที่มีใชงานมากกวา 4 ลานคันทั่วกรุงเทพมหานคร ซึ่งปญหาดังกลาวไดรับการยืนยันจากการที่กรมควบคุมมลพิษไดออก ประกาศเตือนเกีย่ วกับมลพิษอากาศทีม่ คี า เกินกวามาตรฐาน ระดับสีแดง (Unhealthy) ในดานฝุน ละอองขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในชวงปลายเดือนมกราคม ทีผ่ า นมา สงผลทําใหประชาชนเกิดความกังกลในเรือ่ งสุขภาพและตืน่ ตัวกับอันตราย จากมลพิษอากาศกันมากขึ้น ในโอกาสนี้ผูเขียนจึงอยากเผยแพรองคความรูตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับมลพิษอากาศ เพือ่ ใหประชาชนโดยทัว่ ไปไดศกึ ษาและทําความเขาใจ ถึงสถานการณที่กรุงเทพมหานครกําลังเผชิญอยู รวมถึงสาเหตุที่มาและแนวทาง การแกไขปญหาดังตอไปนี้ มลพิษอากาศกรุงเทพฯ

มาตรฐานที่ใชในการตรวจวัดมลพิษอากาศ มลพิษอากาศที่มีคาเกินกวามาตรฐาน ในระดับสีตางๆ ตามขาวนั้น มีที่มา จาก AQI : Air Quality Index ซึง่ เปนตัวชีว้ ดั คุณภาพอากาศที่ USEPA กําหนดขึน้ มา เพือ่ ใชในการใหขอ มูลดานมลพิษอากาศทีเ่ ปนมาตรฐานเดียวกันทัว่ โลก คํานวณโดย เทียบจากมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปของสารมลพิษทาง อากาศ 5 ประเภท ไดแก กาซโอโซน (O3) เฉลีย่ 1 ชัว่ โมง กาซไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) เฉลีย่ 1 ชัว่ โมง กาซคารบอนมอนอกไซด (CO) เฉลีย่ 8 ชัว่ โมง กาซซัลเฟอร ไดออกไซด (SO2) เฉลีย่ 24 ชัว่ โมง และฝุน ละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ทั้งนี้ดัชนีคุณภาพอากาศที่คํานวณไดของสารมลพิษทางอากาศ ประเภทใดมีคา สูงสุดจะใชเปนดัชนีคณ ุ ภาพอากาศของวันนัน้ โดยการกําหนดคา AQI ของกรมควบคุมมลพิษแสดงดังตารางที่ 1

ดังนัน้ PM2.5 จึงเปนดัชนี AQI หลัก จากผลการตรวจวัดสถานการณ มลพิษทางอากาศ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในวันที่ 24 มกราคม 2561 ทีผ่ า นมา ซึ่งผลการตรวจวัดฝุนละออง PM2.5 เกินคามาตรฐานในทุกพื้นที่ (คามาตรฐาน 50 มค.ก./ลบ.ม.) โดยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ณ เวลา 12.00 น. ของ วันที่ 24 มกราคม 2561 อยูใ นชวง 54-85 มค.ก./ลบ.ม. สูงสุดทีร่ มิ ถนนอินทรพิทกั ษ เขตธนบุรี สมุทรปราการ 59-71 มค.ก./ลบ.ม. และสมุทรสาคร 114 มค.ก./ลบ.ม. ทัง้ นีเ้ มือ่ พิจารณาคาเฉลีย่ 24 ชัว่ โมง แลว AQI จะเปนสีสม (Unhealthy for Sensitive Group) อยางไรก็ตาม ในความเห็นของผูเ ขียน คาสูงสุด และชวงเวลา หรือโอกาส สัมผัสกับมลพิษเหลานั้น เปนอีกปจจัยที่เราตองใหความสําคัญควบคูกันไปดวย

PM2.5 คืออะไร เกิดขึ้นไดอยางไร PM เปนคํายอภาษาอังกฤษของคําวา Particulate Matter โดยที่ PM2.5 คืออนุภาคของแข็งหรือของเหลวที่อยูในอากาศ มีเสนผานศูนยกลางไมเกิน 2.5 ไมครอน (ขนาดเล็กกวาเสนผม 20 เทา) มองดวยตาเปลาไมเห็น แตจะสงผลใหสภาพ อากาศมัวคลายมีหมอกปกคลุม ทัง้ นีฝ้ นุ ละอองขนาดใหญทเี่ ราเห็นไดดว ยตาเปลา เกิดจากกิจกรรมตางๆ ในชีวติ ประจําวันของเรา อาทิ การทําความสะอาด การเผาไหม งานอุตสาหกรรมและอืน่ ๆ ถูกเรียกวา มลพิษอากาศปฐมภูมิ ในขณะที่ PM2.5 หรือ PM10 ที่เปนฝุนละอองขนาดเล็กจะถูกจัดกลุมเปน มลพิษอากาศทุติยภูมิ ซึ่งเปน ผลลัพธ (Product) เกิดจากการทําปฏิกริ ยิ าระหวางมลพิษอากาศปฐมภูมิ ยกตัวอยาง งายๆ เชน SOx + NOx + HydroCarbon + แสงแดด --- PM2.5/10 + Ozone + Others ดังนั้นตนเหตุของปญหาฝุนละออกขนาดเล็ก PM2.5 ในกรุงเทพมหานคร จึงถูกเพงเล็งไปทีก่ ารปลอยไอเสียของรถยนต (ไนโตรเจนออกไซด, NOx) รวมถึง กิจกรรมตางๆ ของคนทีอ่ าศัยอยูใ นกรุงเทพฯ ประกอบกับการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมิ จากอากาศหนาวในชวงกอนหนา (ซึ่งสงผลตอมลพิษอากาศที่นิ่งและสะสม หรือ กระจายตัวไดนอ ยลง) ไปสูอ ากาศทีร่ อ นขึน้ ในชวงเวลาตอมา ทําใหอตั ราการเกิด PM2.5/PM10 ตามสมการขางตนนั้นสูงขึ้นอยางชัดเจน

ตารางที่ 1 การกำหนดคา AQI ของกรมควบคุมมลพิษ

AQI

ความหมาย

สีที่ใช

แนวทางการปองกันผลกระทบ

0-50 51-100 101-200

คุณภาพดี คุณภาพปานกลาง มีผลกระทบตอสุขภาพ

ฟา เขียว เหลือง

201-300

มีผลกระทบตอสุขภาพมาก

สม

มากกวา 300

อันตราย

แดง

ไมมีผลกระทบตอสุขภาพ ไมมีผลกระทบตอสุขภาพ ผูปวยโรคระบบทางเดินหายใจ ควรหลีกเลี่ยงการออกกําลังกายนอกอาคาร บุคคลทั่วไป โดยเฉพาะเด็กและผูสูงอายุ ไมควรทํากิจกรรมภายนอกอาคารเปนเวลานาน ผูปวยโรคระบบทางเดินหายใจ ควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมภายนอกอาคาร บุคคลทั่วไป โดยเฉพาะเด็กและผูสูงอายุ ควรจํากัดการออกภายนอกอาคาร บุคคลทั่วไป ควรหลีกเลี่ยงการออกกําลังกายนอกอาคาร สําหรับผูปวยโรคระบบทางเดินหายใจ ควรอยูภายในอาคาร

36

GreenNetwork4.0 March-April 2018


อันตรายจาก PM2.5 PM2.5 มีขนาดทีเ่ ล็กมากๆ (จนสายตาเราแทบมองไมเห็น) จึงสามารถเคลือ่ น เขาและสะสมในระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะที่ปอดของเราไดอยางเต็มที่ และดวยขนาดเล็กมากๆ นีเ้ องจึงทําใหมพี นื้ ทีผ่ วิ สัมผัสจําเพาะสูง ซึง่ งายตอการทํา ปฏิกริ ยิ าและการเกาะติดของมลพิษอันตรายชนิดตางๆ อาทิ โลหะหนัก และสารเคมี อันตรายทีแ่ ขวนลอยในอากาศ สงผลใหสงิ่ ทีส่ ะสมในรางกายของเรามีทงั้ ฝุน ละออง ขนาดเล็กๆ และสารพิษอันตรายชนิดอืน่ ๆ อีกดวย ดังนัน้ ผูท ตี่ อ งอยูภ ายนอกอาคาร หรือบนทองถนนเปนเวลานานๆ จึงควรปองกันตนเองในเบื้องตนดวยการสวม หนากากอนามัย โดยควรจะเลือกใชหนากากอนามัย N95 ทีช่ นั้ กรองของหนากาก สามารถกรองฝุน PM2.5 ไดอยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม ไมใชแคกรุงเทพฯ ทีป่ ระสบปญหามลพิษอากาศ เมืองใหญ ตางๆ ทัว่ โลก (ลอนดอน มาดริด) ก็ประสบกับปญหานีเ้ ชนกัน แลวเมืองใหญเหลานัน้ มีมาตรการอยางไรในการรับมือกับปญหาทีเ่ กิดขึน้ หรือมีมาตรการใดบางทีน่ า สนใจ และสามารถนํามาปรับใชเพือ่ แกปญ  หามลพิษอากาศในบานเรา ไปติดตามกันครับ

การบังคับใชมาตรฐานที่เขมงวดในการผลิตรถยนต เครื่องยนตดีเซลไดรับความนิยมอยางสูงจากผูใชรถยนตในทวีปยุโรป เนื่องจากราคานํ้ามันดีเซลที่มีราคาถูกลง แตเครื่องยนตดีเซลมีการปลอยกาซ ไนโตรเจนออกไซด (NOx) หรือน็อกซ ในปริมาณที่มากกวารถที่ใชเชื้อเพลิงแบบ อืน่ จึงสงผลโดยตรงตอปญหามลพิษอากาศในเขตเมือง จากปญหาดังกลาวรถยนต ทีผ่ ลิตเพือ่ ออกขายในทวีปยุโรปจึงตองไดรบั การรับรองมาตรฐานไอเสียยูโร 6 ซึง่ ถือเปนกลไกที่จะควบคุมการปลอยมลพิษจากไอเสียรถยนตตั้งแตตนทาง ผูผลิต รถยนตจึงตองคํานึงถึงและปฏิบัติตามมาตรฐานดังกลาวอยางเครงครัดอยางไร ก็ตามยังมีรถยนตรนุ เกาอีกมากทีย่ งั คงถูกใชงานซึง่ นําไปสูม าตรการตอไปนัน่ ก็คอื

การควบคุมการใชรถยนตในเขตเมือง การจราจรที่คับคั่งตามเมืองใหญทั่วโลกกอใหเกิดปญหามลพิษอากาศขั้น รุนแรงหลายครัง้ ประเด็นจึงอยูท วี่ า จะทําอยางไรใหมปี ริมาณการใชรถยนตในเขต เมืองลดลง ซึง่ นําไปสูม าตรการตางๆ เชน การใชรถยนตตามเลขทะเบียน วันคู- วันคี่ ทีส่ ามารถลดการใชรถยนตลงไดครึง่ หนึง่ การเก็บคาทีจ่ อดรถตามอายุของรถยนต โดยใชหลักการทีว่ า รถยนตรนุ เกามีการปลอยมลพิษทีม่ ากกวาจึงตองจายคาทีจ่ อด สูงกวาหากตองการนํารถมาใชและจอดในเขตเมือง การใหบริการขนสงสาธารณะ ฟรีในวันทีเ่ กิดปญหามลพิษอากาศสูงเกินกวาคามาตรฐาน การเก็บอัตราคาใชงาน รถยนตในเขตเมืองในชวงเวลาทําการ 7.00-18.00 น. (T-Charge ในกรุงลอนดอน) เพือ่ ใหประชาชนหันมาใชบริการขนสงสาธารณะกันใหมากขึน้ ทัง้ นีม้ าตรการตางๆ ที่ถูกใชงานนั้นเปนการแกปญหาเฉพาะหนา ซึ่งตองยอมรับวารถยนตที่ใชนํ้ามัน เชือ้ เพลิงยังคงถูกใชกนั ในปริมาณมาก ดังนัน้ สิง่ ทีจ่ ะตองวางแผนตอไปนัน่ ก็คอื การ จะทําอยางไรใหรถยนตที่ใชนํ้ามันเชื้อเพลิงมีปริมาณลดลง

การสงเสริมรถยนตไฟฟา หลายประเทศทัว่ โลกไดประกาศออกมาชัดเจนถึงการสงเสริมรถยนตไฟฟา ใหเขามาทดแทนรถยนตทใี่ ชนาํ้ มันเชือ้ เพลิง เชน ประเทศเนเธอรแลนดและนอรเวย เปนสองประเทศแรกที่ประกาศจะหามจําหนายรถยนตเบนซินและดีเซลภายใน ป พ.ศ. 2568 ขณะทีเ่ ยอรมนีและอินเดีย วางเปาหมายเดียวกันไวภายในป พ.ศ. 2573 ลาสุด คือ ฝรัง่ เศสและอังกฤษ ทีป่ ระกาศจะยุตกิ ารจําหนายรถ เบนซินและดีเซลตัง้ แตป พ.ศ. 2583 โดยในระหวาง นีท้ กุ ประเทศจึงตองเตรียมความ

มลพิษอากาศอังกฤษ

37

พรอมทั้งเรื่องสถานีชารจที่ครอบคลุม ในทุกพื้นที่ การสนับสนุนและสงเสริม อุตสาหกรรมการผลิตรถยนตไฟฟา รวมถึง รณรงคใหประชาชนหันมาใชงานรถยนต ไฟฟากันใหมากขึ้น เพื่อใหรถยนตไฟฟาเขา มาแทนที่ ร ถยนต ที่ ใ ช นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ให ไ ด ดังเปาหมายที่ตั้งเอาไว

Botobus

เพิ่มพื้นที่สีเขียวและสงเสริมขนสงสาธารณะไรมลพิษ สิง่ ทีค่ วรทําควบคูไ ปกับการลดปริมาณการใชรถยนต คือการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว ใหมากขึ้น โดยพื้นที่สีเขียวจะทําหนาที่กรองอนุภาคขนาดเล็กที่เกิดจากไอเสีย รถยนตไดเปนอยางดี เมืองใหญทั่วโลกจึงมีแนวคิดที่จะปรับปรุงพื้นที่ในเขตเมือง ใหกลายเปนพื้นที่สีเขียวใหมากขึ้นดวยการการปรับพื้นที่หลังคาและกําแพงของ อาคารสํานักงานใหกลายเปนพืน้ ทีส่ เี ขียว โดยแนวทางดังกลาวยังสามารถนําไปปรับ ใชงานไดอยางหลากหลาย เชน ในกรุงมาดริด ประเทศสเปน มีการติดตัง้ สวนขนาด ยอมบนหลังคารถบัสขนสงสาธารณะ (Botobus) เปนตน ในสวนของระบบขนสง สาธารณะไรมลพิษหลายประเทศไดปรับปรุงระบบขนสงสาธารณะในเขตเมือง โดยในลอนดอนไมอนุญาตใหรถบัสที่ใชนํ้ามันเชื้อเพลิงวิ่งเขาเขตเมืองชั้นใน และมีนโยบายจะเพิ่มรถบัสชั้นเดียวที่ใชไฟฟาจาก 79 คันเปน 300 คัน ภายในป พ.ศ. 2563 รวมถึงรถแท็กซีใ่ หมทกุ คันจะตองใชไฟฟาเทานัน้ ทัง้ หมดเพือ่ แกไขปญหา มลพิษอากาศในกรุงลอนดอนที่มีปญหามาอยางยาวนานนั่นเอง ถึงเวลาแลวหรือยังทีป่ ระเทศไทยจะใหความสําคัญกับปญหามลพิษอากาศ อยางจริงจัง โดยการนําแนวทางตางๆ มาปรับใชอยางเหมาะสม อีกทัง้ ภาคประชาชน เองก็ควรใหความรวมมือกับมาตรการดังกลาวดวย โดยในระยะยาวประเทศไทยควร มีกฎหมายทีใ่ ชควบคุมการปลอยมลพิษในรูปแบบตางๆ อยางเปนรูปธรรม ยุตธิ รรม และใชงานไดจริง ทัง้ นีย้ งั มีองคความรูต า งๆ ทีเ่ กีย่ วกับปญหามลพิษอากาศทีน่ า สนใจ โดยผูอานสามารถศึกษาเพิ่มเติมไดที่ • www.eng.chula.ac.th/th/pr/new15022018001 • www.facebook.com/iloveenvi โดยผูเขียนหวังวาองคความรูดังกลาวจะสรางความเขาใจและมีสวน ชวยแกไขปญหามลพิษอากาศทีเ่ รากําลังเผชิญอยูใ นขณะนี้ รวมถึงอยากเห็น สังคมไทยตื่นตัวและใหความสําคัญกับปญหาสิ่งแวดลอมใหมากขึ้น เพราะ เรื่องสิ่งแวดลอมคือเรื่องของเราทุกคน

ที่มา : http://www.pcd.go.th/info_serv/air_aqi.htm http://www.chula.ac.th/th/archive/73006 www.oknation.nationtv.tv/blog/naithong09/2016/12/13/entry-1 www.posttoday.com/world/539702 www.bbc.com/thai/features-39203754 www.greenpeace.org/seasia/th/news/blog1/blog/59891 http://sparcthai.org/knowledge-detail-002000059

GreenNetwork4.0 March-April 2018

มลพิษอากาศฝรั่งเศส


GREEN

BIZ

Magazine to Save The World

SETA 2018 มหกรรมพลังงานและ เทคโนโลยีที่ยั่งยืนแหงเอเชีย ป 3 เมือ่ เร็วๆ นี้ พลอากาศเอกประจิน จัน่ ตอง รองนายกรัฐมนตรี เปนประธานเปดงานประชุมวิชาการและนิทรรศการนานาชาติ “โครงการพลังงานและเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแหงเอเชีย 2561” “Sustainable Energy Technology Asia 2018” ในหัวขอ “Towards Consoildated Innovative Energy Technology” การใชนวัตกรรมดิจทิ ลั เพือ่ พลังงานทีย่ งั่ ยืน โดยไดรบั เกียรติจาก อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน รัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอํานวยการ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน และ สุวรรณา จุง รุง เรือง รองปลัดกรุงเทพมหานคร รวมพิธเี ปด โดยมี รศ. ดร.ธัชชัย สุมติ ร ประธานดําเนินงานโครงการพลังงานและ เทคโนโลยีที่ยั่งยืนแหงเอเชีย 2561 จัดขึ้น ณ ศูนยนิทรรศการ และการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

1

2

4

1 พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี 2 อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม 3 พิธีเปดงาน SETA 2018 4-7 บรรยากาศภายในงาน 8 ถายภาพรวมกัน

3

5

7

6

8

ก.ทรวงพลังงาน จับมือ สมาคมยานยนตไฟฟาไทย เปดสถานีอัดประจุไฟฟา ตั้งเปา 150 สถานีในป’62 1

2

3

4

6

7

38

ดร.ศิริ จิระพงษพนั ธ รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน เปนประธานใน พิธีเปดสถานีอัดประจุไฟฟา (Charging Station) โดยมี ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ใหการตอนรับและ กลาวรายงาน พรอมทั้งสมาคมยานยนตไฟฟาไทย ผูไดรับสนับสนุนการลงทุน สถานีอัดประจุไฟฟา ผูใหบริการสถานีอัดประจุไฟฟา คายรถยนต สื่อมวลชน และแขกผูมีเกียรติ เขารวมงานเปนจํานวนมาก ณ ศูนยการคาเซ็นทรัลเวิลด กรุงเทพฯ กระทรวงพลังงาน โดย กองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน สํานักงาน นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ไดเรงผลักดันนโยบายพลังงาน 4.0 เพือ่ ขับเคลือ่ น ใหประเทศไทยเปนสมารทซิตี้ (Smart Cities) พรอมทัง้ สนับสนุนการใชยานยนต ไฟฟาเพื่อเพิ่มทางเลือกการใชพลังงาน ลดการพึ่งพานํ้ามันเชื้อเพลิง และลด ผลกระทบดานสิง่ แวดลอม โดยเรงขยายสถานีอดั ประจุไฟฟาใหครบ 150 สถานี ภายในป พ.ศ. 2562 และตัง้ เปาวาประเทศไทยตองมียานยนตไฟฟาใหไดมากถึง 1.2 ลานคันภายในป พ.ศ. 2579

5

8

1 ดร.ศิริ จิระพงษพันธ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน 2 ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) 3 พิธีเปดสถานีอัดประจุไฟฟา (Charging Station) 4 ถายภาพรวมกัน 5-8 บรรยากาศภายในงาน

GreenNetwork4.0 March-April 2018


8T&HSBD* Z#R#;R #DB9DY#*U?F)R)S:

“ ¤± ¤¨ « ³ ¶¤ µ³¤ ³o Àc ¤¾¦£¶¢¾¬¦¨ .©.2560 ” ^?NfX&HSB<FN5ACR$N)&:b8C8#Yd &:

`GR_EfIe ;Wh$EC:ZE$V+@GS**T;c6 =ER$TJ % O$UM;66 T;'ITC =GO6BDS%O*BT-;R<EE+$ZT .=a 7E_GDWC_MGI @«J«2560” .*gX_=; LI ;9_gW @CgV_7CV +T$$0$ER9EI*_6CV9CgWOWD_ [@OgYbM_ $6V'ITC=GO6BDS 7O =ER-T-; L*gV `I6GO C >= [ER$O<$TE `GRC'WITC_=; LT$GCT$%;hX a6DL*gV9CgW$WTE=ER$TJ_@CgV_7CV'OY %O $UM;6

_6CV

bMC

_'EOgY*MCTDO;S7ETD _=; c=7TC$0$ER9EI* _=; c=7TCCT7E2T; % T*$ER= O* ,<<S9gW ± OO$7TC=ER$TJ Global Harmonized $T .=a 7E_GDWC_MGI '5R=1IV7SV ,<<S9gW 28 System of Classification bM_ =; c=7TC`<< and labelling of Chemicals (GHS)

;TDLC<[E5 M; O`$ I EO*O:V<6W$EC:ZE$V+@GS**T; =+ +<Z;S`CI T :EZ$+V_$DgWI$<S_EOgY*%O*$T .=a 7E_GDWC_MGIMEOY9gW _ET_EDW$$;SL;hSe IT `$L LPG .*gXCCWT7E2T;'ITC=GO6BDSL*[ `7' *=0_VL: `7 '*=1V_L:cC c6 I TMT$7 O*CW< T;_EYO;OD[ b$G e $S<L8T;W<EV$TE_MG T;Sh; MEOYMT$+R7O *b-E 8b-8 ;;EI C$<SE8<EE9$Z$T . LPG %;T6bM e _ET$Of6 9+gWREL [$XMIT6MI;gScCc 69 $Z'E*hSc= $EC:Z E $V + @GS * *T;¥:@«)b;2T;R9W g _ = ; M; I D*T;9W g C W B TE$V + b;$TE$U$S<6[`G_EYgO*;Wha6D7E*+X*c6 CW$TE=ES<$0$ER9EI*bMC _@YgObM _$V6 'ITC=GO6BDS7O -IW7V 9E@SDL ;V L*S'C `GRL*gV`I6GO C a6D;TDLC<[E5 M; O`$ I EO*O:V<6W$EC:ZE$V+@GS**T; c6 $G TI 8X*_EYgO*;WhI T “$0$ER9EI*,<S<;Wh_; ;_EYgO*$TEES$KT'ITC=GO6BSD%O* =ER-T-;_=; MG$S” @EO C9*hSc6_ GT 8*X'ITC_=; CT%O*$TE=E<S$0$ER9EI* L8T;W<EV$TE$ T.= a7E_GWDC_MGI @«J«¯²³­ I T _= ;$TE=ES<_@YgObM 9S;7 O $TE_=GWgD;`=G*%O*L8T;$TE5 b;= ++Z<S; EIC9Sh*_@YgObM LO6'G O*$S< @ERET-<S S7V'I<'ZC;hUCS;_-YhO_@GV* @«J«¯²±¯ `GR9Wg`$ c%_@VgC_7VC ¥,<S<9Wg 2) @«J« 2550 a6D% O`7$7 T*ERMI T*$0$ER9EI*,<S<_6VC`GR ,<<SbMCC MWGTDODT *6I D$;S OT9V ERDRMT *, OT'TE<E$VTE, L*gV$O LET *cCC W 2T;ET$ _= ;7 ; $0$ER9EI*,<<S9gW ± (@«J« 2529) ($0$ER9EI*_6CV)

$0$ER9EI*L8T;<WE$VTE $T .=a 7E_GDWC_MGI @«J« 2560 ($0$ER9EI*bMC)

cCc 6$ UM;6ERDRMT * ERMIT *aE*<EE+$Z<S=C LPG

ERDRMT *ERMIT *aE*<EE+$Z<S=C LPG cC; O D$IT 50 _C7E

ERDRMT *ERMIT *=C LPG $<S =C ;UhC;S MEOY=C LPG $<S =C NGV cC; O D$IT 50 _C7E

cCC $WUM;6ERDRMT *ERMIT *=C LPG , ;UhC;S`GR NGV

OT'TE<E$VTE_=; OT'TE-;hS_6DWI (cCC -W;hSGOD`GR-;hSb76 ;V)

OT'TE<E$VTELTCTE8_=; OT'TE LO*-;hS (`77 O *cCC -W;hSGOD`GR-;hSb76 ;V)

$UM;6bM C_W,@TR_%7L8T;<WE$VTEQ

$UM;6bMC _W%7L8T;<WE$VTEQ `GR_%7<E$VTEQ (ERDRMT *ERMIT *$;ScC; O D$IT ®­ _C7E¦ LTCTE8CLW*gV$O LET *cCC 2WT;ET$c6

MT CCLW*gV$O LET *cCC 2WT;ET$

%O 'ITC%T *8*S $T .=a 7E_GDWC_MGIM*Z7C

8*S'E<ITER

_=; c=7TC9gW CO$« $UM;6 `GR7O *CW %O 'ITC “O;S7ETD MT C$G*hV MT C$ER`9$”

_=; c=7TC9gW CO$« $UM;6`GR7O *C%WO 'ITC “O;S7ETD MT C$G*hV MT C$ER`9$” `GR“8*S MC6OTD[Z =9 'gWE<ITER]”

8*S_$<f`GR+T D - 8*S_$<f`GR+T D$T . $T .=a 7E_GDWC_MGI =a 7E_GDWC_MGI `GR8*S%;L* $T . 'E<ITER$TE96LO< =a 7E_GDWC_MGI 9$Ze 5 = 'E<ITER$TE96LO< - 8*S%;L* $T . 'E*hS`E$C9W*hS 5 =` GR 6 = =a 7E_GDWC_MGI'E< MG*S+T$;;hS96LO< ITER$TE96LO< 9$Ze 5= 9$Ze 6 =

;O$+T$;Wh ;TDLC<[E5 M; O`$ I DS*c6 ?T$8X*>[ =ER$O<$V+$TE L8T;W<EV$TE$ T.= a7E_GWDC_MGI bM 'I<'ZC6[`G'ITC=GO6BSDBTDb;L8T;W <E$VTE$T .=a 7E_GDWC_MGI `GR=1<V7SbVM_ =; c=7TC$0MCTD9$gWEC:EZ$+V@G*S*T; $UM;6 EIC9Sh*$U$S<6[`GCVbM CW$TE_7VC$ T.= a7E_GWDC_MGIG*8S*$ T.MZ*7 C BTDb;L8T;<WE$VTE$T .=a 7E_GDWC_MGI `GR9LgWU' S'OY>= [ER$O<$+V$TEL8T;W <EV$TE$ T.= a7E_GWDC_MGI 7 O*+S6bM CW>[ =1V<S7V*T;_$WgDI$S<$TE'I<'ZC;hUCS; _-YhO_@GV*.Xg*> T;$TE? $O<EC+U;I;cC ; OD$I TM;Xg*';7GO6ERDR_IGT9Wg_= 6 6U_;V;$TE .Xg*CW>G<S*'S<b- 7Sh*`7 IS;9Wg 7 CV8Z;TD; @«J«2561 ;Wh_= ;7 ;c= a6DLTCTE8L* >= [1<V7S*VT;c=?$ O<ECc6 7TC<EVKS9>[ bM $TE? $O<EC9Wgc6 %Xh; 9R_<WD;cI $S<$ECQ `G Ia6D= ++Z<S;CW9Sh*LVh; °­ `M * MT$L8T;=ER$O<$TE b6cCC @W;$S*T;9cgW6E <Sb<O; ZT7 9T*$ECQ +RcC@ +VTE5T7O OTDbZ<O; ZT7 L8T;=ER$O<$TEbM EIC9*hSD*SCaW9K7TC$0MCTDCT7ET 66 +U'$ZcC_ $;V 1 = `GR=ES<cC _$V; 100,000 <T9 MEOY9*hS+U9*hS=E<S LI ;=ER-T-;9IgSc=LTCTE8cII T*b+'ITC=GO6BDS_EOgY*L8T;<WE$VTE $T .=a 7E_GDWC_MGI `GR$TE%;L* $T .=a 7E_GDWC_MGIc6 _@ETR9T*$ECQ C`W>; $TE7EI+7ETL8T;<WE$VTE$T .=a 7E_GDWC_MGI=ER+U9$Z= EIC9*hS$O ;$TE7O OTDZ b<O; ZT7L8T;<WE$VTE$T .=a 7E_GDWC_MGI >= [ER$O<$+V$TE7O *+6SbMC $WTE96LO< `GR7EI+LO<'ITC=GO6BDS9*hSMC6BTDb;L8T;<WE$VTE$T .=a 7E_GWDC_MGIbM _= ;c=7TC$0MCTD$UM;6 `7 OD T*cE$f7TCMT$@<_Mf;$TE$ER9U'ITC>V6 ? T? ;$0MCTD`GR$ ObM _$V6OS;7ETD7 O'ITC=GO6BSD`$ -WIV7`GR9ES@D LV; %O*9$Z9T ; LTCTE8`+* CTD*SJ;[DE <S%O EO *_EDW; $EC:EZ$+V@G*S*T; _<OEa 9EJ@S9 0 279± ±111 MEOY9T*_I<fc.7 www«doeb«go«th MEYOLO<8TC% OC[G_@VgC_7VC c69 gW LU;$S'ITC=GO6BDS:EZ$+V$T .=a 7E_GDWC_MGI _<OEa 9EJ@S9 0 279± ±801


10.00-18.00 hrs.

PRE-REGISTER FREE! CD Show Directory



The future of light: Smart, sustainable, human-centric

ÖāèČùãÖèöĀäÐòòðďîîŖāČùÖùöŚāÖ æĄēÓòéöÖ×òæĄēùćãĎèüāċÚĄñè ī íó÷×ăÐāñè ýüôôŞ ī ďéċæÓ éāÖèā ùèĎ××üÖíĆĔèæĄē

äŚü info@thailandlightingfair.com www.thailandlightingfair.com Host organisation Organisers

Platinum Sponsor

Gold Sponsor




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.