Green Network Issue 87

Page 1




Contents May-June 2018 Special Scoop

8

32 Energy Saving by กองบรรณาธิการ IoT ปลดล็อกการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ 34 Green Industry by ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ยึดมั่นใน Green 35 Green Technology & Innovation by กองบรรณาธิการ เปลี่ยนวัสดุเหลือใชทางการเกษตรมาเปนถานชีวภาพ ดวย Pyrolysis Mobile 36 Green Article by รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, รัฐพล เจียวิริยบุญญา กาวใหทัน เมมเบรนเทคโนโลยี ตอนที่ 1 38 Green Biz by กองบรรณาธิการ

SCG Floating Solar Farm โมเดลตนแบบ by จีรภา รักแกว ระบบโซลูชั่นครบวงจรรายแรกของไทย 10 Smart City by กองบรรณาธิการ CAT ปกธงภูเก็ตตนแบบสมารทซิตี้ เปดตัวโครงขายสื่อสารไรสาย LoRaWAN 12 Green Focus by พิชัย ถิ่นสันติสุข เชื้อเพลิงชีวมวล พลังงานที่ยังไมยั่งยืน 14 Green Scoop by จีรภา รักแกว ปาลมคอมเพล็กซ ศูนยรวมอุตสาหกรรมน้ํามันปาลมครบวงจรไวในที่เดียว 16 Green Article by ดร.คมศิลป วังยาว (JGSEE) การผลิตพลังงานจากบอขยะ 18 Green Building by กองบรรณาธิการ เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานในบานและอาคารดวย Energy Audit 19 Green Hotel by กองบรรณาธิการ อวานี พัทยา รีสอรท แอนด สปา ชวยโลกประหยัดพลังงาน ลดปญหาสิ่งแวดลอม 20 Auto Challenge by กองบรรณาธิการ ยานยนตไฟฟามีความปลอดภัยเพียงใด Green People by กองบรรณาธิการ 22 ติดตั้งโซลารรูฟท็อปคุมคาจริงหรือ? 23 ผลิตไฟฟาดวยโซลารเซลลไมใชเรื่องใหมอีกตอไป Great Solar พรอมใหบริการครบวงจรดานโซลารรูฟท็อป 24 Green Factory by กองบรรณาธิการ ศูนยประกอบรถยนต GM ปรับเพื่อเปลี่ยนสูระบบจัดการพลังงานอยางยั่งยืน 26 Green World by กองบรรณาธิการ เวียดนามเดินหนาพัฒนาพลังงานทดแทน รองรับความตองการพลังงานที่สูงขึ้น ลดผลกระทบสิ่งแวดลอม 28 RE Update by กองบรรณาธิการ เกาะหอง สมารทไอสแลนด ผลิตไฟฟาดวยระบบไฮบริด 30 Solar Review by กองบรรณาธิการ พลังงานกับกาวที่กลา โซลารฟารมราชการ-สหกรณ 31 Solar Review by กองบรรณาธิการ Seagull Green Innovation ติดตั้งแผงโซลารรูฟท็อป ดึงพลังงานแสงอาทิตยใชในโรงงาน

8

14 19


ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ฯพณฯ พลอากาศเอก กําธน คณะที่ปรึกษา ดร.ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน ดร.อัศวิน จินตกานนท ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย ประสงค ธาราไชย ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รศ. ดร.สิงห อินทรชูโต บรรณาธิการอํานวยการ/ บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ ภิญญาภรณ ชาติการุณ ผู้ช่วยบรรณาธิการ จีรภา รักแกว เลขานุการกองบรรณาธิการ ปฐฐมณฑ อุยพัฒน พิสูจน์อักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม กันยา จําพิมาย ประสานงาน ภัทรกันต กิจสินธพชัย ผู้จัดการฝ่ายการตลาด เขมจิรา บุญพระรักษา ฝ่ายการตลาด กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝ่ายการตลาด ชุติมันต บัวผัน ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ นันธิดา รักมาก แยกสี บจก. คลาสสิคสแกน โรงพิมพ์ บจก. ฐานการพิมพ

สินธวานนท นินนาท ไชยธีรภิญโญ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ พานิช พงศพิโรดม ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล ชาย ชีวะเกตุ

เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถ.ศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-5333 (ฝายการตลาด ext. 503) แฟกซ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com e-Mail : editor@greennetworkthailand.com

Editor Talk สวัสดีครับ ทานสมาชิกและทานผูอานทุกทาน เมื่อเทคโนโลยีพัฒนาไปขางหนา ในขณะที่ราคาแผงโซลารเซลลปรับตัว ลดลงอยางตอเนื่อง ทําใหการเขาถึงการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตย หรือ โซลาร เ ซลล ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น โดยสามารถใช แ ผงโซลาร เ ซลล แ ปลงแสงอาทิ ต ย เป น พลั ง งานไฟฟ า อี ก ทั้ ง ภาครั ฐ ยั ง จะมี แ นวทางการส ง เสริ ม โซลาร รู ฟ เสรี (Safe-consumption) ในแบบ Net Billing ผานโครงการนํารอง โดยใหผลิตเอง ใชเองกอน หากเหลือไฟฟาไหลยอน ใหมีการรับซื้อไฟฟาสวนเกินในอัตราที่ เหมาะสม แตอยางไรก็ตาม หลายคนมักจะคุน เคยการผลิตไฟฟาในรูปแบบโซลารฟารม (Solar Farm) และโซลารรูฟท็อป (Solar Rooftop) ปจจ�บันมีการพัฒนาเรื่องการ ผลิตโซลารฟารมลอยน้ํา (Floating Solar Farm) โซลารฟารมที่สามารถติดตั้งได บนผืนน้ํา ฉะนั้น คอลัมน Special Scoop ไดนําเสนอ “SCG Floating Solar Farm โมเดลตนแบบ ระบบโซลูชั่นครบวงจรรายแรกของไทย” เปนการใชประโยชนจาก บอน้ําไดอยางเต็มประสิทธิภาพ ดวยการติดตั้งโซลารเซลลแบบทุนลอยน้ํา ทั้งยัง ใหประสิทธิภาพทีส่ งู กวาการติดตัง้ บนพืน้ ดินหรือบนหลังคา ถือเปนโครงการนํารอง ที่เหมาะสําหรับโรงงานอุตสาหกรรมที่มีบอน้ําสํารองอยูแลว สูการสรางพลังงาน เพื่อใชภายในโรงงาน นอกจากจะเปนการลดภาระคาไฟฟาของโรงงานแลว ยังชวย ลดพีคไฟฟาของประเทศดวย คอลัมน Special Scoop “ผลิตไฟฟาดวยโซลารเซลลไมใชเรือ่ งใหมอกี ตอไป Great Solar พรอมใหบริการครบวงจรดานโซลารรูฟท็อป” ที่บอกเลาถึงโซลูชั่น การบริการแบบครบวงจรดานระบบการผลิตโซลารรฟู ท็อป และมาไขขอของใจการ ติดตัง้ โซลารรฟู ท็อปกับ คอลัมน Green People “ติดตัง้ โซลารรฟู ท็อปคุม คาจริงหรือ? คอลัมน Green Factory พาไปเยี่ยมชม “ศูนยประกอบรถยนต GM ปรับเพือ่ เปลีย่ น สูร ะบบจัดการพลังงานอยางยัง่ ยืน” คอลัมน RE Update พบกับ “เกาะหอง สมารท ไอสแลนด ผลิตไฟฟาดวยระบบไฮบริด” คอลัมน Energy Saving “IoT ปลดล็อก การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ” เทคโนโลยี IoT ที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการ อนุรกั ษพลังงาน และสองความเคลือ่ นไหวแวดวงพลังงานในตางประเทศกับคอลัมน Green World “เวียดนามเดินหนาพัฒนาพลังงานทดแทน รองรับความตองการ พลังงานทีส่ งู ขึน้ ลดผลกระทบสิง่ แวดลอม” แลวพบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล



คณะทำงาน IEEE PES

GTD ASIA 2019

รวมออกบธูทง่ีาน

IEEE PES T&D Conference & Exposition

เมื่อเร็วๆ นี้ คณะทํางาน IEEE PES GTD ASIA 2019 นําโดย ศ. ดร.นพพร ลีปรีชานนท Organizing Chair, IEEE PES GTD ASIA 2019 พรอมดวยคณะทํางานการจัดงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 รวมออกบูธ นิทรรศการภายในงาน IEEE PES T&D Conference & Exposition 2018 ซึ่งจัดขึ้น ภายใตแนวคิด “POWER FORWARD” ที่ Colorado Convention Center Denver, Colorado ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหวางวันที่ 16-19 เมษายน พ.ศ. 2561 เพื่อประชาสัมพันธงานประชุมวิชาการและนิทรรศการ IEEE PES GTD ASIA 2019 พรอมทั้งเชิญชวนผูประกอบการระบบผลิต ระบบสง ระบบจําหนายไฟฟาและพลังงาน รวมถึงวิศวกรไฟฟา นักลงทุน และบุคลากรที่เกี่ยวของ ตลอดจนนิสิต นักศึกษาเขารวมงานดังกลาว ที่ประเทศไทยเปนเจาภาพในการจัดงานเปนครัง้ แรกในภูมภิ าคเอเชีย และครัง้ แรกในประเทศไทย โดยงาน ดังกลาวจะจัดขึน้ ระหวางวันที่ 19-23 มีนาคม พ.ศ. 2562 ณ ศูนยนทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา


SCG

SPECIAL

Scoop จีรภา รักแก้ว

Floating g Solar Farm

F)D - Ċ!E""

+8""F -A 9L! +"/ ++:*E+ 5 H * อยางทีท่ ราบกันแลววาโซลารเซลลเปนพลังงานสะอาด และปจจ�บนั ราคาของแผงโซลารเซลล ลดลงคอนขางมาก เนือ่ งจากพลังงานมีการใชมากขึน้ อีกทัง้ ยังชวยลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอม และดวยเทคโนโลยีมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง จึงเปนเหตุผลสําคัญใหตนทุนราคาต่ําลง ที่ผานมาการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตย หรือโซลารเซลลนั้น หลายคน มักจะคุนเคยในสองรูปแบบ คือ โซลารแบบติดตั้งบนพื้นดิน (Solar Farm) ซึ่งเปนการ ติดตั้งในรูปแบบโรงไฟฟาขนาดใหญ และโซลารรูฟท็อป (Solar Rooftop) เปนการ ติดตัง้ โซลารเซลลบนหลังคาบาน อาคาร และโรงงาน ซึง่ หลายคนมองวาการติดตัง้ โซลารโดยเฉพาะโซลารฟารมจําเปนตองใชพื้นที่จํานวนมหาศาล จะเปนการรุก พื้นที่การใชประโยชนที่ดิน ที่อาจจะสงผลกระทบตอพื้นที่การเกษตร แตทราบหรือไมวา ปจจ�บันโซลารฟารมสามารถติดตั้งไดบนผืนน้ํา บริเวณอางเก็บน้าํ หรือเขือ่ น ทีผ่ า นมาในตางประเทศไดมกี ารพัฒนาและ ติดตั้ง Floating Solar Farm หรือ โซลารฟารมลอยน้ํา ขึ้นมาใชงาน มากมายหลายแหลง แตสวนใหญจะเปนขนาดเล็ก กําลังการผลิต ต่าํ กวา 1 เมกะวัตต โซลารฟารมลอยน้าํ ทีว่ า นีเ้ หมาะกวาการติดตัง้ บนพื้นดิน ชวยใหเกิดการใชพื้นที่อยางเหมาะสม เนื่องจาก ตองติดตั้งอยูบนผิวน้ํา จึงชวยแกปญหาการรุกพื้นที่การใช ประโยชนที่ดินนั่นเอง สํ า หรั บ ประเทศไทย การพั ฒ นาเรื่ อ งของ Floating Solar Farm ไปถึงขั้นไหนแลว ลาสุด เอสซีจี เคมิคอลส ไดมกี ารพัฒนาทีเ่ ปนการตอยอด จากธุ ร กิ จ ป โ ตรเคมี ด ว ยการนํ า เม็ ด พลาสติ ก โพลิ เ อทิ ลี น เกรดพิ เ ศษมาออกแบบและพั ฒ นาเป น ทุ น ลอยสํ า หรั บ ใช กั บ แผงโซลาร เ ซลล ซึ่ ง ติ ด ตั้ ง ง า ย รวดเร็ว และประหยัดพื้นที่ ไดถึงรอยละ 10 เมื่อเทียบกับ การติดตั้งโซลารฟารมลอยน้ําชนิดอื่นๆ นอกจากนี้ ทุนลอยน้ํา ยังออกแบบใหมีอายุการใชงานที่ยาวนานถึง 25 ป ใกลเคียงกับ อายุการใชงานของแผงโซลารเซลล

8

GreenNetwork4.0 May-June 2018


ชลณัฐ ญาณารณพ กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี เคมิคอลส กลาววา การพัฒนาโซลารฟารม ลอยน้าํ หรือ Floating Solar Farm ในรูปแบบโซลูชนั่ ครบวงจรเปนรายแรกของประเทศไทย โดยเล็งเห็น ว า พื้ น ที่ ผิ ว น้ํ าในประเทศไทยมี ป ระมาณ 14,600 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 9 ลานไร คิดเปน รอยละ 3 ของพืน้ ทีป่ ระเทศ หากนําพืน้ ทีเ่ หลานีม้ าใช อยางเต็มประสิทธิภาพ ลูกคาก็จะไดรับประโยชน มากขึ้น ซึ่งโซลารฟารมแบบลอยน้ําใหประสิทธิภาพ สูงกวาการติดตั้งบนพื้นดิน และบนหลังคา เนื่องจาก อาศั ย ธรรมชาติ ข องน้ํ า ในการระบายความร อ น (Cooling Effect) “เราพัฒนาตัวทุน ใหตอบโจทยสภาพการใชงาน บนผิวน้ําที่หลากหลาย และตอยอดไปสูธุรกิจโซลูชั่น แบบครบวงจรเปนรายแรกในประเทศไทยโดยสามารถ ใหบริการตั้งแตกระบวนการออกแบบ การผลิตทุน การติดตัง้ และระบบยึดโยงตัวทุน ไปจนถึงการดูแลรักษา ซึง่ นอกจากจะเปนการใชพน้ื ทีผ่ วิ น้าํ ใหเกิดประสิทธิภาพ สูงสุดแลว ยังชวยลดการสูญเสียทรัพยากรน้ําจาก การระเหย และชวยเพิ่มพื้นที่ผลิตพลังงานทดแทน ใหกับประเทศอีกดวย” Floating Solar Farm ซึง่ เปนโครงการนํารอง ขนาดกําลังผลิต 1 เมกะวัตต ใชเวลาในการติดตั้ง ประมาณ 5 เดือน ไดดําเนินการทดลองและจายไฟ มาแลว โดยไดติดตั้งที่โรงงานเอสซีจี เคมิคอลส จังหวัดระยอง ในพื้นที่บอน้ําขนาด 20 ไร ติดตั้ง โซลารฟารมลอยน้าํ จํานวน 7 ไร ทีร่ ะดับความลึกของ บอน้ํา 8 เมตร ประกอบไปดวยแผงวงจรโซลารเซลล จํานวน 3,375 แผง โดยแบงออกเปน 3 เกาะ ใน แตละเกาะจะแยกเปน 4 Combiner Box รวมทัง้ หมด 12 Combiner Box ขนาดกําลังการผลิต 978.75 กิโลวัตต โดยกระแสไฟฟา DC ประมาณ 800-900 โวลต จะเขาไปสู Invertor เพื่อแปลงกระแสไฟฟา

เปน AC 3 เฟส 405 โวลต เพื่อเขาหมอแปลงกระแส ไฟฟาและจําหนายเขาสูตัวอาคาร โครงการนํารองดังกลาวนี้ จะนําไฟฟาที่ผลิต ไดไปใชในอาคารของเอสซีจี โดยไมไดจําหนายไฟ ใหกับทางการไฟฟาฯ และมีการลงทุนไปแลวกวา 40 ลานบาท สามารถประหยัดคาไฟฟาใหโรงงานได ประมาณ 5 ลานบาทตอป ซึ่งคาดวาจะใชระยะเวลา คืนทุนประมาณ 8 ป จ�ดเดนของโซลารฟารมลอยน้ําของเอสซีจี อยูที่ทุนลอยน้ํา ซึ่งเปนเทคโนโลยีของเอสซีจี ที่ไดมี การออกแบบเม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีนเกรดพิเศษ พรอมกับการพัฒนาและตอยอดเปนทุนลอยสําหรับ ใชเปนฐาน โดยใหแผงโซลารเซลลตั้งฉากประมาณ 15 องศา พรอมกับมีระบบยึดโยงตัวทุน การติดตั้ง จะเปนลักษณะการตอทุนแบบเลโก ที่ติดตั้งงายและ รวดเร็ว และวัสดุที่ใชยังเปนวัสดุใหม เมื่อใชงานแลว ในอนาคตสามารถนํามารีไซเคิลได นอกจากนั้น เอสซีจียังมองถึงเรื่องการบํารุง รักษา โดยเฉพาะเรื่องความปลอดภัย ฉะนั้นจึงไมได ติดตั้งเพียงแคโซลารฟารมลอยน้ําเพียงอยางเดียว แตยงั พัฒนาทัง้ ระบบโซลูชนั่ และหนึง่ ในนัน้ ก็คอื การ ซอมบํารุง หากโซลารฟารมลอยน้าํ มีพน้ื ทีค่ อ นขางใหญ จนแรงงานคนไมสามารถทําไดในทุกพืน้ ที่ จึงเปนทีม่ า ของการคิดคนนวัตกรรมเพือ่ ตอบโจทยปญ หาดังกลาว ทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับความปลอดภัย ในการทํางานโดยประดิษฐคิดคน “โดรน” (Drone) เพื่ อใช บิ น สํ า รวจและตรวจสอบค า ความร อ นโดย สามารถบันทึกภาพเพื่อนํามาวิเคราะหประสิทธิภาพ การทํางานของแผงโซลารเซลลได ในขณะเดียวกัน เพื่อรองรับการสํารวจสภาพใตน้ํา จึงมีการออกแบบ และพัฒนาหุนยนตดําน้ํา (Underwater Visualizer Robot) เพื่อตรวจสอบทุนและโครงสรางที่อยูใตน้ํา ไดอยางชัดเจน ใชเก็บขอมูลและสงผลสํารวจรายงาน

9

GreenNetwork4.0 May-June 2018

มาที่สวนควบคุมและทําการประมวลผล ทั้งหมดนี้ จึงถือเปนธุรกิจโซลารฟารมลอยน้ําแบบครบวงจร ตั้งแตการออกแบบ ผลิต ติดตั้ง บํารุงรักษา และ แกไขปญหา โซลารฟารมลอยน้ํา เหมาะสมกับผิวน้ํานิ่ง ที่ ไมมกี ารสัญจร อาจเปนแหลงน้าํ ประเภท อางเก็บน้าํ ทะเลสาบ หรือบอน้าํ ของอุตสาหกรรมขนาดใหญ ซึง่ ทุกโรงงานมีบอ น้าํ สํารองเพือ่ อุตสาหกรรมของตนเอง ทัง้ สิน้ และดวยอากาศเย็นเหนือผิวน้าํ ที่ใชตดิ ตัง้ แผน โซลารเซลลจะชวยใหโซลารเซลลไมรอนจนเกินไป เพราะจะสงผลใหประสิทธิภาพในการผลิตลดลง ที่ สําคัญจากงานวิจยั ยังไดระบุวา โซลารฟารมลอยน้าํ จะสามารถผลิตไฟฟาไดเพิ่มขึ้นประมาณ 10% ของ การผลิตในสภาพปกติ อยางไรก็ตาม โซลารฟารมลอยน้ํา เหมาะ อยางยิ่งสําหรับการติดตั้งในโรงงาน ที่สวนใหญแลว มั ก จะมี บ อ น้ํ า หากเปลี่ ย นจากบ อ น้ํ า ที่ ไ ม ไ ด ใ ช ประโยชนมาสูก ารสรางพลังงานเพือ่ ใชภายในโรงงาน นอกจากจะเปนการลดภาระคาไฟของโรงงานแลว ยังชวยลดพีคไฟฟาของประเทศ อีกทั้งยังชวยใหเกิด การใชพื้นที่อยางเหมาะสม


SMART

City

CAT #ď (AD K Ċ!E""2):+č < =M

D#Ā 9/F + ĉ:*2?L52:+H+Ċ2:*

LoRaWAN

กองบรรณาธิการ

บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ CAT ไดจดั งาน “Success to Phuket Smart City” พรอมเปดตัวโครงขายสื่อสารไรสาย LoRa IoT by CAT อันเปนสวนหนึ่งของการขับเคลื่อน Phuket Smart City เมืองอัจฉริยะตนแบบ แหงแรกของประเทศไทย ตามแผนของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.อ.สรรพชัย หุวะนันทน กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ CAT กลาววา CAT ไดมุงเนนพัฒนาเทคโนโลยีโครงขาย สื่อสารไรสาย LoRaWAN เพื่อรองรับบริการ IoT ใหสอดรับกับยุทธศาสตร การพัฒนาประเทศตามแนวนโยบาย Thailand 4.0 โดยเฉพาะโครงการ Smart City ที่จังหวัดภูเก็ต ซึ่งเปนจังหวัดแรกที่ CAT เปดตัวโครงขายสื่อสารไรสาย LoRaWAN อยางเต็มรูปแบบครอบคลุมทั่วจังหวัด เพื่อเตรียมความพรอมในการ ใหบริการ Smart Services ดานตางๆ และการใชงานอุปกรณ IoT ในจังหวัด ภูเก็ตที่มีแนวโนมจํานวนการใชงานเพิ่มมากขึ้น หลักการพัฒนาสมารทซิตี้ จะประกอบดวย 2 สวน คือ สวนของโครงสรางพื้นฐาน กับสวนที่เปนบริการ ซึ่ง ภารกิจหลักที่ CAT ไดดาํ เนินการแลวในสวนแรก คือการติดตั้งโครงขายสื่อสาร ความเร็วสูง Free Wi-Fi 1,000 จ�ดทั่วทั้งภูเก็ต และลาสุดคือการติดตั้งโครงขาย ไร ส ายสํ า หรั บ IoT คื อ LoRaWAN ซึ่ ง หลั ง จากจั ดให มี โ ครงข า ยพื้ น ฐานที่ เสร็จสมบูรณแลว CAT ยังไดขยายมาดําเนินการตอเนื่องในสวนของบริการ โดย ขับเคลื่อนการพัฒนาบริการและโซลูชั่นตางๆ รวมกับพารตเนอรในทองถิ่น ใหสามารถตอบโจทยความตองการของเมืองภูเก็ตที่มีเปาหมายการพัฒนา อุตสาหกรรมทองเที่ยวอยางยั่งยืน ขณะเดียวกันเพื่อสนับสนุนดานการใหบริการ CAT ไดเปดตัวพัฒนา แพลตฟอรม LoRa IoT by CAT เพื่อใหความสะดวกตอภาคธุรกิจที่จะเขารวม ศึ ก ษาพั ฒ นาและสร า งสรรค น วั ต กรรมใหม ๆ โดยให บ ริ ก ารบนโครงข า ย LoRaWAN ซึ่งบริการที่ไดเริ่มทดสอบใหบริการไปแลว ไดแก ระบบติดตามพิกัด (GPS Tracking) ซึ่งเปนอุปกรณติดตามตําแหนงการเดินทางของยานพาหนะ ตางๆ ในจังหวัดภูเก็ต อาทิ เรือ รถยนต รถจักรยานยนต รถเก็บขยะ รถทัวร ฯลฯ ทั้งนี้ การใชงานบริการดาน IoT ในภูเก็ตยังอยู ในระยะแรก และมีแนวโนม เพิ่มมากยิ่งขึ้นจากธุรกิจบริการดานการทองเที่ยว เชน ผูใหบริการ Speed Boat รายใหญไดเริ่มนําไปใชเพื่อดูแลความปลอดภัยแกนักทองเที่ยว ทั้งในรูปแบบ ของการติดอุปกรณระบบติดตามพิกัดไวบนตัวเรือ และสายรัดขอมือติดตัว นักทองเที่ยว (Wristband) โดยบริการอื่นๆ ที่ CAT ไดพัฒนารวมกับพารตเนอร เพื่อสนับสนุน Smart Tourism อาทิ แอพพลิเคชั่น Smart Phuket 4.0, อุปกรณ Beacon เพือ่ แจงใหประชาชน นักทองเทีย่ ว และชาวตางชาติในภูเก็ตไดรบั ขอมูล 10

ขาวสารที่ถูกตองโดยตรงจากแหลงขอมูล เชน บริการขอมูลแหลงทองเที่ยว หรือโปรโมชัน่ ดีๆ และ Digital Signage จอภาพดิจทิ ลั เพือ่ ประชาสัมพันธใหขอ มูล พื้นฐาน เชน รานอาหาร สถานที่ทองเที่ยว โรงแรมที่พัก โรงพยาบาล สถานที่ ราชการ ฯลฯ CAT โฟกัสการพัฒนาเมืองอัจฉริยะดวยแนวคิด Smart Life, Smart Solution, Smart City โดยเนนความรวมมือกับพันธมิตรทุกภาคสวนเปนสําคัญ เชน การรวมสรางระบบนิเวศ (Ecosystem) ทีส่ ง เสริมการพัฒนาบริการอัจฉริยะ ภายในจังหวัดภูเก็ต เกิดจากหนวยงานภาครัฐ เทศบาล และจังหวัด ซึ่งดูแล สนับสนุนดานนโยบาย กลุม นักวิจยั พัฒนานวัตกรรมจากมหาวิทยาลัยชัน้ นําตางๆ ทีจ่ ะชวยวิจัยและพัฒนา (R&D) การประยุกตใชงานและอุปกรณ และกลุม เอกชน เชน Maker Clubs รวมทัง้ ชาวเมืองภูเก็ตทีเ่ ขาใจปญหามารวมใหขอ มูลเพือ่ พัฒนา นวัตกรรมการแกปญหาเมืองรวมกัน บริการของ LoRa IoT by CAT สามารถที่จะปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนอง ความตองการเฉพาะทีม่ คี วามหลากหลายในแตละพืน้ ที่ เชน การแกไขปญหาขยะ ตกคาง ปญหาสิ่งแวดลอม มลพิษทางอากาศ ปญหาที่จอดรถ ซึ่งจะสามารถ นําเอาบริการ IoT ไปใชเพิ่มความสามารถในการบริหารจัดการระบบใหเกิด ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยในขณะนี้ CAT ไดรวมกับพันธมิตรในทองถิ่นทั้งภาครัฐ และเอกชนในการรับทราบและรวบรวมความตองการตางๆ ของแตละเมืองเพื่อ เตรียมพัฒนาตัวบริการแลว CAT อยูระหวางนําโมเดล Smart City จังหวัดภูเก็ต ดังกลาวขยายไปในหัวเมืองใหญๆ 18 จังหวัด โดยคาดวาภายในไตรมาส 2 ของ ป พ.ศ. 2561 นี้จะทยอยเปดใหบริการ LoRa IoT by CAT ในจังหวัดตางๆ ไดแก กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เชียงใหม ขอนแกน ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา นาน สระบุรี นครนายก ปราจีนบุรี สงขลา สุราษฎรธานี นครราชสีมา มหาสารคาม อุดรธานี อุบลราชธานี และนครปฐม รวมถึง 3 จังหวัดในโครงการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC ไดแก ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา

GreenNetwork4.0 May-June 2018


D5"="=

เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท เอบีบี (ประเทศไทย) จํากัด ไดประกาศใหการสนับสนุน อยางเปนทางการ รวมเปนสวนหนึ่งของงานประชุมวิชาการและนิทรรศการระดับ นานาชาติ IEEE PES Generation Transmission and Distribution (GTD) Grand International Conference and Exposition Asia 2019 (IEEE PES กองบรรณาธิการ GTD ASIA 2019) ซึ่งจะจัดขึ้นระหวางวันที่ 19-23 มีนาคม พ.ศ. 2562 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค โดยจะจัดแสดงบูธนิทรรศการ เพื่อนําเสนอความกาวหนาทางเทคโนโลยีลาสุด เอบีบีเปนผูนําเทคโนโลยีในดาน Electrification Products, Robotics and Motion, Industrial Automation และ Power Grids ใหบริการลูกคาทัว่ โลกครอบคลุมทัง้ ในภาคสาธารณูปโภค อุตสาหกรรม การขนสงและระบบโครงสรางพืน้ ฐาน นับเปนเวลากวา 130 ปทเี่ อบีบคี ดิ คนพัฒนานวัตกรรมออกสูต ลาด อยางตอเนื่อง ปจจ�บันเอบีบีกําลังกาวไปสูยุคอุตสาหกรรมดิจิทัลดวยคุณคาหลัก 2 หัวขอที่เรามอบใหแก ลูกคา ไดแก การชวยใหโรงไฟฟาสามารถสงจายพลังงานไฟฟาไปสูผูใชไฟฟาทุกหนทุกแหง และชวยเสริม ศักยภาพอุตสาหกรรมดวยระบบอัตโนมัติ ครอบคลุมตั้งแตการเก็บเกี่ยวพลังงานจากธรรมชาติ จนถึงการ ผลิตเปนสินคาสําเร็จ และในฐานะผูสนับสนุนหลักของ Formula E ซึ่งเปนการแขงขันมอเตอรสปอรตระดับ นานาชาติในประเภทรถแขงไฟฟาอยางเต็มรูปแบบของสหพันธรถยนตระหวางประเทศ (FIA) โดย ABB กําลังรวม ผลักดันและขยายขอบเขตของ e-mobility เพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืนในอนาคต เอบีบีดําเนินธุรกิจในกวา 100 ประเทศโดยมีพนักงานประมาณ 135,000 คน คุณชัยยศ ปยะวรรณรัตน กรรมการผูจัดการ บริษัท เอบีบี (ประเทศไทย) จํากัด ไดกลาวถึงเหตุผล สําคัญทีต่ ดั สินใจเขารวมงานเนือ่ งจาก เอบีบเี ปนบริษัท ระบบจําหนายไฟฟา และสถานี ไฟฟา (Transmission and Distribution) อาทิ Digital นานาชาติ ที่ เ ข า มาดํ า เนิ น ธุ ร กิ จในประเทศไทยเมื่ อ Substation, Microgrid และ Smart Grid เทคโนโลยีเหลานี้ก็จะนํามาโชวภายในงานดวย สําหรับในสวนของการประชุมวิชาการ เอบีบกี จ็ ะมีการสง Paper ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2521 ซึ่งปนี้ถือเปนปที่ครบรอบ 40 ปของเอบีบี เขาไปรวมในงานนี้ดวย เนื่องจากเอบีบีนั้นมี Paper ในเชิงวิชาการจํานวนมาก ที่จะสามารถ ในประเทศไทย เอบีบี ในประเทศไทยไดรับการสนับสนุนจาก นํามาเสนอ เพื่อเปนประโยชนกับบุคลากรที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมไฟฟาและพลังงาน ผูท เ่ี กีย่ วของในอุตสาหกรรมไฟฟาและพลังงานมาดวยดี ทุกระดับ ตั้งแตนักเรียน นักศึกษา ไปจนถึงผูประกอบการ รวมถึงหนวยงานภาครัฐ ตลอดระยะเวลาที่ ผ า นมา ดั ง นั้ น เมื่ อ ประเทศไทย ภาคเอกชนดวยเชนกัน คุณชัยยศ ไดกลาวถึงภาพรวมอุตสาหกรรมไฟฟาและพลังงานในประเทศไทยปจจ�บนั ไดรับเกียรติใหจัดงานประชุมวิชาการและนิทรรศการ ระดับโลก อยางงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 นั้น และอนาคตวา “ตองยอมรับวาอุตสาหกรรมไฟฟาและพลังงานในประเทศไทยปจจ�บัน จึงเปนโอกาสอันดีที่เอบีบีจะไดมีบทบาทในการรวมเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมครั้งสําคัญ อยู ในจ�ดที่กําลังมีการเปลี่ยนแปลงอยางมาก พลังงานทดแทนจะเขามามีบทบาทมากขึ้น ของประเทศไทย เพือ่ สงเสริมศักยภาพของประเทศไทยทัง้ ในเชิงเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ขณะเดี ย วกั น ต น ทุ น ด า นเทคโนโลยี ก็ จ ะมี ร าคาที่ จั บ ต อ งได ม ากขึ้ น ภายใต ก รอบของ รวมถึงการทองเที่ยว อีกทั้งยังเปนอีกหนึ่งโอกาสที่เอบีบีจะไดเผยแพรองคความรู และ Digitalization ซึ่งเขามามีบทบาทสําคัญมากขึ้น ทั้งนี้ โดยสวนตัวแลวเชื่อวาเปนการ เทคโนโลยี ต า งๆ ที่ จ ะเป น ประโยชน ต อ การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมด า นพลั ง งานไฟฟ า เปลี่ยนแปลงเชิงบวก ที่จะสงผลดีตอการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศในทุกๆ ภาคสวน เพียงแตผูประกอบการจะตองเรงปรับตัวใหทันตอสิ่งที่เกิดขึ้นและใชประโยชนจากความ ของประเทศในภาพรวม ทั้งในปจจ�บันและอนาคต สําหรับรูปแบบการนําเสนอภายในบูธนิทรรศการดังกลาว เอบีบซี งึ่ เปน Pioneering กาวหนาทางเทคโนโลยีใหไดมากที่สุดเทานั้น” คุณชัยยศ ยังไดกลาวตอไปอีกวา แมที่ผานมาประเทศไทยจะมีศักยภาพเปนผูนํา Technology Leader จะมุงเนนการนําเสนอนวัตกรรมความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่ th เกี่ยวของกับ Energy Revolution และ 4 Industrial Revolution ซึ่งจะมีบทบาทสําคัญ ในอุตสาหกรรมไฟฟาและพลังงานของภูมิภาคอาเซียน มีการขับเคลื่อนและพัฒนาพลังงาน อยางจริงจัง แตทวาประเทศเพื่อนบานในภูมิภาคอาเซียนก็มีการพัฒนาดวยเชนกัน ดังนั้น ตอการเปลี่ยนผานประเทศไทยไปสูโลกอุตสาหกรรมยุค 4.0 คุณชัยยศ กลาววา สิ่งที่เอบีบีจะนําเทคโนโลยีมานําเสนอในสวนของ Energy การพัฒนาอุตสาหกรรมไฟฟาและพลังงานของประเทศไทยจึงยังตองดําเนินการอยางตอเนือ่ ง Revolution นั้น ก็คือ เรื่องของการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของระบบ Power Grid ซึ่งเชื่อวาภาครัฐ โดยเฉพาะหนวยงานหรือองคกรที่เกี่ยวของจะมีการดําเนินงานทั้งในเชิง ทําอยางไรใหเปน Stronger Smarter รวมถึง Greener Grid นี่เปนหนึ่งธีมที่จะนําเสนอ นโยบายการบริหารจัดการ และแนวทางการปฏิบัติ ควบคูไปกับการยกระดับประสิทธิภาพ ภายในงาน นอกจากนี้ก็มีอีกหนึ่งธีม คือ 4th Industrial Revolution ที่มีความเกี่ยวของกับ การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไฟฟาและพลังงานตามกรอบนโยบายและแผนการดําเนินงาน ความกาวหนาในเรื่องของ Digitalization ซึ่งไมเพียงแตครอบคลุมถึงเรื่องของการเปน ที่ไดวางไว เพื่อรักษาความเปนผูนําดานอุตสาหกรรมไฟฟาและพลังงานตอไป และแนนอน โลกธุรกิจที่ขับเคลื่อนอยูทามกลาง Digitalization หากยังรวมไปถึงการประยุกตใช เอบีบี ก็จะเปนหนึ่งในกลไกชิ้นสําคัญที่มีบทบาทในการนํานวัตกรรมและความกาวหนา AI (Artificial Intelligence) ในภาคอุตสาหกรรมตางๆ โดยเอบีบีมีความรูความเชีย่ วชาญ ทางเทคโนโลยีทม่ี อี ยูเ ขาไปเติมเต็ม ทําใหอตุ สาหกรรมไฟฟาและพลังงานของประเทศสามารถ และประสบการณไดรวบรวมโซลูชั่นและบริการในรูปแบบดิจิทัลทั้งหมดของเอบีบี ซึ่ง ขับเคลื่อนไปไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ สุดทายขอเชิญชวนใหผูที่เกี่ยวของในอุตสาหกรรมไฟฟาและพลังงานทุกภาคสวน เรียกวา “ABB AbilityTM” ซึ่งนํามาประยุกตใชเพื่อพัฒนาโซลูชั่นตางๆ ซึ่งจะสามารถ ทํางานประสานเชือ่ มโยงถึงกันไดผา นระบบคลาวด ชวยใหลกู คาสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพ ทุกระดับ ตัง้ แตนกั เรียน นิสติ นักศึกษาไปจนถึงผูป ระกอบการรวมถึงหนวยงาน และองคกร กระบวนการผลิตและในขณะเดียวกันก็ชว ยลดคาใชจา ยลง ใหครอบคลุมทุกกลุม อุตสาหกรรม ภาครัฐ ภาคเอกชนเขารวมงานประชุมวิชาการและนิทรรศการระดับชาติ IEEE PES GTD ไมวาจะเปน Utilities, Industry หรือ Transport and Infrastructure ซึง่ เหลานี้ถือเปน Asia 2019 เพราะถือเปนโอกาสที่ดีอยางยิ่งในการเก็บเกี่ยวองคความรูตางๆ และเปนเวที ในการอัพเดตนวัตกรรม และความกาวหนาทางเทคโนโลยี ในแวดวงอุตสาหกรรมไฟฟา 3 เซกเมนตหลัก สําหรับ ABB AbilityTM ซึ่งปจจ�บันเอบีบีมีมากกวา 210 โซลูชั่น ที่จะเขาไปใหการ และพลังงาน ซึ่งถือเปนงานใหญระดับโลก และยังเปนครั้งแรกในประเทศไทยและครั้งแรก สนับสนุน ชวยเหลือใหผูประกอบการใหสามารถยกระดับเทคโนโลยีการผลิตและเพิ่ม ในเอเชียอีกดวย ประสิทธิภาพการดําเนินธุรกิจไดอยางมั่นคงและปลอดภัยรวมถึงเรื่องการบริหารจัดการ การเพิ่มประสิทธิภาพและเพิ่มผลผลิต ทั้งนี้ สวนที่เปน Smart Technology ตางๆ เอบีบีก็จะนําไปจัดแสดงภายในงาน ครั้งนี้ดวย ไมวาจะเปนเรื่อง E- Mobility, Smart Buildings ซึ่งจะสามารถทํางานเชื่อมโยง เกี่ยวกับ IEEE GTD ASIA 2019 กันดวย ABB AbilityTM ได นอกจากนี้ยังมีโซลูชั่นอื่นๆ อีกมากมาย ที่เกี่ยวของกับระบบสง งาน GTD ASIA 2019 เปนการรวมการจัดงาน 3 งาน ประกอบดวย งาน Power Generation (PG Asia) งาน Transmission and Distribution (T&D Asia) และงาน Renewable Energy (RE Asia) เขาดวยกัน โดยจะนําเสนอการประชุม เชิงวิชาการและจัดแสดงนิทรรศการที่ครอบคลุมทุกดานเกี่ยวกับระบบผลิต การสง และจําหนายไฟฟา การผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนและอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วของ SPECIAL

$AĊ!; Ċ:! :+&9 !:D F!F-*= E-8 < Ċ!!/9 ++) Ċ:!H''ą: #+8 :0+ĉ/)D#đ!2ĉ/!3!>L G! :! ıĭĭĭ ĸĭĻ įļĬ ĩĻıĩ b`ai >L D#đ! :!/<0/ ++)&-9 :!H''ą: +8 9"F- +9M E+ =LD < >M! G!#+8D 0H * D +=*)!;D2!5 !/9 ++) =L 5"F *č (: &-9 :!

Interview

11

GreenNetwork4.0 May-June 2018


GREEN

Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข

กระแสการผลักดันการผลิตไฟฟาจากเชือ้ เพลิงชีวมวลในประเทศไทย เชิงนโยบาย สรางความสับสนใหกับผูประกอบการตั้งแตตนน้ํา กลางน้ํา จนถึงปลายน้ํา ซึ่งสวนใหญเปนโรงไฟฟาที่ ใชเชื้อเพลิงชีวมวล ทานทราบ หรือไมวา เชื้อเพลิงชีวมวลที่คนไทยใชอยูกวารอยละ 80 มาจากเศษไม ยางพาราทีต่ ดั โคนตามอายุแลวนํามาแปรรูปเปนไมแผนสงออก ซึง่ สวนใหญ ก็ขายใหกบั ลูกคารายใหญแทบจะรายเดียว คือประเทศจีน เชือ้ เพลิงชีวมวล ไทยจึงตั้งอยูบนความเสี่ยง หากวันใดคูคารายใหญลดการนําเขาลง วันนั้น เชื้อเพลิงชีวมวลไทยจะขาดแคลนทันที เนื่องจากไมมีการแปรรูปไม ก็จะ ไมมีเศษไม การบริหารความเสี่ยงในเรื่องนี้ก็คือ ประเทศไทยควรสงเสริมให มีการปลูกไมโตเร็วตั้งแตวันนี้ โดยไมตองถามวา ราคาจะสูงกวาเศษไม จากยางพาราหรือไม ผูเ ขียนจึงไดคดั ลอกขอมูลบางตอนจากกรมปาไม และ กรมธนารักษมาใหทา นเปนขอมูลวา หากปลูกไมโตเร็วตองหาทีว่ า งสวนไหน ของประเทศที่ยังพอปลูกไดบาง ดังตอไปนี้ “ไมโตเร็ว” เปนวัตถุดิบอีกประเภทที่สามารถนํามาใชเปนพลังงาน ทดแทนได เนือ่ งจากองคประกอบของไมประกอบดวย เซลลูโลส รอยละ 50 เฮมิเซลลูโลส รอยละ 25 และลิกนิน รอยละ 25 สามารถแบงไมโตเร็วในแง ของการใชประโยชนวา มีอัตราการเติบโตไมนอยกวา 2.5 ลูกบาศกเมตร ตอไรตอป และจะตองมีอายุครบรอบหมุนเวียนในการตัดฟนไมเกิน 7 ป ไมโตเร็วที่นิยมปลูกมีมากมายหลายชนิด มีทั้งชนิดพื้นเมืองและไมตางถิ่น เชน ไมเลี่ยน ซอ ทุงฟา ไมสนทะเล ซึ่งเปนไมโตเร็วพื้นเมืองของไทย ในขณะที่ไมสนประดิพัทธ สนคาริเบีย สนโอคารปา กระถินณรงค กระถิน ยักษ กระถินเทพา และยูคาลิปตัส เปนไมโตเร็วตางถิน่ โดยเฉพาะอยางยิง่ ไมยูคาลิปตัส

12

D ?M5D&-< =/)/-

&-9 :! =L*9 H)ĉ*9L *?! พื้นที่ที่เหมาะสมในการสงเสริมการปลูกไม เพื่อเปนเชื้อเพลิงวัตถุดิบในการผลิตเชื้อเพลิงชีวมวล 1. พื้นที่ที่อยูในความรับผิดชอบของกรมปาไม จากนโยบายปาไมแหงชาติ พ.ศ. 2528 ที่กําหนดใหมีพื้นที่ปาไม ในอัตรารอยละ 40 ของเนือ้ ทีป่ ระเทศ (129 ลานไร) จําแนกเปนปาเพือ่ การ อนุรกั ษ รอยละ 25 (81 ลานไร) และปาเศรษฐกิจ รอยละ 15 (48 ลานไร) ทําใหมีการกําหนดแผนยุทธศาสตร ในการเพิ่มพื้นที่ปาไมในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนยุทธศาสตรดา นการสรางการเติบโต บนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และเมื่อมีการถายทอดลงมาสู แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ในยุทธศาสตรดานการเติบโตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนา อยางยัง่ ยืน และยุทธศาสตรทเ่ี กีย่ วของไดกาํ หนดเพิม่ เติมพืน้ ทีป่ า เศรษฐกิจ ใหบรรลุเปาหมายรอยละ 15 ของประเทศ ในอีก 20 ปขา งหนา (พ.ศ. 2579) ในปจจ�บันประเทศไทยมีเนื้อที่ปาไมประมาณ 102 ลานไร คิดเปนรอยละ 31.58 ของเนื้อที่ประเทศ ซึ่งสวนใหญเปนพื้นที่ปาอนุรักษ ทําใหยังขาด พื้นที่ปาเศรษฐกิจที่ยังไมครบตามเปาหมายอยูอีกประมาณ 26 ลานไร ประกอบกับความตองการใชไ มภายในประเทศที่เพิ่มสูงมากขึ้นอยาง ตอเนื่อง โดยใน พ.ศ. 2559 มีปริมาณการใชไมในภาคครัวเรือน และใช เปนวัตถุดบิ ในภาคอุตสาหกรรมอยูป ระมาณ 58 ลานตัน และคาดการณวา จะเพิม่ ขึน้ เปน 156 ลานตันใน พ.ศ. 2579 จึงเห็นไดวา ปริมาณไมทผ่ี ลิตได ในปจจ�บันยังคงมีขอจํากัดและไมเพียงพอกับความตองการใชไ มของ ประเทศ และมีแนวโนมที่จะขาดแคลนวัตถุดิบไม อยางยิ่งในอนาคต

GreenNetwork4.0 May-June 2018


แผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ไดมีการกําหนดพื้นที่ปาไมรอยละ 40 ของพืน้ ทีป่ ระเทศ โดยแบงเปนพืน้ ทีป่ า ไมอนุรกั ษรอ ยละ 25 ของพืน้ ทีป่ ระเทศ ทัง้ หมด และปาเศรษฐกิจรอยละ 15 ของพืน้ ทีป่ ระเทศทัง้ หมด คิดเปนรอยละ 49 ลานไร โดยแบงได ดังนี้ 1. ปาชุมชน (ปามีสภาพ) 2. องคการอุตสาหกรรมปาไม 3. ปาเศรษฐกิจ (ปาเอกชน) 4. พื้นที่ปลูกยางพาราในปาสงวนแหงชาติ 5. พื้นที่ปลูกสวนปาลมในปาสงวนแหงชาติ 6. ปาเสื่อมสภาพลุมน้ํา 3 4 และ 5 7. พื้นที่ส.ป.ก. และ สวนราชการอื่นๆ 8. พื้นที่ปาเอกชน (ที่กรรมสิทธิ์) 9. พื้นที่สีเขียวในชุมชนเมืองและชนบท (70,000 หมูบาน x 2.5 ไร/ป x 20ป)

19.1 11.1 3.0 3.1 0.4 5.2 5.0 8.6 3.5

ลานไร ลานไร ลานไร ลานไร ลานไร ลานไร ลานไร ลานไร ลานไร

รวม 49.0 ลานไร กรมปาไมไดกําหนดเปาหมายที่จะตองดําเนินการใหเปนไปตามแผน ระยะเริ่มแรก ประมาณ 26 ลานไร

2. พื้นที่ที่อยูในความรับผิดชอบของกรมธนารักษ ขอมูลที่ดินทั่วประเทศ 321 ลานไร เปนที่ราชพัสดุ 12.540 ลานไร หรือรอยละ 4 ของที่ดินทั้งประเทศ ใชในราชการเพื่อความมั่นคง 2.151 ลานไร (อยู ในระหวางประสานนําสงขึ้นทะเบียนราชพัสดุ) กรมธนารักษ บริหารจัดการ 10.389 ลานไร โดยแบงเปน ดังนี้ 1. ใชในราชการรอยละ 96 ของพื้นที่ราชพัสดุ (10.001 ลานไร) 2. จัดหาประโยชนรอยละ 4 ของพื้นที่ราชพัสดุ (0.388 ลานไร) สวนราชการครอบครองรอยละ 96 ของพืน้ ทีร่ าชพัสดุ (10.389 ลานไร) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. กระทรวงกลาโหม เนื้อที่ 4.601 ลานไร 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ เนื้อที่ 2.498 ลานไร 3. กระทรวงการคลัง เนื้อที่ 1.636 ลานไร 4. อื่นๆ เนื้อที่ 1.654 ลานไร กระทรวงการคลัง : ในความครอบครองกรมธนารักษ ประมาณ 1.615 ลานไร แปลงบอถานศิลา (สวนปาลม) จังหวัดสุราษฎรธานี ประมาณ 0.900 ลานไร จัดใหเชา 0.440 ลานไร

13

ตัวอยางขอมูลที่ดินราชพัสดุรายจังหวัด 1. จังหวัดกาญจนบุรี 2. จังหวัดสุราษฎรธานี 3. จังหวัดประจวบคีรีขันธ 4. จังหวัดราชบุรี 5. จังหวัดนครราชสีมา 6. จังหวัดกาฬสินธุ 7. จังหวัดอุดรธานี 8. จังหวัดนครสวรรค 9. จังหวัดเชียงใหม 10. จังหวัดลพบุรี ….. 75. จังหวัดสมุทรสาคร 76. จังหวัดสมุทรสงคราม

เนื้อที่ เนื้อที่ เนื้อที่ เนื้อที่ เนื้อที่ เนื้อที่ เนื้อที่ เนื้อที่ เนื้อที่ เนื้อที่ เนื้อที่ เนื้อที่

3,486,325 1,001,730 619,141 541,872 523,743 310,182 247,495 233,500 218,183 216,412

ไร ไร ไร ไร ไร ไร ไร ไร ไร ไร

4,422 ไร 2,605 ไร

ตองขอขอบคุณ คณะกรรมาธิการการพลังงานสภานิติบัญญัติ แหงชาติ (สนช.) ที่ไดผลักดันใหมกี ารสงเสริมการปลูกไมโตเร็ว เพือ่ ใชเปน เชือ้ เพลิงทดแทนฟอสซิล นอกจากจะชวยใหชมุ ชนมีทางเลือกมากขึน้ ในการ ปลูกพืชแลว ยังชวยสรางความมัน่ คงดานพลังงานระยะยาวอีกทางหนึง่ ไมวา นโยบายของกระทรวงพลังงานทีม่ ตี อ พลังงานทดแทนจะแกวงไปมาอยางไร แตกติกาสังคมโลกยังคงยึดมั่นใหโลกเพิ่มพลังงานทดแทน เพื่อชวยกันลด กาซเรือนกระจก สาเหตุจากการรับซื้อไฟฟาจากเชื้อเพลิงฟอสซิลจนเกิน ปริมาณสํารองทีป่ ลอดภัย และการนําคาใชจา ยจากไฟสาธารณะทัว่ ประเทศ ราวรอยละ 10 ของการใชไฟฟาขัน้ สุดทายของประเทศ มาบวกเขาไปในคา FT อยางเชนในปจจ�บัน สงผลกระทบตอราคาไฟฟาอยางหลีกเลี่ยงไมได หาใชมาจากพลังงานทดแทนไม

GreenNetwork4.0 May-June 2018


GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

PTG เดินเครื่องผลิตน้ํามันไบโอดีเซล (B100) และน้าํ มันโอลีน (Olein) ในโครงการผลิตปาลมคอมเพล็กซ แหงแรกของไทย รวบรวมทุกอุตสาหกรรมบนหวงโซนาํ้ มันปาลม ไวในทีเ่ ดียวกัน ภายใตแนวคิดการผลิตแบบ Zero Waste ทีส่ ามารถ นําสิ่งเหลือใชกลับมาใชประโยชน ไดทั้งหมด และการบูรณาการเพื่อ บริหารตนทุนใหมีประสิทธิภาพสูงสุด

#:-č) 5)D&-K č

0A!*č+/)5@ 2:3 ++)!M;)9!#:-č)

+"/ +H/ĊG! =LD =*/ โครงการปาลมคอมเพล็กซ ดําเนินการโดย บริษัท พีพีพี กรีน คอมเพล็กซ จํากัด รวมทุนระหวาง PTG กับพันธมิตรอีก 2 รายที่มีประสบการณดานธุรกิจปาลมน้ํามัน ยาวนานกวา 20 ป โดยเขารวมทุนในโครงการปาลมน้ํามันครบวงจรแหงแรกของ ประเทศไทย บนพื้นที่ 1,000 ไร ที่อําเภอสะพานนอย จังหวัดประจวบคีรีขันธ โดยปาลม คอมเพล็กซ จะมีกําลังการผลิตไบโอดีเซล 450,000 ลิตรตอวัน และน้ํามันปาลมเพื่อ บริโภค 200,000 ลิตรตอวัน รังสรรค พวงปราง ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั พีทีจี เอ็นเนอยี จํากัด (มหาชน) กลาววา PTG ในฐานะของผูคา น้ํามันก็เล็งเห็นความสําคัญของโครงการปาลมน้ํามัน กอปรกับ มีพันธมิตร ซึ่งอยูในธุรกิจทางดานเกษตร ก็คือ บริษัท ทาฉาง สวนปาลมนํา้ มันอุตสาหกรรม จํากัด ทีม่ ปี ระสบการณมาไมนอ ย กวา 20 ป และ บริษัท อาร ดี เกษตร พัฒนา จํากัด ผูผลิต ตนกลาปาลมน้ํามันรายใหญ จัดตั้งบริษั ท บริษัท พีพีพี กรีน คอมเพล็กซ จํากัด (PPP) เพือ่ ดําเนินโครงการปาลมน้าํ มันครบวงจร หรือทีเ่ รียกวา ปาลม คอมเพล็กซ โดยการลงทุน PTG ถือหุนในสัดสวนรอยละ 40 ทาฉางสวนปาลมนํ้ามัน อุตสาหกรรมฯ รอยละ 50 และอาร ดี เกษตร พัฒนาฯ รอยละ 10 เริม่ ดําเนินการกอสราง ตั้งแตป 2558 และเริ่มดําเนินการผลิตแบบครบวงจรในเดือนมิถุนายน 2561 “กําลังการผลิตของปาลมคอมเพล็กซ ไมตอ งกังวล ณ ปจจ�บนั ทางดาน PTG มีความ สามารถที่จะรับซื้อผลผลิต B100 เพราะที่นี่กําลังการผลิต 400,000 ลิตร เทานั้นเอง ในขณะที่ความตองการเราอยูที่ 500,000-600,000 ลิตร เปนจ�ดที่สามารถสรางความ มั่นคงและรายไดในอนาคตไดอยางยั่งยืน” 14

GreenNetwork4.0 May-June 2018


ปาลมคอมเพล็กซใชเงินลงทุนราว 3.6 พันลานบาท ไดออกแบบโรงงานให สามารถรองรับการผลิตไบโอดีเซล (B100) เต็มที่ประมาณ 900,000 ลิตรตอวัน เพื่อ รองรับการขยายการลงทุนในเฟส 2 ที่เปนการตอยอดอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม ใชเงิน ลงทุนราว 1-1.5 พันลานบาท จะมีการสรางโรงไฟฟาที่ใชเชือ้ เพลิงจากทะลายปาลม ขนาด 7 เมกะวัตต เพื่อใชภายในโครงการ ซึ่งจะนําบริษัทเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย หลังจากเฟส 1 ไดเปดดําเนินการ 3 ป เพือ่ ระดมทุนมาใชลงทุนในเฟส 2 เชาวลิต ศุภนคร ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท พีพีพี คอมเพล็กซ จํากัด กลาววา ปาลมคอมเพล็กซยังตั้ง ในทําเลที่ใกลแหลงผลิตปาลมน้ํามันของประเทศ ไดเปรียบ ในเรื่ อ งการขนส ง ทางบก เพราะใกล ร ถไฟรางคู ที่ กํ า ลั ง ดําเนินการกอสราง ทางน้ําใกลทาเรือบางสะพานและทาเรือ ระนอง ทําใหสามารถสงออกน้ํามันไปยังตางประเทศได ทั้งในฝงอาวไทยและอันดามัน รวมทั้งยังประสานเทคโนโลยี เครื่องจักรการผลิตที่ทันสมัย ใหประสิทธิภาพสูง ชวยลดตนทุนในการผลิต “ดําเนินการผลิตภายใตหลักการของ Zero Waste คือการนําผลพลอยไดจากการ ผลิตมาเปนวัตถุดิบในการผลิตของอุตสาหกรรมตอเนื่อง โดยไมเกิดการสูญเสียและไม สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม บนเนื้อที่กวา 1,000 ไร ที่อําเภอบางสะพานนอย จังหวัด ประจวบคีรีขันธ” ปาลมคอมเพล็กซ ประกอบไปดวยสายการผลิตในรูปแบบอุตสาหกรรมตอเนือ่ ง ประกอบดวย โรงงานสกัดนาํ้ มันปาลมดิบ ขนาดกําลังการผลิต 380 ตันตอวัน สามารถ รองรับผลปาลมของเกษตรกรไดถึง 1,800-2,000 ตันตอวัน น้ํามันปาลมดิบที่ ได จะถูกสงเปนวัตถุดบิ ในกระบวนการ Refining ตอไป โรงผลิตนา้ํ มันปาลมโอลีน ทําการ ผลิตน้าํ มันปาลมเพือ่ การบริโภค ดวยกําลังการผลิต 200,000 ลิตรตอวัน น้าํ มันปาลม ที่ไดจาํ หนายใหลกู คาอุตสาหกรรมและการบริโภคทัว่ ไป โรงงานผลิตนา้ํ มันไบโอดีเซล (B100) กําลังการผลิต 450,000 ลิตรตอวัน ไบโอดีเซลที่ผลิตไดจําหนายใหกับ ผูป ระกอบการสถานีบริการน้าํ มันและโรงกลัน่ น้าํ มันปโตรเลียมทัว่ ประเทศ พีพพี จี ะมี คลังจัดเก็บน้ํามัน ประมาณ 100,000 ตัน ทําใหบริษัทฯ มีวัตถุดิบรองรับการผลิตได นานถึง 3 เดือน ทั้งยังเอื้อประโยชนตออุตสาหกรรมน้ํามันปาลมของประเทศ ทําให สามารถแขงขันดานตางๆ และสงออกสงตางประเทศได และผลพลอยไดจากการผลิต ไบโอดีเซล (B100) คือกลีเซอรีน เปนตัวที่แยกมาจาก B100 โดยจะมีโรงสกัด กลีเซอรีน ซึง่ ความบริสทุ ธิอ์ ยูท ี่ 99.7% อยูในระดับ Pharmaceutical Grade ทีเ่ ปนการ เพิ่มมูลคาไดถึง 3 เทา สําหรับ โรงงานไฟฟาและไอน้ํา โดยนําทะลายปาลมซึ่งเปนผลพลอยได จากสกัดน้ํามันปาลมดิบมาเปนวัตถุดิบในการผลิตพลังงานไฟฟาขนาด 7 เมกะวัตต และไอน้ํา 45 ตันตอชั่วโมง ซึ่งทะลายปาลมสวนหนึ่งมาจากกระบวนการสกัดของ โรงงานเอง อีกสวนจะรับซื้อทะลายปาลมจากขางนอกมาทําการสับและหีบ โดยใน ทะลายปาลมเปลาจะมีน้ํามันติดคางอยู เมื่อผลปาลมไดรับความรอนจะคายน้ํามัน ออกมา ฉะนัน้ ทางโรงงานจะมีการ Recover เพือ่ ลดการเกิดของเสียในกระบวนการผลิต 15

ซึ่งพลังงานไฟฟาและไอน้ํามันที่ ไดจะถูกสงกลับเปนพลังงานหมุนเวียน ที่สะอาด ใชในสายการผลิตที่ปาลมคอมเพล็กซตอไป โดยปกติแลว ปาลมคอมเพล็กซจะใชไฟฟาอยูท่ี 6.5 เมกะวัตต ฉะนั้นการผลิตไฟฟา ไวใชเองภายในโครงการฯ จึงไมกระทบกับกระแสไฟฟาของการไฟฟาฯ ที่ จะจายใหกับชาวบาน และสวนของ โรงงานไบโอแกส โดยการหมักน้ําเสีย จากกระบวนการสกัดน้าํ มันปาลมและสวนอืน่ ๆ ของโรงงาน ไบโอแกสที่ได จะถูกสงเขาสูกระบวนการผลิตไอน้ํา ลดตนทุนการใชน้ํามันเตาสําหรับ กระบวนการผลิตไอน้าํ เสริมการครบวงจรของปาลมคอมเพล็กซอยางยัง่ ยืน ทัง้ นี้ ในสวนของโรงสกัดปาลมน้าํ มัน จะรับซือ้ ผลปาลมจากชาวบาน ซึ่งสวนหนึ่งจะเปนสวนที่ อาร ดี เกษตร พัฒนาฯ เขาไปสงเสริมแลวเปน จํานวนกวา 700,000 ไร และนํามาเขาสูโรงสกัด เพื่อหีบหอมาเปนน้ํามัน ปาลมดิบ (CPO) โครงการอุตสาหกรรมปาลมครบวงจรหรือทีเ่ รียกวา ปาลมคอมเพล็กซ แหงนี้ จะเริ่มตั้งแตการคัดสรรเมล็ดพันธุปาลมที่ ใหนํ้ามัน มากเพื่อทํา สวนปาลม โรงสกัดน้าํ มันปาลมดิบ โรงกลัน่ น้าํ มันปาลม โรงบรรจ�นาํ้ มันปาลม เพือ่ บริโภค โรงงานผลิตไบโอดีเซล (B100) และมีคลังเก็บน้าํ มันอยูในพืน้ ที่ เดี ย วกั น ทํ าให ล ดต น ทุ น ค า ขนส ง ขณะเดี ย วกั น ก็ นํ า น้ํ า เสี ย ที่ ไ ด จ าก กระบวนการผลิตมาหมักผลิตกาซชีวภาพ รวมทั้งทะลายปาลมก็นํามาเผา ผลิ ตไฟฟ า เพื่ อใช ภ ายในโรงงาน ถื อ ว า เป น การผลิ ต ทุ ก อุ ต สาหกรรม ในหวงโซน้ํามันไวในที่เดียวอยางครบวงจร

GreenNetwork4.0 May-June 2018


GREEN

Article

:+$-< &-9 :!

: "ĉ5 *8

ดร.คมศิลป์ วังยาว (JGSEE)

เมือ่ นึกถึงวิธกี ารกําจัดขยะทีป่ ระเทศไทยใชอยูเ ปนหลัก ทุกคนคงนึกถึงบอขยะ เปนอันดับแรก ซึ่งตามหลักวิชาการจะสามารถแบงออกเปนหลักๆ ไดเปน 2 ชนิด ใหญๆ คือ บอเทกอง (Dumpsite) และ บอฝงกลบมูลฝอย (Landfill) องคกร ปกครองสวนทองถิ่นสวนใหญมักเลือกใชวิธีการกําจัดขยะวิธีนี้ เนื่องจากเปนระบบ ทีม่ ตี น ทุนทัง้ กอสรางและดําเนินงานทีต่ าํ่ การบริหารจัดการทัว่ ไปไมยงุ ยากซับซอน สามารถใชบคุ ลากรระดับกลางในการดําเนินการได รวมถึงสามารถจัดหาเครือ่ งจักร ที่มีในประเทศมาใชงานได อยางไรก็ตาม หากการออกแบบ กอสราง รวมถึงควบคุมการดําเนินงาน กําจัดขยะไมดีพอ ก็จะสงผลกระทบโดยตรงกับคนและสิ่งแวดลอมรอบ บอขยะได ปญหาสวนใหญที่เกิดขึ้นคือ กลิ่นของขยะสด กลิ่นกาซ ชีวภาพที่เกิดจากการยอยสลาย กลิ่นนํ้าเสีย การปนเปอนนํ้า ผิวดินและใตดิน และทัศนอุจาด ทําใหปจจ�บัน ภาครัฐ พยายามผลักดันใหเกิดการบําบัดขยะมูลฝอยกอนทีจ่ ะ ถูกไปกําจัดทั้งดวยวิธีการเชิงกล ไดแก การคัด แยกดวยเครื่องจักร วิธีการชีวภาพ ไดแก การทําปุย และการผลิตกาซชีวภาพ วิธกี ารเชิงกล-ชีวภาพ ไดแก การ ทําแหงเพื่อแปลงสภาพขยะสด เปนขยะเชือ้ เพลิง (Refuse Derived Fuel : RDF) รวมถึงวิธกี ารทางความรอน ไดแก การเผาในเตาเผาขยะ การไพโรไลซิส การแกสซิฟเคชัน เปนตน จะเห็นไดวาคนทั่วไป จะมีมุมมองกับบอขยะคอนไปทางเชิงลบเปนสวน ใหญ แตในมุมมองดานพลังงานในการดึงศักยภาพของ การผลิตพลังงานจากบอขยะทั้งที่เปนบอขยะเกาและหยุด ดําเนินการแลว กับบอขยะที่ยังดําเนินการอยู กลับเปนเรื่องที่ นาสนใจ ซึ่งมีโอกาสในการสรางรายไดจากการผลิตพลังงาน รวมถึง โอกาสในการชวยลดปญหาทางดานมลพิษที่เกิดจากการดําเนินงานของ บอขยะได ซึ่งถือไดวาเปนผลประโยชนรวมที่มีตอสุขภาพของคนที่อาศัยอยู รอบๆ บอขยะดวย

ศักยภาพของการผลิตพลังงานจากบอขยะ หากทําใหเห็นภาพงายๆ สามารถมองไปที่การดึงศักยภาพดานพลังงานจาก กาซ ของแข็ง และ ของเหลวจากตัวขยะเอง กาซที่สามารถนํามาใชประโยชนทางพลังงานไดก็คือ กาซชีวภาพที่เกิดจากการฝงกลบ (Landfill Gas) ซึ่งเมื่อขยะมูลฝอย ที่ ถู ก ฝ ง กลบด ว ยวิ ธี ก ารฝ ง กลบและเกิ ด การการย อ ยสลายภายใต ส ภาวะไร อ ากาศ จะทํ าให เ กิ ด ก า ซมี เ ทนประมาณ 50-60% และก า ซ คารบอนไดออกไซดประมาณ 40-50% การนํากาซมีเทนมาผลิตพลังงานไฟฟาเปนทางเลือกที่ดีในการใชประโยชนในรูปพลังงานทดแทน เพราะ นอกจากจะเปนการลดการใชพลังงานจากเชือ้ เพลิงฟอสซิล ยังสามารถลดการปลดปลอยกาซมีเทนออกสูช นั้ บรรยากาศทีเ่ ปนหนึง่ ในกาซเรือนกระจก ไดอีกดวย หัวใจหลักของการผลิตไฟฟาชนิดนี้คือ ปริมาณ Landfill Gas ที่มีความเหมาะสมเพียงพอในการลงทุน ซึ่งปริมาณดังกลาวแปรผัน ตรงกับปริมาณขยะใหมที่ถูกฝงกลบซึ่งในทางปฏิบัติแลวควรมากกวา 300 ตัน/วันขึ้นไป และยังขึ้นกับวิธีการดําเนินการฝงกลบ ทั้งในแงของการ ปดวัสดุกลบทับรายวันและความสูงของขยะในบอฝงกลบ การผลิตไฟฟาโดยใชกา ซชีวภาพจากบอฝงกลบ จะมีการกอสรางระบบรวบรวมกาซชีวภาพ ซึ่งมักใชทอรวบรวมกาซแบบแนวนอนเพื่อหลีกเลี่ยงปญหาน้ําชะมูลฝอย (Leachate) ขังในบอฝงกลบ เมื่อกาซชีวภาพถูกรวบรวมแลวจะถูกสง ไปยังระบบบําบัดขั้นตน กอนนํากาซชีวภาพจากบอฝงกลบสงเขาเครื่องกําเนิดไฟฟาตอไป สําหรับประเทศไทยมีการผลิตพลังงานไฟฟาโดยใช กาซชีวภาพจากบอฝงกลบขยะหลายที่ เชน ที่บอฝงกลบกําแพงแสน บอฝงกลบราชาเทวะ บอฝงกลบพนมสารคาม และบอฝงกลบฮอด 16

GreenNetwork4.0 May-June 2018


สิ่งที่ควรระวังกับการผลิตไฟฟาจาก Landfill Gas คือ การคาดการณ ปริมาณ Landfill Gas ทั้งในสวนของปริมาณและอัตราการเกิดกาซ เนื่องจาก ประเทศไทยมี อิ น ทรี ย ส ารในขยะมู ล ฝอยสู ง ประกอบกั บ สภาพแวดล อ ม ที่เอื้อตอการยอยสลายมาก ดังนั้นจะทําใหเกิด Landfill Gas ในปริมาณที่ คอนขางมาก ในชวงแรกๆ เทานั้น และจะลดลงอยางรวดเร็วหลังจากที่ โครงการหยุดฝงกลบขยะแลว ซึ่งปจจัยดังกลาวจะสงผลกระทบกับความ คุมคาในการผลิตไฟฟาคอนขางมาก ของแข็งที่สามารถนํามาใชประโยชนทางพลังงานไดก็คือ ตัวขยะที่ ถูกเทกองหรือฝงกลบมาแลวในระยะเวลาหนึ่ง จนขยะสวนดังกลาวมีสภาพที่ คอนขางหรือเสถียรอยางเต็มทีแ่ ลว การขุดและการคัดแยกขยะเกาในบอขยะ เพือ่ ใหไดมาซึง่ วัสดุทสี่ ามารถนํามาใชเปน RDF ได ซึง่ ในประเทศไทยสวนใหญ คือ ขยะประเภทถุงพลาสติก เรียกวา การทําเหมืองบอขยะ (Landfill Mining) ในประเทศไทย RDF ที่ ไดจากการทําเหมืองบอขยะสวนใหญจะถูกนําไปใช ทดแทนการใชพลังงานฟอสซิลในอุตสาหกรรมการผลิตปูนซีเมนต โดยความ คุมคาในการลงทุนกอสรางระบบคัดแยกเพื่อใหไดมาซึ่ง RDF นั้นจะแปรผัน ตรงกับปริมาณขยะพลาสติกที่มีคุณภาพและสามารถคัดแยกได กับระยะทาง ระหวางบอขยะกับโรงผลิตปูนซีเมนตเปนหลัก ในการทําเหมืองบอขยะทีผ่ า นมา มีทั้งที่ประสบความสําเร็จและลมเหลว ที่ลมเหลวสวนใหญมักผิดพลาด ในกระบวนการคาดการณปริมาณขยะที่ถูกกําจัด โดยมักใชขอมูลสถิติที่ ไมนาเชื่อถือ ตลอดจนการคาดคะเนปริมาตรฝงกลบอยางหยาบๆ โดยปญหา

ดังกลาวสามารถแกไขไดดวยการทําแผนที่ภูมิประเทศได แตควรรังวัด ดวยเทคนิค UAV Photogrammetry เนื่องจากการเดินสํารวจดวยวิธีการ แบบเกาอาจเกิดอันตรายตอผูทําการรังวัดที่ไมมีประสบการณการทํารังวัด ในบอขยะได รวมถึงการตั้งกลองสํารวจในบอเทกองเปนเรื่องที่ยากมาก เนือ่ งจากขยะไมแนนพอ ซึง่ จะทําใหเกิดความผิดพลาดในการรังวัดได อีกเรือ่ ง ของความผิดพลาดคือการคาดการณคุณภาพของขยะพลาสติกที่นาจะขุด และแยกได โดยสวนใหญจะเปนการสุมขุดเปนจ�ดๆ ไป ซึ่งไมสามารถทํา ในปริมาณทีม่ ากใหครอบคลุมทัว่ ทัง้ พืน้ ที่ได เนือ่ งจากมีตน ทุนดําเนินการสูง แต ในปจจ�บันในประเทศไทยไดมีการนําเทคนิคทางธรณีฟสิกสเขามาใช ในการศึกษาคุณลักษณะของขยะมูลฝอยที่ถูกเทกองหรือฝงกลบแลว ทําให สามารถชวยคาดการณคุณลักษณะรวมถึงบริเวณที่เหมาะสมของบอขยะ ในการทําเหมืองบอขยะได สวนของเหลวทีส่ ามารถนํามาใชประโยชนทางพลังงานไดกค็ อื นาํ้ ชะ มูลฝอย ซึ่งสามารถแยกออกเปนน้ําชะมูลฝอยสด (Fresh Leachate) ซึ่งมี คา COD สูงมากถึง 100,000-300,000 mg/l กับน้ําชะมูลฝอยเกาซึ่งมีคา COD ต่ําลงมา ที่ผานมาในประเทศไทยไดมีการนําน้ําชะมูลฝอยมาผลิต กาซชีวภาพโดยกระบวนการแบบไรอากาศ (Anaerobic Digestion) ทั้งจาก น้ําชะมูลฝอยเกาดวยการนําเขาไปในระบบ Covered Lagoon กับการนํา นาํ้ ชะมูลฝอยสดเขาไปในระบบ Continuous Stirred-tank Reactor (CSTR) ซึ่งทั้งสองระบบก็สามารถใชงานไดและไมซับซอน ระยะเวลาของการบําบัด น้ําชะมูลฝอยในระบบทั้งสองยังคงใชเวลานานกวาระบบอื่น ซึ่งใน อนาคตคาดวาประเทศไทยนาจะนําวิธกี ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากกวา มาใชในการผลิตกาซชีวภาพจากระบบบําบัดน้ําชะมูลฝอยตอไป อยางไรก็ตาม จะเห็นไดวา การนํานาํ้ ชะมูลฝอยมาใชประโยชนทางดาน พลังงานจะไดมาจากบอฝงกลบทีม่ กี ารออกแบบระบบรวบรวม และ บําบัดน้ําชะมูลฝอยแลวเทานั้น ในระบบเทกองจะมีความเปนไปได ในการผลิ ต พลั ง งานจากก า ซชี ว ภาพโดยใช น้ํ า ชะมู ล ฝอยที่ ต่ํ า เนื่องจากไมมีระบบรวบรวมน้ําชะมูลฝอยทั้งสวนที่ยังสดและเกา

ทีก่ ลาวมาแลวขางตน จะเห็นไดวา บอขยะทัง้ ทีเ่ ปบบอเทกองและบอฝงกลบ ถือวาเปนแหลงกักเก็บเชือ้ เพลิงจํานวนมหาศาล และมีราคาถูกแหลงหนึ่งที่ไมควรถูกมองขามหากมีการใชประโยชนไดจริงนอกเหนือจากมิติดาน Waste to Energy แลว ผลของ การดําเนินกิจกรรมตางๆ หากทําไดครบทั้งหมดจะสามารถสะทอนออกมาในมิติของ Waste to Material และ Waste to Land ไดอกี ดวย ซึง่ จะทําใหเกิดผลประโยชนรว มกันระหวางบอขยะทัง้ ทีเ่ ปนของรัฐและเอกชน ประชาชนทีอ่ าศัยรอบๆ บอขยะ รวมถึง ผูใชเชื้อเพลิงและพลังงาน ความเปนไปไดในการใชประโยชนจากทรัพยากรดังกลาวเพื่อการผลิตพลังงาน ทั้งจาก Landfill Gas ขยะที่ถูกฝงกลบและสามารถแปลงเปน RDF ได รวมถึงน้ําชะมูลฝอย จําเปนตองพิจารณาถึงรายละเอียดในเชิงปริมาณ และคุณภาพเปนรายพื้นที่ไป ไมวาจะเปนปริมาณขยะ ลักษณะภูมิประเทศของบอ อายุของขยะ องคประกอบขยะที่ถูกกําจัด คุณลักษณะของน้ําชะมูลฝอย มาใชประกอบการออกแบบ กอสราง และดําเนินงานดาน Waste to Energy ดวย

17

GreenNetwork4.0 May-June 2018


GREEN

Building กองบรรณาธิการ

D&<L)#+82< <(:& :+G Ċ&-9 :!

G!"Ċ:!E-85: :+ Ċ/* ĭŖōŚŏš ĩŝŌőŜ “โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชไฟฟาในอาคารสํานักงานและบาน ที่อยูอาศัยดวยระบบตรวจวัดการใชไฟฟาแบบออนไลนและการควบคุมโหลดไฟฟา” ไดทําการศึกษาวิจัย พัฒนา และทดสอบระบบตรวจวัดการใชพลังงานไฟฟาและกําลัง ไฟฟาของเครือ่ งจักรและอุปกรณไฟฟาในอาคารสํานักงานและทีอ่ ยูอ าศัย โดยไดมกี าร พัฒนาระบบศูนยจดั การพลังงาน (Energy Management System : EMS) เพือ่ ทําหนาที่ เปนศูนยกลางในการบริหารจัดการการใชไฟฟา อาทิ การวัดปริมาณการใชไฟฟา การเก็บบันทึกขอมูลแบบตอเนือ่ งโดยใชการสือ่ สารแบบไรสายในการรับและสงขอมูล การวิเคราะหการใชไฟฟาและประสิทธิภาพพลังงาน และการแจงเตือนและรายงานผล แบบออนไลน ผศ. ดร.อนุชา พรมวังขวา อาจารยประจําภาควิชาเครือ่ งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม กลาววา งานวิจัยดังกลาวเปรียบเสมือนการตรวจสุขภาพตึก ดวยวิธีที่เรียกวา Energy Audit โดยการเขาไปตรวจสอบการใชพลังงานและอุปกรณ เครื่องใชไฟฟาดวยวิธีบริหารจัดการควบคุมระยะไกลแบบออนไลนและการควบคุม โหลดไฟฟา ที่ตรวจวัดควบคุมทั้งอุณหภูมิและระดับความชื้นใหมีความพอดี สามารถ เปลี่ยนอาคารหรือบานใหอยูสบายพรอมกับประหยัดพลังงานได นําไปสูการเปน Smart Home และ Smart Building ที่ผานมาโครงการดังกลาวไดทดลองเพิ่ม ประสิทธิภาพการใชพลังงานในอาคารขนาดกลางและขนาดใหญ โดยกลุมเปาหมาย คือ อาคารสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม สําหรับอาคารของ สนพ. นั้น มีการใชไฟฟา 3.2-3.3 ลานบาทตอป โดย 60% จะอยูในสวนของระบบปรับอากาศขนาดใหญ หรือทีเ่ รียกวา Chiller ระบบคอมพิวเตอร

เมื่ อ บ า นหรื อ อาคารสํ า นั ก งานได รั บ การ ออกแบบโดยไม เ อื้ อ อํ า นวยต อ การประหยั ด พลังงาน ทําใหเกิดปญหาการสิ้นเปลืองพลังงาน สงผล กระทบตอภาระคาใชจายดานพลังงานที่สูงขึ้น “โครงการ ปรับปรุงประสิทธิภาพการใชไฟฟาในอาคารสํานักงานและบาน ทีอ่ ยูอ าศัยดวยระบบการตรวจวัดการใชไฟฟาแบบออนไลนและการ ควบคุมโหลดไฟฟา” โดยการสนับสนุนของ กองทุนเพื่อสงเสริม การอนุรักษพลังงาน สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ซึ่งเปน โครงการวิจัยออกแบบ พัฒนา สรางอุปกรณ เพื่อผลักดัน ใหงานวิจัยสามารถตอบโจทยการใชงานไดจริงอยางมี ประสิทธิภาพ อันเปนการชวยแกปญหาดังกลาว ไดเปนอยางดี

20% และระบบแสงสวาง 7.7% เปาหมายของอาคาร สนพ.คือการปรับปรุงระบบ ปรับอากาศ ระบบแสงสวาง การดําเนินการใชงบประมาณ 1.6 ลานบาท โดย Energy Audit เริ่มตั้งแตเปลี่ยนหลอดตะเกียบเปนหลอดแอลอีดี ติดตั้ง Motion Sensor Comfort Zone จํานวน 100 จ�ด รวมไปถึงการสรางสมดุลของลมและน้ํา ทายทีส่ ดุ หลังจากตรวจเช็กสุขภาพตึก พรอมทัง้ ทําการฉีดยาใหตกึ ชวยใหอาคาร ของ สนพ.สามารถประหยัดพลังงานประมาณ 3.3 แสนบาทตอป ในขณะทีอ่ าคาร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม จะตางกับอาคาร สนพ. นั่นก็คือ เครื่องปรับอากาศจะเปนขนาดเล็ก การดําเนินการใชงบประมาณ 6 แสนบาท เริ่มตั้งแตปรับเปลี่ยนหลอดไฟแอลอีดี ควบคุมเครื่องปรับอากาศ ติดตั้ง Motion Sensor สงผลประหยัดไดถึง 5 หมื่นบาทตอป สวนการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานในบานนั้น ยังไมคอยคํานึงถึง มากนั ก แต ล ะบ า นส ว นใหญ มั ก จะคุ น เคยกั บ เรื่ อ งความปลอดภั ย มากกว า (Security) โดยการสัง่ การและควบคุมผาน Smart Phone การตรวจเช็กอุณหภูมิ ความชื้น การเปด-ปดไฟ ลาสุดมีบานที่เขารวมแลวจํานวน 20 หลัง มีการติด Power Meter ควบคุมระบบปรับอากาศ จํานวน 3-5 ชุด แตสําหรับการติดตั้ง Power Meter จะขึ้นอยูกับขนาดของบานแตละหลังดวย ลาสุดโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชไฟฟาในอาคารสํานักงานและ บานทีอ่ ยูอ าศัยดวยระบบตรวจวัดการใชไฟฟาแบบออนไลนและการควบคุมโหลด ไฟฟา ไดจดสิทธิบัตรตอยอดระบบเพื่อนําไปใชในโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความ ตองการใชพลังงานสูงตอไป

ผศ. ดร.อนุชา พรมวังขวา 18

GreenNetwork4.0 May-June 2018


5/:!= &9 *:

GREEN

Hotel กองบรรณาธิการ

+=25+č E5! č 2#:

เพราะสิ่งแวดลอมเปนสิ่งที่เกื้อกูลตอการ ดํารงชีวติ ของมนุษย อวานี พัทยา รีสอรท แอนด สปา จึงใหความสําคัญในเรื่องของสิ่งแวดลอม การเพิ่มขึ้นของ พื้นที่สีเขียว โดยโรงแรมมีการปลูกตนไมที่หาไดงายในทองถิ่น มีการใชประโยชนโดยการนําตนไมมาตกแตงพื้นที่ภายในโรงแรม การขยายกลาไมเพื่อเพาะปลูกในโรงแรม ทั้งยังปลูกตนไมเพื่อทดแทน ตนไมที่หมดอายุขัย พื้นที่จึงลอมรอบไปดวยตนไมเขียวชอุม โรงแรมอวานี พัทยา รีสอรท แอนด สปา ตัง้ อยูก ลางเมืองพัทยา สามารถ สัมผัสทัศนียภาพของชายหาดเมืองพั ทยาที่สวยงาม ทามกลางบรรยากาศที่เงียบสงบ และเปนสวนตัว โรงแรมมีพื้นที่ทั้งหมด 11 ไร พื้นที่ใชสอยประมาณ 17,600 ตร.ม. พื้นที่ ตัวอาคาร 6,345 ตร.ม. คิดเปน 36% พื้นที่สระวายน้ํา ทางเดิน พื้นที่วาง 2,392.6 ตร.ม. คิดเปน 13.6% พื้นที่สีเขียว สระบัว และทางเดินในสวน 8,862.4 ตร.ม. คิดเปน 50.4% พนักงาน ถือเปนกลไกสําคัญอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอม ฉะนัน้ ทางโรงแรมจึงเนนการปลูก จิตสํานึกใหพนักงานดานพลังงานและสิ่งแวดลอม ผานกิจกรรมการรณรงค อาทิ ใหพนักงานแผนกแมบาน คัดแยกขยะตั้งแตตนทาง สนับสนุนใหพนักงานรวมโครงการเก็บขยะชายหาดทุกครั้งที่ทางเมืองพั ทยา จัดขึ้น และไดจัดเปนโครงการของโรงแรมเองตอเนื่องปละ 2 ครั้ง, ใหพนักงานเปลี่ยนกานสําลี เปนดามไมตามเปาหมายที่จะมีการเพิ่มผลิตภัณฑที่เปน มิตรตอสิ่งแวดลอมเพิ่มขึ้น ภายในป พ.ศ. 2560 โดยการปรับเปลี่ยนใชกับหองพักประเภท AVANI Garden Plus และลดจํานวน กานสําลี ใหเหลือ 3 ชิ้นตอหอง และปรับใชกับหองน้ําในสวนของหองออกกําลังกาย เปน 10 ชิ้นตอวัน, ทุกวันที่ 1 และ 15 ของทุกเดือนจะปรับเปลี่ยนเมนูอาหาร ในหองอาหารพนักงานใหเปนเมนูปลอดขยะ เชน ขาวมันไก ขาวไขเจียว และ อาหารจานเดียวอืน่ ๆ, รณรงคประกวดคําขวัญเพือ่ การประหยัดนา้ํ ประหยัดไฟ และลดการใชขยะ และมีการมอบรางวัลใหแกผูที่ชนะการประกวด เพราะขยะเปนสิ่งที่กอใหเกิดปญหาทางดานสิ่งแวดลอม ทางโรงแรมจึงมีการ จัดการขยะโดยเฉพาะขยะอินทรีย ดวยการแยกขยะที่เปนเปลือกผลไมเพื่อทําน้ํา EM สําหรับ ใชเปนปุย สงมอบใหวดั และกระจายสูช มุ ชนตอไป เพือ่ เปนการลดจํานวนขยะ ทางโรงแรมจึงเลือก ทีจ่ ะตกแตงสถานทีโ่ ดยใชไมประดับทีป่ ลูกในกระถางและพืชผักทีห่ าไดในทองถิน่ เลือกใชวสั ดุธรรมชาติ ที่ยอยสลายได จัดมุมเครื่องดื่มและอาหารวางใหผูเขาประชุมบริการตนเอง ใชภาชนะที่คงทนถาวรและ สามารถนํากลับมาใชไดใหมแทนวัสดุจําพวกโฟม พลาสติก หรือกระดาษ สงเสริมการใชผาแทนกระดาษ ทั้งในหองครัวและหองอาหาร จัดใหมีภาชนะแยกเศษอาหาร เครื่องดื่มเพื่อสะดวกตอการไปใชประโยชนหรือกําจัด มีการใชกระดาษซา้ํ ภายในสํานักงานแตละแผนก มอบหรือบริจาคสิง่ ของทีเ่ ลิกใชงานแลวของโรงแรมใหแกองคกรสาธารณะ ทองถิ่น และรวบรวมฝาขวดอะลูมิเนียมเพื่อนําไปบริจาคสําหรับการทําขาเทียม หรือแมแตการรวบรวมขยะเพื่อรอการเก็บ ของเทศบาลหรือผูรับจางในทองถิ่นกอนนําไปกําจัดอยางเหมาะสม ทําพันธสัญญาความรวมมือ โครงการเพิ่มมูลคาขยะอินทรีย และตอยอด การเพิ่มพื้นที่สีเขียวกับหนวยงานราชการ วัด และชุมชนในจังหวัดชลบุรี ซึ่งใชประโยชนจากการทิ้งเศษอาหารภายใน สถานประกอบเพื่อนํามาแปรรูปและใชใหเกิดประโยชนสูงสุด สวนดานการจัดการพลังงานภายในโรงแรมนั้น เบื้องตนมีการติดระบบเซ็นเซอรในหองล็อกเกอรหญิงและชายเพื่อลดการใชไฟในชวงที่ ไมมีการใชงาน ดวยการเปดไฟเพียง 1 ดวง ชวยประหยัดคาไฟประมาณ 2,000 บาทตอเดือน รวมไปถึงปรับเปลี่ยนหลอดไฟประหยัดพลังงาน ในหองประชุม หองพัก และพืน้ ทีส่ าธารณะเพือ่ ลดการใชพลังงาน จากสิง่ ทีท่ าํ พนักงานถูกปลูกฝงดังกลาวทําใหพนักงานเห็นผลประโยชนทเี่ กิดกับตัวพนักงาน และรวมมือเปนอยางดี ในการประหยัดคาใชจายภายในโรงแรม ทั้งยังเปนการปลูกจิตสํานึกเพื่อสง ไปยังครอบครัวของพนักงานเอง จากการวิเคราะหและประเมินผลการใชไฟฟาที่มีประสิทธิภาพ อัตราการใชพลังงานไฟฟาตอแขก ที่ใชบริการในป พ.ศ. 2560 เฉลี่ยอยูที่ 26 หนวยตอคน ซึ่งอัตราการใชพลังงานไฟฟาของแขกลดลงถึง 7 หนวยตอคน เมื่อเทียบจากป พ.ศ. 2555 เฉลี่ยอยูที่ 33 หนวยตอคน

ĉ/*F- #+83*9 &-9 :! - #ď 3:2<L E/ -Ċ5)

พลังงานและสิง่ แวดลอมเปนปจจัยสําคัญตอการดํารงอยูข องมีชวี ติ อวานี พัทยา รีสอรท แอนด สปา มุงมั่นจะเปนหนึ่งในองคกรทีล่ ดการใชพลังงานและกาวสูโรงแรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 19

GreenNetwork4.0 May-June 2018


AUTO

Challenge กองบรรณาธิการ

*:!*! čH''ą:

Open Forum: เปดโลกเทคโนโลยียานยนตไฟฟา EP 1: ความ ปลอดภัย เปนโครงการที่จัดขึ้น เพื่อใหมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ ในเรื่องของความเขาใจที่ถูกตองในเรื่องและแงมุมตางๆ ของเทคโนโลยียานยนตไฟฟา สรางเครือขายระหวางภาครัฐและเอกชน ที่สนใจ โดยเริ่มตนจากเรื่องของความปลอดภัยที่เปนปญหาคางคาใจ เชน เกิดการชนกันของรถที่ไมมีคนขับ เสียบปลั๊กรถยนตไฟฟาในบาน แลวเพลิงไหม ซึง่ เปนเรือ่ งทีน่ า กังวล จึงควรจะนําเรือ่ งดังกลาวมาเลา สูก นั ฟง เพื่อความเขาใจที่ถูกตอง วันชัย มีศิริ บริษัท ผูรวมกอตั้งบริษัท วีราออโตโมทีฟ จํากัด กลาววา ในชวง 1-2 ปที่ผานมา ยานยนตไฟฟาไดรับความสนใจ คอนขางสูง ปจจ�บันในประเทศไทยมีรถ BEV (Battery Electric Vehicle) จดทะเบียนในป พ.ศ. 2560 แลวจํานวน 82 คัน ซึ่ง ธิบดี หาญประเสริฐ รองประธานมูลนิธสิ ถาบันพลังงาน เปนรถไฟฟา 100% สวนของ PHEV (Plug-in Hybrid Electric ทางเลือกแหงประเทศไทย กลาววา เทรนดยานยนตไฟฟามาแน Vehicle) จะมีอยูป ระมาณ 8,000-9,000 คัน แตกฎหมายไทย แตมาดวยบริบทที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในทุกๆ 3 เดือน รวมรถทีเ่ ปน Hybrid เติมนาํ้ มัน 100% กับ PHEV เขาดวยกัน 6 เดือน ฉะนั้น การจะจับธุรกิจตองดูจังหวะใหดี อยางเชน ในไมชา จดทะเบียนไปแลว 100,000 คัน จึงทําใหไมมีขอมูลที่แยก ฟลม กรองแสงรถยนตจะถูกแทนทีด่ ว ยกระจกไฟฟา ก็จะทําใหเกิดผลกระทบ ระหวาง PHEV กับรถที่ ใชน้ํามัน ฉะนั้น ประเมินวาใน ตอธุรกิจฟลมติดรถยนต เพราะเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ประเทศไทยตอนนี้มี PHEV ไมเกิน 10,000 คัน ซึ่งถือวา ไมใหโอกาสใครก็ตามในการปรับตัว ฉะนั้น การติดตาม การประเมิน ตองมอง เปนปริมาณที่นอยมาก อนาคต มองเทรนดของโลก รวมถึงจังหวะและบริบทของประเทศไทยวาอยูในตําแหนง ไหน และมองถึงจ�ดแข็งจ�ดออน อภิชาติ ประสิทธิ์นฤทธิ์ กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาราง พ.ร.บ. ภาษีที่ดินและสิ่ง ปลูกสราง กลาววา หากเราเปนคนสังคมเมือง แลวตองเผชิญทามกลางกลุมหมอกควันรถยนต ซึ่งถามีทางเลือกที่ ไมไดล้ําลึก เปนเรื่องที่เกิดขึ้นจริงแลวบนโลกนี้ จ�ดเริ่มตนที่จะทําใหเกิดขึ้น กับเรา มีคําถามตั้งวา “ประเทศไทยเราพรอมหรือยัง ตองใชเวลาเมื่อไรถึงสามารถที่จะมีการนํา รถไฟฟามาใชงานไดในประเทศ” แตคําตอบของคําถามไมนาจะเกิดขึ้นโดยใครคนใดคนหนึ่ง หรือหนวยงานใดหนวยงานหนึ่ง ซึ่งจริงๆ เปนเรื่องสวนตัวของทุกคนที่จะตองหาคําตอบ วาเราตองการอะไร เราอยากเห็นสังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ลูกหลาน มีอากาศที่ดีขึ้น มีการบริหารจัดการพลังงานที่ดีขึ้น นั่นคือ การตอบคําถาม ดร.อมรรัตน แกวประดับ เลขาธิการสมาคมยานยนตไฟฟา กลาววา ขอดีของ การใชยานยนตไฟฟาทั้งในสวนของมลภาวะและพลังงาน หากตองการจะลด มลภาวะ ยานยนตไฟฟาเปนเทคโนโลยีนวัตกรรมอยางหนึ่ง ที่จะเขามาชวย ในสวนของการลดมลพิษ ของเมืองใหญ อีกทั้งทั่วโลกมีนโยบายในการใช รถไฟฟาเพื่อชวยลดมลพิษ กอปรกับยานยนตไฟฟายังชวยในเรื่องของ การประหยัดพลังงาน จากงานวิจัยยังไดยันยืนวา รถยนตที่ ใชน้ํามัน มีการใชพลังงานประมาณ 1.5-2.5 บาทตอกิโลเมตร หากเปลีย่ นเปน ยานยนตไฟฟา จะมีการมีใชพลังงานลดลงเหลือเพียง 0.5-1.5 บาท ตอกิโลเมตร แตอยางไรก็ตาม ตัวเลขดังกลาวยังขึน้ อยูก บั ขนาด ของกําลังรถ แรงมา และจากขอดีทางดานมลภาวะและการ ประหยัดพลังงาน สรางความจูงใจในการนํายานยนตไฟฟา มาใชงาน โดยเฉพาะสําหรับพื้นที่เมืองหลวง รถโดยสาร ขนาดใหญมีความเหมาะสมเปนอยางมากที่จะปรับเปลี่ยน มาใชเปนรถโดยสารไฟฟา แมยานยนตไฟฟาก็ยังถือวาเปน เทคโนโลยี ใหม ราคายังแพงกวารถที่ ใชน้ํามัน 2-3 เทา แตภาครัฐก็ใหการสนับสนุนในเรื่องของ BOI การลดภาษี รวมไปถึงเรื่องของโครงการสรางพื้นฐานอยางสถานีชารจ ยานยนตไฟฟา

)= /:)#-5 (9*D&=* G

20

GreenNetwork4.0 May-June 2018


ตามแผนอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2558-2579 ที่มีเปาหมายในการสงเสริม เพือ่ ใหเกิดการใชงานยานยนตไฟฟาประเภทไฮบริดปลัก๊ อิน (PHEV) และยานยนต ไฟฟาประเภทแบตเตอรี่ (BEV) รวมทั้งสิ้น 1.2 ลานคัน ภายในป พ.ศ. 2579 นั้น แตละหนวยงานที่เกี่ยวของไดมีการเตรียมความพรอมในการรองรับยานยนต ไฟฟาแลว โดยเฉพาะการไฟฟานครหลวง จ�มภฏ หิมะเจริญ ผูอํานวยการกองวิจัยและพัฒนาการไฟฟานครหลวง กลาววา กฟน. มีการเตรียมความพรอมเรื่องระบบไฟฟาและความปลอดภัย รองรับสําหรับยานยนตไฟฟาทีจ่ ะเกิดขึน้ ในบานเรา การเริม่ จายพลังงานไฟฟาให เพียงพอตอความตองการ ผานการทดลองตัง้ สถานีชารจ และทดลองใชรถไฟฟา จริง โดยไดนํารถยนตไฟฟาเขามาทดลอง ไดแก Mitsubishi, Nissan Leaf และ BYD พรอมทัง้ ติดตัง้ สถานีชารจแบบ Normal Charge และ Quick Charge เพราะ รถยนตไฟฟามาแนนอน จากการศึกษาและใชงานจริงมา 5-6 ป รวมทัง้ การติดตัง้ สถานีชารจรถไฟฟาที่ กฟน. ยืนยันไดวาพลังงานไฟฟามีความพอเพียงสําหรับ ความตองการใชงานของยานยนตไฟฟา จากขอมูลและการศึกษาของ สนพ. กระทรวงพลังงาน ที่ประมาณการวารถยนตภายในป พ.ศ. 2579 ประเทศไทย จะมีรถยนตไฟฟา ประมาณ 1.2 ลานคัน สวนในเรือ่ งของความปลอดภัย รถยนต ไฟฟาจะมาพรอมกับสายชารจ โดยทั่วไปสายชารจจะมีขนาด 3.3-3.5 กิโลวัตต จากการศึกษาขอมูลการชารจแบบ Normal Charge ตามบาน กินไฟเทากับเครือ่ ง ทํานาํ้ อุน 1 เครือ่ ง ประมาณ 13-16 แอมป ชารจประมาณ 4-5 ชัว่ โมง จะกินไฟ คงที่ตอเนื่อง ประมาณ 10 แอมป ฉะนั้นจึงไมควรจะใชกับวงจรไฟปกติ แตจะ ตองติดตั้งวงจรเฉพาะ ไมฉะนั้นอาจจะเกิดเหตุเพลิงไหมขึ้นได สําหรับสายชารจที่แถมมากับรถไฟฟา มีปลั๊กเสียบเขากับเตาเสียบที่บาน แต ในมาตรฐานจะไวใชสําหรับกรณีฉุกเฉิน (Emergency charge) ซึ่งหาก นํามาชารจในบานก็ตองใชปลั๊กพวง ซึ่งการชารจทิ้งไวนานๆ ก็จะเปนอันตราย เกิดเพลิงไหมได และเพื่อความปลอดภัยในการใชยานยนตไฟฟา ผูบริโภคเอง ควรศึกษาระบบยานยนตไฟฟาใหเขาใจ และควรใหผชู าํ นาญการใหคาํ แนะนําเรือ่ ง การติดตั้งจ�ดชารจไฟเพื่อความปลอดภัย

มานิตย กูธนพัฒน สภาวิศวกร กลาววา สภาวิศวกรมีความจําเปน ที่จะตองเปดสาขาเพิ่ม มีวิศวกรสาขาที่ไมควบคุมเพิ่มเติมอีก 17 สาขา ซึ่งมี วิศวกรรมยานยนตอยูนั้นดวย เราเตรียมความพรอมเรื่องนี้ และที่ผานมาหลาย มหาวิทยาลัยที่ผลิตบัณฑิตดานยานยนตมาตั้งแตตนแลว แตนั่นเพื่ออุตสาหกรรม ยานยนต เพราะฉะนั้นสถาบันการศึกษาตองมีการปรับวิธีการผลิตบัณฑิตเพื่อให

21

สมเดช แสงสุรศักดิ์ ผูเชี่ยวชาญ/ประธานอนุกรรมการวิชาการยานยนต ไฟฟา สมอ. ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ กลาววา พื้นฐานของมาตรฐานหลักๆ จะประกาศเรื่องของความปลอดภัย มาตรฐานที่ แตละประเทศยอมใหบังคับอิงพื้นฐานความปลอดภัยกอนเสมอ สําหรับ Mode ในการชารจรถไฟฟา ในมาตรฐานระบุไว อยูใน มอก.61851-1 : 6.2 Mode สวนของ Mode 1 จะเปนการเสียบโดยตรง ดานหนึ่งเสียบเขาบานอีกดาน เสี ย บเข า รถ ไม มี ว งจรป อ งกั น ซึ่ ง หลายประเทศประกาศห า มใช ร วมทั้ ง ประเทศไทย ในขณะที่ Mode 2 ความปลอดภัยยอมรับไดมากขึ้น รวมถึงเรื่อง ของพลังงานก็จะมากขึ้น โดยจะมีกลองตรงกลางควบคุมการจายไฟ เปน Mode ที่ ใ ช สํ า หรั บ ในกรณี ฉุ ก เฉิ น เท า นั้ น ด า นที่ ติ ด กั บ รถจะเป น เต า เสี ย บของรถ ตรงกลางจะมีกลองควบคุมคอยตัดไฟ กลองดังกลาวจะบังคับวากินไฟไดกแี่ อมป สวนดานที่เสียบกับเตาเสียบบาน ใน มอก. ระบุชัดเจนวาตองเปน เตาเสียบแบบ มอก.166 ซึ่งเปนขาเสียบทีแ่ ข็งแรงและปลอดภัย และกลองควบคุมตรงกลางนัน้ มอก. ไดระบุวา หามเกิน 8 แอมป เนื่องจากไมไดตองการใหใชอันนี้เปนหลัก จะใชเพียงกรณีฉุกเฉิน หากจะใชรถยนตไฟฟาเปนหลักตองเปนตู ที่เรียกวา Mode 3 แลวตอวงจรเขาวงจรไฟฟาตางหาก ซึ่งเปนกรณีที่ ใชไฟ Normal, Charge Quick Charge ที่เปน AC และ 3 เฟส สวน Mode 4 เปนเรื่องของการ จาย DC ซึ่งจายกระแสมาก โดยหลักๆ จะใชตามที่สาธารณะ

ตอบโจทยการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีดังกลาว เปลี่ยนจากเทคนิค ยานยนตหรือวิศวกรรมยานยนต โดยเพิ่มเรื่องของไฟฟาเขาไปในวิศวกรรม ยานยนต ซึ่งอาจจะแยกตางหากจากเครื่องกลออกไป เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนตไฟฟากําลังเติบโตในประเทศไทย ฉะนั้นความตองการทางดานบุคลากร เพื่อตอบสนองความตองการของ อุตสาหกรรมก็จะสูงขึ้นเรื่อยๆ และในชวงเปลี่ยนผาน จะมีนักศึกษากําลัง เขาสูตลาดแรงงาน ที่ตองการความรูทางดานยานยนตไฟฟาเพิ่มเติม เพื่อ ใหทํางานกับอุตสาหกรรมได และรวมถึงความเขาใจที่ทางภาคประชาชน ไดสงเสริมใหมีความเขาใจเรื่องยานยนตไฟฟามากขึ้น จากการเสวนาครั้งนี้ โดยเฉพาะเรื่องของความปลอดภัยในการใช ยานยนตไฟฟา ซึง่ หมายรวมถึงความพรอมของโครงสรางพืน้ ฐานทีเ่ ปนปจจัย สนับสนุนยานยนตไฟฟาดวย ทัง้ ความเพียงพอของพลังงานไฟฟา สถานีชารจ รถไฟฟา รวมถึงมาตรฐานของยานยนตไฟฟา ทีท่ าํ ใหทราบวายานยนตไฟฟา ไมใชเรื่องของอนาคตอีกตอไป และการใชยานยนตไฟฟาก็ไมใชเรื่องยุงยาก แตเปนเรื่องใหมสําหรับประเทศไทยที่ตองเรียนรู

GreenNetwork4.0 May-June 2018


GREEN

People กองบรรณาธิการ

Solar D หรือ บริษัท โซลาร ดี คอรปอเรชัน จํากัด ดําเนินธุรกิจ บริการดานระบบผลิตไฟฟาบนหลังคา (Solar PV Rooftop System) ที่ ติดตัง้ บนอาคาร บานเรือน โรงงาน และระบบผลิตพลังงานจากแสงอาทิตย ขนาดใหญอยางโซลารฟารม ดวยเล็งเห็นวา พลังงานแสงอาทิตยเปน พลังงานสะอาดกอใหเกิดประโยชนมากมาย และโดยเฉพาะ 4-5 ป ที่ผานมา ราคาของโซลารเซลลไดลดลงจากในอดีต 60-70% รวมถึง เทคโนโลยีตางๆ ที่ใชในการผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยสูงขึ้นมาก

< 9M F -:+č+A' K5#

@Ċ) ĉ: +< 3+?5ħ Solar D มองพลังงานไทยตองกระจายการผลิต สัมฤทธิ์ สิทธิวรานุวงศ กรรมการผูจ ดั การ บริษทั โซลารดี คอรปอเรชัน จํากัด กลาววา พลังงานในประเทศไทยคอนขางจะเปนระบบแบบ Centralize หรือการ รวมศูนย ในขณะที่สินคาอุปโภคบริโภคก็จําเปนตองพึ่งพาภาครัฐ คนก็จะพึ่ง นโยบายของรัฐตลอดเวลา ธุรกิจที่ผลิตพลังงานก็ไมมีบริษัทในประเทศ เมื่อเปน เชนนี้เราก็ตองเกิดการกระจายรายได เราตองเอารายได 20% ไปจายคาพลังงาน ยกตัวอยางคอนเซปตของตางประเทศ ในประเทศทีเ่ ปนประชาธิปไตยสูงๆ จะสงเสริม ใหคนในประเทศผลิต ดวยการผลิตสิ่งที่จําเปนดวยตัวเอง จึงมีการออกจากระบบ ศูนยกลาง มาเปน Decentralize คือการกระจายตัวของการผลิต ซึง่ การผลิตไฟฟา บนหลังคาบานไมสามารถกระทําโดยกลุมคนเล็กๆได แตตองกระจายไปสูบานคน แตละหลัง ดังนั้นจึงเกิดการกระจายตัวมากขึ้น จึงเปนที่มาของ D-centralize แต เราก็ไมไดมี D แคตัวเดียวเพื่อกระจายตัว เพราะเห็นวาพลังงานที่ผลิตเปนระบบ การผลิตแบบโดยประชาชน ของประชาชน และเพื่อประชาชน อันจะนําไปสูคําวา Democracy คือประชาธิป ไตยในพลังงาน อยางไรก็ตาม เราก็ ไมไดคํานึงแค การผลิตอยางเดียวเพราะการนําไปอยูบนบานซึ่งเปนที่พักอาศัยที่มีความสําคัญ โดยเฉพาะภาพลักษณของบาน จึงเกิด D ตัวที่ 3 คือ Design นั่นก็คือออกแบบให เขากับบาน ไมแปลกแยก ไมทําใหบานมีปญหา ภาครัฐกับการสงเสริมนโยบายโซลารรูฟท็อป สัมฤทธิ์ กลาววา ถามองจากอดีตมาปจจ�บัน ถือวา กาวหนาคอนขางเยอะ จากอดีตที่เปนโซลารฟารม ลงมาสู โซลารรูฟท็อป เพราะสามารถทําใหทุกๆ คนเขาถึงไดงาย มี โอกาสติดตั้งไดมากขึ้น และชวงนี้เปนชวงแรกของนโยบาย โซลารรูฟท็อปบนหลังคาบาน ทําใหกฎเกณฑตางๆ ยังมีเงื่อนไขที่จํากัดเยอะพอสมควร เชน เมื่อ ติดตัง้ โซลารรฟู ท็อปบนหลังคาแลวบานจะกลาย เป น โรงงานไหม กรมอุ ต สาหกรรมบอกว า เมื่อมีเครื่องจักรผลิตไฟฟามันก็ตองกลายเปน โรงงาน พอเปนโรงงานก็จะเกิดกระบวนการ ที่ตองขออนุญาตโรงงานตามมา ซึ่งจะตอง ไปขออนุญาตทําโรงงานที่บานสวยๆ มันก็เปน

22

เรือ่ งที่ไมปกติ หรือแมกระทัง่ การจํากัดระยะเวลา หรือ ปริมาณที่คอนขางจํากัด คือจะมีโควตา รีบยื่นขอโควตา ซึ่งมองวาไมกระจายมากเทาไร ถาจะติดตั้งเราตองเตรียม เอกสารจํานวนมากมาย ตองมีเวลา แตก็ยังมองในแงดีวาอนาคต ภาครัฐจะดําเนินนโยบายนี้ตอไปดวยกฎเกณฑที่ผอนปรนมากขึ้น ถา เทียบกับในอาเซียนเรากาวหนามากๆ แลว แตถาเทียบกับทั่วโลก เขา กาวหนามาหลายปแลว เราอาจจะเพิ่งเริ่ม เทากับเราก็ไมถึงกับดีมากๆ แตก็ ไมถึงกับแย ยังอยูในกระบวนการที่จะเดินไปถึงจ�ดนั้น ติดตั้งโซลารรูฟท็อปคุมคาเพียงไร ถาถามผมเอง ผมก็จะตอบไปเลยวา “คุม คาแนนอน” ถามองในเนือ้ ลึกๆ เรา จะมองเห็นความแตกตางระหวางประเทศไทยกับตางประเทศอยางหนึ่ง สําหรับ ตางประเทศ การที่ขายไฟฟา ขอเทาความกอนวา ระบบโซลารในอดีตนั้นแพง เพราะคนจะมองทั้งระบบ เชน ผลิตไฟฟาแลวเก็บไวใชกลางคืนดวย เพราะไมได เชื่อมตอกับระบบสายสงไฟฟา แตหากจะใหครบวงจรตองมีแบตเตอรี่ มีอุปกรณที่ ตองเก็บพลังงานไวใชในยามที่ไมมแี สงแดด สิง่ เหลานีท้ าํ ใหมรี าคาแพงมาก ในอดีต มักนิยมใชตามที่ที่เสาไฟฟาเขาไมถึง เชน บนดอย หรือชนบท เมื่อภาครัฐตองการ สงเสริมมาก เราไมตองขึ้นกับอะไรไดไหม เราตัดแบตเตอรี่ทิ้งเลย ถาในชวงที่เรา ผลิตไฟฟาแลวไมไดใช ก็ขายเขามาในสายสง จึงไมมคี วามจําเปนทีต่ อ งใชแบตเตอรี่ เราก็จายเงินคาไฟฟาไปตามปกติ เพียงแตระหวางที่เขาสายสงเราก็ยังขายไดเงิน เพราะฉะนัน้ บานเราจะมี 2 มิเตอร สวนหนึง่ ทีข่ ายไดเงินมา และสวนที่ใชและจายเงิน ใหการไฟฟา ตรงนี้ทําใหเกิดสวนตางสวนหนึ่ง ซึ่งเปนที่มาของคําวา คุมหรือไมคุม ไฟฟาที่เราใชตามบานเรือน คาไฟจะเสียตอราว 4-5 บาทตอหนวย แตหาก เราผลิตไฟฟาบนหลังคาบานแลวขายไปในโครงการรัฐบาล เราก็จะไดคาไฟคราวๆ หนวยละ 7 บาท ซึ่ง 7 บาท กับ 4 บาทกวา ถือวามีสวนตางพอสมควร ทําใหคน ติดตั้งไดประโยชนจากการขายไปทั้งหมด แลวคอยซื้อมาใช และเมื่อเทียบกับ ตางประเทศที่ ใชระบบ Net Metering เมื่อผลิตไดจะหักลบกับสิ่งที่ ใชไปกอน เหลือเทาไรคอยขายไป ถึงจะไดเงิน 7 บาท ในขณะที่ประเทศไทยใหขายไฟไปกอน เลยในหนวยละ 7 บาท แลวคอยดึงมาใชในราคา 4-5 บาท นโยบายปจจ�บันให ประชาชนคอนขางเยอะ แตจํากัดเรื่องเวลา เมื่อเปดเยอะคนใหความสนใจมากขึ้น ฉะนั้น ราคา 7 บาทอาจจะลดลงตามกลไกตลาด การคืนทุนอยูที่ 8-9 ป ในขณะที่ อุปกรณความสามารถใชได 25-30 ป สําหรับในระยะยาวจะคุมคา สําหรับบาน ที่ติดตั้งแลวไมแนใจวาภายใน 5-10 ป ตองยายหรือขาย ตองคํานึงถึงการโยกยาย ดวย สัมฤทธิ์ กลาว

GreenNetwork4.0 May-June 2018


$-< H''ą: Ċ/*F -:+čD --č H)ĉG ĉD+?L5 G3)ĉ5= ĉ5H#

Great Solar

GREEN

People กองบรรณาธิการ

&+Ċ5)G3Ċ"+< :+ +"/ + Ċ:!F -:+č+A' K5#

การใชไฟฟาที่ผลิตมาจาก “โซลารรูฟท็อป” ในหลาย ๆ ประเทศกลายเปน เรือ่ งปกติไปแลว ไมเวนแมแตประเทศไทยเองที่ไดรบั ความนิยมมากขึน้ เรือ่ ยๆ เพือ่ ใหบาน อาคาร หรือโรงงาน ที่ติดตั้งไดผลิตไฟฟาไวใชเองในเวลากลางวัน ชวย ประหยัดไฟฟาและลดสภาวะโลกรอน ปจจ�บนั การสงเสริมการผลิตโซลารเซลลมมี ากขึน้ โดยเฉพาะในตางประเทศ ความตองการระบบโซลารเซลลคอนขางสูงถึง 80% เชน อเมริกา ญี่ปุน และจีน เกิดเปนแรงผลักดัน กระตุนใหทั่วโลกหันมามองเรื่องพลังงานทดแทน โดยเฉพาะ พลังงานจากแสงอาทิตย ซึง่ จะไมมวี นั หมดไป สวนอนาคตคาดวาจะมีการผลิตและ ติดตั้งโซลารเซลลมากขึ้น จากปจจ�บันการเติบโตของโซลารเซลลอยูที่ 20-30% คาดวาจะเติบโตเพิม่ ขึน้ เปน 60% ในอีก 5 ปขา งหนา ณ วันนีร้ าคาแผงโซลารเซลล ลดลงคอนขางมาก จาก 60-80 บาทตอวัตต เหลือเพียง 30-40 บาทตอวัตต ลดลงเกือบ 60% เมื่อเทียบกับ 2 ปที่ผานมา และจากเดิมคืนทุนในระยะเวลา 10 ป ปจจ�บันเหลือเพียง 6-8 ปเทานั้น สําหรับนโยบายโซลารเซลลของภาครัฐนั้น ยังคงรอความชัดเจนเพื่อให สอดคลองกับระบบที่จะเกิดขึ้นของภาคครัวเรือน ซึ่งหากมีความชัดเจนจะชวย กระตุนใหเกิดการติดตั้งระบบโซลารเซลลในภาคครัวเรือนมากขึ้น สวนของระบบ โรงงาน ซึ่งเปนระบบ Self- Consumption คือการติดตั้ง ผลิตพลังงานไฟฟาและ ใชในครัวเรือน ซึง่ กฎระเบียบไดออกมานานแลวและคอนขางชัดเจน แตยงั ติดปญหา ความยุง ยากเรือ่ งการขออนุญาตจากหลายองคกร อยางเชน การขออนุญาตดัดแปลง อาคาร (อ.1) สําหรับการติดตั้งโซลารเซลล ใบอนุญาตเชื่อมตอเขาระบบจําหนาย ของการไฟฟานครหลวง ใบอนุญาตเชื่อมตอเขาระบบจําหนายของการไฟฟา สวนภูมภิ าค ซึง่ ยังมีการทําเอกสารทีย่ งุ ยาก แตอยางไรก็ตาม หากนโยบายภาครัฐ มีความชัดเจน มั่นใจวาภาคเอกชนมีความพรอม สามารถดําเนินการไดทันที Great Solar แบรนดภายใตบริษัท แวลูเอชั่น เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด ธุรกิจ ที่ ใหบริการดานการประหยัดพลังงานแบบครบวงจร โดยเฉพาะระบบพลังงาน แสงอาทิตย (Solar Cell) ซึ่งใหบริการออกแบบ ติดตั้งโครงการไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตยแบบครบวงจร โดย Great Solar ใหบริการดานระบบโซลารเซลล ตั้งแตการใหคําปรึกษา ออกแบบ สํารวจหนางาน คํานวณเรื่องของประสิทธิภาพ แผงโซลารเซลล ตรวจคาพลังงานและสถานะอุปกรณ ติดตั้งตามมาตรฐาน ตลอดจนการคํานวณโหลดการใชงาน ความคุมทุนของการติดตั้งโซลารรูฟท็อป และจั ด หาอุ ป กรณ ต ามความต อ งการของกลุ ม ลู ก ค า ภายใต สั ญ ญา O&M (Operate And Management) ในรูปแบบการบริการครบวงจร 23

ที่สําคัญโซลารรูฟท็อปยังตองคํานึงความปลอดภัย ฉะนั้น Great Solar จะมีระบบ Remote Monitoring ซึง่ จะสามารถตรวจสอบระบบโซลารจากหนางาน หากระบบเกิดเหตุขดั ของ หรือมีปญ หาเรือ่ งประสิทธิภาพการทํางานของโซลารเซลล สามารถแกไขไดทันที สัมฤทธิ์ ทองรุง กรรมการผูจัดการ บริษัท แวลูเอชั่น เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด กลาววา ที่ผานมาโครงการของภาครัฐสนับสนุนโซลารรูฟท็อปในรูปแบบ Adder โดยใน พ.ศ. 2556-2557 Great Solar ในนาม EPC ไดตดิ ตัง้ ระบบโซลารรฟู ท็อป จํานวน 200 หลังคาเรือน ประมาณ 2 เมกะวัตต และจากนั้นภาครัฐไดปรับ โครงการมาเปนระบบ FiT (Feed-in Tariff) Great Solar จึงมีเปาหมายฐาน กลุมลูกคาเดิมซึ่งเปนกลุมอุตสาหกรรม แต ในขณะนั้นกลุมลูกคาที่เปนโรงงาน อุตสาหกรรมใหความสนใจเรื่องโซลารรูฟท็อปนอย และตั้งแต พ.ศ. 2559-2560 โครงการติดตั้งระบบโซลารรูฟท็อปไปแลว 10 เมกะวัตต นอกจากนี้ยังรับติดตั้ง โซลารฟารม แตจะไมใช EPC โดยตรง จะเปนในรูปแบบ Subcontract ประมาณ 18 เมกะวัตต หัวใจสําคัญของการผลิตไฟฟาจากโซลารรูฟท็อป คือแผงโซลารเซลล เมื่อ ใชงานมาสักระยะหนึ่งควรตรวจสอบ และบํารุงรักษาแผงโซลารเซลล เมื่อเทียบ ประสิทธิภาพแผงโซลารเซลลที่ลางทําความสะอาดเอาฝุนละอองออกกับแผง โซลารเซลลที่ไมไดทาํ ความสะอาดมาแลว 2 เดือน ประสิทธิภาพจะตางกัน 20-30% ฉะนั้นการทําความสะอาดแผงโซลารเซลลจึงมีความสําคัญตอประสิทธิภาพ การผลิตไฟฟา ปจจ�บันปญหาดานโซลารเซลล ที่นาจะมีการแกไข นั่นก็คือ นโยบายการ ขออนุญาตติดตั้งระบบโซลารเซลล ซึ่งยังตองมีหลายหนวยงานเขาไปเกี่ยวของ และในแตละสวนตองใชเวลาในการทําเอกสารคอนขางนาน ทําใหโครงการติดตั้ง โซลารเซลลเกิดความลาชา อยางไรก็ตาม โซลารเซลลยังคงมีความทาทาย โดยเฉพาะในเรื่ องของประสิ ท ธิ ภาพของแผงโซลาร เ ซลล ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ทุ กป จากเดิมประสิทธิภาพอยูท ี่ 10% ปจจ�บนั ประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ เปน 18% โดยมีขนาด ที่เล็กลงแตประสิทธิภาพกลับเพิ่มขึ้น ในราคาที่ถูกลง ทําใหเกิดการแขงขัน คอนขางสูง อีกทั้งยังเปนพลังงานทดแทนที่สามารถใชโดยไมมีวันหมด ทุกคน มองเห็นโอกาสตรงนี้ จึงทําใหคูแขงเพิ่มขึ้น และนอกจากนี้ นโยบายสงเสริม การลงทุน BOI ยังไดขยายจาก พ.ศ. 2560 - 2563 ทําใหความทาทายในการ ติดตั้งโซลารเซลลในภาคสวนของโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น เพราะหาก ไดรับ BOI สามารถลดหยอนภาษีไดถึง 50% นั่นเอง

GreenNetwork4.0 May-June 2018


GREEN

Factory กองบรรณาธิการ

0A!*č#+8 5"+ *! č įĵ

#+9 " D&? 5 L D#-= * L ! 2Aĉ+8"" 9 :+&-9 :!5*ĉ: *9L *?! ปจจ�บนั ภาคอุตสาหกรรมยังถือวาเปนภาคธุรกิจทีม่ กี ารใชพลังงานสูงซึง่ ใกลเคียง กับภาคขนสง เนือ่ งดวยประเทศไทยเปนประเทศกําลังพัฒนาทีอ่ ยูในชวงการขยายตัว ทางเศรษฐกิจอยางตอเนือ่ ง สงผลใหการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรมสูงขึน้ อยาง ตอเนือ่ งเชนกัน แตอยางไรก็ตาม เมือ่ ทัว่ โลกตระหนักถึงเรือ่ งพลังงานและสิง่ แวดลอม ภาคอุตสาหกรรมจึงหลีกเลีย่ งไมไดทตี่ อ งเปลีย่ นมาสูโ หมดการจัดการพลังงานอยาง มีประสิทธิภาพ เพื่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมและสิ่งแวดลอม ศูนยการผลิตรถ GM จำหนายในประเทศและสงออก บริษทั เจนเนอรัล มอเตอรส ประเทศไทย จํากัด (GM) ตัง้ อยูในจังหวัดระยอง เปนศูนยการผลิตรถยนตที่ ไดรับการออกแบบตามศูนยการผลิตรถยนตตนแบบ ของ เจนเนอรัล มอเตอรส ทีท่ นั สมัยทีส่ ดุ ในประเทศไทยและดีทสี่ ดุ แหงภูมภิ าคเอเชีย แปซิฟก ดวยเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย โดยดําเนินการผลิตรถสําหรับจําหนาย ในประเทศและสงออกภายใตแบรนดเชฟโรเลตและโฮลเดน ที่สําคัญ GM ยังมุงมั่น พัฒนาระบบการจัดการพลังงานอยางเปนระบบและยั่งยืน โดยนําระบบการจัดการ พลังงานตามกฎหมายและมาตรฐานระบบจัดการพลังงาน ISO 50001 : 2011 มา ประยุกตใชปรับปรุงภายในองคกร ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความมุงมั่นในดานการใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพและการลดกาซเรือนกระจกในกระบวนการผลิต GM GMS เปนระบบการผลิตที่ใชใน GM ทั่วโลก ซึ่งเปนไปตาม หลักการผลิตแบบลีน (Lean Production) โดยปราศจากของเสีย อั น มี อ งค ป ระกอบหลั ก ได แ ก การมี ส ว นร ว มของพนั ก งาน

24

การพัฒนาอยางอยางตอเนือ่ ง การสรางมาตรฐาน การทํางานในระยะเวลาสั้น และการสรางคุณภาพ ในกระบวนการผลิต โดยเปาหมายการเปนศูนยการผลิต สําหรับการสงออกของโลก สงเสริมพนักงานทุกระดับมีสว นรวมอนุรักษพลังงาน พนั ก งานถื อ เป น ส ว นสํ า คั ญ ที่ ทํ าให ก ารจั ด การทางด า นพลั ง งาน เปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพ ฉะนั้น GM มีนโยบายสงเสริมใหพนักงาน ทุกระดับเขามามีสวนรวมในการอนุรักษพลังงาน ความปลอดภัย และการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยแบงเปน 4 ระดับ ไดแก องคกรโรงงานยอย กลุมยอย และตัวบุคคล สําหรับ 2 ระดับแรก มุงเนนการมีสวนรวมในระดับ ผูบริหารและหัวหนางานจากทุกฝายในการประชุมกระบวนการปรับปรุง สมรรถนะดานพลังงาน (Energy Improvement Process Meeting : EIP Meeting) และการทํา Energy Workshop ในแตละพื้นที่ ที่มีนัยสําคัญดาน พลังงาน เพื่อใหทุกฝายไดมีสวนรวมนําเสนอแนวคิดใหมและแลกเปลี่ยน แนวความคิดซึง่ กันและกัน และสนับสนุนกิจกรรมทีส่ รางความรู ความตระหนัก และเขาใจถึงการอนุรักษพลังงานอยางถูกตองใหแกพนักงาน เชน การติด สติกเกอรและปายรณรงคการประหยัดพลังงานตางๆ ทีอ่ ปุ กรณเครือ่ งใชไฟฟา การสํารวจการสูญเสียพลังงานหลังเลิกงาน (Energy Patrol) เพือ่ ใหพนักงาน ไดรับทราบขอมูลและมีความตระหนักในการประหยัดพลังงาน สวนที่เหลือ อีก 2 ระดับ มุงเนนการมีสวนรวมโดยตรงจากพนักงานระดับปฏิบัติการ ผานกิจกรรม ขอเสนอแนะ (Suggestion) กิจกรรมการยกยอง (Recognition) และการปรับปรุงอยางตอเนือ่ ง (Kaizen) ซึง่ เปนชองทางใหพนักงานไดนาํ เสนอ แนวคิดการปรับปรุงและความคิดสรางสรรคทดี่ าํ เนินการไดจริงทัง้ ในรูปแบบ ของการทํางานเปนทีมงานและโดยสวนตัวบุคคล

GreenNetwork4.0 May-June 2018


จัดการพลังงานผานมาตรการที่ใชเงินทุนและไมใชเงินทุน ภายใตนโยบายพลังงานที่แสดงความมุงมั่นที่จะลดการใชพลังงานของบริษัทฯ ลงอยางตอเนื่อง ศูนยการผลิตดังกลาวยังดําเนินระบบการจัดการพลังงาน (EnMS) ซึง่ ชวยให GM สามารถตรวจสอบและ ควบคุมการบริโภคพลังงานของเครื่องจักร ระบบขับเคลื่อนและอุปกรณตางๆ ในแตละขอบเขตไดอยาง มีประสิทธิภาพ โดยไดดําเนินมาตรการอนุรักษพลังงานในชวงป พ.ศ. 2557-2559 ทั้งสิ้น 23 มาตรการ มีมาตรการที่ ไม ใชเงินทุน เชน การหยุดเครื่องจักรในชวงเวลาที่ ไมจําเปนหรือไมไดใชงาน การลด เริ่มเดินเครื่องจักรกอนการผลิต การลดแรงดันอากาศอัดใชงานทั้งโรงงาน การจัดลําดับการทํางานของ เครื่องอัดอากาศ และมาตรการที่ใชเงินทุน เชน การแยกระบบน้ําเย็นระหวางโรงพนสีกับโรงประกอบ เครื่องยนต การขยายขนาดของระบบแลกเปลี่ยนความรอนในโรงพนสี การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบ แลกเปลีย่ นความรอนและการติดตัง้ ตัวแปลง (Inverter) สําหรับเตาอบในโรงพนสี สงผลให GM สามารถ ลดการใชพลังงานลงไดรอยละ 4.85 คิดเปนพลังงานไฟฟา 7.18 GWh และพลังงานความรอน 20.51 TJ หรือคิดเปนคาใชจายดานพลังงานที่ลดลง 33.66 ลานบาท ดวยเงินลงทุน 21.82 ลานบาท สิ่งแวดลอมคือหัวใจสำคัญ GM ไดมีระบบควบคุมและบริหารจัดการของเสียอยางเครงครัดภายใตขอกําหนดของกฎหมาย และมาตรฐานระบบบริหารจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001 : 2004 อยางตอเนื่องจนถึงปจจ�บัน โดยยึด หลักแนวคิดของ 6R (Reject Reduce Reuse Recycle Repair และ Recovery) เพื่อลดการเกิดของเสีย และมลพิษ โดยการควบคุมและคัดแยกขยะ การบําบัดนํ้าเสียกอนปลอยทิ้งออกนอกโรงงาน การควบคุม และตรวจสอบกาซพิษ จากกระบวนการผลิต นอกจากนี้ GM ยังเปลี่ยนพื้น ที่ กวา 1,200 ตารางเมตร ภายในโรงงานใหเปนสวนการเรียนรูพ นั ธุไ มประจําถิน่ เพือ่ ตอกยา้ํ ความมุงมั่นในการสงเสริมสุขภาพลแความปลอดภัยของพนักงาน รวมไปถึงการ ใหความรูกับชุมชนในบริเวณใกลเคียง และกิจกรรมสงเสริมการฟนฟูธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมเพื่อสรางความตระหนักใหแกพนักงานอยางยั่งยืน การจัดการองคความรูและการถายทอดเทคโนโลยี เพื่อใหการจัดการพลังงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความยั่งยืน GM ไดมีการติดตั้งระบบ Energy Monitoring System (EMS) เพื่อติดตามและควบคุมการใช พลังงานของเครื่องจักรที่มีนัยสําคัญ การสงจายพลังงานและสาธารณูปโภคในแตละพื้นที่ และมีการรายงานผลการใชพลังงานรายเดือนไปยังคณะทํางานดานการจัดการพลังงาน เพือ่ สือ่ สารตอไปยังพนักงานทุกระดับใหรบั ทราบอยางทัว่ ถึง สําหรับมาตรการอนุรกั ษพลังงาน ไดรวบรวมองคความรูที่เกิดจากการดําเนินการอนุรักษพลังงานเผยแพรประชาสัมพันธ ใหพนักงานทุกคนไดรบั ทราบผานทาง Facebook-GM Thai Energy และผลการดําเนินงาน ดังกลาวยังถูกสือ่ สารและนําเสนอในทีป่ ระชุมระหวาง GM Global 29 ศูนยผา นการประชุม สายระหวางประเทศ โดยการนําเสนอผาน Share Point และเผยแพรผลการดําเนินงาน ผานฐานขอมูล Best Practice Home Page ซึ่งเปนเว็บไซตสวนกลางที่ทุกบริษัทในเครือ GM สามารถเขาถึงขอมูลการนําเสนอได เพื่อนําไปใชเปนตนแบบหรือประยุกตใชในการ ผลิตในกลุมบริษัท GM ตอไป ศูนยการผลิตของ GM เปน บริษั ทรถยนตแหงแรกในประเทศไทยที่ ไดรับรอง มาตรฐาน ISO 50001 ซึ่งแสดงถึงความมุงมั่นในการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและ การลดกาซเรือนกระจกที่เกิดจากกระบวนการผลิต โดยที่ผานมา ศูนยการผลิตของ GM ยังไดรบั รางวัล Thailand Energy Awards 2017 ดานการอนุรกั ษพลังงาน GM ประเทศไทย เปนเพียง 1 ใน 2 บริษัทรถยนตและเปน 1 ใน 7 ศูนยการผลิตในประเทศไทยที่ไดรบั รางวัล ดานการอนุรกั ษพลังงานในประเภทโรงงานควบคุม จัดโดยกรมพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลังงาน กระทรวงพลังงาน ทั้งยังไดรับรางวัล ENERGY STAR® Challenge สําหรับภาค อุตสาหกรรม (ENERGY STAR Challenge for Industry) ของหนวยงานพิทักษสิ่งแวดลอม สหรัฐ (EPA) 3 ปติดตอกัน โดยสามารถการใชพลังงานในการปฏิบัติงานในสายการผลิต รถกระบะลง 20% พลังงานเปนปจจัยสําคัญตอการเดินระบบของภาคอุตสาหกรรม ใหขบั เคลือ่ น ไปพรอมกับการเติบโตของเศรษฐกิจและสังคม การอนุรักษพลังงานควบคู ไปกับระบบการบริหารจัดการพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ยังมีสว นชวย ลดปญหามลภาวะสิ่งแวดลอมอีกดวย 25

GreenNetwork4.0 May-June 2018


GREEN

World กองบรรณาธิการ

D/=* !:)D <!3!Ċ:&9 !:

&-9 :! E ! +5 +9" /:) Ċ5 :+&-9 :! =L2A >M!

- $- +8 "2<L E/ -Ċ5)

ในขณะที่พลังงานและ เชือ้ เพลิงฟอสซิลกําลังลดนอยลง แนวโนมการใชพลังงานทดแทนถือเปนมาตรการ ทีส่ อดคลองกับแนวทางการพัฒนาและคํา้ ประกันความมัน่ คงดาน พลังงาน โดยเฉพาะในเวียดนามทีป่ จ จ�บนั กําลังพัฒนาอุตสาหกรรมในดานตางๆ และจํานวนประชากรนับวันเพิ่มมากขึ้น ซึ่งทําใหตองเผชิญกับความทาทายจากการ จัดสรรไฟฟาตามความตองการของประชาชนที่มากขึ้น หนุนพลังงานทดแทนในพื้นที่สามเหลี่ยมปากแมน้ำโขง จากงานสัมมนาสัปดาหพลังงานทดแทนป 2560 ในนครเกิ่นเทอ เห็นพองกันวา จังหวัด ตางๆ ในบริเวณสามเหลี่ยมปากแมน้ําโขงควรลงทุนในดานพลังงานทดแทน แทนที่จะพัฒนา โรงไฟฟาความรอน 14 แหง ที่มีกําลังการผลิตไฟฟารวม 20,000 MV ในปจจ�บันเวียดนาม Nguyen Anh Tuan ผูอ าํ นวยการศูนยพลังงานทดแทน สังกัดสถาบันพลังงาน กระทรวง พึ่งการใชพลังงานไฟฟาที่ผลิตจาก อุตสาหกรรมและการคา กลาววา เวียดนามมีศักยภาพในการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน ซึ่ง โรงไฟฟาพลังความรอน ซึง่ สวนใหญเปน สามารถผลิตพลังงานสะอาดไดสงู กวา 9.1 ลานเมกะวัตต โดยแบงเปนพลังงานชีวมวล 15,000 เชือ้ เพลิงจากถานหิน โดยโรงงานในบริเวณสามเหลีย่ ม เมกะวัตต พลังงานชีวภาพ 177,299 เมกะวัตต พลังงานทดแทน (WTE) 9,000 เมกะวัตต ปากแมน้ําโขงมีกําลังการผลิตขนาดใหญ ตั้งแต 600 เมกะวัตต พลังงานลมเกือบ 2.1 ลานเมกะวัตต และพลังงานแสงอาทิตยเกือบ 6.8 ลาน ถึง 2,000 เมกะวัตต แตปญหาการขาดแคลนถานหินที่ใชในการผลิต เมกะวัตต ไฟฟา ทําใหโรงไฟฟาความรอนหลายแหงจะตองนําเขาถานหินจากตางประเทศ อยางไรก็ตาม การผลิตพลังงานทดแทนยังไมไดรับความ ทั้งนี้ขอตกลงการนําเขาถานหินยังไมไดรับการอนุมัติจากรัฐบาล ในขณะที่การกอสราง สนใจจากภาคสวนตางๆ เมื่อนับถึงชวงปลายป 2559 ทาเรือสําหรับการนําเขาถานหินก็ประสบปญหาดานการกอสราง ราคาถานหินไดเพิ่มขึ้น ทีผ่ า นมา มีการใชพลังงานลมเพียง 159 เมกะวัตต จากตันละ 40 เหรียญสหรัฐ เปนตันละ 60 เหรียญสหรัฐ ทําใหราคาไฟฟาสูงขึ้น ตลอดจนมลพิษ พลังงานแสงอาทิตยเพียง 0.18 เมกะวัตต ทางสิ่งแวดลอมที่เกิดจากโรงไฟฟาพลังความรอนก็เปนอีกปจจัยที่นากังวลอยางมาก และพลังงานชีวภาพเพียง 2.5 เนื่องจากปจจัยดานลบดังกลาว ทุกฝายไดเสนอใหรัฐบาลปรับปรุงแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาฉบับที่ 7 เพื่อ เมกะวัตต ยกเลิกการกอสรางโรงไฟฟาพลังงานความรอนแหงใหมในบริเวณสามเหลี่ยมปากแมน้ําโขง สงเสริมโครงการพลังงานทดแทน ลดผลกระทบสิ่งแวดลอมจากโรงไฟฟาถานหิน เมื่อเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2561 จากการหารือระหวางภาครัฐและภาคเอกชนของเกาหลีใตและเวียดนามเพื่อสงเสริมความรวมมือและการ ลงทุนดานไฟฟาและพลังงานทดแทนระหวางสองประเทศ Vo Tan Thanh รองประธานหอการคาและอุตสาหกรรมเวียดนาม และประธานหอการคาและอุตสาหกรรมสาขานครโฮจิมินห กลาววา ปจจ�บันเวียดนาม มุงพัฒนาโครงการพลังงานทดแทน เพื่อตอบสนองความมั่นคงดานพลังงานของประเทศ และลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการผลิตไฟฟาจากถานหิน โดยเกาหลีใตเปนหนึ่งในประเทศที่มีศักยภาพในการพัฒนาพลังงานทดแทน และระบบโครงขายไฟฟาอัจฉริยะที่จะชวยลดการสูญเสียพลังงาน ไฟฟาโดยไมจําเปน ซึ่งเทคโนโลยีตางๆ ขางตนจะสามารถพัฒนาระบบการจายไฟฟาของประเทศเวียดนามใหกาวหนาไดอยางมาก ที่สําคัญ ธนาคารเพื่อการพัฒนาแหงเอเชีย (Asian Development Bank : ADB) และบริษั ท China Everbright International Limited (CEIL) ไดบรรลุขอตกลงการกูเงินจํานวน 100 ลานเหรียญสหรัฐ เพื่อสนับสนุนโครงการ เปลี่ยนขยะใหเปนพลังงานไฟฟาในภูมิภาคสามเหลี่ยมปากแมน้ําโขง ในลักษณะความรวมมือระหวางภาครัฐ และเอกชน 26

GreenNetwork4.0 May-June 2018


Christopher Thieme รองผูอํานวยการฝายปฏิบัติการภาคเอกชนของ ADB กลาววา ขอตกลงดังกลาวมีเปาหมายเพื่อชวยปรับปรุงระบบกําจัดขยะ มูลฝอยในเวียดนาม โดยจะลดการปลอยแกสมีเทน และเพิ่มการผลิตพลังงาน ไฟฟาจากแหลงพลังงานทดแทน ซึ่ง ADB และบริษั ท CEIL จะสนับสนุนการ ก อ สร า งและการดํ า เนิ น งานของโครงการพลั ง งานไฟฟ า จากขยะ โดยนํ า เทคโนโลยีขั้นสูงและเทคโนโลยีสะอาดมาใชในจังหวัดตางๆ บริเวณภูมิภาค สามเหลี่ยมปากแมน้ําโขง ซึ่งตามขอมูลของ ADB เวียดนามระบายขยะมากกวา 27.8 ลานตันตอป

Nguyen ระบุวา ความตองการใชไฟฟาทีเ่ ติบโตขึน้ อยางรวดเร็ว เปนความ ทาทายในการดูแลระบบไฟฟาใหมีความมั่นคง เชื่อถือได และมีความยั่งยืน ตอง มีการลงทุนสรางโรงไฟฟาใหม และสรางเครือขายระบบสงใหสามารถจายไฟฟา ตอบสนองความตองการของผูใชไฟฟาใหเพียงพอ จึงเปนที่มาใหเวียดนามออก แผนพัฒนาระบบ Smart Grid เพื่อบูรณาการนําระบบติดตามควบคุม และ เทคโนโลยีสารสนเทศ มาปรับปรุงความมั่นคงและเชื่อถือไดของระบบ และ เตรียมพรอมรองรับพลังงานหมุนเวียนจํานวนมากที่จะเขาสูระบบในอนาคต ปจจ�บันเวียดนามยังอยู ในขั้นเริ่มตนของการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน ประกอบดวยโรงไฟฟาพลังงานน้ําขนาดเล็ก จํานวน 2,000 เมกะวัตต พลังงาน ลม 100 เมกะวัตต ชีวมวล 150 เมกะวัตต ในขณะที่พลังงานแสงอาทิตย มีศกั ยภาพสูงทีจ่ ะพัฒนา โดยตามแผนพัฒนาพลังงานไฟฟาของเวียดนาม ตัง้ เปา ใหในป 2573 มีกําลังผลิตพลังงานแสงอาทิตย 12,000 เมกะวัตต พลังงานลม 6,000 เมกะวัตต และชีวมวล 3,000 เมกะวัตต

พรอมพัฒนา Smart Grid รองรับพลังงานหมุนเวียนรอยละ 10 ในป 2573 นอกจากการเตรียมใชพลังงานทดแทน ในพืน้ ทีส่ ามเหลีย่ มปากแมนา้ํ โขง แลว เวียดนามยังเดินหนาพัฒนา Smart Grid เพื่อรองรับพลังงานหมุนเวียน รอยละ 10 ในป 2573 Nguyen Minh Quang เจาหนาทีผ่ เู ชีย่ วชาญระบบไฟฟา แหงศูนยควบคุม ระบบไฟฟาแหงชาติ ประเทศเวียดนาม (EVN National Load Dispatch Centre) ไดใหสมั ภาษณในประเด็นเกีย่ วกับแผนพัฒนาพลังงานไฟฟา การเดินหนาพัฒนา Smart Grid และทําไมประเทศเวียดนามไมสามารถผลิตไฟฟาจากพลังงาน หมุนเวียน 100% ในงาน Asian Utility 2016

เปาหมายสัดสวนการใชแหลงพลังงานประเภทตางๆ ผลิตไฟฟา ในป 2573 ตามแผนพัฒนาพลังงานไฟฟาของเวียดนาม

ระบบสงไฟฟาของเวียดนาม แผนการพัฒนา Smart Grid ของเวียดนามนั้น แบงออกเปนทั้งหมด 3 ระยะ ระยะแรกเริ่มในชวงป 2555-2559 ซึ่งเปนขั้นตอนการพัฒนาปรับปรุง เครือขายระบบสงไฟฟา สวนระยะที่ 2 ระหวางป 2560-2565 และระยะที่ 3 หลังจากป 2565 จะเปนขั้นตอนการพัฒนาระบบควบคุม ระบบการทํางาน แบบอัตโนมัติ การควบคุมระยะไกล รวมถึงการพัฒนาระบบสถานีไฟฟา แบบอัตโนมัติ และการเตรียมพรอมรองรับพลังงานหมุนเวียน จํานวนมากที่จะเขาสูระบบ

27

แมเวียดนามจะมีเปาหมายในการเพิ่มกําลังผลิตจากพลังงานหมุนเวียน แตเปนไปไมไดทเี่ วียดนามจะใชพลังงานหมุนเวียนเพียงอยางเดียว 100% ยังตอง พึ่งพาแหลงพลังงานอื่นๆ ไมวาจะเปนโรงไฟฟาพลังความรอน การซื้อไฟฟาจาก ประเทศอื่น การนําเขากาซธรรมชาติ อีกทั้งยังมีแผนพัฒนาโรงไฟฟาพลังงาน นิวเคลียรอีกดวย

GreenNetwork4.0 May-June 2018

ที่มา : https://www.vovworld.vn/thTH/ https://www.egato.th/ https://www.globthailand.com


RE

Update กองบรรณาธิการ

พืน้ ทีบ่ นเกาะแหลงทองเทีย่ วที่ไฟฟายังเขาไมถงึ นัน้ รัฐบาลมีนโยบายเดินสาย เคเบิลใตน้ําซึ่งมีราคาสูงมากและสงผลตอสิ่งแวดลอม รวมถึงเมื่อไฟฟาเขาถึงได สะดวก ทําใหนกั ทองเทีย่ วเพิม่ มากขึน้ ระบบนิเวศเสือ่ มโทรม ฉะนัน้ หากใชนวัตกรรม ผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนจะเปนกลไกหนึ่งในการควบคุมจํานวนนักทองเที่ยว ในจํานวนที่พอเหมาะ รักษาสิ่งแวดลอม และราคาไมสูงมากนัก แหลงผลิตไฟฟาในพืน้ ทีอ่ ทุ ยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุส ตั วปา ที่ไมมีไฟฟา สวนใหญกวา 210 แหงทั่วประเทศใชเครื่องปนไฟที่ ใชนํามันดีเซลเปนเชื้อเพลิง ซึง่ จะกอใหเกิดมลพิษทางอากาศจากควันและเขมา เสียงดัง คราบนา้ํ มัน มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) รวมกับสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการ พลังงาน (สํานักงาน กกพ.) ทําโครงการการศึกษารูปแบบการผลิตไฟฟาดวยพลังงาน หมุนเวียนที่เหมาะสมในอุทยานแหงชาติ และเขตรักษาพันธุสัตวปาของประเทศไทย เพื่อจัดทําแผนแมบทในการพัฒนากลุมอุทยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุสัตวปา ในภาคใต ครัง้ ที่ 1 เพือ่ ศึกษารูปแบบการผลิตพลังงานหมุนเวียนทีเ่ หมาะสมในอุทยาน แหงชาติและเขตรักษาพันธุสัตวปาทั่วประเทศ เมื่อเร็วๆ นี้ไดจัดการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการใหกับหัวหนาอุทยานและเขตรักษา พันธุสัตวปาภาคใตกวา 54 หนวยงาน พรอมสาธิตนวัตกรรมระบบผลิตไฟฟาใชสําหรับ พื้นที่หา งไกล ณ เกาะหอง อุทยานแหงชาติธารโบกขรณี จังหวัดกระบี่ สุพจน เพริดพริ้ง ผูอํานวยการสํานักบริหารพื้น ที่อนุรักษที่ 5 (นครศรีธรรมราช) กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื กลาววา พืน้ ทีอ่ ทุ ยานแหงชาติครอบคลุมพืน้ ทีท่ ง้ั ทางบก และทางทะเลกระจายทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย หลายแหงอยูในปาลึก บนเขาสูง กลางทะเล การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เชน ไฟฟา ประปา จึงทําไดยากและไมทั่วถึง โดยเฉพาะระบบไฟฟา จากแนวสายสงของการไฟฟาสวนภูมิภาคที่เขาไมถึงเขตพื้นที่ปาอนุรักษ หลายแหงจึงตองผลิตกระแส ไฟฟาจากเครื่องปนไฟดวยเครื่องยนตดีเซลทําใหเกิดปญหาและผลกระทบดานสภาพแวดลอม คาใชจาย น้ํามันเชื้อเพลิง การดูแลบํารุงรักษาเครื่องยนตสูง โดยเฉพาะแหลงทองเที่ยวที่เปนที่นิยมทําใหไฟฟา ไมเพียงพอตอการปฏิบัติงานและอํานวยความสะดวกใหกับนักทองเที่ยว ซึ่งหนวยพิทักษอุทยานแหงชาติ และหนวยพิทักษเขตรักษาพันธุสัตวปาเห็นความสําคัญของพลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟา โดยเฉพาะ พลังงานจากแสงอาทิตย ซึ่งไดรับความนิยมอันเนื่องจากความตองการพลังงานไมมากนัก ติดตั้งไดงาย ราคา ไมสูงนัก และในอดีตมีหนวยงานเขาใหการสนับสนุน เชน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน สามารถบรรเทาปญหาไดบาง การใชงานระบบดังกลาวมักมีปญหาแบตเตอรี่ อุปกรณหลักพังเสียหาย เชน อินเวอรเตอร นอกจากนีย้ งั เกิดความไมเขาใจระบบของเจาหนาที่ ขาดการบํารุงรักษาอยางถูกตอง สภาพแวดลอม ที่มีความชื้นสูงเนื่องจากอยูในปาเขา ปญหาไอเค็มจากทะเล ซึ่งปญหาดังกลาวขางตนกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดแกไขโดยรวมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ในการพัฒนาระบบผลิตไฟฟา ที่เหมาะสม วีระศักดิ์ ศรีสัจจัง หัวหนาอุทยานแหงชาติธารโบกขรณี จ.กระบี่ กลาววา พื้นที่เกาะหองเปนสถานที่ทองเที่ยว ที่ ไมอนุญาตใหพักคางคืนเนื่องจากไมมี ไฟฟา มีเครื่องปนไฟไวสําหรับเครื่องสูบน้ําทะเลขึ้นมาไวบริการหองน้ําให นักทองเทีย่ วรวมทัง้ นา้ํ ใชในรานสวัสดิการ และบานพักเจาหนาทีอ่ ทุ ยานทีป่ ระจําบนเกาะ ปจจ�บนั ใชนา้ํ มันดีเซลประมาณ 15 ลิตรตอวัน คิดเปนคาใชจาย 12,280 บาทตอเดือน หรือ 148,000 บาทตอป (ราคา 27.29 บาท/ลิตร ณ วันที่ 9 เมษายน 2561)โดยกําหนดใหบา นพักเจาหนาอุทยานเปดใชไฟฟาเพียงชวงเวลาหกโมงเย็น จนถึงเที่ยงคืน เพื่อเปนการประหยัดการใชน้ํามันดีเซล ปญหาเครื่องปนไฟบนเกาะหองที่ ใชปจจ�บัน นอกจากปญหาเสียงดัง ควันและ เขมา คราบน้ํามันบนพื้นทราย เครื่องยังชํารุดบอยเฉลี่ยเดือนละครั้ง กระแสไฟฟ า ที่ ไ ม เ สถี ย รทํ า ให เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า เสี ย หลังจากติดตั้งเครื่องผลิตไฟฟาจาก

D :83Ċ 5 2):+č H52čE-! č

$-< H''ą: Ċ/*

+8""H6"+<

28

GreenNetwork4.0 May-June 2018


รศ. ดร.ศักรินทร ภูมิรัตน อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี กลาววา มจธ. ไดใหความสําคัญกับโจทยวิจัยระบบ ผลิตไฟฟาในพื้นที่หางไกลมากวา 25 ป โดยเริ่มดําเนินโครงการในพื้นที่สถานีวิจัย รักษาพันธุสัตวปาฉะเชิงเทรา เพื่อพัฒนาระบบ ผลิตไฟฟาแบบผสมผสาน (Hybrid) ซึ่งเปนระบบ ผลิตไฟฟาที่กอใหเกิดมลพิษต่ําและมีอัตราคาไฟฟาที่ผลิตไดต่ํากวาระบบผลิตไฟฟาดวยเครื่องยนตดีเซล ซึ่งเปนระบบผลิตไฟฟาที่ใชงาน อยางแพรหลายในพื้นที่หางไกลในขณะนั้น และในป พ.ศ. 2540 กรมปาไมไดขยายผลไปสูอุทยานแหงชาติภูกระดึง อุทยานแหงชาติตะรุเตา และเขตรักษาพันธุสัตวปา หวยขาแขง ในระยะตอมา เพื่อเปนโครงการนํารองในการนําระบบผลิตไฟฟาแบบผสมผสานและแบบอิสระมาใชงานในอุทยานแหงชาติทางบก อุทยานแหงชาติทางทะเล และเขตรักษาพันธุสัตวปา รวมทั้งเปนตนแบบที่นําไปประยุกตใชกับพื้นที่ชุมชนที่หางไกลไมมีไฟฟาใช ปจจ�บันหองปฏิบัติการวิจัยบูรณาการระบบพลังงานสะอาด มจธ. ทําการวิจยั และศึกษาระบบผลิตไฟฟาพลังงานหมุนเวียนในพืน้ ทีห่ า งไกลกวา 15 ระบบทีต่ ดิ ตัง้ ใชงานจริงในพืน้ ทีอ่ ทุ ยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุส ตั วปา และหมูบ า นในชนบท เทคโนโลยีการผลิตไฟฟาพลังงานหมุนเวียนจะทําใหเกิดประโยชนหากนําไปใชในชุมชนที่หางไกล โรงเรียนที่ไฟฟาเขาไมถึง พื้นที่ชายแดนทั่วประเทศ และสามารถ ใชเปนสถานทีเ่ รียนรูข องนักเรียนและชุมชน ซึง่ สวนหนึง่ ตองทําใหชมุ ชนตระหนักถึงประโยชนการใชพลังงานหมุนเวียน รวมทัง้ นโยบายรัฐบาล การสนับสนุนจากหนวยงาน รัฐบาลทีท่ าํ ใหเกิดนวัตกรรมเหลานี้ โดยทาง มจธ. มีความพรอมสนับสนุนดานบุคลากรทีเ่ ปนนักวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีประสบการณและงานวิจยั ทีจ่ ะพัฒนาอุปกรณ ระบบใหมีประสิทธิภาพซึ่งจะเปนประโยชนตอนักศึกษาที่จะไดเขาไปเรียนรูงานวิจัย พลังงานแสงอาทิตยผลทีเ่ ห็นไดชดั เจน คือ ไมตอ งใชนา้ํ มันดีเซลทําใหลดคาใชจา ย ไมมี มลภาวะทางเสียง และอากาศ ซึง่ กระแสไฟฟาทีผ่ ลิตไดเพียงพอตอกิจกรรมในปจจ�บนั “โดยหวังวา อุทยานแหงชาติธารโบกขรณี เกาะหอง จะเปนตนแบบอุทยานสี เขียวใหกับอุทยานแหงชาติอื่น ๆ และอนาคตจะเปดบริการจ�ดชารจโทรศัพทมือถือ ฟรีดว ยพลังงานสีเขียว รวมทัง้ จะทําเปนแหลงเรียนรูพ ลังงานทดแทนจากแสงอาทิตย ใหบริการนักทองเที่ยวอีกดวย”

ผศ. ดร.อุสาห บุญบํารุง นักวิจัย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี พระจอมเกล าธนบุ รี กล าวว า โครงการ ดังกลาวไดผสมผสานระบบผลิตไฟฟาดวยน้ํามันดีเซล กับการผลิตไฟฟาดวยระบบโซลารเซลล ขนาด 5 กิโลวัตต โดยคณะผูวิจัยมีแนวคิดในการนําเทคนิคการทํานาย ล ว งหน าในการประเมิ น ศั ก ยภาพในการผลิ ตไฟฟ า ดวยพลังงานหมุนเวียนใน 24 ชั่วโมงขางหนา เพื่อใช ในการตัดสินใจในการเดินเครื่องระบบผลิตไฟฟาดวย เครื่องยนตดีเซลแทนระบบควบคุมแบบปรับตั้งคาคงที่ (Set Point) ทีท่ าํ งานโดยอัตโนมัตเิ มือ่ ระดับพลังงานไฟฟาในแบตเตอรีล่ ดลงถึงระดับ ที่กําหนดไว ซึ่งจะเกิดสภาวะแบตเตอรี่เต็มบอยครั้ง ซึ่งระบบควบคุมแบบทํานาย ลวงหนาจะชวยใหอุทยานฯ ลดปริมาณการใชน้ํามันดีเซลลงกวา 20% รวมกับระบบ บริหารจัดการตอบสนองการใชไฟฟาทีค่ รอบคลุมทุกกิจกรรมการใชพลังงานพืน้ ทีเ่ กาะ ไดแก ไฟฟาแสงสวาง ตูแชอาหาร ระบบสูบน้ํา และระบบผลิตน้ําจืดจากน้ําทะเล โดยการนํามาประยุกตใชงานระบบผลิตไฟฟาเพือ่ แกปญ  หาดานอัตราคาพลังงานทีส่ งู และความไมตอเนื่องหรือไมสม่ําเสมอในการผลิตไฟฟาดวยพลังงานหมุนเวียน ซึ่งจะ สงผลใหระบบที่ติดตั้งทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและอัตราคาพลังงานที่ผลิตได จากระบบลดต่ําลงมีคาใชจายเพียง 8 บาทตอกิโลวัตต-ชั่วโมง/วัน (ยูนิต) เทียบกับ คาใชจายจากเครื่องปนไฟถูกกวาประมาณ 3 เทา โดยระบบทั้งหมดแสดงผลและ ควบคุมผานโทรศัพทมือถือ และคอมพิวเตอร ทําใหสามารถบริหารจัดการระบบไดดี กวาระบบแบบเดิม “โครงการดังกลาวถือเปนตนแบบผลิตไฟฟาดวยระบบไฮบริดสําหรับอุทยาน แหงชาติทางทะเล สถานที่แรกที่ ไดรวมระบบบริหารจัดการพลังงาน โดยแบงแยก กลุมอาคารที่สําคัญกับกลุมอาคารทั่วไปที่ไฟฟาสามารถดับไดกอนกลุมอาคารสําคัญ สามารถตั้งคาและบริหารจัดการการใชไฟฟาภายในเกาะได ทั้งยังใชเทคนิคการ ควบคุมแบบทํานายลวงหนาโดยใชระบบพยากรณอากาศ ที่จะชวยใหอัตราคาไฟฟา ที่ผลิตไดจากระบบต่ําลง โดยสามารถควบคุมและแสดงผลผานโทรศัพทมือถือ”

29

ดาน ธรณพงศ เล็กสกุลดิลก ผูชํานาญการพิเศษ ฝายบริหารกองทุน พัฒนาไฟฟา สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน กลาววา สํานักงาน กกพ.ไดออกประกาศเปดรับขอเสนอโครงการ กองทุนพัฒนาไฟฟา เพื่อกิจการตามมาตรา 97(4) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2560 เพื่อสงเสริม การใชพลังงานหมุนเวียนและเทคโนโลยีที่ ใชในการประกอบกิจการไฟฟา ที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอย ซึ่ง กกพ.จะออกประกาศเปดรับขอเสนอโครงการที่เกี่ยวของตรงกับ วัตถุประสงคของพระราชบัญญัตินี้ โดยที่เปดรับตั้งแตป พ.ศ. 2560 มี โครงการทีย่ นื่ เขามา 725 โครงการ ซึง่ มจธ. เปนหนึง่ ในผูเ สนอยืน่ โครงการ สงเสริมการใชพลังงานหมุนเวียนในเขตรักษาพันธุสัตวปา เปน หนึ่งใน โครงการที่ไดรบั การอนุมตั ิ เนือ่ งจากเปนโครงการทีต่ รงกับกรอบการสนับสนุน ของทาง กกพ. คือ การใหการสนับสนุนโครงการที่ผลิตไฟฟาในพื้นที่ที่ไมมี ไฟฟาใช โดย มจธ.ผูไ ดรบั จัดสรรเงินกองทุนฯ ใหดาํ เนินโครงการการศึกษา รูปแบบการผลิตไฟฟาดวยพลังงานหมุนเวียนที่เหมาะสมในอุทยานแหงชาติ และเขตรักษาพันธุส ตั วปา ของประเทศไทย เพือ่ จัดทําแผนแมบทในการพัฒนา กลุม อุทยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุส ตั วปา ทัว่ ประเทศ เปนพืน้ ทีแ่ หงแรก ทั้งนี้ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2561 สํานักงาน กกพ.ไดออกประกาศ เปดรับขอเสนอโครงการ กองทุนพัฒนาไฟฟาเพื่อกิจการตามมาตรา 97(4) เปนปที่สองติดตอกัน โดยมีกรอบวงเงินไมเกิน 1,050 ลานบาท ซึ่งยังคง มีกรอบการสนับสนุน หนึ่ง เพื่อการสงเสริมการผลิตไฟฟาจากพลังงาน หมุนเวียนรูปแบบตางๆ ในชุมชนในพืน้ ทีห่ า งไกลที่ไมมโี ครงขาย และไมสามารถเขาถึงบริการไฟฟาไดอยางทัว่ ถึง โดยมีรปู แบบ การบริหารจัดการและมีการใชเทคโนโลยีดานการจัดการ พลังงานที่มปี ระสิทธิภาพ ยั่งยืน และขยายผลได

GreenNetwork4.0 May-June 2018


SOLAR

Review กองบรรณาธิการ

หากถามถึงพลังงานทดแทน ที่ถือเปนกําลังหลักในการผลิตไฟฟา ซึง่ มีกาํ ลังผลิตเปนลําดับตนๆ ของพลังงานทดแทน และยังเปนทีถ่ ามถึงของ แวดวงอุตสาหกรรม โรงงาน ผูป ระกอบการ และในกลุม บานอยูอ าศัย ที่ได เริ่มทยอยนํามาใชในครัวเรือนเพื่อผลิตพลังงานบางแลวนั้น คําตอบ ณ วันนี้ ก็คือ พลังงานจากแสงอาทิตย ที่เปนเทรนดดาน พลังงานทดแทน ซึ่งจะทวีความสําคัญมากขึ้นเรื่อยๆ และในไมชาไมนานนี้ หากเทคโนโลยียังถูกพัฒนาตอเนื่อง เชื่อวาพลังงานแสงอาทิตยจะเปนที่ เขาถึงไดสําหรับในภาคธุรกิจ และครัวเรือนไทย งานของรัฐบาล คสช. ที่ไดเขามาบริหารประเทศ ไดสง เสริมการผลิต พลังงานจากพลังงานทดแทนมาตอเนื่อง โดยเฉพาะดานการผลิตไฟฟาจาก พลังงานแสงอาทิตยนั้น ไดมีโครงการหนึ่งซึ่งถือเปนผลงานสําคัญ นั่นคือ การรับซื้อไฟฟาจากการผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยแบบติดตั้งบนพื้นดิน สําหรับหนวยงานราชการและสหกรณการเกษตร ทีม่ วี ตั ถุประสงคหลัก นําเอา พื้นที่ที่อยู ในราชพัสดุ จากหนวยงานราชการที่จะเขารวมโครงการเปนผู ครอบครองและไดรบั อนุญาตจากกรมธนารักษมาใชประโยชนในโครงการนี้

&-9 :! 9" Ċ:/ = L -Ċ:

F -:+č':+č) +: :+ų23 + č

รวมทั้งที่ดินของสหกรณภาคการเกษตรเปนเจาของหรือที่ดินที่สมาชิก สหกรณภาคการเกษตรเปนเจาของกรรมสิทธิห์ รือมีสทิ ธิครอบครองตามกฎหมาย เพื่อใชดําเนินโครงการ ตลอดจนเปนการสงเสริมพลังงานหมุนเวียนในการผลิต ไฟฟา อีกทั้งยังเปนการพึ่งพาตัวเองไดในระยะยาวไดระดับหนึ่ง ทั้งนี้ กระทรวงพลังงาน โดยคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน หรือ สํานักงาน กกพ. ไดประกาศรับซื้อไฟฟาจากโครงการรับซื้อไฟฟาจากการผลิต ไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยแบบติดตั้งบนพื้นดินสําหรับหนวยงานราชการและ สหกรณการเกษตรดังกลาว ขนาดติดตั้งไมเกิน 5 เมกะวัตตตอแหง รวมทั้งสิ้น 800 เมกะวัตต ระยะเวลาสนับสนุนอายุสัญญา 25 ป รับซื้อไฟฟา (FiT) ที่ 5.66 บาทตอหนวย ซึ่งเบื้องตนการรับซื้อไฟฟาในระยะที่ 1 กําหนดจายไฟฟาเขาระบบ ภายในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 ที่ผานมา พบวาผลการรับซื้อไฟฟาในโครงการฯ ระยะที่ 1 จายไฟฟาเขาสูระบบ ไดแลว 64 ราย คิดเปนปริมาณการเสนอขายไฟฟา 271.82 เมกะวัตต 30

ปจจ�บนั การรับซือ้ ไฟฟาจากการผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยแบบติดตัง้ บนพื้นดินสําหรับหนวยงานราชการและสหกรณการเกษตร อยู ในระยะที่ 2 ซึ่งจะตองพรอมจายไฟฟาเขาระบบเชิงพาณิชย ใหทันภายในวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2561 จํานวน 35 ราย หรือคิดเปนปริมาณการเสนอขายไฟฟาที่รวม ทุกพื้นที่ รวม 154.52 เมกะวัตต แบงประเภทและเปาหมายการจัดหาตามพื้นที่ สําหรับผูที่ผานการคัดเลือกฯ เปนโครงการจากหนวยงานราชการ ไดแก องคการ ทีร่ ฐั จัดตัง้ ขึน้ (ไมรวมองคการมหาชนและรัฐวิสาหกิจ) จํานวน 11 ราย คิดเปนปริมาณเสนอขายไฟฟา 52.52 เมกะวัตต และโครงการจากสหกรณ ภาคการเกษตร (สหกรณภาคการเกษตร/สหกรณนคิ ม/สหกรณประมง) จํานวน 24 ราย คิดเปนปริมาณเสนอขายไฟฟา 102 เมกะวัตต นอกจากนี้ กระทรวงพลังงาน โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลังงาน (พพ.) ยังไดมีแนวทางสงเสริมใหสวนราชการใชพลังงานทางเลือก มากขึ้น ผานโครงการที่สําคัญๆ อาทิ โครงการใชพลังงานทดแทนในหนวยงาน ภาครัฐ คาดวาจะลดการใชไฟฟาไดประมาณ 46.94 ลานหนวยตอป โครงการ สงเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานในหนวยงานภาครัฐ ซึ่งขณะนี้ อยูระหวางใหหนวยงานราชการติดตั้งระบบ และคาดวาจะลดการใชพลังงาน ได 224.58 ลานหนวยตอป และโครงการสงเสริมการจัดการพลังงานและเพิ่ม ประสิทธิภาพในโรงพยาบาลของรัฐ ซึ่งคาดวาโรงพยาบาลในระบบที่เขารวม จะลดใชพลังงานได 154.32 ลานหนวยตอป การสงเสริมการผลิตพลังงานทดแทน รัฐบาลตองการมุงเนนลดรายจาย ดานพลังงาน เรงใชพลังงานที่สามารถผลิตไดในประเทศ ซึ่งจะสอดคลองกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามศาสตรพระราชา รวมทัง้ ยังใหทกุ ภาคสวน มีสว นรวมในการลงทุนรวมกับภาครัฐ ซึง่ คือมิตใิ หมแหงการพัฒนาพลังงานอยาง ยั่งยืน ลดการนําเขาพลังงาน และชวยใหการผลิตและใชพลังงานมีความมั่นคง ยิ่งขึ้นในอนาคต

GreenNetwork4.0 May-June 2018


SOLAR

Review กองบรรณาธิการ

ไทยสเตนเลสสตีล หนึ่งในโรงงานที่ติดตั้งแผงโซลารรูฟท็อป ดึงพลังงานแสงอาทิตยใชในกระบวนการผลิตมุงสูเครื่องครัว ที่เปน มิตรตอสิ่งแวดลอม ลดการปลอยกาซคารบอนได ออกไซค (CO2) 575,850 กิโลกรัมตอป หรือเทียบเทา กับการปลูกตนไมถึง 26,415 ตน

อรุณ เรืองจรุงพงศ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั ไทยสเตนเลสสตีล จํากัด ผูผลิตและจัดจําหนายเครื่องครัวสเตนเลสสตีลและเครื่องครัว เคลือบสารปองกันไมใหติดภาชนะ (Non-stick) คุณภาพภายใต ตรา “ซีกัล”และ ตรา “จรวด” กลาววา บริษัทฯ ใหความสําคัญ กับสิง่ แวดลอมเปนอยางยิง่ โดยเริม่ กําหนดแผนการอนุรกั ษพลังงาน ตัง้ แตป พ.ศ. 2556 เรือ่ ยมาจนถึงปจจ�บนั ซึง่ เริม่ จากการลดการใชพลังงาน งายๆ ใกลตัว เชน ลดการรั่วของระบบลมในโรงงาน, ปดไฟแสงสวาง พัดลม และเครื่องปรับอากาศเมื่อไมไดใชงาน, ติดสัญญาณเตือนเมื่อเปดเครื่องจักร ขนาดใหญทิ้งไว, เปลี่ยนรถยกไฟฟาแทนรถยกแบบน้ํามัน และเปลี่ยนหลอดไฟ จากหลอดฟลูออเรสเซนตเปนหลอด LED

ลาสุดบริษัทฯ ไดสานตอนโยบายการอนุรกั ษพลังงานดวยการนํานวัตกรรม “Seagull Green Innovation” ทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมมาใชในกระบวนการผลิต เพื่อพัฒนาสูการเปนแบรนดที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และการอยูรวมกันอยาง ยัง่ ยืน โดยการติดตัง้ แผงโซลารรฟู ท็อป เพือ่ ใชพลังงานแสงอาทิตยเขามาทดแทน การใชพลังงานไฟฟาที่โรงงาน อําเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี โดยเลือกใช แผงพลังงานแสงอาทิตยรนุ HIT จากบริษัท พานาโซนิค อีโค โซลูชน่ั ส เซลล (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเปนหนึ่งในผูผลิตแผงพลังงานแสงอาทิตยที่มี ประสิทธิภาพสูงสุดในโลกและไดรบั การทดสอบจากมาตรฐานสากลแลว วามีประสิทธิภาพสูง มีอายุการใชงานยาวนาน มีความทนทานสูง และ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ปลอดภัยจากสารพิษและโลหะหนักตกคาง ไดรับการรับรองตามมาตรฐาน RoHS สําหรับการติดตั้งในครั้งนี้ บริษัท อินเตอรโซล คอนซัลติ้ง จํากัด เปนผูดําเนินการติดตั้งระบบ โดยไดทําการติดตั้ง ลงบนพื้นที่ของหลังคาโรงงานขนาด 3,571 ตารางเมตร ซึ่งแผงโซลารรูฟท็อปที่ติดตั้งนั้น มีกําลังผลิตไฟฟา สูงสุด 703 กิโลวัตต สามารถผลิตไฟฟาไดถึงปละ 1,100,000 หนวยตอป สามารถผลิตกําลังไฟฟาได สูงที่สุดเมื่อเทียบกับน้ําหนักและพื้นที่ที่ใช

Seagull

Green Innovation < 9M E$ F -:+č+A' K5#

> &-9 :!E2 5: < *čG ĊG!F+ :! แนวโนมการผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยบนหลังคา หรือโซลารรูฟท็อป ในปจจ�บันเติบโตมากขึ้น โดยเฉพาะกลุมที่ผลิตไฟฟาเพื่อใชเอง อยางโรงงานอุตสาหกรรมที่หันมาติดตั้งโซลารรูฟท็อป นอกจากตนทุนที่ถูกลงแลว ยังชวยลดพีคคาไฟฟา ในชวงกลางวัน เพราะการผลิตไฟฟาดวย โซลารเซลลสามารถลดรายจาย คาไฟฟาภายในโรงงาน

ทั้งนี้ ยอดการใชไฟฟาในสวนของโรงงานผลิตประมาณ 20 ลานบาท ตอป ซึง่ หลังจากไดตดิ ตัง้ ระบบโซลารรฟู ท็อป พรอมนโยบายการลดใชพลังงาน ภายในโรงงานจะสามารถลดคาไฟฟาเฉลี่ยในโรงงานไดประมาณ 5 ลานบาท ตอปหรือประมาณ 25% ซึ่งการติดตั้งในครั้งนี้คาดวามีอายุการใชงานยาวนาน ถึง 30 ป จากความมุงมั่นในการดําเนิน นโยบายดานอนุรักษสิ่งแวดลอมของ บริษั ทฯ ทั้งสวนของสํานักงานและโรงงานใหเปนไปตามมาตรฐานสากล ครอบคลุมทั้งกระบวนการผลิตและทุกๆ กิจกรรมที่บริษั ทฯ จัดขึ้น สงผลให บริษัทฯ ไดรับการรับรองคุณภาพมาตรฐานสากล ISO 9001 และมาตรฐาน ระบบการจัดการดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมสากล ISO 14001 ทั้งระบบ “ปจจ�บันบริษั ทฯ เริ่มนําพลังงานแสงอาทิตยจากการติดตั้งแผงโซลาร รูฟท็อปมาใชเปนทีเ่ รียบรอยแลว ซึง่ นับจากนีผ้ ลิตภัณฑทกุ ชิน้ ของ ไทยสเตนเลส สตีล จะถูกผลิตโดยใชพลังงานแสงอาทิตยถงึ 25% พรอมใชในกระบวนการ ผลิตสินคาเพื่อจัดจําหนายในไทยและสงออกไปยังตางประเทศ ซึ่ง ถือเปนความสําเร็จอีกขั้นของบริษั ทฯ ตามนโยบายดานการอนุรักษ พลังงาน โดยการนํานวัตกรรมที่เปน มิตรตอสิ่งแวดลอมมาใชใน กระบวนการผลิต” อรุณ กลาวทิ้งทาย

อรุณ เรืองจรุงพงศ

31

GreenNetwork4.0 May-June 2018


ENERGY

Saving กองบรรณาธิการ

20

%

DISCOUNT

#- -K5 :+G Ċ&-9 :!

Internet of Things หรือ IoT คือ เทคโนโลยีชนิดหนึ่งที่ใชเชื่อมตอ อุปกรณตางๆ บนเครือขายออนไลน เชน ไวไฟ บลูทูธ หรือเครือขายอื่นๆ โดยที่อุปกรณเชื่อมตอจะเปนอะไรก็ไดที่สามารถเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ตได ไมวาจะเปนเครื่องบิน รถยนต โทรศัพทมือถือ เครื่องใชไฟฟา เปนตน ซึ่ง หากทุกสิ่งถูกเชื่อมตอกันดวยอินเทอรเน็ต จะสงผลดีตอการดําเนินชีวิตของ มนุษย เนื่องจากเทคโนโลยีทุกชิ้นสามารถติดตอสื่อสารกันเอง เพื่ออํานวย ความสะดวกและรวดเร็วใหแกผูใชงาน ในดานของการใชพลังงาน เทคโนโลยี IoT มีประโยชนในการชวยเพิม่ ประสิทธิภาพการอนุรักษพลังงานของอาคาร ผานการควบคุมและจัดการ ระบบการทํางานของอุปกรณที่ไดทําการเชื่อมตอกับระบบ IoT ไว เชน การ สั่งเปด-ปดเครื่องใชไฟฟาภายในอาคารผานโทรศัพทมือถือ ในกรณีที่เรา ออกจากตัวอาคารแลว แตลืมปดเครื่องใชไฟฟา ซึ่งหากหนวยงานของรัฐ นําเทคโนโลยี IoT มาใช คาดการณวา จะชวยลดการใชพลังงานใหกบั ประเทศ ไดถึง 20% สงผลใหสถานะดานพลังงานของประเทศมั่นคงยิ่งขึ้น นวัตกรรมทางดานพลังงานทีก่ าํ ลังเปนทีพ่ ดู ถึงกันในขณะนี้ นัน่ คือ IoT ซึง่ เปนระบบทีท่ าํ หนาทีเ่ ปรียบเสมือนสมองใหกบั อุปกรณ โดยมีอนิ เทอรเน็ต เปนตัวเชือ่ มตอระหวางอุปกรณชนิดตางๆ เพือ่ เปนสะพานเชือ่ มตอไปยังผูใ ช 32

5*ĉ: )=#+82< <(:&

IoT ที่มียอดการคนหาบนอินเทอรเน็ตมากที่สุด 10 อันดับ ที่มา : https://iot-analytics.com/product/list-of-1600-enterprise-iotprojects-2018/

GreenNetwork4.0 May-June 2018


ทั้งนี้ เว็บไซต IoT Analytics ไดทําการสํารวจและรวบรวมขอมูล จาก แหลงที่มีผูใชงานอินเทอรเน็ตยอดนิยม เพื่อจัดอันดับ IoT ที่มียอดการคนหา บนอินเทอรเน็ตมากที่สุด 10 อันดับ ไดแก อันดับที่ 1 บานอัจฉริยะ (Smart Home) หมายถึง การนําเทคโนโลยี มาควบคุมอุปกรณตา งๆ ภายในหรือภายนอกบาน เพือ่ ใหเกิดความสะดวกสบาย และความปลอดภัย เชน ประตูอัตโนมัติ เซ็นเซอรตรวจจับการเคลื่อนไหว การเปด-ปดไฟอัตโนมัติ เปนตน อันดับที่ 2 อุปกรณคอมพิวเตอรขนาดเล็กทีส่ ามารถติดตัง้ และใชงานตาม สวนตางๆ ของรางกาย (Wearables) เพื่อความสะดวกในการใชงานเนื่องจาก สามารถนําติดตัวไปไดทุกที่ ปจจ�บันมีการพัฒนาออกมาเปนรูปแบบตางๆ เชน นาิกา สายรัดขอมือ และ แวนตา เปนตน อันดับที่ 3 เมืองอัจฉริยะ (Smart City) หมายถึง เมืองที่มีการนํา เทคโนโลยีมาปรับใชเพื่อทําใหคุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น เชน การจัดการ พลังงานไฟฟา ระบบจัดการนํา และระบบจัดการขยะ เปนตน อันดับที่ 4 โครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) เปนการใชเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารมาบริหารจัดการควบคุมการผลิต สง และจายพลังงาน ไฟฟา อันดับที่ 5 การใช IoT สําหรับอุตสาหกรรมและโรงงานการผลิต (Industrial Internet) อันดับที่ 6 รถยนตอัจฉริยะ (Connected Car) ที่มีการติดตั้งระบบ เครือขายอินเทอรเน็ตแบบไรสาย อันดับที่ 7 เครือขายเชื่อมโยงชุมชนเขากับระบบสุขภาพแบบครบวงจร (Connected Health) อันดับที่ 8 ระบบจัดการธุรกิจหางราน (Smart Retail) คือ การนํา เทคโนโลยีมาชวยเพิ่มโอกาสในการดําเนินธุรกิจหางราน อันดับที่ 9 ระบบจัดการระหวางผูผลิตและผูขาย (Smart Supply Chain) คือ การจัดการในสวนของกระบวนการที่เกิดขึ้นระหวางผูผลิตกับผูขาย อันดับที่ 10 ฟารมอัจฉริยะ (Smart Farming) คือ การนําเทคโนโลยี สมัยใหมเขามาผสมผสานเขากับงานดานเกษตร จากการจัดอันดับ เทคโนโลยี IoT ทั้ง 10 อันดับ พบวาอุปกรณที่นิยมนํา เทคโนโลยี IoT มาใชในการควบคุมระบบการทํางานและประมวลผล ลวนเปน อุปกรณหรือสิง่ ของที่ใชในชีวติ ประจําวันทัง้ สิน้ ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ อํานวยความสะดวกสบาย ในการใชชวี ิตประจําวันของเรานั่นเอง โครงการสงเสริมการใชระบบควบคุมอัตโนมัติ และระบบ IoT รวมกับอุปกรณประหยัดพลังงาน โครงการสงเสริมการใชระบบควบคุมอัตโนมัติและระบบ IoT รวมกับ อุปกรณประหยัดพลังงาน โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน ที่มีวัตถุประสงคสนับสนุนใหโรงงานควบคุม/อาคารควบคุม ในการใชระบบควบคุมอัตโนมัตแิ ละระบบ IoT รวมกับอุปกรณประหยัดพลังงาน ที่สามารถตรวจวัดปริมาณการประหยัดพลังงานเพิ่มและสามารถจัดเก็บขอมูล ตรวจวัดผลประหยัดที่เกิดขึ้นไดจริง คุณสมบัติของผูขอเขารวมโครงการ ตองเปนอาคารควบคุมหรือ โรงงานควบคุมภาคเอกชน ตามพระราชบัญญัติการสงเสริมการอนุรักษ พลังงาน พ.ศ. 2535 โดยอาคารหรือโรงงาน ภาคเอกชน ที่อยูระหวางขึ้นทะเบียนเปนอาคาร ควบคุมหรือโรงงานควบคุมตามพระราชบัญญัติ การสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535 และบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) ขอรับการ สนับสนุนแทนอาคารหรือโรงงาน

33

ทั้งนี้ สิทธิประโยชนที่ผูเขารวมโครงการจะไดรับ นั่นก็คือ สนับสนุนเงิน ลงทุนสูงสุดรอยละ 20 ของเงินลงทุน รวมทั้งสนับสนุนคาจางที่ปรึกษาสูงสุด รอยละ 2 ของเงินลงทุน และสนับสนุนการลงทุนในสวนประกอบของระบบควบคุม อัตโนมัติและระบบ IoT รวมกับอุปกรณประหยัดพลังงาน โรงพยาบาลรัฐ ใช IoT ชวยประหยัดพลังงานในอาคาร ปจจ�บันโรงพยาบาลภาครัฐ มีผูรับบริการเปนจํานวนมาก ทําใหมีการใช ไฟฟาสองสวาง ระบบปรับอากาศ และเครื่องทําความรอนตลอดเวลา ซึ่งเปนคา ใชจา ยดานพลังงานคอนขางสูง เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในดานการประหยัดพลังงาน และลดตนทุนคาใชจาย จึงไดนําระบบ IoT เขามาควบคุมและบริหารจัดการ ระบบการทํางานเครื่องปรับอากาศแบบรวมศูนย (หรือเครื่องทําน้ําเย็น) ระบบ ปรับอากาศแบบแยกสวน ระบบไฟฟาแสงสวาง ระบบเครื่องสูบนํา้ และมอเตอร และการบริหารจัดการผูปวยนอก เพื่อตอบสนองนโยบาย ภาครัฐ Thailand 4.0 และพลังงานฐานนวัตกรรม ENERGY 4.0 ภายใตความรวมมือการศึกษา พัฒนาและสาธิตการนําระบบ IoT เพิ่ม ประสิทธิภาพการอนุรักษพลังงานในอาคารโรงพยาบาลภาครัฐ กับกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ซึ่งในปจจ�บันไดทําการติดตั้งใน โรงพยาบาลภาครัฐ ทั้ง 6 แหง ไดแก โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาล จ�ฬาลงกรณ สภากาชาดไทย โรงพยาบาลวชิรพยาบาล โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา และโรงพยาบาลสมุทรสาคร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มความสามารถในการชวยประหยัดทั้งเวลา ของผูป ว ย แพทย และพยาบาล ใหสามารถทํางานไดเปนอยางดี พรอมทัง้ ยังชวย ลดการใชพลังงานของอาคาร และลดคาใชจายในดานสาธารณูปโภคไดอีกดวย ซึ่งโครงการนี้มีเปาหมายลดใชพลังงานใชไฟฟาใหได 5.8 ลานหนวยตอป ประพนธ วงษทาเรือ อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน (พพ.) กลาววา ความรวมมือดังกลาว จะดําเนินการภายใต 5 มาตรการ อนุรักษพลังงานดวยการใชเทคโนโลยี IoT ที่เกี่ยวของกับระบบอาคาร ไมวา จะเปน 1.มาตรการสําหรับระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย (หรือเครือ่ งทํานา้ํ เย็น) 2. มาตรการสําหรับระบบปรับอากาศแบบแยกสวน 3. มาตรการสําหรับระบบ ไฟฟาแสงสวาง 4. มาตรการสําหรับระบบเครื่องสูบน้ําและมอเตอร และ 5. มาตรการบริ ห ารจั ด การผู ป ว ยนอก และภายในสิ้ น ป นี้ จ ะสามารถช ว ย โรงพยาบาลทั้ง 6 แหง ประหยัดเงินไดไมต่ํากวา 20 ลานบาทตอป ดวยงบ ประมาณ 40 ลานบาท นอกจากนี้ยังมีเรื่องของการเชื่อมขอมูลการใชพลังงาน สงมาที่ พพ.เพื่อนําขอมูลตางๆ มาใชใหเกิดประโยชนไดมากขึ้น ซึ่งในอนาคต ตองการผลักดันใหเกิดขึ้นกับโรงพยาบาลอื่นๆ ดวย ดาน รศ. นพ.ประยุทธ ศิริวงษ คณบดี คณะแพทยศาสตรวชิรพยาบาล กลาววา เทคโนโลยี IoT สามารถชวยในเรื่องของการบริหารจัดการผูปวยที่มา ขอรับบริการ 3,000 คนตอวัน ประหยัดทั้งเวลาของผูปวย แพทย และพยาบาล ให ส ามารถทํ า งานได ง า ยขึ้ น และลดการใช พ ลั ง งานของอาคาร จากเดิ ม โรงพยาบาลชําระคาไฟฟาเดือนละ 7 ลานบาท ปจจ�บันลดเหลือเพียง 5 ลานบาท ตอเดือน เชื่อวาถามีการตอยอดในเรื่องการใช IoT คาไฟก็จะลดลงไปอีก คาใชจายดานสาธารณูปโภคก็จะลดลงเชนกัน

GreenNetwork4.0 May-June 2018


*> )9L!G!

GREEN

Industry

Green

วิฑูรย์ สิมะโชคดี

øąéĆïÖćøóĆçîćǰ ǰ×ĆĚî ÿĎŠĂčêÿćĀÖøøöÿĊđ×Ċ÷ü

# <"9 < :+2=D =*/ Green Activity Level 2

+8""2=D =*/ Green System Level 3

/9 ! ++)2=D =*/ Green Culture Level 4

D +?5 ĉ:*2=D =*/ Green Network Level 5

/:))@ĉ )9L!2=D =*/ Green Commitment Level 1 “การผลิตสีเขียว” (Green Production) หมายถึง การผลิตทีค่ าํ นึงถึงความปลอดภัยของผูบ ริโภค การรักษาสิ่งแวดลอม และการประหยัดพลังงาน โดยปกติแลว จะถือวาเปนกระบวนการผลิตที่สะอาด (Clean Production) ดวย คือใช วัตถุดบิ และกอใหเกิดของเสียนอย คัดสรรวัตถุดบิ ในการผลิต เลือกใชเทคโนโลยี ทีเ่ หมาะสม มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด รวมทั้งใชทรัพยากรไดอยาง คุมคาและรูคุณคามากที่สุด ตลอดจนมีระบบการขนสงสินคาที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม นอกจากนั้นสินคานั้นตองกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม นอยที่สุดเมื่อสิ้นสุดอายุการใชงาน มีระบบกําจัดของเสียอยางถูกวิธี มีการ นําของเสียจากกระบวนการผลิตแปรรูปกลับมาใชใหม จนถึงการรับภาระ ในการจัดการซากผลิตภัณฑที่นํากลับมาใชใหมไดดวย การผลิตสีเขียว จึงเปน กระบวนการการผลิตที่ใสใจสิ่งแวดลอมตั้งแตตนจนจบครบวงจร การรักษาสภาพแวดลอมที่นับวันจะซับซอนมากขึ้นนี้ ไดกลายเปนแรง กดดันตอทุกองคกรและธุรกิจอุตสาหกรรมเปนอยางมาก ดังนัน้ องคการระหวาง ประเทศวาดวยการมาตรฐาน หรือ ISO (International Organization for Standardization) จึงไดกําหนดกฎเกณฑสําหรับอนุกรมมาตรฐานดาน สิง่ แวดลอมขึน้ ไดแก ระบบการจัดการสิง่ แวดลอม การตรวจประเมินการจัดการ สิ่งแวดลอม การประเมินความสามารถในการจัดการสิ่งแวดลอม การแสดง ฉลากรับรองผลิตภัณฑ และการประเมินผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในวงจร ของผลิตภัณฑ ซึ่งทั้งหมดก็คืออนุกรมมาตรฐาน ISO 14000 หรือเรียกวา เปน “มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม” นั่นเอง “ผลิตภัณฑสีเขียว” (Green Product) เปนผลิตภัณฑที่ตลอดขั้นตอน การผลิตทําใหเกิดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมนอยกวาผลิตภัณฑอนื่ ๆ ทีท่ าํ หนาที่ อยางเดียวกัน ไมปลอยสารเคมีหรือกากสารพิษออกสูสิ่งแวดลอม ประหยัด 34

พลังงานและทรัพยากรธรรมชาติทั้งในระหวางการผลิต การขนสง และการใชงาน ตลอดจนไมเปนภาระในการกําจัดทิง้ และไมกอใหเกิดขยะในปริมาณมาก “ฉลากเขียว” หรือ Green Label (Eco-Label) ประเทศไทยมีระบบ ที่ใหการรับรองผลิตภัณฑที่รักษาสิ่งแวดลอม โดยการมอบ “ฉลากเขียว” ใหแก ผลิตภัณฑ การมีเครื่องหมายฉลากเขียวติดอยูกับสินคาจะเปนการสรางความ มั่นใจใหกับผูบริโภคในการเลือกซื้อสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เปนขอมูล ใหผูบริโภคทราบวา ผลิตภัณฑนั้นนอกจากจะมีคุณภาพแลวยังเนนคุณคาทาง สิ่งแวดลอมดวย “อุตสาหกรรมสีเขียว” (Green Industry) ตั้งอยูบนแนวความคิดพื้นฐาน ที่สําคัญ 2 ประการ คือ (1) การปรับปรุงอยางตอเนื่อง เพื่อการประกอบกิจการ ทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม และ (2) การรับผิดชอบตอสังคมดวยการยึดมัน่ ในการ พัฒนาอยางยั่งยืน โดยมี บันได 5 ขั้น เพื่อเปนแนวทางดําเนินการเพื่อใหโรงงาน ตางๆ มุงสูความเปน “อุตสาหกรรมสีเขียว” (GI) อันไดแก ความมุงมั่นสีเขียว ปฏิบัติการสีเขียว ระบบสีเขียว วัฒนธรรมสีเขียว และเครือขายสีเขียว นอกจากนี้ เราควรใสใจในธุรกิจภาคบริการที่ตองใชทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมเปนตนทุน เชน บริษัทนําเที่ยว ธุรกิจดําน้ําดูปะการัง โรงแรม ภัตตาคาร รานอาหาร เปนตน รวมทั้งธุรกิจใหบริการที่มีการถายเทของเสีย สูสง่ิ แวดลอมปริมาณมาก อาทิ รานซักแหง ปม นาํ้ มัน โรงพยาบาล เชนเดียวกัน ดวย โดยการเลือกใชบริการจากผูใ หบริการที่ใสใจตอสิง่ แวดลอม มีการประหยัดนาํ้ ประหยัดพลังงาน และมีระบบจัดการของเสีย เชน ขยะ นาํ้ อากาศอยางเหมาะสม ทุกวันนี้ คําวา “สีเขียว” หรือ “Green” จึงเปนอีกหนึ่งปจจัยสําคัญแหง ความสําเร็จของทุกองคกร ครับผม !

GreenNetwork4.0 May-June 2018


GREEN

Technology & Innovation กองบรรณาธิการ

ผศ. ดร.พฤกษ อักกะรังสี

D#-=L*!/92 @D3-?5G Ċ : :+D 1 +

):D#đ! ĉ:! =/(:& Ċ/* Pyrolysis Mobile ในชวงฤดูแลงของทุกป พื้นที่ภาคเหนือมักประสบกับปญหาหมอกควัน ซึ่งมีสาเหตุเกิดจากการ เผาวัสดุเหลือใชจากการเกษตรในที่โลงแจง โดยเฉพาะปญหาการเผาเศษขาวโพดของเกษตรกร ลวน กอใหเกิดปญหามลพิษทางอากาศปริมาณมาก และยังสงผลกระทบตอสุขภาพ ในป พ.ศ. 2558 กองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ไดใหการสนับสนุน “โครงการการพัฒนาแนวทางการผลิตและประยุกตใชถานชีวภาพจากวัสดุการเกษตรเพื่อเปน เชือ้ เพลิงรวมกับถานหิน” เพือ่ เปนการศึกษาแนวทางการพัฒนาแหลงพลังงานทดแทนชีวมวลจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร ภายในประเทศใหมีศักยภาพสูงขึ้น ระบบการผลิตถานชีวภาพจากวัสดุทางการเกษตรแบบเคลือ่ นที่ไดใชกระบวนการไพโรไลซิส (Pyrolysis Process) ซึ่งเปนกระบวนการสลายตัวของสารดวยความรอนในสภาวะไรอากาศหรืออับอากาศในชวงอุณหภูมิสูง เชน 300-500 ํC ระบบการผลิตถานชีวภาพฯ รองรับชีวมวลทีท่ าํ การทดสอบ ไดแก ซังขาวโพด, ไมสบั ยางพารา และเหงามันสําปะหลัง ไมนอ ยกวา 50 กิโลกรัมตอชั่วโมง ไดผลิตภัณฑหลัก 3 ชนิด คือ 1. แกสคารบอนไดออกไซด คารบอนบอนมอนอกไซด ไฮโดรคารบอน และอื่นๆ 2. ของเหลว ไดแก น้ําสมควันไม และ 3. ถานชีวภาพ โดยระบบนี้เนนการผลิตใหไดถานชีวภาพ (Biocoal) คิดเปน 25-30% ของปริมาณ ชีวมวล เพือ่ นําไปอัดเม็ด (Pellet) จะไดถา นชีวภาพอัดเม็ดที่ใหพลังงานทีส่ งู ประมาณ 22-44 เมกะจูลตอกิโลกรัม แกสและของเหลว ที่ไดจะใชเปนพลังงานเชื้อเพลิงในการผลิตรวมของระบบ ผศ. ดร.พฤกษ อักกะรังสี ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค มหาวิทยาลัยเชียงใหม กลาววา ดวยการเพาะปลูกขาวโพดในเขตภาคเหนือตอนบนสวนใหญมักอยูบนที่ราบเชิงเขาและหุบเขา จึงเปนอุปสรรคตอการขนยาย วัสดุเหลือใชทางการเกษตรออกจากพื้นที่ ฉะนั้น จึงไดสรางรถตนแบบผลิตถานชีวภาพเคลื่อนที่ได “Pyrolysis Mobile” ที่มี ความสามารถเขาไปจัดการวัสดุเหลือใชทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยวไดถึงแหลงกําเนิด และสามารถแปรรูปออกมาเปน ถานชีวภาพอัดเม็ดที่มีคาความรอนสูงเทียบเทาถานหินได “ของแข็งที่ไดจากกระบวนการเรียกวา ถานชีวภาพ (Biochar) เปนถานที่อุดมไปดวยคารบอน สามารถใชประโยชน เพื่อกักเก็บคารบอนลงดินเพื่อตัดวงจรการกลับสูชั้นบรรยากาศของกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) และปรับปรุงดิน นอกจากนี้ ยังสามารถใชเปนเชื้อเพลิงได โดยมีคุณสมบัติเทียบเทากับถานหิน แตปลอยมลพิษที่ตํา่ กวาการใชถานหิน” ถานชีวภาพอัดเม็ดจะมีตนทุนการผลิตราว 10-12 บาทตอกิโลกรัม ใชเวลาในการผลิตอยางนอย 2 ชั่วโมง เมื่อเทียบกับถานทั่วไป ที่มีราคาขายในทองตลาดประมาณ 10 บาทตอกิโลกรัม แตใชระยะเวลาในการผลิตหลายวัน และใชวัตถุดิบเปนไมเนื้อแข็งเทานั้น ซึ่ง คุณสมบัติดานพลังงานแทบไมตางกันมาก แตถานชีวภาพอัดเม็ดจะมีคุณสมบัติโดดเดน คือ มีความหนาแนนสูงกวาถานทั่วไปมาก ทําให มีตน ทุนในการขนสงตา่ํ นอกจากนีร้ ะบบผลิตถานชีวภาพโดยรถเคลือ่ นทีย่ งั ตอบโจทยพนื้ ทีข่ องแหลงกําเนิดชีวมวลทีร่ อการกําจัดและปญหา สิง่ แวดลอม ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของการกอมลพิษทางอากาศ โดยใชกระบวนการแยกสลายซังขาวโพดดวยความรอน ซึง่ มีคา ปริมาณการปลอย กาซเรือนกระจกที่เกิดจากระบบรวม นอยกวาการเผาซังขาวโพดในที่โลงแจงถึง 4 เทา ในสวนของตนทุนของอุปกรณที่ใชในระบบการผลิตถานชีวภาพแบบเคลื่อนที่ยังมีราคาสูง เนือ่ งจากระบบจะตองออกแบบใหรองรับ การสั่นสะเทือนในการเคลื่อนที่ของรถ ทําใหวัสดุอุปกรณที่ใชจะตองมีคุณสมบัติที่มากกวาระบบที่ไมเคลื่อนที่ รวมทั้งระบบนี้ถูกจํากัดพื้นที่ ทําใหการออกแบบในเรื่องของการถายเทความรอน ระยะการหมุนเวียนของอากาศรอนตองอาศัยอุปกรณไฟฟาและพลังงานไฟฟาเขาชวย หากระบบการผลิตถานชีวภาพติดตั้งอยูกับที่จะชวยลดคาใชจายดานอุปกรณและวัสดุ รวมถึงพลังงานที่ใชไดมาก รถตนแบบผลิตถานชีวภาพเคลื่อนที่ได “Pyrolysis Mobile” เปนกระบวนการผลิตที่ใหคุณคาทั้งทางดานพลังงานและสิ่งแวดลอม นับเปนผลงานวิจัยที่คิดโดยคนไทย ที่ชวยสรางมูลคาวัสดุเหลือใชทางการเกษตร เปลี่ยนของเสียมาเปนพลังงานทดแทน ที่ตอบสนอง ความตองการของชุมชนและภาคธุรกิจ และยังลดการนําเขาพลังงาน 35

GreenNetwork4.0 May-June 2018


GREEN

Article รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล* รัฐพล เจียวิริยบุญญา*

Ċ:/G3Ċ 9!

5! =L 1

D))D"+! D F!F-*=

การเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรโลก การใชนา้ํ อยางไมรคู ณ ุ คา รวมถึงปญหาน้าํ เนาเสีย ทีเ่ กิดจากภาคอุตสาหกรรมตางๆ ลวนสงผลกระทบโดยตรง กับปญหาการขาดแคลนน้าํ จืดโดยปญหาดังกลาวไดทวีความรุนแรง เพิ่มมากขึ้น จนกระทั่งในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริกา ไดนาํ เทคโนโลยีทเ่ี รียกวา เมมเบรน (Membrane) เขามาใชกรองน้าํ ทะเล ใหกลายเปนน้าํ จืดเปนครัง้ แรก (ชวง พ.ศ. 2503) และยังไดรบั การพัฒนา มาอยางตอเนื่องจากภาคสวนตางๆ จนในปจจ�บันเทคโนโลยีเมนเบรน มีความกาวหนาและอยูใกลตัวเรามากขึ้น ในอนาคตอันใกลเมมเบรน จะเขามามีบทบาทในระบบการทํางานหลายๆ ดานทีม่ ีใชอยูในปจจ�บนั ผูเขียนจึงขอใชโอกาสนี้นําเสนอขอมูล แนวทางการนําไปใชงาน และพัฒนาการของเมมเบรน โดยเนนไปในดานที่เกี่ยวขัอง กับเฟสน้ํา ดังขอมูลตอไปนี้

เมมเบรนคือ? Membrane Filtration คือ เทคโนโลยีการกรองแยกของแข็งแขวนลอยหรือ ของแข็ ง ละลายออกจากของเหลวโดยการใช ค วามดั น ผ า นแผ น เยื่ อ กรองที่ มี รู พ รุ น ขนาดเล็ก (ไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา) ที่กระจายอยูทั่วพื้นผิวสงผลใหอนุภาค ที่มีขนาดใหญกวารูพรุนของเมมเบรนจะถูกเมมเบรนกักไวสวนอนุภาคที่มีขนาดเล็กกวา จะสามารถลอดผานเมมเบรนออกมาไดโดยเมมเบรนที่มีความสามารถสูงสุดซึ่งสามารถ กักไดทกุ อนุภาคและโมเลกุลรวมทัง้ ไอออนตางๆ ทีป่ นเปอ นอยูในน้าํ จะมีเพียงแตโมเลกุล น้ําเทานั้นที่สามารถลอดผานเมมเบรนออกมาได นั่นก็คืออารโอเมมเบรน (Reverse Osmosis, RO) นอกจากนั้นยังมีเมมเบรนอีกหลายชนิดที่มีความสามารถในการคัดกรอง อนุภาคลดหลั่นลงไป ไดแก นาโนฟลเตรชั่น (Nanofiltration, NF) อัลตราฟลเตรชั่น (Ultrafiltration, UF) และไมโครฟลเตรชัน่ (Microfiltration, MF) ทัง้ นีห้ ากพูดถึงเมมเบรน หลายคนอาจจะนึ กไปถึ ง การใช ง านในระบบผลิ ต น้ํ า -บํ า บั ด น้ํ า เสี ย ภายในโรงงาน อุตสาหกรรมขนาดใหญ โดยลืมนึกไปวาเครือ่ งกรองน้าํ ที่ใชกนั ภายในบานเรือนในปจจ�บนั ก็ใชระบบกรอง RO แลวเชนกัน ซึง่ ชวยย้าํ คํากลาวทีว่ า เมมเบรนอยูใกลตวั เรามากขึน้ ได เปนอยางดี แตกวาทีเ่ ทคโนโลยีเมมเบรนจะมีใหเราใชงานกันตามบานเรือนอยางในทุกวันนี้ ตองผานการวิจัยพัฒนากันมาอยางตอเนื่องและยาวนานเชนกัน ประวัติความเปนมาของเทคโนโลยีเมมเบรน ยุคแรกไนโตรเซลลูโลสเมมเบรน เทคโนโลยีเมมเบรนนัน้ มีใชงานกันมากวา 50 ปมาแลว โดยในยุคแรกจะเปนการใช ไนโตรเซลลูโลสขึ้นรูปเปนแผนฟลมดวยวิธีการนําตัวไนโตรเซลลูโลสมาละลายในตัว ทําละลาย จากนั้นทําการแผออกเพื่อขึ้นรูปเปนแผนฟลมผิวเรียบโดย กลไกการทํางานจะใชวธิ กี ารควบคุมขนาดรูพรุนของแผนฟลม จากการ เลือกใชชนิดของตัวทําละลาย การควบคุมการระเหยของตัวทําละลาย การใชงานสารปรุงแตง การออกแบบและควบคุมคุณภาพในการเดิน ระบบผลิต เปนตน ขนาดรูพรุนในชวงแรกนั่นมีขนาดเล็กเพียงพอ ที่จะแยกเกลือออกจากน้ําได เราจึงสามารถทําน้ําจืดจากน้ําทะเลได เปนครั้งแรกดวยเทคโนโลยีเมมเบรนนั่นเอง อยางไรก็ตาม เมมเบรน ในยุคแรกนั้น มีขอเสียคือชั้น ฟลมมีความหนามาก สงผลใหอัตรา การไหลมีคาต่ํามาก (ผลิตน้ําไดนอย) รวมถึงตองใชพลังงานสูงมาก เพือ่ ดําเนินการขางตน ประเด็นดังกลาวจึงเปนสิง่ ทีน่ กั วิจยั จะตองนําไป ปรับปรุงเพื่อพัฒนาเมมเบรนใหกาวผานขอจํากัดดังกลาวไปใหได

*ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Pisut.p@chula.ac.th 36

GreenNetwork4.0 May-June 2018


ยุคที่ 3 เมมเบรนกับงานบำบัดน้ำเสีย (ทนรอน กัดกรอน และสภาพตางๆ) ขอจํากัดเกีย่ วกับอัตราการไหลไดถกู พัฒนาขึน้ แลวในเทคโนโลยีเมมเบรน ยุคที่ 2 จึงมีความเปนไปไดที่จะนําเมมเบรนไปปรับใชในงานดานตางๆ เพิ่มขึ้น เมื่อนักวิจัยไดนําเมมเบรนไปปรับใชในงานดานการบําบัดน้ําเสียจึงพบวา สภาพ น้าํ เสียในโรงงานอุตสาหกรรมสวนใหญมกั มีอณ ุ หภูมแิ ละความเปนกรดสูงจึงเกิด สภาวะการกัดกรอนทีร่ นุ แรง หากใชเมมเบรนทีผ่ ลิตจากโพลิเมอรแบบเดิมจะตอง ทําการลดอุณหภูมิและปรับสภาพความเปนกรดกอนจึงจะสามารถกรองน้ําเสีย ดังกลาวได (เสียเวลาและมีคา ใชจา ยเพิม่ มากขึน้ ) จากขอจํากัดดังกลาวเมมเบรน ในยุคที่ 3 จึงถูกพัฒนาและผลิตขึ้นจากเซรามิกที่สามารถทนความรอนไดสูงถึง 800 องศาเซลเซียส และสามารถใชงานไดในทุกสภาพความเปนกรด-ดาง (pH0 -14) ทําใหเทคโนโลยีเมมเบรนเขามามีบทบาทในงานดานการบําบัดน้าํ เสีย มากขึ้น โดยสามารถลดพื้นที่ของระบบบําบัดน้ําเสียลงไดมากเนื่องจากระบบ กรองเมมเบรนนั้นใชพื้นที่นอยและสามารถกําจัดมลสารตางๆ ในน้ําเสียไดอยาง มีประสิทธิภาพนั่นเอง

Nitrocellulose Membrane

Ceramic Membranes การแยกเกลือออกจากน้ํา ยุคที่ 2 Thin Film Composite membranes (TFC or TFM) จากขอจํากัดในยุคแรก นักวิจยั จึงตัง้ สมมติฐานทีว่ า “ความหนาของชัน้ ฟลม นัน่ เองทีเ่ ปนสาเหตุทาํ ใหนา้ํ ไหลผานเมมเบรนไดชา ” ในยุคที่ 2 งานวิจยั จึงเปนไป ในแนวทางการลดความหนาของเมนเบรนลงโดยการใชความรอน ทําใหไดแผน เมมเบรนที่มีความบางเพียง 100 ไมครอน (ขนาดเทาๆ กับเสนผานศูนยกลาง เสนผมของเรา) แตปญหาที่ตามมาคือ เมื่อแผนเมมเบรนบางมากทําใหความ แข็งแรงของชัน้ ฟลม ลดลงตามไปดวย นักวิจยั จึงใชวธิ กี ารเสริมชัน้ โครงสรางเพือ่ รองรับฟลมเมมเบรน ซึ่งโครงสรางดังกลาวจะใชเพื่อเสริมความแข็งแรงเทานั้น ประสิทธิภาพการกรองยังคงขึน้ อยูก บั ขนาดรูพรุนของเมมเบรนเชนเดิม สงผลให น้าํ สามารถไหลผานเมมเบรนไดเร็วขึน้ นัน่ เอง ทัง้ นีน้ กั วิจยั ยังคงพัฒนาเทคโนโลยี เมมเบรนกันอยางตอเนือ่ ง โดยมีแนวคิดทีจ่ ะนําเมมเบรนไปใชในงานบําบัดน้าํ เสีย ซึ่งขอจํากัดของเมมเบรนอยางหนึ่งก็คือ ไมสามารถทนความรอนและการ กัดกรอนสูงได ประเด็นนี้จึงนําไปสูการพัฒนาเทคโนโลยีเมมเบรนในยุคที่ 3

ถึงแมการพัฒนาเทคโนโลยีเมมเบรนในเฟสน้ําจะมีการตอยอดไปใช ในระบบบําบัดน้ําเสียกันมากขึ้น แตพัฒนาการในการผลิตน้ําจืดจากน้ําทะเล ยังคงเปน ประเด็น หลักที่นักวิจัยยังคงใหความสําคัญเสมอมา โดยเฉพาะใน ประเทศที่ขาดแคลนน้ําจืดอยางสิงคโปร ที่กาวขึ้น มาเปนผูนําดานเมมเบรน ระดับโลกในปจจ�บนั ดังนัน้ ในฉบับหนาเราจะมาติดตามเทคโนโลยีเมมเบรนในยุค ที่ 4 (ยุคปจจ�บัน) รวมถึงบทบาทของเมมเบรนกับโลกในปจจ�บันและอนาคต กันตอไปครับ เอกสารอางอิง แกปญหาวิกฤตน้ําดวยเมมเบรนเทคโนโลยี : ดร.ฉัตรแกว ตันสกุล Membrane Systems นวัตกรรมระบบผลิตน้ํา-บําบัดน้ําเสีย: รายการ “พูดจา ประสาชาง” วิทยุจ�ฬา FM 1.1.5 MHz https://www.facebook.com/ ChulaEngineering/videos/10155093562966920/?hc_ref=ARR POlLxT9sCkxCEClmm8FIjsY1ahr3vm61v0CtRaYlRE9TuEHqM_ nKYSB9hjSkeNTA บริษัท ส นภา จํากัด โดย SN Group: https://www.snapa.co.th/index.php?route=content/category& type=project ● ●

● ●

Architecture of a Thin Film Composite (TFC) 37

GreenNetwork4.0 May-June 2018


GREEN

BIZ

บีไอจี สนับสนุนน้ำแข็งแหงเพื่อปฏิบัติการฝนหลวงสูภัยแลง บริษทั บางกอกอินดัสเทรียลแกส จํากัด หรือ บีไอจี ผูน าํ นวัตกรรมกาซอุตสาหกรรมของประเทศไทย นําโดย ปยบุตร จารุเพ็ญ กรรมการผูจัดการ ใหการสนับสนุนน้ําแข็งแหงจํานวน 70 ตัน รวมมูลคากวา 1 ลานบาท แก กรมฝนหลวงและการบินเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยมี ดร.สุรสีห กิตติมณฑล อธิบดีกรมฝนหลวงฯ เปนผูร บั มอบ และ วิทรู ชั ศรีนาม ผูว า ราชการจังหวัดจันทบุรี ใหเกียรติรว มเปนสักขีพยาน ณ ศูนยปฏิบตั กิ ารฝนหลวง จังหวัดจันทบุรี เพื่อสนับสนุนภารกิจของศูนยปฏิบัติการฝนหลวงทุกภูมิภาคทั่วประเทศ สําหรับแกไขวิกฤตการณ ภัยแลงในพืน้ ทีท่ างการเกษตรที่ไดรบั ความเดือดรอนจากฝนทิง้ ชวง การขาดแคลนน้าํ เพือ่ การอุปโภคบริโภค รวมถึง การบรรเทาภัยพิบัติทางธรรมชาติตางๆ และการสรางความชุมชื้นใหแกพื้นที่ปาไม โดยบี ไอจี ไดทําการสงมอบ น้าํ แข็งแหงแบบเกล็ดละเอียดซึง่ เปนผลผลิตจากกาซคารบอนไดออกไซดของบริษัทฯ เพือ่ ชวยอํานวยความสะดวกให กรมฝนหลวงฯ สามารถนําไปใชปฏิบตั กิ ารฝนหลวงไดทนั ที สําหรับกิจกรรม CSR นีเ้ กิดจากความคิดริเริม่ ของพนักงาน ในโครงการ “30 ป บีไอจี… นวัตกรรมความดีเพื่อสังคม” เพื่อสานตอแนวทางพระราชดําริของในหลวงรัชกาลที่ 9

นายกสมาคมวิศวกรหญิงไทยคนแรก ศาสตราภิชานพูลพร แสงบางปลา สมาคมวิศวกรหญิงไทย (Thai Women Engineers Association : TWEA) ไดรบั การจดทะเบียนกับนายทะเบียน สมาคมกรุงเทพมหานคร กรมการปกครอง เมือ่ วันที่ 7 กุมภาพันธ พ.ศ. 2561 โดยมี ศาสตราภิชานพูลพร แสงบางปลา รับตําแหนง นายกสมาคมวิศวกรหญิงไทยคนแรก ซึ่งสมาคมฯ มีวัตถุประสงคเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความรู ทางวิศวกรรมและเทคโนโลยี, สงเสริมวิศวกรหญิงใหมบี ทบาทดานงานวิศวกรรมใหทนั สมัยยิง่ ขึน้ , ใหคาํ ปรึกษา แนะนํา ชวยเหลือวิศวกรหญิงในดานวิชาชีพและดานสังคม, แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณดานวิชาชีพวิศวกรรม กับวิศวกรหญิงตางประเทศ, จัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมสังคมและสาธารณประโยชน สมาคมฯ ตั้งอยู ณ ตึกวิศวกรรมยานยนตชั้น 2 คณะวิศวกรรมศาสตร จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เลขที่ 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โดยไดรบั ความอนุเคราะหสถานทีฟ่ รีจากคณะวิศวกรรมศาสตร

“กรีนลาเท็กซ” ปกธงป’61 ขึ้นเปนผูนำธุรกิจเครื่องนอนสุขภาพในไทย ขยายกวา 30 สาขา พรอมเปดโรงงานใหมใหญที่สุดในเอเชียปลายปนี้ บริษัท กรีน ลาเท็กซ จํากัด ผูผลิตและจัดจําหนายผลิตภัณฑที่นอนยางพาราเพื่อสุขภาพคุณภาพสูง ประกาศ รุกตลาดประเทศไทยเต็มตัวในปนี้ พรอมตั้งเปาเปนหนึ่งในผูนําดานการผลิตสินคากลุมเครื่องนอนภายในป 2561 สําหรับปนี้ บริษัท กรีน ลาเท็กซ จํากัด ไดมีการขยายโรงงานใหมบนพื้นที่กวา 20 ไร ณ นิคมอุตสาหกรรม นวนครเพื่อเปนการรองรับการผลิตและการขยายตลาดในประเทศไทยอยางเต็มตัว เนื่องจากตลาดสินคาในกลุม โมเดิรน ลีฟวิ่ง ของไทยมีการเติบโตสูงขึ้นมาก โดยเฉพาะกลุมผูบริโภคที่มีกําลังซื้อสูงและรักสุขภาพ ยอมลงทุน ในการดูแลรางกายเชิงกายภาพระยะยาว โดยเฉพาะดานคุณภาพของการนอน ทําใหผลิตภัณฑที่นอนยางพารา คุณภาพสูงไดรับการตอบรับเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยกรีนลาเท็กซ ตั้งเปาหมายขึ้นแทนเปนหนึ่งในผูนําดานการผลิต เครื่องนอน เพื่อใหคนไทยมีโอกาสไดใชสินคาที่มีคุณภาพเทียบเทาระดับโลก ดวยประสิทธิภาพการผลิตชั้นสูงของ กรีนลาเท็กซ และการเลือกใชน้ํายางพาราธรรมชาติคุณ ภาพดี ดวยการนําเทคโนโลยีที่คิดคนและพัฒนามาใช ในกระบวนการผลิตภายใตคอนเซ็ปต “Innovative Solution for Better Sleep”

พพ. จัดงานชี้แจงหลักเกณฑการประกวดบานจัดสรร อนุรักษพลังงานดีเดนป 2561 เมื่อเร็วๆ นี้ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ไดจัดใหมีพิธีเปดโครงการ และงานสัมมนา “การชี้แจงหลักเกณฑการประกวดบานจัดสรรอนุรักษพลังงานดีเดน ป 2561” โดยมี วันชัย บันลือสินธุ รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน เปนประธาน ในพิธีเปด ณ หองกมลทิพย 3 โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพฯ วัตถุประสงคเพื่อเปนการสงเสริม ใหมีการออกแบบและกอสรางบานใหเกิดการประหยัดพลังงาน ตั้งแตขั้นตอนการออกแบบการ กอสราง โดยมุงเนนไปที่กลุมผูประกอบการดานที่อยูอาศัยตางๆ ในตลาดอสังหาริมทรัพย

บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ MOU รวมทุน ยูนิเวฟ เมือ่ วันที่ 16 พฤษภาคมทีผ่ า นมา บริษัท บริการเชือ้ เพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ไดลงนาม ในสัญญารวมทุน กับบริษัท ยูเวิฟ จํากัด โดยไดรบั เกียรติจาก ม.ร.ว.ศุภดิศ ดิศกุล ประธานกรรมการบริหาร บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ลงนามในสัญญารวม พรอมดวย คเณศ มีแกว เปนผูแทนลงนามในสัญญา 38

GreenNetwork4.0 May-June 2018


Magazine to Save The World

SHELL จัดสัมมนา “Shell Turbo S4 นวัตกรรมการยืดอายุการใชงาน และเพิ่มประสิทธิภาพในเครื่องจักรอุตสาหกรรมโรงไฟฟา”

1

2

3

เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท เชลลแหงประเทศไทย จํากัด ไดจัดการสัมมนา เรื่อง “Shell Turbo S4 นวัตกรรมการยืดอายุการใชงาน และเพิม่ ประสิทธิภาพในเครือ่ งจักร อุตสาหกรรมโรงไฟฟา” ขึ้น ณ โรงแรมพูลแมน จี พัทยา จ.ชลบุรี เพื่อเสริมสราง องคความรูเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของระบบเครื่องจักรระบบ เทอรไบนในอุตสาหกรรมโรงไฟฟา การเลือกใชนา้ํ มันเทอรไบนที่เหมาะสมเพื่อยืดอายุ การใชงาน รวมถึงการอัพเดตความกาวหนาทางเทคโนโลยีของน้าํ มันเทอรไบนทมี่ สี ว น สําคัญในการบํารุงรักษาระบบเทอรไบนในโรงไฟฟา ภายในงานไดรับเกียรติจาก ดร.ครรชิต งามแสนโรจน ผูชวยผูอํานวยการ เขือ่ นรัชชประภา การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย บรรยายพิเศษในหัวขอ “ภาพรวม แนวโนมอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟา” พรอมดวยการสัมมนาในหัวขอที่นาสนใจตลอด ทั้งวัน จากวิทยากรผูเชี่ยวชาญ อาทิ Dr. Felix Guerzoni วิศวกรผูเชี่ยวชาญจาก Shell Shanghai Technology Ltd. และ ไชยนรินทร โชควิกรัยกิจ กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ลองวินไทย จํากัด นอกจากนี้ ผูเ ขารวมการสัมมนายังไดรว มกิจกรรมตางๆ ทีบ่ ธู SHELL Turbo S4 และ SHELL Turbo S4 GX ที่นําเสนอภายในงานอีกดวย

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

39

1. ณัฐชยา จันทรพัฒนะ ผูอํานวยการฝายการตลาด ผลิตภัณฑน้ํามันหลอลื่นประเทศไทย บริษัท เชลลแหงประเทศไทย จํากัด กลาวเปดการสัมมนาอยางเปนทางการ 2. ดร.ครรชิต งามแสนโรจน ผูชวยผูอํานวยการเขื่อนรัชชประภา การไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย 3. ไชยนรินทร โชควิกรัยกิจ กรรมการผูจัดการ บริษัท ลองวินไทย จํากัด 4. Dr. Felix Guerzoni วิศวกรผูเชี่ยวชาญจาก Shell Shanghai Technology Ltd. 5. ผูบริหาร วิทยากร และผูเขารวมงานสัมมนาถายภาพรวมกัน 6.-7. วิทยากรรับมอบของที่ระลึกจากผูบริหาร บริษัท เชลลแหงประเทศไทย จํากัด 8.- 10. วิทยากรและผูบริหารถายภาพรวมกัน 11.-16. ภาพรวมบรรยากาศการสัมมนา 17.-19. ผูเขารวมงานสัมมนาถายภาพเปนที่ระลึก และเลนเกมชิงของรางวัลที่บูธแสดงสินคา

GreenNetwork4.0 May-June 2018



ENDORSED BY:

ASIA’S INTEGRATED OIL, GAS & ENERGY TRANSFORMATION FULL ENERGY VALUE CHAIN WILL INCLUDE: E: Government Leaders

Intergrated Energy rgy gy Companies Technology Providers

National Oil Companies

Power Generation

International Oil Companies

Gas & LNG Companies

SPEAKERS

DELEGATES

Thousands of energy professionals to learn from ground-breaking & extra-ordinary content.

BOOK A STAND AT THAILAND’S LARGEST OIL, GAS AND POWER GENERATION EXHIBITION AND CONFERENCE EXHIBIT WITH US, CALL +66 2 559 0603 OR EMAIL SALES@FUTUREENERGYASIA.COM CO-ORGANISED BY:

50+ 300

Energy companies to build new partnerships and be part of the future energy mix.

SUPPORTING INDUSTRY ASSOCIATIONS:

15,000+

Mobility

Technology providers and entrepreneurs to showcase products, services and solutions.

SILVER SPONSOR:

VISITORS

COUNTRIES

Policy makers to meet, discuss and debate future energy scenarios.

GOLD SPONSOR:

600+

Transmission & Distribution

THE REGION’S MEETING POINT FOR:

OFFICIALLY SUPPORTED BY:

EXHIBITORS

ORGANISED BY:

2,000





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.