Green Network Issue 89

Page 1



ส�านักงานโครงการการค้าสีเขียวไต้หวัน จัดแสดงซุ้มผลิตภัณฑ์สีเขียว น�าเสนอเทคโนโลยีเพื่อการสร้าง เมืองอัจฉริยะตามนโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 ในงาน

Taiwan Expo 2018

ส�ำนักงำนโครงกำรกำรค้ำสีเขียว (Green Trade Project Office : GTPO) ภายใต้การก�ากับดูแล ของกระทรวงเศรษฐกิจไต้หวัน จัดแสดงซุม้ ผลิตภัณฑ์สเี ขียว ไต้หวัน (Taiwan Green Products Pavilion) เป็นครั้งแรก ในประเทศไทย เพื่อน�าเสนอสินค้าและเทคโนโลยีพลังงานสีเขียว จากบริษัทชั้นน�าของไต้หวัน ซึ่งครอบคลุมเทคโนโลยีหลัก 3 ประเภท ได้แก่ 1) โซลูชั่นเมืองอัจฉริยะและอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT) เพื่อ ตอบโจทย์นโยบาย “ไทยแลนด์ 4.0” 2) วัสดุกอ่ สร้างสีเขียวเพือ่ การสร้างเมือง สีเขียว และ 3) เทคโนโลยีการประหยัดพลังงานและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดย จัดขึน้ ภายในงาน Taiwan Expo 2018 ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ ดังนี้

โซลูชั่นเมืองอัจฉริยะและอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT)

1. เจฟ ไจ่ ผูจ้ ดั กำรฝ่ำยขำย บริษทั Tsec Corporation จัดแสดงแผงโซลาร์เซลล์ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพและคุณภาพสูง รวมถึงบริการทีม่ คี วามคล่องตัวตัง้ แต่การผลิตไปจนถึง วิศวกรรม การจัดหา การก่อสร้าง (EPC) ด�าเนินการและจัดการโรงงานไฟฟ้าโดยใช้ พลังงานแสงอาทิตย์ช่วยลดภาวะเรือนกระจก และลดการสูญเสียด้านทรัพยากร พลังงานเพื่อโลกที่ยั่งยืน 2. เนง-ยี ชู ผู้จัดกำรฝ่ำย บริษัท Eterbright Solar Corporation จัดแสดง แผง CIGS PV ซึ่งมีข้อดีหลายประการ เช่น ปราศจาก PID, LID ชาโดว์เอฟเฟ็คต�่า ค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิต�่า และท�างานได้ดีแม้มีแสงน้อย จึงสามารถน�าไปใช้ได้ใน โครงการทีอ่ ยูอ่ าศัย โครงการเชิงพาณิชยกรรม และโรงงาน PV ขนาดใหญ่ในประเทศ แถบยุโรป 3. ซินเธียโล เลขำนุกำรบริหำร ส�ำนักงำนผู้จัดกำรใหญ่ บริษัท LinkCom Manufacturing Co., Ltd. จัดแสดงเทคโนโลยี BLE Mesh โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ BLE ดิมมิ่งหลากหลายรูปแบบที่มีสเปคแตกต่างกัน สามารถเชื่อมต่อเข้ากับ ไฟช่วยให้เรือ่ งการเชือ่ มต่อกับอินเทอร์เน็ตลดความไม่เสถียรกับระบบการควบคุมการ จ่ายไฟ ยังช่วยประหยัดเวลา และลดต้นทุนในการก่อสร้างและการติดตัง้ เป็นอย่างมาก 4. ซินดี้ โฮ ผู้เชี่ยวชำญฝ่ำยขำย แผนกผลิตภัณฑ์ จำก A Team จัดแสดง เซ็นเซอร์วัดคุณภาพอากาศ SAQ-200 ท�างานโดยการเชื่อมต่อกับ LTE เทคโนโลยีนี้ ท�างานแบบไร้สาย มีการตรวจวัดด้วยระบบเซ็นเซอร์ และยังมีระบบ MCU ที่เหมาะ ส�าหรับตลาดผูใ้ ช้ IoT, ระบบวิเคราะห์สงิ่ แวดล้อมอัจฉริยะ การผสมผสานเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์และวิเคราะห์อัลกอริทึม สามารถติดตามแหล่งที่มาของมลพิษได้ อัตโนมัติ ช่วยเพิม่ ความสามารถในการก�ากับดูแลด้านสิง่ แวดล้อมได้เป็นอย่างดี และ แพลตฟอร์มตรวจสอบคุณภาพอากาศ สภาพจราจร และแหล่งทีม่ าของมลพิษในรูปแบบ เรียลไทม์ผ่านการแสดงพื้นที่บนแผนที่

เทคโนโลยีวัสดุก่อสร้างสีเขียวส�าหรับเมืองสีเขียว

1. เทเรซ่ำ ฮวง ฝ่ำยขำยและพัฒนำธุรกิจ บริษทั Ever Green Timber Products Co., Ltd. บริษทั ทีไ่ ด้รบั รางวัล “ใบรับรองวัสดุกอ่ สร้างอาคารสีเขียว” ด้วยวิธกี ารบ�ารุง รักษาไม้ให้คงสีตามธรรมชาติให้คงอยู่ได้นานหลายปีด้วยการน�าเข้าท่อนซุงไปจนถึง สินค้าส�าเร็จรูป Ever Green Timber คัดสรรวัตถุดิบที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 100% มีกระบวนการลดการตกค้างของฟอร์มาลดีไฮด์ให้เหลือน้อยที่สุด 2. อเมนดำ ลู ประธำนบริษทั Global International Energy Saving Co., Ltd. จัดแสดงสีสะท้อนพลังงานแสงอาทิตย์ N.POLE ส�าหรับปิดด้านนอกของสิ่งปลูกสร้าง คล้ายกับภูเขาน�า้ แข็งในขัว้ โลก จากการประมาณการพบว่าสามารถลดอุณหภูมพิ นื้ ผิว ของสิ่งปลูกสร้างลงถึง 30 องศาเซลเซียส!

3. อเมนดำ ประธำนเจ้ำหน้ำทีบ่ ริหำร บริษทั Aberdeen Decoration Company Limited จัดแสดงโค้ตติง้ หิน Addstone ทีไ่ ฮเทคสูตรน�า้ มีผวิ สัมผัสทีแ่ ข็งตัง้ แต่หยาบ จนถึงเรียบ มีสีที่เป็นธรรมชาติเหมือนหินแกรนิตธรรมชาติสามารถฉีดพ่นผลิตภัณฑ์ ได้ดว้ ยเทคนิคง่ายๆ ผลิตภัณฑ์ของ Addstone เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมเทคโนโลยีการ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม 4. ไอวี่ ผู้จัดกำรฝ่ำยขำย บริษัท SD Optronics Corp. จัดแสดงกระจกสลับ แบบชาญฉลาดที่สลับจากใสเป็นขุ่นได้ ท�างานด้วยการควบคุมผ่านระบบไฟฟ้าและ คริสตัลเหลว ท�าให้กระจกที่ได้มีลักษณะโปร่งใสหรือทึบแสงตามต้องการท�างานด้วย เทคโนโลยีออปโตอิเล็กทรอนิกส์ขนั้ สูงส�าหรับใช้เป็นผิวนอกของอาคารหรือส่วนประกอบ ด้านในอาคารก็ได้ และยังเป็นฉนวนป้องกันความร้อนช่วยประหยัดพลังงานอีกด้วย 5. โจเซฟ ฟู่ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั กำรทัว่ ไป บริษทั Genmoor Technology Inc. จัดแสดง กระจกประหยัดพลังงานขัน้ สูง ช่วยเพิม่ สุนทรียศาสตร์ทางสถาปัตยกรรมและสามารถ น�าไปใช้งานได้จริงในชีวิตประจ�าวัน เป็นเทคโนโลยีการเคลือบ High-Precision ลดการใช้พลังงานได้ถงึ 30% ในฤดูรอ้ น และ 25% ในฤดูหนาว มีความต่างของอุณหภูมิ ก่อนและหลังติดตั้งที่ 6-8 องศาเซลเซียส 6. เรน ไซ หัวหน้ำฝ่ำยขำย บริษัท Ecove จัดแสดงพลังงานจากของเหลือทิ้ง ด้วยการสนับสนุนด้านวิศวกรรมทีเ่ ป็นมืออาชีพและเทคโนโลยีอนั ชาญฉลาดของ CTCI ท�าให้ ECOVE สามารถให้บริการวางแผน ออกแบบ ก่อสร้าง บ�ารุงรักษา และบริหาร ในด้านพลังงานจากของเหลือทิ้ง ถือเป็นการให้บริการแบบครบวงจร 7. แอรอน เลียว ฝ่ำยขำยต่ำงประเทศอำวุโส บริษัท Cheng Long Energy Technology จัดแสดงเทคโนโลยีส�าหรับหลากหลายธุรกิจ เพื่อน�าเสนอแนวทางการ ปรับปรุงด้านการประหยัดพลังงานให้แก่ลกู ค้าแบบควบวงจรเพือ่ ลดต้นทุนและลดการ สูญเสียพลังงาน โครงการส่งเสริมผลิตภัณฑ์สเี ขียวประจ�าปีนยี้ งั คงด�าเนินการไปอย่างต่อเนือ่ ง โดยมุ่งเน้นการเจาะตลาดในกลุ่มประเทศอาเซียน อินเดีย และอื่นๆ โดยประเทศไทย นับเป็นการจัด “Taiwan Expo 2018” ครั้งที่ 4 ซึ่งงานแสดงสินค้าดังกล่าวจะจัดขึ้นที่ มาเลเซียช่วงเดือนตุลาคมเป็นจุดหมายสุดท้ายของปีนี้ ผูป้ ระกอบการทีส่ นใจสามารถ ติดต่อเข้าร่วม “Green Customer Exploration” กับทางส�านักงานโครงการการค้า สีเขียวเพื่อแสวงหาโอกาสทางธุรกิจเพื่อโลกที่ดีขึ้นร่วมกัน

หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาเยี่ยมชมเว็บไซต์ www.greentrade.org.tw หรือติดต่อทางหมายเลขโทรศัพท์ +662-651-4470, GreenNetwork4.0 September-October 2018 3 +8862-2725-5200 (ไต้หวัน) และอีเมล info@greentrade.org.tw


Contents September-October 2018

8 Special Scoop by เปมิกา สมพงษ์

27 Green World by กองบรรณาธิการ

28

10

12

14

15

16

17 18

20 22

24 26

จับตาโครงการ Green Industry 8 ปีแห่งความมุ่งมั่นสู่การเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว Special Scoop by กองบรรณาธิการ “โรงกลั่นอัจฉริยะ” ยิ่งไฮเทค ยิ่งมูลค่าเพิ่ม ผู้ลงทุนหวั่น ภัยไซเบอร์ยังเป็นอุปสรรคส�าคัญ Green Focus by พิชัย ถิ่นสันติสุข ยุทธการปราบแมลงวันทอง สงครามระหว่างมนุษย์กับเหล่าแมลง Solar Review by กองบรรณาธิการ เซร่าฟิม โซล่าร์ ซิสเท็ม...ผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์ที่มีมาตรฐาน และคุณภาพสูง งาน Thailand Lighting Fair 2018 และ Thailand Building Fair 2018 Green Scoop by เปมิกา สมพงษ์ โรงแยกก๊าซธรรมชาติและโรงไฟฟ้าขนอม พื้นที่ศึกษาน�าเข้า LNG ลอยน�้า เพื่อความมั่นคงด้านพลังงาน อย่างยั่งยืนในพื้นที่ภาคใต้ Green Scoop by กองบรรณาธิการ แบบจ�าลองทางเลือกใหม่ “Sky Scenario” นวัตกรรมและโอกาส ด้านพลังงานในอนาคต จาก เชลล์ ประเทศไทย เรียนรู้คุณค่าสัตว์ป่า...แหล่งบ่มเพาะเยาวชนกล้ายิ้ม Green Scoop by กองบรรณาธิการ โคมไฟโมบิยา...โคมไฟส่องสว่างสู่ชุมชน Green People by กองบรรณาธิการ เกนเนอยี เปิดธุรกิจใหม่ รับสร้างโรงงานผลิตไอน�้าด้วยเทคโนโลยี ทันสมัย ใช้เชื้อเพลิงถ่านหิน-เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Green Article by รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, นวดล ทองตาล่วง, ดร.ณัฐวิญญ์ ชวเลิศพรศิยา, กริชชาติ ว่องไวลิขิต เรื่องโอโซน เรื่องของเรา (Ozone Our Zone) Green Article by กองบรรณาธิการ โซ่อุปทานสีเขียว กับเครื่องมือสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน Green Report by กองบรรณาธิการ PPA : โมเดลพลังงานที่เพิ่มอ�านาจการผลิตไฟฟ้าของประชาชน Green World by กองบรรณาธิการ อิเกีย ประกาศจะยุติการจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์พลาสติก ประเภทใช้แล้วทิ้ง

30 32 34 35 36 38

New ISO standards for greener machine tools Green Factory by เปมิกา สมพงษ์ ยูนิวานิชน�้ามันปาล์ม (โชควัลลภา) ชูระบบการจัดการพลังงานแบบยั่งยืน พร้อมส่งเสริมปาล์มไทยรักษ์โลก Smart City by เปมิกา สมพงษ์ รัฐฯ-เอกชน ผนึกก�าลัง พาไทยก้าวสู่เมืองอัจฉริยะ Energy Saving by Mr.Save โครงการน�าร่อง T77 ต้นแบบชุมชนพลังงานสีเขียวอัจฉริยะ Green Industry by ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี สีเขียวที่จับต้องได้ Auto Challenge by ศ.กิตติคุณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ รถยนต์ไฟฟ้า รถไฟฟ้า รถไฟไฟฟ้า Green Article by บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อม ประมาณการติดตัง้ แผงพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาในกรุงเทพมหานคร Green Biz by กองบรรณาธิการ


ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ฯพณฯ พลอากาศเอก ก�าธน สินธวานนท์ คณะที่ปรึกษา ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ นินนาท ไชยธีรภิญโญ ดร.อัศวิน จินตกานนท์ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย พานิช พงศ์พิโรดม ประสงค์ ธาราไชย ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.สุรพล ด�ารงกิตติกุล ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ชาย ชีวะเกตุ รศ. ดร.สิงห์ อินทรชูโต บรรณาธิการอ�านวยการ/บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ กองบรรณาธิการ เปมิกา สมพงษ์ เลขานุการกองบรรณาธิการ ปัฐฐมณฑ์ อุ่ยพัฒน์ พิสูจน์อักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม ศศิธร มไหสวริยะ ประสานงาน ภัทรกันต์ กิจสินธพชัย ผู้จัดการฝ่ายการตลาด เขมจิรา ปลาทิพย์ ฝ่ายการตลาด กัลยา ทรัพย์ภิรมย์ เลขานุการฝ่ายการตลาด ชุติมันต์ บัวผัน ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ แยกสี บริษัท คลาสิคสแกน จ�ากัด โรงพิมพ์ หจก.รุ่งเรืองการพิมพ์

สวัสดีครับท่านสมาชิกและท่านผู้อ่านทุกท่าน

อุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) เป็นอีกแนวคิดหนึง่ ทีถ่ กู พูดถึงกันหนาหู ในโลกยุคปัจจุบนั ส�าหรับประเทศไทยเอง ก็ได้มกี ารริเริม่ โครงการอุตสาหกรรมสีเขียว ตัง้ แต่ป ี พ.ศ. 2554 โดยอยูภ่ ายใต้การดูแลของกระทรวงอุตสาหกรรม ทางกระทรวงฯ ได้ผลักดันให้โรงงานและผูป้ ระกอบการในประเทศใส่ใจในเรือ่ งสิง่ แวดล้อมให้มากขึน้ ซึง่ กว่า 8 ปีของโครงการนี ้ มีโรงงานเข้าร่วมมากกว่า 30,000 โรงงาน นับเป็นแนวโน้ม ทีด่ ที จี่ ะเดินหน้าผลักดันให้มกี ารเพิม่ จ�านวนโรงงานสีเขียว และยกระดับโรงงานทีเ่ ข้าร่วม โครงการอยู่แล้วสู่ระดับที่สูงขึ้นต่อไป ส�าหรับความตืน่ ตัวและความคืบหน้าอุตสาหกรรมสีเขียวในประเทศไทย คอลัมน์ Special Scoop ได้นา� เสนอเรือ่ ง “จับตาโครงการ Green Industry 8 ปีแห่งความมุง่ มัน่ สู่การเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว” เพื่อตามดูความคืบหน้าและแนวโน้มในการพัฒนา อุตสาหกรรมไทยสูอ่ ตุ สาหกรรมสีเขียว ความเคลือ่ นไหวทัง้ ของหน่วยงานภาครัฐและ ภาคเอกชน รวมไปถึงนโยบายที่จะใช้ในการผลักดันโครงการนี้ต่อไป ในคอลัมน์ Green Report น�าเสนอเรือ่ ง PPA : โมเดลพลังงานทีเ่ พิม่ อ�านาจการ ผลิตไฟฟ้าของประชาชน ซึง่ เป็นโมเดลพลังงานทีเ่ อือ้ ให้องค์กร หน่วยงานธุรกิจหรือ แม้กระทัง่ ครัวเรือนร่วมเป็นส่วนหนึง่ กับการผลิตไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานแสงอาทิตย์ ได้งา่ ย สะดวก โดยไม่ตอ้ งลงทุนเอง ถือเป็นโมเดลทีเ่ พิม่ ความสนใจให้กบั ผูท้ อี่ ยากมี ส่วนร่วมกับการผลิตพลังงานสะอาดเป็นอย่างยิ่ง! คอลัมน์ Energy Saving ท่านจะได้พบกับ โครงการน�าร่อง T77 ต้นแบบชุมชน สีเขียวอัจฉริยะ โดยแสนสิรจิ บั มือกับบีซพี จี ี บุกเบิกการเริม่ ใช้ระบบแลกเปลีย่ นพลังงาน ไฟฟ้ารูปแบบใหม่แบบเพียร์ทเู พียร์ (Peer-to-Peer) ด้วยการท�าธุรกรรมโดยใช้เทคโนโลยี บล็อกเชน (Blockchain) ส่วนคอลัมน์ Green Factory เป็นเรือ่ งเกีย่ วกับโรงงานยูนวิ านิช น�า้ มันปาล์ม (โชควัลลภา) โรงงานแห่งนีจ้ ะได้นา� ระบบการจัดการพลังงานแบบยัง่ ยืน มาปฏิบัติ พร้อมส่งเสริมปาล์มไทยรักษ์โลก ผู้บริหารได้มาเล่าถึงกระบวนการสกัด น�้ามันปาล์มที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการก�าจัดน�้าเสียโดยน�าไบโอแก๊สมาผลิต ไฟฟ้าเพื่อใช้ในโรงงานและจ�าหน่ายได้ คอลัมน์ Green Industry โดย ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ก็ได้มาขยายความเรื่อง อุตสาหกรรมสีเขียวสูเ่ ศรษฐกิจสีเขียว ใน สีเขียวทีจ่ บั ต้องได้ อีกคอลัมน์หนึง่ ทีห่ า้ มพลาด คือ คอลัมน์ Green People ท่านจะได้พบกับ คุณสมบูรณ์ สิริไพบูลย์พงศ์ กรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั เกนเนอยี จ�ากัด ทีจ่ ะแนะน�าธุรกิจการสร้างโรงงานผลิตไอน�า้ โดยใช้ ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง บริษัทฯ มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย ใช้พื้นที่น้อย และเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ใน คอลัมน์ Green World เป็นเรื่องของ อิเกีย ประกาศจะยุติการ จ�าหน่ายผลิตภัณฑ์พลาสติกประเภทใช้แล้วทิง้ คอลัมน์ Auto Challenge กับการท�า ความเข้าใจเรือ่ งค�าศัพท์เกีย่ วกับ รถยนต์ไฟฟ้า รถไฟฟ้า รถไฟไฟฟ้า และสุดท้ายคอลัมน์ Smart City รัฐฯ-เอกชนผนึกก�าลังพาไทยก้าวสู่เมืองอัจฉริยะ แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 (ฝ่ายการตลาด Ext. 230) แฟกซ์ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail : editor@greennetworkthailand.com




SPECIAL

Scoop เปมิกา สมพงษ์

จับตาโครงการ Green Industry 8 ปีแห่งความมุ่งมั่นสู่การเป็น

อุตสาหกรรมสีเขียว

โครงการอุตสาหกรรมสีเขียว หรือ Green Industry เป็นอีกหนึ่งความร่วมมือในการสร้างความ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของภาคอุตสาหกรรม ด้วยเหตุผลที่ว่า ประเทศเราต้องมีการพัฒนาทางด้าน อุตสาหกรรมอย่างต่อเนือ่ ง และในช่วงปี พ.ศ. 2550 ทางกระทรวงอุตสาหกรรม ได้รบั ข้อมูลเกีย่ วกับข้อร้อง เรียนจากภาคประชาชน ในเรือ่ งของผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมค่อนข้างมาก กรมโรงงานอุตสาหกรรมซึง่ มี หน้าทีโ่ ดยตรงในการดูแลและควบคุมผูป้ ระกอบการ ให้ประกอบกิจกรรมโดยไม่กระทบกับบุคคลทีส่ าม หรือ ไม่กระทบกับสิง่ แวดล้อม โดยจะมีการดูแล 2 ลักษณะ คือ เข้าไปควบคุม ก�ากับดูแล โดยการใช้มาตรการทาง กฎหมาย และอีกวิธหี นึง่ คือ การเข้าไปพัฒนาผูป้ ระกอบการ ให้ดา� เนินการด้วยระบบทีต่ รงไปตรงมา โปร่งใส และจะต้องมีการบริหารจัดการเรื่องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย รวมถึงเรื่องการประหยัด พลังงานด้วย ทั้งหมดนี้จึงเป็นที่มาของการริเริ่มโครงการดังกล่าว

โครงการอุตสาหกรรมสีเขียว ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 ริเริ่มโดยกระทรวงอุตสาหกรรม มุ่งยกระดับ และส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยให้ เป็นไปในแนวทางอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industry) และอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) เน้นการพัฒนา พืน้ ทีเ่ มืองตามศักยภาพด้านทรัพยากรและโครงสร้างด้าน กายภาพ เพิม่ ผลผลิตสามารถแข่งขันได้ในเชิงธุรกิจการค้า ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม มีความปลอดภัยด้านอาชีวอนามัย และความรับผิดชอบต่อสังคมควบคูก่ นั ซึง่ นโยบายดังกล่าว เป็นการพัฒนาที่สร้างความสมดุลทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม และสังคม ท�าให้อตุ สาหกรรมอยูร่ ว่ มกับชุมชน ได้อย่างเป็นสุขและยั่งยืน ตลอด 8 ปีที่ผ่านมา กระทรวงอุตสาหกรรม โดย กรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้พยายามผลักดันโรงงาน อุตสาหกรรมทัว่ ประเทศเข้าสูโ่ ครงการอุตสาหกรรมสีเขียว ซึ่งมีโรงงานผ่านการรับรองดังกล่าวแล้ว 33,757 โรงงาน เฉลี่ยแต่ละปีมีการเพิ่มขึ้นมากกว่าปีละ 20% และในปี พ.ศ. 2561 นี้ มีจา� นวนโรงงานทีไ่ ด้รบั การรับรองอุตสาหกรรม สีเขียว ทั้งสิ้น 2,299 โรงงาน อัตราการเพิ่มขึ้นดังกล่าว นับเป็นสัญญาณที่แสดงให้เห็นว่าโรงงานอุตสาหกรรม ต่างๆ เริม่ ตระหนักถึงการมีสว่ นร่วมรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อมมากขึ้น ผู้ประกอบการที่ได้รับรางวัลระดับ 5

8

GreenNetwork4.0 September-October 2018


เมื่ อ มี แ นวโน้ ม ที่ ดี แล้ว ก็ย่อมต้องมีแนวทาง ที่ จ ะน� า ไปปฏิ บั ติ ไ ด้ อ ย่ า ง ต่อเนื่อง ในเรื่องนี้ บรรจง สุกรีธา รองอธิบดีกรมโรงงาน อุตสาหกรรม ได้กล่าวไว้ว่า กรอ.ได้ ต ระหนั ก ถึ ง แนวทาง ปฏิบัติที่ขณะนี้จะต้องเร่งผลักดัน โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อให้ก้าวสู่การ พัฒนาเป็นโรงงานอุตสาหกรรมสีเขียวให้มากขึน้ ซึ่งประกอบด้วย • ใช้เทคโนโลยีการผลิตที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยการเน้นใช้ทรัพยากร และพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในการผลิต ใช้พลังงานที่สะอาดเพื่อลดการเกิด ของเสียจากกระบวนการผลิต และลดขั้นตอนของกระบวนการผลิต • ระบบขนส่งและจัดจ�าหน่ายทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เช่น ลดการใช้หบี ห่อบรรจุภณั ฑ์ ที่ฟุ่มเฟือย ใช้บรรจุภัณฑ์ที่ท�าจากวัสดุที่ใช้ซ�้าหรือหมุนเวียนใช้ใหม่ได้ ใช้รูปแบบ การขนส่งทีก่ อ่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมต�า่ และเลือกใช้เส้นทางการขนส่งทีป่ ระหยัด พลังงานที่สุด • ของเสียหรือมลพิษ มีการจัดการอย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพ ปัญหาและบริบทของเมือง ทั้งขยะมูลฝอย น�้าเสีย มลพิษทางอากาศ มลพิษทาง เสียง หรือมลพิษอื่นๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีต่อการอยู่อาศัยและ การประกอบกิจการ ป้องกัน ลดเหตุรา� คาญและผลกระทบอืน่ ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ต่อสังคม และเศรษฐกิจของเมือง • สิง่ แวดล้อมทีม่ นุษย์สร้างขึน้ ได้รบั การดูแลรักษาและจัดการอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่น ได้แก่ การพัฒนาพื้นที่สีเขียว ปรับปรุง ภูมทิ ศั น์เมืองให้มเี อกลักษณ์สวยงาม สอดคล้องกับบริบทเมือง และเอือ้ ให้เกิดประโยชน์ ต่อชุมชน รวมถึงมีการสืบสารหรือถ่ายทอดภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ สูส่ าธารณะเพือ่ การ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • มีระบบการจัดการหลังหมดอายุการใช้งานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เช่น มีระบบการบริหารจัดการวัสดุเหลือใช้ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย ทีส่ ดุ หรือไม่กอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมเลย มีการออกแบบให้นา� สินค้าหรือ ชิน้ ส่วนกลับมาใช้ซา�้ หรือหมุนเวียนใช้ใหม่ได้งา่ ย หรือหากต้องก�าจัดทิง้ สามารถน�า พลังงานกลับคืนมาใช้ใหม่ได้ รวมถึงมีความปลอดภัยส�าหรับการฝังกลบ

9

จัดการง่ายขึ้น ด้วยระบบสารสนเทศสีเขียว

กรมโรงงานอุตสาหกรรม ยังได้เตรียมน�า ระบบสารสนเทศสีเขียว ซึง่ เป็นระบบสารสนเทศรูปแบบใหม่ ทีไ่ ด้รบั การออกแบบมาเพือ่ สนับสนุน โครงการอุตสาหกรรมสีเชียวโดยเฉพาะ โดยจุดเด่นของระบบดังกล่าว คือสามารถเชือ่ มโยงข้อมูลไปยังหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องและสามารถสืบค้น ข้อมูลสถานประกอบการต่างๆ ที่ได้รับการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวใน ระดับต่างๆ ได้ อีกทัง้ ยังสามารถลงทะเบียนเพือ่ สมัครหรือต่ออายุใบรับรอง อุตสาหกรรมสีเขียวได้ เพือ่ อ�านวยความสะดวกให้ผปู้ ระกอบการในทุกระดับให้ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็ว รวมไปถึงลดขั้นตอนเกี่ยวกับเอกสาร ในการด�าเนินงานได้มากขึ้น

หน้าหลักระบบสารสนเทศสีเขียว

หน้าค้นหาใบรับรองสถานประกอบการสีเขียว นิสากร จึงเจริญธรรม รองปลัดกระทรวง อุ ต สาหกรรม ได้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ การเดินหน้าโครงการดังกล่าวว่า กระทรวง อุตสาหกรรมมีแผนที่จะรณรงค์ให้โรงงาน เข้าสู่โครงการอุตสาหกรรมสีเขียวพร้อม เพรียงกันทัง้ ประเทศ ด้วยโครงการฝึกอบรม เชิงปฏิบตั กิ าร มาตรการในการสร้างแรงจูงใจ สิทธิประโยชน์ทไี่ ด้รบั หลังจากเข้าร่วมโครงการ รวมถึงสิทธิประโยชน์ด้านภาษีที่ขณะนี้ก�าลัง วางแผนและอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาถึงความ เป็นไปได้เพื่อน�าไปใช้ในอนาคต เมื่อได้เห็นความมุ่งมั่นพัฒนาของแต่ละฝ่าย ที่พยายามผลักดันโครงการ อุตสาหกรรมสีเขียว อย่างนี้แล้ว ก็เป็นเรื่องน่ายินดี ทีอ่ ย่างน้อยๆ ก็มกี ารขับเคลือ่ นไปข้างหน้าอย่างเห็นได้ชดั แต่ทงั้ นีท้ งั้ นัน้ โครงการ จะไม่สามารถส�าเร็จลุลว่ งตามวัตถุประสงค์ได้เลย หากโรงงานต่างๆ ไม่เล็งเห็นถึง ความส�าคัญของการมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เสียก่อน ฉะนัน้ การเริม่ ต้นทีด่ ที สี่ ดุ คือการปลูกฝังความคิด และจิตส�านึกทีด่ ใี ห้กบั ผูค้ นทีม่ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกระดับชัน้ ในโรงงาน เพือ่ ให้เข้าใจว่าสิง่ ทีพ่ ยายามจะท�ากัน อยูน่ นั้ ไม่ใช่เพียงแค่การท�าให้โรงงานได้รบั รางวัลโรงงานสีเขียว แต่เราเป็นส่วนหนึง่ ที่ก�าลังท�าเพื่อให้โลกใบนี้กลับมาเป็นสีเขียวอีกครั้ง

GreenNetwork4.0 September-October 2018


SPECIAL

Scoop กองบรรณาธิการ

“โรงกลั่นอัจฉริยะ” ยิ่งไฮเทค ยิ่งมูลค่าเพิ่ม ผู้ลงทุนหวั่น ภัยไซเบอร์ ยังเป็นอุปสรรคส�าคัญ

ธุรกิจพลังงานอย่างโรงกลั่นน�้ามัน นับเป็นอีกธุรกิจหนึ่งที่น่าจับตามองใน วงการพลังงาน ในเรื่องของการขับเคลื่อนไปสู่การเป็นธุรกิจดิจิทัลอย่างแท้จริง ซึ่งที่ผ่านมา ก็ได้มีความพยายามที่จะน�าเอาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในโรงกลั่น ทว่ายังไม่มากพอ เมือ่ เทียบกับมูลค่าเพิม่ ทีค่ วรได้รบั จากการใช้เทคโนโลยีดงั กล่าว ผลวิจยั ชุดใหม่ของ เอคเซนเชอร์ ประเทศไทย บริษทั ทีป่ รึกษาด้านยุทธศาสตร์ ให้คา� ปรึกษาทางธุรกิจดิจทิ ลั การบริหารเทคโนโลยีและการปฏิบตั กิ าร เผยให้เห็นว่า ธุรกิจโรงกลัน่ สามารถสร้างผลตอบแทนทางการเงินได้จากการน�าเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใช้ แต่ก็ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์เต็มที่จากการสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยเทคโนโลยีอัน ก้าวล�า้ อย่างทีค่ วรจะเป็น “ธุรกิจโรงกลัน่ อัจฉริยะ” (Intelligent Refinery) เป็นงาน วิจยั เกีย่ วกับเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ในอุตสาหกรรมการกลัน่ น�า้ มัน โดยได้ขอ้ มูลจากการ ส�ารวจกลุม่ ผูบ้ ริหาร หัวหน้าสายงาน และวิศวกรในอุตสาหกรรมโรงกลัน่ 170 คน ทัว่ โลก ซึง่ นอกจากผลวิจยั จะระบุถงึ ผลประโยชน์ทางการเงินจากเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั 10

แล้ว ยังชีใ้ ห้เห็นว่าธุรกิจโรงกลัน่ ยังลงทุนไม่เต็มทีพ่ อทีจ่ ะสามารถจัดการกับปัญหา ภัยคุกคามทางไซเบอร์ ที่เพิ่มปริมาณขึ้นตามเทคโนโลยีดิจิทัล ผู้ตอบแบบส�ารวจร้อยละ 41 ระบุว่า บริษัทของตนมองเห็นผลตอบแทน ทางการเงินที่ได้จากการน�าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้แล้ว ซึ่งรวมถึงกลุ่มที่มีสัดส่วน ร้อยละ 30 ที่ยอมรับว่าเทคโนโลยีเข้ามาช่วยท�าให้อัตราก�าไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นกว่า ร้อยละ 7 ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา นอกจากนี้ 1 ใน 5 หรือร้อยละ 20 ของผู้ตอบ ยังกล่าวว่าเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ช่วยเพิม่ มูลค่าของธุรกิจได้ 50-100 ล้านเหรียญสหรัฐ หรืออาจมากกว่านัน้ ส่วนผูต้ อบหนึง่ ในสามหรือ ร้อยละ 33 ระบุวา่ มูลค่าทีเ่ พิม่ ขึน้ อยู่ในช่วง 5-50 ล้านเหรียญสหรัฐ ผลตอบแทนทางการเงินที่จับต้องได้อาจเป็นส่วนช่วยอธิบายถึงสาเหตุ ของการเพิม่ เม็ดเงินลงทุนในเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ของกิจการมากกว่าครึง่ (ร้อยละ 59) ที่ส�ารวจในปีนี้ ซึ่งมีสัดส่วนใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา โดยกิจการต่างๆ ได้ลงทุนด้าน ดิจทิ ลั มากขึน้ หรือมากขึน้ อย่างมีนยั ส�าคัญ เมือ่ เทียบกับการลงทุนในระยะ 12 เดือน ที่ผ่านมา นอกจากนี้ 3 ใน 4 หรือร้อยละ 75 ของผู้ตอบแบบส�ารวจยังมีแนวโน้ม เพิ่มการลงทุนอีกในช่วง 3-5 ปีนับจากนี้ ซึ่งมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 60 ของ ผู้ตอบในปีที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่ายังมีความต้องการเทคโนโลยีดิจิทัลอีกมาก เมื่อถามถึงเทคโนโลยีดิจิทัลที่ผลักดันให้อัตราก�าไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นมากที่สุด ส�าหรับธุรกิจโรงกลั่น ผู้ตอบส่วนใหญ่ระบุว่าเป็นระบบควบคุมกระบวนการปฏิบัติ งานที่ทันสมัย และระบบวิเคราะห์อนาลิติกส์ที่ก้าวหน้า ซึ่งเป็นตัวเลือกที่ผู้ตอบ ร้อยละ 61 และ ร้อยละ 50 ตามล�าดับ ซึง่ เป็นสองเทคโนโลยีทคี่ าดว่าจะมีการลงทุน ในช่วง 12 เดือนข้างหน้า ในขณะทีเ่ ทคโนโลยีอนื่ ๆ ทีจ่ ะช่วยสร้างมูลค่าเพิม่ ขึน้ เช่น เซ็นเซอร์เทคโนโลยี IoT เอดจ์คอมพิวติ้ง (Edge Computing) เทคโนโลยีความ

GreenNetwork4.0 September-October 2018


จริงผสม (Mixed Reality) เทคโนโลยี โมบิลิตี้ (Mobility) บล็อกเชน/สมาร์ต คอนแทร็ ก ส์ (Blockchain/Smart Contract) จะน�ามาใช้เพียงบางส่วนหรือ ใช้เป็นโครงการน�าร่อง จึงมีแนวโน้มว่าจะ ได้รบั การจัดสรรเงินทุนน้อยกว่า เมือ่ เทียบกับ เทคโนโลยีที่ใช้อยู่แล้ว ด้วยเหตุนี้ องค์กรจึงจ�าเป็นต้องบริหาร ยุทธศาสตร์ด้านดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผู้บริหารประมาณ 1 ใน 4 หรือร้อยละ 24 เปิดเผยว่า ยังไม่มีบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจนว่าใครจะมาขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ดา้ นดิจทิ ลั ซึง่ ทีจ่ ริง ผูบ้ ริหารประมาณร้อยละ 43 ยังเผยว่า การไม่มีกลยุทธ์ด้านดิจิทัลที่ชัดเจนนี้เอง ที่เป็น อุปสรรคในการน�าเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ต่างๆ เข้ามาใช้กบั ธุรกิจโรงกลัน่ แม้จะมีผบู้ ริหารเพียงร้อยละ 11 ทีเ่ ผยว่ามีประธานเจ้าหน้าที่ ด้านดิจิทัลเข้ามาท�าหน้าที่ขับเคลื่อนวาระต่างๆ ด้านดิจิทัล แต่หลาย องค์กรในธุรกิจโรงกลัน่ ได้มงุ่ ไปทีก่ ารปรับแนวทางก�ากับดูแล เพือ่ ให้องค์กร สามารถปรับโฉมปฏิรปู ไปสูย่ คุ ดิจทิ ลั (Digital Transformation) ได้ดยี งิ่ ขึน้ พร้อม รับมือกับการหลอมรวมระหว่างเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบปฏิบัติการต่างๆ สัดส่วนที่แน่ชัดคือ 1 ใน 3 หรือร้อยละ 34 ของผู้บริหาร เปิดเผยว่าก�าลังเร่งปรับ โครงสร้างองค์กรใหม่ และมากกว่า 1 ใน 4 หรือร้อยละ 28 เผยว่ามีการจัดตั้ง คณะกรรมการขับเคลือ่ นโครงการ และร้อยละ 15 กล่าวว่ามีการตัง้ ต�าแหน่งผูบ้ ริหาร ระดับสูง (C-Level) ใหม่เพิ่มขึ้น “ปัจจุบันนี้ ธุรกิจโรงกลั่นน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมำใช้ในกำรเพิ่มมูลค่ำทำง ธุรกิจได้เพียงเล็กน้อยเท่ำนัน้ เมือ่ เทียบกับศักยภำพแท้จริงทีด่ จิ ทิ ลั สำมำรถท�ำได้” อินทิรา เหล่ามีผล กรรมการผูจ้ ดั การกลุม่ ธุรกิจพลังงานและทรัพยากร เอคเซนเชอร์ ประเทศไทย กล่าว “สิ่งที่ควรท�ำต่อไปคือ กำรผสำนและใช้งำนเทคโนโลยีต่ำงๆ อย่ำงเต็มที่ เพือ่ พัฒนำกระบวนกำรต่ำงๆ ในธุรกิจใหม่ และปรับเปลีย่ นกำรท�ำงำน ในโรงงำนทั้งหมด ซึ่งรำยงำนล่ำสุดของเอคเซนเชอร์เรื่อง ดัชนีชี้วัดระดับควำม เสี่ยงของธุรกิจต่อกำรถูกเปลี่ยนโฉม (Disrupt Ability Index) ได้ชี้ชัดว่ำ อุตสำหกรรมพลังงำนจัดเป็นประเภทธุรกิจทีม่ คี วำมอ่อนไหวต่อกำร

เปลี่ยนโฉม (Disruption) ในอนำคตมำกที่สุด กำรเพิ่มกำรลงทุนด้ำนดิจิทัลอย่ำง มียทุ ธวิธี จะช่วยพัฒนำประสิทธิภำพและผลกำรด�ำเนินงำนและช่วยให้โรงกลัน่ ผ่ำน พ้นสถำนกำรณ์ตำ่ งๆ ได้ ซึง่ มีสญ ั ญำณปรำกฏให้เห็นแล้วว่ำ ธุรกิจต่ำงตระหนักถึง เรือ่ งนี้ และก�ำลังด�ำเนินกำรเพือ่ ใช้ประโยชน์จำกเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ให้ได้อย่ำงเต็มที”่

ภัยคุกคามทางไซเบอร์เพิ่มขึ้น ยิ่งต้องใช้เม็ดเงินลงทุน เพิ่มเพื่อป้องกัน

การคุกคามทางไซเบอร์ที่เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลองค์กรต้องยกระดับความ สามารถของระบบรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ในการต้านทานและโต้ตอบ อยู่ตลอดเวลา โดยเห็นได้ชัดเมื่อร้อยละ 28 ของผู้ตอบแบบส�ารวจระบุว่า เล็งเห็น ภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่เพิ่มขึ้นมากกว่าปีที่ผ่านมา ประเด็นที่น่าเป็นกังวลที่สุด คือ ภัยนี้เกิดขึ้นในช่วงที่การด�าเนินงานในองค์กรต่างๆ เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกัน มากกว่าในอดีต ซึง่ กลายเป็นเป้าส�าหรับภัยคุกคามหลายลักษณะ โดย 1 ใน 3 หรือ ร้อยละ 33 ของผู้ตอบยอมรับว่า ไม่ทราบจ�านวนการโจมตีทางไซเบอร์ว่าเกิดขึ้น จริงๆ แล้วกี่ครั้ง ความจ�าเป็นเรือ่ งนีย้ งิ่ มีแรงกดดันมากขึน้ เมือ่ ร้อยละ 38 ของผูต้ อบยอมรับว่า ความปลอดภัยทางข้อมูลเป็นอุปสรรคต่อการน�าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในองค์กร โดยความเสี่ยงที่ผู้ตอบแบบส�ารวจเห็นว่ามีส่วนสัมพันธ์กับความปลอดภัยทาง ไซเบอร์คือ ผลกระทบต่อการด�าเนินงาน (ร้อยละ 67) ผลกระทบต่อสุขภาพและ ความปลอดภัยของคนท�างาน (ร้อยละ 39) และการละเมิดข้อมูล (ร้อยละ 39) อย่างไรก็ตาม มีผู้บริหารเพียงร้อยละ 28 ที่ระบุให้เครื่องมือด้านดิจิทัล ที่เข้ามาเพิ่มสมรรถนะความปลอดภัยทางไซเบอร์ เป็น 1 ใน 3 เรื่องส�าคัญที่สุด ในการลงทุนด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และผู้ตอบก็กังวลว่าการลงทุนด้านดิจิทัลที่ ไม่เพียงพอนั้น จะส่งผลต่อความได้เปรียบเชิงแข่งขันอย่างไร (ระบุโดยร้อยละ 67 ของผูต้ อบ) กังวลว่าดิจทิ ลั จะช่วยลดต้นทุนและเพิม่ อัตราก�าไรได้อย่างไร (ร้อยละ 64) และกังวลว่าการลงทุนด้านดิจิทัลที่ไม่จริงจัง อาจส่งผลต่อความเชื่อมั่นในการ ด�าเนินงานอย่างไร (ร้อยละ 58) “ยิ่งเทคโนโลยีดิจิทัลท�ำให้เกิดกำรเชื่อมโยงกันมำกขึ้น มีควำมเสี่ยงและ เป็นเป้ำโจมตีได้ง่ำยขึ้น ก็ยิ่งจ�ำเป็นต้องลงทุน อย่ำงน้อยก็ต้องให้ก้ำวหน้ำกว่ำ ภัยคุกคำมทำงไซเบอร์ตำ่ งๆ ทีเ่ พิม่ ขึน้ กำรจะก้ำวไปข้ำงหน้ำได้กต็ อ้ งเริม่ กำรลงทุน ตั้งแต่วันนี้ เพื่อวำงพื้นฐำนควำมสำมำรถในกำรรักษำควำมปลอดภัย ซึ่งเป็นส่วน ส�ำคัญยิง่ ต่อกำรป้องกับระบบกำรด�ำเนินงำนต่ำงๆ ในอนำคต” อินทิรา กล่าวทิ้งท้าย

อินทิรา เหล่ามีผล

11

GreenNetwork4.0 September-October 2018


GREEN

Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข

ท่านทราบไหมว่า ผลไม้ตา่ งๆ ตัง้ แต่ ทุเรียน มังคุด ละมุด ล�าไย โดยเฉพาะอย่างยิ่งมะม่วง น�้าดอกไม้ เมื่อส่งขายยังประเทศพัฒนาแล้วใน หลายๆ ประเทศ ทีก่ า� หนดให้ผสู้ ง่ ออกต้องน�าผลไม้ ไปผ่านกระบวนการก�าจัดแมลง ตัง้ แต่การรมควัน ฉายรังสี และการนึ่งด้วยไอน�้าร้อนอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 20 นาที ขึ้นอยู่กับชนิด ของผลไม้ จึงไม่แปลกใจเลยว่า ผลไม้ไทยราคาแพง ลิบลิว่ เวลาเราไปซือ้ กินทีต่ า่ งประเทศจึงขาดความ อร่อยอย่างน่าเสียดาย หนึ่งในจ�านวนศัตรูผลไม้ ตัวฉกาจก็คือ แมลงวันทอง

ยุทธการปราบ

แมลงวันทอง

สงครามระหว่าง มนุษย์กับเหล่าแมลง

ยุทธการปราบแมลงวันทองของชาวสวนผลไม้ เริ่มขึ้นมาหลายปีแล้ว โดยทาง สทน. สถาบันเทคโนโลยี นิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้เข้ามาสนับสนุนให้ ใช้เทคนิคการท�าให้แมลงวันทองเป็นหมัน (Sterile Insect Technique : SIT) ซึง่ เป็นเทคโนโลยีสะอาด เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และนิยมใช้กนั ทัว่ โลก แทนการใช้ สารเคมีกา� จัดแมลงศัตรูพชื ทีน่ อกจากท�าให้เกิดมลพิษต่อสิง่ แวดล้อมและผูบ้ ริโภคแล้ว แมลงศัตรูพชื ยังสามารถสร้างภูมิต้านทานต่อพิษยาฆ่าแมลง นอกจากนี้สารพิษยังเป็นอันตรายกับแมลงที่เป็น ประโยชน์ต่อพืช เช่น ผึ้ง ชันโรง แตนเบียน ตัวห�้า ซึ่งเป็นการท�าลายระบบนิเวศอีกด้วย

หลักการที่สามารถเข้าใจง่ายๆ ของเทคโนโลยีที่ท�ให้แมลงวันทอง เป็นหมันเพื่อควบคุมปริมาณแมลงวัน

ต้องเริม่ จากการเพาะเลีย้ งแมลงวันทองเพศผูเ้ ป็นจ�านวนมากแล้วฉายรังสีแกมมาให้เป็นหมัน จากนัน้ น�าแมลงวันทองทีผ่ า่ นการฉายรังสีไปปล่อยยังพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย เพือ่ ให้แย่งผสมพันธุก์ บั แมลงวัน ทองเพศเมียซึง่ มีอยูใ่ นธรรมชาติมผี ลให้ไข่ทฟี่ กั ออกมาเป็นหมัน และประชากรแมลงวันทองโดยรวม จะลดลงเรื่อยๆ จนอยู่ในปริมาณที่ควบคุมได้

วงจรชีวิตและการเพาะเลี้ยงแมลงวันทอง

วงจรชีวิต 1. ระยะเป็นไข่ 1-2 วัน สีขาวขุ่น ผิวมันสะท้อนแสง 2. ระยะเป็นตัวหนอน 8-12 วัน เป็นระยะท�าลายผลไม้ 3. ระยะดักแด้ 10-12 วัน จะอยู่เฉยๆ ไม่เคลื่อนไหว 4. ตัวเต็มวัย 10 วัน เพศเมีย 1 ตัว วางไข่ได้ 1,000-3,000 ฟอง อายุช่วง โตเต็มวัย 1-3 เดือน ช่วงนี้จะไม่ท�าลายพืชผล แต่เป็นช่วงขยาย พันธุ์ และสามารถเจาะเข้าไปวางไข่ในผลไม้ เป็นเหตุให้ผู้น�าเข้าผลไม้ เกรงว่าจะไปเติบโตและขยายพันธุ์ในประเทศของตน

การเพาะเลี้ยงแมลงวันทอง

น่าอัศจรรย์ใจที่สุดก็ตรงนี้ แมลงวันทองต้องอยู่ห้องแอร์ 27๐C ความชื้น สัมพัทธ์ 60% ยิ่งกว่าเลี้ยงเด็กอ่อนซะอีก ที่มากกว่านั้นก็คือ การบริหารจัดการ และอุปกรณ์ระดับมาตรฐานยิง่ กว่า GMP ก็วา่ ได้ เพือ่ ให้ได้แมลงวันทองเพศผูจ้ า� นวน มากและแข็งแรงพอที่จะไปแย่งผสมพันธุ์กับเพศผู้ในธรรมชาติ หากพูดถึงแมลงวันผลไม้ เราจะเห็นภาพของผลไม้เน่าๆ ใต้ตน้ และมีหนอนแมลงวันเกิดและ เติบโตหมุนเวียนมาท�าลายผลไม้ แต่ส�าหรับการเพาะเลี้ยง นอกจากตัวอ่อนต้องพักห้องแอร์แล้ว อาหารก็ระดับภัตตาคารทีเดียว ประกอบด้วย ยีสต์ ไฮโดรไลเซต ผสมกับน�า้ ตาลทรายอัตรา 1:3 ส่วน แมลงวันเพศเมียอายุ 10 วันจะโตเต็มวัย และเริ่มวางไข่ในเวลากลางวัน ผู้เลี้ยงต้องปรับความชื้น 12

และคอยท�าความสะอาดภาชนะรองรับ การเลี้ยงหนอนแมลงวัน ต้องเพาะเลี้ยง ในห้ อ งแอร์ 25 ๐C ส่ ว นอาหารของตั ว หนอน แมลงวันทองอาจแตกต่างจากการเลีย้ งตัวโตเต็มวัย อาหารเทียมส�าหรับเลี้ยงหนอนแมลงวันผลไม้ ใช้สูตรข้าวสาลี-ยีสต์แห้ง ประกอบด้วยส่วนผสม หลักๆ คือ ร�าข้าวสาลี น�้าตาลทราย ยีสต์แห้ง กรดเกลือเข้มข้น โซเดียมเบนโซเอต และน�้า อ่านถึงตรงนี้ บางท่านอาจเริ่มอิจฉาแมลงวันทองบ้าง แล้ว กระบวนการและขั้นตอนกว่าจะน�าไปปล่อยลงสนามแย่ง ตัวเมีย และแมลงวันตามธรรมชาตินั้น พิถีพิถันราวกับการผลิต อาหารตามมาตรฐาน GMP มีการควบคุมทัง้ ความชืน้ และอุณหภูมิ ท่านทีส่ นใจสามารถติดต่อขอดูงานทีไ่ ด้ที่ สทน. องครักษ์ จังหวัด นครนายก

GreenNetwork4.0 September-October 2018


ท่านทราบไหมว่าเราฉายรังสีให้แมลงวันผลไม้เป็นหมันช่วงไหน?

น่าจะเป็นค�าถามชิงรางวัลไปดูการเพาะเลี้ยงแมลงวันทองที่นครนายกนะครับ การฉายรังสีท�าหมันต้องท�าในระยะดักแด้อายุ 2 วัน ก่อนออกเป็นตัวเต็มวัย โดยน�าไปใส่ใน ถุงพลาสติกประมาณ 30,000 ตัว แล้วน�าไปฉายรังสีแกมมา ด้วยเครื่องฉายรังสีแบบ Gamma Chamber 5000 ทีป่ ริมาณรังสี 90 เกรย์ และเตรียมขนย้ายไปในพืน้ ทีค่ วบคุมแมลงวัน ต้องเดินทาง ด้วยรถติดแอร์เย็นสบาย 20๐C ซึง่ เป็นอุณหภูมทิ ดี่ ตี อ่ แมลงวันผลไม้ แต่อาจเย็นไปหน่อยส�าหรับมนุษย์ อย่างเรา

สงครามเริ่มแล้วยุทธการปราบแมลงวันทอง

ฝ่ายปราบปรามแมลงวันต้องเตรียมอาวุธและยุทโธปกรณ์อย่างไร เตรียมก�าลังทหารเท่าไร (แมลงวันทองที่เป็นหมัน) แต่งเครื่องแบบสีอะไรให้แตกต่างจากศัตรู (แมลงวันทองตามธรรมชาติ) ชาวต�าบลตรอกนอง จับมือกับ สทน. (สถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)) ระดม สรรพก�าลังโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์ ก�าหนดต�าแหน่งด้วย GIS และ GPS จับพิกดั ดาวเทียมก�าหนดพื้นที่ด�าเนินการบนต�าบลตรอกนอง พร้อมติดตั้งกับดักแบบเมทิลยูจีนอล (Methyl Eugenol) ต�าบลละ 4 กับดัก เปลีย่ นสารล่อแมลงและตรวจนับจ�านวนแมลงวันผลไม้แต่ละชนิดในกับดัก ทุกๆ 10 วัน ยุทธการปราบแมลงวันผลไม้จะได้ผลดีต้องอาศัยพันธมิตร (Stakeholder) เช่น เกษตรกร ผู้ค้า ผู้ส่งออกผลไม้ นักวิทยาศาสตร์ นักส่งเสริมการเกษตร นักสิ่งแวดล้อม นักเศรษฐศาสตร์ และ นักการเมือง และสิง่ ทีส่ า� คัญทีส่ ดุ ชาวสวนผลไม้ตอ้ งใจเต็มร้อยเท่านัน้ ส่วนก�าลังพลได้รบั การสนับสนุน โดย สทน. จะส่งก�าลังพลให้ สัปดาห์ละ 5-10 ล้านตัว โดยพัฒนาแมลงวันให้กลายพันธุม์ แี ถบบนและ แถบข้าง รวมทัง้ ส่วนอกเป็นสีขาว เปรียบเสมือนทหารทีแ่ ต่งเครือ่ งแบบต่างสี ช่วยให้แยกฝ่ายได้งา่ ย ขึน้ สายพันธุใ์ หม่ใส่เสือ้ เกราะสีขาวนี ้ แข็งแรงกว่า และผสมพันธุไ์ ด้มากกว่าแมลงวันปกติ อาจเนือ่ ง มาจากกินดีอยู่ดีก็เป็นได้ สงครามระหว่างมนุษย์กบั แมลงยังคงต้องด�าเนินต่อไป เรามาเจาะลึกด้านเศรษฐศาสตร์ดบู า้ งว่า Output - Outcome เป็นอย่างไร ชาวสวนผลไม้ทตี่ า� บลตรอกนองมีความคิดเห็นเกีย่ วกับเรือ่ งนีอ้ ย่างไร แล้วนักวิจัยของ สทน.พอใจหรือไม่กับผลงานที่ปรากฏ... ประเทศไทยส่งออกผลไม้ในปี พ.ศ. 2560 กว่า 40,000 ล้านบาท จากพื้นที่เกษตรกรรมกว่า 320 ล้านไร่ ผลผลิตได้รับความเสียหายจากแมลงศัตรูพืชเป็นส่วนใหญ่ วิธีการแก้ไขแบบเดิมๆ ด้วยการใช้ยาฆ่าแมลงเริม่ ไม่เป็นทีย่ อมรับทัง้ เกษตรกร ผูบ้ ริโภค และนักสิง่ แวดล้อม ดังนัน้ ทางเลือก ใหม่ในการควบคุมแมลงวันผลไม้ โดยการท�าให้เป็นหมันจึงเป็นทีย่ อมรับมากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเทศพัฒนาแล้วหลายๆ ประเทศก็ใช้วธิ เี ดียวกันนีใ้ นการจัดการกับแมลงผลไม้ ต�าบลตรอกนอง

อาจไม่ใช่พนื้ ทีแ่ รกในประเทศไทยทีท่ ดลองใช้วธิ กี ารนี้ เหตุทมี่ กี าร ยกขึน้ มาเป็นตัวอย่าง “ตรอกนองโมเดล” เนือ่ งจากต�าบลตรอกนอง ได้รับความร่วมมือจากเกษตรกรผู้ปลูกผลไม้เป็นอย่างดี และ ยังได้รับงบประมาณสนับสนุนจากทางจังหวัดอีกด้วย เกษตรกร ที่เป็นกลุ่มแกนน�าได้เปิดเผยว่า “วิธีการท�าให้แมลงวันผลไม้เป็น หมันที่ท�าอยู่นี้ สามารถลดความเสียหายลงได้ถึง 60% หรืออีก นัยหนึง่ คือ เพิม่ ผลผลิตได้ 60%” เมือ่ เปรียบเทียบกับการฉีดด้วย ยาฆ่าแมลง เรือ่ งนีช้ าวต�าบลตรอกนองทราบดีทสี่ ดุ และหวังอีกว่า ทางราชการจะมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้เป็นวงกว้างกว่านี้ ไม่เพียงแต่รายได้ที่เพิ่ม แต่สุขภาพและสิ่งแวดล้อมก็ดีขึ้นอย่าง เห็นได้เป็นรูปธรรม “ตรอกนองโมเดล” ไม่ใช่โครงการน�าร่องที่รอการพิสูจน์ เพือ่ ขยายผล แต่ตรอกนองโมเดล อ�าเภอขลุง จังหวัดจันทบุรแี ห่งนี้ เป็นประจักษ์พยานแห่งผลสัมฤทธิด์ า้ นการจัดการกับแมลงวันทอง ศัตรูตัวฉกาจของผลไม้นานาชนิด ภายใต้ความมานะพยายาม อย่างไม่ย่อท้อของนักวิจัยชาว สทน. ร่วมกับชาวสวนผลไม้และ องค์กรที่เกี่ยวข้อง ท่านผู้บริหารที่บังเอิญได้อ่านบทความนี้แล้ว คงจะลด ค�าถามมากมายลงได้และหันมาร่วมสนับสนุนตรอกนองโมเดล ให้ขยายตัวไปทัว่ ประเทศ ภายใต้การจัด Zoning พืน้ ทีป่ ลูกผลไม้ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการควบคุมแมลงวันผลไม้...ท่านทราบไหม ว่า วิธกี ารนีห้ ลายประเทศในอาเซียน คูแ่ ข่งส่งออกผลไม้ไทยก็ได้ เริ่มไปพร้อมๆ กับประเทศไทยด้วยความมุ่งมั่นและนโยบาย ที่ชัดเจนเช่นกัน

13

GreenNetwork4.0 September-October 2018


เซร่าฟิม โซล่าร์ ซิสเท็ม...

SOLAR

Review กองบรรณาธิการ

ผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์ที่มีมาตรฐานและคุณภาพสูง

งาน Thailand Lighting Fair 2018 และ Thailand Building Fair 2018

ซู หยวน จี ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เซร่าฟิม โซล่าร์ ซิสเท็ม (ประเทศไทย) จ�ากัด ได้กล่าวถึงภาพรวมของบริษัทว่า บริษัทฯ เป็นหนึ่งในเครือ ของกลุ่มบริษัท เซร่าฟิม โซล่าร์ ซิสเท็ม ซึ่งเป็นผู้ผลิตแผงโซลาร์เซลล์ชั้นน�า ได้รบั การจัดอันดับโดย Bloomberg ว่าเป็นผูผ้ ลิตทีอ่ ยูใ่ น Tier 1 จึงมัน่ ใจได้วา่ แผง โซลาร์เซลล์ของเซร่าฟิมนัน้ มีมาตรฐานและคุณภาพสูง เซร่าฟิม มีฐานการผลิตแบบ ครบวงจรในประเทศจีน ตั้งแต่ออกแบบ พัฒนา ผลิต ไปจนถึงการติดตั้งและดูแล หลังการติดตัง้ ได้รบั การไว้วางใจจากผูใ้ ช้งานทัว่ โลก ส�าหรับ เซร่าฟิม (ประเทศไทย) นั้นมีสินค้ามากกว่า 10 ประเภทด้วยกันที่สามารถตอบโจทย์ได้ทุกความต้องการ ของลูกค้าตัง้ แต่ตน้ จนจบ ไม่วา่ จะเป็นแผงโซลาร์เซลล์สา� หรับการติดตัง้ บนหลังคา แบบลอยน�้า หรือการรอสายดินส�าหรับระบบโซลาร์เซลล์ ซึ่งมีก�าลังผลิตติดตั้ง มากกว่า 3 GW ต่อปี มุ่งมั่นพัฒนาเทคโนโลยีโซลาร์เซลล์เพื่อการประหยัดพลังงาน อย่างต่อเนื่อง เซร่าฟิมให้ความส�าคัญกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ มีทีมออกแบบที่ท�าหน้าที่ คิดค้น พัฒนา และน�าเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ มีความมุ่งมั่นในเรื่องการพัฒนา ประสิทธิภาพและคุณภาพผลิตภัณฑ์ เซร่าฟิมเป็นบริษทั แรกทีผ่ ลิตแผงโซลาร์เซลล์ แบบ Half-Cut และ Stack Module ให้เป็นที่แพร่หลายในประเทศจีน ผลิตภัณฑ์ ประเภทนี้สามารถลดการสูญเสียพลังงานไฟฟ้าในแผงควบคุม และช่วยเพิ่มการ กระจายความร้อนของผลิตภัณฑ์ได้อีกด้วย นอกจากนั้นยังให้ความส�าคัญในการ พัฒนาแผงโซลาร์เซลล์ใหม่ๆ ทีช่ ว่ ยเพิม่ ก�าลังการผลิตพลังงานได้ออกสูต่ ลาด ซึง่ มี ผลิตภัณฑ์ใหม่อย่าง PERC Module, N Type Module และแผงโซลาร์เซลล์แบบ Double Glass สามารถผลิตพลังงานได้มากกว่า 380 W พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานทางเลือกทีเ่ หมาะกับประเทศไทยมากทีส่ ดุ โดยเฉพาะโซลาร์เซลล์บนหลังคาเป็นทีน่ ยิ มมากขึน้ ในประเทศไทย เซร่าฟิมมีลกู ค้า อยูห่ ลากหลายธุรกิจ ทัง้ กลุม่ โรงงานอุตสาหกรรม สถาบันการศึกษา รวมทัง้ หน่วยงาน ราชการทีต่ า่ งให้ความไว้วางใจ แสดงให้เห็นถึงการยอมรับในความมุง่ มัน่ ระยะยาว ทีม่ ตี อ่ มาตรฐานและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมทัง้ การบริการหลังการติดตัง้ ลูกค้า กลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมจะมีการใช้พลังงานไฟฟ้าค่อนข้างมากและจ่ายค่าไฟสูง กว่ากลุ่มครัวเรือน เมื่อติดตั้งโซลาร์เซลล์จะเห็นผลว่าค่าใช้จา่ ยด้านพลังงานไฟฟ้า ลดลงอย่างชัดเจน ท�าให้คืนทุนเร็วกว่ากลุ่มอื่น พลังงานทางเลือกในประเทศไทยมีการเติบโตเพราะมีปัจจัย ส่งเสริมที่ดี ในกลุ่มประเทศก�าลังพัฒนาความต้องการด้านพลังงานสูงขึ้นตามล�าดับ แต่จะพึ่งพาพลังงานจากถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ และพลังงานนิวเคลียร์ตลอดไป ไม่ได้ เพราะการใช้พลังงานเหล่านีม้ ผี ลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม อาทิ การละลายของ แผ่นน�า้ แข็งของขัว้ โลกเหนือ อุณหภูมทิ พี่ งุ่ ขึน้ สูง สถานการณ์ไฟป่า ปัญหาอุทกภัย ซึ่งภัยธรรมชาติเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าโลกก�าลังเกิดการเปลี่ยนแปลงและภาครัฐ ควรต้องลงมือหาทางแก้ไข และรับมือกับสิ่งที่ก�าลังเกิดขึ้น

ดังนั้น หากย้อนกลับมาดูตลาดพลังงานทางเลือกหรือพลังงานทดแทนใน ประเทศไทย พลังงานแสงอาทิตย์นนั้ เป็นทีน่ ยิ มมากทีส่ ดุ ด้วยความทีร่ าคาทีส่ ามารถ จ่ายได้ และประเทศไทยเริม่ ให้ความส�าคัญกับการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และการประหยัดพลังงาน หน่วยงานต่างๆ เริม่ ให้ความสนใจและมีการติดตัง้ แผง โซลาร์เซลล์กันมากขึ้น โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจ แต่ส�าหรับ ครัวเรือนนั้นอาจจะต้องใช้เวลา ด้วยเงื่อนไขด้านราคาและระยะเวลาคุ้มทุน เซร่าฟิมจ�าหน่ายและให้บริการติดตัง้ แผงโซลาร์เซลล์ในหลายประเทศทัว่ โลก ที่ล้วนพอใจในผลลัพธ์ที่ได้ โดยเฉพาะในเรื่องของการลดต้นทุนด้านพลังงาน เช่น • ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์กว่า 66 MW ในประเทศอินเดีย • โรงไฟฟ้าสาธิตในประเทศตุรกี : 1 MW • ระบบโซลาร์เซลล์แบบลอยน�้าที่ใหญ่ที่สุดในประเทศสิงคโปร์ : 204 kW • Himeji PV Plant ในประเทศญี่ปุ่น : 2.6 MW • Massachusetts PV Plant ในสหรัฐอเมริกา : 1.6 MW • Berlin PV Plant ในประเทศเยอรมนี : 2.88 MW • Kumamoto PV Plant ในประเทศญี่ปุ่น : 1.3 MW เทคโนโลยีโซลาร์เซลล์จะถูกพัฒนาอย่างไม่หยุดยัง้ เพือ่ รองรับ ความต้องการพลังงานทดแทนในระยะยาว พลังงานแสงอาทิตย์นั้นไม่สามารถควบคุมได้ ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ มีฝนตก มีเมฆมาก หรือความเข้มของรังสีดวงอาทิตย์ จึงไม่สามารถเปลี่ยนจาก การใช้พลังงานไฟฟ้าปกติมาเป็นพลังงานแสงอาทิตย์ได้ทงั้ หมด หรืออีกนัยหนึง่ คือ ไม่สามารถอาศัยเพียงพลังงานแสงอาทิตย์อย่างเดียวได้ จึงเป็นสาเหตุที่ต้องให้ ความส�าคัญกับการพัฒนาระบบโซลาร์เซลล์เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ ซึง่ โซลูชนั่ ทีผ่ มขอพูดถึงคือ Solar+ ESS (Energy Storage System) ทีม่ กี ารติดตัง้ กันบ้างแล้วในสหรัฐอเมริกา ยุโรป จีน และออสเตรเลีย ทีซ่ งึ่ มีการน�าพลังงานทดแทน อย่างพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลมมาใช้กว่า 20-30% ด้วยโซลูชั่นนี้จะช่วย ท�าให้การน�าพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้มคี วามเสถียรมากยิง่ ขึน้ และเพิม่ ความมัน่ ใจ ให้ผู้ที่สนใจจะติดตั้ง จนหันมาติดตั้งและใช้งานพลังงานแสงอาทิตย์กันมากขึ้น ถ้าพูดถึงประโยชน์ทจี่ ะได้จากการติดตัง้ ผลิตภัณฑ์โซลาร์เซลล์ในประเทศไทย ขอยกตัวอย่างให้เห็นชัดเจน เช่น สามารถลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าปกติ ลดค่าใช้จ่ายของบิลค่าไฟจากการใช้ วัสดุ อุปกรณ์และเทคโนโลยีการประหยัด พลังงาน ช่วยส่งเสริม ขยายผลโครงการด้านอนุรกั ษ์พลังงานด้านต่างๆ ของประเทศ ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือก (พ.ศ. 2558-2579) ในระยะยาวคือ สามารถลดปัญหาก๊าซเรือนกระจก ที่ทั่วโลกก�าลังวิตกกับปัญหานี้ ปีนี้ บริษัท เซร่าฟิม โซล่าร์ ซิสเท็ม (ประเทศไทย) จ�ากัด ได้ร่วมออกบูธ และเป็นผู้สนับสนุนการจัดงาน Thailand Lighting Fair 2018 และ Thailand Building Fair 2018 ภายในงานเซร่าฟิมได้เตรียมผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ มาให้ผู้เข้าชม งานได้สัมผัส อย่างแผงโซลาร์เซลล์แบบ Half-Cut และ Stack Module รวมทั้ง ตัว Double Glass และมีผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ ทีเ่ ป็นนวัตกรรมใหม่ๆ อีกหลายตัว หวังเป็น อย่างยิง่ ว่าผูร้ ว่ มงานทุกท่านจะให้ความสนใจ แล้วพบกันในงาน 8-10 พฤศจิกายน นี้ครับ พบกับ บริษัท เซร่าฟิม โซล่าร์ ซิสเท็ม (ประเทศไทย) จ�ากัด และผลิตภัณฑ์ โซลาร์เซลล์เพื่อการประหยัดพลังงานได้ ในงาน Thailand Lighting Fair 2018 และ Thailand Building Fair 2018 ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่าง วันที่ 8-10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ณ ฮอลล์ 102-103 ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค บางนา

14

GreenNetwork4.0 September-October 2018


โรงแยกก๊าซธรรมชาติและโรงไฟฟ้าขนอม พื้นที่ศึกษาน�าเข้า LNG ลอยน�้า

เพื่อความมั่นคงด้านพลังงานอย่างยั่งยืนในพื้นที่ภาคใต้

GREEN

Scoop เปมิกา สมพงษ์

พลอากาศเอก ประจิน จัน่ ตอง รองนายกรัฐมนตรี และ ดร.ศิริ จิระพงษ์พนั ธ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง พลังงาน ได้ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมโรงแยกก๊าซธรรมชาติขนอมและโรงไฟฟ้าขนอม จ.นครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นภารกิจส่วนหนึ่งของการประชุมคณะรัฐมนตรีนอกสถานที่ โดยติดตามโครงการด้านพลังงาน เพือ่ รับทราบผลการด�าเนินงานความก้าวหน้าต่างๆ ของโครงการ และความเป็นอยูข่ องชุมชนโดยรอบ โรงแยกก๊าซธรรมชาติขนอม เป็นโรงแยกก๊าซหน่วยที่ 4 ของบริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) สร้างขึน้ เพือ่ รองรับความต้องการใช้กา๊ ซปิโตรเลียมเหลว (LPG) ในเขตภาคใต้ และก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL) ในประเทศทีม่ ปี ริมาณสูงขึน้ โดย ปตท.ได้ดา� เนินการวางท่อส่งก๊าซฯ จากแหล่งก๊าซธรรมชาติ ในอ่าวไทย มาขึ้นฝั่งที่บริเวณโรงแยกก๊าซธรรมชาติขนอมโดยตรง เพื่อขนส่งก๊าซธรรมชาติที่จะเป็น เชื้อเพลิงหลักในการผลิตกระแสไฟฟ้าที่โรงไฟฟ้าขนอม โดยปัจจุบนั โรงแยกก๊าซธรรมชาติขนอม แยกก๊าซธรรมชาติอยูท่ ี่ 160 ล้านลูกบาศก์ฟตุ ต่อวัน ได้ผลิตภัณฑ์ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) ส�าหรับใช้เป็นเชื้อเพลิงหรือก๊าซหุงต้มประมาณ 203,000 ตันต่อปี ใช้ในภาคครัวเรือนและ โรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจะขนส่งทางเรือไปยังคลังปิโตรเลียมสุราษฎร์ธานีและคลังปิโตรเลียมสงขลา เพื่อจ�าหน่ายให้ กับประชาชนในภาคใต้ อีกทั้งยังได้ก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL) ประมาณ 45,000 ตัน ที่ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรม ตัวท�าละลาย ใช้เป็นส่วนหนึง่ ของวัตถุดบิ ป้อนเข้าโรงกลัน่ น�า้ มัน รวมทัง้ โรงแยกก๊าซธรรมชาติขนอม ยังสามารถอยูร่ ว่ ม กับพื้นที่ และมีส่วนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนโดยรอบอย่างต่อเนื่อง ส่วน โรงไฟฟ้าขนอม ทีด่ า� เนินการโดยบริษทั ผลิตไฟฟ้า จ�ากัด (EGCO) มีกา� ลังการผลิตตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้ารวม 930 เมกะวัตต์ ใช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิงประมาณ 150 ล้านลูกบาศก์ฟตุ ต่อวัน โดยโรงไฟฟ้าขนอมแห่งนี้ ถือเป็นโรงไฟฟ้าหลัก ทีเ่ สริมสร้างความมัน่ คงของระบบไฟฟ้าในภาคใต้ สามารถรองรับความต้องการใช้ไฟฟ้าอย่างเพียงพอ มีเสถียรภาพ รวมทัง้ ยังช่วยลด การสูญเสียพลังงานไฟฟ้าที่ส่งผ่านสายส่งจากภาคกลาง นอกจากนีย้ งั มีเรือ่ งของศึกษาพืน้ ทีด่ งั กล่าว เพือ่ รองรับการน�าเข้าแอลเอ็นจีแบบ FSRU (Floating Storage and Regasification Unit : FSRU) ซึ่งก็คือ โครงการสถานีเก็บรักษาและแปรสภาพก๊าซธรรมชาติจากของเหลวเป็นก๊าซแบบลอยน�้า เป็นโครงการที่เกิดขึ้น เพือ่ การสร้างความมัน่ คงในการจัดหาก๊าซธรรมชาติระยะยาว และการรองรับเชือ้ เพลิงจากต่างประเทศ โดยการน�าเข้าก๊าซธรรมชาติ ที่ผ่านกระบวนการเปลี่ยนสถานะเป็นก๊าซธรรมชาติเหลว (Liquefied Natural Gas : LNG) และขนส่งโดยเรือขนส่ง LNG เดินทางมายังท่าเทียบเรือประเทศปลายทาง ก่อนจะขนถ่าย LNG เข้าสู่ FSRU เพือ่ แปลงสภาพเป็นก๊าซส่งเข้าสูท่ อ่ ล�าเลียง ไปยังจุดหมายปลายทางต่อไป เรื่องนี้ ดร.ศิริ จิระพงษ์พันธ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า ขณะนี้กระทรวงฯ ก�าลังศึกษาในเรื่อง การก่อสร้างสถานีเก็บรักษาและแปรสภาพก๊าซธรรมชาติจากของเหลวเป็นก๊าซแบบลอยน�า้ (FSRU) เพือ่ สร้างความมัน่ คง ในการจัดหาก๊าซธรรมชาติระยะยาว จากปริมาณก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยที่เริ่มลดลง โดยพื้นที่ขนอมเป็นหนึ่งในพื้นที​ี่ ศึกษา อยูร่ ะหว่างการศึกษาความเหมาะสมของพืน้ ที่ โดยทางภาคใต้จะเลือกศึกษาสองพืน้ ที่ คือ อ.ขนอม จ.นครศรีธรรมราช หรือ อ.จะนะ จ.สงขลา ซึง่ ต้องดูถงึ ศักยภาพของพืน้ ที่ ยังไม่สามารถระบุได้วา่ จะเป็นทีไ่ หน เพือ่ น�าเข้าก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) จากต่างประเทศขนส่งมายังท่าเทียบเรือแล้วขนถ่ายเข้าสู่ FSRU เพื่อแปลงสภาพเป็นก๊าซก่อนเข้าสู่ระบบท่อส่งก๊าซ ธรรมชาติและขนส่งไปยังโรงไฟฟ้าและลูกค้าก๊าซธรรมชาติต่อไป “ระยะต่อไป ทุกภาคของประเทศไทย จะต้องมีความมัน่ คงของระบบไฟฟ้ารายภาค เพือ่ ไม่ให้เกิดปัญหาไฟฟ้าขัดข้อง หรือไฟดับ ซึ่งในภาคใต้เป็นพื้นที่ที่ส�าคัญมาก จากปัจจุบันที่มีโรงไฟฟ้าหลักเพียง 2 แห่ง คือ โรงไฟฟ้าขนอม และโรงไฟฟ้าจะนะ ก�าลังผลิตรวม 2,400 เมกะวัตต์ ซึง่ ทางกระทรวงฯ ก�าลังศึกษาแนวทางการเพิม่ ก�าลังการผลิตไฟฟ้าในพืน้ ที่ โดยอาจจะต้องพึง่ พาการใช้กา๊ ซธรรมชาติ ที่เพิ่มขึ้น การลงพื้นที่ครั้งนี้ เพื่อน�าข้อมูลของพื้นที่ขนอมไปศึกษาถึงศักยภาพ ก่อนจะมีก�าหนดตั้งคลัง FSRU ต่อไป” ดร.ศิริ กล่าว

15

GreenNetwork4.0 September-October 2018


GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

แบบจ�ำลองทำงเลือกใหม่

“Sky Scenaงrานioใน”อนาคต

ลัง นวัตกรรมและโอกาสด้านพ จาก เชลล์ ประเทศไทย

เมื่ อ ไม่ น านมานี้ ได้ มี การพูดคุยถึงผลการศึกษาแบบ จ�าลอง “Sky Scenario” (Sky) ของ บริษทั เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด บนเวที Shell Forum ในหัวข้อ “Energy Transition for Thailand’s Future” ซึ่งเวทีดังกล่าวถือเป็นส่วนหนึ่ง ของเชลล์ ประเทศไทย ในการขับเคลือ่ นแผนพัฒนา พลังงานอย่างยัง่ ยืนของบริษทั ฯ ภายใต้กลยุทธ์ “พลังงานสะอาด เพิม่ ประสิทธิภาพ และดีต่อสิ่งแวดล้อม” (More and Cleaner Energy) แบบจ�าลอง “Sky Scenario” มุ่งน�าเสนอแนวทางที่เป็นไปได้ทั้งด้านภาค เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และเทคโนโลยีในการบรรลุเป้าหมายข้อตกลงปารีส ที่ตั้งเป้าหมายร่วมกันในการรักษาอุณหภูมิโลกให้เพิ่มขึ้นไม่เกิน 2 องศาเซลเซียส จากระดับอุณหภูมิยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม Sky แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของระบบ พลังงานที่จะเกิดขึ้นซึ่งจะช่วยสร้างพลังงานที่ทันสมัยทั่วโลก โดยไม่ส่งผลกระทบ ระยะยาวกับสิง่ แวดล้อมและสังคม ในขณะเดียวกัน ผูบ้ ริโภค องค์กร และภาครัฐ จะเผชิญกับทางเลือกที่ยากต่อการตัดสินใจ และแนวทางที่น�าไปสู่พลังงานที่มี

คาร์บอนไดออกไซด์ตา�่ จะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ ยิง่ ไปกว่านัน้ ในอีก 50 ปีขา้ งหน้า สังคมจะมีการผลิตและใช้พลังงานทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ยกตัวอย่างเช่น แนวความคิดของผูค้ นในการเลือกใช้พลังงานทีม่ คี าร์บอนไดออกไซด์ตา�่ ประสิทธิภาพ สูงจะสามารถเปลีย่ นไปได้ รวมไปถึงการเติบโตของแหล่งพลังงานใหม่ เช่น พลังงาน ทดแทน อัษฎำ หะรินสุต ประธำนกรรมกำร บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด กล่าวว่า “เชลล์ ประเทศไทย มีความมุง่ มัน่ สนับสนุนรัฐบาลไทยในการใช้ระบบพลังงาน ทีม่ คี าร์บอนไดออกไซด์ตา�่ จากการจัดงานในครัง้ นี้ เชลล์หวังว่าจะช่วยส่งเสริมให้เกิด การเจรจาและการท�างานร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ภายใต้การปรับตัวและการเตรียมความพร้อมส�าหรับการเปลีย่ นผ่านด้านพลังงาน ของประเทศ เราต้องการแรงสนับสนุนจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นการ สนับสนุนจากภาครัฐในเชิงนโยบาย การสนับสนุนด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น บริษัทผู้ผลิตรถยนต์ที่พัฒนาเครื่องยนต์ให้รองรับเชื้อเพลิงชีวภาพได้มากขึ้น ผูผ้ ลิตเชือ้ เพลิงชีวภาพต่างๆ ทีพ่ ฒ ั นาผลิตภัณฑ์โดยใช้เทคโนโลยีทกี่ า้ วหน้ามากขึน้ ซึ่งความร่วมมือดังกล่าวนี้จะเข้ามาช่วยตอบสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้นของ พลังงานสะอาด เพิ่มประสิทธิภาพ และดีต่อสิ่งแวดล้อมได้”

โครงการ “คนรักษ์ปำ่ ป่ำรักชุมชน” เป็นโครงการที่ บริษทั ผลิตไฟฟ้ำรำชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหำชน) ร่วมกับ กรมป่ำไม้ เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านการพัฒนา และอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ผ่านกลไกของป่าชุมชน ในระดับประเทศ โดยด�าเนินการต่อเนื่องมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2551 ด�าเนินการมาทั้งหมดจ�านวน 23 รุ่น มีเยาวชนที่ผ่านการบ่มเพาะจากโครงการมากกว่า 1,800 คน ในปี พ.ศ. 2561 ได้จดั ขึน้ ภายใต้แนวคิด “เยำวชน กล้ำยิ้ม โลกน่ำอยู่ เรียนรู้สัตว์ป่ำ” โดยน�าเยาวชนภาคใต้ จ�านวน 67 คน จาก 7 จังหวัดภาคใต้มาเข้าค่ายเรียนรู้เพื่อให้ เยาวชนได้ตระหนักถึงปัญหาลักลอบล่าสัตว์ปา่ และการบุกรุกท�าลายป่า รวมถึงปฏิญาณตนจะเป็นพลังร่วมปกป้องทรัพยากร ธรรมชาติจนถึงที่สุด บุญทิวำ ด่ำนศมสถิต ผูช้ ว่ ยกรรมกำร ผูจ้ ดั กำรใหญ่ บริษทั ผลิตไฟฟ้ำรำชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหำชน) กล่าวว่า ส�าหรับกิจกรรม ในโครงการ “คนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชน” ในปี พ.ศ. 2561 นี้ จะจัดขึ้น 2 ครั้ง เป็นอย่างน้อย โดยครัง้ แรกของปีได้จดั

ค่ายเยาวชนกล้ายิ้มภาคใต้ ด้วยตระหนักว่าสัตว์ป่าเป็น ทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่าอย่างยิ่งต่อระบบนิเวศ จึงจัดกิจกรรมน�าเยาวชนจากภาคใต้ 67 คน มาเพิม่ พูน ความรู้เชิงวิชาการเกี่ยวกับอนุรักษ์ป่าไม้ และการ อนุรักษ์สัตว์ป่าในท้องถิ่นภาคใต้ที่สถานีเพาะเลี้ยง สัตว์ป่าพังงา จังหวัดพังงา ซึ่งเป็นสถานที่ศึกษา วิจัย เพาะเลีย้ ง ขยายพันธุส์ ตั ว์หายาก อย่าง เลียงผา ถือเป็น สถานีเพาะเลีย้ งทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย นอกจากนัน้ ยังมีสัตว์ป่าหลายพันชีวิตอยู่ในความรับผิดชอบดูแล “ส�าหรับค่ายเยาวชนกล้ายิ้ม ประจ�าปี พ.ศ. 2561 ถือเป็นปีแรกทีป่ ลูกฝังคุณค่าเรือ่ งสัตว์ปา่ มองว่า ป่า สัตว์ปา่ มนุษย์ เป็นระบบห่วงโซ่อาหาร ช่วยสร้างความสมดุลระบบนิเวศ ขณะเดียวกัน ก็มีข่าวการล่าสัตว์ป่า สัตว์ป่าถูกรถชน สัตว์ป่าออกมากินพืชไร่ของเกษตรกร เพราะป่าไม่สมบูรณ์ ในอัตราที่เพิ่มขึ้น การพาน้องๆ ออกจากห้องเรียนมาเรียนรู้ เรื่องสัตว์ป่าที่สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าพังงา มีกิจกรรม RC ศึกษาชีวิตสัตว์ป่า ฟังบรรยายกฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่า และมีโอกาสเยี่ยมชมพื้นที่ส่วนจัดแสดง สัตว์ป่าของกลาง และกรงคอกพ่อพันธุ์เลียงผาที่เพาะเลี้ยงไว้ปล่อยสู่ป่า จะเกิด จิตส�านึกรักษาป่าและสัตว์ป่า ซึ่งเยาวชนที่เข้าร่วมค่ายส่วนหนึ่งเป็นน้องๆ ที่อาศัย อยู่รอบป่าชุมชน ป่า สัตว์ป่า คน ต้องพึ่งพากัน ไม่ใช่ไล่ล่า จับกินเป็นอาหาร หรือ น�าสัตว์ปา่ มาเลีย้ ง จากการประเมินผลค่ายกล้ายิม้ ทีผ่ า่ นมา น้องๆ ไปสร้างกลุม่ รักษ์ปา่ และหลายคนเติบโตมาเป็นคณะกรรมการป่าชุมชน กลายเป็นนักอนุรักษ์รุ่นใหม่" บุญทิวำ กล่าว

บุญทิวำ ด่ำนศมสถิต 16

GreenNetwork4.0 September-October 2018


โคมไฟโมบิยา...

โคมไฟส่องสว่างสู่ชุมชน

จากเจตนารมณ์ของบริษทั ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ทีเ่ ชือ่ มาตลอดว่า การเข้าถึง พลังงานคือสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ ดังนั้นจึงมีความต้องการอย่างแรงกล้าที่จะ ให้ให้ทกุ คนบนโลกใบนีส้ ามารถเข้าถึงพลังงานทีเ่ ชือ่ ถือได้ ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน ด้วยความเชื่อดังกล่าวจึงเป็นที่มาของโครงการ Access to Energy ทีต่ อ้ งการช่วยเหลือให้ชมุ ชน หรือพืน้ ทีท่ ไี่ ฟฟ้าเข้าไม่ถงึ ได้มพี ลังงานไฟฟ้าใช้ เพือ่ เป็นแสงสว่างให้แก่ชมุ ชนในการสร้างโอกาส สร้างความรูไ้ ด้อย่างยัง่ ยืนและทัว่ ถึง บริษทั ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย จ�ำกัด ได้ดา� เนินโครงการ Access to Energy โดยมอบโคมไฟโมบิยาพลังงานแสงอาทิตย์ (Mobiya Solar Lanterns) จ�านวน 430 ชุด เป็นการร่วมฉลอง 40 ปี ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย จัดเป็น การมอบครัง้ ใหญ่ทสี่ ดุ นับตัง้ แต่เริม่ ด�าเนินโครงการครัง้ แรกเมือ่ ปี พ.ศ. 2556 เป็นต้นมา ชำติชำย โพธิวร ผูจ้ ดั กำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัยและสิง่ แวดล้อม โรงงำนชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย กล่าวว่า ด้วยเจตนารมณ์ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ที่เชื่อว่า การเข้าถึงพลังงานคือสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ทุกคน เราจึง ด�าเนินโครงการมอบโคมไฟโมบิยาพลังงานแสงอาทิตย์ให้แก่ชุมชนห่างไกลที่ไม่ สามารถเข้าถึงพลังงานไฟฟ้าได้ โดยเริ่มด�าเนินโครงการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 รวมทั้งสิ้น 11 โครงการด้วยกัน “ส�ำหรับปี พ.ศ. 2561 นี้ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย มีโครงกำรส่งมอบ 3 โครงกำร เป็นโครงกำรที่ 12 โครงกำรที่ 13 และโครงกำรที่ 14 โครงกำรที่ 12 นัน้ ด�ำเนินกำรไปแล้วในเดือนมีนำคม โดยมอบให้แก่ชำวเขำเผ่ำกระเหรีย่ งทีห่ มูบ่ ำ้ น ห้วยน�ำ้ เย็น อ�ำเภอแม่ระมำด จังหวัดตำก จ�ำนวน 85 ชุด และโครงกำรที่ 13 ส่งมอบ ให้แก่ชำวเขำเผ่ำกระเหรีย่ งบ้ำนห้วยกองแป อ�ำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน และหมูบ่ ำ้ นใกล้เคียง จ�ำนวน 270 ชุด ส่วนโครงกำรที่ 14 นัน้ จะด�ำเนินกำรในเดือน กันยำยนนี้ มอบให้แก่หมู่บ้ำนโนนเจริญ อ�ำเภอภูพำน จังหวัดสกลนคร จ�ำนวน 75 ชุด หำกนับรวมทั้ง 3 โครงกำรของปี พ.ศ. 2561 แล้วถือเป็นกำรมอบโคมไฟ โมบิยำพลังงำนแสงอำทิตย์ครัง้ ใหญ่ทสี่ ดุ รวมทัง้ สิน้ จ�ำนวน 430 ชุด คำดว่ำจะช่วย ให้ประชำชนสำมำรถเข้ำถึงพลังงำนไฟฟ้ำได้กว่ำ 4,000 คนเลยทีเดียว” เนือ่ งในวาระที่ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ครบรอบ 40 ปี ทางบริษทั ได้ริเริ่มโครงการกิจกรรมประกวด Bold Idea เพื่อเปิดโอกาสให้พนักงาน และ คู่ค้าสามารถส่งผลงานเข้าร่วมประกวดภายใต้หัวข้อ “40 Years for 4.0 Life” โดยแบ่งเป็น 4 สาขาได้แก่ สถานที่พักอาศัย อาคารและเมือง อุตสาหกรรม และ ไอทีและเทคโนโลยี โดยผลงานทุกๆ 1 โครงการ ทางบริษัทจะมอบโคมไฟโมบิยา

17

GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

จ�านวน 10 ดวง ให้แก่ชุมชนที่ไร้พลังงาน ปรากฎว่ามีผู้ส่งผลงานมากมายท�าให้มี โคมไฟโมบิยาพลังงานแสงอาทิตย์จากโครงการประกวดทั้งสิ้น 400 ดวง เพื่อใช้ ด�าเนินการโครงการในปี พ.ศ. 2561 นี้ “โครงกำร Access to Energy เป็นโครงกำรทีช่ ไนเดอร์ อิเล็คทริค ด�ำเนินกำร ทัว่ โลก เพรำะยังมีชมุ ชนอีกมำกมำยทีไ่ ม่สำมำรถเข้ำถึงพลังงำนไฟฟ้ำได้ กำรทีเ่ รำ ได้ด�ำเนินโครงกำรนี้ไม่เพียงมอบพลังงำนให้ชุมชน แต่ได้มอบรอยยิ้มและโอกำส ในกำรสร้ำงอนำคตให้แก่ชุมชนนั้นๆ กำรที่เด็กได้ใช้แสงสว่ำงอ่ำนหนังสือในยำม ค�่ำคืน ชุมชนสำมำรถต่อยอดอำชีพได้ ทั้งกำรท�ำกำรเกษตร หรืออำชีพเสริมอื่นๆ ท�ำให้มีรำยได้เพิ่มขึ้น รวมทั้งท�ำให้เกิดควำมปลอดภัยในยำมค�่ำคืนด้วย” โคมไฟโมบิยาพลังงานแสงอาทิตย์ 1 ชุดประกอบด้วย แผงพลังงานแสงอาทิตย์ โคมไฟหลอดแอลอีดี แบตเตอรี่ และสายชาร์จ USB แบบพร้อมใช้ พกพาสะดวก ใช้หลอดประหยัดพลังงานเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม สว่างจ้าทัง้ กลางวันขณะแสงน้อย และกลางคืน ปรับระดับความสว่างของแสงไฟได้ 3 ระดับ ได้แก่ ในแบบแสงสว่าง 20 ลูเมนส์ (ให้แสงประมาณกระบอกไฟฉายแบบพกพา) ให้พลังงานได้นานถึง 48 ชัว่ โมง แสงสว่างปานกลาง 85 ลูเมนส์ ให้แสงสว่างนานถึง 12 ชัว่ โมง และแบบ สว่างจ้า 170 ลูเมนส์ ให้แสงสว่างได้นาน 6 ชัว่ โมง ต่อการชาร์จพลังงานแสงอาทิตย์ ในเวลากลางวัน 1 ครั้ง โคมไฟโมบิยาพลังงานแสงอาทิตย์ได้จดสิทธิบตั รมาพร้อมรางวัลแห่งความ ทุ่มเท ได้แก่ Grand Prix, Strategies Du Design 2013 และ European Design Awards ติดตัง้ ง่ายใช้งานสะดวก ออกแบบมาเพือ่ การใช้งานให้เกิดประโยชน์สงู สุด แม้ผู้ใช้งานเป็นเด็ก สามารถแขวนติดเพดาน แขวนบนเสายึดติดกับผนัง หรือวาง บนโต๊ะ ถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานในพื้นที่ชนบทห่างไกลพลังงานได้อย่างลงตัว และกันน�้าได้ลึก 0.5 เมตร ในเวลา 1 ชั่วโมง “กำรส่งมอบโครงกำรที่ 13 นี้ ชไนเดอร์ อิเล็คทริคได้รับควำมร่วมมือจำก อบต.แม่คง อ�ำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยมีประชำชนจำกหมู่บ้ำน ห้วยกองแป และชุมชนหมู่บ้ำนใกล้เคียงอีก 4 หมู่บ้ำน รวมทั้งหมู่บ้ำนรอบๆ รวม ทั้งสิ้น 270 ชุด เรำยินดีที่เห็นชุมชนได้ใช้ประโยชน์จำกโคมไฟให้เป็นประโยชน์ต่อ วิถชี วี ติ นอกจำกนีเ้ พือ่ ให้กำรใช้โคมไฟเกิดประโยชน์สงู สุด ทำงชไนเดอร์ อิเล็คทริค จะได้สอนกำรใช้งำน และกำรบ�ำรุงรักษำโคมไฟให้แก่ผทู้ มี่ คี วำมรูพ้ นื้ ฐำนด้ำนช่ำง รวมทัง้ จะติดตำมกำรใช้งำนกับชุมชนอยูเ่ ป็นระยะๆ เพือ่ ให้กำรใช้งำนเกิดประโยชน์ สูงสุดตำมเป้ำหมำยของบริษัท” ชำติชำย กล่าวเพิ่มเติม

GreenNetwork4.0 September-October 2018


GREEN

People กองบรรณาธิการ

เกนเนอยี เปิดธุรกิจใหม่ รับสร้างโรงงาน ผลิตไอน�้าด้วยเทคโนโลยีทันสมัย

ใช้เชื้อเพลิงถ่านหิน-เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

คุณสมบูรณ์ สิริไพบูลย์พงศ์ ปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตไอน�้าในภาคอุตสาหกรรมมีให้เลือก ใช้หลากหลายตามความต้องการของโรงงานและภาคอุตสาหกรรม ซึง่ ล้วนแต่ได้รบั การออกแบบทีเ่ หมาะสมในการใช้งานร่วมกับหม้อไอน�า้ ทีม่ หี ลายขนาดตัง้ แต่ขนาดไม่กตี่ นั ต่อชัว่ โมง จนถึงขนาดหลายพันตัน ต่อชั่วโมง บริษัท เกนเนอยี จ�ากัด (Gainergy Co., Ltd.) เป็นอีก หนึ่งบริษัทที่ด�าเนินการสร้างโรงงานผลิตไอน�้าด้วยเทคโนโลยีสมัย ใหม่ ซึง่ น�าเข้าจากประเทศจีนชูจดุ เด่นใช้พนื้ ทีน่ อ้ ย คุม้ ค่ากับการลงทุน ประหยัดค่าใช้จ่าย เหมาะส�าหรับทุกอุตสาหกรรม และไม่ส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม เกนเนอยีน�เทคโนโลยีล�้ำสมัย สร้ำงโรงงำนผลิตไอน�้ำตอบโจทย์อุตสำหกรรม

คุณสมบูรณ์ สิริไพบูลย์พงศ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เกนเนอยี จ�ากัด กล่าวว่า จากประสบการณ์เมือ่ ครัง้ ท�างานทีก่ รมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นเวลาเกือบปี และประสบการณ์ในต�าแหน่งวิศวกรเหมืองแร่ลกิ ไนต์ทกี่ ารไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เป็นเวลากว่า 10 ปี รวมทัง้ เป็นผูบ้ ริหารระดับสูง ของบริษทั ยูนคิ ไมนิง่ เซอร์วสิ เซส จ�ากัด (มหาชน) หรือ UMS อีกกว่า 10 ปี ท�าให้ คุณสมบูรณ์ เห็นช่องทางในการต่อยอดสร้างโมเดลธุรกิจโรงงานผลิตไอน�้าด้วย เทคโนโลยีสมัยใหม่ ทีต่ อบโจทย์ความต้องการของโรงงานอุตสาหกรรมในปัจจุบนั 18

จึงจัดตั้ง บริษัท เกนเนอยี จ�ากัด ขึ้นเมื่อปลายปี พ.ศ. 2560 ด้วยทุนจดทะเบียน 86 ล้านบาท เพื่อเป็นทางเลือกใหม่ให้โรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภท สามารถ ผลิตไอน�้าด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อน�าไปใช้ในกระบวนการผลิตของแต่ละ อุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่าต่อการลงทุน และที่ส�าคัญคือ ไม่ส่ง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนรอบข้าง “เรามองเห็นช่องทางตรงนี้ก็เลยตัดสินใจน�าเทคโนโลยีชนิดนี้เข้ามาเพื่อ เป็นตัวช่วยทีเ่ หมาะกับโรงงานทีใ่ ช้ไอน�า้ หรือโรงงานทีม่ รี ะบบไอน�า้ แบบเก่าต้องการ เปลีย่ นระบบไอน�า้ ใหม่ทสี่ า� คัญช่วยลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็นปัญหากวนใจ ผู้ประกอบการโรงงานภาคอุตสาหกรรมมาโดยตลอด” คุณสมบูรณ์ กล่าว

ใช้พื้นที่น้อย คุ้มค่ำต่อกำรลงทุน

ส�าหรับโมเดลธุรกิจโรงงานผลิตไอน�า้ ด้วยเทคโนโลยีทที่ นั สมัยจากประเทศ จีน ถือเป็นรูปแบบธุรกิจใหม่ที่บริษัทฯ น�าเสนอให้ลูกค้าในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งมี จุดเด่นตรงทีใ่ ช้พนื้ ทีน่ อ้ ย เพียงแค่ลกู ค้ามีพนื้ ทีก่ ว้าง 15 เมตร ยาว 50 เมตร ขนาด ไม่ถึง 1 ไร่ ก็สามารถสร้างโรงงานผลิตไอน�้าได้ ไม่ว่าจะก่อสร้างในพื้นที่โรงงาน อุตสาหกรรมของลูกค้าที่มีอยู่เดิม หรือโรงงานใหม่ที่เริ่มต้นก่อสร้างธุรกิจโดย ลูกค้าไม่จา� เป็นต้องอยูใ่ นพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมก็สามารถใช้บริการได้ทงั้ นีบ้ ริษทั ฯ

GreenNetwork4.0 September-October 2018


จะมีทีมงานผู้เชี่ยวชาญค�านวณการใช้พลังงานและออกแบบการก่อสร้างอย่างดี โดยใช้ระยะเวลาก่อสร้างและทดลองระบบต่างๆ เพียง 6 เดือน “ในการลงทุนเบื้องต้นจะมีค่ามัดท�าสัญญาว่าจ้างกันตามสมควร เจ้าของ ธุรกิจจะต้องมีพื้นที่ตามที่ตกลงกันไว้ไม่น้อยกว่าหนึ่งไร่ ภายในกรอบสัญญาการ ด�าเนินการ 4 ปี เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าในการด�าเนินการของทั้งสองฝ่าย หากเกิด กรณีลูกค้าไม่พอใจยกเลิกสัญญาขึ้นทันที เราก็สามารถที่จะรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง ทีเ่ ราสร้างขึน้ ได้ทนั ทีเช่นกัน แต่ผมเชือ่ ว่าลูกค้าพอใจแน่นอนเพียงแต่ตอ้ งมอบการ ท�างานด้านการผลิตไอน�้าแก่ทางเราเท่านั้น ทั้งนี้ภายใต้สัญญาที่ตกลงกันระหว่าง เจ้าของโรงงาน เจ้าของธุรกิจ หรือลูกค้าของเรา สามารถคิดค่าปรับเราได้หากไอน�า้ ทีเ่ ราผลิตขึน้ มาไม่ได้คณ ุ ภาพ ไม่ได้มาตรฐาน และไม่เป็นไปตามข้อตกลงทีร่ ะบุไว้ ในสัญญา” คุณสมบูรณ์ กล่าว

เลือกใช้ถ่ำนหินเป็นเชื้อเพลิง ประหยัดค่ำใช้จ่ำย-เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ในการผลิตไอน�้าเกนเนอยีได้แนะน�าเทคโนโลยีที่มั่นใจได้ว่าประหยัดและ คุ้มค่าต่อลูกค้า โดยท�าการเปรียบเทียบจากการใช้เทคโนโลยีชนิดเดียวกันแต่ใช้ เชื้อเพลิงต่างกัน เช่น ถ้าเปรียบเทียบกับน�้ามันเตา เทคโนโลยีของเราที่ใช้ถ่านหิน เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตจะประหยัดกว่ามาก และเนื่องจากถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง ฟอสซิลชนิดหนึ่งที่อยู่ในสถานะของแข็ง เกิดจากการทับถมกันของซากพืชในยุค ดึกด�าบรรพ์ ท�าให้ถ่านหินมีปริมาณมากกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลชนิดอื่นๆ จากข้อมูล พบว่า ถ่านหินของโลกจะมีเพียงพอต่อการใช้งานไปอีกอย่างน้อย 110 ปี ถ่านหิน ในประเทศไทยเหลือใช้อยู่ถึง 69 ปี ส�าหรับหม้อไอน�้าที่ใช้ก็แตกต่างจากทั่วไป โดยใช้หม้อไอน�้าที่โรงไฟฟ้า ขนาดใหญ่ใช้กนั เนือ่ งจากทางเราเป็นพันธมิตรกับผูผ้ ลิต พร้อมกันนีย้ งั มีการเตรียม วัตถุดบิ ประเภทถ่านหินทีเ่ หมาะสมทีไ่ ด้รบั การเลือกสรรมาอย่างดี ซึง่ ไม่เป็นมลพิษ และน�าเข้ามาจากแหล่งที่เชื่อถือได้ว่าปลอดภัย ให้ประสิทธิภาพที่ดีเยี่ยม ท�าให้ กระบวนการผลิตไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อมรอบข้างเพราะใช้ระบบปิดในการบริหาร จัดการผลิตไอน�า้ ทัง้ กระบวนการ ซึง่ ตรงนีอ้ าศัยความรูค้ วามช�านาญเรือ่ งถ่านหินที่ คุณสมบูรณ์ มี ท�าให้ลกู ค้ามัน่ ใจได้วา่ จะไม่สง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และท�าให้ การผลิตไอน�้ามีประสิทธิภาพสูง “ระบบดัง้ เดิมทีท่ า� กันก็คอื ระบบสโตกเกอร์ (Stoker) ในการจัดการ ส�าหรับ ระบบสโตกเกอร์นไี้ ม่ใช่มแี ค่โรงงานเท่านัน้ จะต้องมีการจัดการเรือ่ งถ่านหิน มีทเี่ ก็บ สต๊อก เก็บถ่านหิน ซึ่งจะต้องมีไซโลจ�านวนมาก แต่เขาไม่เก็บในไซโลเพราะราคา แพง จึงเลือกเก็บในโกดังแทน ซึ่งเสี่ยงกับรถบรรทุกขนส่งเข้า-ออกในโกดังที่มา พร้อมกับฝุ่นฟุ้งกระจาย อันนี้เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เลย ไม่ใช่หมายความว่ามีแค่ เครื่องจักรแล้วจบ จะต้องมีการจัดเตรียมพื้นที่ส�าหรับท�าโรงงานไอน�้าด้วย แต่ถ้า เป็นระบบของเรารับรองจะไม่เกิดปัญหาเหล่านี้แน่นอน” คุณสมบูรณ์ กล่าว

19

เผยเครื่องจักรที่ใช้ผลิตไอน�้ำ เพิ่ม-ลดกำรใช้เชื้อเพลิงได้ตำมที่ต้องกำร

คุณสมบูรณ์ กล่าวว่า จุดเด่นของเครือ่ งจักรทีใ่ ช้ผลิตไอน�า้ ซึง่ เป็นเทคโนโลยี เฉพาะของเกนเนอยี คือ สามารถเพิ่มหรือลดการใช้เชื้อเพลิงได้เหมือนการใช้ เชื้อเพลิงน�้ามันเตา กล่าวคือ ถ้าต้องการไอน�้าเพิ่มขึ้นก็สเปรย์เชื้อเพลิงเพิ่มเข้าไป แต่ถา้ ต้องการลดไอน�า้ ก็ปรับลดเชือ้ เพลิงตามความเหมาะสมในเวลาทีร่ วดเร็วมาก ด้วยเทคโนโลยีการจัดการแบบใหม่ทเี่ ข้าใจภาคอุตสาหกรรมและสนองความต้องการ ได้อย่างรวดเร็ว ขณะที่เครื่องจักรทั่วไปที่ใช้ถ่านหินเช่นเดียวกัน หากต้องการลด การใช้ปริมาณไอน�้าแต่ก�าลังการผลิตของไอน�้ายังคงปกติ ท�าให้ส่งผลกระทบต่อ การผลิตไอน�า้ ได้ บางทีอาจจะจ�าเป็นต้องหยุดเครือ่ งแล้วเริม่ เดินเครือ่ งใหม่ ท�าให้ เสียเวลามาก “ขณะนีม้ ลี กู ค้าทีส่ นใจก�าลังเริม่ เข้ามาให้บริษทั ฯ ด�าเนินการดูในรายละเอียด ของสัญญาการว่าจ้างแล้วหนึง่ รายเป็นโรงงานต้นแบบขนาด 10 ตันไอน�า้ ใช้ถา่ นหิน เป็นเชื้อเพลิงประมาณ 15 ตัน คิดค่าใช้จ่ายในการดูแลในราคา 1,200 บาทต่อตัน ไอน�้า และสามารถขยายการผลิตไอน�้าได้สูงสุด 60 ตันไอน�้า ขึ้นอยู่ความต้องการ ของลูกค้า” คุณสมบูรณ์ กล่าว

เล็งอุตสำหกรรมอำหำร เป็นลูกค้ำกลุ่มเป้ำหมำย

ส�าหรับเป้าหมายในการด�าเนินธุรกิจของเกนเนอร์ยีนั้นแผนการด�าเนินงาน ในล�าดับแรกบริษัทฯ ได้วางเป้าหมายด้านการตลาดที่จะรุกโรงงานที่ใช้หม้อไอน�้า ทีใ่ ช้นา�้ มันเตา และโรงงานทีใ่ ช้เชือ้ เพลิงชีวมวลในการผลิตไอน�า้ ให้หนั มาเลือกใช้ เทคโนโลยีของบริษัทฯ ซึ่งจะช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ส่วนแผนงานล�าดับต่อไปจะ เข้าไปรุกตลาดผูใ้ ช้หม้อไอน�า้ ทีใ่ ช้เชือ้ เพลิงคือถ่านหิน ซึง่ นอกจากจะช่วยประหยัด พลังงานแล้ว ยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทัง้ นีอ้ ตุ สาหกรรมทีเ่ ป็นลูกค้ากลุม่ เป้าหมายของเกนเนอยี ได้แก่ อุตสาหกรรม อาหาร อุตสาหกรรมประเภทวัตถุดิบเลี้ยงสัตว์ ปลาป่น ที่มีการอบ ขณะนี้มีลูกค้า ที่สนใจแล้วกว่า 8 ราย หากสามารถท�าสัญญาและก่อสร้างโรงงานผลิตไอน�้าได้ ทั้งหมดจะสามารถผลิตไอน�้าให้แก่ลูกค้าได้ภายในปี พ.ศ. 2562 คุณสมบูรณ์ กล่าวย�า้ ว่า เทคโนโลยีและเครือ่ งมือทีบ่ ริษทั ฯ น�ามาบริการลูกค้านี้ จะมีความเสถียรตลอดการท�างาน คุม้ ค่า สามารถทีจ่ ะพัฒนาต่อยอดการท�างานที่ เหมาะสมแก่ธรุ กิจของลูกค้าทีต่ อ้ งการปริมาณไอน�า้ ได้ไม่จา� กัดตามความเหมาะสม ได้ตลอด โดยในขณะนีเ้ ราก�าลังหาวิธสี อ่ื สารให้ลกู ค้าเข้าใจ และแนะน�าให้ลกู ค้าได้ เห็นภาพ ซึง่ มัน่ ใจว่าระบบนีจ้ ะเป็นทีต่ อ้ งการ สร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้าทัง้ ใน ปัจจุบันและอนาคต

GreenNetwork4.0 September-October 2018


GREEN

Article รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, นวดล ทองตาล่วง, ดร.ณัฐวิญญ์ ชวเลิศพรศิยา, กริชชาติ ว่องไวลิขิต

โลกของเราประกอบไปด้วยก๊าซหลากหลายชนิด อาทิ ก๊าซไนโตรเจน ซึ่งเป็น องค์ประกอบหลักและมีสดั ส่วนมากถึงร้อยละ 78 รองลงมา คือ ก๊าซออกซิเจนทีส่ ดั ส่วน ประมาณร้อยละ 20 ในขณะทีอ่ กี ร้อยละ 2 ทีเ่ หลือ คือ ก๊าซชนิดอืน่ ๆ ในปริมาณแตกต่าง กันตามระดับความสูงของชั้นบรรยากาศ เช่น ก๊าซไฮโดรเจน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และ “ก๊าซโอโซน (Ozone)” ทีม่ สี ตู รทางเคมี คือ O3 ซึง่ เกิดจากการรวมตัวกันของก๊าซ ออกซิเจน (O2) 1 โมเลกุล กับอะตอมออกซิเจนอิสระ (O) ที่แตกตัวจากก๊าซออกซิเจน จากการกระตุ้นของรังสียูวีซี (UV-C) โดยที่ระดับความสูงระหว่าง 10-50 กิโลเมตร จากผิวโลก ซึง่ มีชอื่ เรียกว่า ชัน้ บรรยากาศสตราโทสเฟียร์ (Stratosphere) เป็นชัน้ ทีม่ ี ปริมาณของก๊าซโอโซนหนาแน่นที่สุดหรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นแหล่งผลิตก๊าซโอโซน โดยชั้นโอโซนดังกล่าวท�าหน้าที่เป็นเกราะคุ้มกัน ปกป้องพืชและสัตว์จากรังสีที่แผ่ออก มาจากดวงอาทิตย์ โดยเฉพาะรังสียวู บี ี (UV-B) ซึง่ เป็นอันตรายต่อชีวติ และสิง่ แวดล้อม หากได้รบั ในปริมาณทีม่ ากเกินไป ดังนัน้ เมือ่ ชัน้ โอโซนดังกล่าวถูกท�าให้บางลงโดยก๊าซ บางชนิด เช่น ออกไซด์ของคลอรีน และออกไซด์ของโบรมีน สะสมอยูใ่ นชัน้ บรรยากาศ ส่งผลให้รังสีจากดวงอาทิตย์สามารถลงมาสู่พื้นผิวของโลกมากขึ้น ซึ่งส่งผลต่อทั้ง สิ่งมีชีวิตและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก

กลไกรักษาสภาพสมดุลและการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศของโลก (ที่มา: IPCC, 2007)

20

ชั้นบรรยากาศสตราโทสเฟียร์หรือแหล่งผลิตโอโซน (ที่มา: http://greenwatchbd.com/intl-ozone-day-saturday) สารเคมี ที่ เ ป็ น ต้ น เหตุ ข อง “การท� า ลายชั้ น โอโซน (Ozone Depletion)” โดยส่วนมากเป็นสารเคมีทมี่ สี ว่ นประกอบ ของคลอรีนและโบรมีน ซึ่งพบได้มากในกลุ่มสารท�าความเย็น ที่มีการใช้งานในชีวิตประจ�าวัน อันได้แก่ เครื่องปรับอากาศหรือ ตู้เย็น หรือสารที่เป็นวัตถุดิบในการท�าโฟม สารเหล่านี้จะท�าลาย ชั้นโอโซนบนชั้นบรรยากาศและท�าให้เกิดรูโหว่ขนาดใหญ่ ซึ่ง ส่งผลให้รังสียูวีสามารถลงมายังผิวโลกได้มากขึ้น ไม่เพียงเท่านี้ ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gases) บางชนิดในชัน้ บรรยากาศ ก็สามารถท�าปฏิกิริยากับโอโซนจนท�าให้ปริมาณของโอโซนใน ชัน้ บรรยากาศลดลงได้เช่นกัน โดยนอกจากการท�าลายชัน้ โอโซน แล้ว ก๊าซเรือนกระจกยังมีความสามารถในการดูดซับคลื่นรังสี ความร้อนและคายความร้อนที่สะสมไว้ออกสู่ชั้นบรรยากาศ อุณหภูมขิ องโลกจึงสูงขึน้ เกิด “ภาวะโลกร้อน (Global Warming)” อันเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและ ภูมิอากาศ (Climate Change) ซึ่งก่อให้เกิดปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติทผี่ ดิ เพีย้ นไปจากฤดูกาล เช่น น�า้ แข็งขัว้ โลกและบนยอด เขาสูงละลาย ซึง่ ส่งผลให้ระดับน�า้ ทะเลเพิม่ สูงขึน้ เกิดการกัดเซาะ

GreenNetwork4.0 September-October 2018


พังทลายของชายฝัง่ การเปลีย่ นแปลงของระบบนิเวศชายฝัง่ การเปลีย่ นแปลงของ ปริมาณน�้าฝนและการระเหยของน�้าจากการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลก เกิดภัยแล้ง หรือเกิดอุทกภัย เป็นต้น สารท�าความเย็นที่เรารู้จักกันดีชนิดหนึ่งซึ่งมีบทบาทส�าคัญในการท�าลาย ชั้นโอโซน คือ สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbon) หรือ CFC ซึ่งมีการใช้งานมากในอุตสาหกรรมเครื่องท�าความเย็นและอุตสาหกรรมผลิตโฟม ในช่วง 20-30 ปีที่ผ่านมา สาร CFC ระเหยสู่บรรยากาศและท�าปฏิกิริยากับก๊าซ โอโซนและสร้างความเสียหายแก่ชั้นโอโซนเป็นอย่างมาก การก�าจัดสาร CFC ทีต่ กค้างในการชัน้ บรรยากาศเป็นเรือ่ งทีท่ า� ได้ยาก เนือ่ งจากสาร CFC มีเสถียรภาพ สูงจึงตกค้างในบรรยากาศได้ยาวนาน ท�าให้ชั้นโอโซนถูกท�าลายได้อย่างต่อเนื่อง ด้ ว ยเหตุ นี้ น านาประเทศได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความส� า คั ญ ของชั้ น โอโซนต่ อ การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและหันมาใส่ใจกับการอนุรักษ์ชั้นโอโซน จึงร่วมกันท�าข้อตกลงในรูปสนธิสญ ั ญาระหว่างประเทศเพือ่ แก้ไขปัญหาการท�าลาย ชัน้ โอโซนในปี พ.ศ. 2528 เรียกว่า “อนุสญ ั ญาเวียนนาเพือ่ การปกป้องชัน้ บรรยากาศ โอโซน” และในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2530 ทีน่ ครมอนทรีออล ประเทศแคนาดา ได้มีการจัดท�าข้อก�าหนดและมาตรการเพื่อยับยั้งการท�าลายชั้นโอโซนภายใต้ อนุสัญญาเวียนนา เรียกว่า “พิธีสารมอนทรีออลว่าด้วยสารท�าลายชั้นบรรยากาศ โอโซน (Montreal Protocol on Substances that Deplete the Ozone Layer)” โดยเพื่อเป็นการระลึกถึงการให้สัตยาบันต่อพิธีสารฉบับนี้ อีกทั้งยังเพื่อเป็นการ รณรงค์ให้เกิดการลดใช้สารท�าลายโอโซนในชัน้ บรรยากาศ องค์การสหประชาชาติ จึงได้ประกาศให้ วันที่ 16 กันยายนของทุกปี เป็นวันโอโซนโลก (World Ozone Day) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 จนถึงปัจจุบัน เพื่อด�าเนินการภายใต้พิธีสารมอนทรีออล ในการด�าเนินการป้องกันชั้น โอโซนในบรรยากาศมิให้ถูกท�าลาย และร่วมกันแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิด จากรูโหว่ของชั้นโอโซน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ธนาคารออมสิน และธนาคารโลก ได้จัดงานแถลงข่าว เปิดตัวชุดโครงการ “เรื่องโอโซน เรื่องของเรา” โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการ สร้างความตระหนักและกระตุ้นการรับรู้ถึงปัญหาโอโซน พร้อมทั้งระดมความคิด เพื่อสร้างนโยบายหรือนวัตกรรม ที่ใช้ในการจัดการปัญหาชั้นโอโซนถูกท�าลาย สร้างการมีส่วนร่วมกับภาคประชาชนที่ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนนโยบายภาครัฐ ให้ทนั กับการเปลีย่ นแปลงกฎระเบียบและข้อตกลงระดับนานาชาติ โดยชุดโครงการ ดังกล่าวประกอบไปด้วย (1) การแถลงข่าวเปิดตัวชุดโครงการ (2) การบรรยาย และเสวนาของผู้เชี่ยวชาญตัวแทนภาคส่วนต่างๆ เกี่ยวกับการลดการปลดปล่อย

21

สารท�าลายชั้นโอโซนและผลกระทบที่เกิดขึ้น (3) การเสวนาเกี่ยวกับเทคโนโลยี และงานวิจยั พัฒนาการจัดการปัญหาชัน้ โอโซนถูกท�าลาย (4) กิจกรรม Workshop ด้าน Design Thinking ที่ตอบโจทย์ประเด็นการจัดการปัญหาชั้นโอโซนถูกท�าลาย (5) กิจกรรมการแข่งขัน Hackathon เพื่อระดมความคิดและสร้างผลลัพธ์ในรูป นโยบาย หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการปัญหาชั้นโอโซนถูกท�าลาย และสร้าง การมี ส ่ ว นร่ ว มกั บ ภาคประชาชนที่ ส ่ ง ผลต่ อ การปรั บ เปลี่ ย นนโยบายภาครั ฐ (6) กิจกรรมเดิน-วิง่ เพือ่ สุขภาพ เพือ่ สร้างความตระหนักและรับรูถ้ งึ ปัญหาโอโซน ผ่านการร่วมกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความสนใจกับคนส่วนใหญ่ในสังคมบนพื้นที่ ตัวอย่าง “บางกระเจ้า” ที่เปรียบเสมือนปอดของกรุงเทพฯ และ (7) กิจกรรมวัน สิง่ แวดล้อมไทย ซึง่ จะมีปาฐกถาพิเศษ “สถานการณ์และการรับมือการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ” และการน�าเสนอผลลัพธ์จากกิจกรรม Hackathon เพือ่ สร้างการ รับรู้ และระดมความคิดเห็นจากภาคประชาชนในวงกว้าง

การแถลงข่าวเปิดตัวชุดโครงการ “เรื่องโอโซน เรื่องของเรา” โดยชุดโครงการดังกล่าวจะมีส่วนส�าคัญในการช่วยสร้างความตระหนักให้ กับประชาชนทั่วไปที่อาจยังไม่ทราบข้อมูล หรือความส�าคัญของการลดหรือเลิก ใช้สารท�าลายชัน้ โอโซน ซึง่ สารเหล่านีม้ ผี ลกระทบต่อภูมอิ ากาศของโลกอย่างรุนแรง ดังที่เห็นได้จากการเกิดอุทกภัย วาตภัย ที่รุนแรงมากขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา จึงอยากเชิญชวนให้ทกุ ๆ ท่านมาร่วมกันท�าให้ “เรือ่ งโอโซนเป็นเรือ่ งของเรา” ก่อน ปัญหาดังกล่าวจะกลายเป็นเรือ่ งทีก่ ลับมาท�าร้ายพวกเราทุกคนในอนาคต เพียงเท่านี้ เราก็สามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยกันดูแลรักษาชั้นโอโซนและสิ่งแวดล้อม ให้คงอยู่ในสภาพที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การด�ารงชีวิตต่อไป

GreenNetwork4.0 September-October 2018


โซ่อุปทานสีเขียว

GREEN

Article โครงการส่งเสริม การบริหารจัดการ โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน อย่างเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม ประจ�าปี งบประมาณ 2561

กับเครื่องมือสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

กระแสความใส่ใจในสิง่ แวดล้อมของประชาคมโลก นับเป็นแรงขับดันให้เกิด การด�าเนินงานด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างเข้มข้น บทบาทของเวทีโลกก็ดเู หมือนจะเป็นแรงสนับสนุนให้การด�าเนินงานด้านสิง่ แวดล้อม เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรมได้มากยิง่ ขึน้ ดังเช่นการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสญ ั ญา สหประชาชาติวา่ ด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศสมัยที่ 21 (COP-21) โดยมี สาระของความร่วมมือของทุกประเทศสมาชิกในการร่วมควบคุมไม่ให้อุณหภูมิ ของโลกสูงเกิน 2 องศาเซลเซียส ส�าหรับประเทศไทยเองมีเป้าหมายในการลด ปริมาณก๊าซเรือนกระจกลงให้ได้รอ้ ยละ 20-25 ภายในปี พ.ศ. 2573 และรัฐบาล ไทยได้กล่าวถ้อยแถลงจุดยืนของประเทศไทยในการลดภาวะโลกร้อน ในการประชุม ดังกล่าว การประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศสมัยที่ 21 (COP-21) ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

จากความเคลือ่ นไหวของหลายฝ่ายในเวทีโลก ท�าให้ผปู้ ระกอบการไทยต้อง เริม่ ขยับ หรือลงมือปฏิบตั กิ ารยกระดับการด�าเนินธุรกิจ ทีแ่ ต่เดิมอาจเป็นการด�าเนิน ธุรกิจแบบโดดเดี่ยวไปเป็นการเชื่อมโยงธุรกิจภายในโซ่อุปทานผ่านกระบวนการ ทางโลจิสติกส์ โดยยังคงความตระหนักถึงการด�าเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ หน่วยงานภาครัฐที่มีพันธกิจในการส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการ อุตสาหกรรม ได้แก่ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม โดยกองโลจิสติกส์ จึงได้ด�าเนิน โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานอย่างเป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงานและทรัพยากรการผลิต และการขนส่ง ตลอดจนการลดปริมาณของเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิต พร้อมประเมินผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมในรูปของความสูญเสียทางการเงิน เพือ่ ให้ ผู้ประกอบการเกิดความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เชิงเศรษฐศาสตร์และสามารถลดต้นทุนและความสูญเปล่าทางเศรษฐกิจได้ เพื่อยกระดับโซ่อุปทานภาคอุตสาหกรรมสู่ Green Supply Chain และเสริมสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทยในตลาดการค้าโลก ซึ่ง สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2560-2564) ในการยกระดับการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อปุ ทานให้ ได้มาตรฐานทีส่ ามารถรองรับรูปแบบการด�าเนินธุรกิจในเศรษฐกิจยุค 4.0 และเป็น การด�าเนินธุรกิจอย่างมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 22

โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อปุ ทานอย่างเป็นมิตร ต่อสิง่ แวดล้อม เป็นอีกหนึง่ โครงการต่อเนือ่ ง ทีก่ องโลจิสติกส์ (เดิมคือ ส�านักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่) ได้มีความพยายามอย่างต่อเนื่องใน การยกระดับโซ่อปุ ทานภาคอุตสาหกรรมสู่ Green Supply Chain เพือ่ ลดผลกระทบ สิ่งแวดล้อม และเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทย ในตลาดการค้าโลก ด้วยหลักการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานที่เป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม (Green Supply Chain Logistics Management : G-SCLM) ซึง่ เกิดจาก การบูรณาการองค์ความรู้ด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานกับองค์ความรู้ ด้านการจัดการสิง่ แวดล้อม เพือ่ การประกอบการอย่างเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมตลอด โซ่อปุ ทาน และได้ดา� เนิน “โครงการจัดท�าแนวทางปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (Best Practice) เพือ่ Green Supply Chain ของอุตสาหกรรมเป้าหมายเพือ่ การส่งออก” มาตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2555 ในหลายกลุ่มอุตสาหกรรม เช่น ยางพารา มันส�าปะหลัง อาหาร การขนส่ง และอุตสาหกรรมอืน่ ๆ ทีม่ ศี กั ยภาพต่อการพัฒนาประเทศมาจนถึงปัจจุบนั เครื่องมือที่ทางกองโลจิสติกส์ได้พัฒนาขึ้น และมีการปรับปรุงมาใช้งาน อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ช่วยเหลือและพัฒนาสถานประกอบการ ให้รบั ทราบจุดบกพร่อง เพื่อการแก้ปัญหา ลดความสูญเสีย และพัฒนาการประกอบการไปสู่การเป็น โซ่อปุ ทานสีเขียว ได้แก่ Supply Chain Operations Reference Model หรือ SCOR Model เป็นแบบจ�าลองทีใ่ ช้ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของโซ่อปุ ทาน โดยครอบคลุม กระบวนการ 5 กระบวนการ คือ การวางแผน (Plan) การจัดหาแหล่งวัตถุดบิ (Source) การผลิต (Make) การส่งมอบ (Deliver) และการส่งคืนสินค้าจากลูกค้า (Return) SCOR Model จึงเป็นการรวมกระบวนการมาตรฐานของโซ่อปุ ทาน ทีเ่ ชือ่ มโยงกับ ทุกสมาชิกในโซ่อปุ ทานนัน้ ๆ โดยแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ชนิดของกระบวนการ (Process Type) แบบของกระบวนการ (Process Category) และองค์ประกอบของ กระบวนการ (Process Element) ในกรณีทมี่ กี ารค�านึงถึงผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม และต้องการบรรลุเป้าหมายในการลดผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมของโซ่อุปทาน สามารถประยุกต์ใช้หลักการอีกตัวหนึง่ คือ หลักการ “GreenSCOR Model” ไปปรับใช้ ได้ส�าหรับแต่ละกระบวนการ จากการพัฒนา SCOR Model ตลอดการด�าเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง ทีผ่ า่ นมา กองโลจิสติกส์ได้ทดลองพัฒนาเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั คุณภาพสิง่ แวดล้อม และตัวชีว้ ดั

GreenNetwork4.0 September-October 2018


ความเชื่อมโยงของโซ่อุปทานตามแบบของ SCOR Model ภาพประกอบจาก http://www.threadpunter.com เพื่อการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เพื่อความยั่งยืนของการบริหาร จัดการโลจิสติกส์และโซ่อปุ ทานทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมขึน้ โดยอ้างอิงมาตรฐาน และหลักการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่  ตัวแบบอ้างอิงการด�าเนินงานโซ่อุปทาน (Supply Chain Operations Reference (SCOR Model)  การประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment : LCA)  ตัวชี้วัดโซ่อุปทานด้านสิ่งแวดล้อมจาก SCOR Model (GreenSCOR Metrics)  การวิเคราะห์ต้นทุนเชิงกิจกรรม (Activity-Based Costing : ABC)  ตัวชี้วัดจาก SCOR Model ด้านต้นทุน (SCOR Metric : Cost) แนวทางการพัฒนาตัวชี้วัดในกรอบด้านสิ่งแวดล้อม อาศัยหลักการการ ประเมินวัฏจักรชีวติ ผลิตภัณฑ์ (LCA) ซึง่ 1 วงจร ประกอบไปด้วย 5 ขัน้ ตอน ได้แก่ 1.กระบวนการได้มาของวัตถุดบิ และทรัพยากร 2.กระบวนการผลิต 3.กระบวนการ ขนส่ง/กระจายสินค้า 4.กระบวนการใช้งานผลิตภัณฑ์ และ 5.กระบวนการจัดการ เศษซากของผลิตภัณฑ์หลังการใช้งาน อย่างไรก็ตาม ทัง้ SCOR Model และ LCA มีการมองขอบเขตของระบบ และ การระบุถงึ ตัวชีว้ ดั ด้านสิง่ แวดล้อมทีส่ มั พันธ์กนั โดยใน SCOR Model Version 12.0 ได้มกี ารบรรจุตวั ชีว้ ดั ด้านสิง่ แวดล้อม (GreenSCOR Metrics) จ�านวน 5 ตัวชีว้ ดั ได้แก่ การปล่อยคาร์บอน (Carbon Emission) การปล่อยมลพิษทางอากาศ (Air Pollutant

กระบวนการด�าเนินงานตาม SCOR Model ภาพประกอบจาก http://www.slideshare.net

cia eso

Emission) ปริมาณของเสียที่เป็นของเหลว (Liquid Waste Generated) ปริมาณ ของเสียทีเ่ ป็นของแข็ง (Solid Waste Generated) และร้อยละของเสียทีเ่ ป็นของแข็ง ถูกน�ากลับมาใช้ใหม่ (Percent Recycled Waste) นอกจากการปรับปรุงกระบวนการเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว ในหลักของการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ตัวชี้วัดด้านต้นทุน (Cost) เป็นสิง่ ทีท่ กุ องค์กรให้ความส�าคัญเป็นอันดับแรกๆ เช่นกัน ด้วยเหตุนจี้ งึ ได้ประยุกต์ หลักการการวิเคราะห์ตน้ ทุนเชิงกิจกรรม (Activity-Based Costing : ABC) ทีเ่ ป็น การมองโครงสร้างต้นทุนตามฐานกิจกรรมทีด่ า� เนินงานในองค์กรนัน้ ๆ ได้แก่ ต้นทุน ภายใต้กจิ กรรม (กระบวนการ) การบริหารค�าสัง่ ซือ้ จัดซือ้ จัดหา จัดเก็บวัตถุดบิ การผลิต การจัดเก็บสินค้าคงคลัง การขนส่งสินค้า และการส่งคืน จากองค์ประกอบต่างๆ ทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้นนี้ สามารถพัฒนาขึน้ เป็นกรอบ ตัวชีว้ ดั เพือ่ ความยัง่ ยืนของการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อปุ ทานทีเ่ ป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม ภายใต้กรอบดังกล่าวมีการบรรจุเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ทีเ่ กีย่ วข้องในทุกมิตไิ ว้ อย่างสัมพันธ์กัน รวมถึงการเชื่อมโยงตัวชี้วัดด้านต้นทุนที่เกี่ยวข้อง ทัง้ นี้ ในการประเมินองค์กรผ่านเกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ในมิตติ า่ งๆ โดยการผนวกเอา เกณฑ์ตวั ชีว้ ดั ในด้านโลจิสติกส์สถานประกอบการ ประเด็นการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม และความร่วมมือกันในโซ่อุปทาน โดยแสดงออกมารูปของตัวชี้วัดทางโลจิสติกส์ เพือ่ การบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อปุ ทานทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน สามารถแสดงผลในรูปแบบคะแนนเฉลี่ยภาพรวมขององค์กร ผลคะแนนเฉลี่ยใน แต่ละมิติ ผลคะแนนเฉลี่ยของแต่ละเกณฑ์ตัวชี้วัดหลักและย่อย จากผลการประเมินผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดที่ถูกพัฒนาขึ้นนี้ สามารถบ่งชี้ได้ถึง กระบวนการที่เป็นจุดอ่อนหรือปัญหาของแต่ละองค์กร เพื่อน�าไปสู่การปรับปรุง กระบวนการให้มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน จากเครื่องมือต่างๆ ที่กล่าวมา เมื่อเกิด ภาพประกอบ: htt p:// การสะท้อนปริมาณความสูญเสียหรือ th จ�านวนผลกระทบทีม่ ตี อ่ สิง่ แวดล้อม จึ ง ควรที่ ทุ ก ฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งใน โซ่ อุ ป ทานจะหั น มาร่ ว มกั น สร้างการพัฒนาอย่างยั่งยืน ต่อภาพรวมของอุตสาหกรรม ไทย ตัง้ แต่ผปู้ ระกอบการต้นน�า้ (Upstream) จนถึงปลายน�้า (Downstream) ผ่านกิจกรรมด้าน โลจิสติกส์ (Logistics) ทัง้ โลจิสติกส์ ระหว่างสถานประกอบการ และโลจิสติกส์ ภายในสถานประกอบการ ในปัจจุบันมีการ พัฒนาเครื่องมือเพื่อการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ (Logistics Management) มากมาย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตควบคู่กับการลดความ สูญเสีย จากกิจกรรมต่างๆ ซึง่ แน่นอนว่าประโยชน์ทางตรงก็คอื ต้นทุนการผลิตทีล่ ดลง ผลประกอบการที่ดีขึ้น ส�าหรับประโยชน์ทางอ้อมก็คือ การลดลงของปัญหาหรือ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการใช้ทรัพยากรหรือวัตถุดิบ และการเกิดของเสีย ทีน่ อ้ ยลง ซึง่ ไม่วา่ จะเป็นการด�าเนินการด้วยวิธกี ารใดก็ตาม ก็นบั ว่าเป็นจุดเริม่ ต้น ที่ท�าให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป

ตัวอย่างการแสดงผลการประเมินองค์กรในการบริหารจัดการโลจิสติกส์ และโซ่อุปทานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในแต่ละมิติและเกณฑ์ตัวชี้วัดหลัก 23

GreenNetwork4.0 September-October 2018

preneurs.com lintra

กรอบตัวชี้วัดเพื่อการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน


PPA :

GREEN

โมเดลพลังงาน ที่เพิ่มอ�านาจ การผลิตไฟฟ้า ของประชาชน

Report กองบรรณาธิการ

เมื่อปลายปี พ.ศ. 2559 ผศ. ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล รองอธิการบดี ฝ่ายความยั่งยืนและบริหารศูนย์รังสิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้เคยประกาศ ถึงเป้าหมายของมหาวิทยาลัยที่ต้องการเพิ่ม สัดส่วนของการใช้ไฟฟ้าจากพลังงานสะอาด มากขึน้ นัน่ เป็นทีม่ าของการอนุญาตให้เอกชน เข้ามาติดตัง้ แผงโซลาร์บนหลังคาตึก 5 ตึก ใน วิทยาเขตรังสิต เพือ่ แปลงพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นไฟฟ้าขนาด 5 เมกะวัตต์ และตัง้ เป้าเพิม่ เป็น 10 เมกะวัตต์ ในปี พ.ศ. 2561 ทัง้ นีธ้ รรมศาสตร์ ไม่ต้องลงทุนในแผงโซลาร์หรือระบบจัดการ ใดๆ เพียงแค่อนุญาตให้ตดิ ตัง้ และจ่ายค่าไฟฟ้า ตามพลังงานแสงอาทิตย์ในสัดส่วนที่ใช้จริง ผศ. ดร.ปริญญา เท่านั้น เทวานฤมิตรกุล โมเดลที่ ธ รรมศาสตร์ เ ลื อ กใช้ นี้ เ ป็ น โมเดลพลังงานที่พบเห็นได้ทั่วไปในอเมริกา และยุโรป แต่อาจยังไม่เป็นที่คุ้นเคยกับคนไทยนัก โมเดลพลังงานนี้มีชื่อว่า PPA หรือ Power Purchase Agreement (ข้อตกลงการซื้อขายพลังงานแสงอาทิตย์) ซึง่ เป็นโมเดลพลังงานทีเ่ อือ้ ให้องค์กร หน่วยงานธุรกิจ หรือแม้กระทัง่ ครัวเรือนและ ปัจเจก ร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับการผลิตไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานแสงอาทิตย์ได้ง่าย สะดวก โดยไม่ต้องลงทุนเอง ถือเป็นโมเดลที่เพิ่มอ�านาจให้กับผู้ที่อยากมีส่วนร่วม กับการผลิตพลังงานสะอาดเป็นอย่างยิ่ง!

PPA คืออะไร

ทำ�ไมต้องสนใจ PPA?

นอกเหนือจากการเป็นโมเดลที่เอื้อให้คุณใช้พลังงานจากแผงโซลาร์บน หลังคาบ้านได้โดยทีค่ ณ ุ ไม่ตอ้ งควักเงินลงทุนเองแล้ว PPA ยังถือเป็นโมเดลพลังงาน ที่เพิ่มอ�านาจให้ประชาชน โดยประชาชนสามารถเลือกได้ว่าจะผลิตไฟฟ้าจาก หลังคาใช้เองหรือไม่ หรือจะพึ่งพาไฟจากระบบพลังงานแบบเก่าที่มีรัฐเป็นผู้ขาย รายเดียว หรือจะผสมผสานสองทางเลือกนีเ้ ข้าด้วยกัน การทีช่ วี ติ ทีม่ ที างเลือกมาก ขึ้น คือค�าตอบที่ว่า ท�าไมเราควรต้องสนใจโมเดลพลังงานใหม่อย่าง PPA นั่นเอง

โฉมหน้าของโมเดลพลังงานแบบเก่า

ทุกวันนี้ พลังงานไฟฟ้าที่เราใช้ชาร์จแบตเตอรี่โทรศัพท์มือถือ ใช้เปิดไฟใน ครัวเรือน หรือใช้เป็นแหล่งพลังงานของห้างร้าน นั้นมาจากสายส่งไฟ ซึ่งโมเดล พลังงานแบบเดิม ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้มีรัฐบาลเป็นผู้ผลิตหลัก เป็นเจ้าของและ ผู้ควบคุมสายส่ง อีกทั้งยังเป็นผู้มีสิทธิ์ขายไฟฟ้าแต่เพียงรายเดียวด้วย ในแง่การผลิตไฟฟ้านั้น เดิมทีรัฐเป็นผู้ผลิตรายเดียว แต่เมื่อสภาพสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีเปลีย่ นแปลง รัฐก็อนุญาตให้มผี ผู้ ลิตรายอืน่ เข้ามาร่วมผลิต ไฟฟ้าได้ แต่ในแง่การกระจายและการขายไฟฟ้าให้แก่ประชาชน รัฐยังเป็นผูค้ วบคุม และผูกขาดหนึ่งเดียวอยู่ นั่นหมายความว่า ถ้าเราจ�าเป็นต้องใช้ไฟฟ้าจากสายส่ง ทางเลือกก่อนหน้านี้ของประชาชนคือ เราต้องซื้อจากรัฐเท่านั้น แต่เมื่อเทคโนโลยีพัฒนาไปข้างหน้า และเกิดโมเดลพลังงานแบบใหม่ขึ้น ที่เอื้อให้เราเป็นเจ้าของแผงโซลาร์ได้ในต้นทุนที่ต�่ามาก ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้ บ้านเรือน องค์กร หรือภาคธุรกิจสามารถใช้แผงโซลาร์แปลงแสงอาทิตย์เป็นพลังงาน ไฟฟ้าไว้ใช้เอง โดยไม่จ�าเป็นต้องรอพึ่งพาไฟฟ้าจากสายส่งแต่เพียงอย่างเดียว นั่นเท่ากับว่า ทางเลือกได้เปิดกว้างมากกว่าหนึ่งทางแล้ว และทางเลือกที่เพิ่มขึ้น ย่อมหมายถึงผลประโยชน์ที่ประชาชนอย่างเราๆ จะได้รับเพิ่มขึ้นนั่นเอง

PPA มาจาก Power Purchase Agreement คือข้อตกลงการซือ้ ขายพลังงาน แสงอาทิตย์ ที่ผลิตได้จาก Solar Rooftop ซึ่งเป็นแผงโซลาร์ท่ีติดตั้งบนหลังคา ทำางเลือกอื่น นอกเหนือจาก PPA ทัง้ นี้ PPA ถือเป็นโมเดลพลังงานแบบใหม่ ทีเ่ พิม่ อ�านาจให้กบั ครัวเรือน องค์กร และ โมเดลการติดตัง้ แผงโซลาร์บนหลังคา เพือ่ ใช้ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ภาคธุรกิจทีต่ อ้ งการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ไว้ใช้เอง แต่ไม่ตอ้ งการลงทุน นัน้ ไม่ได้มโี มเดลแค่เพียง PPA หรือข้อตกลงซือ้ ขายพลังงานเท่านัน้ หากประชาชน หรือต้องการลงทุนแต่เพียงเล็กน้อย โดยโมเดล PPA นี้ บริษัทซึ่งจ�าหน่ายแผงและ คนไทยยังมีทางเลือกอืน่ ด้วย ทางเลือกอืน่ ๆ นัน้ ได้แก่ การซือ้ เงินสด (ซึง่ ใช้เงินลงทุน ระบบโซลาร์จะเป็นผู้ลงทุนในอุปกรณ์ การติดตั้ง รวมถึงดูแลและซ่อมแซมระบบ สูง) และการผ่อนสินเชื่อ หรือที่เรียกว่า Solar Loan ครัวเรือน องค์กร และภาคธุรกิจเพียงแค่จ่ายค่าไฟฟ้า (ที่ผลิตจากแผงโซลาร์) รายเดือนตามระยะสัญญาเท่านั้น โดยอัตรา ไฟฟ้าจะคิดตามหน่วยที่ใช้ ในอัตราต่อหน่วย ประเภท ผู้ถือครองเป็น ผู้ลงทุน อัตราค่าไฟจากแผงโซลาร์ เทียบเท่าหรือต�่ากว่าการไฟฟ้า โดยคิดแบบ เจ้าของแผงโซลาร์ ที่ต้องจ่าย (ซื้อ) อัตราคงที่ (Flat Rate) ท�าให้ในระยะยาว ผู้ซื้อ (ครัวเรือน, ธุรกิจ, ผู้ซื้อ (ครัวเรือน, ธุรกิจ, ไม่ต้องซื้อ ซื้อ (Buy) ค่าไฟฟ้าจากโมเดล PPA ที่จ่าย จะถูกกว่าการ องค์กร) องค์กร) จ่ายค่าไฟให้รัฐ โดยที่ม่ันใจได้ว่า อ�านาจใน ผู้ซื้อ (ครัวเรือน, ธุรกิจ, ธนาคารหรือสถาบัน ไม่ต้องซื้อไฟ แต่ผ่อนจ่ายสินเชื่อ Solar Loan การผลิตไฟฟ้าที่ใช้งานยังเป็นของตนเอง แถม องค์กร) เงินกู้ รายเดือนให้ธนาคารหรือสถาบันเงินกู้ (ผ่อนสินเชื่อ) พลังงานนั้นยังสะอาดและดีต่อสิ่งแวดล้อมด้วย บริษัทผู้ให้บริการ จ่ายค่าไฟรายเดือนตามสัดส่วน PPA (สัญญาซื้อขาย บริษัทผู้ให้บริการ พลังงาน)

24

ระบบโซลาร์ครบวงจร

ระบบโซลาร์ครบวงจร

GreenNetwork4.0 September-October 2018

ที่ใช้งานจริง


ประเภท

ซื้อ (Buy) ผ่อนสินเชื่อ (Loan) PPA

จ่ายเงินก้อน ผ่อนสินเชื่อรายเดือนเท่ากันทุกเดือน จ่ายตามปริมาณไฟฟ้าในแต่ละเดือน จ่ายค่าซ่อมบ�ารุงและดูแล ติดสัญญาระยะยาว (ประมาณ 20 ปี) * ส�าหรับค่าซ่อมบ�ารุงและดูแล ทางบริษทั โซลาร์มกั จะยกเว้นให้แก่ประเภท Loan ในช่วงปีแรกๆ ส่วนลูกค้า PPA จะได้รับยกเว้นตลอดสัญญา

กับประชาชนในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ อีก ดังนัน้ หากรัฐส่งเสริมให้ประชาชนผลิตไฟฟ้าได้เอง โดยอาจจะออกมาตรการทีใ่ ห้ธนาคารของรัฐเสนอสินเชือ่ ราคาถูกเพือ่ ให้ประชาชน ติดตั้งแผงโซลาร์ อย่างนี้น่าจะดีกว่าไหม เพราะเป็นพลังงานสะอาด ประชาชนก็มี ส่วนร่วมในการผลิต ความมัน่ คงทางพลังงานของประเทศก็เพิม่ ขึน้ โดยไม่ตอ้ งสร้าง โรงไฟฟ้าถ่านหินหรือนิวเคลียร์เพิ่ม”

อ�นาจการผลิตไฟฟ้าเอง : เริ่มต้นทำี่ก้าวเล็กๆ ก่อนขยายไปก้าวทำี่ใหญ่ขึ้น

สัมฤทธิ์ สิทธิวรานุวงศ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โซลาร์ ดี (Solar D) ส�าหรับโมเดลการซือ้ ขาด (Buy) เป็นโมเดลทีเ่ ราน่าจะคุน้ เคยกันอยูแ่ ล้ว แต่ คอร์เปอร์เรชัน่ จ�ากัด ผูใ้ ห้จา� หน่ายและติดตัง้ โซลาร์เซลล์ครบวงจรซึง่ เชือ่ ว่าการที่ โมเดลนี้มีข้อจ�ากัดตรงที่ว่า ต้องจ่ายเงินงวดเดียวในจ�านวนที่สูงมาก อีกทั้งบริษัท ประชาชนมีสว่ นร่วมในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ส่วนใหญ่จะไม่มบี ริการติดตัง้ และซ่อมบ�ารุง (ยกเว้นบางบริษทั ทีม่ บี ริการนีแ้ ถมให้) มากขึน้ นัน้ เกีย่ วพันกับอ�านาจ สิทธิ และระดับ ท�าให้โมเดลการซื้อขาดจึงไม่ได้รับความนิยม ประชาธิปไตยในสังคมไทย เขามีมุมมองว่า ขณะที่อีกโมเดล คือการผ่อนสินเชื่อ หรือ Solar Loan ถือเป็นโมเดลที่ การที่ประชาชนสามารถมีอ�านาจในการผลิต ครัวเรือน องค์กร หรือภาคธุรกิจ จะท�าการกูส้ นิ เชือ่ จากธนาคารหรือสถาบันการเงิน ไฟฟ้าได้เอง นั่นถือเป็นก้าวเล็กๆ ที่น่าสนใจ แล้วน�ามาซือ้ แผงโซลาร์และระบบติดตัง้ โดยสินเชือ่ ทีก่ มู้ านัน้ ลูกค้าต้องผ่อนช�าระ ยิ่งประกอบกับเทคโนโลยีที่เจริญรุดหน้าขึ้น และเสียดอกเบีย้ ตามระยะสัญญา แต่ระหว่างนัน้ ก็สามารถใช้พลังงานไฟฟ้าทีผ่ ลิต ทุกวัน ก้าวเล็กๆ นั้นอาจขยายไปสู่ก้าวใหญ่ได้ ได้จากแผงโซลาร์ได้ฟรี เพราะถือว่าลูกค้าเป็นเจ้าของอุปกรณ์แล้ว ในไม่ช้า ส่วนที่โมเดลแบบ PPA แม้ลูกค้าจะไม่ได้ลงทุนค่าแผงและระบบโซลาร์เอง “PPA เป็นโมเดลทีน่ า่ สนใจ เพราะช่วยให้ แต่ตอ้ งจ่ายค่าพลังงานไฟฟ้าตามอัตราทีใ่ ช้จริงให้กบั บริษทั โซลาร์ ซึง่ มักจะมีราคา ประชาชนสามารถติดตัง้ แผงโซลาร์ได้โดยแทบ สัมฤทธิ์ สิทธิวรานุวงศ์ ถูกกว่าเมือ่ เทียบกับค่าพลังงานทีเ่ ราต้องจ่ายให้กบั การไฟฟ้าของภาครัฐ ทัง้ นีส้ ญ ั ญา ไม่ต้องควักกระเป๋าสตางค์เลย เพียงแต่ว่าใน การซื้อพลังงานไฟฟ้าจากโมเดล PPA นี้ มักจะมีระยะเวลาประมาณ 20 ปีขึ้นไป ปัจจุบนั บริษทั ผูจ้ า� หน่ายและติดตัง้ ระบบโซลาร์ ปัจจุบัน โมเดลพลังงานทั้งแบบซื้อ (Buy), ผ่อนสินเชื่อ (Solar Loan), และ จะเน้นเสนอขายโมเดล PPA ให้แก่กลุม่ ธุรกิจ เช่น โรงงาน บริษทั เป็นหลัก โดยยัง PPA ล้วนมีให้บริการในไทย โดยถ้าวัดจากความนิยม อาจต้องบอกว่า โมเดล PPA ไม่เปิดตลาดในส่วนครัวเรือนแต่อย่างใด แต่ครัวเรือนทีส่ นใจอยากติดตัง้ แผงโซลาร์ ได้รับความนิยมมากกว่า แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ทั้งสามโมเดลก็ล้วนมอบทางเลือกให้ เพือ่ ผลิตไฟฟ้าเอง ก็สามารถท�าได้ผา่ นการซือ้ ขาด หรือกูส้ นิ เชือ่ (Solar Loan) ซึง่ ครัวเรือน องค์กร และภาคธุรกิจสามารถผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ไว้ใช้ ทางบริษัท โซลาร์ ดี (Solar D) ของเราก็มีบริการตรงนี้อยู่ เองได้… โดยลดการพึ่งพิงการใช้ไฟฟ้าจากรัฐลง การทีป่ ระชาชนไทย ไม่วา่ จะเป็นภาคครัวเรือน หรือภาคธุรกิจ สามารถเข้าถึง แผงโซลาร์ที่ราคาถูกลง และผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยตนเองได้ พลังงานแสงอาทำิตย์ : “ทำางเลือก” ของประชาชน และ ผมถือว่าเป็นก้าวเล็กๆ แห่งความเปลีย่ นแปลงทีน่ า่ สนใจ เพราะนัน่ สะท้อนให้เห็นถึง “โอกาสใหม่” ส�หรับความมั่นคงทำางพลังงานของรัฐ การมีทางเลือกในด้านพลังงานของประชาชน จริงอยู่ ถึงแม้วา่ กฎระเบียบหลายอย่าง เมื่อเปรียบเทียบโมเดลการผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ กับโมเดลพลังงาน ของไทยในตอนนี้จะยังไม่เปิดกว้างถึงขั้นที่ลุกขึ้นมาอนุญาตให้ประชาชนผลิตและ ไฟฟ้าแบบเก่า ที่เราต้องซื้อไฟฟ้าจากรัฐ อาจให้ความรู้สึกว่า การผลิตไฟฟ้าจาก ขายไฟฟ้าคืนให้แก่รัฐโดยตรงได้เหมือนโมเดล Net Metering ในอเมริกา แต่ต้อง แผงโซลาร์และโมเดลพลังงานแบบเก่าเป็นคู่แข่งกัน แต่จริงๆ แล้ว หากประชาชน ยอมรับว่าความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีได้เปิดทางเลือกใหม่ๆ ให้กบั ประชาชนระดับ สามารถผลิตไฟฟ้าจากแผงโซลาร์ใช้เองได้มากขึน้ ย่อมสร้างให้เกิดความมัน่ คงทาง ครัวเรือนไม่นอ้ ย โดยเฉพาะเทคโนโลยีแบตเตอรี่ หรือ Storage ทีช่ ว่ ยให้ครัวเรือน พลังงานแก่รฐั เพิม่ ขึน้ ได้ ความคิดนี้ ผศ. ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล รองอธิการบดี กักเก็บพลังงานไฟฟ้าไว้ใช้ยามกลางคืนหรือยามที่ต้องการได้ โดยที่ไม่จ�าเป็นต้อง ฝ่ายความยั่งยืนและบริหารศูนย์รังสิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ให้มุมมอง เชื่อมต่อกับเครือข่ายสายส่งตลอดเวลา ที่น่าสนใจว่า อย่างไรก็ดี ต้องยอมรับว่า โครงข่ายสายส่งยังมีความส�าคัญอยูอ่ ย่างแน่นอน “ปัจจุบนั ประเทศเรามีปริมาณไฟฟ้าส�ารองอยู่ 33% แล้วปริมาณไฟฟ้าส�ารองนี้ แต่การที่ประชาชนมีทางเลือกมากขึ้น สามารถเลือกได้ว่าจะผลิตไฟฟ้าเองจาก คิดจากอะไรบ้างล่ะครับ ก็คดิ จากว่าปีทแี่ ล้วประเทศใช้ไฟฟ้าสูงสุดเท่าไร แล้วภาครัฐ พลังงานแสงอาทิตย์ในช่วงกลางวัน และกักเก็บไฟส�ารองในแบตเตอรี่เพื่อใช้ยาม ก็จะต้องหาทางผลิตให้ได้มากกว่านั้น ซึ่งส่วนที่เกินมาคือ ‘ไฟฟ้าส�ารอง’ แต่ทีนี้ กลางคืน หรือจะหันไปใช้ไฟฟ้าจากสายส่งของภาครัฐอย่างน้อย การมีสทิ ธิเ์ ลือกนี้ การเพิ่มปริมาณไฟฟ้าส�ารองของประเทศ ไม่ได้มีทางเลือกแค่ว่าต้องผลิตเพิ่ม ก็ถอื เป็นก้าวแรกๆ ทีน่ า่ สนใจ เพราะสะท้อนให้เห็นถึงแนวโน้มในการจัดการตนเอง เสียหน่อย เพราะเราผลิตได้ 33% ก็มากแล้ว วิธหี นึง่ ทีท่ า� ได้คอื ลดการใช้ไฟฟ้าลงมา ของประชาชน, ลดการรวมศูนย์ทางพลังงานของประเทศลง รวมถึงเผยให้เห็นอ�านาจ ถ้าลดได้ ถึงภาครัฐจะผลิตเท่าเดิม แต่เราก็จะได้ปริมาณไฟฟ้าส�ารองเพิ่มขึ้น ทีเ่ พิม่ ขึน้ ในหมูป่ ระชาชนทีอ่ ยากเข้ามามีสว่ นร่วมกับการผลิตพลังงานด้วย ซึง่ นีถ่ อื วิธีการลดการใช้ไฟฟ้าลงมา ก็อย่างที่ธรรมศาสตร์ก�าลังท�าอยู่นี่แหละครับ เป็นเรื่องที่น่าจับตามองว่าจะน�าไปสู่ความเปลี่ยนแปลงที่ใหญ่ขึ้นหรือไม่” สัมฤทธิ์ คือการหันมาผลิตไฟฟ้าใช้เอง ถ้าหน่วยงานของรัฐ เทศบาล โรงเรียน หรือแม้กระทัง่ กล่าวปิดท้าย ครัวเรือนไทย หันมาผลิตไฟฟ้าใช้เองมากขึ้น ปริมาณการใช้ไฟฟ้า (จากสายส่ง PPA, แผงโซลาร์ และการผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ใช้เอง จึงเป็นมากกว่า ของภาครัฐ) ก็จะลดลง ยอดพีคก็จะลดลง ปริมาณไฟฟ้าส�ารองก็เพิ่มขึ้นอัตโนมัติ เรือ่ งของพลังงานสะอาดและความคุม้ ทุนทางการเงินด้วยประการฉะนี้ เพราะนีค่ อื ความมั่นคงทางพลังงานของประเทศก็เพิ่มขึ้น โมเดลที่เสนอทางเลือก และเพิ่มอ�านาจให้กับผู้ที่อยากมีส่วนร่วมกับการผลิต ข้อเสนอนี้ถือเป็นขั้นต�่าเลย รัฐส่งเสริมหรือเปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไป พลังงานสะอาด เพื่อความมั่นคงทางพลังงานของตนเองและของประเทศอย่าง ผลิตไฟฟ้าเองได้ไหม แทนที่ภาครัฐจะกังวลว่าจะผลิตพลังงานส�ารองไม่เพียงพอ แท้จริง แล้วต้องไปหาทางขยายโรงไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ หรือหาทางเลือกอืน่ อย่างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ agreements0 se a h rc u p re w fx po ซึ่งตัวเลือกเหล่านี้ก็ก่อให้เกิดความไม่สบายใจแก่ประชาชน ท�าให้รัฐต้องทะเลาะ enpower/osoulatur-be.com/watch?v=6AuKCvfQ re g / v o .g a p .e w w .y ment -httpus:Tu//bwe Channel - https://www e re g A se a h rc u o lar Power P และ Solar City Y ที่มา : โซลาร์ดี So 25

GreenNetwork4.0 September-October 2018


GREEN

World กองบรรณาธิการ

อิเกีย ประกาศจะยุติการจ�าหน่าย

ผลิตภัณฑ์พลาสติกประเภทใช้แล้วทิ้ง อิเกีย ให้ค�ำมั่นสัญญำว่ำ จะยุติกำรจ�ำหน่ำยผลิตภัณฑ์พลำสติกประเภทใช้แล้วทิ้งในสโตร์อิเกียทั่วโลกให้ได้ภำยในวันที่ 1 มกรำคม 2563 ซึง่ ผลิตภัณฑ์พลำสติกประเภทใช้แล้วทิง้ ได้แก่ หลอด จำน ถ้วย ถุงแช่แข็ง ถุงขยะ รวมถึงจำนและถ้วยกระดำษ เคลือบพลำสติก .. อิเกียได้ประกำศค�ำมั่นสัญญำนี้ให้ทรำบอย่ำงเป็นทำงกำรในงำน Democratic Design Days ซึ่งจัดขึ้นที่เมือง Almhult ประเทศสวีเดน งำนนีร้ วมนักพัฒนำสินค้ำอิเกียจำกทัว่ โลก ซึง่ จะน�ำเฟอร์นเิ จอร์และสินค้ำตกแต่งบ้ำนทีพ่ ฒ ั นำขึน้ ด้วยวัสดุรไี ซเคิล และนวัตกรรมต่ำงๆ มำจัดแสดง รวมถึงสินค้ำที่เอื้อต่อกำรใช้ในชีวิตประจ�ำวันอย่ำงเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเองก็จะได้จัดแสดง ในงำนด้วยเช่นกัน อิเกียยังได้ประกำศใช้กลยุทธ์กำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืนภำยใต้ชอื่ People and Planet Positive ซึ่งกลยุทธ์ใหม่นี้ เป็นตัวก�ำหนดแนวทำงกำรด�ำเนินงำนของอิเกียทัว่ โลกในด้ำนต่ำงๆ ได้แก่ กำรใช้ชวี ติ อย่ำงสุขภำพดีและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม กำรด�ำเนินงำนอย่ำงเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและสภำพอำกำศ** กำรบริหำรและด�ำเนินธุรกิจอย่ำงเป็นธรรมและเท่ำเทียม อิเกียตั้งใจจะควบคุมกำรด�ำเนินงำนไม่ให้ส่งผลเสียต่อสภำพอำกำศให้ได้ภำยในปี พ.ศ. 2573 หมำยควำมว่ำ จะต้องลด กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกให้ได้มำกกว่ำที่ปล่อยก๊ำซเหล่ำนั้นออกมำ เพื่อบรรลุเป้ำหมำยนี้ อิเกียจะต้อง • ออกแบบสินค้ำอิเกียทัง้ หมดโดยใช้หลักกำรใหม่ ซึง่ ก็คอื หลักกำรใช้งำนแบบหมุนเวียน เป้ำหมำยทีก่ ำ� หนดไว้ คือ จะต้อง ใช้เฉพำะวัสดุที่น�ำกลับมำใช้ใหม่ได้ หรือวัสดุรีไซเคิลเท่ำนั้น สินค้ำยังต้องเอื้อต่อกำรดัดแปลง ซ่อมแซม น�ำกลับมำใช้ ใหม่ น�ำไปขำยต่อ และน�ำไปรีไซเคิล ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ควบคุมกำรสร้ำงของเสียจำกสินค้ำของเรำให้นอ้ ยทีส่ ดุ เท่ำทีจ่ ะเป็นไปได้ • บรรจุสินค้ำในบรรจุภัณฑ์ที่สำมำรถน�ำกลับมำใช้ใหม่ และ/หรือรีไซเคิลได้เท่ำนั้น • ยุติกำรจ�ำหน่ำยสินค้ำที่ผลิตจำกพลำสติกซึ่งสังเครำะห์จำกสำรตั้งต้นจ�ำพวกเชื้อเพลิงฟอสซิล • เพิ่มผลิตภัณฑ์อำหำร เครื่องดื่ม หรือเมนูทำงเลือกที่ท�ำจำกผักในรำยกำรสินค้ำอำหำร .. Loof .... ซีอโี อ Inter IKEA Group กล่ำวว่ำ “ความตัง้ ใจของเรา คือ การเป็นองค์กรทีจ่ ะสรรค์สร้างแต่สงิ่ ดีแก่ผคู้ น Torbjorn และสิง่ แวดล้อมให้ได้ภายในปี พ.ศ. 2573 ขณะเดียวกันในแง่ของธุรกิจ บริษทั ก็จะยังขยายตัวต่อไปตามปกติ ด้วยขนาดของบริษทั และขอบเขตการด�าเนินธุรกิจ ผมว่าเรามีโอกาสทีจ่ ะสร้างแรงบันดาลใจและท�าให้ผคู้ นทัว่ ไปอีกกว่าพันล้านคนใช้ชวี ติ ของพวกเขา ให้ดีขึ้นได้โดยไม่กระทบสิ่งแวดล้อม เราจะสร้างการเปลีย่ นแปลงได้ ก็ตอ่ เมือ่ เราร่วมแรงร่วมใจและส่งเสริมซึง่ กันและกัน เรามุง่ มัน่ ทีจ่ ะเป็นผูน้ า� ในการร่วมมือ กันครัง้ นี้ ส่วนผูท้ จี่ ะมาร่วมสรรค์สร้างสิง่ ดีๆ ไปด้วยกันกับเราก็ไม่ใช่ใครอืน่ นอกเสียจากซัพพลายเออร์ พันธมิตรทางธุรกิจ และ ลูกค้าของเรา” อิเกีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในฐำนะแฟรนไชส์อเิ กียทีด่ ำ� เนินกิจกำรอยูใ่ นภูมภิ ำค มีสโตร์อเิ กียอยูใ่ น 3 ประเทศ ได้แก่ มำเลเซีย สิงคโปร์ และไทย ก็รว่ มเป็นส่วนหนึง่ ในภำรกิจระดับโลกนีด้ ว้ ยเช่นกัน โดยมุง่ มัน่ ทีจ่ ะท�ำงำนและปฏิบตั ติ ำมค�ำมัน่ สัญญำ .. ทีใ่ ห้สนิ ค้ำทีผ่ ลิตจำกพลำสติกแบบใช้แล้วทิง้ ทีอ่ เิ กียจะยกเลิกกำรจ�ำหน่ำย ได้แก่ หลอดดูด รุน่ Soda/ซูดำหลอดดูด รุน่ Sotvatten/ .. เซิตวัตเทน ถุงใส่อำหำรแช่แข็ง รุ่น Fornybar/เฟอร์ นือบำร์ (ทั้งหมด 3 สี) และถุงท�ำน�้ำแข็ง รุ่น Isiga/อิซิกำ 26

GreenNetwork4.0 September-October 2018

**Climate Positive หมายถึ ง มาตรการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก ทีอ่ เิ กียและผูป้ ระกอบการทัง้ หมดทีอ่ ยู่ ในห่วงโซ่อปุ ทานของอิเกียจะปล่อยสู่ ชั้นบรรยากาศ


New ISO standards

for greener machine tools

When the topic of energy efficiency comes up, energy-efficient machine tools don’t immediately spring to mind. Yet machine tools contain motors and auxiliary components whose energy demand varies widely during machining operations. Happily, a new series of ISO standards can help measure energy supplied and improve machine design and performance. Machine tools are complex power-driven industrial devices employed to manufacture ready-for-use parts or semi-finished products. Encompassing a whole array of tools for cutting and forming metal, wood and plastics, and all their accessories, machine tools are used by companies in a variety of sectors like the automotive industry, general machinery, precision engineering, the medical sector, transport, aerospace, and dies and mould. Machine tools obviously use different forms of energy, such as electrical energy, compressed air, hydraulic energy, energy hidden in the cooling and lubrication system, etc. Therefore, the energy demand of a machine tool is considered as key data for investment, but does not stand alone. The performance of a machine tool is multidimensional regarding its economic value, its technical specification and its operating requirements, which are influenced by the specific application. Hence why the ecological footprint is a common challenge for all these products and, as natural resources become scarce, environmental performance criteria for machine tools need to be defined and the use of these criteria specified. ISO has recently published the first two parts of a new International Standard for the environmental evaluation of machine tools, which proposes to analyse machine tools with regard to the delivered functions in order to highlight the commonalities in the huge variety of existing machine tool types. • ISO 14955-1, Machine tools – Environmental evaluation of machine tools – Part 1 : Design methodology for energy-efficient machine tools, addresses the energy efficiency of machine tools during their working life. It identifies the main functions and machine tool components that are responsible for energy demand during the use phase. These components are then compared with previous components or with the state-ofthe-art for their future improvement. • ISO 14955-2, Machine tools – Environmental evaluation of machine tools – Part 2 : Methods for measuring energy supplied to machine tools and machine tool components, supports the energy-saving design methodology according to ISO 14955-1 by providing practical methods for measuring the energy supplied to machine tools. 27

GREEN

World กองบรรณาธิการ

Ralf Reines, Convenor of ISO/TC 39/WG 12 that developed the standards, explains: “This is, to my knowledge, the only standard concerning this topic that is tailored for machine tools. It covers the topic in a way that it can be applied to each and every machine tool, despite the fact that the product group of machine tools is extremely diverse, e.g. different technologies (such as milling, turning, grinding, laser processing, forming), processing of material (metal, wood, plastics), sizes (to produce parts the size of a tooth or to process gears for windmills of 10 m in diameter). The standard focuses on the relevant energy users to achieve a higher environmental performance without loosing in technical possibilities.” According to the study Market Report 2016 by the German Machine Tool Builders’ Association, the world production of machine tools represents EUR 67.7 billion. The increasing demand for machinery and production systems to be more energy-efficient is a relatively new challenge for machine designers. Now, with the new ISO 14955 series, energy efficiency is likely to become an increasingly important quality attribute of modern machine tools. ISO 14955-1 and ISO 14955-2 were developed by ISO technical committee ISO/TC 39, Machine tools, whose secretariat is held by SNV, ISO’s member for Switzerland. They can be purchased from your national ISO member or through the ISO Store. Read more : https://www.iso.org/news/ref2262.html

GreenNetwork4.0 September-October 2018


GREEN

Factory เปมิกา สมพงษ์

ยูนิวานิชน�้ามันปาล์ม (โชควัลลภา) ชูระบบการจัดการพลังงานแบบยั่งยืน พร้อมส่งเสริมปาล์มไทยรักษ์โลก

โรงงานสกัดน�้ามันปาล์ม บริษัท ยูนิวานิชน�้ามันปาล์ม จ�ากัด (มหาชน) อ�ำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงำ เป็นหนึง่ ในผูน้ ำ� ในกำรผลิตน�ำ้ มันปำล์มดิบ (CPO) และ น�ำ้ มันเมล็ดในปำล์มดิบ (PKO) รำยใหญ่ในประเทศไทย เป็นโรงงำนสกัดน�ำ้ มันปำล์ม ที่ได้รับกำรรับรองมำตรฐำน Roundtable on Sustainable Palm Oil : RSPO เพื่อจ�ำหน่ำยให้แก่ผู้ผลิตเป็น B100 แล้วน�ำไปผสมในน�้ำมันดีเซลหมุนเร็วเป็น ไบโอดีเซล ซึ่งปัจจุบันก�ำหนดให้มี B100 ผสมในน�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว 7% (เรียกว่ำ B7) เป็นกำรช่วยเหลือเกษตรผูป้ ลูกปำล์มน�ำ้ มัน ส่งเสริมกำรใช้พลังงำนทดแทนจำก พืช ช่วยท�ำให้ระบบกำรเผำไหม้ของเครื่องยนต์สะอำด ลดปริมำณกำรปล่อยก๊ำซ คำร์บอนไดออกไซด์และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

กระบวนการผลิต เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

พิพิธ คล้ายสมบัติ ผู้จัดการ บริหารฝ่ายวิศวกรรม บริษัท ยูนิวานิช น�้ามันปาล์ม จ�ากัด (มหาชน) กล่ำวว่ำ กระบวนกำรผลิ ต ของโรงงำนสกั ด น�้ ำ มั น ปำล์ ม ในขั้ น ตอนกำรผลิ ต น�้ำมันปำล์มดิบ จะมีกำรน�ำเอำทะลำย ปำล์มสดมำอบ-นึ่งเพื่อยับยั้งเอนไซม์ ตำมธรรมชำติ ท�ำให้ขั้วผลปำล์มนิ่ม หลุดร่วงจำกทะลำยได้งำ่ ย อีกทัง้ ท�ำให้ พิพิธ คล้ายสมบัติ เนื้อของผลปำล์มยุ่ยง่ำยในกำรสกัด น�ำ้ มัน จำกนัน้ จึงน�ำผลปำล์มเข้ำเครือ่ ง นวด เพือ่ แยกผลปำล์มออกจำกทะลำยและถูกส่งต่อไปยังขัน้ ตอนย่อยผลปำล์ม และ ทะลำยปำล์มเปล่ำจะถูกน�ำเข้ำเครื่องบีบทะลำยปำล์มเพื่อลดควำมชื้น ซึ่งทะลำย ปำล์มเปล่ำเหล่ำนีก้ จ็ ะถูกน�ำไปใช้ประโยชน์เป็นเชือ้ เพลิงชีวมวลส�ำหรับกำรผลิต ไอน�ำ้ และกระแสไฟฟ้ำ อีกทัง้ บริษทั ฯ ยังน�ำทะลำยปำล์มเปล่ำไปใช้ทำ� ปุย๋ อินทรีย์ และวัสดุปรับปรุงดินอีกด้วย ในส่วนของเมล็ดปำล์มที่ได้ก็จะน�ำเข้ำหม้อกวน ปำล์ม เพือ่ แยกส่วนทีเ่ ป็นเมล็ดในของปำล์มออก จำกนัน้ จึงน�ำเข้ำขัน้ ตอนสกัด น�้ำมันจำกผลปำล์ม กรองและแยกน�้ำมัน ท�ำให้กลำยเป็นน�้ำมันบริสุทธิ์ต่อไป และขั้นตอนสุดท้ำยคือกำรขัดและแยกเมล็ด เพื่อน�ำเมล็ดในไปสกัด น�้ำมันได้อีก หลังจำกปั่นแห้งกำกใยที่ได้จำกกำรบีบน�้ำมัน ใยปำล์มจะถูกน�ำ ไปใช้เป็นเชือ้ เพลิง ส่วนเมล็ดก็จะเข้ำเครือ่ งขัดและแยกขนำดเล็ก-ใหญ่ จำกนัน้ ก็จะเข้ำเครื่องกระเทำะเมล็ดในปำล์มน�้ำมัน ซึ่งจะประกอบไปด้วยกะลำปำล์ม และเมล็ดใน โดยจะแยกเมล็ดออกจำกกะลำปำล์มด้วยกำรเข้ำเครื่องกระเทำะ กะลำให้แตก และแยกเศษกะลำออกจำกเมล็ดในด้วยเครือ่ งแยก เศษกะลำทีไ่ ด้

28

จะถูกน�ำไปจ�ำหน่ำย เป็นเชือ้ เพลิงชีวมวล ส่วนเมล็ดทีม่ นี ำ�้ มันอยูก่ เ็ ข้ำสูก่ ระบวนกำร อบเมล็ดเพือ่ เอำควำมชืน้ ออก และส่งต่อไปยังโรงงำนสกัดน�ำ้ มันจำกเมล็ดในต่อไป

บ�บัดน�้าเสียโรงงานด้วยการผลิตไบโอแก๊ส

นอกจำกจะมีกระบวนกำรผลิตที่ใช้ทุกวัสดุอย่ำงคุ้มค่ำแล้ว ทำงบริษัทฯ ยังมีโครงกำรไบโอแก๊สจำกน�้ำเสียในโรงงำน เพื่อผลิตไฟฟ้ำเพื่อใช้และจ�ำหน่ำย โดยร่วมกับ บริษทั ไทย ไบโอแก๊ซ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ากัด ซึง่ จะบ�ำบัดน�ำ้ เสียจำกโรงงำน แปรรูปผลิตผลด้ำนกำรเกษตร เพื่อใช้ผลิตก๊ำซชีวภำพและน�ำกลับเข้ำโรงงำน เพื่อใช้แทนที่พลังงำนจำกถ่ำนหิน น�้ำมันดีเซล และน�้ำมันเตำ โดยใช้เทคโนโลยี Cover Lagoon ซึ่งก็คือ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียทำงชีวภำพชนิดหนึ่ง ที่อำศัยจุลินทรีย์ ชนิดทีไ่ ม่ใช้ออกซิเจนจำกอำกำศ หรือทีเ่ รียกว่ำ Anaerobic Bacteria ในกำรย่อยสลำยสำรอินทรีย์ ภำยใต้สภำวะ ไร้อำกำศจำกโครงสร้ำงบ่อทีเ่ ป็นระบบปิด ซึง่ คลุม ด้วยแผ่นวัสดุที่มีควำมยืดหยุ่นและกันน�้ำ เพื่อ ท�ำหน้ำที่สร้ำงภำวะไร้อำกำศ และช่วยกักเก็บ ก๊ำซจำกกระบวนกำรย่อยสลำยของแบคทีเรีย ซึ่ ง ระบบนี้ ส ำมำรถช่ ว ยปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภำพน�้ ำ ทั้ง 3 ด้ำน คือ ด้ำนกำยภำพ ชีวภำพ และเคมี กล่ำวคือ ช่วยลดควำมขุ่น, กลิ่น, สี, ลดค่ำ BOD และ COD นอกจำกนีย้ งั ได้กำ๊ ซชีวภำพเป็น ผลพลอยได้ ซึง่ ประกอบด้วย ก๊ำซมีเทน (CH4), ก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ (CO2), ก๊ำซไฮโดรเจน ซัลไฟด์ (H2S), ก๊ำซแอมโมเนีย (NH4) และ

GreenNetwork4.0 September-October 2018


ส่งเสริมปาล์มไทยรักษ์โลก

ไอน�ำ้ (H2O) ฯลฯ ซึง่ ก๊ำซชีวภำพนี้ สำมำรถน�ำไปใช้ประโยชน์ดำ้ นพลังงำนได้ เมือ่ ท�ำกำรกรองก๊ำซที่ไม่ต้องกำรออกไปก่อน กำรผลิตก๊ำซชีวภำพดังกล่ำว สำมำรถ ลดมลพิษทำงน�ำ้ และอำกำศในชุมชน ผลิตพลังงำนทดแทนและไฟฟ้ำ และบรรเทำ สภำวะโลกร้อนโดยกำรกักเก็บมีเทน นอกจำกนี้ยังมั่นใจได้ว่ำ โครงกำรสำมำรถ ป้องกันกำรปนเปื้อนของน�้ำเสียจำกโรงงำนตำมแหล่งน�้ำธรรมชำติของชุมชนได้ อย่ำงมีประสิทธิภำพ “เมื่อก่อนโรงงานปาล์มส่วนใหญ่ก็จะใช้วิธีผลิตไบโอแก๊สจากแท็งก์ หรือ เรียกว่า CSTR แต่เนื่องจากว่าปริมาตรของแท็งก์นั้นจ�ากัด น�้าเสียจากสวนปาล์ม ไม่สามารถเข้าไปอยู่ในแท็งก์ได้ทั้งหมด เราจึงดีไซน์ในส่วนของ Cover Lagoon ซึ่งเราได้ไปดูเทคโนโลยีของโรงงานแป้ง และฟาร์มหมู ที่เขาท�าไบโอแก๊สมา ส่วนใหญ่กจ็ ะเป็นบ่อดิน เราก็มาลองใช้กบั การบ�าบัดน�า้ เสียของเราด้วย หลังจากนัน้ โรงงานปาล์มทั้งประเทศก็จะใช้เทคโนโลยีนี้ทั้งหมด ซึ่งเป็นบ่อดินแบบปิด เมือ่ เราได้ไบโอแก๊สแล้ว ก็นา� ไปผลิตไฟฟ้า เรามีเครือ่ งยนต์ทเี่ ป็น Gas Engine โดยเอาแก๊สมาเป็นเชื้อเพลงในการปั่นไฟ ถ้านับเฉพาะที่โรงงานนี้ก็ผลิตไฟฟ้าได้ ประมาณ 2.8 เมกะวัตต์ ถ้ารวมสาขาอืน่ ด้วยก็ผลิตได้ประมาณ 5.8 เมกะวัตต์ ซึง่ ในส่วนของการผลิตไฟฟ้าจากไบโอแก๊ส เราจ�าหน่ายให้การไฟฟ้าเป็นรายได้ อีกทางหนึ่ง เพราะในเราผลิตไฟฟ้า จากกากใยของทะลายปาล์มใช้เองใน โรงงานอยู่แล้ว” พิพิธ กล่ำว

ประเด็นที่กำรปลูกปำล์มบำงพื้นที่ท่ีท�ำให้เกิดกำรถำงป่ำและบุกรุกผืนป่ำ ท�ำให้ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เพำะปลูกเสื่อมโทรมลงอย่ำงเห็นได้ชัด จนรัฐบำลเยอรมนีได้ออกกฎหมำยเกีย่ วกับกำรรับรองแหล่ง ทีม่ ขี องกำรผลิตน�ำ้ มันปำล์มทีไ่ ม่ทำ� ลำยสิง่ แวดล้อม เพือ่ เพิม่ มำตรกำรกีดกันผู้ส่งออกที่ละเลยกำรผลิตที่ยั่งยืน โดย มำเลเซียและอินโดนีเซียเป็นสองประเทศทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ โดยตรงจำกกฎดังกล่ำว ซึ่งสร้ำงควำมวิตกกังวลให้กับ ประเทศผูส้ ง่ ออกน�ำ้ มันปำล์มเป็นอย่ำงมำก รวมทัง้ ประเทศไทย ทำงบริษัทฯ จึงมีกำรส่งเสริมและริเริ่มกำรปลูกปำล์ม ด้วยกระบวนกำรปลูกที่ไม่ท�ำลำยสิ่งแวดล้อม ทั้งกำรใช้ ประโยชน์จำกทะลำยปำล์มในกำรน�ำไปปรับหน้ำดิน เพรำะ ทะลำยเปล่ำปำล์มจะช่วยรักษำควำมชื้นของดิน อีกทั้งยังมี เทคโนโลยีในกำรผลิตปุ๋ยด้วยทะลำยปำล์ม เพื่อใช้เป็นส่วนผสมในกำรเพำะเลี้ยง ต้นกล้ำ ทั้งประหยัดค่ำใช้จ่ำย และไร้สำรเคมี ในเรือ่ งของศัตรูพชื สวนปำล์มก็จะประสบปัญหำจำกหนูและกระรอก ทีก่ นิ เมล็ดปำล์ม ทำงบริษทั ฯ จึงเลือกใช้กลวิธที ำงธรรมชำติในกำรก�ำจัดศัตรูของปำล์ม น�้ำมัน คือกำรเลี้ยงนกแสกเพื่อไล่หนู ซึ่งนกแสก 1 ตัวจะกินหนูได้ประมำณ 3 ตัว ต่อคืน ซึ่งหลังจำกได้ลองใช้วิธีนี้แล้ว ปรำกฏว่ำลดกำรใช้สำรเคมีในกำรก�ำจัดหนู ได้ค่อนข้ำงมำก และบริษัทฯ ยังได้เพำะเลี้ยงนกแสก เพื่อส่งต่อให้เกษตรกรน�ำไป ก�ำจัดหนูในสวนปำล์มของตนเองด้วย “ความจริงแล้ว การปลูกปาล์มในไทยไม่ได้ท�าลายสิ่งแวดล้อมอย่างที่คิด อย่างบริษทั เราเอง นอกจากจะท�าทุกอย่างไม่ให้กระทบสิง่ แวดล้อมแล้ว ยังพยายาม น�าพลังงานหมุนเวียนมาใช้ ไม่ว่าจะเป็นของเสีย หรือขยะ และน�้าเสียที่มาจาก กระบวนการผลิต เราน�ามาต่อยอดได้หมด รวมไปถึงการปลูกปาล์ม เรามีขั้นตอน ทุกอย่างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หากแต่ไม่มีการประชาสัมพันธ์ในเรื่องนี้มาก เท่าทีค่ วร ปาล์มไทยจึงถูกเหมารวมเอาว่าอาจจะเป็นเหมือนประเทศอืน่ ๆ ทีถ่ กู กีดกัน ดังนัน้ เราควรช่วยกันสนับสนุนปาล์มไทย และช่วยกันบอกกล่าวประชาสัมพันธ์ใน เรื่องนี้” พิพิธ กล่ำวทิ้งท้ำย

โรงงานสกัดน�้ามันปาล์ม บริษัท ยูนิวานิช น�้ามันปาล์ม จ�ากัด (มหาชน) เป็นอีกหนึ่งต้นแบบ โรงงำนที่ เ ห็ น คุ ณ ค่ ำ และควำมส� ำ คั ญ ของกำร จัดกำรระบบพลังงำนทัง้ ของในโรงงำน และแปรรูป เป็นรำยได้เสริม อีกทัง้ ยังใส่ใจในระบบกำรผลิตทุก ขั้นตอน ตั้งแต่กำรปลูก กำรดูแล จนถึงกำรน�ำมำ สกัดน�้ำมัน ทุกขั้นตอนล้วนค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม และยืนยันว่ำกระบวนกำรปลูกปำล์มน�้ำมันไทย ไม่ท�ำลำยสิ่งแวดล้อมอย่ำงแน่นอน...

29

GreenNetwork4.0 September-October 2018


SMART

City

กองบรรณาธิการ

รัฐฯ-เอกชน ผนึกก�ำลัง พำไทยก้ำวสู่

เมืองอัจฉริยะ เมื่อกล่าวถึงการพัฒนาประเทศไทยไปสู่การเป็น เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City นั้น เราได้ยินการพูดถึงอยู่บ่อยครั้ง ในทุกๆ ภาคส่วน แต่อาจจะยังมองเห็นภาพไม่ชัดเจนนักว่าจะสามารถพัฒนาไปทางไหน อย่างไร ในขณะที่ภาพความส�าเร็จจากมหานครทั่วโลก ที่ได้น�าเอา เทคโนโลยีอัจฉริยะเข้ามาปรับใช้ในเมืองให้ได้รับความสะดวกสบาย ปลอดภัย และมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ มีให้เห็นเป็นตัวอย่างอยูต่ ลอด ดังนัน้ จึงได้มีการจัดงานสัมมนา Delta Future Industry Summit 2018 ขึ้น เพือ่ ระดมสมองของแต่ละฝ่าย ร่วมปรึกษาหารือกันในเรือ่ งของการก้าวสู่ Smart City ในอนาคตอันใกล้ของประเทศไทย

30

โดยงานนี้ บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด (มหาชน) ผู้ผลิตและ พัฒนาโซลูชั่นและนวัตกรรมส�าหรับเมืองอัจฉริยะ ได้เป็นเจ้าภาพในการจัดงาน ซึ่งรวบรวม ผูบ้ ริหารระดับสูงทีม่ อี า� นาจตัดสินใจ ทัง้ จากภาครัฐและภาคเอกชน รวมถึงสือ่ มวลชน มาพบปะ และหารือเกีย่ วกับสิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต ส�าหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมประเทศไทย โดย หัวข้อส�าหรับงานประชุมอุตสาหกรรมทีจ่ ดั ขึน้ เป็นครัง้ แรกนี้ คือ Innovations for Smart Cities หรือ นวัตกรรมส�าหรับเมืองอัจฉริยะ มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ สร้างแรงบันดาลใจให้เกิดแนวคิดและ หนทางทีจ่ ะผลักดันเมืองไทยให้กลายเป็นศูนย์กลางการขับเคลือ่ นด้วยข้อมูลและระบบเศรษฐกิจ ดิจิทัลอัจฉริยะมากขึ้น

GreenNetwork4.0 September-October 2018


ดร.พันธ์ศักดิ์ ศิริรัชตพงษ์ ดร.พันธ์ศักดิ์ ศิริรัชตพงษ์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ากระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม กล่าวถึงความคืบหน้าในส่วนของภาครัฐว่า ในปี พ.ศ. 2561 รัฐบาลได้มแี ผนทีจ่ ะขยายโครงการสมาร์ทซิตี้ เพิม่ ขึน้ อีก 6 จังหวัด ทีจ่ ากเดิมมีเพียง จังหวัดภูเก็ตจังหวัดเดียว ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ขอนแก่น กรุงเทพฯ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง ส�าหรับในกลุม่ 3 จังหวัดใหม่ทจี่ ะสนับสนุนให้เป็นสมาร์ทซิตี้ คือ จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง ทีอ่ ยูใ่ นเขตโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) จะมีชื่อเรียกเฉพาะว่า สมาร์ทอีอีซี ซึ่งได้ร่วมมือกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงพลังงาน กระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อพัฒนา พื้นที่ดังกล่าว “บทบาทของภาครัฐคือการส่งเสริมให้โครงการดังกล่าวเกิดขึ้นได้จริงด้วย ความร่วมมือกันของทุกภาคส่วนในการผลักดันโครงการดังกล่าวนี้ จากแนวโน้มของ ประชาชนทีอ่ าศัยอยูใ่ นเมืองหลวงมีจา� นวนมากกว่า 50% ของประชากรโลก และจะ ทยอยเพิม่ ขึน้ ตามล�าดับในอนาคต นับเป็นทิศทางส�าคัญทีส่ ง่ ผลให้ตอ้ งเร่งด�าเนินการ โครงการสมาร์ทซิตี้ เพื่อขยายผลการยกระดับคุณภาพชีวิต โดยปัจจัยส�าคัญที่จะ เกิดขึน้ ได้ของโครงการดังกล่าวคือ การยอมรับของประชาชนในพืน้ ทีก่ บั หน่วยงาน ในพื้นที่ที่จะร่วมกันผลักดัน” ดร.พันธ์ศักดิ์ กล่าว ในอีกมุมมองจากฝั่งของนักวิชาการ ผศ. ดร.นพพร ลีปรีชานนท์ หัวหน้า ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ได้มาแบ่งปันบทเรียนส�าคัญๆ ที่ได้จากประสบการณ์และความ เชีย่ วชาญในการสร้างเมืองอัจฉริยะ กล่าวว่า มีองค์ประกอบส�าคัญในการเชือ่ มโยง ข้อมูลระหว่างภาครัฐและประชาชนผ่านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ทมี่ าช่วยแก้ปญ ั หา โดยปัจจัยทีช่ ว่ ยกระตุน้ ให้เกิดเมืองอัจฉริยะประกอบด้วย การทีป่ ระชากรย้ายเข้าสู่ เมืองเพิม่ ขึน้ การมองหาความโปร่งใสในกิจกรรมต่างๆ เพิม่ ขึน้ การทีม่ เี ทคโนโลยี ทีส่ ามารถเชือ่ มโยงและจัดการข้อมูลจ�านวนมาก ทิศทางของสังคมและปัญหาเรือ่ ง สภาวะแวดล้อม ทัง้ นีเ้ มืองอัจฉริยะจะมาช่วยแก้ปญ ั หาต่างๆ เช่น ลดการใช้พลังงาน ลดปัญหา การจราจร ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาความปลอดภัยให้กับชุมชนในเมือง ผ่านกริดในด้านต่างๆ ทีเ่ ชือ่ มโยงกัน ไม่วา่ จะเป็นด้านการควบคุมพลังงาน การจราจร การจัดการคุณภาพอากาศและน�้า การจัดการที่จอดรถ สถานีชาร์จรถไฟฟ้า ซึ่ง เหล่านีเ้ ป็นโครงสร้างพืน้ ฐานทีภ่ าครัฐจัดการเป็นส่วนใหญ่ โดยอาจจะมีภาคเอกชน เข้าไปร่วมด้วยในบางกิจกรรม

ผศ. ดร.นพพร ลีปรีชำนนท์

31

ผศ. ดร.นพพร มองว่า สิง่ ส�าคัญคือการเชือ่ มโยงกันระหว่างข้อมูลของระบบ โครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆ กับประชาชน โดยการจะเปลีย่ นเมืองสูเ่ มืองอัจฉริยะในด้าน ใดขึ้นกับการจัดล�าดับความส�าคัญของแต่ละชุมชนที่จะเลือกประเด็นที่ต้องการ พัฒนาเมืองในด้านต่างๆ จากนัน้ จึงมองหาพาร์ตเนอร์ทเี่ ข้ากับเป้าหมายทีว่ างเอาไว้ โดยต้องค�านึงถึง ความคุ้มค่าและยั่งยืนที่จะเกิดขึ้น ด้วยการบริหารจัดการข้อมูล ที่เชื่อมโยงสังคม สภาพแวดล้อม และเศรษฐกิจในการก�าหนดแผน โดยสรุปแล้วไม่ว่าจะเลือกพัฒนาเมืองสู่เมืองอัจฉริยะในด้านใดทั้งผู้ช่วย รัฐมนตรีและนักวิชาการมองไปในทิศทางเดียวกันว่า หัวใจส�าคัญของการพัฒนา เมืองอัจฉริยะคือ การมีส่วนร่วมของทั้งภาครัฐและประชาชนซึ่งเป็นเรื่องส�าคัญ ทีจ่ ะช่วยหนุนให้โครงการต่างๆ เดินหน้าไปได้อย่างยัง่ ยืน โดยอาศัยเทคโนโลยีตา่ งๆ เป็นตัวช่วย

เซีย เชน เยน ด้าน เซีย เชน เยน ประธานบริหาร บริษทั เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า สมาร์ทซิตี้ หรือ เมืองอัจฉริยะ มีการใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) เพือ่ รวบรวมข้อมูลและพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ของผูอ้ ยูอ่ าศัยในเมือง โครงการริเริม่ ไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาลมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ พัฒนาเมืองอัจฉริยะ และเมืองอัจฉริยะคือค�าตอบทีด่ ที สี่ ดุ ส�าหรับความท้าทาย และโอกาสแห่งโลกสมัยใหม่ สิ่งที่เดลต้าให้ความส�าคัญเป็นล�าดับต้นๆ นั่นคือ การพัฒนาโซลูชั่นที่เป็นนวัตกรรมใหม่ๆ ซึ่งประกอบด้วย พลังงานทดแทน ระบบ อุตสาหกรรมอัตโนมัติ เครื่องชาร์จยานยนต์ไฟฟ้า และอาคารสีเขียว “เราต้องการให้คนรุ่นใหม่ได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยีโดยสนับสนุน เทคโนโลยีท่ีท�าให้เมืองของเรามีความอัจฉริยะขึ้น มีความยั่งยืนและประหยัด พลังงานมากขึน้ เราได้เห็นการลดลงของเทคโนโลยีเก่าๆ ไปแล้ว ไม่วา่ จะเป็นรถยนต์ ที่ใช้น�้ามันและการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปสู่เทคโนโลยีอัจฉริยะ และ เทคโนโลยีสะอาดเพื่อเพิ่มความสะดวกสบายให้แก่ชีวิตของเราและเพื่อบริหาร จัดการเมืองทีเ่ ราอาศัย แต่การเปลีย่ นแปลงเพือ่ อนาคตทีด่ กี ว่าจะได้รบั แรงผลักดัน ที่แท้จริงก็ต่อเมื่อหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนท�างานร่วมกันและให้ความ ส�าคัญกับการเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศและการบริหารจัดการเมืองต่างๆ” เซีย เชน เยน กล่าว จากความคิดเห็น ค�าแนะน�า และการกล่าวรายงานความคืบหน้าในของ ทุกภาคส่วน อาจท�าให้พดู ได้วา่ ประเทศไทยก�าลังเดินหน้าพัฒนาสูเ่ มืองอัจฉริยะ อย่างเต็มตัว แต่การพัฒนาเมืองอัจฉริยะนั้น ยังมีอีกหลายส่วนประกอบกัน แต่ เป้าหมายโดยรวมก็คอื การสร้างสังคมคุณภาพทีจ่ ะรองรับการขยายตัวของสังคม เมือง โดยเชื่อมโยงระบบโครงสร้างพื้นฐานของเมืองเข้าด้วยกันแบบบูรณาการ ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการใช้พลังงานอย่างรูค้ ณ ุ ค่า ท�าให้ได้รบั คุณภาพชีวติ ทีด่ ี มีความเป็นเมือง ทีน่ า่ อยูใ่ นลักษณะของการเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และจะเกีย่ วพันไปถึงการเพิม่ โอกาสในการต่อยอดทางธุรกิจ การเสริมสร้างศักยภาพทางเศรษฐกิจของเมือง กระทั่งเป็นเมืองที่สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน

GreenNetwork4.0 September-October 2018


ENERGY

Saving Mr.Save

โครงการน�าร่อง

T77

ต้นแบบชุมชนพลังงานสีเขียวอัจฉริยะ

เป็นเรือ่ งราวทีผ่ ลักดันกันมานานในประเทศไทย ส�าหรับเรือ่ งของการติดตัง้ โซลาร์เซลล์ เพื่อผลิตไฟฟ้าใช้เอง รวมไปถึงการแลกเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าระหว่างผู้ที่ผลิตเหลือใช้ และผลิตไม่พอใช้ ซึง่ ล่าสุดบริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพย์แนวหน้าของไทย อย่าง แสนสิริ ก็ได้เริม่ บุกเบิกโครงการดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรมแล้ว โดยจับมือกับ บีซพี จี ี ผูน้ า� ในธุรกิจ พลังงานหมุนเวียนในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ เริม่ ใช้ระบบแลกเปลีย่ นพลังงานไฟฟ้ารูปแบบ ใหม่แบบเพียร์ทูเพียร์ (Peer-to-Peer) ด้วยการท�าธุรกรรมโดยใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain) ในโครงการทีพ่ กั อาศัยทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลกและเป็นครัง้ แรกในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ โดยน�าร่องระบบแลกเปลี่ยนพลังงานที่โครงการทาวน์สุขุมวิท 77 หรือ T77 ก่อนจะเริ่มมีการซื้อขายอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนกันยายนที่ผ่านมา นับเป็นการประสานความร่วมมือระหว่างพันธมิตรระดับกลยุทธ์ในการผสาน ความเชี่ยวชาญข้ามอุตสาหกรรมของภาคเอกชนในระดับมหภาค ระหว่างผู้นา� ในธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ และพลังงานทดแทนของไทย ภายใต้ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ พลังงานเพือ่ อนาคต (Energy Management for the Future) ด้วยการสร้างปรากฏการณ์ เปลี่ยน Consumer เป็น “Prosumer” ยุคแห่งการผลิตโดยผู้บริโภคซึ่งคนไทยสามารถ เป็นทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคพลังงานสะอาดจากพลังงานไฟฟ้าทดแทน อีกทั้งยังสามารถ ขายพลังงานส่วนเกินทีผ่ ลิตได้ให้กบั สมาชิกในชุมชน พร้อมมุง่ เดินหน้าสร้างประวัตศิ าสตร์ หน้าใหม่ของการพัฒนาแนวทางการอยู่อาศัยอย่างยั่งยืน (Green Sustainable Living) รวมทัง้ การความยัง่ ยืนในการใช้พลังงานทดแทนในประเทศไทยไปอีกขัน้ คาดว่าจะสามารถ ลดต้นทุนค่าไฟฟ้าและลดการส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมจากการลดคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่าการปลูกป่าถึง 400 ไร่ ตามแนวคิด Low Cost-Low Carbon ด้วยก�าลังการ ผลิตพลังงานสะอาดถึง 20% ของปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ทั้งหมดในโครงการ T77 ซึ่งคาดว่า ไฟฟ้าสะอาดทุกหน่วยทีผ่ ลิตได้จะช่วยประหยัดค่าไฟต่อหน่วยให้ลกู บ้านแสนสิรไิ ด้ถงึ 15% พร้อมเผยแผนการระยะยาวในการน�าไปใช้ในโครงการอสังหาริมทรัพย์ของแสนสิริ กว่า 20 โครงการภายในปี ค.ศ. 2018 ภายใต้แผน พัฒนาชุมชนพลังงานสีเขียวอัจฉริยะ (Smart Green Energy Community)

อุทยั อุทยั แสงสุข ประธานผูบ้ ริหารสายงานปฏิบตั กิ ารบริษทั แสนสิริ จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า “แสนสิรมิ งุ่ มัน่ และให้ความส�าคัญกับการสร้างชุมชน ทีพ่ กั อาศัยอย่างยัง่ ยืนภายใต้แนวทางทีช่ าญฉลาด เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และ ประหยัดพลังงาน (Green Sustainable Living) ด้วยการแสวงหาเทคโนโลยี เพื่อสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ อย่างไม่หยุดยั้ง ซึ่งถือได้ว่าเป็นวาระส�าคัญในการ ด�าเนินธุรกิจของแสนสิริมาอย่างยาวนาน โดยหนึ่งในเป้าหมายของแสนสิริ คือการน�าพลังงานทดแทนมาใช้ในทุกโครงการ ภายใต้ยทุ ธศาสตร์การบริหาร จัดการพลังงานเพื่ออนาคต (Energy Management for the Future) ประกอบกับในปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ บนหลังคาก�าลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เราจึงได้ริเริ่มน�าระบบ การผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ไปติดตัง้ ในหลายๆ โครงการทีก่ า� ลัง ก่อสร้างอยู่ การจับมือกับบีซีพีจีในฐานะพันธมิตรระดับกลยุทธ์ (Strategic Partnership) ในครัง้ นี้ นับเป็นการผลักดันวาระ Green Sustainable Living ของแสนสิริให้ก้าวล�้าไปอีกระดับ ด้วยการวางระบบพลังงานไฟฟ้าจาก แสงอาทิตย์แบบเพียร์ทูเพียร์ (Peer-to-Peer) โดยใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน ในที่พักอาศัย ที่เราคัดสรรระบบที่เหมาะส�าหรับแต่ละคอนโดมิเนียมและ บ้านเดี่ยวกว่า 20 โครงการ โดยนับเป็นครั้งแรกของอีกขั้นในการพัฒนา นวัตกรรมด้านพลังงานส�าหรับโครงการที่พักอาศัยทั้งในประเทศไทยและ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นการแลกเปลีย่ นพลังงานผ่านระบบบล็อกเชน ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก ซึง่ การปฏิวตั ริ ะบบการจัดจ�าหน่ายพลังงานในครัง้ นีจ้ ะช่วย สร้างประสบการณ์ในการพักอาศัยที่มีความยั่งยืนให้กับลูกบ้านของแสนสิริ โดยมีไฮไลท์สา� คัญคือการทีล่ กู บ้านจะได้เป็นผูผ้ ลิตและผูบ้ ริโภค ในเวลาเดียวกันในฐานะ Prosumer เป็นครั้งแรก ท�าให้เรา สามารถสร้างระบบการแลกเปลี่ยนใหม่ในตลาดพลังงาน

บัณฑิต สะเพียรชัย เดวิด มาร์ติน อุทัย อุทัยแสงสุข 32

GreenNetwork4.0 September-October 2018


ที่ก้าวข้ามข้อจ�ากัดเดิมๆ โดยประโยชน์ที่จะเกิดอย่างชัดเจนแก่ลูกบ้านแสนสิริ ที่อาศัยในโครงการที่มีการวางระบบนี้คือ สามารถประหยัดค่าไฟฟ้า โดยไฟฟ้า สะอาดทุกหน่วยทีผ่ ลิตได้จะช่วยประหยัดค่าไฟต่อหน่วยได้ถงึ 15% และยังสร้างความ ภูมใิ จให้ลกู บ้านจากการมีสว่ นร่วมในดูแลสิง่ แวดล้อมโดยการลดคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ จากก�าลังการผลิตพลังงานสะอาดถึง 20% ของปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ใช้ทั้งหมด ในโครงการ T77 ช่วยลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 530 ตันต่อปีโดยประมาณ หรือ เท่ากับการปลูกป่าจ�านวน 400 ไร่” บีซพี จี แี ละแสนสิรไิ ด้ตดิ ตัง้ ระบบแลกเปลีย่ นพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ ผ่านเทคโนโลยีบล็อกเชนแล้วที่โครงการทาวน์สุขุมวิท 77 (Town Sukhumvit 77) หรือ ที 77 (T77) ซึ่งเป็นโครงการเมกะโปรเจ็กต์ (Mega Project) ของแสนสิริ ที่ประกอบด้วยที่พักอาศัยหลากหลายรูปแบบและไลฟ์สไตล์ฮับที่สมบูรณ์แบบบน พื้นที่กว่า 50 ไร่ในใจกลางสุขุมวิท 77 และเริ่มมีการซื้อขายอย่างเป็นทางการใน เดือนกันยายน โดยระบบพลังงานเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคามีกา� ลังการผลิตติดตัง้ 635 กิโลวัตต์ แบ่งสัดส่วนการใช้เป็น 54 กิโลวัตต์ ส�าหรับฮาบิโตะมอลล์ (Habito Mall) ซึ่งเป็นไลฟ์สไตล์คอมมูนิตี้มอลล์ภายในโครงการ 413 กิโลวัตต์ส�าหรับ โรงเรียนนานาชาติบางกอกเพรพ (Bangkok Prep International School) และ 168 กิโลวัตต์ ส�าหรับพาร์ค คอร์ท คอนโดมิเนียม (Park Court Condominium) รวมถึงโรงพยาบาลฟันที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกในการแลกเปลี่ยนพลังงานภายใน โครงการ นอกจากนัน้ ยังติดตัง้ ระบบนีใ้ นโรงงานผลิตแผ่นคอนกรีตส�าเร็จรูปของ แสนสิริด้วยก�าลังการผลิตกระแสไฟฟ้า 150 กิโลวัตต์ โดยภายในปี 2564 แสนสิริ มี แ ผนที่ ติ ด ตั้ ง ระบบแลกเปลี่ ย นซื้ อ ขายพลั ง งานไฟฟ้ า จากแสงอาทิ ต ย์ ผ ่ า น อินเทอร์เน็ตในโครงการใหม่ๆ กว่า 31 โครงการ และมีกา� ลังการผลิตกระแสไฟฟ้า รวม 2 เมกะวัตต์ บัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่บริษทั บีซพี จี ี จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า “ในฐานะผู้น�าในธุรกิจพลังงานหมุนเวียนในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก บีซีพีจี มุง่ มัน่ สร้างอนาคตทีย่ งั่ ยืนทางพลังงานร่วมกับพันธมิตรต่างๆ โดยน�านวัตกรรมและ เทคโนโลยีที่ชาญฉลาดมาใช้ในการบริหารจัดการไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด เริ่มต้นจากโครงการน�าร่องแลกเปลี่ยนซื้อขายไฟฟ้าทางอินเทอร์เน็ตที่โครงการ ที 77 (T77) ร่วมกับแสนสิริ และพาวเวอร์ เล็ดเจอร์ ผู้บุกเบิกแพลตฟอร์มการ แลกเปลี่ยนพลังงานทดแทนระดับโลกจากออสเตรเลีย ซึ่งเราเริ่มซื้อขายจริงใน เดือนกันยายนหลังจากช่วงน�าร่อง ถือเป็นก้าวแรกของเราในโครงการที่พักอาศัย ของประเทศไทย และเป็นการเปิดใช้แพลตฟอร์มแลกเปลี่ยน-ซื้อขายพลังงานใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่งผลให้ลูกบ้านแสนสิริกลายเป็นทั้งผู้บริโภคและผู้ผลิต ไฟฟ้าหรือ Prosumer สามารถซื้อขายกระแสไฟฟ้าจากพลังงานสะอาดที่เหลือใช้ ผ่านอินเทอร์เน็ตให้แก่ผู้ร่วมโครงการ โดยจะช่วยประหยัดค่าไฟได้ประมาณ 15% ของค่าไฟฟ้าในปัจจุบัน” ข้อดีของการน�าเทคโนโลยีบล็อกเชนมาใช้ คือช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนซื้อขายพลังงานไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานสะอาดแบบเรียลไทม์ผ่านเครือข่ายแบบ เพียร์ทเู พียร์ (Peer-to-Peer) ผ่านแพลตฟอร์มทีม่ คี วามปลอดภัย รวดเร็ว โปร่งใส และปราศจากข้อผิดพลาดในการท�าธุรกรรมโดยไม่ต้องมีคนกลาง ด้วยราคาที่ ถูกลงและช่วยลดมลภาวะด้วยการใช้พลังงานสะอาด ตามแนวคิด Low Cost, Low Carbon ในโครงการน�าร่องที่ T77 นี้ มีผรู้ ว่ มโครงการ 4 อาคาร โดยมีระบบกักเก็บ พลังงานหรือแบตเตอรีภ่ ายในโครงการ และการเชือ่ มโยงกับสายส่งของการไฟฟ้า นครหลวง (กฟน.) ซึ่งแต่ละรายมีพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้า (Load Profile) และ ศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่แตกต่างกัน โดยในเบื้องต้น ไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโซลาร์รูฟท็อปในแต่ละอาคาร จะน�า ไปใช้ภายในอาคาร เพื่อให้แต่ละอาคารสามารถใช้ไฟฟ้าในต้นทุนที่ต�่ากว่าไฟฟ้า ที่เคยซื้ออยู่ ในกรณีที่มีไฟฟ้าส่วนเกินจากการผลิตใช้ภายในอาคาร แต่ละอาคาร สามารถน�าไฟฟ้านัน้ แลกเปลีย่ นกันภายในแพลตฟอร์ม โดยภายในหนึง่ เสีย้ ววินาที นั้น สามารถเกิดสถานการณ์การใช้และการผลิตไฟฟ้าได้หลายรูปแบบ ทั้งอาคาร ก็จะผลิตได้เกินความต้องการ หรืออาคารที่ผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการ ส�าหรับในกรณีที่ไฟฟ้าที่ผลิตได้มีมากกว่าความต้องการที่ใช้เอง ระบบก็จะน�าไฟ ส่วนเกินขายให้ผู้ใช้รายอื่นด้วยระบบ P2P หากยังมีเหลืออีกก็จะขายให้ระบบ กักเก็บพลังงาน (Energy Storage) เพือ่ เก็บไว้ขายในเวลาอืน่ ๆ และหากระบบกักเก็บ เต็ม ไฟฟ้าก็จะถูกส่งขายเข้าระบบของ กฟน. ทั้งนี้ ในกรณีที่มีความต้องการใช้ 33

ไฟฟ้าสูงกว่าที่สามารถผลิตได้ ระบบก็จะท�าการซื้อจากระบบ P2P จากระบบ กักเก็บพลังงาน และจาก กฟน. ตามล�าดับ การด�าเนินการทั้งหมดนี้ เกิดขึ้นได้โดยเทคโนโลยีบล็อกเชนที่น�ามาใช้เพื่อ ประมวลผลถึงความเหมาะสมในการก�าหนดผู้ซื้อและผู้ขายในความถี่ระดับเสี้ยว วินาทีโดยสามารถใช้แอพพลิเคชั่นของบีซีพีจี ได้ทั้งบนคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์ มือถือ “โครงการน�าร่องแลกเปลีย่ นซือ้ ขายไฟฟ้าที่ T77 นี้ ถือเป็นหนึง่ ในโครงการ ขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ของโลกทัง้ ยังเป็นโครงการอันดับแรกๆ ของโลกอีกด้วย ในเบือ้ งต้น คาดว่าโครงการน�าร่องนีจ้ ะสามารถผลิตไฟฟ้าให้กบั Community นีไ้ ด้ถงึ ร้อยละ 20 ของความต้องการใช้ไฟฟ้าโดยรวม ซึ่งนอกจากจะเป็นการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน สะอาดได้ด้วยตนเอง และสามารถแลกเปลี่ยนซื้อขายได้ด้วยระบบ P2P แล้ว การติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับแต่ละอาคารหรือแต่ละบ้าน เพิ่มโอกาสในการจัดหาสินเชื่ออีกด้วย” บัณฑิต กล่าวเพิ่มเติม เดวิด มาร์ติน กรรมการผู้จัดการและหนึ่งในผู้ก่อตั้งพาวเวอร์ เล็ดเจอร์ ผู้พัฒนาเทคโนโลยีการแลกเปลี่ยนและซื้อขายพลังงานไฟฟ้าในระบบบล็อกเชน เสริมว่า “วิสัยทัศน์ของเราคือการน�าเอาอ�านาจในการบริหารจัดการด้านพลังงาน มาสูม่ อื ผูบ้ ริโภคทัว่ โลก (Democratization of Energy) โดยทีย่ งั คงไว้ซง่ึ คุณค่าของ เครือข่ายการกระจายพลังงานทีใ่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั เรามุง่ มัน่ ทีจ่ ะปฏิรปู อุตสาหกรรม พลังงานโดยน�าเอาเทคโนโลยีมาใช้เพื่อช่วยให้ผู้บริโภคสามารถประหยัดค่าไฟฟ้า จ�าหน่ายพลังงานเหลือใช้ในราคาที่ดี และใช้พลังงานที่สะอาดมากขึ้น การน�า เทคโนโลยีบล็อกเชนมาใช้ในระบบการแลกเปลีย่ นและซือ้ ขายพลังงาน จะช่วยสร้าง แพลตฟอร์มการแลกเปลี่ยนและซื้อขายแบบอัตโนมัติส�าหรับทั้งอาคารที่พักอาศัย และอาคารเพื่อการพาณิชย์ในการขายพลังงานที่เหลือใช้ให้กับลูกค้าที่สามารถ เลือกได้ในราคาที่พอใจ การร่วมมือกับแสนสิริและบีซีพีจีนับเป็นก้าวแรกของ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทสี่ ง่ เสริมให้เกิด การรวมพลังกันระหว่างผูบ้ ริโภค ชุมชน และผูผ้ ลิตพลังงานเพือ่ ร่วมกันสร้างอนาคต ที่ยั่งยืนทางด้านพลังงาน” ส�าหรับการแลกเปลี่ยน-ซื้อขายไฟฟ้าระหว่างอาคารนั้นทุกฝ่ายสามารถ เป็นได้ทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย ผ่านการตกลงกันไว้ล่วงหน้าด้วย Smart Contract โดย ผู้ที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าจะซื้อไฟฟ้าจากผู้ที่ผลิตได้เหลือใช้ด้วยราคาที่ต�่าที่สุด ส่วนผู้ที่ผลิตได้เกินจากความต้องการก็จะขายให้กับผู้ซื้อที่ให้ราคาสูงที่สุด ทั้งนี้ ในการท�าธุรกรรมจะใช้ Sparkz Token ซึ่งเปรียบเสมือนกับคูปองในศูนย์อาหาร และเป็นเพียงสัญลักษณ์ในการแลกเปลี่ยนไฟซื้อขายในระบบเท่านั้น ไม่เกี่ยวข้อง กับกระบวนการ Cryptocurrency และไม่มีผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนใดๆ นับเป็นอีกหนึ่งข้อได้เปรียบของแพลตฟอร์มของเราที่สามารถแยกระดับ การเข้าถึงและการแลกเปลี่ยนเป็น 2 ขั้นตอน คือระหว่างผู้บริโภคกับบีซีพีจี และระหว่างบีซีพีจีกับพาวเวอร์ เล็ดเจอร์เพื่อปิดความเสี่ยงต่อผู้บริโภคในเรื่อง Cryptocurrency “ความส�าเร็จที่ผ่านมาของเราในระบบ P2P Energy Trading มีตัวอย่าง เช่น การร่วมมือกับกับเวสเทิร์นพาวเวอร์และมหาวิทยาลัยเคอร์ตินในออสเตรเลีย และการร่วมมือกับมหาวิทยาลัยนอร์ธเวสเทิร์นในชิคาโก สหรัฐอเมริกา ซึ่งเรา มั่นใจว่าแพลตฟอร์มนี้จะประสบความส�าเร็จอย่างดีในประเทศไทยเช่นกัน” เดวิด กล่าวเสริม “เป้าหมายที่ส�าคัญที่สุดของแสนสิริในการน�าเทคโนโลยีระดับโลกในด้าน นวัตกรรมพลังงานสะอาดเพือ่ การประหยัดพลังงานมาน�าร่องทดลองใช้ครัง้ นีไ้ ม่ใช่ การมุง่ หวังถึงรายได้จากการขายไฟฟ้า แต่เรามุง่ เน้นการสร้างประสบการณ์ในการ พักอาศัยที่เหนือชั้นและสร้างชุมชนที่พักอาศัยที่มีความยั่งยืนในประเทศไทยและ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนี้ เรามุ่งหวังให้เป็นกรณีศึกษาถึงความส�าเร็จ ในการใช้ระบบแลกเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าในโครงการที่พักอาศัยหรือภายในชุมชน ในระดับมหภาค ที่จะช่วยสนับสนุนการเดินหน้าประเทศไทยสู่ประชาธิปไตยทาง พลังงานอย่างเช่นความส�าเร็จทีเ่ กิดขึน้ แล้วในหลายๆ ประเทศ รวมทัง้ การมีสว่ นร่วม ในการช่ ว ยลดภาระของภาครั ฐ ในการลงทุ น สร้ า งโรงผลิ ต ไฟฟ้ า ขนาดใหญ่ เพื่อรองรับความต้องการที่เพิ่มสูงขึ้น แสนสิริยังคงมุ่งมั่นที่จะสรรหาพันธมิตร เพื่อร่วมกันพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อมและนวัตกรรมด้านอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ เดินหน้าสูก่ ารพัฒนาแนวทางการอยูอ่ าศัยอย่างยัง่ ยืนต่อไป” อุทยั กล่าวปิดท้าย

GreenNetwork4.0 September-October 2018


GREEN

้ ด ไ ง อ ้ ต บ ั สีเขียวที่จ

Industry ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี

รัฐบาลได้สง่ สัญญาณในเรือ่ งของการพัฒนาประเทศอย่างยัง่ ยืนบนพืน้ ฐาน ของเศรษฐกิจสีเขียว หรือ เศรษฐกิจทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม (Green Economy) แล้ว นโยบายนี้ได้รับการตอบรับจากทุกหน่วยงานของทั้งภาครัฐและเอกชนเป็น อย่างดี เพราะการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน จะท�าให้เกิดความสมดุลทัง้ ภาคเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม ซึง่ ท�าให้ธรุ กิจอุตสาหกรรมสามารถอยูร่ ว่ มกับชุมชนอย่างปกติสขุ ในส่วนของกระทรวงอุตสาหกรรมก็ได้เริ่มกระบวนการส่งเสริมสนับสนุน ในสถานประกอบการและโรงงานเข้าสูก่ ารเป็น “อุตสาหกรรมสีเขียว” (Green Industry) ในปี พ.ศ. 2553 และนับแต่นนั้ เป็นต้นมา นอกจากโรงงานจะมุง่ ขอการรับรองเป็น อุตสาหกรรมสีเขียวระดับต่างๆ แล้ว ก็ยังได้มีสถานประกอบการหลายแห่งแสดง เจตจ�านงในการขอใช้ “ตราสัญลักษณ์อตุ สาหกรรมสีเขียว” หรือ “Green Industry Mark” อย่างต่อเนือ่ งด้วย เพือ่ พิมพ์ลงบนกล่องบรรจุภณ ั ฑ์หรือบนหีบห่อตัวสินค้า เพื่อประโยชน์ด้านการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขาย โจทย์ในวันนีก้ ค็ อื เราจะสร้างคุณค่าให้เกิดขึน้ ในรูปของการท�าตลาดสินค้า หรือกระบวนการทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมได้อย่างไร หลักการตลาดทีส่ า� คัญประการ แรกๆ ที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายสินค้าหรือบริการต้องท�าก็คือ การศึกษาพฤติกรรมการ บริโภคของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย (ผู้บริโภค) การตลาดสีเขียวก็เช่นเดียวกัน เราลองมาพิ จารณาปัญ หาของหมอกควัน หรือก๊าซเรือนกระจกรอบตัวเราดู หลายคนอาจ เห็นว่าเป็นเรือ่ งไกลตัวจึงไม่สนใจ บางคนอาจ ตั้งค�าถามว่า “มันคงไม่ท�าให้เราตายวันนี้ พรุง่ นีห้ รอก?” หรือ “มันเกีย่ วอะไรกับสุขภาพ ของเราหรือเปล่า?” หรือ “โลกเราใบนี้ จะดูดซับก๊าซเรือนกระจกใช่หรือไม่?” ซึ่งผู้บริโภคส่วนใหญ่มักจะไม่ทราบ หรือไม่มีข้อมูลดังกล่าว และไม่รู้สึก

34

เดือดร้อน (เท่าไรนัก) ในสิง่ ทีต่ วั เองไม่รู้ แต่ถา้ บอกว่าเขาสามารถประหยัดเงินได้ 100,000 บาทแล้ว ก็จะเป็นอีกเรือ่ งหนึง่ เพราะเกีย่ วข้องกับเงินในกระเป๋าและความ คุ้มค่าในการเลือกซื้อสินค้า จึงมองว่าเป็นเรื่องใกล้ตัวมากกว่า หากเราพิจารณาถึงวิธีโฆษณาขายรถยนต์ใหม่ในปัจจุบัน จะพบว่า ข้อมูล ทีใ่ ห้ลกู ค้ามักจะเป็นเรือ่ งของการประหยัดค่าใช้จา่ ย การประหยัดเชือ้ เพลิง อัตรา ความสิ้นเปลืองพลังงาน และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ข้อมูลเกี่ยวกับ สิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์เริม่ มีมากขึน้ เราจะพบว่าเริม่ มีการใช้กลยุทธ์ทเี่ ปลีย่ นผลประโยชน์ ทางสิ่งแวดล้อมให้สามารถเข้าใจและจับต้องได้มากขึ้น อีกตัวอย่างหนึ่ง ในกรณีของนายหน้าขายอสังหาริมทรัพย์ที่พาเราไปดูท่ี บ้านหลังหนึ่งและพูดว่าบ้านหลังนี้มีฉนวนกันความร้อนและระบบการท�าน�้าอุ่น ที่มีประสิทธิภาพสูง ก็อาจจะยังจับต้องไม่ได้ชัดเจนเท่ากับที่นายหน้าคนนั้นแสดง ส�าเนาใบเสร็จค่าไฟฟ้าหรือค่าน�้าที่มีค่าใช้จ่ายลดลง ลูกค้าก็จะเชื่อถือมากกว่า ดังนั้น การแสดงข้อมูลเชิงเปรียบเทียบทั้งในรูปของตัวเลขหรือรูปภาพ (กราฟสถิต)ิ ตลอดจนการอ้างข้อพิสจู น์หรือข้อสนับสนุนจากหน่วยงานรับรองต่างๆ จะช่วยสร้างคุณค่าและความแตกต่างที่จับต้องได้มากกว่า นักการตลาดด้าน สิ่งแวดล้อมมักจะพึ่งพาภาพลักษณ์ของต้นไม้ใบหญ้า ความเขียวชอุ่ม และแม้แต่ ภาพเด็กทารก หรือลูกโลก แต่นนั่ ก็เป็นการสือ่ แบบอ้อมๆ และอาจจะไม่ได้ชว่ ยด้าน การขายได้มากนัก ทุกวันนี้ ผู้บริโภคเริ่มจะเลือกซื้อสินค้าสีเขียว เพื่อช่วยปกป้องสุขภาพและ สิ่งแวดล้อม ประหยัดเงิน หรือด้วยเหตุผลง่ายๆ คือมันให้อะไรที่ดีกว่าสินค้าแบบ เดิมๆ นัน่ เป็นสาเหตุทวี่ า่ ท�าไมสินค้าประเภทออร์แกนิก (อินทรีย)์ ธรรมชาติบา� บัด สุขภาพ หรือประหยัดพลังงาน จึงก�าลังเป็นที่นิยม ดังนั้น หากเราอยากจะท�าให้คุณลักษณะของสีเขียวจับต้องได้ เราคงต้อง พิจารณาถึงภาพลักษณ์ทบี่ ง่ บอกถึงการประหยัดและคุม้ ค่า ซึง่ อาจอยูใ่ นรูปสัญลักษณ์ ของตัวเงิน ใบแจ้งหนี้ค่าสาธารณูปโภค เป็นต้น เพื่อจูงใจการเลือกซื้อสินค้าหรือ เลือกหาบริการของผู้บริโภค เศรษฐกิจสีเขียว จะมีคา่ มีความหมายก็ตอ้ งพยายามให้จบั ต้องได้ เช่นเดียวกับเรือ่ งอุตสาหกรรมสีเขียว และอืน่ ๆ ที่ “สีเขียว” ครับผม!

GreenNetwork4.0 September-October 2018


AUTO

Challenge ศ.กิตติคุณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ นักวิชาการอิสระ

รถยนต์ไฟฟ้า รถไฟฟ้า รถไฟไฟฟ้า วันก่อนผมไปงานเลีย้ ง เจอเพือ่ นทีเ่ ป็นวิศวกร ใหญ่ของบริษทั รับเหมาก่อสร้าง 1 ใน 5 ยักษ์ใหญ่ของ เมืองไทย ก็ได้คุยกัน เพื่อน : ‘เมื่อวานไปดูเขาประกวดราคารถไฟฟ้ากัน’ ผม : ‘กี่ตังค์เหรอ แพงไหม’ เพื่อน : ‘สี่หมื่นกว่าล้าน’ ผม : ‘รถไฟฟ้าอะไรกันแพงขนาดนัน้ ของจีนเดีย๋ วนี้ ตกคันละ 4 ซ้า 5 แสนเอง นี่พูดเรื่องอะไร กันเนี่ย’ ที่คุยกันข้างบนนั้นเป็นเหตุการณ์สมมุติ แต่ความ เข้าใจผิดกันเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้จริง เพราะสองคนมี ค�าจ�ากัดความของรถไฟฟ้าทีม่ อี ยูใ่ นหัวไม่เหมือนกัน คนหนึง่ พูดเรือ่ ง Electric Train แต่อกี คนก�าลังนึกถึง Electric Car และด้วยความที่รัฐบาลไทยก�าลังเร่งโครงการขนาดยักษ์ ที่เกี่ยวกับทั้ง Electric Train และ High Speed Train ซึ่งเป็น โครงการที่รวมๆ กันแล้วมีราคาเหยียบล้านล้านบาท ถ้าปล่อยให้ความเข้าใจ ไม่ตรงกันนี้เกิดขึ้นในคนที่เกี่ยวข้อง โครงการหลายแสนล้านบาทนี้จะมีปัญหาได้ เมื่อเกิดเหตุต้องขึ้นโรงขึ้นศาล ยังจ�ากันได้ใช่ไหมครับที่อดีตนายกรัฐมนตรีของ ไทยถูกให้ออกเพราะการตีความรูปศัพท์การท�าอาหารตามที่ราชบัณฑิตยสภาได้ บัญญัติไว้ เรามาลองดูซวิ า่ ราชบัณฑิตยสภาบัญญัตคิ า� ว่า รถ รถยนต์ รถไฟ รถไฟฟ้า ไว้อย่างไร รถ คือ ยานทีม่ ลี อ้ ส�าหรับเคลือ่ นไป เช่น รถกระบะ รถจักรยาน รถตีนตะขาบ รถบดถนน รถประจ�าทาง รถพยาบาล รถไฟ รถม้า รถยนต์ รถสองแถว เรียกได้วา่ ค�าว่ารถนีค้ รอบคลุมยานพาหนะทุกชนิดทีม่ ลี อ้ และเคลือ่ นไปได้ ไม่วา่ จะมีเครือ่ งยนต์ หรือไม่มี รถยนต์ คือ ยานพาหนะที่ขับเคลื่อนด้วย เครื่องยนต์ ตามปกติมี 4 ล้อ (โดยมีเครื่องยนต์เป็นส่วนส�าคัญ) รถไฟ คือ รถทีพ่ ว่ งกันเป็นขบวนยาว ขับเคลือ่ นโดยมีหวั รถจักรลาก ให้แล่น ไปตามราง รถไฟฟ้า คือ รถที่พ่วงกันเป็นขบวนยาว โดยขับเคลื่อนด้วย ไฟฟ้า แล่นไป ตามราง (โดยมีไฟฟ้าเป็นค�าส�าคัญ) ค�าสุดท้ายนี้แหละที่เป็นปัญหา แต่ก็เป็นสิ่งที่ประชาชนทั่วประเทศเข้าใจว่า เป็นเช่นนั้น เหมือนกับที่พูดกันว่าจะไปขึ้นรถไฟฟ้าที่สถานี BTS ซอยอารี โดยคน พูดและคนฟังเข้าใจตรงกันว่าก�าลังพูดถึง ‘รถไฟ’ หรือรถที่พ่วงกันเป็นขบวนยาว ที่ขับเคลื่อนด้วย ‘ไฟฟ้า’ ไม่ใช่ ‘รถ’ ใดๆ ก็ได้ที่ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าและไม่ต้องวิ่ง ไปบนรางตามรูปศัพท์ตรงตัวของ ‘รถไฟฟ้า’ ทีไ่ ม่ใช่ตามทีร่ าชบัณฑิตยสภาบัญญัติ ไว้ อ่านแล้วงง ใช่ไหมครับ 35

ดั ง นั้ น ถ้ า จะไม่ ใ ห้ สั บ สนและไม่ เ ป็ น ปั ญ หากั บ โครงการหลายแสนล้านของประเทศ รัฐบาลต้องเร่งท�าความเข้าใจในเชิงวิศวกรรม ที่ได้พัฒนาก้าวหน้าไปเร็วกว่าอัตราเร็วของการบัญญัติศัพท์ ของราชบัณฑิตยสภา โดยบัญญัตเิ สียให้ถกู ต้อง คือถูกต้องทัง้ ทาง วิศวกรรมศาสตร์และทางภาษาศาสตร์ ผมที่เป็นเพียงอาจารย์ สอนทางวิศวกรรมศาสตร์ และไม่ใช่นกั ภาษาศาสตร์ใดๆ ทัง้ สิน้ ขออาสาหาญกล้ามาเสนอค�าศัพท์พวกนี้ ให้เกิดความกระจ่างขึ้น ดังนี้ ถ้าเราต้องการหมายถึง รถไฟ ที่ขับเคลื่อนด้วย ไฟฟ้า เราก็กา� ลังพูดถึง Electric Train ฉะนั้ น ค� า ที่ ถู ก ต้ อ งต้ อ งเป็ น ‘รถไฟไฟฟ้า’ ส่ ว นถ้ า เราหมายถึ ง รถเมล์ ทีว่ งิ่ ได้ดว้ ย พลังไฟฟ้า เรา ก็ตอ้ งใช้คา� ว่า รถประจ�าทางไฟฟ้า ซึ่งตรงกับค�าว่า Electric Bus แต่ถ้าเราใช้ค�าว่า รถยนต์ไฟฟ้า ค�านี้ น่าจะตรงกับรถที่เป็นแบบไฮบริด หรือ Hybrid Car หรือรถพันทาง คือ ใช้ทงั้ เครือ่ งยนต์ และ มอเตอร์ ไฟฟ้า ในการขับเคลื่อน สลับกันไป ซึง่ จะเห็นได้วา่ ไม่ตรงกับความเข้าใจทีพ่ วกเรา มีกันอยู่ในปัจจุบันทุกคนที่มักนึกไปถึงค�าว่า Electric Car ส�าหรับรถยนต์ไฟฟ้า แต่โลกได้ เปลีย่ นไปแล้ว วิวฒ ั นาการทางเทคโนโลยีกไ็ ด้ลา�้ หน้า ไปแล้ว เราจึงมีหน้าที่ที่ต้องปรับความเข้าใจไปให้ตรงกับ สิ่งที่เกิดขึ้นจริงในสังคม ทั้งสังคมวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์บริสุทธิ์ หากถ้ามองได้ทะลุแบบนี้ ค�าว่า ‘รถไฟฟ้า’ โดยรูปศัพท์จึงเป็นค�ารวมๆ ซึ่ง จะเป็นรถจักรยานไฟฟ้า รถกระบะไฟฟ้า รถจักรยานยนต์ไฟฟ้า รถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้า ฯลฯ ก็ได้ แต่ถ้าเป็นเช่นนั้นแล้วค�าว่า Electric Car จะใช้ค�าไทยว่าอะไร หากใช้ค�าว่า รถไฟฟ้าไม่ได้ ผมก็อยากจะเสนอทางออกทีเ่ ป็นไปได้ในทางปฏิบตั ิ ซึง่ ไม่ถกู ต้องนัก ในทางรากศัพท์ คือ ให้เราใช้คา� ว่า รถไฟฟ้า กับ Electric Car นีแ่ หละ ด้วยเหตุผล ของความเคยชินที่เป็นที่ยอมรับกันไปแล้วว่า ‘รถ’ ในที่นี้หมายถึง ‘Car’ เท่านั้น ซึง่ แน่ละ อาจจะมีคนเห็นแย้ง แต่กไ็ ม่แปลกอะไร เพราะเราก�าลังถกกันว่าอะไรเป็น สิ่งที่ดีที่สุดของประเทศไทย ยังมีอีกค�าหนึ่งครับที่สับสนมาก คือค�าว่า Electric Vehicle หรือ EV ที่ หลายคนชอบเรียกว่า รถไฟฟ้า ค�าไทยค�านี้ผิดอย่างสิ้นเชิง เพราะโดรนก็เป็น EV เรือก็เป็น EV ได้ เครือ่ งบินสมัยนีก้ เ็ ป็นแบบ EV กันแล้ว ถ้างัน้ จะเรียก EV ว่าอะไร คณะอนุกรรมการบัญญัติศัพท์วิศวกรรมโยธาของราชบัณฑิตยสภาได้ก�าหนดให้ ใช้ค�าว่า ‘ยานพาหนะไฟฟ้า’ ครับ คือยานพาหนะ (Vehicle) ใดๆ ก็ได้ที่ใช้ไฟฟ้า เป็นพลังงานขับเคลื่อน ส่วนถ้าจะให้เรียกง่ายๆ จ�าได้ไม่ยาก ผมเสนอเรียก ‘อีวี’ เลย ง่ายดี สั้นดี แต่มีบางกลุ่มโดยเฉพาะสื่อมวลชนบางคนเรียกว่า ‘รถอีวี’ อันนี้ผิดแน่นอนร้อย เปอร์เซ็นต์ครับ

GreenNetwork4.0 September-October 2018


GREEN

Article บัณฑิตวิทยาลัย ร่วมด้านพลังงาน และสิ่งแวดล้อม

ระหว่างวันที่ 10-13 มิถุนายน พ.ศ. 2561 อักษรจัณ ไชยอนงค์ นักศึกษาปริญญาเอก บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้าน พลังงานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้น�าเสนอผลงานวิจัยเรื่อง “Forecast of Rooftop PV Penetration in Bangkok, Thailand” ในการประชุมนานาชาติ The 41st IAEE International Conference ทีเ่ มืองโกนินเกน ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึง่ รายงานฉบับสมบูรณ์สามารถดาวน์โหลดได้จาก www.iaee.org/en/publications/proceedingsabstractpdf. aspx?id=15201

แผนพลังงานหมุนเวียน Alternative Energy Development Plan 2015-2036 (AEDP 2015-2036) ก�าหนดเป้าหมายให้มี การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ทั้งสิ้น 6,000 MW ภายใน ปี ค.ศ. 2036 (พ.ศ. 2579) และจากข้อมูลของส�านักงานคณะกรรมการ ก�ากับกิจการพลังงาน (สกพ.) ได้มกี ารติดตัง้ แล้วประมาณ 3,211 MW ในปี ค.ศ. 2017 (พ.ศ. 2560) จึงยังคงเหลือทีย่ งั ไม่ได้ตดิ ตัง้ อีกราว 2,800 MW และหากประเมินว่าจะมีการติดตัง้ ในพืน้ ทีข่ องการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค (กฟภ.) และการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) เท่าๆ กัน จะมีการติดตั้งแต่แผงพลังงานแสงอาทิตย์เพิ่มขึ้นในพื้นที่ของ แต่ละการไฟฟ้าอีก 1,400 MW จึงเป็นที่น่าสนใจว่าจะมีการติดตั้ง แผงพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ไ ด้ ต ามเป้ า หมายที่ ก� า หนดโดยแผน พลังงานหมุนเวียนหรือไม่

36

รูปที่ 1 Load Profile ของผู้ใช้ไฟฟ้าครัวเรือนในกรุงเทพมหานครที่ใช้ในการศึกษา (ปรับปรุงมาจากข้อมูลความต้องการใช้ไฟฟ้าเฉลี่ยของครัวเรือนในเขตการไฟฟ้านครหลวง)

GreenNetwork4.0 September-October 2018


รูปที่ 2 ขั้นตอนการด�าเนินการประเมิน Rooftop PV ในกรุงเทพมหานคร

(a) Annual Additional PV Penetration

ในการศึกษานี้ ก�าหนดสมมติฐานให้ผู้ใช้ไฟฟ้าครัวเรือน ติดตัง้ แผงพลังงานแสงอาทิตย์ขนาด 5 kW และจากต้นทุนในการ ติดตั้งแผงพลังงานแสงอาทิตย์ อัตราค่าไฟฟ้า อัตราซื้อไฟฟ้า กลับคืนเท่ากับอัตราค่าไฟฟ้าขายส่งเฉลี่ย (2.73 บาทต่อหน่วย) และลักษณะการใช้ไฟฟ้าของผูใ้ ช้ไฟฟ้าครัวเรือนในกรุงเทพมหานคร (รูปที่ 1) สามารถประเมินได้วา่ ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period) ราว 9 ปีในงานวิจัยนี้ ได้ใช้ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period) ทีค่ า� นวณได้เป็นตัวก�าหนดจ�านวนผูใ้ ช้ไฟฟ้าทีต่ ดิ ตัง้ แผงพลังงาน แสงอาทิตย์ (PV Panel) สูงสุด ซึง่ ค�านวณโดยใช้ Beck’s Equation (R.W. Beck, Inc., 2009, Distributed Renewable Energy Operating Impacts and Valuation Study) และประมาณติดตัง้ ในแต่ละปี (Penetration Rate) ด้วย Bass Diffusion Model (Bass’s Basement Research Institute, “The Bass Model,” [Online]. Available: http://www.bassbasement.org/ BassModel/Default.aspx. [Accessed 10 March 2018]) ตาม ขั้นตอนด�าเนินการในรูปที่ 2

รูปที่ 3 ประมาณการติดตั้ง Rooftop PV ของผู้ใช้ไฟฟ้าครัวเรือนในกรุงเทพมหานคร ในระหว่างปี ค.ศ. 2018-2036 (พ.ศ. 2561-2579)

(b) Cumulative PV Penetration รูปที่ 4 ประมาณการติดตั้ง Rooftop PV สะสมของผู้ใช้ไฟฟ้าครัวเรือนในกรุงเทพมหานคร ในระหว่างปี ค.ศ. 2018-2036 (พ.ศ. 2561-2579)

เมื่อรวมสมมติฐานว่าต้นทุนติดตั้งแผงพลังงานแสงอาทิตย์ลดลงเฉลี่ยปีละ 4% จะมี ปริมาณการติดตั้งแผงพลังงานแสงอาทิตย์สะสมจนถึงปี ค.ศ. 2036 (พ.ศ. 2579) ซึ่งเป็นปีสุดท้ายตามแผนพัฒนาพลังงานหมุนเวียน (Alternative Energy Development Plan) หรือ AEDP จ�านวน 4,232 MW (รูปที่ 4) และจะมีการติดตัง้ แผงพลังงานแสงอาทิตย์มากทีส่ ดุ ต่อปี ในปี ค.ศ. 2032 (พ.ศ. 2575) จ�านวน 452 MW (รูปที่ 3) ซึ่งมากกว่าเป้าหมายที่ก�าหนด

37

GreenNetwork4.0 September-October 2018


BIZ กฟภ. เดินสายจัดโรดโชว์โปรโมตงาน “ไทยแลนด์ ไลท์ติ้ง แฟร์” และ “ไทยแลนด์ บิลดิ้ง แฟร์” ในสมุทรสาคร เสริมความพร้อมสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 ด้วยเทคโนโลยี บริหารจัดการพลังงานและอาคารอัจฉริยะ

โครงการวินด์ เอนเนอร์ยี่ โฮลดิ้ง คืบหน้า ตามเป้าหมาย โครงการ ‘T5’ พร้อมส่งมอบ ในอีก 3 ไตรมาส

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) ร่วมกับ เมสเซ่ แฟรงค์เฟิร์ต และ ดิ เอ็กซ์ซิบิส เดินสายจัดโรดโชว์และเสวนาในหัวข้อ “เทคโนโลยีบริหารจัดการพลังงาน เพือ่ ลดต้นทุน พร้อมสูย่ คุ อุตสาหกรรม 4.0” ทีจ่ งั หวัดสมุทรสาคร เพือ่ เป็นการประชาสัมพันธ์การจัดงาน “ไทยแลนด์ ไลท์ติ้ง แฟร์ 2018” (Thailand Lighting Fair 2018) และ “ไทยแลนด์ บิลดิ้ง แฟร์ 2018” (Thailand Building Fair 2018) ซึ่งจัดต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 ระหว่าง วันที่ 8-10 พฤศจิกายน 2561 ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ การจัดโรดโชว์และเสวนาดังกล่าว ยังมีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมและให้ความรู้ แก่ผปู้ ระกอบการในภาคอุตสาหกรรมซึง่ นับเป็นภาคส่วนหลักทีท่ า� รายได้ให้กบั จังหวัด สมุทรสาคร ด้วยการน�าเสนอเทคโนโลยีและโซลูชั่นไฟฟ้าแสงสว่างอัจฉริยะและการ บริหารจัดการพลังงานอัจฉริยะ ตลอดจนการบริหารจัดการอาคารอัจฉริยะ และยังมี กิจกรรมจับคู่ทางธุรกิจ ระหว่างผู้ประกอบการทุกภาคส่วนในจังหวัดสมุทรสาคร กับ บริษทั ผูใ้ ห้บริการผลิตภัณฑ์และโซลูชนั่ ชัน้ น�าจ�านวน 8 บริษทั โดยมีวตั ถุประสงค์สา� คัญ ในการส่งเสริมความแข็งแกร่งทางธุรกิจและอุตสาหกรรมของจังหวัดสมุทรสาคร อย่างครบวงจรด้วยการใช้เทคโนโลยีชั้นน�า อันเป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ยุค อุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งสอดคล้องกับโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาลอีกด้วย

บริษทั วินด์ เอนเนอร์ยี่ โฮลดิง้ จ�ากัด หนึง่ ในบริษทั ผูน้ า� ด้านพลังงาน ทดแทนในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แถลงความคืบหน้าส�าคัญของ โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าพลังงานลมภาคพืน้ ดินทัง้ 5 แห่งในประเทศไทย ก�าลังการผลิตรวม 450 เมกะวัตต์ โดยทุง่ กังหันลม (วินด์ฟาร์ม) ทัง้ 5 แห่ง ภายใต้ โครงการ ‘T5’ ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมาและชัยภูมิ โครงการ T5 ใช้ชดุ กังหันจากเวสทัส (Vestas) และ เจเนอรัล อิเล็กทริก หรือจีอี (GE) โดยเวสทัสได้ติดตั้งกังหันลมรุ่น V136-3.0 MW จ�านวน 60 ตัวใน 2 โครงการ ส่วนจีอีซึ่งเป็นผู้ติดตั้งกังหันลมรุ่น GE3.43-137 จ�านวน 90 ตัวในอีก 3 โครงการที่เหลือซึ่งมีความคืบหน้าในระดับต่างๆ กัน นอกจากนีจ้ อี ยี งั ได้กอ่ สร้างสถานีไฟฟ้า จ�านวน 6 แห่ง ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของโครงสร้างพืน้ ฐานระบบกริดส�าหรับทัง้ 5 โครงการเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว โครงการ T5 ด�าเนินไปตามกรอบระยะเวลาที่วางไว้ ซึ่งคาดว่า โครงการสุดท้ายจะแล้วเสร็จพร้อมส่งมอบภายในไตรมาสแรกของ ปี พ.ศ. 2562

ฟอร์ดบรรลุเป้าหมายลดการปล่อยมลพิษ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในกระบวนการผลิตก่อนก�าหนดถึง 8 ปีล่วงหน้า

38

เมื่อเร็วๆ นี้ ฟอร์ด มอเตอร์ คอมปะนี ได้ประกาศส่วนหนึ่งของ รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจ�าปี ครั้งที่ 19 ว่าบริษัทฯ ได้บรรลุ เป้าหมายลดการปล่อยมลพิษในกระบวนการผลิตรถยนต์ก่อนก�าหนด ล่วงหน้าถึง 8 ปี อันเนือ่ งจาก เมือ่ ปี พ.ศ. 2553 ส�านักงานคุณภาพสิง่ แวดล้อมของ ฟอร์ด ได้ประกาศเป้าหมายทีจ่ ะลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ใน กระบวนการผลิตรถยนต์ของบริษทั ลง 30% ต่อรถยนต์หนึง่ คันทีผ่ ลิต ให้ได้ ภายในปี พ.ศ. 2568 และฟอร์ดก็สามารถบรรลุเป้าหมายเร็วกว่าทีค่ าดไว้ ถึงสองเท่า ผลลัพธ์ที่น่าพึงพอใจนี้ คือ ฟอร์ดสามารถลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ในกระบวนการผลิตทัง้ หมดได้มากกว่า 3.4 เมตริกตัน ในช่วงปี พ.ศ. 2553-2560 ซึ่งเทียบเท่ากับการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทีม่ าจากการขับขีย่ านพาหนะโดยสารมากกว่า 728,000 คันต่อปี เท่ากับว่า การอนุรักษ์พลังงานของฟอร์ด มีบทบาทส�าคัญในการบรรลุเป้าหมาย ดังกล่าวได้ 8 ปีลว่ งหน้าก่อนก�าหนด ซึง่ ครอบคลุมถึงการท�าสีและกระบวนการ การปรับปรุงอื่นๆ การใช้หลอดไฟ LED การควบรวมโรงงาน และการใช้ อุปกรณ์เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพด้านพลังงานทดแทน

GreenNetwork4.0 September-October 2018


Magazine to Save The World

JA Solar รุกเดินหน้าขยายกิจการในตลาดเม็กซิโก JA Solar Holdings Co., Ltd. (Nasdaq : JASO) ผูผ้ ลิตผลิตภัณฑ์พลังงาน แสงอาทิตย์ประสิทธิภาพสูงชั้นน�าของโลก ประกาศว่า บริษัทก�าลังด�าเนินการ จัดส่งโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ประสิทธิภาพสูงขนาด 404 เมกะวัตต์ ให้กบั สถานี ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในเปอร์โต ลิเบอร์ตาด ประเทศเม็กซิโก โครงการดังกล่าวพัฒนาขึ้นโดย ACCIONA Energy บริษัทพลังงาน ยักษ์ใหญ่ของโลกภายใต้การร่วมทุนกับ Tuto Energy หนึง่ ในโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค โดยคาดว่าจะสามารถผลิตไฟฟ้าได้ถึง 963 กิกะวัตต์-ชัว่ โมงต่อปี และลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในพืน้ ทีล่ ง 925,443 เมตริกตัน อีกทัง้ ยังช่วยส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากพลังงานทดแทนในภูมภิ าค ดังกล่าว ผลิตภัณฑ์ของ JA Solar ผ่านการทดสอบความทนทานต่อสภาพแวดล้อม ทีห่ ลากหลาย ไม่วา่ จะเป็น ความแห้งแล้ง ทะเลทราย และความร้อน จึงสามารถ ทนอยูภ่ ายใต้สภาพทะเลทรายโซนอรันของเม็กซิโกได้อย่างดีเยีย่ ม และรับประกัน ได้ว่าจะสามารถผลิตไฟฟ้าได้เพิ่มขึ้น

อีสท์ วอเตอร์ สร้างต้นแบบศูนย์เรียนรู้การบ�าบัดน�้าเสีย ประกาศผลโรงเรียนต้นแบบระบบบ�าบัดน�้าเสียในโรงอาหาร

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้าภาคตะวันออก จ�ากัด (มหาชน) หรือ อีสท์ วอเตอร์ ปลูกจิตส�านึกให้แก่เยาวชนตลอดจนชุมชนได้รคู้ ณ ุ ค่าของทรัพยากรน�า้ ด้วยการสร้าง โรงเรียนต้นแบบระบบบ�าบัดน�้าเสียอย่างง่ายในโรงอาหาร ตั้งเป้าหมาย 1 แห่งต่อเขตพื้นที่ การศึกษา ซึ่งได้มีการประกาศผลโรงเรียนต้นแบบฯ หลังจากเฟ้นหามากว่า 4 เดือน พร้อม ประสานความร่วมมือกับส�านักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา (สพฐ.) ทัง้ 7 แห่ง ในจังหวัด ระยอง ฉะเชิงเทรา และชลบุรี เพือ่ เป็นต้นแบบศูนย์การเรียนรูเ้ รือ่ งการบริหารจัดการน�า้ และ การบ�าบัดน�้าเสียอย่างง่ายให้แก่ชุมชนโดยรอบโรงเรียน โรงเรียนต้นแบบระบบบ�าบัดน�้าเสียในโรงอาหาร  “ระดับเพชร” ได้รับทุนพัฒนาระบบบ�าบัดน�้าเสีย 30,000 บาท ได้แก่ โรงเรียน ชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์ โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ โรงเรียนบ้านหนองไทร และ โรงเรียนบ้านตลาดเนินหิน  “ระดับทอง” ได้รบ ั ทุนพัฒนาระบบบ�าบัดน�า้ เสีย 20,000 บาท ได้แก่ โรงเรียนชุมชน บริษัทน�้าตาลตะวันออก และโรงเรียนบ้านโค้งดารา  “ระดับเงิน” ได้รับทุนพัฒนาระบบบ�าบัดน�้าเสีย 10,000 บาท ได้แก่ โรงเรียน บ้านหนองหว้า  “ระดับทองแดง” ได้รับทุนพัฒนาระบบบ�าบัดน�้าเสีย 5,000 บาท ได้แก่ โรงเรียน วัดจุกเฌอ โรงเรียนบ้านทับร้าง และโรงเรียนบ้านมาบล�าบิด 39

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ประกาศจุดยืนมหาวิทยาลัยสีเขียว ตั้งเป้าติด 1 ใน 100 อันดับของโลก

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) อ�าเภอองครักษ์ จังหวัด นครนายก รวมพลังคนรุน่ ใหม่ประกาศจุดยืนร่วมสร้างมหาวิทยาลัย สีเขียว น�าโดย อธิการบดี รศ. ดร.สมชาย สันติวฒ ั นกุล พร้อมด้วย ผู้บริหาร เริ่มต้นประกาศดีเดย์ งดการแจก-รับถุงพลาสติก และ งดการใช้กล่องโฟมในมหาวิทยาลัย โดยได้รับความร่วมมือจาก ร้านค้าและหน่วยงานต่างๆ อาทิ ร้าน 7-Eleven, โรงพยาบาล ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และร้านค้าทุกร้านในมหาวิทยาลัย พร้อมปล่อยโฆษณารณรงค์แบบ โดนใจวัยรุ่น 12 เรื่อง หวังดึงคนรุ่นใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม “มศว ได้ ก� ำ หนดนโยบำยรวมถึ ง ผลั ก ดั น สู ่ ก ำรเป็ น มหำวิทยำลัยสีเขียว (Green University) ซึง่ ทีผ่ ำ่ นมำได้ดำ� เนินกำร ผ่ำนกิจกรรมรูปแบบต่ำงๆ เพือ่ ไปถึงเป้ำหมำย ทัง้ ในด้ำนกำรบริหำร จัดกำรขยะ พลังงำนทำงเลือก กำรจรำจรขนส่ง กำรใช้ทรัพยำกร และสำธำรณูปโภคต่ำงๆ อย่ำงคุ้มค่ำ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และในมิตอิ นื่ ๆ อีกมำกมำย ซึง่ ได้รบั ควำมร่วมมือจำกทุกภำคส่วน ทั้งภำครัฐ ภำคเอกชน นิสิต และบุคลำกร เพื่อให้กิจกรรมต่ำงๆ เกิดขึน้ อย่ำงเป็นรูปธรรม และน�ำไปสูเ่ ป้ำหมำยทีต่ งั้ ไว้ ในกำรเป็น มหำวิทยำลัยสีเขียว ติด 1 ใน 100 อันดับของโลก” รศ. ดร.สมชาย อธิการบดีกล่าว

GreenNetwork4.0 September-October 2018


BIZ แวลูเอชั่น เอ็นจิเนียริ่ง ถวายเครื่องใช้และ หลอดไฟแอลอีดี ณ วัดบางพลีใหญ่กลาง เนื่องในวันครบรอบบริษัท เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน 2561 ทางคณะผู้บริหารและ ตัวแทนพนักงาน บริษทั แวลูเอชัน่ เอ็นจิเนียริง่ จ�ากัด ผูจ้ ดั จ�าหน่ายสินค้า อุตสาหกรรม ผลิตหลอดไฟประหยัดพลังงานแอลอีดแี ละระบบพลังงาน แสงอาทิตย์ ได้รว่ มท�าบุญถวายภัตตาหาร สังฆทาน เครือ่ งใช้และหลอดไฟ แอลอีดี พร้อมทัง้ ท�าพิธมี อบหลอดไฟ LED High Mast 500 Watt ติดตัง้ ณ พระมหาเจดีย์พิศาลวุฒิกิจมงคล มหาชลบูชิต วัดบางพลีใหญ่กลาง จ�านวน 6 โคม เพื่อใช้ส่ององค์รอบพระเจดีย์ เนื่องในวันครบรอบ บริษทั แวลูเอชัน่ เอ็นจิเนียริง่ จ�ากัด โดยท่านพระครูปลัดรัตนวัฒน์ ผูช้ ว่ ย เจ้าอาวาส วัดบางพลีใหญ่กลาง อ�านวยความสะดวกในการท�าบุญบริจาค ในครั้งนี้

ครั้งแรกในไทย กับ IFSEC Southeast Asia นิทรรศการด้านความปลอดภัยระดับโลก ยูบเี อ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) เดินหน้ารุกจัดอีเวนท์ใหญ่ครอบคลุม ทุกอุตสาหกรรม ล่าสุดส่งงาน IFSEC Southeast Asia งานแสดงด้าน ความปลอดภัยทีค่ รบครันระดับโลกจากอังกฤษมาจัดทีไ่ ทยเป็นครัง้ แรก มั่นใจช่วยส่งเสริมภาคธุรกิจเติบโตอย่างมั่นคง ภายในงาน IFSEC Southeast Asia 2018 งานนิทรรศการที่ รวบรวมอุปกรณ์ดา้ นการรักษาความปลอดภัย มีบริษทั ชัน้ น�ามากกว่า 350 บริษัทร่วมแสดงสินค้าและเทคโนโลยีใหม่ลา่ สุดภายในงาน อาทิ กล้อง วงจรปิด ระบบตรวจสอบทางชีวภาพ ระบบเตือนอัคคีภยั ระบบตรวจจับ อุปกรณ์ป้องกันตัว และเสวนาที่น่าสนใจในหลากหลายหัวข้อ ถือได้ว่า เป็นงานแสดงด้านอุปกรณ์รักษาความปลอดภัยและอุปกรณ์ป้องกัน อัคคีภยั ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในอาเซียน จะจัดขึน้ ระหว่างวันที่ 25-27 ตุลาคม 2561 เวลา 10.00-18.00 น. ณ ฮอลล์ 1 อิมแพ็ค เมืองทองธานี

โคนิก้า มินอลต้า จัดสัมมนา “Packaging on Demand” เพื่อสร้างมูลค่าให้ธุรกิจการพิมพ์ดิจิทัล รองรับเทรนด์การตลาดในยุค “แพ็กเกจจิ้ง 4.0”

มาซาซิ มิยาโมโตะ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั โคนิกา้ มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชั่น (ประเทศไทย) จ�ากัด ให้เกียรติเป็นประธานและ กล่าวเปิดงานสัมมนา “Packaging on Demand” โดยมี พงศ์ธีระ พัฒนาพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมบรรยายในหัวข้อ “Smart Printing Transformation” ผศ. ดร.นุชจรินทร์ เหลืองสะอาด ผู้ดูแล และก�ากับภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี บรรยายในหัวข้อ “Packaging 4.0” บุญรัตน์ เรืองข�า Production Print Business Development บริษัท โคนิก้า มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชั่นส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด บรรยายใน หัวข้อ “Packaging on Demand” ซึง่ การสัมมนามีจดุ ประสงค์เพือ่ เพิม่ คุณค่าใหม่ๆ ให้แก่ธรุ กิจการพิมพ์ รวมทัง้ ส่งเสริมธุรกิจผ่านการน�าเสนอ เทคโนโลยีอย่างผลิตภัณฑ์ Intelligent Quality Optimizer IQ-501 ที่สามารถปรับความหนาแน่นของสีได้อัตโนมัติ ซึ่งการสัมมนาได้รับ ความสนใจจากผูป้ ระกอบการในธุรกิจการพิมพ์เข้าร่วมงานจ�านวนมาก ณ ห้องแกรนด์ บอลรูม โรงแรมพูลแมน กรุงเทพ แกรนด์ สุขุมวิท

40

GreenNetwork4.0 September-October 2018




Smart city. Safe City

งานแสดงเทคโนโลยีอาคารอัจฉริยะ และการบริหารจัดการพลังงานแหงอาเซียน

8 – 10 พฤศจิกายน 2561

ฮอลล 102 – 103 ไบเทค บางนา ลงทะเบียนออนไลนฟรี! ไดแลววันนี้ที่ www.thailandbuildingfair.com

สอบถามเพิ่มเติมโทร: 02 664 6499 ตอ 200 201 209 info@thailandbuildingfair.com Organisers

Concurrent events Sponsors

Platinum Sponsor

Supporters

Media Partners

Gold Sponsor



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.