Contents November-December
2018
8 Special Scoop by เปมิกา สมพงษ์
จับตาเทรนด์ พลังงานไทย ปี 2019 10 Special Interview by กองบรรณาธิการ ผศ. ดร.สัญชัย เดชานุภาพฤทธา IEEE PES Thailand Chapter Young Engineer Award 2018
14
15
16 18
20 21
22
23
24
28
Green Focus
30
อุบลรวมใจพัฒนาเมือง Waste to Energy Super Model by นรินพร มาลาศรี Municipal Solid Waste Management – Waste to Energy Solutions Solar Review by เปมิกา สมพงษ์ “รอแยลแคน” ติดตั้งโซลาร์รูฟใหญ่ที่สุดในไทย ลดค่าไฟฟ้าและต้นทุนการผลิต มุ่งมั่นท�าธุรกิจควบคู่สิ่งแวดล้อมยั่งยืน Green Scoop by คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โครงการจัดตั้ง “ศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ศาสตราจารย์ อรุณ สรเทศน์” Green Report by กองบรรณาธิการ เดินหน้าหลักสูตรสะเต็มก�าลังสอง (STEM2) สู่ความยั่งยืนทางไฟฟ้า Green People by เปมิกา สมพงษ์ อัศพล บุณยเกียรติ จาก Nex Innotech ชี้ LED คุณภาพสูง ปลอดภัย และประหยัดพลังงานได้อย่างยั่งยืน Auto Challenge by กองบรรณาธิการ เปลี่ยนรถที่บ้าน เป็นยานยนต์ไฟฟ้าได้จริงหรือ? Green Technology & Innovation by เปมิกา สมพงษ์ เอนอีซ : เทคโนโลยีเอนไซม์รักษ์โลก ทดแทนสารเคมีในอุตสาหกรรมสิ่งทอ Green Building by กองบรรณาธิการ Net Zero Energy Building อาคารต้นแบบอนุรักษ์พลังงานใช้พลังงานเป็นศูนย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Green Article by รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, นวดล ทองตาล่วง, เธียรสิทธิ กิตติจิตต์, กริชชาติ ว่องไวลิขิต, ศุภรดา วิบูลยารุณ “The Ozonor” Educational Board Game Green Scoop by กองบรรณาธิการ ถังหมักรักษ์โลก...เปลี่ยนขยะให้เป็นประโยชน์
11 by พิชัย ถิ่นสันติสุข 12
26 Green World by กองบรรณาธิการ
32
34 35
38
มาร์ค บัคลีย์ น�าเทรนด์ปฏิวัติอุตสาหกรรมอาหาร รณรงค์เพื่อโลกยั่งยืน Green Factory by เปมิกา สมพงษ์ อินโดรามา เวนเจอร์ส ครบเครื่องเรื่อง “รีไซเคิล” Smart City by กองบรรณาธิการ การบูรณาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อสร้างเมืองอัจฉริยะอย่างมีประสิทธิภาพ Energy Saving by Mr.Save บ้านอนุรักษ์พลังงาน ทางเลือกใหม่ของคนอยากมีบ้านอยู่อาศัยแบบประหยัดพลังงาน Green Industry by ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี CSR เพื่อชุมชนเข้มแข็ง Green Article by ศ. ดร.สุรพงศ์ จิระรัตนานนท์ (JGSEE) Building Energy Code (BEC-เกณฑ์มาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร) Green Biz by กองบรรณาธิการ
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ฯพณฯ พลอากาศเอก ก�าธน สินธวานนท์ คณะที่ปรึกษา ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ นินนาท ไชยธีรภิญโญ ดร.อัศวิน จินตกานนท์ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย พานิช พงศ์พิโรดม ประสงค์ ธาราไชย ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.สุรพล ด�ารงกิตติกุล ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ชาย ชีวะเกตุ รศ. ดร.สิงห์ อินทรชูโต บรรณาธิการอ�านวยการ/บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ ภิญญาภรณ์ ชาติการุณ กองบรรณาธิการ เปมิกา สมพงษ์ เลขานุการกองบรรณาธิการ ปัฐฐมณฑ์ อุ่ยพัฒน์ พิสูจน์อักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม ศศิธร มไหสวริยะ ประสานงาน ภัทรกันต์ กิจสินธพชัย ผู้จัดการฝ่ายการตลาด เขมจิรา ปลาทิพย์ ฝ่ายการตลาด กัลยา ทรัพย์ภิรมย์ เลขานุการฝ่ายการตลาด ชุติมันต์ บัวผัน ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ แยกสี บริษัท คลาสิคสแกน จ�ากัด โรงพิมพ์ หจก.รุ่งเรืองการพิมพ์
เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ากัด
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 (ฝ่ายการตลาด Ext. 230) แฟกซ์ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail : editor@greennetworkthailand.com
สวัสดีครับ ท่านสมาชิกและท่านผู้อ่านทุกท่าน
ในช่วงโค้งสุดท้ายปลายปีแบบนี ้ คงไม่มเี รือ่ งใดน่าสนใจไปกว่า การมองภาพรวม ปีที่ผ่านมา และมองแนวโน้มและสถานการณ์ในปีหน้าว่าจะเป็นอย่างไร หลายปีมานี้ เทรนด์การอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมและประหยัดพลังงานได้รบั ความนิยมเพิม่ ขึน้ อย่างเห็น ได้ชดั เนือ่ งมาจากเราเริม่ มองเห็นผลกระทบบางอย่างทีเ่ กิดขึน้ จากการท�าลายธรรมชาติ ทัง้ เรือ่ งปัญหาขยะ สภาพแวดล้อม รวมทัง้ เรือ่ งการใช้พลังงาน ท�าให้ทวั่ ทัง้ โลกตืน่ ตัว กับเรือ่ งนี ้ รวมทัง้ ในประเทศไทย ซึง่ ในปีนจี้ ะเห็นได้วา่ กระแส Green ถูกแทรกซึมไป ทุกๆ วงการ ไม่วา่ จะเป็นภาครัฐบาล ภาคเอกชน และภาคประชาชนล้วนหันมาให้ความ ส�าคัญ และมีกิจกรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น ฉบับปลายปีของนิตยสาร Green Network ซึง่ เป็นนิตยสารด้านอนุรกั ษ์พลังงาน และสิง่ แวดล้อม ในคอลัมน์ Special Scoop จึงได้นา� เสนอ “จับตาเทรนด์พลังงานไทย ปี 2019” เพือ่ มองดูกระแสความเคลือ่ นไหวในเรือ่ งของพลังงาน ทัง้ เรือ่ งการอนุรกั ษ์ พลังงาน และเรือ่ งของพลังงานทดแทน ว่าจะมีแนวโน้มไปในทิศทางใด และเรือ่ งไหน จะมาแรงจนฉุดไม่อยู่ คอลัมน์ Green Report น�าเสนอ “เดินหน้าหลักสูตรสะเต็มก�าลังสอง (STEM2) สูค่ วามยัง่ ยืนทางไฟฟ้า” เพือ่ รายงานความคืบหน้าของการน�าหลักสูตรดังกล่าวมาใช้ ในการเรียนการสอนจริง คอลัมน์ Green People พบกับบทสัมภาษณ์ อัศพล บุณยเกียรติ จาก Nex Innotech ชี้ LED คุณภาพสูง ปลอดภัย และประหยัดพลังงานได้อย่างยัง่ ยืน ส่วนคอลัมน์ Green Innovation & Technology น�าเสนอเรื่อง เอนอีซ : เทคโนโลยี เอนไซม์รกั ษ์โลก ทดแทนสารเคมีในอุตสาหกรรมสิง่ ทอ ทีจ่ ะเป็นตัวช่วยด้านการประหยัด พลังงานและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย คอลัมน์ Green Factory พบกับ อินโดรามา เวนเจอร์ส ครบเครือ่ งเรือ่ ง “รีไซเคิล” ทีเ่ ปิดเผยกระบวนการผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิลทุกขัน้ ตอน และการันตีความสะอาด และมาตรฐานในการผลิตพร้อมส่งเสริมให้รฐั บาลไทย มีการอนุญาตให้นา� เม็ดพลาสติก รีไซเคิลมาผลิตเป็นบรรจุภณ ั ฑ์อาหารได้ ใน Green Scoop น�าเสนอ เรือ่ ง ถังหมักรักษ์ โลก...เปลี่ยนขยะให้เป็นประโยชน์ ส่วนคอลัมน์ Green World พบกับ มาร์ค บัคลีย์ น�าเทรนด์ปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมอาหาร รณรงค์เพือ่ โลกยัง่ ยืน และปิดท้ายด้วย คอลัมน์ Energy Saving กับ บ้านอนุรักษ์พลังงานทางเลือกใหม่ของคนอยากมีบ้านอยู่อาศัย แบบประหยัดพลังงาน แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดีปีใหม่ครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
SPECIAL
Scoop เปมิกา สมพงษ์
จากข่าวสารด้านพลังงานในปี พ.ศ. 2561 ที่ผ่านมา ก็พอจะท�าให้เห็นภาพ ทิศทางของพลังงานไทยได้วา่ จะมีแนวโน้มไปทางใด ด้วยกระแสอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม ทีพ่ งุ่ แรงเป็นทีน่ า่ ยินดี ท�าให้พลังงานทดแทนและพลังงานสะอาดก�าลังเข้ามามีบทบาท ในชีวติ มากขึน้ เรามาดูกนั ว่าในปี พ.ศ. 2562 เทรนด์ใหญ่ๆ อะไรบ้างทีน่ า่ จับตามอง
Go Green รักษ์โลก ประหยัดพลังงาน
ในช่วงผ่านมา เราปฏิเสธไม่ได้ว่า กระแส Go Green หรือกระแสอนุรักษ์ ธรรมชาตินั้นค่อนข้างมาแรง ซึ่งความจริงการรณรงค์นี้ได้เกิดขึ้นมานานมากแล้ว แต่เพิง่ จะกลับมาฮือฮาและน่าสนใจอีกครัง้ เมือ่ ทุกส่วน ทุกฝ่ายเปิดประตูรบั กระแส รักษ์โลกดังกล่าว เพราะเล็งเห็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ ขยะ หรือพลังงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การทีร่ ฐั บาลมีนโยบายไทยนิยมยัง่ ยืน ท�าให้ เอกชนเริ่มมีการเคลื่อนไหว และกลายเป็นเทรนด์ที่น่าจับตามอง การประหยัดพลังงานของภาคเอกชน ถือว่าเป็นเรื่องที่ทุกบริษัท หรือทุก โรงงานตระหนักและเห็นถึงความส�าคัญ เพราะนอกจากจะเป็นการสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้กับองค์กรแล้ว ยังช่วยประหยัดพลังงานได้จริงๆ ลดการใช้และการจ่ายเงิน ออกจากกระเป๋า ซึง่ โครงการทีจ่ ะช่วยสนับสนุนในเรือ่ งนีม้ มี ากมายหลายโครงการ เพราะทุกหน่วยงานของภาครัฐเองก็เห็นความส�าคัญในเรื่องนี้ด้วย ทั้งนี้กระทรวง พลังงาน โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) ก็เป็นอีกส่วนหนึง่ ที่ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ภาครัฐและเอกชนร่วมกันตระหนักถึงการอนุรักษ์ พลังงานและการใช้พลังงานทดแทนในไทยมาอย่างต่อเนื่อง ตามยุทธศาสตร์ กระทรวงพลังงาน ภายใต้แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP 2015) ดร.ศิริ จิระพงษ์พนั ธ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า การด�าเนินการ ตามโครงการไทยนิยมยัง่ ยืนของรัฐบาล ทีม่ งุ่ เน้นการพัฒนาประเทศตรงตามความ ต้องการของประชาชนในแต่ละพื้นที่ ในส่วนของกระทรวงพลังงานเรามุ่งเน้นการ พัฒนาเกีย่ วกับการใช้พลังงานทดแทน เพือ่ ช่วยลดค่าใช้จา่ ยของประชาชน ให้ชมุ ชน รูค้ ณ ุ ค่าของพลังงานทีม่ อี ยูใ่ นพืน้ ที่ โดยร่วมกับกระทรวงมหาดไทย ส�ารวจศักยภาพ ด้านพลังงานทดแทนในแต่ละพืน้ ทีท่ แี่ ตกต่างกัน จากนัน้ จะเข้าไปแนะน�าให้ประชาชน
8
ใช้สงิ่ ทีม่ อี ยูใ่ นชุมชุนทัง้ ขยะ ชีวมวล หรือแม้แต่แสงอาทิตย์ เพือ่ พัฒนาเป็นพลังงาน ทดแทน ต้องส่งเสริมให้ประชาชนเชือ่ มัน่ เกีย่ วกับการใช้พลังงานทดแทน จนพร้อม ให้ความร่วมมือในการพัฒนาชุมชนผ่านโครงการต่างๆ เช่น ระบบสูบน�า้ บาดาลด้วย พลังงานแสงอาทิตย์ ที่ผ่านมาประชาชนขานรับนโยบายเป็นอย่างดี ชุมชนไหนมี ความพร้อมรัฐบาลพร้อมจะเข้าไปส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนให้เป็นรูปธรรม เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน “กระทรวงพลังงานพร้อมส่งเสริมการใช้ พลังงานทดแทนให้เพิม่ ขึน้ เป็นสัดส่วน 30% ในอนาคต จากระดับ 10% ในปัจจุบนั โดยจะส่งเสริมการพัฒนา พลังงานชีวมวล ควบคู่พลังงานแสงอาทิตย์ โดย กระทรวงพลังงานเตรียมก�าหนดกรอบระยะยาว ไม่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลใน 10-20 ปีข้างหน้า โดย จะพัฒนาทั้งพลังงานทดแทนในส่วนของไฟฟ้า และยานยนต์ ซึ่งกรอบแผนงานจะก�าหนดเสร็จ สิ้นภายในสิ้นปี พ.ศ. 2561” ดร.ศิริ กล่าว
โซลาร์เซลล์ พลังงานทดแทนที่มาแรงที่สุด
เรารูจ้ กั ค�าว่า โซลาร์เซลล์หรือพลังงานแสงอาทิตย์ กันมานานมากแล้ว แต่ ในแง่ของความเข้าใจ และการติดตัง้ โซลาร์ในประเทศไทยจริงๆ นัน้ ยังไม่ถอื ว่าเป็น ทีน่ ยิ มนัก อาจเป็นเพราะราคาทีค่ อ่ นข้างสูง และความกังวลต่างๆ ทัง้ ในเรือ่ งต้นทุน และความไม่เสถียร แต่กระแสแนวโน้มของโซลาร์กด็ ขี นึ้ ทันตาเห็น เมือ่ หลายปีมานี้ มีการติดตัง้ โซลาร์เซลล์เพือ่ ผลิตไฟฟ้าใช้เองมากขึน้ โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรม ทีเ่ ป็นโมเดลน�าร่องชีใ้ ห้เห็นว่า โซลาร์เซลล์ ติดตัง้ แล้วคุม้ ค่า ประหยัดค่าไฟฟ้า และ เป็นพลังงานสะอาดรักษ์โลกอีกด้วย และเมื่อมีความต้องการติดตั้งเพิ่มมากขึ้น ก็มกี ารผลิตเพิม่ มากขึน้ จนกลายเป็นการแข่งขันทางการตลาด แน่นอนว่า ข้อดีของ การแข่งขันคือ ท�าให้ราคาการติดตัง้ โซลาร์เซลล์ในปัจจุบนั ถูกลงหลายเท่าตัว ท�าให้ ภาคประชาชนเริ่มหันมาให้ความสนใจ เรื่องการลงทุนติดตั้งโซลาร์เซลล์มากขึ้น โดยเฉพาะโซลาร์รูฟท็อป
GreenNetwork4.0 November-December 2018
ดร.ดุสติ เครืองาม นายกสมาคม อุตสาหกรรมเซลล์แสงอาทิตย์ไทย ได้กล่าวสรุปไว้ในงานสัมมนา ไทยแลนด์ ไลท์ติ้งแฟร์ว่า จุดเด่นของโซลาร์รูฟ ของประเทศไทยที่คาดการณ์ว่าจะ เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2562 คือ • จะมี ก ารติ ด ตั้ ง โซลาร์ รู ฟ ระดับ 700-1,000 MWp • ค่าลงทุนลดลงจากอดีตมาก เหลือเพียง 30,000-40,00050,000 บาทต่อกิโลวัตต์ KWp และคืนทุนภายใน 4-6-7 ปี • ต้นทุนค่าไฟฟ้าต�่ากว่าซื้อไฟจากการไฟฟ้า • โครงการโซลาร์รูฟเสรี คือใช้ไฟฟ้าเองทั้งหมด • โครงการโซลาร์รฟู ภาคประชาชน คือ สามารถขายไฟฟ้าส่วนเกิน จากการใช้ให้ กฟน. กฟภ. • เอกชนท�าธุรกิจซื้อขายไฟฟ้าที่ผลิตจากโซลาร์เสรีกันเอง • Third Party Access คือ เอกชนจะสามารถใช้สายไฟฟ้าของ การไฟฟ้าในการขนส่งกระแสไฟซือ้ ขายกัน โดยจ่ายผ่านค่าสายไฟ ให้กับการไฟฟ้า • จะเริ่มมีการใช้ Battery ในการเก็บไฟฟ้า เพื่อใช้ในเวลาที่ ต้องการและเหมาะสม • หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องต้องมีการแก้ไขกฎระเบียบต่างๆ เกีย่ วกับ การให้บริการ จะเห็นได้ว่า โซลาร์เซลล์ชนิดติดตั้งบนหลังคา นับเป็นเทรนด์ พลังงานที่ใกล้ตัวขึ้นมาทุกทีและเป็นพลังงานธรรมชาติที่ดูมีความหวัง มากที่สุด และน่าจับตามองเป็นอย่างมากในปี พ.ศ. 2562 นี้
โรลันด์ โฟลเกอร์ ประธานบริหาร บริษัท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ากัด กล่าวว่า บริษทั ฯ เตรียมความพร้อมในการพัฒนารถยนต์ไฟฟ้า ให้สามารถใช้ได้จริงในประเทศไทย ซึง่ ในปี พ.ศ. 2562 บริษทั จะลงทุนกว่า 1,180 ล้านดอลลาร์ ในการสร้าง โรงงานแบตเตอรีใ่ นประเทศไทย เพือ่ ผลิตไฟฟ้าและ รองรับความต้องการในประเทศ และเพือ่ การส่งออก ไปยังประเทศอื่นๆ และยังมีแผนจะสร้างเครือข่าย ขยายจุดติดตัง้ สถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าให้ครอบคลุม พื้นที่มากที่สุด โดยวางแผนจะสร้างสถานีชาร์จรวม กว่า 200 จุด ครอบคลุมพืน้ ทีผ่ จู้ ดั จ�าหน่ายทัง้ 32 แห่ง ทั่วประเทศ
9
รถยนต์ไฟฟ้ามาแน่นอน
กระแสรถยนต์ไฟฟ้าในไทยยังคงมีความตืน่ ตัวอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ผศ. ดร.ยศพงษ์ ลออนวล นายกสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย อีวี (EV) กล่าวว่า ปัจจัยความส�าเร็จของรถยนต์ไฟฟ้าใน เมืองไทยจะเป็นไปได้ด้วยเหตุผลดังนี้ 1. สินค้าหรือเทคโนโลยีเหล่านัน้ ต้องใช้งานง่าย สะดวกสบาย เพือ่ ง่ายต่อการปรับเปลีย่ น ไปใช้ ยกตัวอย่างเช่น การชาร์จไฟได้ง่ายที่บ้านเหมือนกับการชาร์จโทรศัพท์มือถือ ก็จะช่วยผลักดันให้มีการใช้งานมากขึ้น รวมไปถึง 2. การมีจุดชาร์จที่ครอบคลุมเส้นทางของผู้ใช้งาน (ในกรณีที่ใช้รถเป็นระยะ) และ 3. แรงสนับสนุนจากภาครัฐ ทีจ่ ะท�าให้ Cost ราคาของรถยนต์ไฟฟ้านัน้ ถูกลง เป็นตัวเร่ง ให้เกิดตลาดเกิดผู้ใช้โดยเร็วยิ่งขึ้น “ส�าหรับประเทศไทยอยูใ่ นขัน้ เพิง่ เริม่ โดยเป็นลักษณะ น�าเข้า ราคาสูง และยังถูกน�ามาใช้ไม่มากนัก ส่วนจุดชาร์จ ในประเทศจะมีมากกว่า 200 จุดในสิ้นปีนี้ และคาดว่าปี พ.ศ. 2019 จะเริม่ เห็นการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าอย่างจริงจัง และ ไทยจะกลายเป็นตลาดหลักและผูน้ า� อาเซียน” ผศ. ดร.ยศพงษ์ กล่าว แม้จะยังมีความกังวลในหลายๆ เรือ่ งส�าหรับผูใ้ ช้ แต่ บรรดาค่ายรถทั้งหลายกลับมุ่งหน้าที่จะน�ารถยนต์ไฟฟ้าเข้า มาถึงมือคนไทยอย่างไม่รีรอ
กฤษฎา อุตตโมทย์ ผู้อ�านวยการฝ่ายสื่อสาร กิจการองค์กร บริษัท บีเอ็มดับเบิลยู (ประเทศไทย) จ�ากัด กล่าวว่า ปัจจุบันค่ายรถยนต์ต่างเดินตาม กระแสโลก โดยเฉพาะกลุม่ รถยนต์ทใี่ ช้พลังงานไฟฟ้า เป็นตัวขับเคลือ่ น ในบ้านเราบีเอ็มฯ ได้ลงทุนตัง้ สถานี ชาร์จไฟฟ้าทั่วประเทศ 50 สถานี ซึ่งจะด�าเนินการ ได้ครบถ้วนภายในปีนี้ ผลของการด�าเนินยุทธศาสตร์ ดังกล่าวส่งผลให้ปีนี้รถยนต์บีเอ็มดับเบิลยู ปลั๊กอิน ไฮบริด มีอัตราการเติบโตสูงถึง 112%
ธีร์ เพิม่ พงศ์พนั ธ์ รองประธานฝ่ายการตลาด และรัฐกิจสัมพันธ์ บริษทั มาสด้า เซลส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด กล่าวว่า ปี พ.ศ. 2573 จะลดการผลิตรถที่ใช้ เครื่องยนต์สันดาปให้ได้ 50% และในปี พ.ศ. 2593 จะลดเหลือเพียง 90% โดยตั้งเป้าหมายให้การผลิต รถยนต์เป็นรถไฟฟ้าแบบไฮบริด หรือปลัก๊ อิน ไฮบริด รวมไปทั้ง EV ให้ได้ 95% ของการผลิตรถทั้งหมด
GreenNetwork4.0 November-December 2018
ผศ. ดร.สัญชัย เดชานุภาพฤทธา
SPECIAL
อาจารย์ประจําภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ที่ได้รับรางวัล IEEE PES Thailand
Interview กองบรรณาธิการ
Chapter Young Engineer Award 2018
ในฐานะที่เป็นบุคลากรในภาคการศึกษา จึงเป็นส่วนหนึ่งในการด�าเนินการในส่วนนี้ ซึง่ ทางภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้สนับสนุน และส่งเสริมให้มกี ารปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าให้มคี วามทันสมัยอยูต่ ลอดเวลา ตามการ เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีและนวัตกรรมของโลกในปัจจุบัน โดยมุ่งเน้นในการพัฒนาบัณฑิตให้ มีความรูค้ วามสามารถด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอย่างแท้จริง ไม่เพียงรูแ้ ต่ในต�าราแต่ตอ้ งรูท้ งั้ ภาค ทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ ให้สามารถท�างานได้ตามความต้องการของตลาดแรงงานของประเทศ ในปัจจุบนั และอนาคต และสนับสนุนการพัฒนางานโครงงานด้านวิศวกรรมไฟฟ้าของนิสติ เพือ่ ให้นิสิตได้มีโอกาสพัฒนาตนเองโดยน�าความรู้ที่เรียนมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนางานโครงงาน ให้สา� เร็จลุลว่ ง ซึง่ จะช่วยให้บณ ั ฑิตทีจ่ บไปมีทกั ษะในการท�างานด้านวิศกรรมไฟฟ้ามากยิง่ ขึน้
เมื่อเร็วนี้ๆ IEEE Power & Energy Society - Thailand ได้จัดงาน IEEE PES Dinner Talk 2018 โดยได้รับเกียรติจาก ดร.ศิริ จิระพงษ์พนั ธ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน มากล่าวเปิดงาน และ แสดงปาฐกถาหัวข้อ “มุมมองภาพพลังงานในอนาคต” โดยภายในงาน ยังได้จัดให้มีเสวนา หัวข้อ “Disruptive Technology for Thailand Grid and Energy Supplies of the Future : พลิกโฉมธุรกิจไฟฟ้าและ พลังงานในอนาคต” และมีการมอบรางวัล IEEE PES Thailand Chapter Young Engineer Award 2018 ซึง่ ผูท้ ไี่ ด้รบั รางวัลนีค้ อื ผศ. ดร.สัญชัย เดชานุภาพฤทธา อาจารย์ประจําภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผศ. ดร.สัญชัย กล่าวถึงจุดเริม่ ต้นในการเข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ใน การขับเคลื่อนวงการวิศวกรรมไทยและเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ IEEE - PES Thailand Chapter ว่า เริ่มจากการมีโอกาสได้มาเป็นผู้บรรยาย ทางวิชาการในงานสัมมนาต่างๆ และงานทีเ่ กีย่ วข้องกับวิชาการและงาน วิจยั การเข้าร่วมเป็นส่วนหนึง่ ของ IEEE - PES Thailand Chapter ท�าให้ ได้มีโอกาสน�าความรู้ความสามารถที่มีไปช่วยงานสมาคมฯ ด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านวิชาการและการถ่ายทอดผลงานวิจยั เช่น การเป็นผูบ้ รรยาย ถ่ายทอดผลงานวิจัยสมัยที่ท�างานที่ประเทศญี่ปุ่น การเป็นกรรมการ พิจารณาบทความทีส่ ง่ มาเข้าร่วมงานประชุมวิชาการ การท�าหน้าทีเ่ ป็น ผูบ้ รรยายร่วม (Moderator) กับผูเ้ ชีย่ วชาญจากต่างประเทศทีม่ าบรรยาย ถ่ายทอดองค์ความรู้ในงานประชุมวิชาการ หรือการท�าหน้าที่เป็น ผูบ้ รรยายในหัวข้อทีก่ า� ลังเป็นทีส่ นใจของภาคอุตสาหกรรม เป็นต้น ซึง่ ภารกิจเหล่านีส้ ง่ เสริมให้ได้พฒ ั นาตนเองอยูต่ ลอดเวลา เพราะต้องศึกษา เพิม่ เติมองค์ความรูใ้ หม่ๆ และร่วมเป็นส่วนหนึง่ ทีช่ ว่ ยท�าให้งานของสมาคม ส�าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี การที่ได้เข้ามาร่วมวงกับ PES ข้อดีก็คือท�าให้ ได้รู้จักอาจารย์หลายๆ ท่าน และได้เพิ่มพูนความรู้ของตนเองไปด้วย
แนวความคิดในการส่งเสริมการศึกษา เพื่อพัฒนาวิชาชีพด้านวิศวกรรม
ในปัจจุบัน สถาบันการศึกษาได้มุ่งเน้นให้มีการพัฒนาหลักสูตร ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าให้มีความทันสมัย ตอบโจทย์การผลิตบัณฑิตที่มี ความรู้ความสามารถวิชาชีพด้านวิศวกรรมไฟฟ้า สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศให้มีความก้าวหน้า ทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม 10
ความภาคภูมิใจในการเป็นส่วนหนึ่งของต้นแบบที่ดี ด้านวิชาชีพวิศวกรรม
“รู้สึกเป็นเกียรติมากที่ ได้รบั คัดเลือกจากทางสมาคมฯ ให้ได้รบั รางวัลนี้ ช่วยให้มกี า� ลังใจ ในการพัฒนาตนเองทัง้ ทางด้าน งานสอนและถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาบุคลากรในประเทศ ซึ่งถือเป็นทรัพยากรที่ส�าคัญใน การพัฒนาประเทศ ด้านการ ท�างานบริการวิชาการ โดยจะ ช่ ว ยลดการพึ่ ง พาและน� า เข้ า เทคโนโลยีจากต่างประเทศ บางครั้งเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมจากต่างประเทศที่จะน�ามาใช้ อาจไม่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย ต้องมีการปรับแต่งเทคโนโลยีเหล่านั้นให้มีความ เข้ากันกับการน�ามาใช้งานในประเทศด้านการพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม ท�าให้ประเทศ มีองค์ความรู้ของตนเอง มีศักยภาพมากขึ้นในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันและ มีนวัตกรรมเป็นของตนเอง” ผศ. ดร.สัญชัย กล่าว ผศ. ดร.สัญชัย เดชานุภาพฤทธา อาจารย์ประจ�าภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัติการศึกษา • B.Eng. (Electrical Engineering) Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT), 2543 • M.S. (Electrical Engineering) Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT), 2546 • D.Eng. (Electrical Engineering) Kyushu Institute of Technology (Kyutech), JAPAN, 2551 สาขาวิจัยที่เชี่ยวชาญ 1. Power System Stability Analysis; Dynamics and Robust Control, 2. Power System Optimization and Computational Intelligence, 3. Wide-Area Monitoring, Protection and Control, 4. Smart Grids and Energy Efficiency. ผลงาน ติดตามได้ที่ https://research.rdi.ku.ac.th/forest/OutputByPersonEx.aspx?ID =540004
GreenNetwork4.0 November-December 2018
GREEN
Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข
เรื่องของขยะได้เปิดเวทีให้เหล่านักวิชาการและผู้รู้ไม่จริงได้ วิพากษ์วจิ ารณ์ โดยมีผรู้ จู้ ริงนัง่ ฟังมานานป วันนีเ้ มืองหมอล�า...อุบลราชธานี โดยภาคเอกชน 9 องค์กรร่วมใจกันจัดตัง้ บริษทั อุบลรวมใจพัฒนาเมือง จํากัด เข้ามาแก้ปญ ั หาขยะบ้านตนเอง ไม่ตอ้ งผ่านนายหน้าหรือนักพัฒนา โครงการ ไม่พึ่งพาเงินทุนบริษัทมหาชนใหญ่ หรือนักลงทุนต่างชาติ อุบลรวมใจพัฒนาเมือง เป็นของคนอุบลฯ โดยคนอุบลฯ และเพือ่ คนอุบลฯ รูปแบบใหม่ของการพึ่งพาตนเอง แบ่งเบาภาระรัฐ และที่ส�าคัญ...นี่คือ การเริ่มต้น (Startup) การกระจายอ�านาจสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น “อุบลรวมใจฯ” วาง 12 ยุทธศาสตร์ 17 เป้าหมาย โดยเรือ่ งของ พลังงานขยะเป็นส่วนหนึง่ ของยุทธศาสตร์ทที่ า้ ทายความสามารถ อยาก จะใช้ค�าว่า อุบล 4.0 แต่ฟังดูเบลอๆ เนื่องจากอุบลรวมใจฯ มีวิสัยทัศน์ ชัดเจนว่าเป้าหมายสูงสุดคือ “การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน” วลีสนั้ ๆ แต่ความหมาย ยาวๆ ลึกๆ ถึงแม้จะริเริม่ จากกลุม่ นักธุรกิจทีร่ วมตัวกัน แต่ยทุ ธศาสตร์ ที่วางไว้ก็เน้นการแก้ปัญหาความยากจน เน้นการใช้ทรัพยากรอย่าง คุ้มค่า และเท่าที่จ�าเป็น (Circular Economy)
เสริมให้มีการคัดแยก ขยะจากแหล่งกําเนิด ทั้งจากชุมชน และ สถานประกอบการ รวมทั้งโรงงาน อุตสาหกรรม
สร้างโรงงานขยะ ด้วยเทคโนโลยีทันสมัย และปลอดภัยจาก มลพิษ
11
อุบลโมเดล Waste to Energy
จากปริมาณขยะกว่า 1,000 ตันต่อวันของจังหวัดอุบลราชธานี มีการทิ้งแบบเทกอง (Open Dumping) ประมาณ 56 แห่ง และฝังกลบกึง่ ถูกหลักสุขาภิบาลอีก 3 แห่ง มีแหล่งก�าจัด ขยะติดเชือ้ ได้มาตรฐานด้วยการเผา 1 แห่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมได้ พยายามแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนือ่ ง จนปัจจุบนั กระทรวงมหาดไทย โดยกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิน่ ได้มมี าตรการต่างๆ ทีจ่ ะช่วยแก้ปญ ั หาทีผ่ า่ นๆ มา เช่น พ.ร.บ.รักษาความสะอาดและ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง แต่ก็ดูเหมือนว่าปัญหายังคงเป็นปัญหาอยู่ต่อไป จนกระทัง่ ได้มกี ารรวมตัวของชาวอุบลฯ เอง และสร้างอุบลโมเดล โดยคนอุบลฯ เพือ่ คนอุบลฯ และของคนอุบลฯ ขึน้ แนวทางและเป้าหมายเริม่ ต้นจากสร้างจิตส�านึกให้กบั ชุมชน และดึงชุมชน ให้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการขยะ โดยถือว่าการผลิตพลังงานจากขยะเป็นผลพลอยได้ แล้วค�าตอบของชุมชนก็เริม่ ปรากฏชัดเจนขึน้ อุบลโมเดลเน้นการด�าเนินโครงการแบบค่อยเป็น ค่อยไป ดังนี้
นําขยะแห้งที่มี ค่าความร้อนสูง (RDF : Refuse Derived Fuel) ไปจําหน่ายให้ โรงงานอุตสาหกรรม หรือโรงไฟฟ้า เพื่อเป็น พลังงานทดแทนช่วย ลดโลกร้อน
ขยะอินทรีย์ที่คัดแยก แล้ว นําไปหมักทําปุ๋ย ด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อใช้เป็นพลังงานใน ชุมชนและผลิตไฟฟ้า
นําขยะที่เผาไหม้ได้ (RDF) ทั้งจากขยะใหม่ และจากบ่อฝังกลบ ใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิต พลังงาน
อุบลโมเดล อาจไม่ใช่แค่เพียงการรวมใจพัฒนาเมือง แต่ อุบลโมเดลยังจะสะท้อนความเป็นตัวตน และจุดยืนร่วมกันของ คนอุบลฯ คงไม่มใี ครก�าหนดทิศทางการพัฒนาอุบลราชธานีนดี้ ี เท่าคนอุบลฯ เอง นอกจากนี้อุบลโมเดลยังเป็นตัวอย่างความ ร่วมมือร่วมใจระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน หรืออาจจะเรียกว่า “ประชารัฐโมเดล” พันธุ์แท้ก็ยังได้
GreenNetwork4.0 November-December 2018
GREEN
Focus นรินพร มาลาศรี ผู้ช�านาญการพิเศษ ฝ่ายแผนและก�ากับ การจัดหาพลังงาน ส�านักงาน กกพ.
การจัดการขยะชุมชนทีเ่ กิดจากความเจริญเติบโตของประเทศต่างๆ ถือว่ามี ความส�าคัญเป็นอันดับต้นๆ ในชีวติ ประจ�าวันของมนุษย์ ซึง่ ต้องใช้ระเบียบ ข้อบังคับ รวมถึงความร่วมมือจากผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องในทุกภาคส่วน ในการผลักดันให้เกิดกลไก การแข่งขันทีอ่ ยูไ่ ด้ดว้ ยตนเอง จากโอกาสทีไ่ ด้รบั ในการศึกษาในต่างแดน เห็นว่ามี รายละเอียดส�าคัญๆ ที่น่าสนใจ ดังนี้
1. ด้านนโยบายการจัดการขยะ บริ เ วณพื้ น ที่ ส หภาพยุ โ รปมี แ นวทางส� า คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นนโยบาย การจัดการขยะในระดับชุมชนหลักๆ 6 ข้อ คือ 1. Prevention คือ การป้องกันหรือการเลีย่ งวัสดุทกี่ อ่ ให้เกิดขยะมากทีส่ ดุ 2. The Polluter Pays คือ ผูก้ อ่ ก�าเนิดขยะเป็นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จา่ ยในการ ด�าเนินการ เก็บ ขน และก�าจัด (300 ยูโร/ครัวเรือน/ปี) 3. Producer Responsibility คือ ผู้ผลิตสินค้าหรือผู้ประกอบการเป็น ผูร้ บั ผิดชอบในการจัดการผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม เมือ่ สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ของตนกลายเป็นขยะ เช่น กระป๋องน�า้ อัดลม จะต้องเสียค่าใช้จา่ ยในการ ด�าเนินการในราคา 0.2-0.4 ยูโร 4. The Precautionary Principle คือ การคาดการณ์สาเหตุปริมาณขยะ และหาวิธีการลดของแต่ละสาเหตุ 5. The Proximity Principle คือ ขยะจะได้รบั การก�าจัดในพืน้ ทีท่ ใี่ กล้เคียง แหล่งก�าเนิด 6. The Self-Sufficiency Principle คือ การที่ค�านึงถึงความเพียงพอโดย ตระหนักถึงความยากของการก�าจัดขยะ ตารางแสดงสัดส่วนการก�าจัดจากการห้ามฝังกลบภายในปี พ.ศ. 2559 2010 (ล้านตัน)
2016 (ล้านตัน)
การน�าขยะกลับมาใช้ใหม่
0.75
1.1
การแปรสภาพขยะเป็นพลังงาน
0.5
1.5
การฝังกลบ
1.25
0.1
รวม
2.5
2.7
การก�าจัดปลายทาง
12
จากหลักการในการคัดแยกขยะที่มีคุณภาพรวมถึงการท�างานร่วมกันของ ท้องถิ่นและเอกชนท�าให้การน�ากลับมาใช้ใหม่และเปลี่ยนเป็นพลังงานเพิ่มขึ้นถึง เท่าตัวแนวโน้มการฝังกลบลดลงอย่างต่อเนื่อง การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าดังกล่าวท�าให้เกิดเศรษฐกิจหมุนเวียน หรือ Circular Economy ยั่งยืนมากกว่าระบบเศรษฐกิจแบบเส้นตรง หรือ Linear Economy กลไกการแข่งขันในแบบราคาตลาด (Energy Market Price) ของสหภาพ ยุโรป แตกต่างจากหลายประเทศทางเอเชียทีต่ อ้ งใช้วธิ กี ารสนับสนุนโครงการเหล่านี้ ผ่านกลไกการสนับสนุนราคา เช่น ประเทศไทย ทีส่ นับสนุนราคาอัตรารับซือ้ ไฟฟ้า ในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT) ในขณะที่ประเทศฟินแลนด์มีใช้กลไกเรื่องภาษี ค่าธรรมเนียมการก�าจัดขยะ กลไกด้านกฎหมายการยกเลิกวิธีการก�าจัดแบบหลุม ฝังกลบขยะ ท�าให้โครงการก�าจัดขยะด้วยวิธีเตาเผาที่ได้พลังงานความร้อนและ พลังงานไฟฟ้ามีราคาพลังงานไฟฟ้าที่แข่งขันได้ในตลาดและไม่มีการสนับสนุน อัตรารับซื้อไฟฟ้า
2. ปัจจัยสู่ความส�เร็จของการจัดการขยะ 2.1 ลดความซ�้าซ้อนในการให้เอกชนเข้ามาร่วมด�าเนินการก�าจัดขยะ เพือ่ ผลิตพลังงาน ทัง้ ด้านกฎหมาย ด้านระเบียบข้อบังคับท้องถิน่ การห้ามเผาขยะ การจ�ากัดการปล่อยสารเคมีที่เป็นอันตราย การก�าหนดให้น�าขยะกลับมาใช้ใหม่ แทนการฝังกลบ ใช้หลักการจัดการขยะตามล�าดับขัน้ (Waste Hierarchy) กล่าวคือ ลดจ�านวนขยะ (Reduce) น�ากลับไปใช้ใหม่ (Reuse) รีไซเคิล (Recycle) น�าไป ผลิตเป็นพลังงานเมือ่ ไม่สามารถน�ากลับไปใช้ใหม่ได้อกี (Recover Energy) รวมถึง การมอบหมายให้เอกชนเป็นผูด้ า� เนินการอย่างเป็นเอกภาพและประชาชนต้องจ่าย ค่าธรรมเนียมให้กับเอกชนโดยตรง จึงท�าให้การเก็บค่าธรรมเนียมเป็นไปตามที่ กฎหมายก�าหนด 2.2 การคัดแยกขยะต้นทางอย่างมีประสิทธิภาพ โดยแบ่งประเภทขยะออก เป็น 9 ประเภท ซึ่งท�าให้ประชาชนเข้าใจง่ายเกี่ยวกับการแยกขยะ การปลูกฝังให้ คัดแยกขยะออกเป็นประเภทท�าให้งา่ ยต่อการน�าขยะไปแปรรูป ด้วยเหตุนี้ ขยะทีม่ า จากครัวเรือนได้รับการน�ากลับมารีไซเคิลและกลายเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ได้โดยง่าย เมือ่ แยกเอาขยะทีร่ ไี ซเคิลได้และของเสียทีย่ อ่ ยสลายไม่ได้ออกไปแล้ว จะเหลือ ขยะส่วนทีน่ า� ไปท�าเป็นเชือ้ เพลงได้หรือทีเ่ รียกว่า Refuse Derived Fuel (RDF) โดย ผ่านกระบวนการขึน้ อยูก่ บั เทคโนโลยีทใี่ ช้ เชือ้ เพลิงทีไ่ ด้สามารถน�าไปใช้ผลิตไฟฟ้า หรือจ�าหน่ายก็ได้
GreenNetwork4.0 November-December 2018
3. การปรับใช้กับประเทศไทย สิง่ ทีส่ า� คัญทีส่ ดุ ทีเ่ ป็นหัวใจสูค่ วามส�าเร็จของการก�าจัดขยะเพือ่ ผลิตพลังงาน คือ การเริม่ ท�าทีต่ น้ ทาง การคัดแยกขยะ Sorting อย่างเป็นระบบ แล้วจึงพิจารณา เลือกเทคโนโลยีการก�าจัดขยะตามประเภทขยะเป็นล�าดับถัดไป จากผลการศึกษา ดูงานมีสิ่งที่น่าสนใจต่อประเทศไทย ดังนี้ 3.1 การคัดแยกขยะแบบง่ายๆ ก่อนในช่วงเริ่มต้น คือ ขยะทั่วไป กับ ขยะ เศษอาหาร และรถบรรทุกขยะก็ต้องแยกการเก็บขยะทั้งสองประเภทตอนขนย้าย ด้วย 3.2 จัดตั้งสถาบันด้านสิ่งแวดล้อมและการบริหารจัดการขยะ (คล้าย FINNISH Environment Institute SYKE) เพือ่ มาท�าหน้าทีข่ บั เคลือ่ นและบูรณาการ รวมถึงการท�าความร่วมมือกับองค์กรทั้งในประเทศและในต่างประเทศเพื่อความ คล่องตัว โดยอยูภ่ ายใต้กา� กับกระทรวงมหาดไทย และได้งบประมาณจัดสรรบางส่วน หารายได้เองบางส่วน เช่น ขายถุงใส่ขยะมาตรฐานทีใ่ ห้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ น�าไปใช้ เพื่อจัดแยกประเภทขยะและราคาการก�าจัดกับ Polluters ผู้ผลิตสินค้า ผู้น�าเข้าสินค้า ที่ท�าให้เกิดขยะ ต้องน�าค่าจัดการขยะรวมในสินค้า โดยผู้ซื้อสินค้า สามารถน�าขวด กล่อง บรรจุภัณฑ์ เช่น ขวดพลาสติก Aluminum Can มาคืนเป็น เงินในเครื่องรับคืน
13
นรินพร มาลาศรี เคยท�างานให้กบั กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์ พลังงาน (พพ.) เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการจัดการพลังงานมากว่า 18 ปี มีประสบการณ์ ท�างานด้านอาคารควบคุม โรงงานควบคุม เป็นที่ปรึกษาให้กับโรงงานและอาคาร ในเรื่องของการประหยัดพลังงาน มาตรการปลูกจิตส�านึกการอนุรักษ์พลังงาน ก่อนทีจ่ ะมาท�างานทีส่ า� นักงานคณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน (กกพ.) เมือ่ ปี พ.ศ. 2555 และยังเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรูผ้ า่ นระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) ของ กกพ. หลักสูตรระบบการจัดการพลังงานส�าหรับโรงงานและอาคารควบคุมอีกด้วย นรินพร เล่าให้ได้ทราบถึงวิธคี ดิ การท�างาน และการด�าเนินชีวติ โดยให้ความ ส�าคัญกับการลงทุนในความรูแ้ ละการสือ่ สาร แลกเปลีย่ นความคิดเห็นเพือ่ เปิดมุมมอง และกระตุ้นสมองอยู่เสมอ “คนเราจะเก่งได้ตอ้ งฝึกในหลายมิติ ทัง้ การศึกษาด้วยการอ่าน ค้นคว้า พูดคุย เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เป็นการฝึกสมอง ฝึกกระบวนการคิด และที่ส�าคัญ อย่าหยุดทีจ่ ะเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ แล้ว ไม่วา่ จะดีหรือไม่ดี จะสอน ให้เราได้เรียนรูท้ จ่ี ะแก้ไขและเผชิญกับปัญหา เมือ่ เราเรียนรูแ้ ล้ว ครัง้ ต่อไปก็จะไม่ใช่ ปัญหา อย่าท้อในการท�างาน และพยายามหาสิ่งที่ดีจากสิ่งที่เราท�าอยู่ เพราะการ ท�างานเป็นอีกเวทีหนึ่งที่สร้างโอกาสให้เกิดการยอมรับ ซึ่งผลที่ได้ไม่ใช่อื่น นั่นคือ ความภูมิใจในตัวเราเอง”
GreenNetwork4.0 November-December 2018
*ผู้เขียนขอน�าข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ สิ่งที่ตัวเองได้ไปศึกษาดูงาน Municipal Solid Waste Management – Waste to Energy Solutions ของโครงการ EEP MEKONG ณ สาธารณรัฐฟินแลนด์และ ราชอาณาจักรสวีเดน ระหว่างวันที่ 8-16 กันยายน พ.ศ. 2561 มาเล่าสู่กันฟัง
SOLAR
Review กองบรรณาธิการ
“รอแยลแคน” ติดตั้งโซลาร์รูฟใหญ่ที่สุดในไทย
ลดค่าไฟฟ้าและต้นทุนการผลิต มุ่งมั่นท�าธุรกิจควบคู่สิ่งแวดล้อมยั่งยืน
ในปัจจุบัน การติดตั้งพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาที่อยู่อาศัย (โซลาร์รูฟท็อป) มีอัตราการ เติบโตอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะในภาคโรงงานอุตสาหกรรม ก็ได้หนั มาให้ความสนใจกันมากขึน้ เรือ่ ยๆ เนื่องจากมีความคุ้มค่าในการผลิตไฟฟ้าใช้เอง ซึ่งนอกจากจะช่วยลดต้นทุนค่าไฟฟ้าได้แล้ว ยังเป็น พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอีกด้วย บริษัท รอแยลแคนอินดัสทรีส์ จ�ำกัด (Royal Can Industries Co., Ltd.) ผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ อาหารกระป๋องรายใหญ่ในประเทศไทย ได้ให้ความส�าคัญในเรื่องนี้ โดยจับมือกับ บริษัท นอร์ติส เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด ผูน้ า� นวัตกรรมด้านพลังงานทดแทนในเมืองไทย ติดตัง้ โซลาร์รฟู บนหลังคาในบริเวณ เดียวกันใหญ่ที่สุดในไทย มูลค่ากว่า 100 ล้านบาท เพื่อผลิตไฟฟ้าใช้เองในโรงงาน ซึ่งสามารถลด ยอดค่าไฟและต้นทุนการผลิตกว่า 15 ล้านบาทต่อปี และเพื่อชูวิสัยทัศน์ของผู้น�าธุรกิจแพ็คเกจจิ้งที่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน
ธวัช ธนวัชรำงกูร
ประภำรัตน์ ตังควัฒนำ
ธวัช ธนวัชรำงกูร กรรมกำรผูจ้ ดั กำร บริษทั รอแยลแคน อินดัสทรีส์ จ�ำกัด กล่าวถึงการลงทุนครัง้ ส�าคัญนีว้ า่ “รอแยลแคน ได้ท�ำกำรติดตั้งแผงโซลำร์เซลล์บนหลังคำโรงงำนผลิตกระป๋อง ภำยใต้โครงกำรเพื่อสังคม ซึ่งเป็นสิ่งที่เรำได้สำนต่อมำอย่ำง ต่อเนือ่ ง ในฐำนะขององค์กรภำคธุรกิจผูผ้ ลิตบรรจุภณ ั ฑ์ทตี่ ระหนัก ถึงควำมส�ำคัญของกำรด�ำเนินธุรกิจควบคู่ไปกับกำรค�ำนึงถึง ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม โดยกำรติดตัง้ โซลำร์รฟู ครัง้ นี้ ได้เลือก ‘นอร์ตสิ กรุป๊ ’ ผูเ้ ชีย่ วชำญด้ำนนวัตกรรมพลังงำนทดแทนเป็นผูต้ ดิ ตัง้ และดูแลระบบ ซึ่งคำดว่ำ กำรใช้พลังงำนจำกแสงอำทิตย์จะเป็น กำรใช้พลังงำนสะอำดที่จะช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดค่ำไฟฟ้ำและต้นทุนในกำรผลิตลงถึงปีละ 15 ล้ำนบำท ซึง่ นับเป็นกำรยกระดับศักยภำพโรงงำน ด้วยกำรควบคุมต้นทุนกำร ผลิตให้อยูใ่ นเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด ในขณะทีย่ งั คงควำมสำมำรถในกำร ผลิตและควำมพร้อมในกำรส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้แก่ลูกค้ำ ควบคู่ ไปกับกำรรักษำควำมสมดุลของสิ่งแวดล้อมอีกด้วย” ธวัช กล่าว ประภำรัตน์ ตังควัฒนำ ประธำนเจ้ำหน้ำทีบ่ ริหำร บริษทั นอร์ตสิ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด กล่าวว่า ได้ดา� เนินงานติดตัง้ โซลาร์รฟู ให้กับ รอแยลแคน ขนาด 2,997.36 กิโลวัตต์ (3 เมกะวัตต์) ซึ่ง เป็นการติดตั้งโซลาร์เซลล์บนหลังคา (PV Solar Roof System) ในบริเวณเดียวกันทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในประเทศไทยในขณะนี้ โดยใช้แผง โซลาเซลล์ทงั้ หมด 9,142 แผ่นบนหลังคาของโรงงานรอแยลแคน จ.สมุทรสาคร รวมพื้นที่ 17,400 ตร.ม. พร้อมติดตั้งระบบแปลง ไฟฟ้าเทคโนโลยีชนั้ สูง (Invertor) 79 ตัว เป็น 4 สถานี (Station) ซึ่งนับเป็นการติดตั้งที่สูงที่สุดในไทยเช่นกัน โดยสามารถแปลง พลังงานแสงอาทิตย์เพือ่ ใช้กบั เครือ่ งจักรการผลิตได้เทียบเท่ากับ ไฟฟ้าปกติ โดยสามารถผลิตไฟฟ้าได้ปีละ 4,082,404 หน่วย ซึ่ง ปัจจุบนั โรงงานผลิตกระป๋องรอแยลแคนแห่งนี้ มียอดการใช้ไฟฟ้า กว่าปีละกว่า 18 ล้านหน่วย จ�านวนเงิน 59.82 ล้านบาท หลังจาก ติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา คาดว่า จะสามารถลดค่าไฟฟ้าภายในโรงงานได้กว่า 12.94 ล้านบาทต่อปี คิดเป็นร้อยละ 24.56 อีกทั้งยังช่วยโลกในการลด Carbon
14
Footprint ของภาคธุรกิจได้ถงึ ปีละ 2,478 ตันต่อปี หรือเทียบเท่า การปลูกต้นไม้ถงึ 8,260 ต้น โครงการดังกล่าวเป็นความร่วมมือ ในรู ป แบบสั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้ า ที่ มี มู ล ค่ า โครงการประมาณ 92.90 ล้านบาท โดยนอร์ตสิ จะเป็นผูด้ แู ลระบบตลอดอายุสญ ั ญา ระยะเวลา 2 ปี ด้ า นการด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ของรอแยลแคน ตั้ ง เป้ า รายปี พ.ศ. 2562 3,000 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 2,700 พันล้านบาท ในปี พ.ศ. 2561 โดยมองว่า อุตสาหกรรมผลิตบรรจุภณ ั ฑ์อาหาร กระป๋องยังเติบโตอย่างต่อเนื่องทั้งในไทยและภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นตลาดของบริษัทฯ ถึงแม้จะอุปสรรค ด้านความผันผวนของราคาวัสดุในการผลิตกระป๋อง แต่การติดตัง้ โซลาร์เซลล์จะเป็นหนึง่ ในการแก้ปญ ั หาดังกล่าว เนือ่ งจากจะช่วย ลดต้นทุนลงอย่างมหาศาล นอกจากนี้ รอแยลแคนยังให้ความ ส�าคัญกับการดูแลสิง่ แวดล้อมและตอบแทนสังคมเป็นอันดับต้นๆ ซึ่งจะเห็นได้จากกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและตอบแทนสังคม (CSR) ที่มุ่งมั่นท�ามาอย่างต่อเนื่องตลอด 30 ปี
“เรำเชื่อว่ำ กำรด�ำเนินธุรกิจบรรจุภัณฑ์ในเวลำนี้ต้อง ตระหนักถึงสิ่งแวดล้อม และเพิ่มบทบำทควำมเป็น 'มิตร' กับ สิ่งแวดล้อมมำกยิ่งขึ้น เพื่อให้ภำคธุรกิจยังด�ำเนินได้ต่อไปอย่ำง ยั่งยืน” ธวัช กล่าวปิดท้าย
GreenNetwork4.0 November-December 2018
GREEN
Scoop คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการจัดตั้ง
“โครงกำรนี้ จ ะเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ กั บ ทุ ก ภำคส่ ว น ไม่วำ่ จะเป็นประเทศทีส่ ำมำรถก�ำหนดแนวทำงหรือนโยบำย กำรจัดกำรมลพิษให้กับประเทศ ลดข้อพิพำทระหว่ำงภำค ประชำชนกับภำคอุตสำหกรรม ในกรณีทเี่ กิดผลกระทบด้ำน สิง่ แวดล้อมทีต่ อ้ งกำรกำรพิสจู น์ขอ้ เท็จจริง ลดผลกระทบจำก มลพิษทีก่ อ่ ให้เกิดปัญหำสุขภำพของประชำชน รวมไปถึงภำค อุตสำหกรรรมที่จะพัฒนำผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีในกำรจัดกำรมลพิษให้กับ องค์กร ทีจ่ ะสำมำรถลดต้นทุนกำรจัดกำรมลพิษ รวมถึงยกระดับกำรผลิตทีเ่ ป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย” รศ. ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล กล่าวสรุป
“ศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ศาสตราจารย์ อรุณ สรเทศน์” ปัจจุบนั ปัญหาเรือ่ งสิง่ แวดล้อมถือเป็นประเด็นใกล้ตวั ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยเฉพาะความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทีส่ ง่ ผลให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่าง กว้างขวาง ซึ่งเป็นสาเหตุส�าคัญของการเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมตามมาด้วยเช่นกัน ซึง่ ทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ตระหนักถึงปัญหาและ ให้ความส�าคัญกับเรือ่ งสิง่ แวดล้อมมาโดยตลอด ล่าสุดได้รว่ มกับมูลนิธิ อรุณ สรเทศน์ และสมาคมนิสิตเก่าคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดตั้ง “ศูนย์ควำมเป็นเลิศด้ำนวิศวกรรมสิง่ แวดล้อม ศำสตรำจำรย์ อรุณ สรเทศน์” ภายใต้ ความพร้อมในการสร้างสรรค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ของประเทศและภูมภิ าค ทัง้ ในด้านทรัพยากรบุคคล อาทิ คณาจารย์ นักวิจยั และ นิสิต นักศึกษา โดยคาดว่าศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิศวกรรมสิง่ แวดล้อม ศาสตราจารย์ อรุณ สรเทศน์ จะกลายเป็นหน่วยปฏิบัติการวิจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมอันดับหนึ่งของ ประเทศไทยและระดับแนวหน้าของโลก ทีม่ เี ครือ่ งมือวิเคราะห์ดว้ ยเทคโนโลยีขนั้ สูง ซึ่งมีเป้าหมายในการตรวจวัดมลพิษทุกชนิดที่ปนเปื้อนอยู่ในน�้า ดิน อากาศ และ ของเสียอันตราย ทั้งที่ปรากฏในมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม และไม่ปรากฏแต่ ได้รบั ความสนใจในระดับนานาชาติ ซึง่ อาจจะส่งผลกระทบกับประเทศไทยในอนาคต โดยเบื้องต้นมีความต้องการงบประมาณในการด�าเนินการประมาณ 90 ล้านบาท “นอกจำกนีย้ งั ต้องกำรให้เป็นศูนย์ทดสอบและวิจยั ด้ำนวิศวกรรมสิง่ แวดล้อม ทีม่ มี ำตรฐำนระดับสำกล มีเครือ่ งมือตรวจวัดและวิเครำะห์ดว้ ยเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย รวมถึงเสริมสร้ำงงำนวิจยั ขัน้ สูงทีส่ ำมำรถตรวจวัดค่ำพำรำมิเตอร์ของมลพิษต่ำงๆ ทีม่ คี วำมซับซ้อนทีป่ นเปือ้ นอยูใ่ นน�ำ้ ดิน และอำกำศ จะท�ำให้สำมำรถน�ำเสนอวิธกี ำร แก้ไขปัญหำได้ตรงประเด็นและมีประสิทธิผลมำกยิ่งขึ้น และจะเป็นหน่วยงำน วิชำกำรที่เป็นกลำงที่จะช่วยยุติหรือลดกำรขัดแย้งให้แก่ภำคธุรกิจ อุตสำหกรรม ภำครัฐ และภำคประชำสังคม ที่มีควำมเข้ำใจในปัญหำสิ่งแวดล้อมที่แตกต่ำงกัน” รศ. ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดี คณะวิศวกรรมศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย กล่าว ทั้งนี้การด�าเนินงานของโครงการฯ ในเบื้องต้นจะจัดหาเครื่องมือวิจัยที่จะ รองรับทีจ่ ะรองรับอุตสาหกรรมพืน้ ฐานของประเทศ 3 ประเภท ได้แก่ อุตสาหกรรม ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี อุตสาหกรรมอาหารและสุขภาพ และอุตสาหกรรมพลังงาน อิเล็กทรอนิกส์ โดยเครือ่ งมือวิจยั ดังกล่าวจะกลายเป็นเครือ่ งมือขัน้ สูงทีย่ งั สามารถ น�าไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปญ ั หาสิง่ แวดล้อมให้กบั อุตสาหกรรมอืน่ ๆ ได้ ซึง่ ในระยะ ต่อไปได้วางแผนขยายไปยังอุตสาหกรรมอื่นเพิ่มเติม 15
ผลที่คาดว่าจะได้รบ ั
• ต่อภาคอุตสาหกรรม • พัฒนาผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีในการจัดการมลพิษให้กบั ภาคอุตสาหกรรม • ลดต้นทุนการจัดการมลพิษให้กับภาคอุตสาหกรรม • ยกระดับการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • ต่อประเทศชาติ • ก�าหนดแนวทางและนโยบายการจัดการมลพิษให้กับประเทศ • ลดข้อพิพาทระหว่างภาคประชาชนกับภาคอุตสาหกรรม ในกรณีที่เกิด ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมที่ต้องการการพิสูจน์หาข้อเท็จจริง • ลดผลกระทบจากมลพิษที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของประชาชน • ต่อจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • น�าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยติดอันดับ 1 ใน 50 ของโลกด้านวิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยี • เพิ่มต�าแหน่งงานนักวิจัยระดับหลังปริญญาเอก 5 ต�าแหน่งต่อปี • สร้างผลงานตีพิมพ์ที่น�าไปสู่การอ้างอิงและการใช้ประโยชน์ในวงกว้าง • ได้รับทุนวิจัย 20 ล้านบาทต่อปี • เป็นแหล่งอ้างอิงองค์ความรู้และนวัตกรรมเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมระดับ ประเทศ • เป็นศูนย์กลางเครือข่ายวิชาการด้านเทคโนโลยีสงิ่ แวดล้อมระดับภูมภิ าค ในเบือ้ งต้น ศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิศวกรรมสิง่ แวดล้อม ศาสตราจารย์ อรุณ สรเทศน์ ได้รบั การสนับสนุนจากมูลนิธิ อรุณ สรเทศน์ 5 ล้านบาท คณะวิศวกรรมศาสตร์ 5 ล้านบาท และภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 5 ล้านบาท รวม 15 ล้านบาท โดย ยังมีความต้องการทุนในการจัดตัง้ อีก 75 ล้านบาท จึงขอเรียนเชิญทุกภาคส่วนร่วม สนับสนุน โดยสามารถโอนเงินเข้าบัญชี 1. ธนาคารกรุงเทพ สาขาจามจุรีสแควร์ เลขที่ 939-0-10892-7 2. ธนาคารกสิกรไทย สาขาจามจุรีสแควร์ เลขที่ 630-2-37158-8 3. ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาสภากาชาดไทย เลขที่ 405-4-13788-7 และแจ้งโอนเงินพร้อมทั้งชื่อ-ที่อยู่ มาที่ e-mail : cu.labaroon@gmail.com
GreenNetwork4.0 November-December 2018
GREEN
Report กองบรรณาธิการ
2
เดินหน้าหลักสูตรสะเต็มก�าลังสอง (STEM ) สู่ความยั่งยืนทางไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ร่วมกับ ศูนย์วทิ ยาศาสตรศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มศว ท�าหลักสูตรพหุวิทยาการ STEM2 เรื่องพลังงานไฟฟ้า ในประเทศ ภายใต้หวั ข้อ “ถ้าพรุง่ นีไ้ ม่มไี ฟฟ้า” โดยน�าเสนอประเด็นปัญหาเกีย่ วกับ สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย ผ่าน 8 สาระวิชาในระดับชัน้ มัธยมศึกษา ตอนต้น พร้อมตัง้ เป้าหมายขยายผลใช้หลักสูตรนีส้ อนนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา ตอนต้นทั่วประเทศ หลังจากประสบความส�าเร็จแล้ว 80 โรงเรียน สมรักษ์ เพ็ชรเจริญ ผู้ช่วยผู้ว่าการแผนงานโรงไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ผศ. ดร.จรรยา ดาสา ผูอ้ า� นวยการศูนย์วทิ ยาศาสตรศึกษา และศาสตราจารย์ ดร.ปานสิริ พันธุส์ วุ รรณ รองอธิการฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ร่วมในงานแถลงข่าวโครงการการขยายผลการใช้หลักสูตร “STEM2 เรือ่ งพลังงานไฟฟ้าในประเทศ” และร่วมกิจกรรมประกาศผลและมอบรางวัล แก่นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่ใช้หลักสูตรดังกล่าวส่งผลงานเข้า ประกวด ณ หอดนตรีและการแสดงอโศกมนตรี 2 อาคารนวัตกรรมศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ในงานแถลงข่าวยังได้มีการจัดเสวนาในหัวข้อ “หลักสูตรสะเต็มก�าลังสอง สูค่ วามยัง่ ยืนทางไฟฟ้า” โดยมี ทิเดช เอีย่ มสาย ผูอ้ า� นวยการฝ่ายวิศวกรรมโรงไฟฟ้า กฟผ. รศ. ดร.ณสรรค์ ผลโภค อดีตผูอ้ า� นวยการศูนย์วทิ ยาศาสตรศึกษา และผศ. ดร.จรรยา ดาสา ผู้อ�านวยการศูนย์วิทยาศาสตรศึกษา ร่วมเสวนา
16
GreenNetwork4.0 November-December 2018
สมรักษ์ เพ็ชรเจริญ ผู้ช่วยผู้ว่าการแผนงานโรงไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวว่า กฟผ. เห็นความส�าคัญของการเรียนรูแ้ บบบูรณาการในโรงเรียน ซึง่ เป็นการเรียนรูท้ มี่ ปี ระสิทธิภาพผ่านรายวิชาต่างๆ ทีม่ ี การเรียนการสอนอยูแ่ ล้วในชัน้ เรียน จึงร่วมกับศูนย์วทิ ยาศาสตรศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มศว พัฒนาหลักสูตรพหุวทิ ยาการ STEM2 เรือ่ งพลังงานไฟฟ้าในประเทศ ภายใต้หวั ข้อ “ถ้าพรุง่ นีไ้ ม่มไี ฟฟ้า” ส�าหรับครูผสู้ อน และขยายผลหลักสูตรไปยัง ครูผแู้ ทนจากโรงเรียนในภูมภิ าคต่างๆ รวมถึงพัฒนาเว็บไซต์ (http://stem2.science.swu.ac.th/) ส�าหรับเป็นสือ่ กลาง เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นทั่วประเทศ โดยปัจจุบันมีโรงเรียนที่สนใจ เข้าร่วมใช้หลักสูตรนี้ และน�าไปใช้ในหลักสูตรการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ของโรงเรียนแล้ว จ�านวน 80 โรงเรียน พร้อมตั้งเป้าหมายจะขยายผลใช้หลักสูตรนี้สอนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นทั่วประเทศ ทั้งนี้ หลักสูตร STEM2 เป็นหลักสูตรส�าคัญที่น�าเสนอประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสถานการณ์พลังงานไฟฟ้าของ ประเทศไทย สถานการณ์การใช้ไฟฟ้า การผลิตไฟฟ้า พฤติกรรมและแนวโน้มการใช้ไฟฟ้า ผ่านการเรียนการสอนของ 8 กลุม่ สาระการเรียนรูใ้ นระดับชัน้ มัธยมตอนต้น ได้แก่ กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงาน อาชีพและเทคโนโลยี กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) กลุม่ สาระ การเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ และกลุม่ สาระ การเรียนรูส้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา ซึง่ จะช่วยส่งเสริมให้ผเู้ รียน มีความรู้ ความเข้าใจทีถ่ กู ต้อง มีความตระหนักรูเ้ กีย่ วกับ แหล่งพลังงานต่างๆ ทีใ่ ช้ในการผลิตไฟฟ้า สร้างส�านึกและปลูกฝังเยาวชนให้ใส่ใจในคุณค่าของพลังงาน และน�าความรูม้ า ประยุกต์ใช้ในการด�าเนินชีวิตประจ�าวันได้อย่างเหมาะสม ผศ. ดร.จรรยา ดาสา ผู้อ�านวยการศูนย์วิทยาศาสตรศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กล่าวเพิม่ เติมว่า “ความร่วมมือครัง้ นีถ้ อื เป็นมิตใิ หม่ของการสร้างการเรียนรูท้ ถี่ กู ต้องเกีย่ วกับพลังงานไฟฟ้าให้กบั นักเรียนระดับมัธยมศึกษาต้น ด้วยการใช้รปู แบบการเรียนรูแ้ บบบูรณาการในทุกสาระวิชา ด้วยการสอดแทรกเนือ้ หาสาระ เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อกระตุ้นให้ นักเรียนเข้าใจสถานการณ์อย่างรอบด้าน เห็นความเชือ่ มโยงของการเรียนกับชีวติ จริง และส่งเสริมความสามารถในการ แก้ปญั หา การสร้างนวัตกรรม และสอดคล้องกับแนวทางการจัดการเรียนรูต้ ามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542” รศ. ดร.ณสรรค์ ผลโภค อดีตผูอ้ า� นวยการศูนย์วทิ ยาศาสตรศึกษา กล่าวในการเสวนาว่า หลักสูตรสะเต็มศึกษา เป็นการเปลีย่ นจากการเรียนรู้ แนวคิดวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี มาเป็นการส�ารวจ ตรวจสอบ และประยุกต์ ทักษะความรู้ในแต่ละสาขาวิชา “เมือ่ ก่อนการศึกษาบ้านเราจะแบ่งแยกสาขาการเรียนชัดเจน เช่น เด็กสายวิทย์กบั เด็กสายศิลป์ ก็จะมองสิง่ รอบตัว คนละแบบกัน แต่หลักสูตรสะเต็มก�าลังสอง เน้นให้มกี ารศึกษาแบบบูรณาการ คนทีม่ คี วามสามารถและประสบความส�าเร็จ ระดับต้นๆ ของโลก ส่วนใหญ่เกิดจากการรูจ้ กั บูรณาการสิง่ ต่างๆ รอบตัว ดังนัน้ การเรียนรูแ้ บบบูรณาการถือเป็นเรือ่ งส�าคัญ และหลักสูตรสะเต็มก�าลังสอง ยังเปิดโอกาสให้นกั เรียนได้เห็นถึงการท�างานร่วมกัน กับคนต่างสาขา ต่างวิชาชีพ ซึง่ ถือเป็น สมรรถนะหนึง่ ทีค่ นยุคใหม่ตอ้ งมี เพราะการแก้ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ประจ�าวันไม่สามารถใช้ความรูใ้ นด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเท่านัน้ แต่เรายังต้องการความรูแ้ ละทักษะด้านอืน่ ๆ ควบคูก่ บั การมีคณ ุ ธรรม จริยธรรม” รศ. ดร.ณสรรค์ กล่าว ทั้งนี้พบว่า ระดับชั้นที่มีมาตรฐานและตัวชี้วัดของสาระวิชาเหมาะสมกับเนื้อหาคือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยได้ก�าหนดเป็นสถานการณ์กระตุ้นการเรียนรู้และเนื้อหาในการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียนเข้าใจสถานการณ์ปัญหาและ ข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องอย่างถูกต้อง จากแหล่งข้อมูลทีน่ า่ เชือ่ ถือ จนสามารถบูรณาการความรูแ้ ละข้อมูลทีไ่ ด้จากการเรียนรูม้ า ออกแบบแนวทางหรือวิธีการผลิตพลังงานไฟฟ้าเพื่อให้มีพลังงานไฟฟ้าใช้อย่างยั่งยืน มั่นคง และออกแบบการน�าเสนอ อย่างสร้างสรรค์ 17
GreenNetwork4.0 November-December 2018
สมรักษ์ เพ็ชรเจริญ
ผศ. ดร.จรรยา ดาสา
รศ. ดร.ณสรรค์ ผลโภค
GREEN
People เปมิกา สมพงษ์
อัศพล บุณยเกียรติ จาก NEX Innotech ชี้ LED คุณภาพสูง ปลอดภัย และประหยัดพลังงานได้อย่างยั่งยืน
เมื่อพูดถึงวิธีการประหยัดไฟฟ้า ทั้งภายในครัวเรือนและในระดับโรงงาน อุตสาหกรรม มีอยูด่ ว้ ยกันหลากหลายรูปแบบและวิธกี าร แต่สงิ่ ทีท่ า� ง่ายทีส่ ดุ และ เป็นทางเลือกแรกๆ ส�าหรับผู้ที่คิดจะประหยัดไฟ นั่นคือการเปลี่ยนจากหลอดไฟ แบบอื่นๆ มาใช้หลอดไฟ LED ซึ่งในวันนี้เราได้มาพูดคุยกับ อัศพล บุณยเกียรติ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท เน็กซ์ อินโนเทค จ�ากัด ในฐานะผู้พัฒนาโซลูชั่นเทคโนโลยี ด้านไฟฟ้าแสงสว่างเพือ่ การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ ในงานไทยแลนด์ ไลท์ตงิ้ แฟร์ และไทยแลนด์ บิลดิ้ง แฟร์ 2018
รู้จก ั เน็กซ์ อินโนเทค
อัศพล บุณยเกียรติ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป บริษทั เน็กซ์ อินโนเทค จ�ากัด กล่าวถึง ภาพรวมของบริษทั ว่า บริษทั ฯ ในฐานะผูพ้ ฒ ั นาโซลูชนั่ เทคโนโลยีดา้ นไฟฟ้าแสงสว่าง ทีเ่ ป็นนวัตกรรมใหม่ๆ เพือ่ การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพและช่วยประหยัดพลังงาน ที่เรียกว่า สมาร์ท ไลท์ติ้ง ได้น�าเสนอผลิตภัณฑ์ในกลุ่มหลอดประหยัดไฟ LED ซึ่ง เป็นทีน่ ยิ มทัง้ ในปัจจุบนั และรองรับการใช้งานในอนาคต ตัง้ แต่หลอดไฟ LED ทีใ่ ช้งาน ตามบ้านพักอาศัย ไปจนถึงกลุ่มหลอดไฟ LED ส�าหรับอุตสาหกรรม ตลอดจนให้ 18
บริการวางแผนการติดตัง้ และบริการหลังการติดตัง้ แบบครบวงจร บริษทั ฯ คาดว่าจะ สามารถตอบโจทย์กลุม่ ลูกค้าได้ทกุ ระดับความต้องการและโซลูชนั่ ทีพ่ ร้อมรองรับ ได้ทุกกลุ่มตลาด ส�าหรับการเข้าร่วมงาน ไทยแลนด์ ไลท์ติ้ง แฟร์ 2018 ในปีนี้ นับเป็นปีที่ 4 เนือ่ งจากมองเห็นศักยภาพของงานทีเ่ ป็นเวทีทไี่ ด้พบปะผูป้ ระกอบการกลุม่ เป้าหมาย และบริษัทฯ ได้มีโอกาสน�าเสนอองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ให้กับผู้เข้าชมงาน “ภายในบูธของเน็กซ์ อินโนเทค ในปีนี้ เราได้น�าผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม LED High Bay และ LED Low Bay ไปจัดแสดง โดยเป็นสินค้าทีต่ อบโจทย์ผปู้ ระกอบการ โรงงานอุตสาหกรรมที่ต้องการระบบไฟฟ้าแสงสว่างในโรงงานที่มีประสิทธิภาพ ช่วยประหยัดพลังงานและลดต้นทุนค่าไฟฟ้าได้อย่างแท้จริง นอกจากนีย้ งั มีผลิตภัณฑ์ หลอดไฟส�าหรับโรงแรม รีสอร์ท ได้แก่ กลุ่มหลอดไฟ LED Dimmer บริษัทฯ มุง่ มัน่ ในการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้มปี ระสิทธิภาพ เพือ่ สร้างความมัน่ ใจและ ความไว้วางใจในผลิตภัณฑ์แบรนด์ NEX ทีเ่ ป็นแบรนด์ของคนไทยอย่างแท้จริง ทีไ่ ด้ รับการยอมรับและมีมาตรฐานสากล”
GreenNetwork4.0 November-December 2018
คุณภาพของ LED มีผลต่อความปลอดภัย
อัศพล กล่าวว่า ในตลาดของ LED นั้น สิ่งที่ยากคือรูปลักษณ์ภายนอก เหมือนกันหมดเลย แต่ที่ราคาถูกหรือแพงต่างกันนั้น มันขึ้นอยู่กับคุณภาพภายใน ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่สามารถที่จะบอกกันง่ายๆ ซึ่งจริงๆ แล้วประเทศไทยมีมาตรฐาน เกีย่ วกับ LED แต่ประชาชนไม่คอ่ ยได้รบั ข้อมูล และในเมือ่ ไม่รวู้ า่ มันต่างกันอย่างไร ก็ไม่มีใครอยากซื้อของแพง ซึ่งมันจะมีปัญหาบางเรื่องที่เกิดจากหลอดไฟด้อย คุณภาพอย่างทีห่ ลายคนอาจคาดไม่ถงึ ยกตัวอย่างเช่น อาคารแห่งหนึง่ อยูด่ ๆี เกิด เพลิงไหม้ ก็อาจจะเกิดค�าถามว่า ระบบดับเพลิงท�าไมไม่ทา� งาน ปรากฏว่า สิง่ ทีไ่ ม่มี ใครคาดคือสาเหตุของการเกิดเพลิงไหม้ที่แท้จริง ที่อาจเกิดจากการใช้หลอด LED ที่ไม่มีคุณภาพ อัศพล อธิบายต่อว่า ใน LED ทีไ่ ม่มคี ณ ุ ภาพ จะเกิดตัวหนึง่ เรียกว่า Harmonics ในกระแส ถ้าเกิด Harmonics ที่สูง จะท�าให้เกิดความร้อนในกระแสสวนทาง สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ก็คอื ถ้าเป็นสายไฟเก่าๆ สายไฟมันจะไหม้ แล้วถ้าสายไฟไหม้จะดับยาก เพราะว่าระบบกันไฟจะฉีดลงข้างล่าง แต่สายไฟวิ่งอยู่บนเพดาน แล้ว Harmonics ยังไปกวนการท�างานของ Solenoid ท�าให้เกิดปัญหา แต่เรามองไม่เห็น เนื่องจาก บ้านเราใช้หลอดน้อยไม่มีปัญหา แต่ถ้าหลอดมาก เป็นร้อย เป็นพัน Harmonics มโหฬารเลย ถ้าเกิน 40% ขึน้ ไป จะเกิดความร้อนแล้ว มาตรฐานอาคารสูงในบ้านเรา จะก�าหนดค่า Harmonics ไว้ไม่เกิน 15% เท่านัน้ แต่หลอดด้วยคุณภาพ ลองมาวัด Harmonics จะได้ถึง 140 เลยทีเดียว “เราไม่ได้บอกว่าคุณภาพ LED ของเราดีอย่างไร แต่ภายในงาน เราจะมี มิเตอร์มาวัดคุณภาพของหลอดให้เห็นกันเลย ของเราจะมีการเกิด Harmonics อยู่ประมาณ 5 และ 3 ซึ่งระหว่าง 140 กับ 3 ต้นทุนมันต่างกันมาก แต่ด้วยส�านึก ด้วยความเป็นไทย ส�านึกในเรื่องของตลาด เราพยายามท�าตรงนี้ ในเรื่องของ การท�างาน ในการขาย เราตามราคาจีนไม่ได้ เพราะสินค้าของเราเน้นคุณภาพและ มาตรฐาน การมาออกงานแบบนี้ คือการมาอธิบายให้เข้าใจถึงสิ่งที่ควรมีในหลอด LED หลอดหนึง่ เราอย่าดูถกู ว่าคนไทยไม่ซอื้ หรอกของแพง เราเชือ่ ว่าผูซ้ อื้ ยอมจ่าย แพงกว่า เพียงแต่เขาต้องได้รวู้ า่ เขาจะได้อะไร คุณจะกล้าใช้ไหม ถ้าคุณรูว้ า่ หลอดไฟ ราคาถูกอาจท�าให้เกิดเพลิงไหม้ได้ การใช้หลอดไฟคุณภาพ นอกจากจะเกิดความ ปลอดภัยแล้ว ยังสามารถใช้ได้ยาวนาน ไม่ต้องเปลี่ยนบ่อยๆ จนเกิดขยะมากมาย NEX ยืนยันทีจ่ ะผลิตสินค้าคุณภาพ ในราคาทีเ่ หมาะสม เพราะนีก่ ค็ อื การยกระดับ มาตรฐานของไทย”
อนาคตตลาด LED ยังเติบโตได้อีกไกล
อัศพล กล่าวถึงตลาด LED ในอนาคตว่า โรงงานไทยอาจจะสูจ้ นี ไม่ได้เพราะ ต้นทุนต่างกัน เราก็อย่าไปสู้ ปล่อยตรงนัน้ ไป รักษามาตรฐานของเราไว้ แล้วท�าให้ดี ตลาด LED ยังอีกใหญ่ ยังเติบโตได้ ด้วยหลายปัจจัย 1) ภาครัฐสนับสนุนเรือ่ งพลังงาน
ซึ่งการลดพลังงานท�าได้หลายวิธี แต่ LED เป็นจุดเริ่มต้นที่ง่ายที่สุด ถ้าโรงงานทั้ง โรงงานเปลีย่ นมาใช้ LED ก็จะเห็นผลเลยในทันทีวา่ ค่าไฟมันลดลง 2) ถ้าเศรษฐกิจ ไม่ดี คุณจะท�าธุรกิจยังไง ก็ตอ้ งขายให้มากขึน้ เพือ่ ให้มกี า� ไรกลับเข้ามา แต่ถา้ เกิด ขายมากไม่ได้ สิง่ ทีต่ อ้ งท�าคือ ลดค่าใช้จา่ ย เพือ่ ให้ตน้ ทุนน้อยลง ก�าไรจะได้เกิดขึน้ แล้วสิ่งที่สัมผัสง่ายที่สุดตอนนี้คือ LED อันนี้คือการเติบโตของ LED ซึ่ง ณ ตอนนี้ยังโชคดีอยู่ แต่ภายในปีหน้า เทรนด์ของ LED จะเปลี่ยนแล้ว เราจะพัฒนายังไงมันก็ตันอยู่แค่นี้ สิ่งที่จะต้องท�า คือ จะต้องแข่งขันกันที่คุณภาพของชิฟดีขึ้น วัตต์น้อยลง ให้แสงมากขึ้น แต่ราคา ไม่ได้เปลี่ยน ฉะนั้นเทรนด์ของ LED ก็จะไปทางโซลูชั่นมากขึ้น เช่น เป็น IOT เป็น อะไรต่างๆ เพื่อให้ตลาดโตมากขึ้น การผนวกเอาโซลูชั่นต่างๆ มาใช้กับ LED เราได้เริ่มท�ามาหลายปีแล้ว เช่น การเอาเซ็นเซอร์ไปติดในหลอดไฟ ในกรณีทตี่ อ้ งเปิดไฟ 24 ชม. ถ้าไม่มคี น แสงไฟ ก็จะหรี่ลง แต่ถ้ามีคนมา เซ็นเซอร์จับได้ ไฟก็จะสว่างขึ้น นอกเหนือจากนั้นก็มี การพัฒนาออกไปเรือ่ ยๆ ส่วนในเรือ่ งการติดตัง้ ก็ไม่ได้ยากอย่างทีค่ ดิ เพราะเราใช้ ตัวที่เรียกว่า Retro Flex คืออะไรก็แล้วแต่ที่เป็นของเดิม เราไม่ยุ่ง เราเอาทั้งหมด ใส่บนหลอดเรา เราก็ใช้ Housing เดิมใส่ได้เลย ไม่ต้องรื้อของเก่ามาติดตั้งใหม่ สะดวกสบาย ใครๆ ก็ติดตั้งเองได้
หลอด LED ช่วยอะไรใน Green Building
ในเรื่อง Green Building จริงๆ แล้วค�ากว่า Green ก็มีมาตรฐานอยู่หลาย เรื่อง ทั้งไฟฟ้า น�้า และตัวอาคารเอง แต่ถ้าพูดถึงเรื่องไฟ อันดับแรกต้องเปลี่ยน หลอดไฟกันก่อนเลย LED ช่วยในเรื่องใช้แล้วเย็น ถ้าเปิดหลอดปกติพอเปิดไป นานๆ จะร้อนมากขึน้ แต่ LED จะเย็น เปิดแล้วติดเลยไม่ตอ้ งรอ อีกอย่าง ในไฟฟ้า มีตวั หนึง่ เรียกว่า Power Factor คือการใช้พลังงานทีส่ มบูรณ์ อย่างถ้า Input เข้าไป 1 วัตต์ ออกกลับมา 1 วัตต์ ถือว่าพลังงานสมบูรณ์ ซึง่ ในหลอดนีออน Input เข้าไป 1 วัตต์ Power Factor ออกมาแค่ 0.4-0.5 เท่านั้น ใน LED ราคาถูก ก็ 0.5 เช่นกัน นัน่ เท่ากับว่า ก�าลังของแสงสว่าง ความคุม้ ค่า หายไปครึง่ หนึง่ แต่มาตรฐานประเทศ อยู่ที่ 0.85 เขายอมให้เสียหายได้แค่ 15% ซึ่งการออกมาตรการตรงนี้ เพื่อคุม Power Factor ให้ดี “ถ้าใช้หลอดนีออน 1 หลอด คุณจ่ายค่าพลังงานสองเท่า คุณต้องการแสง 1 ยูนิต คุณต้องจ่ายสองเท่าตลอด LED ของ NEX จะอยู่ที่ 0.9 ฉะนั้นถ้าถามเรื่อง พลังงาน Green นีก่ ค็ อื ใช่เลย คือการได้พลังงานบริสทุ ธิก์ ลับมาเกือบเต็ม นอกจาก หลอดไฟแล้ว เรายังมีนวัตกรรมอืน่ ๆ แฝงมาเพือ่ การลดใช้พลังงาน เช่น ถ้าเกิดไฟดับ กะทันหัน แล้วไฟติดขึน้ มาพร้อมกัน ค่าพีคจะสูงมาก แต่ถา้ มาใช้บอ็ กซ์ควบคุมของ เรา จะมีการควบคุมให้เปิดทีละเฟส ก็ไม่ลอสในพลังงาน อาคารก็จะ Green ขึ้น” อัศพล กล่าวทิ้งท้าย
เตรียมพบกับ NEX Innotech ได้ที่งานประชุมวิชาการและนิทรรศการนานาชาติ IEEE PES GTD ASIA 2019 ในวันที่ 21-23 มีนาคม 2019 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา 19
GreenNetwork4.0 November-December 2018
AUTO
Challenge กองบรรณาธิการ
เปลี่ยนรถที่บ้าน เป็นยานยนต์ไฟฟ้า ได้จริงหรือ?
กระแสของรถยนต์ไฟฟ้ำ (Electric Vehicle : EV) ยังคงมาแรงอย่างฉุดไม่อยู่ แต่ดว้ ยเทคโนโลยีรถยนต์ EV ในปัจจุบนั ยังมีราคาสูง และต้องน�าเข้าจากต่างประเทศ จึงท�าให้การทีจ่ ะเป็นเจ้าของรถ EV ออกใหม่สกั คัน อาจเป็นเรือ่ งยากส�าหรับคนไทย ส่วนใหญ่ ด้วยเหตุนี้ กำรไฟฟ้ำฝ่ำยผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จึงจับมือกับ ส�ำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) ร่วมกันท�าโครงกำร วิจัยดัดแปลงรถเก่ำให้เป็นรถ EV โดยมุ่งลดต้นทุนในการดัดแปลงรถยนต์ไม่เกิน 200,000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ รวมถึงพัฒนาต้นแบบภาคสนามชุดอุปกรณ์ดดั แปลง (Kit) พร้อมแบบทางวิศวกรรม (Blueprint) ระหว่างปี พ.ศ. 2560-2563 เมือ่ ไม่นานมานี้ กฟผ. ก็ได้รบั มอบรถยนต์ไฟฟ้า กฟผ.-สวทช. (i-EV) จาก โครงการวิจยั รถไฟฟ้าดัดแปลง ระยะที่ 2 ร่วมกับ สวทช. ทีพ่ ฒ ั นาให้สามารถวิง่ ได้ ระยะทาง 200 กิโลเมตรต่อการชาร์จ 1 ครัง้ ใช้ตน้ ทุนดัดแปลง 200,000 บาท และ ตัง้ เป้าต่อไปว่า ภายในปี พ.ศ. 2563 จะสามารถจัดท�าพิมพ์เขียวต้นแบบและขยายผล เชิงพาณิชย์ได้ วิบูลย์ ฤกษ์ศิระทัย ผู้ว่ำกำรกำรไฟฟ้ำฝ่ำยผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ซึง่ เป็นประธานในพิธรี บั มอบรถยนต์ไฟฟ้า กฟผ.-สวทช. (i-EV) จากโครงการวิจยั พัฒนาชุดประกอบรถไฟฟ้าดัดแปลงและคู่มือการดัดแปลง (EV Kit & Blueprint Project) ระหว่าง กฟผ. และส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยมี ดร.ณรงค์ ศิรเิ ลิศวรกุล ผูอ้ า� นวยการ สวทช. เป็นผูส้ ง่ มอบ ได้กล่าวว่า กฟผ. เล็งเห็นถึงความส�าคัญของยานยนต์ไฟฟ้าที่จะเข้ามามีบทบาทในอนาคต อีกทั้งรถที่ผ่านการใช้งานมานานแล้วอาจจะปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มีผลกระทบ ต่อสิง่ แวดล้อม กฟผ. จึงมุง่ มัน่ ผลั ก ดั น โครงการวิ จั ย รถไฟฟ้าดัดแปลงให้เกิด ผลส�าเร็จ เพื่อส่งเสริมให้ ประเทศไทยสามารถพัฒนา รถยนต์ไฟฟ้าใช้เองได้โดย ไม่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศ พร้อมต่อยอด อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ที่ มี ศั ก ยภาพของประเทศสู ่ อุตสาหกรรมยานยนต์สมัย ใหม่ สนองนโยบายของ รั ฐ บาลที่ ส นั บ สนุ น ให้ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง การผลิตยานยนต์ไฟฟ้า ของภูมภิ าคในอนาคต โดย 20
รถยนต์ไฟฟ้า กฟผ.-สวทช. (i-EV) ที่รับมอบเป็นรถยนต์ยี่ห้อ Nissan Almera ซึ่ง ถือเป็นรถยนต์ไฟฟ้าดัดแปลงต้นแบบคันที่ 1 ในโครงการวิจยั รถยนต์ไฟฟ้าดัดแปลง ระยะที่ 2 จากจ�านวนรถยนต์ไฟฟ้าดัดแปลง ทั้งหมด 4 คัน หลังประสบผลส�าเร็จ ในการพัฒนารถยนต์ Honda Jazz เป็นรถยนต์ไฟฟ้าดัดแปลงต้นแบบรุน่ แรก จาก โครงการวิจยั ยานยนต์ไฟฟ้า ระยะที่ 1 และสามารถน�ามาใช้งานได้จริงเมือ่ ปีทผี่ า่ นมา ซึ่งโครงการวิจัยนี้ มุ่งพัฒนาดัดแปลงรถยนต์เก่าที่มีอายุการใช้งานมานานแล้ว ให้เป็นรถยนต์ไฟฟ้าโดยใช้ชดุ อุปกรณ์ดดั แปลง (EV Kit) ซึง่ ถูกพัฒนาต้นแบบและ ก�าหนดค่าอัตโนมัตติ า่ งๆ ไว้เรียบร้อยแล้ว ท�าให้สามารถดัดแปลงเป็นรถยนต์ไฟฟ้า ได้ง่ายขึ้น ใช้เวลาน้อยลง และมีต้นทุนดัดแปลงถูกลงไม่เกินคันละ 200,000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ ซึ่งถูกกว่ารถยนต์ไฟฟ้าน�าเข้าที่ปัจจุบันยังมีราคาสูงถึงคันละ 3-4 ล้านบาท
ทัง้ นี้ ในปี พ.ศ. 2563 กฟผ. ตัง้ เป้าการพัฒนา ให้เกิดศูนย์บริการดัดแปลงรถไฟฟ้า และถ่ายทอด เทคโนโลยีพร้อมพิมพ์เขียวให้กับบริษัทรถยนต์และ อู่ติดตั้ง เพื่อน�าไปขยายผลในเชิงพาณิชย์ให้มีระดับ ราคาที่ประชาชนเป็นเจ้าของได้ วิบูลย์ กล่าว ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) กล่าวว่า กฟผ. กับ สวทช. มีความตัง้ ใจร่วมกันในการ ส่งเสริมให้เกิดการวิจัยและพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าดัดแปลง (Modified EV) ส�าหรับ ประเทศไทย สวทช.โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ส่งมอบรถยนต์ Nissan Almera ขนาดเครื่องยนต์ 1200 ซีซี ที่พัฒนา และดัดแปลงให้เป็นรถยนต์ไฟฟ้า มีก�าลังส่งออกสูงสุดของมอเตอร์ไฟฟ้าที่ 61.86 กิโลวัตต์ ซึ่งใช้เวลาในการชาร์จแบตเตอรี่จนเต็มประมาณ 12-15 ชั่วโมง ณ เครื่องอัดประจุแบบ Normal Charge หรือที่เราเห็นทั่วไป อย่างไรก็ตาม เมื่อสิ้นสุดโครงการจะสามารถอัดประจุแบบเร็วด้วยไฟฟ้า 3 เฟส (Fast Charge) โดยใช้เวลาอัดประจุเพียง 2-3 ชัว่ โมงเท่านัน้ ความเร็วสูงสุดไม่เกิน 160 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง วิ่งได้ในระยะทางประมาณ 150-200 กิโลเมตรต่อการชาร์จแบตเตอรี่ 1 ครัง้ (ด้วยการวิง่ ความเร็วเฉลีย่ 90 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง) สวทช. มีความยินดีอย่างยิง่ ที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนอนาคตรถยนต์ไฟฟ้าของประเทศไทยผ่าน การวิจัยและพัฒนามาอย่างเข้มข้นจนสามารถน�ามาใช้งานได้จริงบนท้องถนน นอกจากนี้ สวทช.ยังพร้อมเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับผู้ที่สนใจการพัฒนารถยนต์ที่ใช้ แล้วมาดัดแปลงเป็น “รถยนต์ไฟฟ้าดัดแปลง” ต่อไป เพื่อลดการพึ่งพาเทคโนโลยี ต่างประเทศและลดมลภาวะเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
GreenNetwork4.0 November-December 2018
GREEN เปมิกา สมพงษ์
เอนอี ซ : เทคโนโลยีเอนไซม์รักษ์โลก ทดแทนสารเคมี ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ ในปัจจุบนั คงไม่มีใครปฏิเสธได้วา่ กระแสอนุรักษ์นิยมสิง่ แวดล้อมเป็นสิง่ ที่ ผูส้ นใจในวงกว้าง และมีแนวโน้มจะขยายมากขึน้ เรือ่ ยๆ เนือ่ งจากผลกระทบทีเ่ กิด ขึน้ จากการท�าลายสิง่ แวดล้อมมีให้ทกุ คนเห็นอย่างชัดเจนตลอดมา ดังนัน้ การพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่ให้เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมจึงเป็นส่วนหนึง่ ทีส่ ามารถตอบสนองความ ต้องการของผู้บริโภคที่มีความรู้สึกรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมได้ อุตสาหกรรมสิ่งทอ เป็นอีกอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีกระบวนการที่ใช้สารเคมี และพลังงานสูง ซึง่ ก่อให้เกิดมลภาวะและปัญหาต่อสิง่ แวดล้อมอย่างรุนแรง จึงได้ มีการค้นคว้าวิจยั เทคโนโลยีเอนไซม์ “เอนอีซ” (ENZease) ในอุตสาหกรรมสิง่ ทอ เพือ่ แก้ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ จะท�าให้ลดการใช้สารเคมี ประหยัดพลังงาน และเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ขั้นตอนแรกคือการผลิตเส้นใย ไปจนถึงขั้นตอนสุดท้ายคือ กระบวนการตกแต่งส�าเร็จในผ้าผืน ดร.ธิดำรัตน์ นิ่มเชื้อ นักวิจัย ห้องปฏิบัติ กำรเทคโนโลยีเอนไซม์ ศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและ เทคโนโลยีชีวภำพแห่งชำติ (BIOTEC) ผู้ค้นพบ เอนไซม์เอนอีซ กล่าวว่า “ส�าหรับเอนไซม์ตัวนี้ จุดเริม่ ต้นคือ เราอยากจะท�าให้กระบวนการทาง สิง่ ทอ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมมากขึน้ จึงใช้ความ เชีย่ วชาญทางด้านการใช้ประโยชน์จากเชือ้ จุลนิ ทรีย์ ในการที่จะผลิตเอนไซม์จากเชื้อจุลินทรีย์ขึ้นมา เพื่อทดแทนการใช้สารเคมีในการลอกแป้งและ ก�าจัดสิ่งสกปรกบนผ้าฝ้ายแบบขั้นตอนเดียว” “เอนอีซ” เป็นเอนไซม์ที่ผลิตได้จากการ หมักเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรโดยใช้จุลินทรีย์ที่คัดเลือกจากศูนย์ชีววัสดุ ประเทศไทย (Thailand Bioresource Research Center : TBRC) ซึ่งจุลินทรีย์นี้ สามารถสร้างเอนไซม์ได้ทั้งอะไมเลส และเพคติเนส ในเวลาเดียวกัน เรียกได้ว่า เป็น “เอนไซม์อจั ฉริยะ” ทีส่ ามารถท�างานได้ดใี นช่วงค่าพีเอช (pH) และอุณหภูมทิ ี่ ใกล้เคียงกัน คือ pH 5.5 และทีอ่ ณ ุ หภูมิ 50 C� ดังนัน้ จึงมีจดุ เด่นคือ ไม่สง่ ผลเสียต่อ คุณภาพความแข็งแรงของผ้า สามารถลอกแป้งและก�าจัดสิ่งสกปรกบนผ้าฝ้ายได้ พร้อมกันในขัน้ ตอนเดียวภายในเวลา 1 ชัว่ โมงเท่านัน้ ซึง่ ช่วยประหยัดเวลา ประหยัด พลังงาน ลดต้นทุนในการผลิต และช่วยรักษาสิง่ แวดล้อม นอกจากนี้ ยังช่วยในเรือ่ ง การปรับปรุงคุณภาพของผ้าฝ้ายให้มีคุณภาพสูงมากกว่าที่ใช้สารเคมี เนื่องจาก เอนไซม์เอนอีซจะท�าปฏิกริ ยิ าแบบจ�าเพาะเจาะจง ต่างจากสารเคมีทที่ า� ลายเส้นใยผ้า ซึ่งจะส่งผลให้ผ้ามีความแข็งแรง น�้าหนักลดลง และเนื้อผ้านิ่ม เหมาะสมส�าหรับ การสวมใส่ 21
ดร.ธิดำรัตน์ อธิบายถึงกระบวนการทอผ้ากับการใช้เอนไซม์ให้ฟังว่า ในกระบวนการทอผ้า โดยทั่วไปก็จะมีการลอกแป้ง การก�าจัดแวกซ์ไขมันออก ก่อนทีจ่ ะเอาไปย้อมสี พิมพ์ลาย เพราะถ้าไม่กา� จัดออก ผ้าก็จะไม่สามารถทีจ่ ะย้อมสี ติดได้ เพราะน�้าจะซึมผ่านไม่ได้นั่นเอง ในส่วนของแป้ง จะมาจากกระบวนการทอ ทีจ่ ะมีการลงแป้งทีเ่ ส้นด้ายเพือ่ เพิม่ ความเหนียว ไม่ให้เส้นด้ายขาดเวลาทอ แต่แป้ง ตัวนีจ้ ะไปรบกวนในเรือ่ งการย้อมสี พิมพ์ลาย จึงต้องก�าจัดออกก่อนเข้าสูก่ ระบวนการ ย้อม ส่วนตัวเส้นใยฝ้ายเอง ก็จะมีไขมันธรรมชาติหรือแวกซ์ตดิ มาอยูแ่ ล้ว ซึง่ ไขมัน กับแป้งเหล่านี้ จะเป็นตัวขัดขวางไม่ให้นา้� ซึมเข้าไปในเนือ้ ผ้าได้ ท�าให้ยอ้ มสีผา้ ไม่ตดิ เพราะฉะนั้นเราก็เลยคิดค้นเทคโนโลยีที่จะรวบสองขั้นตอนนี้ ให้มาอยู่ในขั้นตอน เดียวกัน เพราะปกติแล้ว ถ้าจะลอกแป้งก็จะใช้สารเคมีชดุ หนึง่ ก�าจัดแวกซ์กจ็ ะใช้สาร เคมีอกี ชุดหนึง่ เป็นสองขัน้ ตอน แต่ถา้ หากใช้เอนไซม์ตวั นี้ ก็จะรวบอยูท่ ขี่ นั้ ตอนเดียว นอกจากนี้ ยังไม่ต้องใช้อุณหภูมิสูงที่ 98 C� เหมือนวิธีปกติ ใช้เพียงประมาณ 50 C� ก็เพียงพอแล้ว ก็จะช่วยลดขัน้ ตอน ลดเวลา ประหยัดน�า้ ลดต้นทุนการผลิตโดยรวม ลงได้กว่า 50% และเป็นกระบวนการทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม อีกทัง้ ยังลดค่าบ�าบัด น�้าเสียได้อีกด้วย “เอนไซม์เอนอีซนีย้ งั สามารถน�าไปประยุกต์ ใช้ทดแทนกระบวนการผลิตผ้าฝ้ายแบบดั้งเดิม ได้ทันทีโดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรใดๆ และยังช่วยให้ผู้ประกอบการสิ่งทอสามารถเพิ่ม ก�าลังการผลิตผ้าฝ้ายต่อวันได้มากขึน้ อีกด้วย ดังนัน้ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเอนไซม์ดังกล่าวใน อุตสาหกรรมสิ่งทอจึงถือว่าเป็นหัวใจส�าคัญที่จะ ช่วยปฏิวัติกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมสิ่งทอ ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชนชาวไทยด้วยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีอย่างยั่งยืน และปัจจุบันเอนไซม์ตัวนี้ มีวางจ�าหน่ายเรียบร้อยแล้ว โดย บริษทั เอเชีย สตาร์ เทรด จ�ากัด หากผู้ใดสนใจก็สามารถติดต่อทาง บริษัทฯ ได้โดยตรง” ดร.ธิดำรัตน์ กล่าว ที่มำ : ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
GreenNetwork4.0 November-December 2018
GREEN
Building กองบรรณาธิการ
โครงการอาคารต้นแบบที่ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Energy Building) ซึ่งเป็นอาคารส�านักงานของกองสื่อสารองค์กร มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นอาคารที่มีแนวคิดปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ซึ่งมาจากภายนอกอาคาร เมื่อหักลบกับ ปริมาณไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้เองจากอาคาร คิดค�านวณในแต่ละรอบปีตอ้ งมีคา่ เท่ากับศูนย์ ซึ่งถือเป็นแนวทางการประหยัดพลังงานไฟฟ้าภายในอาคารได้สูงสุด โดยเบื้องต้น อาคารจะสามารถผลิตไฟฟ้าใช้เองได้ประมาณ 28,000 หน่วย/ปี เฉลีย่ 80 หน่วย/วัน หรือมีการผลิตไฟฟ้าได้มากกว่าปริมาณการใช้งานประมาณ 8% ทั้งนี้ อาคารต้นแบบฯ แห่งนี้ ได้ด�าเนินมาตรการเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ทีส่ า� คัญๆ อาทิ ปรับปรุงหลังคาอาคารเพือ่ ป้องกันความร้อน และติดตัง้ แผ่นโซลาร์ เซลล์เพื่อผลิตไฟฟ้า ติดตั้งฟิล์มลดความร้อน ปรับปรุงระบบปรับอากาศ ด้วย เครือ่ งปรับอากาศชนิดไฮบริด ทีม่ หี ลักการท�าความเย็นด้วยความร้อนจากรังสีของ แสงอาทิตย์ (Solar Cooling) ร่วมกับการใช้พลังงานไฟฟ้า ติดตั้งอุปกรณ์น�าแสง ธรรมชาติ (Skylight) มาผ่านตัวกรองรังสี UV และตัวกรองความร้อนไม่ให้เข้าสู่ อาคาร เป็นต้น ภายหลังการปรับปรุงโครงสร้างอาคารและปรับเปลีย่ นอุปกรณ์ดงั กล่าว แล้ว อาคารมีการใช้พลังงานลดลงถึง 40% รวมทั้งพลังงานที่ใช้จริงประมาณ 60% ยังได้มาจากระบบการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โดยอาคารของมหาวิทยาลัย ขอนแก่นนี้ ยังเป็นสถานที่ถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบด้านการใช้พลังงานสุทธิ เป็นศูนย์อีกด้วย เมื่อไม่นานมานี้ ดร.ศิริ จิระพงษ์พันธ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน พร้อมด้วยผูบ้ ริหารระดับสูงของกระทรวงพลังงาน เดินทางตรวจราชการในจังหวัด ขอนแก่น ซึง่ เป็นภารกิจส่วนหนึง่ ของการประชุมคณะรัฐมนตรีนอกสถานที่ โดยได้ เข้าเยีย่ มชมอาคารต้นแบบอนุรกั ษ์พลังงานใช้พลังงานเป็นศูนย์ เพือ่ ติดตามผลของ โครงการ 22
รศ.เพียรศักดิ์ ภักดี รองอธิการบดีฝา่ ยพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กล่าวว่า มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รวบรวมนักวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง หลายสาขาภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ประกอบด้วย อาจารย์ประจ�าภาควิชา วิศวกรรมเครือ่ งกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ นักวิจยั จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และได้รับการสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกทั้งภาครัฐ และเอกชนต่างๆ เพื่อพัฒนาปรับปรุงอาคารส�านักงานของกองสื่อสารองค์กร มหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้เป็นอาคารส�านักงานต้นแบบทีส่ ามารถใช้พลังงานไฟฟ้า สุทธิภายในอาคารเป็นศูนย์ อาคารดังกล่าวจะน�าพลังงานจากภายนอกเข้าอาคาร ลบกับพลังงานทีผ่ ลิต ได้เองแล้วมีคา่ เท่ากับศูนย์ สิง่ ทีช่ ว่ ยให้แนวคิดดังกล่าวส�าเร็จขึน้ อยูก่ บั องค์ประกอบ ส�าคัญสองส่วน ส่วนแรกคือ เทคโนโลยีการประหยัดพลังงานที่น�ามาใช้ในอาคาร เช่น เครือ่ งใช้ไฟฟ้าต่างๆ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง การออกแบบอาคาร และการจัดการ พลังงาน เป็นต้น ส่วนที่สอง คือ เทคโนโลยีการผลิตพลังงานที่ใช้ในอาคาร อาทิ การผลิตไฟฟ้าหรือความร้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ดร.ศิริ จิระพงษ์พนั ธ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า มหาวิทยาลัย ขอนแก่นได้ปรับปรุงอาคารเก่า ออกแบบอาคารให้ใช้พลังงานเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด ลดการใช้พลังงานจากฟอสซิล โดยติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ผลิตเป็นพลังงาน ไฟฟ้าใช้ในอาคาร ในช่วงกลางวันที่สามารถผลิตพลังงานได้เกินความต้องการจะ จ่ายพลังงานไปยังอาคารอืน่ ๆ ด้วย ขณะเดียวกัน ช่วงกลางคืน หรือไม่มแี สงอาทิตย์ ก็จ�าเป็นต้องใช้พลังงานจากภายนอก แต่เมื่อใช้พลังงานภายนอกลบกับพลังงานที่ ผลิตได้ในอาคารแล้วจะมีค่าเท่ากับศูนย์ อาคารต้ น แบบที่ ใ ช้ พ ลั ง งานสุ ท ธิ เ ป็ น ศู น ย์ เ ป็ น ความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น กับกองทุนเพือ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน ส�านักงานนโยบาย และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน สนับสนุนงบประมาณ 18 ล้านบาท เพือ่ ศึกษา พัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทีเ่ หมาะสมส�าหรับอาคารในประเทศไทย ถือเป็นอาคาร แรกและอาคารเดียวในประเทศไทย ณ ขณะนีท้ ใ่ี ช้พลังงานเป็นศูนย์ และจะเป็นอาคาร ต้นแบบ ให้กับอาคารอื่นทั่วทั้งประเทศต่อการออกแบบก่อสร้างอาคารให้การใช้ พลังงานเกิดประโยชน์สูงสุด ลดการพึ่งพาพลังงานจากฟอสซิล โดยมหาวิทยาลัย ขอนแก่นจะเป็นศูนย์กลางในการกระจายความรู้ออกไปในวงกว้าง
GreenNetwork4.0 November-December 2018
“The Ozonor”
GREEN
Educational Board Game ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมจัดเป็นอีกหนึ่งประเด็นหลักที่ทั่วโลก ต่างให้ความสนใจ ทัง้ ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศ หรือ แม้กระทั่งการเกิดขึ้นของภัยพิบัติ โดยปัจจุบัน ประเทศไทยได้อยู่ระหว่างการร่างยุทธศาสตร์ชาติ ด้านสิง่ แวดล้อม เพือ่ เป็นจุดเริม่ ต้นในการสร้างการรับรูเ้ กีย่ วกับประเด็นด้านสิง่ แวดล้อมของประชาชน อันก่อให้เกิดความตระหนัก (Awareness) ถึงสถานการณ์หรือปัญหาสิง่ แวดล้อมทีอ่ ยูร่ อบตัว และได้รบั ความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้อง (Knowledge) ซึง่ ทัง้ สองสิง่ นีส้ ามารถท�าให้เกิดการเปลีย่ นแปลงทัศนคติ (Attitude) ด้านสิง่ แวดล้อมของประชาชนในประเทศ และท้ายทีส่ ดุ จะน�าไปสูค่ วามรูส้ กึ เป็นเจ้าของ (Ownership) ที่จะท�าให้ทุกคนตื่นตัวและร่วมกันดูแลสิ่งแวดล้อม
Article รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, นวดล ทองตาล่วง, เธียรสิทธิ กิตติจิตต์, กริชชาติ ว่องไวลิขิต, ศุภรดา วิบูลยารุณ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหนึง่ ในสถาบันทีใ่ ห้ความสนใจและ พัฒนาเกมกระดานเพื่อใช้เป็นสื่อกระจายความรู้ในด้านต่างๆ สู ่ สั ง คม ประกอบกั บ ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากกรมโรงงาน อุตสาหกรรม ธนาคารโลก และธนาคารออมสิน ในการจัดชุด กิจกรรม “เรือ่ งโอโซน เรือ่ งของเรา” เพือ่ สร้างความตระหนักและ ความเข้าใจเกีย่ วกับสถานการณ์ปญ ั หาชัน้ โอโซนถูกท�าลาย จึงเป็น ที่มาของการพัฒนาเกมกระดานเพื่อการศึกษาในประเด็นด้าน สิ่งแวดล้อมขึ้นมาในนาม “The Ozonor” “The Ozonor” ถือเป็นเกมกระดานด้านสิง่ แวดล้อมเกมแรก ของประเทศไทย ที่ต้องการให้ประชาชนตระหนักถึงผลกระทบ ของการท�าลายชัน้ โอโซน โดยเกมนีไ้ ด้จา� ลองสถานการณ์ให้ผเู้ ล่น สวมบทบาทเป็นเจ้าของนิคมอุตสาหกรรมที่ต้องบริหารจัดการ นิคมฯ ของตนเองให้เป็นทีย่ อมรับของคนในสังคม ในฐานะนิคมฯ ที่มีส่วนช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หรือก็คือได้รับ “Social Point” มากทีส่ ดุ ในระหว่างการเล่น ผูเ้ ล่นจะสามารถเลือกสร้างโรงงาน และซือ้ วัตถุดบิ เพือ่ ผลิตสินค้า ซึง่ การผลิตสินค้าจะมีผลกับรายได้ ระดับโอโซนของผูเ้ ล่น และระดับอุณหภูมขิ องโลกทีม่ ผี ลต่อผูเ้ ล่น ทุกคน โดยจะมีการเปิด “การ์ดภัยพิบตั ”ิ เมือ่ อุณหภูมโิ ลกเพิม่ ขึน้ และหากอุณหภูมิโลกเพิ่มสูงขึ้นถึง +4 องศาเซลเซียส เกมจะจบ โดยที่ไม่มีใครเป็นผู้ชนะ เปรียบเทียบได้กับการที่โลกของเราถึง ภาวะวิกฤติ ซึง่ ส่งผลกระทบกับทุกชีวติ บนโลก ฉะนัน้ ผูเ้ ล่นทุกคน จึงต้องค�านึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการยอมรับจาก สังคม ควบคู่ไปกับการสร้างรายได้ให้กับนิคมฯ ของตนเองด้วย
แนวคิดด้านสิ่งแวดล้อม 4.0 เพื่อเป็นการสร้างความตระหนักถึงสถานการณ์ต่างๆ รอบตัวที่จะน�าไปสู่การร่วมแรงร่วมใจ อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม สือ่ เป็นเครือ่ งมือหนึง่ ทีส่ า� คัญเป็นอย่างมาก นอกจากจะเป็นแหล่งทีเ่ ข้าถึงได้งา่ ย ของประชาชน สือ่ ยังสามารถสอดแทรกความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้อง ตัวอย่างของสือ่ ทีม่ สี ามารถสร้าง ความตระหนักได้เป็นอย่างดี เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หรือโซเชียลมีเดีย เป็นต้น นอกจากนี้ เกมกระดาน (Board Game) เป็นอีกสือ่ การเรียนรูร้ ปู แบบใหม่ทกี่ า� ลังได้รบั ความนิยม เนือ่ งจากมีการสอดแทรก ความรูค้ วบคูไ่ ปกับความสนุกสนานและเข้าถึงง่าย ท�าให้ผเู้ ล่นสามารถซึมซับเนือ้ หาทีผ่ สู้ ร้างเกมต้องการ จะสื่อได้อย่างไม่รู้ตัว ซึ่งในปัจจุบันวงการการศึกษาในหลายประเทศได้มีการพัฒนาเกมกระดาน ประเภทนีเ้ พือ่ ใช้เป็นสือ่ การเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์
เกมกระดาน “The Ozonor”
โดยผู้ที่สนใจศึกษาข้อมูล หรือรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับเกมกระดาน “The Ozonor” สามารถติดตามได้ทางบล็อก ของทีมผู้พัฒนา (https://ozonorboardgame.blogspot.com) หรือทาง QR Code ด้านล่างนี้ 23
GreenNetwork4.0 November-December 2018
GREEN
Scoop กองบรรณาธิการ
ถังหมักรักษ์โลก
...เปลี่ยนขยะให้เป็นประโยชน์
ปั จ จุ บั น ปั ญ หาขยะเป็ น เรื่ อ ง ที่ ถู ก หยิ บ ยกขึ้ น มาพู ด ถึ ง กั น มาก รวมไปถึงวิธีการจัดการแก้ไขปัญหา ขยะแต่ละประเภท ซึ่งส่วนใหญ่เรามัก จะพูดถึงปัญหาและการจัดการขยะ พลาสติก ซึง่ เป็นขยะทีย่ อ่ ยสลายยาก แต่ความจริงแล้วกว่าร้อยละ 50 ของ ขยะมูลฝอยทั้งหมด เป็นขยะมูลฝอย ประเภทสารอินทรีย์ เช่น เศษอาหาร เศษผัก ผลไม้ ทีแ่ ม้จะสามารถย่อยสลาย ได้เอง แต่ก็ต้องใช้เวลา และต้องมีวิธี จัดการทีเ่ หมาะสม ไม่เช่นนัน้ ก็จะกลาย เป็นแหล่งรวมเชื้อโรค ส่งกลิ่นเหม็น เกิดปัญหาต่อสังคมและสภาพแวดล้อม ตามมาอีกมาก
ถังหมักรักษ์โลก (Green Cone) นับเป็นทางเลือกใหม่ของการก�าจัด ของเสียที่แหล่งก�าเนิด ถูกคิดค้นขึ้นครั้งแรกในประเทศแคนาดา โดยมี วัตถุประสงค์ในการออกแบบและสร้างขึ้นเพื่อจัดการกับขยะอินทรีย์ที่เหลือ จากครัวเรือน เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเชื้อโรคหรือไปปนเปื้อนกับขยะอื่นๆ ที่ สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ตอ่ ได้ อีกทัง้ ยังได้ประโยชน์ในเรือ่ งของธาตุอาหาร ทีเ่ ป็นผลพลอยได้ใช้ในการปรับปรุงดิน ท�าให้ดนิ มีความเหมาะสมต่อการเจริญ เติบโตของพืช ที่ได้ชื่อว่า Green Cone เนื่องจากในต่างประเทศถังต้นแบบที่ จัดท�าออกจ�าหน่ายมีสเี ขียว และรูปร่างลักษณะของถังดังกล่าวจะมีลกั ษณะคล้าย ทรงกรวยของโคนไอศกรีม แต่อกี นัยหนึง่ แม้ไม่ใช่ถงั สีเขียวแต่มนั ก็ถกู ออกแบบ มาในการลดขยะอินทรีย์ในแนวเขียวๆ เช่นกัน
กระบวนการทำ�งานของถังหมักรักษ์โลกทำี่ถูกต้อง ตามหลักวิชาการ
วัสดุที่ใช้ในการท�าถังหมักรักษ์โลก จะประกอบด้วย 1. ตะกร้า 1 ใบ 2. ถังพลาสติก 2 ใบ (ขนาดเล็ก 1 ใบ และขนาดใหญ่ 1 ใบ)
วิธีการท�าถังหมักรักษ์โลก 1. คว�า่ ถังพลาสติกขนาดเล็กลงในตะกร้า โดยให้มคี วามลึกลงไปจากปากตะกร้า ประมาณ 5-10 เซนติเมตร โดยจะต้องเหลือช่องของตะกร้าขึน้ มาจากปากถัง ที่คว�่าลงไปประมาณ 2 ช่อง จากนั้นท�าการตัดก้นถังพลาสติกใบเล็กออก 2. คว�า่ ถังพลาสติกขนาดใหญ่ลงบนปากตะกร้าให้พอดี จากนัน้ น�าเชือกมาผูกมัด ให้ติดกัน ตัดก้นถังใบใหญ่ออกและส่วนที่ตัดออกน�ามาท�าเป็นฝาปิด การติดตั้งถังหมักรักษ์โลก 1. เลือกพืน้ ทีต่ ดิ ตัง้ ถังหมักรักษ์โลก โดยเลือกพืน้ ทีท่ มี่ แี สงแดดส่องถึงตลอดเวลา ไม่ควรอยู่ใต้ร่มเงาไม้ หรือแสงแดดร�าไร 2. ขุดหลุมให้มีขนาดใหญ่กว่าตะกร้า และมีความลึกมากกว่ารอยต่อของ ตะกร้าและถังพลาสติกใบใหญ่เมื่อวางลงไป 3. น�าถังหมักรักษ์โลกที่ท�าการประกอบเสร็จเรียบร้อยวางลงไปกลาง หลุมทีข่ ดุ ไว้ และกลบด้วยดินทีข่ ดุ ขึน้ มา โดยการกลบจะต้องกลบ แบบหลวมๆ ไม่อัดดินให้แน่น 4. จากนั้นก็น�าเศษอาหารที่เหลือจากครัวเรือนมาเททิ้งใส่ถัง โดย ระมัดระวังไม่ให้เศษอาหารตกเข้าไปในช่องระหว่างถังพลาสติก ใบเล็กและถังพลาสติกใบใหญ่
24
GreenNetwork4.0 November-December 2018
หลักการทำ�งานของถังหมักรักษ์โลก
ถังหมักรักษ์โลกเป็นการใช้ประโยชน์จากกลุ่มจุลินทรีย์ที่ อาศัยอยู่ภายในดินที่มีอยู่เดิม มาท�าหน้าที่ย่อยสลายสารอินทรีย์ แต่หากบริเวณใดเป็นดินเสือ่ มโทรมมีจลุ นิ ทรียต์ ามธรรมชาติอยู่ น้อย ก็อาจจะเพิ่มจุลินทรีย์ได้โดยการเติมขี้วัว หรือเติมน�้าหมัก ชีวภาพเข้าไปรองพื้นตระกร้าก่อนเทเศษอาหารได้ หลั ก การหมั ก จะเป็ น การหมั ก โดยกระบวนการของ จุลนิ ทรียแ์ บบใช้กา๊ ซออกซิเจนซึง่ จะท�าให้เกิดกลิน่ เหม็นน้อยมาก เมือ่ เทียบกับการหมักแบบอืน่ ๆ ดังนัน้ ก๊าซออกซิเจนจึงเป็นปัจจัย ส�าคัญทีส่ ดุ ส�าหรับถังหมักรักษ์โลก โดยการออกแบบถังจะมุง่ เน้น ให้เกิดการหมุนเวียนถ่ายเทของอากาศเพื่อให้ก๊าซออกซิเจน เดินทางเข้าสู่วัสดุหมักได้อย่างทั่วถึง โดยก๊าซออกซิเจนจะเข้าสู่ ถังหมักได้ 2 ช่องทาง คือ ผ่านช่องว่างของเม็ดดินทีก่ ลบลงไปอย่าง หลวมๆ รอบถังและลอดรูของตระกร้าเข้าสูว่ สั ดุหมักด้านล่าง และ ทางฝาปิดด้านบนผ่านเข้าไปในช่องว่างระหว่างถังเล็กและถังใหญ่ เมื่อแสงแดดส่องลงมาจะท�าให้อุณหภูมิของอากาศภายในถัง สูงขึ้น อากาศที่ถังด้านล่างจะยกตัวลอยสูงขึ้นด้านบน เกิดการ ดูดหมุนเวียนอากาศใหม่จากภายนอกเข้ามาแทนที่ ตัวถังจึงมี ออกซิเจนหมุนเวียนตลอดเวลา อีกทัง้ ช่องว่างระหว่างถังทัง้ 2 ใบ เป็นฉนวนอากาศป้องกันความร้อนได้ดี ช่วยให้อุณหภูมิภายใน ถังหมักไม่สงู จนเกินไป ท�าให้จลุ นิ ทรียท์ ที่ า� หน้าทีใ่ นกระบวนการ หมักยังคงมีชีวิตอยู่ได้ นอกจากนี้สัตว์ที่เป็นผู้ย่อยสลายขนาดเล็ก เช่น กิ้งกือ และไส้เดือนดินยังสามารถเคลื่อนที่ผ่านรูตะแกรงของตระกร้า เพื่อเข้าไปย่อยสลายเศษอาหารได้อีกทางหนึ่งด้วย ผลผลิตที่ได้ จากถังหมักรักษ์โลก คือ ธาตุอาหารต่างๆ ทีเ่ กิดจากกระบวนการ ย่อยสลายของจุลินทรีย์และสัตว์ในชั้นดินชนิดต่างๆ จะกระจาย แพร่ลงสู่ดินบริเวณรอบๆ ถังหมัก ท�าให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้นการปลูกผักบริเวณ รอบๆ ถังหมักรักษ์โลก จึงเป็นการปลูกต้นไม้โดยที่ไม่ต้องใส่ปุ๋ย อีก เพียงแค่เราน�าเศษอาหารเทเข้าไปในถังหมัก อาหารเหล่านัน้ ก็จะเกิดกระบวนการหมัก และเติมธาตุอาหารเข้าไปในดินโดย อัตโนมัติ ซึง่ ปัจจุบนั หลายหน่วยงานได้สง่ เสริมการใช้ถงั หมักรักษ์ โลกอย่างแพร่หลาย แต่หลายแห่งยังไม่เข้าใจในหลักการท�างาน ที่ถูกต้องท�าให้ถังที่ประดิษฐ์ขึ้นท�างานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ซึ่งปัจจุบันศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี ได้จัดท�าจุดสาธิตถังหมักรักษ์โลกต้นแบบที่ถูกต้องตามหลัก วิชาการไว้ในพืน้ ทีแ่ ละได้ทดลองใช้งานจริงอยูใ่ นปัจจุบนั โดยผูท้ สี่ นใจ สามารถเข้ามาเรียนรู้หรือขอดูต้นแบบถังหมักรักษ์โลกชุดนี้ได้
25
How the Green Cone Works
Over 90% of the waste material in your Green Cone will be absorbed as water by the soil. จะเห็นได้วา่ การท�างานของถังหมักรักษ์โลก เป็นการเปลีย่ นภาระให้เป็นมูลค่า รวมทัง้ สามารถช่วยลดปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในระบบการจัดการขยะมูลฝอย ลดค่าใช้จา่ ยในการด�าเนินการ จัดการขยะมูลฝอย และลดปริมาณขยะมูลฝอยทีต่ อ้ งน�าไปก�าจัดลง ท�าให้มกี ารใช้พนื้ ทีฝ่ งั กลบ ซึง่ เป็นสถานทีส่ ดุ ท้ายในการก�าจัดขยะมูลฝอยน้อยลง และสามารถลดปัญหาสังคม เศรษฐกิจ และสิง่ แวดล้อมทีต่ ามมาได้อกี มาก แต่ไม่วา่ จะเป็นการใช้ถงั หมักรักษ์โลก หรือใช้วธิ กี ารก�าจัด ขยะแบบใดๆ ก็ตาม จะไม่สามารถท�าได้สา� เร็จเลย หากไม่เริม่ ตัง้ แต่ตน้ ทาง ฉะนัน้ สิง่ แรกทีค่ วร ร่วมมือร่วมใจกันท�าให้ได้ คือ การแยกขยะจากครัวเรือนของทุกบ้านให้ได้เสียก่อน ซึ่งเชื่อว่า หากทุกคนเห็นความส�าคัญของปัญหาทีเ่ กิดขึน้ และร่วมมือกัน เริม่ จากตนเองก่อน แล้วปลายทาง ก็จะจัดการปัญหาได้ไม่ยากเลย ที่มา : ศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี
GreenNetwork4.0 November-December 2018
GREEN
World กองบรรณาธิการ
องค์การสหประชาชาติ (UN) ประมาณการว่าในปี ค.ศ. 2030 ประชากรโลกจะเพิ่มจ�านวนเป็น 8,500 ล้านคน นั่นหมายความว่า จ�านวนอาหารที่ผู้คนทั่วโลกบริโภคต้องทวีจ�านวนเพิ่มขึ้นหลาย เท่าตัว อุตสาหกรรมอาหารจึงถือเป็นกุญแจหลักส�าคัญ ที่จะ ชี้วัดความยั่งยืนของมนุษย์ในอนาคต จึงมีการรณรงค์ให้ อุ ต สาหกรรมอาหารในอนาคตเน้ น กระบวนการผลิ ต เพื่อสร้างความยั่งยืน ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) หากแต่ปัจจุบันอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ที่มีการผลิตยังไม่ตอบโจทย์ความยั่งยืน ใช้ทรัพยากรเกิน ความต้องการ เกิดของเสียก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สาเหตุ ใหญ่ทที่ า� ให้โลกใบนีแ้ ปรปรวนเพราะขาดความสมดุล ทีส่ า� คัญ การผลิตแบบอุตสาหกรรมอาหารในแบบเดิม กลับไม่ได้สร้าง ผลิตภัณฑ์อาหารและเครือ่ งดืม่ ทีป่ ลอดภัย มีคณุ ค่าอาหาร สร้างเสริม สุขภาพที่ดีให้กับมนุษย์ในยุคปัจจุบัน
The Future of Food = กระบวนการ ผลิตอาหารที่ย่งั ยืน
มาร์ค บัคลีย์ ผู้ก่อตั้งและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร Adaptive Nutrition Joint ในฐานะผู้ก่อตั้งบริษัทผลิตอาหารและเครื่องดื่มที่ เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม 100% ผูท้ มี่ คี วามปรารถนาจะเปลีย่ นแปลงโลก ทีอ่ าจจะก�าลังเดินไปสูท่ างตัน โดยมีวสิ ยั ทัศน์ในการด�าเนินธุรกิจภายใต้ แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) คือ ต้องปรับเปลีย่ นไป สู่โลกที่ดีกว่า สวยงามกว่า โดยที่ผู้คนมีอาหารดีกิน สุขภาพดี หายใจ รับอากาศอันบริสุทธิ์ มีอายุยืนยาว ตามมาด้วยสังคมที่ดี มาร์ค ได้น�าเรื่องของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เข้ามาช่วยในเรือ่ งของกระบวนการผลิตและการบริหารธุรกิจ และเป็น ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนให้ค�าปรึกษาด้านระบบนวัตกรรม การรีไซเคิล บรรจุภัณฑ์ ออร์แกนิก และผลิตภัณฑ์
26
มาร์ค กล่าวถึงเทรนด์อาหารแห่งอนาคตว่า “ปกติเวลาที่คนทั่วไปพูดถึงเทรนด์ อาหารโลก หลายคนมักพูดถึงเทรนด์การรับประทานอาหารวีแกน กีโต มังสวิรตั ิ ออร์แกนิก หรือการบริโภคอาหารท้องถิน่ ตามฤดูกาล แต่ผมคิดว่าอาหารแห่งอนาคต (The Future of Food) ควรหันมาให้ความส�าคัญกับการคิดค้นกระบวนการผลิตทีย่ งั่ ยืนมากกว่าประเภท ของอาหาร และควรท�าในลักษณะเศรษฐกิจหมุนเวียน ทีย่ งั ท�าให้แร่ธาตุและวิตามินของ อาหารยังอยูค่ รบ สูญเสียทรัพยากรให้นอ้ ยทีส่ ดุ และหาทางน�าทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่” ทัง้ นี้ มาร์ค ชีว้ า่ อาหารถือเป็นปัจจัยทีจ่ า� เป็นมากทีส่ ดุ ซึง่ อยูใ่ ต้ฐานพีระมิด หากคน ในสังคมผลิตอาหารเพือ่ ความยัง่ ยืนแล้วก็จะกลายเป็นพืน้ ฐานส�าคัญทีจ่ ะท�าให้เกิดความ ยั่งยืนด้านอื่นๆ ตามมา
GreenNetwork4.0 November-December 2018
ความยั่งยืนเริ่มต้นจาก เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
“ก่อนอื่นทุกคนต้องเข้าใจก่อนว่า Circular Economy คืออะไร Circular Economy คือเศรษฐกิจแบบระบบปิด (Close Loop) นัน่ หมายถึง การท�าให้ระบบเศรษฐกิจไม่มขี ยะ ขับเคลือ่ น เศรษฐกิจด้วยพลังงานหมุนเวียน การให้ความส�าคัญต่อประสิทธิภาพ ของกระบวนการผลิต และตั้งราคาที่สะท้อนถึงต้นทุนที่แท้จริง ซึง่ Circular Economy สามารถท�าได้ทงั้ ในระดับบุคคล ภาคธุรกิจ สังคม ประเทศ และน�ามาประยุกต์ได้ทงั้ ทุกภาคส่วน ในระดับบุคคล แค่ใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า และท�าให้เกิดการสูญเสียให้นอ้ ยทีส่ ดุ ภาคธุรกิจ ถือเป็นความรับผิดชอบทีจ่ ะต้องคิดแทนผูบ้ ริโภคด้วย การหาวิธที ที่ า� ให้สนิ ค้าหรือบรรจุภณ ั ฑ์ทตี่ นผลิตนัน้ ย่อยสลายให้ ได้มากที่สุด หรือน�ามากลับมาใช้ใหม่อย่างไรได้บ้าง เช่น ผู้ผลิต เครือ่ งดืม่ อาจจะใช้บรรจุภณ ั ฑ์ขวดแก้วแทนพลาสติก โดยใช้นา�้ ฝน ในการล้างบรรจุภัณฑ์ที่น�ากลับมาบรรจุใหม่ หรือการออกแบบ บรรจุภัณฑ์เฉพาะที่สามารถน�าไปเติมเครื่องดื่มได้ตามตู้กดเมื่อ ต้องการ”
มาร์ค ยกตัวอย่าง กระบวนการผลิตอาหารตามแนวคิด Circular Economy ว่าที่ผ่านมาบริษัทมีกระบวนการผลิตที่เป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อม ซึง่ ถูกคิดค้นขึน้ เองเป็นแห่งแรก เช่น การท�า การเกษตรแนวดิ่ง (Vertical Farming) ด้วยการน�าน�้าฝนมาใช้ รดน�า้ ต้นไม้ นับได้วา่ เป็นการท�าการเกษตรระบบปิดทีน่ า� ทรัพยากร ทีส่ ามารถน�ามาใช้ใหม่ได้มาใช้ในการผลิตอาหาร โดยไม่ตอ้ งกังวล กับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงแปรปรวนไปตลอดทั้งปี ท�าให้ สามารถปลูกผลิตผลการเกษตรได้ถงึ 30 ครัง้ ถ้าเทียบกับการท�า การเกษตรแบบดั้งเดิมที่พึ่งพาธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีกระบวนการผลิตทางเลือกอีกมากมาย ที่เข้ามาช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนอาหารอันเกิดจากวิธีการ ท�าการเกษตรหรือประมงที่ไม่มีความยั่งยืน (Over Fishing) ที่มี การน�ามาท�าแล้วในหลายประเทศ เช่น การปลูกพืชควบคู่ไปกับ การเลี้ยงปลา (Aquaponics) การท�าฟาร์มแนวดิ่ง (Vertical Farming) เนือ้ สัตว์เทียม (Memphis Meats) และการผลิตเนือ้ สัตว์ จากพืช (Plant-Based Meat)
27
Circular Economy กับอุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทย
ส�าหรับแนวทางการประยุกต์ Circular Economy มาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและ เครือ่ งดืม่ ในประเทศไทยนัน้ มาร์ค ได้ยกตัวอย่างจากเวที World Economic Forum ทีม่ นี วัตกรรม เข้ามาเปลี่ยนแปลงการกระบวนการผลิตอาหารในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ซึ่งสามารถน�ามา ประยุกต์ในประเทศไทยได้ คือ Safety Net เป็นนวัตกรรมอวนที่มีแสงสเปกตรัมเฉพาะที่ถูก ออกแบบมาเพื่อดึงดูดประเภทปลาที่ผู้ประกอบการต้องการ ช่วยป้องกันปลาประเภทอื่นที่ไม่ ต้องการติดอวนขึ้นมา “ปัญหาการประมงทุกวันนี้ คือ ชาวประมงใช้อวนตาถีท่ ที่ า� ให้สตั ว์ทะเลทัง้ ทีต่ อ้ งการและ ไม่ต้องการติดอวนขึ้นมา และชาวประมงจะเลือกเฉพาะที่ตนเองต้องการเท่านั้น และทิ้งสัตว์ ทะเลชนิดอื่นที่ไม่ต้องการลงทะเล ซึ่งสัตว์เหล่านั้นก็จะตายโดยไม่ได้ถูกน�ามาใช้ประโยชน์ แต่ Safety Net เป็นนวัตกรรมใหม่ที่ใช้สีที่เป็นสเปกตรัมต่างๆ โดยมีการศึกษากันว่าสปีชีส์ ไหนมองเห็นแสงสีอะไร ก็ใช้แสงสีนนั้ ล่อให้มาติดอวนอีกด้านหนึง่ ประเทศไทยเป็นประเทศที่ ฝนตกชุก และมีอากาศชื้น ควรน�าสิ่งเหล่านี้มาใช้ประโยชน์ได้ เช่น เก็บความชื้นในอากาศใน เมืองมาแปรเป็นขั้นตอนหนึ่งในการผลิตเครื่องดื่มได้” รวมถึงการเสนอแนวทางปฏิรูปกระบวนการผลิตอาหารในระดับโลก เพราะทุกวันนี้ ในทุกๆ การผลิตอาหารและเครื่องดื่มจะมีของเหลือจากการผลิตมากถึง 1 ใน 3 ของเหล่านี้ ถูกทิง้ ไปโดยไม่ถกู กลับน�ามาใช้ประโยชน์ และวิธที ผี่ บู้ ริโภคทิง้ มี 3 ทางด้วยกันคือ ฝังกลบ เผา และทิง้ ลงน�า้ ซึง่ นอกจากจะท�าให้ผนื ดินขาดออกซิเจน ก่อให้เกิดแก๊สมีเทนทีท่ า� ให้เกิดความร้อน มากยิ่งกว่าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แล้ว ยังเท่ากับว่าโลกสูญเสียทั้ง 2 รูปแบบคือ ทรัพยากร ธรรมชาติ และพลังงานของคนที่ผลิต/ท�าการตลาดพลังงานที่ใช้ในการผลิตและขนส่ง สุดท้าย มาร์ค ให้แง่คิดอย่างน่าสนใจว่า ทุกวันนี้ผู้ผลิตอาหารและเครื่องดื่มส่วนใหญ่ มักมีวธิ คี ดิ เพือ่ ลดต้นทุนการผลิตให้ได้มากทีส่ ดุ แต่นนั่ อาจหมายถึงการเข้าไปเพิม่ ต้นทุนด้าน สิ่งแวดล้อมให้กับโลกหลายเท่า “ดังนัน้ สิง่ ทีส่ า� คัญทีส่ ดุ คือ การหากระบวนการผลิตทีย่ งั่ ยืนซึง่ ผมยอมรับว่ามันค่อนข้าง มีความซับซ้อนและเป็นระบบซึ่งมีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ได้ แต่หากทุกคนหาเจอแล้ว นอกจากจะสร้างการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ยังช่วยลดต้นทุนการผลิตได้ดว้ ย พิสจู น์ได้จากผลิตภัณฑ์ ทีบ่ ริษทั ฯ ของผมได้ผลิตขึน้ มา พบว่าวิธกี ารผลิตเพือ่ ความยัง่ ยืนไม่ได้ใช้ตน้ ทุนมากเช่นในอดีต” ที่มา : งานสัมมนา Global Business Dialogue 2018 : Innovating the Sustainable Future จัดโดย สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA) ในหัวข้อ “Circular Economy: The Future of Food”
GreenNetwork4.0 November-December 2018
GREEN
Factory เปมิกา สมพงษ์
อินโดรามา เวนเจอร์ส
ครบเครื่องเรื่อง
“รีไซเคิล”
ริชาร์ด โจนส์ รองประธานอาวุโสและหัวหน้าฝ่ายสือ่ สาร องค์กร ความยั่งยืน และทรัพยากรบุคคล บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ากัด (มหาชน) กล่ำวถึงกระบวนกำรผลิตเม็ดพลำสติก รีไซเคิลของทำงโรงงำนว่ำ
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ากัด (มหาชน) หรือ ไอวีแอล ผู้ผลิตเคมีภัณฑ์ชั้นน�ำ ระดับโลก ทั้ง PET เส้นใยโพลีเอสเตอร์ เส้นใยจำกธรรมชำติและวัตถุดิบส�ำหรับกำรใช้งำน ในอุตสำหกรรมทีห่ ลำกหลำย ได้กำ้ วเข้ำสูธ่ รุ กิจรีไซเคิลในปี พ.ศ. 2554 และมีโรงงำนแปรรูป ขวด PET ที่ใช้แล้วเป็นเกล็ด เม็ดพลำสติกรีไซเคิล (rPET) และเส้นด้ำยโพลีเอสเตอร์รีไซเคิล อยูด่ ว้ ยกันหลำยแห่งทัว่ โลก หนึง่ ในนัน้ คือ บริษทั อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ จ�ากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นโรงงำนรีไซเคิลในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 35/8 หมู่ 4 ต�ำบลขุนแก้ว อ�ำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โรงงานอินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส้ ์ แรกเริม่ มีกำ� ลังกำรผลิตติดตัง้ 40,000 ตัน ต่อปี เป็นกำรลงทุนครัง้ แรกของบริษทั ฯ ในอุตสำหกรรมโพลีเอสเตอร์ โรงงำนแห่งนีร้ บั วัตถุดบิ หลัก PTA จำกโรงงำนอินโดรำมำ ปิโตรเคมี และโรงงำนทีพที ี ปิโตรเคมิคอลส์ ทัง้ นี้ ในปี พ.ศ. 2554 บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินกำรปรับปรุงกำรผลิตเสร็จสมบูรณ์ ท�ำให้มกี ำรผลิตเพิม่ ขึน้ เป็น 127,000 ตัน ต่อปี ผลิตภัณฑ์ทมี่ ำจำกโรงงำนแห่งนีร้ องรับลูกค้ำในตลำดหลำกหลำยกลุม่ อุตสำหกรรม เช่น เสื้อผ้ำเครื่องแต่งกำย วัสดุสิ่งทอที่ใช้ในบ้ำน สิ่งทอทำงเทคนิค เป็นต้น 28
อินโดรามา เวนเจอร์ส มีเทคโนโลยีการผลิตเม็ดพลาสติก จากขวดพลาสติกรีไซเคิล ที่ทันสมัย สะอาด ปลอดภัย และได้ มาตรฐานเป็นที่ยอมรับทั้งจากส�านักงานคณะกรรมการอาหาร และยาของสหรัฐอเมริกา และระเบียบคณะกรรมาธิการสหภาพ ยุโรป บริษัทฯ ให้ความส�าคัญสูงสุดในเรื่องความปลอดภัยของ ผู้บริโภค โดยน�าขวดพลาสติกที่ใช้แล้วมาคัดแยกก่อน เพื่อน�า สิ่งแปลกปลอมออก ต่อด้วยการช�าระล้างท�าความสะอาดขวด พลาสติกในอุณหภูมทิ สี่ งู อีกหลายขัน้ ตอน ก�าจัดเชือ้ โรคและขจัด สิง่ ปนเปือ้ นทีเ่ ป็นอันตรายออกระหว่างทาง ก่อนทีจ่ ะใช้ความร้อน สูงถึง 285 องศาเซลเซียสเพื่อน�าเกล็ดพลาสติกที่ถูกสับละเอียด ไปหลอมต่อ เพื่อให้ได้เม็ดพลาสติกรีไซเคิลคุณภาพสูงสุด ท�าให้ เม็ดพลาสติกรีไซเคิลจากโรงงาน rPET ของอินโดรามา เวนเจอร์ส ในประเทศไทยเป็นทีย่ อมรับในระดับสากล และมีการส่งออกเม็ด พลาสติกรีไซเคิลส�าหรับการผลิตขวดไปจ�าหน่ายในหลายประเทศ เช่น อังกฤษ ออสเตรเลีย ฯลฯ
GreenNetwork4.0 November-December 2018
ในปี พ.ศ. 2560 ที่ผ่ำนมำ ประเทศไทยมีกำรผลิตขวด พลำสติกออกสูต่ ลำดในประเทศมำกกว่ำ 185,000 ตัน และมีเพียง ไม่ถึงครึ่งที่ถูกจัดเก็บ และน�ำเข้ำสู่กระบวนกำรรีไซเคิลอย่ำง เหมำะสม ส่วนขวดพลำสติกทีเ่ หลือเกือบ 1 แสนตันต้องถูกน�ำไป ฝังกลบ และบำงส่วนก็เล็ดลอดออกสูท่ ะเลกลำยเป็นขยะทำงทะเล ที่สร้ำงปัญหำสิ่งแวดล้อมเป็นวงกว้ำงในระดับโลก ขณะที่หลำย ประเทศตระหนักถึงปัญหำขยะพลำสติกที่เพิ่มจ�ำนวนมำกขึ้น จึงหันมำส่งเสริมให้ใช้บรรจุภัณฑ์พลำสติกที่สำมำรถน�ำกลับมำ รีไซเคิลได้ เช่น ญี่ปุ่น สหภำพยุโรป โดยสมำชิกสหภำพยุโรป ทัง้ 28 ประเทศ ให้กำรยอมรับกำรน�ำเม็ดพลำสติกรีไซเคิลมำผลิต เป็นบรรจุภณ ั ฑ์สำ� หรับอำหำร แสดงให้เห็นว่ำ เม็ดพลำสติกรีไซเคิล ได้มำตรฐำนและปลอดภัยที่จะน�ำมำผลิตบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับ อำหำร โดยเยอรมนีเป็นประเทศที่มีอัตรำกำรน�ำขวดพลำสติก มำรีไซเคิลสูงสุดในสหภำพยุโรปถึง 94% ส่วนในเอเชีย ญีป่ นุ่ ก็เป็น ประเทศที่มีอัตรำกำรน�ำพลำสติกมำรีไซเคิลสูงสุดถึง 83%
ในฐานะผู้ผลิตพลาสติก PET รายใหญ่ที่สุดของโลก บริษทั ฯ ให้ความส�าคัญต่อการใช้พลาสติกอย่างยัง่ ยืนมาโดยตลอด และขอยืนยันว่าพลาสติก PET ไม่ใช่ขยะพลาสติกทีใ่ ช้ครัง้ เดียวทิง้ เพราะสามารถน�ากลับมาใช้ใหม่ได้ไม่สิ้นสุดในหลายรูปแบบ หากน�ามาผ่านกระบวนการรีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งรวมถึง การน�ามาผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มด้วย ยิ่งมี การน�าพลาสติก PET กลับมาใช้ใหม่ได้มากเพียงใด ก็จะท�าให้ความ ต้องการพลาสติกผลิตใหม่ลดลงมากตามไปด้วย ซึ่งนอกจากจะ เป็นการเพิ่มอุปสงค์ของบรรจุภัณฑ์ที่ผ่านการใช้งานแล้ว ยังจะ ช่วยส่งเสริมอุตสาหกรรมรีไซเคิลด้วยการสร้างรายได้ตลอดทั้ง ห่วงโซ่คุณค่า และผลักดันให้อุตสาหกรรมรีไซเคิลที่มีบทบาท ส�าคัญในการคัดแยกพลาสติกออกจากขยะอืน่ ๆ เพือ่ น�ากลับมาใช้ ใหม่ได้อีกด้วย ริชาร์ด กล่ำว 29
นอกจำกนี้ อินโดรามา เวนเจอร์ส ยังร่วมมือกับ สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องดื่มไทย และ กลุม่ ธุรกิจโคคา-โคลา ในประเทศไทย เพือ่ ผลักดันให้มกี ำรน�ำขวดพลำสติกบรรจุเครือ่ งดืม่ ทีท่ ำ� จำก เม็ดพลำสติกรีไซเคิล หรือ Recycled PET (rPET) มำใช้ เพื่อลดปริมำณกำรใช้พลำสติกผลิตใหม่ (Virgin Plastic) เนื่องจำกปัจจุบันประเทศไทยยังไม่อนุญำตให้ใช้บรรจุภัณฑ์พลำสติกที่ผลิตจำก เม็ดพลำสติกรีไซเคิล หรือ rPET โดยประกำศกระทรวงสำธำรณสุข ฉบับที่ 295 พ.ศ. 2548 ข้อ 8 ระบุวำ่ “ห้ามมิให้ใช้ภาชนะบรรจุทที่ า� ขึน้ จากพลาสติกทีใ่ ช้แล้วบรรจุอาหาร เว้นแต่ใช้เพือ่ บรรจุผลไม้ ชนิดที่ไม่รับประทานเปลือก” โดยวัตถุประสงค์ของกฎหมำยในขณะนั้น เป็นไปเพื่อกำรคุ้มครองผู้บริโภคจำกบรรจุภัณฑ์ที่ ไม่สะอำด แต่ดว้ ยเหตุผลดังกล่ำว บรรจุภณั ฑ์พลำสติกส�ำหรับอำหำรและเครือ่ งดืม่ ทัง้ หมดในประเทศไทย จึงต้องผลิตขึ้นจำกพลำสติกผลิตใหม่ทั้งหมด ซึ่งท�ำให้ปริมำณกำรใช้พลำสติกผลิตใหม่เพิ่มสูงขึ้น อย่ำงต่อเนื่อง โดยทัง้ 3 องค์กรจะร่วมกันสร้ำงควำมเข้ำใจถึงนวัตกรรมและเทคโนโลยีรไี ซเคิลทีท่ นั สมัย และ เห็นภำพกระบวนกำรผลิตเม็ดพลำสติกที่ได้มำตรฐำน ซึ่งท�ำให้พลำสติกรีไซเคิลมีควำมสะอำดและ ปลอดภัย พร้อมให้ขอ้ มูลและสร้ำงควำมเชือ่ มัน่ กับภำครัฐ เพือ่ ปลดล็อกกฎหมำยทีย่ งั ห้ำมใช้พลำสติก รีไซเคิลในบรรจุภัณฑ์อำหำรและเครื่องดื่ม ซึ่งหำกด�ำเนินกำรส�ำเร็จ จะช่วยลดปัญหำขยะพลำสติก และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัญหำใหญ่ระดับโลก และยังสอดคล้องกับนโยบำยด้ำนควำม รับผิดชอบต่อสังคมของทั้ง 3 องค์กรอีกด้วย
GreenNetwork4.0 November-December 2018
SMART
City
การบูรณาการ
กองบรรณาธิการ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
เพื่อสร้างเมืองอัจฉริยะอย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่อเร็วๆ นี้ นักวิชาการจากคณะสถาปัตยกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมด้วยผู้เชี่ยวชาญจากอาคารเขียว ได้ร่วมเสวนาแลกเปลี่ยนความรู้การสร้าง เมืองอัจฉริยะในประเทศไทยด้วยการน�านวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม แต่ละด้านเข้ามาใช้ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้คนในแต่ละพื้นที่ที่มีความ ต้องการที่แตกต่างกันไป ศ. ดร.สุนทร บุญญาธิการ อาจารย์คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่ า วว่ า จากนโยบายภาครั ฐ ที่ ต ้ อ งการให้ ประเทศไทยน�านวัตกรรมมาปรับใช้กับเมือง อัจฉริยะ จะท�าให้เมืองมีประสิทธิภาพขึน้ ทุกด้าน ทัง้ ทางสังคม เศรษฐกิจ และสิง่ แวดล้อม เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการให้บริการ การบริหารจัดการ เมือง ลดค่าใช้จ่าย น�าทรัพยากรที่มีอยู่เข้ามาใช้ ศ. ดร.สุนทร บุญญาธิการ อย่างรู้คุณค่าและต้องให้ภาคประชาชนเข้ามา มีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการพัฒนาเมืองด้วย ตามกรอบของรัฐบาลทีว่ างเอาไว้ 6 ด้าน ประกอบด้วย เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart Economy) ระบบขนส่งและ การสือ่ สารอัจฉริยะ (Smart Mobility) พลังงานและสิง่ แวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Energy & Environment) ระบบบริหารภาครัฐอัจฉริยะ (Smart Governance) พลเมืองอัจฉริยะ (Smart People) และการด�ารงชีวิตอัจฉริยะ (Smart Living) ประกอบกับการปฏิรูปกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ด้วยการ บูรณาการกฎหมาย กฎ ระเบียบ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ควบคู่กับการจัดกลุ่มกฎหมาย ทีจ่ า� เป็นต้องบัญญัตขิ นึ้ ใหม่ ปรับปรุงกฎหมายทีส่ อดรับกับการบริหารจัดการเมือง อัจฉริยะ กฎหมายที่เป็นอุปสรรคก็ควรยกเลิกเพื่อกระตุ้นให้คนไทยตระหนักถึง ความส�าคัญของเมืองอัจฉริยะ ขณะเดียวกันก็มโี อกาสได้รบั ประสบการณ์และการ เรียนรู้จากแหล่งความรู้ทั่วโลกมาปรับใช้ในประเทศไทย ต้องสร้างเมืองต้นแบบ มีทมี วิจยั พัฒนา และนวัตกรรมอย่างครบวงจรบูรณาการท�างานร่วมกันเริม่ ตัง้ แต่ กระบวนการคิด ออกแบบ การสร้างเมือง ด้วยการจัดท�าเมืองต้นแบบอย่างน้อย 3 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก คิดค้นใส่นวัตกรรมเทคโนโลยีข้อมูลที่ จ�าเป็นเชื่อมโยงผ่าน Big Data กับเมืองอัจฉริยะ น�าไปสู่การพัฒนาอุปกรณ์ IoT ใช้ในเมืองเพือ่ เป็นจุดเชือ่ มโยงส่งต่อข้อมูลให้ผบู้ ริหารเมืองจากภูมภิ าคสูส่ ว่ นกลาง จัดเก็บข้อมูลไว้ในระบบคลาวด์ของเมือง เพื่อให้ทุกภาคส่วนน�ไปต่อยอดได้ กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม หรือ ดีอี ได้มอบหมายให้สา� นักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ ดีป้า เป็นหน่วยงานที่ช่วยขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง อัจฉริยะและน่าอยู่ ท�าให้คนทีอ่ าศัยมีความสุข น�าร่องระยะแรกพัฒนา 7 จังหวัด ได้แก่ ภูเก็ต เชียงใหม่ ขอนแก่น ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา และกรุงเทพมหานคร ต่อไป จะขยายให้ครอบคลุมพืน้ ที่ 77 จังหวัดภายใน 5 ปี โดยการสร้างรูปแบบการเชือ่ มโยง จัดเก็บ และเผยแพร่ขอ้ มูลจากหน่วยงานต่างๆ ในเมืองอัจฉริยะ เช่น เชือ่ มโยงข้อมูล กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ของเทศบาล เพื่อให้ต�ารวจติดตามอาชญากร 30
เชือ่ มโยงข้อมูลจาก IoT Sensors สิง่ แวดล้อม เพือ่ เฝ้าระวังภัยพิบตั ิ เชือ่ มโยงข้อมูล การใช้ Free Wi-Fi ของทั้งเมือง เพื่อน�าข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์พฤติกรรม นักท่องเทีย่ วทีเ่ ข้ามาใช้บริการสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว โรงแรม ทีพ่ กั ทุกรูปแบบ ในขณะ ที่เข้ามาในประเทศไทยเพื่อน�าไปประกอบวางแผนระบบโลจิสติกส์ การคมนาคม การสร้างจุดแลนด์มาร์คในการท่องเที่ยวแต่ละพื้นที่ ข้อมูลทั้งหมดจะถูกรวบรวมมายังระบบคลาวด์ของเมือง เพื่อให้ง่ายต่อ การแลกเปลี่ยนบูรณาการ น�าไปต่อยอดวิเคราะห์ Big Data Analytics โดยการ สร้างเป็น API ในการดึงข้อมูล และมีมาตรฐานของข้อมูล สามารถเปิดให้ภาครัฐ หรือเอกชนน�าไปต่อยอดเป็นบริการของเมือง ไม่ตอ้ งทุม่ งบประมาณทีไ่ ม่จา� เป็นใน การจัดการบริหารเมืองอีกต่อไป เมืองอัจฉริยะควรจัดสมดุลของสิ่งแวดล้อม ประหยัดพลังงาน เลือกใช้ พลังงานสะอาดเพื่อลดปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม ลดปัญหามลภาวะทางอากาศ น�า้ เสีย ขยะ การระบายน�า้ ระบายอากาศ ช่วยส่งเสริมสภาพแวดล้อมทีด่ ี คุณภาพ อากาศที่ดี เพิ่มพื้นที่สีเขียว ลดปรากฏการณ์ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง เช่น ร้อนชื้น หรือน�้าท่วมบ่อยๆ โดยหันมาปรับใช้วัสดุการสร้างเมืองอัจฉริยะด้วยการน�าไม้ มาร่วมสร้างเมือง เพราะไม้มีคุณสมบัติช่วยกักเก็บอุณหภูมิที่เหมาะสมที่มีความ แตกต่างกัน 8 องศาเซลเซียส ใช้วัสดุนวัตกรรมสมัยใหม่ที่ทนแดด ทนฝน มีการ ติดตั้งโซลาร์เซลล์เพื่อเก็บพลังงานจากแสงอาทิตย์ที่เป็นพลังงานธรรมชาติมาใช้ ในตอนกลางคืน เพือ่ ลดพลังงานจากฟอสซิลในประเทศได้อกี ทางหนึง่ ทีส่ า� คัญควร มีการปลูกต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียวในทุกๆ พื้นที่เมืองอัจฉริยะให้ร่มรื่น ช่วยลดก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากควันท่อไอเสีย โรงงานอุตสาหกรรมได้ เกณฑ์ประเมินเมืองอัจฉริยะ มี 7 หมวด ด้าน ดร.นรี ภิญญาวัฒน์ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านการพัฒนาเมืองอย่างยัง่ ยืน บจก. Atelier 10 กล่าวว่า ปัจจุบนั ทัว่ โลกตืน่ ตัวและให้ความส�าคัญ กั บ กระแสความเป็ น สี เ ขี ย ว (GREEN) มาก ทุกประเทศต่างให้ความส�าคัญกับการมีสว่ นร่วม ในการอนุรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม แบ่งพืน้ ที่ เดินทางภายในเมืองร่วมกันเพื่อให้ประชาชนใช้ ดร.นรี ภิญญาวัฒน์ ทรัพยากรและพลังงานที่มีอยู่อย่างจ�ากัดให้เกิด คุณค่าสูงสุด กระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ส�าหรับในประเทศไทยนัน้ ก�าลังเร่งศึกษาต้นแบบเมืองจากประเทศทีป่ ระสบ ความส�าเร็จแล้วน�ามาปรับใช้กบั เมืองในแต่ละจังหวัดและมีหน่วยงานทีส่ ามารถให้ ค�าแนะน�า ประเมินผลการสร้างเมืองสร้างอาคาร ทดสอบประเมินผลผู้เชี่ยวชาญ อาคารเขียวที่จะเข้าไปประเมินผลอาคารเขียวในแต่ละพื้นที่อย่างสถาบันอาคาร เขียวไทยโดยได้วางเกณฑ์ไว้ 7 หมวดด้วยกัน ประกอบด้วย 1. พลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) มีตัวชี้วัดพลังงานอัจฉริยะประกอบด้วยค่าพลังงานการใช้ต่อ ประชากร การผลิตพลังงานทดแทน การผลิตพลังงาน ณ จุดใช้งานการสะสมพลังงาน ระบบท�าความเย็นและความร้อนรวมศูนย์ ระบบบริหารจัดการพลังงานอัจฉริยะ
GreenNetwork4.0 November-December 2018
การลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ การส่งเสริมการใช้รถไฟฟ้า 2. การสัญจรอัจฉริยะ (Smart Mobility) มีตวั ชีว้ ดั ประกอบด้วย การวางผังโครงสร้างพืน้ ฐานของระบบพลังงาน ระบบการจ่ายน�า้ ระบบการขนส่ง ระบบโดยสารสาธารณะ การบริหารที่จอดรถ การส่งเสริมการเดิน การใช้จกั รยาน การจัดเตรียมสถานพยาบาล ระบบฉุกเฉิน ระบบความปลอดภัย สถานศึกษา สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว การบริหารจัดการขยะ น�้าเสีย 3. ชุมชนอัจฉริยะ (Smart Community) มีตวั ชีว้ ดั ประกอบด้วยการส่งเสริมมาตรฐานคุณภาพ ชีวิตที่ดี ทั้งในด้านความปลอดภัย สวัสดิภาพ สุขภาพ การศึกษา การป้องกันภัยพิบัติ การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ 4. สิ่งแวดล้อม อัจฉริยะ (Smart Environment) มีตวั ชีว้ ดั ประกอบด้วยการรักษา สภาพแวดล้อม ป่าไม้ พืชพันธ์ุ ระบบนิเวศ การส่งเสริมการเกษตร แหล่งผลิตอาหารในเมือง สวนสาธารณะ พืน้ ทีส่ เี ขียว การบริหาร จัดการน�า้ มลภาวะทางน�า้ มลภาวะทางอากาศ ปรากฏการณ์เกาะ ความร้อน 5. เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart Economy) มีตัวชี้วัด ประกอบด้วยโมเดลทางธุรกิจ นวัตกรรมรูปแบบการลงทุน ความ สร้างความสามารถในการแข่งขัน การมีสว่ นร่วม ความเป็นหุน้ ส่วน การบริหารรายได้ ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการเมืองที่ยั่งยืน การส่งเสริมการเจริญเติบโตของเขต 6. อาคารอัจฉริยะ (Smart Building) มีตัวชี้วัดประกอบด้วยการผ่านเกณฑ์การประเมิน อาคารเขียวของสถาบันอาคารเขียวไทย การพัฒนาอาคารที่ใช้ พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ ระบบอาคารและบ้านอัจฉริยะ และ 7. การปกครองอัจฉริยะ (Smart Governance) มีตวั ชีว้ ดั ประกอบ ด้วยหลักความเป็นเมืองอัจฉริยะ ภาวะความเป็นผูน้ า� ยุทธศาสตร์ โครงสร้างองค์กร กระบวนการบริหารจัดการ ระบบการวัดผล ส�าเร็จ ใช้มาตรฐาน LEED เพื่อประเมินอาคารเขียว นอกจากนี้ ยังมีมาตรฐาน LEED (Leadership in Energy & Environmental Design) ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ได้รับความ น่าเชื่อถือที่สุดส�าหรับอาคารสีเขียวในระดับโลก ผ่านเกณฑ์การ ให้คะแนนทั้ง 6 ข้อ ซึ่งมีทั้งหมด 69 คะแนน ใน 4 ระดับ ได้แก่ Certified 26-32 คะแนน Silver 33-38 คะแนน Gold 39-51 คะแนน โดยจะประเมินทีต่ งั้ โครงการเป็นสิง่ แรก ว่าทีต่ งั้ โครงการ จะต้องไม่รกุ ล�า้ พืน้ ทีท่ างธรรมชาติ การจัดการระบบระบายน�า้ ฝน การลดมลภาวะทางด้ า นแสงสว่ า งรบกวนสู ่ ส ภาพแวดล้ อ ม ข้างเคียงในเวลากลางคืน การเลือกสถานที่ตั้งที่การคมนาคม ขนส่งมวลชนสามารถเข้าถึงได้ เพือ่ ประหยัดพลังงานจากการใช้ น�า้ มัน หรือรถยนต์สว่ นตัว มีการจัดการน�า้ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ออกแบบ ภูมิสถาปัตยกรรมที่ไม่สิ้นเปลืองน�้าเพื่อการบ�ารุงรักษาต้นไม้ นอกจากนั้นยังรวมถึงการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมใน การบ�าบัดน�้าเสียจากโครงการ การใช้พลังงานและระบบอาคาร น�าพลังงานทดแทนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ มีการออกแบบที่ช่วย ลดก๊าซเรือนกระจก วัสดุก่อสร้างอาคาร ต้องใช้วัสดุที่เป็นมิตร และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดและสามารถรีไซเคิล ได้เมื่อไม่ใช้งานแล้ว สภาพแวดล้อมภายในอาคาร เน้นที่การ ออกแบบ ก่อสร้าง และบริหารจัดการให้อาคารมีสภาวะแวดล้อม ภายในทีน่ า่ สบาย ปลอดสารพิษ รวมถึงการจัดการบริหารอาคาร และการท�าความสะอาดอย่างเหมาะสมและสม�า่ เสมอ นวัตกรรม และความสร้างสรรค์ เน้นทีง่ านการออกแบบทีผ่ อู้ อกแบบอาคาร สร้างสรรค์ขนึ้ มาให้เป็นนวัตกรรม เพือ่ ช่วยแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อม
31
เมืองอัจฉริยะและศูนย์ข้อมูล:
แนวคิด การออกแบบ และกรณีศึกษา สมาร์ทซิตี้ (Smart City) หรือ เมืองอัจฉริยะ เป็นรูปแบบการประยุกต์เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั หรือข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสารในการเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของบริการสังคม เพือ่ ช่วยในการลดต้นทุนและลดการบริโภคของประชากร โดยยังคงเพิม่ ประสิทธิภาพให้ประชาชน สามารถอยู่อาศัยได้ในคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เมืองอัจฉริยะสร้างขึ้นจากโครงสร้างพื้นฐานของ Internet of Things (IoTs) ซึง่ เป็นเครือข่ายทีเ่ ชือ่ มต่อระหว่างกันของอุปกรณ์เซ็นเซอร์ทที่ า� หน้าที่ รวบรวมข้อมูลและส่งต่อผ่านระบบเครือข่ายสื่อสาร (Networking Communication) ไปยัง ศูนย์ข้อมูล (Data Center) เพื่อใช้ในการรวบรวมจัดเก็บข้อมูล (Big Data) เพื่อการวิเคราะห์ และใช้ข้อมูลร่วมกันในขณะที่สื่อสารกันของระบบรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) ก็เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในการท�างานต่างๆ ให้ดียิ่งขึ้น สมาคมวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) และ IEEE Power & Energy Society - Thailand Chapter ได้เล็งเห็นถึงความส�าคัญในเรือ่ งดังกล่าว จึงได้จดั ให้มกี ารสัมมนาเชิงวิชาการ เรือ่ ง “เมืองอัจฉริยะและศูนย์ขอ้ มูล : แนวคิด การออกแบบ และกรณีศึกษา (Smart City & Data Center : Concept, Design and Case Study)” เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ และการบริหารจัดการองค์กรหรือเมืองให้มปี ระสิทธิภาพตามนโยบาย Thailand 4.0 โดยการสนับสนุนวิชาการจาก วสท. สถาบันอุดมศึกษา และผูเ้ ชีย่ วชาญในงาน ภาคปฏิบตั โิ ดยตรง มีผรู้ ว่ มบรรยายจากหลากหลายภาคส่วนทีจ่ ะร่วมขับเคลือ่ นสูก่ ารเป็นเมือง อัจฉริยะ ผศ. ดร.นพพร ลีปรีชานนท์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หนึ่งในผู้ร่วมบรรยาย ได้กล่าวสรุปข้อมูลว่า ในงานสัมมนาครั้งนี้ สิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์กบั ผูร้ บั ฟัง คือเรือ่ งของคอนเซ็ปต์และการออกแบบ โครงการนีเ้ กิดขึน้ มาเมือ่ ประมาณ 2 ปีทแี่ ล้ว โดยคณะของ พพ. และสถาบันอาคารเขียวไทย ว่าจะส่งเสริมให้ประเทศนี้ เปลีย่ นแปลงอย่างไรให้เป็นสมาร์ทซิตี้ ท�าให้ทกุ คนอยูด่ ี มีสภาพแวดล้อมทีด่ ขี นึ้ แต่ละโครงการ ใช้เวลาประมาณ 2 ปี เพื่อที่จะสร้างโมเดลขึ้นมาให้เห็นเป็นรูปธรรม และเราได้น�าทั้งหมดที่ ท�ามาบรรยายให้ความรูค้ วามเข้าใจกับผูร้ ว่ มสัมมนาในเวลา 3 วัน ตัง้ แต่เริม่ ต้นทีเ่ ราพูดกันว่า สมาร์ทซิตคี้ อื อะไร ตัง้ แต่เริม่ การออกแบบ มีทม่ี าทีไ่ ปอย่างไร เราต้องใช้หลายหน่วยงานขึน้ มา เกีย่ วข้อง ไม่วา่ จะเป็นสถาปัตย์ วิศวกรโครงสร้าง วิศวกรคอมพิวเตอร์ เรียกได้วา่ เป็นงานทีใ่ ช้ วิศวกรทุกระบบทีม่ ใี นมหาวิทยาลัย รวมไปถึงสาขาวิชาอืน่ ๆ ก็มคี วามส�าคัญด้วย ทัง้ เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย ก็มสี ว่ นขับเคลือ่ นทัง้ หมด อย่างเคสตัวอย่างทีท่ า� กันในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ถือเป็น การใช้ทรัพยากรในมหาวิทยาลัยได้คุ้มค่ามากที่สุด “การจะเป็นสมาร์ทซิตี้ได้นั้น ไม่ได้ท�าได้ภายในปี สองปี เป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งใช้เวลาพอสมควร สมาร์ทซิตไี้ ม่ใช่ แค่เรือ่ งเทคโนโลยี แต่เป็นเรือ่ งของคนด้วย และการพัฒนา คนขึ้นมารองรับเรื่องสมาร์ทซิตี้ก็เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลา ในฐานะที่ผมอยู่ภาคการศึกษา สิ่งที่ท�าคือ การพัฒนา บุคลากรขึ้นมาช่วยในหลายๆ ส่วนของสมาร์ทซิตี้ ซึ่ง เป็นเรื่องส�าคัญที่เราต้องเริ่มการพัฒนาอย่างจริงจัง เมืองอัจฉริยะจึงจะเกิดขึน้ ได้จริง” ผศ. ดร.นพพร กล่าว ผศ. ดร.นพพร ลีปรีชานนท์
GreenNetwork4.0 November-December 2018
บ้านอนุรักษ์พลังงาน
ENERGY
Saving Mr.Save
ทางเลือกใหม่ของคนอยากมี บ้านอยู่อาศัยแบบประหยัดพลังงาน
ท่ามกลางสภาวะโลกร้อนและการขาดแคลนพลังงานอันเป็นปัญหาส�าคัญ ทีท่ วั่ โลกต่างเผชิญอยูอ่ ย่างไม่อาจหลีกเลีย่ งได้ การประหยัดพลังงานและการมองหา พลังงานทดแทนหรือการใช้พลังงานสะอาด เป็นสิง่ ทีจ่ ะช่วยรักษาโลกของเราให้มี สภาวะดีขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ นี่จึงเป็นภารกิจเร่งด่วนที่ทุกคนต่างต้องตระหนักให้ ความส�าคัญ ซึ่งบ้านเรือนที่อยู่อาศัยของทุกคน นับเป็นจุดเริ่มต้นแห่งความใส่ใจ ในเรื่องพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) ได้ให้ความส�าคัญ กับการอนุรักษ์พลังงานในบ้านอยู่อาศัย ที่ถือเป็นสิ่งพื้นฐานในการด�ารงชีวิตของ ประชาชน และด�าเนินการส่งเสริมให้บา้ นอยูอ่ าศัยสามารถประหยัดพลังงานอย่าง ต่อเนือ่ ง โดยมุง่ หวังให้ผปู้ ระกอบการมีความรูค้ วามเข้าใจ และสามารถน�าแนวคิด ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการสร้างบ้านประหยัดพลังงานสู่ผู้บริโภค จึงได้ริเริ่ม จัดการประกวดบ้านจัดสรรอนุรกั ษ์พลังงานดีเด่นขึน้ ครัง้ แรกในปี พ.ศ. 2548 และ จัดการประกวดต่อเนื่องมาในปี พ.ศ. 2550, 2551, 2557, 2559, 2560 ตามล�าดับ จากผลส�าเร็จในภาพรวมของโครงการตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปัจจุบันมีผู้ส่ง ผลงานเข้าประกวดทัง้ หมดรวมทัง้ สิน้ 455 ผลงาน และมีผรู้ บั รางวัลรวมถึง 87 รางวัล สามารถกระตุ้นให้ผู้ประกอบการด้านอสังหาริมทรัพย์เข้ามามีส่วนร่วมเกินกว่า 98 ราย โดยการประกวดในช่วงปีแรกมุ่งเน้นประเภทแบบบ้านเป็นหลัก ในปี พ.ศ. 2551 เป็นต้นมา ได้เพิม่ การประกวดประเภทโครงการบ้านจัดสรร โดยมีหลักเกณฑ์การตัดสินที่พิจารณา ทั้งในเรื่องการออกแบบทางวิศวกรรมและ สถาปัตยกรรม รวมถึงการจัดการสภาพแวดล้อมซึ่งล้วนมีผลต่อการประหยัด พลังงานทั้งสิ้น ความส�าเร็จและผลตอบรับจากการประกวดที่ผ่านมาช่วยส่งเสริม และกระตุ้นให้ผู้ประกอบการบ้านจัดสรรและธุรกิจรับสร้างบ้านเห็นความส�าคัญ ในการออกแบบบ้านประหยัดพลังงานเพิ่มมากขึ้นโดยล�าดับ เห็นได้จากโครงการ บ้านจัดสรรต่างๆ ได้เริม่ มีการสร้างจุดขายเรือ่ งบ้านประหยัดพลังงานมากขึน้ และ มีการเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับวิธีในการเลือกซื้อบ้านไปพร้อมกันด้วย
32
ส�าหรับการประกวดบ้านจัดสรรอนุรกั ษ์พลังงานดีเด่นในปี พ.ศ. 2561 นี้ ได้มี ผู้ส่งผลงานเข้าประกวดทั้งสิ้นจ�านวน 120 ผลงาน แบ่งเป็นประเภทบ้านเดี่ยวและ ทาวน์เฮาส์ จ�านวน 100 แบบ และประเภทโครงการจัดสรร จ�านวน 20 โครงการ ผลการตัดสินมีผู้ได้รับรางวัลทั้งสิ้น 25 รางวัล ประกอบด้วยรางวัลประเภทบ้าน 22 รางวัลและรางวัลประเภทโครงการจัดสรร 3 รางวัล โดยในการพิจารณาตัดสิน ได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานต่างๆ
GreenNetwork4.0 November-December 2018
ซึ่งเมื่อไม่นานมานี้ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ก็ได้จัดให้มีการมอบโล่รางวัลเกียรติยศให้กับผู้ได้รับรางวัล จ�านวน 25 รางวัล จากการประกวดบ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงานดีเด่น ปี 2561 โดย รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน ดร.ศิริ จิระพงษ์พนั ธ์ เป็นประธาน ณ ห้อง Mayfair Ballroom A ชั้น 11 The Berkeley Hotel Pratunam ดร.ศิริ จิระพงษ์พันธ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า ปัจจุบันมีการเติบโตในภาคที่อยู่อาศัยอย่างต่อเนื่อง และมีสัดส่วนการใช้ พลังงานประมาณ 15% ของการใช้พลังงานของประเทศ ซึง่ หากกล่าวในเรือ่ ง ของพลังงานแล้ว ถือเป็นหน้าทีข่ องกระทรวงพลังงานในการจัดหาและส่งเสริม การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ การใช้พลังงานในบ้านอยูอ่ าศัยนัน้ เกิดจากองค์ประกอบหลายส่วน ไม่วา่ จะเป็นการใช้อปุ กรณ์อา� นวยความสะดวกต่างๆ การปรับสภาพแวดล้อม ที่ดีในการอยู่อาศัย เช่น การใช้เครื่องปรับอากาศ โดยเฉพาะประเทศไทย ที่อยู่ในภูมิอากาศเขตร้อนชื้น จึงต้องค�านึงถึงวิธีการท�าให้บ้านเย็นสบาย ซึ่งคนส่วนใหญ่มักจะคิดถึงการติดตั้งเครื่องปรับอากาศเป็นอันดับแรก ท�าให้บา้ นต้องใช้พลังงานมากโดยเฉพาะพลังงานไฟฟ้า และกลายเป็นภาระ ค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือนด้วย แต่โดยแท้จริงแล้ว การสร้างบ้านให้อยู่สบาย สามารถท�าได้โดยไม่ต้องพึ่งพาระบบปรับอากาศมากเกินไป โดยเริ่มตั้งแต่ การออกแบบบ้านที่ถูกต้อง การจัดวางต�าแหน่งและทิศทางให้เหมาะสมกับ ภูมิอากาศและสภาพแวดล้อม มีการใช้ประโยชน์จากลมและแสงธรรมชาติ การเลือกใช้วัสดุที่ช่วยประหยัดพลังงาน เช่น ฉนวนกันความร้อน สิ่งเหล่านี้ น�าไปสู่แนวคิดเรื่องบ้านประหยัดพลังงาน ซึ่งเป็นบ้านที่มีความน่าอยู่และ ลดการใช้พลังงานลงด้วย เพราะบ้านประหยัดพลังงานจะสามารถลดการใช้ พลังงานลงได้ถึง 20% ขึ้นไป และสามารถคืนทุนได้ภายใน 3-5 ปี
กระทรวงพลังงานเองมีความมุ่งมั่นที่ จะด�าเนินการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ในบ้านอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่อง และส่งเสริม กิจกรรมเรื่องบ้านให้มีความหลากหลาย ซึ่ง ภายหลั ง จากการมอบรางวั ล บ้ า นจั ด สรร อนุรักษ์พลังงานดีเด่นในวันนี้แล้ว จะได้มีการ ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผลงานของท่านทั้ง หลายให้ประชาชนได้ทราบในวงกว้างต่อไป fiดร.ศิริ กล่าว
การออกแบบบ้านประหยัดพลังงาน
บ้านประหยัดพลังงาน เป็นอีกแนวทางหนึ่งในการช่วยอนุรักษ์ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เป็นการใช้ประโยชน์จากพลังงานทีม่ อี ยูอ่ ย่าง จ�ากัด และเป็นพลังงานที่ไม่สามารถทดแทนกันได้อยางคุ้มค่า โดยที่ยัง ตอบสนองความต้องการ และค่านิยมของยุคปัจจุบันได้อย่างสมบูรณ์ โดย มุ่งเน้นการศึกษาวิเคราะห์แนวความคิดในการประยุกต์ใช้สภาพแวดล้อม ของภูมิอากาศแบบร้อนชื้นมาช่วยผสมผสานกับเทคโนโลยียุคใหม่ และ องค์ประกอบอื่นที่เกี่ยวข้อง แล้วน�ามาสร้างเป็นสถาปัตยกรรมที่เหมาะสม กับเขตร้อนชื้นของประเทศไทยเรา ด้วยกรรมวิธีที่ท�าให้สามารถประหยัด พลังงานได้มากกว่าบ้านทั่วไปหลายเท่า โดยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและราคา ไม่แพงไปกว่าบ้านที่มีคุณภาพใกล้เคียงกัน
แนวความคิดในการออกแบบบ้านประหยัดพลังงาน
1. การเลือกใช้ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับที่ตั้งอาคาร คือการใช้ตัวแปร ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับที่ตั้งอาคารเพื่อท�าให้สภาพแวดล้อมของบ้านเย็นลง กว่าเดิม 2. การเลื อ กที่ ตั้ ง และทิ ศ ทางของอาคาร คื อ การสร้ า งสรรค์ สภาพแวดล้อมให้เย็นเพื่อลดความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิภายในและ ภายนอก ซึ่งก็คือให้ตัวบ้านสามารถสกัดกั้นความร้อนจากภายนอกได้มาก ที่สุด ซึ่งรวมถึงการออกแบบช่องเปิดและการควบคุมการรั่วซึมของอากาศ 3. การพิจารณาออกแบบและเลือกระบบเปลือกอาคาร คือการเลือก ระบบผนังที่สามารถป้องกันความร้อนและความชื้นได้ดี เพราะวัสดุแต่ละ ชนิดที่ใช้เมื่อน�ามาวิเคราะห์แล้วจะพบว่ามีความแตกต่างกันมาก 4. การพิจารณาเลือกระบบที่มาใช้ภายในอาคาร คือการเลือกสรร วัสดุทมี่ คี า่ กักเก็บความร้อนและความชืน้ น้อย เช่น วัสดุผวิ มัน วัสดุทมี่ นี า�้ หนัก เบา ไปพร้อมกับการเลือกใช้เครื่องเรือนเท่าที่จ�าเป็นและเลือกใช้ชนิดที่มี น�้าหนักเบาและไม่ดูดความชื้น ด้านอุปกรณ์ควรใช้ที่มีประสิทธิภาพสูงและ ใช้พลังงานน้อย 5. อาคารที่พึงปรารถนา โดยตัวบ้านที่ออกแบบตามแนวคิดข้างต้น ก็ยังไม่สามารถควบคุมสภาวะแวดล้อมภายในได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งอาจ หลีกเลีย่ งไม่ได้ทตี่ อ้ งใช้เครือ่ งปรับอากาศ แต่การออกแบบบ้านตามแนวคิด ดังกล่าวก็จะใช้เครื่องปรับอากาศเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
ประโยชน์ของการออกแบบบ้านประหยัดพลังงาน
• ลดภาระของระบบปรับอากาศภายในบ้าน • ส่งเสริมให้มกี ารอนุรกั ษ์และใช้พลังงานอย่างคุม้ ค่า เพือ่ ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด • สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมให้อยู่ในเขตสบายตามความต้องการ ก่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีต่อผู้อยู่อาศัย
33
GreenNetwork4.0 November-December 2018
GREEN
Industry ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี
CSR
เพื่อชุมชนเข้มแข็ง แม้ว่าวันนี้เราจะได้ “ข้อตกลงปารีส” เป็นมติของการประชุมระดับโลกใน การแก้ปัญหาโลกร้อนร่วมกันแล้วก็ตาม ผู้บริหารองค์กรส่วนใหญ่ก็ยังเห็นว่าเป็น เรื่องที่ไกลตัวอยู่ดี (แต่ก็พร้อมจะร่วมมือปฏิบัติตาม) ทุกวันนี้ ธุรกิจอุตสาหกรรมได้ให้ความส�าคัญกับเรื่องที่ใกล้ตัว (เช่น CSR) มากขึ้น เพราะการแสดงถึง “ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร” (Corporate Social Responsibility : CSR) จะเป็นเรื่องของความสามารถของผู้บริหารองค์กร ทีจ่ ะแสดงให้สงั คมได้เห็นถึงความมุง่ มัน่ ขององค์กรทีจ่ ะพัฒนาระดับการอยูด่ กี นิ ดี ของชุมชนให้สงู ขึน้ ด้วยการด�าเนินธุรกิจอุตสาหกรรมอย่างมีความตระหนักรูแ้ ละ รับผิดชอบในผลกระทบของการประกอบกิจการ รวมทัง้ การจัดสรรทรัพยากรของ องค์กรเพือ่ ให้ความช่วยเหลือสนับสนุนในกิจกรรมต่างๆ เพือ่ การนีด้ ว้ ย โดยเห็นถึง ความส�าคัญของการอยู่ร่วมกันขององค์กรกับชุมชนอย่างปกติสุข และสามารถ เจริญเติบโตไปด้วยกัน การด�าเนินกิจกรรม CSR ที่ถูกที่ควรนั้น จะต้องเกิดจากการใคร่ครวญของ ผูบ้ ริหารองค์กรทีพ่ จิ ารณาและตัดสินใจกระท�าการด้วยตนเอง โดยไม่ใช่การปฏิบตั ิ ตามกฎข้อบังคับทางกฎหมาย หรือข้อควรปฏิบัติทางศีลธรรมหรือจรรยาบรรณ วิชาชีพใดๆ CSR จึงเป็นความมุ่งมั่นที่เกิดจากความสมัครใจของผู้น�าหรือผู้บริหารของ องค์กรใดๆ ซึ่งตัดสินใจเลือก และด�าเนินการพร้อมๆ กับการสนับสนุนในสิ่งที่ตน เห็นว่าดี การทีอ่ งค์กรจะได้ชอื่ ว่าเป็น “องค์กรทีร่ บั ผิดชอบต่อสังคม” นัน้ องค์กรนัน้ จะต้องแสดงให้ชุมชนและสังคมได้เห็นผลการกระท�าผ่านกิจกรรมต่างๆ อาทิ การประกอบกิจการด้วยวิธกี ารใหม่ ทีใ่ ห้ความช่วยเหลือชุมชนหรือสังคมในรูปแบบ ต่างๆ (ซึง่ อาจเป็นการบริจาคให้เงินหรือไม่ใช่เรือ่ งเงินก็ได้) เพือ่ ยกระดับการอยูด่ ี กินดีของชุมชน 34
ทุกวันนีอ้ งค์กรอาจให้ความช่วยเหลือชุมชนและสังคมได้หลาย รูปแบบ เช่น บริจาคเงิน (การบริจาคเงินช่วยเหลืออาจเป็นการบริจาค ตรงจากองค์กร หรือผ่านมูลนิธิที่จัดตั้งขึ้นก็ได้) ให้ทุนสนับสนุน เป็น ผู้สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน สอนอาชีพหรือถ่ายทอดความรู้ ความช�านาญ ให้ความช่วยเหลือในรูปสิง่ ของ บริจาคสินค้าหรืออุปกรณ์ ให้บริการฟรี เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผา่ นสือ่ ต่างๆ จัดโครงการพนักงาน จิตอาสา จัดห้องสมุดเคลื่อนที่ จัดตั้งร้านศูนย์บาท ฯลฯ ส่วนกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ (เพื่อสังคมในลักษณะของ CSR) ได้แก่ การเสริมสร้างความปลอดภัย และการรณรงค์เพือ่ การขับขีอ่ ย่างปลอดภัย กิจกรรมเพือ่ พัฒนาสุขภาพอนามัยของชุมชน การป้องกันอาชญากรรม การรณรงค์ เพือ่ การรูห้ นังสือ การบริจาคอุปกรณ์การเรียนการสอนให้โรงเรียน การจัดโครงการ ฝึกอาชีพ การเลือกท�าเลที่ตั้งโรงงานที่เหมาะสม การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การแก้ ปัญหาขยะ การรีไซเคิลของเสีย การลดปริมาณขยะทีเ่ กิดจากบรรจุภณ ั ฑ์ การเลิกใช้ สารเคมีอันตราย การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน การให้สินเชื่อดอกเบี้ยต�่าเพื่อซื้อ ที่อยู่อาศัย การให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการใหม่การสนับสนุน SMEs และ OTOP การจัดหาที่อยู่อาศัยให้ผู้ไร้บ้าน การรณรงค์ต่อต้านความไม่เท่าเทียมกันในสังคม เป็นต้น ทั้งหมดทั้งปวงของกิจกรรมต่างๆ เพื่อสังคมที่จัดขึ้นนั้น อาจเป็นการริเริ่ม และด�าเนินการโดยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในองค์กรเอง หรือโดยคณะท�างานที่ประกอบ ด้วยพนักงานจากหลายๆ ฝ่ายภายในองค์กรหรือเป็นการทีอ่ งค์กรด�าเนินการร่วมกับ ชุมชนก็ได้ ดังนัน้ CSR จึงไม่ใช่จา� กัดอยูแ่ ค่การบริจาคเงินหรือให้ทนุ (ตัง้ กองทุน) หรือ การให้สงิ่ ของเท่านัน้ แต่ยงั หมายรวมถึงกิจกรรมต่างๆ ทีอ่ งค์กรเข้าไปช่วยพัฒนา ชุมชนหรือร่วมด�าเนินการกับชุมชน เพือ่ ให้ชมุ ชนเข้มแข็งขึน้ และอยูด่ กี นิ ดีมากขึน้ และที่ส�าคัญก็เพื่อให้องค์กรและชุมชนสามารถเติบโตและพัฒนาไปพร้อมๆ กัน วันนีผ้ บู้ ริหารในหลายองค์กรได้ใช้ CSR เป็น “การตลาดเพือ่ สังคม” (เพือ่ สร้าง ชุมชนและสังคมให้ดขี นึ้ ) และใช้เป็นองค์ประกอบส�าคัญของ “การจัดการชือ่ เสียง ขององค์กร” (Reputation Management) ด้วย แต่ทสี่ า� คัญทีส่ ดุ ก็คอื กิจกรรม CSR จะต้องกลมกลืนกับวิถชี วี ติ และวัฒนธรรม ของชุมชนนัน้ ๆ ทัง้ องค์กรและชุมชนจึงจะอยูร่ ว่ มกันอย่างปกติสขุ และยัง่ ยืนครับผม!
GreenNetwork4.0 November-December 2018
Building Energy Code
GREEN
Article ศ. ดร.สุรพงศ์ จิระรัตนานนท์ (JGSEE)
(BEC - เกณฑ์มาตรฐาน การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร) ในปี พ.ศ. 2535 ได้มกี ารตราพระราชบัญญัตกิ ารส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน และในปี พ.ศ. 2538 ได้ประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาก�าหนดอาคารควบคุมและ มีข้อก�าหนดรายละเอียดวิธีการอนุรักษ์พลังงานในอาคารควบคุม ต่อมารัฐบาลได้ ตรากฎกระทรวงก�าหนดประเภท หรือขนาดของอาคาร และมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ดังที่รู้จักคือ BEC และ ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ซึง่ มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วนั ที่ 20 มิถนุ ายน พ.ศ. 2552 กฎกระทรวงดังกล่าวมีขอ้ ก�าหนดให้อาคารทีจ่ ะก่อสร้างใหม่ตอ้ งมีสมรรถนะ พลังงานดี ดังเช่นอาคารส�านักงานต้องมีค่าดัชนีสมรรถนะพลังงานของผนังที่ เรียกว่า OTTV ไม่เกินกว่า 50 W/m2 มีค่าดัชนีสมรรถนะพลังงานของระบบไฟฟ้า แสงสว่างทีเ่ รียกว่า LPD ไม่เกินกว่า 10W/m2 และดัชนีสมรรถนะพลังงานของระบบ ปรับอากาศชนิดแยกส่วนทีเ่ รียกว่า EER ต้องดีกว่า 12 หรือค่า kWR ดัชนีการใช้ไฟฟ้า ต่อภาระการปรับอากาศไม่มากกว่า 1 kW/ตันความเย็น
พิจารณาสภาพในบริเวณปรับอากาศที่แสดงในรูปทางด้านบน ภาระเฉลี่ย ของคอยล์เย็นของระบบปรับอากาศ ประกอบด้วยภาระจากองค์ประกอบภายนอก อาคาร (External Factor) ซึง่ เกิดจากสภาพแวดล้อมภายนอกซึง่ มีรงั สีอาทิตย์เป็น กลไกส�าคัญในการขับเคลื่อนความร้อนผ่านผนังเข้าสู่ภายในอาคาร (เปลวสีส้มที่ ผนัง) ส่วนภาระจากองค์ประกอบภายใน (Internal Factor) ประกอบด้วยความร้อน ที่เกิดจากการใช้ไฟฟ้าส่องสว่างและอุปกรณ์ใช้พลังงานในอาคาร รวมถึงภาระ สืบเนือ่ งจากบุคคลทีใ่ ช้อาคาร (เปลวสีสม้ ทีร่ อบหลอดไฟฟ้า เครือ่ งใช้ไฟฟ้า และบุคคล ที่ใช้งานพื้นที่)
35
ภาระของคอยล์เย็นที่สืบเนื่องจากองค์ประกอบภายนอกอาคารมีความ สัมพันธ์โดยตรงกับค่าการถ่ายเทความร้อนรวม ดังนี้ ภาระของคอยล์เย็นสืบเนือ่ งจากองค์ประกอบภายนอกต่อพืน้ ทีข่ องบริเวณ ปรับอากาศ = OTTV ×Aw และ Aw คือสัดส่วนพื้นที่ผนังต่อพื้นที่ของบริเวณ Af
Af
ปรับอากาศ มีหน่วยเป็นเปอร์เซ็นต์ (%) เมื่อรวมผลข้างต้นภาระเฉลี่ยของคอยล์เย็นสามารถจัดให้สัมพันธ์กับ องค์ประกอบอื่นๆ ได้ดังนี้ CCL = OTTV ×A : ภาระของคอยล์เย็นอันเนื่องมาจากองค์ประกอบ A ภายนอกต่อหน่วยพื้นที่ + Cl (LPD) : ภาระของคอยล์เย็นอันเนื่องมาจากไฟฟ้าส่องสว่าง (LPD) ต่อหน่วยพื้นที่ + Ce (EQD) : ภาระของคอยล์เย็นอันเนื่องมาจากอุปกรณ์ที่ใช้ พลังงาน (EQD) ต่อหน่วยพื้นที่ + Co (OCCU) : ภาระของคอยล์เย็นอันเนือ่ งมาจากผูอ้ ยูอ่ าศัย (OCCU) ต่อหน่วยพื้นที่ + Cv (VENT) : ภาระของคอยล์เย็นอันเนื่องมาจากอากาศระบาย (VENT) ต่อหน่วยพื้นที่ โดยสัมประสิทธิ์ Cl , . . . Cv เป็นค่าแปลงหน่วยของปัจจัยต่างๆ เป็นหน่วย ของภาระการปรับอากาศ เมือ่ พิจารณาพลังงานไฟฟ้า (En) ทีใ่ ช้ในบริเวณปรับอากาศในช่วงเวลาหนึง่ จะเขียนความสัมพันธ์ของค่าพลังงานนี้ต่อองค์ประกอบอื่นๆ ได้ดังนี้ w f
ซึ่ง nh คือจ�านวนชั่วโมงใช้งานต่อปีของพื้นที่นั้น สมการทีไ่ ด้แสดงให้เห็นว่าพลังงานไฟฟ้าทีใ่ ช้ในพืน้ ทีห่ นึง่ ๆ สามารถค�านวณ ได้จากดัชนีสมรรถนะพลังงานของผนัง OTTV ดัชนีสมรรถนะพลังงานของระบบ ไฟฟ้าส่องสว่าง LPD และดัชนีสมรรถนะของระบบปรับอากาศ kWR ค่าดัชนีแต่ละค่า มีผลต่อพลังงานไฟฟ้าทีใ่ ช้ในพืน้ ทีน่ นั้ อย่างไรและเท่าไร ถ้าเลือกระบบแต่ละระบบ ให้มสี มรรถนะเท่าไร ด้วยต้นทุนเท่าไร ผลทีไ่ ด้คอื พลังงานไฟฟ้าทีใ่ ช้ในพืน้ ทีน่ นั้ จะ สะท้อนถึงสมรรถนะและต้นทุนของระบบที่เลือกมาโดยมีสัดส่วนหรือน�า้ หนักตาม ลักษณะของพืน้ ทีน่ นั้ ๆ ค่า En ข้างต้นอาจเทียบได้กบั ดัชนีการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยพืน้ ที่ หรือ EUI (Energy Utilization Index) หรือค่าพลังงานต่อพื้นที่ (Specific Energy Consumption)
GreenNetwork4.0 November-December 2018
BIZ ปตท.สผ. น�ำ 70 เยำวชนภำคอีสำน เรียนรู้คุณค่ำป่ำจำกห้องเรียนธรรมชำติ ในค่ำย PTTEP Teenergy ปีที่ 5
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ผนึกก�ำลังกลุ่มมิตรผล จัดพิธีลงนามการซื้อขายคาร์บอนเครดิตกับ 8 องค์กรหัวใจสีเขียว สอดรับเป้ำหมำยลดก๊ำซ CO2 7-20% ภำยในปี ’63
ปตท.สผ. น�ำเยำวชนภำคอีสำนซึมซับคุณค่ำผืนป่ำ จำกห้องเรียนธรรมชำติภูฝอยลม และศึกษำนวัตกรรมขยะ สู่พลังงำน “บ่อก๊ำซชีวภำพ” (Biogas) เรียนรู้จำกกิจกรรม “ดักมันเพื่อโลก” สร้ำงนักอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและ สิ่งแวดล้อมรุ่นเยำว์ ในค่ำย PTTEP Teenergy ปีที่ 5 ซึ่งเป็น ค่ำยสุดท้ำยของปีนี้ โดยน�ำเยำวชนอำยุไม่เกิน 18 ปี จำกภำค อีสำน จ�ำนวน 70 คน มำร่วมค่ำยเพือ่ เรียนรูค้ วำมส�ำคัญของ ธรรมชำติและสิง่ แวดล้อมในห้องเรียนธรรมชำติ ซึมซับคุณค่ำ ของป่ำไม้และควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ และน�ำสิง่ ทีไ่ ด้จำก เรียนรูน้ อกห้องเรียนไปสูก่ ำรลงมือปฏิบตั จิ ริง ภำยใต้แนวคิด “เปลี่ยนเพื่อโลก-Change for Climate”
องค์กำรบริหำรจัดกำรก๊ำซเรือนกระจก (องค์กำรมหำชน) ร่วมกับ กลุ่มมิตรผล จัด “พิธีลงนำมกำรซื้อขำยคำร์บอนเครดิต ประจ�ำปี พ.ศ. 2561” เพื่อกระตุ้นกำรมีส่วนร่วมของ ทุกภำคส่วนในกำรแก้ปัญหำภำวะโลกร้อน ภำยใต้โครงกำร “ลดก๊ำซเรือนกระจกภำคสมัครใจ ตำมมำตรฐำนของประเทศไทย” (Thailand Voluntary Emission Reduction Program : T-VER) สอดคล้องกับนโยบำยของรัฐบำลทีม่ นี โยบำยจะลดกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก โดยตัง้ เป้ำหมำยระยะ สัน้ ลดให้ได้รอ้ ยละ 7-20 ภำยในปี พ.ศ. 2563 และในระยะยำวร้อยละ 20-25 ภำยในปี พ.ศ. 2573 กฤษฎำ มนเทียรวิเชียรฉำย ประธำนเจ้ำหน้ำทีบ่ ริหำรและกรรมกำรผูจ้ ดั กำรใหญ่ กลุม่ มิตรผล กล่ำวว่ำ “เรามุง่ มัน่ ในการพัฒนาต่อยอดคุณค่าจากอ้อยเพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ ในทุกกระบวนการผลิต ด้วยแนวคิด Value Creation เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด น�าไปสู่การต่อยอดสู่ธุรกิจอื่นๆ ไม่ว่า จะเป็น ไฟฟ้า เอทานอล วัสดุทดแทนไม้ และ Bio-based ซึ่งการด�าเนินธุรกิจทั้งหมดนั้นล้วนให้ ความส�าคัญกับการด�าเนินงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเสมอมา กลุ่มมิตรผลจึงมุ่งมั่นสู่การสร้าง สังคมคาร์บอนต�า่ อย่างต่อเนือ่ ง และถือเป็นนิมติ หมายอันดีทเี่ ราได้เห็นความร่วมมือร่วมใจกันของ ทุกภาคส่วนในการสานพลังเพือ่ ผลักดันให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายในการลดก๊าซเรือนกระจก เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่ออนาคตที่ยั่งยืนของประเทศไทย”
กกพ. ร่วมกับ หอการค้าไทย ปลุกกระแส รู้ค่ำพลังงำนไฟฟ้ำ ประกำศผลผู้ชนะไวรัล คลิป “พลังงานไฟฟ้า = พลังงานชีวิต”
38
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรก�ำกับกิจกำรพลังงำน (กกพ.) ร่วมกับ มหำวิทยำลัยหอกำรค้ำไทย จัดกิจกรรมประกวดไวรัล คลิป ในหัวข้อ พลังงำนไฟฟ้ำ = พลังงำนชีวติ เพือ่ ปลูกจิตส�ำนึกและรณรงค์ให้ประชำชน นิสติ นักศึกษำ และเยำวชนทัว่ ไป รูจ้ กั ใช้พลังงำนไฟฟ้ำอย่ำงรูค้ ณ ุ ค่ำ และ ใช้ได้อย่ำงยัง่ ยืน โดยมีผผู้ ำ่ นเข้ำรอบชิงชนะเลิศ 5 ผลงำน จำก 5 สถำบัน คือ Power Bank : มหำวิทยำลัยศรีปทุม, มหำลัยหลอน : มหำวิทยำลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้ำพระนครเหนือ, ถ้ำทุกวันคือ 100% : มหำวิทยำลัย หอกำรค้ำไทย, 3 DAY : มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม, พลังจำกมือเล็กๆ : มหำวิทยำลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และผูท้ คี่ ว้ำรำงวัลชนะเลิศในครัง้ นี้ คือ ผลงำนทีม่ ชี อื่ ว่ำ “Power Bank” จำกมหำวิทยำลัยศรีปทุม ซึง่ เป็นผลงำน ทีท่ ำคณะกรรมกำรได้เห็นพ้องต้องกันว่ำเป็นคลิปทีม่ คี วำมคิดสร้ำงสรรค์ และปลูกจิตส�ำนึกผลักดันให้เกิดกำรมีสว่ นร่วมด้ำนพลังงำนไฟฟ้ำได้จริง มีเทคนิคในกำรน�ำเสนอ ภำษำและดนตรี รวมถึงคุณภำพในกำรผลิตที่ สมบูรณ์ และรำงวัล Popular Vote ซึง่ พิจำรณำจำกยอดไลค์และยอดแชร์ มำกที่สุด ได้แก่ผลงำนที่มีชื่อว่ำ “มหำลัยหลอน” จำกมหำวิทยำลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้ำพระนครเหนือ
GreenNetwork4.0 November-December 2018
Magazine to Save The World
กพร. ผนึกก�ำลังภำครัฐและเอกชน อัด 1,250 ลบ. พัฒนำอุตสำหกรรมรีไซเคิล เศษโลหะที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กรมอุตสำหกรรมพื้นฐำนและกำรเหมืองแร่ (กพร.) กระทรวง อุตสำหกรรม ร่วมกับ องค์กำรพัฒนำอุตสำหกรรมแห่งสหประชำชำติ (UNIDO) จัดพิธีเปิดโครงกำร น�ำร่องรีไซเคิลเศษโลหะอย่ำงเป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม และพิธลี งนำมควำมร่วมมือกับภำครัฐและเอกชน จ�ำนวน 7 รำย เพื่อพัฒนำอุตสำหกรรมรีไซเคิลเศษโลหะที่มีประสิทธิภำพและ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ภำยใต้กองทุนสิง่ แวดล้อมโลก กว่ำ 1,250 ล้ำนบำท มุ่งมั่นขับเคลื่อนอุตสำหกรรมเหมืองแร่และอุตสำหกรรมพื้นฐำนโดยยึด แนวทำงกำรสำนพลังประชำรัฐ ด้วยกำรบูรณำกำรควำมร่วมมือร่วมกัน ระหว่ำงภำครัฐ ภำคเอกชน และภำคประชำสังคม เพื่อให้สำมำรถก้ำวสู่ อุตสำหกรรม 4.0 ควบคูไ่ ปกับกำรประกอบกำรทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และสร้ำงประโยชน์ให้กับชุมชนอย่ำงยั่งยืน
อมตะ-เอสซีจี-ดาว จับมือพัฒนำถนนพลำสติกรีไซเคิล เส้นแรกในนิคมฯ อมตะซิตี้ ชลบุรี เพิม่ มูลค่ำขยะพลำสติก
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหำชน) ธุรกิจเคมิคอลส์ เอสซีจี และกลุม่ บริษทั ดำว ประเทศไทย ร่วมลงนำมบันทึกข้อตกลงควำมร่วมมือเพือ่ สร้ำงถนนพลำสติกรีไซเคิลเส้นแรกในนิคมอุตสำหกรรม ณ ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ อมตะซิตี้ ชลบุรี ซึง่ เป็นกำรสร้ำงคุณค่ำให้กบั ขยะพลำสติกตำมแนวคิดเศรษฐกิจ หมุนเวียนช่วยแก้ปัญหำกำรจัดกำรขยะภำยในนิคมอุตสำหกรรมอย่ำงยั่งยืน ควบคู่ไปกับกำรตอบโจทย์นวัตกรรมถนนยำงมะตอยที่มีประสิทธิภำพสูง ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประเทศไทย โดยเบื้องต้นจะมีกำรน�ำพลำสติกรีไซเคิลมำสร้ำงถนน 2 จุดในนิคมฯ อมตะซิต้ี ชลบุรี ซึ่งกำรด�ำเนินงำนนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งในกำรตอบโจทย์ของ สมำร์ทซิตี้ คือ Smart Environment ซึง่ สอดรับกับนโยบำยรัฐบำลทีว่ ำงเป้ำหมำย สนับสนุนให้เกิดสมำร์ทซิตี้โดยเฉพำะในพื้นที่เขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก (EEC) และถือเป็นถนนพลำสติกรีไซเคิลเส้นแรกในนิคมอุตสำหกรรมของ ประเทศไทยที่จะน�ำขยะพลำสติกมำใช้เป็นวัตถุดิบหลักในกำรสร้ำงถนน ทีใ่ ช้งำนได้จริง และยังเป็นโครงกำรน�ำร่องทีจ่ ะด�ำเนินกำรในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ต่อไป
39
เอ็มเทค สวทช. จับมือ พพ. ฉลองอีกขัน้ กับควำมส�ำเร็จ ไบโอดีเซล H-FAME ระดับโรงงำนสำธิต พร้อมทดสอบ B10 ในรถยนต์
กระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุ แห่งชำติ (เอ็มเทค) ส�ำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) ร่วมกับ กรมพัฒนำพลังงำนทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงำน (พพ.) กระทรวงพลังงำน ภำยใต้กำรสนับสนุนจำก กองทุนเพื่อส่งเสริมกำรอนุรักษ์พลังงำน แถลงข่ำว ควำมส�ำเร็จกำรเพิ่มคุณภำพไบโอดีเซล H-FAME ในระดับโรงงำนสำธิต และ พร้อมทดสอบในรถยนต์ ภำยใต้โครงกำร “สนับสนุนกำรเพิม่ สัดส่วนกำรใช้นำ�้ มัน ไบโอดีเซลให้สูงขึ้น” เพื่อเป็นทำงเลือกหนึ่งในกำรผลักดันกำรเพิ่มสัดส่วน ไบโอดีเซล ในอนำคต ซึง่ ได้ทำ� กำรทดสอบกับรถกระบะ 8 คัน เมือ่ วันที่ 5 กันยำยน 2561 ณ โรงแรมรอยัลปริ๊นเซส หลำนหลวง ทัง้ นีไ้ ด้ทดสอบกับรถกระบะจ�ำนวน 8 คัน ระยะวิง่ ทดสอบของแต่ละคัน ประมำณ 100,000 กิโลเมตร เพือ่ สร้ำงควำมมัน่ ใจกับทุกภำคส่วน และสอดรับ กับข้อเสนอของกลุ่มบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ที่ต้องกำรให้มีกำรปรับคุณภำพของ ไบโอดีเซล ในกรณีทตี่ อ้ งมีกำรใช้สดั ส่วนกำรผสมไบโอดีเซลทีเ่ พิม่ ขึน้ นอกจำกนี้ น�ำ้ มันไบโอดีเซลคุณภำพสูง B10 ส่วนหนึง่ จะถูกน�ำไปน�ำร่องทดลองใช้กบั รถยนต์ ของหน่วยงำนของรัฐ และจะมีกำรแถลงผลกำรด�ำเนินงำนในโอกำสต่อไป
GreenNetwork4.0 November-December 2018
ซีเมนส โชว สุดยอดเทคโนโลยีหนุน
“อีอีซี” สู ไทยแลนด แดนนวัตกรรม 28 พฤศจิกายน 2561, กรุงเทพฯ, ซีเมนส ผูนําเทคโนโลยีระดับโลกที่มุงมั่น พัฒนาความเปนเลิศในดานวิศวกรรม นวัตกรรม ความนาเชือ่ ถือและความเปนสากล จัดงาน “EEC Journey : Connect - Create - Collaborate for Joint Success” โชววิสัยทัศนการใชดิจิทัลในการจัดการเทคโนโลยี นวัตกรรม และโครงสรางพื้นฐาน ขับเคลือ่ นความสําเร็จใหโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (อีอซี )ี เพื่อเปนภูมิภาคแหงนวัตกรรมของอาเซียน สาระสําคัญในการสนทนาคือความรวมมือและสรางเครือขายของผูมีสวน เกีย่ วของในอีอซี ี ตัง้ แตหนวยงานทีก่ าํ หนดและดูแลดานนโยบาย ธุรกิจ ภาคประชาสังคม และการนําเสนอแนวทางจากซีเมนสเพื่อชวยลูกคาใหประสบความสําเร็จในการ เปลีย่ นผานไปสูด จิ ทิ ลั อยางเปนรูปธรรม ซึง่ ตรงกับสิง่ ทีร่ ฐั มนตรีวา การกระทรวงดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน นําเสนอวาความรวมมือคือ เครื่องมือสูความสําเร็จในการขับเคลื่อนประเทศไทยและการสรรหาพันธมิตรทั้งใน ระดับการประชุมสุดยอดอาเซียนและการประชุมสุดยอดเอเปก นโยบาย Digital Thailand Agenda 2018 ครอบคลุม โครงสรางพื้นฐานดิจิทัล รัฐบาลดิจิทัล ไซเบอร ซิเคียวริตี้ การพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ิทัล และการสรางบุคลากรดานดิจิทัล ดวงใจ อัศวจินตจิตร เลขาธิการคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) กลาววา นโยบายสงเสริมการลงทุนของบีโอไอสอดคลองไปกับนโยบาย Thailand 4.0 โดยมาตรการใหมๆ ที่ออกมาจะรองรับสาขาที่ใหความสําคัญ ไดแก เทคโนโลยี และนวัตกรรมการพัฒนาคนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของเทคโนโลยี และการสงเสริมพื้นที่เปาหมายในการพัฒนา ซึ่งปจจุบันก็คือ อีอีซี เพราะเปนพื้นที่ สําคัญที่สุดของประเทศไทย มารคุส ลอเรนซินี่ ประธานและหัวหนาฝายบริหาร บริษัท ซีเมนส จํากัด กลาววา ประเทศไทยมีการเปลี่ยนผานอยางรวดเร็ว ไปสูนวัตกรรมและเทคโนโลยี ยุคใหม ภายใตนโยบาย Thailand 4.0 และซีเมนสพรอมสนับสนุนอยางจริงจังในการ ชวยยกระดับนวัตกรรม และจัดหาเทคโนโลยีทมี่ คี วามลํา้ หนาสําหรับการพัฒนายุคตอไป “เราเปนบริษัทชั้นนําดานเทคโนโลยีที่มุงเนนธุรกิจวิศวกรรมไฟฟา เทคโนโลยี ระบบอัตโนมัตแิ ละการจัดการดวยระบบดิจทิ ลั ดวยผลิตภัณฑและระบบทีค่ รอบคลุม หลากหลายของเรา สามารถชวยทําใหแผนพัฒนาอีอีซีของประเทศไทยประสบ ความสําเร็จในการเปนพื้นที่แหงนวัตกรรมไดเร็วยิ่งขึ้น ซีเมนสมีนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีที่จะขับเคลื่อนสมารทซิตี้ใหกลายเปนมหานคร แหงอนาคตดิจิทัลได” ประธานและหัวหนาฝายบริหาร ของซีเมนส กลาว ทั้งนี้ ภายในงาน ซีเมนสไดนําเสนอเทคโนโลยีที่ โดดเดน ทีจ่ ะสามารถนํามาใชใหเกิดประโยชนสงู สุดตอการ พัฒนาใหประเทศกาวสูประเทศไทย 4.0 อาทิ • Smart Energy Management คือเทคโนโลยีที่ ชวยในการบริหารจัดการการใชพลังงานและควบคุมคาใช จาย นับเปนนวัตกรรมทีเ่ หมาะสมกับอีอีซี • Intelligent Traffic System โซลูชั่นระบบจราจร อัจฉริยะ แนะนํา Vehicle-to-X (V2X) เทคโนโลยีดาน การสื่อสารสําหรับระบบควบคุมและจัดการจราจรขั้นสูง (Advanced Traffic Management Systems – ATMS) เพือ่ จัดการและควบคุมการจราจรโดยการตรวจจับความหนา แนนการจราจร ชวยลดคาใชจา ยจากการสิน้ เปลืองพลังงาน และลดมลภาวะ • Intelligent Building Management System เทคโนโลยีอาคารอัจฉริยะของซีเมนส ทั้งชวยประหยัดคา ใชจายดานพลังงาน การดูแลรักษา และยังสามารถเก็บ รวบรวมขอมูลที่เกิดจากอุปกรณ IoT ตางๆ เพื่อนํามา วิเคราะห พัฒนา สรางมูลคาเพิ่มในการใหบริการเพื่อ สนองตอบความตองการของลูกคาหรือผูเชาพื้นที่ ซีเมนสยนื หยัดเคียงขางการพัฒนาของประเทศไทย มาตลอดระยะเวลากวา 100 ป และพร อมที่ จะช วย ขับเคลือ่ นประเทศไทยสูค วามเปนผูน าํ แถวหนาในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใตในการเปลีย่ นผานสูย คุ ดิจทิ ลั ซีเมนสมที มี งาน ทีม่ คี วามชํานาญดานวิศวกรรมและนวัตกรรมชัน้ เยีย่ มเพือ่ ชวยใหธุรกิจไทยประสบความสําเร็จในการขับเคลื่อนและ เปลี่ยนผานสูยุคดิจิทัลอยางสมบูรณ #Siemens4EEC