ISSUE 92 : March - April 2019
EcoStruxure Building ปฏิรูปอาคารธรรมดา สูอาคารอัจฉริยะ
Geographic Information System (GIS)
Smart Health
Smart Agriculture
Smart Government
Internet of Things (IoT) Smart Mobility
Education Smart Grid/ Open Data Smart Energy Smart Home Smart Retail
ออสโล… เมืองแรกของโลก ที่ใชระบบชารจไฟฟาไรสาย
จีนเริ่มลงมือโครงการ
โซลารฟารมบนอวกาศ
สำหรับรถยนตไฟฟา (EV)
แซงหนาเจาของแนวคิด อยางอเมริกาแลว
เจาะลึก PDP 2018 :
โครงการ
ชุมชนที่ใชพลังงานสุทธิเปนศูนย
ระบบบิ๊กดาตา IoT ซิเคียวริตี้ สงภาครัฐสู Smart Government
พลังงานทดแทนคือแพะบูชายัญ (Net-zero Energy Settlement)
Go Green in the City 2019 190410
Contents March-April 2019
8 Green Building by กองบรรณาธิการ
9 10 12
13
กฟผ.มอบป้ายอาคารเบอร์ 5 ในสถานศึกษา หวังเป็นต้นแบบเรียนรู้ ด้านการอนุรักษ์พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ Smart Building by กองบรรณาธิการ EcoStruxure Building ปฏิรูปอาคารธรรมดาสู่อาคารอัจฉริยะ Special Scoop by กองบรรณาธิการ “ถ่านมีชีวิต” แก้ปัญหาน�้าเสีย ผลงานเยาวชน PTTEP Teenergy ค่าย “เยาวชนจิตอาสา สร้างป่า รักษ์น�้า” กิจกรรมดีๆ จากราชบุรีโฮลดิ้ง ชนะ ภูมี ... SCG กับรางวัล Thailand Green and Smart Mining Award 2019
Green Focus
14 by พิชัย ถิ่นสันติสุข 16
19 20 22
23
24 26 27
เจาะลึก PDP 2018 : พลังงานทดแทนคือแพะบูชายัญ by คุณนรินพร มาลาศรี การบริหารจัดการพลังงานทดแทนให้มีความเสถียร Firm Renewable Energy กรณีศึกษา Energy Self-Sufficient Village Feldheim Green Article by รศ. ดร.พิพัฒน์ ชัยวิวัฒน์วรกุล ชุมชนที่ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ (Net-Zero Energy Settlement) Green Report by กองบรรณาธิการ ภาครัฐผนึกภาคเอกชน หนุนจัดซื้อจัดจ้างสินค้าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม Solar Review by กองบรรณาธิการ จีนเริม่ ลงมือโครงการ “โซลาร์ฟาร์มบนอวกาศ” แซงหน้าเจ้าของแนวคิด อย่างอเมริกาแล้ว Auto Challenge by กองบรรณาธิการ ระบบอัตโนมัติและการใช้พาหนะร่วมกัน... การพลิกโฉมการผลิตในปี 2573 Green Article by รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล โครงการ Envi Mission : ตอนที่ 1 Boot Camp วัฒนธรรมรักษ์น�้า Green Report by ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ยานยนต์ไฟฟ้า (EV) ... ทางแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน Green World by กองบรรณาธิการ ออสโล...เมืองแรกของโลกที่ใช้ระบบชาร์จไฟฟ้าไร้สาย ส�าหรับรถยนต์ไฟฟ้า (EV)
28 Green Article
30 32 33
34 35 36
38
by รศ. ดร.ศิริมา ปัญญาเมธีกุล, ศ.กิตติคุณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ดราม่า เรื่อง PM 2.5 ตอน 1 : ความเข้าใจพื้นฐาน Smart City by กองบรรณาธิการ ระบบบิ๊กดาต้า IoT ซิเคียวริตี้ ส่งภาครัฐสู่ Smart Government Energy Saving by กองบรรณาธิการ โครงการ Go Green in the City 2019 นวัตกรรมพลังงานแสงอาทิตย์แบบครบวงจร...เพื่อก้าวสู่การเป็น สมาร์ทแคมปัส Green Industry by ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ผู้น�ากับความมุ่งมั่น Green Report by กองบรรณาธิการ The Building and FM Expo : BMAM Expo Asia 2019 Green Technology & Innovation by กองบรรณาธิการ ทริค Eco-Driving ลดมลภาวะป้องกันฝุ่น PM 2.5 ยั่งยืน โซลูชั่น NOSTRA Telematics หนึ่งตัวช่วยลดมลพิษบนท้องถนน Green Biz by กองบรรณาธิการ
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ฯพณฯ พลอากาศเอก ก�าธน สินธวานนท์ คณะที่ปรึกษา ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ นินนาท ไชยธีรภิญโญ ดร.อัศวิน จินตกานนท์ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย พานิช พงศ์พิโรดม ประสงค์ ธาราไชย ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.สุรพล ด�ารงกิตติกุล ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ชาย ชีวะเกตุ รศ. ดร.สิงห์ อินทรชูโต บรรณาธิการอ�านวยการ/บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ นริศรา อ่อนเรียน เลขานุการกองบรรณาธิการ ปัฐฐมณฑ์ อุ่ยพัฒน์ พิสูจน์อักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม ศศิธร มไหสวริยะ ประสานงาน ภัทรกันต์ กิจสินธพชัย ผู้จัดการฝ่ายการตลาด เขมจิรา ปลาทิพย์ ฝ่ายการตลาด กัลยา ทรัพย์ภิรมย์ เลขานุการฝ่ายการตลาด ชุติมันต์ บัวผัน ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ แยกสี บริษัท คลาสิคสแกน จ�ากัด โรงพิมพ์ หจก.รุ่งเรืองการพิมพ์
เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ากัด
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 (ฝ่ายการตลาด Ext. 230) แฟกซ์ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail : editor@greennetworkthailand.com
สวัสดีครับ ท่านสมาชิกและท่านผู้อ่านทุกท่าน เวลานีห้ ลายประเทศทัว่ โลก รวมทัง้ ประเทศไทยของเรา ต่างหันมาให้ความส�าคัญ กับการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม โดยเฉพาะอาคารเขียวมากขึน้ เพราะนอกจากจะไม่เบียดเบียน ทรัพยากรธรรมชาติทลี่ ดน้อยลงทุกวันแล้ว ยังช่วยสร้างจิตส�านึกร่วมกันในการประหยัด พลังงาน ทุกภาคส่วนจึงเกิดการตืน่ ตัวและร่วมกันขับเคลือ่ นนวัตกรรมหรือผลิตภัณฑ์ สีเขียว เพื่อเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ฉบับนีเ้ ริม่ กันทีค่ อลัมน์ Green Building การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้มอบป้ายอาคารเบอร์ 5 ให้แก่โรงเรียนพิรยิ าลัยจังหวัดแพร่ เพือ่ ประกาศเกียรติคณ ุ เป็นอาคารต้นแบบอนุรกั ษ์พลังงานแห่งแรก มีการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าภายใน โรงเรียนอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ช่วยลดค่าใช้จ่าย เป็นแหล่งเรียนรู้ด้าน การใช้พลังงานให้กบั ครูและนักเรียน อันจะน�าไปสูก่ ารขยายผลภายในครอบครัวและ ชุมชนอย่างยั่งยืน ส่วน Smart Building เป็นเรือ่ งเกีย่ วกับ “EcoStruxure Building ปฏิรปู อาคาร ธรรมดาสูอ่ าคารอัจฉริยะ” ท�าให้บริหารจัดการควบคุมอาคารได้ในหนึง่ เดียวแบบเรียลไทม์ ทัง้ ระบบท�าความร้อน/ความเย็น ระบบควบคุมอุณหภูมภิ ายในอาคาร ระบบการจัดการ พลังงาน ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบแสงสว่าง เพือ่ ให้เกิดความสมดุลและความ คุ้มค่าด้านการใช้พลังงาน ครอบคลุมกลุ่มธุรกิจโรงแรม โรงงานอุตสาหกรรม ส�าหรับคอลัมน์ Green Report รวบรวมความคิดเห็นของภาครัฐผนึกภาคเอกชน หนุนจัดซือ้ จัดจ้างสินค้าเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ได้สนับสนุนให้มกี ารส่งเสริมการจัดซือ้ จัดจ้างสินค้าและการบริการในรูปแบบต่างๆ ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมภายในองค์กร นัน้ ๆ ส่วนคอลัมน์ Green World จะพาไปที ่ กรุงออสโล เมืองหลวงของประเทศนอร์เวย์ เมืองแรกของโลกทีใ่ ช้ระบบชาร์จไฟฟ้าไร้สาย ส�าหรับรถยนต์ไฟฟ้า (EV) เมืองแห่งนี้ กลายเป็นเมืองแรกของโลกที่ติดตั้งระบบชาร์จไฟฟ้าไร้สายส�าหรับรถแท็กซี่ไฟฟ้า ท�าให้ได้รับสมญานามเมืองรถยนต์ไฟฟ้าอันดับ 1 ของโลก คอลัมน์ Smart City น�าเสนอ ระบบบิก๊ ดาต้า IoT ซิเคียวริต้ี ส่งภาครัฐสู่ Smart Government เป็นการพัฒนาเมืองอีกรูปแบบหนึง่ ให้กบั องค์กรภาครัฐ และรัฐวิสาหกิจ ไปสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะที่น�าเทคโนโลยีใหม่อย่าง IoT ซึ่งเป็นโซลูชั่นที่จะเข้ามา สนับสนุนการท�างานอย่างบูรณาการในส�านักงาน เพือ่ บริการประชาชนทีร่ วดเร็วและ มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ และปิดท้ายด้วยคอลัมน์ Green Industry เน้นแนวนโยบาย ของ ผูน้ า� กับความมุง่ มัน่ ต่อการปรับปรุงองค์กร เพือ่ ให้พนักงานทุกคนเล็งเห็นความ ส�าคัญ ร่วมกันป้องกันมลพิษที่เป็นไปตาม “นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม” แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
GREEN
Building กองบรรณาธิการ
กฟผ.มอบป้ายอาคารเบอร์ 5 ในสถานศึกษา หวังเป็นต้นแบบเรียนรู้ ด้านการอนุรักษ์พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย มอบป้ายอาคารเบอร์ 5 ในสถานศึกษา ให้แก่ โรงเรียน พิรยิ าลัยจังหวัดแพร่ เพือ่ ประกาศเกียรติคณ ุ เป็นอาคารต้นแบบอนุรกั ษ์พลังงานแห่งแรก และเป็นแหล่ง เรียนรู้ด้านการใช้พลังงานให้กับครูและนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ อังคณา สุขวิบูลย์ ผู้อ�านวยการฝ่ายสื่อสารและประชาสัมพันธ์องค์การ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) เปิดเผยว่า กฟผ.ส่งมอบป้ายอาคารเบอร์ 5 ในสถานศึกษา ให้แก่ สิทธิพร รัตโนภาส อดีตผูว้ า่ การ กฟผ. และในฐานะอดีตศิษย์เก่าดีเด่นของโรงเรียน เพือ่ ส่งต่อให้กบั เลิศชาย รัตนะ ผู้อ�านวยการโรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่ ส�าหรับใช้เป็นอาคารเรียนและสถานที่เรียนรู้ด้าน การประหยัดพลังงาน พร้อมทั้งร่วมกันกดปุ่มเปิดป้ายอาคารเบอร์ 5 อย่างเป็นทางการ โดยมีครูและ นักเรียนโรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่เข้าร่วมงาน อังคณา กล่าวต่อว่า กฟผ.ขอขอบคุณที่โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่ เห็นความส�าคัญของ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีความมุ่งมั่นพัฒนา “อาคารภูมิพิริยานุสรณ์” จนได้รับ การประกาศเกียรติคณ ุ เป็นอาคารเบอร์ 5 ในสถานศึกษา หรืออาคารต้นแบบอนุรกั ษ์พลังงาน ส�าหรับ ใช้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน อันจะช่วยเสริมสร้างทัศนคติที่ดีที่จะก่อให้เกิด พฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ยังจัดพิธีมอบเกียรติบัตรแก่นักเรียน ต้นแบบด้านการอนุรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม จ�านวน 16 คน พร้อมทัง้ กดปุม่ เปิดป้ายและเยีย่ มชม อาคารเบอร์ 5 รวมถึงห้องเรียนสีเขียวอีกด้วย ส�าหรับกิจกรรม อาคารเบอร์ 5 ในสถานศึกษา เป็นการด�าเนินงานภายใต้โครงการห้องเรียน สีเขียวทีด่ า� เนินโครงการมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2541 จนถึงปัจจุบนั ตามกลยุทธ์ 3อ. ของ กฟผ. ได้แก่ อ.อาคาร อ.อุปกรณ์ และ อ.อุปนิสัยการใช้ไฟฟ้า ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุด โดยมุ่งเน้นไปที่ อาคารทีใ่ ช้สา� หรับการเรียนการสอนของสถานศึกษา สนับสนุนให้เกิดการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ โดยในปี พ.ศ. 2561 มีอาคารน�าร่องทีผ่ า่ นเกณฑ์การประเมินเป็น อาคารต้นแบบด้านการอนุรกั ษ์พลังงาน จ�านวน 3 โรงเรียน ซึง่ กฟผ.ได้มอบป้ายให้กบั โรงเรียนพิรยิ าลัย จังหวัดแพร่ เป็นแห่งแรก เพือ่ ประกาศเกียรติคณ ุ ว่า “อาคารภูมพิ ริ ยิ านุสรณ์” ได้ผา่ นเกณฑ์การประเมิน จากการออกแบบอาคารและมีการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าภายในอาคารอย่างเป็นระบบ ด้วยการ เลือกใช้อปุ กรณ์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีม่ ฉี ลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 การปรับเปลีย่ นหลอดไฟเป็นหลอด LED การปรับเปลี่ยนพัดลมและเครื่องปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพสูง ตลอดจนจัดกิจกรรมรณรงค์การใช้ พลังงานไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย น�าไปสูก่ ารประหยัดค่าไฟฟ้า ช่วยสร้างสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ภายในอาคารส�าหรับนักเรียน ครู และบุคลากรของ สถานศึกษา จากการด�าเนินกิจกรรมดังกล่าว โรงเรียนสามารถลดการใช้พลังงานภายในอาคารได้ถงึ 7,664 หน่วยต่อปี ลดค่าใช้จ่ายได้กว่า 38,320 บาทต่อปี และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้กว่า 4,340 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี 8
“กฟผ.ขอเชิญชวน สถาบันการศึกษาทุกแห่ง ทั่วประเทศ เข้าร่วมกิจกรรม อาคารเบอร์ 5 เพื่อรณรงค์ ให้เกิดการบริหารจัดการ พลังงานไฟฟ้าภายในโรงเรียน อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ช่วยลดค่าใช้จ่าย ตลอดจน เป็นการปลูกจิตส�านึกการอนุรักษ์ พลังงานและสิ่งแวดล้อม ให้กับครูและนักเรียน อันจะน�าไปสู่ การขยายผลภายในครอบครัว และชุมชนอย่างยั่งยืน”
GreenNetwork4.0 March-April 2019
อังคณา กล่าวในที่สุด
EcoStruxure Building
SMART
Building กองบรรณาธิการ
ปฏิรูปอาคารธรรมดา สู่อาคารอัจฉริยะ
ชไนเดอร์ อิเล็คทริค จัดเต็มโซลูชั่น EcoStruxureTM Building Operation ด้วยโซลูชั่นระบบการจัดการอาคาร เปลี่ยนอาคารธรรมดาให้เป็นอาคารอัจฉริยะ มอบความยืดหยุ่นและความมีเสถียรภาพของระบบ สามารถควบรวมระบบต่างๆ ไว้ในแพลตฟอร์มเดียวได้ ท�าให้สามารถมอนิเตอร์พร้อมบริหารจัดการควบคุม อาคารได้ในหนึง่ เดียวแบบเรียลไทม์ ทัง้ ระบบท�าความร้อน/ความเย็น (HVAC) ระบบ ควบคุมอุณหภูมภิ ายในอาคาร ระบบการจัดการพลังงาน ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบแสงสว่าง ระบบ Smart Meeting อีกทัง้ สามารถเลือกดูภาพรวม แดชบอร์ด เปรียบเทียบค่าการปลดปล่อยคาร์บอนและค่าพลังงานอื่นๆ ได้ พร้อมความสามารถในการวิเคราะห์ แจ้งเตือน คาดการณ์แนวโน้มการใช้งาน ส่วนต่างๆ ผ่าน Schneider Electric Service Bureau เพื่อให้เกิดความสมดุลและ ความคุม้ ค่าด้านการใช้พลังงาน และประสิทธิภาพของอุปกรณ์อา� นวยความสะดวก ต่างๆ ภายในอาคาร พร้อมความสามารถเหนือระดับในการมอนิเตอร์อาคารในเครือ ทัง้ หมดทีม่ อี ยูท่ วั่ โลกได้ในจุดเดียว นอกจากนี้ ยังสามารถท�างานร่วมกับระบบอืน่ ๆ ทีม่ อี ยูแ่ ล้วได้อย่างไร้รอยต่ออีกด้วย ครอบคลุมกลุม่ ธุรกิจโรงแรม อาคารพาณิชย์ โรงงานอุตสาหกรรม เฮลธ์แคร์ หรืออาคารต่างๆ
New Elements of EcoStruxure Building Include :
EcoStruxure Building Advisor is a comprehensive service
portfolio designed to improve occupant comfort and asset value while reducing operating costs. An integral part of EcoStruxure Building, EcoStruxure Building Advisor leverages expert field service engineers and remote data scientists to convert data into predictable, actionable insights, driving 33% fewer complaints from occupants, a 29% decrease in unscheduled maintenance and a 20% energy cost reduction on average. EcoStruxure Building Operations 2.0 is enhanced with best-in-class cybersecurity and delivers a customized native user experience through a responsive WebStation and mobile apps to engineer once, deploy-all-devices and provide mobile access on the go. 9
An Enterprise Central supervisory server enhances monitoring and control capability from 200+ servers to 2500+ servers for large and multi-site enterprises. The open, standards-based platform using Smart Connector framework enables systems integrators to build innovative applications and offers actionable insights through simple to set-up reporting and dashboards. It also includes additional IP integrated offers for commercial buildings including : SmartX IP Controllers and SmartX Living Space Sensors are next generation multipurpose field controllers and sensors that leverage industry standards and IP-based open protocols for a 30% increase in engineering efficiency and 20% faster commissioning leveraging the eCommission mobile app.
เกี่ยวกับชไนเดอร์ อิเล็คทริค ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผู้น�าด้านดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชั่น ในการจัดการพลังงานและระบบออโตเมชัน่ ตัง้ แต่ บ้าน อาคาร ดาต้าเซ็นเตอร์ ระบบโครงสร้างพืน้ ฐาน และอุตสาหกรรมต่างๆ ด้วยการยืนหยัดอยูใ่ นเวทีระดับโลกในกว่า 100 ประเทศ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เป็นผู้น�าที่โดดเด่นในด้านการจัดการพลังงาน ทัง้ แรงดันไฟฟ้าขนาดกลาง-ต�า่ และระบบส�ารองไฟฟ้า รวมถึง ระบบออโตเมชั่นต่างๆ เราน�าเสนอโซลูชั่นแบบบูรณาการที่มี ประสิทธิภาพ ด้วยการผสานการท�างานร่วมกันทัง้ ในส่วนของ พลังงาน ระบบออโตเมชัน่ และซอฟต์แวร์ เรามีระบบนิเวศทัว่ โลก ซึง่ เป็นการประสานความร่วมมือกับคูค่ า้ รายใหญ่ทสี่ ดุ รวมถึง ชุมชนนักพัฒนาและผู้วางระบบบนแพลตฟอร์มเปิด เพื่อมอบ ประสิทธิภาพด้านการด�าเนินงาน และการควบคุมในแบบเรียลไทม์ เราเชื่อว่าด้วยผู้คนที่ยอดเยี่ยมเหล่านี้ และพันธมิตรของเรา จะช่วยให้ชไนเดอร์ อิเล็คทริคเป็นบริษัทที่เยี่ยมยอด พร้อมกับ ค�ามั่นสัญญาของเราที่มุ่งมั่นในเรื่องการสร้างนวัตกรรม ความหลากหลาย และความยั่งยืนช่วยให้ทุกคนมั่นใจได้ว่า “Life is On” ในทุกที่ส�าหรับทุกคน และทุกช่วงเวลา
GreenNetwork4.0 March-April 2019
SPECIAL
Scoop กองบรรณาธิการ
“ถ่านมีชีวิต” แก้ปัญหาน�้าเสีย
ผลงานเยาวชน PTTEP Teenergy
ปัญหาหมอกควันในภาคเหนือเป็นวาระแห่งชาติมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2550 จนถึง ปัจจุบันปัญหาดังกล่าวยังไม่หมดไปและมีแนวโน้มจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เว็บไซต์ AirVisual ซึง่ จัดอันดับค่าดัชนีคณ ุ ภาพอากาศทัว่ โลก (World AQI Ranking) เคยรายงานตัวเลขที่ระบุว่า จังหวัดเชียงใหม่มีค่าดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) ในบางช่วงสูงกว่าระดับ 100 แสดงถึงความเข้มข้นของมลพิษทางอากาศมีคา่ เกิน มาตรฐาน และคุณภาพอากาศเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน นอกจากปัญหามลพิษทางอากาศแล้ว เชียงใหม่ยงั ต้องเผชิญกับมลพิษทางน�า้ ทีก่ า� ลังทวีความรุนแรงขึน้ ทุกวันอีกด้วย สาเหตุมาจากการทิง้ ขยะลงในแม่นา�้ ล�าคลอง ท�าให้น�้าบริเวณรอบคูเมืองเชียงใหม่มีสาหร่ายสีเขียวขึ้นเต็มไปหมด จนน�้าขาด ออกซิเจน ส่งผลให้ปลาตายเป็นจ�านวนมาก ระบบนิเวศของน�้าบริเวณรอบคูเมือง เสียหาย เยาวชนในท้องถิ่นกลุ่มหนึ่งมองเห็นปัญหาดังกล่าวและไม่นิ่งดูดาย อยาก เข้ามาช่วยลดปัญหาที่เกิดขึ้น จนเกิดเป็นโครงการ “ถ่านมีชีวิต” เพื่อแก้ปัญหา มลพิษอย่างยัง่ ยืน โดย นิพทั ธา กาพย์ตมุ้ หรือน้องปิน่ ไพร โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จ.เชียงใหม่ เล่าให้ฟังว่า “หนูอยูท่ นี่ ี่ เกิดทีน่ ี่ ได้เห็นปัญหามลพิษในเชียงใหม่มานานแล้ว ปัญหาน�า้ เน่า ในคูเมืองเกิดขึน้ ทุกปี หนูจงึ อยากให้เมืองของหนูมมี ลพิษน้อยลงและน่าอยูม่ ากขึน้ หลังจากทีห่ นูและเพือ่ นได้มโี อกาสเข้าค่ายโครงการ PTTEP Teenergy ของ ปตท.สผ. และเข้าร่วมกิจกรรมเวิรก์ ช็อปภายใต้แนวคิดเปลีย่ นเพือ่ โลก (Change for Climate) หนูได้คิดและน�าเสนอโครงการ “ถ่านมีชีวิต” ร่วมกับเพื่อนๆ ซึ่งโครงการนี้เป็น 1 ใน 10 โครงการทีไ่ ด้รบั คัดเลือกให้ได้รบั ทุนสนับสนุนจาก ค่าย PTTEP Teenergy หลังจากทีไ่ ด้รบั ทุน หนูและเพือ่ นก็ได้คน้ คว้าศึกษางานวิจยั ต่างๆ จนพบว่าทีภ่ าคเหนือ มีการปลูกข้าวโพดจ�านวนมาก แต่ซงั ข้าวโพดทีเ่ หลือจากการสีเมล็ดข้าวโพดออกไป กลับถูกทิ้งอย่างไร้ประโยชน์ หนูจึงเกิดความคิดน�าซังข้าวโพดมาแปรรูปเป็นถ่าน ด้วยวิธกี ารทางเคมี โดยการเผาแบบกึง่ อับอากาศหรือสภาวะไร้อากาศ (Pyrolysis) ซึ่งไม่ก่อให้เกิดมลพิษ โดยได้รับการสนับสนุนการเผาและการศึกษาวิจัยจาก คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้”
10
ประกอบกับเมือ่ เห็นสภาพน�า้ ในคูเมืองเชียงใหม่เน่าเสีย จึงพยายามหาวิธกี าร ที่จะแก้ปัญหา ซึ่งน้องๆ สังเกตเห็นว่า ในขณะที่ในน�้าบริเวณคูเมืองเชียงใหม่ เต็มไปด้วยสาหร่ายสีเขียวแกมน�้าเงิน จึงได้น�าตะกอนดังกล่าวเข้าไปศึกษาใน ห้องทดลอง และพบว่าในดินดังกล่าวมีแบคทีเรียสายพันธุบ์ าซิลลัส (Bacillus.spp) อยูจ่ า� นวนมาก และแบคทีเรียสายพันธุบ์ าซิลลัสนี้ สามารถก�าจัดสาหร่ายสีเขียวแกม น�้าเงินโดยนอกจากจะเป็นสาหร่ายที่ท�าให้เกิดน�้าเสียแล้ว ยังเป็นสาหร่ายที่ผลิต สารพิษไมโครซิสติน ซึง่ เป็นสารทีก่ อ่ ให้เกิดตับอักเสบและเร่งการเกิดมะเร็งของตับ นอกจากจะมีผลกับคนแล้ว พิษของสาหร่ายชนิดนี้ยังมีผลโดยตรงต่อสัตว์น้�าหรือ สัตว์บกที่ไปบริโภคน�้าที่มีสาหร่ายชนิดนี้ด้วย เมื่อทดลองพบว่าแบคทีเรียสายพันธุ์บาซิลลัสเติบโตได้ดีในถ่านที่ผลิตจาก ซังข้าวโพด และสามารถน�าไปก�าจัดสาหร่ายสีเขียวแกมน�า้ เงินได้อย่างแน่นอนแล้ว จึงท�าการทดลองเพิ่มเติมให้แน่ใจ โดยน�าถ่านที่เพาะเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งน้องๆ เรียกมันว่า “ถ่านมีชีวิต” เพราะมีแบคทีเรียซึ่งจัดเป็นสิ่งมีชีวิตจ�านวนมากเติบโต อยู่ในนั้น น้องๆ ได้ทดลองน�าถ่านมีชีวิตบรรจุในขวดพลาสติกเหลือใช้ แล้วน�าไป จุ่มแช่ในน�้าตัวอย่างที่น�ามาจากบริเวณรอบคูเมืองเชียงใหม่ในห้องทดลองพบว่า การวางทิง้ ไว้ 5 วัน แบคทีเรียสายพันธุบ์ าซิลลัส สามารถก�าจัดสาหร่ายสีเขียวแกม น�้าเงินได้หมด ไม่เกิดน�้าเน่าเสีย ภายหลังจากการใช้ “ถ่านมีชวี ติ ” ดังกล่าวบ�าบัดน�า้ เสียเรียบร้อยแล้ว ยังสามารถ น�าไปบดท�าเป็นปุ๋ยส�าหรับปลูกพืชต่อไปได้อีกด้วย และจากการทดลองปลูกพืช ก็พบว่าได้ผลเป็นทีน่ า่ พอใจ พืชเจริญเติบโตได้ดเี พราะถ่านซังข้าวโพดอุดมไปด้วย แบคทีเรียที่มีประโยชน์ต่อพืช ในอนาคตทีมของน้องๆ คิดจะต่อยอดโครงการ โดยน�าถ่านมีชวี ติ ทีผ่ ลิตได้ ไปทดลองใช้จริงส�าหรับการบ�าบัดน�า้ บริเวณรอบคูเมืองเชียงใหม่ และจะน�าผลการ ทดลองไปเผยแพร่ในชุมชนใกล้เคียงหรือชุมชนในบริเวณทีม่ ปี ญ ั หาน�า้ เน่าเสีย โดย หากได้รบั ความร่วมมือจากชุมชนทีส่ นใจ เชือ่ ว่าโครงการถ่านมีชวี ติ นีจ้ ะเป็นอีกหนึง่ โครงการที่สามารถช่วยแก้ปัญหามลพิษในเมืองเชียงใหม่ได้ต่อไป
GreenNetwork4.0 M March-April 2019
SPECIAL
Scoop กองบรรณาธิการ
ค่าย “เยาวชนจิตอาสา สร้างป่า รักษ์น�้า” กิจกรรมดีๆ จากราชบุรีโฮลดิ้ง
กิจกรรมค่ายเยาวชนกล้ายิ้ม ภาคเหนือ โครงการคนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชน ประจ�าปี 2562 มุ่งปลูกฝังจิตสาธารณะให้แก่เยาวชน ด้วยการน้อมน�าพระราชด�าริใน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โครงการจิตอาสา “เราท�าความดี ด้วยหัวใจ” มาเป็นแก่นของกิจกรรม ภายใต้หัวข้อ “เยาวชนจิตอาสา สร้างป่า รักษ์น�้า” โดยจะจุดประกายเยาวชนให้ตระหนักถึงการอุทิศตนเพื่อส่วนรวม สร้างสรรค์คุณค่าให้ชุมชนและสังคม ตลอดจนสร้างความภาคภูมิใจให้เกิดขึ้นกับตนเอง บุญทิวา ด่านศมสถิต ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่บริหารองค์กร บริษทั ผลิตไฟฟ้า ราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า เราทราบกันดีวา่ โครงการจิตอาสา “เราท�าความดี ด้วยหัวใจ” พระราชด�าริในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ได้แผ่ขยายและสร้างจิตอาสาบ�าเพ็ญประโยชน์ไปทุกพืน้ ทีใ่ นประเทศ ในส่วนบริษทั ฯ เอง ก็เชื่อมั่นในแนวคิดของ “จิตอาสา” มาโดยตลอด ดังนั้น บริษัทฯ จึงน้อมน�าพระราชด�าริ ของพระองค์มาสานต่อกับกิจกรรมค่ายเยาวชนกล้ายิ้ม ด้วยเชื่อว่าการท�าจิตอาสานั้น เริ่มต้นได้จากทุกคน ไม่จ�ากัดเพศหรือวัย กิจกรรมค่ายเยาวชนกล้ายิ้ม ภาคเหนือ ประจ�าปี 2562 ครั้งที่ 1 ได้น�านักเรียน ใน 6 จังหวัดภาคเหนือจ�านวน 55 คน มาร่วมท�ากิจกรรมร่วมกัน เยาวชนจะได้เรียนรู้ถึง หลักการและแนวคิดของจิตอาสาจากวิทยากรที่อุทิศตนเป็นจิตอาสามาอย่างยาวนาน และจะได้ลงมือปฏิบัติโดยการสร้างฝาย 6 แห่ง และปลูกต้นไม้ 1,000 ต้น โดยจัดขึ้นที่ ป่าชุมชนบ้านภูเขาแก้ว ต.เชียงเคีย่ น อ.เทิง จ.เชียงราย เป็นป่าชุมชนทีไ่ ด้รบั รางวัลป่าชุมชน ชนะเลิศดีเด่นด้าน “การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” ในการประกวดป่าชุมชนดีเด่นระดับประเทศ โครงการคนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชน ประจ�าปี 2561 ป่าชุมชนแห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์ เป็น แหล่งพืน้ ทีต่ น้ น�า้ หลายสาย อีกทัง้ ยังมีภมู หิ ลัง เรื่องความสามัคคี ร่วมแรงร่วมใจกัน และเสียสละตนของคนในชุมชน ช่วยกัน ฟื ้ น ฟู ผื น ป่ า อั น เสื่ อ มโทรมจากการ สัมปทานไม้ในอดีต ปัจจุบันป่าแห่งนี้ กลายเป็นต้นแบบการศึกษาธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ ภาคเหนือ ของกรมส่งเสริมคุณภาพ สิง่ แวดล้อม กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 1 ใน 4 แห่งของประเทศไทยอีกด้วย
12
สนอง อินตะวงศ์ ประธานป่าชุมชนบ้านภูเขาแก้ว อดีตผู้ใหญ่บ้าน กล่าวว่า ป่าชุมชนบ้านภูเขาแก้วเริม่ ด�าเนินการมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2538 บริเวณ แห่งนี้เป็นป่าเสื่อมโทรมที่เกิดจากการให้สัมปทานป่าไม้ ผู้ได้รับสัมปทาน ได้ตัดไม้ใหญ่ออกไปจนหมด ชาวบ้านได้เข้ามาจับจองปลูกพืชไร่ ท�าให้ เกิดปัญหาป่าต้นน�า้ ถูกบุกรุกท�าลาย เกิดความแห้งแล้ง สัตว์ปา่ ถูกล่า มีการ เผาป่าเพื่อเก็บพืชป่า ผู้น�าชุมชนในขณะนั้นต่างตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จึงขอความร่วมมือจากชาวบ้านให้ช่วยกันอนุรักษ์ป่าต้นน�้ าของชุมชน ในระยะแรกมีชาวบ้านให้ความร่วมมือไม่มากนัก แต่ต่อมาเมื่อชาวบ้าน เห็นว่าป่าแห่งนี้ให้สร้างประโยชน์ให้แก่ชุมชนและชาวบ้านได้อย่างแท้จริง ก็มีผู้มอบพื้นที่ป่าคืนให้กับชุมชนมากขึ้น ปัจจุบันผืนป่าแห่งนี้กว้างใหญ่นับ พันไร่ มีป่าที่อุดมสมบูรณ์ ต้นไม้ใหญ่ มีสัตว์ป่ามาอาศัยจ�านวนมาก และ ที่ส�าคัญคือ ชาวบ้านได้ใช้ผืนป่าแห่งนี้เป็นเสมือนห้องครัวของชุมชน เพราะ มีพืชป่าที่ออกตามธรรมชาติตลอดทั้งปี โดยเฉพาะพืชจ�าพวกเห็ด ที่บริเวณ อื่นอาจจะออกตามฤดูกาลแต่ที่นี่ชาวบ้านเก็บเห็ดได้ตลอดปี ด้วยความร่วมมือร่วมใจกันของชุมชน ป่าชุมชนบ้านภูเขาแก้วจึงได้รบั รางวัลมากมาย สร้างความภาคภูมใิ จให้แก่ชมุ ชนและชาวบ้านเป็นอย่างมาก และรางวัลที่ได้ก็จะน�ามาปรับปรุงชุมชนให้สะดวกสบายขึ้นท�าให้ชาวบ้าน ในชุมชนไม่ตอ้ งออกไปท�างานต่างถิน่ ส่งผลถึงความอบอุน่ ในครอบครัวด้วย ไชยนันทน์ (น้องยิว) แก้วโน นักเรียนชัน้ ม.3 โรงเรียนวังหวายวิทยาคม จ.ตาก และ พิชามญชุ์ (น้องพรินซ์) บัวดี นักเรียนชัน้ ม.2 โรงเรียนเทศบาล เมืองแม่ฮ่องสอน จ.แม่ฮ่องสอน มีความเห็นสอดคล้องกันว่า การเข้าร่วม โครงการนีท้ า� ให้เห็นว่า ป่าไม้มปี ระโยชน์มาก ท�าให้ชมุ ชนมีแหล่งอาหาร ชุมชน มีความสามัคคี ถึงแม้ในชุมชนตนเองจะไม่มีป่าชุมชนเช่นนี้แต่หากมีโอกาส ก็ยินดีเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาในโครงการอื่น นอกจากนั้นยังได้รับความรู้ จากวิทยากรที่มาบอกเล่าถึงการท�างานจิตอาสาที่เป็นแรงบันดาลใจที่จะ ท�างานจิตอาสาต่อไปอีกด้วย
GreenNetwork4.0 March-April 2019
ชนะ ภูม.ี ..SCG กับรางวัล
SPECIAL
Scoop กองบรรณาธิการ
Thailand Green and Smart Mining Award 2019 ธุรกิจซีเมนต์และผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง เอสซีจี คว้ารางวัล “Thailand Green and Smart Mining Award 2019” ตามแนวทางการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน ด้วยการน�าแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) หรือ การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่าสูงสุดมาใช้ในทุกขั้นตอนของ การบริหารจัดการเหมือง เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชนอย่าง ยัง่ ยืน ภายใต้สงิ่ แวดล้อมและความเป็นอยูท่ ดี่ ขี องสังคมไทย แสดงถึงความ ส�าเร็จในการบริหารจัดการท�าเหมืองทีร่ บั ผิดชอบต่อสังคม และเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม
ตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนที่ด�าเนินกิจการ ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมสิ่งแวดล้อม
ชนะ ภูมี Vice President - Cement and Construction Solution Business ธุรกิจซีเมนต์และผลิตภัณฑ์กอ่ สร้าง เอสซีจี กล่าวว่า ตลอดระยะ เวลาที่ประกอบกิจการธุรกิจซีเมนต์และผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง เอสซีจีตระหนัก และให้ความส�าคัญในการด�าเนินธุรกิจด้วยแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วยการน�าแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ของเอสซีจี อีกทัง้ ได้ให้ความส�าคัญกับการท�าเหมืองหินปูนให้มผี ลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และสังคมน้อยทีส่ ดุ หลักการส�าคัญคือการปฏิบตั งิ านตามการประเมินวงจร ชีวิตของเหมือง ซึ่งเป็นการประเมินผลกระทบครอบคลุมในทุกขั้นตอนของ การท�าเหมือง และหินปูนที่ผลิตจากเหมืองน�าไปใช้ประโยชน์ตามแนวคิด เศรษฐกิจหมุนเวียน รวมทั้งด�าเนินการตามมาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิง่ แวดล้อมทีก่ า� หนดในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม มาโดยตลอด ตามหลักการส�าคัญที่น�ามาปรับใช้เพื่อให้สามารถท�าเหมือง ควบคู่ไปกับการดูแลสิ่งแวดล้อมและสังคมชุมชนโดยรอบในทุกขั้นตอน การท�าเหมือง นั่นคือ Quarry Life Cycle ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนหลัก คือ การคัดเลือกที่ตั้งโครงการ การออกแบบ การท�าเหมือง และการฟื้นฟูและ ปิดเหมือง
สังคม และชาวบ้านยอมรับการท�างานในแต่ละพืน้ ที่ เริม่ ต้นจากการด�าเนินธุรกิจเหมืองแร่ ตามหลักมาตรฐานความปลอดภัยของชุมชนและสิ่งแวดล้อม และเมื่อถึงวันสุดท้ายของ การประกอบกิจการก็มแี ผนฟืน้ ฟูเหมืองภายหลังด�าเนินกิจการแล้วเสร็จ มีแผนการท�างาน ที่สามารถให้รายละเอียดแก่ชุมชน ชาวบ้านรับทราบอย่างเป็นระบบ เช่น ภายหลังจาก การท�าเหมืองแล้วจะปรับปรุงพื้นที่ ปรับปรุงทัศนียภาพของพื้นที่รอบเหมืองให้มีความ งดงาม สร้างแหล่งน�้าเพื่อการเกษตรส�าหรับชุมชน รวมไปถึงน�าคณะแพทย์เข้ามาตรวจ สุขภาพของชาวบ้านในชุมชนอย่างสม�่าเสมอ ท�ากิจกรรมการมีส่วนร่วมกับภาคชุมชน, กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม ในการดูแลเหมืองแร่ สีเขียว เพื่อเป็นการพัฒนาทรัพยากรแร่ของชาติให้เกิดสมดุลร่วมกันอย่างยั่งยืน
รางวัล Thailand Green and Smart Mining Award 2019
จากเจตนารมณ์ของธุรกิจซีเมนต์และผลิตภัณฑ์กอ่ สร้าง เอสซีจี ทีม่ งุ่ ประกอบกิจการ เหมืองหินปูนที่รับผิดชอบต่อสังคมและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของ ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ส่งผลให้ธุรกิจซีเมนต์และผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง เอสซีจี ได้รับ รางวัล Thailand Green and Smart Mining Award 2019 จากกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นับเป็นต้นแบบ (Best Practice) ในการ บริหารจัดการเหมืองในกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ ตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) อีกทัง้ เหมืองหินปูนทุกเหมืองของเอสซีจยี งั ได้รบั EIA Monitoring Awards ระดับยอดเยี่ยม และ Green Mining Awards มาอย่างต่อเนื่อง อันเป็นไปตาม เกณฑ์การรับรางวัล Thailand Green and Smart Mining ที่แสดงถึงความรับผิดชอบ ต่อสังคมและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส�าหรับพิธีมอบรางวัลดังกล่าวได้รับเกียรติจาก พลเอกสุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เป็นผูม้ อบรางวัล ซึง่ จัดขึน้ ในงาน “มิติใหม่ เหมืองแร่ไทย ครั้งที่ 2 : ก้าวใหม่จากนโยบาย สู่การปฏิบัติ”
ยึดหลักการท�างานด้วยตั้งมั่นในความเป็นธรรม มุ่งมั่นในความเป็นเลิศ เชื่อมั่นในคุณค่าของคน และรับผิดชอบต่อสังคม
ส�าหรับหลักในการท�างานนัน้ คุณชนะ กล่าวว่า ได้ยดึ หลักภายใต้ “อุดมการณ์ 4” ซึ่งเป็นหลักปฏิบัติของทุกธุรกิจในเครือเอสซีจี ได้แก่ ตัง้ มัน่ ในความเป็นธรรม มุง่ มัน่ ในความเป็นเลิศ เชือ่ มัน่ ในคุณค่าของ คน และถือมัน่ ในความรับผิดชอบต่อสังคม จากทีไ่ ด้เห็นรุน่ พีใ่ นองค์กร คิด ปฏิบตั ิ และตัดสินใจในเรือ่ งต่างๆ โดยยึดความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นตัวตัง้ ทุกธุรกิจทีเ่ ราไปด�าเนินงาน เราจะเน้นการฟืน้ ฟูและดูแลพืน้ ที่ ไปพร้อมๆ กันเสมอโดยเริม่ ต้นจากกลุม่ วิศวกรของเอสซีจที ลี่ งพืน้ ทีพ่ ดู คุย กับชุมชน ท�าให้พบว่าชุมชนมีความต้องการใช้นา�้ เพือ่ ท�าการเกษตร เนือ่ งจาก ประสบปัญหาภัยแล้งมายาวนาน จึงได้น้อมรับเสียงสะท้อนในด้านต่างๆ เพื่อน�ามาพัฒนากระบวนการผลิตจนถึงกระบวนการปิดเหมือง ที่นอกจาก จะต้องสอดคล้องกับมาตรฐานอุตสาหกรรมแล้ว ยังต้องเป็นมิตรกับชุมชน และสิ่งแวดล้อม พัฒนาพื้นที่ที่ท�าเหมืองแร่ให้เป็นเหมืองที่อยู่ร่วมกับชุมชน 13
GreenNetwork4.0 March-April 2019
ชนะ ภูมี
เจาะลึก PDP 2018 : พลังงานทดแทน คือ แพะบูชายัญ
GREEN
Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข
Power Development Plan (PDP 2018) แผนแม่บทในกำรจัดหำ พลังงำนไฟฟ้ำของประเทศในระยะยำว ภำยใต้เสำหลัก 3E คือ 1. Energy Security ควำมมั่นคงด้ำนพลังงำนไฟฟ้ำ 2. Economic ด้ำนเศรษฐกิจ 3. Environmental Friendly ด้ำนสิง่ แวดล้อม นับว่ำเป็นหลักกำรทีด่ ดู ี แต่ขอ้ สมมติฐำนในใจของผูก้ ำ� หนด นโยบำยยังคิดว่ำพลังงำนทดแทนเสมือนเป็นผู้ร้ำยของแผ่นดิน เป็นส่วนที่ท�ำให้ ค่ำไฟฟ้ำสูงและเป็นส่วนเกินของแผน PDP ด้วยซ�้ำไป ในประเทศพัฒนำแล้วกำร วำงแผนด้ำนพลังงำนจะค�ำนึงถึงพลังงำนทดแทนในแผนแม่บทเป็นล�ำดับแรก และ สัดส่วนที่ขำดอยู่จึงมำเพิ่มเติมด้วยกำรผลิตไฟฟ้ำจำกฟอสซิล (ซำกดึกด�ำบรรพ์) ในแผน PDP ใหม่นี้ RE ซึ่งกลำยเป็น “แพะรับบาป แพะที่ถูกบูชายัญ” การรับซื้อ ไฟฟ้าที่เกินความจ�าเป็นในอดีต ถูกยกความผิดพลาดว่ามาจาก RE (Renewable Energy) เพื่อให้ผู้มีอ่ำนมองเห็นภำพ PDP 2018 ชัดเจนขึ้น ขอยกข้อเขียนของกูรู ด้ำนพลังงำนท่ำนหนึ่ง ซึ่งได้วิเครำะห์แผน PDP ไว้อย่ำงน่ำสนใจ ดังนี้ ในแผน PDP 2018 มีกำรพูดถึงระบบผลิตไฟฟ้ำเพื่อควำมมั่นคง กำรให้ได้ ไฟฟ้ำทีม่ คี วำมมัน่ คงเชือ่ ถือได้ 41,800 เมกะวัตต์ จ�ำเป็นต้องมีกำ� ลังผลิตไฟฟ้ำตำม สัญญำ 77,211 เมกะวัตต์ โดยระบุวำ่ มีเป้ำหมำยของแผน AEDP 2018 เป็นสัดส่วน กำรใช้พลังงำนทดแทนร้อยละ 30 ของกำรใช้พลังงำนขั้นสุดท้ำยในปี พ.ศ. 2580 ซึ่งกำรใช้พลังงำนทดแทนต่อกำรใช้พลังงำนขั้นสุดท้ำย และพลังงำนขั้นสุดท้ำย ประกอบด้วย กำรผลิตไฟฟ้ำ กำรผลิตควำมร้อน และเชื้อเพลิงชีวภำพ ผู้เขียนขอพูดในมิติ กำรผลิตไฟฟ้ำของแผน PDP 2018 เมื่อลองพิจำรณำ หลักกำรและวิธคี ดิ กำรจัดท�ำ PDP ของประเทศไทย เปรียบเทียบกับประเทศทีต่ อ้ งกำร ส่งเสริมพลังงำนทดแทนและพลังงำนทำงเลือก จะเห็นว่ำกำรจัดท�ำแผน PDP ของ ประเทศไทย จะมีกำรพิจำรณำกำรเข้ำมำของโรงไฟฟ้ำตำมค่ำพยำกรณ์ควำม ต้องกำรใช้ไฟฟ้ำ (Load Forcast) โดยเริม่ ต้นทีโ่ รงไฟฟ้ำจำกพลังงำนฟอสซิลทีต่ วั หลัก จะเป็นก๊ำซธรรมชำติ ถ่ำนหิน (ดังรูปกรำฟ-ฐำนกรำฟ) ส่วนโรงไฟฟ้ำพลังงำนทดแทน และพลังงำนทำงเลือกจะถูกพิจำรณำใส่เข้ำแผนในล�ำดับถัดไป (ดังรูปกรำฟ-ด้ำนบน กรำฟแท่ง)
ที่มา : การเสวนาแลกเปลี่ยนประเด็น (Open Forum) และการรับทราบข้อแนะน�าเกี่ยวกับ PDP ฉบับใหม่ 14
ส�ำหรับกลุม่ ประเทศทีต่ อ้ งกำรส่งเสริมพลังงำนทดแทนและพลังงำนทำงเลือก มองว่ำกำรพิจำรณำล�ำดับกำรสัง่ กำรเดินเครือ่ งของโรงไฟฟ้ำพลังงำนทดแทนและ พลังงำนทำงเลือก จะต้องได้รบั เลือกเข้ำระบบเป็นล�ำดับแรก และในล�ำดับถัดไป คือ โรงไฟฟ้ำที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลที่จะเข้ำสู่ระบบส่วนที่เหลือ Residual Loads (Total Load หักลบ REFeed In) ซึ่งแน่นอนว่ำกำรจะด�ำเนินกำรในลักษณะนี้ได้จะต้องมี ระบบที่สำมำรถพยำกรณ์ (RE Forecast) บริหำรจัดกำรด้ำนกำรตอบสนองด้ำน ควำมต้องกำรไฟฟ้ำ ระบบบริหำรจัดกำรพลังงำนอัตโนมัติและควบคุมโรงไฟฟ้ำ พลังงำนทดแทนและพลังงำนทำงเลือกทีม่ ปี ระสิทธิภำพ เพือ่ ควำมมัน่ คงและควำมมี เสถียรภำพของระบบไฟฟ้ำด้วยเช่นกัน ในทำงกลับกัน โรงไฟฟ้ำทีใ่ ช้เชือ้ เพลิงฟอสซิล ก็ต้องสำมำรถปรับตัวเองให้ยืดหยุ่น สำมำรถปรับกำรเดินเครื่องและตอบสนอง ตำมกำรสั่งจ่ำยไฟฟ้ำที่ต้องอยู่ร่วมกับโรงไฟฟ้ำพลังงำนทดแทนและพลังงำน ทำงเลือกทีม่ คี วำมผันผวนและไม่แน่นอน และท้ำยทีส่ ดุ โรงไฟฟ้ำทุกประเภทจะต้อง ปรับตัวให้สำมำรถแข่งขันกันได้อย่ำงเสรีและเป็นธรรม
ที่มา : Capacity Building on Renewable Energy and Grid Intregration (CapREG) : Virtual Classroom - “Flexibility Options for Power Systems” 20 September, 2018, Berlin, Dr.Claudia Weise, VGB
GreenNetwork4.0 March-April 2019
สถำนกำรณ์พลังงำนของโลกจำกข้อมูลของ IEA (International Energy Agency) ปี ค.ศ. 2017 พบว่ำ สัดส่วนกำรใช้พลังงำนทดแทนและพลังงำนทำงเลือก ในกำรผลิตไฟฟ้ำของหลำยประเทศมีสดั ส่วนทีส่ งู และพลังงำนทดแทนและพลังงำน ทำงเลือกเริม่ เข้ำมำมีบทบำทในกำรผลิตไฟฟ้ำของหลำยประเทศทัว่ โลก โดยเฉพำะ ประเทศออสเตรเลีย เดนมำร์ก และหลำยประเทศทำงยุโรป แม้วำ่ ประเทศทำงฝัง่ เอเชียจะมีสัดส่วนพลังงำนทดแทนและพลังงำนทำงเลือกในกำรผลิตไฟฟ้ำไม่ถึง 10% แต่พลังงำนทดแทนและพลังงำนทำงเลือกก็ได้น�ำเข้ำมำพิจำรณำร่วมด้วยใน กำรผลิตไฟฟ้ำในแผน PDP ของแต่ละประเทศอย่ำงชัดเจนมำกขึ้นและต่อเนื่อง
ที่มา : IEA2017 แผน PDP ฉบับใหม่ของประเทศไทยมีแนวทำงกำรจัดท�ำแผนโดยพิจำรณำ ศักยภำพพลังำนหมุนเวียนรำยภูมิภำค มีกำรจัดสรรโรงไฟฟ้ำใหม่เพิ่มเติมจำก โรงไฟฟ้ำในปัจจุบนั ทีม่ กี ำรตอบรับซือ้ แล้ว ในมุมมองผูเ้ ขียนดูเหมือนการพิจารณา ศักยภาพพลังงานหมุนเวียนรายภาค อาจจะช่วยการบริหารแหล่งเชื้อเพลิงแยก ตามภูมิภาคได้ และช่วยแก้ปัญหาการแข่งขันแย่งชิงเชื้อเพลิงพลังงานหมุนเวียน หรือปัญหาการเคลื่อนย้ายเชื้อเพลิงพลังงานหมุนเวียนข้ามพื้นที่ แต่อาจจะไม่ใช่ ค�าตอบทีน่ า� ไปสูก่ ารตอบโจทย์การส่งเสริมพลังงานหมุนเวียนและพลังงานทางเลือก มีปัจจัยนอกเหนือจำกนี้ที่ควรต้องค�ำนึงถึง อำทิ โรงไฟฟ้ำพลังงำนหมุนเวียนและ พลังงำนทำงเลือกของชุมชนที่ผลิตไฟฟ้ำและจ่ำยไฟฟ้ำใช้ภำยในหมู่บ้ำนชุมชน ทีเ่ กิดจำกกำร Synergy พลังงำนหมุนเวียนและพลังงำนทำงเลือกในชุมชน เพือ่ ให้ใช้ ทรัพยำกรของท้องถิน่ ให้เกิดประโยชน์อย่ำงเต็มที่ โดยน�ำเทคโนโลยีระบบไมโครกริด (Micro Grid) และระบบสมำร์ทกริด (Smart Grid) เข้ำมำช่วยเสริมควำมมัน่ คงของ ระบบไฟฟ้ำ เป็นกำรกระจำยอ�ำนำจให้ชุมชน กำรกระจำยรำยได้และสร้ำงควำม เจริญเติบโตในท้องถิ่นบูรณำกำรกำรท�ำงำนร่วมกัน เพื่อให้ชุมชนในพื้นที่มีควำม รู้สึกเป็นเจ้ำของและรักษำระบบไฟฟ้ำ เป็นปัจจัยที่ส�ำคัญอันจะน�ำไปสู่ควำมยั่งยืน ของกำรพัฒนำพลังงำนทดแทนและพลังงำนทำงเลือกและควำมเข้ำถึงประชำชน อย่ำงแท้จริง 15
อีกประเด็นส�ำคัญทีต่ อ้ งพูดถึงและยังไม่มคี วำมชัดเจน คือ มำตรกำรสนับสนุน เงินลงทุนจำกภำครัฐ เพือ่ โครงกำรโรงไฟฟ้ำพลังงำนหมุนเวียนและพลังงำนทำงเลือก ของชุมชน หรือมำตรกำรสนับสนุนด้ำนรำคำไฟฟ้ำส�ำหรับผู้ผลิตไฟฟ้ำชุมชน เพือ่ ให้โครงกำรเกิดควำมคุม้ ค่ำน่ำลงทุนและเกิดผลได้จริงในทำงปฏิบตั ิ ทีป่ จั จุบนั นโยบำยภำครัฐยังคงเน้นให้ควำมส�ำคัญกับผู้ผลิตไฟฟ้ำภำคเอกชนเป็นหลัก ที่ให้ อัตรำรับซือ้ ไฟฟ้ำในลักษณะของ Feed-in-Tariff (FIT) เมือ่ เปรียบเทียบกับผูผ้ ลิต ไฟฟ้ำระดับครัวเรือน ชุมชน หรือประชำชน ที่นโยบำยยังขำดควำมชัดเจนและ ควำมต่อเนื่องในกำรด�ำเนินกำร ทั้งที่กำรสนับสนุนส่งเสริมให้ภำคประชำชนมี ส่วนร่วมในกำรผลิตไฟฟ้ำจำกพลังงำนหมุนเวียนจะเป็นหนทำงแห่งควำมยัง่ ยืนของ กำรพัฒนำพลังงำนทดแทนและพลังงำนทำงเลือกอย่ำงแท้จริง “หลายครั้งผู้เขียนมักจะได้ยินคนพูดกันว่า ประเทศไทยจะต้องเดินหน้า ส่งเสริมพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกให้เหมือนต่างประเทศทีม่ ี RE 100% โดยไม่ตอ้ งใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิลในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ซึง่ ประเด็นนีผ้ เู้ ขียนอยาก ให้ท�าความเข้าใจความหมายใหม่ว่า RE 100% อย่างเช่นในประเทศเยอรมนีมีจริง แต่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่ง และโรงไฟฟ้าใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลก็ยังคงมีความจ�าเป็น และต้องเดินเครื่องผลิตไฟฟ้าเข้าสู่ระบบไฟฟ้าอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้”
“ขอบคุณส�าหรับบทวิเคราะห์แผน PDP 2018” ไม่ว่ำแผน PDP 2018 เนื้อหำจะเป็นเช่นไร แต่ที่เหมือนกับฉบับที่ผ่ำนๆ มำ ก็คือเมื่อรับฟังควำมคิดเห็นแล้วมักจะไม่มีกำรปรับเปลี่ยนแต่อย่ำงใด ผู้เขียนมี ข้อเสนอว่ำ 1) การรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนไม่ควรเป็นแบบราคาเดียวตลอด อายุสัมปทาน แต่ควรมีความยืดหยุ่นด้านราคาในการปรับขึ้นตาม สถานการณ์เชื้อเพลิง 2) โรงไฟฟ้าชุมชนต้องเป็นของชุมชนอย่างน้อย 80% และไม่จ�าเป็น ต้องมีหน่วยงานของรัฐเข้ามาร่วมทุน รัฐควรลงทุนด้วยการให้ PPA และ สายส่งเท่านั้น 3) รัฐควรส่งเสริมให้ภาคเอกชนในแต่ละจังหวัดรวมตัวและลงทุนผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเพือ่ เป็นการกระจายรายได้ มิฉะนัน้ พลังงาน ทดแทนไทยในอนาคตจะอยูใ่ นมือบริษทั ใหญ่ๆ และนักลงทุนต่างประเทศ... แล้วใครจะรักษ์สงิ่ แวดล้อมบ้านเราเท่ากับพวกเราดูแลกันเอง เราหวังว่า ในอนาคตอันใกล้เมืองไทยจะมีบริษทั พัฒนาเมืองทีเ่ กิดจากการรวมตัว ของภาคเอกชน วิสาหกิจชุมชน สหกรณ์ ฯลฯ กระจายอยูท่ กุ ๆ จังหวัด
GreenNetwork4.0 March-April 2019
GREEN
Focus นรินพร มาลาศรี ผู้ช�านาญการพิเศษ ฝ่ายแผนและก�ากับ การจัดหาพลังงาน ส�านักงาน กกพ.
การบริหารจัดการพลังงานทดแทนให้มีความเสถียร Firm Renewable Energy
กรณีศึกษา Energy Self-Sufficient Village Feldheim
ผู ้ เ ขี ย นขอเล่ า ประสบการณ์ ที่ มี โ อกาสไปศึ ก ษาดู ง าน Energy Self-Sufficient Village Feldheim โดยผู้จัด the Renewables Academy (RENAC) AG ภายใต้โครงการ “Green Energy and Climate Finance Delegation Tour and B2B Meetings in Germany” สนับสนุนทุนโดย the German Federal Ministry for the Environment, Nature Conservation and Nuclear Safety (BMU) ภายใต้ the German International Climate Initiative (IKI) ระหว่างวันที่ 8-16 กันยายน พ.ศ. 2561 มาเล่าสู่กันฟัง
นโยบายด้านพลังงานของประเทศเยอรมนี German Renewable Energy Sources Act (Erneuerbare-Energien-Gesetz : EEG) ให้การ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนเข้าสูร่ ะบบไฟฟ้าเป็นล�าดับแรก ซึง่ ประเทศ เยอรมนีเป็นประเทศที่มีการพัฒนาและทดลองเพื่อการบริหารจัดการ พลังงานทดแทนให้มีความเสถียร (Firm Renewable Energy) เนื่องจาก พลังงานทดแทนนัน้ ถือว่าเป็นพลังงานทีไ่ ม่เสถียร (Non-Firm) อาทิ พลังงาน แสงอาทิตย์ หรือพลังงานลม ซึ่งแสงอาทิตย์มีความไม่เสถียร แปรผันตาม สภาพภูมอิ ากาศและฤดูกาล พลังงานน�า้ แปรผันตามปริมาณฝน หรือพลังงาน ชีวมวลแปรผันตามผลผลิตทางการเกษตร พลังงานทดแทนจึงยังไม่สามารถ น�ามาทดแทนพลังงานฟอสซิลได้ทั้งหมด ดังนั้น เพื่อที่จะรองรับการเป็น เชือ้ เพลิงในการผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ตลอดเวลา จึงมีแนวทางบริหารจัดการ พลังงานทดแทนให้มคี วามเสถียรมากขึน้ โดยมีทงั้ รูปแบบ โครงการผสมผสาน พลังงานทดแทนและพลังงานฟอสซิล ได้แก่ โครงการผสมผสานพลังงาน แสงอาทิตย์และเครือ่ งก�าเนิดไฟฟ้าดีเซล (PV-Diesel-Hybrid System) และ น�าอุปกรณ์ควบคุมอัตโนมัติ ระบบไอทีและระบบสารสนเทศทีท่ นั สมัยเข้ามาใช้ ในการพยากรณ์ ควบคุม สัง่ การและบริหารจัดการเดินเครือ่ งจักรและระบบ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด © Renewables Academy (RENAC) AG 16
PV-Diesel Hybrid System © Renewables Academy (RENAC) AG
GreenNetwork4.0 March-April 2019
Feldheim : Wind Farm/ Electricity Grid/ Biogas Plant/ Heating Grid/ Woodchip Heating Plant/Heating Distribution Center/Battery Storage และอีกรูปแบบทีด่ า� เนินการเป็น ต้นแบบการบริหารจัดการพลังงาน ทดแทนให้มีความเสถียร คือ Germany's First Energy Self-Sufficient Village เป็นโครงการทีร่ เิ ริม่ โดย Energiequelle GmbH สหกรณ์การเกษตร และคนในชุมชน หมูบ่ า้ น Feldheim เป็นโครงการทีม่ กี ารผสมผสานพลังงาน หมุนเวียนหลายประเภทเข้าด้วยกัน ประกอบด้วย พลังงานลม พลังงาน แสงอาทิตย์ พลังงานชีวมวล และพลังงานก๊าซชีวภาพ รวมถึงเทคโนโลยีระบบ กักเก็บพลังงาน ทีน่ เี่ มือ่ ไม่มแี ดด ไม่มลี ม ก็จะสร้างความเชือ่ มโยงให้สามารถ น�าพลังงานจากชีวมวลและพลังงานจากก๊าซชีวภาพมาเสริมเป็นเชื้อเพลิง ทดแทน Feldheim เป็นต้นแบบของเมืองทีม่ กี ารพึง่ พาพลังงานทีผ่ ลิตขึน้ จาก หมูบ่ า้ นตนเอง โดยมีแหล่งผลิตพลังงานไฟฟ้าและพลังงานความร้อนทีช่ มุ ชน เป็นผู้จัดหาพลังงานทดแทนในท้องถิ่น ซึ่งเป็นแนวคิดที่เรียกว่า "Hybrid" ที่จะท�าให้พลังงานทดแทนสามารถทดแทนพลังงานดั้งเดิมได้ หมู่บ้านนี้ แสดงให้เห็นถึงรูปแบบการเปลี่ยนแปลงพลังงานส�าหรับชุมชนขนาดเล็กมี ประชากร 130 คน ประกอบด้วย บ้านพักอาศัย การท�าเกษตรกรรมอุตสาหกรรม ชุมชน ที่ท�าการชุมชน และเป็นตัวอย่างของการรวมระบบพลังงานชุมชน เข้าด้วยกัน
https://www.21stcentech.com/state-germanys-move-energiewende
Wind Farm จ�านวน 55 กังหันลม ขนาด 123 MW ผลิตไฟฟ้า 250 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อปี
Solar Farm Selterhof ขนาด 2.25 MW มีระบบติดตามดวงอาทิตย์ Solar Tracking 17
GreenNetwork4.0 March-April 2019
โรงงานผลิตความร้อนจากไม้สับ (Biomass) ส�าหรับส�ารอง ในฤดูหนาว ระบบกักเก็บพลังงาน (Battery Storage) ชนิด Lithium-ion ขนาด 10 MW โดยโครงการเชื่อมโยงกับระบบไฟฟ้า On Gid และ มีระบบ District Heating Grid ศูนย์กระจายพลังงานความร้อนใน ส่วนของระบบกักเก็บพลังงานที่สร้างความยืดหยุ่นให้ระบบไฟฟ้า มูลค่าการลงทุน 12.5 ล้านยูโร และได้รับเงินสนับสนุนจากกองทุน RENplus Programme 40% ส�าหรับประเทศไทย การส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนด้วย การเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนในแผน AEDP 2018 ควรท�า ควบคู่กับการสนับสนุนชุมชน ประชาชน ให้สามารถสร้างรายได้และ การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยเทคโนโลยีพลังงานที่เหมาะสม ท้ายที่สุด คือการสร้างความยั่งยืนโดยน�าเทคโนโลยีระบบสมาร์ทไมโครกริด (Smart Micro Grid) และระบบสมาร์ทกริด (Smart Grid) เข้ามา ช่วยเสริมความมั่นคงของระบบไฟฟ้า ท�าให้ระบบโครงข่ายไฟฟ้า เกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพและเป็ น ระบบไฟฟ้ า สมั ย ใหม่ ที่ ค รบวงจร (Grid Modernization) ระบบผลิตก�าลังไฟฟ้าของประเทศไทยจะ เปลีย่ นผ่านสูอ่ นาคต ทีจ่ ะมีระบบไมโครกริด (Micro Grid) ตามชุมชน หมูบ่ า้ น ต�าบล อ�าเภอ กระจายตามจังหวัด และหลายๆ จังหวัด โดยที่ ชุมชนหรือหมูบ่ า้ นจะรวมตัวกันจัดตัง้ ระบบผลิตก�าลังไฟฟ้าของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ PV พลังงานลม โรงไฟฟ้าจากชีวมวล โรงไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ การติดตัง้ ระบบกักเก็บพลังงาน (Battery Storage) เหมือนกับที่ Feldheim : Germany's Renewable Village
โรงไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ (Biogas) จากฟาร์มหมูและวัว ข้าวไรย์และข้าวโพด ขนาด 526 กิโลวัตต์ ผลิตพลังงานไฟฟ้า 4.15 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อปี และพลังงานความร้อนเทียบเท่า 2.275 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อปี
กล่าวโดยสรุป ชุมชนพลังงานทดแทนของ Feldheim สามารถจัดหาพลังงานไฟฟ้าและ ความร้อนส�าหรับผู้อยู่อาศัยในท้องถิ่นทั้งหมด เป็ น สถานที่ ที่ ส� า คั ญ ด้ า นการท่ อ งเที่ ย วและ เศรษฐกิจทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ฐานของเทคโนโลยีพลังงาน ทดแทนและเป็นชุมชนตัวอย่าง การจัดหาเงินทุน ส�าหรับพลังงานทดแทนของ Feldheim มาจาก ความพยายามร่ ว มกั น ของผู ้ ใ ช้ พ ลั ง งานใน ท้องถิ่น เทศบาลและผู้ให้บริการสาธารณูปโภค ท้องถิน่ โดยได้รบั การสนับสนุนเพิม่ เติมจากรัฐบาล ระดั บ ภู มิ ภ าคและเงิ น ทุ น จากสหภาพยุ โ รป มี ค วามคุ ้ ม ทุ น คนในหมู ่ บ ้ า นไม่ มี ป ั ญ หาการ ว่ า งงานเนื่ อ งจากส่ ว นใหญ่ ท� า งาน ให้กับภาคพลังงานทดแทนของ หมู่บ้าน นอกจากนี้ ชุมชนยังได้ จัดตั้งศูนย์ข้อมูลและฝึกอบรม ด้ า นพลั ง งานทดแทน นี่ คื อ ตัวอย่างการพัฒนาพลังงาน ที่ ต อบรั บ นโยบายรั ฐ เพื่อให้ประเทศสามารถ เดินหน้ามีความมั่งคั่ง ด้านเศรษฐกิจ และ มีความมั่นคงเรื่อง พลั ง งานอย่ า ง ยั่งยืน นรินพร มาลาศรี
https://nef-feldheim.info 18
GreenNetwork4.0 March-April ch-April 2019
ชุมชนที่ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ (Net-Zero Energy Settlement)
GREEN
Article รศ. ดร.พิพัฒน์ ชัยวิวัฒน์วรกุล บัณฑิตวิทยาลัยร่วม ด้านพลังงานและ สิ่งแวดล้อม
การใช้พลังงาน
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกเป็นภัยคุกคามที่นานาประเทศต่างต้องมี การออกแบบอาคารให้สอดคล้องและใช้ประโยชน์จากสภาพภูมิอากาศท้องถิ่น ส่วนร่วมรับผิดชอบด้วยการลดการใช้พลังงานอันเป็นต้นเหตุหลักของการปล่อย ตัวอย่างของกลุม่ เทคโนโลยีนี้ ได้แก่ การประยุกต์ใช้ฉนวนกับหลังคาและผนังอาคาร o ก๊าซเรือนกระจก เพื่อให้การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิบรรยากาศไม่สูงเกินกว่า 2 C (Envelope Insulation) การใช้กระจก 2 ชั้นที่ป้องกันความร้อนได้ดี (Double ในกลุ่มประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปภาคอาคารมีสัดส่วนร้อยละ 40 ของ Low-E Glazing) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้อุปกรณ์บังแดดอย่างเหมาะสม (Sun การใช้พลังงานทั้งหมด และคิดเป็นร้อยละ 36 ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก Shading) ซึง่ ส�าหรับประเทศไทยแล้ว แสงแดดจะแรงตลอดทัง้ ปีและผ่านหน้าต่าง ในเขตภูมิภาคนี้ ดังนั้น คณะมนตรีสหภาพยุโรปจึงเห็นชอบที่จะบังคับใช้ Energy ได้ทกุ ทิศทาง การจัดเตรียมช่องเปิดหน้าต่างเพือ่ ให้มกี ารระบายและหมุนเวียนอากาศ Performance of Buildings Directive (EPBD) เพื่อเป็นเครื่องมือเชิงกฎหมาย ที่เพียงพอก็สามารถช่วยให้ผู้อาศัยรู้สึกสบายได้โดยไม่ต้องใช้พลังงานมากนัก ทีจ่ ะปรับปรุงเกณฑ์ประสิทธิภาพพลังงานอาคารในแต่ละประเทศสมาชิกให้เข้มงวด เมื่อภาระอาคารต�่าแล้ว การใช้ระบบและอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงจะ ขึ้น โดยมีเป้าหมายให้อาคารที่จะก่อสร้างใหม่ในปี ค.ศ. 2020 เป็นอาคารที่ใช้ ท�าให้การใช้ไฟฟ้าลดลงได้อย่างมาก ซึง่ จากโครงการในต่างประเทศ การใช้พลังงาน พลังงานสุทธิใกล้ศูนย์ ของอาคารทีใ่ ช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ลดลง 45-80% เมือ่ เทียบกับอาคารทัว่ ไป เราจะ ในสหรัฐอเมริกา อาคารธุรกิจและบ้านอยูอ่ าศัยใช้ไฟฟ้าประมาณร้อยละ 70 สังเกตได้วา่ ราคาของอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง เช่น เครือ่ งปรับอากาศอินเวอร์เตอร์ ของการใช้ทั้งหมดในประเทศ ซึ่งสัดส่วนดังกล่าวคาดว่าจะเพิ่มเป็นร้อยละ 75 หลอดไฟฟ้า LED อุปกรณ์ฉลากเบอร์ 5 ล้วนลดลงมาก และมีความคุม้ ค่าเชิงต้นทุน ในปี ค.ศ. 2025 หน่วยงานภาครัฐ Environmental Protection Agency (EPA) ในแนวโน้มเดียวกัน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน โดยเฉพาะจาก ได้ประกาศใช้ Executive Order 13693 ก�าหนดให้อาคารก่อสร้างใหม่ของภาครัฐ แผงเซลล์แสงอาทิตย์ ซึ่งในอดีตมีต้นทุนสูง ปัจจุบันระบบสามารถคืนทุนได้ใน ต้องเป็นอาคารที่ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ในปี ค.ศ. 2020 โดยในปี ค.ศ. 2025 ระยะเวลา 6-7 ปี โดยเทคโนโลยีสามารถขับเคลื่อนไปได้ด้วยกลไกตลาด ภายใต้ ร้อยละ 1 ของอาคารภาครัฐที่มีอยู่จะเป็นอาคารที่ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ อนึ่ง สถานการณ์ดังกล่าวการพัฒนาอาคารธุรกิจขนาดเล็กและบ้านพักอาศัยไปสู่เป็น โดยภาพกว้างแล้ว อาคารทีใ่ ช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์นนั้ เป็นอาคารทีม่ สี มรรถนะสูง อาคารที่ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์จึงไม่ยากจนเกินไปนัก ความต้องการใช้พลังงานน้อย โดยพลังงานทีใ่ ช้นนั้ ไม่เกินกว่าพลังงานทีผ่ ลิตได้จาก แหล่งพลังงานหมุนเวียน ด้ ว ยการก� า หนดนโยบายที่ การ ชัดเจนดังกล่าวกอปรกับงบประมาณใช การใชพลังงานสุทธิเปน สนับสนุนจากภาครัฐที่ต่อเนื่อง การพลังง ศูนย การใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ พัฒนาอาคารที่ใช้พลังงานสุทธิเป็นาน ศูนย์ทั้งในยุโรปและสหรัฐอเมริกา จึงมีความก้าวหน้าโดยล�าดับ จากเดิม ระบบและการจัดการอาคารอยางมีประสิทธิภาพ การลดภาระของอาคาร การใช พลังพงานหมุ นเวียน การลดภาระของอาคาร ระบบและการจัดการอาคาร การใช้ ลังงาน ที่ขอบเขตของโครงการที่เป็นอาคาร อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ หมุ น เวี ย น หลังหนึ่งๆ ได้ขยายสู่ระดับชุมชน หรือเมืองที่ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ การบัการบั งเงาและการใช แสง (Net-Zero Energy Settlement) งเงาและ การปรั อากาศ การจั ดการอาคาร การจัการจั ดการพื ้นที้นที่อ่อาคาร การปรับบอากาศ การจัดการอาคารอั ดการพื าคาร หลายแห่ ง การพั ฒ นาลั ก ษณะนี้ การใช้ธรรมชาติ แสงธรรมชาติ อัตโนมัติ ตโนมัติ ก่อผลกระทบทีช่ ดั เจนทัง้ ด้านอนุรกั ษ์ พลั ง งานและลดการปล่ อ ยก๊ า ซ ระบบผลิตตไฟฟ าจากพลั การระบายอากาศ การระบายอากาศ อาคารอั ระบบผลิ ไฟฟ้ าจากงงาน อาคารอัจจฉริ ฉริยยะะ การระบายอากาศโดยธรรมชาติ การระบายอากาศเชิ ง กล เรือนกระจก การด�าเนินโครงการ โดยธรรมชาติ เชิงกล พลังงานหมุ หมุนเวีนยเวี น ยน เหล่านี้เริ่มที่จะขับเคลื่อนโดยกลไก ตลาด (Market Drivenmechanism) กรอบอาคาร การส่ งสว่างาง การจัดการ Plug Load สมาร์ ทกริ สมาร ทกริดด การสอ องสว การจัดการ Plug load กรอบอาคารประสิ ธิภาพสู เกิ ด เป็ น ธุ ร กิ จ ใหม่ ต ลอดห่ ว งโซ่ ประสิทธิภทาพสู งง อุปทานของอุตสาหกรรมก่อสร้าง เกิดผลิตภัณฑ์อาคารส�าเร็จรูปใหม่ กระบวนการก่อสร้างใหม่ เทคโนโลยีการออกแบบ อาคาร การตรวจวัดและพิสูจน์เพื่อประกันสมรรถนะ ส�าหรับประเทศไทย เทคโนโลยีและการออกแบบอาคารทีใ่ ช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์มกี ารวิจยั พัฒนา ของอาคาร รวมไปถึงธุรกิจบ�ารุงรักษางานระบบ ฯลฯ มาในระยะเวลาหนึ่ง แม้ยังมีความจ�าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการวิจัยอย่างเข้มข้นในอีกหลายประเด็น เช่น การพัฒนาอาคารเหล่านี้ในเชิงเทคนิคแล้ว การเชือ่ มโยงอาคารทีใ่ ช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์รว่ มกับระบบสมาร์ทกริด (Smart Grid) เทคโนโลยีกกั เก็บ เริ่มจากความพยายามปรับลดภาระหรือความจ�าเป็น พลังงาน (Energy Storage) และอื่นๆ แต่ก็มีความพร้อมที่จะพัฒนาอาคารที่ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ ของการใช้ พ ลั ง งานในอาคาร (Building Load ในระดับชุมชนเช่นในกลุม่ ประเทศยุโรปและสหรัฐอเมริกา หากได้รบั การส่งเสริมและมีนโยบายทีช่ ดั เจน Reduction) ซึ่งเกี่ยวข้องเป็นเทคโนโลยีกรอบอาคาร จากหน่วยงานภาครัฐ 18
GreenNetwork4.0 March-April 2019
ภาครัฐผนึกภาคเอกชน
GREEN
Report กองบรรณาธิการ
หนุนจัดซื้อจัดจ้างสินค้าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เมื่อเร็วๆ นี้ ภาครัฐและเอกชนได้ประกาศร่วมมือกันเพื่อขับเคลื่อนวัฏจักร สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยหนุนให้มีการส่งเสริมการจัดซื้อ จัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการสนับสนุนให้เกิด การพัฒนาองค์ความรู้ พัฒนาศักยภาพบุคลากรของคู่ค้าภาคี และสนับสนุนให้มี การจัดท�าฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนให้มีสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมในรูปแบบต่างๆ เป็นการผนึกก�าลังภายใต้ “การพัฒนาธุรกิจที่ยั่งยืน และการพัฒนาเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม” ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช. ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ หรือ เอ็มเทค ได้ลงนามความร่วมมือกับ กรมควบคุมมลพิษ เพื่อกระตุ้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เครือข่ายส่งเสริมการผลิต และการบริโภคทีย่ ั่งยืน และสนับสนุนการลดก๊าซเรือนกระจก ให้เกิดเป็นแนวทาง ที่หน่วยงานภาครัฐผนวกเกณฑ์ด้านสิ่งแวดล้อมเข้ากับกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ทุกขัน้ ตอน เป็นการกระตุน้ และเร่งการพัฒนาเทคโนโลยีสงิ่ แวดล้อมและการพัฒนา สินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยการค้นหาทางออกที่ท�าให้เกิดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมต�่าที่สุด ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล ผู้อ�านวยการ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. กล่าวว่า การลงนามความร่วมมือในครัง้ นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้เกิดการพัฒนา องค์ความรู้ สนับสนุนให้มีการจัดท�าฐานข้อมูลที่ เกีย่ วข้อง และการประเมินวัฏจักรชีวติ ของสินค้า และบริการ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากร เพือ่ สร้าง องค์ความรู้ และน�าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล มาใช้ในการสนับสนุนและขับเคลื่อนการจัดซื้อ 20
จัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยจากการด�าเนินงานการ ส่งเสริมการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หรือ Green Public Procurement (GPP) ที่กรมควบคุมมลพิษ ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการ ด�าเนินงานมาตัง้ แต่แผนส่งเสริมฯ ระยะที่ 1 ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551-2554 จนถึงปัจบุ นั เข้าสู่แผนส่งเสริมฯ ระยะที่ 3 ในปี พ.ศ. 2560-2564 “เอ็มเทค สวทช. หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ทั้งองค์ความรู้และฐานข้อมูลที่มีจะ สามารถช่วยขับเคลือ่ นและสนับสนุนการด�าเนินการส่งเสริมการจัดซือ้ จัดจ้างสินค้า และบริการทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ทีก่ รมควบคุมมลพิษด�าเนินการได้เป็นอย่างดี เพื่อให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเฉพาะการสร้างหลัก ประกันให้มีรูปแบบการบริโภคและผลิตที่ยั่งยืน รวมถึงการส่งเสริมแนวปฏิบัติ ด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาคสาธารณะที่ยั่งยืน ตามนโยบายและการให้ล�าดับความ ส�าคัญของประเทศ และการสนับสนุนให้บริษัทขนาดใหญ่และบริษัทข้ามชาติ น�าแนวปฏิบตั อิ ย่างยัง่ ยืนมาใช้ และบูรณาการพัฒนาในกระบวนการรายงาน รวมทัง้ เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก” ดร.จุลเทพ กล่าว ด้าน ประลอง ด�ารงค์ไทย อธิบดีกรมควบคุม มลพิษ กล่าวว่า ความร่วมมือระหว่าง กรมควบคุม มลพิษ และ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในครั้งนี้ เพื่อช่วย ขั บ เคลื่ อ นการด� า เนิ น งานส่ ง เสริ ม การจั ด ซื้ อ จัดจ้างสินค้าและบริการทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ส�าหรับประเทศไทย โดยจะสนับสนุนข้อมูลซึง่ กัน และกัน ผ่านแผนส่งเสริมการจัดซื้อจัดจ้างสินค้า ประลอง ด�ำรงค์ไทย และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ระยะที่ 3 พ.ศ. 2560-2564
GreenNetwork4.0 March-April 2019
“คาดการณ์วา่ ภายในปี พ.ศ. 2564 จะขยายการส่งเสริมให้ทกุ หน่วยงาน ด�าเนินการจัดซือ้ จัดจ้างสินค้าและบริการทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม โดยได้ขยาย กลุม่ เป้าหมายการด�าเนินการส่งเสริมการจัดซือ้ จัดจ้างไปยังภาคเอกชนให้มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม ในการแจ้งผลการจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์สนิ ค้าทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และรายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมใน องค์กร หากทุกหน่วยงานร่วมจัดซือ้ จัดจ้างสินค้าและบริการทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ครบถ้วน คาดว่าจะสามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้เพิ่มขึ้นจาก ระยะที่ 2 อย่างน้อยร้อยละ 5-10 และจะสามารถประหยัดงบประมาณในการ รักษาสิ่งแวดล้อมได้ไม่น้อยกว่า 30,000 ล้านบาท” ประลอง กล่าว ส่วน สุดาวดี รักกสิกร ผู้จัดการฝ่าย สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย บริษัท ริโก้ (ประเทศไทย) จ�ากัด ผู้แทนจากกลุ่มอุปกรณ์ ส�านักงาน (เครือ่ งถ่ายเอกสาร) กล่าวว่า เป้าหมาย การด�าเนินธุรกิจในการดูแลสินค้าที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม มีแนวคิดที่จะเพิ่มประสิทธิภาพ ผลผลิตสินค้าทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมนัน้ จะต้อง ตอบโจทย์และแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมให้กับ สุดำวดี รักกสิกร สังคมได้ นอกจากนี้ ยังได้จดั กิจกรรม CSR ร่วมกับ หน่ ว ยงานภาครั ฐ และกรมส่ ง เสริ ม โรงงาน อุตสาหกรรม เพื่อมุ่งส่งเสริมพัฒนาเทคโนโลยีและมุ่งเน้นการรับรองสินค้าฉลาก สีเขียว เพื่อผลักดันให้เป็นสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส�าหรับ วัสสชัย สิทธิบุศย์ ผู้อ�านวยการ ส�านักส่งเสริมความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ากัด ผู้แทนจากกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ กล่าวว่า โตโยต้าให้ความสนใจด้านสิ่งแวดล้อม แนวทาง ในอนาคต รถโตโยต้าทุกคันจะเป็นรถไฮบริด (Toyota Hybrid) จะต้องเป็นรถที่ไม่มีสารเคมี หรือปล่อยก๊าซที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม วัสสชัย สิทธิบุศย์ ซึ่งรถโตโยต้าไฮบริดนี้จะขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ ไฟฟ้า ขณะจอดหรือใช้ความเร็วต�า่ เครือ่ งยนต์จะ หยุดท�างาน จึงท�าให้ไม่มกี ารปล่อยไอเสียสูอ่ ากาศ ดังนัน้ การขับรถโตโยต้าไฮบริด ก็เหมือนได้ปลูกต้นไม้ 100 ต้นต่อปี เพราะมีอตั ราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) น้อยกว่ารถยนต์เครือ่ งยนต์ทวั่ ไป เป็นการช่วยลดมลพิษ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม นอกจากนี้ ในส่วนของซัพพลายเออร์ทกุ สาขาของโตโยต้า จะต้องให้ความร่วมมือ ด้านสิ่งแวดล้อมด้วย โดยต้องขายรถโตโยต้าทุกรุ่นที่ได้รับฉลากเขียว เพื่อสนอง นโยบายสินค้าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 21
ดร.วสันต์ อริยพุทธรัตน์ ประธานกรรมการ บริหาร บริษทั คีนน์ จ�ากัด ผูแ้ ทนจากกลุม่ ผลิตภัณฑ์ ท�าความสะอาด เน้นย�้าถึงกิจกรรมการด�าเนิน ธุรกิจร่วมกับกรมควบคุมมลพิษว่า การขับเคลือ่ น แนวคิดในเชิงสร้างสรรค์อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพือ่ ก�าจัดสารพิษชีวบ�าบัดด้วยเทคโนโยไบโอเทค ทีส่ ามารถบ�าบัดสารปนเปือ้ นน�า้ มัน ซึง่ เป็นผลิตภัณฑ์ ไบโอเทคทีส่ ามารถย่อยสลายน�า้ มันปิโตรเลียมให้ ดร.วสันต์ อริยพุทธรัตน์ เป็นสารอินทรีย์ แล้วย่อยสลายกลายเป็นน�า้ เปล่า ซึ่งน�ามาใช้ในการบ�าบัดน�้าเสียหรือขยะในท่อ, ขจัดสารพิษจากภาคโรงงานอุตสาหกรรม และกลุม่ ธุรกิจโรงแรม เป็นต้น จึงมุง่ พัฒนา ผลิตภัณฑ์ไบโอเทคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ปรี ด า วั ช รเธี ย รสกุ ล รองประธาน คณะอนุกรรมการบริหารงานด้านสิ่งแวดล้อม สถาบั น น�้ า และสิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ ความยั่ ง ยื น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กล่าวว่า ขณะนี้ ได้มกี ารวางยุทธศาสตร์ มุง่ เน้นส่งเสริมสนับสนุน การจั ด จ้ า งภาครั ฐ สี เ ขี ย วและภาคเอกชนใน การจั ด จ้ า งสิ น ค้ า และบริ ก ารที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิง่ แวดล้อม ทัง้ ความร่วมมือในส่วนของภาคโรงงาน ปรีดำ วัชรเธียรสกุล อุตสาหกรรม กลุ่มผู้ประกอบการต่างๆ รวมทั้ง กลุ่มผู้ประกอบการด้านวัสดุก่อสร้างหรือในส่วน ของโครงการบ้านจัดสรรและอาคารสีเขียว ให้มุ่งเน้นผลิตสินค้าที่เป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม และขยายผลการด�าเนินการทีต่ อ้ งให้ผบู้ ริโภคมีตวั เลือกในการใช้สนิ ค้า สีเขียวด้วย เป็นที่น่ายินดีว่าแผนการร่วมมือส่งเสริมการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการ ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560-2561) มีความคืบหน้าเป็นอย่างมาก จะเห็นได้ว่าทุกหน่วยงาน ทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน มหาวิทยาลัย องค์กรอิสระ และภาคธุรกิจเอกชน ต่างร่วมมือกันส่งเสริมให้ภาคผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ ผลิตสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเน้นฐานการผลิตสินค้า ภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ซึ่งถือเป็นการด�าเนินการที่ สอดคล้องกับแนวทางการส่งเสริมการบริโภคและผลิตภัณฑ์ท่ียั่งยืนในการพัฒนา เศรษฐกิจหมุนเวียนและการพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียวได้เป็นอย่างดี
GreenNetwork4.0 March-April 2019
SOLAR
Review กองบรรณาธิการ
จีน เริ่มลงมือโครงการ
“โซลาร์ฟาร์มบนอวกาศ” แซงหน้าเจ้าของแนวคิด อย่างอเมริกาแล้ว
หลังจากที่ Green Network ได้น�าเสนอข่าว จีนเตรียมสร้างสถานีเก็บพลังงาน ท�าโซลาร์ฟาร์มบนอวกาศ เพื่อส่งพลังงานกลับมาใช้งานบนพื้นโลก ภายในปี ค.ศ. 2020 ล่าสุดมีข่าวอัพเดตเกี่ยวกับเรื่องนี้ โดยไชนาเดลีสื่อหนังสือพิมพ์จากจีน ได้รายงานเมื่อ วันที่ 9 มีนาคมทีผ่ า่ นมา ระบุจนี ได้เริม่ ก่อสร้างอาคารเพือ่ การทดลองตามแนวคิดนีแ้ ล้วที่ เมืองฉงชิ่ง ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ บนพื้นที่กว่า 33 เอเคอร์ ด้วยทุนสนับสนุน เริม่ ต้นที่ 15 ล้านเหรียญสหรัฐ ทัง้ นีเ้ พือ่ ท�าการทดสอบหาวิธกี ารทีด่ ที สี่ ดุ ในการส่งพลังงาน จากวงโคจรในห้วงอวกาศรอบโลก ในทางทฤษฎี ดาวเทียมทีต่ ดิ ตัง้ แผงโซลาร์เซลล์จะถูกติดตัง้ ในวงโคจรเหนือพืน้ โลก และจะเชือ่ มโยงรวมกลุม่ กันเป็นแหล่งเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ขนาดใหญ่ ทีจ่ ะส่งกระแส ไฟฟ้าให้กับโลกได้ตลอด 24 ชั่วโมง เปรียบเสมือนเครื่องชาร์จ EV ไร้สายขนาดใหญ่ บนท้องฟ้า แต่ปญ ั หาทีย่ งั คงมีอยูใ่ นปัจจุบนั คือ การจ�ากัดการส่งกระแสไฟฟ้าผ่านไมโครเวฟ ที่อยู่ที่ประมาณ 100 เมตร และอีกปัญหาหนึ่งคือการที่จะต้องหาวิธีที่จะไม่ให้พลังงาน ไมโครเวฟที่ส่งมาบนพื้นโลกนั้น เผาไหม้ทุกสิ่งหรือท�าให้โลกกลายเป็นเตาไมโครเวฟ ขนาดใหญ่เสียเอง Xie Gengxin รองผู้อ�านวยการสถาบันวิจัยความร่วมมือนวัตกรรมฉงชิ่งเพื่อ การบูรณาการพลเรือนและการทหาร กล่าวว่า เราวางแผนทดลองที่จะเปิดตัวบอลลูน ที่ผูกติดกัน 4-6 อัน จากฐานทดสอบและเชื่อมต่อกันเพื่อตั้งเครือข่ายที่ระดับความสูง ประมาณ 1,000 เมตร บอลลูนเหล่านีจ้ ะรวบรวมแสงแดดและแปลงพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นไมโครเวฟก่อนทีจ่ ะส่งแสงกลับสูส่ ถานีบนพืน้ โลก ซึง่ จะแปลงไมโครเวฟดังกล่าวเป็น กระแสไฟฟ้าและแจกจ่ายให้กับกริด หากการทดสอบประสบความส�าเร็จนักวิจัยจะเปิด บอลลูนชุดใหม่ที่ระดับสตราโตสเฟียร์เพื่อการทดสอบเพิ่มเติมต่อไป ส�าหรับการรับกระแสไฟฟ้ากลับสูพ่ นื้ โลกเป็นหนึง่ ในความท้าทายทีร่ ออยูเ่ บือ้ งหน้า ประการแรกคือ ในเรือ่ งของน�า้ หนักของแผงโซลาร์เซลล์ทจี่ ะถูกยิงออกไปในอวกาศจะต้อง ลดน�้าหนักลงกว่านี้มาก ในขณะที่ยังคงต้องรักษาระดับประสิทธิภาพได้เท่าปัจจุบัน ส่วนเรื่องที่สองคือ ทั้งระบบต้องใช้เงินลงทุนมหาศาล โดยดาวเทียมแต่ละดวง มีราคาหลายพันล้านเหรียญสหรัฐ 22
“เราคิดว่าจะมีโรงไฟฟ้าทีส่ ามารถใช้งานพืน้ ฐานได้ภายในปี ค.ศ. 2040” Xie กล่าว ส�าหรับแนวคิดการน�าพลังงานแสงอาทิตย์จากห้วงอวกาศมาเปลี่ยน เป็นพลังงานไฟฟ้าส�าหรับมนุษยชาติที่ก�าลังมีความต้องการเพิ่มขึ้นอย่าง มหาศาลในอีก 50 ปีขา้ งหน้านัน้ ไม่ได้มเี ฉพาะจีนเท่านัน้ ทีพ่ ยายามหาความ เป็นไปได้นี้ แต่สหรัฐอเมริกาเองก็ก�าลังศึกษาอยู่เช่นเดียวกัน แนวคิดการผลิตไฟฟ้าในห้วงอวกาศนี้ เริ่มเกิดขึ้นครั้งแรกตั้งแต่ใน ช่วงทศวรรษที่ 70 เมือ่ Peter Glaser วิศวกรการบินและอวกาศของอเมริกา เสนอในปี ค.ศ. 1968 ตัง้ แต่นนั้ มาก็มกี ารศึกษาจากคนอืน่ เป็นครัง้ คราว รวมถึง องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ หรือ NASA ก็เคยมีการศึกษา ค้นคว้าเรือ่ งนี้ ก่อนทีจ่ ะยกเลิกไปในช่วงทศวรรษที่ 90 เนือ่ งจากระบบมีความ ซับซ้อนมากเกินไป แต่เมื่อในทุกวันนี้โซลาร์เซลล์พัฒนาศัพยภาพมากขึ้น ในขณะเดียวกัน เทคโนโลยีระบบการถ่ายทอดสัญญาณแบบไร้สายก็รดุ หน้า มากยิ่งขึ้นเช่นกัน แนวคิดดังกล่าวจึงได้เริ่มกลับมาได้รับความนิยมอีกครั้ง John Mankins นักฟิสิกส์อเมริกัน อดีตหัวหน้าคณะศึกษาวิจัยของ NASA เปิดเผยว่า ทางหนึ่งที่จะผลิตไฟฟ้าจากแสงแดดในห้วงอวกาศก็คือ การส่ง “ฝูงดาวเทียม” นับหมื่นดวงขึ้นสู่วงโคจร และให้แต่ละดวงเชื่อมโยง กันและกัน อยู่ประจ�าต�าแหน่งที่ฝูงดาวเทียมเรียงกันเป็นรูปกรวย ที่ระดับ ความสูง 35,400 กิโลเมตรเหนือพื้นโลก แต่ละดวงจะถูกเคลือบด้วย แผงโซลาร์เซลล์ เพือ่ เปลีย่ นพลังงานจากแสงแดดเป็นพลังงานไฟฟ้า พลังงาน ไฟฟ้าทีไ่ ด้จะถูกเปลีย่ นอีกครัง้ ให้อยูใ่ นรูปของพลังงานไมโครเวฟ แล้วยิงเป็น ล�าลงมายังสถานีรบั ภาคพืน้ ดิน ซึง่ เป็นศูนย์รวมของเครือข่ายสายไฟฟ้าขนาด มหาศาล ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางถึง 6.4 กิโลเมตร ซึ่งเหมาะที่จะติดตั้งไว้ เหนือทะเลสาบหรือพืน้ ทีร่ กร้างในทะเลทราย เพือ่ เปลีย่ นพลังงานไมโครเวฟ กลับไปเป็นพลังงานไฟฟ้าอีกครั้ง และแจกจ่ายไปตามเครือข่ายอีกต่อหนึ่ง Mankins เชื่อว่าระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในอวกาศตาม แนวความคิดดังกล่าว จะสามารถผลิตไฟฟ้าได้ราว 2,000 กิกะวัตต์ ได้ตอ่ เนือ่ ง ตลอดเวลา ซึ่งถือเป็นปริมาณมหาศาล เมื่อเทียบกับสถานีไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์บนพืน้ โลกทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในปัจจุบนั ทีผ่ ลิตไฟฟ้าได้เพียง 1.8 กิกะวัตต์ เท่านั้น
GreenNetwork4.0 March-April 2019
AUTO
Challenge กองบรรณาธิการ
นอกจากนี้ แนวโน้มดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดการเปลีย่ นแปลงทีแ่ ตกต่าง อย่างสิ้นเชิงต่อก�าลังแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน เพราะหุน่ ยนต์ได้เข้ามามีบทบาทในการท�างานมากขึน้ ทัง้ ในส่วนของสายการ ประกอบและในด้านของการวิจยั และพัฒนา โดยคาดว่า 40-60% ของแรงงาน ที่มีทักษะร่วมสมัยจะเป็นที่ต้องการเพื่อประจ�าการในพื้นที่หน้างาน ขณะที่ จ�านวนความต้องการวิศวกรข้อมูลและวิศวกรซอฟต์แวร์จะเพิม่ ขึน้ ถึง 90%
บริษัท Strategy & ของ PwC วางแนวคิดปฏิวัติวงการ อุตสาหกรรมยานยนต์ทั่วโลกครั้งส�าคัญ ดึงเทรนด์การใช้ ยานพาหนะร่วมกันและระบบอัตโนมัติ ในฐานะที่ไทยเป็นหนึ่ง ในประเทศทีเ่ ป็นฐานการผลิตและประกอบยานยนต์และชิน้ ส่วน ยานยนต์ที่ส�าคัญของโลก ท�าให้ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม จ�าเป็นต้องปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่ก�าลังจะเกิดขึ้น ไม่วา่ จะเป็นการพัฒนาการผลิตยานพาหนะทีเ่ ชือ่ มต่อกับคอมพิวเตอร์ (Connected Car) รวมไปถึงการผลิตยานพาหนะตามความต้องการเฉพาะของผู้บริโภค และ การเป็นผูใ้ ห้บริการธุรกิจเคลือ่ นที่ ซึง่ สิง่ เหล่านีจ้ ะพลิกโฉมรูปแบบการผลิตยานยนต์ รวมถึง Mindset ในการเดินทางขนส่งให้เปลี่ยนไปจากเดิม โดยมีเป้าหมายที่จะ เปลีย่ นโฉมหน้าการผลิตและก�าลังแรงงานของอุตสาหกรรมนีภ้ ายในปี พ.ศ. 2573 ซึง่ ยานยนต์ทถี่ กู ออกแบบเฉพาะความต้องการของบุคคลและเชือ่ มต่อกับเทคโนโลยี จะยิ่งเป็นที่ต้องการของตลาดมากขึ้น วิไลพร ทวีลาภพันทอง หุ้นส่วนสายงานธุรกิจที่ปรึกษา PwC Thailand เปิดเผยถึงรายงาน Transforming Vehicle Production by 2030 : How Shared Mobility and Automation will Revolutionize the Auto Industry ที่จัดท�าโดย บริษทั Strategy & (สแตร็ดติจี้ แอนด์) ของ PwC ว่า ได้คาดการณ์ถงึ การเปลีย่ นแปลง ทีจ่ ะเกิดขึน้ อย่างมีนยั ส�าคัญต่อผูผ้ ลิตยานยนต์และชิน้ ส่วน รวมถึงผูใ้ ช้ยานพาหนะ ในระยะข้างหน้า ภายในปี พ.ศ. 2573 การผลิตยานพาหนะจะถูกแบ่งออกเป็นการ ผลิตเพือ่ ใช้จา� นวนมาก โดยส่วนใหญ่จะถูกผลิตออกมาแบบเรียบง่าย และผลิตตาม ความต้องการ (Cars on Demand) ซึ่งรถยนต์ในลักษณะนี้จะถูกน�าไปใช้ให้เช่า เพือ่ การเดินทางในแต่ละครัง้ (Journey-by-Journey) ในขณะทีอ่ กี ส่วนจะเป็นการ ผลิตยานพาหนะที่ออกแบบขึ้นมาโดยเฉพาะส�าหรับผู้ใช้ที่ยังคงต้องการเป็นผู้ขับขี่ หรือเป็นผู้นั่งในยานพาหนะของตนเอง แนวคิดการแบ่งปันยานพาหนะร่วมกัน (Shared Mobility) และระบบอัตโนมัติ ดังกล่าว จะท�าให้ผู้ประกอบการที่รับจ้างผลิตสินค้าหรือชิ้นส่วนให้กับค่ายรถยนต์ (Original Equipment Manufacturers : OEM) ต่างต้องเร่งพัฒนารูปแบบของ โรงงาน 2 ประเภท ประกอบด้วย 1. โรงงานที่ มุ ่ ง เน้ น ไปที่ ก ารผลิ ต ยานพาหนะที่ เ ป็ น แบบมาตรฐาน สามารถเชื่ อ มต่ อ กั บ คอมพิ ว เตอร์ แ ละท� า งานได้ อ ย่ า งอั ต โนมั ติ (Plug and Play Vehicles) เพื่อดึงดูดผู้ใช้รถในเมืองที่มีอายุน้อย 2. โรงงานที่ผลิตยานพาหนะตามความต้องการเฉพาะของผู้บริโภค ซึ่งมี ความคล้ายคลึงกับตลาดรถหรูในปัจจุบัน ด้วยแนวโน้มดังกล่าว การผลิตและก�าลังแรงงานของอุตสาหกรรมที่ถูก ออกแบบเชื่อมต่อกับเทคโนโลยีอัตโนมัติ จะท�าให้ขนาดของก�าลังแรงงานในสาย การประกอบ ตัวถัง และสีรถยนต์จะลดลงกว่าครึง่ หลังระบบอัตโนมัตแิ ละยานพาหนะ ประเภทใหม่ถูกผลิตขึ้น บทบาทของพนักงานที่ดูแลระบบโลจิสติกส์ภายในพื้นที่ หน้างานจะลดลงประมาณ 60% หลังถูกแทนที่ด้วยพาหนะล�าเลียงอัตโนมัติ ความต้องการวิศวกรข้อมูลจะเพิม่ ขึน้ เกือบเท่าตัวในโรงงานบางประเภท และมากถึง 80% ในบางแห่ง ขณะทีว่ ศิ วกรซอฟต์แวร์จะเป็นทีต่ อ้ งการของตลาดเพิม่ ขึน้ ถึง 90% และยานพาหนะที่สามารถแบ่งปันและใช้ร่วมกันได้ จะมีสัดส่วนคิดเป็น 30% ของ ตลาดในยุโรป 23
วิไลพร กล่าว
ไฮโค เวเบอร์ หุน้ ส่วนบริษทั Strategy& ของ PwC ประเทศเยอรมนี กล่าวว่า กระแสของการเปลี่ยนแปลงจะเริ่มทยอยเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ซึง่ ผูป้ ระกอบการ OEM ต้องเริม่ สร้างก�าลังแรงงานทีต่ วั เองจะต้องการ ในอีก 10 ปีขา้ งหน้าตัง้ แต่ตอนนี้ ทัง้ การจ้างบุคลากรทีม่ ที กั ษะทีใ่ ช่ การรักษา Talent และการฝึกอบรมทักษะเดิมของพนักงานที่มีอยู่ โดยภายในปี พ.ศ. 2573 จ�านวน ความต้องการวิศวกรข้อมูลจะเพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัวในโรงงานที่ผลิตรถยนต์ตาม ความต้องการเฉพาะของลูกค้า และเพิม่ ขึน้ เป็นเกือบ 80% ในโรงงานทีผ่ ลิตรถยนต์ ประเภท Plug and Play และเช่นเดียวกัน ความต้องการวิศวกรซอฟต์แวร์จะเพิ่ม ขึน้ ถึง 90% ในโรงงานทีผ่ ลิตรถยนต์ตามความต้องการเฉพาะของลูกค้า และ 75% ในโรงงานผลิตประเภท Plug and Play ตามล�าดับ ทั้งนี้ กระแสของการเปลี่ยนแปลงในด้านอื่นๆ จะมีให้เห็นด้วยเช่นกัน อาทิ ระยะเวลาระหว่างการท�าวิจัยและพัฒนากับการผลิตจะสั้นลงเหลือแค่ 2 ปี เปรียบเทียบกับปัจจุบันที่ราว 3-5 ปี ขณะเดียวกัน ผู้ประกอบการผลิตแบบ OEM จะเผชิญกับภาวะการแข่งขันที่เพิ่มขึ้นจากบริษัทด้านเทคโนโลยีที่เข้ามาให้บริการ ระบบขนส่งเคลือ่ นที่ (Mobility-as-a-Service : MaaS) ทัง้ ในลักษณะของการบริการยานยนต์เคลือ่ นที่ อัตโนมัตเิ ชิงพาณิชย์ และบริการระบบ ขนส่งมวลชนเคลื่อนที่ให้แก่ลูกค้า ได้โดยตรง ซึ่งผู้ผลิตแบบ OEM จะได้รับแรงกดดันในการต้อง สร้างกระบวนการผลิตให้เกิด คุม้ ค่ามากขึน้ กว่าเดิม เพือ่ รองรับ กับรูปแบบของยวดยานพาหนะ และการออกแบบที่ มี ค วาม หลากหลายมากขึ้น
GreenNetwork4.0 March-April 2019
GREEN
Article รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, ดร.พัชรียา รุ่งกิจวัฒนานุกูล, ดร.ณัฐวิญญ์ ชวเลิศพรศิยา
โครงกำร Envi Mission : ตอนที่ 1
Boot Camp วัฒนธรรม รักษ์น�้ำ วันอนุรกั ษ์นำ�้ โลก (World Water Day 2019) Theme : Leaving No One Behind
น�ำ้ เป็นทรัพยำกรทีม่ คี วำมส�ำคัญต่อกำรใช้ชวี ติ ประจ�ำวัน สังคมและวัฒนธรรม รวมไปถึงกำรเติบโตด้ำนเศรษฐกิจของมนุษย์ ถึงแม้วำ่ น�ำ้ จะเป็นทรัพยำกรหมุนเวียน แต่รอ้ ยละ 97 ของปริมำณน�ำ้ ทัง้ หมดเป็นน�ำ้ ทะเลทีน่ ำ� มำใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจ�ำวัน ได้ไม่มำกนัก จึงเหลือเพียงร้อยละ 3 ทีเ่ ป็นน�ำ้ จืดและมีเพียงไม่ถงึ ร้อยละ 1 เท่ำนัน้ ที่สำมำรถน�ำมำใช้ประโยชน์ได้ อย่ำงไรก็ตำม จำกสัดส่วนน�้ำที่สำมำรถน�ำไปใช้ ประโยชน์ได้ทงั้ หมด ยังมีกำรปนเปือ้ นของมลพิษทีเ่ กิดจำกกิจกรรมของมนุษย์ อำทิ อุตสำหกรรม เกษตรกรรม และน�ำ้ เสียจำกครัวเรือน ส่งผลให้สดั ส่วนของน�ำ้ ทีส่ ำมำรถ น�ำมำใช้ประโยชน์ได้มปี ริมำณลดลงไปอีก โดยปัจจุบนั ประชากร 1 ใน 9 ของโลก ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งน�้าสะอาดและเพียงพอส�าหรับการอุปโภคและบริโภคได้ ทั้งนี้ ทุกคนสำมำรถเป็นส่วนหนึ่งในกำรลดควำมเหลื่อมล�้ำด้ำนกำรเข้ำถึง แหล่งน�้ำสะอำดได้โดยกำรประหยัดน�้ำและกำรใช้น�้ำอย่ำงรู้คุณค่ำและให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ส�ำหรับสังคมไทยซึ่งมีวัฒนธรรมที่ผูกพันกับน�้ำมำอย่ำงยำวนำน และมักมีควำมเข้ำใจกันว่ำน�ำ้ เป็นทรัพยำกรทีม่ อี ยูอ่ ย่ำงเหลือเฟือ เพียงพอต่อกำรใช้ ประโยชน์ได้ตลอดเวลำ แต่ในควำมเป็นจริงแล้ว ประเทศไทยมีชว่ งฤดูฝนเพียงแค่ 3 เดือนเท่ำนัน้ และมีแหล่งรวบรวมและกักเก็บน�ำ้ ได้ไม่ถงึ ร้อยละ 10 ของปริมำณ น�้ำฝนที่ตกลงมำ ซึ่งปริมำณน�้ำดังกล่ำวจ�ำเป็นที่จะต้องมีกำรบริหำรจัดกำรอย่ำง เหมำะสมให้เพียงพอต่อควำมต้องกำรในอีก 9 เดือนทีไ่ ม่มฝี นตก ตลอดจนตอบสนอง ควำมต้องกำรกำรใช้น�้ำในภำพรวมของประเทศที่เพิ่มสูงขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง อีกทั้ง ยังต้องค�ำนึงถึงกำรเปลี่ยนแปลงของฤดูกำลและปริมำณฝนที่เป็นผลมำจำกกำร เปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศของโลกที่ทวีควำมรุนแรงมำกขึ้นอีกด้วย 24
น�้ำคือชีวิต โครงกำรพระรำชด�ำริในรัชกำลที่ 9
น�้ำเป็นทรัพยำกรที่มีอยู่อย่ำงจ�ำกัด ดังนั้น กำรจัดกำรทรัพยำกรน�้ำอย่ำง ยั่งยืน ผ่ำนแนวทำงที่เหมำะสม ได้แก่ กำรมีองค์ควำมรู้ที่ถูกต้องและทันสมัย กำรสร้ำงเทคโนโลยีและนวัตกรรมทีม่ ำพร้อมด้วยประสบกำรณ์ กำรสร้ำงพฤติกรรม พึงประสงค์ด้ำนน�้ำ กำรมีส่วนร่วมและกำรสื่อสำร และกำรลงมือปฏิบัติจริง เป็น แนวทำงส�ำคัญของกำรอนุรกั ษ์ทรัพยำกรน�ำ้ เพือ่ ให้เกิดกำรบริหำรจัดกำรน�ำ้ อย่ำง สมดุล และน�ำไปสูก่ ำรพัฒนำประเทศอย่ำงมัน่ คงและยัง่ ยืน ดังปรำกฏในองค์ควำมรู้ ด้ำนกำรบริหำรจัดกำรน�้ำตำมแนวพระรำชด�ำริในรัชกำลที่ 9 “จากนภา ผ่านภูผา สู่มหานที”
ปัจจัยส�ำคัญเพื่อกำรจัดกำรทรัพยำกรน�้ำอย่ำงยั่งยืน
การสร้างการมีส่วนร่วมและพฤติกรรมอันพึงประสงค์ในด้านการใช้น�้า จึงเป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญควบคูไ่ ปกับ การพัฒนาเทคโนโลยีและให้ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับ วิธีการจัดการทรัพยากรน�้า กำรสร้ำงควำมตระหนักถึงสถำนกำรณ์และแนวทำง ที่เหมำะสมในกำรจัดกำรทรัพยำกรน�้ำจึงเป็นสิ่งที่จ�ำเป็น โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรประหยัดน�้ำและกำรใช้น�้ำอย่ำงรู้คุณค่ำ ซึ่งเป็น ประเด็นที่อยู่ใกล้ตัวและทุกคนสำมำรถมีส่วนร่วมได้ กำรจัดกิจกรรมที่สร้ำงเสริม ควำมตระหนักถึงสถำนกำรณ์ทรัพยำกรน�้ำในปัจจุบัน และส่งเสริมให้เกิดกำร สร้ำงสรรค์แนวคิดในกำรประหยัดน�้ำที่มีกำรผลักดันต่อยอดให้เกิดกำรปฏิบัติจริง จนสำมำรถต่อยอดขยำยผลออกสูว่ งกว้ำง จึงเป็นแนวทำงหนึง่ ทีม่ สี ว่ นส�ำคัญอย่ำงยิง่ ในกำรจัดกำรทรัพยำกรน�้ำของประเทศให้เกิดควำมยั่งยืน
GreenNetwork4.0 March-April 2019
ประเทศ และแนวคิดโครงกำรทีจ่ ะส่งเสริมให้ชมุ ชนเกิดควำมตระหนักและร่วมมือ กันประหยัดน�ำ้ โดยแนวคิดทีน่ ำ่ สนใจและมีควำมเป็นไปได้ในกำรต่อยอดจำกผูส้ มัคร ทั่วประเทศ 40 ทีม จะถูกคัดเลือกเพื่อเข้ำร่วมกิจกรรม Boot Camp เพื่อพัฒนำ แนวคิดของโครงกำร ทั้งจำกกำรบรรยำยโดยผู้เชี่ยวชำญ กิจกรรม Workshop : Design Thinking และกำรเรียนรู้ผ่ำนสื่อและวิธีกำรที่หลำกหลำย อำทิ บอร์ดเกม เพือ่ กำรศึกษำ กำรแข่งขันตอบค�ำถำมทำงวิชำกำร รวมไปถึงกำรให้คำ� แนะน�ำในกำร ต่อยอดโครงกำรจำกแนวคิดไปสู่กำรปฏิบัติจริง และกำรเสริมทักษะกำรน�ำเสนอ ผลงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพ กิจกรรมดังกล่ำวจะช่วยให้ผู้เข้ำร่วมโครงกำรมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับ กำรดูแลทรัพยำกรน�ำ้ อย่ำงยัง่ ยืน มีสว่ นร่วมในกำรส่งเสริมและสร้ำงควำมตระหนัก เกี่ยวกับกำรดูแลทรัพยำกรน�้ำอย่ำงยั่งยืน พร้อมน�ำควำมรู้และประสบกำรณ์ ทีไ่ ด้จำกกำรอบรมไปขยำยผลสูก่ ำรลงมือปฏิบตั จิ ริง ณ โรงเรียนและชุมชนของตน ซึ่งอำจน�ำไปสู่กำรสร้ำงเครือข่ำยกำรจัดกำรน�้ำภำยในชุมชนที่สอดคล้องกับสภำพ สังคมและวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิน่ เพือ่ ให้เกิดกำรใช้ทรัพยำกรน�ำ้ อย่ำงยัง่ ยืน
นอกจำกนี้ ควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรจัดกำรทรัพยำกรน�้ำทั้งในด้ำน ปริมำณและคุณภำพ และควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยีทใี่ ช้ในกำรปรับปรุงคุณภำพ น�้ำ ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ควรส่งเสริมให้เกิดกำรเรียนรู้ของสังคมในวงกว้ำง
โครงกำร Envi Mission ควำมร่วมมือเพื่อไม่ทิ้งใครให้ “ขำดน�้ำ” ไว้เบื้องหลัง
เพื่อส่งเสริมให้เยำวชนไทยมีควำมตระหนักในด้ำนกำรอนุรักษ์ทรัพยำกร น�้ำ และเป็นก�ำลังส�ำคัญในกำรจัดกำรทรัพยำกรน�้ำของประเทศอย่ำงยั่งยืน คณะวิศวกรรมศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ร่วมกับ สถำนีวทิ ยุแห่งจุฬำลงกรณ์ มหำวิทยำลัย บริษทั ส.นภำ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ บริษทั โกลบอล ยูทลิ ติ ี้ เซอร์วสิ จ�ำกัด ในเครือ SN Group จึงร่วมกันจัด โครงการ “Envi Mission : Leave No One Behind” ซึ่งเป็นหนึ่งในตัวอย่ำงรูปแบบกิจกรรมที่จะท�ำให้เกิดกำรสร้ำง ควำมตระหนัก เรียนรู้ และลงมือปฏิบตั ใิ นกำรอนุรกั ษ์ทรัพยำกรน�ำ้ โดยในโครงกำร ประกอบด้วย 2 กิจกรรมหลัก ได้แก่ 1. กำรจัดกิจกรรม Boot Camp วัฒนธรรมรักษ์นา�้ ซึง่ เป็นกิจกรรมทีม่ งุ่ เน้น ในกำรสร้ำงกำรมีส่วนร่วมของนักเรียนและคนในชุมชนในรูปแบบของค่ำยอบรม ให้ควำมรู้ เพื่อสร้ำงพฤติกรรมพึงประสงค์ด้ำนกำรใช้น�้ำ และต่อยอดแนวคิดของ นักเรียนในกำรอนุรกั ษ์ทรัพยำกรน�ำ้ ในท้องถิน่ จนไปสูก่ ำรทดลองในพืน้ ทีโ่ รงเรียน และ/หรือชุมชนโดยรอบ เพือ่ สร้ำงควำมตระหนักและกำรเรียนรูจ้ ำกกำรปฏิบตั จิ ริง 2. กำรพัฒนำบอร์ดเกมเพือ่ การศึกษา (Educational Board Game) เพือ่ เป็นสื่อกำรเรียนกำรสอนเกี่ยวกับกำรจัดกำรทรัพยำกรน�้ำ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง ทรัพยำกรน�ำ้ ในธรรมชำติและกำรใช้ประโยชน์ ตลอดจนกำรสร้ำงควำมเข้ำใจเกีย่ วกับ กำรจัดกำรคุณภำพน�ำ้ ด้วยเทคโนโลยีตำ่ งๆ ผ่ำนกิจกรรมทีส่ ำมำรถสร้ำงควำมสนใจ และและท�ำให้เกิดกำรจดจ�ำเนื้อหำได้ง่ำย โดยกิจกรรมทัง้ 2 ส่วนจะด�ำเนินกำรควบคูก่ นั เพือ่ ท�ำให้เกิดกำรเรียนรูร้ ว่ มกัน ระหว่ำงผูเ้ ข้ำร่วมกิจกรรมและผูพ้ ฒ ั นำสือ่ กำรเรียนรู้ อันจะน�ำไปสูค่ วำมเข้ำใจและ ควำมร่วมมือในกำรเผยแพร่ควำมรูค้ วำมเข้ำใจทีถ่ กู ต้องในกำรจัดกำรทรัพยำกรน�ำ้ อย่ำงมีประสิทธิภำพและยั่งยืน
ช่องทางในการติดตามข่าวสาร และสมัครเข้าร่วมโครงการ
นักเรียนที่สนใจสมัครเข้ำร่วมโครงกำรสำมำรถติดตำม ข่ำวสำรได้ที่ เว็บไซต์ของสถำนีวิทยุแห่งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย CU Radio FM 101.5 MHz ในรำยกำร “พูดจาประสาช่าง” (http://www.curadio.chula.ac.th/Program.php?gc=eg) และเว็บไซต์ของคณะวิศวกรรมศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย (https://www.eng.chula.ac.th/th/news) ส�ำหรับผู้ที่สนใจ สนับสนุนโครงกำรสำมำรถติดต่อได้ที่ สถำนีวิทยุแห่งจุฬำลงกรณ์ มหำวิทยำลัย FM 101.5 MHz (Chulalongkorn University Broadcasting Station) ที่อยู่ : อำคำรวิทยพัฒนำ ชั้น 7 จุฬำฯ ซอย 12 ถนนพญำไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทร. 0-2218-3970 โทรสำร 0-2218-3321 และ 0-2219-2007
กิจกรรม Boot Camp วัฒนธรรมรักษ์น�้ำ มีอะไร
ในตอนนีจ้ ะขอกล่าวถึงรายละเอียดของกิจกรรมส่วนที่ 1 : ค่าย Boot Camp วัฒนธรรมรักษ์นา�้ ซึง่ เป็นกิจกรรมทีเ่ ปิดโอกำสให้นอ้ งๆ นักเรียนระดับมัธยมศึกษำ ตอนปลำยสมัครเข้ำร่วมกิจกรรมเป็นทีมละ 3 คน รวมกับอีก 2 คน (ที่อำจเป็นครู อำจำรย์ หรือคนในชุมชน) ทัง้ หมด 5 คนต่อทีม โดยสำมำรถดำวน์โหลดแบบฟอร์ม กำรรับสมัครและตอบค�ำถำมเพื่อทดสอบควำมรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับทรัพยำกรน�้ำใน 25
GreenNetwork4.0 March-April 2019
GREEN
Report ส�ำนักงำนกองทุน สนับสนุนกำรวิจัย (สกว.)
ยานยนต์ไฟฟ้า (EV) ... ทางแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
การเผชิญหน้ากับปัญหาฝุน่ ละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) ในหลายภูมภิ าคของ ประเทศไทย โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ท�าให้เกิดกระแสความตืน่ ตัว เกีย่ วกับปัญหามลพิษทางอากาศในวงกว้าง ซึง่ หนึง่ ในตัวการส�าคัญทีก่ อ่ ให้เกิดฝุน่ PM 2.5 คือพาหนะเครื่องยนต์ดีเซลที่นิยมใช้ในภาคคมนาคมขนส่ง ทางออกหนึ่ง เพื่อการแก้ปัญหานี้อย่างยั่งยืนซึ่งมีการใช้งานแล้วในหลายประเทศที่ผู้น�าและ ประชาชนตระหนักถึงปัญหาสิง่ แวดล้อม คือ ยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicles : EV) ผศ. ดร.ภูรี สิรสุนทร จากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิจยั ของส�านักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) ได้อธิบายถึง เรือ่ งนีว้ า่ ยานยนต์ไฟฟ้าไม่ได้เป็นเรือ่ งใหม่ ของไทย เพราะรัฐบาลได้สนับสนุนการ พัฒนาโครงสร้า งพื้นฐานและส่งเสริม ให้มกี ารใช้ยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศ โดย ได้วาง “แผนการขับเคลื่อนภารกิจด้าน พลังงานเพือ่ ส่งเสริมการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้า ผศ. ดร.ภูรี สิรสุนทร ในประเทศไทยในระหว่าง พ.ศ. 2559-2579” รวมถึงวาง “แผนทีน่ า� ทางการส่งเสริมยานยนต์ ไฟฟ้าในประเทศไทยระหว่าง พ.ศ. 2557-2562” เนือ่ งจากยานยนต์ไฟฟ้ามีความเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ไม่กอ่ ให้เกิดมลพิษ อย่างฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ประหยัดเชื้อเพลิง และมีประสิทธิภาพใน การใช้งานสูง เช่น มีอตั ราเร่งในการออกตัวสูง (ไม่ตอ้ งทดเกียร์) ไม่มเี สียงดังของ เครื่องยนต์รบกวน นอกจากนั้น ยังประหยัดค่าใช้จ่ายในบางด้านลง เช่น ค่าซ่อม บ�ารุง และค่าเชือ้ เพลิง ฯลฯ แม้จะมีขอ้ ด้อยทีต่ อ้ งค�านึงถึง เช่น การชาร์จพลังงาน 1 ครั้ง (ประมาณ 4 ชั่วโมง) จะวิ่งได้ประมาณ 400 กิโลเมตร ท�าให้ไม่เหมาะแก่ การใช้เดินทางไกล ไม่นบั รวมด้านราคาขายในปัจจุบนั ทีย่ งั จัดว่าค่อนข้างสูง แต่เมือ่ วัดกันทีก่ ารเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมในระยะยาวแล้วก็ยงั ถือว่ามีความคุม้ ค่า พิสจู น์ ได้จากหลายประเทศทีต่ ระหนักถึงผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและมลพิษทางอากาศ ได้มกี ารเปลีย่ นมาใช้ยานยนต์ประเภทนีเ้ ป็นหลักหรือหันมาสนับสนุนการผลิตยานยนต์ ประเภทนี้อย่างเป็นรูปธรรมแล้ว เช่น นอร์เวย์ เยอรมนี ญี่ปุ่น อเมริกา และจีน สิ่งส�าคัญคือจะท�าอย่างไรให้ผู้ใช้รถตัดสินใจเปลี่ยนมาใช้ยานยนต์ไฟฟ้า แทนยานยนต์ประเภทที่ใช้เชื้อเพลิง เครื่องยนต์สันดาปภายใน (Internal Combustion Engine : ICE) ซึ่งนิยมใช้ในปัจจุบัน เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชี้ชัดถึงแนวทางการเปลี่ยนแปลงความสนใจของผู้ใช้ ยานยนต์ ผศ. ดร.ภูรี จึงท�าวิจยั เชิงเศรษฐศาสตร์และได้ขอ้ สรุปว่า จากการท�างาน วิจัยโครงการประเมินมาตรการส่งเสริมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าต่อการยอมรับของ 26
ผูบ้ ริโภคและประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาคขนส่ง พบว่าในการทีจ่ ะให้ผบู้ ริโภค ตัดสินใจเปลีย่ นมาใช้ยานยนต์ไฟฟ้านัน้ จ�าเป็นต้องมีตวั ชีว้ ดั เพือ่ เปรียบเทียบให้เห็น อย่างชัดเจน โดยเฉพาะ ‘ต้นทุนรวมในการเป็นเจ้าของ’ (Total Cost of Ownership : TCO) ยานยนต์หนึง่ คัน ไม่วา่ จะเป็นราคารถมือหนึง่ และราคาขายต่อ ค่าเชือ้ เพลิง ค่าบ�ารุงรักษา รวมถึงค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ทีจ่ ะตามมาจากการซือ้ เช่น ดอกเบีย้ ประกัน และภาษี ซึ่งในปัจจุบันเมื่อเปรียบเทียบต้นทุนที่ผู้ใช้ยานยนต์ต้องจ่ายหรือ ‘ต้นทุน เอกชน’ แล้ว EV ยังมีความโดดเด่นจูงใจไม่มากพอทีจ่ ะท�าให้ผซู้ อื้ เปลีย่ นมาซือ้ EV โดยเฉพาะเมือ่ ยานยนต์ในเซ็กเมนต์เดียวกัน ยานยนต์ประเภทสันดาปภายในมีราคา รถถูกกว่า ในขณะที่ ‘ต้นทุนทางสังคม’ โดยเฉพาะต้นทุนทีเ่ กิดจากมลพิษทางอากาศ การใช้ EV ไม่ก่อให้เกิดต้นทุนนี้เลย และมีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า โดยผลจากการส�ารวจยังพบว่า อัตราการยอมรับ EV อยูท่ รี่ อ้ ยละ 60 แสดง ให้เห็นว่าผู้ใช้รถยินดีที่จะเปลี่ยนมาใช้ยานยนต์ไฟฟ้า โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อการ ตัดสินใจมี 3 ส่วน คือ ปัจจัยส่วนบุคคล เช่น การศึกษา และรายได้ ปัจจัยภายใน เกีย่ วกับตัวรถ เช่น ราคา ค่ายรถ และสมรรถนะของรถ สุดท้ายคือ ปัจจัยภายนอก เช่น บริการหลังการขาย เป็นต้น เพือ่ ให้ประเทศไทยประสบความส�าเร็จในการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า ผศ. ดร.ภูรี เสนอแนะว่า “นอกจากโครงสร้างพืน้ ฐานและการลงทุนในประเทศทีร่ ฐั บาลผลักดัน แล้ว รัฐบาลควรใช้มาตรการส่งเสริมทางการเงินเพือ่ ลดราคายานยนต์ไฟฟ้าและ TCO ลง เช่น การลดภาษีน�าเข้า และการผลักดันให้เกิดอุตสาหกรรมการผลิตเกี่ยวกับ ยานยนต์ไฟฟ้าภายในประเทศ เพื่อให้ราคารถประเภทนี้ต�่าลงจนสามารถแข่งขัน กับรถสันดาปภายในที่นิยมใช้ในปัจจุบันได้ นอกจากนั้น ภาครัฐควรเป็นแกนน�าใน การเปลี่ยนยานยนต์ในสังกัดเป็นยานยนต์ไฟฟ้า รวมถึงขอความร่วมมือไปยังผู้ให้ บริการรถโดยสารสาธารณะ เช่น รถเมล์ และรถแท็กซี่ ให้ใช้เช่นกันเพือ่ สร้างความ เชื่อมั่นเกี่ยวกับประสิทธิภาพที่ดีของยานยนต์ไฟฟ้า อีกสิ่งส�าคัญที่ไม่ควรมองข้าม คือ การประชาสัมพันธ์จากภาครัฐเพื่อสร้างความตระหนักรู้ถึงข้อดีของ EV ให้แก่ ประชาชนควบคู่กันไปด้วย” จากงานวิจัยมีการประเมินว่าหากประเทศไทยมีการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าตาม อัตราการยอมรับ EV ที่ร้อยละ 60 ของเป้าหมาย 1.2 ล้านคัน ภายใน พ.ศ. 2579 พบว่าความต้องการน�้ามันเบนซินจะลดลงโดยรวม 600 ล้านลิตร ดีเซลลดลงโดย รวม 313.9 ล้านลิตร LPG ลดลง 174.7 ล้านลิตร ในขณะที่ความต้องการไฟฟ้าจะ สูงขึน้ เฉลีย่ 2,994 GWh โดยต้นทุนเชือ้ เพลิงทีป่ ระหยัดได้คดิ เป็น 11,936 ล้านบาท ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้สูงถึง 650,059 พัน kgCO2e และลดมูลค่าต้นทุน ทางสังคมได้ประมาณ 70,279 ล้านบาท ดังนั้นแล้วหากจะท�าให้เกิดผลนี้ได้ ความ ร่วมมือจากทุกฝ่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนเป็นเรื่องส�าคัญ
GreenNetwork4.0 March-April 2019
ออสโล...เมืองแรกของโลก
GREEN
World
ที่ใช้ ระบบชาร์จไฟฟ้าไร้สาย
กองบรรณำธิกำร
ส�าหรับรถยนต์ไฟฟ้า (EV)
ด้วยประชากรเพียงแค่ 5 ล้านคน แต่นอร์เวย์กลับได้รับสมญานามเมืองรถยนต์ไฟฟ้าอันดับ 1 ของโลก ทั้งๆ ที่หากย้อนไปเมื่อ 10 ปีที่แล้ว นอร์เวย์ มีรถยนต์ไฟฟ้าใหม่ในประเทศแค่เพียง 567 คันเท่านัน้ แต่จากสถิตลิ า่ สุดนอร์เวย์กลับมียอดจดทะเบียนรถยนต์ไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ เป็น 7 หมืน่ กว่าคัน ซึง่ เพิม่ ขึน้ กว่า 133 เท่า เฉพาะแค่ปี พ.ศ. 2561 คนนอร์เวย์ซื้อรถยนต์ไฟฟ้าใหม่ถึง 46,143 คัน ซึ่งจากตัวเลขนี้ ท�าให้ภายในระยะเวลาแค่ 9 ปี ค่ายรถยนต์ไฟฟ้า อย่าง Tesla ก็ได้ขึ้นแท่นกลายเป็นรถขายดีที่สุดในนอร์เวย์ไปแล้ว ล่าสุด กรุงออสโล เมืองหลวงของนอร์เวย์ ก�าลังกลายเป็นเมืองแรกของโลก ทีต่ ดิ ตัง้ ระบบชาร์จไฟฟ้าไร้สายส�าหรับรถแท็กซีไ่ ฟฟ้า โดยหวังว่าการชาร์จไฟฟ้าใหม่ อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพนี้ จะช่วยเร่งให้มกี ารใช้งานรถแท็กซีไ่ ฟฟ้าทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดมลพิษให้เร็วที่สุดภายในปี พ.ศ. 2566 โดยโครงการนี้ใช้เทคโนโลยีการเหนี่ยวน�าโดยมีแผ่นชาร์จที่ติดตั้งอยู่ บนถนนที่ ร ถแท็ ก ซี่ จ อดและจะเชื่ อ มโยงกั บ ตั ว รั บ สั ญ ญาณที่ ติ ด อยู ่ กั บ ตั ว รถ โดยสามารถชาร์จได้สงู สุด 75 กิโลวัตต์ ซึง่ ลักษณะการเหนีย่ วน�าพลังงานดังกล่าว จะท�าให้รถแท็กซี่สามารถชาร์จพลังงานได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น ช่วยประหยัดเวลา ในการชาร์จรถแท็กซี่ และรถแท็กซี่สามารถชาร์จพลังงานได้แม้ในระหว่างเข้าคิว เพื่อรอรับผู้โดยสาร ความส�าเร็จของโครงการนี้ จะเป็นโครงสร้างพื้นฐานการชาร์จเร็วแบบ ไร้สายส�าหรับรถแท็กซี่ไฟฟ้า ซึ่งไม่เฉพาะแค่ในนอร์เวย์เท่านั้น แต่เป็นที่ใดก็ได้ใน โลก และจะช่วยพัฒนาเทคโนโลยีการชาร์จแบบไร้สายส�าหรับไดรเวอร์ EV ทัง้ หมด โดยนอร์เวย์ตั้งเป้าหมายตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป แท็กซี่ทั้งหมดในออสโล จะปลอดมลภาวะ และอุตสาหกรรมแท็กซี่ในนอร์เวย์จะเป็นมิตรต่อผู้ใช้ และ มีประสิทธิภาพมากที่สุด ส�าหรับการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าในนอร์เวย์มีอัตราการเป็นเจ้าของรถยนต์ ไฟฟ้าที่สูงที่สุดในโลก ซึ่งส่วนหนึ่งก็มาจากการสนับสนุนของรัฐบาลนอร์เวย์เอง ไม่ว่าจะเป็นนโยบาย VAT 0% ไม่เก็บภาษีน�าเข้ารถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งนั่นท�าให้ยอดขาย ของ Tesla ในนอร์เวย์พงุ่ ทะยานสูงสุดเป็นประวัตกิ ารณ์ และท�าให้ราคารถยนต์ไฟฟ้า ในนอร์เวย์ถูกกว่าในอเมริกาด้วย นอกจากนี้ ผู้ใช้รถยนต์ไฟฟ้าในนอร์เวย์ยังได้ สิทธิพเิ ศษต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นการใช้ทางด่วนฟรี การให้สทิ ธิพเิ ศษสามารถวิง่ ในเลน รถบัสได้ ตลอดจนการลดราคาที่จอดรถและจุดชาร์จ เป็นต้น
27
ทัง้ หมดนีท้ า� ให้เมือ่ ปีทผี่ า่ นมายอดขายรถยนต์ไฟฟ้าในนอร์เวย์มสี ว่ นแบ่งถึง 1 ใน 3 ของยอดขายรถยนต์ทั้งหมดในประเทศ และจากตัวเลขยอดขายรถยนต์ ไฟฟ้าใหม่ที่ 46,143 คัน ท�าให้นอร์เวย์กลายเป็นตลาดรถยนต์ไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุด ในยุโรป แซงหน้าเยอรมนีที่มียอดซื้อที่ 36,216 คัน และฝรั่งเศสที่ 31,095 คัน ที่มา : auto.ndtv.com | Oslo Becomes the First City in the World to Get Wireless Charging Systems for EVs theverge.com | Norway Will Install the World’s First Wireless Electric Car Charging Stations for Oslo Taxis
GreenNetwork4.0 March-April 2019
GREEN
Article รศ. ดร.ศิริมา ปัญญาเมธีกุล, ศ.กิตติคุณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ภาควิชาวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดราม่า เรื่อง PM 2.5
ความเข้าใจพื้นฐาน
แม้จะเขียนจัว่ หัวเรือ่ งว่าเป็นเรือ่ งดราม่า อันเนือ่ งมาจากคุณภาพอากาศใน กรุงเทพมหานครที่เลวมากในช่วงปลายมกราคมต่อต้นกุมภาพันธ์ เมื่อต้นปี 2561 โดยดูหรือวัดเอาจากค่าสารมลพิษอากาศหรือ PM 2.5 แต่เมื่อเวลาผ่านไป สภาพ ลมฟ้าดีขึ้น ลมร้อนเริ่มมาและพัดแรงขึ้น มลพิษทั้งหลายซึ่งจริงๆ ไม่ได้มีแค่เพียง PM 2.5 ก็ถูกพัดพาให้กระจายออกไป ปัญหามลพิษอากาศจึงน้อยลง และดราม่า เรื่องนี้ก็คล้ายๆ กับเรื่องอื่นๆ คือจางหายไปกับสายลม แต่ในกรณีนี้มันหายไปกับ สายลมจริงๆ ไม่ใช่เพียงแค่การเปรียบเปรย เรื่องที่จะเขียนต่อไป ขอบอกให้ชัดเจนก่อนว่าจะไม่ใช่เรื่องดราม่า แต่เป็น ข้อเท็จจริงที่อย่างน้อยก็เป็นข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเราควรเรียนรู้และ ท�าความเข้าใจกับมัน (แม้ออกจะยากสักหน่อยส�าหรับคนทัว่ ไป) จึงจะจัดการกับมันได้ และเลิกดราม่าแบบไร้เหตุผลกันเสียที และเนือ่ งจากเรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ งทางวิทยาศาสตร์ ที่มีอะไรสลับซับซ้อนอยู่ในตัวของมันเยอะมาก เราจึงจะขออธิบายแยกออกเป็น 6 ตอน โดยมีรายละเอียดที่พยายามให้จบในแต่ละตอน แม้ในเหตุการณ์ดราม่าเมือ่ ต้นปี ทีผ่ คู้ นต่างได้พดู ถึงเฉพาะ เรื่องฝุ่น PM 2.5 แต่จริงๆ แล้วสารมลพิษอากาศมีมากกว่านั้นที่โลกให้ความสนใจ กันจริงจัง และประเทศไทยมีการก�าหนดเป็นมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ มีอยู่ 8 ตัว คือ ก๊าซโอโซน (O3) ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ก๊าซคาร์บอน มอนอกไซด์ (CO) ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ตะกั่ว (Lead) ฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 100 ไมครอน (Total Suspended Particles : TSP) ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (Coarse Particulate Matter, Particulate Matter Less Than 10 Micron : PM 10) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (Fine Particle, Fine Particulate Matter, Particulate Matter Less Than 2.5 Micron : PM 2.5) นอกจากนี้ ยั ง มี ส ารมลพิ ษ อากาศที่ ถู ก กํ า หนดค่ า การปลดปล่ อ ยจากปล่ อ ง อุตสาหกรรมอีก เช่น สารปรอท (Mercury) สารประกอบไดออกซิน (Dioxins) สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile Organic Compounds : VOCs) และ ทีไ่ ด้รบั ความสนใจมากขึน้ แต่ยงั ไม่มมี าตรฐานก�าหนด เช่น สารประกอบโพลีไซคลิก อะโรมาติกส์ไฮโดรคาร์บอน หรือทีเ่ รียกกันสัน้ ๆ ว่า “พาห์” (Polycyclic Aromatic Hydrocarbons : PAHs) และสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่ายมาก (Very Volatile Organic Compounds : VVOCs) แต่ละตัวจะมีอันตรายหรือความเป็นพิษแบบ เฉียบพลันหรือแบบเรือ้ รังต่างกัน ยกตัวอย่าง สารคาร์บอนมอนอกไซด์ หรือ CO ทีจ่ ะ อันตรายแบบปัจจุบนั ทันที เพราะ CO จะไปแย่งออกซิเจนในเลือด ท�าให้คนขาดออกซิเจน และตายได้ ตายแบบที่นอนในรถยนต์ติดเครื่อง แล้วไม่ตื่นขึ้นมาอีกเลยนั่นแหละ 28
แม้บทความนี้จะเน้นเรื่อง PM 2.5 ซึ่งเป็นเรื่องของฝุ่น แต่ ฝุ่นก็ไม่ได้มีเพียงแค่ PM 2.5 ฝุ่นในอากาศมีหลายขนาด คือ TSP, PM 10, PM 2.5 และ PM 1.0 ทั้งนี้ TSP หรือ Total Suspended Particles คือฝุ่นละอองรวม หรือ ฝุน่ ละอองขนาด 100 ไมครอน* หรือต�า่ กว่า ซึง่ จะขอเรียกรวมๆ ว่า “ฝุน่ ใหญ่” ส่วน PM 10 หมายถึง ฝุ่นที่เล็กลงมา คือขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน มีขนาดประมาณ เทียบเท่ากับ 1 ใน 5 ของเส้นผม ซึ่งเราขอเรียกว่า “ฝุ่นเล็ก” ฝุ่นขนาดนี้ขนจมูก กรองไม่ได้ มันจะเข้าไปในปอด จึงเป็นอันตรายได้ ฝุน่ ทีเ่ ล็กลงไปอีกคือ ฝุน่ PM 2.5 ซึง่ คือฝุน่ ทีเ่ ล็กกว่า 2.5 ไมครอน ฝุน่ นีน้ อกจากขนจมูกกรองไม่ได้แล้ว ยังทะลุทะลวง เข้าไปได้ถึงในสุดของปอด จึงอันตรายกว่า PM 10 เราขอเรียกฝุ่นนี้ว่า “ฝุ่นจิ๋ว” และฝุ่นจิ๋วนี้แหละที่เป็นต้นเหตุแห่งความเข้าใจผิด ซึ่งน�ามาซึ่งดราม่าเมื่อตอนปี ทีผ่ า่ นมา แต่ฝนุ่ PM 2.5 ยังไม่เล็กสุด ปัจจุบนั บางประเทศทีว่ ทิ ยาการทางเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อมไปไกลมาก ได้ท�าการตรวจวัดความเข้มข้นของฝุ่น PM 1.0 (หรือ ฝุน่ ละอองขนาดไม่เกิน 1 ไมครอน) ด้วย เช่น บริเวณสนามบินฮีทโทรว์ (Heathrow Airport) (http://www.airqualityengland.co.uk/site/latest?site_id=LHR2) เพราะเขาคิดว่ามันอันตรายกว่าฝุน่ จิว๋ PM 2.5 เสียอีก เพราะฝุน่ นีห้ ากขนาดยิง่ เล็กลง ก็ยงิ่ มุดเข้าไปได้ลกึ ขึน้ ในร่างกายเรา ถึงขนาดสามารถเข้าสูก่ ระแสเลือดได้ อันตราย จึงมากขึน้ ขอเรียกฝุน่ นีว้ า่ “ฝุน่ ไมโคร” เพือ่ ให้ฟงั ดูขงึ ขัง เข้าใจยาก และชวนติดตาม อันมลพิษอากาศนัน้ มี ปัจจัยหลักๆ ทีท่ าํ ให้มนั เกิดขึน้ ได้อยู่ 2 ประการ ปัจจัยแรก ได้แก่ สารมลพิษทีป่ ล่อยออกมาจากแหล่งกําเนิดต่างๆ ส่วน ปัจจัยที่สอง ได้แก่ สภาพภูมิอากาศ เราจะเห็นได้ว่าปัจจัยที่เราพอจะควบคุมได้ และจัดการได้ คือ ปัจจัยแรกเท่านัน้ ส่วนปัจจัยทีส่ องนัน้ เราควบคุมหรือทําอะไรไม่ ได้เลย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในภาวะปัจจุบนั ทีส่ ภาพภูมอิ ากาศเปลีย่ นแปลง (Climate Change) อย่างรุนแรง จนเราคาดเดาอะไรล่วงหน้านานๆ แทบไม่ได้ ฉะนัน้ ถ้าเรา จะมีมาตรการใดๆ ออกมาเพือ่ ลดปัญหา ก็ตอ้ งเพ่งเล็งไปทีป่ จั จัยแรกเป็นประการ เดียวเท่านัน้ และส�าหรับในกรุงเทพมหานคร จะต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษในช่วง ปลายปีต่อต้นปี หรือตั้งแต่เดือนธันวาคม-มีนาคม (ถ้าเป็นพื้นที่ภาคเหนือก็จะเริ่ม ตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์-เมษายน) ซึง่ มักเป็นช่วงทีอ่ ากาศสงบ ลมนิง่ สารมลพิษอากาศ จึงสะสมตัวอยูใ่ นชัน้ บรรยากาศได้ยาวนานกว่าในช่วงฤดูอนื่ ๆ ดังจะเห็นได้วา่ ดราม่า * หมายเหตุ : ไมครอนหรือไมโครเมตร เป็นหน่วยวัดความยาว เช่นเดียวกับ นิว้ เมตร หรือไมล์, 1 ไมครอน = 1/1,000 มิลลิเมตร หรือ 1 ไมครอน = 1/1,000,000 เมตร
GreenNetwork4.0 March-April 2019
PM 10 เฉลี่ย 24 ชั่วโมงสูงสุด (มคก./ลบ.ม.)
show_km.php?tid=71)
รูปที่ 1 ความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM 10) เฉลี่ย 24 ชั่วในกรุ โมงสูงงสุเทพมหานคร ด รูปที่ 1 ความเขมขนของฝุนละอองขนาดไมเกิในกรุ น 10งเทพมหานคร ไมครอน (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมงสูง ตั้งแต่ปี 2539-2555 ค่ามาตรฐาน 120 มคก./ลบ.ม. ตั้งแตที่มปา :2539 ถึง 2555 คามาตรฐาน 120 มคก./ลบ.ม. กรมควบคุมมลพิษ (2555) รายงานสถานการณ์ประจ�าปี พ.ศ. 2555
PM 2.5 ในกรุงเทพมหานครเมือ่ เดือนกุมภาพันธ์หรือต้นปี 2561 ได้จางหายไป เมื่อลมร้อนเดือนมีนาคม-เมษายนเริ่มเข้ามาไล่สารมลพิษอากาศเหล่านั้น ให้กระจายหายไป
PM 10 เฉลี่ยรายปี (มคก./ลบ.ม.)
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ(2555) รายงานสถานการณประจําป พ.ศ. 2555
3
แม้จะมีดราม่าว่ามลพิษอากาศบ้านเราแย่มาก จนจะ อยู่กันไม่ได้แล้ว แต่เชื่อหรือไม่ว่า จะมีจ�านวนรถยนต์ในกรุงเทพมหานคร มากขึ้นทุกปีๆ ซึ่งจะว่าไปแล้วคุณภาพอากาศควรจะต้องเลวลงๆ แต่ คุณภาพอากาศของเราโดยเฉพาะ PM 10 เฉลี่ยรายปีแล้ว กลับดีขึ้นทุกปี (http://air4thai.pcd.go.th/web/index.php) จากกราฟในรูปที่ 1-3 แม้ว่าข้อมูลจะเป็นตัวเลขของ PM 10 มิใช่เป็นข้อมูลของฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 แต่ก็ชี้ชัดได้ว่า ทั้งเราและรัฐบาลได้พยายามแก้ไขปัญหานี้มาโดยตลอด เหตุผลหลักๆ ทีท่ า� ให้คณ ุ ภาพอากาศมีการเปลีย่ นแปลงคือ เราได้มกี ารออก กฎหมายทีท่ า� ให้สภาพการณ์ดขี นึ้ โดยได้เปลีย่ นมาตรฐานไอเสียของรถยนต์ และมาตรฐานของน�้ามันเชื้อเพลิงจากมาตรฐานยูโร 3 เป็นมาตรฐานยูโร 4 อันท�าให้มลพิษต่างๆ ลดลงไปได้มาก นอกจากนี้ เรายังได้มกี ารควบคุมการ ก่อสร้างไม่ให้ปล่อยฝุน่ ออกมามากเหมือนแต่กอ่ น รวมทัง้ มีการล้างท�าความ สะอาดถนนอย่างสม�่าเสมอ ท�าให้ไม่มีฝุ่นฟุ้งกระจายท�าอันตรายต่อสุขภาพ ของเราและลูกหลาน ซึ่งคุณความดีนี้ต้องยกให้กับ เจ้าหน้าที่รัฐทุกท่านที่มี ส่วนท�าให้อากาศของเราสะอาดขึ้น โดยเฉพาะกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กรมธุรกิจพลังงาน และกรุงเทพมหานคร ที่ช่วยท�าสิ่งดีๆ นี้ให้แก่สังคมคน กทม. (http://www.doeb.go.th/v5/show_km.php?tid=71) 29
PM 10 เฉลี่ยรายปี (มคก./ลบ.ม.)
รูปที่ 2 ความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM 10) ในกรุงเทพมหานคร เฉลี่ยรายปี ตั้งแต่ปี 2539-2555 ค่ามาตรฐาน 50 มคก./ลบ.ม. ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ (2555) รายงานสถานการณ์ประจ�า พ.ศ. 2555
รูปที่ 3 ความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM 10) ในกรุงเทพมหานคร เฉลี่ยรายปี ตั้งแต่ปี 2549-2559 ค่ามาตรฐาน 50 มคก./ลบ.ม. ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ (2559) รายงานสถานการณ์ประจ�า พ.ศ. 2559
GreenNetwork4.0 March-April 2019
SMART
City
กองบรรณาธิการ
ระบบบิ๊กดาต้า IoT ซิเคียวริตี้ ส่งภาครัฐสู่ Smart Government
เมือ่ เร็วๆ นี้ มีการคาดการณ์จาก IDC ว่า ประเทศไทย จะมีเงินหมุนเวียนในตลาดไอทีสงู ถึง 470,000 ล้านบาทในอีก 2-3 ปีขา้ งหน้า ซึง่ เป็นผลมาจากการเดินหน้างาน ดิจทิ ลั ทรานส์ ฟอร์เมชั่น โดยภายในปี พ.ศ. 2563 กว่า 20% จะปรับเปลี่ยน รูปแบบองค์กรให้เป็นดิจทิ ลั อย่างสมบูรณ์ ด้วยการคาดการณ์ ดังกล่าว บริษัทที่ให้บริการด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงต้องเตรียมพร้อมเพื่อรองรับความต้องการของภาครัฐ กลุม่ บริษทั ซีดจี ี (CDG Group) ผูใ้ ห้บริการด้านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศในประเทศไทย ได้ชู 3 จุดเด่นโซลูชั่น คือ 1) Big Data/Data Analytics 2) IoT และ 3) Privacy/Security ซึ่งโซลูชั่นเหล่านี้จะช่วยสนับสนุนภาครัฐ และรัฐวิสาหกิจ ก้าวสู่ความเป็น Smart City นาถ ลิ่วเจริญ ประธานกรรมการบริหาร กลุ่มบริษัท ซีดจี ี กล่าวว่า การทีร่ ฐั บาลได้เดินหน้าดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชัน่ ท�าให้คาดว่าจะมีเงินหมุนเวียนในตลาดมหาศาล โดยคลาวด์ เซอร์วิส (Cloud Service) ยังคงเป็น ส่วนที่ได้รับความสนใจ ซึ่งคาดการณ์ว่าจะท�า รายได้ให้ตลาดไอทีได้สูงกว่า 48,000 ล้านบาท นอกจากนี้ ตัวเลขจากงานวิจยั ของ IDC ยังระบุ ว่า ภายในปี พ.ศ. 2563 มากกว่า 20% ของ องค์กรจะปรับเปลี่ยนรูปแบบองค์กรให้เป็น ดิจิทัลอย่างสมบูรณ์ เพื่อเสริมศักยภาพและ พร้อมแข่งขันในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลอย่างมี ประสิทธิภาพ 30
GreenNetwork4.0 March-April 2019 GreenN
“ปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทางบริษัทมี 3 จุดเด่นโซลูชั่น ที่จะเข้ามาสนับสนุนการท�างานให้กับองค์กรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ 1) Big Data/Data Analytics 2) IoT และ 3) Privacy/Security โดยในส่วนของ Big Data และ Data Analytics ทั้งภาครัฐและเอกชนจะพบว่า ข้อมูลที่มีอยู่มหาศาลยังไม่ได้ ถูกน�ามาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มประสิทธิภาพ ในขณะทีข่ อ้ มูลเหล่านัน้ เองคือ โอกาสทีส่ ามารถน�ามาจัดการและรวบรวมให้เป็นหมวดหมู่ ให้งา่ ยต่อการวิเคราะห์ เพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป ในขณะเดียวกัน เทรนด์ในการพัฒนาเมืองของภาครัฐ สู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) จ�าเป็นต้องใช้เทคโนโลยีใหม่อย่าง IoT ในการบูรณาการเข้ากับระบบ เสริมด้วยงาน E-citizen Services เพื่อการบริการ ประชาชนที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเมื่อข้อมูลกลายเป็นหัวใจ
เทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain) คือการน�ามาใช้ให้เป็น
รูปธรรมส�าหรับหน่วยงานภาครัฐต่างๆ เพือ่ เสริมประสิทธิภาพเรือ่ งของความถูกต้อง แม่นย�าของข้อมูลและความปลอดภัยในการเข้าถึงระบบ ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่เสริม การท�างานร่วมกันระหว่างแผนก หน่วยงาน และองค์กร เช่น เอกสารส�าคัญ โฉนด ที่ดิน และการด�าเนินธุรกรรมต่างๆ Artificial Intelligence หรือ AI ปัญญาประดิษฐ์ที่ยังคงเป็นที่ พูดถึงในวงกว้าง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมรถยนต์ การเกษตร และทางการแพทย์ หากจะมองให้แคบลงอีก สิ่งที่จะเห็นได้ชัดเจนในปีนี้คือ การน�าแมชชีนเลิร์นนิง และ AI มาใช้สร้างแพลตฟอร์มทางธุรกิจ และขับเคลื่อนการกระบวนการท�างาน หรือแม้แต่การน�า Chatbot เข้ามาใช้โต้ตอบกับลูกค้าเพื่อการบริการ 24 ชั่วโมง นอกจากนี้ Chatbot ยังถูกน�ามาใช้ในองค์กร เพื่อลดจ�านวนงานและขั้นตอนการ ท�างานให้กระชับยิ่งขึ้น คาดว่าปลายปี พ.ศ. 2562 กว่า 40% ของธุรกิจขนาดใหญ่ จะปรับเปลีย่ นรูปแบบการท�างานภายในองค์กรด้วยการน�า Chatbot มาประยุกต์ใช้
Augmented Reality (AR) and Virtual Reality (VR)
แม้ในปีทผี่ า่ นมา กระแสของ VR จะยังมาไม่แรงเท่า AR แต่การตืน่ ตัวของภาคธุรกิจ ทัว่ โลกทีอ่ ยากผลักดันเทคโนโลยีนี้ เราจึงเห็นความพยายามในการน�าเสนอต้นทุน อุปกรณ์ที่ต�่าลงเพื่อให้เข้าถึงคนทั่วไปได้อย่างแพร่หลายมากขึ้น ขณะเดียวกัน เทคโนโลยี Mixed Reality (MR) ซึง่ เป็นส่วนผสมของ AR และ VR เป็นการจ�าลอง สภาพแวดล้อมทับซ้อนพืน้ ทีจ่ ริงแบบเรียลไทม์ และยังเปิดโอกาสให้ผใู้ ช้งานเข้าถึง วัตถุเสมือนจริง ได้รับความสนใจมากขึ้นจากกลุ่มอุตสาหกรรมรถยนต์ 31
ของการท�างาน Privacy/Security หรือการจัดการระบบการเข้าถึงข้อมูลและ การปกป้องข้อมูล จึงเป็นสิง่ ทีจ่ า� เป็นส�าหรับทุกหน่วยงาน โดยทัง้ หมดนีจ้ ะเป็นสิง่ ที่ บริษทั ฯ ให้การผลักดันให้เกิดเป็นโซลูชนั่ ใหม่ๆ เพือ่ ตอบทุกโจทย์ความต้องการให้ ลูกค้า ตัง้ เป้าเติบโต 10% จากปีทผี่ า่ นมา โดยยังคงสัดส่วนหลักจากภาครัฐที่ 90%” นาถ กล่าว นอกจากนี้ จากการคาดการณ์ของ Gartner ในบทความ Gartner Top 10 Strategic Technology Trends for 2019 พบว่า Technology Trends ทีน่ า่ จับตามอง และมีแนวโน้มที่จะส่งผลต่อภาคธุรกิจหลักๆ คือ Blockchain, Artificial Intelligence (AI), Augmented Reality (AR) and Virtual Reality (VR) และ Global Internet of Things (IoT) Security Breach
Global Internet of Things (IoT) Security Breach
แนวโน้มของการเกิดความไม่ปลอดภัยหรือการรั่วไหลของข้อมูลจากการเชื่อมต่อ ของอุปกรณ์เหล่านี้เพิ่มมากขึ้น จากการพัฒนาและน�ามาใช้อย่างแพร่หลายของ อุปกรณ์ IoT ซึ่งผู้เชี่ยวชาญ Gartner คาดการณ์ว่า จากนี้จนถึงปี พ.ศ. 2563 จะมี การเชื่อมต่อของอุปกรณ์ต่างๆ ทั่วโลกถึง 20.4 ล้านชิ้น จึงเกิดกระแสการตื่นตัว จากผู้ผลิตชิ้นส่วน IoT ที่เริ่มมองหาการรักษาความปลอดภัยส�าหรับอุปกรณ์ IoT ต่างๆ ที่รัดกุมขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี ท�าให้ทุกภาคส่วน มีการปรับตัวเพื่อสอดรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว โดยปัจจุบันจะเห็นได้จากการ Transform ของหน่วยงานทั้งภาครัฐและรัฐวิสาหกิจที่ต่อเนื่องและชัดเจนขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการร่วมกันผลักดันของทุกภาคส่วนตามแผนยุทธศาสตร์ประเทศสู่ Thailand 4.0 จากข้อมูลของ BOI ระบุวา่ ภาครัฐมีการเดินหน้าโครงการต่างๆ เพือ่ ผลักดันให้เกิดความพร้อมในการใช้ระบบ E-documents โดยตัง้ เป้าในปี พ.ศ. 2564 มากกว่า 80% ของหน่วยงานภาครัฐ ต้องเข้าสู่เปเปอร์เลส ออฟฟิศ (Paperless Office) ซึ่งหมายถึงโอกาสในการบริการประชาชนที่มีศักยภาพมากขึ้น และในปี พ.ศ. 2563 สัดส่วนของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจะเติบโตถึง 10% ซึ่งเป็น ผลมาจาก Mobile Payment โดยหากมองจากเทรนด์นี้ โอกาสที่น่าจับตามองใน การเติบโตของธุรกิจ IT คือเทคโนโลยีที่เชื่อมโยงถึงโซลูชั่นในการรองรับความ ปลอดภัย ที่เป็นอีกหนึ่งโอกาสเช่นกัน
GreenNetwork4.0 March-April 2019
ENERGY
Saving กองบรรณาธิการ
โครงการ Go Green in the City 2019 เป็นโครงการการแข่งขัน ระดับโลกประจ�าปีสา� หรับนักศึกษา เพือ่ หาแนวคิดทีช่ ดั เจน และนวัตกรรมโซลูชนั่ ส�าหรับเมืองที่มีความอัจฉริยะมากขึ้น ให้ประสิทธิภาพด้านพลังงานมากขึ้น และยัง่ ยืนมากขึน้ ซึง่ จัดขึน้ เป็นปีที่ 9 ในปีนี้ โดยนักศึกษาทีผ่ า่ นเข้ารอบสุดท้าย ด้วยแนวคิดที่ชัดเจนที่สุด จะได้รับเชิญเข้าร่วมงาน Global Innovation Summit Barcelona 2019 ซึ่งเป็นมหกรรมงานแสดงนวัตกรรมระดับโลก ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ในปี พ.ศ. 2561 ผ่านมา มีนวัตกรรมรุน่ ใหม่เข้าร่วมการแข่งขันมากกว่า 24,000 ราย จากกว่า 3,000 มหาวิทยาลัย ใน 163 ประเทศ ทั้งนี้ มีนักศึกษา ผูห้ ญิงเข้าร่วมคิดเป็น 58% ของทัง้ หมด นับเป็นการแข่งขันทีม่ เี ดิมพันค่อนข้าง สูง เพราะนอกจากผูแ้ ข่งขันจะได้มโี อกาสในการสร้างปรากฏการณ์แห่งพลังใน การขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลแล้ว ยังมีโอกาสชนะรางวัล และได้เดินทางไป ร่วมงานระดับอินเตอร์เนชัน่ แนล คืองาน Global Innovation Summit 2019 ซึง่ เป็นงานแสดงนวัตกรรมระดับโลกของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ทีจ่ ดั ขึน้ เป็นเวลา 2 วัน ระหว่างวันที่ 2-3 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ณ กรุงบาเซโลนา ประเทศสเปน ภายในงานนีจ้ ะมีเหล่าบรรดาผูเ้ ชีย่ วชาญของชไนเดอร์ อิเล็คทริค และ ผู้น�าทางความคิดในอุตสาหกรรม จะมารวมตัวกันพร้อมร่วมแบ่งปันมุมมอง เชิงลึกและแนวคิดทีช่ ดั เจน ทัง้ ในเรือ่ งของความท้าทายและโอกาสในการสร้าง ขุมพลังเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล นอกจากนี้ นักศึกษาจะมีโอกาสในการ ท�าความรู้จัก พร้อมรับฟังค�าแนะน�าจากผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรม และ ท้ายที่สุดคือการได้เข้าท�างานกับชไนเดอร์ อิเล็คทริค
ผนวกการพัฒนาอย่างยั่งยืน และการท�างานร่วมกับ เทคโนโลยี
ในปี พ.ศ. 2562 นี้ การแข่งขันมีโจทย์ที่ดึงดูดใจผู้แข่งขันมากขึ้น โดยนักศึกษาสามารถเลือกน�าเสนอความคิดที่ชัดเจนในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง จาก 4 หัวข้อที่ก�าหนด ได้แก่ “อาคารแห่งอนาคต” “โรงงานแห่งอนาคต” “โครงข่ายไฟฟ้าแห่งอนาคต” และ “ความยั่งยืนและการเข้าถึงพลังงาน” ความท้าทายได้ถูกเชื่อมโยงกับกลยุทธ์ทางธุรกิจที่ยั่งยืนจากชไนเดอร์ อิเล็คทริค และสะท้อนถึงค�ามั่นสัญญาของบริษัทที่มีต่อเป้าหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ หรือ UN’s Sustainable Development Goals (SDG) ซึง่ เป็นการเชิญชวนนักศึกษาร่วมแบ่งปันแนวคิดเพือ่ พลิกโฉมอนาคต และเผยให้เห็นถึงประสิทธิภาพของการพัฒนาอย่างยั่งยืนมากขึ้น ทั้งในแง่ ของการเชื่อมโยงของผลกระทบทางสังคมและสภาพแวดล้อม กับเทคโนโลยี และโลกธุรกิจ 32
โอลิเวียร์ บลูม ประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ให้ความเห็นว่า “คนรุ่นใหม่ในปัจจุบัน ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความท้ า ทายในการ สร้างอนาคตที่สดใสส�าหรับตนเอง การท�าให้โลกอนาคตมีความยั่งยืน จะเป็นไปได้ก็ต่อเมื่อได้รับพลังการ ขับเคลือ่ นของคนรุน่ ใหม่ และการช่วยให้ คนรุน่ ใหม่เหล่านีก้ ลายมาเป็นแรงผลักดัน ด้านนวัตกรรม ท�าให้ผมรูส้ กึ ภูมใิ จว่า Go Green โอลิเวียร์ บลูม in the City จะกลายมาเป็นพื้นที่ส�าหรับนักศึกษา ในการพัฒนาแนวคิดของตนเพื่อวันพรุ่งนี้ที่ดีกว่า”
การเดินทางของการเรียนรู้อย่างไม่หยุดยั้งส�าหรับนักศึกษา
เซอวิรีโว ชีสาดซา และ ทาริโร ซินเธียร์ มัทซินดิควา จากสถาบันน�้าและ วิทยาศาสตร์พลังงาน มหาวิทยาลัยแพนแอฟริกัน ประเทศแอลจีเรีย ได้เล่าถึงความ ตืน่ เต้นของพวกเขาจากการเป็นผูช้ นะเลิศในโครงการระดับโลก Go Green in the City 2018 “การเดินทางของการแข่งขัน Go Green in the City 2018 ของฉัน นับเป็น ประสบการณ์ที่น่าอัศจรรย์อย่างยิ่ง ทั้งหมดเริ่มต้นจากประกายความคิดเพียงจุดเล็กๆ แต่ได้รบั การช่วยเหลือจากทีมพีเ่ ลีย้ งจากชไนเดอร์ อิเล็คทริค จนกลายเป็นสิง่ ทีย่ งิ่ ใหญ่ และชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อต่อสู้กับความหิวโหยบนโลก” ทาริโร กล่าว “ตลอดการแข่งขัน เราได้ท�าความรู้จักกับผู้เชี่ยวชาญของชไนเดอร์ อิเล็คทริค หลายท่าน และได้มีโอกาสเรียนรู้เกี่ยวกับอุปสรรคที่เป็นความท้าทายต่อการพัฒนา ความยั่งยืนบนโลกใบนี้” เซอวิรีโว กล่าวเสริม ผู้ส่งผลงานเข้าแข่งขันต้องจัดตั้งทีม โดยแต่ละทีมต้องประกอบด้วยนักศึกษา 2 คน ที่ก�าลังศึกษาสาขาวิชาบริหารธุรกิจ วิศวกรรม ฟิสิกส์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ และวิทยาลัยเทคโนโลยีต่างๆ โดยแต่ละกลุ่มต้องมาจากประเทศหรือ ภูมิภาคเดียวกันในช่วงเวลาการแข่งขัน ซึ่งแต่ละทีมต้องมีสมาชิกเป็นผู้หญิงอย่างน้อย 1 คน เพื่อให้สอดคล้องตามนโยบายของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ในเรื่อง Schneider Electric’s Policy of Promoting Diversity and Inclusion ซึ่งเป็นการสนับสนุนความ เสมอภาคทางเพศและความหลากหลายในเอกภาพ
หมดเขตการส่งโครงงานในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
GreenNetwork4.0 March-April 2019
นวัตกรรม
โรงเรียนนานาชาติรกั บี้ ประเทศไทย โรงเรียน ที่เน้นพัฒนาการศึกษาแบบองค์รวม ภายใต้แนวคิด สมาร์ทแคมปัส ได้พยายามปลูกฝังให้นกั เรียนค�านึงถึง การรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยการน�าเทคโนโลยีเข้ามาใช้ เพื่ อ บริ ห ารทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งจ� า กั ด ให้ เ กิ ด ประโยชน์มากทีส่ ดุ และเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว ผูบ้ ริหารโรงเรียนได้มแี นวคิดในการติดตัง้ ระบบผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์และสมาร์ทโซลูชั่น ด้วยเทคโนโลยีสะอาดและทันสมัยแบบครบวงจร ไปจนถึงการบ�ารุงรักษา โดยได้มอบหมายให้บริษัท บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) เข้ามาติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ รวมทั้งสมาร์ทโซลูชั่นใน โรงเรียนเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของโรงเรียน สู่การเป็นสมาร์ทแคมปัสนั่นเอง ทยา ทีปสุวรรณ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โรงเรียนนานาชาติรักบี้ ประเทศไทย กล่าวว่า “โรงเรียนนานาชาติรักบี้ ประเทศไทย เป็นโรงเรียน ที่เน้นพัฒนาการศึกษาแบบองค์รวม ภายใต้แนวคิด สมาร์ทแคมปัส โดยปลูกฝังให้นกั เรียนค�านึงถึงการรักษ์ สิง่ แวดล้อม รวมไปถึงการน�าเทคโนโลยีเข้ามาใช้เพือ่ บริหารทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ�ากัดให้เกิดประโยชน์ มากที่สุด ซึ่งการที่ทางบ้านปูได้เข้ามาติดตั้งระบบ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ รวมทัง้ สมาร์ทซิตี้ โซลูชั่นให้นั้น นอกจากจะช่วยให้โรงเรียนสามารถ เดินหน้าพัฒนาเป็นสมาร์ทแคมปัสอย่างยั่งยืนได้ เร็วยิ่งขึ้น ที่ส�าคัญยังส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้ถึง ประโยชน์ของการใช้พลังงานสะอาดผ่านประสบการณ์ จริง และคุ้นชินกับการน�าเอาเทคโนโลยีมาส่งเสริม การประหยัดพลังงานในชีวติ ประจ�าวัน พร้อมยังกระตุน้ ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ในการสร้างนวัตกรรมพลังงานในหมู่คนรุ่นใหม่อีกด้วย” บริษทั บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) ผูน้ า� ธุรกิจพลังงานแบบครบวงจรแห่งเอเชีย แปซิฟกิ ให้บริการด้านสมาร์ทซิตโี้ ซลูชนั่ ให้แก่โรงเรียนนานาชาติรกั บี้ ประเทศไทย ครอบคลุมตัง้ แต่การส�ารวจพืน้ ที่ การออกแบบระบบ การเข้าติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์และสมาร์ทโซลูชั่น ด้วยเทคโนโลยีสะอาดและทันสมัย แบบครบวงจรไปจนถึงการบ�ารุงรักษา เพือ่ มอบพลังงานสะอาดและสมาร์ทโซลูชนั่ ที่มีประสิทธิภาพ ตอบโจทย์ความต้องการของโรงเรียนสู่การเป็นสมาร์ทแคมปัส สมฤดี ชัยมงคล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า “เพื่อสานต่อกลยุทธ์ Greener & Smarter ของกลุ่มบ้านปูอย่างต่อเนื่อง กลุม่ ธุรกิจเทคโนโลยีดา้ นพลังงานของบ้านปูมงุ่ มัน่ คัดสรรนวัตกรรมและให้บริการ พลังงานสะอาดในราคาที่เหมาะสม มีความเสถียร และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่ อ น� า เสนอสมาร์ ท ซิ ตี้ โ ซลู ชั่ น ที่ ดี ที่ สุ ด มาตอบโจทย์ ค วาม ต้ อ งการของลู ก ค้ า ที่ ห ลากหลายเพื่ อ ให้ ค นไทยใน ทุกภาคส่วนได้มสี ว่ นร่วมในการสนับสนุนการขับเคลือ่ น ประเทศไทยสู่การเป็นสมาร์ทซิตี้ในรูปแบบเฉพาะของ ประเทศไทยที่ยั่งยืน ประกอบด้วย นวัตกรรมพลังงาน แสงอาทิตย์ระบบไมโครกริด ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System: ESS) ระบบการบริหาร จัดการพลังงาน (Energy Management System : EMS) รถยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle) และสถานี ประจุไฟฟ้าส�าหรับรถยนต์ไฟฟ้า เป็นต้น เพือ่ ให้มนั่ ใจ ได้ว่าประเทศไทยจะมีพลังงานสะอาดใช้อย่าง สมฤดี ชัยมงคล ยั่งยืน ด้วยประสบการณ์และความช�านาญในการ ให้บริการด้านพลังงานแบบครบวงจร จากหลายประเทศ
พลังงานแสงอาทิตย์ แบบครบวงจร...
ENERGY
Saving กองบรรณาธิการ
เพื่อก้าวสู่การเป็นสมาร์ทแคมปัส
33
บ้านปูจึงมั่นใจว่าการติดตั้งระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์และโซลูชั่นเทคโนโลยี ด้านพลังงานอืน่ ๆ ให้กบั โรงเรียนนานาชาติรกั บีฯ้ จะช่วยส่งเสริมให้โรงเรียนเป็นหนึง่ ในต้นแบบสมาร์ทแคมปัสที่มีการใช้งานพลังงานอย่างชาญฉลาด และส่งเสริม การเรียนของเด็กยุคใหม่ผ่านเทคโนโลยีและนวัตกรรม”
เฟสแรกบ้านปูติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์รองรับระบบไมโครกริด
คาดว่าภายใน 1 ปี โรงเรียนนานาชาติรักบี้ฯ จะสามารถลดปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศได้กว่า 740 ตัน เทียบเท่ากับการปลูกต้นไม้มากกว่า 43,000 ต้นต่อปี เท่ากับเป็นการลดการใช้น�้าได้กว่า 1.5 ล้านลิตรต่อปี สามารถ ประหยัดไฟฟ้าได้ปีละประมาณ 4.3 ล้านบาท ซึ่งนอกจากจะติดตั้งระบบไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ทหี่ ลังคาของโรงเรียนและบริเวณลานจอดรถแล้ว ยังมีการน�า เทคโนโลยีด้านพลังงานอื่นๆ เช่น โซลาร์คีออส (Solar Kiosk) ระบบออนและ ออฟกริด ทีใ่ ช้ได้ทงั้ ไฟบ้านและพลังงานแสงอาทิตย์ และโซลาร์แชร์ (Solar Chair) ทีใ่ ช้พลังงานแสงอาทิตย์ได้แบบ 100% ตัง้ อยูบ่ ริเวณจุดรับรองผูป้ กครองและแขก ของโรงเรียน เพื่อให้สามารถชาร์จโทรศัพท์มือถือ หรือใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์ได้ รวมถึงการอ�านวยความสะดวกแก่อาจารย์ในการเดินทาง ภายในโรงเรียนด้วยรถพลังงานไฟฟ้า (EV) คือ สกูต๊ เตอร์ไฟฟ้า และรถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้า ทั้งนี้ บ้านปูมีแผนจะพัฒนาและน�าเสนอสมาร์ทซิตี้โซลูชั่นอื่นๆ ให้กับ โรงเรียนนานาชาติรักบี้ฯ เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของนักเรียนและครู เพิม่ เติม เพือ่ ส่งเสริมแนวคิดสมาร์ทแคมปัสของโรงเรียน และช่วยบริหารจัดการ การใช้พลังงานภายในโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งถือเป็นหนึ่งในก้าว ส�าคัญในการผลักดันประเทศไทยไปสูก่ ารเป็นสมาร์ทซิตไี้ ด้รวดเร็วยิง่ ขึน้
GreenNetwork4.0 March-April 2019
GREEN
Industry ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี
ผู้น�ำกับควำมมุ่งมั่น การทีเ่ ราจะปรับปรุงการประกอบกิจการให้เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม โดยปรับเปลีย่ น กระบวนการผลิตให้สามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายด้านความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อมได้นั้น ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยจริงๆ แต่วันนี้ไม่ท�าคงไม่ได้แล้ว เรื่องนี้เราจะต้องเริ่มด้วย “ความมุ่งมั่นและตั้งใจจริง” โดยเชื่อว่า การปรับปรุง กระบวนการผลิตเพือ่ ให้การประกอบกิจการถูกต้องตามกฎหมายนัน้ เรามีแต่ “ได้กบั ได้” เท่านั้น ทีว่ า่ “ได้กบั ได้” ก็เพราะผลจากการปรับปรุง (หลังการปรับปรุง) กระบวนการผลิต จะมีประสิทธิภาพเพิม่ มากขึน้ เพราะข้อบกพร่องต่างๆ ลดน้อยลง (หมดไป) ประสิทธิภาพ ก็สูงขึ้น การประกอบกิจการก็จะมีความปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น พูดง่ายๆ ว่า คุม้ ค่ากับค่าใช้จา่ ยในการปรับปรุงด้านต่างๆ ยิง่ ในระยะยาวด้วยแล้ว ผลของการปรับปรุง กระบวนการผลิตก็จะยิง่ ท�าให้องค์กรมีพฒ ั นาการและท�าให้ “ต้นทุน การผลิต” ลดลงด้วย (เนื่องจากประสิทธิภาพสูงขึ้นและค่าใช้จ่ายต่างๆ ลดน้อยลง) เรื่องของการปรับปรุงนี้ จึงอยู่ที่ “ผู้น�า” หรือ “ผู้บริหารระดับสูง” ขององค์กร โดยแท้ เพราะผู้น�าจะต้องเป็นผู้ริเริ่มและมุ่งมั่นในการปฏิบัติอย่างจริงจังต่อเนื่องด้วย เพื่อให้พนักงานทุกคนในองค์กรเห็นว่าผู้บริหารเอาจริงและเป็นตัวอย่างแล้วปฏิบัติตาม เริม่ แรกเลยผูบ้ ริหารจะต้องก�าหนด “นโยบายด้านสิง่ แวดล้อม” (Environmental Policy) ซึง่ ครอบคลุมถึงความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะด�าเนินการใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการลดผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อม หรือการป้องกันมลพิษ (Prevention of Pollution) การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน (Sustainable Resource Use) การลดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (Climate Change) การปกป้องและฟื้นฟูธรรมชาติ (Protection and Restoration of the Natural Environment) เป็นต้น “นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม” ที่ประกาศขึ้นนั้นเป็นการประกาศถึงความมุ่งมั่นของ ผูบ้ ริหารระดับสูง อย่างเป็นทางการว่าจะมุง่ มัน่ ในการปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ งและป้องกัน การเกิดมลภาวะต่างๆ โดยผู้บริหารระดับสูงจะต้องมั่นใจว่า นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม ที่ก�าหนดขึ้นนั้น มีความเหมาะสมกับลักษณะ ขนาด และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจาก กิจกรรมทีท่ า� (ตลอดจนสินค้าและการบริการด้วย) รวมทัง้ แสดงถึงความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะปฏิบตั ิ ให้สอดคล้องกับกฎหมายและข้อก�าหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม พร้อมๆ กับให้กรอบในการก�าหนดและทบทวนวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายด้านสิง่ แวดล้อม ด้วย ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรจะต้องก�าหนดนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและจัดท�า เป็นลายลักษณ์อักษร พร้อมทั้งลงนามในประกาศนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม ที่ครอบคลุม ประเด็นต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรจะต้องเผยแพร่และท�าความเข้าใจนโยบายด้าน สิง่ แวดล้อมให้กบั พนักงานทุกคนขององค์กร หรือผูท้ ที่ า� งานในนามขององค์กร เพือ่ ให้นา� นโยบายไปปฏิบตั กิ นั อย่างจริงจังและสม�า่ เสมอ โดยอาจใช้วธิ กี ารใดวิธกี ารหนึง่ ตามความ 34
เหมาะสม เช่น การติดประกาศ การประชุมชีแ้ จง การฝึกอบรม การเผยแพร่ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรจะต้องก�าหนดวิธีการในการเฝ้าระวัง และสามารถติดตามว่า พนักงานทุกคนมีความเข้าใจและสามารถน�านโยบาย ไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิผล นอกจากนี้ องค์กรควรจะเปิดเผยและสือ่ สารนโยบายด้านสิง่ แวดล้อม ให้กับสาธารณชนทั่วไปได้ทราบ และเผยแพร่ต่อชุมชนโดยรอบเพื่อแสดง ให้เห็นถึงความมุ่งมั่นด้านสิ่งแวดล้อม โดยอาจใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่งตาม ความเหมาะสม เมือ่ เริม่ ด้วย “ความมุง่ มัน่ ” และท�าอย่างจริงจังแล้ว ความส�าเร็จก็จะ ค่อยๆ เกิดขึ้น ครับผม!
GreenNetwork4.0 March-April 2019
GREEN
The Building and FM Expo :
กองบรรณาธิการ
BMAM Expo Asia 2019
ร่วมจัดงานกับงาน K-Fire & Safety Bangkok 2019 บริษทั อิมแพ็ค เอ็กซิบชิ นั่ แมเนจเม้นท์ จ�ากัด เตรียมจัดงาน BMAM Expo Asia 2019 งานแสดงสินค้าและการประชุมสัมมนาระดับนานาชาติ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากร อาคาร โรงงาน และอสังหาริมทรัพย์แห่งเอเชีย ครั้งที่ 12 ชูคอนเซ็ปต์ “The Building and FM Expo” โดยรวบรวมสินค้าและเทคโนโลยีกว่า 150 แบรนด์ จากกลุ่มบริหารทรัพยากร อาคาร อาคารเขียว และระบบอาคารอัจฉริยะ มาจัดแสดงในระหว่างวันที่ 27-29 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ที่อาคาร 6 อิมแพ็ค เมืองทองธานี BMAM Expo Asia 2019 ประกาศความร่วมมือกับงาน K-Fire and Safety Bangkok 2019 (K-Fire) งานแสดงสินค้าระดับนานาชาติดา้ นอัคคีภยั และความปลอดภัยจากประเทศ เกาหลีใต้ ที่จะน�าทัพผู้ประกอบการกว่า 30 บริษัท มาจัดแสดงสินค้าร่วมกัน เพื่อส่งเสริม ให้งานดังกล่าวเป็นเวทีรวบรวมโซลูชนั่ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรอาคาร การป้องกัน อัคคีภยั และความปลอดภัยทีค่ รบวงจรทีส่ ดุ พร้อมทัง้ ส�านักงานส่งเสริมการลงทุนและการค้า ระหว่างประเทศของเกาหลี (KOTRA) ได้น�าผู้ที่มีอ�านาจตัดสินใจซื้อมาร่วมเจรจาธุรกิจ ภายในงาน นอกจากนี้ ภายในงานยังมีกิจกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ส�าหรับ ผูป้ ระกอบธุรกิจด้านการบริหารจัดการอาคาร อาทิ Business Matching โปรแกรมการจับคู่ เจรจาธุรกิจที่ช่วยให้ผู้เข้าร่วมแสดงสินค้าสามารถเข้าสู่ระบบการจับคู่นัดหมายเจรจากับ ผู้ซื้อที่ทางผู้จัดงานได้เรียนเชิญมาร่วมชมงาน และยังมี Building and FM Conference อัพเดทความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ จากเหล่ากูรูด้านการบริหารจัดการอาคาร ธุรกิจด้านโซลูชนั่ การบริหารจัดการทรัพยากรอาคารอัตโนมัตใิ นภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ มีแนวโน้มเติบโตอย่างมาก โดยคาดว่าในระหว่างปี พ.ศ. 2560-2565 มีอัตราเติบโตเฉลี่ย ต่อปีสงู ถึง 4.7% คิดเป็นมูลค่ากว่า 5 พันล้านเหรียญสหรัฐ ซึง่ การน�าระบบการบริหารจัดการ ทรัพยากรอาคารอัตโนมัตมิ าใช้ในส่วนงานการบริหารจัดการทรัพยากรอาคาร ถือได้วา่ เป็น อีกปัจจัยส�าคัญในการเพิ่มศักยภาพให้ตลาดการบริหารทรัพยากรอาคารในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก อยุธพร บูรณกุล นายกสมาคมวิชาชีพการบริหารจัดการอาคาร กล่าวว่า “งาน Facility Management (FM) ไม่ได้เป็นเพียงแค่งานหลังบ้าน หากแต่เป็นงานที่สามารถก�าหนด ยุทธศาสตร์ให้กบั องค์กรผ่านการบริหารจัดการทรัพยากรอาคารและสิง่ อ�านวยความสะดวก โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เพิม่ ศักยภาพทางธุรกิจและคุณภาพชีวติ แก่ผใู้ ช้งาน ยิง่ เมือ่ มีเทคโนโลยี และนวัตกรรมอาคารด้วยแล้วยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพและบริหารต้นทุนได้ง่ายขึ้น”
35
Report
ลอย จุน ฮาว ผู้จัดการทั่วไป บริษัท อิมแพ็ค เอ็กซิบิชั่น แมเนจเม้นท์ จ�ากัด กล่าวว่า “ในยุคปัจจุบัน อาคารอัจริยะเป็น ที่กล่าวถึงเป็นอย่างมากในกลุ่มผู้บริหารจัดการทรัพยากรอาคาร ทั่วโลก ซึ่งการน�าโซลูชั่นการบริหารจัดการทรัพยากรอาคาร อัตโนมัตเิ ข้ามาใช้ เช่น ระบบรักษาความปลอดภัย, ระบบปรับอากาศ, ระบบควบคุมไฟ และระบบเตือนอัคคีภัย จะช่วยยกระดับให้การ บริหารจัดการทรัพยากรอาคารมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ทัง้ นีเ้ นือ่ ง ด้วยการควบคุมระบบต่างๆ ในจุดเดียว ซึ่งงาน BMAM Expo จึง เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่เปิดโอกาสให้ผู้เชี่ยวชาญทางด้าน Facility Management (FM) ได้สมั ผัสเทคโนโลยีและโซลูชน่ั ใหม่ๆ ทีจ่ ะมา ผลิกโฉมอุตสาหกรรมการบริหารจัดการอาคารในอนาคต“ ทั้งนี้ การจัดงาน BMAM Expo Asia 2019 ได้รวบรวม ผู้ประกอบการจากกว่า 150 บริษัท และแบรนด์จากทั่วทั้งภูมิภาค เอเชีย มาจัดแสดงสินค้าครอบคลุม 3 กลุ่ม ประกอบด้วย 1. Facility Management Products and Services เป็น ระบบและเทคโนโลยีด้านการบริหารจัดการทรัพยากร อาคาร วัสดุก่อสร้าง การท�าความสะอาด, ระบบรักษา ความปลอดภัย, ระบบการเตือนภัย, ระบบปรับอากาศ และการบ�ารุงรักษาอาคาร 2. Green FM เป็นระบบจัดการของเสีย, ระบบจัดการน�้า และพลังงานทดแทน 3. Smart Building Solutions เป็นระบบบริหารจัดการและ ควบคุมอาคารอัตโนมัต,ิ ระบบควบคุมการเฝ้าระวังภัย, ระบบการจัดการพลังงาน, อุปกรณ์อจั ฉริยะและ loT และ ระบบบริหารงานส�าหรับ นิติบุคคลอาคารชุด ลอย จุน ฮาว
GreenNetwork4.0 March-April 2019
GREEN
Technology &Innovation กองบรรณาธิการ
ทริค
ลดมลภาวะป้องกันฝุ่น
ยั่งยืน
โซลูชั่น NOSTRA Telematics หนึ่งตัวช่วยลดมลพิษบนท้องถนน
จากวิกฤตฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือ PM 2.5 ที่ปกคลุมไป ทัว่ เมือง และกระจายไปในหลายจังหวัดทัว่ ประเทศอยูใ่ นขณะนี้ ได้สร้างความตืน่ ตัว ให้หลายฝ่ายหันมามองหาแนวทางป้องกันลดมลพิษและดูแลสุขภาพ จากค่าดัชนี ฝุน่ ละอองในอากาศทีต่ รวจพบล่าสุดบน NOSTRA Map App โดยการดึงข้อมูลจาก กรมควบคุมมลพิษ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 เวลา 7.00 น. พบว่า กรุงเทพมหานคร มีปริมาณฝุ่น PM 2.5 ลดลงในทุกพื้นที่ อยู่ในเกณฑ์คุณภาพอากาศดีถึงคุณภาพ อากาศดีมาก แต่ภาพรวมทัง้ ประเทศยังพบพืน้ ทีท่ มี่ คี ณ ุ ภาพอากาศอยูใ่ นระดับเริม่ มีผลกระทบต่อสุขภาพหลายพื้นที่ และยังต้องเฝ้าระวังสูงสุดใน 5 จังหวัด ได้แก่ ต.ในเมือง ต.นาจักร อ.เมือง จ.แพร่, ต.แม่ปะ อ.แม่สอด จ.ตาก, ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ จ.ล�าปาง, ต.ปากน�า้ โพ อ.เมือง จ.นครสวรรค์ และ อ.เมือง จ.ขอนแก่น ข้อมูลของกรมควบคุมมลพิษเปิดเผยว่า มากกว่า 50-60% ของมลภาวะ มาจากรถยนต์และท่อไอเสีย โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ ที่มีรถยนต์จ�านวนมากเกือบ 10 ล้านคัน การขับรถทีไ่ ม่ถกู วิธแี ละไม่ดแู ลรักษาเครือ่ งยนต์มสี ว่ นท�าให้เกิดการใช้ น�้ามันเชื้อเพลิงสิ้นเปลืองเกินความจ�าเป็น และเกิดก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์จาก กระบวนการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของสารประกอบคาร์บอนที่อยู่ในเครื่องยนต์ อันเป็นอันตรายต่อสุขภาพอย่างมาก และยังเป็นต้นเหตุส�าคัญที่ท�าให้เกิดมลพิษ ทางอากาศซึ่งมีผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมโดยรวมอีกด้วย นอกจากนี้ จากข้อมูลการศึกษาของค่ายรถยักษ์ใหญ่ยหี่ อ้ หนึง่ ยังได้เปิดเผย พฤติกรรมการขับขีท่ ม่ี ผี ลต่อการใช้นา�้ มัน และการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ต่อกิโลเมตร โดยระบุว่าลักษณะนิสัยการขับขี่แบบ Eco-Driving หรือ การขับขี่ อย่างชาญฉลาดเพื่อประหยัดพลังงาน จะช่วยลดทั้งอัตราการใช้น�้ามันสิ้นเปลือง และช่วยลดการปล่อยไอเสียได้สงู สุดถึง 25% เมือ่ เทียบกับการขับขีแ่ บบค่าเฉลีย่ ปกติ โดยการเปลี่ยนแปลงวิธีการขับขี่เพียงเล็กน้อยจะสามารถประหยัดน�้ามันและ ลดปริมาณไอเสียในอากาศได้มาก บริษัท จีไอเอส จ�ำกัด ในกลุ่มบริษัทซีดีจี เปิดเผยว่า นอสตร้า โลจิสติกส์ แนะผูใ้ ช้รถยนต์ควรใส่ใจดูแลรถยนต์ให้มสี ภาพสมบูรณ์อย่างสม�า่ เสมอ ไม่เพียงเพือ่ ความปลอดภัยในการขับขี่ในท้องถนน แต่ยังเป็นก�าลังส�าคัญที่ช่วยลดมลพิษใน อากาศและลดการใช้เชื้อเพลิงอีกด้วย เช่น การท�าความสะอาดไส้กรองสม�่าเสมอ ไส้กรองอากาศทีไ่ ม่สะอาดจะท�าให้อากาศผ่านได้นอ้ ยหรือเกิดการอุดตัน เป็นเหตุ 36
ให้รถยนต์ใช้เชื้อเพลิงมากกว่าปกติ และยังท�าให้เกิดควันด�าจากการเผาไหม้ที่ ไม่สมบูรณ์ การท�าความสะอาดไส้กรองสามารถท�าได้ดว้ ยวิธงี า่ ยๆ ด้วยการเป่าด้วย ลมจากด้านใน เพื่อให้ฝุ่นที่จับบนไส้กรองหลุดออกมาด้านนอก ทั้งนี้ ควรท�าความ สะอาดไส้กรองตามทีก่ า� หนดในคูม่ อื การใช้รถ หรือเมือ่ ตรวจพบว่าไส้กรองไม่สะอาด โดยอาจสังเกตจากอัตราการใช้น�้ามันที่เปลืองกว่าปกติ รวมถึงควรตรวจเช็กและ เปลี่ยนน�้ามันหล่อลื่นตามระยะที่ระบุไว้ในคู่มือการใช้รถ หรือก่อนก�าหนด เพราะ น�้ามันหล่อลื่นที่มีสิ่งสกปรกเข้าไปผสมอยู่ท�าให้คุณภาพการท�างานของน�้ามัน เสื่อมลง ซึ่งจะส่งผลให้เครื่องยนต์สึกหรอเร็วกว่าปกติ และก�าลังของเครื่องยนต์ ลดลง ท�าให้ตอ้ งดึงน�า้ มันเชือ้ เพลิงเข้าไปกระตุน้ ให้เครือ่ งยนต์ทา� งานได้ในระดับเดิม เป็นผลให้ใช้น�้ามันโดยสิ้นเปลืองและเกิดการเผาไหม้สร้างมลพิษสู่สิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ การใส่ใจด้านเทคนิคการใช้รถง่ายๆ ช่วยเพิ่มความปลอดภัยใน การขับขี่ ช่วยประหยัดพลังงาน และช่วยลดการปล่อยคาร์บอนมอนอกไซด์ เช่น วางแผนก่อนเดินทาง ตรวจเช็กลมยาง บรรทุกสิง่ ของเท่าทีจ่ า� เป็น รักษาความเร็ว สม�า่ เสมอ (ประหยัดสุดที่ 80-100 กม./ชม.) ใช้เกียร์ให้ถกู ไม่เร่งกระชากเครือ่ งยนต์ ใช้เบรกให้น้อย ไม่เหยียบเบรกกระชาก ดับเครื่องยนต์หากจอดรถนาน และดูแล รักษาเครื่องยนต์อยู่เสมอ ด้านผู้ขับขี่เองแม้ว่าจะอยู่ในรถก็ยังไม่ปลอดภัยจากปัญหาเรื่องฝุ่นละออง ขนาดเล็ก เนือ่ งจากอากาศในรถยนต์เป็นระบบปิด เมือ่ มีการเปิด-ปิดประตูกม็ โี อกาส สูงทีฝ่ นุ่ ละอองจะเข้ามาในห้องโดยสาร ผูเ้ ดินทางควรศึกษาข้อมูลค่ามลพิษในพืน้ ที่
GreenNetwork4.0 March-April 2019
เดินทางเพื่อพิจารณาหลีกเลี่ยงหรือเตรียมรับมือ โดยมีแอพพลิเคชั่นที่ให้บริการ ข้อมูลตรวจเช็กค่าฝุน่ ละอองในจุดต่างๆ เช่น NOSTRA Map App สามารถใช้ตรวจ เช็กค่าฝุ่นละออง PM 2.5 บนแผนที่แบบเรียลไทม์ครอบคลุมทั่วประเทศไทย และ หากไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ ผูข้ บั ขีค่ วรป้องกันตนเองด้วยการใช้หน้ากากทีก่ รองฝุน่ ได้ในระดับ PM 2.5 จะช่วยลดความเสีย่ งจากการหายใจเอาฝุน่ ละอองซึง่ มีอนั ตราย ต่อสุขภาพ และระหว่างการขับรถควรเลือกใช้ระบบอากาศภายในรถยนต์เป็น ออพชั่นแบบระบบอากาศหมุนเวียนภายในรถ ซึ่งจะไม่ดึงเอาอากาศจากภายนอก เข้ามาในรถ นอกจากการใช้รถให้ถูกวิธีและการป้องกันต่างๆ ที่ได้กล่าวมาข้างต้น ปัจจุบันยังได้มีเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทส�าคัญเพื่อสนับสนุนการขับขี่ปลอดภัย และรักษาสิง่ แวดล้อม เช่น รถยนต์พลังงานไฟฟ้า ตลอดจนเทคโนโลยีสา� หรับรถยนต์ อย่าง เทเลเมติกส์ (Telematics) ซึ่งเป็นอุปกรณ์หรือระบบที่จะช่วยให้ผู้ขับขี่รับรู้ รูปแบบการขับขีข่ องตนเองได้จากการแจ้งเตือนของระบบ ไม่วา่ จะการใช้ความเร็ว สูงเกินก�าหนด การเหยียบเบรกรุนแรง การเร่งกระชาก กระแทกลูกระนาด จอด ไม่ดับเครื่องยนต์ ฯลฯ ซึ่งการขับขี่ลักษณะนี้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ ง่าย อีกทัง้ ยังมีผลท�าให้เครือ่ งยนต์เกิดการสึกหรอและใช้นา�้ มันเชือ้ เพลิงเกินจ�าเป็น เป็นการเพิ่มโอกาสให้เครื่องยนต์ปล่อยมลพิษเข้าสู่สภาพแวดล้อม เทคโนโลยีเทเลเมติกส์ สามารถตรวจสอบ เก็บข้อมูล และแจ้งเตือนข้อมูล พฤติกรรมการขับรถให้ผู้ขับขี่หรือผู้ใช้ระบบรับทราบได้แบบเรียลไทม์ ท�าให้ สามารถปรับปรุงการขับรถให้ดขี น้ึ ได้ทนั ที และยังน�าข้อมูลมหาศาล หรือ Big Data ที่ได้จากการขับรถในทุกๆ วัน มาวิเคราะห์เพื่อประเมินประสิทธิภาพการขับรถ (Driving Performance Score) ท�าให้ผู้ขับขี่หรือผู้ใช้ระบบตระหนักถึงการขับขี่ และการใช้รถของตนเอง เพื่อพัฒนาปรับปรุงการขับขี่ให้เกิด Road Safety และ Eco-Driving ทัง้ ยังสามารถวางแผนและแจ้งเตือนการบ�ารุงรักษารถได้จากข้อมูล การใช้รถทีถ่ กู รวบรวมไว้ เช่น การตรวจเช็กรถตามระยะทาง การเปลีย่ นถ่ายน�า้ มัน เครื่อง ช่วยยืดอายุการใช้งานของรถพร้อมลดการสร้างมลภาวะทางอากาศ ปิยวดี หงษ์ภักดี ผู้อ�ำนวยกำรส่วนผลิตภัณฑ์เชิงพำณิชย์ บริษัท จีไอเอส จ�ำกัด ในกลุ่มบริษัทซีดีจี กล่าวว่า การแก้ไขปัญหาด้านมลภาวะล้วนเป็นความ รับผิดชอบโดยรวมของผู้ใช้รถใช้ถนน ซึ่งนอกจากการปรับปรุงการขับรถให้ถูกวิธี การใส่ใจดูแลรถยนต์อย่างสม�่าเสมอ เทคโนโลยี Telematics ยังเป็นอีกโซลูชั่น
37
ที่จะเข้าช่วยสนับสนุน จากรถคันหนึ่งไปยังหลายๆ คัน รถทุกคันก็จะมีส่วนร่วม สร้างความปลอดภัยบนท้องถนนและลดการปล่อยคาร์บอนมอนอกไซด์เข้าสู่ สภาพแวดล้อม เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ และมุง่ สูก่ ารเป็นสังคม Smart City แบบ มั่นคงและยั่งยืนอีกทางหนึ่ง NOSTRA Telematics โซลูชนั่ การบริหารจัดการงานโลจิสติกส์และการขนส่ง ทีผ่ สานเทคโนโลยีการติดตามต�าแหน่งผนวกกับเทคโนโลยีเทเลเมติกส์ ด้วยอุปกรณ์ ติดตัง้ ในรถทีใ่ ช้ Internet of Things สือ่ สารแบบเรียลไทม์ สามารถตรวจสอบและ เก็บข้อมูลพฤติกรรมการขับรถพร้อมการแจ้งเตือน เช่น ความเร็ว การเบรก และ เก็บข้อมูลทีแ่ ม่นย�าเกีย่ วกับเครือ่ งยนต์ เช่น ต�าแหน่งรถ ไมล์ น�า้ มัน แล้ววิเคราะห์ ข้อมูล Big Data นี้ พร้อมน�าเสนอรายงาน Dashboard และ Driving Performance Score เพื่อพัฒนาความปลอดภัยในการขนส่งตลอดจนการวางแผนบ�ารุงรักษารถ
GreenNetwork4.0 March-April 2019
IEEE PES GTD ASIA 2019 นิทรรศการนานาชาติด้านไฟฟ้าและพลังงานแสงอาทิตย์ เมื่อเร็วๆ นี้ IEEE Power & Energy Society ส�ำนักงำนใหญ่ ประเทศสหรัฐอเมริกำ และ สถำบันวิชำชีพวิศวกรไฟฟ้ำและอิเลคโทรนิคส์แห่งประเทศไทย จัดงำน ระดับโลกในประเทศไทยเป็นครัง้ แรก และเป็นครัง้ แรกในภูมภิ ำคเอเชีย ได้เปิดงำนสัมมนำวิชำกำรและนิทรรศกำรระดับนำนำชำติ ทีศ่ นู ย์นทิ รรศกำรและกำรประชุมไบเทค บำงนำ
โดยมี พล.อ.อ. ชลิต พุกผาสุข องคมนตรี เป็นประธำนเปิดนิทรรศกำรอย่ำงเป็นทำงกำร พร้อมด้วย ดร.ศิริ จิระพงษ์พนั ธ์ รัฐมนตรีวำ่ กำร กระทรวงพลังงำน ในหัวข้อ “ระบบผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา (Solar Rooftop) และลอยน�า้ (Floating) : ข้อก�าหนด การออกแบบ ติดตั้ง ควบคุมและบ�ารุงรักษา” ทั้งนี้ กำรจัด งานแห่งอนาคตด้านไฟฟ้าและพลังงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้ำง ควำมรู้ควำมเข้ำใจพื้นฐำนกำรผลิตไฟฟ้ำจำก พลังงำนแสงอำทิตย์บนหลังคำและลอยน�ำ้ ซึง่ เป็น ประโยชน์อย่ำงยิ่งต่อกำรพัฒนำพลังงำนทดแทน เพื่ อ น� ำ ไปสู ่ ก ำรพั ฒ นำเศรษฐกิ จ ของประเทศ อย่ำงยั่งยืน ในส่วนของกำรจัดงำน ได้เชิญวิทยำกรผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชำญระดับโลกจำกหลำยประเทศ มำร่วม บรรยำยหัวข้อที่เกี่ยวข้องครอบคลุมเนื้อหำด้ำนระบบผลิตไฟฟ้ำ ระบบส่งและจ�ำหน่ำยไฟฟ้ำ รวมถึงกำรผลิตไฟฟ้ำ จำกพลังงำนหมุนเวียน และอุตสำหกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบดิจิทัล เช่น เมืองอัจฉริยะและศูนย์ข้อมูล ตลอดจน กำรบรรยำยที่เกี่ยวข้องกับแนวโน้มพลังงำนทดแทนทำงเลือกในอนำคต และพลังงำนแสงอำทิตย์
38
GreenNetwork4.0 March-April 2019
นอกจำกนี้ ภำยในงำนจัดแสดงนิทรรศกำร กว่ำ 400 คูหำ โดยผูป้ ระกอบกำรจำกทัว่ ทุกมุมโลก เข้ ำ ร่ ว มแสดงเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมด้ ำ น วิศวกรรมไฟฟ้ำและพลังงำนทุกรูปแบบ ซึ่งมี ผู้เข้ำร่วมกำรประชุมและเยี่ยมชมนิทรรศกำร ภำยในงำนกว่ำ 10,000 คน เพื่อให้ผู้เข้ำชมงำน ได้รับประโยชน์ เป็นทำงเลือกให้กับพลังงำน แห่งอนำคต รวมทั้งยำนยนต์ไฟฟ้ำ หุ่นยนต์เพื่อ อุตสำหกรรม โซลูช่ันครบวงจรด้ำนไฟฟ้ำและ พลังงำน ตลอดจนกำรจัดกำรโรงไฟฟ้ำอย่ำงยัง่ ยืน ด้วยเทคโนโลยีล้�ำสมัย จึงถือเป็นส่วนส�ำคัญใน กำรกระตุน้ เศรษฐกิจ และกำรพัฒนำด้ำนกำรวิจยั และนวัตกรรมเทคโนโลยีด้ำนไฟฟ้ำและพลังงำน ของประเทศให้ ก ้ ำ วสู ่ ร ะดั บ สำกลอย่ ำ งเป็ น รูปธรรม
Magazine to Save The World
ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาและลอยน�้า
IEEE Thailand Section และ IEEE PES-Thailand จัดสัมมนำเชิงวิชำกำร เรือ่ ง “ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา (Solar Rooftop) และ ลอยน�า้ (Floating) : ข้อก�าหนด การออกแบบ ติดตัง้ ควบคุมและบ�ารุงรักษา” เมือ่ วันที่ 21-23 มีนำคม พ.ศ. 2562 ณ ไบเทค บำงนำ นัน้ ซึง่ จัดเป็น Site Event ของ IEEE PES GTD Grand International Conference and Exposition ASIA 2019 (IEEE PES GTD Asia 2019) กำรสัมมนำครัง้ นี้ ได้รบั เกียรติจำก พระครูวมิ ลปัญญาคุณ เจ้ำอำวำส วัดป่ำศรีแสงธรรม จ.อุบลรำชธำนี ผูก้ อ่ ตัง้ โรงเรียนศรีแสงธรรม โรงเรียนต้นแบบ กำรใช้พลังงำนแสงอำทิตย์ ถือเป็นประโยชน์อย่ำงยิ่งต่อกำรพัฒนำพลังงำน ทดแทนเพื่อน�ำไปสู่กำรพัฒนำเศรษฐกิจของประเทศอย่ำงยั่งยืน 39
GreenNetwork4.0 March-April 2019
Smart City Solution Week 2019 ดันไทยสู่ศูนย์กลางด้านสมาร์ทซิตี้แห่งภูมิภาคอาเซียน
ริชาร์ด ลี ผูจ้ ดั กำรทัว่ ไป เมสเซ่ แฟรงค์เฟิรต์ (เซีย่ งไฮ้) และ ศรัณย์พงศ์ อาชว์สนุ ทร รองผูว้ ำ่ กำรวำงแผนและพัฒนำระบบไฟฟ้ำ กำรไฟฟ้ำส่วนภูมภิ ำค พร้อมด้วย ดร.ภาสกร ประถมบุตร รองผูอ้ ำ� นวยกำรส�ำนักงำนส่งเสริมเศรษฐกิจ ดิจิทัล ร่วมกันแถลงข่ำวควำมร่วมมือในกำรจัด Smart City Solution Week 2019 พร้อมจัดกิจกรรมเสวนำในหัวข้อ “ควำมท้ำทำยในกำรพัฒนำเมืองอัจฉริยะ อย่ำงยัง่ ยืน” รวมทัง้ กิจกรรม “กฟภ.พบผูน้ ำ� เมือง” และ “ดีปำ้ พบผูน้ ำ� เมือง” โดยมี นิคม เลิศมัลลิกาพร ประธำนบริษทั เวิลด์เด็กซ์ จี.อี.ซี. จ�ำกัด และ ศิระพัฒน์ เกตุธาร รองประธำน บริษทั เวิลด์เด็กซ์ จี.อี.ซี. จ�ำกัด ให้กำรต้อนรับ ภำยใน งำนเสวนำได้รบั เกียรติจำก ทศพล คุณะเพิม่ ศิริ ทีป่ รึกษำสมำคมสันนิบำตเทศบำล แห่งประเทศไทย และ อัศพล บุณยเกียรติ ผูจ้ ดั กำรทัว่ ไป บริษทั เน็กซ์ อินโนเทค
จ�ำกัด เข้ำร่วมเสวนำ งำนแถลงข่ำวและกิจกรรมดังกล่ำวจัดขึน้ ณ ห้องบอลรูม 2 โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ Smart City Solution Week 2019 เป็นมหกรรมงำนแสดงเทคโนโลยี และโซลูชนั่ ล่ำสุดเพือ่ กำรพัฒนำเมืองอัจฉริยะทีค่ รบวงจรทีส่ ดุ ทีเ่ กิดจำกควำม ร่วมมือระหว่ำงส�ำนักงำนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั (ดีปำ้ ) และเมสเซ่ แฟรงค์เฟิรต์ ด้วยกำรน�ำงำนแสดงสินค้ำ 3 แบรนด์ดงั ของเมสเซ่ แฟรงค์เฟิรต์ ได้แก่ ซีเคียวเทค ไทยแลนด์, ไทยแลนด์ ไลท์ติ้ง แฟร์ และไทยแลนด์ บิลดิ้ง แฟร์ จัดพร้อมกับ งำนดิจิทัล ไทยแลนด์ บิ๊กแบง 2019 ระหว่ำงวันที่ 28-31 ตุลำคม พ.ศ. 2562 ณ ศูนย์นิทรรศกำรและกำรประชุมไบเทค บำงนำ
กฟผ. ร่วมกับ วสท. ลงนามบันทึกความร่วมมือวิชาการ และวิชาชีพวิศวกรรมพลังงาน
ปรับปรุงรถ “ไจแอ้นท์ ซิตี้ทัวร์” รถบัสน�าเที่ยว กทม. แห่งแรกเป็นรถบัสไฟฟ้า EV Bus
ภาวนา อังคณานุวฒ ั น์ รองผูว้ ำ่ กำรบริหำร การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ร่วมกับ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) โดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นำยก วสท. ลงนำมบันทึกข้อตกลงทำงวิชำกำรและวิชำชีพ วิศวกรรม โดยมี ดร.พิศาล จอโภชาอุดม ประธำนสำขำวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วสท. และ เทพรัตน์ เทพพิทกั ษ์ รองผูว้ ำ่ กำรพัฒนำโรงไฟฟ้ำและพลังงำนหมุนเวียน กฟผ. ร่วมเป็นสักขีพยำน ณ อำคำร ท.100 ชั้น 2 ส�ำนักงำนใหญ่ กฟผ. กำรลงนำมครัง้ นี้ เพือ่ ผนึกควำมร่วมมือพัฒนำควำมก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยี วิ ศ กรรมแก่ บุ ค ลำกรและองค์ ค วำมรู ้ ด ้ ำ นวิ ศ วกรรมพลั ง งำนในรู ป แบบของ กำรจัดกำรศึกษำให้ครอบคลุมสำยวิชำกำรและสำยวิชำชีพ สอดคล้องกับควำม ต้องกำรของผู้ประกอบวิชำชีพวิศวกรรม และเพิ่มพูนควำมรู้ควำมสำมำรถอันเป็น รำกฐำนส�ำคัญต่อกำรพัฒนำเศรษฐกิจ สังคม และประเทศชำติต่อไป
วีระพล ไชยธีรตั ต์ กรรมกำรบริหำร บริษทั สกุลฎ์ซี อินโนเวชัน่ จ�ำกัด ผู้ผลิตยำนพำหนะสมัยใหม่ Light Weight Aluminum จับมือ ชาญวิทย์ กาญจนวัฒน์ กรรมกำรผูจ้ ดั กำร บริษทั อะเมซิง่ บัส ทัวร์ จ�ำกัด ผูใ้ ห้บริกำร “ไจแอ้นท์ ซิตี้ทัวร์” รถบัสให้บริกำรแบบ Hop on Hop off แห่งแรกใน กรุงเทพฯ ปรับปรุงรถ (Retrofit) ให้เป็นรถบัสไฟฟ้ำ EV Bus จ�ำนวน 12 คัน เพื่อให้เป็นรถบัสสมัยใหม่ ปลอดเขม่ำควัน ลดฝุ่นมลพิษ ที่สังคมเมือง ต้องกำรให้ร่วมรณรงค์ในกำรรักษำสิ่งแวดล้อมจำกกำรใช้ยำนพำหนะใหญ่ ในเมืองหลวง พร้อมยกระดับกำรท่องเทีย่ วให้มคี ณ ุ ภำพ เป็นมิตรกับเมืองหลวง ตำมนโยบำย Bangkok Green City โดยมี เทพยพงศ์ ศิลปำนนท์, ชนันยำ คมข�ำ, สุภัทรำวดี อรุณ ร่วมงำน ณ สยำมพำรำกอน
40
GreenNetwork4.0 March-April 2019