Contents January-February 2020
6 7
8 11
12 13
14
15 16 17 18
19
Green Environment
มิลลิเกน เคมิคัล จับมือ ปกนิกพลาส ลงนาม UL Green Label ฉลากสิ่งแวดลอม รับรองโดย UL Environment by กองบรรณาธิการ ภาครัฐ-เอกชน บูรณาการความรวมมือดานสิ่งแวดลอม “ลดเปลี่ยนโลก เพิ่มนวัตกรรม” by กองบรรณาธิการ
Green Factory
โรงงานเดลตา อีเลคโทรนิคสฯ ยึดหลัก “Smarter. Greener. Together.” มุงสรางนวัตกรรมการใชพลังงานสะอาด by กองบรรณาธิการ โรงงานโดวะฯ แหงญีป่ นุ จับมือ การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สงเสริมกําจัดสารฟลูออโรคารบอน ลดผลกระทบสิ่งแวดลอม by กองบรรณาธิการ
Green Report
ดาว ประเทศไทย รวมมือ กรมทรัพยากรทางทะเลฯ สรางจิตสํานึก รีไซเคิลจัดการขยะพลาสติกพื้นที่เขต EEC นํารองจังหวัดระยอง by กองบรรณาธิการ Envi Mission ภารกิจรักษสิ่งแวดลอม สงตอองคความรูวัฒนธรรม รักษนํ้า by กองบรรณาธิการ
Energy Saving
“สนธิรัตน สนธิจิรวงศ” รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ลงพื้นที่ ขอนแกน-อุบลราชธานี ขับเคลื่อนโรงไฟฟาพลังงานทดแทนภาคอีสาน by กองบรรณาธิการ
Special Scoop
เกณฑโรงไฟฟาชุมชน ตั้งเปา 700 MW อัตรารับซื้อ 3-5 บาทตอหนวย by กองบรรณาธิการ
Green Focus 20 “Decarbonisation of the Power Systems” 24 36 22
Green Industry
การสรางวัฒนธรรมสีเขียว by ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี
Green People
ดร.วิจารย สิมาฉายา ผอ.สถาบันสิ่งแวดลอมไทย ขาราชการตนแบบยึดหลักพรหมวิหาร 4 ผูขับเคลื่อนการจัดการดาน สิ่งแวดลอม by กองบรรณาธิการ
Green Article 26 บทบาทอุตสาหกรรมตอการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน 40
by รศ. ดร.ธภัทร ศิลาเลิศรักษา วิศวกรรมสิ่งแวดลอมกับภาวะนํ้าประปาเค็ม by ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล
Green World
28 ทั่วโลกกําจัดขยะ (พลาสติก) แกปญหาสิ่งแวดลอม รวมกันอนุรักษ พลังงาน by กองบรรณาธิการ
Smart City 29 แอพพลิเคชั่น NOSTRA Map ขอมูลแผนที่ดิจิทัล แกขยะลนเมือง by กองบรรณาธิการ
30
Green Scoop
สกสว. จับมือ จีน ผนึกกําลังวิจยั ตัง้ รับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ แกภาวะโลกรอนและสิ่งแวดลอมโลก by กองบรรณาธิการ MEA EV Application เชื่อมตอขอมูลเครื่องอัดประจุไฟฟา รองรับยานยนตไฟฟาในไทย by กองบรรณาธิการ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “โครงการบริหารจัดการขยะพลาสติก” by กองบรรณาธิการ
by นรินพร มาลาศรี หญาเนเปยร พลิกผืนดินอีสาน เขียวขจีอยางยั่งยืน by พิชัย ถิ่นสันติสุข Bioplastic กับอุตสาหกรรมยานยนต by อาจารยชินวุฒิ ขวัญณัฐพร
31 32
Green Building
SCG Health Center อาคารเขียวอนุรักษพลังงาน ติดตั้งระบบผลิต พลังงานหมุนเวียนจากแสงอาทิตย by กองบรรณาธิการ
Green Technology & Innovation
นวัตกรรม Big Data ยกประสิทธิภาพระบบขอมูลราชการยุคดิสรัปชั่น by กองบรรณาธิการ
Auto Challenge
รถขนสงไปรษณียไทยพลังงานไฟฟา 100% รับเทรนดรักษโลก นํารองบริการพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล by กองบรรณาธิการ
33 Green Biz Green Travel 38 “ชุมชนบานไรกองขิง” จังหวัดเชียงใหม หมูบ า นแหงสุขภาพ เมืองสะอาด รักษาสิ่งแวดลอม by กองบรรณาธิการ
39
Green Hotel
หองอาหารนานาชาติปทุมมาศ โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ และ รานอาหารนานาชาติซันไรส ซันเซ็ท สยามเบยชอร รีสอรท พัทยา ไดรับรางวัล Green Restaurant การบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม by กองบรรณาธิการ
คณะที่ปรึกษา ดร.ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน นินนาท ไชยธีรภิญโญ ดร.อัศวิน จินตกานนท ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย พานิช พงศพิโรดม ประสงค ธาราไชย ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.สุรพล ดํารงกิตติกลุ ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ชาย ชีวะเกตุ รศ. ดร.สิงห อินทรชูโต บรรณาธิการอํานวยการ/บรรณาธิการผูพิมพโฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ นริศรา ออนเรียน, ณัฐชยา แกนจันทร พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม ศศิธร มไหสวริยะ ประสานงาน ภัทรกันต กิจสินธพชัย ฝายการตลาด กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝายการตลาด ชุติมณฑน บัวผัน ฝายวิเทศสัมพันธ ศิรินทิพย โยธาพันธ แยกสี บริษัท คลาสิคสแกน จํากัด โรงพิมพ หจก.รุงเรืองการพิมพ
เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-5333 (ฝายการตลาด Ext. 230) แฟกซ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail : editor@greennetworkthailand.com
สวัสดีครับ ทานสมาชิกและทานผูอานทุกทาน สวัสดีปหนูทองครับ เปดพุทธศักราชใหม 2563 และตรุษจีนปใหมของชาวจีน “ซินเจียยูอ ี่ ซินนีฮ้ วดไช” ขอตอนรับเขาสู Green Network ปที่ 11 แลวสําหรับนิตยสาร เพื่อคนรักษโลก วาดวยทิศทางปนี้กระแสรักษโลกและเทรนดการอนุรักษพลังงาน รวมทัง้ แนวทางจัดการปญหาขยะลนเมือง หลายประเทศทัว่ โลกใหความสําคัญและใสใจ ผลกระทบตอสิง่ แวดลอมกันมากขึน้ จะเห็นไดอยางชัดเจนในภาคสวนอุตสาหกรรมตางๆ ไดพัฒนาธุรกิจ เทคโนโลยี และผลิตภัณฑที่คํานึงถึงสิ่งแวดลอม ขณะที่พลเมืองของ แตละประเทศก็ไดปรับพฤติกรรมมีจติ สํานึกรวมใจรักษาสิง่ แวดลอม และใหความรวมมือ อนุรักษพลังงานอันแสดงถึงความรับผิดชอบตอระบบนิเวศของโลก เริ่มตนคอลัมน Green World นําเสนอเรื่องราวที่ทั่วโลกกําจัดขยะ (พลาสติก) แกปญ หาสิง่ แวดลอม รวมกันอนุรกั ษพลังงาน ขณะนีห้ ลายประเทศหาวิธแี กไข ทัง้ การ จัดการขยะ การรณรงคขยะรีไซเคิล รวมถึงมาตรการลดเลิกใชถงุ พลาสติก ไปตอกันที่ Green Environment กลับมาดูในประเทศไทยของเราบางมีการตื่นตัวเชนกันไมวาจะ เปนหนวยงานภาครัฐ-เอกชน บูรณาการความรวมมือดานสิ่งแวดลอม “ลดเปลี่ยนโลก เพิ่มนวัตกรรม” Green People สัมภาษณพิเศษ ดร.วิจารย สิมาฉายา ผอ.สถาบัน สิ่งแวดลอมไทย ผูนําตนแบบยึดหลักพรหมวิหาร 4 บุคคลผูมีหัวใจรักษสิ่งแวดลอม บริหารงานเชื่อมโยงสูการอนุรักษและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทั้งในระดับประเทศและระดับโลกใหเกิดความยั่งยืน Green Scoop สกสว. จับมือ จีน ผนึกกําลังวิจยั ตัง้ รับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ แกภาวะโลกรอนและสิง่ แวดลอม โลก และคอลัมน Green Travel โดยหนวยงาน อพท. พาลงพืน้ ที่ “ชุมชนบานไรกองขิง” จังหวัดเชียงใหม หมูบ า นแหงสุขภาพ เมืองสะอาด รักษาสิง่ แวดลอม ตนแบบชุมชนอนุรกั ษ ทรัพยากรธรรมชาติและรักษาสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน จากเรื่องราวดานสิ่งแวดลอมแลว ไปดูความเคลื่อนไหวดานพลังงานในคอลัมน Energy Saving “สนธิรัตน สนธิจิรวงศ” รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ลงพื้นที่ ขอนแกน-อุบลราชธานี เรงผลักดันนโยบายโรงไฟฟาชุมชนเพือ่ เศรษฐกิจฐานรากใหเปน รูปธรรม และปดทายกันดวย Green Factory กองบรรณาธิการไดรบั เกียรติจากเดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) พาเยี่ยมชมโรงงาน โดยยึดหลัก “Smarter. Greener. Together.” มุง สรางนวัตกรรมการใชพลังงานสะอาด ถือเปนผูป ระกอบการทีร่ บั ผิดชอบ ตอสังคมดวยความมุง มัน่ สรางสรรคนวัตกรรมการใชพลังงานสะอาด และใหบริการธุรกิจ โซลูชนั่ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการอนุรกั ษพลังงานและรักษาสิง่ แวดลอมเพือ่ อนาคตทีย่ งั่ ยืน แลวพบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรตั นกุล
GREEN กองบรรณาธิการ
มิลลิเกน เคมิคัล จับมือ ปกนิกพลาส ลงนาม
UL Green Label ฉลากสิ่งแวดลอม รับรองโดย UL Environment การตระหนักเรื่องการอนุรักษและรักษาสิ่งแวดลอมในประเทศไทย กําลังเปนประเด็นที่กําลังถูกพูดถึงกันในวงกวาง ประชาชนทั่วไปตางให ความสนใจทีจ่ ะปรับเปลีย่ นพฤติกรรม รวมถึงการเลือกใชผลิตภัณฑในชีวติ ประจําวันที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ทําใหกลุมอุตสาหกรรมพลาสติก สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย รวมกับ บริษัท มิลลิเกน เคมิคัล จํากัด จัดงานสัมมนาขึน้ ในหัวขอ “นวัตกรรมพลาสติกเพือ่ สิง่ แวดลอม และแนวทาง การปรับตัวของอุตสาหกรรมพลาสติกไทย” เพื่ออัพเดตเทรนดเทคโนโลยี และนวัตกรรม อาทิ การเลือกใชวัสดุและการออกแบบผลิตภัณฑพลาสติก รวมถึงแนวคิดในการลดปญหาขยะพลาสติกและการนํากลับมารีไซเคิล เพื่อมุงเนนการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ภราดร จุลชาต ประธานกลุม อุตสาหกรรมพลาสติก สภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย เปนประธานกลาวเปดงานเกี่ยวกับแนวคิดและทิศทาง การปรับตัวของอุตสาหกรรมพลาสติกไทย และเปนผูน าํ โครงการความรวมมือ เพื่อการจัดการพลาสติกและขยะอยางยั่งยืน หรือ PPP Plastic (Public Private Partnership for Sustainable Plastic and Waste Management) ซึ่งจะเปนประโยชนตอผูเขารวมรับฟงทั้งตัวแทนจากหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการผลิต ภาคอุตสาหกรรม และผูผ ลิตสินคาอุปโภคบริโภค ชัน้ นําของประเทศไทย เพือ่ เปนแนวทางไดนาํ ไปพิจารณาปรับใชและผลักดัน ใหสามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นจริงในอนาคตอันใกล
ดร.อดิทัต วะสีนนท
ชัยวัฒน สิริเบญจมาภรณ
วินเซนต หวาง
วิเวก ซิสตลา
ดร.อดิทัต วะสีนนท รองผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม กลาวสัมมนาในหัวขอ “Circular Economy and Implication for Thai Industry” วา “ปจจุบนั ประเทศไทย มีพลาสติก 1.5 ลานตัน ที่ถูกทิ้งเปนขยะและยังไมไดดําเนินการ ไดสง ผลกระทบตอสิง่ แวดลอม และนาเปนหวงทีถ่ งุ พลาสติกจะเพิม่ มากขึน้ อีก 47% ในอนาคต เนือ่ งจากมีการใชทรัพยากรมากขึน้ ดังนัน้ ในฐานะภาครัฐ ขณะนีไ้ ดมแี นวนโยบายในการสนับสนุนใหเกิด Circular Economy ซึง่ อยูระหวางการรางกฎหมายเกี่ยวกับพลาสติกที่ยอยสลายไดใหนํากลับ มาใชเปนวัสดุรไี ซเคิลใหม เพือ่ ใหเกิดความรวมมือทัง้ ระบบ และเพือ่ ให เกิดแรงจูงใจกับผูบ ริโภคในการใชพลาสติกทีย่ อ ยสลายได และทําใหเกิด การสรางมูลคาใหมใหกับผลิตภัณฑจากพลาสติกรีไซเคิล” ชัยวัฒน สิรเิ บญจมาภรณ Division Manager – RD Customer Solution Department บริษทั ไออารพซี ี จํากัด (มหาชน) กลาวสัมมนา ในหัวขอ “Plastic Resin Initiatives to Enhance Circular Economy” วา “ในสวนของผูประกอบการผลิตภัณฑทางไออารพีซี มีทีมวิจัยดาน กระบวนการกําจัดขยะ โดยยึดหลัก 3R ในการดําเนินการตามแนวทาง ลดขยะ ไดแก 1) Reduce ลดการใช 2) Reuse การนํากลับมาใชซาํ้ และ 3) Recycle การนํากลับมาใชใหม อีกทั้งไออารพีซีก็มีแผนดําเนินการ ในเรือ่ ง Circular Economy ซึง่ ในอนาคตจะมุง การนําวัตถุดบิ ของเสีย นํากลับมาใชใหม และเขาสูกระบวนการผลิตสินคาเปนผลิตภัณฑจาก รีไซเคิล” 6
วินเซนต หวาง ผูอํานวยการฝายธุรกิจเอเชียใต บริษัท มิลลิเกน เคมิคัล จํากัด รวมบรรยายในหัวขอ “Enhancing Plastics Sustainability” กลาววา “กระบวนการ รีไซเคิลในประเทศไทยนั้น มีหลายวิธีที่จะสรางผลิตภัณฑ ใหมๆ เพื่อไมทําลายสิ่งแวดลอม และกระบวนการคัดแยก ขยะนํากลับมาใชเปนสินคาก็สามารถรีไซเคิลได 4-5 ครั้ง เพือ่ แกปญ หาขยะพลาสติกลนโลก ยกตัวอยางเชน ประเทศ เกาหลีใตจะมีกระบวนการรีไซเคิลที่มีคุณภาพมาตรฐาน สากล และเปนแบบอยางใหกบั หลายๆ ประเทศนําไปปฏิบตั ิ ตามแลวไดผลอยางจริงจัง ซึ่งถือวาเปนกระบวนการที่มี การใชพลังงานหรือทรัพยากรในประเทศนอยลง” เวก ซิสตลา R&D Director & Site Leader ยูนลิ เี วอร ประเทศไทย กลาวสัมมนาในหัวขอ “Sourcing and Implementing Circular Plastic Solutions in FMCG” วา “เปาหมายของยูนิลีเวอร ไดกําหนดเปาหมายที่ชัดเจน ในป ค.ศ. 2025 จะตองลดการใชพลาสติกลงใหได 100% และวางนโยบายในอนาคตวาจะใชผลิตภัณฑที่ทํามาจาก พลาสติกรีไซเคิลทั้งหมด ซึ่งยูนิลีเวอรไดรวมมือกับหลาย องคกรทัง้ หนวยงานภาครัฐและเอกชน จัดกิจกรรมเกีย่ วกับ การจัดเก็บขยะเพือ่ นํามารีไซเคิลใหมเปนสินคาหมุนเวียนใช ใหม เพื่อใหเกิดเศรษฐกิจหมุนเวียนอยางยั่งยืน นอกจากนี้ แนวทางของยูนลิ เี วอร มีกระบวนการงานวิจยั ในหองทดลอง และการออกแบบผลิตภัณฑตา งๆ เพือ่ ศึกษาเรียนรูแ ละนํามา ปรับเปลีย่ นเปนรีไซเคิลใหม กอนเขาสูก ระบวนการการผลิต สินคาใชใหม”
และ ประเสริฐ เอี่ยมรุงโรจน เจาของเพจ “แกะดํา ทําธุรกิจ” ไดรวมบรรยายในหัวขอ “Disruption Trends and Opportunities for the Thai Plastic Industry” หลังการบรรยาย ของวิทยากรเสร็จสิน้ ไดมพี ธิ ลี งนามความรวมมือ UL Green Label ฉลากสิง่ แวดลอม รับรองโดย UL Environment ระหวาง บริษทั มิลลิเกน เคมิคัล จํากัด และ บริษัท ปกนิกพลาส อินดัสเทรียล จํากัด ซึ่งเปนการจับมือรวมกันผลักดันแนวคิดในการลดปญหา ขยะพลาสติก และการนํากลับมารีไซเคิล เพื่อมุงเนนการลด ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมใหเกิดความยั่งยืนตอไปในอนาคต
GreenNetwork4.0 January-February 2020
การตระหนักถึงความสําคัญของสิ่งแวดลอมและสถานการณมลภาวะในปจจุบัน อีกทั้งตองมีการสงเสริมและสนับสนุนขับเคลื่อน การดําเนินงานเพื่อลดมลพิษ ลดภาวะโลกรอนในชุมชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมถึงการใหความสําคัญกับสถานศึกษาในการนํา องคความรูด า นวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาพัฒนาเพือ่ ปรับใชในการจัดการปญหาดานสิง่ แวดลอม ซึง่ สอดคลองกับเปาหมาย การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนตามยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2561-2580 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 เกิดเปน ความรวมมือระหวางภาคเอกชน โดยมี นินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานคณะกรรมการ บริษทั โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด รวมกับ ภาครัฐ ไดแก ดร.สุวทิ ย เมษินทรีย รัฐมนตรีวา การกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม (อว.) เปนประธาน ดร.วิจารย สิมาฉายา ผูอ าํ นวยการสถาบันสิง่ แวดลอมไทย และ ดร.ณรงค ศิรเิ ลิศวรกุล ผูอ าํ นวยการสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ภายใตชื่อโครงการ “ลดเปลี่ยนโลกกับโตโยตา”
GREEN กองบรรณาธิการ
ภาครัฐ-เอกชน บูรณาการความรวมมือ
ดานสิ่งแวดลอม
“ลดเปลี่ยนโลก เพิ่มนวัตกรรม”
ดร.สุวิทย เมษินทรีย โครงการดังกลาวเปนกิจกรรมการรวมมือมีวตั ถุประสงค ของการจัดโครงการที่สามารถลดกาซเรือนกระจกไดกวา 23,000 ตัน ซึ่งโครงการประกวดมี 2 ระดับ ไดแก “ชุมชน ลดเปลีย่ นโลก” และ “นวัตกรรมเยาวชนลดเปลีย่ นโลก” เพือ่ มุงหวังการสรางจิตสํานึกใหสังคมไทยไดตระหนักถึงปญหา ดานภาวะโลกรอน พรอมทัง้ หาแนวทางแกไข และเปดโอกาส ใหโรงเรียน ชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่นจาก ทั่วประเทศจัดทําแผนงานสงเขาประกวดเพื่อรณรงคการลด ภาวะโลกรอนภายในชุมชนของตน ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม กลาวปาฐกถาวา “โครงการนีถ้ อื วาเดินหนาไปในทิศทางเดียวกับภารกิจสําคัญ ของกระทรวงฯ และตอบโจทยนโยบายเรือ่ ง BCG Economy Model อีกทัง้ ยังเปนการเตรียมประเทศไทยในศตวรรษที่ 21 ทีม่ ภี ารกิจสําคัญ 3 เรือ่ ง คือ การสรางและพัฒนาคน การวิจยั เพือ่ สรางความรู และการสรางและพัฒนานวัตกรรม ทีส่ าํ คัญ คือ ปลายทางความคิดสรางสรรคของเยาวชน จะถูกนําไปใช ใหเกิดประโยชนไดจริงในพื้นที่ชุมชนของผูชนะการประกวด หรือสามารถขยายผลสูก ารนําไปใชในชุมชนอืน่ ๆ ซึง่ นอกจาก จะเปดโอกาสใหชมุ ชนทีม่ กี ารดําเนินงานลดการปลอยมลพิษ สูการลดภาวะโลกรอนในพื้นที่อยางยั่งยืนไดนําเสนอความ สําเร็จแลว ยังเปนเวทีสาํ คัญทีส่ ง เสริมและสรางแรงบันดาลใจ ใหเยาวชนออกแบบและพัฒนานวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดลอม ดวยนาโนเทคโนโลยี รวมถึงสรางความตระหนักและกระตุน ใหเยาวชนและประชาชนทัว่ ไปใหมคี วามรูเ รือ่ งการออกแบบ และพัฒนานวัตกรรมเพือ่ สิง่ แวดลอมดวยนาโนเทคโนโลยีได อยางถูกตอง” 7
ดร.วิจารย สิมาฉายา
ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล
นินนาท ไชยธีรภิญโญ
ดร.วิจารย สิมาฉายา ผูอ าํ นวยการสถาบันสิง่ แวดลอมไทย กลาว บรรยายวา “สถาบันสิ่งแวดลอมไทยไดสนับสนุนการอบรมองคความรู ทางดานสิ่งแวดลอมและปญหาสิ่งแวดลอมในชุมชน ใหคําปรึกษาการ ดําเนินงานและการวิเคราะหปริมาณกาซเรือนกระจกและมลพิษ รวมถึง การติดตามประเมินผลการดําเนินงานของชุมชน นับเปนความยินดียงิ่ ทีม่ ี พันธมิตรใหความสําคัญในการลดภาวะโลกรอน และการรักษาสิง่ แวดลอม ผานนวัตกรรมนาโนเทคโนโลยีเพือ่ สิง่ แวดลอม ซึง่ โครงการทีจ่ ดั ขึน้ จะนํา ไปใชพัฒนาใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาสังคมและเปนการรวมมือ ชวยรักษาสิ่งแวดลอมไดอยางยั่งยืน” ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผูอํานวยการ สวทช. กลาววา “สวทช. มีบทบาทการพัฒนางานวิจยั เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพือ่ ตอบโจทยการ พัฒนาประเทศ ไดนาํ เทคโนโลยีมาปรับและประยุกต ซึง่ จะชวยเพิม่ โอกาส การเขาถึงความรูและชวยยกระดับคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น รวมถึงการวิจัย พัฒนาดานพลังงานและสิ่งแวดลอม เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ สิง่ แวดลอมของเมืองและชุมชน ประหยัดพลังงาน ลดมลพิษทางสิง่ แวดลอม และยกระดับความสามารถในการแขงขันของการผลิต อุตสาหกรรม การเกษตร และบริการของประเทศ เพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนและเปนมิตร กับสิ่งแวดลอม” นินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานคณะกรรมการ บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด รวมปาฐกถาโดยกลาววา “โตโยตา เล็งเห็น ความสําคัญในการตอยอดกิจกรรมลดเมืองรอน โดยเฉพาะในเรือ่ งปญหา มลภาวะ ซึง่ โครงการลดเปลีย่ นโลกกับโตโยตา มุง หวังใหเกิดการตระหนัก ตลอดจนเริม่ ลงมือปฏิบตั ทิ งั้ ในระดับของโรงเรียน ชุมชน และสาธารณชน จึงอยากเชิญชวนสาธารณชนมารวมลดการใชพลาสติกแบบใชครัง้ เดียวทิง้ ผานการใชภาชนะทดแทน โดยโตโยตาจะสนับสนุนเงิน 1 บาท ตอ 1 การลด ขยะพลาสติก เพื่อนําไปตอยอดนวัตกรรมของผูชนะโครงการนวัตกรรม เยาวชนลดเปลี่ยนโลกจนถึงปจจุบันมีผูเขารวมกิจกรรมดังกลาวกวา 31,000 คน สามารถลดขยะไปไดกวา 29,000 กิโลกรัม” อยางไรก็ตาม สําหรับทีมผูช นะเลิศในโครงการชุมชนลดเปลีย่ นโลก และนวัตกรรมเยาวชนลดเปลีย่ นโลก จะไดไปนําเสนอผลงานแกผบู ริหาร จากบริษัท โตโยตา มอเตอร คอรปอเรชัน ประเทศญี่ปุน รวมถึงศึกษา ดูงาน เพือ่ นําองคความรูด า นการจัดการสิง่ แวดลอมและนวัตกรรมตางๆ จากญีป่ นุ มาประยุกตใชในการตอยอดผลงานของตน โดยชุมชนทีช่ นะเลิศ จะไดรบั การสนับสนุนงบประมาณสําหรับการพัฒนาชุมชนของตนใหเปน ศูนยการเรียนรู “ชุมชนลดเปลี่ยนโลก” ในระดับจังหวัด ขณะที่โรงเรียน ที่ชนะเลิศจะไดรับการสนับสนุนเงินทุนสราง “นวัตกรรมตนแบบ” ขนาด ใชไดจริงเพื่อนําไปสูชุมชนตอไป
GreenNetwork4.0 January-February 2020
GREEN
Factory กองบรรณาธิการ
โรงงานเดลตา อีเลคโทรนิคสฯ ยึดหลัก
“Smarter. Greener. Together.”
มุงสรางนวัตกรรมพลังงานสะอาด
เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานเพื่ออนาคตที่ดีกวา
นวัตกรรมที่มีผลตอการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ขณะนี้ผูประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ ใหความ สําคัญตอปญหาดานสิง่ แวดลอม เพือ่ ความรับผิดชอบตอสังคม หลายบริษัทกําหนดนโยบายแนวทางสนับสนุนการดูแลรักษา สิ่งแวดลอมอยางชัดเจนและเปนรูปธรรม รวมถึงการสงเสริมให พนักงานมีสวนรวมในกิจกรรมอนุรักษพลังงาน ตลอดจนการ พัฒนาผลิตภัณฑทเี่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมและประหยัดพลังงาน เพื่อชวยลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมใหกับโลก 8
บริษทั เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กอตัง้ ขึน้ ในป พ.ศ. 2531 เปนอีกหนึง่ ผูป ระกอบการทีม่ งุ มัน่ สรางสรรคนวัตกรรมการใชพลังงานสะอาด คํานึงถึงผลกระทบ ตอสิง่ แวดลอม และเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงานเพือ่ อนาคตทีย่ งั่ ยืน ซึง่ ยึดถือเปนแนวทาง การดําเนินกิจกรรมเพื่อสังคมทั่วทั้งกลุมในเครือบริษัท เดลตาฯ โดยนโยบายนี้กําหนดให คณะกรรมการบริษทั ฝายบริหาร และพนักงานนําไปเปนแนวทางในการปฏิบตั งิ าน โดยพืน้ ที่ ตัง้ ของโรงงานบริษทั เดลตาฯ อยูภ ายในนิคมอุตสาหกรรมบางปู ตําบลแพรกษา อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ซึง่ ปจจุบนั เดลตาฯ กาวสูก ารเปนสํานักงานใหญในระดับภูมภิ าค รวมทัง้ เปนศูนยกลางการผลิตในประเทศอินเดียและเอเชียอาคเนย เปนผูนําในอุตสาหกรรมการ ออกแบบ ดําเนินการผลิต ใหบริการในธุรกิจโซลูชั่นสําหรับการจัดการพลังงาน การผลิต ชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกสและผลิตภัณฑเพือ่ การจัดการพลังงาน เชน เพาเวอรซสิ เต็มสําหรับระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ยานยนต งานโทรคมนาคม ระบบงานอุตสาหกรรมอัตโนมัติ อาคาร อัตโนมัติ อุตสาหกรรมการแพทย รวมถึงเครือ่ งอัดประจุไฟฟาสําหรับยานยนตไฟฟา ดีซ-ี ดีซี คอนเวอรเตอร อะแดปเตอร และการออกแบบและการเลือกใชวสั ดุประหยัดพลังงาน การนํา ระบบการจัดเก็บขอมูลการใชพลังงาน การประยุกตใชพลังงานหมุนเวียน การตรวจสอบ ประสิทธิภาพการใชนํ้า และการจัดการพลังงานดวยโซลูชั่นของเดลตา กองบรรณาธิการนิตยสาร Green Network ไดรบั เกียรติใหเขาเยีย่ มชมโรงงานของบริษทั เดลตาฯ โดยมี วิชยั ศักดิส์ รุ ยิ า รองประธานฝายการดําเนินงานบริษทั เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) พรอมดวย สาโรช เรืองสกุลราช ผูจ ดั การฝายการจัดการระบบ บริหารขององคกร ใหขอ มูลเกีย่ วกับนโยบายบริหารจัดการดานอนุรกั ษพลังงานรวมถึงเปาหมาย การลดการใชพลังงานลงในป 2020 พรอมนําเยีย่ มชมเทคโนโลยีและนวัตกรรมระบบการจัดการ ดานพลังงานภายในโรงงาน อาคารโรงงานสีเขียวที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และการติดตั้ง แผงโซลารเซลลบนหลังคาอาคารโรงงาน
GreenNetwork4.0 January-February 2020
สําหรับโรงงานเดลตาฯ ที่นิคมอุตสาหกรรมบางปูแหงนี้มีพื้นที่ประมาณ 70,000 ตารางเมตร ประกอบดวยอาคารประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ทัง้ หมด จํานวน 5 อาคาร (โรงงานในจังหวัดฉะเชิงเทราอีก 2 อาคาร) ซึง่ การออกแบบ ทุกอาคารคํานึงถึงสิง่ แวดลอมเปนหลัก ซึง่ เปนไปตามเกณฑมาตรฐานอาคารเขียว (LEED & EEWH) อาทิ ติดตัง้ แผงโซลารเซลลบนหลังคา 20,000 กวาแผนทีส่ ามารถ ผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตย และเคลือบสารเซรามิกสะทอนความรอน บนหลังคา การติดตั้งใชงานหลอดไฟอัจฉริยะ LED ที่นําเซ็นเซอรตรวจจับความ เคลือ่ นไหวในการสัง่ เปด-ปดสวิตชไฟฟา ในสวนกรอบผนังอาคารจะทาสีทปี่ ราศจาก สารตะกั่วและปรอท และยังมีสารระเหยตํ่าที่ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม นอกจากนีย้ งั ใชเครือ่ งทํานํา้ เย็นชนิด Magnetic Bearing Oil-Free Chiller ไมตอ งใช นํ้ามันหลอลื่น สามารถควบคุมคุณภาพอากาศภายในอาคารเปนระบบเติมอากาศ บริสทุ ธิใ์ หกบั พนักงาน รวมถึงการติดตัง้ ระบบ SCADA (Supervisory Control and Data Acquisition) ทีถ่ อื วาเปนหัวใจสําคัญของการจัดการขอมูลดานพลังงานชวย ใหสามารถติดตาม จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลการใชพลังงานแบบเรียลไทม โดยฮารดแวรทใี่ ชในโครงการนีเ้ ปนผลิตภัณฑของเดลตาฯ ซึง่ มีจาํ นวนทีค่ วบคุมผาน ระบบ SCADA ทั้งหมด 7,500 จุด ตลอดจนการติดตั้งพรมดักฝุนบริเวณทางเขา อาคารโรงงาน และติดตัง้ Digital Power Meter บันทึกขอมูลการใชพลังงาน เพือ่ นํามาวิเคราะหวางแผนบริหารจัดการพลังงาน วิชยั ศักดิส์ รุ ยิ า ในฐานะผูจ ดั การโรงงาน กลาววา “โรงงานเดลตาฯ ทีน่ คิ ม อุตสาหกรรมบางปู เรามีพนักงานมากถึง 6,000-7,000 คน โดยคณะผูบ ริหารทุกคน จะใหความรวมมือและสงเสริมใหผูใตบังคับบัญชาดําเนินตามนโยบายระบบการ จัดการพลังงานและสิ่งแวดลอมที่ดี ในโรงงาน เราจึงใสใจและดูแลสภาพ แวดลอมในการทํางานที่ปลอดภัย และใหมสี ขุ ภาวะทีด่ ี เพือ่ ใหพนักงาน สามารถปฏิบตั งิ านไดอยางเต็มศักยภาพ ซึ่งเดลตาฯ มีเปาหมายลดปริมาณ การใชพลังงานลง 30% ภายใน 6 ป ระหวางป 2014-2020 ขณะเดียวกัน เราวางเปาหมายลดการใชนํ้าใหได วิชัย ศักดิ์สุริยา ถึง 30% ภายในป 2020 นี้ ซึ่งได ติดตั้งบอนํ้าดานหนาโรงงานขนาด 75 ลูกบาศกเมตร เพื่อใชเปนบอกักเก็บนํ้าฝน การใชผลิตภัณฑประหยัดนํ้า 100% และพัฒนาผลิตภัณฑที่ชวยในการประหยัด พลังงานและลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม”
9
สาโรช เรืองสกุลราช กลาววา “นอกจากระบบควบคุมการใชพลังงาน ของเดลตาฯ แลว บริษทั ฯ ยังนําระบบ การจัดการพลังงานตามกฎหมายมา ประยุกตใช เชน จัดกิจกรรม Energy Week ที่สงเสริมการมีสวนรวมของ พนั ก งานเกี่ ย วกั บ นวั ต กรรมด า น พลั ง งานแห ง อนาคตของเดลต า ฯ สาโรช เรืองสกุลราช พร อ มกั บ จั ด ตั้ ง ที ม พลั ง งานเพื่ อ ตรวจสอบประเมินผลดานพลังงาน และเก็บขอมูลทบทวนการใชพลังงานทุกสัปดาห และทีมบํารุงรักษาดูแลอาคารโรงงานโดยจะแบงวิศวกรที่รับผิดชอบแตละระบบ ทีมตรวจวัดคุณภาพอากาศในปลองระบายอากาศ ทีมตรวจวัดระดับแสงสวางใน พืน้ ทีท่ าํ งาน ทีมตรวจวัดคุณภาพนํา้ ดืม่ และวัดคุณภาพนํา้ ทิง้ เพือ่ ลดผลกระทบจาก มลพิษโดยรอบๆ โรงงาน นอกจากนี้ เดลตาฯ ยังกําหนดนโยบายความยั่งยืนดาน สิ่งแวดลอมภายในและภายนอกโรงงาน เชน มีพื้นที่สีเขียวและพืชพรรณไมตางๆ ที่กินนํ้านอย สงผลใหบรรยากาศโดยรอบๆ โรงงานมีความรมรื่น ชวยลดภาวะ ความรอนและเปนสถานที่พักผอนของพนักงานในเวลาพัก ในสวนของการจัดการ ดานขยะทางเดลตาฯ ใชหลักการ 3R คือการตั้งจุดคัดแยกถังขยะและสงเสริม ใหเลิกใชพลาสติกแบบใชแลวทิง้ ในการบรรจุอาหารและเครือ่ งดืม่ มาตัง้ แตป 2017 โดยเราตั้งเปาหมายการลดขยะใหได 15% ภายในป 2020 นี้ ขณะเดียวกันก็ได จัดระบบขนสงมวลชนใหกับพนักงานเพื่อเปนสวัสดิการที่อาศัยอยูหางไกลจาก พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมบางปู เพราะนอกจากจะชวยแกปญหาดานฝุนละอองจาก การจราจรแลว ยังชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการใชรถยนตสวนตัว” ทัง้ หมดทัง้ มวลนีเ้ พือ่ สงเสริมอุดมการณและแนวปฏิบตั ดิ า นความรับผิดชอบ ตอสังคมอยางทั่วถึง รวมทั้งลงทุนนวัตกรรมที่มีผลตอการลดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมของบริษัท เดลตาฯ ทําใหไดรับรางวัลตางๆ มากมาย อาทิ รางวัล มาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO 50001 เปนรายแรกในประเทศไทย รางวัลโรงงาน อุตสาหกรรมดีเดนดานการจัดการพลังงาน รางวัลโรงงานควบคุมอาคารเขียวดีเดน รางวัลผูบริหารดีเดนดานการจัดการพลังงาน รางวัลทีมงานดีเดนดานการจัดการ ดานพลังงาน รางวัลความรับผิดชอบตอสังคมและอุตสาหกรรมศักยภาพดีเดน และ ลาสุดในป 2020 นี้ ไดรบั รางวัลผูบ ริหารดีเดนดานพลังงาน รางวัลโรงงานควบคุม ดีเดนดานการใชพลังงานทดแทน ซึง่ แสดงถึงความมุง มัน่ ดําเนินธุรกิจอยางมีความ รับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมควบคูกับการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ ขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับเดลตาฯ สามารถเยีย่ มชมไดที่ www.deltathailand.com
GreenNetwork4.0 January-February 2020
GREEN
Factory กองบรรณาธิการ
โรงงานโดวะฯ แห่งญี่ปุ่น จับมือ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ส่งเสริมก�ำจัดสารฟลูออโรคาร์บอน ลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม
โครงการส่ ง เสริ ม การจั ด การการบ� ำ บั ด และก� ำ จั ด สารฟลู อ อโรคาร์ บ อน (Strategic Promotion of Recovery and Destruction of Fluorocarbons) ด้วย ระบบเตาเผาแบบฟลูอดิ ไดส์เบด เป็นเตาเผาทีใ่ ช้ทรายเป็นตัวกลางในการน�ำความร้อน และสามารถควบคุมอัตราการป้อนสาร FCs ได้ เพือ่ รักษาสิง่ แวดล้อม ลดภาวะโลกร้อน เกิดเป็นความร่วมมือโดยมีพธิ ลี งนามระหว่าง การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ร่วมมือกับ บริษทั โดวะ อีโค่ ซิสเต็มส์ จ�ำกัด และ บริษทั เวสท์ แมเนจเมนท์ สยาม จ�ำกัด ซึ่งเป็นองค์กรร่วมพันธมิตรระหว่างโรงงานญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมบางปู จังหวัดสมุทรปราการ โดยหลักการท�ำงานของเตาเผาฟลูอิดไดส์เบดในโรงงาน โดวะฯ มีกระบวนการเริม่ ตัง้ แต่ขนั้ ตอนการจัดเก็บสารท�ำความเย็น จากอุปกรณ์ตา่ งๆ เช่น เครือ่ งปรับอากาศ ตูเ้ ย็น ระบบท�ำความเย็น ในรถยนต์ โดยจะดูดสารท�ำความเย็นใส่ไว้ในถังเก็บ (Cylinder) ก่อนทีจ่ ะส่งมาก�ำจัดทีเ่ ตาเผา จากนัน้ ก๊าซร้อนทีเ่ กิดขึน้ จากห้องเผา จะถูกส่งไปยังหม้อไอน�ำ้ (Boiler) เพือ่ ผลิตไอน�ำ้ ก่อนจะส่งต่อเข้าสู่ ระบบบ�ำบัดมลพิษทางอากาศของเตาเผาด้วยการควบคุมอัตรา การป้อนสารทีก่ ำ� หนด และจะท�ำให้เตาเผาสามารถก�ำจัดสาร FCs ได้มากกว่า 99.99% โดยสามารถตรวจวัดได้จากอัตราการระบายมลพิษทางอากาศที่ปล่องระบายอากาศ ของโรงงาน จึงสามารถช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเตาเผา ฟลูอิดไดส์เบดนี้สามารถเผาของแข็งได้ประมาณ 150 ตันต่อวัน และเผาของเหลวได้ ประมาณ 123 ตันต่อวัน จึงมีศกั ยภาพในการป้อนสาร FCs ได้ไม่เกิน 3% หรือ 4.5 ตัน ต่อวัน ทั้งนี้ พิธีลงนามความร่วมมือโครงการส่งเสริมการจัดการการบ�ำบัดและ ก�ำจัดสารฟลูออโรคาร์บอน และท�ำการส่งมอบท�ำความเย็นระหว่างกรมศุลกากร และ โครงการเตาเผา ได้น�ำสื่อมวลชนเยี่ยมชมโรงงานในส่วนการจัดการสารท�ำความเย็น และเตาเผาส�ำหรับไฮบริดแบตเตอรี่แห่งแรกในไทย โดยมี กนอ.เดินหน้าโครงการ ส่งเสริมการจัดการสารฟลูออโรคาร์บอน พร้อมจับมือ 4 พันธมิตร ประกอบด้วย กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมศุลกากร บริษัท โดวะ อีโค่ ซิสเต็มส์ จ�ำกัด และ บริษทั เวสท์ แมเนจเมนท์ สยาม จ�ำกัด ในการการเก็บคืนและท�ำลายสารท�ำความเย็น รวมทัง้ ก�ำจัดสาร FCs ซึง่ เป็นสารทีก่ อ่ ให้เกิดก๊าซเรือนกระจก โดยคาดว่าปีนจี้ ะสามารถ ลดการปลดปล่อยสาร FCs ได้ 219 ตันต่อปี ช่วยลดผลกระทบต่อมลภาวะสิง่ แวดล้อม ซึ่งกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ประสานขอความร่วมมือจากกรมศุลกากรในการ สนับสนุนสาร FCs ทีไ่ ด้จากการจับกุมสินค้าลักลอบน�ำเข้าอย่างผิดกฎหมายและคดีเป็น ทีส่ นิ้ สุดเรียบร้อยแล้วประมาณ 130 ตัน ทีจ่ ะน�ำมาใช้ทดลองในโครงการฯ นอกจากนี้ ยังมีสารท�ำความเย็นที่มาจากโรงงานผู้ผลิตเครื่องท�ำความเย็น เครื่องปรับอากาศ รวมถึงระบบท�ำความเย็นในรถยนต์ที่หมดอายุการใช้งานแล้ว และถูกส่งไปท�ำลาย ต่อไป ซึง่ ไม่สง่ ผลกระทบต่อกระบวนการก�ำจัดขยะและไม่ทำ� ลายมลภาวะทางอากาศ 11
ทั้งนี้ ความร่วมมือดังกล่าวน�ำโดย จักรรัฐ เลิศโอภาส รองผู้ว่าการ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) พร้อมด้วย ชัยยุทธ ค�ำคุณ ทีป่ รึกษา ด้านพัฒนาระบบควบคุมทางศุลกากร กรมศุลกากร รวมถึงตัวแทนจากประเทศ ญีป่ นุ่ ประกอบด้วย โยชิโนริ ซูกา ผูแ้ ทนถาวรอันดับหนึง่ สถานเอกอัครราชทูต ญี่ปุ่นประจ�ำประเทศไทย ตลอดจน จุน ยามาโมโตะ ผู้แทนจากบริษัท โดวะ อีโค่ ซิสเต็มส์ จ�ำกัด และ อาคิโอะ โยชินาริ ประธานกรรมการ บริษัท เวสท์ แมเนจเม้นท์ สยาม จ�ำกัด น�ำคณะเยี่ยมชมโรงงานพร้อมน�ำเสนอข้อมูล กระบวนการจัดการ การบ�ำบัด และก�ำจัดสารฟลูออโรคาร์บอน
จักรรัฐ กล่าวว่า “การลงนามความร่วมมือกับ กนอ. ภายใต้การสนับสนุน ของกระทรวงสิง่ แวดล้อมญีป่ นุ่ เพือ่ ให้เกิดการใช้สารทดแทนในระยะยาวเป็นไป อย่างยัง่ ยืน รวมถึงต้องหาแนวทางและมาตรการทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ และก�ำจัดสาร เหล่านีใ้ ห้หมดไป โดยค�ำนึงถึงวิธกี ารจัดการทีเ่ หมาะสม กับประเทศไทย ทีม่ งุ่ เน้นการดูแลและรักษาชัน้ โอโซน รวมทัง้ การเก็บกลับคืนสาร FCs ทีใ่ ช้แล้วจากอุปกรณ์ ท�ำความเย็น และเครื่องปรับอากาศอย่างถูกต้อง เพื่อเป็นการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อ ท�ำให้เกิดการบริหารจัดการ การบ�ำบัด และก�ำจัดสาร ฟลูออโรคาร์บอนในไทยอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดในทุกด้าน ด้วยเทคโนโลยีทที่ นั สมัย เพือ่ น�ำมาซึง่ สภาพแวดล้อมทีส่ ะอาดขึน้ รวมถึงสภาวะ ความเป็นอยู่ของผู้คนในชุมชนที่ดีขึ้น” อย่างไรก็ดี การลงนามความร่วมมือทีเ่ กิดขึน้ ในพืน้ ทีโ่ รงงานอุตสาหกรรม บางปู ส่งผลดีต่อประเทศไทยที่จะต้องปรับเปลี่ยนไปใช้สารทดแทนที่เป็นมิตร ต่อสิง่ แวดล้อม ไม่ทำ� ลายชัน้ โอโซนและท�ำให้เกิดสภาวะโลกร้อนต�ำ่ โดยจะต้อง ด�ำเนินงานอย่างบูรณาการกันทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ จะท�ำให้เกิดการบริหาร จัดการ บ�ำบัด และก�ำจัดสารฟลูออโรคาร์บอนในประเทศไทยเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุดในทุกด้านด้วยเทคโนโลยีทที่ นั สมัย เพือ่ น�ำมาซึง่ สภาพแวดล้อม ที่สะอาดขึ้น และสภาวะความเป็นอยู่ของผู้คนในชุมชนที่ดีขึ้น
GreenNetwork4.0 January-February 2020
GREEN
Report กองบรรณาธิการ
ดาว ประเทศไทย ร่วมมือ กรมทรัพยากรทางทะเลฯ
สร้างจิตส�ำนึกรีไซเคิลจัดการขยะพลาสติก พื้นที่เขต EEC น�ำร่องจังหวัดระยอง
กระแสรักษาสิ่งแวดล้อมก�ำลังได้รับความสนใจจาก สังคมเป็นอย่างมาก และขณะนีท้ กุ ภาคอุตสาหกรรม อีกทัง้ หลาย องค์กร รวมถึงภาคประชาชน ต่างมุ่งมั่นที่จะมีส่วนร่วมในการ แก้วิกฤตขยะของประเทศ โดยเฉพาะขยะพลาสติก สาเหตุน�ำ มลพิษสู่สภาพแวดล้อมอย่างเป็นวงกว้าง การด�ำเนินงานผ่าน โครงการต่างๆ ทัง้ การช่วยลดการหลุดรอดของพลาสติกออกสู่ สิ่งแวดล้อม การน�ำพลาสติกใช้แล้วที่ยากต่อการรีไซเคิลมา เป็นส่วนผสมในการสร้างถนนยางมะตอย ช่วยสร้างเศรษฐกิจ หมุนเวียนให้เกิดขึ้น กลุม่ บริษทั ดาว ประเทศไทย ถือเป็นหนึง่ ในภาคีเครือข่าย ที่พร้อมร่วมขับเคลื่อนกับภาครัฐและภาคประชาสังคมในการ สนับสนุนการพัฒนาด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จับมือ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้เดินหน้า สร้างความตระหนักและเปลี่ยนมุมมองให้ชุมชนเห็นขยะเป็น ทรัพยากรทีม่ คี ณ ุ ค่า ส่งเสริมการน�ำกลับมาใช้ประโยชน์ตามหลัก เศรษฐกิจหมุนเวียน ด้วยการถ่ายทอด องค์ความรู้ด้านการคัดแยกขยะ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม สู ่ เ ชิ ง พาณิ ช ย์ โดยได้เริ่มน�ำร่องผลักดันจังหวัด
12
ระยอง เป็นพืน้ ทีต่ น้ แบบเมืองสะอาดสูค่ วามยัง่ ยืนผ่าน “โครงการพืน้ ทีส่ าธิตการบริหารจัดการ ขยะทะเลครบวงจรอย่างมีส่วนร่วม” ซึ่งนับเป็นโมเดลที่ชัดเจนที่สุดเพื่อให้เป็นพื้นที่เป้าหมาย ในการน�ำร่องจัดการขยะพลาสติกอย่างครบวงจร ด้วยความพร้อมด้านโครงสร้างพืน้ ฐานในการ รีไซเคิลขยะพลาสติกและเป็น 1 ใน 3 จังหวัดของพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ทีจ่ ะเกิดการขยายตัวในอนาคต นอกจากนีย้ งั สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการแก้ปญ ั หา ขยะทะเลที่จะน�ำไปสู่การจัดท�ำแผนแม่บทการจัดการขยะพลาสติกของประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561-2573 ส�ำหรับโครงการดังกล่าวนี้ เพือ่ ถ่ายทอดองค์ความรูด้ า้ นการบริหารจัดการขยะทะเลตาม แนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) หนึง่ ในทางออกของการแก้วกิ ฤตขยะแบบยัง่ ยืน พร้อมทั้งรณรงค์และกระตุ้นจิตส�ำนึกให้ทุกคนตระหนักถึงความส�ำคัญของการแยกขยะและ น�ำกลับมาใช้ประโยชน์เพือ่ อนุรกั ษ์ทะเล โดยมุง่ เน้นการให้ความรูด้ า้ นการคัดแยกขยะให้ถกู ต้อง ตามประเภทตั้งแต่ต้นทาง การแนะน�ำคุณลักษณะและมูลค่าของพลาสติกแต่ละชนิด รวมทั้ง จัดแสดงสินค้าและผลิตภัณฑ์ทเี่ กิดจากขยะพลาสติกเพือ่ การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สงู สุด อีกด้วย ขณะเดียวกันได้จดั กิจกรรมการเก็บขยะชายหาดและเก็บขยะในป่าชายเลนทีป่ ากน�ำ้ ประแสร์ จังหวัดระยอง การปลูกต้นโกงกาง การถ่ายทอดเทคโนโลยีทชี่ ว่ ยลดขยะในกระบวนการผลิตของ SME ในโครงการดาวเพือ่ อุตสาหกรรมยัง่ ยืน และการเผยแพร่แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนให้แก่ นักเรียนในจังหวัดระยองเกี่ยวกับการน�ำขยะพลาสติกมาท�ำถนน เป็นต้น นารินทร์ วงศ์ธนาศิรกิ ลุ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายสิง่ แวดล้อม ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ รัฐกิจสัมพันธ์ กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย กล่าวว่า “องค์การสหประชาชาติได้คาดว่าภายใน อีก 30 ปี ประชากรโลกจะเพิม่ ขึน้ กว่า 2 พันล้านคน ท�ำให้เราต้องใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างจ�ำกัด ให้คมุ้ ค่าทีส่ ดุ หนึง่ ในวิธที จี่ ะช่วยได้งา่ ยๆ ก็คอื การใช้ซำ�้ ไม่วา่ จะเป็นถุงพลาสติกหรือสิง่ ของใดๆ ก็ตาม นอกจากนี้ การแยกขยะก็สามารถช่วยให้เราน�ำสิ่งของวนกลับมาสร้างประโยชน์ได้ใหม่ อยากจะให้ชว่ ยกันแยกขยะตัง้ แต่ตน้ ทางคือ แยกขยะสด ซึง่ เป็นขยะเปียกออกจากขยะพลาสติก หรือขยะรีไซเคิลอื่นๆ แล้วเราจะพบว่าจริงๆ แล้วขยะที่เราทิ้งไปมันไม่ใช่ขยะ แต่เป็นทรัพยากร ที่เอามารีไซเคิลสร้างประโยชน์ต่อได้อีกมากมาย” ทัง้ นี้ นับเป็นการดีทกี่ ารพัฒนาเทคโนโลยีรไี ซเคิลพลาสติกใช้แล้ว และการคิดค้นบรรจุภณ ั ฑ์ พลาสติกทีส่ ามารถน�ำไปรีไซเคิลได้ 100% รวมทัง้ ช่วยสร้างผลกระทบเชิงบวกผ่านการบูรณาการ ความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในโครงการต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม เพื่อให้จัดการพลาสติกและขยะอย่างยั่งยืนเพื่อร่วมกันบรรลุเป้าหมายในการลดขยะพลาสติก ในทะเลไทยให้ได้อย่างน้อยร้อยละ 50 ภายในปี พ.ศ. 2570
GreenNetwork4.0 January-February 2020
GREEN
Report กองบรรณาธิการ
Envi Mission ภารกิจรักษ์สิ่งแวดล้อม
ส่งต่อองค์ความรู้วัฒนธรรมรักษ์น�้ำ
“โครงการ Envi Mission (ภารกิจรักษ์สงิ่ แวดล้อม) ปีที่ 1 ตอนวัฒนธรรมรักษ์น�้ำ” เป็นโครงการที่ถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ เยาวชนไทย ผ่านการพัฒนาบอร์ดเกมส์ “Water Journey” โดยใช้ “นาก” เป็นหมาก เดินเกมส์ สร้างแรงบันดาลใจ เพิม่ ทักษะการเรียนรูด้ า้ นการอนุรกั ษ์นำ�้ และดูแลสิง่ แวดล้อม พร้อมส่งมอบ 1,000 ชุด สูส่ ถาบันการศึกษา ซึง่ คาดหวังผลส�ำเร็จจะสามารถดึงเยาวชน คนรุ่นใหม่ขยายเครือข่ายใส่ใจการใช้ทรัพยากรน�้ำอย่างรู้คุณค่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิง่ แวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ สถานี วิ ท ยุ แ ห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย FM 101.5 MHz ร่ ว มมื อ กั บ บริษัท ส.นภา (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท โกลบอล ยูทิลิตี้ เซอร์วิส จ�ำกัด และ บริษทั เจม เอ็นไวรันเมนทัล แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด ในเครือ SN Group ผูน้ ำ� ด้านธุรกิจน�ำ้ และสิง่ แวดล้อมทีค่ รบวงจร (The Leader in Water and Environmental Solutions) ซึ่งมุ่งเน้นการท�ำงานด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับ การสนับสนุนด้านการศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง ผ่านการจัดท�ำพ็อกเกตบุค๊ และหนังสือคูม่ อื วิชาการที่เชื่อมโยงกับ Board Games : Water Journey นอกจากนี้ยังได้รับความ ร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนต่างๆ อีกด้วย เพื่อวัตถุประสงค์ให้เกิด ทักษะกับเยาวชนไทยได้เข้าใจในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรน�้ำ ที่นับเป็น ส่วนหนึ่งในการส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่ตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรน�้ำที่มีความคุ้มค่า และน�ำไปสูค่ วามร่วมมือในการบริหารจัดการน�ำ้ ระดับประเทศอย่างยัง่ ยืน ตามแนวทาง ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ทัง้ นี้ บริษทั ส.นภาฯ ยังได้วางแผนทีจ่ ะคัดเลือกโครงงานทีม่ คี วามโดดเด่นและ น่าสนใจของกลุม่ นักเรียนทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมจาก 10 โครงงาน โดยไม่จำ� เป็นทีต่ อ้ งผ่าน การคัดเลือกเข้าสู่การชิงชนะเลิศในครั้งนี้ โดยมีเป้าหมายที่จะน�ำโครงงานเหล่านี้ ไปต่อยอดและสามารถน�ำไปเป็นแนวทางการปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในชุมชนได้จริง ซึง่ ถือเป็นหนึง่ แผนงานด้านการดูแลสังคม ชุมชน ทีเ่ น้นการมีสว่ นร่วมและน�ำเทคโนโลยี และนวัตกรรมร่วมจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ตอบโจทย์ชุมชนอย่างแท้จริง 13
เกตุวลี นภาศัพท์ ประธานกรรมการ บริษทั ส.นภา (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวถึงการน�ำเสนอผลงานรอบชิงชนะเลิศและพิธีมอบรางวัลโครงการ Envi Mission หรือภารกิจรักษ์สิ่งแวดล้อม ปีที่ 1 ตอนวัฒนธรรมรักษ์น�้ำ ว่า “ตลอดการขับเคลื่อนธุรกิจด้านการบริหารจัดการน�้ำแบบครบวงจร ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาอย่างต่อเนือ่ ง ตลอดระยะเวลา 60 ปี บริษทั ฯ ได้ให้ความส�ำคัญกับการใช้ทรัพยากรน�ำ้ อย่างรูค้ ณ ุ ค่าควบคู่ ไปกับการสนับสนุนด้านการศึกษา ผ่านโครงการต่างๆ โดยเฉพาะ โครงการ Envi Mission ไปกับการวิจัยและพัฒนาโซลูชั่นใหม่ๆ อย่างต่อเนือ่ ง รวมถึงการสร้างองค์ความรูด้ า้ นการอนุรกั ษ์ทรัพยากรน�ำ้ สู่สาธารณชน โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชน เพื่อให้ตระหนักรู้และ เห็นความส�ำคัญของการใช้ทรัพยากรน�้ำที่เป็นทรัพยากรพื้นฐาน ในการพัฒนาประเทศ และมีความส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวติ ของมนุษย์ จะเห็นได้จากความมุ่งมั่นตั้งใจพัฒนาบอร์ดเกมส์ Water Journey เพือ่ การศึกษาทีบ่ รู ณาการแนวทางการจัดการทรัพยากรน�ำ้ อย่างครบวงจร ตัง้ แต่วฏั จักรน�ำ้ การอนุรกั ษ์นำ�้ การพัฒนาคุณภาพน�ำ้ การบ�ำบัดน�ำ้ เสีย รวมทัง้ การน�ำน�้ำเสียกลับมาใช้ใหม่ โดยการสอดแทรกสาระและความสนุกสนาน ซึ่ง จะท�ำให้เยาวชนเกิดการจดจ�ำและน�ำไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งในสถาบันครอบครัว และในชีวิตประจ�ำวัน พร้อมที่จะส่งมอบให้กับสถาบันการศึกษาเพื่อน�ำไปเป็น สือ่ การเรียนการสอนทีเ่ กีย่ วข้องกับน�ำ้ และสิง่ แวดล้อม ตัง้ แต่ระดับประถมศึกษา ตอนต้นและตอนปลาย จนถึงระดับมหาวิทยาลัย” ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล รองคณบดีด้านยุทธศาสตร์นวัตกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิง่ แวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะหัวหน้าโครงการ Boot Camp วัฒนธรรมรักษ์น�้ำ กล่าวรายงานสรุป ภาพรวมของกิจกรรมตลอดทัง้ ปี ซึง่ การน�ำบอร์ดเกมส์ Water Journey เข้าไป จัดกิจกรรมเวิร์คช็อปเพื่อแนะน�ำวิธีการเล่นและทดลองเล่นจริง โดยเริ่มจาก โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดังนั้น โครงการนี้สะท้อนให้เห็นถึงการ ตื่นตัวของเยาวชนไทยที่จะน�ำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจ�ำวัน และร่วมกันอนุรักษ์น�้ำ อีกทั้ง ยังได้รับความร่วมมือจากคณะครูอาจารย์ ที่ได้รับมอบบอร์ดเกมส์ เพื่อน�ำไปใช้เป็นสื่อ การเรียนการสอนในกิจกรรมต่างๆ โดยส่งมอบ Water Journey 1,000 ชุด ให้กับโรงเรียน ทีร่ ว่ มโครงการ แล้วได้ขยายผลไปสูโ่ รงเรียน มัธยมอื่นๆ ต่อไป
GreenNetwork4.0 January-February ary-February 2020
ENERGY
Saving กองบรรณาธิการ
จังหวัดอุบลราชธานี
สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
จังหวัดขอนแก่น จากกรอบนโยบายแผนปฏิบตั กิ ารเร่งรัด หรือ Quick Win เมือ่ ช่วงปลายปี พ.ศ. 2562 ทีผ่ า่ นมา หลังจากรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงานประกาศ 7 นโยบาย เร่งด่วนทีจ่ ะเห็นผลเป็นรูปธรรมภายใน 3 เดือนส�ำหรับการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ชาติ ด้านพลังงาน ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน และส่งเสริมการใช้นำ�้ มันดีเซล B10 ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จึงท�ำให้การเดินหน้าของกระทรวงพลังงานในฐานะ ภาครัฐเร่งผลักดันนโยบายโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานรากให้เป็นรูปธรรม สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน พร้อมด้วย คณะผูบ้ ริหารกระทรวงลงพืน้ ทีจ่ งั หวัดขอนแก่นและจังหวัดอุบลราชธานี สร้างความรู้ ความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่เกี่ยวกับการจัดตั้งโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจ ฐานราก เพื่อให้โดยเฉพาะกลุ่มวิสาหกิจชุมชนได้รับทราบหลักเกณฑ์ รูปแบบ การซือ้ ขายไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าชุมชน ซึง่ วิสาหกิจชุมชนสามารถยืน่ ขอรับการส่งเสริม จัดตัง้ ได้หากมีองค์ประกอบเป็นไปตามเงือ่ นไขของโครงการ โดยจะมีคณะกรรมการ บริ ห ารการรั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า จากโครงการโรงไฟฟ้ า ชุ ม ชนเพื่ อ เศรษฐกิ จ ฐานราก ซึ่งโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนฯ จะเปิดรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT) ส�ำหรับผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP) ปริมาณไม่เกิน 10 เมกะวัตต์ (MW) เป็นโรงไฟฟ้าประเภท Non Firm ที่สามารถใช้ระบบกักเก็บ พลังงานร่วมด้วยได้ (เปิดรับซือ้ ในปี พ.ศ. 2563) ปริมาณ 700 เมกะวัตต์ และก�ำหนด จ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์สำ� หรับกรณีโรงไฟฟ้าแบบ Quick Win คือโรงไฟฟ้าทีก่ อ่ สร้าง แล้วเสร็จหรือใกล้แล้วเสร็จ ไฟฟ้าจะเข้าระบบภายในปี พ.ศ. 2563 ส่วนโครงการ ทั่วไปเข้าระบบปี พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป สนธิรตั น์ กล่าวว่า “เป้าหมาย หลักของโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน คือการแก้ปัญหาเศรษฐกิจฐานราก เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของ ประชาชนด้ ว ยนโยบายพลั ง งาน ซึ่ ง การขั บ เคลื่ อ นโรงไฟฟ้ า ชุ ม ชน จะท� ำ ให้ เ กิ ด เม็ ด เงิ น ลงทุ น ในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจกว่า 7 หมื่นล้าน บาท ก่อเกิดการสร้างงานสร้างอาชีพ สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ และรายได้ให้ชุมชนได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ชุมชนรอบโรงไฟฟ้ายังจะได้รับส่วนลดค่าไฟฟ้าอีกด้วย”
14
ลงพื้นที่ขอนแก่น-อุบลราชธานี ขับเคลื่อนโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนภาคอีสาน ส�ำหรับการลงพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีนั้น ได้เข้าเยี่ยมชมโครงการด้าน พลังงานทดแทนของ บริษัท อุบลไบโอเอทานอล จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งมีการผลิต เอทานอล ผลิตก๊าซชีวภาพ และโรงไฟฟ้าขนาด 5.6 MW เพือ่ ดูการด�ำเนินงานของ กลุ่มบริษัทอุบลไบโอเอทานอล เนื่องจากเป็นหนึ่งในโรงไฟฟ้าที่แสดงความสนใจ เข้าร่วมโครงการตามกรอบเวลาของนโยบายโรงไฟฟ้าชุมชนเร่งด่วน Quick Win ซึง่ โรงงานแห่งนีม้ รี ะบบผลิตไบโอก๊าซทีผ่ ลิตจากการย่อยกากมันส�ำปะหลังทีไ่ ด้รบั จากโรงแป้งมันส�ำปะหลัง สามารถปรับปรุงระบบรองรับหญ้าเนเปียร์ได้ภายใน 6 เดือน โดยมีกากมันส�ำปะหลังซึง่ เป็นผลพลอยได้จากการผลิตเอทานอลน�ำมาใช้ เป็นวัตถุดบิ เสริมประสิทธิภาพในการผลิตก๊าซชีวภาพ และมีโรงไฟฟ้าขนาด 5.6 MW ที่มีสายส่งขนาด 115 kV และ 22 kV พร้อมรับการจ�ำหน่ายไฟฟ้า ส่วนรูปแบบการร่วมทุนประกอบด้วย ภาคเอกชนเข้าร่วมกับองค์กรภาครัฐ โดยจะถือในสัดส่วน 60-90% และอีกกลุม่ เป็นวิสาหกิจชุมชน (สมาชิกไม่นอ้ ยกว่า 200 ครัวเรือน) ถือในสัดส่วน 10-40% ส่วนแบ่งรายได้จะให้กองทุนหมู่บ้านที่อยู่ ในพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาหรือฟืน้ ฟูทอ้ งถิน่ ของโรงไฟฟ้านัน้ ๆ โดยหากเป็นโรงไฟฟ้าเชือ้ เพลิง ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ (น�้ำเสีย/ของเสีย) และก๊าซชีวภาพ (พืชพลังงาน) ส่วนแบ่ง ไม่ตำ�่ กว่า 25 สต./หน่วย และกรณีเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ไฮบริด ส่วนแบ่ง ไม่ต�่ำกว่า 50 สต./หน่วย ส่วนราคารับซื้อก็อยู่ในอัตราเฉลี่ยประมาณ 3-5 บาท/ หน่วยตามแต่ละประเภทเชื้อเพลิง อย่างไรก็ตาม กระทรวงพลังงานตั้งเป้าหมายสนับสนุนให้เกิดโรงไฟฟ้า ชุมชนเป็นรูปธรรมโดยเร็ว โดยคาดว่าในปี 2563 นี้จะสามารถรับซื้อไฟฟ้าที่ผลิต จากโรงไฟฟ้าชุมชนทัว่ ประเทศได้ราว 700 เมกะวัตต์ ซึง่ จะมีสว่ นให้ชมุ ชนมีรายได้ จากการเป็นเจ้าของโรงไฟฟ้าฯ ลดภาระค่าใช้จ่าย มีรายได้จากการจ�ำหน่ายวัสดุ ทางการเกษตรเป็นเชือ้ เพลิง เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้างความเข้มแข็ง ในชุมชน ลดการย้ายถิน่ ฐานของแรงงาน เกิดการจับจ่ายใช้สอยในพืน้ ที่ ก่อให้เกิด การหมุนเวียนของเศรษฐกิจในชุมชน สามารถน�ำไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้ไปสร้างมูลค่าเพิม่ ในการประกอบอาชีพของชุมชน
GreenNetwork4.0 January-February 2020
เกณฑ์โรงไฟฟ้าชุมชน ตั้งเป้า 700 MW อัตรารับซื้อ 3-5 บาทต่อหน่วย
ภายหลังการเห็นชอบหลักการรับซื้อไฟฟ้าจาก พลังงานหมุนเวียนในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT) และราคารับซื้อไฟฟ้าส�ำหรับผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP) โครงการโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก ตามมติคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงานแห่งชาติ เมื่อต้นเดือนธันวาคม 2562 ที่ผ่านมา โดยมอบหมายให้ คณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน ไปด�ำเนินการออก ระเบียบหรือประกาศการรับซื้อไฟฟ้าตามขั้นตอนต่อไป พร้อมแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารการรับซื้อไฟฟ้าจาก โครงการโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานรากขึ้นเพื่อ บริหารจัดการ ตลอดจนก�ำกับดูแลให้โครงการโรงไฟฟ้า ชุมชนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ดั ง นั้ น คณะกรรมการก� ำ กั บ กิ จ การพลั ง งาน จึงเดินหน้าขับเคลือ่ นโรงไฟฟ้าชุมชนเพือ่ เศรษฐกิจฐานราก โดยเป็นสัญญาประเภท Non-Firm ที่สามารถใช้ระบบ กักเก็บพลังงานร่วมด้วยได้ ห้ามใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิลช่วยใน การผลิตไฟฟ้า ยกเว้นช่วงเริ่มต้นเดินเครื่อง โดยในปีนี้ จะมีการเปิดรับซือ้ ไฟฟ้า 700 เมกะวัตต์ และก�ำหนดวันจ่าย ไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ โดยแบ่งออกเป็น 2 โครงการ คือ โครงการ Quick Win เป็นโครงการทีใ่ ห้จา่ ยไฟฟ้าเข้า ระบบภายในปี 2563 ซึง่ เปิดโอกาสให้โรงไฟฟ้าทีก่ อ่ สร้าง แล้วเสร็จหรือใกล้จะแล้วเสร็จ เข้ามาร่วมโครงการ และ โครงการทั่วไป เปิดโอกาสให้ผู้มีความประสงค์เข้าร่วม โครงการเป็นการทัว่ ไป และอนุญาตให้จา่ ยไฟฟ้าเข้าระบบได้ ในปี 2564 เป็นต้นไป ซึ่งปริมาณพลังไฟฟ้าที่เสนอขาย ไม่เกิน 10 เมกะวัตต์ ใช้วธิ กี ารคัดเลือกโดยกรรมการบริหาร การรับซือ้ ไฟฟ้าฯ จะพิจารณาตามหลักเกณฑ์ และคัดเลือก เรียงตามล�ำดับจากโครงการที่เสนอให้ผลประโยชน์คืนสู่ ชุมชนสูงสุดไปสูผ่ ลประโยชน์ตำ�่ สุด ทัง้ นี้ จะพิจารณารับซือ้ จากโครงการ Quick Win ก่อนเป็นล�ำดับแรก แล้วจึงจะ พิจารณารับซื้อจากโครงการทั่วไป 15
SPECIAL
Scoop กองบรรณาธิการ
ส�ำหรับ รูปแบบการร่วมทุน ประกอบด้วย 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้เสนอโครงการ (ภาคเอกชนอาจ ร่วมกับองค์กรของรัฐ) สัดส่วนประมาณร้อยละ 60-90 และกลุ่มวิสาหกิจชุมชน (มีสมาชิกไม่น้อยกว่า 200 ครัวเรือน) สัดส่วนประมาณ ร้อยละ 10-40 (เป็นหุ้นบุริมสิทธิไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 และเปิดโอกาส ให้ซอื้ หุน้ เพิม่ ได้อกี รวมแล้วไม่เกินร้อยละ 40) มีสว่ นแบ่งจากรายได้ทเี่ กิดจากการจ�ำหน่ายไฟฟ้าทีย่ งั ไม่ได้ หักค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้นให้กับกองทุนหมู่บ้านที่อยู่ใน “พื้นที่พัฒนาหรือฟื้นฟูท้องถิ่น” ของโรงไฟฟ้านั้นๆ โดยมีอตั ราส่วนแบ่งรายได้สำ� หรับโรงไฟฟ้าประเภทเชือ้ เพลิงชีวมวล ก๊าซชีวภาพ (น�ำ้ เสีย/ของเสีย) และ ก๊าซชีวภาพ (พืชพลังงาน) ไม่ตำ�่ กว่า 25 สตางค์ตอ่ หน่วย และแบ่งรายได้สำ� หรับโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Hybrid ไม่ต�่ำกว่า 50 สตางค์ต่อหน่วย ส่วน พืน้ ทีพ่ ฒ ั นาหรือฟืน้ ฟูทอ้ งถิน่ ครอบคลุมหมูบ่ า้ นโดยรอบโรงไฟฟ้าทีอ่ ยูใ่ นรัศมีจากศูนย์กลาง โรงไฟฟ้า เช่น 5 กิโลเมตร ส�ำหรับโรงไฟฟ้าขนาดเกิน 5,000 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อปี 3 กิโลเมตร ส�ำหรับโรงไฟฟ้าขนาดเกิน 100 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อปี แต่ไม่เกิน 5,000 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อปี และ 1 กิโลเมตร ส�ำหรับโรงไฟฟ้าขนาดไม่เกิน 100 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อปี ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการ ทับซ้อนกันของเขตพืน้ ที่ ให้คำ� นึงถึงประโยชน์ตอ่ การพัฒนา “พืน้ ทีพ่ ฒ ั นาหรือฟืน้ ฟูทอ้ งถิน่ ” เป็นส�ำคัญ และ ชุมชนยังคงได้รับผลประโยชน์ตามระเบียบกองทุนพัฒนาไฟฟ้าตามปกติ ขณะที่ การก�ำหนดราคารับซือ้ ไฟฟ้าตามสมมุตฐิ านทางการเงิน ดังนี้ พลังงานแสงอาทิตย์ 2.90 บาท ชีวมวลที่ก�ำลังผลิตติดตั้งน้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 MW 4.8482 บาท ส่วนที่เป็นชีวมวลก�ำลังผลิตติดตั้ง มากกว่า 3 MW 4.2636 บาท นอกจากนี้ ถ้าเป็นก๊าซชีวภาพ (น�้ำเสีย/ของเสีย) 3.76 บาท ก๊าซชีวภาพ (พืชพลังงาน 100%) 5.3725 บาท ก๊าซชีวภาพพืชพลังงานผสมน�ำ้ เสีย/ของเสีย 4.7269 บาท รวมทัง้ ก�ำหนด Fit พรีเมี่ยมให้กับพื้นที่พิเศษที่อยู่ในจังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส และ 4 อ�ำเภอของจังหวัดสงขลา เพิ่มอีก 0.50 บาทต่อหน่วยในทุกชนิดเชื้อเพลิง เป็นต้น และหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และล�ำดับความส�ำคัญของการใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อส่งเสริมการ อนุรักษ์พลังงานนั้น ในช่วงปี 2563-2567 ในวงเงินรวม 50,000 ล้านบาท หรือปีละ 10,000 ล้านบาท เพือ่ คณะกรรมการกองทุนเพือ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงานจะได้บริหารเงินกองทุนฯ ในการน�ำไปใช้สง่ เสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ อุดหนุนให้เกิดการเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ก่อให้เกิดการใช้พลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือกเพิม่ มากขึน้ ตลอดจนการสร้างนวัตกรรมใหม่ การสร้างบุคลากร และการสร้างความ ตระหนักเพือ่ การอนุรกั ษ์พลังงาน โดยเป็นไปตามวัตถุประสงค์การใช้เงินกองทุนฯ ตามความในมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยมีเป้าหมาย ลดความเข้มการใช้พลังงานการใช้พลังงานในภาคเศรษฐกิจหลัก ได้แก่ อุตสาหกรรม อาคารธุรกิจขนาด ใหญ่ อาคารธุรกิจขนาดเล็กและบ้านอยูอ่ าศัย และภาคการขนส่งลดลงร้อยละ 30 และเพิม่ สัดส่วนการใช้ พลังงานทดแทนเป็นร้อยละ 30 ในปี 2579 และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทีร่ อ้ ยละ 20-25 ภายในปี 2573 ซึง่ การน�ำเงินกองทุนฯ เข้าไปช่วยสนับสนุนภาคส่วนต่างๆ ให้เกิดการตัดสินใจลงทุนเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การใช้พลังงานหรือการผลิตและใช้พลังงานทดแทน จะมีสว่ นช่วยในการกระตุน้ เศรษฐกิจอีกทางหนึง่ ด้วย นอกจากนี้ แนวทางแก้ไขปัญหาในการด�ำเนินการ อาทิ การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของผูผ้ ลิต ไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) ชีวมวล โดยมีการค�ำนวณระยะเวลาการปรับลด-เพิ่มอายุสัญญาซื้อขายไฟฟ้าของ SPP ชีวมวล ให้สอดคล้องกับวันที่เริ่มใช้อัตรา FiT ตามข้อเสนอของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) รวมถึงการการปรับปรุงนโยบายการก�ำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าฉบับใหม่ พ.ศ. 2564-2568 ให้ กกพ. ใช้หลักเกณฑ์ตามนโยบายการก�ำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2554-2558 ไปพลางก่อน และการส่งเสริมการแข่งขันในกิจการก๊าซธรรมชาติระยะที่ 1 โดยได้รบั ทราบการด�ำเนินการ เตรียมความพร้อม Shipper รายใหม่ ที่มีความต่างไปจากที่ กพช. ได้มีมติไว้เมื่อ 31 ก.ค. 60 ในส่วน ที่จะให้ กฟผ. เป็น Shipper รายใหม่ น�ำเข้า LNG ไม่เกิน 1.5 ล้านตันต่อปี ซึ่งจากสถานการณ์ LNG ได้ เปลี่ยนแปลงไป โดยการจัดหา LNG ในประเทศไม่ได้ลดลง ปริมาณความต้องการใช้ LNG ก็ไม่ได้เพิ่ม สูงขึน้ ตามทีไ่ ด้ประมาณการไว้ มีความเสีย่ งทีก่ ารน�ำเข้า LNG ของ กฟผ. 1.5 ล้านตันต่อปี อาจเกิดภาระ Take or Pay และอาจส่งผลกระทบต่อค่าไฟฟ้าสูงขึ้นประมาณ 2 สตางค์/หน่วย ขณะที่ราคา LNG มี แนวโน้มจะลดลง LNG Spot ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 4 USD/MMBTU อย่างไรก็ดี คณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงานได้ศึกษาอัตราค่าไฟฟ้าและการจัดการระบบ จ�ำหน่ายไฟฟ้าที่เหมาะสมส�ำหรับสถานีอัดประจุไฟฟ้าของยานยนต์ไฟฟ้า และยานยนต์ไฟฟ้าระบบขนส่ง สาธารณะ โดยค�ำนึงถึงต้นทุนในการจัดหาไฟฟ้าทีเ่ หมาะสมและเป็นธรรม เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการใช้ไฟฟ้า อย่างคุ้มค่ามีประสิทธิภาพ และได้เห็นชอบการแก้ไขสัญญาเพิ่มเติมส�ำหรับโครงการซื้อขายไฟฟ้าจาก สปป.ลาว ไปยังมาเลเซียผ่านระบบส่งไฟฟ้าของไทยระยะที่ 2 พร้อมทัง้ มอบหมายให้ กฟผ. สามารถลงนาม ในสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าฯ ได้ทนั ที เพือ่ ให้สญ ั ญา EPWA มีความต่อเนือ่ ง และมอบหมายให้กระทรวงการคลัง พิจารณาในประเด็นการขอยกเว้นภาษีศุลกากรและภาษีมูลค่าเพิ่มส�ำหรับโครงการดังกล่าว GreenNetwork4.0 January-February 2020
GREEN
Scoop กองบรรณาธิการ
รศ. ดร.ชนาธิป ผาริโน
รศ. ดร.อ�ำนาจ ชิดไธสง
Prof. Dr.Yang Song
สกสว. จับมือ จีน ผนึกก�ำลังวิจัยตั้งรับ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แก้ภาวะโลกร้อนและสิ่งแวดล้อมโลก
ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) จับมือผนึกก�ำลัง ร่วมกับ ศูนย์ประสานงานและพัฒนางานวิจยั ด้านโลกร้อนและการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และ มูลนิธิวิจัยวิทยาศาสตร์ธรรมชาติแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน หรือ NSFC จัดสัมมนาการประชุม วิชาการเรื่อง “การตั้งรับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก” หรือ The 7th China – Thailand Joint Seminar on Climate Change การประชุมสัมมนาในครัง้ นี้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ การแลกเปลีย่ นข้อมูลและผลงานการวิจยั ด้าน การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศโลก เพือ่ น�ำไปเป็นประโยชน์ตอ่ สังคมในการแก้ปญ ั หาภาวะโลกร้อน และสิ่งแวดล้อมโลก รวมถึงจะช่วยยกระดับนักวิจัยด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก ให้เปิดมุมมองแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างกัน ซึ่งท�ำให้นักวิจัยของไทยมีความก้าวหน้าทัดเทียม ระดับนานาชาติ รศ. ดร.ชนาธิป ผาริโน ผู้อ�ำนวยการภารกิจอนาคตเชิงยุทธศาสตร์ และการริเริ่มงานวิจัย และนวัตกรรมทีส่ ำ� คัญ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) กล่าวถึงการคาดหวังความส�ำเร็จของการจัดประชุมในครั้งนี้ว่า “นับเป็นการรวมตัวกันระหว่าง นักวิจยั ไทยกับจีนเพือ่ ร่วมมือกันขับเคลือ่ นผลักดันโครงการวิจยั ด้านการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ทีจ่ ะส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมความเป็นอยูข่ องผูค้ นในอนาคต ทีจ่ ะเป็นประโยชน์เพือ่ พัฒนาและ สร้างนักวิจัยไทยรุ่นใหม่ๆ อีกทั้งจะเป็นประโยชนต่อหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้น�ำข้อมูลเหล่านี้ ไปประเมินวิเคราะห์ถึงสาเหตุและปัจจัยที่ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การขยายผล ศึกษาวิจยั สิง่ ทีจ่ ะท�ำให้เกิดภัยพิบตั ธิ รรมชาติ เช่น ภาวะฝุน่ ทีส่ ร้างมลพิษทางอากาศ ภาวะเรือนกระจก ภาวะโลกร้อน ปัญหาสิง่ แวดล้อม การเกิดภัยแล้ง และสาเหตุทที่ ำ� ให้เกิดน�ำ้ ท่วมในประเทศไทย เป็นต้น ซึง่ ผลการวิจยั ทีน่ ำ� เสนอแลกเปลีย่ นกันนี้ จะท�ำให้สามารถเตรียมพร้อมรับมือการเปลีย่ นแปลงสภาพ อากาศทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตได้ โดย สกสว.ได้ขยายโครงการการท�ำวิจยั เรือ่ งฝุน่ และเรือ่ งกระบวนการ การใช้พลังงานที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย พร้อมกับผลักดันไปสู่การใช้ เทคโนโลยีและพัฒนานวัตกรรมให้เกิดความยั่งยืนอีกด้วย” ขณะที่ รศ. ดร.อ�ำนาจ ชิดไธสง นักวิจยั จากบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ในฐานะผู้ประสานงานชุดโครงการศูนย์ประสานงาน และพัฒนางานวิจยั ด้านโลกร้อนและการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ สกสว. กล่าวถึงทีม่ าทีไ่ ปของการจัด ประชุมครัง้ นีว้ า่ “เป็นเวทีในการพัฒนาองค์ความรูแ้ ละพัฒนานักวิจยั ของทัง้ ไทยและจีนติดต่อกันเป็น
16
ครั้งที่ 7 ภายใต้บันทึกความร่วมมือระหว่าง สกสว. และ NSFC ทีด่ ำ� เนินการร่วมกันมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 เป็นพันธกิจ ส�ำคัญตลอดระยะเวลาความร่วมมือกว่า 11 ปีที่ผ่านมา มีเป้าหมายสูงสุดในการยกระดับนักวิจัยและงานวิจัยด้าน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของไทยสู่ระดับสากล สร้างความร่วมมือด้านการวิจยั ทีจ่ ะช่วยเพิม่ ความสามารถ ในการแข่งขันด้านงานวิจัยของไทยมากขึ้น และเป็นพื้นที่ ในการแลกเปลีย่ นข้อมูลการศึกษาวิจยั เพือ่ น�ำไปสูแ่ นวทาง การแก้ปญั หาผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและพลังงานในอนาคต” ทางด้าน Prof. Dr.Yang Song นักวิจัยจาก Sun Yat-Sen University สาธารณรัฐประชาชนจีน หนึง่ ในวิทยากรที่ได้ร่วมบรรยายในหัวข้อเรื่อง Southeast Asian Climate Change and Its Global Climate Effect กล่าวว่า “ความร่วมมือระหว่างจีน-ไทยในครัง้ นี้ นอกจาก จะสานสัมพันธ์ทงั้ สองประเทศให้แน่นแฟ้นยิง่ ขึน้ แล้ว ยังจะ เป็นแบบอย่างที่ดีเพื่อพัฒนานักวิจัยด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศของโลกที่จะส่งผลกระทบต่อมนุษย์ใน ทุกๆ ด้าน จะเป็นโอกาสดีทจี่ ะช่วยสร้างนักวิจยั ไทยรุน่ ใหม่ เปิดมุมมองที่กว้างขึ้นและสร้างองค์ความรู้ต่อกันให้ก้าว ไปสู่ระดับสากล และมีความคิดเห็นว่าประเทศไทยควร ท�ำวิจัยด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางทะเล ในคราบสมุทรตะวันออกเฉียงใต้เพิ่มเติม เพื่อน�ำไปเป็น ประโยชน์ในการวางแผนแนวทางแก้ไขการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศของโลกให้รับมือผลกระทบการเกิดภาวะ โลกร้อน ปัญหาด้านสิง่ แวดล้อม การเกิดพายุ และปัญหา น�้ำท่วมโลกตามมา” การสัมมนาดังกล่าว ยังได้มีการแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นและข้อเสนอผลงานการวิจัยของนักวิชาการจาก สถาบันการศึกษา และคณะนักวิจัยด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านพลังงาน ทั้ง นักวิจัยไทย และสาธารณรัฐประชาชนจีน กว่า 100 คน เข้าร่วมอย่างคับคั่ง เพื่อน�ำข้อมูลผลงานด้านการวิจัยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกน�ำไปต่อยอดขยายผล ให้กับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป
GreenNetwork4.0 January-February 2020
GREEN
Scoop กองบรรณาธิการ
MEA EV Application
เชื่อมต่อข้อมูลเครื่องอัดประจุไฟฟ้า รองรับยานยนต์ไฟฟ้าในไทย “โครงการเตรียมความพร้อมเครือข่ายสถานีอดั ประจุไฟฟ้า เพือ่ รองรับการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้า” เกิดขึ้นโดยความร่วมมือหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ระหว่าง การไฟฟ้านครหลวง และ บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ได้ลงนามในข้อตกลงครั้งส�ำคัญเพื่อรวมโซลูชั่นการชาร์จ รถยนต์ไฟฟ้าของเดลต้าในประเทศไทยบนแอพพลิเคชั่น MEA EV ที่พัฒนาขึ้นเพื่ออ�ำนวยความสะดวก สูงสุดให้กับผู้ใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าแทนการใช้น�้ำมันในอนาคต ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันที่มีการเชื่อมต่อข้อมูล ระหว่างเครื่องอัดประจุไฟฟ้าของเดลต้ากับเครือข่ายสถานีอัดประจุไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวง เป็นเครือข่ายสถานีอดั ประจุไฟฟ้าให้แก่ผบู้ ริโภคในการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้า การเผยแพร่ความรูเ้ กีย่ วกับ ระบบไฟฟ้าที่บ้านหรือส�ำนักงาน การเลือกใช้อุปกรณ์อัดประจุไฟฟ้าแบบต่างๆ และการติดตั้งอุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้องได้อย่างประหยัดและปลอดภัย ทัง้ นี้ ในส่วนของผูใ้ ช้รถยนต์ไฟฟ้า หากใช้งาน MEA EV Application จะสามารถ ค้นหาสถานีอดั ประจุไฟฟ้าของเดลต้าได้อย่างรวดเร็ว การเข้าถึงเครือข่ายสถานีอดั ประจุ ไฟฟ้าของเดลต้าทัว่ ประเทศได้สะดวกมากยิง่ ขึน้ โดยทางเดลต้าฯ ได้ตดิ ตัง้ เครือ่ งชาร์จ รถยนต์ไฟฟ้าแบบเร็วด้วยไฟฟ้ากระแสตรง (DC Fast Charger) และเครือ่ งชาร์จรถยนต์ ไฟฟ้าแบบธรรมดาด้วยไฟฟ้ากระแสสลับ (AC Charger) ในสถานทีส่ าธารณะหลายร้อย แห่งทัว่ ประเทศไทย รวมถึงภายในร้านตัวแทนจ�ำหน่ายรถยนต์ พืน้ ทีใ่ นนิคมอุตสาหกรรม ส�ำนักงาน สถาบัน และศูนย์การศึกษาต่างๆ รวมถึงค้นหาการจองหัวชาร์จยานยนต์ไฟฟ้า วีรวัจน์ บัวทอง ได้แบบเรียลไทม์ พร้อมควบคุมการชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าผ่านระบบรีโมทด้วยแอพพลิเคชัน่ ทันที สามารถช�ำระเงินค่าบริการด้วยสมาร์ทโฟนได้ทวั่ ประเทศผ่านแอพพลิเคชัน่ MEA EV สามารถแจ้งข้อมูล ประวัติการชาร์จ การค�ำนวณอัตราการประหยัดพลังงาน วีรวัจน์ บัวทอง รองผูว้ า่ การการไฟฟ้านครหลวง กล่าวว่า “เพือ่ ผลักดันประเทศไทยให้ไปสูก่ ารเป็น ประเทศทีใ่ ช้พลังงานไฟฟ้าเป็นหลัก รวมถึงส่งเสริมการผลิต การวิจยั และพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าของรัฐบาล ที่ตั้งเป้าว่าจะมีรถยนต์ไฟฟ้าจ�ำนวน 1.2 ล้านคัน วิ่งบนท้องถนนภายในปี พ.ศ. 2579 ความร่วมมือกันใน ครั้งนี้ จะท�ำให้ผู้ขับขี่หันมาเลือกใช้การคมนาคมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น” ทางด้าน เซีย เชน เยน ประธานบริหาร บริษทั เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด มหาชน กล่าวว่า “เดลต้ามีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้ร่วมมือกับการไฟฟ้านครหลวง เพื่อให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมผ่านการเชื่อมต่อกับนวัตกรรมให้กับคนไทย เดลต้าได้พัฒนาโซลูชันการชาร์จ รถยนต์ไฟฟ้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุดด้วยมาตรฐานความปลอดภัยและการปฏิบตั งิ านระดับสากล ซึง่ ท�ำให้ ผูข้ บั ขีร่ ถยนต์ไฟฟ้าในยุโรป ญีป่ นุ่ สหรัฐอเมริกา และในประเทศไทย จะได้ใช้งานเครือ่ งชาร์จไฟฟ้าส�ำหรับ รถยนต์ที่มีประสิทธิภาพของเดลต้าได้อย่างง่ายดายและสะดวกรวดเร็วขึ้น” อย่างไรก็ตาม นับเป็นการจับมือกันเพื่อขับเคลื่อนการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย ด้วย นวัตกรรมการใช้พลังงานสะอาดและเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ถือเป็นโอกาสส�ำคัญของการยกระดับ ความสะดวกในการเข้าถึงสถานีอดั ประจุไฟฟ้าในประเทศไทย เพือ่ ร่วมกันรักษาสิง่ แวดล้อม และเพือ่ ช่วย ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 17
GreenNetwork4.0 January-February 2020
เซีย เชน เยน
GREEN
Scoop กองบรรณาธิการ
ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
“โครงการบริหารจัดการขยะพลาสติก”
ปัญหาขยะพลาสติกเป็นปัญหาที่ทุกคนต้องให้ ความใส่ใจเพราะเป็นขยะประเภทที่ย่อยสลายได้ยาก สร้างปัญหาให้แก่สงั คมและสิง่ แวดล้อมมาอย่างยาวนาน หลายทศวรรษ ซึ่งการพัฒนานวัตกรรมเพื่อการจัดการ ขยะพลาสติกอย่างจริงจัง จะเห็นได้จากการตืน่ ตัวกระแส รักษ์โลก แม้แต่ประเทศไทยต่างให้ความส�ำคัญและ อาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อน เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้นทั้งในประเทศไทยและ ในโลก การบริหารจัดการขยะพลาสติกที่จ�ำเป็นต้องน�ำ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ โลกอนาคตนัน้ หน่วยงานภาครัฐ จะต้ อ งก�ำหนดนโยบายมาตรการให้ภ าคเอกชนและ ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมบริหารจัดการแก้ปัญหา ขยะล้นเมืองที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปในทิศทาง เดียวกัน ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ได้เร่งเดินหน้าเฟ้นหานวัตกรรมเพือ่ การบริหาร จัดการขยะพลาสติก 5 ด้าน ได้แก่ นวัตกรรมการจัด เก็บขยะพลาสติก นวัตกรรมการคัดแยกขยะพลาสติก นวัตกรรมการใช้ประโยชน์จากขยะพลาสติก นวัตกรรม การก�ำจัดขยะพลาสติก และการสร้างความมีสว่ นร่วมใน การบริหารจัดการขยะพลาสติก จึงน�ำมาซึง่ การจัดสัมมนา เชิงปฏิบัติการออกแบบโครงการด้านการบริหารจัดการ ขยะพลาสติก ร่วมกับ Phoenixict Co., Ltd. - Sinwattana
18
Crowdfunding เพื่อดึงดูดผู้ที่มีแนวคิดและไอเดียการออกแบบนวัตกรรมที่มุ่งแก้ไขปัญหาดังกล่าว ได้มโี อกาสน�ำเสนอนวัตกรรมและเทคโนโลยีทม่ี คี วามเป็นไปได้เพือ่ รับสนับสนุนเงินทุน และน�ำโครงการ ไปต่อยอดเพื่อสังคมได้ในอนาคต และในปีนี้เตรียมเดินหน้าโครงการนวัตกรรมส�ำหรับเมืองและ ชุมชน City & Community Innovation Challenges ส�ำหรับนวัตกรรมและเทคโนโลยีการบริหารจัดการขยะพลาสติกที่จ�ำเป็นต้องน�ำมาใช้ แก้ปัญหา ได้แก่ นวัตกรรมอัพไซคลิ่ง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการรีไซเคิล และเป็นวิธีการ แก้ปญ ั หาพลาสติกเหลือทิง้ ทีเ่ หมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยเป็นการน�ำขยะมาแปรรูปเพือ่ สร้างมูลค่าเพิ่ม ท�ำให้เป็นสิ่งใหม่ โดยไม่สร้างขยะกลับคืนสู่วงจรขยะพลาสติกอีกครั้ง เช่น การน�ำ มาท�ำเป็นวัสดุกอ่ สร้าง อุปกรณ์สำ� นักงาน สินค้าไลฟ์สไตล์ เป็นต้น พลาสติกทีย่ อ่ ยสลายได้ตามธรรมชาติ หรือไบโอพลาสติก ซึง่ เป็นพลาสติกทีส่ ามารถย่อยสลายได้ดว้ ยจุลนิ ทรียแ์ ละแบคทีเรียตามธรรมชาติ โดยผลิตจากวัตถุดบิ ทีส่ ามารถผลิตทดแทนขึน้ ใหม่ได้ในธรรมชาติ เช่น อ้อย มันส�ำปะหลัง ข้าวโพด ฯลฯ มีคณ ุ สมบัตใิ นการใช้งานใกล้เคียงพลาสติกจากปิโตรเคมีแบบดัง้ เดิม และจะกลับคืนสูธ่ รรมชาติ ได้ 100% นวัตกรรมเพื่อการจัดการไมโครพลาสติก โดยไมโครพลาสติกถือเป็นพลาสติกขนาดเล็ก และมองไม่เห็น ซึง่ มักจะปนเปือ้ นในแหล่งน�ำ้ ทะเล และกลายเป็นอาหารสัตว์ตามทีป่ รากฏในข่าวสาร ทัง้ นี้ เรือ่ งดังกล่าวเป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยทีผ่ ปู้ ระกอบการและต้นทางในอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวข้องควรให้ความใส่ใจอย่างจริงจัง ด้วยการหาวัสดุทดแทนหรือมีกระบวนการจัดการที่รัดกุม เพื่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศที่ดีขึ้นทั้งระบบ และ การเปลี่ยนขยะพลาสติกเป็นพลังงาน ซึ่งเป็น อีกหนึ่งนวัตกรรมโดยสามารถน�ำขยะพลาสติกที่มีอยู่จ�ำนวนมหาศาลมาแปรรูปให้เป็นพลังงาน ความร้อน พลังงานไฟฟ้า ฯลฯ และการพัฒนานวัตกรรมในรูปแบบนีย้ งั จะช่วยลดต้นทุนในกิจกรรม ดังกล่าว พร้อมสร้างมูลค่าให้กับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อีกด้วย คุณาวุฒิ บุญญานพคุณ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายนวัตกรรม เพือ่ สังคม ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กล่าวว่า “ผลจากการด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ มีนวัตกรรมด้าน การจัดการขยะพลาสติกทีเ่ ห็นผลส�ำเร็จอย่างเป็นรูปธรรม เช่น นวัตกรรมการบริหารจัดการขยะชุมชน มาใช้ใน การผลิตวัสดุก่อสร้างที่มีมวลรวมน�้ำหนักเบา นวัตกรรม เครือ่ งอัดขยะในครัวเรือน แอพพลิเคชัน่ Recycle Day เพือ่ ใช้เป็นศูนย์กลางในการให้ขอ้ มูลในการคัดแยกขยะ รวมถึง คุณาวุฒิ บุญญานพคุณ สามารถเชื่อมโยงกลุ่มผู้รับซื้อของเก่ากับกลุ่มผู้ที่ต้องการ ขายของเหลือใช้ที่จะช่วยให้สะดวกสบายมากขึ้น ตลอดจนนวัตกรรมเครื่องผลิตเชื้อเพลิงส�ำหรับ เผาศพจากขยะพลาสติกชุมชน และในปี 2563 นี้ จะเดินหน้าโครงการนวัตกรรมส�ำหรับเมืองและชุมชน อย่างต่อเนื่อง พร้อมมุ่งเฟ้นหานวัตกรรมการจัดการขยะพลาสติก” ทัง้ นี้ ผูเ้ ข้าร่วมสัมมนาโดยมีตวั แทนจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา ต่างได้เสนอความคิดเห็นและแลกเปลีย่ นองค์ความรูอ้ ย่างหลากหลาย จึงเป็นอีกหนึง่ เวทีในการสร้าง ความมีส่วนร่วมบริหารจัดการขยะพลาสติกในประเทศไทยให้เกิดความยั่งยืนต่อไปในอนาคต
GreenNetwork4.0 January-February 2020
GREEN
Industry ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี
การสร้าง
วัฒนธรรมสีเขียว สิง่ ทีจ่ ะท�ำให้การประกอบกิจการโรงงานทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เกิดความยัง่ ยืน ก็คอื การสร้าง “วัฒนธรรมสีเขียว” (Green Culture) ให้เกิดขึ้นทั่วทั้งองค์กร ส�ำหรับผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมแล้ว จะต้องพัฒนาองค์กร เข้าสู่ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตาม มาตรฐาน มอก. ISO 14001 หรือตามมาตรฐานอื่นๆ ที่เทียบเท่าให้ได้ก่อน หลังจากนั้นผู้บริหาร จะต้องมีกระบวนการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่สามารถนําไปปฏิบัติ ให้เกิดประสิทธิผลได้ การสร้างวัฒนธรรมจะเริม่ ด้วยการมีกระบวนการในการสร้าง ค่านิยม และจิตสํานึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างแพร่หลาย ด้วยการประกาศนโยบายทีช่ ดั เจนเป็นลายลักษณ์อกั ษร และต้องท�ำให้ พนักงานในองค์กรทุกคนยอมรับค่านิยมนัน้ ๆ ด้วยการปฏิบตั ติ ามคูม่ อื และมาตรการการท�ำงานจนเป็นนิสัย องค์กรจะต้องมีกระบวนการทีท่ ำ� ให้บคุ ลากรภายในองค์กรเกิด ความเชือ่ มัน่ เกีย่ วกับผูบ้ ริหาร และความสามารถขององค์กร (ผูบ้ ริหาร และทีมงาน) ในการดําเนินการเพื่อลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และลดผลกระทบต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ รวมทัง้ การใช้ ทรัพยากรอย่างยั่งยืนด้วย
ทีส่ ำ� คัญก็คอื องค์กรจะต้องมีกจิ กรรมส่งเสริมเพือ่ ให้พนักงาน มีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่างๆ ทีจ่ ะสะท้อนถึงการแสดงออกของค่านิยม ด้านการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม เช่น การเลือกทิง้ ขยะลงถังทีแ่ ยกไว้ ส�ำหรับ ขยะแห้ง ขยะเปียก และขยะประเภทถ่านไฟฉายหรืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น 19
ดังนัน้ ผูบ้ ริหารจะต้องกําหนดแนวทางสาํ หรับการปฏิบตั ิ โดยจัดท�ำเป็นคูม่ อื หรือมาตรฐานการท�ำงาน เพือ่ ให้พฤติกรรมของทุกคน (ทัง้ ผูบ้ ริหารและพนักงาน) คงอยู่อย่างยั่งยืนจนกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กรที่ให้ความส�ำคัญและใส่ใจต่อ สิง่ แวดล้อม (ทัง้ ด้านการอนุรกั ษ์และการแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในกระบวนการผลิต) และเพือ่ ให้เกิดประสิทธิผลอย่างแท้จริง องค์กรจะต้องมีการกําหนดวิธกี ารในการ ตรวจประเมินความคงอยู่ของวัฒนธรรมองค์กรด้านสิ่งแวดล้อมด้วย นอกจากที่กล่าวขั้นต้นแล้ว องค์กรจะต้องก�ำหนดวิธีการในการประเมิน ผลกระทบจากการตัดสินใจ และการดําเนินการต่างๆ ขององค์กรต่อสังคมและ สิง่ แวดล้อม โดยเฉพาะผลกระทบด้านลบทีส่ าํ คัญๆ ในกรณีทมี่ กี ารตัดสินใจเกีย่ วกับ การพัฒนาและหรือการปรับปรุงเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์หรือบริการ กระบวนการผลิต รวมทัง้ เครือ่ งจักรหรืออุปกรณ์ สถานทีป่ ระกอบการ ตลอดจนกลยุทธ์ทางธุรกิจด้วย องค์กรจะต้องจัดทําแผนงาน หรือกําหนดมาตรการต่างๆ เพื่อรองรับและ ป้องกันผลกระทบด้านลบทีส่ าํ คัญๆ พร้อมกันนัน้ จะต้องมีการทบทวนและทวนสอบ มาตรการเป็นระยะๆ เพื่อให้มั่นใจว่า มาตรการต่างๆ ที่มีอยู่ยังคงเหมาะสมกับ สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ในกรณีท่ีเกิดข้อผิดพลาดในกระบวนการผลิตหรือเกิดจากการทํางาน องค์กรจะต้องมีการกําหนด มาตรการที่เหมาะสม เพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ และปฏิบตั กิ ารป้องกันเพือ่ ไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดขึน้ ซ�ำ้ อีก พร้อมทัง้ บันทึก ผลการดําเนินการต่างๆ ไว้เป็นหลักฐานเพื่อการตรวจสอบและการเรียนรู้ต่อไป ทั้งหมดทั้งปวงนี้ สิ่งที่จะท�ำให้เกิด “วัฒนธรรมสีเขียว” (Green Culture) ก็คอื ผูบ้ ริหารระดับสูง และทีมงาน จะต้องมุง่ มัน่ และจริงจังในการด�ำเนินการต่างๆ ทัง้ ประเภททีม่ รี ปู แบบเป็นทางการ (ทีป่ ระกาศเป็นลายลักษณ์อกั ษรอย่างชัดเจน) และอืน่ ๆ ทีไ่ ม่เป็นทางการ (การพูดจูงใจ การให้กำ� ลังใจ) ในทุกรูปแบบทีส่ ะท้อนถึง ความเป็นวัฒนธรรมองค์กรในการให้ความส�ำคัญกับการประกอบกิจการทีเ่ ป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม และมีความรับผิดชอบต่อชุมชน รอบข้าง รวมตลอดถึงผลกระทบที่จะมีต่อ สังคมด้วย ในวันนีก้ ารสร้างวัฒนธรรมสีเขียวนี้ แม้จะเป็นเรือ่ งยาก แต่กค็ วรจะท�ำให้เกิดขึน้ เพื่ อ ภาพลั ก ษณ์ แ ละความยั่ ง ยื น ของ องค์กร ครับผม!
GreenNetwork4.0 January-February 2020
โรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียน ธุรกิจสีเขียวที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และทําใหเกิดสังคมคารบอนตํ่า (Low Carbon Society) เพื่อความยั่งยืน
GREEN
Focus นรินพร มาลาศรี รองกรรมการ ผูจ ดั การใหญ สายบริหาร บริษัท เอสพีซีจี จํากัด (มหาชน)
ปจจุบันการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน โดยเฉพาะจากพลังงานแสงอาทิตยมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ดวยการลงทุนหรือตนทุนที่ ถูกลงมาก ทําใหราคาคาไฟฟาตอหนวยทีผ่ ลิตจากระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยสามารถแขงขันไดกบั คาไฟฟาทีผ่ ลิตจากโรงไฟฟาแบบ ดัง้ เดิมทีใ่ ชเชือ้ เพลิงฟอสซิลจากกาซธรรมชาติ ถานหิน หรือนํา้ มัน โดยเฉพาะกลุม ผูใ ชไฟฟาโรงงานอุตสาหกรรม อาคารสํานักงาน โรงแรม โรงพยาบาล ประเภทกิจการขนาดกลางและประเภทกิจการขนาดใหญที่มีความตองการใชไฟฟาในชวงเวลากลางวัน เริ่มมีการติดตั้งระบบ ผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยบนหลังคาเพื่อผลิตไฟฟาใชเอง ซึ่งจะชวยลดคาใชจายลงไดอยางมาก
“Decarbonisation of the Power Systems” การเปรียบเทียบราคาไฟฟาที่ผลิตจาก ระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย และระบบดั้งเดิมที่ใชเชื้อเพลิงฟอสซิล
มีการประมาณการคาไฟฟาทีผ่ ลิตไดจากระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ทีป่ ค.ศ. 2020 จะอยูท ี่ 6.3 U.S. Cents/kWh หรือประมาณ 1.89 บาท/kWh โดยใช หลักการ Fuel Parity อีกหลักการหนึง่ ทีต่ อ งกลาวถึงคือ Grid Parity ตนทุนการผลิตไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตยเทากับหรือถูกกวาไฟฟาจากสายสง ดวยสถานการณปจ จุบนั ทีต่ ลาดระบบ ผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยสามารถเติบโตไดดว ยตัวเอง ทําให Levelized Cost ของไฟฟาทีผ่ ลิตไดจากระบบ ตลอดระยะเวลาของโครงการ (20-25 ป) เทากับราคา ไฟฟาที่ซื้อจากสายสงมาใชงาน โดยหลักการของ Grid Parity ก็ควรถูกพิจารณา บนพืน้ ฐานทีแ่ ตกตางกันตามระดับแรงดันของจุดเชือ่ มตอระบบผลิตไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตยหรือจุดใชงานดวย การพิจารณาวาผูใชไฟฟาเชื่อมระบบที่ระดับ แรงดันใด ไดแก ระดับแรงดันสูง ระดับแรงดันกลาง และระดับแรงตํา่ ตัวอยางเชน ผูใชไฟฟาเปนบานพักอาศัย ก็เชื่อมตอระบบไฟฟาที่ระดับแรงตํ่า หรือผูใชไฟฟา เปนโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางเชือ่ มตอระบบไฟฟาทีร่ ะดับแรงกลาง หรือผูใ ช ไฟฟาเปนโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญจะเชื่อมตอระบบไฟฟาที่ระดับแรงสูง เปนตน
จากรูปแสดงใหเห็นวาราคาเชือ้ เพลิงฟอสซิล เชน นํา้ มัน และคากําจัดมลพิษ กาซคารบอนไดออกไซดที่ปลดปลอยของโรงไฟฟาแบบดั้งเดิมที่มีราคาเพิ่มสูงขึ้น เรื่อยๆ ในขณะที่ตนทุนของระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยที่มีราคาถูกลง ไมมคี า ใชจา ยเรือ่ งเชือ้ เพลิง เนือ่ งจากเปนพลังานแสงอาทิตยทไี่ ดมาฟรีและเปนระบบ ที่ไมมีการปลดปลอยมลพิษกาซคารบอนไดออกไซด สิ่งเหลานี้เปนเหตุผลสําคัญ ที่ทําใหทุกคนเริ่มหันมาสนใจและใหความสําคัญกับธุรกิจสีเขียวที่ราคาจับตองได และสามารถเขาถึงไดงา ย สําหรับระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยทไี่ มมคี วาม ซับซอนยุงยาก 20
GreenNetwork4.0 January-February 2020
Grid Parity กับการผลิตไฟฟาใชเอง ผาน Net Metering
มีราคาที่สูงขึ้นโดยนําภาษีคารบอนหรือภาษีสิ่งแวดลอมมาบังคับใช แตสําหรับ ประเทศไทยภาษีคารบอนก็ยงั ไมคลอดออกมาบังคับ ดังนัน้ ผูป ระกอบการโรงงาน อุตสาหกรรม อาคารพาณิชย หรือผูใ ชไฟฟารายใหญ ทีต่ ดั สินใจลงทุนระบบผลิต ไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยเพื่อผลิตไฟฟาใชเองในชวงเวลากลางวัน ที่ตนทุน คาไฟฟาตอหนวยถูกวาซื้อจากการไฟฟาแตก็ยังมีระยะเวลาคืนทุนยาวนานและ ยังตัดสินใจลงทุนไดไมงา ยนัก ซึง่ รูปแบบการดําเนินธุรกิจปจจุบนั จึงมีการปรับตัว สูรูปแบบ Private PPA ดังเชน บมจ.เอสพีซีจี (SPCG), Mitsubishi UFJ Lease & Finance Company Limited (MUL) บริษัทการเงินใหญที่สุดของญี่ปุน, PEA ENCOM บริษทั ในเครือ กฟภ. และ KYOCERA รวมกันจัดตัง้ บริษทั เปนการรวมทุน แบบกิจการรวมคา (Joint Venture) ภายใตชอื่ MSEK POWER และความรวมมือ ดานการพัฒนาโครงการผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยบนหลังคา (Solar Roof) เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพและโอกาส การลงทุนดานธุรกิจโซลารรูฟ ในประเทศไทย โดยจะเขาไป บริหารจัดการตั้งแตเริ่มติดตั้ง ก า ร ล ง ทุ น ใ ห กั บ โ ร ง ง า น อุตสาหกรรมและอาคาร และ การดูแลตางๆ 100% เพือ่ ใหเกิด ประโยชนสูงสุดกับลูกคา โดยมี อัตราการคาไฟฟา ในรูปแบบ หักลบหนวยไฟฟาสุทธิ หรือเทากับคาไฟฟาที่ปจจุบันอยูที่ 3.80 บาท/หนวย
Decarbonisation of the Power Systems
ตัวอยางของประเทศอิสราเอล ตนทุนคาไฟฟาเฉลี่ยที่ผลิตจากระบบผลิต ไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยตลอดอายุโครงการ PV LCOE ถูกกวาคาไฟฟาขายปลีก ในชวง Peak Demand แตยังคงสูงกวาในชวง Off-Peak Tariff ดังนั้น การผลิต ไฟฟาจากระบบผลิตไฟฟาแสงอาทิตยทชี่ ว งเวลาเดียวกันกับชวงเวลาระหวางวันทีม่ ี คาความเขมแสงอาทิตยสงู (Solar PV Coincides with Peak Demand) การสราง แรงจูงใจโดยใช Net Metering จะมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม การออกแบบกลไก สนับสนุนหรือแรงจูงใจสําหรับไฟฟาทีผ่ ลิตจากระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ก็จําเปนตองคํานึงถึงรูปแบบอัตราคาไฟฟา ที่อัตราคาไฟฟาขายสงไฟฟาระหวาง การไฟฟาและหรืออัตราคาไฟฟาขายปลีกมีลักษณะแตกตางตามชวงเวลาของ การใช (Time-of-Use : TOU)
ธุรกิจสีเขียวในประเทศไทยกับการปรับตัวธุรกิจ
การพัฒนาไปสู Inclusive & Green Business การพัฒนาสีเขียว อาทิ การใชเทคโนโลยีที่ใชทรัพยากรนอยลงและลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม การใช พลังงานทดแทนในกระบวนการผลิต การผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย เปนตน การจะขับเคลื่อนธุรกิจสีเขียวไดนั้น ตองอาศัยหลายภาคสวนที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะภาครัฐตองเพิ่มบทบาทมากขึ้น และดําเนินการอยางจริงจังในการชวย สรางสภาพแวดลอมทีด่ ที จี่ ะเอือ้ ไปสูธ รุ กิจสีเขียวได ใหความมัน่ ใจกับภาคธุรกิจเรือ่ ง การกํากับดูแลทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีการบังคับใชกฎหมายทีด่ ี มีมาตรการเสริมสราง แรงจูงใจกาวสูธ รุ กิจสีเขียว และการพยายามสงเสริมใหทกุ ภาคสวนรวมมือ เกิดการ ประสานงานของภาคสวนตางๆ เพือ่ ใหผปู ระกอบการธุรกิจสีเขียวสามารถเขาถึงได ซึ่งในปจจุบันธนาคารพาณิชยหลายแหงก็เริ่มมีการใหเงินกูกับการทําธุรกิจสีเขียว มากขึ้น ในบริบทตางประเทศถาเราตองการผลักดันธุรกิจสีเขียวเราก็ตองมาดู ผลกระทบของสินคาสีเขียว ก็ตองไปทํากิจกรรมที่ไมเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 21
สังคมคารบอนตํ่า (Low Carbon Society) เปนสังคมที่ผูคนสวนใหญ ในสังคมหันมารวมมือกันลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในทุกรูปแบบ หรือในกิจกรรมตางๆ ที่เกิดจากการดํารงชีวิตปกติ โดยเฉพาะการลดปริมาณ กาซคารบอนไดออกไซดทปี่ ลอยออกมาจากกระบวนการผลิตของโรงงานหรือภาค อุตสาหกรรม เพื่อจะไดอยูรวมกันในสังคมที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี สังคมคารบอนตํ่า จึงตองทําใหผูคนในสังคมมีความตระหนักถึงคุณภาพชีวิตที่เกิดจากการอยูใน สภาพแวดลอมทีม่ ปี ริมาณคารบอนตํา่ โดยผูค นในสังคมมีความยึดโยงกับการเลือกใช เทคโนโลยีหรือการพัฒนาเทคโนโลยีใหเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม และทีส่ าํ คัญก็คอื การพัฒนาไปสูสังคมคารบอนตํ่าที่จะมีการปรับจากสังคมที่ตองพึ่งพาพลังงาน จากเชือ้ เพลิงฟอสซิลไปสูส งั คมทีม่ กี ารพึง่ พาพลังงานทดแทนมากขึน้ ซึง่ จะนําไปสู สังคมทีย่ งั่ ยืน เปนการสรางโอกาสใหมๆ ทางธุรกิจ โดยจําเปนตองอาศัยนวัตกรรม ทีส่ รางสรรคเทคโนโลยีคารบอนตํา่ เพือ่ ทดแทนเทคโนโลยีดงั้ เดิมทีไ่ มมปี ระสิทธิภาพ ตองมีการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการผลิตและการบริโภค และแนวทางการดํารงชีวติ ระบบผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยผสมผสานกับการใชระบบกักเก็บพลังงาน และนวัตกรรมที่ชาญฉลาดอยาง Smart Grid ที่เปนการนําระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและสื่อสารมาชวยบริหารจัดการระบบผลิตไฟฟา โครงขายไฟฟา การจัดการพลังงานของผูใชไฟฟาดวย
ปจจัยสูค วามสําเร็จของการเกิดสังคมคารบอนตํา่ (Low Carbon Society) เพื่อความยั่งยืน
จากประสบการณดาํ เนินธุรกิจสีเขียว จะเห็นวาไมวา ธุรกิจขนาดใดหรือคุณ จะเปนใคร ทุกคนคือผูสามารถนํากระแสสีเขียวไปใชการทํา ธุรกิจ การดําเนินชีวติ การทํานโยบาย การทําการตลาด ทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมและสังคมได ซึง่ ความตืน่ ตัว และตะหนักถึงผลกระทบดานการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศ ทําใหการสรางตลาดใหโตขึน้ โดยไมมสี ตู รสําเร็จในการทําธุรกิจบนเสนทาง สีเขียว เพราะทุกคนสามารถออกแบบและ ทําไดดวยตนเอง
GreenNetwork4.0 January-February 2020
GREEN
People กองบรรณาธิการ
ดร.วิจารย สิมาฉายา ผอ.สถาบันสิ่งแวดลอมไทย
ผูนําตนแบบยึดหลักพรหมวิหาร 4 ผูขับเคลื่อนการจัดการดานสิ่งแวดลอม
หากจะกลาวถึงบุคคลผูม หี วั ใจรักษสงิ่ แวดลอม กอปรกับความมีเจตนารมณในการพัฒนาผลักดันองคกรใหเกิดการประสานการทํางาน รวมกันระหวางภาคีตา งๆ ในสังคม ซึง่ ประกอบดวยภาครัฐ เอกชน ประชาชน องคกรพัฒนาเอกชน สือ่ มวลชน ตลอดจนสถาบันทางวิชาการ อืน่ ๆ เพือ่ เชือ่ มโยงสูก ารอนุรกั ษและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมใหเกิดความสมดุล อันจะเปนรากฐานสําคัญสูก ารพัฒนาอยาง ยั่งยืนทั้งในระดับประเทศและระดับโลก บุคคลทานนี้ก็เปนอีกหนึ่งผูที่ไดรวมขับเคลื่อนการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอมมาตลอดการทํางาน นั่นคือ ดร.วิจารย สิมาฉายา ผูอํานวยการสถาบันสิ่งแวดลอมไทย
ดร.วิจารย สิมาฉายา ผูค รํา่ หวอดทางดานบริหารจัดการ สิ่งแวดลอมและมลพิษ รวมผลักดันกฎหมายและกิจกรรม ทีเ่ กีย่ วกับการจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม จนเปนทีย่ อมรับทัง้ ในประเทศและระหวางประเทศ ซึง่ อดีตเคย ดํารงตําแหนงปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ เลขาธิการสํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และปจจุบันดํารง ตําแหนงผูอํานวยการสถาบันสิ่งแวดลอมไทย มูลนิธิสถาบัน สิง่ แวดลอมไทย ทีเ่ ปนองคกรกลางและคลังสมองของประเทศ ดานสิ่งแวดลอม โดยมีวาระการดํารงตําแหนง 4 ป พรอมกับ การปฏิบัติหนาที่ขับเคลื่อนองคกรสถาบันสิ่งแวดลอมไทย ซึ่งถือเปนองคกรชั้นนําดานสิ่งแวดลอมตามมาตรฐานสากล ทีย่ ดึ มัน่ ในความเปนกลางบนพืน้ ฐานทางวิชาการ แนวนโยบาย จากการบริหารองคกรที่นําโดย ดร.วิจารย ในฐานะผูบริหาร องคกรทีม่ วี สิ ยั ทัศน ประสบการณ ความเปนนักวิชาการ และ หลักการบริหารงานที่ไดยึดมั่นความถูกตองตามหลักวิชาการ คุณงามความดีและความซื่อสัตย จะสามารถนําพาองคกร กาวหนาไปตามเปาหมายที่วางไว ดร.วิจารย เปนผูท มี่ จี ติ วิญญาณแหงความเปนนักวิชาการ และนักบริหารสิ่งแวดลอมในเชิงบูรณาการ สรางเครือขาย การจัดการสิ่งแวดลอมทั้งในและตางประเทศ เปนผูนําทาง องคกรสูค วามรวมมือในการแกไขปญหาสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน ดวยการอุทิศตนอยางมุงมั่นและทุมเท เปนตนแบบของ ขาราชการ ทัง้ การวางตัว การถายทอดความรู และการประกอบ
22
GreenNetwork4.0 January-February 2020
สัมมาชีพ เปนทีป่ ระทับใจของเพือ่ นรวมงานทัง้ ในอดีตจนถึงปจจุบนั จนไดรบั รางวัล เกียรติคณ ุ และประกาศเกียรติคณ ุ ดานคุณงามความดีจากหนวยงานตางๆ มากกวา 10 รางวัล ตัง้ แตป พ.ศ. 2545 อาทิ รางวัล “ขาราชการพลเรือนดีเดน” จากสํานักงาน ขาราชการพลเรือน รางวัล “คนดีศรี คพ.” จากกรมควบคุมมลพิษ รวมไปถึงไดรบั การยกยองใหเปน “ศิษยเกาเกียรติยศ 100 ป โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย” รางวัล “ศิษยเกาดีเดน” จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร “รางวัลเกียรติยศ ผูทําประโยชนในวาระ 80 ป มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร” นอกจากนี้ยังไดรับรางวัล “คนดีศรีสะเกษ” จากเจาคณะสงฆจังหวัดศรีสะเกษ รางวัลที่ยืนยันถึงคุณความความดีและความซื่อสัตยสุจริต คือ รางวัล “ผูประพฤติ ปฏิบตั ติ นชอบดวยความซือ่ สัตยสจุ ริต ประจําป 2558” จากคณะกรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจริตแหงชาติ และรับรางวัลเกียรติยศโลและใบประกาศ เกียรติคณ ุ “คนดีศรีอสี าน” ในป พ.ศ. 2558 และรางวัล “หนึง่ ในอีสาน ดานสงเสริม คุณธรรม” จากประธานเครือขายความดีงามภาคอีสาน ในป พ.ศ. 2560 ดร.วิจารย เกิดเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2501 ที่บานดาน ตําบลดาน อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ บิดารับราชการครูประชาบาล มารดาประกอบอาชีพ คาขาย สําเร็จการศึกษาปริญญาตรีวทิ ยาศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม และนิตศิ าสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยรามคําแหง ปริญญาโทวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และประกาศนียบัตร ชัน้ สูง สาขาวิศวกรรมสุขาภิบาล จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จากนัน้ เขารับราชการ ทีส่ าํ นักงานคณะกรรมการสิง่ แวดลอมแหงชาติ ในป พ.ศ. 2528 และตอมาไดรบั ทุน การศึกษาจากรัฐบาลประเทศแคนาดาจนสําเร็จปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม ที่ University of Guelph ประเทศแคนาดา ในป พ.ศ. 2541 นอกจากนี้ ทานยังได รับการยกยองและการยอมรับทางดานวิชาการและการจัดการสิ่งแวดลอม ทัง้ นี้ กองบรรณาธิการนิตยสาร Green Network ไดรบั เกียรติใหสมั ภาษณ พิเศษในเรือ่ งแนวนโยบายการดําเนินงานองคกร รวมถึงแนวคิดในการบริหารงาน ดานสิง่ แวดลอมในประเทศไทยจะขับเคลือ่ นไปอยางไรบาง โดย ดร.วิจารย กลาววา ในปใหมเขาสู พ.ศ. 2563 สถานการณมลภาวะและสิง่ แวดลอมในประเทศไทยยังคงมี ความนาเปนหวงโดยเฉพาะภาวะแหงแลงที่จะเกิดขึ้นจะสงผลกระทบตอคุณภาพ สิง่ แวดลอม ซึง่ คาฝุน ละออง PM2.5 จะยังคงสงผลกระทบรุนแรงตอสุขภาพคนไทย และสงผลตอปญหามลพิษสิ่งแวดลอมเปนวงกวาง โดยเฉพาะในเขตเมืองที่มี การจราจรหนาแนน ไอเสียจากรถยนต ประกอบกับสภาวะอากาศปด ทีจ่ ะกอใหเกิด ปญหามลพิษทางอากาศสูงขึ้น และสถานการณปญหาขยะพลาสติกสงผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมอยางรุนแรง ซึ่งลวนเกิดจากมนุษยที่ไมมีจิตสํานึกในการรวมกัน รักษาสิง่ แวดลอมใหกบั โลกใบนี้ จึงนํามาซึง่ แนวนโยบายการขับเคลือ่ นการงดและ เลิกใหถงุ พลาสติกในหางสรรพสินคา ซูเปอรมารเก็ต และรานสะดวกซือ้ ตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 ตามทีก่ ระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมกําหนด เปนความรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชนในการดําเนินงานเพื่อลดและเลิกใช พลาสติกแบบใชครั้งเดียว หรือ Single-Use Plastic ภายใตโรดแมปการจัดการ ขยะพลาสติก พ.ศ. 2561-2573 “สถาบันสิง่ แวดลอมไทย ก็เปนหนวยงานทีเ่ กีย่ วของทีไ่ ดรบั มอบหมายใหรว ม บูรณาการดําเนินงาน โดยนโยบายในป 2563 นี้ สถาบันฯ จะเปนตัวกลางความ รวมมือกับภาครัฐ ภาคเอกชนในการรณรงคและประชาสัมพันธการสรางการรับรู และความเขาใจปญหาสิง่ แวดลอมและภาวะมลพิษทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ คงตองเนนมาตรการ แกไขเรือ่ งฝุน ละอองขนาดเล็กในอากาศ มาตรการดานการขนสงทีม่ ปี ระสิทธิภาพ การรณรงคใหประชาชนใชรถสาธารณะมากขึ้น การรณรงคลดการใชพลาสติก ทุกรูปแบบดวยการรีไซเคิลใหเปนกระบวนการสรางเศรษฐกิจหมุนเวียน รวมถึง จัดทําโครงการวิจยั การเปลีย่ นแปลงสภาพอากาศและสิง่ แวดลอม และมาตรการความ รวมมือกับสถาบันการศึกษาเพื่อสรางจิตสํานึกใหสังคมไทยไดตระหนักถึงปญหา ภาวะโลกรอนและปญหาสิ่งแวดลอมที่สงผลตอความเปนอยูของคนในชุมชน โดยจัดกิจกรรมใหเยาวชนทุกระดับรวมกันรณรงครกั ษาสิง่ แวดลอม ตัง้ แตในโรงเรียน ชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่นจากทั่วประเทศ เพื่อพัฒนาชุมชนของตน ใหเปนศูนยการเรียนรูดานการจัดการสิ่งแวดลอมไดอยางถูกตอง” 23
สําหรับผลการทํางานทีโ่ ดดเดนของ ดร.วิจารย ทีผ่ า นมา เปนผูร เิ ริม่ ดําเนิน การจัดการสิ่งแวดลอมอยางบูรณาการ ประกอบดวย การจัดการมลพิษทางนํ้า ดานการจัดการมลพิษทางอากาศ การจัดการขยะและของเสีย การจัดการสิง่ แวดลอม ระหวางประเทศ และการสรางการมีสวนรวมดานงานสิ่งแวดลอม การจัดการ คุณภาพนํ้าในระบบพื้นที่ลุมนํ้ารวมกับชุมชนและหนวยงานในพื้นที่ใน “โครงการ พันธมิตรลุม นํา้ ทาจีน” นับเปนตนแบบใหขยายผลไปในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ทําใหไดรบั รางวัล ระดับดีเยี่ยมการบริหารราชการแบบมีสวนรวม 2 ปซอน (พ.ศ. 2556 และ 2557) จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) สวนผลงานดีเดนดาน การจัดการมลพิษทางอากาศ คือ การแกไขปญหาหมอกควันภาคเหนือ โดยเนน การเสริมสรางบทบาทชุมชนในการแกไขปญหาผานการดําเนินการโครงการ “ชุมชนมาตรฐาน หมูบานปลอดการเผา” การพัฒนาแอพพลิเคชั่น “Air4Thai” เพื่อใหประชาชนสามารถติดตามขอมูลคุณภาพอากาศ และหลีกเลี่ยงผลกระทบ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ได ขณะเดียวกันยังเปนผูม บี ทบาทสําคัญในการขับเคลือ่ นแผนโรดแมป อาเซียนปลอดหมอกควัน “ASEAN Transboundary Haze-Free Roadmap” เพือ่ ให การแกไขปญหาหมอกควันขามแดนอยางเปนรูปธรรม เพื่อใหอาเซียนปลอดจาก หมอกควันภายในป พ.ศ. 2563 ซึง่ ไดรบั การยอมรับจากประเทศภาคีอาเซียน ขณะที่ ผลงานดานการจัดการขยะและของเสียไดขบั เคลือ่ นผานแผนแมบทบริหารจัดการ ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย จนสามารถแกไขปญหาการตกคางของขยะสะสม การสรางรูปแบบการบริหารจัดการ การนําขยะไปผลิตพลังงาน การสรางการรับรู เพื่อลดขยะที่ตนทาง เปนตน และไดเปนผูแทนประเทศไทยและระดับภูมิภาค ในการเขารวมประชุมระดับนานาชาติดานสิ่งแวดลอม ไดแก การไดรับเลือกเปน ผูแ ทนภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก ในการเขาไปรวมเปนผูท รงคุณวุฒใิ นการจัดทํารายงาน สถานการณสิ่งแวดลอมโลก ฉบับที่ 6 (Global Environment Outlook 6) ของ องคการสหประชาชาติ โปรแกรมสิ่งแวดลอม (UNEP) อีกดวย “แนวคิดในการบริหารองคกร ผมมีแนวคิดในการบริหารโดยเนนการมี สวนรวม และหุน สวนการทํางานกับภาคสวนตางๆ ทัง้ ภาครัฐ ผูป ระกอบการ องคกร พัฒนาเอกชน และประชาชนทัว่ ไป บนพืน้ ฐานความรู ขอเท็จจริงทีเ่ ปนวิทยาศาสตร เสนอแนะการขับเคลือ่ นนโยบายในทิศทางทีถ่ กู ตอง สรางสังคมและชุมชนใหเขมแข็ง รวมมือทางวิชาการกับองคการและสถาบันทั้งในและระหวางประเทศ และทํางาน อยางโปรงใส ในสวนพนักงานของสถาบัน ก็มงุ พัฒนาศักยภาพใหมคี วามสุขกับงาน และมีความสมดุลของงานรับผิดชอบกับชีวติ สวนตัวและครอบครัวดวย” ดร.วิจารย กลาว อยางไรก็ดี จากประสบการณที่สั่งสมมาของทาน ไดถูกถายทอดไปสู สวนตางๆ ใหมกี ารขับเคลือ่ นทางนโยบาย และดวยการยึดหลักแนวคิดของความเปน นักบริหารงานที่ไดทุมเทดวยใจรัก และเปนผูนําที่ทํางานอยางโปรงใส ยึดหลัก พรหมวิหาร 4 คือ ความเมตตา กรุณา มุทติ า และอุเบกขา ยึดมัน่ ในคุณงามความดี แลวนํามาบริหารองคกรอยางเสมอตนเสมอปลาย จึงเปนทีป่ ระจักษแกสาธารณชน ไดรบั การยอมรับทัง้ หนวยงานภายในและองคกรระหวางประเทศวาเปนผูน าํ ตนแบบ และเปนนักวิชาการดานสิ่งแวดลอมที่มุงประโยชนสวนรวมอยางแทจริง
GreenNetwork4.0 January-February 2020
GREEN
Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข
หญาเนเปยร
พลิกผืนดินอีสาน เขียวขจีอยางยั่งยืน
โครงการโรงไฟฟาชุมชน เพือ่ เศรษฐกิจฐานรากของกระทรวง พลังงาน โหมกระพือแยงพื้นที่สื่อมากวา ครึง่ ป แมแตฝนุ PM2.5 อาหารจานโปรดของ สื่อทั้งหลายก็ไมอาจกลบขาวโรงไฟฟาชุมชนลงได เนื่องจากเปนเรื่องของปากทอง เปนเศรษฐกิจฐานราก ของชุมชนตลอด 365 วัน ไมใชปญหาปละ 3-4 เดือน เหมือนฝุนพิษที่มนุษยสรางขึ้น โรงไฟฟาชุมชนที่มีคนกลาวขานวา 100 ป มี 1 ครั้งนั้น ไดมุง แกไขปญหาเดิมๆ ของกระทรวงทีส่ รางไวหลายยุคหลายสมัย เปนบาดแผลลึก ที่รอการเยียวยามากวา 10 ป เศรษฐกิจของประเทศเสียหายเกินคณานับ โครงการพลังงานทดแทนเหลานั้นไดมีโอกาสแจงเกิดอีกครั้งในโครงการ Quick Win ซึ่งมีทั้งโครงการชีวมวลและกาซชีวภาพ สําหรับโครงการใหมของโรงไฟฟาชุมชน พอจะสรุปแยกเชื้อเพลิงออกได 3 สวน คือ 1) อุตสาหกรรมปาลมนํา้ มัน ทัง้ ทะลายปาลมเปลา (EFB) นํา้ เสียจากโรงงานหีบปาลม กลุม นี้ คอนขางมีความมั่นคงดานเชื้อเพลิง และมีความสามารถในการลงทุนเอง 2) กลุม ชีวมวล (BIOMASS) ซึง่ มีความหลากหลายของแหลงทีม่ าของเชือ้ เพลิง อีกทัง้ ยังมีโรงไฟฟา ชีวมวลมากมายที่ตองการเชื้อเพลิงอยางตอเนื่องทุกวัน ซึ่งไมรวมถึงโรงไฟฟาชีวมวลที่ไดรับใบอนุญาตขายไฟ (PPA) แลวและกําลังกอสรางอยูอีกหลายรอยเมกะวัตต ดังนั้น ผูเขารวมโครงการจึงมีทั้งที่มีเชื้อเพลิงอยูจริง และ จะปลูกขึน้ ใหมจริงๆ และผูท เี่ ขารวมเพือ่ เพิม่ ความมัน่ คงของราคาเชือ้ เพลิง รวมทัง้ ผูท ไี่ มตอ งการพลาดรถไฟสายเศรษฐกิจ ฐานราก จึงเจียดเชือ้ เพลิงสวนหนึง่ มาเขารวมโครงการ ความเห็นผูเ ขียนก็คอื ชีวมวลไทย ไดเวลาปลูกเพิม่ แลว ราคาหนาสวนปา ประมาณตันละ 650-700 บาทตอตัน สวนราคาทีโ่ รงไฟฟารับไดไมนา จะเกินตันละ 950 บาท ลองพิจารณากันดู ถือวาโยนหินถามทาง ก็แลวกัน 3) กลุม กาซชีวภาพจากพืชพลังงาน โดยเฉพาะอยางยิง่ หญาเนเปยร ซึง่ เปนเปาหมายหลักทีก่ ระทรวงพลังงานมุง มัน่ และวางยุทธศาสตร ใชการตลาดนําภาคเกษตรกรรม โดยผูป ลูกหญาเนเปยรจะมีตลาดตามสัญญากับภาครัฐถึง 20 ป ในราคาทีต่ กลงกับโรงไฟฟา ซึง่ ชุมชนมีสว นเปนเจาของถึง 10% ตามสัญญาเกษตรพันธสัญญา (Contract Farming)
หญาเนเปยรจะสามารถพลิกฟนแผนดินอีสานใหเขียวขจี ไดจริงหรือ ... ?
คงตองมาแยกแยะเปนรายจังหวัด และพื้นที่ที่แตกตางกันหลายจังหวัดใน ภาคอีสาน โดยเฉพาะจังหวัดใหญๆ มีเศรษฐกิจทีค่ อ นขางดี บางก็เปนแหลง ทองเทีย่ ว บางก็เปนเมืองชายแดน มีการคาขายกับประเทศเพือ่ นบาน สําหรับภาคอีสานตอนกลางหลายจังหวัด หลายอําเภอทีไ่ มได ปลูกออยหรือปลูกยางพารา อีกทัง้ ปลูกมันสําปะหลัง ปลูกขาวก็ยังไมไดผลดี ในสวนนี้ควรสงเสริม ใหมีการปลูกหญาเนเปยรในโครงการ โรงไฟฟาชุมชน โดยเฉพาะใน พื้ น ที่ ที่ ใ กล แ หล ง นํ้ า จะ เหมาะสมอยางมาก
24
GreenNetwork4.0 January-February 2020
ผลพลอยได
คงไมมพี ชื ลมลุกชนิดใดทีไ่ มตอ งการทัง้ นํา้ ทัง้ ปุย ในการเจริญเติบโต “เนเปยร” ก็เชนกัน ถามีความอุดมสมบูรณทั้งนํ้าทั้งปุย ผลผลิตก็จะดีขึ้น ขอยกตัวอยาง หญาเนเปยรที่กรมปศุสัตวพัฒนาพันธุแลวใหผลผลิต ดังนี้ ผลผลิตพันธุป ากชอง 1 หากมีการดูแลครบถวน สามารถเก็บเกีย่ วไดปล ะ 5-6 ครั้ง ใหผลผลิตนํ้าหนักสดประมาณ 70-80 ตันตอไรตอป และหากมีการ รักษาตอใหดกี จ็ ะสามารถใชตอเดิมไดโดยผลผลิตไมลดลง (ขอมูลจากกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน)
ผลพลอยไดจากโรงไฟฟากาซชีวภาพหญาเนเปยร ผลกระทบในภาพกวาง
1. เปลี่ยนกระบวนการคิดในการผลิตไฟฟาที่อยูในมือของกลุมทุนสูการ แบงปนสูชุมชนและอาจเปนแมแบบแหงความยั่งยืนของการพัฒนาประเทศ ในอนาคต 2. เกิดการประกันรายไดสินคาเกษตรระยะยาว เพิ่มทางเลือกใหมใหภาค เกษตรกรรม 3. การปลูกหญาเนเปยรทมี่ ากเพียงพอ เชน 200,000 ไร (สําหรับผลิตไฟฟา 200 เมกะวัตต) จะชวยพลิกพืน้ ดินแหงแลงภาคอีสานบางสวนใหกลายเปนพืน้ ทีส่ เี ขียว มีความชุมชื้นอยางยั่งยืนตลอดอายุสัมปทาน 20 ป
25
1. เกิดอาชีพตอเนื่องจากการปลูกหญาเนเปยร เชน การเลี้ยงวัว และ เลี้ยงสัตวตางๆ 2. การปลูกพืชเสริม เชน ทุเรียน กาแฟ และผลไมตางๆ อันไดจาก ความชุม ชืน้ ของพืน้ ดิน และปุย ทีม่ าจากของเหลือใชในโรงไฟฟากาซชีวภาพ 3. มีการจางงานเพิ่มทั้งดานการปลูก เก็บเกี่ยว และในโรงไฟฟา 4. มีการพัฒนาเทคโนโลยีการหมักกาซชีวภาพจากพืชพลังงาน และการพัฒนาพันธุหญาเนเปยร รวมทั้งเทคนิคการปลูกหญาเนเปยร โรงไฟฟากาซชีวภาพจากพืชพลังงานหญาเนเปยร อาจไมงาย และเบ็ดเสร็จเหมือนโรงไฟฟาชีวมวล ผูล งทุนและชุมชนยังมีพนั ธกิจ รวมกันตลอดระยะเวลาอันยาวนานของโครงการ ในการรวมจัดการ ระบบฟารมทีจ่ ะปลูกหญาใหไดผลผลิตสูงสุดดวยตนทุนทีเ่ หมาะสม และเปนธรรมกับทุกฝาย ดวยเหตุนี้โรงไฟฟาชุมชนจากเนเปยร จึงไมเหมาะกับภาคเอกชนที่ตองการสรางผลกําไรแบบใหเงิน ชวยทํางานแทนเหมือนพลังงานทดแทนอื่นๆ โครงการโรงไฟฟาชุมชนจากพืชพลังงานอยางหญา เนเปยรเปนนโยบายแบบ Big Rock ทีส่ ง ผลกระทบเชิงบวก ตอคนอีสานอยางมีนยั สําคัญ อีสานจะเขียวไดตามแผนที่ กระทรวงพลังงานคาดหวังหรือไม ชุมชนที่ไดเขารวม โครงการ เอกชนที่เขารวมลงทุน หนวยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวของ ตองรวมมือรวมใจสูเปาหมายเดียวกัน คือใหคนอีสานกินดีอยูดีขึ้น … “หมูเฮาสุผูสุคนกะขอซํานี้ละ กะพอไดอยู ไดกินแลวเดอพี่นองงง”
GreenNetwork4.0 January-February 2020
GREEN
Article รศ. ดร.ธภัทร ศิลาเลิศรักษา (JGSEE) ม.เทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี
จากกระแสความกังวลต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม และการหมดลงไปของ ทรัพยากรธรรมชาติ รวมไปถึงนับตัง้ แต่ปี ค.ศ. 2015 ทีเ่ ป้าหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน (Sustainable Development Goals : SDG) ได้ถกู ก�ำหนดขึน้ เพือ่ ใช้เป็นกรอบทิศทาง ในการพัฒนาของโลก หรือทีเ่ รียกว่า “Global Target, National Action” กล่าวคือ เป็นเป้าหมายของโลกเพือ่ ให้ประเทศต่างๆ น�ำไปปฏิบตั ใิ ห้บรรลุผลส�ำเร็จภายในปี ค.ศ. 2030 ท�ำให้ในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมาภาครัฐ ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม รวมถึง สังคม เริ่มให้ความสนใจมากขึ้นกับการขับเคลื่อนสีเขียวเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนดังกล่าว บทความนีข้ อน�ำเสนอ 1 ใน 17 เป้าหมายของการพัฒนา ที่ย่ังยืนของโลกที่ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมต้องให้ความส�ำคัญ และใช้เป็น กลยุทธ์ส�ำหรับการปรับตัวทางธุรกิจเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สร้างโอกาส ทางการตลาด การค้า ไปจนถึงการแข่งขันได้ในอนาคต นัน่ ก็คอื เป้าหมายทีเ่ รียกว่า “SDG 12” หรือ “การบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน (Sustainable Consumption and Production)” หัวใจหลักของ SDG 12 ก็คอื “ความต้องการผลักดันให้เกิดความรับผิดชอบ ต่อการบริโภคและการผลิต” ดังนั้นตัวชี้วัดความส�ำเร็จของ SDG 12 จึงมีหลาย ตัวชีว้ ดั ทีเ่ น้นด้านประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรและการลดของเสียหรือการสูญเสีย ในการผลิตและการบริโภค เช่น ตัวชี้วัด Material Footprint และตัวชี้วัดการใช้ วัสดุภายในประเทศ (Domestic Material Consumption) รวมถึงดัชนีการสูญเสีย อาหาร (Food Loss Index) ซึง่ บทความนีจ้ ะน�ำเสนอ 3 กลยุทธ์หลักทีภ่ าคอุตสาหกรรม ควรด�ำเนินการเพื่อมุ่งไปสู่การบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน อันประกอบด้วย
1.
“Decoupling” แนวคิดของการผลักดันให้เกิดการการเติบโต
ทางเศรษฐกิจหรือก�ำไรของธุรกิจในขณะที่ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หรือลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ (ดังตัวอย่างรูปที่ 1) ซึง่ ระดับของการ Decoupling มีทงั้ ระดับทีเ่ รียกว่า “Absolute Decoupling” คือเศรษฐกิจโตขึน้ ขณะทีผ่ ลกระทบ สิง่ แวดล้อมสวนทางลดลง หรือระดับ “Relative Decoupling” คือเศรษฐกิจโตสูงขึน้ ในอัตราทีม่ ากกว่าอัตราการเติบโตของผลกระทบสิง่ แวดล้อมหรือการใช้ทรัพยากร อย่างไรก็ตาม หากเป็นไปได้ Absolute Decoupling ก็มกั เป็นสิง่ ทีค่ วรก�ำหนดเป็น เป้าหมายของการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนมากกว่า Relative Decoupling โดยมีตวั อย่างของ การ Decoupling แบบง่ายๆ เช่น การหารูปแบบการขนส่งทีส่ ามารถขนส่งคนหรือ สินค้าได้มากขึน้ ขณะทีก่ ารใช้พลังงานลดลง หรือกรณีของการผลิตพลังงาน เช่น การผลิตไฟฟ้าทีเ่ พิม่ ขึน้ แต่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกลดลง ซึง่ การจะบรรลุตวั ชีว้ ดั ข้างต้นนี้ก็อาจต้องน�ำไปสู่มาตรการการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน และ การเพิ่มประสิทธิภาพโรงไฟฟ้า เป็นต้น
บทบาทอุตสาหกรรม ต่อการบริโภค และการผลิตที่ยั่งยืน
2.
“Green Industry” หรือการพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว กล่าวคืออุตสาหกรรมทีล่ ดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและลดการใช้ ทรัพยากร รวมถึงไปถึงการสร้างโอกาสทางการตลาดจากผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งในส่วนนี้ปัจจุบันประเทศไทยได้มีนโยบายการส่งเสริม อุตสาหกรรมสีเขียวโดยหลายหน่วยงาน เช่น การให้การรับรองโรงงาน อุตสาหกรรมสีเขียว “Green Industry Mark” ของกระทรวงอุตสาหกรรม หรือการให้การรับรองโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ “Eco Factory” ของ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (รูปที่ 2)
รูปที่ 2 สัญลักษณ์ Green Industry และ Eco Factory ในประเทศไทย รูปที่ 1 Decoupling Concept
ที่มา : IRP, 2017 26
GreenNetwork4.0 January-February 2020
3.
“Eco-Label” หรือฉลากสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นกลยุทธ์
ส�ำคัญของการสื่อสารเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงความเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ อันจะน�ำไปสู่การตัดสินใจ เลือกซื้อใช้งานต่อไป ซึ่งปัจจุบันมีมากมายหลายรูปแบบทั้งที่เป็นแบบ ประเด็นเฉพาะ เช่น ฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 หรือฉลากสิง่ แวดล้อมทีม่ ี เกณฑ์ประเมินทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งปัจจุบันฉลากสิ่งแวดล้อมสามารถ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท กล่าวคือได้ประโยชน์จากการพัฒนาสินค้า ที่มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ไปจนถึงการสร้างภาพลักษณ์ของบริษัท
ฉลากสิ่งแวดล้อมประเภทที่ 1 คือฉลากสิ่งแวดล้อมที่มอบ
ให้กับผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการประเมินและตรวจสอบโดยหน่วยงานอิสระ ที่มีความเป็นกลาง ว่าได้มาตรฐานทางด้านสิ่งแวดล้อมตามข้อก�ำหนด ทั้งนี้ ข้อก�ำหนดฉลากสิ่งแวดล้อมนี้จะเน้นการป้องกันมลพิษที่เกิดขึ้น โดยพิจารณาตลอดทัง้ วัฏจักรชีวติ ของผลิตภัณฑ์ โดยส�ำหรับประเทศไทย จะรู้จักกันในชื่อของ “ฉลากเขียว” ที่ด�ำเนินโครงการโดยสถาบัน สิ่งแวดล้อมไทย
ฉลากสิ่งแวดล้อมประเภทที่ 2 คื อ ฉ ล า ก ที่ ผู ้ ผ ลิ ต เ ป ็ น
ผู้บ่งบอกเองว่า ผลิตภัณฑ์ของตนชิ้นนี้มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Self-Declaration) โดยผูผ้ ลิตมักแสดงในรูปของข้อความหรือสัญลักษณ์ และมักต้องมีเกณฑ์หรือหลักฐานที่แสดงหรือชี้แจงต่อคนภายนอกว่า ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมในแง่มมุ ใด เช่น ลดการใช้พลังงาน สามารถย่อยสลายได้ น�ำกลับมาใช้ใหม่ ดังตัวอย่างฉลาก PTT Green for Life หรือ SCG Eco Value เป็นต้น
27
ฉลากสิ่งแวดล้อมประเภทที่ 3 คือฉลากที่มีการแสดงข้อมูล
ผลกระทบของผลิตภัณฑ์ตอ่ สิง่ แวดล้อม (Environmental Information) โดยอาศัยเครื่องมือการประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment) ในการศึกษา และต้องมีการรับรองผลด้วยหน่วยงานกลาง ดังตัวอย่าง ฉลาก EPD ในสหภาพยุโรป ซึง่ ปัจจุบนั ประเทศไทยยังไม่มกี ารรับรองฉลาก ประเภทที่ 3 นี้อย่างเต็มรูปแบบ แต่มีฉลากสิ่งแวดล้อมที่อาจจัดได้ว่า ใกล้เคียงและได้รบั ความนิยมอย่างมากในปัจจุบนั ได้แก่ “ฉลากคาร์บอน ฟุตพริน้ ท์ผลิตภัณฑ์ (Carbon Footprint of Product)” ทีด่ ำ� เนินการโดย องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) และ “ฉลาก ฟุตพริน้ ท์การขาดแคลนน�ำ้ (Water Scarcity Footprint)” ทีด่ ำ� เนินการ โดยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ถึงแม้วา่ โดยแท้จริงการบรรลุเป้าหมายของ SDG 12 นัน้ ต้องอาศัย ความร่วมมือกันของทุกภาคส่วน แต่อย่างไรก็ตาม ก็หลีกเลีย่ งไม่ได้เช่นกัน ทีภ่ าคอุตสาหกรรมมักจะต้องเป็นผูร้ เิ ริม่ น�ำเสนอแนวทางเพือ่ มุง่ ไปสูก่ าร บริโภคและการผลิตทีย่ งั่ ยืนต่อไปในสังคม ซึง่ ผูเ้ ขียนคิดว่าจากกลยุทธ์หลัก ทัง้ 3 ข้อข้างต้นน่าจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็นอ้ ยส�ำหรับการน�ำไปใช้เพือ่ วางแผนและก�ำหนดเป้าหมายการด�ำเนินงานขององค์กรได้ต่อไป
เอกสารอ้างอิง
IRP (2017). Assessing global resource use: A systems approach to resource efficiency and pollution reduction. A Report of the International Resource Panel. United Nations Environment Programme. Nairobi, Kenya. United Nations. (2019). Sustainable Development Goal 12: Ensure sustainable consumption and production patterns. https://sustainabledevelopment.un.org/sdg12 (accessed 12 August 2019)
GreenNetwork4.0 January-February 2020
GREEN
World กองบรรณาธิการ
ทั่วโลกก�ำจัดขยะ (พลาสติก)
แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม ร่วมกันอนุรักษ์พลังงาน
ประเทศอังกฤษ ได้เริม่ เก็บค่าธรรมเนียมถุงพลาสติกจากผูบ้ ริโภคในร้านค้าใหญ่ๆ
ปัญหาสิง่ แวดล้อมทีส่ ง่ ผลกระทบต่อโลก ล้วนเกิดจากฝีมอื มนุษย์ โดยเฉพาะปัญหาขยะพลาสติกล้นเมืองทีก่ อ่ ให้เกิดปัญหามลภาวะต่างๆ ขณะนีห้ ลายประเทศให้ความสนใจและร่วมกันหาวิธแี ก้ไข ทัง้ การก�ำหนด นโยบายในการจัดการขยะ รวมถึงมาตรการลดเลิกใช้ถุงพลาสติก และ การรณรงค์ขยะรีไซเคิล ประเทศสวีเดน เป็นประเทศอันดับที่ 1 จากทุกประเทศทั่วโลก ที่มีกระบวนการจัดการขยะ กลายเป็นประเทศหนึ่งเดียวที่ได้เริ่มต้น โครงการคัดแยกขยะ และน�ำขยะทีค่ ดั แยกแล้วกลับมาใช้เป็นพลังงานใหม่ ตัง้ แต่เมือ่ ปี ค.ศ. 1940 ซึง่ ในปัจจุบนั ประเทศสวีเดนสามารถพัฒนาเทคโนโลยี ที่น�ำขยะกลับมาใช้เป็นพลังงานได้โดยแทบไม่ก่อให้เกิดมลพิษใดๆ และ สามารถน�ำขยะไป Reuse ได้จ�ำนวนมากถึง 96% และยังมีโครงการ แปรรูปขยะเป็นพลังงานไฟฟ้าทีส่ ามารถผลิตไฟฟ้าใช้เองภายในประเทศ ได้มากกว่า 810,000 ครัวเรือน และมีระบบมัดจ�ำค่าขวดพลาสติกทีเ่ ก็บเงิน ค่าขวดพลาสติกจากผู้บริโภคที่ไม่น�ำขวดพลาสติกที่ใช้เสร็จแล้วไปคืน ณ จุดรับคืน เพื่อป้องกันการทิ้งถุงพลาสติกไปอย่างเสียเปล่านั่นเอง ประเทศเยอรมนี ในปี ค.ศ. 1996 ประเทศเยอรมนีได้ชอื่ ว่าเป็น ประเทศแห่งขยะรีไซเคิลครองอันดับ 1 ของโลก โดยการออกกฎหมาย ควบคุมขยะมูลฝอยกระจายออกไปในทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอน ของการผลิต จ�ำหน่าย หรือบริโภค รวมถึงให้คดั แยกขยะก่อนทิง้ ทุกครัง้ อีกทั้งยังมีการเก็บภาษีรีไซเคิลจากร้านค้าทุกร้านที่มีถุงพลาสติกแจก ลูกค้า และมีระบบมัดจ�ำค่าขวดพลาสติกเพือ่ เป็นการกระตุน้ ให้ผบู้ ริโภค ส่งคืนขวดเพื่อน�ำไปรีไซเคิลต่อไป ท�ำให้บริษัทเครื่องดื่มต่างเลือกที่จะ ผลิตขวดพลาสติกที่สามารถใช้ซ�้ำได้ออกสู่ตลาด เป็นผลท�ำให้จ�ำนวน ขวดพลาสติกในท้องตลาดของเยอรมนีเป็นขวดพลาสติกชนิดใช้ซำ�้ มากถึง 64% ที่ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมในทุกๆ ภูมิภาคของประเทศได้เป็นอย่างดี ประเทศเดนมาร์ก เป็นประเทศตัวอย่างที่ประสบความส�ำเร็จ ในการลดการใช้พลาสติกในปี ค.ศ. 2003 โดยมีการเก็บภาษีถงุ พลาสติก จากผู้ค้าปลีกเพื่อกดดันให้ร้านค้าปลีกคิดค่าธรรมเนียมถุงพลาสติกกับ ลูกค้า และยังกระตุน้ ให้ผบู้ ริโภคทัว่ ไปใช้ถงุ ทีส่ ามารถน�ำกลับมาใช้ได้ใหม่ (Reusable Bags) และปัจจุบนั เดนมาร์กมีระบบกระตุน้ ให้ผบู้ ริโภคน�ำขวด มาคืนเพื่อรับเงินที่มัดจ�ำไว้ เพื่อน�ำขวดพลาสติกไปรีไซเคิลต่อไป
28
ใบละประมาณ 2.14 บาท และยังมีแผนทีจ่ ะน�ำระบบมัดจ�ำขวดพลาสติกมาใช้ รวมทัง้ ห้ามใช้ หลอดดูดพลาสติก แท่งพลาสติกส�ำหรับคนกาแฟ และก้านส�ำลีแคะหู ซึง่ ถือว่าวิธกี ารดังกล่าว ท�ำให้อังกฤษสามารถลดการใช้พลาสติกได้มากกว่า 80% ส่งผลให้สามารถลดการปล่อย คาร์บอนไดออกไซด์ได้เป็นอย่างดี ประเทศสหรัฐอเมริกา ในบางรัฐได้ออกกฎมาตรการควบคุมพลาสติก เช่น ซานฟรานซิสโก เป็นเมืองแรกที่มีการห้ามถุงพลาสติกเด็ดขาด ซึ่งนโยบายนี้ได้ผลักดันให้ ชาวเมืองใช้ถุงที่สามารถใช้ซ�้ำได้ ด้วยการวางขายถุงกระดาษใส่ของที่ย่อยสลายได้ไว้ที่จุด แคชเชียร์ ท�ำให้ลดมลพิษจากถุงพลาสติกได้ถงึ 72% และในปี ค.ศ. 2009 กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ก็มกี ารเก็บภาษีถงุ พลาสติก ซึง่ สามารถลดการใช้ถงุ พลาสติกได้ถงึ 85% ช่วยรักษาสิง่ แวดล้อม ให้กับประเทศได้มากที่สุด ประเทศออสเตรเลีย ปี ค.ศ. 2011 ออสเตรเลียมีการห้ามใช้ถุงพลาสติกชนิด PE แบบใช้ครัง้ เดียวทุกชนิดทีบ่ างกว่า 35 ไมครอน โดยรัฐบาลณรงค์ให้พลเมืองใช้ถงุ ทีส่ ามารถ น�ำกลับมาใช้ได้ใหม่ เพือ่ ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม สามารถก�ำจัดขยะพลาสติกทีจ่ ะส่งไป หลุมฝังกลบได้ถึง 1 ใน 3 จากปริมาณเดิม และเมื่อไม่นานมานี้ได้เริ่มน�ำมาตรการไม่ให้ ถุงพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งแก่ลูกค้าอีก เพื่อมุ่งให้เกิดการลดพลาสติก ประเทศญี่ปุ่น เป็นประเทศในเอเชียที่มีวิธีการจัดการขยะมากมาย ซึ่งประชาชน ชาวญีป่ นุ่ ทุกคนมีสว่ นร่วมในการรับผิดชอบการจัดการขยะในประเทศของตนเองเป็นอย่างดี และมีระเบียบวินยั ส่งผลให้ญปี่ นุ่ ประสบความส�ำเร็จในด้านการจัดการขยะสูง ถือว่ากฎหมาย ดังกล่าวสามารถลดการทิง้ ขยะได้ถงึ 40% ท�ำให้การแก้ปญ ั หาสิง่ แวดล้อมในประเทศจากเรือ่ ง ขยะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประเทศจีน เป็นประเทศทีม่ ปี ระชากรมากทีส่ ดุ ในโลก จึงมีอตั ราการใช้ถงุ พลาสติก ค่อนข้างสูงตามไปด้วย แต่ในปี ค.ศ. 2008 รัฐบาลจีนได้มคี ำ� สัง่ ห้ามร้านค้าและห้างสรรพสินค้า จัดเตรียมถุงพลาสติกฟรีทมี่ ขี นาดบางกว่า 0.25 มิลลิเมตร ให้กบั ลูกค้า และเก็บค่าธรรมเนียม เมือ่ ใช้ถงุ พลาสติก ซึง่ มาตรการดังกล่าวท�ำให้จนี ลดการใช้ถงุ พลาสติกได้ถงึ 40,000 ล้านใบ
กลุ่มประเทศอาเซียน ประกอบด้วย อินโดนีเซีย กัมพูชา เมียนมา และมาเลเซีย
ประเทศอินโดนีเซีย โดยรัฐบาลได้ทดลองเก็บภาษีถงุ พลาสติก แม้ในช่วงต้นจะเกิด กระแสต่อต้านจากประชาชนเป็นส่วนใหญ่ แต่สุดท้ายก็สามารถลดปริมาณถุงพลาสติกได้ จ�ำนวนมาก ขณะที่ ประเทศกัมพูชา ก�ำลังพิจารณาห้ามผลิต-น�ำเข้า และจ�ำหน่ายถุงพลาสติก ทีบ่ างกว่า 0.03 มิลลิเมตร และมีความกว้างน้อยกว่า 30 เซนติเมตร และจะเก็บเงินค่าถุงพลาสติก เพิม่ ขึน้ ทัว่ ประเทศในปี ค.ศ. 2020 ส�ำหรับ ประเทศเมียนมา ในปี ค.ศ. 2009 บริษทั ผูผ้ ลิต ถุงพลาสติกในย่างกุง้ ได้รบั ค�ำสัง่ จากรัฐบาลในขณะนัน้ ให้ยกเลิกการผลิตถุงพลาสติก พร้อม กับได้ออกมาตรการห้ามใช้ถงุ พลาสติกในหลายๆ เมือง ส่วน ประเทศมาเลเซีย มีการรณรงค์ ลดการใช้ถงุ พลาสติกและโฟมเฉพาะวันเสาร์ พร้อมแก้ไขกฎหมายเพือ่ สนับสนุนการรณรงค์ ด้วยการก�ำหนดให้ผู้ค้าปลีกในห้างสรรพสินค้า หรือซูเปอร์มาร์เก็ตต้องยอมรับข้อก�ำหนดนี้ อย่างไรก็ดี หากมองกลับมาที่ ประเทศไทย ของเรา เป็นประเทศทีม่ ปี ญั หาขยะพลาสติก ปริมาณมากและทิ้งขยะลงสู่ทะเลมากที่สุดเป็นอันดับต้นๆ ของโลก จึงน�ำมาสู่นโยบายของ ภาครัฐที่ก�ำหนดให้ลดเลิกและงดใช้ถุงพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว 100% รวมถึงมาตรการ สนับสนุนให้เลือกใช้วัสดุทดแทนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งรัฐบาลตั้งเป้าไว้ว่าภายในปี ค.ศ. 2022 ประเทศไทยจะลดปริมาณขยะพลาสติกทีต่ อ้ งน�ำไปก�ำจัดได้ประมาณ 0.78 ล้านตัน ต่อปี
GreenNetwork4.0 January-February 2020
แอพพลิเคชั่น
NOSTRA Map ข้อมูลแผนที่ดิจิทัล
SMART
City
กองบรรณาธิการ
แก้ขยะล้นเมือง จากปัญหาภาวะโลกร้อน หรือ Climate Change สู่ปัญหาขยะล้นโลก ก�ำลังเป็น ที่จับตามองถึงความสูญเสียต่อสัตว์ทะเลหายากในท้องทะเลจากการกลืนขยะพลาสติก โดยรายงานจากองค์กรอนุรกั ษ์ทอ้ งทะเล หรือ Ocean Conservancy พบว่า หลายประเทศ ในอาเซียน ซึ่งมีประเทศไทยเป็น 1 ใน 5 ที่เป็นต้นตอของการทิ้งขยะพลาสติกในทะเล รวมแล้วมากว่า 8 ล้านตัน โดย 3 อันดับที่พบมากสุดในทะเลไทยคือ ถุงพลาสติก 13% หลอดพลาสติก 10% และฝาขวดพลาสติก 8% ส่งผลกระทบมหาศาลต่อสัตว์ทะเล สัตว์บก และมนุษย์ สิ่งที่ตามมาคือ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จึงน�ำมาซึง่ การรณรงค์ให้ประชาชนมีจติ ส�ำนึกและตระหนักถึงความส�ำคัญช่วยกัน ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม จากทุกภาคส่วนหลายหน่วยงาน โดยมี บริษัท โกลบเทค จ�ำกัด ใน CDG Group ซึ่งเป็นผู้น�ำการให้บริการโซลูชั่นด้านข้อมูลแผนที่ดิจิทัล และ Location Contents ที่มีความละเอียด ถูกต้อง และทันสมัยสูงสุด ครอบคลุมถึง 10 ประเทศใน ภูมภิ าคอาเซียน ภายใต้แบรนด์ “NOSTRA” ได้เพิม่ แผนทีพ่ นื้ ที่ 12 จุดทีเ่ ปิดรับขยะพลาสติก ลงใน แอพพลิเคชัน่ NOSTRA Map เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการน�ำขยะ ไปทิง้ แล้วเข้าสูก่ ระบวนการคัดแยกและกระบวนการรีไซเคิลขยะ โดยสามารถดาวน์โหลด แอพฯ ใช้ฟรีได้ทันทีบน App Store และ Google Play ส�ำหรับพืน้ ที่ 12 จุด รับรีไซเคิลพลาสติก ได้แก่ 1. กรมควบคุมมลพิษ ถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กรุงเทพฯ รับบริจาคอะลูมเิ นียมใช้แล้วทุกชนิด เปลีย่ นให้เป็นส่วนประกอบของ ขาเทียมพระราชทาน 2. มูลนิธพิ ลังทีย่ งั่ ยืน บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ถนนวิภาวดีรงั สิต เขตจตุจักร กรุงเทพฯ รับบริจาคหลอดพลาสติกสะอาด เปลี่ยนให้เป็นหมอนเพื่อผู้ป่วย ติดเตียงในชุมชน 3. บริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) อาคารเอ็ม ทาวเวอร์ ชั้น 8 ถนนสุขุมวิท เขตพระโขนง กรุงเทพฯ รับบริจาคกล่องนม เปลี่ยนให้เป็นหลังคาให้ มูลนิธอิ าสาเพือ่ นพึง่ (ภา) ยามยาก 4. โครงการ “วน” บริษทั ทีบพี ไี อ จ�ำกัด ต�ำบลไร่ขงิ อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม รับบริจาคถุงช้อปปิ้ง ถุงน�้ำตาลล้างสะอาด เปลี่ยนให้ เป็นถุงใหม่เพือ่ วนกลับมาใช้ใหม่ 5. วัดทองนพคุณ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี รับบริจาค ขวดพลาสติกใส เปลี่ยนให้เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีประโยชน์ภายในวัด เช่น สะพาน หรือแพ ซึง่ นอกจากจะใช้ในการประชาสัมพันธ์วดั แล้ว ยังเป็นตัวอย่างในการน�ำของเหลือใช้มาเพิม่ คุณค่าได้อีก 6. วัดจากแดง อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ รับบริจาค ขวดพลาสติกใส PET (แกะฉลากบีบให้แบน) ด้วยการแปรรูปเป็นเส้นด้าย แล้วน�ำมาเย็บ เป็นจีวรพระ 7. โครงการหลังคาเขียว บริษัท ไฟเบอร์พัฒน์ จ�ำกัด ถนนบางนา-ตราด
29
แห่งชาติแห่งชาติForbi tam autus re no. Tum aut orta virio condius creheni caeces se clus consceps, nocchum octus Ahabemum contiam, Catorum probsen irmis, Cateres optia? qua deatientiam derfes st a ma, sestra อ�ำเภอบางเสาธง จังหวัmorbi ดสมุทis.รปราการ Cis bontes รับบริinจาคกล่ tuscibus องนมetius กล่องเครือ่ งดืม่ กล่องน�ำ้ ผลไม้เปลีย่ นให้fure เป็นconsulin กระเบือ้ งหลั turopos งคา โต๊atum ะ เก้าอีmanum ้ 8. Precious iu Plastic BKK จักรพงษ์วลิ ล่า ท่vivirte าเตียน nortem เขตพระนคร publicกรุinti งเทพฯ permius;Lego รับบริจาครับฝาน�ำ้ ดืม่ พลาสติกเกรด HDPE/PP เพื่อเปลี่ยนให้เป็นภาชนะพลาสติกแบบต่างๆ 9. บริษัท ไทยคม จ�ำกัด (มหาชน) อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี รับบริจาค หลอดที่ล้างสะอาดและแห้งแล้ว เปลี่ยนให้เป็นหมอนเพื่อผู้ป่วยติดเตียง ในชุมชน 10. โครงการกรีนโรด (ผศ. ดร.เวชสวรรค์ หล้ากาศ) อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ รับบริจาคถุงหูหวิ้ ถุงแกงล้างสะอาด เปลีย่ นให้เป็นอิฐบล็อก ปูถนน 11. กลุม่ Trash Hero Thailand : Ecobricks Bamboo School หมูบ่ า้ น บ้องตี้ล่าง อ�ำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี รับบริจาคพลาสติกชิ้นเล็กๆ ใส่ขวดพลาสติกให้แน่นสร้างโรงเรียนจากขวดพลาสติกอัดด้วยขยะ และ 12. เพจผึ้งน้อยนักสู้ อาคารการ์เด้นโฮมพลาซ่า โซน 2 ถนนพหลโยธิน อ�ำเภอล�ำลูกกา จังหวัดปทุมธานี รับบริจาคซองกาแฟ ถุงขนม ถุงพลาสติก น�ำไปล้างให้สะอาดแล้วกดอัดใส่ขวดท�ำเป็นโครงสร้างผนังแทนอิฐ หรือ Ecobricks ทัง้ นี้ ข้อมูลงานวิจยั ด้านสิง่ แวดล้อมพบว่า สารไมโครพลาสติกทีเ่ กิด จากขยะพลาสติกสร้างความเสี่ยงต่อห่วงโซ่อาหารของมนุษย์ คาดว่า ประชากรครึ่งโลกได้รับสารปนเปื้อนจากการบริโภคอาหารทะเล ซึ่งแผนที่ ดิจทิ ลั NOSTRA Map สะท้อนถึงความตัง้ ใจในการรักษาสิง่ แวดล้อมอย่างจริงจัง เพือ่ ขับเคลือ่ นโครงการรักษาสิง่ แวดล้อมเหล่านีต้ อ่ ไป และจะช่วยลดปริมาณ ขยะพลาสติกออกสู่สิ่งแวดล้อม ให้พลาสติกที่เราใช้กันอยู่ทุกวันกลับมา หมุนเวียนอยู่ในระบบให้นานที่สุด ส�ำหรับประชาชนที่สนใจเปิดดูพิกัดและ น�ำทางไปยังจุดรับรีไซเคิลขยะพลาสติก สามารถดาวน์โหลดแอพพลิเคชั่น NOSTRA Map และกดเปิดแผนทีไ่ ด้ทนั ที โดยกด “12 จุดรับรีไซเคิลพลาสติก” หรือกด http://map.nostramap.com/nostramap/?layer/Recycle2019
GreenNetwork4.0 January-February 2020
GREEN
Building กองบรรณาธิการ
SCG Health Center
อาคารเขียวอนุรักษ์พลังงาน
ติดตั้งระบบผลิตพลังงานหมุนเวียนจากแสงอาทิตย์
การออกกฎหมาย หรือข้อก�ำหนดประเภทขนาดของอาคารและมาตรฐาน เพือ่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารในการออกแบบอาคารอนุรกั ษ์พลังงาน ตัง้ แต่ เริม่ ต้นออกแบบอาคาร เช่น โครงสร้างอาคาร ระบบกรอบอาคาร ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง หรือระบบปรับอากาศ ให้เกิดการประหยัดพลังงานหรือการอนุรกั ษ์พลังงาน ก็เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานภาคอาคารที่มีสัดส่วนการใช้พลังงานค่อนข้างสูงนั้น เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนด้านการออกแบบอาคารทีก่ อ่ สร้างใหม่ให้ออกแบบตาม ข้อก�ำหนดของกฎหมายได้อย่างถูกต้อง และให้ได้มาตรฐานอาคารอนุรักษ์พลังงาน ทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมและสุขภาพของผูใ้ ช้อาคารประหยัดพลังงานเป็นส�ำคัญด้วย อาคาร SCG Health Center ของ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) สร้ า งขึ้ น ภายใต้แนวคิดการออกแบบให้ค วามส�ำคัญกับการบริหารการจัด การ เพือ่ พัฒนาอาคารประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม หรือ Green Building และค�ำนึงถึงคุณภาพชีวิตของพนักงานให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี มีความสุขกับ การท�ำงาน พร้อมปลูกฝังจิตส�ำนึกการดูแลรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ส�ำหรับการออกแบบเพื่อการอนุรักษ์พลังงานอาคารเขียว (Green Building) ของอาคาร SCG Health Center นี้มุ่งเน้นให้ความส�ำคัญใน 3 เรื่องหลักๆ คือ 1. เรือ่ งพลังงาน โดยใช้ระบบ Solar Panel เป็นตัวพลังงานทดแทนทีช่ ว่ ยในเรือ่ งของ การประหยัดพลังงาน 2. เรื่องการดูแลสิ่งแวดล้อม และ 3. เรื่องของการออกแบบ ทีใ่ ช้อปุ กรณ์ทมี่ คี วามเหมาะสมในการใช้งานในประเทศไทย ขณะเดียวกันการออกแบบ ยังยึดเกณฑ์อาคารระดับสากล หรือ LEED Platinum Level พร้อมกับการให้ความ ส�ำคัญในการน�ำระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) มาบริหารจัดการ ในเครือเอสซีจีอีกด้วย 30
นอกจากนี้ เอสซีจียังมีแผนในการพัฒนาอาคารดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการใช้งานให้ได้ไม่นอ้ ยกว่า 50 ปี ด้วยการน�ำเทคโนโลยี ใหม่ๆ เข้ามาบริหารจัดการรักษาอาคารดังกล่าวในอนาคตต่อไป เพือ่ ให้การรักษา สิ่งแวดล้อมและการประหยัดพลังงานเป็นไปอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ บุษรินทร์ สุวรรณศรี หัวหน้ากลุ่มประชาสัมพันธ์ กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) น�ำคณะเจ้าหน้าที่ พพ. พร้อมด้วย ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมโรงงานอาคาร และธุรกิจด้านพลังงาน กว่า 30 คน เข้าเยีย่ มชมอาคาร SCG Health Center ท�ำให้เห็นถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรม ของอาคารอนุรักษ์พลังงาน ความใส่ใจในการออกแบบอาคารที่สร้างสรรค์ รักษ์สุขภาพ และประหยัดพลังงาน อย่างไรก็ตาม อาคาร SCG Health Center ได้ตดิ ตัง้ ระบบผลิตพลังงาน หมุนเวียนจากแสงอาทิตย์ ที่มีก�ำลังผลิตทั้งหมด 120 กิโลวัตต์ คิดเป็นการใช้ พลังงานทดแทนประมาณ 25% ซึง่ สอดรับมาตรฐานอาคารสีเขียวของสหรัฐอเมริกา หรือ LEED Platinum Level ถือเป็นต้นแบบของอาคารเขียวร่วมรักษาสิง่ แวดล้อม จนท�ำให้ได้รับรางวัล Thailand Energy Awards 2019 ด้านอนุรักษ์พลังงาน รวมถึง รางวัลดีเด่น อาคารสร้างสรรค์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน อาคารเขียว (Green Building) จึงถือเป็นอีกหนึง่ อาคารอนุรกั ษ์พลังงานต้นแบบในประเทศไทย ด้านการประหยัดพลังงาน และอนุรักษ์พลังงานได้เป็นอย่างดี สะท้อนให้เห็นว่า ผู้ประกอบการไทยมีการตื่นตัวพัฒนาพลังงานทดแทนที่เป็นพลังงานสะอาด มากขึ้น
GreenNetwork4.0 January-February 2020
ในโลกอนาคตการพัฒนานวัตกรรมด้านซอฟต์แวร์ จะถูกน�ำมาใช้กบั ทุกหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน เพื่อการปรับตัวเปลี่ยนแปลงในยุคเทคโนโลยีดิจิทัลที่ก�ำลังมีบทบาทส�ำคัญกับผู้คนไปทั่วโลก และขณะนี้ทุก วงการอุตสาหกรรมก�ำลังตืน่ ตัวกับการน�ำ Big Data มาใช้ประโยชน์ในการน�ำข้อมูลเพือ่ ประมวลผลช่วยให้ การวิเคราะห์บริหารจัดการข้อมูลให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง Big Data คือทรัพยากรชนิดหนึ่ง เป็น ข้อมูลขนาดใหญ่ที่สามารถจัดการรวบรวมข้อมูลหรือวิเคราะห์ประเมินผลแผนโครงสร้างธุรกิจได้อย่าง รวดเร็วและยังสามารถสร้างทักษะและความรู้ให้กับมนุษย์เชิงลึกถึงข้อมูลขนาดใหญ่นี้
ส�ำหรับประเทศไทยนั้น ในส่วนของหน่วยงาน ราชการแต่ละกระทรวง กรม กอง เกิดการขับเคลื่อน ระบบราชการในรูปแบบใหม่เพื่อรองรับยุคดิสรัปชั่น โดยเมื่อเร็วๆ นี้ ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลั ง งาน จั ด สั ม มนาเชิ ง วิ ช าการเรื่ อ ง “Energy 5.0 โครงการศึกษาการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ และออกแบบการพั ฒ นาศู น ย์ ส ารสนเทศพลั ง งาน แห่งชาติ เพือ่ รองรับการใช้ขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data) ในการขั บ เคลื่ อ นแผนพลั ง งานของประเทศไทย” ได้ประกาศความร่วมมือการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยน ข้ อ มู ล พลั ง งานโดยจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ส ารสนเทศพลั ง งาน แห่งชาติ ที่มีหน่วยงานในสังกัดกระทรวงพลังงาน อาทิ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน ส�ำนักงานนโยบายและ แผนพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมธุรกิจพลังงาน ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน และ ส�ำนักงานกองทุนน�้ำมันเชื้อเพลิง พร้อมพิธีการลงนาม บันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือภายใต้การบูรณาการ เชือ่ มโยงข้อมูลพลังงาน หน่วยงานสังกัดกระทรวงพลังงาน เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านซอฟต์แวร์ทจี่ ะเป็น เหมือนฐานข้อมูลหลักของประเทศด้านพลังงาน ซึ่งมี ความคล้ายกับส�ำนักงานสารสนเทศด้านการพลังงาน ของรัฐบาลสหรัฐฯ (EIA) เป็นอีกหนึ่งนโยบายในการ เชือ่ มโยงและแลกเปลีย่ นข้อมูลพลังงาน เพือ่ ยกระดับการ วางแผน การก�ำหนดนโยบาย และการพัฒนาขับเคลือ่ น แผนพัฒนาพลังงานของประเทศต่อไป และเป็นการ รองรับยุค New Oil แหล่งน�้ำมันดิบใหม่ของโลก ส�ำหรับกระบวนการเก็บข้อมูลของ Big Data นี้ จะสามารถเก็ บ ข้ อ มู ล ที่ มี ค วามละเอี ย ดให้ ล ะเอี ย ด ยิง่ ขึน้ ระบบการท�ำงานของซอฟต์แวร์จะรวดเร็วขึน้ ถีข่ นึ้ และกว้างขึ้น เช่น การเก็บข้อมูลการใช้พลังงานจาก Internet of Things (IoT) การน�ำข้อมูลมาสร้างนวัตกรรม ด้านพลังงาน ซึง่ กระทรวงพลังงานคาดหวังว่า การตัง้ ศูนย์ ทีเ่ ป็นแหล่ง Big Data ด้านพลังงานขึน้ มาจะเป็นอีกก้าว ส�ำคัญทีต่ อ้ งเปลีย่ นผ่านยุคดิจทิ ลั เพือ่ การสอดรับไปกับ 31
นโยบาย Energy for All ของกระทรวงพลังงานที่วางไว้ โดยถือว่าเป็นหน่วยงานภาครัฐทีร่ กุ เดินหน้าปรับเปลีย่ น ยุทธศาสตร์การบริหารราชการใหม่ทั้งระบบอย่างมี บูรณาการ โดยการเชือ่ มโยงข้อมูลระหว่างกันในด้านระบบ บริการประชาชนใหม่ให้ทนั สมัยและถูกต้อง ด้วยการน�ำ ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ หรือ Big Data มาเป็นจุดเริ่มต้น ของการบริหารข้อมูลจัดการระบบราชการ เพื่อเก็บ รวบรวมข้อมูลด้านพฤติกรรมการใช้พลังงานยุคดิจิทัล ที่มีความละเอียดขึ้น รวดเร็วขึ้น รวมถึงการพัฒนาสู่ นวัตกรรมพลังงานเพือ่ ตอบโจทย์ความต้องการประชาชน ในอนาคต เพื่อผู้ใช้ข้อมูลจะได้ปรับเปลี่ยนเข้าสู่ยุคใหม่ คือ Energy 5.0 ดังนั้น ระบบบริการข้อมูลต่างๆ จึงอยู่ บนพืน้ ฐานของข้อมูลทีถ่ กู ต้องและทันสมัย ซึง่ จะน�ำไปสู่ ความน่าเชือ่ ถือในการแก้ปญ ั หา การบริหารจัดการด้าน พลังงาน ทัง้ เรือ่ งต้นทุนพลังงานทีแ่ ข่งขันได้ ราคาพลังงาน ที่เป็นธรรม และความเชื่อมั่นของประชาชนต่อรัฐบาล ซึ่งกระทรวงพลังงานจะเป็นกระทรวงแรกในการปฏิวัติ ระบบบริการประชาชนไปสู่ข้อมูล Big Data, AI, IoT และ Open Data โดยทุกหน่วยงานที่สังกัดกระทรวง พลังงานจะต้องมีการเชือ่ มโยงด้วยฐานข้อมูล Big Data อย่างบูรณาการร่วมกัน เพื่อผลักดันข้อมูลให้กลายเป็น พืน้ ฐานหลักในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจยุคดิจทิ ลั ทีถ่ อื เป็น ทรัพยากรที่มีค่า ดังนั้นข้อมูลจึงเป็นเหมือน New Oil ที่เป็นทรัพยากรส�ำคัญส�ำหรับองค์กร Big Data และการพัฒนา AI ถือเป็นข้อมูลขนาด ใหญ่มากจนซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ธรรมดานั้นไม่ สามารถทีจ่ ะจัดการได้ เรียกได้วา่ การน�ำเทคโนโลยี Big Data มาเป็นอีกหนึง่ นวัตกรรมในการประมวลวิเคราะห์ ข้อมูลและน�ำไปใช้ประโยชน์ที่จะสร้างมูลค่าของธุรกิจ จากการน�ำเข้ามูลจ�ำนวนมากทั้งภายในและภายนอก องค์กรมาวิเคราะห์ประมวลผล และเป็นระบบในการ บริหารจัดการข้อมูลปริมาณใหญ่ๆ ที่จะช่วยในด้านการ จ้างแรงงานในการประมวลผลข้อมูล หรือการวิเคราะห์ ข้อมูลที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดรับการปฏิรูป ประเทศ เพื่อสร้างฐานนวัตกรรมในอนาคต GreenNetwork4.0 January-February 2020
GREEN
Technology &Innovation กองบรรณาธิการ
AUTO
Challenge กองบรรณาธิการ
ปัจจุบนั การคมนาคมขนส่งเป็นปัจจัยหนึง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดมลภาวะต่อสิง่ แวดล้อม และยังมีปญ ั หาฝุน่ ละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ทีม่ แี นวโน้มจะเพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ดังนั้น หน่วยงานด้านการขนส่งโลจิสติกส์ที่มีส่วนในการใช้เส้นทางคมนาคมเพื่อ ประกอบธุรกิจ ได้ตระหนักถึงแนวคิดการน�ำระบบขนส่งอย่างยัง่ ยืน (Sustainable Transport) จึงได้พฒ ั นาน�ำนวัตกรรมยานยนต์ทขี่ บั เคลือ่ นด้วยพลังงานไฟฟ้า 100% ทดลองขนส่งสิง่ ของในพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ และปริมณฑล เพือ่ รักษาสิง่ แวดล้อม ลดมลภาวะ ทางอากาศให้เป็นศูนย์ “โครงการบริหารจัดการยานยนต์ไฟฟ้าแบบครบวงจรเพื่อขนส่งสินค้าพัสดุไปรษณีย์” เป็นการจับมือระหว่างกลุ่มธุรกิจเทคโนโลยีพลังงานโดย บริษัท บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด (ปณท) ซึ่งบ้านปูได้ ส่งมอบยานยนต์ขับเคลื่อนด้วยก�ำลังไฟฟ้า 100% ให้ไปรษณีย์ไทยเพื่อทดลองใช้ ขนส่งไปรษณียภัณฑ์ ได้แก่ รถตูไ้ ฟฟ้า ทีส่ ามารถขับเคลือ่ นได้ในระยะทางประมาณ 250-300 กิโลเมตร บรรทุกสิง่ ของได้ 300-700 กิโลกรัม ขณะที่ รถจักรยานยนต์ ไฟฟ้า สามารถขับเคลือ่ นได้ในระยะทางประมาณ 60-80 กิโลเมตร บรรทุกสิง่ ของ ได้ 30-80 กิโลกรัม เป็นอีกขั้นของการน�ำร่องในการพัฒนาเทคโนโลยีที่มีการใช้ พลังงานสะอาด และสนับสนุนแผนการลดมลภาวะทางอากาศให้เป็นศูนย์ ตลอดจน ส่งเสริมการใช้เชือ้ เพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ โดยไปรษณียไ์ ทยตัง้ เป้ารถไฟฟ้า 100% มาใช้ขนส่งสิ่งของให้ได้กว่า 100 คัน ภายใน 4 ปี หรือ พ.ศ. 2566 ส�ำหรับระยะเวลาในการชาร์จไฟฟ้าของรถขนส่งไปรษณีย์ไทยพลังงาน ไฟฟ้า 100% นี้ โดยรถตู้ไฟฟ้าจะใช้เวลาในการชาร์จไฟฟ้าเพียง 4-6 ชั่วโมง และ รถจักรยานยนต์ไฟฟ้าใช้เวลาในการชาร์จเพียง 2 ชัว่ โมง สามารถใช้งานยานยนต์ ดังกล่าวได้นานหลายวัน แต่ขนึ้ อยูก่ บั ระยะทางทีว่ งิ่ ทัง้ นี้ นอกจากจะช่วยประหยัด พลังงานแล้ว ยังลดค่าซ่อมบ�ำรุงและค่าเชื้อเพลิงได้มากกว่าปกติ นอกจากนี้ ไปรษณีย์ไทยยังมีโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาส่งเสริมการประหยัดพลังงาน ในการขนส่งไปรษณีย์ภัณฑ์ และจัดหา สถานที่ส�ำหรับการติดตั้งสถานี จ่ายไฟ (Charging Station) เพื่อพัฒนายานยนต์ไฟฟ้า ต่างๆ ที่เหมาะกับการ ด� ำ เ นิ น ง า น ข อ ง
กาหลง ทรัพย์สอาด รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ (สายงานระบบปฏิบัติการ) บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด เจมส์ รามา ปัทมินทรวิภาส ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บ้านปู อินฟิเนอร์จี จ�ำกัด 32
ไปรษณียไ์ ทยอย่างต่อเนือ่ ง เช่น สามล้อไฟฟ้า (E-Tricycle) รถบรรทุกไฟฟ้าพร้อม ตู้พ่วง (E-Truck) หรือรถเข็นไฟฟ้า (E-Trolley) เป็นต้น ขณะที่ บริษัท บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) ผู้น�ำธุรกิจพลังงานแบบครบวงจร แห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ถือเป็นองค์กรที่มุ่งเดินหน้าขับเคลื่อนการด�ำเนินธุรกิจ ทีค่ ำ� นึงถึงปัญหาด้านสิง่ แวดล้อม สังคม และการก�ำกับดูแลกิจการควบคูไ่ ปกับการ พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีพลังงานให้กา้ วทันโลกยุคดิจทิ ลั และรองรับเทรนด์ การใช้พลังงานสะอาดรูปแบบใหม่ในอนาคต ตามกลยุทธ์ “Greener & Smarter” ซึ่งนับว่าเป็นความร่วมมือกับไปรษณีย์ไทยที่จะช่วยกระตุ้นและผลักดันให้ทุก ภาคส่วนหันมาให้ความส�ำคัญ และใช้พลังงานสะอาดกันมากขึน้ โดยเฉพาะยานยนต์ ทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดมลพิษ (Green Vehicles) เพือ่ ช่วยอนุรกั ษ์พลังงาน ลดปัญหามลพิษ ทางอากาศในระยะยาว เรียกได้ว่า บ้านปูได้พัฒนาธุรกิจยานยนต์ไฟฟ้า ภายใต้ แนวคิด Mobility as a Service โดยถือเป็นผูใ้ ห้บริการยานยนต์ไฟฟ้าและขนส่งแบบ ครบวงจร (Electric Vehicle and Mobility Services) รายแรกของประเทศไทย ขณะเดียวกัน ทางด้านไปรษณียไ์ ทยก็ได้คดั เลือกยานยนต์ไฟฟ้าทีเ่ หมาะกับการน�ำ จ่ายพัสดุ-สินค้า รวมถึงมีเทคโนโลยีการบริหารประสิทธิภาพ ทีแ่ สดงผลการท�ำงาน สมรรถนะเครือ่ งยนต์ รวมถึงแจ้งเตือนเหตุขดั ข้องแบบเรียลไทม์ ท�ำให้สามารถน�ำ ข้อมูลไปวิเคราะห์ และวางแผนการซ่อมบ�ำรุงเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) เพือ่ ให้รถอยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งานอยูเ่ สมอ นอกจากนี้ ยังสามารถตรวจสอบความ คุม้ ค่าจากการประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ซึง่ ความร่วมมือกันใน ครั้งนี้จะช่วยส่งเสริมสนับสนุนแนวคิดด้านระบบขนส่งอย่างยั่งยืนในประเทศไทย อย่างไรก็ดี หากไปรษณียไ์ ทยหันมาใช้จกั รยานยนต์ไฟฟ้าในการขนส่งจ�ำนวน 10,000 คัน ภายในระยะเวลา 1 ปี จะช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่ากับการปลูกต้นไม้มากกว่า 130,000 ต้น หรือเท่ากับการปลูกป่าประมาณ 190 ไร่ และช่วยลดค่าใช้จา่ ยในการซ่อมบ�ำรุง และค่าเชือ้ เพลิงได้สงู สุด 200 ล้าน บาทต่อปี ซึง่ การน�ำรถจากพลังงานไฟฟ้ามาใช้ในระยะยาว จะสามารถตอบสนอง ต่อความต้องการของผู้ใช้บริการให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุดควบคู่กับการลดการก่อ มลพิษ และตอกย�ำ้ ความพร้อมการเป็นฟันเฟืองหลักด้านโลจิสติกส์ เพือ่ ขับเคลือ่ น เศรษฐกิจดิจิทัลและธุรกิจ E-Commerce ของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองเทรนด์การรักษ์โลก และรักษาสิ่งแวดล้อมด้วยการขับเคลื่อนยานยนต์ ด้วยพลังงานไฟฟ้า 100% ดังกล่าว
GreenNetwork4.0 January-February 2020
Magazine to Save The World
สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) จัดกิจกรรม “สืบสาน รักษา พัฒนา ดิน น�้ำ ป่า อย่างยั่งยืน”
สถาบันวิจยั และพัฒนา พืน้ ทีส่ งู (องค์การมหาชน) หรือ สวพส. จัดกิจกรรม “สืบสาน รักษา พัฒนา ดิน น�้ำ ป่า อย่างยั่งยืน” เพื่อให้เกิดการ เรี ย นรู ้ ด ้ า นการจั ด การ ทรัพยากรดิน สิ่งแวดล้อม และการเกษตรบนที่สูงของ ประเทศไทย เพือ่ สืบสาน รักษา ต่อยอดงานโครงการหลวง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงให้เกิดผลสัมฤทธิอ์ ย่างยัง่ ยืน เพือ่ สืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 และ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ในการสร้างความอยู่ดีมีสุขของ ประชาชนควบคู่ไปกับการอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม
BMW จับมือ โรงแรมเมอร์เคียวฯ กรุงเทพ ติดตั้งสถานี อัดประจุไฟฟ้า รองรับรถยนต์ไฟฟ้าและรถยนต์ปลั๊กอินไฮบริด
บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ประเทศไทย จับมือ โรงแรม เมอร์เคียว ไอบิส กรุงเทพ เดินหน้าโครงการ ChargeNow เพือ่ ขยายเครือข่ายการติดตัง้ และให้บริการสถานีอดั ประจุ ไฟฟ้าสาธารณะเพื่อรองรับ ความต้ อ งการของรถยนต์ ปลั๊กอินไฮบริดและรถยนต์ ไฟฟ้ า ไม่ จ� ำ กั ด รุ ่ น ในตลาด ทีจ่ ะเพิม่ มากขึน้ ในอนาคต โดยติดตัง้ อยูใ่ นศูนย์การค้าและโรงแรมชัน้ น�ำทัว่ กรุงเทพฯ และ ตามเมืองใหญ่ในจังหวัดต่างๆ เพื่อช่วยสนับสนุนการลดมลภาวะอย่างยั่งยืน
แม็คโคร รับกระแสรักษ์โลก งดให้ถุงพลาสติก หูหวิ้ ตามนโยบายกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
บริษัท สยามแม็คโคร จ�ำกัด (มหาชน) ขานรับกระแส ร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อมโลก ตามนโยบายกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ก�ำหนดให้วันที่ 1 มกราคม 2563 เป็นวันภาคีเครือข่ายร้านปลีก งดให้ถุงพลาสติกหูหิ้วแก่ลูกค้า นอกจากนี้ แม็คโครเตรียมพัฒนาถุงกระดาษ ถุงพลาสติกย่อยสลาย ได้ในเดือนมีนาคม 2563 นี้ ตลอดจนบรรจุภัณฑ์เพื่อย่อยสลาย เพื่อเพิ่มสัดส่วนสินค้ากลุ่มบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกมากกว่า 20% ซึ่ง จะท�ำให้เกิดผลดีต่อสิ่งแวดล้อมและผู้บริโภคในวงกว้าง
แอลจี เปิดตัวนวัตกรรมระบบฟอก อากาศ LG PuriCareTM Mini กับ เครื่องฟอกอากาศขนาดพกพา พร้อมตรวจจับและก�ำจัดฝุ่นที่มีอนุภาค ขนาดเล็กถึง 1.0 ไมครอน (PM1.0)
อินโดรามา เวนเจอร์ส เดินหน้าโครงการ 30 ปี เพื่อการรีไซเคิลทั่วโลก สู่อนาคตที่ยั่งยืน
บริ ษั ท อิ น โดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ไอวีแอล ประกาศเดินหน้า แก้ปญั หาขยะล้นเมือง เดินหน้า “โครงการส่งเสริมให้ความรู้ เรื่ อ งการรี ไ ซเคิ ล ” มุ ่ ง ให้ ความรู ้ เ ด็ ก รุ ่ น ใหม่ ใ นการ คั ด แ ย ก ข ย ะ พ ล า ส ติ ก ที่สามารถรีไซเคิลได้ 100% สอดคล้องตามแนวทางพัฒนา ผลกระทบความยั่งยืนด้านการศึกษา โดยการสนับสนุนและให้ความรู้ด้านการรีไซเคิลในชุมชนและ สังคม พร้อมตั้งเป้าหมายขยายโครงการไปยังภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก 33
บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด น�ำโดย เซิง เชิล ลี ประธานบริษัท (ซ้ายสุด) เปิดตัวนวัตกรรมระบบฟอกอากาศ พร้อมไลน์อัพ ที่ครอบคลุมและมอบอากาศสะอาดบริสุทธิ์ในสภาพ แวดล้อมทีห่ ลากหลาย ซึง่ สามารถตรวจจับและก�ำจัดฝุน่ ที่มีอนุภาคขนาดเล็กถึง 1.0 ไมครอน (PM1.0) พร้อม เปิดตัว LG PuriCareTM Mini เครือ่ งฟอกอากาศขนาด พกพารุน่ แรกของโลกทีม่ แี ผ่นกรองอากาศในตัว เพือ่ มอบ อากาศบริสุทธิ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
GreenNetwork4.0 January-February 2020
Magazine to Save The World
มูลนิธิโครงการหลวง ลงนามความร่วมมือกับ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ฯ บูรณาการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
ดร.จรัลธาดา กรรณสูต องคมนตรี ประธานกรรมการมูลนิธิ โครงการหลวง พร้อมด้วย พล.อ. กัมปนาท รุดดิษฐ์ องคมนตรี ประธาน กรรมการมูลนิธิโครงการหลวง ศ.เกียรติคุณพงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ กรรมการบริหารมูลนิธโิ ครงการหลวง รวมทัง้ ดร.ชุตมิ า เอีย่ มโชติชวลิต ผูว้ า่ การสถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) สายันต์ ตันพานิช รองผูว้ า่ การวิจยั และพัฒนาด้านอุตสาหกรรมชีวภาพ ดร.พงศธร ประภักรางกูล ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ วว. และ ดร.ชนะ พรหมทอง นักวิจยั อาวุโส ศูนย์ความหลากหลายทาง ชีวภาพ วว. ลงนามในบันทึกความเข้าใจความร่วมมือทางวิชาการเพื่อ ร่วมกันบูรณการในทุกมิติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อย่างยั่งยืน ณ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ จังหวัดเชียงใหม่
สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ รมว.พลังงาน ผลักดันใช้ B10 ช่วยยกระดับรายได้ให้ เกษตรกรปลูกปาล์ม และร่วมกันรักษามลภาวะ
สนพ. ดึง กฟผ.-กฟภ. จัดสัมมนา “Smart Grid ระบบโครงข่ายไฟฟ้าเพื่อเมืองอนาคต” ที่จังหวัดขอนแก่น
ส� ำ นั ก งานนโยบาย และแผนพลังงาน หรือ สนพ. ร่วมกับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย และ การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค จัดสัมมนาให้ ความรู้ระบบโครงข่ายไฟฟ้า สมาร์ ท กริ ด ให้ กั บ ภาค ประชาชนในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ขอนแก่น เรือ่ ง “สมาร์ทกริด (Smart Grid) ระบบโครงข่าย ไฟฟ้าเพือ่ เมืองอนาคต” ซึง่ จะมีสว่ นช่วยยกระดับความสามารถของระบบไฟฟ้า ยกระดับคุณภาพ บริการท�ำให้ชีวิตประจ�ำวันมีความสะดวกสบายขึ้น และยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
สวทช. แถลงผลงานปี 62 โชว์การจัดตั้งแล็บทดสอบ แบตเตอรีย่ านยนต์ไฟฟ้าแห่งแรกในประเทศไทยและในอาเซียน
ส� ำ นั ก งานพั ฒ นา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) แถลงข่าว ผลงาน สวทช. ประจ�ำปี 2562 ที่ ส ่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ แบบ ตอบโจทย์นโยบายรัฐบาลและ ประเทศในภาคอุตสาหกรรม 4 ด้าน ได้แก่ เกษตรและอาหาร สุ ข ภาพและการแพทย์ พลั ง งานและวั ส ดุ แ ละเคมี ชีวภาพ และท่องเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ รวมถึงการพัฒนา Big Data เพื่อ สนับสนุนและรองรับอุตสาหกรรมต่างๆ ซึง่ ผลงานกลุม่ พลังงานเคมีและวัสดุชวี ภาพ นัน้ สวทช.ได้มกี ารจัดตัง้ แล็บทดสอบแบตเตอรีย่ านยนต์ไฟฟ้าแห่งแรกในประเทศไทย และในอาเซียน รวมถึงถุงพลาสติกสามารถย่อยสลายเองได้ภายใน 3-4 เดือน และ เทคโนโลยีเครื่องส่งสัญญาณดาวเทียมแบบพลังงานแสงอาทิตย์
บ้านปูฯ ติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์บนอาคาร และหลังคาลานจอดรถ รวมก�ำลังการผลิตกว่า 2.6 เมกะวัตต์ สนธิรตั น์ สนธิจริ วงศ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน ชีแ้ จง กลุม่ สมาพันธ์ปาล์มน�ำ้ มันแห่งประเทศไทย และสมาคม ปาล์มน�ำ้ มันจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สระบุรี สกลนคร ปทุมธานี ตรัง กระบี่ กว่า 20 คน โดยจะเร่งผลักดัน นโยบายน�้ำมัน B10 เป็นน�้ำมันดีเซลพื้นฐานของประเทศ ซึ่ง ในเดือนมีนาคม 2563 นี้ จะสามารถจ�ำหน่าย B10 ได้ทกุ สถานี บริการน�้ำมันทั่วประเทศ เพื่อช่วยยกระดับราคาปาล์มน�้ำมัน ให้กระเตือ้ งขึน้ สร้างรายได้เพิม่ ขึน้ ให้กบั เกษตรกรชาวสวนปาล์ม ทั่วประเทศ และร่วมกันรักษามลภาวะให้มีสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น
34
กลุ่มธุรกิจเทคโนโลยี พลังงาน บริษทั บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) จับมือสองบริษัท ชั้นน�ำ ได้แก่ บริษัท อิมแพ็ค เอ็กซิบชิ นั่ แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด หรือศูนย์แสดงสินค้าและการ ประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี และบริษทั ระยองสตาร์ จ�ำกัด ติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์บนอาคาร และหลังคาลานจอดรถแบบครบวงจร รวมก�ำลังการผลิตกว่า 2.6 เมกะวัตต์
GreenNetwork4.0 January-February 2020
ENDORSED BY:
CO-HOSTS:
1 2 – 1 4 F E B R U A RY 2 0 2 0 | B I T E C , B A N G K O K , T H A I L A N D
D O BU S I NES S W ITH A S IA’S L EA DING G AS , LNG, O IL & ENERGY CO M PANIES FUTURE ENERGY ASIA 2020 IS THE REGION’S MEETING POINT FOR: POLICY MAKERS TO MEET TO DISCUSS FUTURE ENERGY SCENARIOS ENERGY COMPANIES TO DEVELOP NEW PARTNERSHIPS & BE PART OF THE FUTURE ENERGY MIX TECHNOLOGY PROVIDERS TO SHOWCASE INNOVATIVE PRODUCTS, SERVICES & SOLUTIONS
WHY EXHIBIT? MEET WITH KEY INDUSTRY BUYERS
EXHIBITING COMPANIES
BUILD NEW BUSINESS RELATIONSHIPS
Stand out from competitors, showcase products and services whilst strengthening your company profile and brand across the exhibition floor, attracting 8,000+ attending trade professionals GENERATE NEW SALES LEAD
Demonstrate your business strengths, innovations and expertise thereby positioning your brand as a key industry affiliate
Gain direct access to the primary stakeholders involved in detailing the regions upcoming project plans, budget allocations, timelines, technical challenges and the opportunities for your business to win contracts
NETWORK WITH 7000+ ATTENDEES FROM ACROSS THE WORLD North America
Europe
Middle East
Asia
5% 2%
TRADE ATTENDEES
7,000+ REPRESENTING COUNTRIES
GAIN ENTRY INTO NEW MARKETS
Meet face to face in an exclusive ‘buyer meets seller’ mix of your target audience of NOCs, IOCs, EPCs and OEMs to generate new sales leads for your business
250+
5%
87%
1% ORGANISED BY
Australia
BOOK YOUR STAND TODAY EMAIL: FEA.SALES@DMGEVENTS.COM
ALTERNATIVELY, PLEASE CONTACT US AT +66 2 5590603-4 (EXPOSIS)
50+ SPEAKERS
300+ CONFERENCE DELEGATES
1,000+
GREEN
Focus ชินวุฒิ ขวัญณัฐพร B.ENG (Mechanical), MS (CEM) นักวิชาการ ดานวิศวกรรมยานยนต
Bioplastic
กับอุตสาหกรรม
ยานยนต LINA รถยนตคันแรกที่สรางจากวัสดุธรรมชาติ ในชิ้นสวนตัวถังและชิ้นสวนภายในทั้งหมด
เมือ่ กลาวถึง Bioplastic เราคงไดยนิ กันมาสักระยะหนึง่ แลวและเปนทีน่ ยิ ม ในชวง 5 ปที่ผานมา มีการนํามาใชงานในหลายๆ อุตสาหกรรมการผลิตเพื่อ ลดการใชงานวัสดุสังเคราะหไฮดรอคารบอนที่ไมเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม หนึง่ ในนัน้ คืออุตสาหกรรมยานยนต ตัวอยางการใชงานลาสุดวามีอยูใ นลักษณะ ใดบาง เราติดตามไดในบทความนี้ หนึ่งในขอดีของ Bioplastic เมื่อนํามาใชกับชิ้นสวนภายในรถยนตคือ ความทนทานตอการสารเคมีจากครีมตางๆ ทีผ่ ขู บั หรือผูโ ดยสารใชและติดมือหรือ แขนมา ปกติถา เปนพลาสติกจากปโตรเคมีทวั่ เปนสวนประกอบของชิน้ สวนภาย
ก็มักจะมีปญหาสีดางหรือหลุดลอกบอยครั้ง ปญหานี้เกิดขึ้นเปนประจําและ ทางผูผลิตรถยนตไมสามารถรับเคลมไดถึงแมวาอยูในระยะรับประกันเพราะ เกิดจากการใชงาน หากชิ้นสวนเปน Bioplastic จะไมเกิดปญหาลักษณะนี้ นอกจากนี้ ตัว Bioplastic ยังมีคณ ุ สมบัตทิ ไี่ มเกิดการสะทอนผิวเปนสีรงุ เหมือน กับพลาสติกทีผ่ ลิตจากสารไฮโดรคารบอน ทําใหการสะทอนสีพนื้ ผิวจะออกมา ดูใสกวา เหมาะกับการทําหนาจอสัมผัสของอุปกรณตา งๆ กระบวนการผลิตของ Bioplastic ยังทําไดงายเพราะมีความสามารถในการไหลในแมพิมพไดดี ผลิต ชิ้นสวนบางๆ ไดงาย เปนเงางาม และตอบสนองตอสีที่ผสมเขาไปไดดี
กราฟการผลิต Bioplastic ทั่วโลกในอุตสาหกรรมยานยนตและขนสงในป ค.ศ. 2019 ยังมีปริมาณไมสูงมากนัก 36
GreenNetwork4.0 January-February 2020
สีผสมชิ้นสวนภายในรถยนตจากเซลลูโลส
รังผึ้ง Composite ใชใยไฟเบอรจากชานออยและปอ แตมีความแข็งแรงเทากับไฟเบอรใยแกว ที่มา : จาก HOWDO Creative Direction
ผลิต ภัณฑ ในอุต สาหกรรมยานยนต อี กตั ว หนึ่งที่ ถื อ ว าสร างผลกระทบกั บ สิง่ แวดลอมทีต่ อ งการปรับปรุงใหมสี ว นประกอบจากธรรมชาติมากขึน้ คือ สีทใี่ ชสาํ หรับ พืน้ ผิวบนชิน้ สวนพลาสติกตางๆ โดยเฉพาะชิน้ สวนภายในหองโดยสาร เชน คอนโซลหนา ทั้งชุด เมื่อปลายป ค.ศ. 2019 บางทานอาจจะเคยเห็นขาวจากผูผลิต Bioplastic และ สีพลาสติกรายหนึ่งจากสหรัฐอเมริกามีผลิตภัณฑสีและ Bioplastic ที่ใชเซลลูโลสแทน การสารสังเคราะหจากนํา้ มันปโตรเคมีจาํ พวกโพลีคารบอเนต, ABS, PC-ABS ดวยราคา ทีเ่ ทากัน เซลลูโลสคือสารอินทรียจ ากกลูโคสมันคือโพลิเมอรชวี ภาพนัน่ เอง ผลิตภัณฑ จากซัพพลายเออรรายนีใ้ ชสดั สวนของเซลลูโลสถึง 42-46% ทีผ่ า นการรับรองมาตรฐาน USDA (US Department of Agriculture) เรียบรอยแลวอีกดวย ผูผ ลิตรถยนตหลายคาย ไดใชผลิตภัณฑจากผูผ ลิตรายนีท้ งั้ ชุดคอนโซลหนา ชิน้ สวนจอสัมผัส และสีทใี่ ชกบั ชิน้ สวน ภายในรถยนตตางๆ
ชิ้นสวนตัวถังรถยนตจากวัสดุชีวภาพ
ในป ค.ศ. 2017 กลุม นักศึกษาทีเ่ รียกตัวเองวา TU/Ecomotive จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี Eindhoven ประเทศเนเธอรแลนดไดผลิต รถยนตทงั้ คันจาก Bioplastic และวัสดุธรรมชาติไดสาํ เร็จเปนครัง้ แรก ไดสรางความฮือฮาใหกบั วงการรถยนตพอสมควรและนํามาโชวในงาน แขงขันรถยนตประหยัดพลังงานทีป่ ระเทศอังกฤษ โดยรถยนตตน แบบ คันนี้มีชื่อเรียกวา “LINA” ประกอบไปดวยโครงรถและชิ้นสวนภายใน ทีท่ าํ จาก Bioplastic จากชานออยและปอ แลวขึน้ รูปเปนรังผึง้ Composite ทําใหมีนํ้าหนักเพียง 300 กิโลกรัม ไมรวมแบตเตอรี่ (โครงชวงลาง หรือแชสซียังเปนอะลูมิเนียม) ขับเคลื่อนดวยพลังงานไฟฟาแบบ EV ทําความเร็วไดประมาณ 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง จากนัน้ ในปถดั มา ค.ศ. 2018 นักศึกษากลุม เดียวกันไดผลิตรถยนต ตนแบบอีกรุน ทีพ่ ฒ ั นาตอจากเดิม ชือ่ วา “NOAH” เปนรถยนตไฟฟา EV เชนกัน ครัง้ นีส้ ามารถทําความเร็วไดถงึ 110 กิโลเมตร/ชัว่ โมง นํา้ หนัก เพียง 350 กิโลกรัม ไมรวมแบตเตอรี่ ซึ่งวัสดุที่ใชสรางใชพื้นฐาน เดียวกันกับ LINA คือใชรังผึ้ง Composite ที่ผลิตจาก Bioplastic ประกอบกันรวมถึงแชสซีดว ย ทัง้ 2 รุน สามารถจดทะเบียนเพือ่ ขับใชงาน ในเนเธอรแลนดไดเหมือนรถยนตทั่วไป รถยนตทั้งสองรุนที่กลาวมานี้ เปนตัวอยางของการเริ่มตนของการนําวัสดุธรรมชาติมาใชงานใน อุตสาหกรรมรถยนต ทําใหอตุ สาหกรรมรถยนตเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม มากขึ้น ลดภาพการเปนตนเหตุของมลพิษหลายๆ ดานลงไปได และ สามารถนําไปตอยอดโดยเขาสูก ระบวนการผลิตจริงในอนาคต หากได รับการสนับสนุนจากเอกชนทีเ่ กี่ยวของและตนทุนการผลิตตางๆ ลดลง จากเดิม
คอนโซลหนาที่ใชสีจากสวนผสมธรรมชาติ Bio-Based เมือ่ ยอนกลับไปดูจากกราฟการผลิต จะเห็นวาการใชงาน Bioplastic ในอุตสาหกรรม รถยนตและขนสงยังมีสัดสวนที่ไมมากนักเมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ นัน่ หมายความวายังมีโอกาสเติบโตไดอกี มาก หากเรามีความพยายามเปลีย่ นการใชวสั ดุ ที่ไมเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมไปสูสารจากธรรมชาติหรือของเหลือใชจากการใชงาน ประเภทอื่นเพิ่มขึ้น การสรางนวัตกรรมตางๆ จากนักวิจัยรุนใหมและรุนเกาทําให ความหวังในการมีสภาพแวดลอมทีด่ ขี นึ้ ก็ยงั พอมีโอกาสอยู ถึงแมวา ปจจุบนั วิถผี คู นปจจุบนั ยังตองอาศัยอยูในสภาวะที่รอบตัวเราเต็มไปดวยมลพิษก็ตาม
NOAH รถยนตตนแบบรุนที่ 2 โดยกลุมนักศึกษา TU/Ecomotive จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี Eindhoven ประเทศเนเธอรแลนด
37
GreenNetwork4.0 January-February 2020
GREEN
Travel กองบรรณาธิการ
“ชุมชนบานไรกองขิง”จังหวัดเชียงใหม
หมูบานแหงสุขภาพ เมืองสะอาด รักษาสิ่งแวดลอม
การทองเที่ยวถือเครื่องมือสําคัญในการเพิ่มมูลคาและสรางความยั่งยืน ใหชุมชน จากนโยบายการพัฒนาแหลงทองเที่ยวโดยชุมชนใหเขมแข็ง เพื่อให เปนแหลงทองเที่ยวที่ตอบโจทยกระแสการทองเที่ยวยุคใหมที่ตองการสัมผัส ประสบการณทอ งเทีย่ วทองถิน่ ทีจ่ ริงแท หรือ Local Experiences พรอมขยายผล พัฒนาเครือขายชุมชนทองเที่ยวคุณภาพจากระดับทองถิ่นสูระดับชาติ ดั่งเชนที่ “ชุมชนบานไรกองขิง” ตําบลหนองควาย อําเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม ตนแบบ ของความสําเร็จวิถีทองเที่ยวระบบนิเวศและรักษาสิ่งแวดลอม จึงทําใหเปนชุมชน แหงสุขภาพ องค ก ารบริ ห ารการพั ฒ นาพื้ น ที่ พิ เ ศษเพื่ อ การท อ งเที่ ย วอย า งยั่ ง ยื น (องคการมหาชน) หรือ อพท. หนวยงานสังกัดในความดูแลโดย รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการทองเทีย่ วและกีฬา ทีม่ บี ทบาทในการพัฒนาการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน เพือ่ สรางชุมชนแหงความสุข โดยประสานความรวมมือทุกภาคีเพือ่ เสริมสรางศักยภาพ กลไกลและระบบบริหารจัดการการทองเที่ยวใหเปนพื้นที่ที่ไดรับการพัฒนาตาม แนวทางของเกณฑการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืนโลก หรือ Global Sustainable Tourism Criteria (GSTC) ทีน่ าํ ไปสูค วามยัง่ ยืนอยางบูรณาการในชุมชนตนเองดวยภูมปิ ญ ญา ทองถิ่น ไดมุงเดินหนาขับเคลื่อนพัฒนาชุมชนทองเที่ยวทั่วทุกภูมิภาคของไทย และชุมชนบานไรกองขิง เปนหนึง่ ในชุมชนทีไ่ ดรบั การสงเสริมและสนับสนุนใหเปน อุตสาหกรรมการทองเที่ยวอยางเขมแข็งจากหนวยงานภาครัฐอยาง อพท. การพัฒนาชุมชนบานไรกองขิงแหงนี้ไดแบงปนภูมิปญญาทองถิ่นที่ชวยกัน เสริมสรางสุขภาพและจิตวิญญาณทีน่ า สนใจใหกบั นักทองเทีย่ วทีไ่ ดมาเยือน ซึง่ ได ริเริ่มขึ้นจากความพยายามในการฟนฟูชุมชนเองที่เคยมีสุขภาวะที่ไมดีไปสูชีวิต ที่ดีกวาไดดวยนวัตกรรมทองถิ่น อีกทั้งชาวบานไดรณรงคการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติ รวมกันคัดแยกขยะในชุมชนเพือ่ รวมมือกันรักษาสิง่ แวดลอม และสงผล ตอสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดี นอกจากนี้ยังมีการผลิตสินคาที่ลวนมาจากวัสดุ ธรรมชาตินํามารีไซเคิลใหมเปนผลิตภัณฑตางๆ เพื่อสุขภาพ สามารถสรางความ แตกตางจากการทองเที่ยวเชิงอนุรักษและรักสุขภาพใหกับนักทองเที่ยวไปสู ทางเลือกใหมแหงการทองเที่ยวที่เกิดขึ้นตามแบบวิถีทองถิ่น พิพัฒน รัชกิจประการ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการทองเทีย่ วและกีฬา นําคณะผูบ ริหาร กระทรวงฯ และผูบ ริหารจากหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ในสังกัดกระทรวงฯ ลงพื้นที่เยี่ยมชุมชนทองเที่ยว ตนแบบบานไรกองขิง เพื่อติดตามการพัฒนา ทองเทีย่ วโดยชุมชนอยางยัง่ ยืนตามนโยบายสงเสริม พิพัฒน รัชกิจประการ การขับเคลื่อนตั้งแตตนนํ้า-กลางนํ้า-ปลายนํ้า ไดแก การยกระดับความปลอดภัยใหแกนกั ทองเทีย่ วและคนในทองถิน่ การสงเสริม 38
ความสะอาดในพื้นที่ทองเที่ยวดวยการคัดแยกขยะและนําวัสดุเหลือใชกลับมา ใชใหมเปนผลิตภัณฑทองถิ่น การสงเสริมการทองเที่ยวอยางยั่งยืนเพื่อรักษา สิ่งแวดลอมและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และการสงเสริมความเปนธรรม ไมเอารัดเอาเปรียบนักทองเที่ยว “นโยบายที่มอบใหหนวยงานภายใตกระทรวงฯ ตองทํางานรวมกันอยาง บูรณาการในการพัฒนาการทองเทีย่ วโดยชุมชนไปสูค วามยัง่ ยืน แลวสามารถพัฒนา ตอยอดนําชุมชนทองเที่ยวที่มีคุณภาพมาตรฐานสูตลาดการทองเที่ยวที่เหมาะสม และทุกหนวยงานจะรวมกันพัฒนาเครือขายการทองเทีย่ วโดยชุมชนในระดับจังหวัด ระดับภูมิภาค และระดับประเทศใหมีความเขมแข็งและมีคุณภาพดังเชนตนแบบนี้ การทองเที่ยวโดยชุมชนก็จะเปนกลยุทธสําคัญที่จะกระจายรายไดสูชุมชน พัฒนา คุณภาพชีวิตและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากอยางแทจริง” พิพัฒน กลาว สุเทพ เกื้อสังข รองผูอํานวยการองคการ บริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยว อยางยัง่ ยืน (องคการมหาชน) หรือ อพท. กลาววา “อพท.มุงเดินหนาพัฒนาชุมชนแหงนี้ใหเกิดการ ทํางานรวมกัน สามารถสรางกองทุนเลี้ยงชีพ ที่สามารถพึ่งพาตนเองไดในบริบทของสังคมและ สุเทพ เกื้อสังข วัฒนธรรมตางๆ นอกจากนัน้ บานไรกองขิงยังให ความสําคัญกับการมีสวนรวมของคนทุกกลุม ทุกเพศ ทุกวัย ในการพัฒนาชุมชน ยกตัวอยางเชน กลุมเยาวชนรักษบานเกิดที่จะรวมตัวกันเพื่อทํากิจกรรมทาง สิง่ แวดลอม ทัง้ ธนาคารขยะ และการรวมตัวกันทุกวันอาทิตยเพือ่ เก็บขยะรอบชุมชน หรือกลุม ผูส งู อายุทมี่ กี จิ กรรมรําวงทํารวมกับนักทองเทีย่ ว เปนตน เปนการวางทิศทาง พัฒนาจนเขมแข็งเปนชุมชนมีสุขภาพดี ลดคาใชจายเรื่องการรักษาพยาบาลใน ครัวเรือนลง ซึ่งลวนแลวเกิดมาจากคลังความรูและภูมิปญญาทองถิ่นที่คํานึงถึง การอยูรวมกับธรรมชาติ ทําใหเมืองสะอาด สิ่งแวดลอมดี สุขภาพดีก็ตามมา” ทั้งนี้ ความสําเร็จของชุมชนบางไรกองขิงแหงนี้ ไดรับการยกระดับชุมชน ตนแบบทองเที่ยวที่มีคุณภาพมาตรฐานสูตลาดการทองเที่ยวที่มีเครือขายการ ทองเที่ยวโดยชุมชนในระดับจังหวัด ใหเปน “หมูบานแหงสุขภาพ” ซึ่งนับวาเปน ภูมิปญญาที่ควรคาแกการอนุรักษและสืบทอดตอไป
GreenNetwork4.0 January-February 2020
หองอาหารนานาชาติปทุมมาศ เดอะ สุโกศล กรุงเทพ และรานอาหารนานาชาติซันไรส ซันเซ็ท สยามเบยชอร รีสอรทพัทยา ไดรับรางวัล
Green Restaurant
การบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
Green Restaurant
ภัตตาคารและรานอาหารที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม “ระดับดีเยี่ยม” (G ทอง)
หองอาหารนานาชาติปทุมมาศ เดอะ สุโกศล กรุงเทพ
GREEN
Hotel กองบรรณาธิการ
ขยะอินทรียข องรานอาหาร เพือ่ ลดปริมาณขยะหรือเศษอาหาร และมีการจัดการทีถ่ กู หลัก วิชาการ ซึ่งถือวามีการใชทรัพยากรและพลังงานอยางคุมคา มีประสิทธิภาพ และมี การจัดการสิง่ แวดลอมทีด่ ี ทําใหเกิดคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องจํานวนนักทองเทีย่ วทีเ่ ปนลูกคา โรงแรมเพิม่ สูงขึน้ อีกทัง้ ยังมีมาตรการใหนกั ทองเทีย่ วมีสว นรวมในการใชทรัพยากรและ พลังงานอยางคุม คา เพือ่ ไมทาํ ใหสง ผลกระทบตอวิกฤตขยะอาหารซึง่ กําลังเปนปญหาใหญ ที่สรางผลกระทบไปทั่วโลก
รานอาหารนานาชาติซันไรส ซันเซ็ท สยามเบยชอร รีสอรท พัทยา
โครงการสงเสริมการบริการภัตตาคารทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม
หรือ Green Restaurant เปนอีกหนึ่งนโยบาย โดยกรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อสงเสริม ศักยภาพของภาคการบริการภัตตาคารและรานอาหารที่มีการใชทรัพยากร พลังงาน และการบริการทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม และการใชพลังงานอยาง คุมคา มีประสิทธิภาพ ซึ่งมีการจัดการสิ่งแวดลอมที่ดีและเพื่อสงเสริมการ บริโภคอยางมีความรับผิดชอบ ลดการทิง้ อาหารโดยไมจาํ เปน และไมทาํ ลาย มลภาวะสภาพแวดลอมเปนสําคัญ เมื่อเร็วๆ นี้ หองอาหารนานาชาติปทุมมาศ โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ และรานอาหารนานาชาติซันไรส ซันเซ็ท โรงแรมสยามเบยชอร รีสอรท พัทยา ไดรับรางวัล Green Restaurant “ระดับดีเยี่ยม” (G ทอง) ประจําป 2562 สําหรับสถานบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ประเภท ภัตตาคารและรานอาหาร จากกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สําหรับ หองอาหารนานาชาติปทุมมาศ โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ ไดพฒ ั นาและยึดแนวทางรักษโลกและคํานึงถึงปญหาสิง่ แวดลอม โดยดําเนิน ธุรกิจที่เปนไปตามการพัฒนาเกณฑการบริการดวยการมีสวนรวมอยาง จริงจังทางดานการบริการทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม อีกทัง้ นโยบายของโรงแรม ยังมุงเนนใหหองอาหารนานาชาติปทุมมาศ พัฒนาศักยภาพการจัดการ 39
ในสวนของ รานอาหารนานาชาติซันไรส ซันเซ็ท โรงแรมสยามเบยชอร รีสอรท พัทยา จ.ชลบุรี ในเครือโรงแรม เดอะ สุโกศล มุงเนนวัตถุดิบจากธรรมชาติ และวัสดุ ในการประกอบอาหารทีไ่ มเปนพิษตอสิง่ แวดลอมและสุขภาพของผูบ ริโภค ขณะเดียวกัน พนักงานทุกคนมีจติ สํานึกรวมกันในการบริการทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ซึง่ ทําใหผบู ริโภค มีความปลอดภัยและประทับใจในการใหบริการ ทีเ่ ปนไปตามเกณฑของกรมสงเสริมคุณภาพ สิง่ แวดลอมทีไ่ ดสนับสนุนและสงเสริมสถานประกอบการโรงแรม ภัตตาคาร รานอาหาร ในการจัดการสิ่งแวดลอม อยางไรก็ตาม ภัตตาคารและรานอาหารที่ปฏิบัติเปนไปตามเกณฑจนทําใหไดรับ รางวัล Green Restaurant ระดับดีเยีย่ ม หรือ G ทอง นี้ ถือเปนตนแบบของผูป ระกอบการ ที่ไดมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต การบริการและการบริโภค และมี การจัดการสิง่ แวดลอม สงผลใหรา นอาหารทัง้ 2 แหงของโรงแรมเดอะ สุโกศล สามารถ ลดตนทุนและลดมลพิษที่เกิดขึ้นไดอยางมีคุณภาพ ตลอดจนเพิ่มโอกาสและชองทาง สําหรับผูบ ริโภคในการเลือกใชบริการทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมมากขึน้ จะเปนแบบอยาง ใหแกโรงแรม ภัตตาคาร หรือรานอาหารอื่นๆ เกิดการตระหนักและรวมมือในการใช ทรัพยากรและพลังงานอยางรูค ณ ุ คามากทีส่ ดุ ขณะเดียวกัน เพือ่ สะทอนใหโรงแรมอืน่ ๆ ไดใสใจปญหามลภาวะที่เกิดจากของเสีย นํ้าเสีย และขยะเศษอาหารเพิ่มสูงขึ้นจากการ บริการภัตตาคารหรือรานอาหาร เพื่อนําไปสูการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตไปสูการบริโภค ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยางพอเพียงและยั่งยืนตอไป ขณะที่ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ในฐานะหนวยงานภาครัฐที่มีภารกิจใน การสงเสริมและสนับสนุนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน เดินหนาขับเคลือ่ นและผลักดันการพิจารณาวากลุม เปาหมายโรงแรม ภัตตาคาร รานอาหาร ทัว่ ประเทศทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับภาคการทองเทีย่ ว ไดรว มมือพัฒนาเกณฑการบริการภัตตาคาร ทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมหรือไม ทัง้ นี้ เพือ่ เปนแนวทางการทีจ่ ะชวยกระตุน ใหผปู ระกอบการ ใหความสําคัญกับการผลิตที่ประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ ประหยัดพลังงาน ลดการ ปลดปลอยกาซเรือนกระจก ตามเปาหมายการจัดการขยะอาหารในสวนของการบริการ ภัตตาคารและรานอาหาร เพื่อใหเกิดเครือขายผูประกอบการและผูบริโภคที่เปนมิตร กับสิ่งแวดลอมรวมกัน
GreenNetwork4.0 JJanuary-February 2020
ระบบนิเวศและตลิง่ แมนาํ้ ลําคลอง จึงเกิดการรุกลํา้ ของ นํ้าเค็มเขามาในแมนํ้าที่เชื่อมตอกับอาวไทย โดยเฉพาะ อยางยิง่ “แมนาํ้ เจาพระยา” ซึง่ ในแตละปจะมีความรุนแรง ของการรุกลํ้าของนํ้าเค็มที่แตกตางกัน ในบางปนํ้าเค็ม สามารถรุกลํา้ เขามาในแมนาํ้ เจาพระยาเปนระยะไกลกวา 90 กิโลเมตรจากปากแมนาํ้ ทีล่ งสูอ า วไทย สงผลกระทบ ตอคุณภาพแหลงนํ้าและระบบนิเวศในวงกวาง สามารถ สังเกตไดจากคุณภาพของนํ้าประปาที่เปลี่ยนแปลงไป เชน มีรสกรอย
GREEN
Article ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล ดร.พัชรียา รุงกิจวัฒนานุกูล ดร.ณัฐวิญญ ชวเลิศพรศิยา
วิศวกรรมสิ่งแวดลอม กับ
ภาวะนํ้าประปาเค็ม
จากสถานการณนาํ้ ประปาเค็มในเขตกรุงเทพมหานครในชวงตนปทผี่ า นมา นํามาซึง่ คําถามของ ภาคประชาชนถึงสาเหตุและการนํานํา้ ประปามาใชอปุ โภค-บริโภค โดยนํา้ ประปาทีจ่ า ยใหแกประชาชน ในพื้นที่กรุงเทพฯ ฝงตะวันออกในชวงดังกลาวมีคาความเขมขนของคลอไรดสูงกวาคามาตรฐาน นํ้าประปาดื่มได ที่กําหนดใหนํ้าประปามีปริมาณคลอไรดไมเกิน 250 มิลลิกรัมตอลิตร[1] และมีชวง เวลาเกิดนํา้ ประปาเค็ม 6-12 ชัว่ โมงตอวัน ซึง่ อาจสงผลกระทบตอสุขภาพหากนําไปบริโภค โดยเฉพาะ อยางยิง่ สําหรับประชาชนทีอ่ ยูใ นกลุม เสีย่ ง ทัง้ เด็กเล็ก ผูส งู อายุ และผูป ว ยทีม่ อี าการบางประการ เชน โรคไตหรือความดันโลหิตสูง โดยนํ้าประปาเค็มมีสาเหตุมาจากแหลงนํ้าดิบที่นํามาใชผลิตนํ้าประปา ถูกนํ้าทะเลรุกลํ้า เนื่องจากภาวะภัยแลงที่ทําใหปริมาณนํ้าในแมนํ้ามีไมเพียงพอในการผลักดันนํ้าเค็ม เมือ่ นํา้ ทะเลรุกลํา้ ขึน้ มาถึงจุดทีม่ กี ารผันนํา้ เขาคลองประปา จึงทําใหนาํ้ ดิบทีเ่ ขาสูร ะบบผลิตนํา้ ประปา มีคาความเขมขนของคลอไรดสูงกวาปกติ ซึ่งระบบการผลิตนํ้าประปาที่ใชกันอยูทั่วไปนั้นไมสามารถ กําจัดคลอไรดในนํ้าได จึงทําใหเกิดภาวะ “นํ้าประปาเค็ม”
การรักษาผูปวยโรคไตดวยการฟอกไต ที่มา : https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/797119 นํา้ ประปาเค็มจะพบไดบอ ยครัง้ ในชวงฤดูแลง และจะทวีความรุนแรงยิง่ ขึน้ ในชวงเวลาประเทศไทย ไดรับผลกระทบจากปรากฏการณเอลนีโญ (El Nino) ซึ่งเปนปรากฏการณที่อุณหภูมิผิวนํ้าทะเลตอน กลางและตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟกแถบเขตศูนยสูตรมีอุณหภูมิสูงกวาคาปกติตั้งแต 0.5ºC ขึ้นไป สงผลใหเกิดพายุฝนที่รุนแรงบริเวณชายฝงของทวีปอเมริกาใต ในขณะที่ประเทศที่อยูทาง ชายฝง ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟก อาทิ ประเทศออสเตรเลีย อินโดนีเซีย ไทย จะเกิดความแหงแลง มากผิดปกติ[2] ปรากฏการณเอลนีโญจะสงผลใหประเทศไทยเกิดความแหงแลงในระหวางเดือน มกราคม-พฤษภาคม และพบวาสามารถเกิดผลกระทบในระดับรุนแรงติดตอกัน 4-8 สัปดาห ดวยเหตุนี้ จึงทําใหมีฤดูแลงที่ยาวนานและเกิดการขาดแคลนนํ้าอุปโภค-บริโภคในหลายพื้นที่ ตลอดจนนํ้าที่ใช เพือ่ การเกษตรไมเพียงพอ และขาดแคลนนํา้ จืดสําหรับการรักษาระบบนิเวศทายนํา้ ซึง่ โดยทัว่ ไปจะตอง มีการควบคุมปริมาณนํา้ ไวไมตาํ่ กวา 80 ลูกบาศกเมตรตอวินาที เพือ่ ไมใหเกิดความเปลีย่ นแปลงของ 40
พื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากภาวะนํ้าประปาเค็ม ที่มา : https://www.facebook.com/MWAthailand อยางไรก็ตาม ภาวะนํ้าประปาเค็มมักพบไดใน พื้นที่กรุงเทพฯ ฝงตะวันออกเทานั้น เนื่องจากพื้นที่นี้ รับนํ้าประปาจากโรงงานผลิตนํ้าประปา 3 แหง ไดแก โรงงานผลิตนํ้าสามเสน โรงงานผลิตนํ้าบางเขน และ โรงงานผลิตนํ้าธนบุรี ภายใตการดูแลของการประปา นครหลวง (กปน.) ซึ่งโรงประปาเหลานี้รับนํ้าดิบจาก แมนาํ้ เจาพระยาทีจ่ ดุ รับนํา้ ต.สําแล อ.เมือง จ.ปทุมธานี ซึ่งมีระยะทางหางจากอาวไทยประมาณ 90 กิโลเมตร ดังนั้น ในชวงฤดูแลงที่นํ้าทะเลรุกลํ้าเขามาในแมนํ้าจึงมี ความเสี่ยงที่จะทําใหนํ้าดิบที่เขาสูโรงประปาทั้ง 3 แหง มีความเค็มสูงขึ้น เนื่องจากโรงงานผลิตนํ้าประปาใน ประเทศไทยเป น กระบวนการที่ มุ ง เน น ในการกํ า จั ด ความขุนและการฆาเชื้อโรคจากแหลงนํ้าผิวดิน โดยมี ขั้นตอนในการผลิตนํ้าประปาเริ่มจากการรวมตะกอน ที่แขวนลอยในนํ้าโดยการเติมสารเคมีและปรับคาพีเอช จากนั้นจึงทําการตกตะกอนเพื่อแยกของแข็งแขวนลอย เหลานี้ออกกอนจะผานเขาสูกระบวนการกรองที่จะ ทําใหไดนาํ้ ใสออกมา และผานกระบวนการฆาเชือ้ โรคดวย คลอรีนกอนจายออกสูผ ใู ชนาํ้ ซึง่ จะเห็นไดวา กระบวนการ ทัง้ หมดทีม่ อี ยูใ นระบบผลิตนัน้ ไมมรี ะบบใดเลยทีอ่ อกแบบ มาเพื่ อ จั ด การกั บ กรณี ที่ นํ้ า ดิ บ มี ป ริ ม าณคลอไรด สู ง จึงทําใหปญหานํ้าทะเลรุกลํ้าสงผลโดยตรงตอความเค็ม ของนํ้าประปา
GreenNetwork4.0 January-February ruary 2020
ความเค็มเกิดคามาตรฐานเปนระยะเวลาสัน้ ๆ อาจจะไมกอ ใหเกิดผลกระทบ แตสาํ หรับบานเรือนทีอ่ ยู ในกลุมเสี่ยงนั้น คงตองพิจารณาแนวทางแกปญหาที่ปลายทางเปนประการแรก เพื่อปองกันการเกิด ปญหาสุขภาพทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการบริโภคนํา้ ประปาทีม่ คี วามเค็ม อาทิ การเปลีย่ นเครือ่ งกรองนํา้ เปน ประเภทที่สามารถจัดการกับคลอไรดในนํ้าได หรือการซื้อนํ้าดื่มบรรจุขวดสําหรับการบริโภค สวนการแกไขปญหาทีต่ น ทางนัน้ จะตองอาศัยความรวมมือจากหลายภาคสวน โดยเฉพาะอยางยิง่ ภาครัฐ หนวยงานทีม่ หี นาทีร่ บั ผิดชอบในการผลิตนํา้ ประปา และภาคประชาชนทีเ่ ปนผูใ ชนาํ้ โดยแนวทาง การปองกันและแกไขปญหานํ้าทะเลรุกลํ้าและภาวะนํ้าประปาเค็ม พอสรุปไดดังนี้ - ภาครัฐ ซึง่ เปนภาคสวนหลักในการบริหารจัดการนํา้ ควรมีระบบการแจงเตือนกรณีทจี่ ะเกิด วิกฤตภัยแลงหรือนํ้าทวม เพื่อทําใหภาคสวนอื่นๆ สามารถบริหารจัดการนํ้าไดอยางเหมาะสม ทั้งการ สํารองนํา้ สําหรับใชเปนแหลงนํา้ ดิบ หรือการผันนํา้ เพือ่ ปองกันปญหานํา้ ทวม รวมไปถึงทํางานรวมกับ หนวยงานที่มีหนาที่ผลิตนํ้าประปาอยางใกลชิด - หนวยงานที่มีหนาที่ผลิตนํ้าประปา ทั้งการประปานครหลวง การประปาสวนภูมิภาค หรือ หนวยงานอืน่ ๆ ทีม่ กี ารดําเนินการในการผลิตนํา้ ประปา ควรพิจารณาแนวทางระยะยาวสําหรับการแกไข ปญหานํ้าประปาเค็มจากการรุกลํ้าของนํ้าทะเลในชวงฤดูแลง ซึ่งมีแนวโนมที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจาก ผลกระทบของปรากฏการณเอลนีโญหรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก เชน การเลือกใชเทคโนโลยีทสี่ ามารถจัดการกับความเค็มของนํา้ ได เชน กระบวนการ Reverse Osmosis การหาแหลงนํา้ สํารองสําหรับภาวะนํา้ ทะเลรุกลํา้ เนือ่ งจากแมนาํ้ เจาพระยามีตน นํา้ ไหลผานมา ตั้งแตภาคเหนือจนออกสูอาวไทย ทําใหมีกิจกรรมที่มีความตองการใชนํ้าอยูตลอดเสนทางของแมนํ้า การพึง่ พาแมนาํ้ เจาพระยาเปนแหลงนํา้ ดิบเพียงแหลงเดียว ยอมทําใหเกิดความเสีย่ งในการขาดแคลน นํ้าในชวงฤดูแลงอยางหลีกเลี่ยงไมได การเปลี่ยนจุดผันนํ้าเขาสูคลองประปา เชน ยายจุดผันนํ้าใหลึกเขาไปจากอาวไทยอีก เพื่อ ลดความเสี่ยงจากการรุกลํ้าของนํ้าทะเล อยางไรก็ตาม แนวทางแกไขปญหาเหลานี้ยอมตองมีการลงทุนจนสงผลตอตนทุนในการผลิต นํา้ ประปา จึงตองมีการทํางานรวมกับภาครัฐในการหาทางออกในดานรูปแบบการลงทุนหรือมาตรการ ชวยเหลือเพื่อลดภาระคานํ้าประปาที่สูงขึ้นที่อาจสงผลตอประชาชนในระยะหนึ่ง - ผูใชนํ้า ซึ่งอาจแบงออกไดเปน 2 กลุม ไดแก ผูใชนํ้าบริเวณตนนํ้า ซึ่งกลุมผูใชนํ้าสวนใหญจะเปนเกษตรกรอาจตองลดกิจกรรมการ เพาะปลูกในชวงเวลาทีเ่ กิดปญหานํา้ แลง หรือการเปลีย่ นชนิดพืชทีป่ ลูกใหเหมาะสมกับสภาวะทีม่ นี าํ้ นอย เพือ่ อนุรกั ษนาํ้ จืดใหมปี ริมาณเพียงพอในการผลักดันนํา้ ทะเลทีร่ กุ ลํา้ ขึน้ มาในหนาแลง ซึง่ เปนสวนสําคัญ ในการรักษาระบบนิเวศ ปองกันการเกิดภาวะคุณภาพดินเสือ่ มโทรม และปองกันการพังทลายของตลิง่ ทีจ่ ะเปนปญหาในระยะยาวหากเกิดขึน้ รวมไปถึงพิจารณาการปรับพืน้ ทีเ่ พือ่ สํารองนํา้ เชน การขุดบอ หรืออางเก็บนํ้าขนาดเล็กในพื้นที่ เปนตน ผูใชนํ้าบริเวณทายนํ้า ซึ่งสวนใหญก็คือประชาชนที่ใชนํ้าประปาในเขตกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล สามารถมีสวนรวมไดโดยการใชนํ้าอยางประหยัดและใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยเฉพาะใน ชวงทีเ่ กิดภาวะภัยแลง เพือ่ ใหปริมาณนํา้ สํารองทีห่ นวยงานตางๆ ไดเตรียมการไวสามารถใชไดเพียงพอ อีกทัง้ อาจพิจารณาการสํารองนํา้ จากแหลงอืน่ ไวใชงาน อาทิ การทําระบบรองรับนํา้ ฝนเพือ่ นําประโยชน ในดานตางๆ ซึ่งเปนแนวทางหนึ่งที่หลายประเทศทั่วโลกหันมาใหความสนใจ ปญหานํา้ ประปาเค็มนี้ แมจะเปนปญหาทีส่ ง ผลกระทบตอผูใ ชนาํ้ ในเขตกรุงเทพฯ เปนหลัก แต แทจริงแลวเปนเพียงสัญญาณหนึง่ ของปญหานํา้ แลงและการรุกลํา้ ของนํา้ ทะเล ซึง่ เปนอีกหนึง่ ปญหาใหญ ของประเทศทีย่ อ มสงผลตอผูใ ชนาํ้ ทุกคนไมทางใดก็ทางหนึง่ การแกไขปญหาก็เปนเชนเดียวกับปญหา ที่มีความซับซอนอื่นๆ ที่ตองการความเขาใจและความรวมมือของหลายภาคสวนในการจัดการปญหา อยางเปนระบบและสอดประสานกัน เพือ่ ใหแนวทางทีเ่ ลือกใชมงุ ไปสูก ารแกไขปญหาไดอยางแทจริง z
z
z
กระบวนการผลิตนํ้าประปาที่ใชอยูในประเทศไทย ที่มา : https://www.pwa.co.th/contents/service/ treatment ทางเลือกหนึ่งที่โรงงานผลิตนํ้าประปาใชในการ รับมือสถานการณนาํ้ ทะเลรุกลํา้ คือการหยุดผลิตนํา้ ประปา ในชวงที่เกิดนํ้าทะเลหนุนสูง แตก็เปนทางเลือกที่ทําได ชั่วคราวในกรณีที่นํ้าทะเลหนุนเพียง 2-3 ชั่วโมงตอวัน แตในกรณีที่นํ้าทะเลหนุนสูงติดตอกันนาน 6-8 ชั่วโมง ตอวัน การประปานครหลวงจะไมสามารถหยุดกระบวนการ ผลิตนํา้ ประปาไดเพราะนํา้ ประปาทีส่ าํ รองไวมปี ริมาณไม เพียงพอตอการสงจายใหแกประชาชนในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ นอกจากระบบผลิ ต นํ้ า ประปาที่ ใ ช อ ยู ใ น ประเทศไทยจะไมสามารถกําจัดคลอไรดออกจากนํ้า ไดแลว เครือ่ งกรองนํา้ สวนใหญทเี่ ราใชกนั ตามบานเรือน เองก็มีเพียงแคบางประเภทเทานั้นที่สามารถจัดการ ปญหานํ้าประปาเค็มได โดยจะตองเปนเครื่องกรองนํ้า ทีม่ รี ะบบ Reverse Osmosis หรือ RO เทานัน้ ทีส่ ามารถ กําจัดคลอไรดออกจากนํ้าได ทําใหในหลายบานที่มี การใชงานเครือ่ งกรองนํา้ ซึง่ โดยปกติจะใชในการจัดการ กับความขุน กลิน่ และรสในนํา้ ดวยการกรองดวยเมมเบรน ประเภทอืน่ ๆ และการดูดซับดวยถานกัมมันต (Activated Carbon หรือ Activated Charcoal) ยังคงไดรบั ผลกระทบ จากภาวะนํ้าประปาเค็มนี้ นํ้ า ประปาที่ มี ค วามเค็ ม สู ง เกิ ด ค า มาตรฐานนี้ สามารถนํามาใชในการอุปโภคไดตามปกติ แตสําหรับ การบริโภคแลวอาจทําใหเกิดรสทีไ่ มพงึ ประสงค ซึง่ หาก เปนผูใชนํ้าที่ไมไดมีปญหาสุขภาพ การบริโภคนํ้าที่มี 41
z
z
อางอิง [1] [2]
เกณฑคุณภาพนํ้าประปาดื่มได, กรมอนามัย พ.ศ. 2553 ทองเปลว กองจันทร, 2554. ปรากฏการณเอลนีโญและลานีญาในประเทศไทย, ดงตาลสัมพันธ http://kmcenter.rid.go.th/kchydhome/documents/2554/article/in001.pdf (Online วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2563) เทปบันทึกรายการวิทยุพูดจาประสาชาง “วิศวกรรมสิ่งแวดลอมกับภาวะนํ้าประปาเค็ม” สถานีวิทยุแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2557 ผูดําเนินรายการ : ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล วิทยากรรับเชิญ : ผศ. ดร.ชัยพร ภูประเสริฐ และ รศ. ดร.สุธา ขาวเธียร ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
GreenNetwork4.0 January-February 2020 Gr