GreenNetwork Cover98.pdf
1
4/8/2563 BE
10:54 AM
ARNOMA GRAND HOTEL BANGKOK
Situated in the heart of Bangkok’s Central Business area and surrounded by some of Bangkok’s most prestigious Business Addresses, Arnoma Grand Bangkok is also across the road from Centralworld’s 400 Shops and Restaurants, close to some of Asia’s most renowned Designer Malls, and just around the corner from the BTS Sky train which will whisk you all over Bangkok in minutes.
OFFERS
Triple Stay Package Get a special offer on 3 nights stay in Deluxe Executive Floor included daily breakfast and afternoon tea for 3 people, Late check-out by 14.00, In-room internet and 10% off on food (a la carte) at Mango 99 and 20% off in Green Apple Tailor Shop @ Arnoma Grand Price: THB 16,088++/Package Call: 02 655 5555 Ext. 7942 E-mail: reservations@arnoma.com
Wedding Package 2020 Bring all your wedding dreams to life at Arnoma Grand. Create a wedding celebration that is distinctively you, with the help of our dedicated wedding manager. Cocktail: THB 1,000 Net/Person Buffet: THB 1,100 Net/Person Chinese: Start from THB 13,00016,000 Net/Table Catering Sales Office Open: Monday-Saturday Hours: 8.30-18.00 Hrs. Call: 02 655 5555 Ext. 7551-7554 E-mail: bqsales@arnoma.com
GREAT DEAL Package Take advantage on our special room rates when you book on GREAT DEAL with Corporate Package get a special price for Superior room included breakfast with privileges of Club floor, 10% discount on Food & Beverage at Mango 99, Laundry service and Late check out until 16.00 hrs. Price: THB 2,900++/Night (2 Persons) Call: 02 655 5555 Ext. 7202 or 7210 E-mail: sales@arnoma.com or salescorp@arnoma.com
Come 4 Pay 3 International Buffet Lunch At Mango 99 Enjoy a great selection around the world culinary showcasing the quality ingredients on Thai, Indian, Chinese, Japanese, Western and European food included an array of fresh salad bar and luscious dessert corner. Price: THB 469 Net/Person Open: Monday-Sunday Hours: 11.30-14.30 Hrs. Call: 02 655 5555 Ext. 7507
Mango Mania Drink At All Outlets Enjoy a fresh & delicious mango drinks to keep the summer sunshine alive with our mango mania promotion for both alcoholic and non-alcoholic recipes. Mango Mania drink included Mango Juice, Mango Smoothie, Mango Mint, *Mango Margarita, *Frozen Mango Daiquiri and *Mango Delight *Cocktail Price: THB 150 Net/Drink Hours: 11.00-22.30 Hrs. Call: 02 655 5555 Ext. 7507
PROMOTIONS
LOCATION
Comfortable, Convenient and Value for Money Arnoma Grand is one of the best located Hotels in all of Bangkok - with 369 Rooms and Suites, free Wi-Fi in all rooms and a great selection of Dining options right in the heart of Bangkok’s busiest Shopping area and close to some of the City’s most prestigious business addresses, you will be right at the heart of the action. And if that wasn’t enough, the SkyTrain Station is just around the corner. Arnoma Grand has Guest accommodation of varying styles. The images on the Web Site are indicative only and do not necessarily represent the exact style of your accommodation.
Mango Delight At All Outlets 1st March until 30th April 2020 Enjoy a variety of lively desserts prepared with a variety of fresh Mangoes. Savor the simplicity of Thailand’s most popular dessert, “Mango with Sticky Rice” and many other sweet and delicious Mango delights. Price: THB 150 Net/Menu Hours: 11.00-22.30 Hrs. Call: 02 655 5555 Ext. 7507
Arnoma Grand Bangkok
99 Ratchadamri Road, Pathumwan, Bangkok 10330, Thailand Phone: +66 2655 5555 I Fax: +66 2655 7888 I E-mail: arnoma@arnoma.com I Website: www.arnoma.com
Arnoma Grand Bangkok @ArnomaGrand ArnomaGrand
Contents March-April 2020
6
7
8
9
Solar Energy
โซลาร์ลอยน�้าเขื่อนสิรินธร พลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยน�้าแบบไฮบริด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม by กองบรรณาธิการ “โครงการ U-Solar” สนับสนุนระบบนิเวศอุตสาหกรรมพลังงาน แสงอาทิตย์ในกลุ่มโรงงาน-ธุรกิจ-ครัวเรือน by กองบรรณาธิการ
Green World
Duomax V และ Tallmax V โมดูลใหม่รองรับการเปิดยุคเซลล์แสงอาทิตย์ 5.0 by กองบรรณาธิการ
Special Scoop
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์คุโรคาวะ...โรงไฟฟ้าเชิงพาณิชย์แห่งใหม่ ในญี่ปุ่น by กองบรรณาธิการ
Green Environment 11 “เครื่องบ�าบัดอากาศและฝุ่นขนาดเล็ก PM 2.5” ลดปัญหามลพิษ
ทางอากาศให้กับประชาชน เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น by กองบรรณาธิการ
Green Focus 12 “Renewable Energy Integration Options” by นรินพร มาลาศรี
18 การหาขนาดโซลาร์เซลล์อย่างง่าย และกรณีศึกษาในออสเตรเลีย by ชินวุฒิ ขวัญณัฐพร
24 โรงไฟฟ้าชุมชนชีวมวล ขึน้ ต้นเป็นมะลิซอ้ น พอแตกใบอ่อนเป็นมะลิลา? by พิชัย ถิ่นสันติสุข
Energy Saving
14 ความก้าวหน้าการพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดของประเทศไทย
ยกระดับให้เป็นฮับด้านไฟฟ้าอาเซียน by กองบรรณาธิการ 15 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมแบตเตอรี่ล�้าสมัย ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศ ลดพึ่งพาจากต่างประเทศ by กองบรรณาธิการ 16 “MEA EV Application” เครือข่ายสถานีอัดประจุไฟฟ้า แก่ผู้ใช้รถยนต์ไฟฟ้า by กองบรรณาธิการ
Green Building
17 “หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
ต้นแบบห้องสมุดสีเขียว มุ่งการเป็น Green Campus ของมหาวิทยาลัย ในอนาคต by กองบรรณาธิการ
Green Industry 20 โครงการนิคมอุตสาหกรรม เอเชีย คลีน ชลบุรี ถูกพัฒนาให้เป็น
โรงงานอุตสาหกรรมรักษาสิ่งแวดล้อม รองรับการลงทุน by กองบรรณาธิการ 21 ประหยัดอย่างต่อเนื่อง by ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี
Green Article 26 พัฒนาการด้านมาตรฐานระบบเซลล์แสงอาทิตย์ในประเทศไทย by เยาวณี แสงพงศานนท์, ดร.ธีรยุทธ์ เจนวิทยา
28 การบริหารจัดการซากแผงเซลล์แสงอาทิตย์อย่างมีประสิทธิภาพ
ด้วยกระบวนการ LCA by ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, ไชยรพี เลี้ยงบุญเลิศไชย
Green Scoop 30 นวัตกรรมยางมะตอย Shell Bitumen FreshAir ลดผลกระทบต่อ
คุณภาพอากาศ ลดฝุ่น ลดการปล่อยก๊าซ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม by กองบรรณาธิการ 31 อุตสาหกรรมรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนระบบรางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม by กองบรรณาธิการ
Auto Challenge 32 Autonomous Vehicle ยานยนต์ขับขี่อัตโนมัติ ครั้งแรกในไทย
พร้อมแอพพลิเคชั่นเรียกใช้บริการ by กองบรรณาธิการ 33 “จักรยานไฟฟ้า Electric Mobility for Everyone” เทคโนโลยีประหยัด พลังงาน นวัตกรรมลดมลพิษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม by กองบรรณาธิการ
Green Technology & Innovation 34 Salesforce Sustainability Cloud แพลตฟอร์มรักษ์โลก ตรวจสอบ
ปริมาณคาร์บอน ช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อม by กองบรรณาธิการ
Smart City 36 “หน่วยบ�าบัดทุกข์ บ�ารุงสุข สร้างรอยยิ้มให้กับประชาชน” มุ่งเน้น
บริการแบบ Smart City ประชาชนเข้าถึงข้อมูลง่าย ลดการใช้พลังงาน by กองบรรณาธิการ
Renewable Energy 37 “Save Food Save the World” กระบวนการรีไซเคิล ลดการสูญเสีย
ทรัพยากรอาหาร ใส่ใจสิ่งแวดล้อม by กองบรรณาธิการ
Green Hotel 38 อุดม ศรีมหาโชตะ กรรมการบริหารสมาคมโรงแรมไทย เดินหน้า
ยกระดับมาตรฐาน Green Hotel ให้ทุกโรงแรมเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม by กองบรรณาธิการ
40 Green Biz
คณะที่ปรึกษา ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ นินนาท ไชยธีรภิญโญ ดร.อัศวิน จินตกานนท์ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย พานิช พงศ์พิโรดม ประสงค์ ธาราไชย ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.สุรพล ด�ารงกิตติกุล ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ชาย ชีวะเกตุ รศ. ดร.สิงห์ อินทรชูโต บรรณาธิการอ�านวยการ/บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ นริศรา อ่อนเรียน, ณัฐชยา แก่นจันทร์ พิสูจน์อักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม ศศิธร มไหสวริยะ ประสานงาน ภัทรกันต์ กิจสินธพชัย ฝ่ายการตลาด กัลยา ทรัพย์ภิรมย์ เลขานุการฝ่ายการตลาด ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ แยกสี บริษัท คลาสิคสแกน จ�ากัด โรงพิมพ์ หจก.รุ่งเรืองการพิมพ์
เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ากัด
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 (ฝ่ายการตลาด Ext. 230) แฟกซ์ 0-2640-4260 เว็บไซท์ : http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail : editor@greennetworkthailand.com
สวัสดีครับ ท่านสมาชิกและท่านผู้อ่านทุกท่าน เข้าสูฤ่ ดูรอ้ นของปี 2563 อย่างเต็มรูปแบบด้วยสภาพอากาศทีร่ อ้ นจัดในประเทศไทย อุณหภูมสิ งู ถึง 40 กว่าองศาเซลเซียสในพืน้ ทีห่ ลายจังหวัด และยังต้องประสบกับมลพิษทาง อากาศจากภาวะฝุน่ PM 2.5 แต่สถานการณ์ทร่ี นุ แรงมากไปกว่านัน้ พบว่าการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสร้ายที่ชื่อ “โคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019” หรือ “โควิด-19” ที่มีการติดเชื้อ ในระบบทางเดินหายใจได้แพร่กระจายไปทัว่ โลก ขณะนีม้ ผี ทู้ ตี่ ดิ เชือ้ ไวรัสทัว่ โลกพุง่ สูงถึง ล้านกว่าคน และยอดผูเ้ สียชีวติ นับหมืน่ ๆ รายแล้ว ในช่วงนีจ้ งึ ต้องป้องกันตัวเองเป็นพิเศษ และขอให้ดูแลสุขภาพกันถ้วนหน้าครับ กลับเข้ามาที่ Green Network ในฉบับนี้ยังคงน�าเสนอเรื่องราวการใช้พลังงาน สะอาด เริ่มที่คอลัมน์ Solar Energy น�าเสนอ “โซลาร์ลอยน�้าเขื่อนสิรินธร พลังงาน แสงอาทิตย์ทุ่นลอยน�้าแบบไฮบริดเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม” เป็นความร่วมมือระหว่าง กฟผ. บี.กริมฯ และบริษัทเอกชนจากจีน และอีกหนึ่งโครงการ “U-Solar” สนับสนุน ระบบนิเวศอุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ในกลุ่มโรงงาน-ธุรกิจ-ครัวเรือน เพื่อให้ เกิดการผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์ และการใช้พลังงานหมุนเวียนในประเทศไทยอย่างยัง่ ยืน ส�าหรับ Energy Saving เป็นคอลัมน์ทนี่ า่ ติดตามถึงความก้าวหน้าการพัฒนาระบบ โครงข่ายสมาร์ทกริดของประเทศไทย ยกระดับให้เป็นฮับด้านไฟฟ้าอาเซียน ซึง่ ขับเคลือ่ น โดยส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน ส่วนอีกเรื่องราวของ ศูนย์ความเป็นเลิศด้าน นวัตกรรมแบตเตอรี่กักเก็บพลังงาน ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศ ลดพึ่งพาจาก ต่างประเทศ ได้ตั้งขึ้นด้วยเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงานที่มีประสิทธิภาพสูง Green Building พาไปชมอาคารประหยัดพลังงาน “หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์” หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ต้นแบบห้องสมุดสีเขียว มุ่งการเป็น Green Campus ของมหาวิทยาลัยในอนาคต นอกจากนี ้ Green Hotel กองบรรณาธิการ ได้รบั เกียรติจาก “อุดม ศรีมหาโชตะ” กรรมการบริหารสมาคมโรงแรมไทยกับการสัมภาษณ์ ถึงแผนนโยบายบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและเกณฑ์การประหยัดพลังงานในส่วน ของผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม พร้อมมาตรการส่งเสริมรณรงค์ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ปิดท้าย Smart City อีกหนึง่ “โครงการหน่วยบ�าบัดทุกข์ บ�ารุงสุข สร้างรอยยิม้ ให้กบั ประชาชน” มุง่ เน้นบริการแบบ Smart City ประชาชนเข้าถึงข้อมูลง่าย ลดการใช้ พลังงาน ที่ภาครัฐได้น�าเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในรูปแบบการบริหารจัดการเมือง เพื่อให้เกิดเป็นการบริการจัดการเมืองในรูปแบบ Smart City ที่ท�าให้ประชาชนเข้าถึง จุดการให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว ช่วยลดภาระค่าใช้จ่าย ลดการใช้พลังงานลง แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
SOLAR
Energy กองบรรณาธิการ
โซลาร์ลอยน�้าเขื่อนสิรินธร พลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยน�้า แบบไฮบริดเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หลังจากความเห็นชอบตามนโยบายของกระทรวงพลังงาน ส�าหรับการ ด�าเนินโครงการผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ติดตัง้ บนทุน่ ลอยน�า้ ร่วมกับโรงไฟฟ้า พลังน�้าเขื่อนสิรินธร อ�าเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ได้เกิดเป็นความร่วมมือ ครัง้ ยิง่ ใหญ่ในด้านพลังงาน ระหว่าง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ผนึกก�าลังกับ บริษทั บี.กริม เพาเวอร์ จ�ากัด (มหาชน) ซึง่ ร่วมกับพันธมิตรจีนในนาม China Energy Engineering Group Shanxi Electric Power Engineering Co., Ltd. โดยทัง้ 3 ฝ่ายได้ลงนามสัญญาในการจัดซือ้ และก่อสร้างโครงการ ซึง่ เป็น นิมติ หมายอันดีสา� หรับความร่วมมือพัฒนาโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ทนุ่ ลอยน�า้ แบบไฮบริดที่ใหญ่ที่สุดในโลก เพื่อสร้างเสถียรภาพและความมั่นคงไฟฟ้าด้วย พลังงานสะอาดเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ส�าหรับโครงการโซลาร์ลอยน�า้ เขือ่ นสิรนิ ธร พลังงานแสงอาทิตย์ทนุ่ ลอยน�า้ แบบไฮบริดนี้ เป็นการผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสานระหว่างโซลาร์เซลล์กับโรงไฟฟ้า พลังน�า้ เป็นอีกก้าวส�าคัญในการพัฒนา และการผลิตพลังงานหมุนเวียนหรือพลังงาน แสงอาทิตย์ในประเทศไทย โดยมีกา� ลังผลิต 45 เมกะวัตต์ ใช้แผงโซลาร์เซลล์ชนิด ดับเบิ้ลกลาสที่เหมาะสมกับการวางแผงโซลาร์เซลล์ใกล้ผิวน�้าที่มีความชื้นสูงและ มีการเคลือ่ นไหวของผิวน�า้ อยูต่ ลอดเวลา และใช้ทนุ่ ลอยน�า้ ชนิด HDPE (High Density Polyethylene) ไม่เป็นอันตรายต่อสัตว์น�้าและสิ่งแวดล้อม พร้อมกับการติดตั้ง อุปกรณ์ทงั้ หมดบนพืน้ ทีผ่ วิ น�า้ กว่า 450 ไร่ โดยใช้ระบบส่งไฟฟ้าเดิมร่วมกับเขือ่ นของ กฟผ. เช่น หม้อแปลง สายส่ง สถานีไฟฟ้าแรงสูง จึงท�าให้ตน้ ทุนค่าไฟฟ้าในอนาคต จะมีราคาถูกลง เนือ่ งจากเป็นการผลิตไฟฟ้าด้วยระบบผสมผสานระหว่างโซลาร์เซลล์ บนทุ่นลอยน�้าที่จะผลิตไฟฟ้าในช่วงกลางวันร่วมกับไฟฟ้าพลังน�้าจากเขื่อนของ กฟผ. ทีม่ อี ยูเ่ ดิม โดยน�าระบบบริหารจัดการพลังงาน หรือ Energy Management System (EMS) มาบริหารจัดการพลังงานทัง้ 2 ประเภท ท�าให้สามารถเดินเครือ่ ง ผลิตไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่องเสริมความต้องการของระบบไฟฟ้า ซึ่งการด�าเนินการ ก่อสร้างโครงสร้างจะใช้ระยะเวลาประมาณ 12 เดือน และจะสามารถผลิตไฟฟ้า เชิงพาณิชย์ได้ในช่วงเดือนธันวาคม 2563 นี้ หรือต้นปี 2564 โดยโครงการนีถ้ อื เป็น หนึ่งแผนงานที่มีเป้าหมายการเพิ่มก�าลังผลิตไฟฟ้าให้ได้ 5,000 เมกะวัตต์ (MW) ภายในปี 2565 อีกด้วย จากปัจจุบนั ทีม่ กี า� ลังผลิตที่ COD (Commercial Operation Date) แล้ว 2,896 เมกะวัตต์ ทั้งนี้ พิธีการลงนามสัญญาดังกล่าว มีผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย พลเอกสมศักดิ์ รุง่ สิตา เลขาธิการสภาความมัน่ คงแห่งชาติ ในฐานะกรรมการ กฟผ.
6
เป็นประธานในพิธลี งนามสัญญาโครงการฯ พร้อมด้วยผูแ้ ทนจากหน่วยงาน กฟผ. เช่น เทพรัตน์ เทพพิทักษ์ รองผู้ว่าการพัฒนาโรงไฟฟ้าและพลังงานหมุนเวียน กฟผ. รวมทัง้ ดร.ฮาราลด์ ลิงค์ ประธาน บริษทั บี.กริม เพาเวอร์ฯ และ ปรียนาถ สุนทรวาทะ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ฯ ในฐานะเป็น ผู้รับเหมาติดตั้ง (EPC) ตามแผนงานผู้ประกอบการ ขณะที่ในส่วนผู้แทนบริษัท เอกชนของประเทศจีน จากบริษัท China Energy Engineering Group Shanxi Electric Power Engineering Co., Ltd. ซึง่ น�าโดย Mr.Wang Xinping ประธาน กรรมการ บริษัท China Energy Engineering Group Shanxi Electric Power Engineering ซึ่งถือเป็นโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยน�้าที่ส�าคัญในการ พัฒนาพลังงานหมุนเวียนของประเทศไทยที่ลดข้อจ�ากัดความไม่แน่นอนของ พลังงานหมุนเวียน ท�าให้สามารถผลิตไฟฟ้าได้อย่างต่อเนือ่ ง และช่วยให้ประชาชน ได้ใช้ไฟฟ้าจากพลังงานสะอาด ลดการพึ่งพาการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในการผลิต ไฟฟ้า และในอนาคตยังสามารถน�าระบบกักเก็บพลังงานมาใช้ร่วมกับโครงการ เพื่อสร้างเสถียรภาพของพลังงานหมุนเวียนในระบบไฟฟ้าและความมั่นคงทาง พลังงานของประเทศ อย่างไรก็ตาม โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยน�้าร่วมกับ โรงไฟฟ้าพลังน�า้ เขือ่ นสิรนิ ธร เป็นการลงทุนเฟส 1 จากนัน้ จะขยายการลงทุนเฟส 2 ซึง่ เป็นการวางระบบกักเก็บไฟฟ้าส�ารอง (Energy Storage) ซึง่ จะช่วยเติมเต็มการ ผลิตไฟฟ้าในช่วงทีไ่ ม่มแี ดด ส่วนโครงการวางระบบโซลาร์ลอยน�า้ ต่อไปจะขยายไปยัง เขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ซึ่งมีก�าลังการผลิต 24 เมกะวัตต์ ผสมผสานกับ โรงไฟฟ้าพลังน�า้ ของเขือ่ น และคาดว่าเปิดประมูลให้เอกชนมาด�าเนินการก่อสร้าง ได้ในปี 2564-2565 และก�าหนดจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบปี 2566
GreenNetwork4.0 March-April 2020
“โครงการ U-Solar”
สนับสนุนระบบนิเวศอุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ ในกลุ่มโรงงาน-ธุรกิจ-ครัวเรือน
การใช้พลังงานหมุนเวียนในประเทศไทยนั้น รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมมาอย่างต่อเนื่อง และตัง้ เป้าหมายเพิม่ สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน จากปี 2562 ทีม่ สี ดั ส่วน 10% ของการผลิตไฟฟ้าทั้งหมด เพิ่มเป็น 37% หรือ 20,755 เมกะวัตต์ ภายในปี 2580 ซึ่งที่ผ่านมา กระทรวงพลังงานได้ออกมาตรการต่างๆ เพือ่ กระตุน้ ให้เกิดการลงทุนในธุรกิจพลังงานหมุนเวียน อาทิ มาตรการส่งเสริมการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในรูปแบบ Feed-in Tariff และ รูปแบบ Feed-in Premium และรัฐบาลยังได้ออกนโยบายโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน 700 เมกะวัตต์ เพือ่ ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ได้แก่ ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ และโรงไฟฟ้าประเภท ไฮบริด ระหว่างชีวมวล ก๊าซชีวภาพ กับพลังงานหมุนเวียนประเภทอืน่ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลม สอดคล้องตามนโยบายพลังงานเพื่อทุกคน “Energy for All” ที่มุ่งส่งเสริมให้ ชุมชนท้องถิน่ โดยเฉพาะผูม้ รี ายได้นอ้ ยได้เข้ามามีสว่ นร่วมในธุรกิจพลังงานหมุนเวียนเพือ่ สร้าง รายได้ให้แก่ชุมชนมากขึ้น ซึ่งโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนไม่เพียงแต่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดการใช้ พลังงานหมุนเวียนในประเทศมากขึ้นเท่านั้น แต่ยังเป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากเพื่อ การพัฒนาชุมชนอีกด้วย เมือ่ เร็วๆ นี้ กระทรวงพลังงาน น�าโดย สนธิรตั น์ สนธิจริ วงศ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน กล่าวปาฐกถาในการเปิดตัว “โครงการ U-Solar” ถึงแนวทางการขับเคลื่อนพัฒนาและ ส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนในประเทศไทย ทีจ่ ะช่วยในการ ปรับเปลีย่ นการใช้พลังงานไฟฟ้าทีม่ าจากพลังงานสะอาดให้เป็น ไปตามนโยบายของกระทรวงพลังงาน นอกจากนีย้ งั มีหน่วยงาน และภาคเอกชนทีเ่ ข้าร่วม โครงการ อาทิ ธนาคาร แห่งประเทศไทย ธนาคารยูโอบี จ�ากัด (มหาชน) บริษัท บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) ผู้น�าธุรกิจด้านพลังงาน แบบครบวงจรแห่งภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ บริษทั บางกอก โซลาร์ พาวเวอร์ จ�ากัด และ บริษทั เค.จี. วิศวกรรม จ�ากัด และพันธมิตรผูร้ บั เหมาออกแบบติดตัง้ (EPC Contractor) เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการธุรกิจและประชาชนทั่วไป ที่ต้องการปรับเปลี่ยนมาใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ทั้งใน เรื่องการติดตั้งระบบ การจัดหาผู้รับเหมา และแพ็กเกจ บริการหลังการขาย ซึง่ โครงการ U-Solar เป็นแพลตฟอร์ม ที่ ส นั บ สนุ น ระบบนิ เ วศของอุ ต สาหกรรมพลั ง งาน แสงอาทิตย์ครบวงจรแห่งแรกของเอเชีย อย่างไรก็ตาม โครงการนีม้ งุ่ ส่งเสริมการใช้พลังงาน พลังงานสะอาดแก่กลุม่ โรงงานอุตสาหกรรม องค์กรธุรกิจ และบ้านเรือน ทีก่ า� ลังมองหาโซลูชนั่ เพือ่ การปรับเปลีย่ น มาใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งถือได้ว่าครอบคลุมโซลูชั่น แบบครบวงจรในทุกๆ ด้าน ตั้งแต่การจัดหาผู้ให้บริการ ด้านพลังงานแสงอาทิตย์ ที่เป็นพันธมิตรของธนาคาร ยูโอบีในตลาดอืน่ ๆ ทัว่ ภูมภิ าค โซลูชนั่ ทางการเงินส�าหรับ องค์กรธุรกิจหรือผู้ใช้ทั่วไปในการติดตั้งระบบพลังงาน แสงอาทิตย์และการบ�ารุงรักษา ขณะเดียวกัน ยังมีโซลูชนั่ ทางการเงินแก่ผู้พัฒนาโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ 7
SOLAR
Energy กองบรรณาธิการ
สนับสนุนการเติบโตของอุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ ได้แก่ สินเชือ่ เพือ่ สิง่ แวดล้อมส�าหรับการพัฒนาโครงการ และสินเชือ่ เพือ่ การ ปรับโครงสร้างพอร์ตโฟลิโอ ตลอดจนการบริหารเงินสด ส่วนผูร้ บั เหมา ออกแบบติดตัง้ (EPC Contractor) ในส่วนของธนาคารยูโอบีกน็ า� เสนอ โซลูชั่นด้านการจัดการทางการเงินที่ครอบคลุมในทุกเรื่อง ตั้งแต่ หนังสือค�า้ ประกันการยืน่ ซองประมูลราคา เอกสารยืน่ ยันการช�าระเงิน หนังสือค�้าประกันการปฏิบัติงานตามสัญญา และเงินทุนหมุนเวียน ตั น ชุ น ฮิ น กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ธนาคารยูโอบี จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า “ภายใต้นโยบาย ของรัฐบาลทีม่ งุ่ ขับเคลือ่ นการเติบโต ในภาคพลังงานหมุนเวียนนี้ ในส่วน ของธนาคารยูโอบีก็เชื่อว่าโครงการ U-Solar จะสามารถเข้าไปช่วยสนับสนุน ความก้ า วหน้ า ของอุ ต สาหกรรม พลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย ด้วยการกระตุน้ ให้เกิดการพัฒนา และการปรับเปลี่ยนมาใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในภาคธุรกิจและ ภาคประชาชน และเชือ่ ว่าจะสามารถเข้าไปเป็นส่วนหนึง่ ในการสร้าง อนาคตสีเขียวให้กบั ประเทศไทย ตลอดทัง้ ห่วงโซ่คณ ุ ค่าด้านพลังงาน แสงอาทิตย์ และช่วยในการปรับเปลีย่ นการใช้พลังงานไฟฟ้าทีม่ าจาก พลังงานสะอาด โดยโครงการนีไ้ ด้เปิดตัวไปแล้วในอินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร์” ทั้งนี้ ธนาคารยูโอบีได้สนับสนุนเงินทุนด้านค่าใช้จ่ายในการ จัดหาอุปกรณ์เพือ่ ติดตัง้ ระบบพลังงานแสงอาทิตย์ และการบ�ารุงรักษา ส�าหรับผูป้ ระกอบการธุรกิจ ในวงเงินสูงสุดถึง 45 ล้านบาท และส�าหรับ ประชาชนสามารถผ่อนช�าระผ่านบัตรเครดิต ในอัตราดอกเบี้ย 0% นานสูงสุด 24 เดือน เพื่อร่วมกันผลักดันและขับเคลื่อนการพัฒนา ส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนในประเทศไทย ซึ่งธนาคารยูโอบี จะเป็นเสมือนตัวกลางที่เข้าไปเชื่อมต่อทุกภาคส่วน
GreenNetwork4.0 March-April 2020
GREEN
World กองบรรณาธิการ
ความส�าเร็จด้านพลังงานแสงอาทิตย์ของบริษทั ทรินา โซลาร์ จ�ากัด (Trina Solar) คือผู้น�าระดับโลกด้านเซลล์แสงอาทิตย์และโซลูชั่นพลังงานอัจฉริยะ ครบวงจร บริษทั ก่อตัง้ ขึน้ ในปี 2540 และมีธรุ กิจหลักคือผลิตภัณฑ์เซลล์แสงอาทิตย์ ระบบเซลล์แสงอาทิตย์ และโซลูชั่นพลังงานอัจฉริยะ ธุรกิจของบริษัทครอบคลุม การวิจยั และพัฒนา การผลิต และการจ�าหน่ายเซลล์แสงอาทิตย์ สถานีพลังงาน และ อุปกรณ์ประกอบระบบ การผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ระบบไมโครกริดอัจฉริยะ การพัฒนาและจ�าหน่ายระบบกักเก็บพลังงานหลายรูปแบบ รวมถึงการบริหาร แพลตฟอร์มคลาวด์ด้านพลังงาน โดยเมือ่ เร็วๆ นี้ ทรินา โซลาร์ ผูน้ า� ระดับโลกด้านโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์และ โซลูชนั่ พลังงานอัจฉริยะครบวงจร ประกาศเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่อย่างเป็นทางการ ได้แก่ Duomax V โมดูลแบบกระจก 2 ชั้น 2 หน้าตัวใหม่ล่าสุด และ Tallmax V โมดูลแบบแผงด้านหลัง โดยโมดูลทั้ง 2 รุ่นใช้ซิลิคอนเวเฟอร์ขนาดใหญ่ 210 มิลลิเมตร และเซลล์ PERC ชนิดโมโนคริสตัลไลน์ มาพร้อมดีไซน์ทที่ นั สมัย สามารถ ผลิตไฟฟ้าก�าลังสูงกว่า 500 Wp และมีคา่ ประสิทธิภาพโมดูลสูงถึง 21% ซึง่ ตอกย�า้ ความเป็นผู้น�าของบริษัท และเป็นการเปิดรับยุคเซลล์แสงอาทิตย์ 5.0 จากการประเมินเบื้องต้นโดยอิงข้อมูลจากโรงไฟฟ้าภาคพื้นดินขนาดใหญ่ ในมณฑลเฮยหลงเจียงของจีน พบว่า เมือ่ เทียบกับโมดูลแบบกระจก 2 ชัน้ 2 หน้า ขนาด 410 วัตต์โดยทั่วไปแล้ว โมดูล Duomax V ขนาด 500 วัตต์ สามารถลด ต้นทุนอุปกรณ์ประกอบระบบ (BOS) ได้ 6-8% และ ลดต้นทุนการผลิตไฟฟ้าต่อหน่วยไฟฟ้าปรับเฉลี่ย (LCOE) ได้ 3-4% ทั้งนี้ ทรินา โซลาร์ จะเปิดรับ ค� า สั่ ง ซื้ อ อย่ า งเป็ น ทางการในไตรมาส 2 ของ ปี 2563 และตั้งเป้าว่าจะท�าการผลิตเชิงพาณิชย์ ในไตรมาส 3 โดยคาดว่าจะมีก�าลังการผลิต เกิน 5 กิกะวัตต์ภายในสิ้นปีนี้ ด้วยเทคโนโลยี มัลติบัสบาร์ที่เหนือกว่า ทีมวิจัยและพัฒนาของ ทรินา โซลาร์ จึงสามารถน�าเสนอดีไซน์สุดล�้าที่ 8
ผสานเทคโนโลยี 1/3-cut ที่ทนทานและมีความหนาแน่นสูง ช่วยลดการสูญเสีย ก�าลังไฟฟ้าให้กบั ความต้านทาน ทัง้ ยังเพิม่ ความทนทานต่อการแตกหักและจุดร้อน ของโมดูล ขณะเดียวกันก็เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พนื้ ทีส่ งู สุด ส่งผลให้นกั วิทยาศาสตร์ สามารถสร้างสรรค์โมดูลก�าลังสูงที่มีประสิทธิภาพสูงและมีความน่าเชื่อถือสูง หากโมดูลแบบแบ่งครึ่งเซลล์ทั่วไปใช้ซิลิคอนเวเฟอร์ขนาดใหญ่ 210 มิลลิเมตร กระแสไฟฟ้าขาออกแรงสูงของโมดูลจะท�าให้เกิดปัญหาในระบบ หรือท�าให้โมดูล เกิดการแตกหักหรือกระแสเกิน นอกจากนี้ การออกแบบของโมดูลใหม่ยังรับประกันว่ากระแสไฟขาออก ค่าแรงดันไฟฟ้าเปิดวงจร และโหลดทางกลของโมดูลจะสอดคล้องกับข้อก�าหนด ด้านความปลอดภัยทางเทคนิค และสามารถเชือ่ มต่อกับระบบเซลล์แสงอาทิตย์ทมี่ ี อยู่เดิมได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งบริษัท ทรินา โซลาร์ได้ลงนามข้อตกลงความร่วมมือ เชิงกลยุทธ์กบั บริษทั Powerchina Jiangxi Electric Power Construction บริษทั China Energy Engineering Investment สาขาเฮยหลงเจียง บริษทั Shouguang Power Investment Haobang New Energy บริษัท Sepcoiii Electric Power Construction และบริษัทที่เกี่ยวข้องกับการผลิตไฟฟ้าแห่งอื่นๆ เพื่อปูทางสู่การ ใช้งานโมดูลก�าลังสูงเป็นพิเศษในตลาดเทอร์มินัล การผลิตโมดูลขนาดใหญ่ทใี่ ช้ซลิ คิ อนเวเฟอร์ 210 มิลลิเมตร หรือ “โมดูล 210” เป็นครั้งแรกของบริษัท ทรินา โซลาร์นี้ ถือเป็นการก้าวขึ้นเป็นผู้น�าอุตสาหกรรม ในด้านการวิจยั และพัฒนารวมถึงการผลิตโมดูล 210 สร้างความน่าเชือ่ ถือได้ให้แก่ อุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ที่สามารถผลิตได้ในปริมาณมาก เพื่อน�าพา อุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ไปสูย่ คุ โมดูลก�าลังสูง 500 วัตต์ ซึง่ โมดูล 4 ซีรสี ์ ใหม่นี้ รองรับสภาพการใช้งานที่หลากหลาย เช่น การติดตั้งบนพื้นดินส�าหรับ การใช้งานระดับสาธารณูปโภค รวมถึงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบ กระจายตัว นอกจากนี้ ก�าลังการผลิตไฟฟ้าทีเ่ พิม่ ขึน้ จาก 370 วัตต์ จะผลิตในปริมาณ มากมีก�าลังการผลิตไฟฟ้าสูงสุดถึง 415 วัตต์ ช่วยลดต้นทุนด้านการรักษาสมดุล ของระบบ (BOS) ได้ราว 4.5-8.5% และลดต้นทุนการผลิตไฟฟ้าต่อหน่วยไฟฟ้า ปรับเฉลี่ย (LCOE) ได้ราว 2.5-4.6%
GreenNetwork4.0 March-April 2020
SPECIAL
Scoop
จากการติดตัง้ โซลาร์เซลล์ทเี่ ป็นพลังงานแสงอาทิตย์ ถือเป็นอีกหนึง่ ของการอนุรักษ์ด้านพลังงาน ซึ่งขณะนี้ทั่วโลกมีจุดมุ่งหมายเพื่อร่วมกัน อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดการใช้พลังงาน และช่วยลดต้นทุนให้แก่องค์กร สะท้อนให้เห็นว่าทุกภาคส่วนอุตสาหกรรม และแม้แต่หน่วยงานภาครัฐให้ ความส�าคัญกับการด�าเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน
กองบรรณาธิการ
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์คุโรคาวะ... โรงไฟฟ้าเชิงพาณิชย์แห่งใหม่ในญี่ปุ่น บริษทั บ้านปู เพาเวอร์ จ�ากัด (มหาชน) หนึง่ ในผูน้ า� ธุรกิจผลิตและจ�าหน่าย ไฟฟ้าจากทัง้ พลังงานเชือ้ เพลิงทัว่ ไปและพลังงานหมุนเวียนในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ได้เปิดด�าเนินการเชิงพาณิชย์แห่งใหม่ทปี่ ระเทศญีป่ นุ่ คือ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ คุโรคาวะ พร้อมปรับเป้าหมายก�าลังผลิตไฟฟ้าเป็น 5,300 เมกะวัตต์ภายในปี 2568 โดยแบ่งเป็นพลังงานเชือ้ เพลิงทัว่ ไป 4,500 เมกะวัตต์เทียบเท่า และพลังงานหมุนเวียน อีก 800 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์คโุ รคาวะ ตัง้ อยูท่ จี่ งั หวัดมิยางิ ประเทศญีป่ นุ่ ก�าลังผลิต 18.9 เมกะวัตต์ เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทไี่ ด้รบั การสนับสนุน จากสถาบันการเงินท้องถิ่นในการพัฒนาโครงการฯ และมีราคารับซื้อไฟฟ้าแบบ Feed-in-Tariff (FIT) 36 เยนต่อกิโลวัตต์ จากการเปิดด�าเนินการเชิงพาณิชย์ ของโรงไฟฟ้าดังกล่าว ท�าให้ปัจจุบันบ้านปู เพาเวอร์มีก�าลังผลิตรวมเพิ่มขึ้นเป็น 2,894 เมกะวัตต์เทียบเท่า โดยมาจากโรงไฟฟ้าที่เปิดด�าเนินการเชิงพาณิชย์แล้ว 2,189 เมกะวัตต์เทียบเท่า และอีก 705 เมกะวัตต์อยูใ่ นระหว่างการก่อสร้างและพัฒนา ซึ่งโครงการโรงไฟฟ้าดังกล่าวจะเปิดด�าเนินการเชิงพาณิชย์ได้ภายในปี 2563 นี้ นอกจากนี้ยังมีโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในญี่ปุ่นอีกจ�านวน 4 แห่ง รวม 57 เมกะวัตต์ ส�าหรับเป้าหมายใหม่ทบี่ า้ นปู เพาเวอร์ได้วางเป้าหมายไว้คอื การขยายก�าลัง ผลิตไฟฟ้าแห่งใหม่ในญี่ปุ่นให้ถึง 5,300 เมกะวัตต์ ภายในปี 2568 โดยในส่วน แรกเป็นก�าลังผลิตไฟฟ้าจากพลังงานเชื้อเพลิงทั่วไป (Base-Load Power Plant) รวม 4,500 เมกะวัตต์เทียบเท่า ซึง่ มาจากโรงไฟฟ้าและโครงการโรงไฟฟ้าทีบ่ ริษทั ฯ มีอยู่ ณ ปัจจุบนั ทีใ่ ช้เทคโนโลยีระบบ Ultra-Super Critical (USC) ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
9
สูงและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (High Efficiency, Low Emissions : HELE) ขณะเดียวกัน ส่วนที่สองนี้ เป็นก�าลังผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนรวม 800 เมกะวัตต์จากการถือหุน้ ร้อยละ 50 ผ่าน บริษทั บ้านปู เน็กซ์ จ�ากัด (Banpu NEXT) ซึง่ เป็นบริษทั ใหม่ของกลุม่ บ้านปูทจี่ ะเข้ามาบริหารจัดการธุรกิจพลังงานสะอาดและ เทคโนโลยีพลังงาน ที่ปัจจุบันมีก�าลังผลิตอยู่แล้ว 406.7 เมกะวัตต์ การเข้าถือหุ้น ในบ้านปู เน็กซ์นั้น นอกจากจะเพิ่มการเติบโตของก�าลังการผลิตแล้ว ยังแสดงให้ เห็นว่าแนวนโยบายด้านพลังงานโดยเฉพาะการติดตัง้ โซลาร์ ซึง่ เป็นพลังงานสะอาด ของกลุม่ บ้านปู สามารถเติบโตทางธุรกิจด้วยพอร์ตการลงทุนทีห่ ลากหลายมากขึน้ เช่น เทคโนโลยีด้านพลังงาน และระบบพลังงานอัจฉริยะ เป็นต้น สุธี สุขเรือน ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั บ้านปู เพาเวอร์ จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า “บ้านปู เพาเวอร์พร้อมเดินหน้าตามหลักความสมดุลด้านพลังงานของโลก และสอดคล้องกับทิศทางการเติบโตในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ด้วยความสามารถใน การบริหารกระแสเงินสดอย่างแข็งแกร่ง ความสามารถในการบริหารพอร์ตลงทุน และแสวงหาโอกาสใหม่ๆ ในประเทศทีม่ โี อกาสทางธุรกิจสูง ผนวกกับการผนึกพลัง ร่วมภายในและการปรับโครงสร้างใหม่ของกลุ่มบ้านปู ท�าให้บ้านปู เพาเวอร์ มีขีดความสามารถเพิ่มขึ้นในการด�าเนินธุรกิจไฟฟ้าและเทคโนโลยีด้านพลังงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงมั่นใจว่าจะสามารถบรรลุเป้าหมาย 5,300 เมกะวัตต์ ในปี 2568 ได้สา� เร็จ เพือ่ สร้างผลตอบแทนทีม่ นั่ คงแก่ผมู้ สี ว่ นได้เสียตามทีเ่ รามุง่ มัน่ มาโดยตลอด” แนวนโยบายของกลุม่ บ้านปู ก�าลังมองหาโอกาสในประเทศต่างๆ ต่อไป เช่น เวียดนาม และประเทศอืน่ ๆ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมไปถึงโครงการ โรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติในประเทศสหรัฐอเมริกาอีกด้วย จึงเรียกได้ว่ากลุ่มบ้านปู ซึง่ ถือเป็นผูด้ า� เนินธุรกิจผลิตและจ�าหน่ายไฟฟ้าชัน้ น�าในภูมภิ าคเอเชีย ทีค่ รอบคลุม ประเทศไทย สปป.ลาว จีน ญี่ปุ่น และเวียดนาม เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่จะพัฒนา ศักยภาพในการด�าเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อการผลิตไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ ควบคู่ไปกับการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงที่มีความปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตามกลยุทธ์ Greener & Smarter
GreenNetwork4.0 March-April 2020
GREEN กองบรรณาธิการ
“เครื่องบ�ำบัดอำกำศที่มีมลพิษ และฝุ่นขนำดเล็ก PM2.5”
ลดปัญหามลพิษทางอากาศให้กับประชาชนเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น โครงการทดสอบและพัฒนาต่อยอดเครื่องบ�าบัดอากาศที่มีมลพิษและฝุ่นขนาดเล็ก PM2.5 โดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกันในการน�าองค์ความรู้ของคนไทยมาต่อยอดในการสร้างสิ่งประดิษฐ์ขึ้น ใช้เองในประเทศ อันเป็นวิถีทางในการพัฒนาพึ่งพาตนเองเพื่อแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน โดยมูลนิธิ ราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เล็งเห็นถึงปัญหาหมอกควันจากไฟป่าทางภาคเหนือ ทีเ่ กิดขึน้ เป็นประจ�าทุกปี และฝุน่ ขนาดเล็ก PM2.5 ท�าให้เกิดมลพิษทางอากาศ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ของประชาชนอย่างมากซึง่ เป็นปัญหาทีส่ า� คัญทีค่ วรได้รบั การแก้ไขอย่างเร่งด่วน พล.ร.อ. พงษ์เทพ หนูเทพ องคมนตรี ในฐานะประธานกรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯ นภสร จันทิมา หัวหน้าส�านักงานมูลนิธริ าชประชานุเคราะห์ฯ และ ดร.คงกระพัน อินทรแจ้ง ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จ�ากัด (มหาชน) หรือ GC และ ดร.ชญาน์ จันทวสุ ผูช้ ว่ ยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารความยั่งยืนและภาพลักษณ์องค์กร บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอลฯ ร่วมกันลงนามบันทึกความเข้าใจความร่วมมือ หรือ MOU เพือ่ ใช้แก้ปญ ั หาด�าเนินการให้ความช่วยเหลือ ต่อประชาชนที่ก�าลังประสบกับปัญหามลภาวะสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ประสบภัย ต่างๆ
โดยขั้นตอนและหลักการท�างานของเครื่องบ�าบัดอากาศที่มีมลพิษและฝุ่นขนาดเล็ก PM2.5 ต้นแบบ เป็นระบบบ�าบัดอากาศแบบเปียก อากาศจะถูกดูดเข้ามาในเครือ่ งบ�าบัดด้วยพัดลมดูดอากาศ ท�าให้เกิดการอัดตัวโดยผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า “เวนทูรีสครับเบอร์” โดยใช้น�้าเป็นตัวกลางในการ ดักจับฝุ่นละอองขนาดเล็กที่ติดมากับมวลอากาศ ซึ่งรูปแบบการใช้น�้าออกแบบไว้ 2 รูปแบบ คือ แบบเป็นฟิลม์ ไหลเคลือบผิวท่อเวนทูรี ซึง่ น�า้ ส่วนนีจ้ ะถูกอากาศทีอ่ ดั เข้ามาด้วยความเร็วและแรงดันสูง ท�าให้ฟลิ ม์ น�า้ กลายเป็นละอองฝอยขนาดเล็ก และแบบพ่นเป็นละอองฝอย ละอองฝอยน�า้ ทัง้ หมดจะ ท�าหน้าทีด่ กั จับโดยการสัมผัสกับฝุน่ PM2.5 ทีป่ นเปือ้ นอยูใ่ นเนือ้ อากาศให้เข้ามาอยูใ่ นเนือ้ ละอองน�า้ แทน กระบวนการนี้เรียกว่า “การสครับ” จากนั้นทั้งอากาศและละอองน�้าจะถูกบังคับให้ไหลลงไป ด้านล่างยังถังน�้าหมุนวนที่ 1 ซึ่งละอองน�้าส่วนใหญ่จะเกิดการควบแน่นและถูกจัดเก็บอยู่ในถังน�้า มวลอากาศทั้งหมด และละอองน�้าบางส่วนที่ยังไม่ควบแน่นจะไหลต่อไปยังถังดักจับละอองน�้า โดยอุปกรณ์ทเี่ รียกว่า “Demist Vane” ซึง่ ละอองน�า้ จะควบแน่นและไหลไปรวมตัวกันทีก่ น้ ถังในส่วนที่ เรียกว่า “ถังน�า้ หมุนวนที่ 2” อากาศทีผ่ า่ นการบ�าบัดแล้วทัง้ หมดจะไหลออกกลับคืนสูพ่ นื้ ทีท่ เี่ กิดปัญหา ได้เป็นอย่างดี และสามารถปฏิบตั ภิ ารกิจตามหลักการส�าคัญซึง่ เป็นหัวใจของวิธกี ารบ�าบัดฝุน่ PM2.5 ในพื้นที่เปิด 11
พล.ร.อ. พงษ์เทพ หนูเทพ องคมนตรี กล่าวว่า “มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯ น้อมน�าพระบรมราโชบาย ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ในการ บรรเทาทุกข์ที่เกิดขึ้นให้แก่ ประชาชน โดยการจัดสร้าง เครื่องต้นแบบส�าหรับบ�าบัด อากาศที่ มี ม ลพิ ษ และฝุ ่ น ขนาดเล็ก PM2.5 ขึน้ เพือ่ ช่วย ลดปัญหามลพิษทางอากาศ พล.ร.อ. พงษ์เทพ ซึ่ ง จะมี ก ารทดสอบเครื่ อ ง หนูเทพ บ�าบัดอากาศ น�าร่องใน 2 พืน้ ที่ ของกรุงเทพมหานคร ได้แก่ บริเวณโดยรอบวัดราชบพิตร สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร เขตพระนคร และบริเวณ โดยรอบวังสระปทุม เขตปทุมวัน หรือพื้นที่ตามที่มูลนิธิฯ ก�าหนด และจะขยายออกไปช่วยเหลือประชาชนที่ประสบ ปัญหามลภาวะฝุ่น PM2.5 ในภาคเหนือด้วย เช่น จังหวัด เชียงใหม่ เพื่อบรรเทาทุกข์ของประชาชนช่วยยกระดับ คุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น” ทางด้าน ดร.คงกระพัน อินทรแจ้ง ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร GC กล่าวว่า “การลงนามความร่วมมือในครั้งนี้ มีระยะเวลา 6 เดือน คือ ตั้งแต่วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2563 ถึงวันที่ 12 สิงหาคม 2563 แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ทางบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอลฯ มอบเงินสนับสนุน ให้แก่มลู นิธริ าชประชานุเคราะห์ฯ เพือ่ สร้างเครือ่ งบ�าบัดอากาศ ดร.คงกระพัน ต้ น แบบจ� า นวน 7 เครื่ อ ง อินทรแจ้ง และระยะที่ 2 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอลฯ จะพัฒนาต่อยอดจากเครื่องต้นแบบ โดยการสนับสนุนนักวิจัย วิศวกร พนักงานและนวัตกรรม ของบริษทั ฯ ร่วมกันวิเคราะห์ผล และศึกษาแนวทางโดยใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมการลดปัญหามลพิษทางอากาศ ทั้งการสนับสนุนบุคลากรนักวิจัย วิศวกร และองค์ความรู้ ทางการศึกษา เพือ่ พัฒนาเครือ่ งมือหรืออุปกรณ์บา� บัดอากาศ PM2.5 ในการควบคุมการปล่อยมลพิษ เพื่อไม่ให้ส่งผล กระทบด้านสิ่งแวดล้อม” ทั้งนี้ โมเดลการบ�าบัดที่คิดขึ้นได้พัฒนารูปแบบ ทิศทางและจุดของการดูดอากาศทีจ่ ะบ�าบัดและการปล่อย อากาศทีบ่ า� บัดแล้วให้เหมาะสมกับสภาวะเงือ่ นไขทางกายภาพ ของพื้นที่ที่จะบ�าบัด เช่น พื้นที่ในเมือง เขตโรงพยาบาล โรงเรียน สนามบิน พืน้ ทีแ่ อ่งกระทะมีภเู ขาล้อมรอบ เป็นต้น การเลือกก�าหนดรูปแบบการดูดและปล่อยออกนี้สามารถ ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบ�าบัดได้อย่างมาก จะท�าให้ สามารถบ�าบัดอากาศได้ในพื้นที่เปิดให้มีสภาพแวดล้อม ทีด่ ขี นึ้ ซึง่ ช่วยแก้ปญ ั หามลภาวะทางอากาศกรณีเกิดวิกฤติ ทีร่ นุ แรงในทีใ่ ดทีห่ นึง่ ได้ อันเป็นการใช้ทรัพยากรทีป่ ระหยัด พลังงานได้อย่างคุ้มค่าอีกทางหนึ่งด้วย
GreenNetwork4.0 March-April ril 2020
GREEN
Focus นรินพร มาลาศรี รองกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ สายบริหาร บริษัท เอสพีซีจี จ�ากัด (มหาชน)
“Renewable Energy Integration Options”
เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน ทางเลือก การบริหารจัดการภาระต้นทุนการต่อเชือ่ มกับ สายส่ง (Grid Connection Costs) ความท้าทายทีต่ อ้ งให้ความส�าคัญของการพัฒนาด้านพลังงานหมุนเวียน คือ เรือ่ งของการร่วมจ่าย (Cost Sharing) ของราคาพลังงานทีผ่ ลิตจากแหล่งพลังงาน หมุนเวียน ยกตัวอย่างเช่น การทีป่ ระชาชนต้องร่วมจ่ายเงินให้แก่โครงการพลังงาน หมุนเวียนผ่านทางค่าธรรมเนียมพิเศษ (Renewable Energy Surcharge) จากการ บริโภคกระแสไฟฟ้าที่ผลิตจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน ซึ่งสถานการณ์นี้จะส่งผล ท�าให้ประชาชนมีทัศนคติทางลบ เพราะว่าการคิดค่าธรรมเนียมพิเศษเพิ่มเติม จะเปรียบเสมือนการลงโทษ แต่ในความเป็นจริงการบริโภคกระแสไฟฟ้าที่ผลิต จากแหล่งพลังงานหมุนเวียนเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม นอกจากนัน้ ยังต้องมีความระมัดระวังในเรือ่ งค่าใช้จา่ ยแฝงต่อการด�าเนินโครงการ เช่น ค่ากระแสไฟฟ้าในการด�าเนินระบบปฏิบัติการที่อาจจะส่งผลต่อต้นทุนในการ ผลิตกระเสไฟฟ้า และผูท้ ตี่ อ้ งรับภาระอาจจะเป็นผูป้ ระกอบการทีด่ า� เนินโครงการ หรืออาจจะผลักภาระทางด้านนีใ้ ห้แก่ผบู้ ริโภค ซึง่ ความท้าทายเหล่านีเ้ ป็นสิง่ ทีเ่ กิด ขึ้นในประเทศจีน (Lin & Li, 2015) ดังนั้น การน�าเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานที่เป็นหนึ่งในทางเลือกการ บริหารจัดการภาระต้นทุนการต่อเชื่อมกับสายส่ง (Grid Connection Costs) จากไฟฟ้าทีไ่ ด้จากการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานหมุนเวียน อาทิ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม ทีม่ คี วามผันผวน ทางเลือกอืน่ ของสร้างความยืดหยุน่ ของระบบไฟฟ้า ได้แก่ การจัดการระบบโครงข่ายไฟฟ้า (Grid) การจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า (Demand Side Management) และการจัดการด้านการผลิตไฟฟ้า (Supply Side Management) การน�าระบบกักเก็บพลังงานมาใช้รว่ มในภาคการผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสาน ระหว่างพลังงานหมุนเวียนกับเชือ้ เพลิงฟอสซิล จึงเป็นความท้าทายกอปรกับกุญแจ ปลดล็อคสูค่ วามมัน่ คงของพลังงานแห่งอนาคต จึงถือเป็นหัวใจส�าคัญทีช่ ว่ ยในการ บริหารจัดการพลังงานหมุนเวียนทีไ่ ม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ตลอดเวลา ให้สามารถ สัง่ จ่ายไฟฟ้าได้ตลอด 24 ชัว่ โมง ช่วยลดความผันผวนของกระแสไฟฟ้าทีผ่ ลิตจาก พลังงานทดแทนให้มีความเสถียรมากขึ้น และยังเปรียบเสมือนพลังงานส�ารอง เข้าเสริมระบบเมื่อมีความต้องการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
12
© Renewables Academy (RENAC) AG
การใช้ระบบกักเก็บพลังงาน เพื่อเพิ่มมูลค่าให้พลังงานหมุนเวียน
เราสามารถเพิม่ มูลค่าให้กบั พลังงานหมุนเวียน โดยเก็บไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียนในช่วงที่มีมูลค่าต�่า (ความต้องการใช้ไฟฟ้าต�่า Off Peak) ไว้ใช้ในช่วง ที่มีมูลค่าสูง (ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูง Peak)
จากรูปแสดงให้เห็นว่าผู้ดูแลระบบไฟฟ้าสามารถบรรเทาการเกิดรูปเป็ด (Duck Curve) ทีเ่ กิดจากไฟฟ้าทีผ่ ลิตจากพลังงานแสงอาทิตย์ Solar PV ในช่วงเวลา กลางวัน ลดความจ�าเป็นในการส�ารองไฟฟ้าและลดต้นทุนในการผลิตไฟฟ้าช่วงค�า่ / กลางคืน
GreenNetwork4.0 March-April 2020
รูปแบบต่างๆ ของระบบกักเก็บพลังงาน
นโยบายแรงจูงใจด้านเศรษฐกิจ
รูปแบบเทคโนโลยีของระบบการเก็บสะสมทางพลังงานนั้นมีหลากหลาย รูปแบบ ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั แหล่งพลังงานตัง้ ต้นกับการน�าไปประยุกต์ใช้ ปัจจุบนั ประเทศไทย มีการน�าเทคโนโลยีระบบกักเก็บเข้ามาใช้ อาทิ ระบบกักเก็บพลังงานด้วยแบตเตอรี่ (Battery Energy Storage System : BESS) โรงไฟฟ้าพลังน�้าแบบสูบกลับ (Pumped-Storage) ระบบกักเก็บพลังงานด้วยเซลล์เชือ้ เพลิงร่วมกับพลังงานลม (Wind Hydrogen Hybrid System) เป็นต้น
Compressed - Air Energy Storage Technology (CAES) เทคโนโลยี CAES น�ามาใช้อย่างแพร่หลายในยุโรป เอเชีย และอเมริกา เทคโนโลยีการผลิต CAES มีหลักการคือ อัดอากาศโดยใช้พลังงานไฟฟ้าส่วนเกินทีม่ อี ยูจ่ ากระบบไฟฟ้าในช่วง Off Peak อากาศจะถูกอัดเก็บไว้ในถ�้าใต้ดิน (Cavern) เมื่อช่วงที่มีความต้องการ ใช้พลังงานไฟฟ้า พลังงานที่จัดเก็บจะแปลงกลับไปเป็นพลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยี CAES มีประสิทธิภาพเหนือกว่าเทคโนโลยีอนื่ ๆ และเทคโนโลยีการกักเก็บอากาศอัด สามารถลดค่าใช้จ่ายโดยตรงและอาจส่งผลในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของ โรงไฟฟ้า นอกจากการน�าพลังงานไฟฟ้าทีเ่ หลือใช้จากความต้องการแล้ว ยังสามารถ น�าพลังงานไฟฟ้าส่วนเกินที่ผลิตจากแหล่งพลังงานหมุนเวียนในช่วงที่ศักยภาพสูง เช่น ไฟฟ้าทีผ่ ลิตจากพลังงานแสงอาทิตย์ในช่วงเวลากลางวัน หรือจากพลังงานลม ในช่วงเวลากลางคืน ไปกักเก็บด้วยเทคโนโลยี CAES ได้อีกด้วย 13
การบริหารจัดการที่ดีจากหน่วยงานที่เกี่ยวในการน�านโยบายพลังงาน หมุนเวียนไปปฏิบัติเป็นสิ่งจ�าเป็นและยังเป็นการลดความเสี่ยงต่อความล้มเหลว ของโครงการ ซึง่ ในการจัดการก็จะประกอบไปด้วยมุมมองทีห่ ลากหลายดังต่อไปนี้ ประการแรกคือ การบริหารจัดการข้อมูลด้านความต้องการพลังงานเป็นสิง่ ทีท่ า้ ทาย หน่วยงานภาครัฐอย่างมากมายเพราะว่าการคาดการณ์ที่ผิดพลาดจะน�าไปสู่ การผลิตพลังงานหมุนเวียนทีม่ ากเกินกว่าความต้องการและน�าไปสูค่ วามสิน้ เปลือง ในการลงทุน ประการที่ 2 การพัฒนาโมเดลธุรกิจที่เหมาะสมต่อตลาดก็เป็น ปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ ในหลายๆ ประเทศในแถบยุโรป การพิจารณาขนาดทีเ่ หมาะสม ของระบบกักเก็บพลังงาน ศักยภาพระบบไฟฟ้า ระดับแรงดันไฟฟ้าทีเ่ ชือ่ มต่อ และ แหล่งพลังงานหมุนเวียนต้นทาง
และด้วยระบบกักเก็บพลังงานสามารถใช้เพื่อรักษาเสถียรภาพของระบบ ไฟฟ้าและลดต้นทุนในการใช้โรงไฟฟ้าเพื่อรักษาเสถียรภาพ ที่เกิดผลประโยชน์ โดยภาพรวมของพลังงานของประเทศ ดังนัน้ ประการต่อมาคือ การบริหารจัดการ จัดสรรเงินสนับสนุนส�าหรับระบบกักเก็บพลังงาน มาตรการในรูปแบบแรงจูงใจทาง เศรษฐกิจเพื่อกระตุ้นผู้ประกอบการให้เกิดการความสนใจลงทุน และการก�าหนด ราคาการรับซือ้ ไฟฟ้าจากระบบกักเก็บพลังงาน อาทิ การก�าหนดค่าธรรมเนียมพิเศษ ของราคากระแสไฟฟ้าที่ผลิตจากพลังงานหมุนเวียนร่วมกับระบบกักเก็บพลังงาน (Renewable and ESS Electricity Surcharge) ทีอ่ ยูใ่ นระดับทีจ่ งู ใจผูป้ ระกอบการ หรือนักลงทุน หรือการน�านโยบาย “Pricing and Costs Sharing Management Policies” ที่ก�าหนดมาตรการสนับสนุนทางการเงินต่อโครงการผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานหมุนเวียนร่วมกับระบบกักเก็บพลังงาน
GreenNetwork4.0 March-April 2020
แผนแม่บทการพัฒนาระบบสมาร์ทกริดของไทย พ.ศ. 2558-2579 ENERGY
ระยะเตรียมการ 2558-2559
ระยะสั้น
2560-2564
ระยะปานกลาง 2565-2574
ระยะยาว
2575-2579
Saving กองบรรณาธิการ
วัชระ กรรณิการ์
ความก้าวหน้าการพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดของประเทศไทย ยกระดับให้เป็นฮับด้านไฟฟ้าอาเซียน แผนแม่บทการพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดของประเทศไทย ระยะ 20 ปี ตัง้ แต่ พ.ศ. 2558-2579 โดยแบ่งเป็นแผนระยะสัน้ ระยะปานกลาง และระยะยาว ซึง่ แผนระยะสั้น พ.ศ. 2560-2564 จะเป็นช่วงของการค้นคว้าทดลองท�าโครงการต่างๆ ซึ่งต้องพัฒนาไปพร้อมกับการสร้างองค์ความรู้ภาคประชาชน ส่วนระยะปานกลาง พ.ศ. 2565-2574 เป็นช่วงทีน่ า� สิง่ ทีว่ จิ ยั ทดลองในระยะสัน้ ส่งไปสูป่ ระชาชน และระยะยาว พ.ศ. 2575-2579 เป็นความพร้อมปฏิบตั ไิ ด้จริง ซึง่ หน่วยงานทีข่ บั เคลือ่ น คือ ส�านักงาน นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน หรือ สนพ. น�าโดย วัชระ กรรณิการ์ โฆษก กระทรวงพลังงาน พร้อมด้วย อนิรทุ ธิ์ ธนกรมนตรี โฆษก สนพ. และในฐานะผูอ้ า� นวยการ กองนโยบายปิโตรเลียม สนพ. และ ดร.ดวงตา ทองสกุล ผู้ช่วยโฆษก สนพ. ได้สรุป ความก้าวหน้าของแผนขับเคลื่อนการด�าเนินงานด้านสมาร์ทกริดของประเทศไทย ระยะสั้น 4 ปี (พ.ศ. 2560-2564) เป็นระยะที่ 2 ซึ่งการพัฒนาโครงการต่างๆ โดย 3 การไฟฟ้า ประกอบด้วย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟ้า นครหลวง (กฟน.) และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ซึ่งมีความคืบหน้า ดังนี้ 1. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้เตรียมการด้านบทบาท รักษาความมั่นคงในระบบไฟฟ้าให้สามารถรองรับพลังงานหมุนเวียนในอนาคต โดย ปรับปรุงโรงไฟฟ้าและระบบส่งให้มีความทันสมัยมากขึ้น (Grid Moderization) ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งการพยากรณ์พลังงานหมุนเวียน Big Data รวมถึงโรงไฟฟ้าทีม่ คี วาม ยืดหยุ่นมากขึ้น และจัดท�าแผนพัฒนา Grid Connectivity เพื่อเสริมสร้างความ แข็งแกร่งให้กบั ระบบส่ง รองรับการส่งถ่ายไฟฟ้าในภูมภิ าค มุง่ สูก่ ารเป็นศูนย์กลางไฟฟ้า ของอาเซียน เตรียมพร้อมการเปลี่ยนผ่านการพัฒนาระบบผลิตไฟฟ้าจากฟอสซิล ไปเป็นพลังงานหมุนเวียนในรูปแบบไฮบริด สุดท้ายน�าไปสูเ่ รือ่ งโรงไฟฟ้าชุมชน สร้าง รายได้ให้กบั เศรษฐกิจฐานราก โดย กฟผ.ได้จดั ตัง้ ศูนย์การเรียนรูด้ า้ นพลังงาน EGAT Energy Excellence Center ให้ความรูด้ า้ นพลังงานหมุนเวียน จุดเริม่ ต้นแห่งการเกิด สมาร์ทกริด จะเป็นพืน้ ทีท่ ใี่ ช้พลังงานเลีย้ งตัวเองได้ การติดตัง้ แผงโซลาร์เซลล์ มีระบบ กักเก็บพลังงาน ให้ความรูเ้ รือ่ งระบบไฮโดรเจน พลังงานขยะ เพือ่ น�าไปผลิตไฟฟ้า ทัง้ นี้ เพื่อให้ศูนย์ฯ ไม่ต้องใช้ไฟจากกริด และเพื่อให้เกิดสังคมสีเขียวอย่างยั่งยืน 2. การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) มีความคืบหน้า โครงการน�าร่องระบบบริหาร จัดการพลังงานในอาคารทีท่ า� การไฟฟ้านครหลวง ซึง่ เชือ่ มต่อกับระบบสมาร์ทกริด
14
ซึ่งแล้วเสร็จเรียบร้อย โครงการน�าร่องการตอบสนองด้านโหลดและกลไกราคา ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (DR : LAMS) เพื่อให้ผู้ใช้ไฟฟ้ามีส่วนร่วม ต่อการบริหารจัดการพลังงานของประเทศอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า คาดว่าจะแล้วเสร็จ ภายในปี 2565 ส่วนโครงการน�าร่องระบบไมโครกริดของ กฟน. เพื่อศึกษาระบบไมโครกริดและเป็นอาคารตัวอย่างในการเรียนรู้ระบบ Facility Microgrid ของ กฟน. เป็นการรองรับระบบไมโครกริดและการขยายตัวของพลังงาน ทางเลือกในเขตพืน้ ทีบ่ ริการ บริหารจัดการ และควบคุมไมโครกริดในเขตพืน้ ทีบ่ ริการ ได้แบบ Real-time ซึง่ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2564 นอกจากนีย้ งั มีโครงการน�าร่อง อื่นๆ อยู่ระหว่างด�าเนินการ เช่น Smart Metro Grid Project เพื่อใช้งานเทคโนโลยี ระบบสมาร์ทมิเตอร์ก่อนใช้ทั่วพื้นที่ กฟน. เป็นต้น 3. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เริ่มด�าเนินการโครงการน�าร่องด้านการ ตอบสนองโหลดและระบบบริหารจัดการพลังงาน อาทิ โครงการพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้า อัจฉริยะในพืน้ ทีเ่ มืองพัทยา โดยมีการเปลีย่ นมิเตอร์เก่าให้เป็นสมาร์ทมิเตอร์ทงั้ หมด เป็นตัวเลข 116,308 เครือ่ ง ซึง่ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปีนี้ ส�าหรับ โครงการด้านระบบ ไมโครกริดและระบบกักเก็บพลังงาน ซึง่ ได้มกี ารท�าโครงการในพืน้ ทีท่ หี่ า่ งไกลจาก สายส่งและมีปจั จัยเรือ่ งความปลอดภัยอย่างพืน้ ทีอ่ า� เภอเบตง จังหวัดยะลา และพืน้ ที่ ในอ�าเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดย กฟภ.ได้ร่วมกับ กฟผ. ท�าโครงการ น�าร่องระบบไมโครกริด โดยสร้างระบบไฟฟ้าทีแ่ ยกอิสระไม่ตอ้ งพึง่ สายส่งหลัก และ มีระบบกักเก็บพลังงานไว้ใช้ในพื้นที่ตนเอง ส่วน โครงการวิจัย EV Station ปัจจุบัน อยูร่ ะหว่างการทดลองใช้งาน ซึง่ มีแอพพลิเคชัน่ เพือ่ ใช้ในการบริหารจัดการการชาร์จ โดยมีสถานีทง้ั หมด 11 แห่ง เช่น อ�าเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ อ�าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งคาดว่าจะเปิดใช้งานประมาณ เดือนเมษายน 2563 นี้ และ โครงการวิจยั Power Pack คือการศึกษาระบบกักเก็บ พลังงานทีจ่ ะติดตัง้ ในบ้าน หากในอนาคตผูผ้ ลิตมีการติดตัง้ โซลาร์รฟู ท็อป ทัง้ นีใ้ นงาน วิจัยได้จัดท�าต้นแบบระบบกักเก็บพลังงาน (ESS) ขนาด 5 กิโลวัตต์-ชั่วโมง ซึ่งก็เป็น อีกทางเลือกทีจ่ ะน�าไปใช้แก้ปญ ั หาในพืน้ ทีห่ า่ งไกลในพืน้ ทีท่ มี่ กี ารติดตัง้ โซลาร์อยูแ่ ล้ว และอาจจะเป็นธุรกิจใหม่ของ กฟภ.ในการให้บริการกับผู้ใช้ไฟฟ้าในอนาคต ทัง้ นี้ แผนแม่บทการพัฒนาระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดมีเป้าหมาย คือ ยกระดับ ความสามารถของระบบไฟฟ้า (Smart System) ท�าให้ระบบไฟฟ้ามัน่ คงและมีประสิทธิภาพ ลดความต้องการโรงไฟฟ้าส�ารอง จ�านวนการเกิดไฟฟ้าดับ และการสูญเสียจากการ ส่งและจ�าหน่ายไฟฟ้า รวมทัง้ ช่วยยกระดับคุณภาพบริการทีม่ ตี อ่ ผูใ้ ช้ไฟฟ้า (Smart Life) ส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพผ่านการมีส่วนร่วมของผู้ใช้ไฟฟ้าที่ใช้ เทคโนโลยีระบบโครงข่ายสมาร์ทกริดเข้ามาช่วยบริหารจัดการความต้องการใช้ พลังงานในรูปแบบ Smart Appliances, EV, EMS/DR/DSM, Smart Billing และ การยกระดับโครงสร้างระบบไฟฟ้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Society) ส่งเสริมให้มกี ารผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนให้มากขึน้ โดยทีร่ ะบบไฟฟ้า ยังสามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพดังเดิมหรือมากขึน้ สร้างสังคมสีเขียวและ คาร์บอนต�า่ พัฒนาระบบไมโครกริด เพือ่ การพัฒนาพลังงานอย่างยัง่ ยืนในชุมชน
GreenNetwork4.0 March-April 2020
ENERGY
Saving กองบรรณาธิการ
ศูนย์ความเป็นเลิศ ด้านนวัตกรรม แบตเตอรี่ล�้าสมัย แนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีตา่ งๆ ทีเ่ ป็นไปอย่างรวดเร็ว ไม่วา่ จะเป็น ทางด้านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ รถยนต์ไฟฟ้า ไปจนถึงระบบผลิตไฟฟ้าขนาด ใหญ่ ล้วนต้องการเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง และมีอายุ การใช้งานอย่างยาวนาน แบตเตอรีเ่ ป็นเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงานประเภท หนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายทั่วโลก ซึ่งในปัจจุบันส่วนใหญ่จะเป็น เทคโนโลยีทอี่ ยูบ่ นฐานของวัสดุประเภทลิเธียม ซึง่ เป็นวัตถุดบิ ทีม่ อี ยูจ่ า� กัดและ ต้องน�าเข้าจากต่างประเทศ และเพื่อลดการน�าเข้าจากต่างประเทศ จึงน�ามา ซึง่ การลงนามความร่วมมือโครงการจัดตัง้ และด�าเนินการ “ศูนย์ความเป็นเลิศ ด้านนวัตกรรมแบตเตอรี่ล�้าสมัย ที่ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศเพื่อความ มัน่ คง” โดยมี รศ. นพ.สรนิต ศิลธรรม ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) เป็นประธานในการลงนาม พร้อมด้วย พล.อ.นภนต์ สร้างสมวงษ์ รองปลัดกระทรวงกลาโหม พล.ท.คงชีพ ตันตระวาณิชย์ ผูแ้ ทน เจ้ากรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม กระทรวงกลาโหม ศ. ดร.บัณฑิต เอือ้ อาภรณ์ อธิการบดีจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ดร.ณรงค์ ศิรเิ ลิศวรกุล ผู้อ�านวยการส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) การจัดตัง้ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านวัตกรรมแบตเตอรีล่ า�้ สมัย ทีผ่ ลิตจาก วัตถุดิบภายในประเทศไทยเพื่อความมั่นคง มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กลาง ในเครือข่ายงานวิจยั นวัตกรรมแบตเตอรีร่ ว่ มกับหน่วยงานพันธมิตรทัง้ ภาครัฐ และภาคเอกชน ซึง่ จะส่งผลให้การด�าเนินงานด้านการวิจยั และพัฒนา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้สามารถสนับสนุนนโยบายของ รัฐบาลทีม่ งุ่ เน้นการน�าผลงานวิจยั และนวัตกรรม เป็นกลไกส�าคัญในการพัฒนา ประเทศ โดยเฉพาะการสนับสนุนอุตสาหกรรมความมัน่ คงของประเทศให้สามารถ ผลิตได้เองเพื่อลดการพึ่งพาจากต่างประเทศ และสามารถพัฒนาต่อยอดเป็น อุตสาหกรรมส่งออกได้ต่อไป
15
ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศ ลดพึ่งพาจากต่างประเทศ
ส�าหรับศูนย์ดังกล่าวนี้จะเป็นหน่วยงานหลักในการวิจัยนวัตกรรม แบตเตอรีท่ ผี่ ลิตจากวัตถุดบิ ภายในประเทศทีม่ คี วามปลอดภัยสูง ไม่เกิดการระเบิด ด้วยความเชีย่ วชาญของบุคลากรของทัง้ 3 หน่วยงาน ประกอบด้วย กระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) โดย ส�านักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และกรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม กระทรวงกลาโหม เพือ่ ร่วมกัน ท�างานวิจัยและพัฒนาทางด้านนวัตกรรมแบตเตอรี่กักเก็บพลังงานไฟฟ้า อี ก ทั้ ง การสร้ า งองค์ ค วามรู ้ พื้ น ฐานและเชิ ง ประยุ ก ต์ แ บบสหสาขาวิ ช า (Multidisciplinary Basic/Applied Research) พร้อมผลักดันองค์ความรู้ เทคโนโลยี และผลงานวิจัยสู่ผู้ใช้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อสนับสนุนการ พัฒนาอุตสาหกรรมด้านนวัตกรรมแบตเตอรีท่ ผี่ ลิตจากวัตถุดบิ ภายในประเทศ ทัง้ นี้ จะมุง่ ไปทีก่ ารบูรณาการองค์ความรูร้ ะหว่างหน่วยงานและร่วมกัน พัฒนาแบตเตอรี่ประเภทใหม่ แต่มีกระบวนการผลิตที่ใกล้เคียงกับการผลิต แบตเตอรีช่ นิดไอออนลิเธียมเดิม เพือ่ ให้ภาคอุตสาหกรรมสามารถน�าเทคโนโลยี ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ไปต่อยอดการผลิตในเชิงพาณิชย์ได้โดยง่าย ขณะเดียวกัน ยังสามารถ ใช้วัตถุดิบที่มีอยู่ในประเทศไทยได้ ซึ่งการลงนามครั้งนี้จะสร้างความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานภาครัฐด้านวิทยาศาสตร์และการวิจัย ภาคการศึกษา และ ภาคความมัน่ คงภายในประเทศ ทีจ่ ะร่วมกันพัฒนาเทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ และสามารถน�าไปใช้พฒ ั นาประเทศในมิตติ า่ งๆ ทางด้านระบบกักเก็บพลังงาน เพื่อความมั่นคงของประเทศต่อไป
GreenNetwork4.0 March-April 2020
ENERGY
Saving
“MEA EV Application”
เครือข่ายสถานีอัดประจุไฟฟ้าแก่ผู้ใช้รถยนต์ไฟฟ้า
กองบรรณาธิการ
ผู ้ น� ำ กำรขั บ เคลื่ อ นกำรใช้ ง ำนยำนยนต์ ไ ฟฟ้ ำ ใน ประเทศไทยทีม่ งุ่ มัน่ ขับเคลือ่ นวิสยั ทัศน์ดำ้ นพลังงำน มีกำรเตรียม ควำมพร้อมรองรับกำรใช้รถยนต์ไฟฟ้ำที่จะมำทดแทนรถยนต์ น�้ำมันในอนำคตอันใกล้อย่ำงต่อเนื่องนี้ คงต้องยกให้หน่วยงำน รัฐวิสำหกิจในสังกัดกระทรวงมหำดไทยอย่ำงการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) หรือ MEA ซึ่งเป็นหน่วยงำนที่ดูแลรับผิดชอบกำร จ�ำหน่ำยกระแสไฟฟ้ำอย่ำงมีประสิทธิภำพและปลอดภัยให้แก่ กรุงเทพมหำนครและปริมณฑล (นนทบุรีและสมุทรปรำกำร) ล่ำสุดเมื่อเร็วๆ นี้ ได้ร่วมมือกับ บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด (มหาชน) ลงนำมข้อตกลงครั้งส�ำคัญ ในกำรรวมโซลูชั่นกำรชำร์จรถยนต์ไฟฟ้ำของเดลต้ำพัฒนำบน แอพพลิเคชัน่ ของกำรไฟฟ้ำนครหลวง คือ “MEA EV Application” เพื่ออ�ำนวยควำมสะดวกและประหยัดพลังงำนให้กับผู้ใช้งำน รถยนต์ไฟฟ้ำ ถือเป็นโอกำสส�ำคัญของกำรยกระดับควำมสะดวก กำรเข้ำถึงสถำนีอัดประจุไฟฟ้ำทั่วประเทศไทย ส�ำหรับเครือข่ำยสถำนีอัดประจุไฟฟ้ำนี้ ประโยชน์ท่ีจะ เกิดขึน้ กับผูบ้ ริโภคหรือผูใ้ ช้งำนยำนยนต์ไฟฟ้ำ เช่น กำรเชือ่ มต่อ ข้อมูลระหว่ำงเครือ่ งอัดประจุไฟฟ้ำของเดลต้ำกับเครือข่ำยสถำนี
16
อัดประจุไฟฟ้ำของกำรไฟฟ้ำนครหลวง ตลอดจนข้อมูลกำรเผยแพร่ควำมรูเ้ กีย่ วกับระบบไฟฟ้ำทีบ่ ำ้ น หรือส�ำนักงำน รวมทัง้ กำรเลือกใช้อปุ กรณ์อดั ประจุไฟฟ้ำแบบต่ำงๆ และกำรติดตัง้ อุปกรณ์ทเี่ กีย่ วข้อง ได้อย่ำงประหยัดและปลอดภัย โดยในส่วนของกำรไฟฟ้ำนครหลวงจะเป็นผู้ให้ค�ำปรึกษำด้ำนระบบ ไฟฟ้ำ เพือ่ สร้ำงควำมมัน่ ใจและสร้ำงควำมปลอดภัยให้แก่ลกู ค้ำของเดลต้ำ ขณะทีท่ ำงด้ำนกำรผลิต และบริกำรของเดลต้ำนัน้ ได้พฒ ั นำโซลูชนั่ กำรชำร์จไฟฟ้ำทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ผ่ำนกำรเชือ่ มต่อ กับนวัตกรรมด้วยควำมสำมำรถหลักของเดลต้ำในด้ำนกำรแปลงและจัดกำรพลังงำนทีด่ ี จึงสำมำรถ ช่วยให้กำรพัฒนำโซลูชั่นกำรชำร์จรถยนต์ไฟฟ้ำมีประสิทธิภำพสูงสุดด้วยมำตรฐำนควำมปลอดภัย และกำรปฏิบตั งิ ำนระดับสำกล ไม่วำ่ จะเป็นผูข้ บั ขีร่ ถยนต์ไฟฟ้ำในยุโรป สหรัฐอเมริกำ ญีป่ นุ่ และไทย ทัง้ นี้ เดลต้ำได้ตดิ ตัง้ เครือ่ งชำร์จรถยนต์ไฟฟ้ำแบบเร็วด้วยไฟฟ้ำกระแสตรง (DC Fast Charger) และเครือ่ งชำร์จรถยนต์ไฟฟ้ำแบบธรรมดำด้วยไฟฟ้ำกระแสสลับ (AC Charger) ในสถำนทีส่ ำธำรณะ หลำยแห่งทัว่ ประเทศไทย รวมถึงร้ำนตัวแทนจ�ำหน่ำยรถยนต์ นิคมอุตสำหกรรม ส�ำนักงำน สถำบัน และศูนย์กำรศึกษำต่ำงๆ ซึ่งผู้ใช้งำนสำมำรถใช้งำน MEA EV Application สำมำรถค้นหำสถำนี อัดประจุไฟฟ้ำ กำรจองหัวชำร์จยำนยนต์ไฟฟ้ำได้แบบเรียลไทม์ พร้อมควบคุมกำรชำร์จยำนยนต์ไฟฟ้ำ ผ่ำนระบบรีโมทด้วยแอพพลิเคชัน่ ทันที รวมถึงกำรช�ำระเงินค่ำบริกำรด้วยสมำร์ทโฟนได้ทวั่ ประเทศ กำรแจ้งข้อมูลประวัตกิ ำรชำร์จ กำรค�ำนวณอัตรำกำรประหยัดพลังงำน รวมถึงฟังก์ชนั่ อืน่ ๆ ทีจ่ ะจัดท�ำ เพิม่ เติมเพือ่ อ�ำนวยควำมสะดวกในอนำคต นอกจำกนี้ กำรไฟฟ้ำนครหลวงและเดลต้ำ ยังคงท�ำงำน ร่วมกันเพือ่ เชือ่ มโยงข้อมูลเครือ่ งอัดประจุไฟฟ้ำตำมสถำนทีส่ ำธำรณะ และโซลูชนั่ กำรจัดกำรของเดลต้ำ จำกเซิรฟ์ เวอร์ของกำรไฟฟ้ำนครหลวงตำมมำตรฐำน OCPP ไปยังแอพพลิเคชัน่ MEA EV ดังกล่ำว เพื่อควำมสะดวกสบำยของผู้ใช้งำนยำนยนต์ไฟฟ้ำ กำรลงนำมในบันทึกข้อตกลงครั้งนี้ จะช่วยให้ผู้ใช้งำน MEA EV Application สำมำรถเข้ำถึงเครือข่ำยสถำนีอัดประจุไฟฟ้ำของเดลต้ำใน ประเทศไทยได้สะดวกมำกยิง่ ขึน้ โดยกำรลงนำมน�ำโดย วีรวัจน์ บัวทอง รองผูว้ า่ การ การไฟฟ้านครหลวง และคณะผู้บริหำรจำก กฟน. พร้อมด้วย เซีย เชน เยน ประธานบริหาร บริษทั เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด (มหาชน) รวมถึง คณะผู้บริหำรของเดลต้ำ โดยควำมร่วมมือกันในครั้งนี้ของหน่วยงำนภำครัฐและภำคเอกชน มุ่งหวังให้ ผูข้ บั ขีใ่ นประเทศไทยหันมำเลือกใช้กำรคมนำคมขนส่งทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมมำกยิง่ ขึน้ เพื่อผลักดันประเทศไทยให้ไปสู่กำรเป็นประเทศที่ใช้พลังงำนไฟฟ้ำเป็นหลัก พร้อมทั้ง สนับสนุนนโยบำยกำรส่งเสริมให้ใช้แบตเตอรีร่ ถยนต์ไฟฟ้ำของรัฐบำลไทย และกำรใช้รถยนต์ ไฟฟ้ำไฮบริดของคนไทย รวมถึงส่งเสริมกำรผลิต กำรวิจยั และพัฒนำรถยนต์ไฟฟ้ำของประเทศ ตำมแผนงานด้านพลังงานของรัฐบาลไทยที่ตั้งเป้าว่า จะมีรถยนต์ไฟฟ้าจ�านวน 1.2 ล้านคัน วิ่งบนท้องถนนภายในปี พ.ศ. 2579 GreenNetwork4.0 March-April 2020
GREEN
Building กองบรรณาธิการ
“หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
ต้นแบบห้องสมุดสีเขียว มุ่งการเป็น Green Campus ของมหาวิทยาลัยในอนาคต
ปัจจุบันปัญหำสิ่งแวดล้อมถือเป็นประเด็นที่ผู้คน ทั้งโลกให้ควำมตระหนัก อีกทั้งยังต้องค�ำนึงถึงกำรพัฒนำ ที่ยั่งยืน (Sustainable Development) “หอสมุดป๋วย อึง๊ ภากรณ์” หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สิต ก�ำลังมุ่งสู่ควำมเป็นหอสมุด 4.0 แห่งนวัตกรรมล�้ำสมัย ใส่ใจคุณภำพบริกำรเพือ่ นักศึกษำและสิง่ แวดล้อม พร้อมเป็น ต้นแบบอำคำรประหยัดพลังงำนให้แก่ห้องสมุดทั่วประเทศ โดยเริ่มต้นจำกภำยในมหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ที่ส่งเสริม กระบวนกำรรักษำสิง่ แวดล้อมและกำรใช้ทรัพยำกรพลังงำน จำกแสงอำทิตย์สู่กำรก้ำวหน้ำพัฒนำอย่ำงยั่งยืน
“หอสมุดป๋วย อึ๊งภำกรณ์” ได้รับใบรับรองระบบ บริหำรจัดกำรด้ำนสิ่งแวดล้อมที่ผ่ำนเกณฑ์กำรตรวจสอบ กำรทดสอบ และกำรรับรองมำตรฐำน ISO 9001:2015 และ ISO 14001:2015 จำก บริษทั เอสจีเอส (ประเทศไทย) จ� า กั ด บริ ษั ท ที่ มี บ ทบำทในกำรบริ ก ำรด้ ำ นกำรตรวจ สิง่ แวดล้อม มีเทคโนโลยีทที่ นั สมัยในกำรตรวจวัดปัจจัยของ สิ่งแวดล้อมอื่นๆ เพื่อตรวจสอบคุณภำพของสิ่งแวดล้อม โดยรวม โดยเกณฑ์มำตรฐำนกำรออกแบบก่อสร้ำงอำคำร หอสมุดป๋วย อึ๊งภำกรณ์ มุ่งตระหนักถึงควำมส�ำคัญของ กำรจัดกำรสิง่ แวดล้อม พร้อมยกระดับอำคำรให้เป็นทีย่ อมรับ ในมำตรฐำนระดับสำกลมำกยิ่งขึ้น จึงเป็นหอสมุดแห่ง นวัตกรรมและควำมยั่งยืนในกำรประหยัดพลังงำน สร้ำง ควำมตระหนักในเรื่องของสิ่งแวดล้อมให้แก่คนรุ่นใหม่ 17
กำรบริหำรจัดกำรด้ำนสิ่งแวดล้อมทั้งภำยใน-ภำยนอกอำคำรหอสมุดแห่งนี้ มีกระบวนกำร ออกแบบเพือ่ ให้ประหยัดพลังงำน ตัง้ แต่กำรออกแบบก่อสร้ำงทีเ่ ลือกใช้วสั ดุทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม แนวคิดในกำรติดตั้งโซลำร์เซลล์บนหลังคำ เพื่อสนับสนุนกำรใช้พลังงำนแสงอำทิตย์ตำมแนวทำง กำรใช้พลังงำนสะอำด กำรเลือกใช้วัสดุประหยัดพลังงำน ตั้งแต่หลอดไฟ LED อุปกรณ์ประหยัด พลังงำนต่ำงๆ และกระบวนกำรบริหำรจัดกำรขยะ เช่น กำรลดขยะ ลดพลำสติก เพือ่ ไม่ให้สง่ ผลกระทบ หรือก่อให้เกิดมลภำวะต่อสิง่ แวดล้อม ซึง่ ด�ำเนินกำรโดยยึดหลักแนวทำงด้ำนสิง่ แวดล้อม 4 ป. ได้แก่ 1. การปกป้องสิ่งแวดล้อม 2. การป้องกันมลพิษและลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ที่จะเกิดจำก กิจกรรมกำรด�ำเนินงำนของหอสมุดฯ ทัง้ ทำงตรงและทำงอ้อม 3. การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข้อบังคับ ตลอดจนข้อก�าหนดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องด้านสิง่ แวดล้อม และ 4. ปรับปรุง พัฒนาระบบบริหารคุณภาพ และสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนส่งเสริมให้บุคลำกรมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และสร้ำง กำรตระหนักรู้ เพื่อให้เกิดควำมร่วมมือที่ดีในกำรบริหำรคุณภำพและสิ่งแวดล้อม ส�ำหรับลักษณะโครงสร้ำงอำคำรหอสมุดเป็นอำคำรประหยัดพลังงำน 3 ชั้น พื้นที่ 18,669 ตำรำงเมตร โดยจ�ำนวนผูเ้ ข้ำใช้บริกำรในแต่ละวันจะมีทงั้ นักศึกษำ อำจำรย์ และบุคลำกรของมหำวิทยำลัย ตลอดจนประชำชนทั่วไป เฉลี่ยประมำณ 3,000 คน/วัน เปิดให้บริกำรรวม 13-16 ชั่วโมง/วัน จึงท�ำให้มีกำรใช้พลังงำนไฟฟ้ำในระบบปรับอำกำศ รวมถึงกำรใช้แสงสว่ำงจำกหลอดไฟถึงกว่ำ 2,000 หลอด เพื่อให้เพียงพอต่อกำรอ่ำนหนังสือและท�ำกิจกรรม จึงจ�ำเป็นต้องมีแผนกำรบริหำร จัดกำรใช้พลังงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพ ควบคูก่ บั สร้ำงควำมตระหนักร่วมกันอนุรกั ษ์พลังงำนระหว่ำง ผูเ้ ข้ำใช้บริกำรและเจ้ำหน้ำทีด่ แู ลอำคำร อีกทัง้ กำรรณรงค์ให้ควำมรูเ้ กีย่ วกับกำรประหยัดพลังงำน และรักษำสิ่งแวดล้อมให้เป็นสังคมแห่งควำมยั่งยืน และส่งเสริมกำรใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ขณะเดียวกัน ยังได้เล็งเห็นควำมส�ำคัญของกำรปรับปรุงและพัฒนำนวัตกรรมบริกำรต่ำงๆ เพื่อให้สอดคล้องกับพฤติกรรมกำรเรียนรู้ของนักศึกษำ ด้วยกำรเพิ่มจ�ำนวนห้องและปรับปรุง ห้องประชุมกลุม่ ย่อย (Study Room) พร้อมปรับปรุงสภำพแวดล้อม วัสดุอปุ กรณ์ภำยใน และระบบ เทคโนโลยีเพื่อกำรช่วยเหลือในกำรจองห้องสมุดผ่ำนกำรใช้เสียงส�ำหรับนักศึกษำที่มีข้อจ�ำกัดด้ำน กำรมองเห็น เพื่อตอบสนองต่อกำรเข้ำถึงบริกำรของนักศึกษำอย่ำงเท่ำเทียมกัน ท�ำให้เกิดกำรใช้ ทรัพยำกรพลังงำนที่ลดลง ดังนัน้ อำคำรหอสมุดป๋วย อึง๊ ภำกรณ์ ถือเป็นต้นแบบอำคำรประหยัดพลังงำน เพือ่ กำรเป็น “Green University” และเป็น 1 ใน 11 ห้องสมุดน�ำร่องเพื่อรับกำรตรวจประเมินห้องสมุดตำม ข้อก�ำหนดมำตรฐำนห้องสมุดสีเขียวทีไ่ ด้ตระหนักถึงควำมส�ำคัญของกำรอนุรกั ษ์พลังงำนและรักษำ สิ่งแวดล้อมตั้งแต่ต้นทำงที่เริ่มกำรก่อสร้ำง และปลำยทำงในกำรจัดกำรผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนกำรเป็น Green Campus ของมหำวิทยำลัยในอนำคต
GreenNetwork4.0 March-April 2020
GREEN
Focus ชินวุฒิ ขวัญณัฐพร B.ENG (Mechanical), MS (CEM) นักวิชาการ ด้านวิศวกรรมยานยนต์
การหาขนาดโซลาร์เซลล์อย่างง่าย และกรณีศึกษาในออสเตรเลีย
เมือ่ การใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าสูงขึน้ อย่างแน่นอนในอนาคตอันใกล้นี้ ด้วยการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชนที่ร่วมกันผลักดันให้ผู้บริโภค สามารถเข้าถึงรถ EV ได้ง่าย สิ่งที่ตามมาคือราคาแบตเตอรี่ที่ลดลงและ รถยนต์เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น สิ่งที่ต่อยอดไปจากเดิมเมื่อเรามี การใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าแบบไฮบริด รถยนต์ปลัก๊ อินไฮบริด และรถยนต์ ไฟฟ้าแบตเตอรี่ EV นัน่ ก็คอื การใช้แหล่งพลังงานสะอาดส�าหรับการชาร์จ แบตเตอรี่ ส�าหรับรถยนต์ปลั๊กอินไฮบริด และรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ EV ผูท้ เี่ คยใช้งานจะทราบดีวา่ จะสามารถชาร์จไฟฟ้าไปทีแ่ บตเตอรีแ่ รงดันสูง ในรถยนต์ประเภทดังกล่าวได้โดยตรงผ่านเต้ารับที่ตวั รถ ส่วนรถยนต์ EV ทีต่ อ้ งมีการชาร์จไฟฟ้าเพียงอย่างเดียวเท่านัน้ เพราะไม่มเี ครือ่ งยนต์สนั ดาป ติดตั้งมาในรถแล้ว การชาร์จไฟฟ้าจึงเป็นสิ่งเดียวที่จ่ายพลังงานเข้ามา ดังนั้นถ้าเราสามารถใช้พลังงานไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานสะอาดจาก แสงอาทิตย์หรือโซลาร์เซลล์เพื่อชาร์จแบตเตอรี่รถยนต์ดังกล่าวจะท�าให้ เราใช้พลังงานสะอาดเกือบทั้งหมดในรถยนต์เลยทีเดียว หากเราต้องการใช้โซลาร์เซลล์ในการชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า ปัญหา ทีเ่ ราต้องหาค�าตอบประการแรกสุดคือจะใช้โซลาร์เซลล์จา� นวนเท่าไรถึงจะ เพียงพอต่อการใช้งานรถยนต์ของเราในแต่ละวัน บทความนี้จะขอเสนอ กรณีศกึ ษาในประเทศออสเตรเลียว่าเขามีรปู แบบใดบ้างในการใช้พลังงาน แสงอาทิตย์เพื่อการชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า EV และการหาขนาดโซลาร์เซลล์ อย่างง่าย
พลังงานไฟฟ้าที่ใช้งานเฉลี่ยต่อวัน
อันดับแรกคือ ต้องทราบพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยที่ใช้งานต่อวันของ รถยนต์กอ่ น ในออสเตรเลียเฉลีย่ ใช้พลังงานประมาณ 8 kWh ต่อวันต่อคัน และจ�านวน 56% ของบ้านหลังคาเรือน จะมีรถตั้งแต่ 2 คันขึ้นไป ข้อมูลระยะทางวิ่งของรถยนต์ไฟฟ้าแต่ละรุ่นโดยอ้างอิงจาก EPA (US Environmental Protection Agency) รถยนต์ไฟฟ้าแต่ละรุน่ สามารถ ใช้งานได้ต่อ 1 kWh เป็นดังนี้ • Tesla Model 3: 7.0 กิโลเมตร • Mitsubishi i-MiEV: 6.3 กิโลเมตร • 2016 Nissan Leaf: 5.7 กิโลเมตร • Tesla S Sports Car: 5.3 กิโลเมตร ต้องอย่าลืมว่าเราไม่สามารถใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าจนกระทัง่ ความจุ แบตเตอรี่ลดต�่าลงเหลือ 0% ได้ ดังนั้นค่าระยะทางที่วิ่งได้จริงจะต�่ากว่า ตัวเลขข้างต้นเล็กน้อย เมือ่ น�าไปใช้คา� นวณเราต้องใช้ตา�่ กว่า Spec ทีผ่ ผู้ ลิต ให้มาเสมอ
การสูญเสียระหว่างการชาร์จ
ส่วนมากผูใ้ ช้รถยนต์ไฟฟ้าจะใช้สายชาร์จจากไฟบ้าน ดังนัน้ มีความ สูญเสียระหว่างการชาร์จด้วยคือ ประสิทธิภาพการชาร์จอยูท่ ปี่ ระมาณ 90% สายชาร์จชนิดนี้จะมีการสูญเสียไฟฟ้าไปเป็นความร้อนระหว่างการชาร์จ 18
ระยะทางในการใช้งานรถยนต์เฉลี่ยในออสเตรเลีย
จากการส�ารวจพบว่าคนออสเตรเลียโดยเฉลีย่ ใช้รถยนต์อยูท่ ี่ 14,000 กิโลเมตรต่อปี หรือ 38 กิโลเมตรต่อวัน หากรถยนต์ไฟฟ้าของเราใช้พลังงาน 1 kWh ใช้งานได้ 5 กิโลเมตร ค�านวณแล้วต้องใช้พลังงานไฟฟ้า 8 kWh (38/5 = 8 kWh) ที่ต้องการต่อวัน ดังนั้นเราก็ จะสามารถประมาณค่าพลังงานทีใ่ ช้ตอ่ วันได้จากการใช้งานของเราเอง เพราะตัวเราเท่านัน้ ที่รู้ดีที่สุดว่าเฉลี่ยแล้วใน 1 วันขับไปกี่กิโลเมตร
ขนาดของแผงโซลาร์เซลล์ที่ใช้เป็นเท่าไร
หลังจากทีเ่ ราได้คา่ พลังงานไฟฟ้าทีต่ อ้ งการแล้ว ก่อนจะก�าหนดขนาดของโซลาร์เซลล์ได้ เราจ�าเป็นต้องดูทศิ ทางของแสงอาทิตย์ทตี่ กกระทบกับแผงโซลาร์เพือ่ ประมาณเวลาการรับแสง ซึ่งมีผลต่อการผลิตกระแสไฟฟ้าของโซลาร์เซลล์ ในออสเตรเลียค่าความเข้มแสงแดด เมือ่ หันด้านรับแดดไปทิศเหนือสามารถผลิตไฟฟ้าได้ท่ี 4 ชัว่ โมงต่อวัน และแนวตะวันออกตะวันตกอยูท่ ี่ 3.4 ชัว่ โมงต่อวัน ดังนัน้ ถ้าแผงโซลาร์เซลล์ของเราใช้แบบ 1.9 kW หรือสูงกว่า แล้วหันไปทางด้านทิศเหนือเราก็จะได้พลังงานไฟฟ้าประมาณ 8 kWh ตรงกับความต้องการ ใช้งาน (8/4 = 2 kW)
แผงโซลาร์เซลล์ขนาด 270 วัตต์ จากผู้ผลิตรายหนึ่ง จ�านวน 7 แผง ผลิตไฟฟ้าได้ 1.89 กิโลวัตต์ ใช้พื้นที่ติดตั้ง 11.6 ตร.ม.
ทิศทางของแดดที่ต้องน�ามาพิจารณาทิศทางการติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์
หลังจากทราบวิธกี ารค�านวณง่ายๆ แล้ว มาถึงรูปแบบของการชาร์จบ้าง จะกล่าวไว้ เพียงสัน้ ๆ คือทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั นีใ้ นเกือบทุกประเทศทัง้ ออสเตรเลีย ยุโรป หรือในประเทศไทย ก็ตาม
GreenNetwork4.0 March-April 2020
การชาร์จไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ไปยังรถยนต์ไฟฟ้า
1. ชาร์จทางอ้อมโดยจ่ายไฟเข้าและใช้ไฟจาก Power Grid (On-Grid Solar Charging)
ในประเทศออสเตรเลียมีการส่งเสริมการใช้พลังงานสะอาดเหมือนกับหลายๆ ประเทศ ไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโซลาร์เซลล์สามารถจ�าหน่ายกลับไปยังระบบ Power Grid ในช่วงเวลาทีม่ แี สงแดดเพียงพอ (คล้ายกับของประเทศไทยทีม่ โี ครงการนีเ้ ป็น ระยะๆ โดยเปิดให้ผสู้ นใจลงทะเบียนรับสิทธิ) ดังนัน้ คนออสซีจ่ งึ ไม่นยิ มใช้แบตเตอรี่ ส�ารองไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโซลาร์เซลล์เพื่อใช้ชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าในตอนกลางคืน เมือ่ กลับจากท�างาน เพราะต้องมีคา่ ใช้จา่ ยและค่าบ�ารุงรักษาแบตเตอรีโ่ ซลาร์เซลล์ เพิม่ ขึน้ มา แต่ใช้ไฟฟ้าจาก Power Grid คือไฟบ้าน ในตอนกลางคืนเพือ่ ชาร์จรถยนต์ ไฟฟ้า ถ้าหากผลิตไฟฟ้าด้วยโซลาร์เซลล์ในตอนกลางวันได้จ�านวน kWh คิดเป็น เครดิตทีม่ ากกว่าการใช้ไฟฟ้าชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าในแต่ละวัน ส่วนต่างของการผลิต และการใช้งานจะเกิดขึน้ ในระบบ Power Grid จะมีพลังงานไฟฟ้าส�ารองเติมเข้ามา ถ้าหากมีปริมาณมากพอ การผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าจะปรับลงลงได้ นั่นก็คือ เราได้ผลลัพธ์ที่เป็นบวกจากการใช้พลังงานสะอาดแล้ว
ตัวอย่างการใช้พลังงานไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์เพื่อใช้ชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าและอุปกรณ์ ไฟฟ้าอื่นๆ โดยต่อพ่วงเข้าระบบ Power Grid ด้วย (On-Grid Solar Charging)
2. ชาร์จโดยตรงจากโซลาร์เซลล์ไปยังรถยนต์ไฟฟ้า (Off-Grid Solar Charging)
แบบนี้ในออสเตรเลียก็มีใช้งานเช่นกัน คือการชาร์จโดยตรงไปยังรถยนต์ไฟฟ้าในเวลาที่มีแสงแดด ไม่มีการต่อเข้าระบบ Power Grid โดยมี Solar Inverter เพื่อเปลี่ยนไฟฟ้ากระแสตรงจากแผงโซลาร์เซลล์ไปเป็นกระแสสลับส�าหรับปลั๊กชาร์จ EV แบบต่างๆ
PV
EV
Charge Controller สถานีชาร์จไฟฟ้าแบบไม่เชื่อมต่อ Power Grid ติดตั้งภายในลานจอดรถบริเวณบ้าน
ระบบไฟฟ้าของออสเตรเลียนั้นมีความแตกต่างกับไทยคือ การมีผู้จ�าหน่ายไฟฟ้าหลายรายท�าให้ราคาค่าไฟฟ้าแตกต่างกันบ้าง บางรายมีส่วนลดหรือ โปรโมชัน่ ราคาพิเศษส�าหรับการใช้ไฟฟ้าจาก Power Grid เพือ่ ชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าโดยเฉพาะอีกด้วย ส�าหรับผูใ้ ช้งานรถยนต์ไฟฟ้าในไทยส่วนมากก็จะต้องใช้ ไฟฟ้าจากไฟบ้านเป็นหลักในการชาร์จแบตเตอรี่ เพราะการติดตั้งโซลาร์เซลล์ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายเหมือนกับต่างประเทศที่มีการติดตั้งไว้ส�าหรับ ใช้ไฟฟ้าภายในบ้านอยู่แล้ว จากการค�านวณข้างต้นพบว่าถ้าคิดต้นทุนการติดตั้งโซลาร์เซลล์เพื่อใช้งานเฉพาะชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าเพียงอย่างเดียวนั้นไม่ได้แพง เกินไปมีและความเป็นไปได้มากกว่าหากใช้รูปแบบ Off-Grid Solar Charging ในระยะเริ่มต้น 19
GreenNetwork4.0 March-April 2020
GREEN
Industry กองบรรณาธิการ
โครงการนิคมอุตสาหกรรม
เอเชีย คลีน ชลบุรี ถูกพัฒนาให้เป็นโรงงานอุตสาหกรรม รักษาสิ่งแวดล้อม รองรับการลงทุน
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรือ กนอ. เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม ได้กา� หนดนโยบายด้านสิง่ แวดล้อมเกีย่ วกับการควบคุม และป้องกันมลภาวะต่างๆ ตามกฎหมายและข้อก�าหนดด้านสิง่ แวดล้อมขององค์กร ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ จึงได้รว่ มมือกับบริษทั เอเชีย คลีน อินดัสเตรียล พร็อพเพอร์ตี้ จ�ากัด เร่งพัฒนาโครงการนิคมอุตสาหกรรม เอเชีย คลีน ชลบุรี ให้เป็นโรงงานรักษาสิ่งแวดล้อมที่ดีเพื่อสนับสนุนการเติบโตของพื้นที่เขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก (EEC) ในการเป็นพืน้ ทีร่ องรับความต้องการขยายฐานการผลิต ของนักลงทุนต่างชาติในจังหวัดชลบุรี โดยคาดว่าจะเริ่มเปิดด�าเนินการได้อย่าง เต็มรูปแบบในปี 2564
พิธลี งนามสัญญาร่วมด�าเนินงาน “โครงการนิคมอุตสาหกรรม เอเชีย คลีน ชลบุร”ี โดยมี ภานุวฒ ั น์ ตริยางกูรศรี รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม สมจิณณ์ พิลกึ ผูว้ า่ การ กนอ. อัฐพล จิรวัฒน์จรรยา รองผูว้ า่ การ กนอ. และคณะกรรมการ บริหาร กนอ. จับมือร่วมลงนามกับ บริษทั เอเชีย คลีน อินดัสเตรียล พร็อพเพอร์ตี้ จ�ากัด ซึง่ น�าโดย เสรี อติภทั ธะ ประธานกรรมการ และ ณัฏฐ์ ทรงเมตตา กรรมการ ตลอดจนคณะผู้บริหารเข้าร่วมพิธีลงนามสัญญาดังกล่าว โครงการนิคมอุตสาหกรรม เอเชีย คลีน ชลบุรี ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ทีก่ ว่า 1,300 ไร่ ในอ�าเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี มูลค่าการลงทุนกว่า 3,000 ล้านบาท รองรับการ ขยายตัวของอุตสาหกรรมเป้าหมาย First S-Curve และ New S-Curve ในพื้นที่ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซึง่ ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิน้ ส่วน ยานยนต์แห่งอนาคต อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าอัจฉริยะ กลุม่ โรงงานอุตสาหกรรมดิจทิ ลั ซอฟต์แวร์ อุตสาหกรรมหุน่ ยนต์ และอุตสาหกรรม โลจิสติกส์ เป็นต้น 20
ทัง้ นี้ นิคมอุตสาหกรรม เอเชีย คลีน ชลบุรี เป็นนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่มี ระบบสาธารณูปโภคทันสมัย มีพื้นที่สีเขียว ที่สมดุลในการรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งภายนอก และภายในโรงงานได้อย่างดีเยี่ยม และเป็นไป ตามเกณฑ์กา� หนดสิง่ แวดล้อมของ กนอ. รวมทัง้ มีพนื้ ที่ ส�ารองน�้าขนาดใหญ่ และเทคโนโลยีการบริหารจัดการ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และพื้นที่ชุมชนสีเขียว โดย โครงการนีไ้ ด้เริม่ ก่อสร้างในปีนี้ และจะเปิดด�าเนินการอย่าง เต็มรูปแบบในปี พ.ศ. 2564 ซึง่ จะช่วยดึงเม็ดเงินลงทุนกว่า 40,000 ล้านบาทให้กับเศรษฐกิจจังหวัดชลบุรี สร้างการ จ้างงานและสร้างโอกาสพัฒนาแรงงานฝีมือเพื่อรองรับความ ต้องการแรงงานของอุตสาหกรรมเป้าหมายในเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออกไม่นอ้ ยกว่า 8,000 อัตรา จะท�าให้เกิดการกระจายรายได้ และพัฒนาอุตสาหกรรมร่วมกับชุมชุนอย่างยั่งยืน สมจิณณ์ พิลึก ผู้ว่าการ กนอ. กล่าวว่า “นิคมอุตสาหกรรมเอเชีย คลีน อินดัสเตรียล ปาร์ค เป็นนิคมอุตสาหกรรมล�าดับที่ 61 และเป็นนิคมอุตสาหกรรมล่าสุดที่จะเปิด ให้บริการในพืน้ ที่ EEC กอปรกับศักยภาพ และจุดเด่นของโครงการที่ด�าเนินการใน การเป็นโรงงานรักษาสิง่ แวดล้อม จะท�าให้ นิคมอุตสาหกรรมแห่งนี้ได้รับการตอบรับ ที่ ดี จ ากนั ก ลงทุ น และสอดรั บ กั บ นโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 ที่มุ่งปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม เพื่อน�าพาประเทศไทยให้ก้าวข้ามกับดัก ประเทศรายได้ปานกลาง” เสรี อติภัทธะ ประธานกรรมการ บริษัท เอเชีย คลีน อินดัสเตรียล พร็อพเพอร์ตี้ จ�ากัด กล่ า วแสดงเจตนารมณ์ ว ่ า “ภาคนิ ค ม อุตสาหกรรม เอเชีย คลีน ชลบุรี เป็นนิคม อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และในนามบริษทั เอเชีย คลีนฯ จะด�าเนินการพัฒนานิคม อุตสาหกรรมในพื้นที่ดังกล่าวให้เป็นไป ตามเกณฑ์ ม าตรฐานโรงงานที่ เ ป็ น มิ ต ร ต่อสิ่งแวดล้อม เป็นแผนยุทธศาสตร์ภายใต้ ไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งอยู่ในพื้นที่การลงทุนเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก หรือโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีท่ ม่ี กี ารคมนาคมขนส่งทีเ่ ต็มรูปแบบทัง้ ทางบก ทางอากาศ และทางน�้า” ขณะเดียวกัน นิคมอุตสาหกรรมแห่งนี้ ถือเป็นหนึ่งในเส้นทางคมนาคม สายหลักของ EEC มอเตอร์เวย์สายใหม่แหลมฉบัง-หนองคาย ตัดผ่านถนนทางเข้า โครงการที่ระยะทาง 1 กิโลเมตร จะเป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ตามแนวเศรษฐกิจ ภาคเหนือและภาคใต้ ที่มีความส�าคัญสูงในการรองรับการเดินทางของประชาชน และภาคการขนส่งสินค้า เชื่อมโยงการเดินทางและการขนส่งสินค้าระหว่างพื้นที่ เศรษฐกิจภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โครงการรถไฟความเร็วสูง เชือ่ ม 3 สนามบิน โครงการพัฒนาท่าอากาศยานนานาชาติอตู่ ะเภา โครงการพัฒนา ท่าเรือแหลมฉบัง ระยะที่ 3 โครงการพัฒนาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ 3 จะเชือ่ มโยงให้โรงงานทีเ่ ข้ามาอยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรมเอเชีย คลีน ชลบุรี สามารถ ขนส่งสินค้าและวัตถุดบิ แบบไร้รอยต่อระหว่างทุกภูมภิ าคของประเทศไทย CLMV ประเทศจีน ประเทศอินเดีย ได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
GreenNetwork4.0 March-April 2020
ประหยัดอย่างต่อเนื่อง การประหยัดพลังงานยังคงเป็นวิธที ไี่ ด้ผลส�าหรับการลดต้นทุนการผลิตของ กิจการ เราสามารถเริม่ ท�าได้งา่ ยๆ โดยไม่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ยเลยก็ได้ เช่น การเดิน ตรวจหาจุดรั่วไหลต่างๆ เพื่อเปิดปิดไฟแสงสว่างที่ไม่ได้ใช้งาน จนกระทั่งท�าแบบ ที่ต้องลงทุนสูงก็มี เช่น การปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตหรือเครื่องจักร เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน ตลอดจนการปรับใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามา ช่วยให้เกิดการประหยัดพลังงาน เป็นต้น แต่ไม่วา่ จะลงทุนมากน้อยเพียงใด ก็ตอ้ งอาศัยการมี “ข้อมูลเบือ้ งต้น” ในมือ เพราะข้อมูลตัวเลขเพือ่ ใช้ในการเปรียบเทียบและประเมินถึงรูปแบบการใช้พลังงาน และการใช้มากน้อยของกิจการจะเป็นสิ่งที่ส�าคัญยิ่งในการประหยัดพลังงาน เราจึงต้องเริ่มต้นด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลตัวเลขที่เกี่ยวกับการใช้ พลังงาน และให้ความส�าคัญกับพนักงานผูป้ ฏิบตั งิ าน ซึง่ เป็นผูใ้ ช้พลังงานโดยตรง เพราะเป็นผูท้ คี่ วบคุมดูแลเครือ่ งจักรและเครือ่ งมืออุปกรณ์ตา่ งๆ ให้ทา� งานอย่างมี ประสิทธิภาพ พนักงานจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการท�างานของ เครื่องจักรอย่างถูกต้อง รวมถึงมีความสามารถในการสังเกตความผิดปกติต่างๆ ในขณะทีเ่ ครือ่ งท�างาน เพือ่ ป้องกันเครือ่ งเสียกลางคันและการช�ารุดบกพร่องในอนาคต การทีจ่ ะทราบว่าเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ทใี่ ช้งานอยูน่ นั้ ท�างานอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพหรือไม่นั้น วิศวกร หัวหน้างาน และพนักงาน จะต้องทราบถึง วิธีการตรวจวิเคราะห์สมรรถนะของเครื่องจักรอุปกรณ์นั้นๆ ทั้งด้วยตาเปล่า และ ด้วยการเปรียบเทียบผลจากการตรวจวิเคราะห์กับค่ามาตรฐานของเครื่องจักร แต่ละชนิด รวมถึงความสามารถในการน�าเทคนิค “การบ�ารุงรักษาแบบทวีผล” หรือ “การบ�ารุงรักษาแบบป้องกัน” มาช่วย เพือ่ ประกอบการตัดสินใจซ่อมบ�ารุงในเวลา ที่เหมาะสม เพื่อให้อายุการใช้งานเครื่องจักรอุปกรณ์มีประสิทธิภาพยาวนาน การน�าเทคโนโลยีทที่ นั สมัยมาใช้ (เช่น เทคโนโลยีสารสนเทศ) จะช่วยส่งเสริม ให้ผปู้ ระกอบการตัดสินใจได้งา่ ยขึน้ ทัง้ ในการปรับเปลีย่ น ทดแทน และการปรับปรุง แก้ไขจุดต่างๆ รวมทั้งการปรับปรุงวิธีการบริหารจัดการด้วย
21
GREEN
Industry ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี
หลังจากปรับปรุงแก้ไขแล้ว ปัญหาส�าคัญจะอยูท่ คี่ วามสามารถในการรักษา สภาพการท�างาน เพื่อให้ประสิทธิภาพของเครื่องจักรอุปกรณ์ยังคงอยู่ในสภาพ ที่ดีเสมอ นอกจากนี้ การฝึกอบรมเพื่อปรับเปลี่ยนวิธีคิดและการปรับปรุงทางด้าน พฤติกรรมของพนักงานก็มคี วามส�าคัญมาก เพือ่ ไม่ให้พนักงานกลับไปใช้พฤติกรรม เดิมๆ ที่ใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลืองต่อไปอีก ด้วยเหตุที่เราทุกคนคือ “ผู้ใช้พลังงาน” ดังนั้น การประหยัดพลังงานไม่ใช่ กิจกรรมที่สามารถท�าได้โดยใครคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งในองค์กร แต่ ต้องได้รบั ความร่วมมือจากพนักงานและผูบ้ ริหารทุกระดับจึงจะประสบความส�าเร็จ แต่ทเี่ ป็นหลักประกันความส�าเร็จก็คอื การด�าเนินการอย่างต่อเนือ่ ง โดยไม่ใช่ ท�าๆ หยุดๆ ครับผม!
GreenNetwork4.0 March-April 2020
GREEN
People กองบรรณาธิการ
ธุรกิจย่อย
เทรนด์พลังงานแห่งอนาคต ของ “บ้านปู เน็กซ์”
ในช่วงทีผ่ า่ นมา กลุม่ เทคโนโลยีพลังงานของ บริษทั บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) ได้เข้าลงทุนในบริษทั ชั้นน�ามากมาย ได้แก่ บริษทั ซันซีป กรุป๊ (Sunseap Group Pte Ltd.) ธุรกิจการให้บริการพลังงาน แสงอาทิตย์รายใหญ่ของสิงคโปร์ บริษัท ดูราเพาเวอร์ โฮลดิ้งส์ จ�ากัด (Durapower Holdings Pte Ltd.) ธุรกิจจัดเก็บพลังงานของสิงคโปร์ และบริษัท ฟอมม์ คอร์ปอเรชัน่ (FOMM Corporation) บริษทั ออกแบบ และผลิตรถยนต์ไฟฟ้า ขนาดเล็ก (Compact EV) จากประเทศญีป่ นุ่ และบริษทั เออร์เบิน โมบิลติ ี้ เทค จ�ากัด (Urban Mobility Tech Co., Ltd.) บริษทั ด้านเทคโนโลยีระบบขนส่งและผูใ้ ห้บริการ รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า 100% ในประเทศไทย ล่าสุดได้กอ่ ตัง้ บริษทั บ้านปู เน็กซ์ จ�ากัด (BANPU NEXT) โดยเกิดขึน้ จากการ ควบรวมกิจการระหว่างบริษทั บ้านปู อินฟิเนอร์จี จ�ากัด หรือ BPIN ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย ที่บ้านปูถือหุ้นอยู่ในสัดส่วน 99.99% และบริษัท บ้านปู รีนิวเอเบิล เอนเนอร์จี จ�ากัด หรือ BRE ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมที่บ้านปูถือหุ้นอยู่ในสัดส่วน 78.57% ผ่านบริษัท บ้านปู เพาเวอร์ จ�ากัด (มหาชน) หรือ BPP ทีถ่ อื หุน้ ใน BRE ในสัดส่วน 99.99% ดังนัน้ บ้านปู เน็กซ์ จึงมีผู้ถือหุ้นเป็นบ้านปู และบ้านปู เพาเวอร์ ในสัดส่วน 50:50 บริษัท บ้านปู เน็กซ์ จ�ากัด (BANPU NEXT) ได้ตั้ง 6 กลุ่มธุรกิจเพื่อรองรับ เทรนด์พลังงานแห่งอนาคต ประกอบด้วย ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนขนาดใหญ่ (Renewable Energy Power Plant) ธุรกิจระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ส�าหรับลูกค้ารายย่อย (Renewable Energy Microgeneration Systems) ธุรกิจระบบ กักเก็บพลังงาน (Energy Storage System หรือ ESS) ธุรกิจยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle หรือ EV) ธุรกิจบริหารจัดการระบบการใช้พลังงานให้เกิดประสิทธิภาพ (Energy Efficiency หรือ EE) ธุรกิจเอนเนอร์จี เทคโนโลยี แอ็กเซสซอรี่ (Energy Technology Accessories) ชูจุดแข็งผู้ให้บริการสมาร์ทโซลูชั่นด้านพลังงานสะอาดที่มีบริการที่ หลากหลายครบวงจร ส่งมอบสินค้าพร้อมโซลูชนั่ ทีด่ ที สี่ ดุ ในราคาทีเ่ หมาะสมให้แก่ลกู ค้า ตั้งเป้าอีก 5 ปีข้างหน้าเพิ่มก�าลังผลิตโตกว่า 1,600 เมกะวัตต์ สมฤดี ชัยมงคล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บ้านปู จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า “เมื่อปลายปี 2562 บ้านปูสร้างการเปลี่ยนแปลงครั้งส�าคัญ ด้วยการจัดทัพ พอร์ตธุรกิจพลังงานสะอาด โดยควบรวม 2 บริษัทย่อย ได้แก่ บ้านปู อินฟิเนอร์จี ผูใ้ ห้บริการด้านการวางระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ และสมาร์ทซิตโี้ ซลูชนั่ แบบครบวงจร และบ้านปู รีนวิ เอเบิล เอนเนอร์จี ผูน้ า� ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน ในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ เข้าด้วยกันภายใต้กลุม่ ธุรกิจเทคโนโลยีพลังงาน พร้อมจัดตัง้ บริษทั ใหม่ บ้านปู เน็กซ์ เป็นผูด้ พู อร์ตธุรกิจดังกล่าว โดยวางจุดยืนให้เป็นผูใ้ ห้บริการ สมาร์ทโซลูชั่นด้านพลังงานสะอาดแบบครบวงจรในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก” บ้านปู เน็กซ์ ด�าเนินธุรกิจเทคโนโลยีพลังงานสะอาดแบบครบวงจร ภายใต้ กลยุทธ์ของบ้านปู Greener & Smarter และจะเป็นกุญแจส�าคัญในการท�างานร่วมกับ พาร์ทเนอร์ในธุรกิจเทคโนโลยีพลังงาน ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับพลังงานสะอาด และ ทุกภาคส่วน เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการด�าเนินธุรกิจ และสร้างระบบนิเวศธุรกิจ (Business Ecosystem) ให้เติบโตอย่างแข็งแกร่ง โดยปัจจุบนั ธุรกิจภายใต้การด�าเนินงาน 6 กลุม่ ดังนี้ 22
GreenNetwork4.0 March-April 2020
1. ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนขนาดใหญ่ (Renewable Energy Power Plant) ให้บริการวางระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และโรงไฟฟ้าพลังงานลม ปัจจุบันมี ก�าลังผลิตพลังงานรวมทั้งสิ้น 497 เมกะวัตต์ โดยมาจากการเข้าลงทุนใน โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในจีนและญีป่ นุ่ มีกา� ลังผลิตรวม 417 เมกะวัตต์ และการเข้าลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานลมในเวียดนาม ด้วยก�าลังการผลิต 80 เมกะวัตต์ 1 2. ธุรกิจระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนส�าหรับ ลูกค้ารายย่อย (Renewable Energy Microgeneration Systems) ให้บริการวางระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา หรือ โซลาร์รูฟท็อป ส�าหรับอุตสาหกรรมและธุรกิจขนาดใหญ่ โดยให้บริการ ครอบคลุมตัง้ แต่การส�ารวจพืน้ ที่ การออกแบบระบบ การเข้าติดตัง้ ระบบผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์และสมาร์ทซิตโี้ ซลูชนั่ ด้วยเทคโนโลยีพลังงาน สะอาดขัน้ สูงและทันสมัยแบบครบวงจร และทีมวิศวกรมืออาชีพ รวมถึงมีการ น�าเทคโนโลยีล�้าสมัยมาเสริมประสิทธิภาพในการให้บริการหลังการขาย ทีด่ แู ลลูกค้าตลอด 24 ชัว่ โมง ซึง่ ได้รบั ความไว้วางใจจากองค์กรชัน้ น�าในทุก กลุ่มอุตสาหกรรม โดยปัจจุบันมีก�าลังการผลิตรวม 177 เมกะวัตต์ 2 3. ธุรกิจระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System หรือ ESS) บริษทั ฯ มีความมุง่ มัน่ ต่อยอดประสบการณ์ในการด�าเนินธุรกิจ ด้านพลังงานสะอาดสูธ่ รุ กิจระบบกักเก็บพลังงาน ซึง่ ขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่าง การศึกษาและพัฒนาเพื่อให้บริการระบบจัดเก็บพลังงานเพื่อรองรับ การใช้งานทีห่ ลากหลาย เช่น การใช้งานร่วมกับระบบโซลาร์เพือ่ เป็น แหล่งส�ารองไฟฟ้า (Uninterruptible Power Supply หรือ UPS) การใช้งานส�าหรับระบบสมาร์ทกริด หรือไมโครกริด (Smart Grid, Microgrid) เพือ่ ช่วยลูกค้าลดค่าไฟฟ้าด้วยการบริหารการใช้ไฟฟ้า ในช่วงความต้องการไฟฟ้าสูง (On Peak) 4. ธุรกิจยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle หรือ EV) ให้บริการยานยนต์ไฟฟ้าและขนส่งแบบครบวงจรรายแรก ของประเทศไทย ภายใต้แนวคิด Mobility as a Service ทีม่ อบโซลูชนั่ และบริการแบบ One Stop Service ตัง้ แต่ ให้คา� ปรึกษา ศึกษารูปแบบความต้องการใช้งาน และจัดหายานยนต์ท่ีเหมาะกับการ ด� า เนิ น งานของแต่ ล ะ องค์กร ดูแลบริการ ห ลั ง ก า ร ข า ย ตลอดจนน�าเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาผสาน เข้าด้วยกัน เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการมอบบริการหลังการขาย 5. ธุรกิจบริหารจัดการระบบการใช้พลังงาน ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ (Energy Efficiency หรือ EE) ให้คา� ปรึกษาด้านการจัดการระบบการใช้พลังงานทีม่ งุ่ ส่งมอบ โซลูชั่นในการใช้พลังงานที่เหมาะกับแต่ละองค์กรอย่างมี ประสิทธิภาพ พร้อมตรวจสอบและวิเคราะห์แนวทางในการ ลดต้นทุนด้านการใช้พลังงาน เพื่อสร้างการเติบโตให้ธุรกิจ ของลูกค้าอย่างยัง่ ยืน โดยมีทมี ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านพลังงาน ด้าน เทคโนโลยี และทีมวิศวกรเป็นผู้ดูแลในทุกขั้นตอน
6. ธุรกิจเอนเนอร์จี เทคโนโลยี แอ็กเซสซอรี่ (Energy Technology Accessories) น�าเสนอโซลูชั่นด้านเทคโนโลยีพลังงานล�้าสมัย เพื่อมอบเป็นทางเลือก ในการส่งเสริมการใช้พลังงานสะอาด และสร้าง Ecosystem ด้านการใช้พลังงานสะอาด ทีค่ รบวงจร และมีประสิทธิภาพสูงสุดให้แก่ลกู ค้า อาทิ สมาร์ทโพล (Smart Pole) โซลาร์ คีออส (Solar Kiosk) และสถานีชาร์จยานยนต์ไฟฟ้า (EV Charging Stations) “การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ เป็นหนึ่งในกลยุทธ์สร้างความแข็งแกร่งและตอกย�้า บ้านปู ในฐานะทีเ่ ป็นผูน้ า� ธุรกิจพลังงานแบบครบวงจร ทัง้ ยังเพิม่ โอกาสในการขยายพอร์ต พลังงานสะอาดและเทคโนโลยีพลังงานทีต่ อบเทรนด์พลังงานของโลก ส�าหรับแผนการด�าเนิน ธุรกิจของบ้านปู เน็กซ์ เราจะเดินหน้าสร้างการรับรูถ้ งึ จุดแข็งของบริษทั ฯ ทัง้ ด้านบริการ แบบครบวงจร โซลูชนั่ ทีห่ ลากหลายในราคาทีเ่ หมาะสมและมีเทคโนโลยีทลี่ า�้ สมัย รวมถึง ความเชี่ยวชาญและคุณภาพของทีมงาน เพื่อมอบบริการที่ดีที่สุดส�าหรับลูกค้า ทั้งยังมุ่ง ขยายฐานลูกค้าให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยตั้งเป้าเพิ่มก�าลังผลิตเป็น 1,600 เมกะวัตต์ ภายในปี 2568 ในฐานะผู้ให้บริการสมาร์ทโซลูชั่นด้านพลังงานสะอาดแบบครบวงจรใน ภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ทีม่ เี ทคโนโลยีพลังงานและสมาร์ทโซลูชนั่ ทีห่ ลากหลายและครบวงจร ตลอดจนจะเดินหน้าผนึกความร่วมมือกับทุกภาคส่วน เพือ่ ผลักดันการใช้พลังงานสะอาด เพื่อร่วมขับเคลื่อนประเทศไทยให้ก้าวสู่การเป็นสมาร์ทซิตี้อย่างสมบูรณ์” สมฤดี กล่าว บ้านปู เน็กซ์ พร้อมก้าวสูก่ ารเป็นผูใ้ ห้บริการสมาร์ทโซลูชนั่ ด้านพลังงานสะอาดแบบ ครบวงจรในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ พร้อมน�าความรูค้ วามเชีย่ วชาญด้านเทคโนโลยีพลังงาน ระดับมาตรฐานสากลจากระบบนิเวศทางธุรกิจ (Business Ecosystem) ของบริษทั ฯ เพือ่ ส่งมอบโซลูชั่นที่หลากหลายและตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่ม หมายเหตุ :
1 2
ข้อมูล ณ ผลประกอบการไตรมาสที่ 4/2562 ข้อมูล ณ ผลประกอบการไตรมาสที่ 4/2562
https://pixabay.com/photos/solar-energy-solar-system-2157212/ 23
GreenNetwork4.0 March-April 2020
GREEN
Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข
ไม่ว่าท่านจะคิดอย่างไรกับรัฐบาลปัจจุบันนี้ แต่ท่านคงต้องยอมรับ แนวคิดเชิงอัจฉริยะในเรือ่ งของโรงไฟฟ้าชุมชน ทีม่ มี านานแต่ขาดผูม้ อี า� นาจ ตัดสินใจ ก่อนหน้านีจ้ ะมีใครคิดไหมว่า “โรงไฟฟ้าชุมชน” จะกลายเป็นหวย ทีถ่ กู แจ็คพอต เมือ่ โรคระบาดอุบตั ใิ หม่อย่างไวรัส COVID-19 บานปลายจาก จีนขยายตัวไปทัว่ โลก รวมทัง้ ประเทศไทย ท�าลายเศรษฐกิจทัง้ ระบบของโลก “ประเทศไทย” โชคยังดีทเี่ ป็นครัวของโลก และมีระบบสาธารณสุขทีค่ อ่ นข้าง เข้มแข็ง ถึงแม้ประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ๆ จะปิดประเทศกันอย่างไร คนไทย ก็ยังจะมีข้าวมีน�้าพริกปลาทูกินอย่างสบายๆ
ส�ำหรับผูบ้ ริหำรประเทศแล้ว คงต้องมองข้ำมไปถึงว่ำ จะฟืน้ ฟูซำกปรักหักพัง ทำงเศรษฐกิจอย่ำงไรหลังพ้นภัยไวรัส COVID-19 ดังนัน้ โรงไฟฟ้ำชุมชน 700 MW โดยกระทรวงพลังงำนเป็นเจ้ำของแนวคิด มูลค่ำกำรลงทุนเกือบ 1 แสนล้ำนบำท ซึ่งอำจมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจกว่ำ 5 แสนล้ำนบำท และที่ส�ำคัญใช้เครื่องจักร อุปกรณ์และแรงงำนในประเทศกว่ำร้อยละ 60 (60% Local Content) นอกจำกนี้ ชุมชนทัว่ ประเทศกว่ำ 50,000 ครัวเรือน จะมีสว่ นได้รบั ประโยชน์ โดยตรงจำกกำรเข้ำไปถือหุ้นบุริมสิทธิในโรงไฟฟ้ำไม่น้อยกว่ำร้อยละ 10 พร้อม สัญญำ Contact Farming ประกันรำคำขำยเชื้อเพลิงเป็นเวลำไม่น้อยกว่ำ 20 ปี และยังสำมำรถร่วมบริหำรกองทุนหมูบ่ ำ้ นก้อนโตทีภ่ ำครัฐหักจำกค่ำไฟฟ้ำทีจ่ ำ� หน่ำย ถึงหน่วยละ 25-50 สตำงค์ ตลอดอำยุโครงกำร 20 ปี และผลประโยชน์ทำงอ้อม อื่นๆ อีกมำกมำย จึงขอฟันธงว่า โรงไฟฟ้าชุมชน 700 MW คือเฟืองตัวเล็กๆ อีกตัวที่จะช่วย ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจจากฐานรากหลังสงครามไวรัส COVID-19 โดยคนไทย เพือ่ คนไทย และของคนไทยอย่างแท้จริง ... ส�ำหรับท่ำนทีไ่ ม่สนั ทัดกรณีโรงไฟฟ้ำชุมชน ขออธิบำยเพิม่ เติมว่ำ โรงไฟฟ้ำ ชุมชนทั้งหมด 700 MW ที่ชุมชนมีส่วนได้ ไม่ใช่แค่ส่วนร่วมเหมือนโครงกำรอื่นๆ แบ่ง 100 MW ให้กลุ่มที่สร้ำงเสร็จหรือเกือบเสร็จ คือกว่ำ 80% แล้ว แต่ยังไม่มี สำยส่งให้ขำยไฟได้ ส่วนอีก 600 MW เป็นโรงไฟฟ้ำทีพ่ ฒ ั นำใหม่อำจแยกตำมทีม่ ำ ของเชื้อเพลิงคือ 1. โรงไฟฟ้ำก๊ำชชีวภำพจำกพืชพลังงำน 2. โรงไฟฟ้ำชีวมวลจำก
24
โรงไฟฟ้า ชุมชนชีวมวล
ขึ้นต้นเป็นมะลิซ้อน พอแตกใบอ่อนเป็นมะลิลา?
วัสดุเหลือใช้ภำคเกษตรและกำรปลูกไม้โตเร็ว 3. กำรผลิตไฟฟ้ำจำกเศษ เหลือทิง้ ในโรงงำนอุตสำหกรรมน�ำ้ มันปำล์ม โรงงำนแป้งมัน เป็นต้น แต่ทจี่ ะ ข้อเจำะลึกในฉบับนี้ก็คือ “โรงไฟฟ้าชีวมวล (Biomass)” ท�ำไมจึงมีผู้สนใจและวิพำกษ์วิจำรณ์โรงไฟฟ้ำชีวมวลกันค่อนข้ำง มำก คงเข้ำใจได้ไม่ยำก เนือ่ งจำกจุดเริม่ ต้นของโรงไฟฟ้ำชุมชนได้มกี ำรขำย แนวคิดในกำรใช้เศษเหลือทิ้งจำกกำรเก็บเกี่ยวพืชไร่ เช่น ข้ำว อ้อย ไม้ไผ่ ข้ำวโพด รวมทัง้ เศษจำกโรงงำนเฟอร์นเิ จอร์ โรงงำนท�ำตะเกียบ ซึง่ ปัจจุบนั ชีวมวลเหล่ำนีม้ ที งั้ ทีข่ ำยและเผำทิง้ เนือ่ งจำกเก็บรวบรวมได้ยำก ค่ำขนส่งแพง ถูกโรงงำนรับซือ้ กดรำคำ โดยครัง้ แรกจะส่งเสริมให้เกิดโรงไฟฟ้ำขนำดเล็กๆ 1.5 เมกะวัตต์ โดยใช้เชือ้ เพลิงรอบๆ โรงไฟฟ้ำตำมข่ำวทีฮ่ อื ฮำมำเกือบปีแล้ว ต่อมำกระทรวงพลังงำนอำจต้ำนทำนกระแสกำรเมืองและนักลงทุนไม่ได้ จึงขยำยจำก 1.5 เมกะวัตต์ เป็น 3 เมกะวัตต์ และวันนีก้ ลำยเป็น 9.9 เมกะวัตต์ (VSPP) ทัง้ Biomass และ Biogas ส�ำหรับชีวมวล ไม่ได้มกี ำรส่งเสริมให้ปลูก ไม้โตเร็วเป็นพิเศษแต่อย่ำงใด เชื้อเพลิงจะมำจำกแหล่งใดก็ได้ อีกทั้งเพิ่ม ระยะทำงกำรจัดหำชีวมวลได้ไกลถึง 100 กิโลเมตร และก็ยงั ไม่มมี ำตรกำร แก้ปัญหำเชื้อเพลิงที่ทับซ้อนกันในแต่ละพื้นที่ จึงมีผู้ยกค�ำเปรียบเปรยว่ำ โรงไฟฟ้าชีวมวลขึ้นต้นเป็นมะลิซ้อน พอแตกใบอ่อนเป็นมะลิลา เหมือน บทเพลงร�ำวงที่ฮิตในสมัยหนึ่งนำนมำแล้ว
GreenNetwork4.0 March-April 2020
ชนิด
ผลผลิต (ตัน)
อ้อย
66,816,446
ข้าว
31,508,364
ถั่วเหลือง
190,480
ข้าวโพด
4,616,119
ปาล์มน�้ามัน
8,162,379
มันส�าปะหลัง
30,088,025
มะพร้าว
1,380,980
ไม้ยางพารา รวม
3,090,280 145,853,073
ชีวมวล
ปริมาณชีวมวล เหลือใช้ (ตัน)
ชำนอ้อย ยอดและใบ แกลบ ฟำงข้ำว ต้น/เปลือก/ใบ ซัง ล�ำต้น ทะลำยเปล่ำ ใย กะลำ ก้ำน ล�ำต้น เหง้ำ ก้ำน กำบ กะลำ กิ่ง/ก้ำน
4,190,794.31 13,439,727.21 3,510,598.90 25,646,547.96 170,383.17 584,539.15 2,758,777.36 1,024,868.34 162,970.06 38,959.04 2,203,740 2,439,236.19 1,834,466.88 628,990.82 464,250.95 128,936.58 312,118.28 59,539,905.20
ชีวมวล (Biomass) ในประเทศไทย ที่สำมำรถ น�ำมำใช้ประโยชน์ด้ำนพลังงำนได้ดี ส่วนใหญ่มำจำกเศษ วัตถุดิบเหลือใช้ทำงกำรเกษตร มีจ�ำนวนค่อนข้ำงมำก อำทิ เศษไม้ยำงพำรำ ทะลำยกะลำ/ปำล์มน�ำ้ มัน ฟำงข้ำว กำกอ้อย ใบอ้อย ซังและต้นข้ำวโพด เหง้ำมันส�ำปะหลัง เศษเหลือใช้จำกต้นไผ่ ซึง่ ข้อมูลด้ำนปริมำณโดยรวมของ ชีวมวลต่อปีหำข้อมูลปัจจุบนั ได้ยำก จึงได้แต่ประมำณกำร ขอน�ำตำรำงปริมำณและค่ำควำมร้อน มำเป็นแนวทำงใน กำรประเมินศักยภำพ ซึง่ ในกำรปฏิบตั แิ ล้วเศษวัสดุเหล่ำนี้ ค่อนข้ำงมีตน้ ทุนในกำรจัดเก็บ และรวบรวมขนส่งค่อนข้ำง สูงเมื่อเทียบกับรำคำที่จะขำยได้ ส�ำหรับอ้อย มีกำรปลูกเกือบ 10 ล้ำนไร่ทวั่ ประเทศ กว่ำ 50% เป็นกำรเผำใบทิ้งก่อนกำรตัดส่งโรงงำน ซึ่งมี ผลเสียด้ำนฝุ่นละออง PM 2.5 ดังนั้นในอนำคตเมื่อไม่ สำมำรถเผำได้ คำดว่ำจะมีใบอ้อยเป็นเชื้อเพลิงชีวมวล เพิ่มขึ้นอีกในปริมำณมำก ไม่วำ่ โรงไฟฟ้ำชุมชนในกลุม่ ของชีวมวลจะออกมำ เป็นแบบใด แต่ชุมชนก็ยังคงได้รับประโยชน์อย่ำงน้อย 200 ครัวเรือนต่อ 1 โรงไฟฟ้ำ แต่สิ่งที่กระทรวงพลังงำน ควรค�ำนึงก็คือ โครงกำรที่ใช้เชื้อเพลิงประเภทใบอ้อย ฟำงข้ำว ซังและต้นข้ำวโพด ซึ่งกระจำยอยู่ทั่วภำคเหนือ และภำคอีสำน ต้นทุนกำรรวบรวมและขนส่งค่อนข้ำงสูง น่ำจะมีแต้มต่อเชือ้ เพลิงประเภทไม้สบั จำกไม้ยนื ต้น ดังนัน้ ภำครัฐเองน่ำจะใช้โอกำสนีส้ ง่ เสริมกำรปลูกไม้ยนื ต้นโตเร็ว เพื่อใช้เป็นชีวมวลในระยะยำว
25
ค่า ความร้อน (MJ/kg) 14.40 17.39 14.27 10.24 19.44 18.04 18.04 17.86 17.62 18.46 9.83 18.42 18.42 15.40 16.23 17.93 14.98
ศักยภาพพลังงาน (TJ) (ktoe) 60,347.44 233,716.86 50,096.25 262,620.65 3,312.35 10,545.09 49,768.34 18,304.15 2,871.53 719.18 21,824.24 44,930.73 33,790.88 9,686.46 7,534.79 2,311.83 4,675.53 504,339.40
1,42851 5,532.52 1,185.87 6,216.73 78.41 249.62 1,178.11 433.29 67.97 17.02 516.62 1,063.60 799.89 229.30 178.36 54.73 110.68 11,938.67
ประการส�าคัญที่สุด ต้องค�านึงถึงว่านี่คือโรงไฟฟ้าของ ชุมชน การคัดเลือกโครงการต้องค�านึงถึงเชื้อเพลิงจากท้องถิ่น เป็นส�าคัญ โดยไม่ใช้วิธีคัดเลือกโครงการจากความพร้อมและ ครบถ้วนของเอกสารเป็นส�าคัญเหมือนโครงการที่ผ่านๆ มา มิเช่นนั้นแล้ว ใบอ้อย ฟางข้าว ซังข้าวโพด ฯลฯ ก็คงจะเน่า คาพื้นดิน และต้องเผาทิ้งสร้าง PM 2.5 กันเหมือนเดิม
GreenNetwork4.0 March-April 2020
GREEN
พัฒนาการด้านมาตรฐาน
Article
ระบบเซลล์แสงอาทิตย์
เยาวณี แสงพงศานนท์, ดร.ธีรยุทธ์ เจนวิทยา ศูนย์พัฒนามาตรฐาน และทดสอบระบบเซลล์ แสงอาทิตย์ (CSSC) มจธ.
ในประเทศไทย
ประเทศไทยมี ก ารใช้ ง านระบบ เซลล์แสงอาทิตย์มาแล้วไม่น้อยกว่า 40 ปี ก่อนปี 2548 ปริมาณติดตัง้ ใช้งานสะสมราว 6 เมกะวัตต์ แต่ปัจจุบันตามแผนพัฒนา ก�าลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP 2018) และ แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP) (อ้างอิงข้อมูล สนพ.) ก�าหนดเป้าหมายปริมาณก�าลังผลิตตาม สัญญาสะสม 10 กิกะวัตต์ ในปี พ.ศ. 2580 ทั้งนี้ก�าลังผลิตติดตั้ง สะสมราว 3 กิกะวัตต์ (ข้อมูล พพ. จนถึง พ.ศ. 2561) ทิศทางเดียวกับ ทัว่ โลกตามรายงานของ International Energy Agency (IEA-PVPS) ปริมาณการติดตั้งสะสมทั่วโลก 512.3 กิกะวัตต์ (ค.ศ. 2018) เป็น สิ่งบ่งบอกถึงการเติบโตอย่างก้าวกระโดดของอุตสาหกรรมระบบ เซลล์แสงอาทิตย์ในประเทศไทย โดยรวมในช่วง 30 ปี มีการใช้งาน เพิม่ ขึน้ กว่า 1.6 พันเท่า ทัง้ นีห้ ว่ งโซ่อตุ สาหกรรมระบบเซลล์แสงอาทิตย์ 26
ในประเทศไทยก็มพี ฒ ั นาการไปตามการเติบโตของตลาด ไม่วา่ จะเป็นการผลิตเซลล์หรือแผงเซลล์แสงอาทิตย์ งานวิศวกรรม การออกแบบติดตัง้ และการบ�ารุงรักษา การตลาดและด้านการ เงินการลงทุน ต้องมีการปรับตัวทั้งด้านนวัตกรรม เทคโนโลยี และรูปแบบธุรกิจ เพือ่ ให้ทนั และรองรับต่อการเปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็ว ทางด้านมาตรฐานระบบเซลล์แสงอาทิตย์กเ็ ช่นเดียวกัน กระแสการเปลี่ยนแปลงของข้อก�าหนดมาตรฐานระดับสากล ในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา มีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วเนือ่ งจาก เทคโนโลยี การขยายตัวมากและการแข่งขันของอุตสาหกรรม การผลิตและการใช้งาน รวมถึงประสบการณ์การใช้ยาวนานขึน้ ในอดีตระบบเซลล์แสงอาทิตย์มีการก�าหนดมาตรฐานที่ได้รับ การยอมรับระดับนานาชาติโดยหลากหลายหน่วยงานหลาย ประเทศ เช่น CENELEC (กลุม่ ประเทศยุโรป) ANSI หรือ IEEE หรือ ASTM หรือ UL (สหรัฐอเมริกา) หรือ AS (ออสเตรเลีย) จนต่อมามีความพยายามร่วมกันให้มีการใช้มาตรฐานร่วมกัน หรือเรียกว่า Standard Harmonization เป็นมาตรฐาน IEC (International Electrotechnical Commission) ที่มีสมาชิก เป็นผู้แทนประเทศ ซึ่งประเทศไทยมีส�านักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) เป็นสมาชิก จนปัจจุบนั มาตรฐาน ทีเ่ กีย่ วข้องกับแผงเซลล์แสงอาทิตย์อนื่ ก็ยกเลิกและประกาศ เป็นมาตรฐานร่วม เช่น ยกเลิก UL1703 ใช้ UL/ IEC61730 แทน ทั้งนี้ประเทศสมาชิกต่างน�าไป ประกาศใช้เป็นมาตรฐานระดับชาติในระดับ เหมือนกันทุกประการ (Identical) เช่น JIS (ญีป่ นุ่ ) รวมถึง มอก.ของไทยด้วย ส�าหรับพัฒนาการด้านมาตรฐานระบบ เซลล์แสงอาทิตย์ในประเทศไทย เริม่ มีการศึกษา วิจัยเกี่ยวกับการทดสอบในมหาวิทยาลัยตั้งแต่ ก่อนปี 2530 และต่อมากองทุนเพือ่ ส่งเสริมการ อนุรกั ษ์พลังงาน ส�านักงานคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแห่งชาติ (สพช. หรือ สนพ. ในปัจจุบัน) ให้การสนับสนุน ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ด�าเนินโครงการศึกษาการจัดท�าร่าง มาตรฐานระบบเซลล์แสงอาทิตย์ของประเทศไทย แล้วเสร็จเมื่อปี 2543 นอกจากนี้ ทางส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ประกาศใช้ มอก.1843-2542 และหลังจาก สมอ.แต่งตัง้ คณะกรรมการวิชาการ คณะที่ 1016 เมือ่ ปี 2549 ก็มกี ารทบทวนและประกาศใช้มาตรฐาน มอก.อีกหลายฉบับ รวมถึง การมีสว่ นร่วมให้ความเห็นในการก�าหนดมาตรฐาน IEC ในคณะกรรมการวิชาการ (IEC/TC82) ด้วย
GreenNetwork4.0 March-April 2020
ก�ำลังกำรผลิตระบบผลิตไฟฟ้ำ ด้วยเซลล์แสงอำทิตย์ในประเทศไทย พ.ศ. 2551-2561 ทีม่ า : รายงานสถานภาพการผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ของประเทศไทย ปี 2561 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
ห้องปฏิบัติกำรมำตรฐำนอุปกรณ์ระบบเซลล์แสงอำทิตย์ของประเทศไทย
ด้วยการสนับสนุนของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน และกองทุนเพือ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน ส�าหรับการ ลงทุนในการจัดตัง้ ศูนย์พฒ ั นามาตรฐานและทดสอบระบบเซลล์แสงอาทิตย์ (CSSC) ภายใต้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) มจธ.ให้การสนับสนุน บุคลากรและลงทุนอาคาร ตัง้ แต่ปี 2548 จึงท�าให้ประเทศไทยเป็นประเทศแรกใน ภูมภิ าคอาเซียนทีส่ ามารถทดสอบรับรองแบบ (Type Approve Test) ครบทุกหัวข้อ ตาม IEC61215 และ IEC61646 มาตรฐานแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ตามการรับรอง มาตรฐานห้องปฏิบัติการทดสอบ ISO/IEC17025:2005 เมื่อปี 2555 และยังได้ รับการรับรองมาตรฐาน ISO9001:2008 และ ISO9001:2015 จนถึงปัจจุบัน นอกจากนัน้ ทาง พพ.และกองทุนเพือ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน ยังให้ความส�าคัญ ต่อการลงทุนในระยะต่อมา เพือ่ ให้ประเทศไทยคงความเป็นมาตรฐานและก้าวทัน ที่ต่อพัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานที่รวดเร็วในปัจจุบัน รวมถึง มาตรฐานอินเวอร์เตอร์ แบตเตอรี่ และมาตรฐานด้านความปลอดภัยต่อการใช้งาน แผงเซลล์แสงอาทิตย์อีกด้วย 27
https://pixabay.com/photos/architecture-solar-solar-panels -3379146/ https://pixabay.com/photos/alternative-cell-clean-ecological -21761/ https://pixabay.com/photos/photovoltaic-solar-system-energy -2814504/
GreenNetwork4.0 March-April 2020
GREEN
Article ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯ จุฬาฯ ไชยรพี เลี้ยงบุญเลิศไชย หัวหน้าแผนกธุรกิจ พลังงานหมุนเวียน
การบริหารจัดการ
ซากแผงเซลล์ แสงอาทิตย์ อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยกระบวนการ
LCA
ความต้องการพลังงานสะอาดและการเปลี่ยนจากพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลเป็น แหล่งพลังงานทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เป็นสิง่ จ�าเป็นส�าหรับการเปลีย่ นผ่านด้านพลังงาน ยุคใหม่ทจี่ า� กัดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Green House Gas : GHG) การผลิตไฟฟ้า โดยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์เป็นหนึ่งในเทคโนโลยีท่ีมีอัตราการเจริญเติบโต มากทีส่ ดุ เนือ่ งจากต้นทุนการผลิตไฟฟ้าทีล่ ดต�า่ ลงถึงจุดคุม้ ค่าต่อการลงทุน อีกทัง้ ไม่มี การปล่อยก๊าซเรือนกระจกในกระบวนการผลิตไฟฟ้าเลย ส�ำหรับประเทศไทยเป็นทีท่ รำบกันดีวำ่ รัฐบำลได้มแี ผนกำรส่งเสริมกำรผลิตไฟฟ้ำ จำกเซลล์แสงอำทิตย์ให้ได้ 15,574 MW ภำยในปี พ.ศ. 2580 ตำมร่ำงแผน Alternative Energy Development Plan (AEDP) ปี 2018 ซึง่ จะท�ำให้เกิดซำกเซลล์แสงอำทิตย์และ อุปกรณ์ประกอบจ�ำนวนมำกในอนำคต ทัง้ นีป้ จั จุบนั ประเทศไทยยังไม่มรี ะบบกำรบริหำร จัดกำรและเทคโนโลยีกำรจัดกำรซำกฯ อย่ำงเป็นระบบและครบวงจรในประเทศ ซึ่ง อำยุกำรใช้งำนของแผงเซลล์แสงอำทิตย์เฉลี่ย 20 ปี คำดว่ำปี พ.ศ. 2565 จะมีซำกจำก แผงเซลล์แสงอำทิตย์เกิดขึน้ 112 ตัน และเพิม่ เป็น 1.55 ล้ำนตัน ในปี พ.ศ. 2600 ซึง่ หำก ไม่วำงแผนจะกระทบสิง่ แวดล้อม สุขภำพและเศรษฐกิจ และเป็นอุปสรรคต่อแผนส่งเสริม กำรผลิตไฟฟ้ำจำกเซลล์แสงอำทิตย์ได้ จำกรำยงำนผลกำรศึกษำโครงกำรศึกษำศักยภำพเชิงพื้นที่ในกำรบริหำรจัดกำร ขยะแผงเซลล์แสงอำทิตย์ของประเทศไทย ของกรมพัฒนำพลังงำนทดแทนและอนุรักษ์ พลังงำนพบว่ำ เทคโนโลยีกำรรีไซเคิลแผงเซลล์แสงอำทิตย์เชิงพำณิชย์มีแล้วในตลำด ต่ำงประเทศ ซึง่ ประกอบไปด้วย กระบวนกำรทำงกำยภำพ กระบวนกำรทำงกล กระบวนกำร 28
GreenNetwork4.0 March-April 2020
ทำงควำมร้อน กระบวนกำรทำงเคมี และกระบวนกำรก�ำจัดทิ้ง โดยค่ำใช้จ่ำยใน กำรจัดกำรขยะแผงเซลล์แสงอำทิตย์แบบรีไซเคิลในประเทศถูกกว่ำกำรส่งออก ไปจัดกำรแบบรีไซเคิลในต่ำงประเทศ เนือ่ งจำกกำรส่งออกต้องมีคำ่ ขนส่งทำงเรือ ค่ำภำษีศุลกำกรน�ำเข้ำขยะ และค่ำจัดรีไซเคิลขยะแผงเซลล์แสงอำทิตย์ แต่ที่ ประเทศไทยยังไม่มีกำรจัดตั้งศูนย์รีไซเคิลขยะแผงเซลล์แสงอำทิตย์ เนื่องจำก ควำมไม่คมุ้ ค่ำต่อกำรลงทุนทีเ่ กิดจำกควำมท้ำทำยเรือ่ งปริมำณกำกขยะแผงเซลล์ แสงอำทิตย์ที่ไม่เพียงพอต่อควำมต้องกำรของศูนย์รีไซเคิลแผงเซลล์แสงอำทิตย์ ทั้งในเชิงปริมำณ (ควำมสม�่ำเสมอต่อเนื่อง) และเชิงคุณภำพ (ควำมสมบูรณ์ของ ขยะแผงเซลล์แสงอำทิตย์) กระบวนกำรคิดวิเครำะห์และออกแบบระบบกำรบริหำรจัดกำรซำกแผงเซลล์ แสงอำทิตย์ของต่ำงประเทศนัน้ จะเริม่ ต้นจำกกำรประเมินวัฏจักรชีวติ (Life Cycle Assessment : LCA) กำรผลิตไฟฟ้ำจำกพลังงำนแสงอำทิตย์ในภำพรวม ซึง่ มีหลักกำร ประเมินวัฏจักรชีวิตของกำรผลิตไฟฟ้ำพลังงำนแสงอำทิตย์เบื้องต้น ดังนี้ รูปที่ 2 : ขอบเขตการประเมินวัฏจักรชีวิต (System Boundary of the Life Cycle Assessment)
ก�าหนดวงจรชีวิตของสินค้าคงคลัง (Life Cycle Inventory : LCI)
กำรผลิตไฟฟ้ำจำกพลังงำนแสงอำทิตย์ในแต่ละห่วงโซ่คุณค่ำ (Value Chain) โดยกำรสรุปอุปกรณ์ทเี่ กีย่ วข้อง พร้อมทัง้ ระบุกำรไหลเวียนของวัตถุดบิ และ พลังงำนทีใ่ ช้ในแต่ละขัน้ ตอนในลักษณะแยกรำยอุปกรณ์ ตัง้ แต่กำรสกัดต้นวัตถุดบิ (Raw Materials Extraction) จนถึงกำรบริหำรจัดกำรของเสียหลังสิน้ สุดอำยุใช้งำน (Waste Management) ดังรูปที่ 1
ประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment)
ด้วยกระบวนกำรดังที่สรุปข้ำงต้น LCA จึงเป็นเครื่องมือส�ำคัญที่จะช่วยให้ เรำสำมำรถประเมินประสิทธิภำพควำมยั่งยืนด้ำนสิ่งแวดล้อมของโมเดลธุรกิจ หมุนเวียนที่ก�ำลังจะพัฒนำขึ้นใหม่ว่ำมีประสิทธิภำพมำกน้อยเพียงใด ช่วยให้ อุตสำหกรรมสำมำรถเลือกใช้กลยุทธ์ได้อย่ำงเหมำะสม เช่น กำรรีไซเคิล กำรใช้ซำ�้ หรือแม้แต่แนวทำงกำรก�ำจัดซำก และด้วยจุดแข็งของ LCA ที่เห็นผลกระทบ สิ่งแวดล้อมทั้งหมดที่เกิดขึ้นทุกช่วงของวัฏจักรชีวิตท�ำให้สำมำรถวิเครำะห์เชิงลึก ได้ถึงสำเหตุของปัญหำเพื่อก�ำหนดแนวทำงแก้ไขหรือป้องกันได้อย่ำงเหมำะสม รวมถึงยังสำมำรถน�ำผลประเมินไปใช้ในกำรตั้งเป้ำหมำยและติดตำมผลกำร ปรับปรุงได้อย่ำงเป็นระบบ สุดท้ำยนี้ ผูเ้ ขียนขอสรุปสัน้ ๆ ว่ำกำรบริหำรจัดกำรซำกแผงเซลล์แสงอำทิตย์ อย่ำงมีประสิทธิภำพด้วยกระบวนกำร LCA นอกจำกจะป้องกันไม่ให้เกิดปัญหำ ต่อสิง่ แวดล้อม ยังเป็นประโยชน์สงู สุดต่อกำรบริหำรทรัพยำกรภำยในประเทศตำม แนวทำงเศรษฐกิจหมุนเวียน หรือ Circular Economy อันมีสว่ นเสริมสร้ำงศักยภำพ กำรแข่งขันด้ำนเศรษฐกิจของประเทศ และส่งเสริมกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อ กำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน
รำยงำนผลกำรศึกษำโครงกำรศึกษำศักยภำพเชิงพื้นที่ในกำรบริหำรจัดกำร กำกขยะแผงเซลล์แสงอำทิตย์ของประเทศไทย; กองพัฒนำพลังงำนแสงอำทิตย์ กรมพัฒนำพลังงำนทดแทนและอนุรักษ์พลังงำน; ปี 2561 • Environmental Impacts of Solar-Photovoltaic and Solar-Thermal Systems with Life-Cycle Assessment, M. A. Parvez Mahmud, Nazmul Huda, Shahjadi Hisan Farjana and Candace Lang, School of Engineering, Macquarie University, Sydney, NSW-2109, Australia; Published: 5 September 2018 •
รูปที่ 1 : ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ในการก�าหนดวงจรชีวิตของสินค้าคงคลัง (Life Cycle Inventory : LCI)
ก�าหนดขอบเขตการประเมินวัฏจักรชีวิต (System Boundary of the Life Cycle Assessment)
น�ำข้อมูลกำรไหลเวียนของพลังงำนและวัตถุดิบในขั้นตอนแรกมำแยก เป็ น ส่ ว นของอุ ป กรณ์ (Total Inputs) และส่วนของขั้นตอนกำรติดตั้ง (Setup Steps) เพือ่ รวบรวมภำพกำรใช้พลังงำน และวัตถุดบิ รวมทัง้ เพือ่ ประเมินพลังงำน ไฟฟ้ำ ของเสีย และมลภำวะทีเ่ กิดขึน้ ตำม ข้อมูลสถิติของอุตสำหกรรม ส�ำหรับกำร วิเครำะห์ผลกระทบด้ำนสิ่งแวดล้อมตำมหัวข้อ ผลกระทบ (Impact Categories) ด้ำนต่ำงๆ ทีส่ นใจ ศึกษำ ได้แก่ Resources, Climate Change, Human Health, Eco-System 29
เอกสารอ้างอิง
GreenNetwork4.0 March-April 2020
GREEN
Scoop
นวัตกรรมยางมะตอย
Shell Bitumen FreshAir
ลดผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ ลดฝุ่น ลดการปล่อยก๊าซ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
กองบรรณาธิการ
ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากฝุ่นละอองของการผสมยางมะตอยในขั้นตอน การผลิตและระหว่างการปูบนพืน้ ผิวถนนในการท�าทางเส้นต่างๆ หากการก่อสร้าง ถนนทีใ่ ช้ผลิตภัณฑ์ยางมะตอยทัว่ ไปอาจส่งกลิน่ การปล่อยก๊าซต่างๆ และฝุน่ ละออง ตามมา ส่งผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมและส่งผลต่อสุขภาพของผูค้ นอย่างเป็นวงกว้าง บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด พัฒนานวัตกรรมที่สามารถช่วยลด ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ลดผลกระทบของคุณภาพอากาศ โดยได้เปิดตัวผลิตภัณฑ์ Shell Bitumen FreshAir เป็นรายแรกซึง่ แก้ไขปัญหาคุณภาพอากาศเพือ่ ประโยชน์ ทั้งผู้บริโภคและสังคม สามารถลดอนุภาคฝุ่นละออง PM10 เทียบเท่ากับค่าเฉลี่ย ของการปลูกต้นไม้ 16 ต้น หรือเทียบกับการลดไนโตรเจนออกไซด์ เท่ากับการงด ใช้รถยนต์ถึง 40 คันต่อ 1 กิโลเมตรของการปูยางมะตอยในระหว่างการผลิตและ ปูผิวทาง จึงสามารถช่วยลดการปล่อยก๊าซต่างๆ และฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นจากการ ผสมยางมะตอยในขัน้ ตอนการผลิตและระหว่างการลาดยางเฉลีย่ 40% เมือ่ เทียบกับ ยางมะตอยทั่วไป ส�าหรับคุณภาพของยางมะตอย Shell Bitumen FreshAir ประกอบด้วย เทคโนโลยีนวัตกรรมสารเติมแต่งทีไ่ ด้รบั การพัฒนาจากศูนย์วจิ ยั และพัฒนาระดับโลก ของเชลล์ ที่เมืองบังกาลอร์ ประเทศอินเดีย โดยสารประกอบที่ใช้ในการยับยั้งนี้ จะท�าปฏิกิริยาโดยตรงกับสารประกอบซึ่งเป็นแหล่งที่มาของก๊าซต่างๆ ฝุ่นละออง และโมเลกุลที่ปล่อยกลิ่น โดยปฏิกิริยาทางเคมีที่เกิดขึ้น ณ แหล่งก�าเนิดในระดับ โมเลกุลจะช่วยลดก๊าซและฝุน่ ละออง หรือช่วยลดการระเหยของก๊าซและฝุน่ ละออง ดังกล่าว ซึ่งผลิตภัณฑ์ Shell Bitumen FreshAir ได้ท�าการทดสอบแล้วกับทั้ง ผูก้ อ่ สร้างถนนและผูเ้ ชีย่ วชาญด้านคุณภาพอากาศในสถานทีจ่ ริง ในแปลงทดสอบ ในประเทศฝรัง่ เศส เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ และประเทศไทย ซึง่ เทคโนโลยีนวัตกรรม สารเติมแต่งทีไ่ ด้รบั การพัฒนาจากศูนย์วจิ ยั และพัฒนาระดับโลก โดยการทดสอบ ในห้องปฏิบัติการ การศึกษาทดสอบยางมะตอยหลากหลายเกรดจากหลากหลาย ภูมภิ าคกว่า 20 ตัวอย่างภายในห้องปฏิบตั กิ ารของทีมวิจยั และพัฒนาระดับโลกของ เชลล์ เพือ่ ให้ได้มาซึง่ นวัตกรรมผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพ โดยการทดลองในห้องปฏิบตั กิ าร นั้นได้จ�าลองการประยุกต์การใช้งานยางมะตอยตั้งแต่กระบวนการการจัดเก็บ
30
ยางมะตอย การขนส่ง การผสมยางมะตอย และการบดทับ ไปจนถึงช่วงเริ่มต้น ของการใช้งานถนน เพื่อตรวจสอบผลกระทบของยางมะตอย Shell Bitumen FreshAir ต่อคุณภาพอากาศในสภาวะที่แตกต่างกัน ผลการทดสอบภาคสนาม ได้ทา� การทดสอบภาคสนามครัง้ แรกของเอเชียใน ประเทศไทย คือ บริเวณถนนเลีย่ งเมืองสระบุรฝี ง่ั ตะวันออก ต�าบลตะกุด อ�าเภอเมือง จังหวัดสระบุรี ห่างจากกรุงเทพฯ เป็นระยะทางประมาณ 120 กิโลเมตร ซึง่ การทดสอบ ดังกล่าวนี้ ปฏิบตั ติ ามแนวทางการตรวจสอบโดยส�านักงานคุม้ ครองสิง่ แวดล้อมของ สหรัฐอเมริกา (EPA) และส�านักงานสิ่งแวดล้อมของสหภาพยุโรป (EEA) ซึ่งเชลล์ ได้จดั ตัง้ ศูนย์เทคโนโลยียางมะตอยเพือ่ การวิจยั และทดสอบผลิตภัณฑ์ยางมะตอย ร่วมกับศูนย์วจิ ยั และพัฒนาระดับโลกในประเทศอินเดีย ศูนย์เทคโนโลยียางมะตอย ระดับภูมภิ าคในประเทศไทย ฝรัง่ เศส และจีน ศูนย์เทคโนโลยียางมะตอย ประเทศไทย ได้ประยุกต์ใช้อุปกรณ์ทดสอบที่มีคุณภาพสูงและสอดคล้องกับมาตรฐานสากล เพื่อสนับสนุนลูกค้าและภาคส่วนต่างๆ ในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยศูนย์เทคโนโลยียางมะตอยในประเทศไทย มีความสามารถอย่างเต็มที่ในการ สนับสนุนการทดสอบและการประเมินผลในระดับสากลและมาตรฐานอุตสาหกรรม ปนันท์ ประจวบเหมำะ ประธำนกรรมกำร บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด กล่าวว่า “ในฐานะผูน้ า� ด้านนวัตกรรมพลังงานระดับโลก เชลล์ให้การสนับสนุน ด้านพลังงาน โดยเน้นกลยุทธ์ด้านพลังงานสะอาด เพิ่มประสิทธิภาพ และดีต่อ สิง่ แวดล้อม ให้กบั ผูข้ บั ขี่ ลูกค้าพันธมิตรของเชลล์ และทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง ควบคู่ กับการร่วมมือพัฒนาประเทศในยุคเศรษฐกิจ 4.0 ซึ่งมีความท้าทายด้านพลังงาน และความต้องการด้านพลังงานทีม่ เี พิม่ มากขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง นวัตกรรมยางมะตอย Shell Bitumen FreshAir เป็นอีกหนึง่ ผลิตภัณฑ์ใหม่ทเี่ น้นย�า้ แนวทางในการด�าเนิน ธุรกิจของเชลล์ และเป็นนวัตกรรมที่เหมาะสมกับการใช้งานด้านก่อสร้างถนน รองรับการเติบโตของเมือง และมีส่วนช่วยลดปัญหามลภาวะทางอากาศ และ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมได้อีกทางหนึ่ง” อย่างไรก็ตาม เชลล์ถือเป็นผู้ผลิตยางมะตอยรายแรกที่พัฒนานวัตกรรม เพือ่ แก้ไขปัญหาคุณภาพอากาศเพือ่ ประโยชน์ทงั้ ผูบ้ ริโภคและสังคม อีกทัง้ มีโรงงาน ผลิตยางมะตอยแห่งแรก ได้พฒ ั นาปรับเปลีย่ นรูปแบบอุตสาหกรรมธุรกิจยางมะตอย ส�าหรับการสร้างท้องถนนอัจฉริยะแห่งอนาคต และได้ถกู น�าไปใช้ปพู นื้ ถนนหลากหลาย แห่งทัว่ โลก ตัง้ แต่ถนนเส้นใหญ่ในเมืองหลวง ทางหลวงเส้นส�าคัญ รันเวย์สนามบิน ทัว่ โลก และพืน้ ผิวถนนของสนามแข่งรถระดับโลก ขณะทีใ่ นประเทศธุรกิจยางมะตอย ของเชลล์ด�าเนินธุรกิจมานานกว่า 90 ปี และปัจจุบันได้พัฒนาโซลูชั่นที่ได้รับการ ออกแบบให้พร้อมใช้ Shell Bitumen FreshAir กลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ส ามารถช่ ว ยลด ผลกระทบของคุ ณ ภาพอากาศและน� า มา ซึ่งสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น ปนันท์ ประจวบเหมาะ
GreenNetwork4.0 March-April 2020
GREEN
Scoop
อุตสาหกรรม รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ระบบราง
กองบรรณาธิการ
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยการตระหนักถึงความส�าคัญของการส่งเสริมและสนับสนุน นโยบายของรัฐบาล ทีจ่ ะเร่งผลักดันการพัฒนาอุตสาหกรรมรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน และอุตสาหกรรมเกีย่ วเนือ่ งในประเทศไทย ทีใ่ ส่ใจและ ค�านึงถึงผลกระทบต่อปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมเป็นส�าคัญด้วย โดยเมื่อเร็วๆ นี้ องค์กรภาคเอกชนเดินหน้ามุ่งสร้างสรรค์ พัฒนาอุตสาหกรรมรถไฟฟ้าระบบรางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและ การประหยัดพลังงาน ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง บริษัท รำช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหำชน) และ บริษทั เอเอ็มอำร์ เอเซีย จ�ำกัด เดินหน้าพัฒนา ธุรกิจรถไฟฟ้าระบบราง ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน และพัฒนาอุตสาหกรรมรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน เพื่อขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายประเทศไทย 4.0 พร้อมกับมุ่งขยายฐาน ธุรกิจระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐานเพิม่ น�าโดย กิจจำ ศรีพฑั ฒำงกุระ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ราช กรุป๊ จ�ากัด (มหาชน) พร้อมด้วย มำรุต ศิรโิ ก กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เอเอ็มอาร์ เอเซีย จ�ากัด ประกาศ ความร่วมมือเดินหน้าศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาธุรกิจรถไฟฟ้า ระบบราง รวมทั้งมีตัวแทนจากพันธกิจ ทั้งหน่วยงานภาครัฐและ ภาคเอกชน เช่น การไฟฟ้าฝ่ายภูมภิ าค สมาคมการผังเมืองไทย และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมในพิธีประกาศความร่วมมือดังกล่าว
31
ส�าหรับความร่วมมือในครั้งนี้ นับเป็นความพยายามในการสร้างโอกาส ขยายธุรกิจขนส่งมวลชนระบบรางแบบครบวงจรด้วยการศึกษาความเป็นไปได้ ในการจัดตั้งโรงงานผลิตและประกอบรถไฟและรถไฟฟ้าที่ใช้ชิ้นส่วนในประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของราคารถไฟและรถไฟฟ้า รวมถึงการซ่อมบ�ารุง ซึ่งตาม แผนพัฒนาอุตสาหกรรมรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนของภาครัฐก�าหนดเป้าหมายไว้ใน ปี 2567 นอกจากนีย้ งั จะมีการศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตระบบอาณัตสิ ญ ั ญาณ การผลิตระบบสายส่งไฟฟ้าเหนือหัวส�าหรับรถไฟฟ้า และการผลิตชิน้ ส่วนหลักทีส่ า� คัญ ได้แก่ ระบบตัวรถ ระบบช่วงล่างของโครงสร้างตัวรถ และระบบขับและควบคุม การประกอบการซ่อมบ�ารุง และพัฒนาอุปกรณ์เกี่ยวกับระบบรถไฟฟ้าที่ผลิตใน ประเทศทัง้ หมด รวมถึงการผลิตไฟฟ้า ระบบกักเก็บและจ�าหน่ายพลังงาน และระบบ ประหยัดพลังงานทีผ่ ลิตจากตูร้ ถไฟฟ้าเพือ่ เชือ่ มต่อเข้าระบบส่งและจ�าหน่ายไฟฟ้า ซึง่ เป้าหมายตามแผนพัฒนาอุตสาหกรรมรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนของภาครัฐก�าหนด ไว้ในปี 2568 กิจจำ ศรีพฑั ฒำงกุระ กรรมกำร ผู้จัดกำรใหญ่ บริษัท รำช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหำชน) กล่าวว่า ราช กรุป๊ มีเป้าหมาย สร้างการเติบโตมูลค่ากิจการไม่เพียงเพิม่ การลงทุนในธุรกิจหลัก คือ ผลิตไฟฟ้า และพลังงานเท่านั้น แต่ยังมุ่งขยายฐาน ธุ ร กิ จ ระบบสาธารณู ป โภคพื้ น ฐาน เพิ่มขึ้นอีกด้วย บริษัทฯ เล็งเห็นว่า แผน กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ ยุทธศาสตร์ชาติที่มุ่งพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานให้มีความมั่นคงเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ ทั้ง ด้านพลังงาน โทรคมนาคม และคมนาคมขนส่ง เป็นโอกาสทีม่ ศี กั ยภาพ ซึง่ บริษทั ฯ สามารถน�าความรู้ความเชี่ยวชาญด้านไฟฟ้าและพลังงานเข้าไปต่อยอดการลงทุน พร้อมทั้งจับมือกับพันธมิตรที่เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ ขยายการลงทุนสนับสนุน นโยบายของภาครัฐได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะธุรกิจขนส่งมวลชนระบบราง ซึง่ บริษทั ฯ ได้ร่วมลงทุนในรถไฟฟ้าสายสีชมพูและสายสีเหลืองร่วมกับกลุ่มบีทีเอสและกลุ่ม ซิโน-ไทย และยังมีโครงการลงทุนร่วมกันในอนาคตอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ความร่วมมือในการพัฒนาธุรกิจรถไฟฟ้าระบบ รางในครัง้ นี้ เป็นความร่วมมือของทัง้ สองหน่วยงานและพันธกิจ ทางธุรกิจร่วมด�าเนินการด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบ รถไฟฟ้าและพัฒนาอุปกรณ์เกี่ยวกับระบบรถไฟฟ้า ระบบ ประกอบในการเดินรถ เป็นอีกหนึง่ ยุทธศาสตร์ดา้ นพลังงาน และสิง่ แวดล้อมในการขานรับนโยบายรัฐบาล อันจะน�าไปสู่ การพัฒนาอุตสาหกรรมรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
GreenNetwork4.0 March-April 2020 GreenNetwork
AUTO
Challenge กองบรรณาธิการ
Autonomous Vehicle
ยานยนต์ขับขี่อัตโนมัติ ครั้งแรกในไทย พร้อมแอพพลิเคชั่นเรียกใช้บริการ ถือเป็นปรากฎการณ์ยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย ส�าหรับความก้าวหน้า ของวงการยานยนต์ไฟฟ้าทีไ่ ด้พฒ ั นาการขับขีโ่ ดยอัตโนมัติ หรือ Autonomous Vehicle จากการผนึกก�าลังของ ส�ำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี แห่งชำติ (สวทช.) ร่วมกับ กรมวิทยำศำสตร์บริกำร (วศ.) ในสังกัดกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม และ บริษทั สิริ เวนเจอร์ส จ�ำกัด ในการติดตัง้ เทคโนโลยีพเิ ศษทีส่ ามารถควบคุมการขับเคลือ่ นได้เองโดยไม่ตอ้ ง ใช้คนขับ อีกทั้งการพัฒนาแอพพลิเคชั่นเพื่อเรียกใช้บริการยานยนต์ขับขี่ อัตโนมัติ ส�าหรับการทดสอบยานยนต์ขบั ขีอ่ ตั โนมัตนิ ี้ จะน�ามาใช้ในพืน้ ทีโ่ ครงการ SIRI VENTURES Private Prop Tech Sandbox ที่ T77 Community โดยจะใช้ เวลาในการพัฒนา ทดลอง และประมวลผลทัง้ หมดเป็นระยะเวลา 8 เดือน โดย สวทช. และ วศ. มีบทบาทส�าคัญในการพัฒนาแพลตฟอร์มเทคโนโลยีเพือ่ ควบคุม การขับขีอ่ ตั โนมัติ ไม่วา่ จะเป็นเทคโนโลยี Drive-by-Wire การบูรณาการเซ็นเซอร์ ส�าหรับยานยนต์ไร้คนขับ ระบบบ่งชีต้ า� แหน่งและการน�าทาง สมองกลควบคุมสัง่ การการขับเคลือ่ น และแผนที่ 3D ความละเอียดสูง ขณะทีส่ ริ ิ เวนเจอร์ส พัฒนา แอพพลิเคชั่นส�าหรับอ�านวยความสะดวกในการเรียกใช้บริการยานยนต์ขับขี่ อัตโนมัติ และประมวลผลการทดสอบและพฤติกรรมการใช้งานภายใต้สภาวะ ควบคุม ควบคูก่ บั มาตรการดูแลความปลอดภัยสูงสุดของผูใ้ ช้บริการยานยนต์ ขับขี่อัตโนมัติดังกล่าวนี้ ในส่วนของการออกแบบและวิศวกรรม จากการวิจัยพื้นฐานเพื่อสร้าง องค์ความรู้ใหม่เป็นอีกความก้าวหน้าในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อน�าไปสู่ การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ทจี่ ะช่วยเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันให้กบั ภาคอุตสาหกรรม การพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นกลไก ส�าคัญในการขับเคลือ่ นและพัฒนาประเทศอย่างมีทศิ ทางและยัง่ ยืน ซึง่ การวิจยั และพัฒนายานยนต์ขับขี่อัตโนมัติจัดเป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยีที่ สวทช.ให้ความ ส�าคัญ เนือ่ งจากประเทศไทยยังต้องเพิม่ ขีดความสามารถในด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีให้ทดั เทียมกับประเทศชัน้ น�าอืน่ ๆ ทัว่ โลก ทีไ่ ด้เริม่ ใช้งานยานยนต์ ขับขี่อัตโนมัติในภาคการคมนาคมและขนส่งที่มีความปลอดภัยทางถนน และ ช่วยอ�านวยความสะดวกสบายในการเดินทางของประชาชนและขนส่งสินค้า ประกอบกับการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วในยุคดิจทิ ลั ซึง่ จะน�าไปสู่ การยกระดับโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมและขนส่งให้มีความยืดหยุ่น เข้าถึงง่าย นอกจากนีย้ งั ผลักดันให้เกิดการสร้างอุตสาหกรรมใหม่ของประเทศ ให้ประสบความส�าเร็จและก้าวทันโลกไปอีกขั้น
32
ขณะเดียวกัน การทดสอบวิ่งจริงของยานยนต์ขับขี่อัตโนมัติในสภาวะ ควบคุมบนพืน้ ทีจ่ ริงจะเน้นการขับขีท่ งั้ ทางตรง ทางเลีย้ ว ขึน้ เนิน รวมทัง้ ระบบ ความปลอดภัย อาทิ การทดสอบระบบหยุดเมือ่ เจอสิง่ กีดขวางต่างๆ พร้อมกับ การพัฒนาระบบสมองกลของยานยนต์ขบั ขีอ่ ตั โนมัตคิ วบคูก่ นั ไป โดยจะก�าหนด เป็นเส้นทางบังคับ และการใช้งานผ่านแอพพลิเคชัน่ ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ โดยสิริ เวนเจอร์ส เพื่อน�า User Feedback ที่ได้มาร่วมประมวลผล ซึ่งจะเป็นไมล์สโตนในการ ส่งต่อนวัตกรรมเทคโนโลยียานยนต์ขับขี่อัตโนมัติต้นแบบ สู่การขยายผลต่อ ในภาคเอกชน นอกจากนี้ยังสามารถต่อยอดเพื่อสร้างกลุ่มผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมให้เกิดความร่วมมือกันพัฒนารถฟีดเดอร์ขับขี่อัตโนมัติที่มีความ พร้อม เพื่อน�าไปทดสอบใช้งานจริงในเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก หรือ EECi จังหวัดระยอง ภายในช่วงต้นปี 2564 อีกด้วย ในการผลักดันให้เกิดนวัตกรรมที่สามารถใช้งานได้จริงอย่างเป็น รูปธรรมนี้ จ�าเป็นต้องมีโครงสร้างพื้นฐานทางคุณภาพที่ดีมาสนับสนุนเพื่อให้ ผลิตภัณฑ์มีสมรรถนะและความปลอดภัยที่จะท�าให้ผู้บริโภควางใจ ซึ่งต้อง อาศัยหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบโครงสร้างพื้นฐานทางคุณภาพของประเทศ หรือ NQI ซึง่ ประกอบด้วยงานสร้างมาตรฐานและข้อก�าหนดด้านการวัด และ ตรวจติดตามให้เป็นไปตามมาตรฐานทีก่ า� หนด ทัง้ การควบคุมการเร่ง เบรก และ บังคับพวงมาลัย ผ่านสัญญาณทางไฟฟ้า CAN BUS ซึง่ อุปกรณ์ทใี่ ช้ได้ผา่ นการ ทดสอบใช้งานจริง รวมทัง้ ได้นา� NQI มาช่วยในการออกแบบการทดสอบระบบ เคลื่อนที่อัตโนมัติ ดังนั้นผู้ใช้งานยานยนต์ไฟฟ้านี้ สามารถมั่นใจได้ว่าระบบที่ สร้างขึน้ นัน้ มีความวางใจได้ทงั้ ในด้านสมรรถนะและความปลอดภัย และค�านึงถึง สิง่ แวดล้อมเป็นส�าคัญ พร้อมทัง้ บูรณาการองค์ความรูร้ ว่ มเป็นส่วนหนึง่ ในการ สนับสนุน ผลักดันและผลิตนวัตกรรมเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน บนเวทีโลกให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
GreenNetwork4.0 March-April 2020
AUTO
Challenge กองบรรณาธิการ
จักรยานไฟฟ้า
Electric Mobility for Everyone เทคโนโลยีประหยัดพลังงาน นวัตกรรมลดมลพิษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
50% ซึง่ มีสว่ นช่วยลดการสร้างก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 2 ล้านกิโลกรัม หรือเทียบเท่าการปลูกต้นไม้ถึง 10,000 ต้น จึงได้คิดค้นผลิต “จักรยำนไฟฟ้ำ EM” หรือ Electric Mobility for Everyone โดยออกแบบ ส�าหรับผู้บริโภค 4 กลุ่ม ดังนี้ 1. จักรยานไฟฟ้าเพื่อ ครอบครัว เน้นการขับขีท่ ปี่ ระหยัดพลังงานและทันสมัย 2. จักรยานไฟฟ้าเพื่อผู้สูงอายุ เน้นความปลอดภัย ด้วยระบบนวัตกรรมอัตโนมัตแิ ละการออกก�าลังกาย 3. จักรยานไฟฟ้าเพื่อการขนส่ง เพื่อลดต้นทุนใน การขนส่งสินค้า ประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย 4. จักรยานไฟฟ้าเพือ่ กลุม่ คนรุน่ ใหม่ เน้นความคล่องตัว และมีน�้าหนักเบา สามารถใช้ควบคู่กับรถไฟฟ้าได้ สะดวก ส�าหรับการชาร์จไฟสามารถเสียบปลัก๊ ในบ้าน ของตนเองได้อย่างสะดวก ไม่ต้องใช้สถานีชาร์จไฟ อืน่ ๆ ให้เสียเวลา ซึง่ ระยะการชาร์จไฟประมาณ 5-6 ชัว่ โมงต่อการใช้ 1 ครัง้ และสามารถขับขีด่ ว้ ยระยะทาง ไกลตั้งแต่ 30-50 กิโลเมตร ส่วนนวัตกรรมกุญแจรีโมทได้ผลิตออกแบบ เป็นพิเศษที่มีการควบคุมคุณภาพด้วย “กุญแจรีโมท อัจฉริยะ” มีการใช้งานคล้ายกับกุญแจรีโมทรถยนต์ ซึง่ จะมีสญ ั ญาณกันขโมยในตัว กล่าวคือเมือ่ รถก�าลัง ถูกโจรกรรมหรือตัวรถก�าลังถูกยกในระหว่างที่รถ จอดอยู่นั้น สัญญาณกันขโมยจะส่งผ่านไปยังตัวรถ โดยรถจะร้องเป็นการเตือนสัญญาณทันทีว่าก�าลัง ถูกขโมย ขณะเดียวกัน หากเจ้าของรถหลงลืมว่า จอดรถไว้ ณ จุดไหน เพียงใช้นิ้วกดที่รีโมท รถจะ ร้องเตือนเช่นกัน ธำนัท ธรรมพรหมกุล กรรมกำรผู้จัดกำร บริษทั ไลฟส์ มูฟวิง่ จ�ำกัด กล่าวว่า “เนือ่ งจากปี 2020 กระแสการพัฒนารถไฟฟ้าก�าลังได้รับความนิยมไป ทัว่ โลก แสดงให้เห็นว่าทุกประเทศต้องการช่วยรักษา สิง่ แวดล้อมให้กบั โลกและเพือ่ ให้สขุ ภาพคุณภาพชีวติ ของผู้คนดีขึ้น จากความเปลี่ยนแปลงปัญหาด้าน สิ่งแวดล้อมนี้ ทางบริษัทฯ เล็งเห็นว่าเป็นเรื่องที่ต้อง ใส่ใจและให้ความส�าคัญกับปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ มลภาวะอากาศ นอกจากจักรยานไฟฟ้า EM ทีผ่ ลิตขึน้ เพื่อช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมและการประหยัดพลังงาน แล้ว ยังมีแนวคิดทีจ่ ะขยายการผลิตจักรยานไฟฟ้าใหม่ๆ ในหลายๆ ด้าน ทั้งจักรยานไฟฟ้าเพื่อการขนส่งแบบ Heavy Duty เพื่อลดต้นทุนขนส่งช่วยให้การปล่อย ควันด�าจากการขนส่งลดลง ตลอดจนเราจะพัฒนา
ปัญหาโลกร้อนและมลพิษทางอากาศ คือ ปัจจัยหนึ่งที่ท�าให้ทั่วโลกเริ่มหันมาใช้ยานยนต์ไฟฟ้า เพื่อลดการสร้างมลภาวะ และแนวโน้มเทคโนโลยี นวัตกรรมยานยนต์ต่างก็ผลิตรถยนต์ไฟฟ้า รวมถึง ชิ้นส่วนประกอบยานยนต์และแบตเตอรี่ชาร์จไฟ แม้ ก ระทั่ ง การผลิ ต จั ก รยานไฟฟ้ า ซึ่ ง พั ฒ นาโดย บริษัท ไลฟส์ มูฟวิ่ง จ�ำกัด ด�าเนินกิจการประกอบ ชิ้นส่วนและจัดจ�าหน่ายจักรยานไฟฟ้า ได้ก้าวสู่ ผู ้ น� า จั ก รยานไฟฟ้ า ในประเทศไทยและทั่ ว โลก ซึ่งจักรยานไฟฟ้าทุกๆ คันได้ออกแบบมาใช้ทดแทน รถจักรยานยนต์ จึงมีส่วนช่วยลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ เท่ากับการปลูกต้นไม้ 5 ต้น/ คัน/ปี ซึ่งเหตุผลหนึ่งของแนวคิดนี้เพื่อตระหนักถึง ปัญหาฝุน่ PM 2.5 และปัญหามลภาวะจากการปล่อย ควันด�า ส่งผลให้เกิดสิ่งแวดล้อมเป็นพิษนั่นเอง ไลฟส์ มูฟวิ่ง ถือได้ว่ามีความช�านาญในเรื่อง จักรยานไฟฟ้า มีโรงงานประกอบจักรยานไฟฟ้าของ บริษัทฯ ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมบางชัน สร้างการ รับรู้ว่าบริษัทฯ สามารถควบคุมมาตรฐานของสินค้า ได้ดี พร้อมกับการท�าวิจัยเกี่ยวกับการเดินทางโดย จักรยานไฟฟ้า จะใช้จ่ายเงินค่าพลังงานประมาณ 4 สตางค์ต่อกิโลเมตร ซึ่งประหยัดพลังงานกว่า รถจักรยานยนต์ถึง 10 เท่า อีกทั้งตัวจักรยานไฟฟ้า ยังมีชนิ้ ส่วนสิน้ เปลืองทีน่ อ้ ยกว่า ท�าให้คา่ ใช้จา่ ยในการ บ�ารุงรักษาจักรยานไฟฟ้า น้อยกว่ารถจักรยานยนต์ถงึ
33
GreenNetwork4.0 March-April 2020
Solution Battery Swapping รวมถึงแผนต้นแบบ สร้างพลังงานสะอาดที่พัฒนาร่วมกับชุมชน เพื่อ ควบรวมจักรยานไฟฟ้าเข้ากับพลังงานแสงอาทิตย์ที่ จะเป็นเทคโนโลยีใหม่ๆ ท�าให้รถชาร์จไฟจากแสงแดด ในเวลาตากแดดได้” ทั้งนี้ เทคโนโลยีจักรยานไฟฟ้า EM ถือว่ามี ส่วนในการรักษ์โลกและร่วมรักษาสิ่งแวดล้อมที่ดี โดย ไลฟส์ มูฟวิ่ง ได้ตั้งศูนย์บริการแบบครบวงจรที่ ครอบคลุมทัว่ ประเทศกว่า 70 สาขา พร้อมกับทีมช่าง Onsite Service ที่มีความช�านาญในการให้บริการ ซ่อมแซม-ดูแลรักษาอะไหล่ได้อย่างรวดเร็วตลอด 24 ชัว่ โมง ท�าให้จกั รยานไฟฟ้า EM กลายเป็นพาหนะ ที่ตอบโจทย์การใช้งานในชีวิตประจ�าวันของสังคม ทีต่ อ้ งประสบกับปัญหาฝุน่ PM 2.5 มากขึน้ ทุกวัน
GREEN
Technology &Innovation กองบรรณาธิการ
Salesforce
Sustainability Cloud แพลตฟอร์มรักษ์โลก
ตรวจสอบปริมาณคาร์บอน ช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัจจุบนั ประเทศไทยประสบกับผลกระทบจากพฤติกรรมทีก่ อ่ ให้เกิดปัญหา โลกร้อนโดยตรงจากปริมาณฝุน่ พิษ PM 2.5 ทีก่ า� ลังเป็นปัญหาอย่างมากในหลาย พื้นที่ทั่วประเทศ ข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม รายงานว่า แหล่งก�าเนิดของฝุ่นพิษ PM 2.5 ที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ในประเทศ มาจากโรงงานอุตสาหกรรมการผลิต และอันดับ 1 คือการเผาในทีโ่ ล่ง ดังนัน้ การคิดค้นเทคโนโลยีซอฟต์แวร์เพือ่ เป็นแพลตฟอร์มขึน้ มาช่วยในการตรวจสอบ ผ่านระบบคลาวด์ จึงกลายเป็นโซลูชั่นที่ช่วยให้ธุรกิจ องค์กร และหน่วยงานต่างๆ น�าไปตรวจสอบปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (คาร์บอนไดออกไซด์) ในการ ลดปัญหาโลกร้อนได้ Salesforce Sustainability Cloud ทีพ่ ฒ ั นาโดย Salesforce.com ผูใ้ ห้บริการ โซลูชนั่ การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ หรือ CRM โซลูชน่ั ผ่านระบบคลาวด์ระดับโลก ซึง่ จะช่วยให้ธรุ กิจในประเทศไทยสามารถตรวจสอบปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทีป่ ล่อยสูอ่ ากาศ เพือ่ ช่วยลดปัญหาสิง่ แวดล้อม เป็นโซลูชนั่ ส�าหรับธุรกิจทีส่ ามารถ ดูแลบริหารกระบวนการต่างๆ ในบริษทั ทีก่ อ่ ให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เป็นบริษัทที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง
จุดเด่นของ Salesforce Sustainability Cloud ส�ำหรับธุรกิจ คือ
• ช่วยลดการสร้างก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ขององค์กรด้วยแพลตฟอร์ม
ที่เชื่อถือได้ การตรวจสอบปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่บริษัทสร้างไม่ว่าจะเป็น จากการเผาไหม้เชือ้ เพลิงในขัน้ ตอนการผลิต หรือการเดินทางของพนักงานในบริษทั เป็นงานทีซ่ บั ซ้อนและใช้เวลา แต่ดว้ ยแพลตฟอร์ม Salesforce Sustainability Cloud ซึ่งเก็บรวมรวมข้อมูลทั้งหมดเข้าสู่แพลตฟอร์มเดียวกัน จึงท�าให้บริษัทสามารถ ตรวจสอบปริมาณการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เชือ่ ถือได้ และสามารถน�าเอาข้อมูลทีไ่ ด้มาสร้างเป็นแนวทางปฏิบตั เิ พือ่ ลดปริมาณ การสร้างก๊าซ • เป็นแหล่งข้อมูลอ้างอิงที่แม่นย�า แสดงถึงจุดยืนรักษ์โลก แสดงจุดยืนและความมุ่งมั่นในการรักษาสิ่งแวดล้อมให้ลูกค้า พนักงาน บริษัทคู่ค้า และนักลงทุนเห็นผ่านข้อมูลที่แม่นย�า ชัดเจน มีระบบของ Salesforce Sustainability Cloud ทั้งข้อมูลการใช้พลังงาน และปริมาณการสร้างก๊าซ • แสดงผลชัดเจนบนแดชบอร์ดเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงของ องค์กร ติดตามรูปแบบการใช้ทรัพยากรพลังงาน และ การสร้างก๊าซทั้งบนหน้าแสดงผลสไตล์แดชบอร์ด 34
หรือแบบรายงานส�าหรับการตรวจสอบจากหน่วยงานภาครัฐหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งน�ามาท�าเป็นแผนน�าเสนอผู้บริหารส�าหรับสร้างนโยบายเพื่อ เปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน อีกทั้งยังช่วยให้กลุ่มธุรกิจสามารถทรานสฟอร์มธุรกิจของตนเองให้เข้า กับโลกในยุคปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนถ่ายเข้าสู่การท�างานแบบโมบายล์ การปรับตัวของธุรกิจในยุคที่โซเชียลมีเดียมีความส�าคัญ หรือการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี AI การเปิดให้บริการ Salesforce Sustainability Cloud เป็นอีก ทางเลือกให้ธุรกิจทั้งขนาดเล็กและใหญ่ที่ใส่ใจในสิ่งแวดล้อมได้มีเครื่องมือ เพื่อการสร้างความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม ดังนัน้ ปัญหาโลกร้อนเป็นปัญหาระดับโลกทีต่ อ้ งได้รบั การแก้ไขเพือ่ อนาคต ของคนทุกคนในสังคม และธุรกิจขององค์กร ซึ่งหากมีส่วนในการรับผิดชอบต่อ การแก้ไขปัญหาดังกล่าว และเมื่อธุรกิจหันมาใช้แพลตฟอร์มอย่าง Salesforce Sustainability Cloud ในการตรวจสอบ และจัดการทีเ่ กีย่ วข้องกับสิง่ แวดล้อมมากขึน้ ธุรกิจก็จะสามารถสร้างแนวทาง หรือนโยบายที่เป็นของส่วนรวม และสร้างความ ยั่งยืนให้กับโลกได้อย่างแท้จริง อย่างไรก็ดี ในส่วนของ Salesforce.com, Inc. บริษัทซอฟต์แวร์ระบบ คลาวด์ชาวอเมริกนั ก่อตัง้ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2542 ทีม่ สี า� นักงานใหญ่ในซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ให้บริการการจัดการความสัมพันธ์กบั ลูกค้า และยังขายชุดเสริมของแอพพลิเคชั่นระดับองค์กรที่เน้นการให้บริการลูกค้า การตลาดอัตโนมัติ การวิเคราะห์ และการพัฒนาแอพพลิเคชัน่ และล่าสุดการ เปิดตัว Salesforce Sustainability Cloud ที่ช่วยให้ธุรกิจเข้าถึงลูกค้า ได้อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจทิ ลั เพือ่ ให้บริการธุรกิจทัง้ ขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ ในการเข้าถึงลูกค้าผ่านการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีอย่าง คลาวด์ เทคโนโลยีเคลือ่ นทีไ่ ร้สาย เทคโนโลยีดา้ นโซเชียล IoT, AI รวมถึง เทคโนโลยีการสัง่ งานด้วยเสียงและบล็อกเชน เพือ่ สร้างการเข้าถึงผูบ้ ริโภค แบบ 360 องศา ซึง่ ในประเทศไทยได้นา� มาใช้เป็นโซลูชนั่ ทีส่ ามารถตรวจสอบ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยสู่อากาศดังกล่าว เพื่อช่วยลดปัญหาด้าน สิ่งแวดล้อมในประเทศได้อีกทางหนึ่ง
GreenNetwork4.0 March-April 2020
ฟิวเจอร์ เอนเนอร์ยี่ เอเชีย 2020
พร้อมยกระดับให้ ไทยขึ้นแท่นฮับพลังงานแห่งเอเชีย
Chiko1-4CO.pdf
1
4/8/2563 BE
10:52 AM
พิธเี ปิดงานนิทรรศการและงานประชุม ฟิวเจอร์ เอนเนอร์ยี่ เอเชีย 2020 ได้รบั เกียรติ จาก กุลศิ สมบัตศิ ริ ิ ปลัดกระทรวงพลังงาน วิบลู ย์ ฤกษ์ศริ ะทัย ผูว้ า่ การการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย ชาญศิลป์ ตรีนชุ กร ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ปตท. จ�ากัด (มหาชน) พงศธร ทวีสนิ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ปตท.ส�ารวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ากัด (มหาชน) และ นิค ออร์นสไตน์ รองประธาน บริษัท ดีเอ็มจี อีเว้นท์ โกลบอลล์ เอนเนอร์ยี่ จ�ากัด ฟิวเจอร์ เอนเนอร์ยี่ เอเชีย 2020 งานด้านการเปลีย่ นผ่านพลังงานแบบบูรณาการ ชั้นน�าของเอเชีย ได้ฤกษ์เปิดงานอย่างเป็นทางการโดยได้รับเกียรติจากผู้แทนกระทรวง พลังงานร่วมในพิธี งานครั้งนี้ถือเป็นเวทีส�าคัญที่ได้รวบรวมบุคลากรด้านพลังงานที่มี บทบาทส�าคัญในห่วงโซ่คณ ุ ค่าพลังงานแบบสมบูรณ์ของภูมภิ าคไว้ภายในการประชุมครัง้ นี้ ที่เดียว ตลอด 3 วันของการจัดงาน น�าเสนอนิทรรศการจากผู้จัดแสดงทั่วโลก ที่จัดแสดง นวัตกรรมด้านพลังงานล่าสุด พร้อมด้วยการประชุมใน 3 แขนงที่รวมตัววิทยากรในภาค อุตสาหกรรมพลังงานกว่า 200 ท่านเข้าร่วมถกประเด็นเกี่ยวกับความท้าทายและโอกาส ทางการเมืองและธุรกิจทั่วทั้งภูมิภาค งานดังกล่าวได้รบั การสนับสนุนอย่างเป็นทางการจากกระทรวงพลังงาน และจัดขึน้ โดยความร่วมมือจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และบริษทั ปตท. จ�ากัด (มหาชน) งานนี้มุ่งหวังในการสร้างการรับรู้ทั่วโลกเกี่ยวกับความต้องการพลังงานอย่าง ยั่งยืนที่เพิ่มขึSkyviv1-4.pdf ้น และกลยุทธ์ด1้านการเปลี นผ่า10:53 นพลังAMงานของรัฐบาลและผู้ให้บริการด้าน 4/8/2563 ่ยBE พลังงานเพื่อตอบรับกับศักยภาพของเทคโนโลยีพลังงานสะอาดและเศรษฐกิจดิจิทัล ที่เชื่อมต่อถึงกัน
“หน่วยบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข สร้ำงรอยยิ้มให้กับประชำชน”
SMART
City
กองบรรณาธิการ
โครงการ “หน่วยบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข สร้ำงรอยยิ้มให้กับ ประชำชน” เป็นอีกหนึง่ ระบบการบริการของหน่วยงานภาครัฐเพือ่ บริหาร จัดการเมืองแต่ละภูมิภาคทางด้านข้อมูล ที่ท�าให้ประชาชนสามารถ เข้าถึงง่าย เข้าใจง่าย ลดภาระค่าใช้จา่ ย และการประหยัดพลังงาน ซึง่ ได้นา� บริการภาครัฐไปแนะน�าประชาชนทัง้ สิน้ 3 บริการ ได้แก่ ตูบ้ ริกำร อเนกประสงค์ภำครัฐ หรือ Government Smart Kiosk แอพพลิเคชัน่ CITIZENinfo และ Biz Portal พัฒนาขึ้นเพื่อให้เกิดเป็นการบริหาร จัดการเมืองในรูปแบบ Smart City ที่ท�าให้ประชาชนเข้าถึงจุดการให้ บริการ และจัดเตรียมเอกสารล่วงหน้าในการเข้าใช้บริการ ตลอดจน ช่วยอ�านวยความสะดวกในการเดินทางเพือ่ ลดภาระค่าใช้จา่ ย ลดการใช้ พลังงานลง นอกจากนั้น เพื่อเป็นศูนย์กลางข้อมูลให้ภาคธุรกิจติดต่อ ราชการแบบเบ็ดเสร็จครบวงจรในจุดบริการทัว่ ทุกภูมภิ าค โดยในต้นปี 2563 นี้ ได้น�าไปใช้ในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานีและจังหวัดสระแก้ว
36
มุ่งเน้นบริกำรแบบ Smart City
ประชำชนเข้ำถึงข้อมูลง่ำย ลดกำรใช้พลังงำน
ส�าหรับ ตูบ้ ริกำรอเนกประสงค์ภำครัฐ หรือ Government Smart Kiosk เป็นช่องทาง เพื่อการเข้าถึงข้อมูลและบริการภาครัฐแบบครบวงจรในรูปแบบดิจิทัล ผ่านพื้นที่ให้บริการ หน่วยงานของรัฐและพืน้ ทีส่ าธารณะ ครอบคลุมในทุกภูมภิ าคทัว่ ประเทศด้วยการยืนยันตัวตน ในการเข้าถึงบริการด้วยบัตรประจ�าตัวประชาชนแบบอเนกประสงค์ (Smart Card) ทีม่ รี ะบบ การรักษาความปลอดภัยสูง ประชาชนสามารถใช้บริการได้อย่างมัน่ ใจ สามารถตรวจสอบข้อมูล ส่วนบุคคลและสิทธิประโยชน์ตา่ งๆ เช่น สิทธิประกันสุขภาพ สิทธิประกันสังคม การตรวจสอบ เงินสะสม (กรณีชราภาพ) เช็คเครดิตบูโรสรุปอย่างย่อ นอกจากนี้ยังได้เพิ่มความสะดวกให้ กับผู้กู้ยืมกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา หรือ กยศ. โดยสามารถสั่งพิมพ์ QR Code ไปสแกน เพื่อช�าระเงินผ่าน KTB Net Bank ได้อย่างง่ายดายและสะดวกรวดเร็ว ซึ่งปัจจุบันตู้บริการ อเนกประสงค์ภาครัฐ หรือ Government Smart Kiosk นีม้ บี ริการประชาชนทัง้ หมด 119 จุด ทั่วประเทศ ทั้งในหน่วยงานราชการ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล โรงพยาบาล และบิ๊กซี ซูเปอร์ เซ็นเตอร์ ส�าหรับประชาชนชาวจังหวัดอุทัยธานีสามารถใช้บริการได้ที่โรงพยาบาลอุทัยธานี ส่วนประชาชนชาวจังหวัดสระแก้วสามารถใช้บริการได้ที่บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ ขณะที่การบริการ แอพพลิเคชั่น CITIZENinfo ซึ่งเป็นแอพพลิเคชั่นที่ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงจุดให้บริการภาครัฐ ทราบงานบริการ และจัดเตรียมเอกสาร ล่วงหน้าในการเข้าใช้บริการ ตลอดจนช่วยอ�านวยความสะดวกในการเดินทาง และลดเวลา ในการท�าธุรกรรมกับหน่วยงานภาครัฐได้ ซึ่งจะช่วยให้ประหยัดพลังงานและทรัพยากรต่างๆ ได้เป็นอย่างดี โดยปัจจุบนั แอพพลิเคชัน่ CITIZENinfo มีขอ้ มูลในจุดทีใ่ ห้บริการประชาชน และ บริการของหน่วยงานภาครัฐมากกว่า 100,000 จุดบริการ นอกจากนีย้ งั สามารถดาวน์โหลดได้ ผ่าน App Store และ Google Play และบริการ Biz Portal เป็นศูนย์กลางบริการภาครัฐเพื่อภาคธุรกิจ ถือเป็นมิติใหม่ ของการติดต่อราชการเพือ่ เริม่ ต้นธุรกิจแบบครบวงจรผ่าน เว็บไซต์ biz.govchanel.go.th เพือ่ อ�านวยความสะดวกในการยกระดับผูป้ ระกอบการให้สามารถด�าเนินธุรกิจได้งา่ ย และสะดวก รวดเร็วมากขึ้นแบบครบวงจร โดยผู้ประกอบการไม่ต้องเสียเวลาในการเดินทางเพื่อติดต่อ หน่วยงานราชการหลายหน่วยงาน จึงช่วยทางด้านการประหยัดพลังงานได้ดี ทัง้ นี้ โครงการ “หน่วยบ�าบัดทุกข์ บ�ารุงสุข สร้างรอยยิม้ ให้กบั ประชาชน” ถูกพัฒนาขึน้ โดย ส�ำนักงำนพัฒนำรัฐบำลดิจทิ ลั (องค์กำรมหำชน) (สพร.) หรือ DGA เป็นองค์การมหาชน ของประเทศไทย ภายใต้การก�ากับดูแลของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและ สังคม เพื่อเสนอแนะแนวทาง มาตรการ และมาตรฐานด้านรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึง ให้บริการด้านวิชาการและการบริหารจัดการ ซึง่ ถือว่าเป็นหน่วยงานกลางทีท่ า� หน้าทีใ่ ห้บริการ ส่งเสริมและสนับสนุนการด�าเนินการของหน่วยงานภาครัฐเกี่ยวกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ได้มงุ่ พัฒนาบริการดิจทิ ลั ภาครัฐอืน่ ๆ อีกมากมาย เพือ่ อ�านวยความสะดวกประชาชนและมุง่ สู่ การบริหารแบบ Smart City เพื่อเป็นช่องทางให้ประชาชนได้เข้าถึงข้อมูลและบริการภาครัฐ แบบครบวงจรในยุคดิจิทัล อันจะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนเข้าใช้บริการที่เข้าใจง่าย เข้าถึง ง่าย และลดภาระให้กับประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
GreenNetwork4.0 March-April 2020
“Save Food Save the World”
กระบวนการรีไซเคิล ลดการสูญเสียทรัพยากร อาหาร ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
ปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกออกกฎห้ามใช้พลาสติกหรือให้มีการเก็บภาษี พลาสติก เพือ่ ยกเลิกการใช้พลาสติกแบบใช้ครัง้ เดียว (Single Use Plastics) รัฐบาล น�าโดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชำ นำยกรัฐมนตรี ให้ความส�าคัญในเรือ่ งนีเ้ ป็น วาระของชาติ จึงมอบหมายให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเร่งหาแนวทางเพือ่ ลดปริมาณ การใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว พิธลี งนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ “โครงกำรบริหำรจัดกำรห่วงโซ่อำหำร เพือ่ ลดกำรสูญเสียด้ำนทรัพยำกร” หรือ Food Waste Management เกิดขึน้ ด้วย ความห่วงใยใส่ใจสิ่งแวดล้อม เป็นการจับมือทั้งในส่วนของกระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม โดยส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) บริษัท การบินไทย จ�ากัด (มหาชน) และ บริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จ�ากัด โดย การบินไทยและไทยสมายล์ มีความมุ่งมั่นและตระหนักถึงการพัฒนาอย่างยั่งยืน อีกทัง้ การบริหารจัดการเพือ่ ไม่ให้เกิดผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมจากการประกอบ ธุรกิจ และช่วยลดขยะอาหารของโลก จึงนับเป็นจุดเริม่ ต้นทีจ่ ะสะท้อนให้เห็นถึงความ พยายามในการลดอัตราการสูญเสียทางด้านทรัพยากรในประเทศทีใ่ ห้ความส�าคัญ เรื่องสิ่งแวดล้อม
ศักดิ์สยำม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงคมนำคม ประธานในพิธี กล่าวว่า “นับว่าเป็นความร่วมมือทีช่ ว่ ยกันลดปัญหาสิง่ แวดล้อมร่วมกัน เป็นอีกหนึง่ การบูรณาการให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการลดการใช้วัสดุที่ผลิตขึ้นจาก พลาสติก และช่วยลดปัญหามลพิษต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนใน ระยะยาว ซึ่งการจัดท�ายุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย ระยะ 20 ปี ได้ดา� เนินการให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน โดยมีการรณรงค์ สร้างความตระหนักและตื่นตัวในการใช้พลาสติกหมุนเวียนในหน่วยงานต่างๆ ทุกภาคส่วน ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพือ่ ลดการสูญเสียทางด้าน ทรัพยากรในประเทศ” วรำวุธ ศิลปอำชำ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและ สิง่ แวดล้อม ในฐานะประธานร่วมพิธี กล่าวว่า “ปัจจุบนั ประเทศไทยมีปริมาณขยะ ทีเ่ กิดจากอาหารเป็นจ�านวนมาก ข้อมูลจากการศึกษาใหม่ๆ พบว่าองค์ประกอบของ ขยะมูลฝอยของบางพื้นที่มีขยะอาหารเป็นองค์ประกอบที่มีสัดส่วนร้อยละ 33-50 ของขยะทัง้ หมด ซึง่ หากไม่ได้รบั การจัดการทีถ่ กู ต้องจะส่งผลต่อสิง่ แวดล้อม ก่อให้เกิด ก๊าซเรือนกระจก ปัญหา Food Waste นับได้วา่ เป็นปัญหาระดับโลก สหประชาชาติ ได้กา� หนดเป้าหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน ในช่วงปี 2557-2573 ได้ขอให้ประเทศต่างๆ และบริษทั ต่างๆ ร่วมกันลดขยะอาหารของโลกลงครึง่ หนึง่ ภายในปี 2573 ในระดับ ผู้จ�าหน่ายอาหารและระดับผู้บริโภค และลดการสูญเสียอาหารจากกระบวนการ ผลิตห่วงโซ่อปุ ทาน รวมถึงการสูญเสียหลังการเก็บเกีย่ ว ทัง้ นีก้ ารบินไทยทีม่ ชี อื่ เสียง ในการท�าอาหารอร่อย มีคณ ุ ภาพดี ต้องสนใจความยัง่ ยืนและการดูแลสิง่ แวดล้อม อีกด้วย ซึง่ การลดปริมาณขยะอาหารจ�าเป็นต้องเริม่ จากพืน้ ฐานทีถ่ กู ต้องมีการท�างาน ที่เป็นระบบ” 37
RENEWABLE
Energy กองบรรณาธิการ
ทางด้าน สุเมธ ด�ำรงชัยธรรม กรรมกำรผู้อ�ำนวยกำรใหญ่ บริษัท กำรบินไทย จ�ำกัด (มหำชน) กล่าวว่า “การบินไทยในฐานะสายการบินแห่งชาติ ได้ตระหนักถึงบทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคมมาโดยตลอด และในปี 2563 นี้ ได้กา� หนดนโยบายโดยเข้าร่วมโครงการบริหารจัดการห่วงโซ่อาหาร เพื่อลดการสูญเสียด้านทรัพยากร เพื่อให้บริการบนเครื่องได้อย่างมี ประสิทธิภาพและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน การบินไทย จะสร้างความรู้ความเข้าใจแก่พนักงาน ผู้โดยสาร และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทุกภาคส่วน ซึง่ ฝ่ายครัวการบินของการบินไทยได้ดา� เนินการมาตลอด ทัง้ นี้ การบินไทยยังก�าหนดเป้าหมายโดยมุ่งสู่การเป็นสายการบินเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืนภายในปี 2566” ขณะที่ ชำริตำ ลีลำยุทธ ประธำนเจ้ำหน้ำทีบ่ ริหำร บริษทั ไทยสมำยล์ แอร์เวย์ จ�ำกัด กล่าวว่า “สายการบินไทยสมายล์ได้ตระหนักถึงการลดการ สูญเสียทรัพยากรอาหาร โดยได้รเิ ริม่ ด�าเนินนโยบายรักษ์โลกอย่างเป็นรูปธรรม ตั้งแต่ปี 2561 ตามแนวคิดประสิทธิภาพเชิงนิเวศ ดังนั้นปี 2563 นี้ จึงได้ตั้ง เป้าหมายที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการอาหารและลดการสูญเสีย อาหารบนเทีย่ วบินมากยิง่ ขึน้ โดยมีแผนทีจ่ ะให้ผโู้ ดยสารสามารถเลือกแสดง ความประสงค์ในการปฏิเสธอาหารบนเทีย่ วบินล่วงหน้าได้ ซึง่ จะท�าให้สามารถ บริหารจัดการลดความสูญเสียอาหารได้ถึง 16.45 ตัน/ปี แบ่งเป็นเส้นทาง ในประเทศ 5.7 ตัน/ปี และเส้นทางระหว่างประเทศ 10.75 ตัน/ปีได้มากขึน้ ” นอกจากนี้ ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักพัฒนำ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) กล่าวว่า “ถือเป็นก้าวส�าคัญ ของ สวทช.ที่จะให้ค�าปรึกษากับการบินไทยและไทยสมายล์ ในการจัดท�า แผนการด�าเนินงานเพื่อปรับปรุงพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานด้วยความรู้ และนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมถึงการให้ค�าแนะน�า ในการก�าหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายเพื่อประเมินประสิทธิผลของโครงการ อีกทั้งการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีศักยภาพในการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้อง เพื่อยกระดับการบริหารจัดการทรัพยากรในกระบวนการผลิต อาหารของสายการบิน” อย่างไรก็ตาม การลงนามบันทึกข้อตกลงในครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่า ทุกภาคส่วนพร้อมทีจ่ ะขับเคลือ่ นการแก้ปญ ั หาด้านมลภาวะและสิง่ แวดล้อม ทีเ่ กิดจากขยะอาหารร่วมกัน จึงเป็นก้าวทีส่ า� คัญส�าหรับอุตสาหกรรมการบิน โดยจะท�าให้การบินไทยลดการสูญเสียวัตถุดิบจากการผลิตอาหารถึง 400 กก./วัน หรือคิดเป็นเงินประมาณ 20 ล้านบาท/ปี อีกทัง้ การน�านวัตกรรรม เพื่อแก้ปัญหาการสูญเสียอาหาร ถือเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยให้ประเทศไทย บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) แห่งองค์การสหประชาชาติได้ในที่สุด
GreenNetwork4.0 March-April April 2020
GREEN
Hotel กองบรรณาธิการ
แม้ขณะนี้สถานการณ์ท่ีส่งผลกระทบต่อธุรกิจโรงแรมและภาคการท่องเที่ยวโดยตรงจากสาเหตุ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส “โควิด-19 (COVID-19)” ที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจได้แพร่ กระจายไปทัว่ โลก ท�าให้มยี อดตัวเลขผูเ้ สียชีวติ และการติดเชือ้ จ�านวนมากเกินการควบคุม ส่งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจโลกได้รับความเสียหายอย่างมหาศาล รวมถึงภาคธุรกิจโรงแรมไทย ซึ่งสมาคมโรงแรมไทย เป็นอีกหนึง่ องค์กรทีจ่ ะต้องเดินหน้าท�าหน้าทีแ่ ละท�าประโยชน์ให้แก่สงั คม โดยเฉพาะการเป็นส่วนหนึง่ ของ การด�าเนินธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อม ด้านพลังงาน ด้านการบริหารจัดการขยะ เพื่อร่วมสร้างจิตส�านึกให้ กับนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติหันมาให้ความส�าคัญกับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
38
GreenNetwork4.0 March-April 2020
สมาคมโรงแรมไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2506 โดยคณะผู ้ บ ริ ห ารโรงแรมและเจ้ า ของโรงแรม ได้ร่วมกันจัดตั้งขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม การประกอบวิสาหกิจประเภททีเ่ กีย่ วกับธุรกิจโรงแรม และอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ส่งเสริมและสร้าง ความร่วมมืออันดีระหว่างสมาชิกของสมาคมฯ ทัง้ การ สนับสนุนและช่วยเหลือสมาชิก ปัจจุบนั มีสมาชิกจ�านวน 952 โรงแรม แบ่งเป็นโรงแรมสีเขียวทีด่ า� เนินการตาม มาตรฐานมูลนิธใิ บไม้เขียว (Green Leaf Foundation) จ�านวน 219 โรงแรม และโครงการ Green Hotel มาตรฐานจากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือ โรงแรมไทยร่วมใจลดใช้พลาสติกอีกจ�านวน 128 โรงแรม ขณะทีผ่ ปู้ ระกอบการโรงแรมไทยเข้าใจถึงความส�าคัญ ของแนวทางการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น เพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืนส�าหรับอนาคตประเทศไทย กองบรรณาธิการนิตยสาร Green Network ได้รบั เกียรติจาก อุดม ศรีมหาโชตะ กรรมการบริหาร สมาคมโรงแรมไทย และในฐานะผูป้ ระกอบการโรงแรม “บ้านทะเลดาว รีสอร์ท หัวหิน” เป็นอีกหนึ่งโรงแรม ที่ด�าเนินธุรกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเป็นไปตาม การรับรองมาตรฐาน Green Hotel ให้สมั ภาษณ์พเิ ศษ ถึงแนวทางการเดินหน้าผลักดันส่งเสริมธุรกิจโรงแรม และอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วให้เป็นไปตามมาตรฐาน ด้านบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมและการอนุรกั ษ์พลังงาน เพือ่ ต้องการให้ผปู้ ระกอบการธุรกิจโรงแรม ไม่วา่ จะเป็น โรงแรมขนาดเล็ก-ใหญ่ก็ตาม ต้องเข้ามาเป็นสมาชิก ของสมาคมโรงแรมไทย เนือ่ งจากจะได้รบั การสนับสนุน ความช่วยเหลือแก้ไขอุปสรรคต่างๆ ซึง่ จะท�าให้เกิดการ แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นซึ่งกันและกันในด้าน วิชาการทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจโรงแรม และอุตสาหกรรม การท่องเทีย่ ว อีกทัง้ การได้รบั ความร่วมมือกับภาครัฐ และเอกชนในการอ�านวยความสะดวกด้านต่างๆ และ การส่งเสริมการท�าธุรกิจโรงแรมให้อยูใ่ นมาตรฐานทีด่ ี ส� า หรั บ โครงการโรงแรมที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อม หรือ Green Hotel จากกรมส่งเสริม คุณภาพสิ่งแวดล้อมนั้น จะต้องผ่านการรับรองและ ตรวจประเมินโรงแรมทีด่ า� เนินธุรกิจได้อย่างมีศกั ยภาพ เกิดการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างคุ้มค่า และ มีประสิทธิภาพ ผูป้ ระกอบการมีการจัดการสิง่ แวดล้อม ทีด่ ี ยกระดับมาตรฐานการบริการ เพือ่ สนับสนุนให้เกิด
การบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเพื่อ เตรียมความพร้อมสถานประกอบการสู่การประเมิน มาตรฐานสิง่ แวดล้อมในระดับสากล อันจะท�าให้เกิด การพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศ อย่างยั่งยืนและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่ง เป็นสาเหตุหลักของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และปรากฏการณ์โลกร้อนที่ก�าลังกลายเป็นวิกฤต สิ่งแวดล้อมที่ส�าคัญ สมาคมโรงแรมไทยด�าเนินการผลักดันให้ สมาชิกโรงแรมเข้าร่วมโครงการ Green Hotel ต่อเนื่องมาตั้งแต่ พ.ศ. 2556-ปัจจุบัน ในปี 2562 สมาชิกผ่านเกณฑ์การรับรอง Green Hotel จ�านวน 442 โรงแรม ขณะที่ ในปี 2563 นี้ สมาชิกทีเ่ ข้าร่วม โครงการ Green Hotel ทีไ่ ด้รบั รองภายใต้กรมส่งเสริม คุณภาพสิง่ แวดล้อมแล้ว จ�านวน 70 โรงแรม พร้อม กันนี้ทางหน่วยงานสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม ยังได้สนับสนุนเพิ่มเติมให้กับ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่รับรองโรงแรม เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอีกจ�านวน 5 โรงแรม และ ผ่านเกณฑ์การตรวจมาตรฐานโรงแรมเป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อมจากองค์การบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษ เพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. จ�านวน 61 โรงแรม ซึ่งในปี 2563 นี้โรงแรม ที่ผ่านเกณฑ์การรับรอง Green Hotel รวมจ�านวน 136 โรงแรม นอกจากนี้ ผลการตรวจสอบของกรมส่งเสริม คุณภาพสิ่งแวดล้อม และสมาคมโรงแรมไทยใน เบื้องต้นจะมีการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ 2 ชุด เพื่อตรวจสอบและประเมินมาตรฐาน Green Hotel โดยเกณฑ์การพิจารณาโรงแรมที่ส่งเข้าสมัครเป็น สมาชิกโครงการ Green Hotel จะต้องผ่านเกณฑ์ การตรวจสอบดังนีค้ อื ผูป้ ระกอบการมีหนังสือรับรอง ใบอนุ ญ าตเป็ น สถานประกอบการธุ ร กิ จ โรงแรม ทีถ่ กู ต้องจากกระทรวงมหาดไทย รวมถึงจะต้องไม่ได้ รับการร้องเรียนเรื่องของสิ่งแวดล้อมจากผู้บริโภค หรือผูเ้ ข้าพักอาศัย ถ้าพบว่ามีประวัตเิ คยถูกร้องเรียน ดังกล่าว สมาคมฯ จะตัดออกจากการเป็นสมาชิกทันที เพื่ อ ให้ โ รงแรมมี ศั ก ยภาพในการบริ ห ารจั ด การ ด้านสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน และหลังจากนั้นจะมี คณะกรรมการชุดใหญ่ลงพืน้ ทีต่ รวจสอบและประเมิน โรงแรมแต่ละแห่งอีกครั้งให้เป็นไปตามมาตรฐาน Green Hotel ระดับ Gold อุดม กล่าวว่า “สิ่งที่ต้องการผลักดันและ ขับเคลื่อนเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมและอุตสาหกรรม การท่องเทีย่ ว เพือ่ ยกระดับศักยภาพด้านสิง่ แวดล้อม
และการท่องเทีย่ วให้ยงั่ ยืนได้นนั้ อันดับแรกอยากขอ ความร่วมมือผูป้ ระกอบการโรงแรมขนาดเล็ก รีสอร์ท และโฮมสเตย์ เข้าสู่การเป็นสมาชิกสมาคมฯ เพื่อจะ ได้มีมาตรฐานด้านการบริการลูกค้าที่เป็นมาตรฐาน ด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะท�าให้โรงแรมสามารถลด ค่าใช้จา่ ยพลังงานลง 50-70% เป็นมาตรการระยะยาว และอยากให้ทกุ โรงแรมจดทะเบียนเป็นรูปแบบบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนจ�ากัด เข้าสูร่ ะบบภาษีสรรพากร ระบบ ประกันสังคม และระบบ E-Payment เป็นต้น” ทัง้ นี้ “อุดม” ในอีกฐานะหนึง่ คือผูป้ ระกอบการ โรงแรม “บ้านทะเลดาว รีสอร์ท หัวหิน” ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ที่ อ�าเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ มีหอ้ งพักทัง้ หมด 32 ห้อง ซึ่งได้รับมาตรฐาน Green Hotel โดยส่วนตัว “อุดม” เป็นผูม้ หี วั ใจรักษ์สงิ่ แวดล้อม และยังสร้างจิตส�านึกให้สังคมได้ค�านึงถึงปัญหา
...วัตถุประสงค์ของโครงการ Green Hotel ต้องการ ปลูกฝังการตระหนักถึง ปัญหาสิ่งแวดล้อมร่วมกัน ตั้งแต่ผู้บริหารโรงแรม และ พนักงานทุกฝ่ายทุกระดับ
39
GreenNetwork4.0 March-April 2020
สิ่งแวดล้อมและภาวะโลกร้อนด้วยการน�าเอาระบบ 3 R (Reuse, Recycle, Reduce) มาด�าเนินการด้าน สิ่งแวดล้อมในโรงแรม เช่น ปรับเปลี่ยนขวดแชมพู หรือสบูแ่ บบรีฟลิ เพือ่ ลดการใช้พลาสติกหรือโฟมลง อีกทั้งกระบวนการปลูกพืชหมุนเวียนและผักปลอด สารพิษ กระบวนการการท�าปุย๋ หมักหรือปุย๋ ชีวภาพเอง และการบริหารจัดการเรือ่ งของระบบน�า้ เสีย การท�า น�้า EM ซึ่งมีระบบบ�าบัดน�้าเสียหรือน�้าที่ใช้แล้วกลับ มาใช้ใหม่ส�าหรับการรดน�้าในแปลงผัก เป็นต้น เป็น อีกหนึง่ นโยบายบริหารจัดการทีช่ ว่ ยประหยัดพลังงาน ไฟฟ้า ลดการใช้น�้าในโรงแรมลง และช่วยลดการใช้ ทรัพยากรของโลก ถือเป็น เรื่องที่ส�า คัญส�าหรับ โครงการ Green Hotel และการบริการเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม อุดม กล่าวเพิ่มเติมว่า “วัตถุประสงค์ของ โครงการ Green Hotel ต้องการปลูกฝังการตระหนักถึง ปัญหาสิง่ แวดล้อมร่วมกัน ตัง้ แต่ผบู้ ริหารโรงแรมและ พนักงานทุกฝ่ายทุกระดับ เพื่อเป็นการให้ค�าแนะน�า พนักงาน สร้างความตระหนักรูร้ ว่ มกันในการแก้ปญ ั หา สิ่งแวดล้อมที่พวกเขาจะได้น�านโยบายจากโรงแรม กลับไปใช้ทบี่ า้ น แนะน�าเพือ่ น ครอบครัว แนะน�าสังคม ต่อไปได้ ขณะเดียวกัน อยากให้ภาครัฐส่งเสริมและ สนับสนุนงบประมาณด�าเนินโครงการโรงแรมสีเขียว และประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานราชการหรือองค์กร ภาครัฐ หากต้องจัดกิจกรรมหรือสัมมนานอกสถานที่ ควรจัดกิจกรรมในโรงแรมทีเ่ ป็นสมาชิกของสมาคมฯ ที่ มี ม าตรฐานบริ ห ารจั ด การด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ดี เป็นการช่วยให้โรงแรมในสมาคมฯ มีรายได้เพิ่มเพื่อ น�าไปปรับปรุงพัฒนาบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ในโรงแรมต่อไป เป็นการช่วยประเทศให้ลดการใช้ พลังงานลง ถือเป็นอีกหนึง่ แนวทางการรณรงค์ และ ร่วมกันรักษาสิง่ แวดล้อมตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0” นอกจากนี้ อุดม กล่าวทิ้งท้ายเพื่อฝากไปยัง ทุกภาคส่วน ทั้งผู้ประกอบการโรงแรมขนาดเล็กใน พืน้ ทีท่ อ่ งเทีย่ วเมืองรองว่า คงต้องปรับตัวและร่วมมือ หันมาใส่ใจบริหารจัดการดูแลด้านสิ่งแวดล้อมให้ โรงแรมได้มาตรฐานสากลในแง่ของความสะอาด ความปลอดภัย การมีสุขอนามัยที่ดี การอยู่ร่วมกัน กับชุมชน สังคม และการไม่เอารัดเอาเปรียบ ขณะที่ นักท่องเทีย่ วนัน้ ก็ตอ้ งมีจติ ส�านึกไม่ทา� ลายธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม และดูแลสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วให้สวยงาม คงอยู่ เพียงเท่านี้ก็ถือเป็นความร่วมมือร่วมใจรักษา สิง่ แวดล้อม และช่วยกันอนุรกั ษ์พลังงานของประเทศ ให้เกิดความยั่งยืนได้อีกทางหนึ่ง
สภาวิศวกร จัดเสวนา “รวมพลังปัญญา แก้ปัญหาฝุ่นพิษ” ภัยพิบัติระดับชาติ
เมือ่ เร็วๆ นี้ สภาวิศวกร ระดมสมองนักวิชำกำร ภำครัฐ มหำวิทยำลัย จัดงำนเสวนำ “รวมพลังปัญญา แก้ปญ ั หา ฝุน่ พิษ” ณ โรงแรมเดอะ สุโกศล ถนนศรีอยุธยำ พร้อมเสนอทำงออกด้ำนกฎหมำย ด้ำนงำนวิจยั และด้ำนกำรวำงระบบผังเมืองใหม่ ไปยังรัฐบำลให้เร่งด�ำเนินกำรแก้ปญ ั หำฝุน่ PM2.5 เป็นภัยพิบตั ริ ะดับชำติ โดยผู้เข้ำร่วมเสวนำ ประกอบด้วย ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นำยกสภำวิศวกร และอธิกำรบดี สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง (สจล.) รศ. ดร.ประพัทธ์พงษ์ อุปลา ผูอ้ ำ� นวยกำร ส�ำนักวิจยั นวัตกรรมเมืองอัจฉริยะ (SCiRA) สจล. ดร.ประเสริฐ ตปนียางกูร เลขำธิกำรสภำวิศวกร ดร.ศิวรักษ์ ศิวโมกษธรรม ผูอ้ ำ� นวยกำรศูนย์เทคโนโลยีเพือ่ ควำมมัน่ คงของประเทศและกำรประยุกต์เชิงพำณิชย์ (NSD) สวทช. ดร.สุพฒ ั น์ หวังวงศ์วฒ ั นา ผูเ้ ชีย่ วชำญด้ำนมลพิษทำงอำกำศ สถำบันสิง่ แวดล้อมไทย ดร.เจน ชาญณรงค์ ชมรมผูร้ บั พระรำชทำนทุนมูลนิธอิ ำนันทมหิดล ศ. ดร.พิสทุ ธิ์ เพียรมนกุล รองคณบดีดำ้ นยุทธศำสตร์นวัตกรรม คณะวิศวกรรมศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ผศ. ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ ภำควิชำกำรปกครอง คณะรัฐศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย รศ.วงศ์พันธ์ ลิมปเสนีย์ วิทยำลัยพัฒนำมหำนคร มหำวิทยำลัยนวมินทรำธิรำช รศ. นพ.นิธิพัฒน์ เจียรกุล หัวหน้ำสำขำวิชำระบบทำงเดินหำยใจและวัณโรค ภำควิชำอำยุรศำสตร์ ศิริรำช
พยำบำล และ รศ. ดร.เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล หัวหน้ำศูนย์ ข้อมูลกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศ มหำวิทยำลัย เชียงใหม่
มหาวิทยาลัยศรีปทุม เปิดตัวต้นแบบ “เรือนไม้ประหยัดพลังงาน” ลดใช้พลังงาน
มหาวิทยาลัยศรีปทุม น�ำโดย ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์พุกกะมาน อธิกำรบดีมหำวิทยำลัยศรีปทุม จับมือ Big Camera และ 7 แบรนด์ดไี ซน์ชน้ั น�ำระดับประเทศ ภำยใต้ควำมร่วมมือครัง้ ส�ำคัญกับเครือข่ำยมหำวิทยำลัยประเทศญี่ปุ่น เปิดตัว “ต้นแบบ เรือนไม้ประหยัดพลังงาน - Japanese Tea Pavilion” ภำยใต้ รูปแบบกำรก่อสร้ำงและกำรเข้ำไม้ทเี่ ป็นเอกลักษณ์ ผสำนเข้ำกับ ศำสตร์และนวัตกรรมลดใช้พลังงำน
KAPI ประกาศผลผู้ชนะผลงานสีเขียวปีที่ 6 “Thailand Green Design Awards 2020”
พิธมี อบรำงวัลผูช้ นะกำรประกวด Thailand Green Design Awards 2020 ได้จดั ขึน้ โดย สถำบันค้นคว้ำและพัฒนำผลิตผลทำงกำรเกษตรและอุตสำหกรรมเกษตร มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ โดยมี ดร.จงรัก วัชรินทร์รตั น์ รักษำกำรแทนอธิกำรบดี มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ เป็นประธำน พร้อมด้วย รศ. ดร.สิงห์ อินทรชูโต หัวหน้ำ คณะผูเ้ ชีย่ วชำญ ศูนย์สร้ำงสรรค์กำรออกแบบเพือ่ สิง่ แวดล้อม คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ ผศ. ดร.อโนทัย ชลชาติภิญโญ ผู้เชี่ยวชำญด้ำนแฟชั่น และสิง่ ทอ ม.ล.คฑาทอง ทองใหญ่ นักวิชำกำรพำณิชย์เชีย่ วชำญ กรมส่งเสริมกำรค้ำ ระหว่ำงประเทศ กระทรวงพำณิชย์ และ กิตติรัตน์ ปิติพานิช ผู้อ�ำนวยกำรสถำบัน อุทยำนกำรเรียนรู้ TK Park 40
GreenNetwork4.0 March-April 2020
Magazine to Save The World
เต็ดตรา แพ้ค ครบรอบ 10 ปี จัดกิจกรรมโรดโชว์ “หลังคาเขียวเพื่อมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก”
บริษัท เต็ดตรา แพ้ค (ประเทศไทย) จ�ากัด เฉลิมฉลองกำรครบรอบ 10 ปี จัดแคมเปญโรดโชว์ทั่วประเทศ โครงกำร “หลังคาเขียวเพื่อมูลนิธิอาสา เพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก” ซึ่งเป็นโครงกำรเก็บรวบรวมและรีไซเคิลกล่องเครื่องดื่มใช้แล้วเพื่อน�ำมำผลิตเป็นแผ่นหลังคำส�ำหรับก่อสร้ำงและซ่อมแซมบ้ำนและ ทีพ่ กั พิงให้แก่ผปู้ ระสบภัยพิบตั ทิ ำงธรรมชำติและชุมชนทีไ่ ด้รบั ควำมเดือดร้อนทัว่ ประเทศไทย ปัจจุบนั โครงกำรได้ดำ� เนินกำรถึงช่วงที่ 4 โดยเริม่ ต้นมำตัง้ แต่เดือน กรกฎำคม 2562 และจะสิ้นสุดลงในเดือนมิถุนำยน 2565
สถานทูตเยอรมนี ร่วมกับ หอการค้าเยอรมัน-ไทย และ สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย ร่วมต้อนรับ คณะผู้เชี่ยวชาญ Industry 4.0 จากเยอรมนี
งาน “Night of Ideas” พร้อมเสวนาแนวทางแก้ไข ปัญหา PM2.5 และปัญหาสิ่งแวดล้อม
ฯพณฯ เกออร์ก ชมิดท์
สถำนเอกอัครรำชทูตสหพันธ์สำธำรณรัฐเยอรมนีประจ�ำประเทศไทย น�ำโดย ฯพณฯ เกออร์ก ชมิดท์ เอกอัครรำชทูตสหพันธ์สำธำรณรัฐเยอรมนี ประจ�ำประเทศไทย พร้อมด้วยตัวแทนจำกกระทรวงเศรษฐกิจและพลังงำน แห่งสหพันธ์สำธำรณรัฐเยอรมนี รวมทั้ง สุพันธุ์ มงคลสุธี ประธำนสภำ อุตสำหกรรมแห่งประเทศไทย ตลอดจนตัวแทนจำก หอการค้าเยอรมัน-ไทย องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน สถำบันไทย-เยอรมัน และ ผู้บริหำรผู้ประกอบกำรโรงงำนอุตสำหกรรมด้ำนเทคโนโลยีและนวัตกรรม ซอฟต์แวร์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เข้ำร่วมต้อนรับคณะผู้เชี่ยวชำญด้ำน Industry 4.0 ของประเทศเยอรมนี มีวตั ถุประสงค์เพือ่ พบปะหำรือแลกเปลีย่ น ถ่ำยทอดองค์ควำมรู้ระหว่ำงภำคโรงงำนอุตสำหกรรมเยอรมันและไทย เพือ่ ยกระดับโรงงำนอัจฉริยะ หรือ Smart Factory ตำมนโยบำยรัฐบำลไทย ที่ก�ำหนดแนวทำง Industry 4.0 41
สถานเอกอั ค รราชทู ต ฝรั่ ง เศสประจ� า ประเทศไทย ร่วมกับ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา ของฝรัง่ เศส และ สมาคมฝรัง่ เศสกรุงเทพ จัดงำน “ค�่าคืนแห่งความคิดที่กรุงเทพฯ” หรือ “Night of Ideas Alive Bangkok” โดยได้รับเกียรติจำก ฯพณฯ ฌัก ลาปูฌ เอกอัครรำชทูตฝรัง่ เศสประจ�ำ ฯพณฯ ฌัก ลาปูฌ ประเทศไทย กล่ำวปำฐกถำเปิดงำน นอกจำกนี้ ยังได้จัดเสวนำในหัวข้อ “กำรมีชีวิตอยู่” (Being Alive) โดยผู้เข้ำร่วมกำรเสวนำ ประกอบด้วย รศ. ดร.ไกรชาติ ตันตระการอาภา รองคณบดีฝำ่ ยทรัพยำกรกำยภำพ และสิ่งแวดล้อม คณะเวชศำสตร์เขตร้อน มหำวิทยำลัยมหิดล ศ. ดร.ศิวัช พงษ์เพียจันทร์ ผูอ้ ำ� นวยศูนย์วจิ ยั และพัฒนำกำรป้องกันและจัดกำรภัยพิบตั ิ สถำบัน นิดำ้ ผศ. ดร.นิรมล เสรีสกุล ผูอ้ ำ� นวยกำรศูนย์ออกแบบและพัฒนำเมือง จุฬำลงกรณ์ มหำวิทยำลัย วาริษา สีห่ ริ ญ ั วงศ์ สมำชิกกรีนพีซเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และผูน้ ำ� โครงกำรมลพิษทำงอำกำศในประเทศไทย Right to Clean Air และ Dr.Xavier Mari นักชีววิทยำและนักวิทยำศำสตร์ทำงทะเล สถำบันวิจัยเพื่อกำรพัฒนำของ ฝรั่งเศส ร่วมกันอภิปรำยเสนอแนวทำงแก้ไขปัญหำมลพิษทำงอำกำศสำเหตุจำก ฝุ่นละอองขนำดเล็ก PM2.5 และกำรแก้ปัญหำสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย
GreenNetwork4.0 March-April 2020
BgrimmFP.pdf
1
4/8/2563 BE
11:00 AM