รายงานสรุ ป ข้อเสนอแนะ
สาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ไม่ผา่ น การประเมินขัน้ ต้นและการประเมิน ผลปฏิบตั ิราชการ
[พิมพ์ชื่อเรื่ องรองเอกสาร] |
รายงานสรุปข้อเสนอแนะสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ “ไม่ผ่าน” การประเมินขั้นต้นและการประเมินผลปฏิบตั ิราชการ โครงการรางวัลพระปกเกล้าสาหรับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็ นเลิศ ประจาปี พ.ศ. 2560 จัดทาโดย รองศาสตราจารย์ ดร.อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
E-book File
Downloadable File
บทนำ โครงการรางวัลพระปกเกล้าสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ที่มีความเป็นเลิศประจาปี 2560 แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1) รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ประชาชน 2) รางวัลความเป็นเลิศด้านสันติสุขและการเสริมสร้างความสมานฉันท์ และ 3) รางวัลความเป็นเลิศ ด้านการเสริ มสร้ างเครื อข่ายรั ฐ เอกชน และประชาสั งคม โดยการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้น ตอนที่ 1 กำรประเมิน ขั้น ต้น คื อ การประเมิ นคุ ณสมบั ติแ ละผลปฏิ บัติ ราชการของ อปท. จากใบสมั ค รและเอกสารหลั ก ฐาน ตามกรอบตั ว ชี้ วั ด ของรางวั ล แต่ ล ะประเภท โดยคะแนนของ อปท. ทุ ก แห่ ง จะถู ก แปลงเป็ น คะแนน T-score และเปรี ย บเที ย บ กั บ เกณฑ์ ที่ ส ถาบั น พระปกเกล้ า ก าหนดเพื่ อ คั ด เลื อ ก อปท. ที่ มี คุ ณ สมบั ติ แ ละผลปฏิ บั ติ ราชการที่เหมาะสมสาหรับการประเมินในขั้นตอนที่ 2 ขั้ น ตอนที่ 2 กำรประเมิ น ผลปฏิ บั ติ ร ำชกำร คื อ การประเมิ น ผลปฏิ บั ติ ร าชการของ อปท. ที่ผ่านการคัดเลือกในขั้นตอนที่ 1 ด้วยวิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) และ การประเมิ น ความพึ ง พอใจของประชาชนภายในเขตพื้ น ที่ ข อง อปท. โดยผลคะแนนที่ อปท. แต่ล ะแห่งได้รั บ ในขั้น ตอนที่ 2 จะถูกแปลงเป็นคะแนน T-score และนาไปคูณ กั บ ค่ า ถ่ ว งน้ าหนั ก เพื่ อ ให้ ไ ด้ ค่ า คะแนนของ อปท. ที่ ส ถาบั น พระปกเกล้ า จะพิ จ ารณา มอบรางวัลต่อไป ทั้งนี้ ในปี 2560 มี อปท. 178 แห่งส่งใบสมัครและเอกสารหลักฐานเข้ารับการประเมินขั้นตอนที่ 1 แบ่งตามประเภทรางวัล ดังนี้ ประเภทที่ 1 รำงวัลสำหรับ อปท. ที่มีควำมเป็นเลิศด้ำนควำมโปร่งใสและส่งเสริมกำรมี ส่วนร่วมของประชำชน มี อปท. ส่งใบสมัครเข้าร่วมประกวด 113 แห่ง แบ่งเป็น o องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) จานวน 7 แห่ง o เทศบาล จานวน 76 แห่ง o องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) จานวน 30 แห่ง ประเภทที่ 2 รำงวัลสำหรั บ อปท. ที่มีค วำมเป็น เลิศด้ำนสัน ติสุขและกำรเสริ มสร้ำ ง ควำมสมำนฉันท์ มี อปท. ส่งใบสมัครเข้าร่วมประกวด 9 แห่งโดยไม่มี อบจ. ส่งเข้าร่วมประกวด
บทนำ o เทศบาล จานวน 6 แห่ง o อบต. จานวน 3 แห่ง ประเภทที่ 3 รำงวัลสำหรับ อปท. ที่มีควำมเป็นเลิศด้ำนกำรเสริมสร้ำงเครือข่ำยรัฐ เอกชน และประชำสังคม มี อปท. ส่งใบสมัครเข้าร่วมประกวด 56 แห่ง แบ่งเป็น o อบจ. จานวน 5 แห่ง o เทศบาล จานวน 31 แห่ง o อบต. จานวน 20 แห่ง โดยเนื้อหาสาระของรายงานฉบับนี้ประกอบด้วยรายงานสรุปผลการประเมินในแต่ละขั้นตอนของ โครงการรางวัลพระปกเกล้าสาหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศทั้ง 3 ด้าน หลังจากรายงานสรุปผลโดยสังเขปแล้ว รายงานฉบับนี้จะนาเสนอข้อเสนอแนะสาหรับ อปท. ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินของขั้นตอนต่างๆ
๒
สำรบัญ ขั้ น ตอนที่ 1 กำรประเมิ น ขั้ น ต้ น .................................................................. 1 ข้ อ เสนอแนะระดั บ องค์ ก ำรบริ ห ำรส่ ว นจั ง หวั ด (อบจ.) .............................................. 5 รางวั ล ประเภทที่ 1 รางวั ล ด้ า นความโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน .......... 7 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัดตาก จ. ตาก .................................................................................................. 7 2. องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี จ. สุพรรณบุรี.............................................................................. 9 3. องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุตรดิตถ์ จ. อุตรดิตถ์ .................................................................................. 12 รางวั ล ประเภทที่ 3 รางวั ล ด้ า นการเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และประชาสั ง คม .......... 15 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก จ. พิษณุโลก ................................................................................ 15 2. องค์การบริหารส่วนจังหวัดเลย จ. เลย.................................................................................................. 17 ข้ อ เสนอแนะระดั บ เทศบำล ................................................................................ 19 รางวั ล ประเภทที่ 1 รางวั ล ด้ า นความโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน ........ 21 1. เทศบาลนครนนทบุรี จ.นนทบุรี............................................................................................................ 21 2. เทศบาลนครปากเกร็ด จ.นนทบุรี ......................................................................................................... 24 3. เทศบาลนครแหลมฉบัง จ.ชลบุรี ........................................................................................................... 27 4. เทศบาลเมืองกาแพงเพชร จ.กาแพงเพชร ............................................................................................. 30 5. เทศบาลเมืองตาก จ.ตาก ...................................................................................................................... 33 6. เทศบาลเมืองท่าบ่อ จ.หนองคาย .......................................................................................................... 36 7. เทศบาลเมืองผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา .............................................................................................. 40 8. เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา จ.เชียงใหม่ ............................................................................................ 44 9. เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จ.ร้อยเอ็ด .......................................................................................................... 47 10. เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรี................................................................................................ 49 11. เทศบาลเมืองหัวหิน จ.ประจวบคิรีขันธ์............................................................................................... 52 12. เทศบาลตาบลขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ .................................................................................................... 55 13. เทศบาลตาบลควนเนียง จ.สงขลา ...................................................................................................... 58 14. เทศบาลตาบลค่ายหมื่นแผ้ว จ.ชัยภูมิ ................................................................................................. 61 15. เทศบาลตาบลจันดี จ.นครศรีธรรมราช ............................................................................................... 65 16. เทศบาลตาบลช่องลม จ.กาแพงเพชร ................................................................................................. 68
สำรบัญ 17. เทศบาลตาบลเชียงเพ็ง จ.อุดรธานี ..................................................................................................... 71 18. เทศบาลตาบลไชยปราการ จ.เชียงใหม่ ............................................................................................... 74 19. เทศบาลตาบลดงป่าคา จ.พิจิตร ......................................................................................................... 77 20. เทศบาลตาบลด่านซ้าย จ.เลย............................................................................................................. 80 21. เทศบาลตาบลท่าสะอาด จ.บึงกาฬ..................................................................................................... 83 22. เทศบาลตาบลนาดี จ.สมุทรสาคร ....................................................................................................... 86 23. เทศบาลตาบลนาวง จ.ตรัง ................................................................................................................. 89 24. เทศบาลตาบลนาอ้อ จ.เลย ................................................................................................................. 92 25. เทศบาลตาบลนาอาน จ.เลย............................................................................................................... 95 26. เทศบาลตาบลน้าริด จ.อุตรดิตถ์ ......................................................................................................... 98 27. เทศบาลตาบลหนองกุงศรี จ.กาฬสินธุ์ .............................................................................................. 101 28. เทศบาลตาบลหนองแหย่ง จ.เชียงใหม่ ............................................................................................. 104 29. เทศบาลตาบลบ้านเพชร จ.ชัยภูมิ ..................................................................................................... 108 30. เทศบาลตาบลบ้านไร่ จ.ราชบุรี ........................................................................................................ 111 31. เทศบาลตาบลบ้านแหลม จ.เพชรบุรี ................................................................................................ 114 32. เทศบาลตาบลบ้านแหวน จ.เชียงใหม่ ............................................................................................... 117 33. เทศบาลตาบลบัวบาน จ.กาฬสินธุ์ .................................................................................................... 119 34. เทศบาลตาบลพนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา........................................................................................ 121 35. เทศบาลตาบลพระแท่น จ.กาญจนบุรี ............................................................................................... 124 36. เทศบาลตาบลพันดอน จ.อุดรธานี .................................................................................................... 128 37. เทศบาลตาบลม่วงน้อย จ.ลาพูน ....................................................................................................... 132 38. เทศบาลตาบลมาบข่า จ.ระยอง ........................................................................................................ 135 39. เทศบาลตาบลมุก จ.มุกดาหาร ......................................................................................................... 138 40. เทศบาลตาบลแม่ขรี จ.พัทลุง ........................................................................................................... 141 41. เทศบาลตาบลแม่ทะ จ.ลาปาง.......................................................................................................... 144 42. เทศบาลตาบลเมืองทุ่งตาเสา จ.สงขลา ............................................................................................. 147 43. เทศบาลตาบลเมืองยวมใต้ จ.แม่ฮ่องสอน ......................................................................................... 150 44. เทศบาลตาบลเหมืองง่า จ.ลาพูน ...................................................................................................... 153 45. เทศบาลตาบลลานารายณ์ จ.ลพบุรี .................................................................................................. 156 46. เทศบาลตาบลวังเจ้า จ.ตาก .............................................................................................................. 160 47. เทศบาลตาบลวิชิต จ.ภูเก็ต .............................................................................................................. 163 48. เทศบาลตาบลเวียงสระ จ.สุราษฏร์ธานี ............................................................................................ 165 49. เทศบาลตาบลสันมหาพน จ.เชียงใหม่............................................................................................... 168
๔
รำยงำนสรุปข้อเสนอแนะสำหรับ อปท. ที่ไม่ผ่ำนกำรประเมิน 50. เทศบาลตาบลเสาธงหิน จ.นนทบุรี ................................................................................................... 171 51. เทศบาลตาบลห้วยกะปิ จ.ชลบุร.ี ...................................................................................................... 174 รางวั ล ประเภทที่ 2 รางวั ล ด้ า นสั น ติ สุ ข และการเสริ ม สร้ า งความสมานฉั น ท์ ..................... 177 1. เทศบาลตาบลท่าสาป จ. ยะลา ........................................................................................................... 177 2. เทศบาลตาบลศรีธาตุ จ. อุดรธานี ....................................................................................................... 180 รางวั ล ประเภทที่ 3 รางวั ล ด้ า นการเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และประชาสั ง คม........ 183 1. เทศบาลนครสุราษฏร์ธานี จ. สุราษฏร์ธานี .......................................................................................... 183 2. เทศบาลเมืองป่าตอง จ.ภูเก็ต .............................................................................................................. 185 3. เทศบาลตาบลกุดน้าใส จ. ขอนแก่น ................................................................................................... 187 4. เทศบาลตาบลกาแพง จ. ศรีสะเกษ .................................................................................................... 189 5. เทศบาลตาบลจองถนน จ.พัทลุง ......................................................................................................... 191 6. เทศบาลตาบลชมภู่ จ.เชียงใหม่ .......................................................................................................... 193 7. เทศบาลตาบลท่าผา จ.เชียงใหม่ ......................................................................................................... 195 8. เทศบาลตาบลท่าม่วง จ.ร้อยเอ็ด......................................................................................................... 197 9. เทศบาลตาบลบ้านกลาง จ.เชียงใหม่ .................................................................................................. 199 10. เทศบาลตาบลป่าเซ่า จ.อุตรดิตถ์ ...................................................................................................... 201 11. เทศบาลตาบลผ่าเสวย จ.กาฬสินธุ์ .................................................................................................... 203 12. เทศบาลตาบลฟ้าฮ่าม จ.เชียงใหม่ .................................................................................................... 205 13. เทศบาลตาบลเรณูนคร จ. นครพนม ................................................................................................ 207 14. เทศบาลตาบลห้วยข้าวก่า จ.พะเยา .................................................................................................. 209 ข้ อ เสนอแนะระดั บ องค์ ก ำรบริ ห ำรส่ ว นตำบล (อบต.) .............................................. 211 รางวั ล ประเภทที่ 1 รางวั ล ด้ า นความโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน ...... 213 1. องค์การบริหารส่วนตาบลขามเฒ่า จ.นครพนม ................................................................................... 213 2. องค์การบริหารส่วนตาบลเจดีย์ชัย จ.น่าน........................................................................................... 216 3. องค์การบริหารส่วนตาบลซา จ.ศรีสะเกษ ........................................................................................... 220 4. องค์การบริหารส่วนตาบลธารปราสาท จ.นครราชสีมา ....................................................................... 223 5. องค์การบริหารส่วนตาบลนางบวช จ.สุพรรณบุรี ................................................................................ 227 6. องค์การบริหารส่วนตาบลนาทราย จ.นครศรีธรรมราช ....................................................................... 230 7. องค์การบริหารส่วนตาบลบางคูรัด จ.นนทบุรี ..................................................................................... 233 8. องค์การบริหารส่วนตาบลบางบัวทอง จ.นนทบุรี ................................................................................ 236 9. องค์การบริหารส่วนตาบลบางวัน จ.พังงา ........................................................................................... 239 10. องค์การบริหารส่วนตาบลป่าสัก จ.เชียงราย ..................................................................................... 243
๕
สำรบัญ 11. องค์การบริหารส่วนตาบลพังเคน จ.อุบลราชธานี.............................................................................. 247 12. องค์การบริหารส่วนตาบลโพนทอง จ.ชัยภูมิ ..................................................................................... 250 13. องค์การบริหารส่วนตาบลแม่พริก จ.ลาปาง ...................................................................................... 253 14. องค์การบริหารส่วนตาบลเมืองเก่า จ.พิจิตร...................................................................................... 257 15. องค์การบริหารส่วนตาบลสามพร้าว จ.อุดรธานี ................................................................................ 260 16. องค์การบริหารส่วนตาบลสนวน จ.บุรีรัมย์ ....................................................................................... 263 17. องค์การบริหารส่วนตาบลสระตะเคียน จ.นครราชสีมา ..................................................................... 266 18. องค์การบริหารส่วนตาบลสร้างก่อ จ.อุดรธานี .................................................................................. 269 19. องค์การบริหารส่วนตาบลสวายจิก จ.บุรีรัมย์ .................................................................................... 272 20. องค์การบริหารส่วนตาบลหัวไผ่ จ.อ่างทอง ....................................................................................... 275 รางวั ล ประเภทที่ 2 รางวั ล ด้ า นสั น ติ สุ ข และการเสริ ม สร้ า งความสมานฉั น ท์ ..................... 279 1. องค์การบริหารส่วนตาบลดอนทอง จ.พิษณุโลก.................................................................................. 279 2. องค์การบริหารส่วนตาบลนาดี จ.กาฬสินธุ์.......................................................................................... 281 รางวั ล ประเภทที่ 3 รางวั ล ด้ า นการเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และประชาสั ง คม ........ 283 1. องค์การบริหารส่วนตาบลเขาดิน จ. กระบี่.......................................................................................... 283 2. องค์การบริหารส่วนตาบลคาแคน จ. ขอนแก่น ................................................................................... 285 3. องค์การบริหารส่วนตาบลท่าข้าม จ.สงขลา......................................................................................... 287 4. องค์การบริหารส่วนตาบลบริบูรณ์ จ.อุดรธานี ..................................................................................... 289 5. องค์การบริหารส่วนตาบลบางคนที จ. สมุทรสงคราม ......................................................................... 291 6. องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านตุ่น จ. พะเยา ....................................................................................... 293 7. องค์การบริหารส่วนตาบลโพทะเล จ. สิงห์บุรี ..................................................................................... 295 8. องค์การบริหารส่วนตาบลวังทอง จ. ชัยภูมิ ......................................................................................... 297 9. องค์การบริหารส่วนตาบลสุโสะ จ. ตรัง............................................................................................... 299
ขั้ น ตอนที่ 2 กำรประเมิ น ผลปฏิ บั ติ ร ำชกำร .................................................. 301 ข้ อ เสนอแนะระดั บ องค์ ก ำรบริ ห ำรส่ ว นจั ง หวั ด (อบจ.) .......................................... 305 รางวั ล ประเภทที่ 1 รางวั ล ด้ า นความโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน ...... 307 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัดบึงกาฬ จ.บึงกาฬ ...................................................................................... 307 รางวั ล ประเภทที่ 3 รางวั ล ด้ า นการเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และประชาสั ง คม........ 311 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัดยะลา จ. ยะลา .......................................................................................... 311 ข้ อ เสนอแนะระดั บ เทศบำล ................................................................................. 315 รางวั ล ประเภทที่ 1 รางวั ล ด้ า นความโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน ...... 317
๖
รำยงำนสรุปข้อเสนอแนะสำหรับ อปท. ที่ไม่ผ่ำนกำรประเมิน 1. เทศบาลเมืองชัยภูมิ จ.ชัยภูมิ............................................................................................................... 317 2. เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย จ.สมุทรปราการ .................................................................................... 320 3. เทศบาลเมืองไร่ขิง จ.นครปฐม ............................................................................................................ 323 4. เทศบาลตาบลก้อ จ.ลาพูน.................................................................................................................. 326 5. เทศบาลตาบลป่าไผ่ จ.ลาพูน .............................................................................................................. 329 6. เทศบาลตาบลปากน้าประแส จ.ระยอง ............................................................................................... 332 7. เทศบาลตาบลพระแท่นลาพระยา จ.กาญจนบุรี .................................................................................. 335 8. เทศบาลตาบลเพชรเมืองทอง จ.อ่างทอง ............................................................................................. 338 9. เทศบาลตาบลแม่ปืม จ.พะเยา ............................................................................................................ 341 10. เทศบาลตาบลสง่าบ้าน จ.เชียงใหม่................................................................................................... 345 11. เทศบาลตาบลหนองบัว จ.อุดรธานี................................................................................................... 348 12. เทศบาลตาบลหนองเรือ จ.ขอนแก่น................................................................................................. 352 รางวั ล ประเภทที่ 2 รางวั ล ด้ า นสั น ติ สุ ข และการเสริ ม สร้ า งความสมานฉั น ท์ ..................... 355 1. เทศบาลตาบลพุเตย จ.เพชรบูรณ์ ........................................................................................................ 355 2. เทศบาลตาบลกุดกว้าง จ.ขอนแก่น ..................................................................................................... 358 รางวั ล ประเภทที่ 3 รางวั ล ด้ า นการเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และประชาสั ง คม........ 361 1. เทศบาลตาบลบ่อหลวง จ.เชียงใหม่ ..................................................................................................... 361 2. เทศบาลตาบลเวียงป่าเป้า จ.เชียงราย ................................................................................................. 363 3. เทศบาลตาบลหาดเสี้ยว จ. สุโขทัย ..................................................................................................... 365 ข้ อ เสนอแนะระดั บ องค์ ก ำรบริ ห ำรส่ ว นตำบล (อบต.) ............................................ 369 รางวั ล ประเภทที่ 1 รางวั ล ด้ า นความโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน ...... 371 1. องค์การบริหารส่วนตาบลไกรนอก จ.สุโขทัย ....................................................................................... 371 2. องค์การบริหารส่วนตาบลท่าโพธิ์ จ.พิษณุโลก ..................................................................................... 374 3. องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งควายกิน จ.ระยอง .................................................................................. 377 4. องค์การบริหารส่วนตาบลพลูตาหลวง จ.ระยอง .................................................................................. 381 รางวั ล ประเภทที่ 3 รางวั ล ด้ า นการเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และประชาสั ง คม........ 385 1. องค์การบริหารส่วนตาบลสันกลาง จ. เชียงราย................................................................................... 385 2. องค์การบริหารส่วนตาบลสระ จ.พะเยา .............................................................................................. 388
๗
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น การประเมิ น ขั้ น ต้ น เป็ น การพิ จ ารณาข้ อ มู ล จากใบสมั ค รของ อปท. และเอกสารหลั ก ฐานที่ สอดคล้ องกับ แต่ล ะหมวดของรางวัล พระปกเกล้ า ผลการประเมิน ขั้นต้น พบว่า มี จานวน อปท. ที่ไม่ผ่ าน การประเมินขั้นต้น 103 แห่ง โดยมีรายละเอียดดังนี้ ประเภทที่ 1 รำงวัลควำมเป็นเลิศด้ำนควำมโปร่งใสและส่ง เสริมกำรมีส่วนร่วมของประชำชน มี อปท. ส่ งใบสมัครและเอกสารหลักฐาน จานวน 113 แห่ง โดยในจานวนนี้มี อปท. ที่ ไ ม่ผ่ำนเกณฑ์ 74 แห่ง คือ ระดับ อบจ.กาหนดเกณฑ์ค่าคะแนน T-score ร้อยละ 50 ขึ้นไป โดยมี อบจ. ส่งใบสมัครและ เอกสารหลักฐานในรางวัลประเภทนี้ จานวน 7 แห่งซึ่งผลการประเมินขั้นต้นพบว่า มี อบจ. ทีไ่ ม่ผ่ำนเกณฑ์ 3 แห่ง ระดั บ เทศบำล ก าหนดเกณฑ์ ค่ า คะแนน T-score ร้ อ ยละ 55 ขึ้ น ไป โดยมี เ ทศบาลส่ ง ใบสมัครและเอกสารหลักฐานในรางวัลประเภทนี้ จานวน 76 แห่ง ซึ่งผลการประเมิน ขั้นต้น พบว่า มีเทศบาลที่ไม่ผ่ำนเกณฑ์ 51 แห่ง ระดับ อบต. กาหนดเกณฑ์ค่าคะแนน T-score ร้อยละ 55 ขึ้นไป โดยมี อบต. ส่งใบสมัครและ เอกสารหลั ก ฐานในรางวั ล ประเภทนี้ จ านวน 30 แห่ ง ซึ่ ง ผลการประเมิ น ขั้ น ต้ น พบว่ า มี อบต. ทีไ่ ม่ผ่ำนเกณฑ์ จำนวน 20 แห่ง ประเภทที่ 2 รำงวัลควำมเป็นเลิศด้ำนสันติสุขและกำรเสริมสร้ำงควำมสมำนฉันท์ มี อปท. ส่ง ใบสมัครทั้งสิ้น 9 แห่ง โดยไม่มี อบจ. ส่งผลงานเข้าประกวด และในจานวน 9 แห่ง มี อปท. ที่ไม่ผ่ำนเกณฑ์ 4 แห่ง คือ ระดั บ เทศบำล ก าหนดเกณฑ์ ค่ า คะแนน T-score ร้ อ ยละ 50 ขึ้ น ไป โดยมี เ ทศบาลส่ ง ใบสมัครและเอกสารหลักฐานในรางวัลประเภทนี้ จานวน 6 แห่ง ซึ่งผลการประเมิน ขั้นต้น พบว่า มีเทศบาลที่ไม่ผ่ำนเกณฑ์ 2 แห่ง ระดับ อบต. กาหนดเกณฑ์ค่าคะแนน T-score ร้อยละ 50 ขึ้นไป โดยมี อบต. ส่งใบสมัคร และเอกสารหลั กฐานในรางวัล ประเภทนี้ จานวน 3 แห่ ง ซึ่งผลการประเมิน ขั้นต้น พบว่า มี อบต. ที่ไม่ผ่ำนเกณฑ์ จำนวน 2 แห่ง
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น ประเภทที่ 3 รำงวัลควำมเป็นเลิศด้ำนกำรเสริมสร้ำงเครือข่ำยรัฐ เอกชน และประชำสังคม มี อปท. ส่งใบสมัครทั้งสิ้น 56 แห่ง และจากการประเมินผลขั้นต้นมี อปท. ที่ไม่ผ่ำนเกณฑ์ 25 แห่ง คือ ระดับ อบจ. กาหนดเกณฑ์ค่าคะแนน T-score ร้อยละ 50 ขึ้นไป โดยมี อบจ. ส่งใบสมัครและ เอกสารหลักฐานในรางวัลประเภทนี้ จานวน 5 แห่งซึ่งผลการประเมินขั้นต้นพบว่า มี อบจ. ทีไ่ ม่ผ่ำนเกณฑ์ 2 แห่ง ระดั บ เทศบำล ก าหนดเกณฑ์ ค่ า คะแนน T-score ร้ อ ยละ 50 ขึ้ น ไป โดยมี เ ทศบาลส่ ง ใบสมัครและเอกสารหลักฐานในรางวัลประเภทนี้ จานวน 31 แห่ง ซึ่งผลการประเมิน ขั้นต้น พบว่า มีเทศบาลที่ไม่ผ่ำนเกณฑ์ 14 แห่ง ระดับ อบต. กาหนดเกณฑ์ค่าคะแนน T-score ร้อยละ 50 ขึ้นไป โดยมี อบต. ส่งใบสมัคร และเอกสารหลั ก ฐานในรางวัล ประเภทนี้ จานวน 20 แห่ ง ซึ่ง ผลการประเมิ น ขั้ นต้ น พบว่ า มี อบต. ทีไ่ ม่ผ่ำนเกณฑ์ จำนวน 9 แห่ง คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพในการจัดบริการสาธารณะของ อปท. ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินขั้นต้น คือ 1. อปท. ควรแต่ ง ตั้ งผู้ แ ทนกลุ่ม องค์กรสตรี ผู้ด้ อยโอกำส ผู้ พิก ำรทุพ พลภำพ และปรำชญ์ ชำวบ้ำนร่วมเป็นคณะกรรมกำรพัฒนำท้องถิ่น คณะกรรมกำรสนับสนุนแผนพัฒนำท้องถิ่น คณะกรรมกำร ประสำนแผนพั ฒ นำท้ อ งถิ่ น (ในกรณี อ งค์ ก ำรบริ ห ำรส่ ว นจั ง หวั ด ) และคณะกรรมกำรติ ด ตำมและ ประเมินผลแผนพัฒนำท้องถิ่น คณะที่ป รึ กษาพบว่า อปท. ทุ กแห่ ง ที่ ส่ งใบสมัครได้ ดาเนินการแต่ง ตั้ง คณะกรรมการพั ฒ นา ท้ อ งถิ่ น คณะกรรมการสนั บ สนุ น แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น คณะกรรมการประสานแผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น และ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นตามที่ระเบียบกฎเกณฑ์ของทางราชการกาหนดไว้ อย่างชัดเจน แต่เมื่อพิจารณาองค์ประกอบของคณะกรรมการเหล่านี้ พบว่า อปท. ส่วนใหญ่ยังขาดการชักจูง และเชิญชวนผู้ แทนกลุ่ มสตรี ผู้ ด้อยโอกาส ผู้ พิการและทุพพลภาพ ตลอดจนปราชญ์ช าวบ้ านให้ เข้ามามี ส่ ว นร่ ว มในกระบวนการก าหนดนโยบาย การน านโยบายไปปฏิ บั ติ และการติ ด ตามและประเมิ น ผล ดังนั้น อปท. จึงต้ องมีองค์ประกอบของคณะกรรมการชุดต่างๆที่ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน รวมทั้ง จัดให้มีช่องทางการสื่อสาร การแสดงความคิ ดเห็น และการมีส่ วนร่วมของประชาชนให้มีความหลากหลาย เอื้ออานวยความสะดวกให้แก่ประชาชนที่ต้องการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง และมีความทันสมัย ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีระบบบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคลอย่างเคร่งครัด 2. อปท. ควรตรำข้อบัญญัติกำรป้องกันและปรำบปรำมทุจริตคอรัปชั่น หรือมีผลผลิตที่ชัดเจน เกี่ยวกับกำรแก้ไขผลประโยชน์ทับซ้อน นอกเหนือจำกคู่มือกำรป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนหรือโครงกำร จัดประชุมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจให้แก่บุคลำกรของ อปท.
2
รำยงำนสรุปข้อเสนอแนะสำหรับ อปท. ที่ไม่ผ่ำนกำรประเมิน โดยส่วนมาก อปท. ส่ว นมากมีหลักฐานเอกสารที่แสดงให้เห็นถึง แนวทางและวิธีการเปิ ดเผย ข้อมูลด้านการเงิน การคลัง และความเสี่ยงในการบริหารงบประมาณซึ่งเป็นไปตามระเบียบกฎเกณฑ์ของ ส่ว นราชการและหน่ ว ยงานอิส ระ นอกจากนี้ ข้อสั งเกตของคณะที่ปรึกษา คือ อปท. ส่ว นมากมีโ ครงการ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการป้องกันผลประโยชน์ให้แก่บุคลากรของ อปท. ตลอดจนโครงการจัดทา คู่มือป้องกันผลประโยชน์ภายในองค์กร แต่ยังขาดหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงความยั่งยืน และการบูรณาการ ระบบป้องกันและปราบปรามทุจริตคอรัปชั่น ภายในองค์กร เช่น ข้อบัญญัติการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน เป็นต้น 3. อปท. ควรเปิ ด โอกำสให้ภ ำคประชำชนและชุ มชนมีส่ว นร่ วมในระบบกำรจัดกำรบริ กำร สำธำรณะที่นอกเหนือจำกกำรแสดงควำมคิดเห็น กำรทำประชำคม หรือกำรเข้ำร่วมกำรประชุมสภำนิติ บัญญัติของ อปท. อปท. ที่ส่งใบสมัครรางวัลพระปกเกล้าในขั้นต้น โดยส่วนมากมีโครงการและกิจกรรมหลากหลาย ที่ เ ปิ ด โอกาสให้ ป ระชาชนมี ส่ ว นร่ ว มในกระบวนการตั ด สิ น ใจเชิ ง นโยบาย แต่ ยั ง ขาดการส่ ง เสริ ม ให้ ภาคประชาชนมีส่ ว นร่ว มกับ บุ คลากรของ อปท. ในการจัดบริการสาธารณะให้ เป็นไปตามข้อบัญญัติและ นโยบายของ อปท. นอกจากนี้ อปท. ส่ ว นมากยั ง ขาดหลั ก ฐานที่ ชั ด เจนเกี่ ย วกั บ การมี ส่ วนร่ ว มของ ภาคประชาชนในการติดตามและประเมิน ผลการดาเนินงาน อย่างไรก็ตาม อปท. บางแห่งมีโครงการและ กิจกรรมรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในรูปแบบการประเมินความพึงพอใจซึ่งเป็นการสื่อสารทางเดียว (One-way Communication) และผลการประเมินความพึงพอใจในทุกกรณีก็ มีเพียงผลเชิงปริมาณและ เป็นไปในเชิงบวกเพียงอย่างเดียวโดยไม่ ก่อให้เกิด แนวทางแก้ไขปรับปรุงและพัฒนางานของ อปท. ที่เป็น รู ป ธรรม อปท. จึ ง ควรแสวงหาแนวทางการประเมิ น ผลการด าเนิ น งานเชิ ง คุ ณ ภาพและเปิ ด โอกาสให้ ภาคประชาชน ชุมชน และบุคลากร อปท. ได้สานเสวนาหารือเกี่ ยวกับปัญหาในการดาเนินงาน ข้อขัดแย้ง และแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกันซึ่งจะนาไปสู่วงจรนโยบายสาธารณะที่ยั่งยืนต่อไป 4. อปท. ควรจัดระบบส่งเสริมและอำนวยควำมสะดวกให้แก่ภำคประชำชนและกลุ่มองค์กร ทำงสังคมให้สำมำรถเสนอร่ำงข้อบัญญัติต่อสภำท้องถิ่น สาหรับหมวดกิจ การสภาท้องถิ่น อปท. ส่วนใหญ่มีเพียงโครงการและกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ ความเข้ า ใจในบทบาทของสภาท้ อ งถิ่ น ให้ แ ก่ ส มาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น แต่ ไ ม่ มี โ ครงการที่ เ สริ ม สร้ า งบทบาท ภาคประชาชนทางด้านนิติบัญญัติ ทั้งนี้ เนื่องจากการเสนอร่างข้อบัญญัติต่อสภาท้องถิ่นโดยภาคประชาชน จาเป็นต้องมีจานวนประชาชนร่วมลงชื่อมากกว่าครึ่งหนึ่งของจานวนประชาชนในเขตพื้นที่ อปท. การร่วมกัน เสนอร่างข้อบัญญัติต่อสภาท้องถิ่นสาหรับภาคประชาชนจึงจาเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจาก อปท. ซึ่งควรจัด ให้ มี ร ะบบส่ ง เสริ ม และอานวยความสะดวกให้ แ ก่ผู้ น าชุ ม ชนหรื อผู้ น าภาคประชาชนที่ ต้ อ งการเสนอร่ า ง ข้อบัญญัติต่อสภาท้องถิ่นให้สามารถเสนอร่างข้อบัญญัติได้โดยเกิดผลกระทบต่อครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ และสวัสดิภาพน้อยที่สุด
3
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น 5. อปท. ควรมีแผนพัฒนำระบบบริหำรจัดกำรข้อมูลเชิงพื้นที่ ในด้านข้อมูลข่าวสาร อปท. ส่วนใหญ่มีเพียงโครงการและกิจกรรมประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ให้แก่ประชาชนหรือการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ แต่ อปท. ยังขาดระบบบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่จึง ทาให้ขาดเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับข้อมูลสาคัญในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น เช่น ข้อ มูลสถิติความรุนแรงและ เหตุทะเลาะวิวาทในพื้นที่ เป็นต้น 6. อปท. ควรเพิ่มเติมเครือข่ำยควำมร่วมมือในกำรจัดบริกำรสำธำรณะร่วมกับ อปท. อื่นที่มี อำณำเขตติดต่อกัน โดยอำจเริ่มต้นบูรณำกำรควำมร่วมมือจำกโครงกำรหรือกิจกรรมด้ำนใดด้ำนหนึ่งที่ จำเป็นต่อกำรดำรงชีวิตของประชำชน เช่น กำรจัดกำรมูลฝอยและปฏิกูล กำรบำบัดน้ำเสีย กำรป้องกัน และควบคุมโรคภัยไข้เจ็บ เป็นต้น ในหมวดรางวั ล ส่ ง เสริ มเครื อ ข่ า ยรัฐ เอกชน และประชาสั ง คม อปท. โดยส่ ว นใหญ่ มี เ พี ย ง เครือข่ายความร่วมมือกับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรภาคธุรกิจเอกชน แต่การประสานความร่วมมื อ กับ อปท. อื่น ในเขตพื้น ที่เดี ย วกัน เพื่อ จั ด บริก ารสาธารณะร่ว มกัน อย่ างมี จากัด โดยแท้ที่จ ริง แล้ ว อปท. มี ภ ารกิ จ หน้ า ที่ ม ากมายที่ ส ามารถบู ร ณาการความร่ ว มมื อ กั บ อปท. ข้ า งเคี ย งได้ ซึ่ ง นอกจากก่ อ ให้ เ กิ ด “ความประหยัดเชิงขนาด (Economies of Scale)” แล้ว ยังจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการให้บริการ ประชาชนด้วย ได้แก่ การจัดการมูลฝอยและปฏิกูล โดยเฉพาะมูลฝอยที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (สารเคมีและ มูลฝอยติดเชื้อ) ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีขั้น สูงและงบประมาณจานวนมากในการบริหารจัดการ ทั้งนี้ หาก อปท. มากกว่า 1 แห่งสามารถร่วมมือกันตามระเบียบกฎหมายเพื่อพัฒนาระบบจัดการขยะมูลฝอยที่ ครบวงจรได้ก็จะสามารถแก้ไขปัญหาขยะล้นเมืองและสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมได้อย่างยั่งยืน ในส่วนต่อไปเป็นรายละเอียดค่าคะแนนและข้อเสนอแนะสาหรับ อปท. แต่ละแห่งที่ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมินขั้นต้นโดยแบ่งตามประเภทของ อปท. คือ อบจ. เทศบาล และ อบจ.
4
ข้อเสนอแนะ ระดับองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.)
รำงวัล ประเภทที่ 1 รำงวั ล ด้ ำ นควำมโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม กำรมี ส่ ว นร่ ว มของประชำชน 1. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดตำก จ. ตำก ผลการประเมินขั้นต้นของ อบจ. ตาก ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 48.11 คะแนน มีค่า คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 88 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบจ. ตาก ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐาน 1 หมวด คือ หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบจ. ตาก ได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบจ.ตาก ได้ 9 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบจ.ตาก ได้ 16 คะแนน ซึง่ มากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบจ.ตาก ได้ 27 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบจ.ตาก ได้ 2 คะแนน ซึ่งน้อยกว่า คะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบจ.ตาก ได้ 17 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบจ.ตาก ได้ 13 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
8
องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.)
2. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี จ. สุพรรณบุรี ผลการประเมินขั้นต้นของ อบจ. สุพรรณบุรี ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 44.81 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 88 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบจ. สุ พรรณบุรี ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐาน 3 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท., หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบจ. สุพรรณบุรี ได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบจ.สุพรรณบุรี ได้ 14 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบจ.สุพรรณบุรีได้ 13 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบจ.สุพรรณบุรี ได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
9
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบจ.สุพรรณบุรี ได้ 2 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบจ.สุพรรณบุรี ได้ 15 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบจ.สุพรรณบุรี ได้ 13 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน
10
องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมู ลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
11
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
3. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดอุตรดิตถ์ จ. อุตรดิตถ์ ผลการประเมินขั้นต้นของ อบจ. อุตรดิตถ์ ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 32.06 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 88 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบจ. อุตรดิตถ์ ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวด ที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท., หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ, หมวดที่ 5 กิจการ สภาท้องถิ่น, หมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบจ. อุตรดิตถ์ได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบจ.อุตรดิตถ์ได้ 0 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบจ.อุตรดิตถ์ได้ 0 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบจ.อุตรดิตถ์ได้ 19 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
12
องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบจ.อุตรดิตถ์ได้ 1 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบจ.อุตรดิตถ์ได้ 17 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบจ.อุตรดิตถ์ได้ 3 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่ วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
13
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
14
รำงวัล ประเภทที่ 3 รำงวั ล ด้ ำ นกำรเสริ ม สร้ ำ งเครื อ ข่ ำ ยรั ฐ เอกชน และประชำสั ง คม 1. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดพิษณุโลก จ. พิษณุโลก ผลการประเมินขั้นต้นของ อบจ. พิษณุโลกได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 46.46 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบจ. พิษณุโลกได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานทุกหมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบจ. พิษณุโลกได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม : อปท. ที่มี คะแนนสู งสุ ด ในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย อบจ.พิษณุโลกได้ 4 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริ มสร้ างศัก ยภาพและความเข้ม แข็ง ของพลเมื อง : อปท.ที่ มีค ะแนนสู งสุ ดใน หมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย อบจ.พิษณุโลก ได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : โครงการที่ มี ค วามโดดเด่ น ด้ า นเสริ มสร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และประชาสั ง คม : อปท.ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย อบจ.พิษณุโลกได้ 8 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคัญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิสั ย ทัศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ของ อปท. ของท่า นควรมี ความเชื่ อ มโยงสอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่ อ การเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และ ประชาสั ง คม โดยควรมี โ ครงการและกิ จ กรรมที่ชั ด เจนในการพั ฒ นาบุ ค ลากรภายในองค์ก รให้ มีค วามรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริ มสร้างความร่ว มมือกับองค์กรจากภาคส่ วนที่ห ลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควรพัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับองค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะ ร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอ ในการปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนใน พื้นที่ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้ องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
16
องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.)
2. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดเลย จ. เลย ผลการประเมินขั้นต้นของ อบจ. เลย ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 38.14 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และจาก กราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบจ. เลย ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานทุกหมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบจ. เลย ได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย อบจ. เลย ได้ 2 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย อบจ.เลยได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้ างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย อบจ.เลยได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
17
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน และเป็ นไปในทิศทางที่เ อื้อต่อการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชา สังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควร พัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับองค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตาม กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอใน การปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
18
ข้อเสนอแนะ ระดับเทศบำล
รำงวัล ประเภทที่ 1 รำงวั ล ด้ ำ นควำมโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม กำรมี ส่ ว นร่ ว มของประชำชน 1. เทศบำลนครนนทบุรี จ.นนทบุรี ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลนครนนทบุรี ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 44.37 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่ า เทศบาลนครนนทบุรีได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และหมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล นครนนทบุรีได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลนครนนทบุรีได้ 4 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลนครนนทบุรีได้ 12 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลนครนนทบุรี ได้ 15 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลนครนนทบุรีได้ 2 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลนครนนทบุรีได้ 12 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลนครนนทบุรีได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน
22
เทศบำล ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เ ข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที
23
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
2. เทศบำลนครปำกเกร็ด จ.นนทบุรี ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลนครปากเกร็ด ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 54.30 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่ าง) แสดงให้ เ ห็ น ว่า เทศบาลนครปากเกร็ด ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ และ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลนครปากเกร็ดได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลนครปากเกร็ดได้ 11 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลนครปากเกร็ด ได้ 13 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลนครปาก เกร็ดได้ 17 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
24
เทศบำล หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลนครปากเกร็ดได้ 5 คะแนน ซึง่ มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลนครปากเกร็ดได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลนครปากเกร็ดได้ 80 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆ ของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆ ใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ป ฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ชอบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จ ากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น
25
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา
26
เทศบำล
3. เทศบำลนครแหลมฉบัง จ.ชลบุรี ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลนครแหลมฉบัง ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 50.52 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่ าง) แสดงให้เห็ น ว่า เทศบาลนครแหลมฉบัง ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 4 การบริหาร การเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่อง ร้องเรียน ร้องทุกข์ หมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลนครแหลมฉบังได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลนครแหลมฉบังได้ 6 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลนครแหลมฉบัง ได้ 25 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
27
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลนครแหลม ฉบังได้ 16 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลนครแหลมฉบังได้ 1 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลนครแหลมฉบังได้ 15 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลนครแหลมฉบังได้ 13 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆ ของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร
28
เทศบำล นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่ มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่ งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
29
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
4. เทศบำลเมืองกำแพงเพชร จ.กำแพงเพชร ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลเมืองกาแพงเพชรได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 40.12 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่าเทศบาลเมืองกาแพงเพชรได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และหมวดที่ 7 โครงการที่มี ความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล เมืองกาแพงเพชรได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลเมืองกาแพงเพชรได้ 7 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลเมืองกาแพงเพชรได้ 15 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
30
เทศบำล หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลเมือง กาแพงเพชรได้ 12 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลเมืองกาแพงเพชรได้ 2 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลเมืองกาแพงเพชรได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลเมืองกาแพงเพชรได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
31
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่ มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
32
เทศบำล
5. เทศบำลเมืองตำก จ.ตำก ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลเมืองตาก ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 49.57 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลเมืองตาก ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และ หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลเมืองตากได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลเมืองตากได้ 9 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลเมืองตากได้ 20 คะแนน ซึ่ง มากกว่าคะแนนมาตรฐาน
33
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลเมืองตากได้ 9 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลเมืองตากได้ 0 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลเมืองตากได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลเมืองตากได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิจ กรรมที่ ชั ดเจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุจ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบที่ นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บ รายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะการ จัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนใพื้น ที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติห น้าที่ของคณะผู้ บริห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ
34
เทศบำล ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมี กิ จ กรรมและโครงการที่ ส่ ง เสริ ม ให้ ภ าคประชาชนมี ส่ ว นร่ ว มในกระบวนการนิ ติ บั ญ ญั ติ ม ากขึ้ น
35
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
6. เทศบำลเมืองท่ำบ่อ จ.หนองคำย ผลการประเมินขั้นต้น ของเทศบาลเมืองท่าบ่อได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 32.08 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็น ว่าเทศบาลเมืองท่าบ่อได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานทุก หมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็น รายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และเทศบาลเมือง ท่าบ่อได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลเมืองท่าบ่อได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลเมืองท่าบ่อได้ 6 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลเมืองท่าบ่อ ได้ 12 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
36
เทศบำล หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลเมืองท่าบ่อได้ 1 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลเมืองท่าบ่อได้ 12 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลเมืองท่าบ่อได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้ แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
37
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจั ด ท าฐานข้ อ มู ล การเงิ น การคลั ง ของ อปท. ให้ ป ระชาชนสามารถเข้ า ถึ ง และตรวจสอบ อปท. ได้ ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของท่ านให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ าที่ ด้า นนิ ติบั ญญั ติไ ด้อ ย่า งมี ประสิ ทธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บความต้ องการ ของประชาชนในพื้น ที่ โดยเฉพาะการตั้ งกระทู้เพื่ อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติห น้าที่ของคณะผู้ บริห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับ การเสนอร่ างข้อบั ญญัตินั้ น อปท.ของท่านควรให้ ความส าคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจ กรรมและโครงการที่ส่ งเสริมให้ ภ าคประชาชนมีส่ ว นร่ว มในกระบวนการนิติบัญญั ติ มากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพ สู งสุ ด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยั ง ควรดาเนินการแก้ไขปั ญหาตามข้อร้อ งเรียนร้องทุก ข์ของประชาชน ให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องให้ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง
38
เทศบำล ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
39
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
7. เทศบำลเมืองผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยำ ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลเมืองผั กไห่ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 29.25 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็น ว่าเทศบาลเมืองผักไห่ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานทุก หมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และเทศบาลเมืองผัก ไห่ได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลเมืองผักไห่ได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลเมืองผักไห่ได้ 9 คะแนน ซึ่ง ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลเมืองผักไห่ได้ 7 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
40
เทศบำล หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลเมืองผักไห่ได้ 0 คะแนน ซึ่ง ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลเมืองผักไห่ได้ 10 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลเมืองผักไห่ได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
41
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่า ยของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น
42
เทศบำล นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
43
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
8. เทศบำลเมืองเมืองแกนพัฒนำ จ.เชียงใหม่ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 48.15 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของ คะแนนมาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และ หมวดที่ 5 กิจการสภา ท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนาได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนาได้ 8 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนาได้ 21 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
44
เทศบำล หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลเมืองเมือง แกนพัฒนาได้ 7 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนาได้ 2 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนาได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนาได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิจ กรรมที่ ชั ดเจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุจ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบที่ นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บ รายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะการ จัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ
45
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมี กิ จ กรรมและโครงการที่ ส่ ง เสริ ม ให้ ภ าคประชาชนมี ส่ ว นร่ ว มในกระบวนการนิ ติ บั ญ ญั ติ ม ากขึ้ น
46
เทศบำล
9. เทศบำลเมืองร้อยเอ็ด จ.ร้อยเอ็ด ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลเมื องร้อยเอ็ด ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 54.30 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้า นล่ า ง) แสดงให้ เ ห็ น ว่า เทศบาลเมื อ งร้ อ ยเอ็ด ได้ คะแนนต่ากว่า ค่า เฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐาน 1 หมวด คือ หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดได้ 9 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดได้ 12 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
47
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลเมือง ร้อยเอ็ดได้ 22 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดได้ 5 คะแนน ซึง่ มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ว อปท. ของท่านควรให้ความสาคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนในการ ขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของภาค ส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ประกอบของตัวแทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธีการ ดาเนินงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะกลุ่มสตรี และผู้ด้อยโอกาส
48
เทศบำล
10. เทศบำลเมืองสุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรี ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 50.99 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็น ว่า เทศบาลเมืองสุ พรรณบุรี ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนน มาตรฐาน 3 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 4 การบริหาร การเงินการคลังท้องถิ่น และ หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลเมืองสุพรรณบุรีได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลเมืองสุพรรณบุรีได้ 6 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี ได้ 16 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลเมือง สุพรรณบุรีได้ 16 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
49
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี ได้ 10 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลเมืองสุพรรณบุรีได้ 14 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลเมืองสุพรรณบุรีได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆ ของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิจ กรรมที่ ชั ดเจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุจ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบที่ นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น
50
เทศบำล อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะการ จัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิ ม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารสานักงานของ อปท. และการ เปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท. ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้อง ทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที
51
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
11. เทศบำลเมืองหัวหิน จ.ประจวบคิรีขันธ์ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลเมืองหัวหินได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 46.26 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลเมืองหัวหินได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 3 หมวด คือ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล เมืองหัวหินได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลเมืองหัวหินได้ 8 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลเมืองหัวหินได้ 17 คะแนน ซึง่ มากว่าคะแนนมาตรฐาน
52
เทศบำล หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลเมืองหัวหิน ได้ 12 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลเมืองหัวหินได้ 0 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลเมืองหัวหินได้ 17 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลเมืองหัวหินได้ 13 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้ อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา มวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ
53
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่ งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
54
เทศบำล
12. เทศบำลตำบลขุนหำญ จ.ศรีสะเกษ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลขุนหาญ ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 48.63 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้า นล่ าง) แสดงให้ เห็ น ว่า เทศบาลตาบลขุนหาญ ได้ค ะแนนต่ากว่า ค่าเฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐาน 3 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 5 กิจการสภา ท้องถิ่น และ หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลขุนหาญได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลขุนหาญได้ 6 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลขุนหาญได้ 17 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบล ขุนหาญได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
55
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลขุนหาญได้ 0 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลขุนหาญได้ 14 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลขุนหาญได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด
56
เทศบำล นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที
57
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
13. เทศบำลตำบลควนเนียง จ.สงขลำ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลควนเนียง ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 48.63 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้ เห็น ว่า เทศบาลตาบลควนเนียง ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนน มาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการ สาธารณะ หมวดที่ 4 การบริ หารการเงิน การคลั งท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และ หมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลควนเนียงได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลควนเนียงได้ 7 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลควนเนียงได้ 14 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
58
เทศบำล หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบลควน เนียงได้ 18 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลควนเนียงได้ 3 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลควนเนียงได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลควนเนียงได้ 10 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมิ นผลปฏิบัติราชการ แล้ว อปท. ของท่านควรให้ความสาคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนในการ ขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของภาค ส่วนต่างๆ ใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ประกอบของตัวแทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธีการ
59
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น ดาเนินงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะกลุ่มสตรี และผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุ คลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิจ กรรมที่ ชั ดเจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุจ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบที่ นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะการ จัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
60
เทศบำล
14. เทศบำลตำบลค่ำยหมื่นแผ้ว จ.ชัยภูมิ ผลการประเมิน ขั้น ต้น ของเทศบาลตาบลค่า ยหมื่นแผ้ ว ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 14.60 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็น ว่าเทศบาลตาบลค่ายหมื่นแผ้วได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ย ของ คะแนนมาตรฐานทุกหมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็น รายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และเทศบาลตาบล ค่ายหมื่นแผ้วได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพระแท่นได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลค่ายหมื่นแผ้ว ได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบลค่าย หมื่นแผ้วได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
61
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลค่ายหมื่นแผ้ว ได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลค่ายหมื่นแผ้วได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลค่ายหมื่นแผ้วได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
62
เทศบำล หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น
63
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
64
เทศบำล
15. เทศบำลตำบลจันดี จ.นครศรีธรรมรำช ผลการประเมิน ขั้นต้นของเทศบาลตาบลจันดีได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 39.17 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่าเทศบาลเมืองกาแพงเพชรได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 4 : การบริหารการเงิน การคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่อง ร้องเรียน ร้องทุกข์ และหมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลจันดีได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลจันดีได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลจันดีได้ 9 คะแนน ซึ่ง ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
65
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบลจันดีได้ 19 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลจันดีได้ 1 คะแนน ซึ่ง ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลจันดีได้ 10 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลจันดีได้ 8 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร
66
เทศบำล นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
67
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
16. เทศบำลตำบลช่องลม จ.กำแพงเพชร ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลช่องลม ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 48.15 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้ านล่ า ง) แสดงให้ เห็ น ว่ า เทศบาลต าบลช่ อ งลม ได้ค ะแนนต่ ากว่ าค่ า เฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการ สาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และ หมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้าน ความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลช่องลมได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลช่องลมได้ 5 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลช่องลมได้ 12 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
68
เทศบำล หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบล ช่องลมได้ 15 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลช่องลมได้ 6 คะแนน ซึง่ มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลช่องลมได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลช่องลมได้ 13 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆ ของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆ ของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
69
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่ มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็ บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
70
เทศบำล
17. เทศบำลตำบลเชียงเพ็ง จ.อุดรธำนี ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลเชียงเพ็งได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 46.26 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่ า เทศบาลตาบลเชียงเพ็งได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท หมวดที่ 4 การบริหารการเงิน การคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่อง ร้องเรียน ร้องทุกข์ และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลเชียงเพ็งได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเชียงเพ็งได้ 7 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเชียงเพ็ง ได้ 16 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
71
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเชียง เพ็งได้ 17 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเชียงเพ็ง ได้ 2 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเชียงเพ็งได้ 12 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเชียงเพ็งได้ 13 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้ นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร
72
เทศบำล นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่ มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
73
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
18. เทศบำลตำบลไชยปรำกำร จ.เชียงใหม่ ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลไชยปราการได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 42.95 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลไชยปราการได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 4 การบริหารการเงิน การคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่อง และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมร้องเรียน ร้องทุกข์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลไชยปราการได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลไชยปราการได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลไชยปราการได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
74
เทศบำล หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบลไชย ปราการได้ 14 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลไชยปราการได้ 2 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลไชยปราการได้ 11 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลไชยปราการได้ 10 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้ นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร
75
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจั ดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
76
เทศบำล
19. เทศบำลตำบลดงป่ำคำ จ.พิจิตร ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลดงป่าคาได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 36.81 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็น ว่าเทศบาลตาบลดงป่าคาได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ และหมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และเทศบาลตาบลดง ป่าคาได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลดงป่าคาได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลดงป่าคาได้ 9 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
77
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบลดงป่า คาได้ 22 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลดงป่าคาได้ 1 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลดงป่าคาได้ 10 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลดงป่าคาได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
78
เทศบำล การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญ หาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
79
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
20. เทศบำลตำบลด่ำนซ้ำย จ.เลย ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลด่านซ้าย ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 47.68 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่ าง) แสดงให้ เห็ น ว่า เทศบาลตาบลด่านซ้าย ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการ สาธารณะ หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และ หมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและ การมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลด่านซ้ายได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลด่านซ้ายได้ 7 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลด่านซ้ายได้ 12 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
80
เทศบำล หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบลด่าน ซ้ายได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลด่านซ้ายได้ 1 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลด่านซ้ายได้ 17 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลด่านซ้ายได้ 13 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆ ของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆ ของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
81
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริ หาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
82
เทศบำล
21. เทศบำลตำบลท่ำสะอำด จ.บึงกำฬ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลท่าสะอาด ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 50.99 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลท่าสะอาด ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนน มาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการ สาธารณะ หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้อง ทุกข์ และ หมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลท่าสะอาดได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลท่าสะอาดได้ 7 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลท่าสะอาดได้ 15 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
83
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบลท่า สะอาดได้ 25 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลท่าสะอาดได้ 3 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลท่าสะอาดได้ 14 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลท่าสะอาดได้ 13 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆ ของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ว อปท. ของท่านควรให้ความสาคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนในการ ขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆ ของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของภาค ส่วนต่างๆ ใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ประกอบของตัวแทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธีการ
84
เทศบำล ดาเนินงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะกลุ่มสตรี และผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารสานักงานของ อปท. และการ เปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้อ งเรียนร้อง ทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้า นทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
85
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
22. เทศบำลตำบลนำดี จ.สมุทรสำคร ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลนาดีได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 44.37 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจาก กราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลนาดีได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และหมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลนาดีได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาดีได้ 4 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาดีได้ 10 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบลนาดีได้ 12 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
86
เทศบำล หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาดีได้ 1 คะแนน ซึ่ง ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาดีได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาดีได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่ วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
87
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น
88
เทศบำล
23. เทศบำลตำบลนำวง จ.ตรัง ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลนาวง ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 48.63 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลนาวง ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และ หมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใส และการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลนาวงได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาวงได้ 5 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาวงได้ 11 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
89
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาวง ได้ 12 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาวงได้ 17 คะแนน ซึง่ มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาวงได้ 17 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาวงได้ 10 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆ ของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆ ใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
90
เทศบำล การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
91
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
24. เทศบำลตำบลนำอ้อ จ.เลย ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลนาอ้อ ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 53.82 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลนาอ้อ ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 3 หมวด คือ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้ องถิ่น และ หมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลนาอ้อได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาอ้อได้ 8 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาอ้อได้ 21 คะแนน ซึง่ มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาอ้อ ได้ 18 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
92
เทศบำล หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาอ้อได้ 3 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาอ้อได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาอ้อได้ 13 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น
93
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
94
เทศบำล
25. เทศบำลตำบลนำอำน จ.เลย ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลนาอาน ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 49.57 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้า นล่ า ง) แสดงให้ เห็ น ว่า เทศบาลตาบลนาอาน ได้ ค ะแนนต่ากว่า ค่า เฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐาน 3 หมวด คือ หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และ หมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลนาอานได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่ มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาอานได้ 9 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาอานได้ 15 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบล นาอานได้ 13 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
95
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาอานได้ 5 คะแนน ซึง่ มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาอานได้ 19 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลนาอานได้ 13 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆ ของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆ ใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น
96
เทศบำล อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมี การเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
97
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
26. เทศบำลตำบลน้ำริด จ.อุตรดิตถ์ ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลน้าริดได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 42.01 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่ า เทศบาลตาบลน้าริดได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และหมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลเวียงสระได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลน้าริดได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลน้าริดได้ 7 คะแนน ซึ่ง ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบลน้าริด ได้ 9 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
98
เทศบำล หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลน้าริดได้ 1 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลน้าริดได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลน้าริดได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
99
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึ กเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่ น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น
100
เทศบำล
27. เทศบำลตำบลหนองกุงศรี จ.กำฬสินธุ์ ผลการประเมิน ขั้น ต้น ของ เทศบาลตาบลหนองกุงศรี ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 48.15 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลหนองกุงศรี ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของ คะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การ บริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และ หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลหนองกุงศรีได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลหนองกุงศรีได้ 6 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลหนองกุงศรี ได้ 12 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
101
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบล หนองกุงศรีได้ 17 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลหนองกุงศรี ได้ 6 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลหนองกุงศรีได้ 15 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลหนองกุงศรีได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆ ของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆ ของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆ ใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
102
เทศบำล การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา
103
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
28. เทศบำลตำบลหนองแหย่ง จ.เชียงใหม่ ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลหนองแหย่งได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 33.50 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลหนองแหย่งได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน ทุกหมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็น รายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และเทศบาลตาบล หนองแหย่งได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลหนองแหย่งได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลหนองแหย่งได้ 12 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบล หนองแหย่งได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
104
เทศบำล หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลหนองแหย่งได้ 3 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลหนองแหย่งได้ 14 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลหนองแหย่งได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
105
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึ กเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจั ด ท าฐานข้ อ มู ล การเงิ น การคลั ง ของ อปท. ให้ ป ระชาชนสามารถเข้ า ถึ ง และตรวจสอบ อปท. ได้ ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่ น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยั ด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
106
เทศบำล และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่ บนพื้นฐานของหลั กปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูล และถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้ หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริ ย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่ บนพื้นฐานของหลั กปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูล และถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
107
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
29. เทศบำลตำบลบ้ำนเพชร จ.ชัยภูมิ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลบ้านเพชรได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 47.21 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลบ้านเพชรได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนอื่นของ อปท หมวดที่ 4 การบริหารการเงิน การคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใส และการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลบ้านเพชรได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านเพชรได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านเพชรได้ 16 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
108
เทศบำล หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบล บ้านเพชรได้ 12 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านเพชรได้ 3 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านเพชรได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านเพชรได้ 13 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร
109
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจั ด ท าฐานข้ อ มู ล การเงิ น การคลั ง ของ อปท. ให้ ป ระชาชนสามารถเข้ า ถึ ง และตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
110
เทศบำล
30. เทศบำลตำบลบ้ำนไร่ จ.รำชบุรี ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลบ้านไร่ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 44.84 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่ า เทศบาลตาบลบ้านไร่ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และหมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และหมวดที่ 6 การเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลบ้านไร่ได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านไร่ได้ 7 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านไร่ได้ 13 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
111
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบลบ้านไร่ ได้ 11 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านไร่ได้ 3 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านไร่ได้ 15 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านไร่ได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
112
เทศบำล การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่ มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจั ด ท าฐานข้ อ มู ล การเงิ น การคลั ง ของ อปท. ให้ ป ระชาชนสามารถเข้ า ถึ ง และตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที
113
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
31. เทศบำลตำบลบ้ำนแหลม จ.เพชรบุรี ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลบ้านแหลม ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 49.57 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลบ้านแหลม ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนน มาตรฐาน 3 หมวด คือ หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และ หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลบ้านแหลมได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านแหลมได้ 9 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านแหลมได้ 15 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
114
เทศบำล หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบล บ้านแหลมได้ 14 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านแหลมได้ 2 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านแหลมได้ 19 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านแหลมได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆ ของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆ ใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ป ฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ชอบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร
115
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จ ากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น
116
เทศบำล
32. เทศบำลตำบลบ้ำนแหวน จ.เชียงใหม่ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลบ้านแหวน ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 49.57 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลบ้านแหวน ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนน มาตรฐาน 2 หมวด คื อ หมวดที่ 2 การจั ดท าแผนพั ฒ นาท้อ งถิ่นและแผนอื่ นของ อปท. และ หมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลบ้านแหวนได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่ มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านแหวนได้ 2 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านแหวนได้ 16 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบล บ้านแหวนได้ 21 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
117
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านแหวนได้ 4 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านแหวนได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านแหวนได้ 10 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆ ของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมี การเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
118
เทศบำล
33. เทศบำลตำบลบัวบำน จ.กำฬสินธุ์ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลบัวบาน ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 53.35 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้า นล่ าง) แสดงให้ เ ห็ น ว่า เทศบาลตาบลบั ว บาน ได้ค ะแนนต่ ากว่า ค่า เฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. และ หมวดที่ 5 กิจการ สภาท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลบัวบานได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบัวบานได้ 7 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบัวบานได้ 16 คะแนน ซึง่ มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบล บัวบานได้ 23 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
119
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบัวบานได้ 3 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบัวบานได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบัวบานได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้ นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆ ของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริ หาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น
120
เทศบำล
34. เทศบำลตำบลพนมสำรคำม จ.ฉะเชิงเทรำ ผลการประเมิน ขั้น ต้น ของเทศบาลตาบลพนมสารคามได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 45.79 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่ า เทศบาลตาบลพนมสารคามได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของ คะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนอื่นของ อปท หมวดที่ 3 การบริ การสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริ ห ารการเงิ นการคลั ง ท้ องถิ่น หมวดที่ 5 กิ จการสภาท้ องถิ่ น และหมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลพนมสารคามได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพนมสารคามได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพนมสารคามได้ 12 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
121
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบล พนมสารคามได้ 15 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพนมสารคามได้ 1 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพนมสารคามได้ 16 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพนมสารคามได้ 16 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
122
เทศบำล การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่ มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบั ญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที
123
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
35. เทศบำลตำบลพระแท่น จ.กำญจนบุรี ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลพระแท่นได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 26.41 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลพระแท่นได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานทุก หมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็น รายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และเทศบาลตาบล พระแท่นได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพระแท่นได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพระแท่นได้ 6 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบล พระแท่นได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
124
เทศบำล หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพระแท่นได้ 0 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพระแท่นได้ 8 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพระแท่นได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้ นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
125
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่า ยงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจั ด ท าฐานข้ อ มู ล การเงิ น การคลั ง ของ อปท. ให้ ป ระชาชนสามารถเข้ า ถึ ง และตรวจสอบ อปท. ได้ ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญั ติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่ งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
126
เทศบำล และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
127
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
36. เทศบำลตำบลพันดอน จ.อุดรธำนี ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลพันดอนได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 39.17 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลพันดอนได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน ทุกหมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลพันดอนได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพันดอนได้ 7 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพันดอนได้ 6 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบล พันดอนได้ 15 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
128
เทศบำล หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพันดอนได้ 1 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพันดอนได้ 10 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพันดอนได้ 13 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เ ข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
129
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติ บัญญัติของ อปท. ของท่ านให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ าที่ ด้า นนิ ติบั ญญั ติไ ด้อ ย่า งมี ประสิ ทธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บความต้ องการ ของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบั ญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น
130
เทศบำล นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
131
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
37. เทศบำลตำบลม่วงน้อย จ.ลำพูน ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลม่วงน้อยได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 40.59 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็น ว่าเทศบาลตาบลม่วงน้อยได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และหมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลม่วงน้อยได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลม่วงน้อยได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลม่วงน้อยได้ 3 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบล ม่วงน้อยได้ 12 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
132
เทศบำล หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลม่วงน้อยได้ 1 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลม่วงน้อยได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลม่วงน้อยได้ 16 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
133
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น
134
เทศบำล
38. เทศบำลตำบลมำบข่ำ จ.ระยอง ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลมาบข่าได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 43.90 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่ า เทศบาลตาบลมาบข่าได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการ สภาท้องถิ่น และหมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลมาบข่าได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลมาบข่าได้ 8 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลมาบข่าได้ 13 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
135
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบลมาบข่า ได้ 10 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลมาบข่าได้ 1 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลมาบข่าได้ 15 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลมาบข่าได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัย เน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญ คือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร
136
เทศบำล นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที
137
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
39. เทศบำลตำบลมุก จ.มุกดำหำร ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลมุกได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 36.81คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจาก กราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลมุกได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ และหมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลมุกได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลมุกได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลมุกได้ 12 คะแนน ซึ่ง ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
138
เทศบำล หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบลมุก ได้ 10 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลมุกได้ 9 คะแนน ซึ่ง มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลมุกได้ 10 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลมุกได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
139
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่ มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้อ งเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพ สูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้ รวดเร็ ว หรื อถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภ ายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่ว ยงานที่ เกี่ยวข้องให้ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้า นทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่ บนพื้นฐานของหลั กปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูล และถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
140
เทศบำล
40. เทศบำลตำบลแม่ขรี จ.พัทลุง ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลแม่ขรี ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 50.04 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลแม่ขรี ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจั ดทาแผนพัฒ นาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. และ หมวดที่ 3 การบริการ สาธารณะ
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลแม่ขรีได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลแม่ขรีได้ 6 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลแม่ขรีได้ 12 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
141
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบลแม่ขรี ได้ 20 คะแนน ซึ่มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลแม่ขรีได้ 4 คะแนน ซึง่ มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลแม่ขรีได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลแม่ขรีได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
142
เทศบำล การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
143
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
41. เทศบำลตำบลแม่ทะ จ.ลำปำง ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลแม่ทะ ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 47.21 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลแม่ทะ ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 3 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ และหมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลแม่ทะได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลแม่ทะได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลแม่ทะ ได้ 7 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบลแม่ทะ ได้ 18 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
144
เทศบำล หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลแม่ทะได้ 6 คะแนน ซึง่ มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลแม่ทะได้ 17 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลแม่ทะได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
145
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่า ยของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา
146
เทศบำล
42. เทศบำลตำบลเมืองทุ่งตำเสำ จ.สงขลำ ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลเมื องทุ่งตาเสาได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 44.37 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่ า เทศบาลตาบลเมืองทุ่งตาเสาได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของ คะแนนมาตรฐาน 3 หมวด คือ หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และหมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลเมืองทุ่งตาเสาได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเมืองทุ่งตาเสาได้ 8 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเมืองทุ่งตาเสาได้ 9 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
147
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบลเมือง ทุ่งตาเสาได้ 11 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเมืองทุ่งตาเสาได้ 7 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเมืองทุ่งตาเสาได้ 12 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเมืองทุ่งตาเสาได้ 16 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิ บัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อ บ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร
148
เทศบำล นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจั ด ท าฐานข้ อ มู ล การเงิ น การคลั ง ของ อปท. ให้ ป ระชาชนสามารถเข้ า ถึ ง และตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพ สูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้ รวดเร็ ว หรื อถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภ ายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่ว ยงานที่ เกี่ยวข้องให้ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที
149
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
43. เทศบำลตำบลเมืองยวมใต้ จ.แม่ฮ่องสอน ผลการประเมิน ขั้นต้น ของ เทศบาลตาบลเมืองยวมใต้ ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 48.63 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลเมืองยวมใต้ ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของ คะแนนมาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และ หมวดที่ 6 การเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลเมืองยวมใต้ได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเมืองยวมใต้ได้ 8 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเมืองยวมใต้ ได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
150
เทศบำล หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบล เมืองยวมใต้ได้ 12 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเมืองยวมใต้ ได้ 6 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเมืองยวมใต้ได้ 12 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเมืองยวมใต้ได้ 16 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิจ กรรมที่ ชั ดเจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุจ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบที่ นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึ กอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจกา ร พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อ สารทางเดี ย ว การติ ด ประกาศหน้ า อาคารส านั ก งานของ อปท. และการเปิดรับ บัตรสนเท่ห์ อปท. ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูล ข่ าวสารและการรับเรื่อง ร้ องเรี ย นร้ องทุกข์ โดยใช้เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อ สาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมี
151
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น ประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของ ประชาชนให้ร วดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที
152
เทศบำล
44. เทศบำลตำบลเหมืองง่ำ จ.ลำพูน ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลเหมืองง่า ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 49.10 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่ าง) แสดงให้เห็ นว่า เทศบาลตาบลเหมืองง่า ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนน มาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการ สาธารณะ หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และ หมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใส และการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลเหมืองง่าได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเหมืองง่าได้ 7 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเหมืองง่า ได้ 13 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
153
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบล เหมืองง่าได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเหมืองง่าได้ 3 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเหมืองง่าได้ 17 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเหมืองง่าได้ 13 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมิ นผลปฏิบัติราชการ แล้ว อปท. ของท่านควรให้ความสาคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนในการ ขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของภาค ส่วนต่างๆ ใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ประกอบของตัวแทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธีการ
154
เทศบำล ดาเนินงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะกลุ่มสตรี และผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
155
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
45. เทศบำลตำบลลำนำรำยณ์ จ.ลพบุรี ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลลานารายณ์ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 36.81 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลลานารายณ์ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน ทุกหมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลลานารายณ์ได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลลานารายณ์ได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลลานารายณ์ ได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบล ลานารายณ์ได้ 13 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
156
เทศบำล หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลลานารายณ์ได้ 1 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลลานารายณ์ได้ 13 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลลานารายณ์ได้ 8 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
157
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึ กเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติด ตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น
158
เทศบำล นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
159
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
46. เทศบำลตำบลวังเจ้ำ จ.ตำก ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลวังเจ้า ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 50.52 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้ า นล่ า ง) แสดงให้ เ ห็ น ว่ า เทศบาลต าบลวั ง เจ้ า ได้ ค ะแนนต่ ากว่ า ค่ า เฉลี่ ย ของคะแนน มาตรฐาน 3 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่ นของ อปท. หมวดที่ 4 การบริหาร การเงินการคลังท้องถิ่น และ หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลวังเจ้าได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลวังเจ้าได้ 5 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลวังเจ้าได้ 17 คะแนน ซึง่ มากกว่าคะแนนมาตรฐาน
160
เทศบำล หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบล วังเจ้าได้ 16 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลวังเจ้าได้ 3 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลวังเจ้าได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลวังเจ้าได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐา
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆ ของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร
161
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น
162
เทศบำล
47. เทศบำลตำบลวิชิต จ.ภูเก็ต ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลวิชิต ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 54.30 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลวิชิต ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 1 หมวด คือ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลวิชิตได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลวิชิตได้ 8 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลวิชิตได้ 16 คะแนน ซึ่ง มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบลวิชิต ได้ 14 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
163
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลวิชิตได้ 6 คะแนน ซึ่ง มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลวิชิตได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลวิชิตได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา
164
เทศบำล
48. เทศบำลตำบลเวียงสระ จ.สุรำษฏร์ธำนี ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลเวียงสระได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 42.01 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลเวียงสระได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และหมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารและการรับเรื่อง
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลเวียงสระได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเวียงสระได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเวียงสระได้ 4 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
165
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบล เวียงสระได้ 16 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเวียงสระได้ 1 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเวียงสระได้ 16 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเวียงสระได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
166
เทศบำล การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่ มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบั ญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที
167
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
49. เทศบำลตำบลสันมหำพน จ.เชียงใหม่ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลสันมหาพนได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 46.26 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลสันมหาพนได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และหมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลสันมหาพนได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลสันมหาพนได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลสันมหาพนได้ 14 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบล สันมหาพนได้ 10 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
168
เทศบำล หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลสันมหาพนได้ 2 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลสันมหาพนได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลสันมหาพนได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เ ข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
169
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น
170
เทศบำล
50. เทศบำลตำบลเสำธงหิน จ.นนทบุรี ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลเสาธงหินได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 44.84 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.9 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลเสาธงหินได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น และหมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนเทศบาล ตาบลเสาธงหินได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเสาธงหินได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเสาธงหิน ได้ 7 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
171
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดยเทศบาลตาบล เสาธงหินได้ 17 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเสาธงหิน ได้ 2 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเสาธงหินได้ 17 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเสาธงหินได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้ นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
172
เทศบำล การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น
173
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
51. เทศบำลตำบลห้วยกะปิ จ.ชลบุรี ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลห้วยกะปิ ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 55.72 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 74.90 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่ าง) แสดงให้ เห็ นว่า เทศบาลตาบลห้ว ยกะปิ ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. และ หมวดที่ 5 กิจการ สภาท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลห้วยกะปิได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท.ที่มี คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย เทศบาลตาบลห้วยกะปิได้ 3 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย เทศบาลตาบลห้วยกะปิ ได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
174
เทศบำล หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย เทศบาลตาบล ห้วยกะปิได้ 22 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย เทศบาลตาบลห้วยกะปิได้ 2 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย เทศบาลตาบลห้วยกะปิได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย เทศบาลตาบลห้วยกะปิได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆ ของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น
175
รำงวัล ประเภทที่ 2 รำงวั ล ด้ ำ นสั น ติ สุ ข และกำรเสริ ม สร้ ำ งควำมสมำนฉั น ท์ 1. เทศบำลตำบลท่ำสำป จ. ยะลำ ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลท่าสาป ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 37.22 คะแนนมีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 30.42 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่ าง) แสดงให้ เห็ น ว่า เทศบาลตาบลท่าสาป ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐาน 3 หมวด คื อ หมวดที่ 2 การจั ด การองค์ ก ารเพื่ อ เสริ ม สร้ า งสั น ติ สุ ข และความสมานฉั น ท์ หมวดที่ 3 การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง และหมวดที่ 4 โครงการที่มีความโดดเด่น ด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลท่าสาปได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 19 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 8.3 คะแนน โดยเทศบาลตาบลท่าสาปได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 24 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 9.8 คะแนน โดย เทศบาลตาบลท่าสาปได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 18 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.3 คะแนน โดยเทศบาลตาบลท่าสาปได้ 2 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ อปท. ของท่ า นควรก าหนดให้ ก ารเสริ ม สร้ า งสั น ติ สุ ข และความสมานฉั น ท์ เ ป็ น “วาระ” ส าคั ญ และเร่งด่วนขององค์กรและชุมชน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของ อปท. ท่านควรมีความเชื่อมโยง สอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่อ การเสริ ม สร้ า งสั นติ สุ ข และความสมานฉั น ท์ อี ก ทั้ ง ยั ง ต้ อ งมี โครงการและกิ จ กรรมที่ พัฒ นาบุ ค ลากรในองค์ ก รของท่ า นให้ มี ค วามรู้ค วามเข้า ใจและความสามารถใน การป้องกันและการบริหารจัดการความขัดแย้งภายในชุมชน ตลอดจนการเสริมสร้างความสามัคคีภายใน ชุม ชนอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและสม่ าเสมอ ประการส าคั ญ คื อ อปท. ของท่ า นควรมี ฐ านข้อ มู ล สถิ ติ ส ถานการณ์ ความรุนแรงหรือความขัดแย้งภายในชุมชน ได้แก่ สถิติสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว สถานการณ์ การทะเลาะวิวาท โดยมอบให้หน่ว ยงานภายใน อปท. หรือมีการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมระหว่างชุมชน และ อปท. ให้มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ควรมีโครงการและกิจกรรมที่ปลูกฝังจิตสานึกและสร้างความเป็นพลเมืองของสมาชิกภายใน ชุมชนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ โดยความเป็นพลเมืองสามารถปลูกฝังได้โดยการเสริมสร้างวินัย ค่านิยม ประชาธิปไตย การเคารพศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ และการเคารพในความแตกต่างและความหลากหลายของ มนุษย์ ทั้งนี้ ประชาชนจาเป็นต้องได้รับการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการป้องกัน การบริหารจัดการ ความขัดแย้ง และการเสริมสร้างความสามัคคี เฉกเช่นเดียวกับบุคลากรใน อปท. เพื่อให้สามารถบริหารจัดการ กิ จ การภายในชุ ม ชนได้ ด้ ว ยตนเองอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและความยั่ ง ยื น โดยมี อปท. ท าหน้ า ที่ เ ป็ น ผู้ไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทและความขัดแย้งในกรณีที่กรณีพิพาทและความขัดแย้งนั้นมีขอบเขตและความรุนแรง เกินความสามารถของชุมชนและประชาชนในการบริหารจัดการด้วยตนเอง หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และ พระมหากษั ตริ ย์ และการเตรี ย มความพร้ อ มสู่ ป ระชาคมอาเซีย น ตลอดจนการป้ องกัน ปราบปรามและ
178
เทศบำล ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
179
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
2. เทศบำลตำบลศรีธำตุ จ. อุดรธำนี ผลการประเมินขั้นต้นของเทศบาลตาบลศรีธาตุ ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 37.22 คะแนนมีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 30.42 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และจากกราฟ (ด้า นล่ า ง) แสดงให้ เ ห็ น ว่ า เทศบาลตาบลศรี ธ าตุ ได้ ค ะแนนต่ากว่ า ค่า เฉลี่ ย ของคะแนน มาตรฐาน 3 หมวด คื อ หมวดที่ 2 การจั ด การองค์ ก ารเพื่ อ เสริ ม สร้ า งสั น ติ สุ ข และความสมานฉั น ท์ หมวดที่ 3 การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง และหมวดที่ 4 โครงการที่มีความโดดเด่น ด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลศรีธาตุ ได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 19 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 8.3 คะแนน โดยเทศบาลตาบลศรีธาตุ ได้ 3 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 24 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 9.8 คะแนน โดย เทศบาลตาบลศรีธาตุ ได้ 4 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
180
เทศบำล หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 18 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.3 คะแนน โดย เทศบาลตาบลศรีธาตุ ได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ อปท. ของท่ า นควรก าหนดให้ ก ารเสริ ม สร้ า งสั น ติ สุ ข และความสมานฉั น ท์ เ ป็ น “วาระ” ส าคั ญ และเร่งด่วนขององค์กรและชุมชน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของ อปท. ท่านควรมีความเชื่อมโยง สอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่อ การเสริ ม สร้ า งสั นติ สุ ข และความสมานฉั น ท์ อี ก ทั้ ง ยั ง ต้ อ งมี โครงการและกิ จ กรรมที่ พัฒ นาบุ ค ลากรในองค์ ก รของท่ า นให้ มี ค วามรู้ค วามเข้า ใจและความสามารถใน การป้องกันและการบริหารจัดการความขัดแย้งภายในชุมชน ตลอดจนการเสริมสร้างความสามัคคีภายใน ชุม ชนอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและสม่ าเสมอ ประการส าคั ญ คื อ อปท. ของท่ า นควรมี ฐ านข้อ มู ล สถิ ติ ส ถานการณ์ ความรุนแรงหรือความขัดแย้งภายในชุมชน ได้แก่ สถิติสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว สถานการณ์ การทะเลาะวิวาท โดยมอบให้หน่ว ยงานภายใน อปท. หรือมีการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมระหว่างชุมชน และ อปท. ให้มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ควรมีโครงการและกิจกรรมที่ปลูกฝังจิตสานึกและสร้างความเป็นพลเมืองของสมาชิกภายใน ชุมชนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ โดยความเป็นพลเมืองสามารถปลูกฝังได้โดยการเสริมสร้างวินัย ค่านิยม ประชาธิปไตย การเคารพศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ และการเคารพในความแตกต่างและความหลากหลายของ มนุษย์ ทั้งนี้ ประชาชนจาเป็นต้องได้รับการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการป้องกัน การบริหารจัดการ ความขัดแย้ง และการเสริมสร้างความสามัคคี เฉกเช่นเดียวกับบุคลากรใน อปท. เพื่อให้สามารถบริหารจัดการ กิจการภายในชุมชนได้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพและความยั่งยืน โดยมี อปท. ทาหน้าที่เป็นผู้ไกล่เกลี่ย กรณี พิ พ าทและความขั ด แย้ ง ในกรณี ที่ ก รณี พิ พ าทและความขั ด แย้ ง นั้ น มี ข อบเขตและความรุ น แรงเกิ น ความสามารถของชุมชนและประชาชนในการบริหารจัดการด้วยตนเอง หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และ พระมหากษั ตริ ย์ และการเตรี ย มความพร้ อ มสู่ ป ระชาคมอาเซีย น ตลอดจนการป้ องกัน ปราบปรามและ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืน ขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
181
รำงวัล ประเภทที่ 3 รำงวั ล ด้ ำ นกำรเสริ ม สร้ ำ งเครื อ ข่ ำ ยรั ฐ เอกชน และประชำสั ง คม 1. เทศบำลนครสุรำษฏร์ธำนี จ. สุรำษฏร์ธำนี ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลนครสุราษฏร์ธานีได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 42.43 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลนครสุราษฏร์ธานีได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนน มาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม และ หมวดที่ 3 การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลนครสุราษฏร์ธานีได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรั ฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย เทศบาลนครสุราษฏร์ธานีได้ 2 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย เทศบาลนครสุราษฏร์ธานีได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย เทศบาลนครสุราษฏร์ธานีได้ 13 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่ อ มโยงสอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่ อ การเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และ ประชาสั ง คม โดยควรมี โ ครงการและกิ จ กรรมที่ชั ด เจนในการพั ฒ นาบุ ค ลากรภายในองค์ก รให้ มีค วามรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่ า นควรพั ฒ นาความร่ ว มมื อ แบบไม่ เ ป็ น ทางการและความร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก รภาคส่ ว นต่ า งๆ เช่ น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะ ร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอใน การปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม
184
เทศบำล
2. เทศบำลเมืองป่ำตอง จ.ภูเก็ต ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลเมืองป่าตองได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 39.63 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลเมืองป่าตองได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม และ หมวดที่ 4 โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลเมืองป่าตองได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย เทศบาลเมืองป่าตองได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย เทศบาลเมืองป่าตองได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย เทศบาลเมืองป่าตองได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
185
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน และเป็ นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชา สังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์ กรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควร พัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับองค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็น ต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตาม กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
186
เทศบำล
3. เทศบำลตำบลกุดน้ำใส จ. ขอนแก่น ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลกุดน้าใสได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 48.04 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และจากกราฟ (ด้ านล่ า ง) แสดงให้ เห็ น ว่ า เทศบาลตาบลกุด น้าใสได้ค ะแนนต่ากว่ าค่ าเฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐาน 1 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลกุดน้าใสได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย เทศบาลตาบลกุดน้าใสได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย เทศบาลตาบลกุดน้าใสได้ 7 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย เทศบาลตาบลกุดน้าใสได้ 13 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน
187
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอใน การปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่ ว มกั บ องค์ ก รภาคส่ ว นอื่ น ๆ โดยควรเน้ น เครื อ ข่ า ยการท างานที่ ใ กล้ ชิ ด กั บ องค์ ก รภาคประชาสั ง คม
188
เทศบำล
4. เทศบำลตำบลกำแพง จ. ศรีสะเกษ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลกาแพงได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 48.04 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลกาแพงได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 1 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลกาแพงได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย เทศบาลตาบลกาแพงได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย เทศบาลตาบลกาแพงได้ 6 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย เทศบาลตาบลกาแพงได้ 15 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน
189
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน และเป็ นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชา สังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควร พัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับองค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตาม กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
190
เทศบำล
5. เทศบำลตำบลจองถนน จ.พัทลุง ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลจองถนนได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 40.56 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่ าง) แสดงให้ เห็ นว่า เทศบาลตาบลจองถนนได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐานทุกหมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลจองถนนได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย เทศบาลตาบลจองถนนได้ 3 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย เทศบาลตาบลจองถนนได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย เทศบาลตาบลจองถนนได้ 10 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
191
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน และเป็ นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชา สังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควร พัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับองค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตาม กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอใน การปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
192
เทศบำล
6. เทศบำลตำบลชมภู่ จ.เชียงใหม่ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลชมภู่ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 40.56 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลชมภู่ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม และ หมวดที่ 4 โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลชมภู่ได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย เทศบาลตาบลชมภู่ได้ 4 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย เทศบาลตาบลชมภู่ได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย เทศบาลตาบลชมภู่ได้ 8 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
193
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน และเป็ นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชา สังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัด เจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควร พัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับองค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตาม กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มข อง ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
194
เทศบำล
7. เทศบำลตำบลท่ำผำ จ.เชียงใหม่ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลท่าผาได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 46.17 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลท่าผาได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม และ หมวดที่ 3 การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลท่าผาได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย เทศบาลตาบลท่าผาได้ 4 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย เทศบาลตาบลท่าผาได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย เทศบาลตาบลท่าผาได้ 15 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน
195
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่ อ มโยงสอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่ อ การเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และ ประชา สังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่ า นควรพั ฒ นาความร่ ว มมื อ แบบไม่ เ ป็ น ทางการและความร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก รภาคส่ ว นต่ า งๆ เช่ น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะ ร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอใน การปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม
196
เทศบำล
8. เทศบำลตำบลท่ำม่วง จ.ร้อยเอ็ด ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลท่าม่วงได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 28.41 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลท่าม่วงได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน ทุกหมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลท่าม่วงได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย เทศบาลตาบลท่าม่วงได้ 2 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย เทศบาลตาบลท่าม่วงได้ 3 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย เทศบาลตาบลท่าม่วงได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
197
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน และเป็ นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชา สังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควร พัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับองค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตาม กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอใน การปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
198
เทศบำล
9. เทศบำลตำบลบ้ำนกลำง จ.เชียงใหม่ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลบ้านกลางได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 42.43 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลบ้านกลางได้คะแนนต่ากว่าค่ าเฉลี่ยของคะแนน มาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม และ หมวดที่ 3 การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลบ้านกลางได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านกลางได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านกลางได้ 1 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย เทศบาลตาบลบ้านกลางได้ 14 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน
199
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน และเป็ นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชา สังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควร พัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับองค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตาม กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอใน การปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม
200
เทศบำล
10. เทศบำลตำบลป่ำเซ่ำ จ.อุตรดิตถ์ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลป่าเซ่าได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 41.50 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลป่าเซ่าได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม และ หมวดที่ 3 การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลป่าเซ่าได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย เทศบาลตาบลป่าเซ่าได้ 3 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย เทศบาลตาบลป่าเซ่าได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย เทศบาลตาบลป่าเซ่าได้ 16 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน
201
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน และเป็ นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชา สังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควร พัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับองค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตาม กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอใน การปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม
202
เทศบำล
11. เทศบำลตำบลผ่ำเสวย จ.กำฬสินธุ์ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลผ่าเสวยได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 30.28 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้า นล่ าง) แสดงให้ เห็ น ว่า เทศบาลตาบลผ่ า เสวยได้ค ะแนนต่ากว่ าค่า เฉลี่ ย ของคะแนน มาตรฐานทุกหมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลผ่าเสวยได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย เทศบาลตาบลผ่าเสวยได้ 4 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย เทศบาลตาบลผ่าเสวยได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย เทศบาลตาบลผ่าเสวยได้ 3 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
203
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน และเป็ นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชา สังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควร พัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับองค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตาม กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอใน การปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซี ยน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
204
เทศบำล
12. เทศบำลตำบลฟ้ำฮ่ำม จ.เชียงใหม่ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลฟ้าฮ่ามได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 37.76 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้า นล่ า ง) แสดงให้ เ ห็ น ว่ า เทศบาลตาบลฟ้ าฮ่ ามได้ค ะแนนต่ ากว่ าค่ า เฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม และ หมวดที่ 4 โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลฟ้าฮ่ามได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย เทศบาลตาบลฟ้าฮ่ามได้ 4 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย เทศบาลตาบลฟ้าฮ่ามได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย เทศบาลตาบลฟ้าฮ่ามได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
205
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน และเป็ นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชา สังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควร พัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับองค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตาม กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
206
เทศบำล
13. เทศบำลตำบลเรณูนคร จ. นครพนม ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลเรณูนครได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 47.10 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่ าง) แสดงให้ เห็ น ว่า เทศบาลตาบลเรณูนครได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 3 การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง และหมวดที่ 4 โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลเรณูนครได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเรณูนครได้ 10 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเรณูนครได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
207
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย เทศบาลตาบลเรณูนครได้ 10 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอใน การปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืน ขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
208
เทศบำล
14. เทศบำลตำบลห้วยข้ำวก่ำ จ.พะเยำ ผลการประเมินขั้นต้นของ เทศบาลตาบลห้วยข้าวก่าได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 45.24 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า เทศบาลตาบลห้วยข้าวก่าได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนน มาตรฐาน 1 หมวด คือ หมวดที่ 4 โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และ ประชาสังคม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เ ห็ น รายละเอี ย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ย มาตรฐาน และคะแนนที่ เทศบาลตาบลห้วยข้าวก่าได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย เทศบาลตาบลห้วยข้าวก่าได้ 8 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย เทศบาลตาบลห้วยข้าวก่าได้ 7 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย เทศบาลตาบลห้วยข้าวก่าได้ 8 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
209
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล และถอดบทเรี ย นอย่ า งสม่ าเสมอเพื่ อ ให้ อปท. อื่ น สามารถน าไปปฏิ บั ติ ไ ด้
210
ข้อเสนอแนะ ระดับองค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
รำงวัล ประเภทที่ 1 รำงวั ล ด้ ำ นควำมโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม กำรมี ส่ ว นร่ ว มของประชำชน 1. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลขำมเฒ่ำ จ.นครพนม ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. ขามเฒ่า ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 45.32 คะแนน มี ค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.31 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจาก กราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. ขามเฒ่า ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และหมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใส และการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. ขามเฒ่าได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.ขามเฒ่าได้ 8 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.ขามเฒ่า ได้ 22 คะแนน ซึ่ง มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.ขามเฒ่าได้ 8 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.ขามเฒ่า ได้ 2 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.ขามเฒ่าได้ 14 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.ขามเฒ่าได้ 0 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา
214
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติง บประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที เน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมี การเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
215
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
2. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลเจดีย์ชัย จ.น่ำน ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. เจดีย์ชัย ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 37.60 คะแนน มี ค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. เจดีย์ชัย ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 6 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหาร การเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่อง ร้องเรียน ร้องทุกข์ และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. เจดีย์ชัยได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.เจดีย์ชัยได้ 5 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.เจดีย์ชัยได้ 10 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.เจดีย์ชัยได้ 13 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
216
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.เจดีย์ชัยได้ 1 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.เจดีย์ชัยได้ 8 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.เจดีย์ชัยได้ 0 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้ นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
217
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่า ยงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติง บประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที เน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น
218
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
219
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
3. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลซำ จ.ศรีสะเกษ ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. ซา ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 53.04 คะแนน มีค่า คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. ซา ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหาร และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม การเงินการคลังท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. ซาได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.ซาได้ 6 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.ซาได้ 11 คะแนน ซึ่งน้อยกว่า คะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.ซาได้ 11 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
220
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่ า เฉลี่ ย คะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คื อ 3.58 คะแนน โดย อบต.ซ าได้ 12 คะแนน ซึง่ มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.ซาได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่ มี ค ะเนนสู ง สุ ด ในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่ า เฉลี่ ย คะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.ซาได้ 13 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
221
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่า ยของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
222
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
4. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลธำรปรำสำท จ.นครรำชสีมำ ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. ธารปราสาท ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 34.87 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. ขามเฒ่า ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐาน 6 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและ การรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมี ส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. ธารปราสาทได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.ธารปราสาทได้ 3 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.ธารปราสาทได้ 4 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
223
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.ธารปราสาทได้ 16 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.ธารปราสาทได้ 1 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.ธารปราสาทได้ 7 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.ธารปราสาทได้ 0 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้ นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
224
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง
225
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
226
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
5. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลนำงบวช จ.สุพรรณบุรี ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. นางบวช ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 47.13 คะแนน มี ค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. นางบวช ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือหมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การ บริหารการเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และหมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและ การรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. นางบวชได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.นางบวชได้ 7 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.นางบวชได้ 8 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.นางบวชได้ 10 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
227
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.นางบวชได้ 1 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.นางบวชได้ 16 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.นางบวชได้ 16 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่า งเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่ างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุม่ สตรีและผู้ด้อยโอกาส
228
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่ าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที
229
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
6. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลนำทรำย จ.นครศรีธรรมรำช ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. นาทราย ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 51.22 คะแนน มี ค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. นาทราย ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหาร การเงินการคลังท้องถิ่น และหมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. นาทรายได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.นาทรายได้ 5 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.นาทรายได้ 14 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.นาทรายได้ 12 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
230
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.นาทรายได้ 1 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.นาทรายได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.นาทรายได้ 15 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เ ข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
231
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น
232
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
7. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลบำงคูรัด จ.นนทบุรี ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. บางคูรัด ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 52.13 คะแนน มี ค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. บางคูรัด ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 5 กิจการสภา ท้องถิ่น และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม การเงินการคลัง ท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. บางคูรัดได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.บางคูรัดได้ 6 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.บางคูรัดได้ 12 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน
233
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.บางคูรัดได้ 19 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.บางคูรัดได้ 1 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.บางคูรัดได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.บางคูรัดได้ 13 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้ นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
234
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
235
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
8. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลบำงบัวทอง จ.นนทบุรี ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. บางบัวทอง ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 38.05 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. ขามเฒ่า ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. บางบัวทองได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.บางบัวทองได้ 6 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.บางบัวทองได้ 12 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.บางบัวทองได้ 4 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
236
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.บางบัว ทองได้ 5 คะแนน ซึง่ มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.บางบัวทองได้ 11 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.บางบัวทองได้ 0 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้ แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
237
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความ เหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และ การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่ น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
238
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
9. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลบำงวัน จ.พังงำ ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. บางวัน ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 43.05 คะแนน มี ค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. บางวัน ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐาน 6 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหาร การเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่อง ร้องเรียน ร้องทุกข์ และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. บางวันได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.บางวันได้ 6 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.บางวันได้ 8 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน
239
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.บางวันได้ 12 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.บางวันได้ 1 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.บางวันได้ 12 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.บางวันได้ 10 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เ ข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
240
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง
241
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
242
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
10. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลป่ำสัก จ.เชียงรำย ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. ป่าสัก ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 28.52 คะแนน มี ค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. ป่าสัก ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 6 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหาร การเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่อง ร้องเรียน ร้องทุกข์ และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. ป่าสักได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.ป่าสักได้ 0 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.ป่าสักได้ 0 คะแนน ซึ่งน้อยกว่า คะแนนมาตรฐาน
243
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.ป่าสักได้ 9 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่ า เฉลี่ ย คะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คื อ 3.58 คะแนน โดย อบต.ป่ า สั ก ได้ 0 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.ป่าสักได้ 8 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.ป่าสักได้ 0 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เ ข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
244
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง
245
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
246
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
11. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลพังเคน จ.อุบลรำชธำนี ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. พังเคน ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 46.74 คะแนน มี ค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. พังเคน ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหาร การเงินการคลังท้องถิ่น และหมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. พังเคนได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.พังเคนได้ 7 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.พังเคนได้ 15 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.พังเคนได้ 10 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
247
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.พังเคนได้ 2 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.พังเคนได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.พังเคนได้ 16 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่ วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
248
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น
249
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
12. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลโพนทอง จ.ชัยภูมิ ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. โพนทอง ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 38.96 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจาก กราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. โพนทอง ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความ โดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. โพนทองได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.โพนทองได้ 8 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.โพนทองได้ 9 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.โพนทองได้ 14 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
250
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.โพนทองได้ 1 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.โพนทองได้ 8 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.โพนทองได้ 0 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิ กจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น
251
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
252
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
13. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลแม่พริก จ.ลำปำง ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. แม่พริก ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 38.51 คะแนน มี ค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. แม่พริก ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐาน 6 หมวด คือหมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหาร การเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่อง ร้องเรียน ร้องทุกข์ และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. แม่พริกได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.แม่พริกได้ 5 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.แม่พริกได้ 11 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.แม่พริกได้ 11 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
253
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.แม่พริกได้ 1 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.แม่พริกได้ 11 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.แม่พริกได้ 0 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เ ข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
254
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น
255
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
256
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
14. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลเมืองเก่ำ จ.พิจิตร ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. เมืองเก่า ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 44.86 คะแนน มี ค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. เมืองเก่า ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหาร การเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้าน ความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. เมืองเก่าได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.เมืองเก่าได้ 5 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.เมืองเก่าได้ 6 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.เมืองเก่าได้ 14 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
257
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.เมืองเก่าได้ 1 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.เมืองเก่าได้ 17 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.เมืองเก่าได้ 10 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้ นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
258
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
259
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
15. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลสำมพร้ำว จ.อุดรธำนี ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. สามพร้าว ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 46.12 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจาก กราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. สามพร้าว ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 5 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 4 การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และหมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. สามพร้าวได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.สามพร้าวได้ 4 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.สามพร้าวได้ 8 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน
260
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.สามพร้าวได้ 11 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.สามพร้าวได้ 2 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.สามพร้าวได้ 15 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.สามพร้าวได้ 16 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้ นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
261
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโครงการและ กิ จ กรรมที่ ชั ด เจนและหลากหลายตามแผนการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ ที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่ กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการ พาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะ การจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที
262
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
16. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลสนวน จ.บุรีรัมย์ ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. สนวน ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 51.22 คะแนน มี ค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. สนวน ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 5 กิจการสภา ท้องถิ่น และหมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. สนวนได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.สนวนได้ 5 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.สนวนได้ 8 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.สนวนได้ 19 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
263
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.สนวนได้ 1 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.สนวนได้ 14 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.สนวนได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้ งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
264
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที
265
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
17. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลสระตะเคียน จ.นครรำชสีมำ ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. สระตะเคียน ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 48.95 คะแนน มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. สระตะเคียน ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 5 กิจการสภาท้องถิ่น และหมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. สระตะเคียนได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.สระตะเคียนได้ 3 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.สระตะเคียนได้ 12 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.สระตะเคียนได้ 19 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
266
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.สระตะเคียนได้ 2 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.สระตะเคียนได้ 10 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.สระตะเคียนได้ 16 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เ ข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
267
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที
268
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
18. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลสร้ำงก่อ จ.อุดรธำนี ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. สร้างก่อ ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 47.13 คะแนน มี ค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. สร้างก่อ ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือหมวดที่ 2 การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. หมวดที่ 3 การบริการสาธารณะ หมวดที่ 5 กิจการ สภาท้องถิ่น และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. สร้างก่อได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.สร้างก่อได้ 4 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.สร้างก่อได้ 9 คะแนน ซึ่งน้อย กว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.สร้างก่อได้ 24 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
269
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ย คะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.สร้างก่อ ได้ 1 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.สร้างก่อได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสู งสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.สร้างก่อได้ 0 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เ ข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส
270
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของ ท่า นให้ ส ามารถปฏิบั ติห น้ า ที่ด้ านนิ ติ บั ญ ญัติ ได้ อย่ างมีป ระสิ ท ธิภ าพและสอดคล้ องกับ ความต้อ งการของ ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของคณะผู้บริหาร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับการเสนอ ร่างข้อบัญญัตินั้น อปท.ของท่านควรให้ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
271
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
19. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลสวำยจิก จ.บุรีรัมย์ ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. สวายจิกได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 50.77 คะแนน มี ค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. สวายจิกได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 4 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น และแผนอื่ น ของ อปท. หมวดที่ 3 การบริ ก ารสาธารณะ หมวดที่ 6 การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่น ทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. สวายจิกได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต. สวายจิกได้ 5 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริ การสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.สวายจิกได้ 9 คะแนน ซึง่ น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
272
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.สวายจิกได้ 23 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ย คะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.สวายจิ กได้ 4 คะแนน ซึง่ มากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.สวายจิกได้ 15 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.สวายจิกได้ 10 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้อ งถิ่น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พัฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ มคนพิ ก ารและผู้ ด้ อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและ เครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเ คราะห์ และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนและโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ป ระกอบของตัว แทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่ กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี
273
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น การดาเนิ นงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศแบบสื่ อสารทางเดียว การติดประกาศหน้าอาคารส านักงานของ อปท. และ การเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่ มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
274
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
20. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลหัวไผ่ จ.อ่ำงทอง ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. หัวไผ่ ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 48.50 คะแนน มีค่า คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 64.3 คะแนน ของคะแนนรวม 6 หมวด และจากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. หัวไผ่ ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 3 หมวด คือ หมวดที่ 3 การบริ การสาธารณะ หมวดที่ 5 กิจ การสภาท้องถิ่น และหมวดที่ 7 โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้า น ความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. หัวไผ่ได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 15 คะแนน และ ค่าเฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 7.83 คะแนน โดย อบต.หัวไผ่ได้ 9 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 28 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ ย คะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.4 คะแนน โดย อบต.หั ว ไผ่ ได้ 13 คะแนน ซึ่ง น้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 45 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดใน หมวดนี้ ได้ 35 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 18.6 คะแนน โดย อบต.หัวไผ่ได้ 20 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน
275
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 17 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 3.58 คะแนน โดย อบต.หัวไผ่ได้ 1 คะแนนซึ่งน้อยกว่า คะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 6 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 16.88 คะแนน โดย อบต.หัวไผ่ได้ 18 คะแนน ซึ่งมากกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่ วนร่วม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะเนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 13.72 คะแนน โดย อบต.หัวไผ่ได้ 0 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 3 : การบริการสาธารณะ ภายหลังจากการกาหนดแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติราชการ แล้ ว อปท. ของท่านควรให้ ความส าคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนใน การขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่างๆใน “การคิดร่วม” “การตัดสินใจเชิงนโยบายและงบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วน ต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ ป ระกอบของตั ว แทนภาคประชาชนที่ เ ข้ า มาสู่ ก ระบวนการก าหนดแผน นโยบาย และ วิธีการดาเนินงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุม ทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มสตรีและผู้ด้อยโอกาส หมวดที่ 5 : กิจการสภาท้องถิ่น อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของท่ านให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ าที่ ด้า นนิ ติบั ญญั ติไ ด้อ ย่า งมี ประสิ ทธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บความต้ องการ ของประชาชนในพื้น ที่ โดยเฉพาะการตั้ งกระทู้เพื่ อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติห น้าที่ของคณะผู้ บริห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่างข้อบัญญัติ นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยสาหรับ การเสนอร่ างข้อบั ญญัตินั้ น อปท.ของท่านควรให้ ความส าคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่น ควรมีกิจ กรรมและโครงการที่ส่ งเสริมให้ ภ าคประชาชนมีส่ ว นร่ว มในกระบวนการนิติบัญญั ติ มากขึ้น หมวดที่ 7 : โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึ งถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง
276
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ องค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
277
รำงวัล ประเภทที่ 2 รำงวั ล ด้ ำ นสั น ติ สุ ข และกำรเสริ ม สร้ ำ งควำมสมำนฉั น ท์ 1. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลดอนทอง จ.พิษณุโลก ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. ดอนทอง ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 45.23 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 10.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และจาก กราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. ดอนทอง ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ และหมวดที่ 3 การเสริมสร้าง ศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. ดอนทองได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 19 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 8.3 คะแนน โดย อบต.ดอนทอง ได้ 7 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 24 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 9.8 คะแนน โดย อบต.ดอนทอง ได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 18 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.3 คะแนน โดย อบต.ดอนทอง ได้ 15 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ อปท. ของท่ า นควรก าหนดให้ ก ารเสริ ม สร้ า งสั น ติ สุ ข และความสมานฉั น ท์ เ ป็ น “วาระ” ส าคั ญ และเร่งด่วนขององค์กรและชุมชน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของ อปท. ท่านควรมีความเชื่อมโยง สอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่อ การเสริ ม สร้ า งสั นติ สุ ข และความสมานฉั น ท์ อี ก ทั้ ง ยั ง ต้ อ งมี โครงการและกิ จ กรรมที่ พัฒ นาบุ ค ลากรในองค์ ก รของท่ า นให้ มี ค วามรู้ค วามเข้า ใจและความสามารถใน การป้องกันและการบริหารจัดการความขัดแย้งภายในชุมชน ตลอดจนการเสริมสร้างความสามัคคีภายใน ชุม ชนอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและสม่ าเสมอ ประการส าคั ญ คื อ อปท. ของท่ า นควรมี ฐ านข้อ มู ล สถิ ติ ส ถานการณ์ ความรุนแรงหรือความขัดแย้งภายในชุมชน ได้แก่ สถิติสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว สถานการณ์ การทะเลาะวิวาท โดยมอบให้หน่ว ยงานภายใน อปท. หรือมีการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมระหว่างชุมชน และ อปท. ให้มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ควรมีโครงการและกิจกรรมที่ปลูกฝังจิตสานึกและสร้างความเป็นพลเมืองของสมาชิกภายใน ชุมชนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ โดยความเป็นพลเมืองสามารถปลูกฝังได้โดยการเสริมสร้างวินัย ค่านิยม ประชาธิปไตย การเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และการเคารพในความแตกต่างและความหลากหลายของ มนุษย์ ทั้งนี้ ประชาชนจาเป็นต้องได้รับการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการป้องกัน การบริหารจัดการ ความขัดแย้ง และการเสริมสร้างความสามัคคี เฉกเช่นเดียวกับบุคลากรใน อปท. เพื่อให้สามารถบริหารจัดการ กิ จ การภายในชุ ม ชนได้ ด้ ว ยตนเองอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและความยั่ ง ยื น โด ยมี อปท. ท าหน้ า ที่ เ ป็ น ผู้ไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทและความขัดแย้งในกรณีที่กรณีพิพาทและความขัดแย้งนั้นมีขอบเขตและความรุนแรง เกินความสามารถของชุมชนและประชาชนในการบริหารจัดการด้วยตนเอง
280
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
2. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลนำดี จ.กำฬสินธุ์ ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต.นาดี ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 43.28 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 10.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต.นาดี ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 3 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ หมวดที่ 3 การเสริมสร้าง ศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง และหมวดที่ 4 โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างสันติสุ ข และความสมานฉันท์
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. นาดี ได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 19 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 8.3 คะแนน โดย อบต.นาดี ได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริ มสร้ างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 24 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 9.8 คะแนน โดย อบต.นาดี ได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
281
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 18 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.3 คะแนน โดย อบต.นาดี ได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ อปท. ของท่ า นควรก าหนดให้ ก ารเสริ ม สร้ า งสั น ติ สุ ข และความสมานฉั น ท์ เ ป็ น “วาระ” ส าคั ญ และเร่งด่วนขององค์กรและชุมชน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของ อปท. ท่านควรมีความเชื่อมโยง สอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่อ การเสริ ม สร้ า งสั นติ สุ ข และความสมานฉั น ท์ อี ก ทั้ ง ยั ง ต้ อ งมี โครงการและกิ จ กรรมที่ พัฒ นาบุ ค ลากรในองค์ ก รของท่ า นให้ มี ค วามรู้ค วามเข้า ใจและความสามารถใน การป้องกันและการบริหารจัดการความขัดแย้งภายในชุมชน ตลอดจนการเสริมสร้างความสามัคคีภายใน ชุ ม ชนอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและสม่ าเสมอ ประการส าคั ญ คื อ อปท. ของท่ า นควรมี ฐ านข้อ มู ล สถิ ติ ส ถานการณ์ ความรุนแรงหรือความขัดแย้งภายในชุมชน ได้แก่ สถิติสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว สถานการณ์ การทะเลาะวิวาท โดยมอบให้หน่ว ยงานภายใน อปท. หรือมีการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมระหว่างชุมชน และ อปท. ให้มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ควรมีโครงการและกิจกรรมที่ปลูกฝังจิตสานึกและสร้างความเป็นพลเมืองของสมาชิกภายใน ชุมชนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ โดยความเป็นพลเมืองสามารถปลูกฝั งได้โดยการเสริมสร้างวินัย ค่านิยม ประชาธิปไตย การเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และการเคารพในความแตกต่างและความหลากหลายของ มนุษย์ ทั้งนี้ ประชาชนจาเป็นต้องได้รับการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการป้องกัน การบริหารจัดการ ความขั ด แย้ ง และการเสริ ม สร้ า งความสามั ค คี เฉกเช่ น เดี ย วกั บ บุ ค ลากรใน อปท. เพื่ อ ให้ ส ามารถ บริหารจัดการกิจการภายในชุมชนได้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพและความยั่งยืน โดยมี อปท. ทาหน้าที่ เป็ น ผู้ ไ กล่ เ กลี่ ย กรณี พิ พ าทและความขั ด แย้ ง ในกรณี ที่ ก รณี พิ พ าทและความขั ด แย้ ง นั้ น มี ข อบเขตและ ความรุนแรงเกินความสามารถของชุมชนและประชาชนในการบริหารจัดการด้วยตนเอง หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิ ติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และ พระมหากษั ตริ ย์ และการเตรี ย มความพร้ อ มสู่ ป ระชาคมอาเซีย น ตลอดจนการป้ องกัน ปราบปรามและ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
282
รำงวัล ประเภทที่ 3 รำงวั ล ด้ ำ นกำรเสริ ม สร้ ำ งเครื อ ข่ ำ ยรั ฐ เอกชน และประชำสั ง คม 1. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลเขำดิน จ. กระบี่ ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. เขาดินได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 48.26 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. เขาดินได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจั ด การองค์ก ารเพื่อ เสริ มสร้างเครือ ข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั ง คม และหมวดที่ 4 โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. เขาดินได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มี คะแนนสู ง สุ ดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่า เฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย อบต. เขาดินได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย อบต. เขาดินได้ 7 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย อบต. เขาดินได้ 8 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่ อ มโยงสอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่ อ การเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และ ประชาสั ง คม โดยควรมี โ ครงการและกิ จ กรรมที่ชั ด เจนในการพั ฒ นาบุ ค ลากรภายในองค์ก รให้ มีค วามรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้ งนี้ อปท. ของท่ า นควรพั ฒ นาความร่ ว มมื อ แบบไม่ เ ป็ น ทางการและความร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก รภาคส่ ว นต่ า งๆ เช่ น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะ ร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่ มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
284
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
2. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลคำแคน จ. ขอนแก่น ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. คาแคนได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 37.69 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. คาแคนได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานทุกหมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. คาแคนได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มี คะแนนสู ง สุ ดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่า เฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย อบต. คาแคนได้ 3 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย อบต. คาแคนได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย อบต. คาแคนได้ 8 คะแนน ซึง่ ต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
285
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่ อ มโยงสอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่ อ การเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และ ประชาสั ง คม โดยควรมี โ ครงการและกิ จ กรรมที่ชั ด เจนในการพั ฒ นาบุ ค ลากรภายในองค์ก รให้ มีค วามรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่ า นควรพั ฒ นาความร่ ว มมื อ แบบไม่ เ ป็ น ทางการและความร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก รภาคส่ ว นต่ า งๆ เช่ น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะ ร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอ ในการปลู ก ฝั ง จิ ต ส านึ ก และส่ งเสริ มการทางานในรู ปแบบเครือ ข่า ยจั ดบริก ารสาธารณะให้ แ ก่ป ระชาชน ในพื้นที่ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์ การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
286
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
3. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลท่ำข้ำม จ.สงขลำ ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. ท่าข้าม ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 46.14 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. ท่าข้ามได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 3 การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง และหมวดที่ 4 โครงการที่มีความโดดเด่น ด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. ท่าข้าม ได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย อบต. ท่าข้าม ได้ 8 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย อบต. ท่าข้าม ได้ 1 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย อบต. ท่าข้าม ได้ 10 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
287
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอ ในการปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
288
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
4. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลบริบูรณ์ จ.อุดรธำนี ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. บริบูรณ์ได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 35.57 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. บริบูรณ์ได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานทุกหมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. บริบูรณ์ได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มี คะแนนสู ง สุ ดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่า เฉลี่ ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย อบต. บริบูรณ์ได้ 3 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย อบต. บริบูรณ์ได้ 1 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย อบต. บริบูรณ์ได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
289
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่ อ มโยงสอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่ อ การเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และ ประชาสั ง คม โดยควรมี โ ครงการและกิ จ กรรมที่ชั ด เจนในการพั ฒ นาบุ ค ลากรภายในองค์ก รให้ มีค วามรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่ า นควรพั ฒ นาความร่ ว มมื อ แบบไม่ เ ป็ น ทางการและความร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก รภาคส่ ว นต่ า งๆ เช่ น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะ ร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอใน การปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล และถอดบทเรี ย นอย่ า งสม่ าเสมอเพื่ อ ให้ อปท. อื่ น สามารถน าไปปฏิ บั ติ ไ ด้
290
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
5. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลบำงคนที จ. สมุทรสงครำม ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. บางคนทีได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 38.74 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. บางคนทีได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจั ด การองค์ก ารเพื่ อเสริม สร้ างเครื อข่า ยรั ฐ เอกชน และประชาสั งคม และหมวดที่ 4 โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. บางคนทีได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย อบต. บางคนทีได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย อบต. บางคนทีได้ 6 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย อบต. บางคนทีได้ 10 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
291
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่ อ มโยงสอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่ อ การเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และ ประชาสั ง คม โดยควรมี โ ครงการและกิ จ กรรมที่ชั ด เจนในการพั ฒ นาบุ ค ลากรภายในองค์ก รให้ มีค วามรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่ า นควรพั ฒ นาความร่ ว มมื อ แบบไม่ เ ป็ น ทางการและความร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก รภาคส่ ว นต่ า งๆ เช่ น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้ น ในการจัดบริการสาธารณะ ร่วมกันซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
292
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
6. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลบ้ำนตุ่น จ. พะเยำ ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. บ้านตุ่นได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 44.03 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. บ้านตุ่นได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานทุกหมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. บ้านตุ่นได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย อบต. บ้านตุ่นได้ 2 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย อบต. บ้านตุ่นได้ 5 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย อบต. บ้านตุ่นได้ 10 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
293
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน และเป็ นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชา สังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควร พัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับองค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตาม กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอใน การปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยื นขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
294
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
7. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลโพทะเล จ. สิงห์บุรี ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. โพทะเลได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 33.46 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จาก กราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. โพทะเลได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานทุกหมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. โพทะเลได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย อบต. โพทะเลได้ 4 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย อบต. โพทะเลได้ 3 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย อบต. โพทะเลได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
295
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่ อ มโยงสอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่ อ การเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และ ประชาสั ง คม โดยควรมี โ ครงการและกิ จ กรรมที่ ชั ด เจนในการพั ฒ นาบุ ค ลากรภายในองค์ก รให้ มีค วามรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่ า นควรพั ฒ นาความร่ ว มมื อ แบบไม่ เ ป็ น ทางการและความร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก รภาคส่ ว นต่ า งๆ เช่ น ส่วนราชการ อปท. อื่ น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะ ร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอใน การปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
296
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
8. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลวังทอง จ. ชัยภูมิ ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. วังทองได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 36.63 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. วังทองได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานทุกหมวด
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้เห็นรายละเอียดคะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. วังทองได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย อบต. วังทองได้ 2 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย อบต. วังทองได้ 0 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย อบต. วังทองได้ 8 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน
297
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทัศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ของ อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่ อ มโยงสอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่ อ การเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และ ประชาสั ง คม โดยควรมี โ ครงการและกิ จ กรรมที่ชั ด เจนในการพั ฒ นาบุ ค ลากรภายในองค์ก รให้ มีค วามรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่ า นควรพั ฒ นาความร่ ว มมื อ แบบไม่ เ ป็ น ทางการและความร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก รภาคส่ ว นต่ า งๆ เช่ น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะ ร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ความต่อเนื่อง และความสม่าเสมอใน การปลูกฝังจิตสานึกและส่งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 4 : โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อ มล้ าทางสั ง คม ความเท่ า เที ย มทางเพศ ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และ ต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มีความทันสมัยตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
298
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
9. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลสุโสะ จ. ตรัง ผลการประเมินขั้นต้นของ อบต. สุโสะได้รับคะแนนการประเมินขั้นต้น T-score 46.14 คะแนน มีค่าคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานที่กาหนดไว้ 22.33 คะแนน ของคะแนนรวม 3 หมวด และ จากกราฟ (ด้านล่าง) แสดงให้เห็นว่า อบต. สุโสะได้คะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐาน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจั ด การองค์ก ารเพื่ อเสริม สร้ างเครื อข่า ยรั ฐ เอกชน และประชาสั งคม และหมวดที่ 3 การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง
นอกจากนี้ กราฟแสดงให้ เห็ น รายละเอีย ดคะแนนสู ง สุ ด คะแนนเฉลี่ ยมาตรฐาน และคะแนนที่ อบต. สุโสะได้รับในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะแนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 6.93 คะแนน โดย อบต. สุโสะได้ 2 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 10 คะเเนน และ ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 5.44 คะแนน โดย อบต. สุโสะได้ 1 คะแนน ซึ่งต่ากว่าคะแนนมาตรฐาน หมวดที่ 4 : โครงการที่ มี ค วามโดดเด่ น ด้ า นเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และประชาสั ง คม (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 20 คะเเนน และค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐานใน หมวดนี้ คือ 12.98 คะแนน โดย อบต. สุโสะได้ 16 คะแนน ซึ่งสูงกว่าคะแนนมาตรฐาน
299
ขั้นตอนที่ 1 กำรประเมินขั้นต้น
ข้อเสนอแนะ หมวดที่ 2 : การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. ของท่านควรกาหนดให้ การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสั งคมเป็น “วาระ” ส าคั ญ และเร่ ง ด่ ว นขององค์ ก รและชุ ม ชน วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และยุ ท ธศาสตร์ ข อง อปท. ท่ า นควรมี ความเชื่ อ มโยงสอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่ อ การเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และ ประชา สั ง คม โดยควรมี โ ครงการและกิ จ กรรมที่ ชั ด เจนในการพั ฒ นาบุ ค ลากรภายในองค์ ก รให้ มี ความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควรพัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับองค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะ ร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 3 : การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง อปท. ของท่า นควรมีโ ครงการและกิจ กรรมที่มีค วามหลากหลาย ความต่อ เนื่อ ง และควา ม สม่าเสมอ ในการปลูก ฝัง จิต สานึก และส่ง เสริม การทางานในรูป แบบเครือ ข่า ยจัด บริก ารสาธารณะ ให้แ ก่ป ระชาชนในพื้น ที่ร ่ว มกับ องค์ก รภาคส่ว นอื่น ๆ โดยควรเน้น เครือ ข่า ยการทางาน ที่ใ กล้ชิด กับ องค์กรภาคประชาสั งคม
300
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมิน ผลปฏิบัติรำชกำร การประเมินขั้นที่ 2 เป็นการประเมินผลปฏิบัติราชการของ อปท. ที่ผ่านการคัดเลือกในขั้นตอนที่ 1 โดยคณะที่ปรึกษาและนักวิจัยในพื้นที่ดาเนินการประเมินขั้นที่ 2 นี้ด้วยการประเมินจากการสนทนากลุ่ม (Focus Group) กับตัวแทนภาคประชาชนและกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียในแต่ล ะพื้นที่ อปท. ที่ผ่านเข้ารอบ และการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (Citizen Satisfaction Survey) ผลการประเมินขั้นที่ 2 พบว่า มี อปท. ที่ได้คะแนนรวมไม่ผ่านเกณฑ์ที่สถาบันพระปกเกล้ากาหนด จานวน 25 แห่ง ประเภทที่ 1 รำงวัลควำมเป็นเลิศด้ำนควำมโปร่งใสและส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของประชำชน มี อปท. ผ่านการประเมินขั้นต้น 39 แห่ง แบ่งเป็น อบจ. 4 แห่ง เทศบาล 25 แห่ง และ อบต. 10 แห่ง ในจานวนนี้มี อปท. ที่ไม่ผ่ำนเกณฑ์ของสถำบันพระปกเกล้ำ 17 แห่ง คือ ระดับ อบจ. สถาบันพระปกเกล้าได้ กาหนดเกณฑ์ค่าคะแนน T-score ร้อยละ 60 ขึ้นไป สาหรับ อบจ. ที่สมควรได้รับโล่รางวัล และค่าคะแนน T-score ร้อยละ 50-59 สาหรับ อบจ. ที่สมควรได้รับใบประกาศ โดยมี อบจ. ที่ผ่านการประเมินขั้นต้น 4 แห่ง ซึ่งผลการประเมินขั้นที่ 2 พบว่า อบจ. 1 แห่ง ไม่ผ่ำนเกณฑ์ (มีค่าคะแนนต่ากว่าร้อยละ 50) ระดั บเทศบำล สถาบั น พระปกเกล้ าได้ ก าหนดเกณฑ์ค่ า คะแนน T-score ร้ อยละ 60 ขึ้นไป สาหรับเทศบาลที่สมควรได้รับโล่รางวัล และค่าคะแนน T-score ร้อยละ 55-59 สาหรับเทศบาล ที่สมควรได้รับใบประกาศ โดยมีเทศบาลที่ผ่านการประเมินขั้นต้น 25 แห่ง ซึ่งผลการประเมินขั้น ที่ 2 พบว่า เทศบำล 12 แห่งไม่ผ่ำนเกณฑ์ (มีค่าคะแนนต่ากว่าร้อยละ 55) ระดับ อบต. สถาบันพระปกเกล้าได้กาหนดเกณฑ์ค่าคะแนน T-Score ร้อยละ 60 ขึ้นไปสาหรับ อบต. ที่สมควรได้รับโล่รางวัล และค่าคะแนน T-score ร้อยละ 55-59 สาหรับ อบต. ที่สมควร ได้รับใบประกาศ โดยมี อบต. ที่ผ่านการประเมินขั้นต้น 10 แห่ง ซึ่งผลการประเมินขั้นที่ 2 พบว่า อบต. 4 แห่งไม่ผ่ำนเกณฑ์ (มีค่าคะแนนต่ากว่าร้อยละ 55) ประเภทที่ 2 รำงวัลควำมเป็นเลิศด้ำนสันติสุขและกำรเสริมสร้ ำงควำมสมำนฉัน ท์ มี อปท. ผ่านการประเมินขั้นต้น 5 แห่ง แบ่งเป็นเทศบาล 4 แห่ง และ อบต. 1 แห่ง ในจานวนนี้มีเฉพาะ อปท. ประเภทเทศบำลจำนวน 2 แห่งที่ไม่ผ่ำนเกณฑ์ของสถำบันพระปกเกล้ำ ที่ได้กาหนดค่าคะแนน T-score
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร ร้อยละ 55 ขึ้นไปสาหรับ อปท. ที่สมควรได้รับโล่รางวัลประเภทที่ 2 และค่าคะแนน T-score ร้อยละ 50-54 สาหรับ อปท. ที่สมควรได้รับใบประกาศ ประเภทที่ 3 รำงวัลควำมเป็นเลิศด้ำนกำรเสริมสร้ำงเครือข่ำยรัฐ เอกชน และประชำสังคม มี อปท. ผ่านการประเมินขั้นต้น 31 แห่ง แบ่งเป็น อบจ. 3 แห่ง เทศบาล 17 แห่ง และ อบต. 11 แห่ง โดยมี อปท. จำนวน 6 แห่ง ที่ไม่ผ่ำนเกณฑ์ คือ ระดับ อบจ. สถาบันพระปกเกล้าได้กาหนดเกณฑ์ค่าคะแนน T-score ร้อยละ 60 ขึ้นไปสาหรับ อบจ. ที่สมควรได้รับโล่รางวัล และค่าคะแนน T-score ร้อยละ 50-59 สาหรับเทศบาลที่สมควร ได้รับใบประกาศ ซึ่งผลการประเมินขั้นตอนที่ 2 พบว่า มี อบจ. ที่ไม่ผ่ำนเกณฑ์ 1 แห่ง ระดับเทศบำล สถาบันพระปกเกล้าได้กาหนดเกณฑ์ค่าคะแนน T-score ร้อยละ 55 ขึ้นไป สาหรับเทศบาลที่สมควรได้รับโล่รางวัล และค่าคะแนน T-score ร้อยละ 50-54 สาหรับเทศบาล ที่สมควรได้รับใบประกาศ ซึ่งผลการประเมินขั้นตอนที่ 2 พบว่า มี เทศบำลที่ไม่ผ่ำนเกณฑ์ 3 แห่ง ระดับ อบต. สถาบันพระปกเกล้าได้กาหนดเกณฑ์ค่าคะแนน T-score ร้อยละ 55 ขึ้นไปสาหรับ อบต. ที่สมควรได้รับโล่รางวัล และค่าคะแนน T-score ร้อยละ 50-54 สาหรับ อบต. ที่สมควร ได้รับใบประกาศ ซึ่งผลการประเมินขั้นตอนที่ 2 พบว่า มี อบต. ที่ไม่ผ่ำนเกณฑ์ 2 แห่ง คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพในการจัดบริการสาธารณะของ อปท. ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินขั้นที่สอง ดังนี้ 1. อปท. ควรมี ก ระบวนกำรเสริ ม สร้ ำ งศั ก ยภำพควำมเข้ ม แข็ ง ของบุ ค ลำกร อปท. และ ภำคประชำชนให้สำมำรถปฏิบัติหน้ำที่เป็นภำคีเครือข่ำยสำคัญทำงด้ำนนิติบัญญัติ (กิจกำรสภำท้องถิ่น) และสำมำรถช่วยเหลือ อปท. ขับเคลื่อนนโยบำยและโครงกำรในด้ำนต่ำงๆ 1.1 อปท. ควรพิจารณาปรับปรุงกระบวนงานที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนากระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทาบริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น 1.2 อปท. ควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการทางาน และบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ และควรเปิ ด โอกาสให้ ป ระชาชน องค์ ก รชุ ม ชน และ ภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุมสภานิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารือกับ นายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็นสาคัญของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ นอกจากนี้ ควรส่ ง เสริ ม และเสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ ต่ อ สภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็น เวทีสานเสวนาทาประชาพิจารณ์เพื่อกาหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนา หรือจัดลาดับ
302
สรุปผลกำรประเมินขั้นตอนที่ 2 ความสาคัญของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจ ของประชาชนที่มี ต่ อบริ ก ารสาธารณะของ อปท. เพื่อ น าผลการประเมิน มาใช้ป รั บปรุ ง กระบวนการทางานของ อปท. 2. อปท. ควรให้ควำมสำคัญในกำรขับเคลื่อนนโยบำยและยุทธศำสตร์กำรป้องกันและปรำบปรำม กำรทุจริตอย่ำงเป็นรูปธรรม อปท. ควรเสริ มสร้ างภาพลั ก ษณ์ ด้านธรรมาภิบ าลและความโปร่ง ใสของกระบวนการปฏิบั ติ ราชการโดยประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการชาระภาษีอาการและค่าธรรมเนียมของ อปท. รายรับ รายจ่ายตามข้อบัญญัติงบประมาณประจาปีของ อปท. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุครุภัณฑ์ของ อปท. ตลอดจน ข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับการประชุมสภานิติบัญญัติของ อปท. ได้แก่ วันและเวลาการประชุม ญัตติต่างๆ และมติ ที่ประชุมสภา นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรมีวิธีการที่หลากหลายและชัดเจนเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริต คอรัปชั่นภายในองค์กร โดยเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้ ประชาชนมีความพึงพอใจใน ภาพลักษณ์และความโปร่งใสของ อปท. ของท่าน และยินดีสนับสนุนกิจกรรมต่างๆของ อปท. รวมทั้งการชาระ ภาษีและค่าธรรมเนียมตามที่ อปท. กาหนด 3. กำรกำหนดยุทธศำสตร์ แผนงำน และโครงกำรของ อปท. ควรตั้งอยู่บนหลักวิชำกำรและมี ทิศทำงที่ชัดเจน อปท. ควรทบทวนยุ ทธศำสตร์ แผนงำน และโครงกำรต่ำงๆอยู่เป็นประจำและต่อเนื่อง และมีระบบจัดกำรองค์ควำมรู้เพื่อถ่ำยทอดให้แก่ชุมชนและ อปท. อื่น 3.1 อปท. ควรมี ทิ ศ ทางที่ ชั ด เจนในการก าหนดนโยบายและโครงการที่ เ ป็ น นวั ต กรรม มีก ลุ่ ม เป้ า หมายที่ ชั ดเจนในการพั ฒ นาและให้ บ ริก ารในโครงการนวัต กรรม รวมทั้ งควร ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง สภาพปั ญ หาและผลกระทบภายในชุ ม ชนก่ อ นที่ จ ะเริ่ ม โครงการนวั ต กรรม ตลอดจนเชื่อมโยงกับบริบทและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก 3.2 อปท. ควรเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล และอธิ บ ายเปรี ย บเที ยบวิ ธี แ ก้ ไ ขปัญ หาตามนโยบายหรื อ โครงการนวัตกรรมว่ามีความแตกต่างจากแนวคิดหรือวิธีการเดิมอย่างไร เพื่อสะท้อนให้ เห็นถึงความเป็นนวัตกรรมของนโยบายและโครงการ 3.3 อปท. ควรอธิ บ ายวั ตถุ ป ระสงค์ข องโครงการ แนวทางการด าเนิ น งาน กิจ กรรม วิธี ก าร ประเมิ น ผลความส าเร็ จ ผลสั ม ฤทธิ์ ที่ เ ป็ น รู ป ธรรม และตั ว ชี้ วั ด ที่ ส ะท้ อ นประโยชน์ ข อง ประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิคบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ 3.4 อปท. ควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสั มฤทธิ์ ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รู ป ธรรมและสามารถน าผลไปปรั บ ปรุ ง กระบวนงานได้ รวมทั้ ง ควรมี ร ะบบการจั ด การ องค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอดบทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีห รือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ไป ยังสาธารณชนและท้องถิ่นอื่น
303
ข้อเสนอแนะ ระดับองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.)
รำงวัล ประเภทที่ 1 รำงวั ล ด้ ำ นควำมโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม กำรมี ส่ ว นร่ ว มของประชำชน 1. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดบึงกำฬ จ.บึงกำฬ องค์การบริหารส่วนจังหวัดบึงกาฬได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 43.63 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของ คะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และ คะแนนการประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับ ค่าถ่วงน้าหนักของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของ อบจ.บึงกาฬ ต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับรางวั ล พระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (50-59 คะแนน) โดยคะแนนของ อบจ.บึงกาฬในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร จากกราฟแสดงให้เห็นว่า อบจ. บึงกาฬ มีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 25.48 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 22.50 คะแนน โดย อบจ.บึงกาฬ ได้คะแนน 20.57 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 18.00 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดย อบจ.บึงกาฬ ได้ 11.33 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.77 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดย อบจ.บึงกาฬ ได้คะแนน 11.73 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ จากข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นว่า อบจ. บึงกาฬ ได้รับคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานที่ กาหนดไว้ทั้ง 3 หมวด โดยคณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่ อบจ. ต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจ กรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของท่ า นให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า นนิ ติ บั ญ ญั ติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติ หน้ า ที่ ข องคณะผู้ บ ริ ห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นอกเหนื อ จากข้ อ บั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี โดยส าหรั บ การเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นั้ น อปท.ของท่ า นควรให้ ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่นควรมีกิจกรรมและโครงการที่ ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น 2. ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อมล้ าทางสั งคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษั ต ริ ย์ และการเตรี ย มความพร้ อ มสู่ ป ระชาคมอาเซี ย น ตลอดจน การป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และ กิ จ กรรมที่ มี ค วามทั น สมั ย ตามแนวทางการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ขององค์ ก ารสหประชาชาติ โดยตั้ ง อยู่ บ นพื้ น ฐานของหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ตลอดจนมี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล และ ถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
308
องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ของท่านควรเสริมสร้ างภาพลั กษณ์ด้านธรรมาภิบาลและความโปร่งใสของกระบวนการ ปฏิบัติราชการโดยประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการชาระภาษีอาการและค่าธรรมเนียม ของ อปท. รายรับ-รายจ่ายตามข้อบัญญัติงบประมาณประจาปีของ อปท. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ครุภัณฑ์ของ อปท. ตลอดจนข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับการประชุมสภานิติบัญญัติของ อปท. ได้แก่ วัน และเวลาการประชุม ญัตติต่างๆ และมติที่ประชุมสภา นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรมีวิธีการที่ หลากหลายและชัดเจนเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริตคอรัปชั่นภายในองค์กร โดยเปิดโอกาสให้ ภาคประชาชนมีส่วนร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจในภาพลักษณ์และความโปร่งใส ของ อปท. ของท่าน และยิ น ดี ส นั บสนุ นกิ จกรรมต่า งๆของ อปท. รวมทั้งการช าระภาษี และ ค่าธรรมเนียมตามที่ อปท. กาหนด 2. อปท. ของท่านควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการ ท างานและบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ การติ ด ประกาศที่ อ าคารส านั ก งาน อปท. การประกาศข่าวผ่านเสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน เวบไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ และ เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์รูปแบบต่างๆ โดยควรกระทาอย่างสม่าเสมอ 3. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ประชาชน องค์กรชุมชน และภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุม สภานิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารื อกับนายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็น สาคัญของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ 4. คณะกรรมการพั ฒ นา อปท. และคณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้อ งถิ่ น ของ อปท. ของท่านควรประกอบด้วยองค์กรภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนแต่เพียงกระบวนการ จัดทาแผน แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน โครงการบริการสาธารณะต่างๆไปสู่การปฏิบัติ ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจรับการจัดซื้อจัดจ้าง ของ อปท. และร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลปฏิบัติราชการของ อปท. ด้วย 5. อปท. ของท่านควรส่งเสริมและเสริมสร้างศักยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญัติ ต่อสภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็นเวที สานเสวนาทาประชาพิจารณ์เพื่อกาหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนา หรือจั ดลาดับความสาคัญ ของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อ บริการสาธารณะของ อปท. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงกระบวนการทางานของ อปท. หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. สาหรับโครงการที่มีความเป็น นวัตกรรม อปท. ควรอธิบายวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทาง การดาเนินงาน กิจกรรม วิธีการประเมินผลความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม และตัวชี้วัดที่ สะท้อนประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการ ประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิ คบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
309
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร อาทิเช่น value chain analysis, core competency analysis, reengineering, strategic doing เป็นต้น 2. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 3. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
310
รำงวัล ประเภทที่ 3 รำงวั ล ด้ ำ นกำรเสริ ม สร้ ำ งเครื อ ข่ ำ ยรั ฐ เอกชน และประชำสั ง คม 1. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดยะลำ จ. ยะลำ อบจ. ยะลา ได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 44.81 คะแนนซึ่ง เป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้ แ ก่ คะแนนจากการประเมิ น ขั้ น ต้ น คะแนนการประเมิ น ความพึ ง พอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ละหมวด ส าหรับ คะแนนของ อบจ. ยะลา ต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้ า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของ อบจ. ยะลา ในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่า อบจ. ยะลา มีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมิน ขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท.ที่มีคะแนนสู งสุดในหมวดนี้ ได้ 24.91 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 23.69 คะแนน โดย อบจ. ยะลา ได้ คะแนน 21.58 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้ คะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 17.55 คะแนน และค่า เฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดย อบจ. ยะลา ได้ 11.70 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 16.73 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดย อบจ. ยะลา ได้คะแนน 11.54 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ จากข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นว่า อบจ. ยะลา ได้รับคะแนนน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานที่ กาหนดไว้ 3 หมวด โดยคณะที่ป รึ กษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่ อบจ. ยะลา ต้องทบทวนเพื่อเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรกาหนดให้การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคมเป็น “วาระ” สาคัญและเร่งด่วนขององค์กรและชุมชน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของ อปท. ท่านควร มีความเชื่อมโยงสอดคล้องกันและเป็นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้า งเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กร ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วน ที่หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควรพัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือ กับองค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจ เอกชน เป็ น ต้ น ในการจั ด บริ ก ารสาธารณะร่ ว มกั น ซึ่ ง เป็ น ไปตามกฎหมายและระเบี ย บที่ เกี่ยวข้อง 2. อปท. ของท่ า นควรมี โ ครงการและกิ จ กรรมที่ มี ค วามหลากหลาย ความต่ อ เนื่ อ ง และ ความสม่าเสมอในการปลูกฝังจิตส านึกและส่ งเสริมการทางานในรูปแบบเครือข่ายจัดบริการ สาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม 3. ในการพั ฒ นาแผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที เ น้ น ความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน อปท. ของท่ านควรคานึง ถึง นวั ต กรรมที่มี มิติ ด้า นธรรมมาภิบ าลเป็น พื้น ฐาน คื อ ความสมานฉันท์ปรองดอง ความเหลื่อมล้าทางสังคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดี ต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้ องกัน ปราบปราม และต่อ ต้านทุจ ริตคอรัป ชั่น นอกจากนี้ ควรเป็น แผนงาน โครงการ และกิ จ กรรมที่ มี ค วามทั น สมั ย ตามแนวทางการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ขององค์ ก าร สหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูล และถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
312
องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ควรพิจารณาปรั บปรุงกระบวนงานที่ส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุขและพัฒ นาสั งคม ด้านเศรษฐกิจชุมชน และการส่ งเสริ มอาชีพ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และด้านการดูแล รักษาความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อยในชุมชน โดยควรเน้นใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน การพัฒนากระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทาบริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น 2. อปท. ของท่านควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการ ท างานและบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ การติ ด ประกาศที่ อ าคารส านั ก งาน อปท. การประกาศข่าวผ่านเสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน เวบไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ และ เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์รูปแบบต่างๆ โดยควรกระทาอย่างสม่าเสมอ 3. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ประชาชน องค์กรชุมชน และภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุม สภานิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารือกับนายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็น สาคัญของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ 4. คณะกรรมการพั ฒ นา อปท. และคณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้อ งถิ่ น ของ อปท. ของท่านควรประกอบด้วยองค์กรภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนแต่เพียงกระบวนการ จัดทาแผน แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน โครงการบริการสาธารณะต่างๆไปสู่การปฏิบัติ ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจรับการจัดซื้อจัดจ้าง ของ อปท. และร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลปฏิบัติราชการของ อปท. ด้วย 5. อปท. ของท่านควรส่งเสริมและเสริมสร้างศักยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญัติ ต่อสภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็น เวที ส านเสวนาท าประชาพิ จ ารณ์ เ พื่ อ ก าหนดทิ ศ ทางและนโยบายการพั ฒ นา หรื อ จั ด ล าดั บ ความสาคัญของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจของ ประชาชนที่มีต่อบริการสาธารณะของ อปท. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงกระบวนการ ทางานของ อปท. หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. สาหรับโครงการที่มีความเป็นนวัตกรรม อปท. ควรอธิบายวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทาง การดาเนินงาน กิจกรรม วิธีการประเมินผลความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม และตัวชี้วัดที่ สะท้อนประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการ ประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิ คบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ อาทิเช่น value chain analysis, core competency analysis, reengineering, strategic doing เป็นต้น
313
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร 2. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 3. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จาก การถอดบทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ ชัดเจนเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
314
ข้อเสนอแนะ ระดับเทศบำล
รำงวัล ประเภทที่ 1 รำงวั ล ด้ ำ นควำมโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม กำรมี ส่ ว นร่ ว มของประชำชน 1. เทศบำลเมืองชัยภูมิ จ.ชัยภูมิ เทศบาลเมืองชัยภูมิ ได้รับ คะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 53.41 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และคะแนน การประเมิ น จากการสนทนากลุ่ ม โดยคะแนนแต่ ล ะหมวดได้ จ ากการน าเอาค่ า T-Score คู ณ กั บ ค่าถ่ว งน้ าหนักของแต่ล ะหมวด สาหรั บคะแนนของเทศบาลเมืองชัยภูมิต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับ รางวัลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของเทศบาลเมืองชัยภูมิในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลเมืองชัยภูมิมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่ าเฉลี่ ย ของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 24.18 คะแนน โดยเทศบาล เมืองชัยภูมไิ ด้คะแนน 22.29 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 19.27 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดยเทศบาลเมืองชัยภูมิได้ 15.18 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.43 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดยเทศบาลเมือง ชัยภูมิ ได้คะแนน 15.94 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่เทศบาลเมืองชัยภูมิ ต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การปฏิบัติราชการ ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า นการเงิ น การคลั ง และงบประมาณให้ ส ามารถตรวจสอบบั ญ ชี แ ละติ ด ตาม การเบิกจ่ายงบประมาณและการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท.ของท่านควรมีโ ครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนและหลากหลายตามแผนการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้ และสร้างจิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในองค์กร 2. นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่ มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษี ตามที่กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียม ต่างๆ และกิจการพาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น 3. อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของท่าน โดยเฉพาะการจั ดท าฐานข้ อ มูล การเงิ น การคลั ง ของ อปท. ให้ ป ระชาชนสามารถเข้ าถึ ง และ ตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ของท่านควรเสริมสร้ างภาพลั กษณ์ด้านธรรมาภิบาลและความโปร่งใสของกระบวนการ ปฏิบัติราชการโดยประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการชาระภาษีอาการและค่าธรรมเนียม ของ อปท. รายรับ-รายจ่ายตามข้อบัญญัติงบประมาณประจาปีของ อปท. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ครุ ภัณฑ์ของ อปท. ตลอดจนข้อมูล ต่างๆเกี่ยวกับการประชุมสภานิติบัญญัติของ อปท. ได้แก่
318
เทศบำล วันและเวลาการประชุม ญัตติต่างๆ และมติที่ประชุมสภา นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรมีวิธีการที่ หลากหลายและชัดเจนเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริตคอรัปชั่นภายในองค์กร โดยเปิดโอกาสให้ ภาคประชาชนมีส่วนร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจในภาพลักษณ์และความโปร่งใส ของ อปท. ของท่าน และยิ น ดี ส นั บสนุ นกิ จกรรมต่า งๆของ อปท. รวมทั้งการช าระภาษี และ ค่าธรรมเนียมตามที่ อปท. กาหนด หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 2. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จาก การถอดบทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ ชัดเจนเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
319
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร
2. เทศบำลเมืองปู่เจ้ำสมิงพรำย จ.สมุทรปรำกำร เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพรายได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 53.87 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของ คะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และ คะแนนการประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับ ค่าถ่วงน้าหนักของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของเทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพรายต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้ เพื่อ รับรางวัลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของเทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพรายในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ย มีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพรายมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมิน ขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท.ที่มีคะแนนสู งสุดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่ า เฉลี่ ย ของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คื อ 24.18 คะแนน โดยเทศบาลเมื อ ง ปู่เจ้าสมิงพรายได้คะแนน 23.61 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
320
เทศบำล หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ได้ 19.27 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดยเทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพรายได้ 13.91 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.43 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดยเทศบาล เมืองปู่เจ้าสมิงพรายได้คะแนน 16.36 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ ป รึ ก ษามี ข้ อ เสนอแนะในภาพรวมที่ เ ทศบาลเมื อ งปู่ เ จ้ า สมิ ง พรายต้ อ งทบทวนเพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของท่ า นให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า นนิ ติ บั ญ ญั ติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติ หน้ า ที่ ข องคณะผู้ บ ริ ห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นอกเหนื อ จากข้ อ บั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี โดยส าหรั บ การเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นั้ น อปท.ของท่ า นควรให้ ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่นควรมีกิจกรรมและโครงการที่ ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น 2. อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อมล้ าทางสั งคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มี ความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของหลั กปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอ เพือ่ ให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้ หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ควรพิจารณาปรั บปรุงกระบวนงานที่ส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุขและพัฒนาสังคม ด้านเศรษฐกิจชุมชนและ การส่งเสริมอาชีพ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และด้านการดูแลรักษา ความปลอดภั ย และความสงบเรี ย บร้ อ ยในชุ ม ชน โดยควรเน้ น ใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศใน การพัฒนากระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทาบริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น
321
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร 2. อปท. ของท่านควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการ ท างานและบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ การติ ด ประกาศที่ อ าคารส านั ก งาน อปท. การประกาศข่าวผ่านเสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน เวบไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ และ เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์รูปแบบต่างๆ โดยควรกระทาอย่างสม่าเสมอ 3. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ประชาชน องค์กรชุมชน และภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุม สภานิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารือกับนายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็น สาคัญของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ 4. คณะกรรมการพั ฒ นา อปท. และคณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้อ งถิ่ น ของ อปท. ของท่านควรประกอบด้วยองค์กรภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนแต่เพียงกระบวนการ จัดทาแผน แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน โครงการบริการสาธารณะต่างๆไปสู่การปฏิบัติ ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจรับการจัดซื้อจัดจ้าง ของ อปท. และร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลปฏิบัติราชการของ อปท. ด้วย 5. อปท. ของท่านควรส่งเสริมและเสริมสร้างศักยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญัติ ต่อสภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็น เวที ส านเสวนาท าประชาพิ จ ารณ์ เ พื่ อ ก าหนดทิ ศ ทางและนโยบายการพั ฒ นา หรื อ จั ด ล าดั บ ความสาคัญของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจของ ประชาชนที่มีต่อบริการสาธารณะของ อปท. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงกระบวนการ ทางานของ อปท. หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 2. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
322
เทศบำล
3. เทศบำลเมืองไร่ขิง จ.นครปฐม เทศบาลเมื อ งไร่ ขิ ง ได้ รั บ คะแนนรวมทั้ ง หมดคิ ด เป็ น 52.46 คะแนนซึ่ ง เป็ น ผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของเทศบาลเมืองไร่ขิงต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของเทศบาล เมืองไร่ขิงในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลเมืองไร่ขิงมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุ ดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 24.18 คะแนน โดยเทศบาลเมืองไร่ขิงได้ คะแนน 22.29 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
323
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 19.27 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดยเทศบาลเมืองไร่ขิงได้ 15.06 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.43 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดยเทศบาลเมืองไร่ ขิง ได้คะแนน 15.12 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่เทศบาลเมืองไร่ขิงต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การปฏิบัติราชการ ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ ปฏิบัติหน้าที่ด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณให้สามารถตรวจสอบบัญชีและติดตามการ เบิกจ่ายงบประมาณและการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ อปท. ของท่านควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนและหลากหลายตามแผนการป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึ กอบรมให้ความรู้และสร้าง จิตสานึกเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควร แสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่กฎหมายกาหนด หากฐานภาษี แคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการพาณิชย์ของ อปท. เป็นต้น อนึ่ง อปท. ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบกระบวนการจัดซื้อ จัดจ้าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชีค่าใช้จ่ายของ อปท.ของ ท่าน โดยเฉพาะการจัดทาฐานข้อมูลการเงินการคลังของ อปท. ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและ ตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา 2. อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของท่ า นให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า นนิ ติ บั ญ ญั ติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติ หน้ า ที่ ข องคณะผู้ บ ริ ห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นอกเหนื อ จากข้ อ บั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี โดยส าหรั บ การเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นั้ น อปท.ของท่ า นควรให้ ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่นควรมีกิจกรรมและโครงการที่ ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ของท่านควรเสริมสร้ างภาพลั กษณ์ด้านธรรมาภิบาลและความโปร่งใสของกระบวนการ ปฏิบัติราชการโดยประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการชาระภาษีอาการและค่าธรรมเนียม
324
เทศบำล ของ อปท. รายรับ-รายจ่ายตามข้อบัญญัติงบประมาณประจาปีของ อปท. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ครุ ภัณฑ์ของ อปท. ตลอดจนข้อมูล ต่างๆเกี่ยวกับการประชุมสภานิติบัญญัติของ อปท. ได้แก่ วันและเวลาการประชุม ญัตติต่างๆ และมติที่ประชุมสภา นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรมีวิธีการที่ หลากหลายและชัดเจนเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริตคอรัปชั่นภายในองค์กร โดยเปิดโอกาสให้ ภาคประชาชนมีส่วนร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจในภาพลักษณ์และความโปร่งใส ของ อปท. ของท่าน และยิ น ดี ส นั บสนุ นกิ จกรรมต่า งๆของ อปท. รวมทั้งการช าระภาษี และ ค่าธรรมเนียมตามที่ อปท. กาหนด หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรระบุที่มาและกระบวนการกาหนดนโยบายและโครงการนวัตกรรม โดยเฉพาะ กระบวนการระดมความคิดเห็นของผู้บริหารท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย ได้แก่ ภาคเอกชนและ ภาคประชาสังคม และควรมีเป้าหมายที่ชัดเจนในการแก้ไขปัญหา 2. อปท. ของท่านควรอธิบายเปรียบเทียบวิธีแก้ไขปัญหาตามนโยบายหรือโครงการนวัตกรรมว่ามี ความแตกต่างจากแนวคิดหรือวิธีการเดิมอย่างไร เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นนวัตกรรมของ นโยบายและโครงการ 3. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 4. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
325
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร
4. เทศบำลตำบลก้อ จ.ลำพูน เทศบาลตาบลก้อได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 45.12 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้ แ ก่ คะแนนจากการประเมิ น ขั้ น ต้ น คะแนนการประเมิ น ความพึ ง พอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของเทศบาลตาบลก้อต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของเทศบาล ตาบลก้อในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลก้อมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุ ดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 24.18 คะแนน โดยเทศบาลตาบลก้อได้ คะแนน 22.66 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
326
เทศบำล หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้ คะแนนสู ง สุ ด ในหมวดนี้ ได้ 19.27 คะแนน และค่า เฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.00 คะแนน โดยเทศบาลตาบลก้อได้ 6.10 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.43 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดยเทศบาล ตาบลก้อได้คะแนน 16.36 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ป รึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่เทศบาลตาบลก้อต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพใน การปฏิบัติราชการ ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของท่ า นให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า นนิ ติ บั ญ ญั ติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติ หน้ า ที่ ข องคณะผู้ บ ริ ห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นอกเหนื อ จากข้ อ บั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี โดยส าหรั บ การเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นั้ น อปท.ของท่ า นควรให้ ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่นควรมีกิจกรรมและโครงการที่ ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ควรพิจารณาปรั บปรุงกระบวนงานที่ส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุขและพัฒนาสังคม ด้านเศรษฐกิจชุมชนและ การส่งเสริมอาชีพ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และด้านการดูแลรักษา ความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อยในชุมชน โดยควรเน้นใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา กระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทา บริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น 2. อปท. ของท่านควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการ ท างานและบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ การติ ด ประกาศที่ อ าคารส านั ก งาน อปท. การประกาศข่าวผ่านเสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน เวบไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ และ เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์รูปแบบต่างๆ โดยควรกระทาอย่างสม่าเสมอ 3. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ประชาชน องค์กรชุมชน และภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุม สภานิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารือกับนายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็น สาคัญของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ
327
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร 4. คณะกรรมการพั ฒ นา อปท. และคณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้อ งถิ่ น ของ อปท. ของท่านควรประกอบด้วยองค์กรภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนแต่เพียงกระบวนการ จัดทาแผน แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน โครงการบริการสาธารณะต่างๆไปสู่การปฏิบัติ ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจรับการจัดซื้อจัดจ้าง ของ อปท. และร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลปฏิบัติราชการของ อปท. ด้วย 5. อปท. ของท่านควรส่งเสริมและเสริมสร้างศักยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญัติ ต่อสภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็นเวที สานเสวนาทาประชาพิจารณ์เพื่อกาหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนา หรือจัดลาดับความสาคัญ ของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อ บริการสาธารณะของ อปท. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงกระบวนการทางานของ อปท. หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 2. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
328
เทศบำล
5. เทศบำลตำบลป่ำไผ่ จ.ลำพูน เทศบาลต าบลป่ า ไผ่ ไ ด้รั บ คะแนนรวมทั้ ง หมดคิ ด เป็ น 53.62 คะแนนซึ่ ง เป็ น ผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ละหมวด สาหรั บคะแนนของเทศบาลตาบลป่าไผ่ต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของเทศบาล ตาบลป่าไผ่ในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลป่าไผ่มีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมิน ขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท.ที่มีคะแนนสู งสุดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 24.18 คะแนน โดยเทศบาลตาบลป่าไผ่ได้ คะแนน 23.61 คะแนน ซึ่งน้อยกกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
329
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้ คะแนนสู ง สุ ด ในหมวดนี้ ได้ 19.27 คะแนน และค่า เฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คือ 15.00 คะแนน โดยเทศบาลตาบลป่าไผ่ ได้ 17.01 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.43 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดยเทศบาล เมืองปู่เจ้าสมิงพราย ได้คะแนน 14.70 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่เทศบาลตาบลป่าไผ่ ต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การปฏิบัติราชการ ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พั ฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ ม คนพิ ก ารและ ผู้ด้อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดี ในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่าน ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียง อย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนใน การน านโยบายและแผนไปสู่ การปฏิ บั ติ ตลอดจนการวิ เ คราะห์ แ ละประเมิน ผลสั ม ฤทธิ์ ข อง แผนและโครงการต่ า งๆ ของ อปท. โดยช่ อ งทางการมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชนนั้ น ควรมี ความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อมล้ าทางสั งคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มี ความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของหลั กปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้ หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ของท่านควรเสริมสร้ างภาพลั กษณ์ด้านธรรมาภิบาลและความโปร่งใสของกระบวนการ ปฏิบัติราชการโดยประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการชาระภาษีอาการและค่าธรรมเนียม ของ อปท. รายรับ-รายจ่ายตามข้อบัญญัติงบประมาณประจาปีของ อปท. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ครุ ภัณฑ์ของ อปท. ตลอดจนข้อมูล ต่างๆเกี่ยวกับการประชุมสภานิติบัญญัติของ อปท. ได้แก่ วันและเวลาการประชุม ญัตติต่างๆ และมติที่ประชุมสภา นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรมีวิธีการที่
330
เทศบำล หลากหลายและชัดเจนเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริตคอรัปชั่นภายในองค์กร โดยเปิดโอกาสให้ ภาคประชาชนมีส่วนร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจในภาพลักษณ์และความโปร่งใส ของ อปท. ของท่าน และยิ น ดี ส นั บสนุ นกิ จกรรมต่า งๆของ อปท. รวมทั้งการช าระภาษี และ ค่าธรรมเนียมตามที่ อปท. กาหนด หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 2. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
331
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร
6. เทศบำลตำบลปำกน้ำประแส จ.ระยอง เทศบาลตาบลปากน้ าประแสได้รั บคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 48.90 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของ คะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และคะแนนการประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่า ถ่วงน้าหนักของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของเทศบาลตาบลปากน้าประแสต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับ รางวัลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของเทศบาลตาบลปากน้าประแสในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ย มีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลปากน้าประแสมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุ ดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่ า เฉลี่ ย ของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คื อ 24.18 คะแนน โดยเทศบาลต าบล ปากน้าประแสได้คะแนน 23.99 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
332
เทศบำล หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 19.27 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดย เทศบาลตาบลปากน้าประแสได้ 9.38 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.43 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดย เทศบาลตาบล ปากน้าประแส ได้คะแนน 15.53 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ ป รึ ก ษามี ข้ อ เสนอแนะในภาพรวมที่ เ ทศบาลต าบลปากน้ าประแสต้ อ งทบทวนเพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. ภายหลั งจากการกาหนดแผนพัฒ นาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติ ราชการแล้ว อปท. ของท่านควรให้ความสาคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่าย ภาคประชาชนในการขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยาย ขอบเขตการมี ส่ ว นร่ ว มของภาคส่ ว นต่า งๆใน “การคิ ด ร่ว ม” “การตั ดสิ น ใจเชิ ง นโยบายและ งบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของ ท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วนต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่ หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ประกอบของ ตัวแทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธีการดาเนินงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะกลุ่มสตรีและ ผู้ด้อยโอกาส 2. ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อมล้ าทางสั งคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มี ความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของหลั กปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูล และถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้ หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ของท่านควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการ ท างานและบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ การติ ด ประกาศที่ อ าคารส านั ก งาน อปท.
333
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร การประกาศข่าวผ่านเสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน เวบไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ และ เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์รูปแบบต่างๆ โดยควรกระทาอย่างสม่าเสมอ 2. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ประชาชน องค์กรชุมชน และภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุมสภา นิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารือกับนายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็นสาคัญ ของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ 3. คณะกรรมการพั ฒ นา อปท. และคณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้อ งถิ่ น ของ อปท. ของท่านควรประกอบด้วยองค์กรภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนแต่เพียงกระบวนการ จัดทาแผน แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและภาคธุรกิจ เอกชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน โครงการบริการสาธารณะต่างๆไปสู่การปฏิบัติ ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจรับการจัดซื้อจัดจ้าง ของ อปท. และร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลปฏิบัติราชการของ อปท. ด้วย 4. อปท. ของท่านควรส่งเสริมและเสริมสร้างศักยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญั ติ ต่อสภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็นเวที สานเสวนาทาประชาพิจารณ์เพื่อกาหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนา หรือจัดลาดับความสาคัญ ของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อ บริการสาธารณะของ อปท. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงกระบวนการทางานของ อปท. หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 2. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
334
เทศบำล
7. เทศบำลตำบลพระแท่นลำพระยำ จ.กำญจนบุรี เทศบาลตาบลพระแท่นลาพระยา ได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 52.66 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของ คะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และคะแนนการประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับ ค่าถ่วงน้าหนักของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของเทศบาลตาบลพระแท่นลาพระยาต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้ เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของเทศบาลตาบลพระแท่นลาพระยาในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนน เฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลพระแท่นลาพระยามีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุ ดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่ า เฉลี่ ย ของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คื อ 24.18 คะแนน โดยเทศบาลต าบล พระแท่นลาพระยาได้คะแนน 24.18 คะแนน ซึ่งเท่ากับค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
335
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 19.27 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดย เทศบาลตาบลพระแท่นลาพระยา ได้ 16.27 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.43 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดย เทศบาลตาบล พระแท่นลาพระยา ได้คะแนน 12.22 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ป รึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่เทศบาลตาบลพระแท่นล าพระยาต้องทบทวนเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พั ฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ ม คนพิ ก ารและ ผู้ด้อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดี ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่าน ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียง อย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนใน การน านโยบายและแผนไปสู่ การปฏิ บั ติ ตลอดจนการวิ เ คราะห์ แ ละประเมิน ผลสั ม ฤทธิ์ ข อง แผนและโครงการต่ า งๆ ของ อปท. โดยช่ อ งทางการมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชนนั้ น ควรมี ความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ของท่านควรเสริมสร้ างภาพลั กษณ์ด้านธรรมาภิบาลและความโปร่งใสของกระบวนการ ปฏิบัติราชการโดยประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการชาระภาษีอาการและค่าธรรมเนียม ของ อปท. รายรับ-รายจ่ายตามข้อบัญญัติงบประมาณประจาปีของ อปท. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ครุ ภัณฑ์ของ อปท. ตลอดจนข้อมูล ต่างๆเกี่ยวกับการประชุมสภานิติบัญญัติของ อปท. ได้แก่ วันและเวลาการประชุม ญัตติต่างๆ และมติที่ประชุมสภา นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรมีวิธีการที่ หลากหลายและชัดเจนเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริตคอรัปชั่นภายในองค์กร โดยเปิดโอกาสให้ ภาคประชาชนมีส่วนร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจในภาพลักษณ์และความโปร่งใส ของ อปท. ของท่าน และยิ น ดี ส นั บสนุ นกิ จกรรมต่า งๆของ อปท. รวมทั้งการช าระภาษี และ ค่าธรรมเนียมตามที่ อปท. กาหนด
336
เทศบำล หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรระบุที่มาและกระบวนการกาหนดนโยบายและโครงการนวัตกรรม โดยเฉพาะ กระบวนการระดมความคิดเห็นของผู้บริหารท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย ได้แก่ ภาคเอกชนและ ภาคประชาสังคม และควรมีเป้าหมายที่ชัดเจนในการแก้ไขปัญหา 2. อปท. ของท่านควรอธิบายเปรียบเทียบวิธีแก้ไขปัญหาตามนโยบายหรือโครงการนวัตกรรมว่ามี ความแตกต่างจากแนวคิดหรือวิธีการเดิมอย่างไร เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นนวัตกรรมของ นโยบายและโครงการ 3. สาหรับโครงการที่มีความเป็น นวัตกรรม อปท. ควรอธิบายวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทาง การดาเนินงาน กิจกรรม วิธีการประเมินผลความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม และตัวชี้วัดที่ สะท้อนประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการ ประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิ คบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ อาทิเช่น value chain analysis, core competency analysis, reengineering, strategic doing เป็นต้น 4. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 5. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
337
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร
8. เทศบำลตำบลเพชรเมืองทอง จ.อ่ำงทอง เทศบาลตาบลเพชรเมืองทอง ได้รั บคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 47.46 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของ คะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และ คะแนนการประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วง น้าหนักของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของเทศบาลตาบลเพชรเมืองทองต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับ รางวัลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดย คะแนนของเทศบาลตาบลเพชรเมืองทองในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมี ดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลเพชรเมืองทองมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุ ดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่ า เฉลี่ ย ของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คื อ 24.18 คะแนน โดยเทศบาลต าบล เพชรเมืองทองได้คะแนน 23.49 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
338
เทศบำล หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 19.27 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดยเทศบาลตาบลเพชรเมืองทองได้ 15.55 คะแนนซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.43 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดย เทศบาลตาบล เพชรเมืองทองแส ได้คะแนน 8.49 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ ป รึ ก ษามี ข้ อ เสนอแนะในภาพรวมที่ เ ทศบาลต าบลเพชรเมื อ งทองต้ อ งทบทวนเพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พั ฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ ม คนพิ ก ารและ ผู้ด้อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดี ในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่าน ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียง อย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนใน การน านโยบายและแผนไปสู่ การปฏิ บั ติ ตลอดจนการวิ เ คราะห์ แ ละประเมิน ผลสั ม ฤทธิ์ ข อง แผนและโครงการต่ า งๆ ของ อปท. โดยช่ อ งทางการมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชนนั้ น ควรมี ความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ของท่านควรเสริมสร้ างภาพลั กษณ์ด้านธรรมาภิบาลและความโปร่งใสของกระบวนการ ปฏิบัติราชการโดยประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการชาระภาษีอาการและค่าธรรมเนียม ของ อปท. รายรับ-รายจ่ายตามข้อบัญญัติงบประมาณประจาปีของ อปท. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ครุ ภัณฑ์ของ อปท. ตลอดจนข้อมูล ต่างๆเกี่ยวกับการประชุมสภานิติบัญญัติของ อปท. ได้แก่ วันและเวลาการประชุม ญัตติต่างๆ และมติที่ประชุมสภา นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรมีวิธีการที่ หลากหลายและชัดเจนเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริตคอรัปชั่นภายในองค์กร โดยเปิดโอกาสให้ ภาคประชาชนมีส่วนร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจในภาพลักษณ์และความโปร่งใส ของ อปท. ของท่าน และยิ น ดี ส นั บสนุ นกิ จกรรมต่า งๆของ อปท. รวมทั้งการช าระภาษี และ ค่าธรรมเนียมตามที่ อปท. กาหนด หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรมีทิศทางที่ชัดเจนในการกาหนดนโยบายและโครงการที่เป็นนวัตกรรม โดยควร มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนในการพัฒนาและให้บริการในโครงการนวัตกรรม รวมทั้งควรชี้ให้เห็นถึง
339
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร
2.
3.
4.
5.
6.
340
สภาพปัญหาและผลกระทบภายในชุมชนก่อนที่จะเริ่มโครงการนวัตกรรม ตลอดจนเชื่อมโยงกับ บริบทและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ยกตัวอย่างเช่น อปท.ของท่านควรอธิบาย ให้ ชัดเจนว่า กลุ่ มเป้าหมายที่ท่านระบุจะได้รับผลกระทบอย่างไรหากปราศจากนโยบายหรือ โครงการที่เป็นนวัตกรรม อปท. ของท่านควรระบุที่มาและกระบวนการกาหนดนโยบายและโครงการนวัตกรรม โดยเฉพาะ กระบวนการระดมความคิ ดเห็นของผู้บริหารท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย ได้แก่ ภาคเอกชนและ ภาคประชาสังคม และควรมีเป้าหมายที่ชัดเจนในการแก้ไขปัญหา อปท. ของท่านควรอธิบายเปรียบเทียบวิธีแก้ไขปัญหาตามนโยบายหรือโครงการนวัตกรรมว่ามี ความแตกต่างจากแนวคิดหรือวิธีการเดิมอย่างไร เพื่อสะท้อนให้เ ห็นถึงความเป็นนวัตกรรมของ นโยบายและโครงการ สาหรับโครงการที่มีความเป็น นวัตกรรม อปท. ควรอธิบายวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทาง การดาเนินงาน กิจกรรม วิธีการประเมินผลความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม และตัวชี้วัดที่ สะท้อนประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการ ประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิ คบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ อาทิเช่น value chain analysis, core competency analysis, reengineering, strategic doing เป็นต้น อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
เทศบำล
9. เทศบำลตำบลแม่ปืม จ.พะเยำ เทศบาลตาบลแม่ปืม ได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 49.32 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของเทศบาลตาบลแม่ปืมต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของเทศบาล ตาบลแม่ปืมในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลแม่ปืมมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุ ดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 24.18 คะแนน โดยเทศบาลตาบลแม่ปืมได้ คะแนน 23.99 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
341
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 19.27 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดย เทศบาลตาบลแม่ปืมได้ 13.94 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.43 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดย เทศบาลตาบล แม่ปืม ได้คะแนน 11.39 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่เทศบาลตาบลแม่ปืมต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พั ฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ ม คนพิ ก ารและ ผู้ด้อยโอกาสตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควร จากัดบทบาทของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียง อย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนใน การนานโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการวิเคราะห์และประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผน และโครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้นควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของท่ า นให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า นนิ ติ บั ญ ญั ติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติ หน้ า ที่ ข องคณะผู้ บ ริ ห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นอกเหนื อ จากข้ อ บั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี โดยส าหรั บ การเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นั้ น อปท.ของท่ า นควรให้ ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่นควรมีกิจกรรมและโครงการที่ ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ของท่านควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการ ท างานและบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ การติ ด ประกาศที่ อ าคารส านั ก งาน อปท. การประกาศข่าวผ่านเสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน เวบไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ และ เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์รูปแบบต่างๆ โดยควรกระทาอย่างสม่าเสมอ
342
เทศบำล 2. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ประชาชน องค์กรชุมชน และภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุมสภา นิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารือกับนายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็นสาคัญ ของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ 3. คณะกรรมการพั ฒ นา อปท. และคณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้อ งถิ่ น ของ อปท. ของท่านควรประกอบด้วยองค์กรภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนแต่เพียงกระบวนการ จัดทาแผน แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและภาคธุรกิจ เอกชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน โครงการบริการสาธารณะต่างๆไปสู่การปฏิบัติ ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจรับการจัดซื้อจัดจ้าง ของ อปท. และร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลปฏิบัติราชการของ อปท. ด้วย 4. อปท. ของท่านควรส่งเสริมและเสริมสร้างศักยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญั ติ ต่อสภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็นเวที สานเสวนาทาประชาพิจารณ์เพื่อกาหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนา หรือจัดลาดับความสาคัญ ของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อ บริการสาธารณะของ อปท. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงกระบวนการทางานของ อปท. หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรมีทิศทางที่ชัดเจนในการกาหนดนโยบายและโครงการที่เป็นนวัตกรรม โดยควร มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนในการพัฒนาและให้บริการในโครงการนวัตกรรม รวมทั้งควรชี้ให้เห็นถึง สภาพปัญหาและผลกระทบภายในชุมชนก่อนที่จะเริ่มโครงการนวัตกรรม ตลอดจนเชื่อมโยงกับ บริบทและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ยกตัวอย่างเช่น อปท.ของท่านควรอธิบาย ให้ ชัดเจนว่า กลุ่ มเป้าหมายที่ท่านระบุจะได้รับผลกระทบอย่างไรหากปราศจากนโยบายหรื อ โครงการที่เป็นนวัตกรรม 2. อปท. ของท่านควรระบุที่มาและกระบวนการกาหนดนโยบายและโครงการนวัตกรรม โดยเฉพาะ กระบวนการระดมความคิดเห็นของผู้บริหารท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย ได้แก่ ภาคเอกชนและ ภาคประชาสังคม และควรมีเป้าหมายที่ชัดเจนในการแก้ไขปัญหา 3. อปท. ของท่านควรอธิบายเปรียบเทียบวิธีแก้ไขปัญหาตามนโยบายหรือโครงการนวัตกรรมว่ามี ความแตกต่างจากแนวคิดหรือวิธีการเดิมอย่างไร เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นนวัตกรรมของ นโยบายและโครงการ 4. สาหรับโครงการที่มีความเป็น นวัตกรรม อปท. ควรอธิบายวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทาง การดาเนินงาน กิจกรรม วิธีการประเมินผลความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม และตัวชี้วัดที่ สะท้อนประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการ ประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิ คบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ อาทิเช่น value chain analysis, core competency analysis, reengineering, strategic doing เป็นต้น
343
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร 5. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 6. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
344
เทศบำล
10. เทศบำลตำบลสง่ำบ้ำน จ.เชียงใหม่ เทศบาลตาบลสง่าบ้าน ได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 40.93 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ ล ะหมวด ส าหรั บ คะแนนของเทศบาลต าบลสง่ า บ้ า นต่ ากว่ า คะแนนที่ ก าหนดไว้ เ พื่ อ รั บ รางวั ล พระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของ เทศบาลตาบลสง่าบ้านในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลสง่าบ้านมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุ ดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 24.18 คะแนน โดยเทศบาลตาบลสง่าบ้าน ได้คะแนน 23.61 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 19.27 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดยเทศบาลตาบลสง่าบ้านได้ 10.48 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
345
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.43 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดยเทศบาลตาบล สง่าบ้านได้คะแนน 6.84 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่เทศบาลตาบลสง่าบ้านต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของท่ า นให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า นนิ ติ บั ญ ญั ติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติ หน้ า ที่ ข องคณะผู้ บ ริ ห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นอกเหนื อ จากข้ อ บั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี โดยส าหรั บ การเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นั้ น อปท.ของท่ า นควรให้ ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่นควรมีกิจกรรมและโครงการที่ ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ควรพิจารณาปรั บปรุงกระบวนงานที่ส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุขและพัฒนาสังคม ด้านเศรษฐกิจชุมชนและ การส่งเสริมอาชีพ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และด้านการดูแลรักษา ความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อยในชุมชน โดยควรเน้นใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา กระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทา บริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น 2. อปท. ของท่านควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการ ท างานและบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ การติ ด ประกาศที่ อ าคารส านั ก งาน อปท. การประกาศข่าวผ่านเสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน เวบไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ และ เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์รูปแบบต่างๆ โดยควรกระทาอย่างสม่าเสมอ 3. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ประชาชน องค์กรชุมชน และภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุม สภานิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารือกับนายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็น สาคัญของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ 4. คณะกรรมการพั ฒ นา อปท. และคณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้อ งถิ่ น ของ อปท. ของท่านควรประกอบด้วยองค์กรภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนแต่เพียงกระบวนการ จัดทาแผน แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน
346
เทศบำล โครงการบริการสาธารณะต่างๆไปสู่การปฏิบัติ ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจรับการจัดซื้อจัดจ้าง ของ อปท. และร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลปฏิบัติราชการของ อปท. ด้วย 5. อปท. ของท่านควรส่งเสริมและเสริมสร้างศักยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญัติ ต่อสภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็นเวที สานเสวนาทาประชาพิจารณ์เพื่อกาหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนา หรือจัดลาดับความสาคัญ ของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อ บริการสาธารณะของ อปท. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงกระบวนการทางานของ อปท. หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 4. อปท. ของท่านควรมีทิศทางที่ชัดเจนในการกาหนดนโยบายและโครงการที่เป็นนวัตกรรม โดยควร มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนในการพัฒนาและให้บริการในโครงการนวัตกรรม รวมทั้งควรชี้ให้เห็นถึง สภาพปัญหาและผลกระทบภายในชุมชนก่อนที่จะเริ่มโครงการนวัตกรรม ตลอดจนเชื่อมโยงกับ บริบทและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ยกตัวอย่างเช่น อปท.ของท่านควรอธิบาย ให้ ชัดเจนว่า กลุ่ มเป้าหมายที่ท่านระบุจะได้รับผลกระทบอย่างไรหากปราศจากนโยบายหรือ โครงการที่เป็นนวัตกรรม 5. อปท. ของท่านควรระบุที่มาและกระบวนการกาหนดนโยบายและโครงการนวัตกรรม โดยเฉพาะ กระบวนการระดมความคิ ดเห็นของผู้บริหารท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย ได้แก่ ภาคเอกชนและ ภาคประชาสังคม และควรมีเป้าหมายที่ชัดเจนในการแก้ไขปัญหา 6. อปท. ของท่านควรอธิบายเปรียบเทียบวิธีแก้ไขปัญหาตามนโยบายหรือโครงการนวัตกรรมว่ามี ความแตกต่างจากแนวคิดหรือวิธีการเดิมอย่างไร เพื่อสะท้อนให้เ ห็นถึงความเป็นนวัตกรรมของ นโยบายและโครงการ 7. สาหรับโครงการที่มีความเป็น นวัตกรรม อปท. ควรอธิบายวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทาง การดาเนินงาน กิจกรรม วิธีการประเมินผลความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม และตัวชี้วัดที่ สะท้อนประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการ ประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิ คบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ อาทิเช่น value chain analysis, core competency analysis, reengineering, strategic doing เป็นต้น 8. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 9. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
347
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร
11. เทศบำลตำบลหนองบัว จ.อุดรธำนี เทศบาลตาบลหนองบัว ได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 47.20 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ ล ะหมวด ส าหรั บ คะแนนของเทศบาลต าบลหนองบั ว ต่ ากว่ า คะแนนที่ ก าหนดไว้ เ พื่ อ รั บ รางวั ล พระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของ เทศบาลตาบลหนองบัวในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลหนองบัวมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุ ดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 24.18 คะแนน โดยเทศบาลตาบลหนองบัว ได้คะแนน 23.42 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
348
เทศบำล หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 19.27 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดยเทศบาลตาบลหนองบัวได้ 11.98 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.43 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดย เทศบาลตาบล หนองบัว ได้คะแนน 11.80 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่เทศบาลตาบลหนองบัวต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของท่ า นให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า นนิ ติ บั ญ ญั ติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติ หน้ า ที่ ข องคณะผู้ บ ริ ห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นอกเหนื อ จากข้ อ บั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี โดยส าหรั บ การเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นั้ น อปท.ของท่ า นควรให้ ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่นควรมีกิจกรรมและโครงการที่ ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ควรพิจารณาปรั บปรุงกระบวนงานที่ส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุขและพัฒนาสังคม ด้านเศรษฐกิจชุมชนและ การส่งเสริมอาชีพ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และด้านการดูแลรักษา ความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อยในชุมชน โดยควรเน้นใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา กระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทา บริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น 2. อปท. ของท่านควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการ ท างานและบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ การติ ด ประกาศที่ อ าคารส านั ก งาน อปท. การประกาศข่าวผ่านเสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน เวบไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ และ เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์รูปแบบต่างๆ โดยควรกระทาอย่างสม่าเสมอ 3. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ ประชาชน องค์กรชุมชน และภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุม สภานิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารือกับนายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็น สาคัญของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ
349
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร 4. คณะกรรมการพั ฒ นา อปท. และคณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้อ งถิ่ น ของ อปท. ของท่านควรประกอบด้วยองค์กรภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนแต่เพียงกระบวนการ จัดทาแผน แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน โครงการบริการสาธารณะต่างๆไปสู่การปฏิบั ติ ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจรับการจัดซื้อจัดจ้าง ของ อปท. และร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลปฏิบัติราชการของ อปท. ด้วย 5. อปท. ของท่านควรส่งเสริมและเสริมสร้างศักยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญัติ ต่อสภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็นเวที สานเสวนาทาประชาพิจารณ์เพื่อกาหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนา หรือจัดลาดับความสาคัญ ของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อ บริการสาธารณะของ อปท. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงกระบวนการทางานของ อปท. หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรมีทิศทางที่ชัดเจนในการกาหนดนโยบายและโครงการที่เป็นนวัตกรรม โดยควร มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนในการพัฒนาและให้บริการในโครงการนวัตกรรม รวมทั้งควรชี้ให้เห็นถึง สภาพปัญหาและผลกระทบภายในชุมชนก่อนที่จะเริ่มโครงการนวัตกรรม ตลอดจนเชื่อมโยงกับ บริบทและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ยกตัวอย่างเช่น อปท.ของท่านควรอธิบาย ให้ ชัดเจนว่า กลุ่ มเป้าหมายที่ท่านระบุจะได้รับผลกระทบอย่างไรหากปราศจากนโยบายหรือ โครงการที่เป็นนวัตกรรม 2. อปท. ของท่านควรระบุที่มาและกระบวนการกาหนดนโยบายและโครงการนวัตกรรม โดยเฉพาะ กระบวนการระดมความคิดเห็นของผู้บริหารท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย ได้แก่ ภาคเอกชนและ ภาคประชาสังคม และควรมีเป้าหมายที่ชัดเจนในการแก้ไขปัญหา 3. อปท. ของท่านควรอธิบายเปรียบเทียบวิธีแก้ไขปัญหาตามนโยบายหรือโครงการนวัตกรรมว่ามี ความแตกต่างจากแนวคิดหรือวิธีก ารเดิมอย่างไร เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นนวัตกรรมของ นโยบายและโครงการ 4. สาหรับโครงการที่มีความเป็น นวัตกรรม อปท. ควรอธิบายวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทาง การดาเนินงาน กิจกรรม วิธีการประเมินผลความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม และตัวชี้วัดที่ สะท้อนประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการ ประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิ คบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ อาทิเช่น value chain analysis, core competency analysis, reengineering, strategic doing เป็นต้น 5. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้
350
เทศบำล 6. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
351
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร
12. เทศบำลตำบลหนองเรือ จ.ขอนแก่น เทศบาลตาบลหนองเรือได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 53.38 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ ล ะหมวด ส าหรั บ คะแนนของเทศบาลต าบลหนองเรื อ ต่ ากว่ า คะแนนที่ ก าหนดไว้ เ พื่ อ รั บ รางวั ล พระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของ เทศบาลตาบลหนองเรือในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลหนองเรือมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุ ดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่ า เฉลี่ ย ของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คื อ 24.18 คะแนน โดยเทศบาลต าบล หนองเรือได้คะแนน 26.07 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
352
เทศบำล หมวดที่ 2 คะแนนการประเมิ น ความพึ ง พอใจของประชาชน (ค่ า ถ่ ว งน้ าหนั ก ร้ อ ยละ 30) : อปท. ที่ได้คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 19.27 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดยเทศบาลตาบลหนองเรือได้ 12.20 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.43 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15 คะแนน โดยเทศบาลตาบล หนองเรือได้คะแนน 15.12 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่เทศบาลตาบลหนองเรือต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของท่ า นให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า นนิ ติ บั ญ ญั ติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติ หน้ า ที่ ข องคณะผู้ บ ริ ห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นอกเหนื อ จากข้ อ บั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี โดยส าหรั บ การเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นั้ น อปท.ของท่ า นควรให้ ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่นควรมีกิจกรรมและโครงการที่ ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ควรพิจารณาปรั บปรุงกระบวนงานที่ส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุขและพัฒนาสังคม ด้านเศรษฐกิจชุมชนและ การส่งเสริมอาชีพ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และด้านการดูแลรักษา ความปลอดภั ย และความสงบเรี ย บร้ อ ยในชุ ม ชน โดยควรเน้ น ใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศใน การพัฒนากระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทาบริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น 2. อปท. ของท่านควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการ ท างานและบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ การติ ด ประกาศที่ อ าคารส านั ก งาน อปท. การประกาศข่าวผ่านเสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน เวบไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ และ เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์รูปแบบต่างๆ โดยควรกระทาอย่างสม่าเสมอ 3. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ประชาชน องค์กรชุมชน และภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุม สภานิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารือกับนายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็น สาคัญของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ
353
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร 4. คณะกรรมการพั ฒ นา อปท. และคณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้อ งถิ่ น ของ อปท. ของท่านควรประกอบด้วยองค์กรภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนแต่เพียงกระบวนการ จัดทาแผน แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน โครงการบริการสาธารณะต่างๆไปสู่การปฏิบัติ ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจรับการจัดซื้อจัดจ้าง ของ อปท. และร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลปฏิบัติราชการของ อปท. ด้วย 5. อปท. ของท่านควรส่งเสริมและเสริมสร้างศักยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญัติ ต่อสภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็น เวที ส านเสวนาท าประชาพิ จ ารณ์ เ พื่ อ ก าหนดทิ ศ ทางและนโยบายการพั ฒ นา หรื อ จั ด ล าดั บ ความสาคัญของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจของ ประชาชนที่มีต่อบริการสาธารณะของ อปท. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงกระบวนการ ทางานของ อปท. หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 2. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จาก การถอดบทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ ชัดเจนเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
354
รำงวัล ประเภทที่ 2 รำงวั ล ด้ ำ นสั น ติ สุ ข และกำรเสริ ม สร้ ำ งควำมสมำนฉั น ท์ 1. เทศบำลตำบลพุเตย จ.เพชรบูรณ์ เทศบาลตาบลพุเตย ได้รั บ คะแนนรวมทั้ง หมดคิด เป็น 47.99 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของเทศบาลตาบลพุเตยต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อ รับรางวัลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของเทศบาล ตาบลพุเตยในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลพุเตยมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 25.80 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 22.47 คะแนน โดยเทศบาลตาบลพุเตยได้ คะแนน 22.96 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้ คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 18.71 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดยเทศบาลตาบลพุเตยได้ 15.31 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.00 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดยเทศบาล ตาบลพุเตยได้คะแนน 9.72 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่เทศบาลตาบลพุเตยต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อมล้ าทางสั งคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่ อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มี ความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของหลั กปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้ หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ของท่านควรเสริ มสร้ างภาพลั กษณ์ด้านธรรมาภิบาลและความโปร่งใสของกระบวนการ ปฏิบัติราชการโดยประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการชาระภาษีอาการและค่าธรรมเนียม ของ อปท. รายรับ-รายจ่ายตามข้อบัญญัติงบประมาณประจาปีของ อปท. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ครุ ภัณฑ์ของ อปท. ตลอดจนข้อมูล ต่างๆเกี่ ยวกับการประชุมสภานิติบัญญัติของ อปท. ได้แก่ วันและเวลาการประชุม ญัตติต่างๆ และมติที่ประชุมสภา นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรมีวิธีการที่ หลากหลายและชัดเจนเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริตคอรัปชั่นภายในองค์กร โดยเปิดโอกาสให้ ภาคประชาชนมีส่วนร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้ ประชาชนมีความพึงพอใจในภาพลักษณ์และความโปร่งใส ของ อปท. ของท่าน และยิ น ดี ส นั บสนุ นกิ จกรรมต่า งๆของ อปท. รวมทั้งการช าระภาษี และ ค่าธรรมเนียมตามที่ อปท. กาหนด
356
เทศบำล หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรมีทิศทางที่ชัดเจนในการกาหนดนโยบายและโครงการที่เป็นนวัตกรรม โดยควร มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนในการพัฒนาและให้บริการในโครงการนวัตกรรม รวมทั้งควรชี้ให้เห็นถึง สภาพปัญหาและผลกระทบภายในชุมชนก่อนที่จะเริ่มโครงการนวัตกรรม ตลอดจนเชื่อมโยงกับ บริบทและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ยกตัวอย่างเช่น อปท.ของท่านควรอธิบาย ให้ ชัดเจนว่า กลุ่ มเป้าหมายที่ท่านระบุจะได้รับผลกระทบอย่างไรหากปราศจากนโยบายหรือ โครงการที่เป็นนวัตกรรม 2. สาหรับโครงการที่มีความเป็น นวัตกรรม อปท. ควรอธิบายวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทาง การดาเนินงาน กิจกรรม วิธีการประเมินผลความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม และตัวชี้วัดที่ สะท้อนประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการ ประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิ คบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ อาทิเช่น value chain analysis, core competency analysis, reengineering, strategic doing เป็นต้น 3. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 4. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จาก การถอดบทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ ชัดเจนเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
357
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร
2. เทศบำลตำบลกุดกว้ำง จ.ขอนแก่น เทศบาลตาบลกุดกว้าง ได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 46.99 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ ล ะหมวด ส าหรั บ คะแนนของเทศบาลต าบลกุ ด กว้ า งต่ ากว่ า คะแนนที่ ก าหนดไว้ เ พื่ อ รั บ รางวั ล พระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของ เทศบาลตาบลกุดกว้างในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลกุดกว้างมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 25.80 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 22.47 คะแนน โดยเทศบาลตาบลกุดกว้างได้ คะแนน 20.56 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้ คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 18.71 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดยเทศบาลตาบลกุดกว้างได้ 12.39 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
358
เทศบำล หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.00 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดยเทศบาล ตาบลกุดกว้างได้คะแนน 14.04 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่เทศบาลตาบลกุดกว้างต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรกาหนดให้การเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์เป็น “วาระ” สาคัญ และเร่ งด่ว นขององค์กรและชุม ชน วิ สั ยทัศ น์ พันธกิจ และยุท ธศาสตร์ของ อปท. ท่า นควรมี ความเชื่ อ มโยงสอดคล้ อ งกั น และเป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ เ อื้ อ ต่ อ การเสริ ม สร้ า งสั น ติ สุ ข และ ความสมานฉันท์ อีกทั้งยังต้องมี โครงการและกิจกรรมที่พัฒนาบุคลากรในองค์กรของท่านให้ มี ความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการป้องกันและการบริหารจัดการความขัดแย้งภายใน ชุมชน ตลอดจนการเสริมสร้างความสามัคคีภายในชุมชนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรมีฐานข้อมูลสถิติสถานการณ์ความรุนแรงหรือความขัดแย้งภายในชุมชน ได้แก่ สถิติสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว สถานการณ์ การทะเลาะวิวาท โดยมอบให้หน่วยงาน ภายใน อปท. หรือมีการแต่งตัง้ คณะกรรมการร่วมระหว่างชุมชน และ อปท. ให้มีหน้าที่รับผิดชอบ โดยตรง หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ควรพิจารณาปรั บปรุงกระบวนงานที่ส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุขและพัฒนาสังคม ด้านเศรษฐกิจชุมชนและ การส่งเสริมอาชีพ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และด้านการดูแลรักษา ความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อยในชุมชน โดยควรเน้นใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา กระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทา บริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น 2. อปท. ของท่านควรเสริมสร้ างภาพลั กษณ์ด้านธรรมาภิบาลและความโปร่งใสของกระบวนการ ปฏิบัติราชการโดยประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการชาระภาษีอาการและค่าธรรมเนียม ของ อปท. รายรับ-รายจ่ายตามข้อบัญญัติงบประมาณประจาปีของ อปท. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ครุ ภัณฑ์ของ อปท. ตลอดจนข้อมูล ต่างๆเกี่ยวกับการประชุมสภานิติบัญญัติของ อปท. ได้แก่ วันและเวลาการประชุม ญัตติต่างๆ และมติที่ประชุมสภา นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรมีวิธีการ ที่หลากหลายและชัดเจนเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริตคอรัปชั่นภายในองค์กร โดยเปิดโอกาสให้ ภาคประชาชนมีส่วนร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจในภาพลักษณ์และความโปร่งใส
359
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร ของ อปท. ของท่าน และยิ น ดี ส นั บสนุ นกิ จกรรมต่า งๆของ อปท. รวมทั้งการช าระภาษี และ ค่าธรรมเนียมตามที่ อปท. กาหนด หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. สาหรับโครงการที่มีความเป็น นวัตกรรม อปท. ควรอธิบายวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทาง การดาเนินงาน กิจกรรม วิธีการประเมินผลความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม และตัวชี้วัดที่ สะท้อนประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการ ประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิ คบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ อาทิเช่น value chain analysis, core competency analysis, reengineering, strategic doing เป็นต้น 2. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 3. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
360
รำงวัล ประเภทที่ 3 รำงวั ล ด้ ำ นกำรเสริ ม สร้ ำ งเครื อ ข่ ำ ยรั ฐ เอกชน และประชำสั ง คม 1. เทศบำลตำบลบ่อหลวง จ.เชียงใหม่ เทศบาลบ่อหลวง ได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 46.45 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้ แ ก่ คะแนนจากการประเมิ น ขั้ น ต้ น คะแนนการประเมิ น ความพึ ง พอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของเทศบาลบ่อหลวง ต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของเทศบาล บ่อหลวง ในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลบ่อหลวงมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมิน ขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท.ที่มีคะแนนสู งสุดในหมวดนี้ ได้ 27.82 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 22.87 คะแนน โดยเทศบาลบ่อหลวงได้ คะแนน 21.83 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้ คะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 20.86 คะแนน และค่า เฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 17.15 คะแนน โดยเทศบาลบ่อหลวง ได้ 16.38 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.84 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดยเทศบาล บ่อหลวงได้คะแนน 8.25 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่เทศบาลตาบลบ่อหลวงต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่ า นควรมี โ ครงการและกิ จ กรรมที่ มี ค วามหลากหลาย ความต่ อ เนื่ อ ง และ ความสม่าเสมอในการปลู กฝั งจิ ตส านึกและส่ งเสริม การทางานในรูปแบบเครือข่า ยจัดบริการ สาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ควรพิจารณาปรั บปรุงกระบวนงานที่ส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุขและพัฒนาสังคม ด้านเศรษฐกิจชุมชนและ การส่งเสริมอาชีพ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และด้านการดูแลรักษา ความปลอดภั ย และความสงบเรี ย บร้ อ ยในชุ ม ชน โดยควรเน้ น ใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศใน การพัฒนากระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทาบริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. สาหรับโครงการที่มีความเป็น นวัตกรรม อปท. ควรอธิบายวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทาง การดาเนินงาน กิจกรรม วิธีการประเมินผลความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม และตัวชี้วัดที่ สะท้อนประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการ ประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิ คบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ อาทิเช่น value chain analysis, core competency analysis, reengineering, strategic doing เป็นต้น 2. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้
362
เทศบำล
2. เทศบำลตำบลเวียงป่ำเป้ำ จ.เชียงรำย เทศบาลตาบลเวียงป่าเป้า ได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 48.22 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ล ะหมวด ส าหรั บ คะแนนของเทศบาลตาบลเวียงป่าเป้า ต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับรางวั ล พระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนน ของเทศบาลตาบลเวียงป่าเป้าในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลเวียงป่าเป้ามีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมิน ขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท.ที่มีคะแนนสู งสุดในหมวดนี้ ได้ 27.82 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 22.87 คะแนน โดยเทศบาลเวียงป่าเป้าได้ คะแนน 22.21 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้ คะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 20.86 คะแนน และค่า เฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 17.15 คะแนน โดยเทศบาลเวียงป่าเป้าได้ 16.66 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
363
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.84 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดยเทศบาล เวียงป่าเป้าได้คะแนน 9.36 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่เทศบาลตาบลหาดเสี้ยวต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรกาหนดให้การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคมเป็น “วาระ” สาคัญและเร่งด่วนขององค์กรและชุมชน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของ อปท. ท่านควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกันและเป็นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และ ประชาสังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มี ความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่ หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควรพัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับ องค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ควรพิจารณาปรั บปรุงกระบวนงานที่ส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้แ ก่ ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุขและพัฒนาสังคม ด้านเศรษฐกิจชุมชนและ การส่งเสริมอาชีพ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และด้านการดูแลรักษา ความปลอดภั ย และความสงบเรี ย บร้ อ ยในชุ ม ชน โดยควรเน้ น ใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศใน การพัฒนากระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทาบริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. สาหรับโครงการที่มีความเป็น นวัตกรรม อปท. ควรอธิบายวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทาง การดาเนินงาน กิจกรรม วิธีการประเมินผลความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม และตัวชี้วัดที่ สะท้อนประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการ ประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิ คบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ อาทิเช่น value chain analysis, core competency analysis, reengineering, strategic doing เป็นต้น 2. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้
364
เทศบำล
3. เทศบำลตำบลหำดเสี้ยว จ. สุโขทัย เทศบาลตาบลหาดเสี้ยว ได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 48.64 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ ล ะหมวด ส าหรั บ คะแนนของเทศบาลต าบลหาดเสี้ ย ว ต่ ากว่ า คะแนนที่ ก าหนดไว้ เ พื่ อ รั บ รางวั ล พระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของ เทศบาลตาบลหาดเสี้ยวในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมี ดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าเทศบาลตาบลหาดเสี้ยว มีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมิน ขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท.ที่มีคะแนนสู งสุดในหมวดนี้ ได้ 27.82 คะแนน และค่ า เฉลี่ ย ของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คื อ 22.87 คะแนน โดยเทศบาลต าบล หาดเสี้ยว ได้คะแนน 14.97 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้ คะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 20.86 คะแนน และค่า เฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 17.15 คะแนน โดยเทศบาลตาบลหาดเสี้ยวได้ 13.82 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
365
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 18.84 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดยเทศบาล ตาบลหาดเสี้ยวได้คะแนน 48.76 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่เทศบาลตาบลหาดเสี้ยวต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรกาหนดให้การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคมเป็น “วาระ” สาคัญและเร่งด่วนขององค์กรและชุมชน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของ อปท. ท่านควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกันและเป็นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และ ประชาสังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มี ความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่ หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควรพัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับ องค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2. อปท. ของท่ า นควรมี โ ครงการและกิ จ กรรมที่ มี ค วามหลากหลาย ความต่ อ เนื่ อ ง และ ความสม่าเสมอในการปลู กฝั งจิ ตส านึกและส่ งเสริม การทางานในรูปแบบเครือข่า ยจัดบริการ สาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ร่วมกั บองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ของท่านควรเสริมสร้ างภาพลั กษณ์ด้านธรรมาภิบาลและความโปร่งใสของกระบวนการ ปฏิบัติราชการโดยประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการชาระภาษีอาการและค่าธรรมเนียม ของ อปท. รายรับ-รายจ่ายตามข้อบัญญัติงบประมาณประจาปีของ อปท. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุ ครุ ภัณฑ์ของ อปท. ตลอดจนข้อมูล ต่างๆเกี่ยวกับการประชุมสภานิติบัญญัติของ อปท. ได้แก่ วันและเวลาการประชุม ญัตติต่างๆ และมติที่ประชุมสภา นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรมีวิธีการที่ หลากหลายและชัดเจนเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริตคอรัปชั่นภายในองค์กร โดยเปิดโอกาสให้ ภาคประชาชนมีส่วนร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจในภาพลักษณ์และความโปร่งใส ของ อปท. ของท่าน และยิ น ดี ส นั บสนุ นกิ จกรรมต่า งๆของ อปท. รวมทั้งการช าระภ าษี และ ค่าธรรมเนียมตามที่ อปท. กาหนด หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. สาหรับโครงการที่มีความเป็น นวัตกรรม อปท. ควรอธิบายวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทาง การดาเนินงาน กิจกรรม วิธีการประเมินผลความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม และตัวชี้วัดที่
366
เทศบำล สะท้อนประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการ ประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิ คบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ อาทิเช่น value chain analysis, core competency analysis, reengineering, strategic doing เป็นต้น 2. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้
367
ข้อเสนอแนะ ระดับองค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
รำงวัล ประเภทที่ 1 รำงวั ล ด้ ำ นควำมโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม กำรมี ส่ ว นร่ ว มของประชำชน 1. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลไกรนอก จ.สุโขทัย อบต. ไกรนอก ได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 49.32 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้ แ ก่ คะแนนจากการประเมิ น ขั้ น ต้ น คะแนนการประเมิ น ความพึ ง พอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของ อบต. ไกรนอกต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้ า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของ อบต. ไกรนอกในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร จากกราฟแสดงให้เห็นว่า อบต. ไกรนอกมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมิน ขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท.ที่มีคะแนนสู งสุดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 24.55 คะแนน โดย อบต. ไกรนอกได้ คะแนน 22.12 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้ คะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 19.98 คะแนน และค่า เฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.10 คะแนน โดย อบต. ไกรนอก ได้ 15.04 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 19.26 คะแนน และค่าเฉลี่ย ของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 14.91 คะแนน โดย อบต. ไกรนอกได้คะแนน 12.16 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ป รึ ก ษามีข้ อเสนอแนะในภาพรวมที่ อบต. ไกรนอกต้ องทบทวนเพื่ อเพิ่ม ประสิ ทธิ ภ าพใน การปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของท่ า นให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า นนิ ติ บั ญ ญั ติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติ หน้ า ที่ ข องคณะผู้ บ ริ ห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นอกเหนื อ จากข้ อ บั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี โดยส าหรั บ การเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นั้ น อปท.ของท่ า นควรให้ ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่นควรมีกิจกรรมและโครงการที่ ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ของท่านควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการ ท างานและบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ การติ ด ประกาศที่ อ าคารส านั ก งาน อปท. การประกาศข่าวผ่านเสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน เวบไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ และ เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์รูปแบบต่างๆ โดยควรกระทาอย่างสม่าเสมอ 2. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ประชาชน องค์กรชุมชน และภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุม สภานิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารือกับนายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็น สาคัญของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ 3. คณะกรรมการพั ฒ นา อปท. และคณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้อ งถิ่ น ของ อปท. ของท่านควรประกอบด้วยองค์กรภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคประชาชนและภาคธุรกิจ เอกชนแต่เพียงกระบวนการ
372
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) จัดทาแผน แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน โครงการบริการสาธารณะต่างๆไปสู่การปฏิบัติ ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจรับการจัดซื้อจัดจ้าง ของ อปท. และร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลปฏิบัติราชการของ อปท. ด้วย 4. อปท. ของท่านควรส่งเสริมและเสริมสร้างศักยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญัติ ต่อสภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็นเวที สานเสวนาทาประชาพิจารณ์เพื่อกาหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนา หรือจัดลาดับความสาคัญ ของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจของประชาชนที่มี ต่อบริการสาธารณะของ อปท. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงกระบวนการทางานของ อปท. หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรมีทิศทางที่ชัดเจนในการกาหนดนโยบายและโครงการที่เป็นนวัตกรรม โดยควร มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนในการพัฒนาและให้บริการในโครงการนวัตกรรม รวมทั้งควรชี้ให้เห็นถึง สภาพปัญหาและผลกระทบภายในชุมชนก่อนที่จะเริ่มโครงการนวัตกรรม ตลอดจนเชื่อมโยงกับ บริบทและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ยกตัวอย่างเช่น อปท.ของท่านควรอธิบาย ให้ ชัดเจนว่า กลุ่ มเป้าหมายที่ ท่านระบุจะได้รับผลกระทบอย่างไรหากปราศจากนโยบายหรือ โครงการที่เป็นนวัตกรรม 2. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 3. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
373
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร
2. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลท่ำโพธิ์ จ.พิษณุโลก อบต. ท่าโพธิ์ ได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 49.90 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้ แ ก่ คะแนนจากการประเมิ น ขั้ น ต้ น คะแนนการประเมิ น ความพึ ง พอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของ อบต. ท่าโพธิ์ต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของ อบต. ท่าโพธิ์ ในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่า อบต. ท่าโพธิ์มีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 24.55 คะแนน โดย อบต. ท่าโพธิ์ได้คะแนน 25.03 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
374
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้ คะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 19.98 คะแนน และค่า เฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.10 คะแนน โดย อบต. ท่าโพธิ์ ได้ 13.97 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 19.26 คะแนน และค่าเฉลี่ย ของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 14.91 คะแนน โดย อบต. ท่าโพธิ์ได้คะแนน 10.89 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ ป รึ ก ษามี ข้ อ เสนอแนะในภาพรวมที่ อบต. ท่ า โพธิ์ ต้ อ งทบทวนเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพใน การปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. ภายหลั งจากการกาหนดแผนพัฒ นาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติ ราชการแล้ว อปท. ของท่านควรให้ความสาคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่าย ภาคประชาชนในการขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยาย ขอบเขตการมี ส่ ว นร่ ว มของภาคส่ ว นต่า งๆใน “การคิ ด ร่ว ม” “การตั ดสิ น ใจเชิ ง นโยบายและ งบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของ ท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วนต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่ หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ประกอบของ ตัวแทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนินงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะกลุ่มสตรีและ ผู้ด้อยโอกาส 2. อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของท่ า นให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า นนิ ติ บั ญ ญั ติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติ หน้ า ที่ ข องคณะผู้ บ ริ ห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นอกเหนื อ จากข้ อ บั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี โดยส าหรั บ การเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นั้ น อปท.ของท่ า นควรให้ ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่นควรมีกิจกรรมและโครงการที่ ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ของท่านควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการ ท างานและบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ การติ ด ประกาศที่ อ าคารส านั ก งาน อปท. การประกาศข่าวผ่านเสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน เวบไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ และ เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์รูปแบบต่างๆ โดยควรกระทาอย่างสม่าเสมอ
375
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร 2. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ประชาชน องค์กรชุมชน และภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุมสภา นิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารือกับนายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็นสาคัญ ของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ 3. คณะกรรมการพั ฒ นา อปท. และคณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้อ งถิ่ น ของ อปท. ของท่านควรประกอบด้วยองค์กรภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนแต่เพียงกระบวนการ จัดทาแผน แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและภาคธุรกิจ เอกชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน โครงการบริการสาธารณะต่างๆไปสู่การปฏิบัติ ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจรับการจัดซื้อจัดจ้าง ของ อปท. และร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลปฏิบัติราชการของ อปท. ด้วย 4. อปท. ของท่านควรส่งเสริมและเสริมสร้างศักยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญั ติ ต่อสภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็นเวที สานเสวนาทาประชาพิจารณ์เพื่อกาหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนา หรือจัดลาดับความสาคัญ ของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อ บริการสาธารณะของ อปท. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงกระบวนการทางานของ อปท. หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรระบุที่มาและกระบวนการกาหนดนโยบายและโครงการนวัตกรรม โดยเฉพาะ กระบวนการระดมความคิดเห็นของผู้บริหารท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย ได้แก่ ภาคเอกชนและ ภาคประชาสังคม และควรมีเป้าหมายที่ชัดเจนในการแก้ไขปัญหา 2. อปท. ของท่านควรอธิบายเปรียบเทียบวิธีแก้ไขปัญหาตามนโยบายหรือโครงการนวัตกรรมว่ามี ความแตกต่างจากแนวคิดหรือวิธีการเดิมอย่างไร เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นนวัตกรรมของ นโยบายและโครงการ 3. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 4. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
376
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.)
3. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลทุ่งควำยกิน จ.ระยอง อบต. ทุ่งควายกิน ได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 47.70 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้ แ ก่ คะแนนจากการประเมิ น ขั้ น ต้ น คะแนนการประเมิ น ความพึ ง พอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของ อบต. ทุ่งควายกินต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของ อบต. ทุ่งควายกินในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่า อบต. ทุ่งควายกินมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท.ที่มีคะแนนสูงสุดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 24.55 คะแนน โดย อบต. ทุ่งควายกิน ได้ คะแนน 22.12 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
377
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้ คะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 19.98 คะแนน และค่า เฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.10 คะแนน โดย อบต. ทุ่งควายกิน ได้ 11.77 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 19.26 คะแนน และค่าเฉลี่ย ของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 14.91 คะแนน โดย อบต. ทุ่งควายกินได้คะแนน 13.80 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่ อบต. ทุ่งควายกิน ต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พั ฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ ม คนพิ ก ารและ ผู้ด้อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดีใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่านไม่ควร จากัดบทบาทของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผนเพียงอย่าง เดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนในการนา นโยบายและแผนไปสู่ การปฏิบั ติ ตลอดจนการวิเคราะห์ และประเมินผลสั มฤทธิ์ของแผนและ โครงการต่างๆของ อปท. โดยช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น ควรมีความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่ายและเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ภายหลั งจากการกาหนดแผนพัฒ นาท้องถิ่น แผนดาเนินงาน และแผนการประเมินผลปฏิบัติ ราชการแล้ว อปท. ของท่านควรให้ความสาคัญกับบทบาทหน้าที่ของภาคเอกชนและเครือข่าย ภาคประชาชนในการขับเคลื่อนนโยบายและแผนต่างๆของ อปท. ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งควรขยาย ขอบเขตการมี ส่ ว นร่ ว มของภาคส่ ว นต่า งๆใน “การคิ ด ร่ว ม” “การตั ดสิ น ใจเชิ ง นโยบายและ งบประมาณร่วม” และ “การดาเนินการต่าง” ร่วมกับคณะผู้บริหารและบุคลากรภายใน อปท.ของ ท่าน การเปิดพื้นที่ ช่องทาง หรือโอกาสให้แก่ภาคส่วนต่างๆ ควรมีอย่างสม่าเสมอ มีรูปแบบที่ หลากหลาย และทันสมัยเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก นอกจากนี้ องค์ประกอบของ ตัวแทนภาคประชาชนที่เข้ามาสู่กระบวนการกาหนดแผน นโยบาย และวิธี การดาเนินงานของ อปท. ของท่านควรมีความหลากหลาย ครอบคลุม ทุกภาคส่วนของชุมชน โดยเฉพาะกลุ่มสตรีและ ผู้ด้อยโอกาส 3. อปท. ของท่านควรมีนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า นการเงิ น การคลั ง และงบประมาณให้ ส ามารถตรวจสอบบั ญ ชี แ ละติ ด ต าม การเบิกจ่ายงบประมาณและการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ประการสาคัญคือ
378
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) อปท.ของท่านควรมีโ ครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนและหลากหลายตามแผนการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบที่นอกเหนือไปจากการจัดโครงการฝึกอบรมให้ความรู้ และสร้ างจิ ตส านึ กเกี่ย วกับ การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในองค์กร นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรแสวงหาวิธีการเพิ่มศักยภาพในการจัดเก็บรายได้จากฐานภาษีตามที่กฎหมายกาหนด หากฐานภาษีแคบ ก็ควรแสวงหารายได้จากแหล่งอื่น เช่น ค่าธรรมเนียมต่างๆ และกิจการพาณิชย์ ของ อปท. เป็ น ต้ น อนึ่ ง อปท. ควรเปิด โอกาสให้ ภ าคประชาชนมี ส่ ว นร่ว มในการตรวจสอบ กระบวนการจัดซื้อจั ดจ้ าง การติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณ ตลอดจนการตรวจสอบบัญชี ค่าใช้จ่ ายของ อปท.ของท่า น โดยเฉพาะการจัด ทาฐานข้ อมู ล การเงิ นการคลั ง ของ อปท. ให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงและตรวจสอบ อปท. ได้ตลอดเวลา 4. อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของท่ า นให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า นนิ ติ บั ญ ญั ติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติ หน้ า ที่ ข องคณะผู้ บ ริ ห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นอกเหนื อ จากข้ อ บั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี โดยส าหรั บ การเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นั้ น อปท.ของท่ า นควรให้ ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่นควรมีกิจกรรมและโครงการที่ ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น 5. นอกเหนือจากช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์แบบดั้งเดิม ได้แก่ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสารทางเดียว การติดประกาศหน้ าอาคารสานักงานของ อปท. และการเปิดรับบัตรสนเท่ห์ อปท.ของท่าน ควรเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและ การรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบสื่อสาร 2 ทางที่มีความรวดเร็ว ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ อปท. ของท่านยังควรดาเนินการแก้ไขปัญหาตาม ข้อร้องเรีย นร้องทุกข์ของประชาชนให้รวดเร็ว หรือถ้าหากแก้ไขไม่ได้ ภายใต้อานาจหน้าที่ของ อปท. ก็ควรดาเนินการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ดาเนินงานช่วยเหลือประชาชนอย่าง ทันท่วงที หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ควรพิจารณาปรั บปรุงกระบวนงานที่ส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุขและพัฒนาสังคม ด้านเศรษฐกิจชุมชนและ การส่งเสริมอาชีพ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และด้านการดูแลรักษา ความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อยในชุมชน โดยควรเน้นใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา กระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทา บริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น 2. อปท. ของท่านควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการ ท างานและบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ การติ ด ประกาศที่ อ าคารส านั ก งาน อปท.
379
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร การประกาศข่าวผ่านเสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน เวบไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ และ เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์รูปแบบต่างๆ โดยควรกระทาอย่างสม่าเสมอ 3. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ประชาชน องค์กรชุมชน และภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุม สภานิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารือกับนายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็น สาคัญของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ 4. คณะกรรมการพั ฒ นา อปท. และคณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้อ งถิ่ น ของ อปท. ของท่านควรประกอบด้วยองค์กรภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนแต่เพียงกระบวนการ จัดทาแผน แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน โครงการบริการสาธารณะต่างๆไปสู่การปฏิบัติ ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจรับการจัดซื้อจัดจ้าง ของ อปท. และร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลปฏิบัติราชการของ อปท. ด้วย 5. อปท. ของท่านควรส่งเสริมและเสริมสร้างศักยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญัติ ต่อสภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็นเวที สานเสวนาทาประชาพิจารณ์เพื่อกาหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนา หรือจั ดลาดับความสาคัญ ของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อ บริการสาธารณะของ อปท. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงกระบวนการทางานของ อปท. หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรมีทิศทางที่ชัดเจนในการกาหนดนโยบายและโครงการที่เป็นนวัตกรรม โดยควร มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนในการพัฒนาและให้บริการในโครงการนวัตกรรม รวมทั้งควรชี้ให้เห็นถึง สภาพปัญหาและผลกระทบภายในชุมชนก่อนที่จะเริ่มโครงการนวัตกรรม ตลอดจนเชื่อมโยงกับ บริบทและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ยกตัวอย่างเช่น อปท.ของท่านควรอธิบาย ให้ ชัดเจนว่า กลุ่ มเป้าหมายที่ท่านระบุจะได้รับผลกระทบอย่างไรหากปราศจากนโยบายหรือ โครงการที่เป็นนวัตกรรม 2. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 3. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
380
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร
4. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลพลูตำหลวง จ.ระยอง อบต. พลูตาหลวง ได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 52.97 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้ แ ก่ คะแนนจากการประเมิ น ขั้ น ต้ น คะแนนการประเมิ น ความพึ ง พอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของ อบต. พลูตาหลวงต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับรางวั ลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของ อบต. พลูตาหลวงในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่า อบต. พลูตาหลวงมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมิน ขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท.ที่มีคะแนนสู งสุดในหมวดนี้ ได้ 27.39 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 24.55 คะแนน โดย อบต. พลูตาหลวงได้ คะแนน 23.39 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้ คะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 19.98 คะแนน และค่า เฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.10 คะแนน โดย อบต. พลูตาหลวง ได้ 11.77 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
381
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 19.26 คะแนน และค่าเฉลี่ย ของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 14.91 คะแนน โดย อบต. พลูตาหลวง ได้คะแนน 17.81 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ปรึกษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่ อบต. พลูตาหลวงต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนและกลุ่มประชาชนที่มีความหลากหลายเข้าร่วมจัดทา แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น และแผนอื่ น ของ อปท. โดยควรเน้ น พั ฒ นากลุ่ ม สตรี กลุ่ ม คนพิ ก ารและ ผู้ด้อยโอกาส ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านให้มีศักยภาพ บทบาท และภาวะความเป็นพลเมืองที่ดี ในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข นอกจากนี้ อปท. ของท่าน ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนแต่ในกระบวนการจัดทาแผน เพียงอย่างเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและเครือข่ายภาคประชาชนมีความเป็นหุ้นส่วนใน การน านโยบายและแผนไปสู่ การปฏิ บั ติ ตลอดจนการวิ เ คราะห์ แ ละประเมิน ผลสั ม ฤทธิ์ ข อง แผนและโครงการต่ า งๆของ อปท. โดยช่ อ งทางการมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชนนั้ น ควรมี ความหลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. อปท. ของท่านควรมีแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติของ อปท. ของท่ า นให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า นนิ ติ บั ญ ญั ติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสอดคล้ อ งกั บ ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะการตั้งกระทู้เพื่อติดตามตรวจสอบการปฏิบัติ หน้ า ที่ ข องคณะผู้ บ ริ ห าร อปท. ตลอดจนการเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นอกเหนื อ จากข้ อบั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ่ า ยประจ าปี โดยส าหรั บ การเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ นั้ น อปท.ของท่ า นควรให้ ความสาคัญกับร่างข้อบัญญัติที่เสนอโดยภาคประชาชน สภาท้องถิ่นควรมีกิจกรรมและโครงการที่ ส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติมากขึ้น 3. ในการพัฒนาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทีเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. ของท่านควรคานึงถึงนวัตกรรมที่มีมิติด้านธรรมมาภิบาลเป็นพื้นฐาน คือ ความสมานฉันท์ ปรองดอง ความเหลื่ อมล้ าทางสั งคม ความเท่าเทียมทางเพศ ความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนการป้องกัน ปราบปราม และต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น นอกจากนี้ ควรเป็นแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่มี ความทันสมัยตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ โดยตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของหลั กปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนมีการเก็บข้อมูลและถอดบทเรียนอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ อปท. อื่นสามารถนาไปปฏิบัติได้
382
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ควรพิจารณาปรั บปรุงกระบวนงานที่ส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุขและพัฒนาสังคม ด้านเศรษฐกิจชุมชนและ การส่งเสริมอาชีพ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และด้านการดูแลรักษา ความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อยในชุมชน โดยควรเน้นใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา กระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทา บริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น 2. อปท. ของท่านควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการ ท างานและบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ การติ ด ประกาศที่ อ าคารส านั ก งาน อปท. การประกาศข่าวผ่านเสียงตามสาย หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน เวบไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ และ เอกสารสื่อสิ่งพิมพ์รูปแบบต่างๆ โดยควรกระทาอย่างสม่าเสมอ 3. อปท. ของท่านควรเปิดโอกาสให้ประชาชน องค์กรชุมชน และภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุม สภานิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารือกับนายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็น สาคัญของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ 4. คณะกรรมการพั ฒ นา อปท. และคณะกรรมการสนั บ สนุ น การจั ด ท าแผนพั ฒ นาท้อ งถิ่ น ของ อปท. ของท่านควรประกอบด้วยองค์กรภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนที่มีความหลากหลาย นอกจากนี้ ไม่ควรจากัดบทบาทของภาคประชาชนและภาคธุรกิจเอกชนแต่เพียงกระบวนการ จัดทาแผน แต่ควรเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและภาคธุรกิ จเอกชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน โครงการบริการสาธารณะต่างๆไปสู่การปฏิบัติ ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจรับการจัดซื้อจัดจ้าง ของ อปท. และร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลปฏิบัติราชการของ อปท. ด้วย 5. อปท. ของท่านควรส่งเสริมและเสริมสร้างศักยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญ ญัติ ต่อสภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็นเวที สานเสวนาทาประชาพิจารณ์เพื่อกาหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนา หรือจัดลาดับความสาคัญ ของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อ บริการสาธารณะของ อปท. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงกระบวนการทางานของ อปท. หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 2. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
383
รำงวัล ประเภทที่ 3 รำงวั ล ด้ ำ นกำรเสริ ม สร้ ำ งเครื อ ข่ ำ ยรั ฐ เอกชน และประชำสั ง คม 1. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลสันกลำง จ. เชียงรำย อบต. สันกลาง ได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 48.10 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้ แ ก่ คะแนนจากการประเมิ น ขั้ น ต้ น คะแนนการประเมิ น ความพึ ง พอใจของประชาชน และคะแนน การประเมินจากการสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนัก ของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของ อบต. สันกลาง ต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้า (60 คะแนน) และต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของ อบต. สันกลางในแต่ละหมวดเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่า อบต. สันกลาง มีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมิน ขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท.ที่มีคะแนนสู งสุดในหมวดนี้ ได้ 26.49 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 23.03 คะแนน โดย อบต. สันกลางได้ คะแนน 24.38 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้ คะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 19.14 คะแนน และค่า เฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดย อบต. สันกลาง ได้ 10.76 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 17.99 คะแนน และค่าเฉลี่ย ของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดย อบต. สันกลาง ได้คะแนน 12.96 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ป รึ กษามีข้อเสนอแนะในภาพรวมที่ อบต. สั นกลาง ต้องทบทวนเพื่อเพิ่มประสิ ทธิภ าพใน การปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรกาหนดให้การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสัง คมเป็น “วาระ” สาคัญและเร่งด่วนขององค์กรและชุมชน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของ อปท. ท่านควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกันและเป็นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้า งเครือข่ายรัฐ เอกชน และ ประชาสังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มี ความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่ หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควรพัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับ องค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ควรพิจารณาปรั บปรุงกระบวนงานที่ส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุขและพัฒนาสังคม ด้านเศรษฐกิจชุมชนและ การส่งเสริมอาชีพ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และด้านการดูแลรักษา ความปลอดภั ย และความสงบเรี ย บร้ อ ยในชุ ม ชน โดยควรเน้ น ใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศใน การพัฒนากระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทาบริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. สาหรับโครงการที่มีความเป็น นวัตกรรม อปท. ควรอธิบายวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทาง การดาเนินงาน กิจกรรม วิธีการประเมินผลความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม และตัวชี้วัดที่ สะท้อนประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการ ประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิ คบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ อาทิเช่น value chain analysis, core competency analysis, reengineering, strategic doing เป็นต้น
386
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) 2. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้ 3. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
387
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร
2. องค์กำรบริหำรส่วนตำบลสระ จ.พะเยำ อบต. สระได้รับคะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็น 45.64 คะแนนซึ่งเป็นผลรวมของคะแนน 3 หมวด ได้แก่ คะแนนจากการประเมินขั้นต้น คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน และคะแนนการประเมินจาก การสนทนากลุ่ม โดยคะแนนแต่ละหมวดได้จากการนาเอาค่า T-Score คูณกับค่าถ่วงน้าหนักของแต่ละหมวด สาหรับคะแนนของอบต. สระต่ากว่าคะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรับ รางวัลพระปกเกล้ า (60 คะแนน) และต่ากว่า คะแนนที่กาหนดไว้เพื่อรั บใบประกาศ (55-59 คะแนน) โดยคะแนนของอบต. สระในแต่ล ะหมวดเมื่อ เปรียบเทียบกับคะแนนสูงสุดและคะแนนเฉลี่ยมีดังนี้
จากกราฟแสดงให้เห็นว่าอบต. สระมีคะแนนในแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมิน ขั้นต้น (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 40) : อปท.ที่มีคะแนนสู งสุดในหมวดนี้ ได้ 26.49 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 23.03 คะแนน โดยอบต. สระได้คะแนน 24.38 คะแนน ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ หมวดที่ 2 คะแนนการประเมินความพึงพอใจของประชาชน (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่ได้ คะแนนสู งสุ ดในหมวดนี้ ได้ 19.14 คะแนน และค่า เฉลี่ ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน โดย อบต. สันกลาง ได้ 13.33 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้
388
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) หมวดที่ 3 คะแนนการประเมินการสนทนากลุ่ม (ค่าถ่วงน้าหนักร้อยละ 30) : อปท. ที่มีคะแนนสูงสุด ในหมวดนี้ ได้ 17.99 คะแนน และค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้คือ 15.00 คะแนน อบต. สระ ได้คะแนน 7.94 คะแนน ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนมาตรฐานในหมวดนี้ คณะที่ ป รึ ก ษามี ข้ อ เสนอแนะในภาพรวมที่ อบต. สระต้ อ งทบทวนเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพใน การปฏิบัติงาน ดังนี้ หมวดที่ 1 การประเมินขั้นต้น 1. อปท. ของท่านควรกาหนดให้การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคมเป็น “วาระ” สาคัญและเร่งด่วนขององค์กรและชุมชน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของ อปท. ท่านควรมี ความเชื่อมโยงสอดคล้องกันและเป็นไปในทิศทางที่เอื้อต่อการเสริมสร้า งเครือข่ายรัฐ เอกชน และ ประชาสังคม โดยควรมีโครงการและกิจกรรมที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้มี ความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการเสริมสร้างความร่วมมือกับองค์กรจากภาคส่วนที่ หลากหลาย ทั้งนี้ อปท. ของท่านควรพัฒนาความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือกับ องค์กรภาคส่วนต่างๆ เช่น ส่วนราชการ อปท. อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ในการจัดบริการสาธารณะร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2. อปท. ของท่ า นควรมี โ ครงการและกิ จ กรรมที่ มี ค วามหลากหลาย ความต่ อ เนื่ อ ง และ ความสม่าเสมอในการปลู กฝั งจิ ตส านึกและส่ งเสริม การทางานในรูปแบบเครือข่า ยจัดบริการ สาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ร่วมกับองค์กรภาคส่วนอื่นๆ โดยควรเน้นเครือข่ายการทางานที่ ใกล้ชิดกับองค์กรภาคประชาสังคม หมวดที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของประชาชน 1. อปท. ควรพิจารณาปรั บปรุงกระบวนงานที่ส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุขและพัฒนาสังคม ด้านเศรษฐกิจชุมชนและ การส่งเสริมอาชีพ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และด้านการดูแลรักษา ความปลอดภั ย และความสงบเรี ย บร้ อ ยในชุ ม ชน โดยควรเน้ น ใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศใน การพัฒนากระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทาบริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น หมวดที่ 3 การประเมินการสนทนากลุ่ม 1. อปท. ของท่านควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รูปธรรมและสามารถนาผลไปปรับปรุงกระบวนงานได้
389
ขั้นตอนที่ 2 กำรประเมินผลปฏิบตั ริ ำชกำร 2. อปท. ของท่านควรมีระบบการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอด บทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีหรือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังสาธารณชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
390