การประเมินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อรับ
รางวัลพระปกเกล้าสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี ความเป็นเลิศ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๐
E-book File
Downloadable File
รางวัลพระปกเกล้าสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศประจาปี พ.ศ. 2560 เป็น โครงการที่เปิดพื้นที่ให้ อปท. นาเสนอแผนงานและโครงการที่มีความโดดเด่น 3 ด้าน คือ ด้านความโปร่งใส และสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ และด้านสร้างเสริม เครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม เพื่อให้คณะที่ปรึกษาของสถาบันพระปกเกล้าประเมินตามเกณฑ์ตัวชี้วัด ที่กาหนดไว้ ซึ่งการประเมินมี 3 ขั้นตอน คือ การประเมินขั้นต้นจากใบสมั ครและเอกสารหลักฐานที่ อปท. ส่ง เข้าประกวด การประเมินขั้นที่ 2 ด้วยการสารวจความพึงพอใจของประชาชนและการประชุมสนทนากลุ่ ม ผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่ และการประเมินขั้นที่ 3 โดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสถาบันพระปกเกล้า สถาบันพระปกเกล้าได้จ้ างคณะที่ปรึก ษานาโดย รองศาสตราจารย์ ดร.อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้กาหนดเกณฑ์ตัวชี้วัดการประเมินและดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลและพิจารณา อปท. ที่สมควรได้รับ รางวัล โดยได้รับความอนุเคราะห์ในการประเมินขั้นที่ 2 จากคณาจารย์มหาวิทยาลัยและนักวิจัย ซึ่งมีรายชื่อ ปรากฏในภาคผนวกที่ 1 ของรายงานฉบับนี้ รางวัลพระปกเกล้าเป็นโครงการที่ไม่มีเงินงบประมาณอุดหนุนให้แก่ อปท. ที่ได้รับรางวัล แต่เป็น การเปิดโอกาสให้ อปท. เรียนรู้เกี่ยวกับแนวทางการบริหารองค์กรภาครัฐตามหลักธรรมาภิบาลและนวัตกรรม การจัดบริการสาธารณะที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและแผนยุทธศาสตร์ชาติ ทั้งนี้ นอกจากการยกย่อง เชิ ด ชู เกี ย รติ อปท. ที่ ได้ รั บ รางวั ล แล้ ว อปท. ทุ ก แห่ ง ที่ ส่ ง ผลงานเข้า ประกวดจะได้ รับ ข้ อ เสนอแนะเป็ น ลายลักษณ์อักษรเพือ่ พัฒนาการจัดบริการสาธารณะในอนาคต คณะที่ปรึกษาหวังว่า รายงานฉบับสมบูรณ์และรายงานข้อเสนอแนะสาหรับ อปท. ที่เข้าร่วมโครงการ จะเป็น ประโยชน์ แก่นั กวิช าการ คณาจารย์ และผู้ ปฏิบัติงานใน อปท. และขอขอบพระคุณคณะผู้ บริห าร สถาบัน พระปกเกล้า คณะกรรมการพิจารณารางวัลพระปกเกล้ าสาหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศประจาปี พ.ศ. 2560 และนักวิจัยในภูมิภาคทุกท่านที่สนับสนุนจนทาให้การดาเนินงานของคณะที่ปรึกษาสาเร็จลุล่วง ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ รองศาสตราจารย์ ดร.อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา 20 ธันวาคม 2560
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ถือเป็นหน่วยงานที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและ ประเทศชาติ มีหน้าที่หลักในการจัดบริการสาธารณะที่เป็นพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาหลายทศวรรษ อปท.ในภาพรวมสามารถจัดบริการสาธารณะได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในแง่ของการพัฒนากิจกรรมและโครงการต่างๆ ที่ตอบสนองความจาเป็นในการดาเนินชีวิตของประชาชน ตลอดจนสามารถจัดการเรื่องราวภายในชุมชนจนก่อให้เกิดนวัตกรรมในการให้บริการสาธารณะและนวัติกรรม ทางด้านการบริหาร สาหรับการประเมิน อปท. เพื่อเข้ารับรางวัลพระปกเกล้าของสถาบันพระปกเกล้าถือ ได้ว่าเป็นประโยชน์โดยตรงต่อ อปท. ที่สมัครเข้าร่วมโครงการ เพราะถือเป็นการประเมินตนเองของ อปท. และเป็นการเรียนรู้มาตรฐานและวิธี การบริหารรัฐกิจที่เป็นเลิศเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับบริบท พื้นที่ทาให้ อปท. พัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพในการบริหารองค์กรและกระบวนการให้บริการประชาชน จนเกิดนวัตกรรมที่เป็นกิจกรรมและโครงการต่างๆ ทั้งด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน ด้านสันติสุขและสมานฉันท์ และด้านเครือข่ายความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ
ประเภทรางวัลและจานวน อปท. ที่เข้าร่วมโครงการ รางวัลพระปกเกล้าสาหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ (1) รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน (2) รางวัลความเป็นเลิศด้านสันติสุขและเสริมสร้างความสมานฉันท์ (3) รางวัลความเป็นเลิศด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และภาคประชาสังคม โดยในปี พ.ศ. 2560 มี อปท. 178 แห่งส่งผลงานเข้าร่วมประกวด โดยเทศบาลตาบลมีจานวนมาก ที่สุด 86 แห่ง รองลงมาคือ อบต. จานวน 51 แห่ง เทศบาลเมือง จานวน 22 แห่ง อบจ. จานวน 12 แห่ง และเทศบาลนคร จานวน 7 แห่ง และเมื่อแบ่งตามประเภทรางวัล พบว่า
บทสรุปผู้บริหาร
(1) รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน มี อปท. ส่ง ผลงานเข้าประกวดจานวน 112 แห่ง (2) รางวัลความเป็นเลิศด้านสันติสุขและเสริมสร้างความสมานฉันท์ มี อปท. ส่งผลงานเข้าประกวด จานวน 10 แห่ง (3) รางวั ล ความเป็ น เลิ ศด้ านเสริ มสร้ างเครือข่า ยรัฐ เอกชน และภาคประชาสั ง คม มี อปท. ส่ ง ผลงานเข้าประกวดจานวน 56 แห่ง
วิธีการศึกษา การประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี พ.ศ. 2560 ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ o การประเมินขั้นตอนที่ 1 เป็นการประเมินเอกสารหลักฐานที่ อปท. ทั่วประเทศส่งมาเพื่อรับ การพิจ ารณาโดยคณะที่ป รึ กษาเปิด รับใบสมัครพร้อ มหลั กฐานระหว่า งเดื อนเมษายน – พฤษภาคม 2560 โดย อปท. ต้องเตรียมและส่งข้อมูลและหลักฐานที่ เป็นผลงานของ อปท. ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างเดือนตุลาคม 2559 -กันยายน 2560 เพื่อให้คณะที่ปรึกษาพิจารณาตาม เงื่อนไขการให้คะแนนของแต่ละประเภทรางวัล o การประเมิน ขั้น ตอนที่ 2 ประกอบด้ว ย 2 ส่ ว น คื อ (1) การประเมิ นความพึงพอใจและ ความเชื่อถือไว้วางใจของประชาชนที่มีต่อ อปท. และ (2) การประเมินจากการสนทนากลุ่ ม หรือการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ อปท. ซึ่งคณะที่ปรึกษาได้รับความอนุเคราะห์ จากอาจารย์มหาวิทยาลัยและนักวิจัยในพื้นที่ดาเนินการเก็บข้อมูลในขั้นตอนที่ 2 คณะที่ปรึกษาประมวลผลคะแนนของ อปท. แต่ละแห่งโดยใช้นาค่า T-score ของผลคะแนนรวมใน แต่ละขั้นตอนมาคูณกับค่าถ่วงน้าหนักที่กาหนดไว้ ดังนี้ ผลคะแนน 1. ค่าถ่วงน้าหนักสาหรับผลคะแนนที่ได้จากการประเมินรอบที่ 1 (W1) 2. ค่าถ่วงน้าหนักสาหรับผลคะแนนที่ได้จากแบบประเมินความพึงพอใจ (W2) 3. ค่าถ่วงน้าหนักสาหรับผลคะแนนที่ได้จากการสนทนากลุ่ม (W3) รวม
ข
ค่าถ่วงน้้าหนัก (W) 40% 30% 30% 100%
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
สูตรคานวณผลคะแนนรวมของแต่ละ อปท. คือ
เมื่อได้ผลคะแนนรวมของ อปท. แต่ละแห่งที่ผ่านการประเมินรอบที่ 1 และ 2 แล้ว คณะที่ปรึกษาได้ นาผลคะแนนทั้งหมดมาเรียงลาดับจากมากไปหาน้อย และระบุรายชื่อ อปท. ที่สมควรได้รับรางวัลพระปกเกล้า สาหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศในแต่ละประเภทรางวัล โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาดังนี้ ประเภทรางวัล 1. ด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วน ร่วมของประชาชน o อปท. ที่สมควรได้รับโล่รางวัล o อปท. ที่สมควรได้รับใบประกาศ 2. ด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ o อปท. ที่สมควรได้รับโล่รางวัล o อปท. ที่สมควรได้รับใบประกาศ 3. ด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และ ประชาสังคม o อปท. ที่สมควรได้รับโล่รางวัล o อปท. ที่สมควรได้รับใบประกาศ
ผลรวมคะแนนขั้นต่้า ส้าหรับ อบจ.
o 60 คะแนนขึ้นไป o 50-59 คะแนน
ผลรวมคะแนนขั้นต่้า ส้าหรับเทศบาล อบต. และเมืองพัทยา
o 60 คะแนนขึ้นไป o 50-59 คะแนน o 55 คะแนนขึ้นไป o 50-54 คะแนน
o 60 คะแนนขึ้นไป o 50-59 คะแนน
o 55 คะแนนขึ้นไป o 50-54 คะแนน
ในการประเมิน องค์กรปกครองส่ว นท้องถิ่นที่ส มัครเข้าร่ว มโครงการรางวัล พระปกเกล้ า ประจาปี 2560 นั้ น พบว่ า จากจ านวน อปท.ที่ส มัค รเข้ าร่ ว มโครงการทั้ ง หมด 178 แห่ ง มี อปท. ที่ ไม่ ผ่ านเกณฑ์ การประเมินในแต่ละประเภทรางวัล โดยทางคณะผู้วิจัยจะแยกแยะผลการประเมิน อปท. ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ออกเป็น 2 ส่วนตามขั้นการประเมิน คือ ขั้นที่ 1 การประเมินรอบที่ 1 และขั้นที่ 2 การประเมินรอบที่ 2 เพื่อเป็นข้อเสนอแนะให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) นาไปพัฒนาปรับปรุงการดาเนินงานต่อไป
ค
บทสรุปผู้บริหาร
ผลรางวัลด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนมี อปท. 112 แห่ง ส่งผลงานเข้าประกวดประกอบด้วย อบจ. 7 แห่ง เทศบาลและอบต. 105 แห่ง จากการประเมินขั้นที่ 1 และ ขั้นที่ 2 มี อปท. 21 แห่งที่สมควรได้รับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี พ.ศ. 2560 คือ o ประเภท อบจ. พบว่า ไม่มี อบจ. สมควรได้รับโล่รางวัล มี อบจ. ที่สมควรได้รับ ใบประกาศ จานวน 3 แห่ง คือ (1) อบจ. พัทลุง (2) อบจ. สตูล (3) อบจ. สงขลา o ประเภทเทศบาล พบว่า มีเทศบาล 4 แห่งสมควรได้รับโล่รางวัล คือ (1) เทศบาลเมืองแม่เหียะ (จ.เชียงใหม่) (2) เทศบาลเมืองตาคลี (จ.นครสวรรค์) (3) เทศบาลเมืองกระบี่ (จ.กระบี่) (4) เทศบาลตาบลยางเนิ้ง (จ.เชียงใหม่) ส่วนเทศบาลที่สมควรได้รับใบประกาศมี 9 แห่ง คือ (1) เทศบาลตาบลคลองแงะ (จ.สงขลา) (2) เทศบาลตาบลโพธิ์ตลาดแก้ว (จ.ลพบุรี) (3) เทศบาลตาบลทุ่งสง (จ.นครศรีธรรมราช) (4) เทศบาลตาบลวังดิน (จ.ลาพูน) (5) เทศบาลเมืองกระทู้ (จ.ภูเก็ต) (6) เทศบาลตาบลเสิงสาง (จ.นครราชสีมา) (7) เทศบาลตาบลแสนสุข (จ.อุบลราชธานี) (8) เทศบาลนครยะลา (จ.ยะลา) (9) เทศบาลตาบลวังกะ (จ.กาญจนบุรี) o ประเภท อบต. พบว่า มี อบต. จานวน 1 แห่งที่สมควรได้รับโล่รางวัล คือ อบต.ตานาน (จ.พัทลุง) อบต. จานวน 4 แห่งสมควรได้รับใบประกาศ คือ (1) อบต. ต้าผามอก (จ.แพร่) (2) อบต. นครสวรรค์ออก (จ.นครสวรรค์) (3) อบต.ห้วยเกตุ (จ.พิจิตร) (4) อบต. นครชุม (จ.กาแพงเพชร)
ง
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ผลรางวัลด้านสันติสุขและเสริมสร้างความสมานฉันท์ รางวัลความเป็นเลิศด้านสันติสุขและเสริมสร้างความสมานฉันท์มี อปท . 10 แห่งที่ส่งผลงานเข้ า ประกวด โดยไม่มี อบจ. ส่งผลงานเข้าประกวดในปี พ.ศ. 2560 ภายหลังการประเมินขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 พบว่า มี อปท. จานวน 3 แห่งที่สมควรได้รับโล่รางวัล คือ (1) อบต. อ่าวนาง (จ.กระบี่) (2) เทศบาลตาบลป่าบอน (จ.พัทลุง) (3) เทศบาลนครเชียงราย (จ.เชียงราย) สาหรับ อปท. ที่สมควรได้รับใบประกาศ คือ เทศบาลนครขอนแก่น (จ.ขอนแก่น)
ผลรางวัลด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม รางวัลความเป็นเลิศด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคมมี อปท. 56 แห่งที่ส่งผลงาน เข้าประกวด โดยจากการประเมินขั้นตอนที่ 1 และ 2 ของคณะที่ปรึกษาแล้ว พบว่ามี อปท. ที่สมควรได้รับ รางวัลดังนี้ o ประเภท อบจ. ในปี 2560 ไม่มี อบจ. ที่ผ่านเกณฑ์ได้รับโล่รางวัลด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม มีเพียง อบจ. 2 แห่งที่สมควรได้รับใบประกาศ คือ (1) อบจ. สตูล (2) อบจ. สงขลา o ประเภทเทศบาล พบว่า มีเทศบาล 8 แห่งสมควรได้รับโล่รางวัล คือ (1) เทศบาลตาบลเขาพระงาม (จ.ลพบุรี) (2) เทศบาลตาบลบ้านแฮด (จ.ขอนแก่น) (3) เทศบาลตาบลกระสัง (จ. บุรีรัมย์) (4) เทศบาลตาบลบ้านบึง (จ.ชลบุรี) (5) เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ (จ.กาฬสินธุ์) (6) เทศบาลตาบลกาแพง (จ.สตูล) (7) เทศบาลตาบลป่าแดด (จ.เชียงใหม่) (8) เทศบาลตาบลอุโมงค์ (จ.ลาพูน) ส่วนเทศบาลที่สมควรได้รับใบประกาศมี 6 แห่ง คือ (1) เทศบาลตาบลป่าสัก (จ.ลาพูน) (2) เทศบาลเมืองบึงยี่โถ (จ.ปทุมธานี) (3) เทศบาลเมืองมหาสารคาม (จ.มหาสารคาม)
จ
บทสรุปผู้บริหาร
(4) เทศบาลตาบลปลายพระยา (จ.กระบี่) (5) เทศบาลตาบลท่าพระ (จ.ขอนแก่น) (6) เทศบาลตาบลหัวนา (จ.หนองบัวลาภู) o ประเภท อบต. นอกจากนี้ ในบรรดา อบต. ที่ส่งใบสมัครเข้าประกวดในปี 2560 มี อบต. จานวน 4 แห่ง ที่สมควรได้รับโล่รางวัล คือ (1) อบต.ข่วงเปา (จ.เชียงใหม่) (2) อบต.ยางขี้นก (จ.อุบลราชธานี) (3) อบต.พลับพลาไชย (จ.สมุทรสงคราม) (4) อบต.นาพู่ (จ.อุดรธานี) อบต. จานวน 5 แห่งสมควรได้รับใบประกาศ คือ (1) อบต.บ้านทับ (จ.เชียงใหม่) (2) อบต.มะขามเตี้ย (จ.สุราษฎร์ธานี) (3) อบต.ร่องเคาะ (จ.ลาปาง) (4) อบต.เสม็ดใต้ (จ.ฉะเชิงเทรา) (5) อบต.นาไม้ไผ่ (จ.นครศรีธรรมราช)
ผลการตัดสินใจรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560 รอบสุดท้าย o โล่รางวัลพระปกเกล้าส้าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศ ประจ้าปี 2560 ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน จานวน 7 แห่ง (1) องค์การบริหารส่วนจังหวัดตราด (2) องค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง (3) เทศบาลเมืองกระบี่ อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ (4) เทศบาลเมืองแม่เหียะ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (5) เทศบาลตาบลยางเนิ้ง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ (6) องค์การบริหารส่วนตาบลตานาน อาเภอเมือง จังหวัดพัทลุง (7) องค์การบริหารส่วนตาบลต้าผามอก อาเภอลอง จังหวัดแพร่ ด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ จานวน 3 แห่ง (1) เทศบาลนครเชียงราย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย (2) เทศบาลตาบลป่าบอน อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง (3) องค์การบริหารส่วนตาบลอ่าวนาง อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่
ฉ
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ด้านการเสริมสร้างเครือข่าย รัฐ เอกชน และประชาสังคม จานวน 13 แห่ง (1) องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา (2) องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล (3) เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ (4) เทศบาลตาบลบ้านแฮด อาเภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น (5) เทศบาลตาบลป่าแดด อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (6) เทศบาลตาบลกระสัง อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ (7) เทศบาลตาบลเขาพระงาม อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (8) เทศบาลตาบลอุโมงค์ อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน (9) เทศบาลตาบลกาแพง อาเภอละงู จังหวัดสตูล (10) องค์การบริหารส่วนตาบลข่วงเปา อาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ (11) องค์การบริหารส่วนตาบลพลับพลาไชย อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี (12) องค์การบริหารส่วนตาบลนาพู่ อาเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี (13) องค์การบริหารส่วนตาบลยางขี้นก อาเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี o ใบประกาศเกี ย รติ คุ ณ สถาบั น พระปกเกล้ า ส้ า หรั บ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ ผ่ า นเกณฑ์ มาตรฐานประจ้าปี 2560 ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน จานวน 14 แห่ง (1) องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี (2) เทศบาลนครยะลา อาเภอเมือง จังหวัดยะลา (3) เทศบาลเมืองทุ่งสง อาเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช (4) เทศบาลเมืองตาคลี อาเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ (5) เทศบาลเมืองกะทู้ อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต (6) เทศบาลตาบลวังกะ อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี (7) เทศบาลตาบลเสิงสาง อาเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา (8) เทศบาลตาบลโพธิ์ตลาดแก้ว อาเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี (9) เทศบาลตาบลวังดิน อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน (10) เทศบาลตาบลคลองแงะ อาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา (11) เทศบาลตาบลแสนสุข อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี (12) องค์การบริหารส่วนตาบลนครชุม อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร (13) องค์การบริหารส่วนตาบลนครสวรรค์ออก อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ (14) องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยเกตุ อาเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร
ช
บทสรุปผู้บริหาร
ด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ จานวน 1 แห่ง (1) เทศบาลนครขอนแก่น อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ด้านการเสริมสร้างเครือข่าย รัฐ เอกชน และประชาสังคม จานวน 12 แห่ง (1) เทศบาลเมืองมหาสารคาม อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม (2) เทศบาลเมืองบ้านบึง อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี (3) เทศบาลเมืองบึงยี่โถ อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี (4) เทศบาลตาบลปลายพระยา อาเภอปลายพระยา จังหวัดกระบี่ (5) เทศบาลตาบลท่าพระ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (6) เทศบาลตาบลป่าสัก อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน (7) เทศบาลตาบลหัวนา อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู (8) องค์การบริหารส่วนตาบลเสม็ดใต้ อาเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา (9) องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านทับ อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ (10) องค์การบริหารส่วนตาบลนาไม้ไผ่ อาเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช (11) องค์การบริหารส่วนตาบลร่องเคาะ อาเภอวังเหนือ จังหวัดลาปาง (12) องค์การบริหารส่วนตาบลมะขามเตี้ย อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ซ
บทสรุปผู้บริหาร ............................................................................................................................................... ก ......................................................................................................................................................... 1
1.1 หลักการและเหตุผล............................................................................................................................... 1 1.2 วัตถุประสงค์โครงการ ............................................................................................................................ 2 1.3 ประเภทรางวัล ...................................................................................................................................... 3 ก. ประเภทที่ 1 รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ........... 3 ข. ประเภทที่ 2 รางวัลความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์............................. 5 ค. ประเภทที่ 3 รางวัลความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างเครือข่าย รัฐ เอกชน และประชาสังคม ............. 6 1.4 วิธีดาเนินการ ........................................................................................................................................ 8 1.5 กรอบระยะเวลาดาเนินงาน ................................................................................................................... 9 1.6 ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย ................................................................................................................ 9 ...................................................................................................................................................... 11
2.1 2.2 2.3 2.4
ทฤษฎีว่าด้วยการกระจายอานาจ ......................................................................................................... 11 กลไกและมิติของการกระจายอานาจ ................................................................................................... 12 ทิศทางการกระจายอานาจในประเทศไทย ........................................................................................... 15 แนวคิดเรื่องความโปร่งใส .................................................................................................................... 18 ก. หลักการของความโปร่งใส ............................................................................................................... 19 ข. มาตรฐานความโปร่งใสของหน่วยงานรัฐ ......................................................................................... 19
สารบัญ
2.5 แนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชน ............................................................................................ 21 ก. แนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชน .................................................................................. 21 ข. “ระดับ” การมีส่วนร่วมของประชาชน ............................................................................................ 23 2.6 แนวคิดเรื่องการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ภายในชุมชน .................................................. 24 2.7 แนวคิดเรื่องเครือข่ายความร่วมมือบริการสาธารณะ ............................................................................ 26 ก. คุณลักษณะของเครือข่าย ................................................................................................................ 27 ข. รูปแบบของเครือข่าย ...................................................................................................................... 28 ค. ขั้นตอนการสร้างเครือข่าย .............................................................................................................. 29 2.8 สรุปทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศ ...................................................................... 29 ....................................................................................................................................................... 31
3.1 วิธีการดาเนินการในขั้นตอนที่ 1 .......................................................................................................... 31 ก. รางวัลประเภทที่ 1 ความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ......... 31 ข. รางวัลประเภทที่ 2 ความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์........................... 34 ค. รางวัลประเภทที่ 3 ความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ............ 36 3.2 วิธีการดาเนินการในขั้นตอนที่ 2 .......................................................................................................... 38 ก. การประเมินความพึงพอใจและความไว้วางใจของประชาชนต่อ อปท. ............................................. 38 ข. การประเมินผลปฏิบัติงานของ อปท................................................................................................ 40 3.3 การประมวลผลคะแนน ....................................................................................................................... 42 ....................................................................................................................................................... 45
4.1 ข้อมูลทั่วไปของ อปท. ที่เข้าร่วมโครงการรางวัลพระปกเกล้า พ.ศ. 2560 ............................................ 45 4.2 อปท. ที่ผ่านการประเมินรอบที่ 1 ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ............. 47 ก. ผลการประเมิน อบจ. เพื่อรับรางวัลด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน (รอบที่ 1) ........................................................................................................................................ 47 ข. ผลการประเมินเทศบาล, อบต. และเมืองพัทยา เพื่อรับรางวัลด้านความโปร่งใสและส่งเสริม การมีส่วนร่วมของประชาชน (รอบที่ 1) ........................................................................................... 48
ญ
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
4.3 อปท. ที่ผ่านการประเมินรอบที่ 1 ด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ .............................. 54 ก. ผลการประเมินเทศบาลเพื่อรับรางวัลด้านเสริมสร้างสันติสุขและสมานฉันท์ (รอบที่ 1) ................... 54 ข. ผลการประเมิน อบต. เพื่อรับรางวัลด้านเสริมสร้างสันติสุขและสมานฉันท์ (รอบที่ 1) ..................... 55 4.4 อปท. ที่ผ่านการประเมินรอบที่ 1 ด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ...................... 56 ก. ผลการประเมิน อบจ. เพื่อรับรางวัลด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (รอบที่ 1) ........................................................................................................................................ 56 ข. ผลการประเมินเทศบาล, อบต., และเมืองพัทยาเพื่อรับรางวัลด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (รอบที่ 1) ............................................................................................................ 57 4.5 สรุปผลการประเมินรอบที่ 1 .................................................................................................................... 60 ....................................................................................................................................................... 61
5.1 อปท. ที่ผ่านการประเมินรอบที่ 2 ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ............. 61 ก. อปท. ที่สมควรได้รับรางวัลด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน ............... 61 ข. กรณีศึกษา อปท. ที่สมควรได้รับโล่รางวัลด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่วม ของประชาชน ................................................................................................................................. 65 5.2 อปท. ที่ผ่านการประเมินรอบที่ 2 ด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ .............................. 73 ก. อปท. ที่สมควรได้รับรางวัลด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ .................................... 73 ข. กรณีศึกษา อปท. ที่สมควรได้รับโล่รางวัลด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ .............. 73 5.3 อปท. ที่ผ่านการประเมินรอบที่ 2 ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม................ 81 ก. อปท. ที่สมควรได้รับรางวัลพระปกเกล้าด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ........ 81 ข. กรณีศึกษา อปท. ที่สมควรได้รับโล่รางวัลด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ .............. 82 ..................................................................................................................................................... 103
6.1 6.2 6.3 6.4
รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน ............................. 104 รางวัลความเป็นเลิศด้านสันติสุขและเสริมสร้างความสมานฉันท์ ........................................................ 105 รางวัลความเป็นเลิศด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ......................................... 105 ผลการตัดสินใจรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560 รอบสุดท้าย ......................................................... 106
ฎ
สารบัญ
ก. โล่รางวัลพระปกเกล้าสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศ ประจาปี 2560 ........... 106 ข. ใบประกาศเกียรติคุณสถาบันพระปกเกล้าสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานประจาปี 2560............................................................................................................... 107 6.5 ข้อเสนอแนะทั่วไปสาหรับ อปท. ที่ไม่ผ่านการประเมินขั้นที่ 1 ........................................................... 108 6.6 ข้อเสนอแนะทั่วไปสาหรับ อปท. ที่ไม่ผ่านการประเมินขั้นที่ 2 ........................................................... 110 ....................................................................................................................................... 113 ......................................................................................................................................... 117 รายนามนักวิจัยภาคสนาม ........................................................................................................................................ 121 ใบสมัครรางวัล อปท. ที่มีความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน (ประเภท อบจ.) ......................................................................................................................................... 131 ใบสมัครรางวัล อปท. ที่มีความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน (ประเภทเทศบาล อบต. และเมืองพัทยา) ......................................................................................................................................... 141 ใบสมัครรางวัล อปท. ที่มีความเป็นเลิศด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ (ประเภท อบจ.) ......................................................................................................................................... 149 ใบสมัครรางวัล อปท. ที่มีความเป็นเลิศด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ (ประเภทเทศบาล อบต. และเมืองพัทยา) ......................................................................................................................................... 157 ใบสมัครรางวัล อปท. ที่มีความเป็นเลิศด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (ประเภท อบจ.) ........................................................................................................................................ 163 ใบสมัครรางวัล อปท. ที่มีความเป็นเลิศด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (ประเภทเทศบาล อบต. และเมืองพัทยา) ......................................................................................................................................... 169 แบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชนสาหรับการประเมินรอบที่ 2 รางวัลด้านความโปร่งใสและ การเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน (ประเภท อบจ) ........................................................................................................................................ 171 แบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชนสาหรับการประเมินรอบที่ 2 รางวัลด้านความโปร่งใสและการ เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน (ประเภทเทศบาล อบต. และเมืองพัทยา)
ฏ
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
...................................................................................................................................... 173 แบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชนสาหรับการประเมินรอบที่ 2 รางวัลด้านเสริมสร้างสันติสุขและ ความสมานฉันท์ ...................................................................................................................................... 175 แบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชนสาหรับการประเมินรอบที่ 2 รางวัลด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (ประเภท อบจ.) ..................................................................................................................................... 177 แบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชนสาหรับการประเมินรอบที่ 2 รางวัลด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (ประเภทเทศบาล อบต. และเมืองพัทยา) ...................................................................................................................................... 179 แนวทางการประเมินผลงานของ อปท. ด้วยวิธีสนทนากลุ่ม (Focus Group) สาหรับการประเมินรอบที่ 2
ฐ
ตารางที่ 1 ยุคของนโยบายการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ......................................... 16 ตารางที่ 2 ประเด็นการประเมินและคะแนนสาหรับรางวัลด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชน ............................................................................................................................ 34 ตารางที่ 3 ประเด็นการประเมินและคะแนนสาหรับรางวัลด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชน ............................................................................................................................ 36 ตารางที่ 4 ประเด็นการประเมินและคะแนนสาหรับรางวัลด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และ ประชาสังคม............................................................................................................................... 37 ตารางที่ 5 ค่าคะแนน T-score ขั้นต่าที่กาหนดไว้สาหรับแต่ละประเภทรางวัลเพื่อคัดเลือก อปท. เข้ารับการประเมินรอบที่ 2 ........................................................................................................ 38 ตารางที่ 6 แนวทางและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินผลปฏิบัติงานของ อปท. ........................................ 40 ตารางที่ 7 ค่าถ่วงน้าหนักสาหรับคะแนนที่จากการประเมิน 3 ขั้นตอน ........................................................ 42 ตารางที่ 8 หลักเกณฑ์การพิจารณา อปท. ที่สมควรได้รับรางวัลพระปกเกล้าสาหรับ อปท. ที่มี ความเป็นเลิศ ประจาปี 2560..................................................................................................... 43 ตารางที่ 9 ผลการประเมิน อบจ. ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน (รอบที่ 1) ................................................................................................................................... 47 ตารางที่ 10 ผลการประเมินเทศบาลด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน (รอบที่ 1) ................................................................................................................................. 49 ตารางที่ 11 ผลการประเมิน อบต. ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน (รอบที่ 1) ................................................................................................................................. 52 ตารางที่ 12 ผลการประเมินเทศบาลด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ (รอบที่ 1) ........................ 54 ตารางที่ 13 ผลการประเมิน อบต.ด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ (รอบที่ 1) ........................... 55 ตารางที่ 14 ผลการประเมิน อบจ. ด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (รอบที่ 1)............ 56 ตารางที่ 15 ผลการประเมินเทศบาลด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (รอบที่ 1) ......... 57 ตารางที่ 16 ผลการประเมิน อบต. ด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (รอบที่ 1) ...... 59 ตารางที่ 17 สรุปผลการประเมิน อปท. รอบที่ 1 เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้า ............................................... 60
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ตารางที่ 18 ผลการประเมินโครงการรางวัลพระปกเกล้าสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี ความเป็นเลิศประจาปี 2560 (รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริม การมีส่วนร่วมของประชาชน)................................................................................................... 62 ตารางที่ 19 ผลการประเมินโครงการรางวัลพระปกเกล้าสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี ความเป็นเลิศประจาปี 2560 (รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริม การมีส่วนร่วมของประชาชน)................................................................................................... 63 ตารางที่ 20 ผลการประเมินโครงการรางวัลพระปกเกล้าสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี ความเป็นเลิศประจาปี 2560 (รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริม การมีส่วนร่วมของประชาชน)................................................................................................... 64 ตารางที่ 21 ผลการประเมินโครงการรางวัลพระปกเกล้าสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี ความเป็นเลิศ ประจาปี 2560 (รางวัลความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างสันติสุขและ ความสมานฉันท์) ..................................................................................................................... 74 ตารางที่ 22 ผลการประเมินโครงการรางวัลพระปกเกล้าสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี ความเป็นเลิศ ประจาปี 2560 (รางวัลความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม) ........................................................................................................ 83 ตารางที่ 23 ผลการประเมินโครงการรางวัลพระปกเกล้าสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี ความเป็นเลิศ ประจาปี 2560 (รางวัลความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม) ........................................................................................................ 84 ตารางที่ 24 ผลการประเมินโครงการรางวัลพระปกเกล้าสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี ความเป็นเลิศ ประจาปี 2560 (รางวัลความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม) ........................................................................................................ 85
ฒ
ภาพที่ 1 เกณฑ์การให้คะแนนผลการประชุมสนทนากลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละพื้นที่ อปท. ที่รับ การประเมินรอบที่ 2 ..................................................................................................................... 41 ภาพที่ 2 สูตรคานวณคะแนนรวมของ อปท. ที่ผ่านการประเมินรอบที่ 1 และ 2 ......................................... 42 ภาพที่ 3 จานวนและประเภท อปท. ที่ส่งผลงานเข้าประกวดรางวัลพระปกเกล้าประจาปี งบประมาณ 2560 ........................................................................................................................ 45 ภาพที่ 4 การกระจายทางภูมิศาสตร์ของ อปท. ที่ส่งผลงานเข้าประกวดรางวัลพระปกเกล้า ประจาปีงบประมาณ 2560 ........................................................................................................... 46
1.1 หลักการและเหตุผล องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น (อปท.) ถือ เป็ น องค์ ก รที่ มี ค วามส าคัญ ต่ อ การพั ฒ นาชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น และประเทศชาติ เนื่องจากเป็นองค์กรที่มีหน้าหน้าที่หลักทั้งในปัจจุบันและอนาคต กล่าวคือ มีหน้ าที่หลัก ในการจั ดบริ ก ารสาธารณะซึ่ง ภารกิ จ ของ อปท. เป็น การด าเนิน งานที่ ใกล้ ชิ ด กับ ประชาชน กลุ่ มองค์ ก ร ชุมชนและหน่วยงานในพื้นที่ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาคประชาสังคม เพื่อขับเคลื่อนงานตามบทบาท หน้าที่ และภารกิจ เพื่อตอบสนองปัญหาและความต้องการของประชาชน และตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ถือได้ว่า อปท. มีส่ว นในการจั ดบริการสาธารณะได้อย่างมีประสิทธิภาพ และคุณภาพตามสมควรทั้งใน แง่ของการพัฒนากิจ กรรม/โครงการต่างๆ และการจัดการตนเองก่อให้ เกิดนวัตกรรมท้องถิ่นใหม่มากขึ้น สาหรั บ การประเมิน อปท. เพื่อเข้ารับ รางวัลพระปกเกล้ าของสถาบันพระปกเกล้ าถือได้ว่าเป็ นประโยชน์ โดยตรงต่อ อปท. ที่จะสมัครเข้าร่ วมโครงการและถือเป็นการประเมินตนเองไปในตัว และสามารถเรียนรู้ การน าเอาแบบอย่ า งการบริ ห ารงานที่ เ ป็ น เลิ ศ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ ห้ ส อดคล้ อ งเหมาะสมกั บ บริ บ ทในพื้ น ที่ ของตน และเป็ น การสนั บ สนุ น ให้ ท้อ งถิ่ น เกิ ด การพั ฒ นาตนเอง รวมทั้ ง การทราบถึง จุ ด อ่อ นและจุ ด แข็ ง ซึ่ ง จะส่ ง ผลให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลในการบริ ห ารงานและท าให้ อปท. ได้ รั บ แรงบั น ดาลใจหรื อ ได้ รั บ การจุ ด ประกายความคิ ดเกี่ย วกับ การบริ ห ารงานให้ เกิ ดแนวทางธรรมาภิบ าลและมี นวั ตกรรมท้อ งถิ่ นใน การสร้ างสรรค์ กิจ กรรมและโครงการด้า นต่ า งๆ ทั้ ง ด้ านความโปร่ ง ใสและการมี ส่ ว นร่ว มของประชาชน การส่ งเสริ มให้ เกิ ดนวั ตกรรมการสร้ างความร่ว มมือ กับ ภาคส่ ว นต่ างๆ ในลั กษณะเครือข่ าย กิจ กรรม และโครงการที่เป็ นนวัตกรรมความเป็น เลิศด้านการเสริมสร้างสันติสุข และความสมานฉันท์ และที่สาคัญ ยั ง เป็ น การสร้ า งองค์ ค วามรู้ เ พื่ อ พั ฒ นาการปกครองท้ อ งถิ่ น ของไทยให้ เ ป็ น รากฐานที่ เ ข้ ม แข็ ง ของ ประเทศต่อไป สถาบันพระปกเกล้าในฐานะเป็นหน่วยงานอิสระของรัฐภายใต้การกากับดูแลของประธานรัฐสภา มี พั น ธกิ จ ในการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาความรู้ แ ละการปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตยได้ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง
บทที่ ๑ หลักการและเหตุผลของโครงการ
ความสาคัญของการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นให้เป็นรากฐานที่มั่นคงของการปกครองระบอบประชาธิปไตย จึ ง ได้ จั ด ให้ มี ก ารมอบรางวั ล พระปกเกล้ า และใบประกาศเกี ย รติ คุ ณ สถาบั น พระปกเกล้ า ให้ แ ก่ อปท. ที่มกี ารบริหารงานทีเ่ ป็นเลิศเป็นประจาทุกปีตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมา โดยแบ่งรางวัลเป็น 3 ประเภท คือ o ประเภทที่ 1 รางวั ล พระปกเกล้ า ส าหรั บ อปท. ที่ มี ค วามเป็ น เลิ ศ ด้ า นความโปร่ ง ใสและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน o ประเภทที่ 2 รางวัล พระปกเกล้ าส าหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิ ศด้านการเสริมสร้างสั นติสุ ข และความสมานฉันท์ o ประเภทที่ 3 รางวัลพระปกเกล้ า ส าหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศ ด้านการเสริมสร้างเครือข่าย รัฐ เอกชน และประชาสังคม เพื่อให้โครงการบรรลุ ตามเป้าหมาย วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น ของสถาบันพระปกเกล้ า ซึ่งเป็น หน่วยงานส่งเสริม และสนับสนุน อปท. ผ่านโครงการเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจและสมรรถนะของ บุคลากร อปท. ในบทบาทหน้าที่ของ อปท. ตลอดจนเผยแพร่ ข้อมูล ข่าวสารด้านวิช าการและนวัตกรรม การบริ หารจัดการท้องถิ่น เพื่ อเป็ น แนวทางและแรงบันดาลใจให้ อปท. พัฒ นาประสิ ทธิภ าพและคุณภาพ การให้ บ ริ ก ารประชาชนอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยในปี พ.ศ. 2560 วิ ท ยาลั ย พั ฒ นาการปกครองท้ อ งถิ่ น ได้ ว่าจ้างสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ให้ดาเนินการประเมิน อปท. ทั่วประเทศตาม 3 ประเภทรางวัล ข้างต้น
1.2 วัตถุประสงค์โครงการ o เพื่อกาหนดวิธีการประเมินและตัวชี้วัดสาหรับการคัดเลือก อปท. ในขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 ของโครงการรางวัลพระปกเกล้าสาหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศโดยแบ่งรางวัลเป็น 3 ประเภท คือ ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ด้านสันติสุขและเสริมสร้างความสมานฉันท์ ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม o เพื่อรวบรวมข้อมูลและคัดกรอง อปท. ที่เข้าร่วมโครงการตามกระบวนการขั้นตอนที่ 1 และ ขั้นตอนที่ 2 และนาเสนอรายชื่อ อปท. ที่เหมาะสมกับรางวัลพระปกเกล้ า ต่อคณะกรรมการที่ สถาบันพระปกเกล้าแต่งตั้งขึ้นเพื่อการตัดสินใจผลรางวัลประจาปี พ.ศ. 2560
2
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
1.3 ประเภทรางวัล โครงการรางวัลพระปกเกล้าสาหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศแบ่ง อปท. เป็น 2 กลุ่ม คือ (1) องค์การ บริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด (อบจ.) และ (2) เทศบาล องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบล (อบต.) และเมื อ งพั ท ยา โดยรางวัลแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ก. ประเภทที่ 1 รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน รางวั ล ประเภทที่ 1 มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ อปท. ตระหนั ก ถึ ง ความส าคั ญ ของ หลั ก ธรรมาภิ บ าล การปกครองท้ อ งถิ่ น โดยเฉพาะความโปร่ ง ใสในการบริ ห ารงานและการมี ส่ ว นร่ ว ม ของประชาชน ซึ่งมีประเด็นย่อย 5 ประเด็น คือ 1) ประเด็ น ที่ 1.1 กระบวนการจั ด ท้ า แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น และแผนอื่ น ของ อปท. ได้ แ ก่ แผนพัฒ นาการศึ กษาท้ องถิ่น แผนงานโครงการกิ จ กรรมพัฒ นาสุ ข ภาพ แผนงานป้อ งกั น และบรรเทาสาธารณภัย ซึ่งคณะที่ปรึกษาพิจารณาให้คะแนนแก่ อปท. ตามตัวชี้วัดดังนี้ o ตั ว ชี้ วั ด ที่ 1.1.1 อปท. แต่ ง ตั้ ง ผู้ แ ทนกลุ่ ม /องค์ ก รต่ า งๆ ในระดั บ จั ง หวั ด เป็ น คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น และคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่ น ตลอดจน มีการประชุมคณะกรรมการเป็นประจา (เฉพาะ อบจ. มีการแต่งตั้งผู้แทนกลุ่ม/องค์กร ต่ า งๆ ในระดั บ จั ง หวั ด เป็ น คณะกรรมการประสานแผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ตลอดจนมี การประชุมคณะกรรมการเป็นประจา) o ตั ว ชี้ วั ด ที่ 1.1.2 อปท. แต่ ง ตั้ ง ผู้ แ ทนกลุ่ ม /องค์ ก รต่ า งๆ ในระดั บ จั ง หวั ด เป็ น คณะกรรมการติ ด ตามและประเมิ น ผลแผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยหลาย ภาคส่วน และมีการประชุมคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น o ตั ว ชี้วั ด ที่ 1.1.3 อปท. มีแ นวทางที่เ ป็น รูป ธรรมเพื่ อเปิด โอกาสให้ ห น่ ว ยราชการ เอกชน และภาคประชาคม รวมทั้ ง กลุ่ ม องค์ ก รชุ ม ในพื้ น ที่ แ ละกลุ่ ม สตรี แ ละ กลุ่มผู้ด้อยโอกาสเข้ามีส่วนร่วมในการจัดทาหรือปรับแผนพัฒนาท้องถิ่น o ตั วชี้วัด ที่ 1.1.4 อปท. มี บทบาทหลั กในการประสานความร่ว มมือการจัดทาแผน ระหว่างส่วนราชการและ อปท. อื่นในจังหวัด 2) ประเด็น ที่ 1.2 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดบริการสาธารณะและการประเมิน โครงการ ซึ่งมีตัวชี้วัด คือ o ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 อปท. เปิดโอกาสให้ประชาชน กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงานราชการ และ อปท. มี ส่ ว นร่ ว มริ เ ริ่ ม หรื อ เสนอโครงการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น รวมทั้ ง เปิ ด โอกาสให้ แสดงความคิดเห็นก่อนเริ่มโครงการ พิจารณาให้ความเห็นชอบ ตลอดจนร่วมดาเนินการ ตามโครงการและกิจกรรม
3
บทที่ ๑ หลักการและเหตุผลของโครงการ
o ตั ว ชี้ วั ด ที่ 1.2.2 อปท. แต่ ง ตั้ ง ผู้ แ ทนกลุ่ ม /องค์ ก รต่ า งๆ ในระดั บ จั ง หวั ด เป็ น คณะกรรมการติ ด ตา มและประเมิ น ผลแผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย หลายภาคส่ ว นและมี ก ารประชุ ม คณะกรรมการติ ด ตามและประเมิ น ผลแผนพั ฒ นา ท้องถิ่น o ตั ว ชี้ วัด ที่ 1.2.3 อปท. มี แนวทางและวิธี ก ารก ากั บ ดูแ ลการจัด บริก ารสาธารณะ และการประเมินผลโดยเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 3) ประเด็ น ที่ 1.3 การบริ ห ารการเงิ น การคลั ง และการงบประมาณ คณะที่ ป รึ ก ษาประเมิ น แนวทางการบริ ห ารการเงิน การคลั ง ของ อปท. ว่า เป็น ไปตามกฎระเบี ยบว่ าด้ว ยการป้อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต หลั กการบริ ห ารจัดการบ้ านเมืองที่ดี และหลั ก การมีส่ ว นร่ว มของ ภาคประชาชน โดยมีตัวชี้วัดดังนี้ o ตั ว ชี้ วั ด ที่ 1.3.1 อปท. มี กิ จ กรรมสร้ า งความรู้ ความเข้า ใจแก่ ประชาชนเกี่ ย วกั บ การจัดเก็บภาษีค่าธรรมเนียมเป็นประจา o ตั วชี้ วัด ที่ 1.3.2 อปท. มีแ นวทางมีการเฝ้ า ระวั งการทุ จริ ต การให้ สิ น บนหรื อ เงิ น พิ เ ศษหรื อ ความบั น เทิ ง หรื อ ความสะดวกสบายแก่ เ จ้ า หน้ า ที่ และการให้ ความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ได้แก่ การวิ่งเต้นในทางมิชอบ เพื่อผลประโยชน์ให้กับตนเอง และพวกพ้องหรือบุคคลอื่นอย่างไม่เป็นธรรม o ตั ว ชี้ วั ด ที่ 1.3.3 อปท. มี ก ารจั ด ท าฐานข้ อ มู ล การจั ด เก็ บ ภาษี ค่ า ธรรมเนี ย ม และงบประมาณในแต่ ล ะปี ตลอดจนงบการเงิ น ตามที่ ห น่ ว ยตรวจสอบก าหนด และเผยแพร่แก่สาธารณชนอย่างน้อย 3 ปีย้อนหลัง o ตั ว ชี้ วั ด ที่ 1.3.4 อปท. ไม่ มี ประเด็ นทั ก ท้ ว งจากส านั ก งานตรวจเงิ น แผ่ นดิ น หรื อ กรณี ร้ อ งเรี ย นเรื่ อ งทุ จ ริ ต ในชั้ น การสื บ สวนสอบสวนของคณะกรรมการป้ อ งกั น และ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ o ตัวชี้วัดที่ 1.3.5 อปท. สามารถจัดเก็บรายได้ที่เป็นภาษีและค่าธรรมเนียมเพิ่มมากขึ้น ในช่วงระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง 4) ประเด็ น ที่ 1.4 กิ จ การสภาท้ องถิ่น เป็น การประเมิ นผลด าเนิน งานของสภาท้ องถิ่น ในฐานะ เป็ น ตั ว แทนของประชาชน ในการเสนอข้ อ บั ญ ญั ติ / เทศบั ญ ญั ติ การพิ จ ารณางบปร ะมาณ และการติดตามตรวจสอบการทางานของคณะผู้บริหาร อปท. ซึ่งคณะที่ปรึกษากาหนดตัวชี้วัด ดังนี้ o ตัวชี้วัดที่ 1.4.1 สมาชิกสภา อปท. มีการยื่นกระทู้ถามคณะผู้บริหาร อปท. o ตั ว ชี้ วั ด ที่ 1.4.2 สภา อปท. มี ช่ อ งทางเปิ ด โอกาสให้ ป ระชาชนมี ส่ ว นร่ ว มรั บ ฟั ง การประชุมสภา อปท. และเปิดโอกาส ให้ประชาชนร่วมแสดงความคิดเห็น o ตัวชี้วัดที่ 1.4.3 สภา อปท. ตราข้อบัญญัติต่างๆ ที่นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายประจาปีและมีการตราข้อบัญญัติที่เสนอโดยกลุ่ม/องค์กรภาคประชาชน
4
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
5) ประเด็ น ที่ 1.5 การเผยแพร่ ข้ อ มู ล ข่ า วสาร คณะที่ ป รึ ก ษาประเมิ น ผลงานของ อปท. ใน การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดาเนินงานและการใช้จ่ายเงินงบประมาณของ อปท. ผ่าน ช่องทางต่างๆ ที่สะท้อนให้เห็นถึงความโปร่งใสของ อปท. ในการบริหารงานท้องถิ่น โดยตัวชี้วัดที่ คณะที่ปรึกษากาหนดไว้ คือ o ตัวชี้วัดที่ 1.5.1 อปท. มีช่องทางเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่สาคัญ ได้แก่ แผนพัฒนาท้องถิ่น โครงการ/กิจ กรรมที่ดาเนินการ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษี ข้อมูลรายรับ รายจ่าย ข้อมูลการดาเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ที่เป็นปัจจุบัน โดยประชาชนสามารถเข้าถึง ได้ตลอดเวลา o ตัวชี้วัดที่ 1.5.2 อปท. มีวิธีการและช่องทางรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชน หรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกับประชาชนได้ตลอดเวลา o ตัวชี้วัดที่ 1.5.3 อปท. มี ฐานข้อมูล ผลดาเนินงานแก้ไขปัญหาจากข้อร้องเรียนของ ประชาชน ข. ประเภทที่ 2 รางวัลความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ รางวัล ประเภทที่ 2 มี วัตถุป ระสงค์ เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้ อปท. ใช้ทั้งกลไกเชิงสั งคม เช่น กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคีในชุมชน กิจกรรมคุ้มครองสิทธิทางสังคม เป็นต้น และกลไกเชิ งกฎหมาย ได้ แก่ การไกล่ เ กลี่ ย ข้ อพิ พาทร่ ว มกัน หรื อ การใช้ก ระบวนการยุติ ธ รรมชุม ชน หรือ การรวมกลุ่ มบุ คคลที่ น่าเคารพเชื่อถือของชุมชนซึ่งคณะที่ปรึกษาประเมินใน 2 ประเด็น คือ 1) ประเด็นที่ 2.1 การจัดการองค์กรเพื่อการเสริมสร้างสันติสุขและสมานฉันท์ เป็นการพิจารณา ประเมินภาวะผู้นา การให้ความสาคัญและการเตรียมความพร้อมทั้งในด้านบุคลากร งบประมาณ และกลไกการดาเนิ น งานขององค์กรปกครองส่ ว นท้องถิ่นในการรองรับภารกิจในการส่งเสริม ให้เกิดสันติสุขและความสมานฉันท์ o ตัวชี้วัดที่ 2.1.1 อปท. กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์ เกี่ยวกับ การเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ o ตั ว ชี้ วั ด ที่ 2.1.2 อปท. มี กิ จ กรรมพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจและ ความสามารถด้านการป้องกันความขัดแย้งภายในชุมชน o ตัวชี้วัดที่ 2.1.3 อปท. มีกิจกรรมในการพัฒนาบุคลากรในองค์กรให้มี ความรู้ความเข้าใจ และความสามารถด้านการจัดการความขัดแย้งภายในชุมชน o ตัวชี้วัดที่ 2.1.4 อปท. มีกิจกรรมในการพัฒนาบุคลากรในองค์กรให้มี ความรู้ความเข้าใจ และความสามารถด้านการเสริมสร้างความสามัคคีภายในชุมชน o ตัวชี้วัดที่ 2.1.5 อปท. จัดทาฐานข้อมูลสถิติสถานการณ์ความรุนแรงหรือสถานการณ์ ความขัดแย้งภายในชุ มชนท้องถิ่น เช่น สถิติ ความรุนแรงในครอบครัว สถิติการทะเลาะ วิวาทในชุมชน เป็นต้น
5
บทที่ ๑ หลักการและเหตุผลของโครงการ
o ตั ว ชี้ วั ด ที่ 2.1.6 อปท. มี ห น่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบด้ า นการเสริ ม สร้ า งสั น ติ สุ ข และ ความสมานฉันท์ในพื้นที่อย่างเป็นกิจลักษณะ 2) ประเด็ น ที่ 2.2 การส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพและความเข้ ม แข็ ง ของพลเมื อ ง เป็ น การพิ จ ารณา ประเมิ น ผลดาเนิ น การตามกิจ กรรมและโครงการเสริ มสร้ างศั กยภาพและความเข้ มแข็ งของ ประชาชน ทั้งในรูปแบบการส่งเสริมการเรียนรู้โดยทั่วไป การเสริมสร้างความสามารถเฉพาะทาง การปลู ก ฝั งจิ ต ส านึ ก สาธารณะและค่านิ ย มความเป็นพลเมื องในระบอบประชาธิปไตย โดยมี 4 ตัวชี้วัด คือ o ตั วชี้ วัด ที่ 2.2.1 อปท. มีโ ครงการและกิ จกรรมเกี่ ยวกั บการปลู ก ฝั งจิ ตส านึก และ การสร้างความเป็นพลเมืองของท้องถิ่น o ตั ว ชี้ วั ด ที่ 2.2.2 อปท. มี โ ครงการและกิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ การส่ ง เสริ มความมี วิ นั ย ค่านิ ย มประชาธิ ป ไตย การเคารพศัก ดิ์ศ รีความเป็น มนุ ษย์ หรื อเคารพความแตกต่า ง หลากหลาย ให้แก่ประชาชน o ตัวชี้วัดที่ 2.2.3 อปท. มีโครงการและกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาประชาชนให้ มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกัน และการจัดการความขัดแย้ง หรือการเสริมสร้างความสามัคคี ภายในชุมชน o ตัวชี้วัด ที่ 2.2.4 อปท. มีกรณีข้อพิพาทและความรุนแรงระหว่างประชาชนภายใน พื้นที่ลดลง ค. ประเภทที่ 3 รางวัลความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างเครือข่าย รัฐ เอกชน และประชาสังคม รางวัลประเภทที่ 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ อปท. มีความร่วมมือและเครือข่ายการจัดบริการ สาธารณะร่ ว มกั บ ภาคส่ ว นต่ า งๆ ด้ ว ยวิ ธี ก ารที่ ห ลากหลาย เช่ น การติ ด ต่ อ สื่ อ สาร (Communication) การประสานงาน (Coordination) การแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือประสบการณ์เพื่อเรียนรู้ร่วมกัน (Information Exchange) การวางแผนและดาเนิ น กิจ กรรมร่ว มกัน เป็ นต้น ซึ่ง คณะที่ปรึกษามีประเด็นการประเมิ น 2 ประเด็น คือ 1) ประเด็นที่ 3.1 การจัด การองค์กรเพื่อการเสริมสร้ างเครือข่ายรั ฐ เอกชน และประชาสังคม เป็นการประเมินภาวะผู้นา การให้ความสาคั ญและการเตรียมความพร้อมบุคลากร งบประมาณ ตลอดจนกลไกการดาเนินงานของ อปท. เพื่อรองรับภารกิจ ที่เกิดขึ้นจากเครือข่ายความร่วมมือ กับภาคส่วนต่างๆ o ตัวชี้วัดที่ 3.1.1 อปท. มีวิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย และแผนยุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้าง เครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม o ตั ว ชี้ วั ด ที่ 3.1.2 อปท. มี กิ จ กรรมพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจและ ความสามารถในการเสริมสร้างเครือข่ายหรือการทางานในรูปแบบเครือข่ายกับหน่วยงาน อื่นและภาคส่วนต่างๆ
6
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
o ตั วชี้วัด ที่ 3.1.3 อปท. มี รู ปแบบความร่ ว มมือ เป็นทางการและไม่เ ป็นทางการกั บ ส่วนราชการ อปท.อื่น องค์กรภาคประชาสังคม และภาคเอกชน o ตัวชี้วัดที่ 3.1.4 อปท. มีความร่วมมือกับองค์กรในต่างประเทศในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การทาโครงการและกิจกรรมร่วมกัน หรือมีความร่วมมือกับ อปท. ในต่างประเทศ เช่น ความร่วมมือลักษณะบ้านพี่เมืองน้อง (Sister City) เป็นต้น 2) ประเด็นที่ 3.2 การส่งเสริมศักยภาพและความเข้มแข็งของประชาชนด้านเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม เป็นการประเมินโครงการและกิจกรรมของ อปท. ในการเสริมสร้างศักยภาพ และความเข้มแข็งของประชาชน ทั้งในรูปแบบการส่งเสริมการเรียนรู้โดยทั่วไป การเสริมสร้าง ความสามารถเฉพาะทาง การปลูก ฝังจิตสานึกสาธารณะและค่านิยมอื่นๆที่และที่ เน้นเสริมสร้าง ความเป็นพลเมืองตามหลักประชาธิปไตย o ตั ว ชี้ วั ด ที่ 3.2.1 อปท. มี กิ จ กรรมพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจและ ความสามารถในการเสริมสร้างเครือข่าย หรือการทางานในรูปแบบเครือข่ายกับหน่วยงาน อื่นๆ o ตัวชี้วัดที่ 3.2.2 อปท. มีเครือข่ายอาสาสมัครและเครือข่า ยภาคประชาชนในด้านต่างๆ และมีส่วนร่วมดาเนินงานกับ อปท. อย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ อปท. ที่เข้าร่วมโครงการรางวัลพระปกเกล้าประจาปี พ.ศ. 2560 จะต้องส่งเอกสาร หลั กฐานหรื อวีดีทัศน์ เกี่ย วกับ โครงการหรื อที่มีความเป็น “นวัตกรรม (Innovation)” ด้านการบริการ สาธารณะ จานวน 1 โครงการ โดยคณะที่ปรึกษานาเอาเกณฑ์การประเมินรางวัลนวัตกรรมและธรรมาภิบาล เมืองและท้องถิ่นขององค์กร United Cities and Local Governments (UCLG) มาประยุกต์ใช้เป็นกรอบ การประเมินโครงการหรือกิจกรรมที่ อปท. ยื่นพร้อมใบสมัครซึ่งมี 3 มิติ คือ o ความเป็นนวัตกรรม (Innovativeness) หมายถึง โครงการหรือกิจกรรมของ อปท. ตอบโจทย์ ความจาเป็นเร่งด่วนของประเทศตามนโยบายรัฐบาลหรือไม่ อาทิเช่น นโยบายประชารัฐ , นโยบาย ประเทศไทย 4.0 เป็ น ต้ น ตลอดจนเป้ า หมายการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ( Sustainable Development Goals: SDGs) ขององค์การสหประชาชาติ o ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ความสอดคล้องของผลผลิตจากโครงการของ อปท. กับ วัตถุประสงค์/เป้าหมายของโครงการ o การน้า ไปใช้ใ นบริ บทอื่ น (Replicability/Transferability) ได้แก่ โครงการหรื อผลของ โครงการสามารถนาไปขยายผลในพื้นที่อื่น หรือเป็น อปท. ต้นแบบในระดับชาติได้หรือไม่
7
บทที่ ๑ หลักการและเหตุผลของโครงการ
1.4 วิธีดาเนินการ o ขั้นตอนที่ 1 การจัดเกณฑ์ตัวชี้วัดและการประชาสัมพันธ์โครงการ คณะที่ปรึกษาจัดทาเกณฑ์ การประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้า ประจาปี พ.ศ. 2560 โดยอ้างอิงตามภารกิจหน้าที่ และอานาจของ อปท. ตามกฎหมายจัดตั้ง กฎหมายกระจายอานาจ และกฎหมายเฉพาะด้านอื่นๆ เช่น พ.ร.บ. โรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ. 2535 เป็นต้น โดยเกณฑ์การประเมินแบ่ง เป็น 3 ชุดตาม ประเภทรางวัลพระปกเกล้า คือ รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชน รางวัลความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ และรางวัล ความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม หลังจากนั้นจึงเสนอเกณฑ์ การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือก อปท. ที่มีความเป็นเลิศประจาปี พ.ศ. 2560 ของ สถาบันพระปกเกล้า เมื่อเกณฑ์การประเมินได้รับการอนุมัติแล้ว คณะที่ปรึกษาจึงจัดทาใบสมัคร ตามเกณฑ์ตัวชี้วัดเพื่อให้สถาบันพระปกเกล้าประชาสัมพันธ์ให้แก่ อปท. ทั่วประเทศ o ขั้นตอนที่ 2 การประเมินรอบที่ 1 คณะที่ปรึกษารวบรวมใบสมัครและเอกสารหลักฐานต่างๆ ได้แก่ สาเนาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ รายงานผลดาเนินการโครงการ และวีดีทัศน์โครงการ และพิจารณาให้คะแนนตามเกณฑ์ตัวชี้วัด หลังจากนั้นจึงคัดเลือก อปท. สาหรับการพิจารณาใน รอบต่อไป o ขัน้ ตอนที่ 3 การประเมินรอบที่ 2 ภายหลังจากการประเมินรอบที่ 1 คณะที่ปรึกษาลงพื้นที่ อปท. ที่ผ่านการประเมินรอบที่ 1 และเก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมด้วยการประเมินความพึงพอใจของ ประชาชนด้วยแบบสารวจความพึงพอใจของประชาชน (Citizen Satisfaction Survey) และ การประชุมสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) กับตัวแทนผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่ อปท. o ขั้นตอนที่ 4 การประมวลผลคะแนน หลังจากขั้นตอนที่ 3 คณะที่ปรึกษาดาเนินการวิเคราะห์ ข้อมูล จากการประเมินด้วยแบบสอบถามและการประชุมสนทนากลุ่มเพื่อคัดเลื อก อปท. เพื่อ ประกอบการพิจารณาร่วมกับผลคะแนนที่ได้จากการประเมินรอบที่ 1 เพื่อประมวลผลคะแนน สาหรับ อปท. ที่สมควรได้รับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี พ.ศ. 2560 o ขั้นตอนที่ 5 การพิจารณาของคณะกรรมการสถาบันพระปกเกล้า คณะที่ปรึกษานาเสนอ ผลคะแนนรวมและรายละเอียดของ อปท. ที่ผ่านกระบวนการคัดเลือกรอบที่ 1 และ 2 ต่อ คณะกรรมการของสถาบั น พระปกเกล้ า เพื่ อ ประกอบการพิ จ ารณาในขั้ น ตอนสุ ด ท้ า ย โดย คณะกรรมการจะลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของ อปท. ที่ส มควรได้รับรางวัล และ ตัดสินมอบรางวัลให้แก่ อปท. ที่มีความเป็นเลิศตามหมวดประเภทรางวัลพระปกเกล้าประจาปี พ.ศ. 2560 o ขั้นตอนที่ 6 การจัดท้ารายงานผลการประเมิน อปท. และข้อเสนอแนะส้าหรับ อปท. ที่ไม่ ผ่านการประเมิน
8
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
1.5 กรอบระยะเวลาดาเนินงาน ขั้นตอน 1 2 3 4 5 6
รายละเอียดกิจกรรมโดยสังเขป การจัดทาเกณฑ์ตัวชี้วัดและการประชาสัมพันธ์โครงการ การประเมินรอบที่ 1 การประเมินรอบที่ 2 การประมวลผลคะแนน การพิจารณาของคณะกรรมการสถาบันพระปกเกล้า การจัดทารายงานฉบับสมบูรณ์
กรอบระยะเวลา มีนาคม-พฤษภาคม 2560 พฤษภาคม-มิถุนายน 2560 กรกฎาคม-สิงหาคม 2560 สิงหาคม 2560 กันยายน-ตุลาคม 2560 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560
1.6 ประโยชน์ที่ได้รบั จากการวิจยั o สถาบันพระปกเกล้าได้เกณฑ์ตัวชี้วัดที่สามารถนามาใช้ในการประเมินความเป็นเลิศ ของ อปท. ด้า นความโปร่ ง ใสและส่ งเสริ ม การมี ส่ ว นร่ว มของประชาชน ด้า นการเสริ มสร้ างสั นติ สุ ขและ ความสมานฉันท์ และด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม o อปท. ได้ ท ราบและเรี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ คุ ณ ภาพการด าเนิ น งาน ระบบธรรมาภิ บ าล ตลอดจน ผลสั ม ฤทธิ์ ใ นการให้ บ ริ ก ารประชาชนตามเกณฑ์ตั ว ชี้ วั ดที่ ค ณะที่ป รึ ก ษาก าหนด เพื่ อน าไปสู่ การพัฒนาแนวทางและวิธีการดาเนินงานของ อปท. ต่อไป o หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวกับการส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น องค์กรอิสระ และสถาบันการศึกษา ได้ รั บ ทราบข้ อ มูล และบทเรี ย นจากการใช้เ กณฑ์ ตัว ชี้วั ด ในการประเมิ น อปท. เพื่อ รับ รางวั ล พระปกเกล้าประจาปี พ.ศ. 2560 ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ใช้สาหรับนโยบาย แผนงาน และ โครงการที่เกี่ยวข้องกับการปกครองท้องถิ่น การส่งเสริมคุณภาพชีวิตประชาชน การเสริมสร้าง ความปรองดองสมานฉันท์ และระบบธรรมาภิบาล
9
การกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากใน ช่วงทศวรรษที่ผ่านมาซึ่งในปัจจุบั นก็ยังคงเป็นเรื่องที่มีความท้าทายต่อรัฐบาลอยู่มาก ในเรื่องความหมายของ การกระจายอานาจนั้น อมร รักษาสั ตย์ (2538, หน้าที่ 12) ได้ให้ ความหมายการกระจายอานาจไว้ว่า “การกระจายอานาจที่แท้จริง คือ การกระจายอานาจในการตัดสินใจในระดับนโยบายของชุมชนท้อ งถิ่น ให้ประชาชนปกครองตนเองได้ตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่นนั้น ” นอกจากนี้ มานิตย์ จุมปา (2548, หน้าที่ 9) ยังได้กล่าวถึงการกระจายอานาจว่าเป็นหลักการที่ “ส่งเสริมระบอบการปกครองแบบ ประชาธิปไตยที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองตนเองอย่างเต็มที่ ซึ่งจะสามารถจัดบริการสาธารณะ ในแต่ละท้องถิ่นได้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในแต่ละท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ” และยัง เป็นหลักการที่ช่วยส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถิ่นมีความสนใจในการปกครองท้องถิ่น ในบทนี้แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นการทบทวนทฤษฎีและบริบทการกระจายอานาจให้แก่ อปท. ในประเทศไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 จวบจนปัจจุบัน และส่วนที่ 2 เป็นการทบทวนทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง กับรางวัลพระปกเกล้าสาหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศ 3 ด้าน คือ (1) ความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน (2) ความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ และ (3) ความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม
2.1 ทฤษฎีว่าด้วยการกระจายอานาจ บุญรงค์ นิลวงศ์ (2522, หน้าที่ 11) ได้กล่าวถึงการกระจายอานาจว่าเป็น “การโอนอานาจหรือตัด อานาจการปกครองจากส่วนกลางไปยังท้องถิ่นให้ดาเนินการโดยอิสระไม่ต้องขึ้นอยู่กับราชการส่วนกลาง” ทั้ ง นี้ ต้ อ งอยู่ ภ ายในขอบเขตที่ รั ฐ และส่ ว นกลางได้ ม อบหมายให้ โดยหน่ ว ยงานปกครองท้ อ งถิ่ น ที่ ไ ด้ รั บ การถ่ายโอนภารกิจหน้าที่จากส่วนกลางมีลักษณะดังนี้
บทที่ ๒ ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศ
o มีองค์กรซึ่งเป็นนิติบุคคลโดยเอกเทศในระดับหนึ่งจากการบริห ารราชการแผ่นดินในส่วนกลาง โดยมีงบประมาณ เจ้าหน้าที่และทรัพย์สินของตน o มีอิสระในการดาเนินกิจการต่างๆตามที่ได้รับมอบหมายจากรัฐหรือส่วนกลาง o มีการเลือกตั้งทั้งหมดหรือบางส่วนเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม นอกจากนี้ บุ ญ รงค์ นิ ล วงศ์ (2522) ยั ง ได้ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ข้ อ ดี แ ละข้ อ เสี ย ของการกระจาย อานาจเพิ่มเติม กล่าวคือ ในส่วนของข้อดีคือช่วยตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้อย่างถูกต้อง ด้วยความมีประสิทธิภาพ และยังช่วยแบ่งเบาภาระจากส่วนกลางเป็นอย่างมากประกอบกับ อปท. ที่ถือว่า เป็ น โรงเรี ย นสอนประชาธิ ป ไตยแก่ ป ระชาชน ส่ ว นของข้ อ เสี ย นั้ น บุ ญ รงค์ นิ ล วงศ์ ได้ ก ล่ า วว่ า หากมี การกระจายอานาจมากเกินไปอาจเป็นภัยต่อเอกภาพของรัฐได้ อีกทั้งยังทาให้เห็นว่าผลประโยชน์ของ อปท. มีความสาคัญมากกว่าผลประโยชน์ ของชุมชนและประชาชน และอาจทาให้เจ้าหน้าที่ อปท. ใช้อานาจใน ทางที่ไม่เหมาะสม รวมทั้งตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของนักการเมือง ทั้งนี้ ยังมีโอกาสเป็นไปได้ว่าเจ้าหน้าที่และ ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น ขาดประสบการณ์ ความรู้ ค วามช านาญ และความสามารถในการบริ ห ารงานท้ อ งถิ่ น จนทาให้สูญเสียงบประมาณภาครัฐโดยไม่จาเป็น อย่ างไรก็ตาม การปกครองท้องถิ่นเป็นรากฐานของระบอบประชาธิปไตยเนื่องจากอยู่ใกล้ชิดกับ ประชาชนมากที่สุดจึงสามารถเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจั ดบริการสาธารณะ ซึ่งในท้ายที่สุดการมีส่วนร่วมของประชาชนก็จะก่อให้เกิดจิตสานึก และความตระหนักรู้ในสิทธิหน้าที่พลเมือง หน่วยงานการปกครองท้องถิ่นจึงสามารถตอบสนองความต้องการ ของชุมชนท้องถิ่นและประชาชนได้ตรงเป้าหมาย รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และช่วยแบ่งเบาภาระของรัฐบาล กลางในการบาบัดทุกข์บารุงสุขให้แก่ประชาชนได้อย่างยั่งยืน การกระจายอานาจให้แก่ อปท. จึงเป็น “การกระจายอานาจหน้าที่ ” ซึ่งถือเป็นการปรับรูปแบบ และบทบาทขององค์กรภาครัฐในทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นระดับรัฐบาลกลาง ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น โดยเห็ นได้อย่ างชัดเจนจากการกระจายอานาจในประเทศไทยที่ได้ทาให้ ห น่ว ยงานภาครัฐ ส่ ว นกลางและ ส่วนภูมิภาคเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ของตนจาก “ผู้ปฏิบัติ” ไปเป็น “ผู้ทาหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุน ท้องถิ่น” (โกวิทย์ พวงงาม, 2552) ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงสามารถกล่าวได้ว่า การกระจายอานาจให้แก่ชุมชน ท้อ งถิ่ น คื อ การพั ฒ นากระบวนการเรี ย นรู้ ของชุ ม ชนท้อ งถิ่ น และภาคประชาชนให้ ส ามารถดูแ ลกิ จการ ภายในชุมชนได้ด้วยตนเอง
2.2 กลไกและมิติของการกระจายอานาจ การกระจายอานาจถือได้ว่าเป็ นเครื่องมือเชิงนโยบายที่ช่ว ยเสริมสร้างประสิ ทธิผ ล ประสิ ทธิภาพ ความเสมอภาค และคุณภาพของการให้บริการประชาชน สาหรับในบริบทประเทศไทยนั้น การกระจายอานาจ ที่ถือกาเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 2540 วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการสาธารณะและเสริมสร้าง
12
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
การมีส่ว นร่ว มของชุมชนท้องถิ่นในการปกครองตนเอง โดยมีกรอบข้อกฎหมายและแผนปฏิบัติการต่างๆ ที่ ก าหนดภารกิ จ หน้ า ที่ ที่ ต้ อ งได้ รั บ การถ่ า ยโอนไปยั ง อปท. ไม่ ว่ า จะเป็ น ภารกิ จ หน้ า ที่ ด้ า นการศึ ก ษา การสาธารณสุขพื้นฐาน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน เป็นต้น การกระจายอานาจในการตัดสินใจและอานาจในการบริหารทรัพยากรไปยัง อปท. จึงถือเป็นเครื่องมือ ที่ ช่ ว ยให้ ห น่ ว ยงานภาครั ฐ สามารถปรั บ ปรุ ง รู ป แบบและคุ ณ ภาพบริ ก ารสาธารณะให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้องการของประชาชนที่หลากหลาย (Wei, 2000) ทั้งนี้ ความเข้มแข็งของ อปท. และภาคประชาชน จะเกิดขึ้นไม่ได้ หากปราศจากกระบวนการถ่ายโอนอานาจหน้าที่ และทรัพยากรไปยังชุมชนท้องถิ่นที่รัดกุม และตั้งอยู่บ นพื้ นฐานวิชาการอย่างแท้จริง ทั้งนี้ เนื่องจากกระบวนการกระจายอานาจสู่ อปท. ประกอบ ด้วยกลไกขับเคลื่อนที่สาคัญ 2 กลไก คือ o กลไกความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานภาครัฐด้วยกันเอง (Intergovernmental Relations) ไม่ ว่ า จะเป็ น หน่ ว ยงานภาครั ฐ ส่ ว นกลาง ส่ ว นภู มิ ภ าค และ อปท. โดยเฉพาะในประเด็ น ที่ เกี่ยวข้องกับอานาจในการตัดสินใจเชิงนโยบายและการจัดสรรทรัพยากรภาครัฐไปยังภาคส่วน ต่างๆในสังคม (Schneider, 2003; Falleti, 2005) o กลไกความสัมพัน ธ์ ร ะหว่า งภาครั ฐ และภาคประชาชน (State-Society Relations) โดยเป็นการปรับเปลี่ยนบทบาทของหน่วยงานภาครัฐทั้งในระดับประเทศและระดับชุมชนท้องถิ่น จาก “ผู้ปกครอง” หรือ “ผู้ควบคุม” เป็น “ผู้ให้บริการ” หรือ “ผู้กากับดูแล” ซึ่งย่อมหมายถึง ภาครัฐจาเป็นต้องมีการเปิดพื้นที่ให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจเชิงนโยบาย และการบริหารจัดการบริการสาธารณะด้านต่างๆ (Cheema and Rondinelli, 2006) กลไกความสัมพันธ์ทั้งสองข้างต้นสะท้อนให้เห็นถึงความพยายามในการปฏิรูปโครงสร้างสังคมและ การเมืองทั้งระบบ โดยมีเป้าประสงค์สาคัญคือ เพื่อให้ทุกภาคส่ว นในชุมชนท้องถิ่นมีสามารถร่วมกันบริหาร จัดการทรัพยากรและกิจการสาธารณะในเขตพื้นที่ชุมชนของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ คุณภาพ แต่อย่างไรก็ตามกระบวนการกระจายอานาจจะสามารถตอบโจทย์ดังกล่าวได้หรือไม่นั้น ล้วนขึ้นอยู่ กับ “การออกแบบนโยบายและขั้นตอนการถ่ ายโอนอานาจหน้าที่และทรัพยากรจากส่วนกลางไปยังชุมชน ท้องถิ่น” (Falleti, 2005) โดย “การออกแบบ” ดังกล่าวต้องคานึงถึงมิติของการกระจายอานาจทั้งสิ้น 3 มิติ (Manor, 1995) คือ o มิติการกระจายอ้านาจทางการเมือง (Political Decentralization) ให้ ความสาคัญกับ กระบวนการทางการเมืองในระดับท้องถิ่น ทั้งที่เป็นกระบวนการทางการเมืองที่เป็นทางการ ได้ แ ก่ การเลื อ กตั้ ง คณะผู้ บ ริ ห ารและสภาท้ อ งถิ่ น ตลอดจนกระบวนการทางการเมื อ ง ภาคประชาชน ได้แก่ กระบวนการจัดทาแผนชุมชน ทั้งนี้ Fox และ Aranda (1996) และ Schneider (2003) เรียกกระบวนการทางการเมืองเหล่านี้ว่าเป็น “การกระจายอานาจในทาง รัฐ ศาสตร์ ” ซึ่งเน้น เสริ มสร้ างโครงสร้างองค์กรทางการเมืองในท้องถิ่น การตระหนักรู้สิ ทธิ
13
บทที่ ๒ ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศ
พลเมืองของประชาชนในท้องถิ่น และกระบวนการมี ส่วนร่วมของภาคประชาชน การกระจาย อานาจทางการเมืองที่เป็นรูปธรรม คือ การแก้ไขรัฐธรรมนูญที่ให้อิสระแก่ชุมชนและประชาชน ในการเลือกตั้งคณะผู้ บริ หารและสภานิติบัญญัติในระดับท้องถิ่น ตลอดจนการเปิดช่องทางให้ ประชาชนสามารถตรวจสอบการทางานของคณะผู้ บริหารท้องถิ่นและร่ว มให้ ข้อเสนอแนะใน การปรับปรุงวิธีการให้บริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Falleti, 2005) o มิติการกระจายอ้านาจทางการคลัง (Fiscal Decentralization) เป็นการปฏิรูปความสัมพันธ์ ระหว่างรั ฐ บาลระดับ ชาติและ อปท. ในเชิงงบประมาณและการจัดหาเงิ นรายได้ เพื่อให้ เกิ ด ประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้สอยทรัพยากรของภาครัฐ (Musgrave, 1958; Oates, 1972) ในมิตินี้ แหล่งรายได้ที่ อปท. จัดเก็บได้เองเป็นตัวชี้วัดความเป็นอิสระทางด้านการคลังของท้องถิ่น ได้ดีที่สุด (Wibbels, 2004; Fallei, 2005) o มิติการกระจายอ้านาจเชิงบริหาร (Administrative Decentralization) เป็นการกระจาย อานาจและความรับผิดชอบในการให้บริการสาธารณะไปสู่ อปท. (Cohen and Peterson, 1999) โดยให้ อปท. มีอิสระในการตัดสินใจนโยบายและจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นบุคลากรและ งบประมาณให้ มีความสอดคล้ องกับภารกิจหน้าที่ที่ได้รับการถ่ายโอน (Rondinelli, 1981; Schneider, 2003) สาหรับในมิตินี้ Cohen และ Peterson (1999) ให้ทรรศนะไว้ว่า อปท. ควรได้รับการถ่ายโอนอานาจเชิงบริหารในการวางแผนบริหารองค์กร การบริห ารงบประมาณ การคัดเลือกเจ้าหน้าที่ การจัดทาโครงการและกิจกรรมต่างๆ ตลอดจนการบารุงรักษาสินทรัพย์ ของ อปท. อย่างไรก็ตาม Sudhipongpracha และ Wongpredee (2012) ได้ให้ทรรศนะว่า ความเป็น อิสระของ อปท. ในเชิงบริหารนั้นมีหลากหลายรูปแบบ โดยไม่จาเป็นว่าท้องถิ่นจะมี อิสระในการบริหารมากขึ้นภายหลังจากการที่รัฐบาลระดับชาติประกาศใช้นโยบายการกระจาย อานาจ ในทานองเดี ย วกั น ก็ ยั ง ไม่ พ บหลั ก ฐานเชิ ง ประจัก ษ์ที่ ชั ด เจนเกี่ย วกั บ ความเป็น อิส ระของ อปท. ในการให้บริการสาธารณะด้านต่างๆภายหลังจากมีกระบวนการกระจายอานาจสู่ชุมชนท้องถิ่น (Rondinelli, 1981) ทั้งนี้เป็นผลสืบเนื่องมาจากความไม่ชัดเจนของกระบวนการกระจายอานาจซึ่งแม้นักวิชาการจะแบ่ง ออกเป็น 3 ลักษณะ (Rondinelli, 1990) ได้แก่ o การแบ่งอ้านาจ (Deconcentration) หมายถึง การแบ่งอานาจในการตัดสินใจเชิงบริหารและ การเงิ น การคลั ง ไปยั ง หน่ ว ยงานในสั ง กั ด ภาครั ฐ ส่ ว นกลางในพื้ น ที่ ที่ ห่ า งไกลจากเมื อ งหลวง โดยหน่วยงานภาครัฐส่วนกลางในเขตภูมิภาคยังคงต้องอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของหน่วยงาน ส่วนกลางในเมืองหลวงเช่นเดิม โดยทั่วไปมักเป็นการจัดตั้งหน่วยงานซึ่งเป็นตัวแทนของหน่วยงาน ภาครั ฐ ส่ว นกลางในระดับ ภูมิภ าคและระดับท้องถิ่น ด้ว ยเหตุนี้จึงไม่ถือว่าการแบ่งอานาจเป็น การถ่ า ยโอนอ านาจและบทบาทหน้ า ที่ จ ากภาครั ฐ ส่ ว นกลางไปยั ง ภาครั ฐ ในชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น
14
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
อย่ างแท้จ ริ ง เช่น ระบบผู้ ว่าราชการจังหวัดและระบบราชการส่ ว นภูมิภ าคในประเทศไทยใน ปัจจุบัน (Ferguson and Chandrasekharan, 2012) เป็นต้น o การมอบหมายอ้านาจหน้าที่ (Delegation) เป็นการมอบหมายอานาจหน้าที่ รับผิดชอบไปยัง หน่ ว ยงานกึ่งอิส ระในภูมิภ าคที่ยังคงต้องปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานต่างๆที่ห น่ว ยงานภาครั ฐ ส่วนกลางกาหนด (Gregersen et al., 2012) โดยคุณลักษณะเด่นของ Delegation คือ การกระจายอานาจเชิงบริหารอย่างเดียว โดยไม่เกี่ยวข้องกับ อานาจการเมืองและบทบาทหน้าที่ ทางด้านการเงินการคลัง (Ferguson and Chandrasekharan, 2012) o การถ่ายโอนอ้านาจ (Devolution) เป็นการมอบอานาจในการตัดสินใจในกระบวนการบริหาร การปกครอง และการจัดการทรัพยากรให้แก่องค์ กรปกครองในระดับชุมชนท้องถิ่น อย่างไรก็ตาม อปท. ที่ได้รับการถ่ายโอนอานาจในรูปแบบนี้ก็ยังคงต้องรักษามาตรฐานในการให้บริการสาธารณะ ที่กาหนดไว้โดยหน่วยงานภาครัฐส่วนกลาง เพียงแต่มีอานาจและความเป็นอิสระในการบริหาร จัดการทรัพยากรในเขตพื้นที่ชุมชนท้องถิ่นมากยิ่งขึ้น (Ferguson and Chandrasekharan, 2012) ทั้งนี้ มีนั กวิช าการได้โ ต้แย้งว่า การแบ่งอานาจนั้นไม่ใช่กระจายอานาจด้านการบริห ารเนื่อ งจาก ไม่มีการมอบอานาจในการตัดสินใจให้แก่ อปท. หรือชุมชนท้องถิ่นอย่างแท้จริง (Fox and Aranda, 1996) นอกจากนี้ยังพบอีกว่าในประเทศกาลังพัฒนาหลายประเทศซึ่งนาเอาหลักการและแนวคิดการกระจายอานาจ ไปปรับใช้อย่างเต็มรูปแบบกลับก่อให้เกิดความเหลื่อมล้าของคุณภาพการให้บริการสาธารณะในพื้นที่ชุมชน ท้องถิ่นที่มีโครงสร้างทางสังคมและเศรษฐกิจแตกต่างกัน เช่น ประเทศอินโดนีเซีย เป็นต้น อีกทั้งในกรณี ประเทศกาลังพัฒนาในทวีปแอฟริกาและละตินอเมริกาก็พบว่าได้เกิดความซ้าซ้อนกันของอานาจหน้ าที่ของ อปท. รูปแบบและระดับต่างๆ อันส่งผลให้เ กิดความไม่มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรภาครัฐในประเทศ เหล่านั้น (Gregersen et al., 2012)
2.3 ทิศทางการกระจายอานาจในประเทศไทย นับตั้งแต่การประกาศใช้พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 เป็นต้นมาสืบเนื่อง มาจนถึ ง การประกาศใช้ รั ฐ ธรรมนู ญ พ.ศ. 2540 หน่ ว ยงานภาครั ฐ ในประเทศไทยได้ มี แ นวนโยบายใน การกระจายอานาจสู่ อปท. ที่เป็นรูปธรรมมากขึ้นกว่าในอดีตที่ผ่านมา เริ่มต้นจากการรับรองความเป็นอิสระ ของท้องถิ่นในการบริหารกิจการสาธารณะภายในเขตพื้นที่ชุมชนท้องถิ่นของตนเองดังปรากฏในรัฐธรรมนูญ ฉบั บปี พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2550 และโดยเฉพาะอย่างยิ่งรัฐ ธรรมนูญ พ.ศ. 2540 นั้น ในมาตรา 284 ได้กาหนดให้มีกฎหมายกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่ อปท. ซึ่งนาไปสู่การถ่ายโอนภารกิจ หน้ า ที่ อ านาจในการจั ด เก็ บ รายได้ และการปรั บ สั ด ส่ ว นการจั ด สรรภาษี อ ากรระหว่ า งรั ฐ กั บ ท้ อ งถิ่ น และระหว่าง อปท. ประเภทต่างๆ
15
บทที่ ๒ ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศ
จากข้อสังเกตของวีระศักดิ์ เครือเทพและคณะ (2558) นโยบายการกระจายอานาจของไทยสามารถ แบ่งออกได้เป็น 3 ยุค คือ o ยุคเฟื่องฟู (พ.ศ. 2540-2544) o ยุคตกต่า (พ.ศ. 2545-2555) o ยุคฟื้นฟู (พ.ศ. 2556-2557) โดยในแต่ละยุคมีความเคลื่อนไหวทางการเมืองและสังคมที่เป็นแรงผลักดันก่อให้เกิดข้อกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดังปรากฏรายละเอียดในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ยุคของนโยบายการกระจายอ้านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยุคของการกระจายอ้านาจ ข้อกฎหมายเกี่ยวกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยุคเฟื่องฟู รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 กาหนดให้มีการกระจายอานาจ (พ.ศ. 2540-2544) มีการยกฐานะสุขาภิบาลเป็นเทศบาลตาบลทั่วประเทศใน พ.ศ. 25402541 มีการประกาศใช้ พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ ให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542 รัฐบาลจัดทาแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการกระจายอานาจฯ ในปี พ.ศ. 2542-2543 และมีการถ่ายโอนภารกิจด้านการจัดบริการสาธารณะและ ด้านการจัดการสุขภาพให้แก่ อปท. ในปี พ.ศ. 2543-2544 รัฐบาลจัดสรรรายได้ให้แก่ อปท. คิดเป็นสัดส่วนเป็นร้อยละ 20.68 ของ รายได้สุทธิรัฐบาล ในปี พ.ศ. 2544 ยุคตกต่้า มีการยกเลิกการถ่ายโอนภารกิจด้านจัดการสุขภาพในปี พ.ศ. 2544-2545 (พ.ศ. 2545-2555) สืบเนื่องมาจากการปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข รัฐบาลได้นานโยบายการบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ (นโยบายผู้ว่าซีอี โอ) มาใช้ในปี พ.ศ. 2545-2549 ทาให้ต้องชะลอนโยบายกระจายอานาจฯ ในปี พ.ศ. 2548-2549 รัฐบาลชะลอการจัดสรรรายได้ให้แก่ อปท. เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายรายได้ อปท. ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลที่ร้อยละ 35 ในปี พ.ศ. 2548 มีการชะลอการถ่ายโอนบุคลากรในส่วนราชการไปยัง อปท. และชะลอการแก้ไขกฎหมายต่างๆตามแผนการกระจายอานาจฯ ทั้ง 2 ฉบับ
16
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
การกระจายอ านาจให้ ช่ว งระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 จึงเรี ยกได้ ว่าเป็น “ยุคเฟื่ องฟู ” ของ การปกครองท้ อ งถิ่ น เนื่ อ งจากมีก ารปรั บ ปรุ ง แก้ไ ขกฎหมายต่ า งๆ อั น นาไปสู่ ก ารปรั บ โครงสร้ าง อปท. ให้สอดคล้องกับหลักการปกครองตนเองของท้องถิ่น ยกตัวอย่างเช่น การยกสถานะของสุขาภิบาลทั่วประเทศ ขึ้นเป็น “เทศบาลตาบล” และการกาหนดโครงสร้างใหม่ของ อปท. ที่ต้องประกอบไปด้วยสภาท้องถิ่นและ คณะผู้บริหารท้องถิ่นที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง ซึ่งการเลือกตั้งคณะผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรงนั้นเกิดขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2548 นอกเหนือจากนี้ กฎหมายสาคัญที่เกิดขึ้นในยุคเฟื่องฟูของการกระจายอานาจ คือ พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจฯ ที่กาหนดให้มีแผนแม่บทกาหนดทิศทางการกระจายอานาจ ทั้งทางด้านการจั ดสรรรายได้ให้ แก่ อปท. และการถ่ายโอนภารกิจหน้าที่ ให้ แก่ อปท. โดยเฉพาะในด้า น การศึกษาและการจัดการสุขภาพ การกระจายอานาจเข้าสู่ “ยุคตกต่า” ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2545-2549 เมื่อรัฐบาลในขณะนั้นมี นโยบายการบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ (Integrated Provincial Management) หรือ “นโยบายผู้ว่าฯ ซีอี โ อ”ขึ้ น มา นโยบายดัง กล่ า วมุ่ ง เน้ น บทบาทของนายกรัฐ มนตรี แ ละรั ฐ บาลในการบั ง คั บ บัญ ชาสั่ ง การ และจัดบริการสาธารณะ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดรับบทบาทหน้าที่เป็น “ซีอีโอ” ในการขับเคลื่อนนโยบาย รัฐบาลในส่วนภูมิภาคภายใต้การบังคับบัญชาโดยตรงของนายกรัฐมนตรี ซึ่ง นโยบายดังกล่าวส่งผลกระทบ โดยตรงต่อกระบวนการกระจายอานาจที่ดาเนินมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 (Mutebi, 2004) นอกจากนี้แล้ว รัฐบาลยังได้ชะลอแผนการถ่ายโอนภารกิจหน้าที่และบุคลากรไปยัง อปท. ตามแผนการกระจายอานาจฯ โดยเฉพาะการชะลอการถ่า ยโอนบุคลากรและภารกิจด้านการจัดการสุขภาพและสาธารณสุขอันเนื่องมาจาก การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุขในช่วงปี พ.ศ. 2545-2546 และประการสาคัญคือ การแก้ไข พ.ร.บ. กาหนด แผนและขั้นตอนการกระจายอานาจฯ พ.ศ. 2542 ซึ่งปรับลดเป้าหมายสัดส่วนรายได้ของ อปท. ต่อรายได้ สุทธิของรัฐบาลเป็น “ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25” โดยปราศจากกรอบระยะเวลาที่ชัดเจนเพื่อบรรลุเป้าหมาย ดังกล่าว แต่อย่างไรก็ตาม ได้ปรากฏความพยายามหลากหลายรูปแบบในการเสริมสร้า งความเข้มแข็งให้แก่ ท้องถิ่น เช่น การเคลื่อนไหวของ จ.ภูเก็ตในการผลักดันนโยบายจังหวัดปกครองตนเองซึ่งเป็น อปท. รูปแบบ พิเศษมีอานาจและความเป็นอิสระเต็มพื้นที่ทั้งจังหวัด เป็นต้น ตลอดจนมีการเสริมสร้างขีดความสามารถของ อปท. ในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยการจัดตั้งกองทุนสิ่งแวดล้อมขึ้น (วีระศักดิ์ เครือเทพและคณะ, 2558) นอกจากนี้ ยังมีการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมสุขภาพตาบลภายใต้การกากับดูแลของสานักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ (สปช.) เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระดับท้องถิ่น ต่อมาใน “ยุคฟื้นฟู” ของการกระจายอานาจซึ่งเริ่มต้นด้วยรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2550 ที่นอกจาก จะตอกย้าหลักการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นแล้ว ยังได้เพิ่มบทบัญญัติส่งเสริมบทบาทของภาคประชาชนใน การบริหารจัดการท้องถิ่นมากขึ้น และบทบัญญัติในการลดขนาดของภาครัฐส่วนกลาง โดยในปี พ.ศ. 2553 รัฐบาลได้แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายซึ่งได้เสนอแนวคิด “จังหวัดจัดการตนเอง” ขึ้นเป็นการปกครอง ท้องถิ่นรูปแบบใหม่ แต่ทว่า ด้วยปัญหาความขั ดแย้งทางการเมืองในช่วงระยะเวลาดังกล่าวทาให้ภาครัฐไม่ สามารถผลักดันนโยบายสาคัญตามวาระการปฏิรูปได้อย่างเต็มที่ จวบจนเกิดกระแสการปฏิรูปอีกระลอกหนึ่ง
17
บทที่ ๒ ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศ
ในช่วงปี พ.ศ. 2556-2557 ที่นาไปสู่การปฏิวัติรัฐประหารในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 และมีการจัดตั้งสภา ปฏิรูปแห่งชาติและสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปแห่งชาติขึ้น โดยทั้งสองสภาก็ได้เสนอแนวทางการปฏิรูปการ ปกครองท้องถิ่นและกระบวนการกระจายอานาจให้แก่ อปท. หลายประเด็น อย่างไรก็ตาม ก็ยังไม่เกิดข้อยุติ เกี่ยวกับการปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นและการกระจายอานาจอย่างเป็นรูปธรรม
2.4 แนวคิดเรื่องความโปร่งใส สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (2552) ได้อธิบายความหมายเกี่ยวกับความโปร่งใส ไว้ ว่ า เป็ น การมองเห็ น ภาพโดยปราศจากประเด็ น แอบแฝง ซ่ อ นเร้ น มี ข้ อ มู ล ชั ด เจนละเอี ย ดประกอบ การประสานงาน การร่ ว มมื อร่ ว มใจ และการตั ด สิ น ใจ ความโปร่ ง ใสที่ ใ ช้ใ นการบริ ห ารงานจึ ง หมายถึ ง การสร้างความเปิ ดเผย เปิดโอกาสให้ ผู้ มีส่ ว นได้เสี ยทั้งจากภายในและภายนอกหน่วยงานสามารถเข้าถึง ข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ มีการสื่อสาร การแสดงความรับผิดชอบพร้อมรับ การตรวจสอบ รวมทั้งมีกระบวนการ ในการติด ตามและประเมิ น ผลที่ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ว่ าเที่ ย งตรงและเชื่ อถื อ ได้ ทั้ง นี้ โกวิ ท ย์ พวงงาม และ สร้อยมาศ รุ่งมณี (2553) ได้อธิบายเกี่ยวกับความโปร่งใสไว้ว่าเป็น พฤติกรรมที่รู้เห็นได้ชัดเจนว่า เจ้าหน้าที่ ของรัฐอาศัยอานาจหน้าที่กระทาการใดๆ เพื่อประโยชน์สาธารณะ ในขณะที่สานักงานคณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ (2552) ได้นิยามความหมายสาคัญของความโปร่งใส (Transparency) คือ “กระบวนการที่ เปิ ด เผยอย่ า งตรงไปตรงมา ชี้ แ จ้ ง ได้เ มื่ อ มี ข้ อ สงสั ย และสามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มูล ข่ า วสารซึ่ ง ไม่ ต้ องห้ า มตาม กฎหมายได้อย่างเสรี โดยประชาชนสามารถรู้ทุกขั้นตอนในการดาเนินกิ จกรรม หรือกระบวนการต่างๆ และ สามารถตรวจสอบได้” และในส่วนของ องค์การการค้าโลก (World Trade Organization) (Bellver and Kaufman, 2005: 4 อ้างถึงใน ดวงกมล เกษโกมล, 2552: 12) ได้อธิบายเกี่ยวกับความโปร่งใสเกี่ยวพันกับ แกนหลักสาคัญ 3 ประการคือ o ต้ อ งท าให้ ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กฎหมาย ข้ อ บั ง คั บ และนโยบายอื่ น ๆ ของรั ฐ ได้ รั บ การเปิดเผยสู่สาธารณชน o ต้องแจ้งให้กลุ่มบุคคลที่มีความสนใจทราบเกี่ยวกับกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐและสามารถ เปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน o ต้องทาให้แน่ใจว่ากฎหมาย และกฎข้อบัง คับต่าง ๆ ได้ถูกบัญญัติ อย่างมีรูปแบบยุติธรรม และมี เหตุมีผล จากความหมายเกี่ยวกับความโปร่งใสที่กล่าวมาในข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ความโปร่งใสเป็นสิ่งที่ให้ ความสาคัญในเรื่องของกระบวนการการเปิดเผยข้อมูล การตรวจสอบได้ การติดตาม เพื่อที่จะทาให้การดาเนิน กิจการต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งในหน่วยงานของรัฐที่มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงซึ่งก็คือ ประชาชนสามารถ รับรู้ถึงกระบวนการที่จะก่อให้เกิดผลประโยชน์แก่ประชาชนเองโดยตรงอย่างตรงไปตรงมาและเกิดประโยชน์
18
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
สูงสุดจากการดาเนินกิจการต่างๆของหน่วยงานรัฐ ดังนั้นการเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชน การตรวจสอบได้ การติดตามโดยประชาชน จึงเป็นเรื่องที่ทั้งหน่วยงานของรัฐและประชาชนจาเป็นที่จะต้องร่วมมือกันเพื่อให้ กระบวนการของความโปร่งใสเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ก. หลักการของความโปร่งใส สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาแห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช (2551) ได้ อ ธิ บ าย ถึ ง ว่ า ความโปร่ ง ใสเป็ น ความชั ด เจนของกระบวนการปฏิ บั ติ ง านที่ มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล ข่ า วสารแนวนโยบาย ผลการปฏิบัติงาน และการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการตรวจสอบเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพของ กระบวนการปฏิบัติงาน ดังนั้นหลักการสาคัญ คือ o หลักการเปิด เผยและการเข้ า ถึงข้อ มูลข่า วสาร เป็นหลั ก ส าคัญของความโปร่ง ใสเพราะเมื่ อ บุคคล และองค์กรหรือแม้แต่ภาครัฐ ดาเนินการด้วยความเปิดเผยและพร้อมให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง หรือภาคประชาชนเข้าถึงและรับรู้ข้อมูลข่าวสาร นโยบาย และผลดาเนินงานแล้ว ย่อมจะนาไปสู่ การรับรู้และตรวจสอบอย่างมีนัยสาคัญ การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของรัฐ ถือเป็นเงื่อนไขสาคัญใน การเพิ่มความโปร่งใส สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลจึงจาเป็นต้องได้รับการรับรองโดยกฎหมาย o หลักการตรวจสอบได้ มีความสาคัญต่อการรักษาหลักธรรมาภิบาลด้วยการควบคุมนักการเมือง ข้าราชการ พนักงานของรัฐ และผู้บริหารองค์กรภาครัฐไม่ให้ใช้อานาจเกินขอบเขตและแสวงหา ผลประโยชน์จากตาแหน่งหน้าที่ การตรวจสอบมีทั้งในระดับปัจเจกบุคคลและระดับองค์กรหรือ สังคม โดยในระดับปัจเจกบุคคล การตรวจสอบได้เ กี่ยวกับความรับผิดชอบ ส่ วนในระดับสังคม การตรวจสอบได้ หมายถึ ง ระบบการตรวจสอบเพื่ อ ตรวจทานและสร้ า งดุ ล ยภาพในระบบ การบริหารภาครัฐแบ่งเป็น 2 ระดับ คือ 1) การตรวจสอบตามสายการบังคับบัญชาและมาตรฐาน ของกระบวนการทางาน 2) การตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ของกระบวนการทางาน โดยไม่ได้จากัด ขอบเขตแต่เพียงความถูกผิดทางกฎหมาย o หลักการมีส่วนร่วมในความโปร่งใส หมายถึง การเปิดโอกาสให้ ประชาชนรับรู้และเข้าถึงข้อมูล เกี่ ย วกั บ การท างานของภาครั ฐ โดยการมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชนนั้ น มี ห ลายขั้ น ตอนตั้ ง แต่ การวางแผน การตั ด สิ น ใจในทางเลื อ ก การกาหนดนโยบาย การน านโยบายไปปฏิ บั ติ และ การติ ด ตามประเมิ น ผล การมี ส่ ว นร่ ว มถื อ เป็ น ปั จ จั ย ส าคั ญ ที่ เ สริ ม สร้ า งความโปร่ ง ใส ท าให้ การบริหารจัดการภาครัฐมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของประชาชน ข. มาตรฐานความโปร่งใสของหน่วยงานรัฐ สานั กงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ส านักงานปลั ดส านักนายกรัฐมนตรี (2555) ได้กาหนดมาตรฐานความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐภายใต้ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 เพื่อเป็นเกณฑ์มาตรฐานในการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ สะท้อนให้เห็นถึงขั้นตอนการดาเนินการที่
19
บทที่ ๒ ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศ
สามารถเปิดเผยและตรวจสอบได้ การทาหน้าที่โดยความซื่อสัตย์สุจริต ไม่มีการเลือกปฏิบัติ โดยมีตัวชี้วัด มาตรฐานความโปร่งใสด้านการให้บริการประชาชน 6 ข้อ คือ o ก้า หนดหลั กเกณฑ์แ ละขั้น ตอนในการให้บ ริ ก ารแก่ป ระชาชน บุ คลากรและหน่ว ยงานต้อ ง กาหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนที่ ชัดเจนและเผยแพร่หลักเกณฑ์และขั้นตอนดังกล่ าวให้บุคลากร ในหน่วยงานและประชาชน เพื่อให้ประชาชนผู้รับบริการทราบหลักเกณฑ์และสามารถเตรียมการ ได้ อ ย่ า งเหมาะสม ในขณะที่ บุ ค ลากรภายในหน่ ว ยงานก็ จ ะมี แ นวทางปฏิ บั ติ ที่ ชั ด เจน เช่น จัดทาและเผยแพร่คู่มือการให้บริการ เป็นต้น o การให้บริการตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนที่ก้าหนดไว้โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ บุคลากรและ หน่วยงานให้บริการประชาชนตามหลักเกณฑ์และขั้นตอนที่กาหนดไว้ โดยไม่เลือกปฏิบัติ แม้จะมี ความหลากหลายและความสลับซับซ้อนของงานก็ตาม o การเลือกใช้ช่องทางที่เหมาะสมกับการให้บริการ บุคลากรและหน่วยงานจัด ระบบให้บริการ ประชาชนโดยใช้วิธีการที่เหมาะสมกับ บริบทและสถานการณ์ และพัฒนารูปแบบการให้บริการ ประชาชนที่เ ป็ น นวั ต กรรมอยู่ เ สมอ เช่น ใช้เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ทั นสมั ยในการให้ บ ริก าร ประชาชน ปรั บ ปรุ ง ช่ อ งทางการเผยแพร่ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ ค รอบคลุ ม ทุ ก กลุ่ ม ประชากร เป็นต้น o การจัดให้มีช่องทางรับและแก้ไขเรื่องร้องเรียนของประชาชน หน่วยงานกาหนดช่องทางรับ และแก้ไขเรื่องร้องเรียนของประชาชนที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากร เช่น พฤติกรรม การทุจริตในหน้าที่ การร้องเรียนเกี่ยวกับสิทธิและการใช้อานาจรัฐ เป็นต้น ซึ่งเป็นความขัดแย้ง ระหว่างประชาชนผู้รับบริการกับหน่วยงานที่ให้บริการ o การประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ หน่วยงานภาครัฐจาเป็นต้องศึกษา และประเมิ น ความพึ ง พอใจของประชาชนผู้ รั บ บริ ก ารของหน่ ว ยงาน อย่ า งสม่ าเสมอเพื่ อ นาผลประเมินมาปรับปรุงแนวทางการให้บริการ การประเมินความพึงพอใจนั้นสามารถดาเนินการ ได้ตลอดเวลา และหน่วยงานยังต้องเผยแพร่ผ ลประเมินนั้นให้แก่สาธารณชนได้รับทราบอย่าง แพร่หลาย o การจั ด ท้ า ระบบข้ อมู ล สถิติ แ ละสรุ ป ผลการให้ บ ริ ก ารแก่ ป ระชาชน หน่ ว ยงานควรมี ร ะบบ บริหารจัดการข้อมูลที่ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล ใช้ประโยชน์จากข้อมูล และให้ความคิดเห็น ต่อบริการของหน่วยงานได้ตลอดเวลา
20
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
2.5 แนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชน ตลอดระยะเวลา 2 ทศวรรษที่ผ่านมา แนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนถือเป็นแกน หลักสาคัญของปรัชญาแห่งการพัฒนาในทุกศาสตร์และสาขาวิชา (Kukla-Acevedo and Perez, 2013) การ มีส่ว นร่ วมของประชาชนดังกล่าว หมายถึง การที่ประชาชนเข้าไปแสดงบทบาทส าคัญในแวดวงการเมือง กระบวนการตัดสินใจเชิงนโยบาย และการขับเคลื่อนนโยบายนั้นไปสู่ภาคปฏิบัติ ทั้งนี้ เนื่องจากกระบวนการมี ส่วนร่วมของภาคประชาชนนั้นมีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงไปถึง “สภาวะความเป็นพลเมือง (Citizenship)” และ “ธรรมาภิบาลระบอบประชาธิปไตย (Democratic Governance)” อย่างแนบแน่น โดยความสัมพันธ์ดังกล่าว ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนจากกิจกรรมและโครงการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งได้รับการถ่ายโอน อานาจและภารกิจหน้าที่จ ากนโยบายการกระจายอานาจ ของภาครัฐ ในบริบทการกระจายอานาจใน ประเทศต่างๆ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงเป็นตัวกลางที่สาคัญในการเชื่อมประสานการเมืองภาคพลเมือง และโครงสร้างของรัฐ และยังก่อให้เกิดประเด็นคาถามต่างๆมากมายเกี่ยวกับ “ทิศทางและพัฒนาการของ ระบอบประชาธิปไตยในอนาคต” ตลอดจน “กลยุทธ์ ที่จาเป็นต่อการส่งเสริมการมีส่ วนร่วมของภาค ประชาชน” ก. แนวคิดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชน การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน (Participation) มี ทั้ ง สิ้ น 2 ประเภท คื อ การมี ส่ ว นร่ ว มใน ภาคประชาสังคม (Civic Participation) และการมีส่วนร่วมในภาคการเมือง (Political Participation) สาหรับในบริบทการกระจายอานาจให้แก่ชุมชนท้องถิ่น รูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนทั้งสองล้วนแล้ว แต่มีความสาคัญต่อการส่งเสริม “ภาวะความเป็นพลเมือง” ในระบบการเมืองการปกครองประชาธิปไตย โดยในวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนทั้ง 2 ประเภท คือ o การมีส่วนร่วมของประชาชนในภาคการเมือง (Political Participation) หมายถึง ปฏิสัมพันธ์ ระหว่าง “ปัจเจกบุคคล (Individual)” หรือ “กลุ่มบุคคล (Group)” และหน่วยงานภาครัฐ (State Agencies) โดยส่ ว นใหญ่แ ล้ ว มั กจะหมายถึ ง การมี ส่ ว นร่ว มทางอ้ อ ม (Indirect Participation) เช่น กระบวนการทางกฎหมายที่ประชาชนสามารถชี้นาการสรรหาและเลือกสรร บุคลากรในหน่วยงานภาครัฐ ตลอดจนนโยบายและแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานภาครัฐ (Verba and Nie, 1972) หรือ การมีส่วนร่วมในการกาหนดและขับเคลื่อนนโยบายไปสู่ภาคปฏิบัติ (Parry et al., 1992) กระบวนการมีส่วนร่วมโดยทางอ้อมดังกล่าวถือเป็นคุณลักษณะสาคัญของระบอบ ประชาธิปไตยแบบตัวแทน (Representative Democracy) ซึ่งความต้องการและความรู้สึกนึกคิด ของภาคประชาชนนั้ น จะได้ รั บ การถ่ า ยทอดและสกั ด ไปเป็ นนโยบายโดย “ตั ว แทน (Representatives)” และ “ข้าราชการประจา (Government Officials)” (Richardson, 1983). ทั้งนี้ การเลือกตั้ง การหาเสีย งเลือกตั้ง หรือแม้แต่การชุมนุมประท้วง ก็ ล้วนแล้ วแต่เป็นการมี ส่วนร่วมทางอ้อมของประชาชน
21
บทที่ ๒ ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศ
o การมีส่วนร่วมของประชาชนในภาคประชาสังคม (Civic Participation) ได้รับความสนใจ จากนักวิชาการในแวดวงพัฒนศาสตร์ (Development Studies) เป็นอย่างมาก โดย Stiefel และ Wolfe (1994) ได้ กล่ า วว่า การมี ส่ ว นร่ว มของประชาชนที่แท้ จริง คือ ความพยายามของ หมู่คณะที่มุ่งครอบครองและควบคุมทรัพยากรขององค์กรที่ทาหน้าที่บังคับใช้กฎหมายในสังคม คานิยามดังกล่าวทาให้การมีส่วนร่วมของประชาชนมีขอบเขตนอกเหนือภาคการเมืองเนื่องจาก กลุ่มบุคคลที่ต้องการควบคุมและครอบครองทรัพยากรและองคาพยพของรัฐ เป็นกลุ่มบุคคลที่ ไม่มีบทบาทหรืออิทธิพลในสถาบันภาคการเมื อง ซึ่งอาจปรากฏในรูปแบบ “ขบวนการทางสังคม (Social Movement)” หรือ สมาคมต่างๆ ที่มีลักษณะเป็น “สหภาพ (Union)” “สมาคมวิชาชีพ (Professional Association)” และ “กลุ่มผลประโยชน์ (Interest Group)” นอกจากนี้ การมีส่วนร่วมของประชาชนยังเป็นมิติสาคัญของแนวคิดการบริหารภาครัฐยุคใหม่ (New Public Management: NPM) (Swindell and Kelly, 2000) ซึ่งแนวคิด NPM นั้นมุ่งเสริมสร้างประสิทธิภาพ ของการจั ดให้ มีบ ริ การสาธารณะโดยการนาเอาความต้องการและความคิดเห็ นของประชาชนไปกาหนด นโยบาย โครงการ และกิจกรรมของภาครัฐ (Caiden and Caiden, 2002; Kelly, 2005; Van Ryzin, 2004; 2007) นอกเหนือจากกระบวนการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ (Public Hearing Process) ซึ่งทาให้ หน่วยงานภาครัฐ ทราบถึงความต้อ งการและความคิดเห็นของประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชนตาม แนวคิด NPM ยังหมายถึง กระบวนการที่ประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่ว นเสีย (Stakeholder) เข้ามาร่วมคิดและ ร่วมขับเคลื่อนนโยบาย โครงการและกิจกรรมต่างๆ ด้วยทรัพยากร งบประมาณ และบุคลากรขององค์กร ภาครัฐ (World Bank, 1995) คานิยามของ World Bank นั้นเป็นการยกระดับสถานภาพของกระบวนการมี ส่ว นร่ว มของประชาชนจากเดิมเป็ นเพี ยงการที่หน่ว ยงานภาครัฐ รับฟัง ความคิดเห็ นของประชาชนไปเป็น การเปิ ดโอกาสให้ ภ าคประชาชนเข้ามาร่ ว มในวงจรชีวิตของนโยบายสาธารณะตั้งแต่การศึกษาวิเคราะห์ ความต้องการ (Needs Assessment) การกาหนดนโยบาย (Policy Formulation) การวางแผนงาน (Planning) การบริหารจัดการ (Management) และการประเมินนโยบาย (Policy Evaluation) (Barner and Rosenwein, 1985; Vigoda, 2002) การเปิ ด โอกาสให้ ภ าคประชาชนเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการก าหนดนโยบายถื อ เป็ น การส่ ง เสริ ม กระบวนการเรี ย นรู้ ทางด้า นการเมืองการปกครองให้ แก่ประชาชน เนื่องจากทาให้ ประชาชนได้ทราบถึ ง ความสลับซับซ้อนของขั้นตอนการตัดสินใจและกระบวนการกาหนดนโยบายสาธารณะในระบอบประชาธิปไตย และยั งเป็น การฝึ กฝนให้ ประชาชนสามารถมองสภาพปัญหาต่างๆในมุมมองของชุมชน ไม่ใช่แต่เพียงจาก มุมมองส่วนบุคคล (Pateman, 1970; Sabatier, 1988; Blackburn and Bruce, 1995) จากกระบวนการ เรี ย นรู้ ดังกล่ าวย่ อมจะทาให้ ป ระชาชนเข้าใจในสภาพการท างานของเจ้าหน้ าที่ภ าครัฐ ซึ่งย่อ มส่ งผลดีต่ อ ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและประชาชนต่อไป (Irvin andd Stansbury, 2004) นอกจากนี้ การมีส่ว นร่วมของประชาชนยังเสริมสร้างคุณภาพการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐ Neshkova และ Guo (2012) อธิบายกลไกความสัมพันธ์ของการมีส่วนร่วมและคุณภาพการให้บริการว่า
22
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
แม้เจ้าหน้าที่ภาครัฐจะมี ความรู้เชิงเทคนิค แต่ก็จาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในสภาพปัญหาที่แท้จริงของ ชุมชน (Thomas, 1995; Beirele and Cayford, 2002) การที่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นเข้าใจใน สภาพปัญหาที่แท้จริงและบริบทของแต่ละชุมชนย่อมทาให้ประชาชนยอมรับและเชื่อมั่นในนโยบายและอานาจ ของ อปท. นอกจากนี้ การเปิ ดโอกาสให้ป ระชาชนเข้ามามีส่ วนร่ว มยังเป็นการเปิดพื้นที่ให้ประชาชนและ เจ้าหน้าที่ภาครัฐสามารถร่วมกันคิดค้นนวัตกรรมและขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติ (Roberts, 1997) ข. “ระดับ” การมีส่วนร่วมของประชาชน ส่ ว นที่ผ่ านมาได้กล่ าวถึง ประเภทการมีส่ ว นร่ว มของประชาชนซึ่ง ประกอบด้ว ยการมีส่ ว นร่ว มใน ภาคการเมืองและการมีส่ วนร่วมในภาคประชาสังคม นอกจากการแบ่ง ประเภทตามลักษณะการมีส่วนร่วม (การมีส่วนร่วมทางตรงและการมีส่วนร่วมทางอ้อม) นักวิชาการทางด้านรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ยังคิดค้นเกณฑ์เพื่อแบ่งกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น “ระดับ (Level)” ต่างๆของการมีส่วนร่วม โดย ถวิลวดี บุรีกุล (2552) ใช้เกณฑ์ “ระดับการมีส่วนร่วม” และ “จานวนประชาชนที่เข้ามามีส่วนร่วม” ในจาแนก “ความเข้มข้น” ของกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนได้ 7 ระดับ คือ o การให้ข้อมู ล หมายถึง กระบวนการมีส่ ว นร่ว มที่มีความเข้มข้นต่าที่สุ ด เนื่องจากประชาชนมี สถานะเป็นเพียง “ผู้รับสาร” หรือ “ผู้รับข้อมูล” จากเจ้าหน้าที่ภาครัฐ ผู้กาหนดนโยบายหรือ โครงการโดย ไม่ มีโ อกาสได้ แสดงความคิดเห็ นหรือ มี ส่ ว นร่ว มในการกาหนดนโยบายหรื อ โครงการนั้ น ๆ การให้ ข้อ มู ล ลั กษณะนี้ กระท าได้ห ลายวิธี ได้ แก่ การจัด แถลงข่ า ว การแสดง นิ ทรรศการ หรื อ การเผยแพร่ ข้ อมู ล ให้ แก่ ส าธารณชนผ่ านช่ องทางต่า งๆ เช่ น วิท ยุ โทรทัศ น์ เป็นต้น o การเปิดรับความคิดเห็นของประชาชน หมายถึง การที่ผู้กาหนดนโยบายเปิดรับฟังความคิดเห็น ของประชาชนเพื่ อ ให้ ไ ด้ ข้ อ มู ล น ามาประกอบการตั ด สิ น ใจด้ ว ยการส ารวจความคิ ด เห็ น ของ ประชาชน หรือ การบรรยายให้ประชาชนฟังเกี่ยวกับโครงการต่างๆ แล้ว ขอความคิดเห็นจาก ประชาชน o การปรึ ก ษาหารื อ หมายถึ ง การเจรจาหารื อ อย่ า งเป็ น ทางการระหว่ า งผู้ ก าหนดนโยบาย และประชาชน โดยสามารถกระทาได้โดยการจัดประชุม การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การเสวนากลุ่ม และประชาเสวนา เป็นต้น o การวางแผนร่ วมกัน หมายถึง กระบวนการมีส่ วนร่วมที่ประชาชนมีขอบเขตความรับผิดชอบ มากขึ้น โดยประชาชนจะเข้ามามีส่ ว นร่ว มในการวางแผนโครงการด้ว ยการปฏิบัติห น้าที่เป็ น ที่ปรึกษาหรือผู้ทรงคุณวุฒิในกระบวนการวางแผนต่ างๆ นอกจากนี้ เมื่อเกิดปัญหาขัดแย้งภายใน ชุมชนขึ้นจะมีการจัดตั้งอนุญาโตตุลาการขึ้นเพื่อให้เกิดการประนีประนอมขึ้นระหว่างประชาชน ทุกภาคส่วนและหน่วยงานภาครัฐ
23
บทที่ ๒ ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศ
o การร่วมปฏิบัติ หมายถึง การที่เจ้าหน้าที่ภาครัฐและประชาชนร่วมกันขับเคลื่อนนโยบายต่างๆ ไปสู่ภาคปฏิบัติเพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่วางเอาไว้ร่วมกัน o การร่วมติดตามตรวจสอบและประเมินผล ถึงแม้จะเป็นการมีส่ วนร่วมที่มีประชาชนผู้เข้าร่วม น้อย แต่ถือได้ว่ามี “ความเข้มข้น” ของการมีส่วนร่วมในระดับที่สูง เนื่องจากเป็นการติดตาม และประเมิ น ผลโครงการและนโยบายตามที่ ไ ด้ ว างแนวปฏิ บั ติ แ ละวั ต ถุ ป ระสงค์ เ อาไว้ โดยการตรวจสอบและประเมินผลนี้สามารถกระทาได้โดยจัดตั้ งคณะกรรมการติดตาม แล้วใช้ การส ารวจความคิดเห็นเพื่อเก็บข้อมูลความพึงพอใจในโครงการและนโยบายต่างๆ ซึ่งถือว่ามี ความสาคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการปรับปรุงและพัฒนาให้นโยบายเป็นไปตามผลประโยชน์สาธารณะ และความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง o การควบคุมโดยประชาชน ถือเป็นระดับสูงสุดของการมีส่วนร่วมของประชาชนที่สามารถใช้เป็น วิ ธี ยุ ติ ค วามขั ด แย้ ง โดยวิ ธี ก ารควบคุ ม โดยประชาชนนี้ ส ามารถกระท าได้ โ ดยการจั ด ให้ มี การลงประชามติ (Referendum) เป็นต้น กรอบแนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชนของ ถวิลวดี บุรีกุล สะท้อนให้เห็นถึงความท้าทายใน การออกแบบกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนให้บรรลุตามเป้าประสงค์ของระบอบประชาธิปไตย ซึ่ง คือ การทาให้ประชาชนเป็นภาคีหุ้นส่วนในการบริหารจัดการชุมชนของตนเองอย่างแท้จริงบนพื้นฐานความเชื่อมั่น ในโครงสร้ า งและสถาบั น การเมือ งการปกครอง สิ่ ง ที่พึ ง ระวัง ในการส่ งเสริ ม กระบวนการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน คือ การมีส่วนร่วมที่ เกิดขึ้นนั้นอาจจะไม่ได้ก่อให้ เกิดความเชื่อมั่น (Trust) ในสถาบันหลักทาง การเมืองการปกครอง เนื่องจากขั้น ตอนและกระบวนการมีส่ ว นร่ว มนั้นอาจถูกบิดเบือนโดยผู้มีอานาจจน ทาให้ประชาชนเป็นเพียง “กลุ่มการเมืองจัดตั้ง” “สภาตรายาง” หรือ “ผู้รับสารทางการเมือง”
2.6 แนวคิดเรื่องการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ภายในชุมชน กระบวนการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ภายในชุมชน หมายถึง กระบวนการที่ผู้เกี่ยวข้อง กับความขัดแย้งทั้งทางตรงและทางอ้อม ได้แก่ ผู้กระทา ผู้ถูกกระทา สมาชิกภายในชุมชนผู้ได้รับผลกระทบ และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้แสดงความกระตือรือร้นที่จะร่วมกันป้องกัน จัดการ และแก้ไขปัญหาที่เกิดจาก ความขัดแย้ง โดยอาจได้รับความช่วยเหลือจากฝ่ายที่สามซึ่งมีความเป็นกลางและความสามารถในการป้องกัน จั ด การ และแก้ ไ ขปั ญ หาที่ เ กิ ด จากความขั ด แย้ ง อย่ า งสั น ติ วิ ธี เช่ น คณะกรรมการไกล่ เ กลี่ ย เป็ น ต้ น (De Pourcq et al., 2017; Lee et al, 2017) อนึ่ง ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ภายในชุมชนจาเป็นต้องเข้าใจใน ธรรมชาติของ “ความขัดแย้ง (Conflict)” ซึ่งไม่เพียงแต่เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตรายและอาจลุกลามเป็น ความรุนแรงเพียงอย่างเดียว แต่ยังเป็นปรากฏการณ์นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (เดชา ตั้งสีฟ้า, 2550) ซึ่งความขัดแย้งนั้นสามารถสะท้อนพลวัติของสัมพันธภาพระหว่างสมาชิกในสังคม ค่านิยมทางสังคม ความไม่
24
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
สมดุลของข้อมูลข่าวสาร การกระจายผลประโยชน์และการตอบสนองความต้องการที่ไม่เท่าเทียม และปัญหา เชิงโครงสร้างในระดับมหภาคทางสังคมที่เกิดให้เกิดความไม่เท่าเทียม (Sun et al., 2016) โดยสามารถแบ่ง ประเภทความรุนแรงได้ดังนี้ o ความขัดแย้งเริ่มปรากฏ (Emerging Conflict) หมายถึง ความขัดแย้งที่กาลังปรากฏขึ้น เริ่มเห็นว่ามีคู่กรณีและข้อพิพาท แต่ยังไม่ปรากฏกระบวนการเจรจาต่อรองและการบริหารจัดการ ข้อพิพาทนั้น o ความขัดแย้งซ่อนเร้น (Latent Conflict) หมายถึง ความขัดแย้งที่มีอยู่แต่ไม่ปรากฏรูปแบบ อย่างชัดเจนทาให้สมาชิกในชุมชนไม่มีความตระหนักรู้ว่ามีความขัดแย้งเกิดขึ้น o ความขัด แย้งที่ปรากฏ (Manifest Conflict) หมายถึง ความขัดแย้งที่มีคู่พิพาทและมี ความขัดแย้งอย่างชัดเจน โดยความขัดแย้งทั้ง 3 ประเภทอาจปรากฏในรูปแบบความขัดแย้งระหว่างบุคคล ความขัดแย้งระหว่าง ชุมชน ความขัดแย้งระหว่างบุคคลและชุมชน และความขัดแย้งระหว่างรัฐกับชุมชน ทั้งนี้ คณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ (กอส.) (2549 : 59-99) ได้เสนอแนวทาง การเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ในบริบทสังคมไทยซึ่งต้องใช้มาตรการทางการเมือง การพัฒนาทาง สังคม และการสานเสวนาเป็ น หลั ก เพื่อให้ ทุกภาคส่ว นความขัดแย้งมีความเข้าใจในรากเหง้าของปัญหา ความขัดแย้ง โดยการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งอย่างยั่งยืนนั้นมี 9 ประการ คือ o การเปิด เผยความจริ ง เพื่อคลี่ คลายความเคลื อบแคลงหวาดระแวงไม่เชื่อใจอันจะก่อให้ เกิ ด ความยุติธรรม ความรับผิดชอบ และการให้อภัย o ความยุติธรรม ในทุกระดับ ได้แก่ ชั้นบุคคล โครงสร้าง และวัฒนธรรม โดยมุ่งแยก “ความผิด” ออกจาก “คนผิด” ซึ่งถือเป็นเหยื่อของความรุนแรง นอกจากนี้ยังต้องใช้กระบวนการยุติธรรม ที่มีความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติในการแก้ปัญหาความรุนแรง o ความพร้ อ มรั บ ผิ ด ชอบ ส่ ง เสริ ม ระบบและวั ฒ นธรรมความพร้ อ มรั บ ผิ ด ชอบ โดยยึ ด หลั ก เมตตาธรรม ความถูกต้องชอบธรรม และความโปร่งใส o การให้อภัย โดยทุกฝ่ายต้องตระหนักถึงคุณค่าของชีวิต รวมทั้งตระหนักถึงผลกระทบของเหยื่อ ความรุนแรงในทุกมิติ o การเสวนาระหว่างกัน โดยพร้อมรับฟัง เปิดใจกว้าง แลกเปลี่ยนความเห็นบนฐานของขันติธรรม และความเคารพในความหลากหลายทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต และความเชื่อ o สันติ วิธี เป็น ทางเลือกหลั กเมื่อเผชิญปัญหาความขัดแย้ง รวมถึงปฏิเสธการใช้ความรุนแรงใน การแก้ไขปัญหา
25
บทที่ ๒ ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศ
o ความทรงจ้า เปิดพื้นที่ให้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเพิ่มเติมจากพื้ นที่ประวัติศาสตร์ของรัฐส่วนกลาง พร้ อมทั้งเสริ มสร้ างการเรี ย นรู้ วัฒ นธรรมท้องถิ่น เพื่อให้ เกิดความเข้าใจในความแตกต่างทาง วัฒนธรรมของมากขึ้น o การใช้จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ในการแก้ปัญหาความรุนแรง ไม่ยึดติดกับวิธีการ เดิม ในการแก้ไขปั ญหา พร้ อมที่จะใช้จินตนาการและความสร้างสรรค์ บนพื้นฐานของปรัช ญา เศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาชุมชน และการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน o การยอมรับความเสี่ยงใดๆ ที่อาจเกิดร่วมกัน เนื่องจากการแสวงหาทางออกจากปัญหาที่ยั่งยืน อาจมี ความเสี่ ย งหรื อผลที่คาดไม่ถึ งหลายประการ การยอมรับ ความเสี่ ย งร่ว มกันจึ ง หมายถึ ง ความไว้วางใจ ความเชื่อมั่นที่ประชาชนในพื้นที่มีต่อกัน รวมถึงความกล้าในการยอมรับความเสี่ยง นั้นร่วมกัน อนึ่ง จากอัตราการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและความสลับซับซ้อนในเชิงโครงสร้างทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของเขตเมืองและเขตชนบท ทาให้ความขัดแย้ งระหว่างสมาชิกในชุมชนและความขัดแย้ง ระหว่างสมาชิกในชุมชนและรัฐเกิดขึ้นหลากหลายรูปแบบและจาเป็นต้องอาศัยแนวทางและกระบวนการ ป้องกัน บริหารจัดการ และแก้ไขปัญหาที่ครอบคลุมทุกมิติเพื่อทาให้ความขัดแย้งไม่ขยายขอบเขตกลายเป็น ความรุนแรงหรือการละเมิดสิทธิของสมาชิกในชุมชน ทั้งผู้ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งและผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากความขัดแย้ง ทั้งนี้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทุกระดับมีบทบาทสาคัญในการส่งเสริมสันติสุขและ ความสมานฉันท์ปรองดองให้เกิดขึ้นภายในชุมชน เนื่องจากเป็นหน่วยงานภาครัฐที่อยู่ใกล้ชิดภาคประชาชน มากที่สุดและเกี่ยวข้องกับการจัดบริการสาธารณะที่จาเป็นต้องวิถีชีวิตประจาวันของประชาชน การผลักดันให้ เกิดโครงการและกิจกรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นไปตามแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความขั ด แย้ ง จึ ง ถื อ เป็ น แนวทางการส่ ง เสริ ม สั น ติ สุ ข และความสมานฉั น ท์ ที่ ยั่ ง ยื น และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพใน การบริหารจัดการความขัดแย้งได้ตรงตามรากเหง้าของปัญหา
2.7 แนวคิดเรื่องเครือข่ายความร่วมมือบริการสาธารณะ Alter และ Hage (นฤมล นิราทร. 2543, หน้า 6 ;อ้างอิงมาจาก Alter and Hage. 1993) กล่าวว่า เครื อ ข่ าย (Network) คื อ รู ป แบบทางสั ง คมที่ เ ปิ ดโอกาสให้ เ กิ ด ปฏิสั ม พั น ธ์ร ะหว่ า งองค์ ก รเพื่ อ สร้ า ง ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวและร่วมกันทางาน เครื อข่ายประกอบด้วยองค์กรซึ่งมีอาณาเขตที่แน่นอนหรือไม่ ก็ได้และองค์กรเหล่านี้มีฐานะเท่าเทียมกัน ในขณะที่ ปาน กิมปี (รุ่งโรจน์ เพชระบูรณิน, 2546) อธิบายว่า เครือข่ายเป็นความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างบุคคลหรือกลุ่ มบุคคลจนเกิดเป็นการแลกเปลี่ยนทรัพยากรหรือ ข้อมูลข่าวสารซึ่งจะมีวงกว้างมากน้อยขึ้นอยู่กั บการเชื่อมโยงของบุคคลและกลุ่ม บุคคล นอกจากนี้ นฤมล นิราธร (2543) อธิบายความหมายของเครือข่ายว่า เครือข่ายเป็นการทางานในรูปแบบของความร่วมมือหรือ การพึ่ง พาอาศั ย ซึ่ง กั น และกั น มี ก ารประสานงานเพื่อ แลกเปลี่ ย นข้ อมู ล ข่ าวสารหรื อ ทากิ จ กรรมร่ว มกั น
26
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
โดยอาจผ่านศูนย์กลางหรือแม่ข่าย และการติดต่ออย่างไม่เป็นทางการซึ่งมีความเป็นอิสระหรือมีการรวมตัว แบบหลวมๆ ตามความจาเป็น หรือเป็นโครงสร้างที่มีความชัดเจน แต่สมาชิกบุคคลและองค์กรในเครือข่ายใด เครื อข่ายหนึ่ งอาจไม่มีจุ ดมุ่งหมายเดีย วกัน เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2543) กล่ าวถึง “เครือข่ายเทียม (Pseudo Network)” คือ เครือข่ายที่แท้จริงแล้วเป็นเพียงการชุมนุมหรือพบปะสังสรรค์ ระหว่างสมาชิกของ เครือข่ายทีไ่ ม่มีเป้าหมายร่วมกันและไม่ได้ตั้งใจอย่างแน่วแน่ในการทากิจกรรมร่วมกัน ก. คุณลักษณะของเครือข่าย นฤมล นิราทร (2543) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะของเครือข่าย คือ o การรับรู้มุมมองร่วมกัน (Common Perception) สมาชิกที่เข้าอยู่ในเครือข่ายต้องมีความรู้สึก นึกคิด และความรับรู้ร่วมกันถึงเหตุ ผลการเข้าร่วมเป็นเครือข่าย ได้แก่ มีความเข้าใจในปัญหา และมี ส านึ ก แก้ ไ ขปั ญ หาร่ ว มกั น มี ป ระสบการณ์ แ ก้ ไ ขปั ญ หาร่ ว มกั น และมี ค วามต้ อ งการ ความช่วยเหลือในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน o การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Common Vision) วิสัยทัศน์ร่วมเป็นการมองเห็นภาพของจุดมุ่งหมาย ในอนาคตร่วมกันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม การรับรู้เข้าใจถึงทิศทางเดียวกัน และการมีเป้าหมาย ร่วมกัน o การมีผลประโยชน์และความสนใจร่วมกัน (Mutual Interest and Benefits) เครือข่ายเกิด จากสมาชิกแต่ละคนมีความต้องการของตนเองแต่ความต้องการเหล่านั้นจะไม่สามารถบรรลุผล ส าเร็ จ ได้ ห ากสมาชิ ก ไม่ ร วมตั ว กั น บนพื้ น ฐานของผลประโยชน์ ร่ ว ม ที่ อ าจไม่ ใ ช่ ตั ว เงิ น เช่ น เกียรติยศชื่อเสียง การยอมรับของสังคม และความพึงพอใจ เป็นต้น o การมีส่วนร่วมของสมาชิกเครือข่ายอย่างกว้างขวาง (AII Stakeholders’ Participation) เป็ น กระบวนการที่ส าคั ญในการพัฒ นาความเข้ มแข็งของเครือข่าย เพราะการมี ส่ ว นร่ว มของ ทุกฝ่ายในเครือข่ายเป็นเงื่อนไขทาให้เกิดการร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ และร่วมลงมือกระทา อย่ า งเข้ ม แข็ ง ดั งนั้ น สถานะของสมาชิ ก ในเครื อ ข่ า ยจึ ง ควรมี ค วามเท่ า เทีย มกั น ในฐานะของ “หุ้นส่วน” o การเสริมสร้า งซึ่งกันและกัน (Complementary Relationship) องค์ประกอบที่ ทาให้ เครือข่ายดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง คือ สมาชิกของเครือข่ายต้องเสริมสร้างจุดแข็งซึ่งกันและกัน ซึ่งจะทาให้ผลตอบแทนหรือผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการรวมตัวเป็นเครือข่ายมากกว่า การไม่มี เครือข่าย o ภาวะพึ่ งพาอาศัย (Interdependence) เนื่อ งจากข้ อ จากั ดของสมาชิ กในเครือ ข่ ายทั้ งด้ า น ทรั พยากร ความรู้ เงิน ทุน กาลั งคน สมาชิ กของเครือข่ายจึ งไม่ส ามารถดารงอยู่ได้ด้ ว ยตัว เอง สมาชิกต่างต้องพึ่งพาอาศัยสมาชิกในเครือข่าย การจะทาให้สมาชิกหรือหุ้นส่วนของเครื อข่าย ยึดโยงกันให้แน่นหนาจาเป็นต้องทาให้หุ้นส่วนแต่ละคนรู้สึกว่า หากนาเอาหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่ง
27
บทที่ ๒ ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศ
ออกไปจะทาให้เครือข่ายล้มลง ภาวะพึ่งพาอาศัยอิงนี้จะทาให้สมาชิกต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยอัตโนมัติ o การปฏิสัมพันธ์ เชิงแลกเปลี่ยน (Interaction) หากสมาชิกในเครือ ข่ายไม่มีปฏิสัมพันธ์กัน ก็ไ ม่ ต่ า งอะไรกั บ การไม่ มี เ ครื อ ข่า ย สมาชิก ในเครือ ข่ า ยจึ ง ต้อ งทากิ จกรรมร่ ว มกั น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกด้วยกัน เช่น มีการติดต่อสื่อสารกันเป็นประจาหรือการพบปะพูดคุยกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือมีกิจกรรมประชุมสัมมนาร่วมกัน เป็นต้น ข. รูปแบบของเครือข่าย ปัจจัย สาคัญที่ส่ งผลโดยตรงต่อการทางานของเครือข่าย คือ การสื่ อสารภายในองค์กร ซึ่ง Roger Everettem (1976) กล่าวว่า การติดต่อสื่ อสารเป็นการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนข้อเท็จจริง ความคิด ความรู้สึก การกระทาต่างๆ โดยมีพฤติกรรมในที่นี้รวมถึง การเปลี่ยนแปลงความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม ที่ แ สดงออกโดยเจตนาที่ จ ะเปลี่ ย นพฤติ ก รรมของบุ ค คลอื่ น ดั ง นั้ น การติ ด ต่ อ สื่ อ สารจึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ท าให้ การสร้างเครือข่ายประสบผลสาเร็จ ตรงตามเป้าหมายในที่สุด ซึ่ง Robbins (1983) กล่ าวถึงรูปแบบ การติดต่อสื่อสารของเครือข่าย 5 รูปแบบ คือ o เครือข่ายแบบลูกโซ่ (Chain Network) เป็นรูปแบบการติดต่อสื่อสารแบบหลายระดับซึ่งมัก เกิดความล่าช้า o เครือข่ายแบบ Y (Y Network) เป็นเครือข่ายที่มีบุคคลทาหน้าที่ติดต่อสื่อสารไปยังสมาชิกใน ลาดับถัดไป โดยที่สมาชิกลาดับถัดไปมีโอกาสติดต่อสื่อสารกันเองได้บางส่วน o รูปแบบวงล้อ (Wheel Network) เป็นเครือข่ายความร่วมมือในลักษณะที่การติดต่อสื่อสาร ถูก สั่งจากหน่วยงานหรือบุคคลส่วนกลาง ซึ่งหากสมาชิกจะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ก็ต่อเมื่อผ่าน หน่วยงานหรือบุคคลที่เป็นส่วนกลาง o เครือข่ายแบบวงกลม (Circle Network) เป็นรูปแบบที่สมาชิกแต่ละบุคคลของเครือข่าย สามารถติดต่อสื่อสารและปฏิสัมพันธ์กับสมาชิกข้างเคียงกับตนได้ หากเป็นองค์กรจะถือว่าเป็น การสื่ อสาร 2 ระดั บ คื อ การติ ด ต่อ สื่ อ สารกั บ ผู้ บั ง คั บ บัญ ชาขั้ นต้ น และการติด ต่ อ สื่ อสารกั บ ผู้ใต้บังคับบัญชา o เครือข่ายแบบทุกช่องทาง (All-channel Network) เครือข่ายลักษณะนี้จะไม่มีศูนย์กลาง ที่เป็นทางการ สมาชิกมีโอกาสติดต่อสื่อสารกัน ได้ทั่วถึงอย่างเป็นอิสระ เช่น ในรูปคณะกรรมการ เป็นต้น นับว่าเป็นเครือข่ายการติดต่อที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ แต่ ในยุ คปั จ จุ บั น รู ป แบบของเครื อ ข่ า ยในสั งคมมีค วามซับ ซ้ อนมากขึ้ น จนปรากฏเป็ น เครื อข่ า ย ซับ ซ้อน (Complex Network) ซึ่งเกิดจากเครือข่ายที่มีความหลากหลายเข้า มาร่ว มมือกัน ทาให้ ลั กษณะ เครือข่ายความร่วมมือเป็นรูปแบบการติดต่อสื่อสารกัน ระหว่างองค์กรที่เป็นศูนย์กลางของแต่ละเครือข่าย และสมาชิกทั้งหมดของเครือข่าย เมื่อเครือข่ายต้องการพัฒนาความร่วมมือระหว่างเครือข่ายก็จะส่งเสริมให้มี
28
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
องค์กรกลางทาหน้าที่ประสานทุกเครือข่าย ค. ขั้นตอนการสร้างเครือข่าย บัณฑร อ่อนดา (กล่าวถึงใน นฤมล นิราทร, 2543) อธิบายขัน้ ตอนการสร้างเครือข่ายดังนี้ o ขั้นตอนการสร้างความตระหนักรู้ในความส้าคัญของเครือข่าย (Realization) เพื่อให้สมาชิก ทราบผลประโยชน์ ที่จะได้รับจากการทางานเป็นเครือข่าย รวมทั้งพิจารณาองค์กรต่างๆ ที่เห็นว่า เหมาะสมเข้าเป็นเครือข่ายในการทางาน o ขั้นตอนการติดต่อกับองค์กรที่จะเป็นสมาชิก หรือภาคีเครือข่าย (Courtship) เริ่มจากการสร้าง ความคุ้นเคยและการยอมรับ รวมทั้งความไว้วางใจ ถือเป็นขั้นตอนการเตรียมกลุ่มหรือเครือข่าย มีการปลุกจิตสานึกในการแก้ปัญหาร่วมกัน o ขั้นตอนการสร้างพันธกรณีร่วมกัน (Commitment) เป็นการสร้างข้อตกลงการทางานร่วมกัน โดยสมาชิกเครือข่ายต้องมีความรู้เพียงพอที่จะทากิจกรรมร่วมกัน จึงต้องเสริมสร้างความรู้ที่จาเป็น อาจเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ทั้งภายในและภายนอกเครือข่าย o ขั้นการพัฒนาความสัมพันธ์ (Building) เป็นการสร้างผลงานรูปธรรมร่วมกัน ด้วยการแบ่งปัน ใช้ทรัพยากรร่วมกัน มีการตกลงในเรื่องการบริหารจัดการเครือข่าย กาหนดกิจกรรมและบทบาท โดยแต่ ล ะองค์ ก รต้ อ งปรั บ กระบวนการท างานให้ เ อื้ อ ต่ อ การท างานของเครื อ ข่ า ย แต่ ยั ง คง ความเป็นเอกเทศของตนเอง o ขั้ น การเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น และขยายผล เมื่ อ ผลงานของเครื อ ข่ า ยปรากฏชั ด เจน จะท าให้ ความสั มพั น ธ์ ใ นเครื อ ข่า ยแน่ น แฟ้ น มากขึ้ น มี ความต้ องการเรี ย นรู้ ร่ว มกั น มากขึ้ น และขยาย กิจกรรมหรือขยายเครือข่าย
2.8 สรุปทฤษฎีและแนวคิดเกีย่ วกับ อปท. ที่มีความเป็ นเลิศ การกระจายอานาจให้แก่ อปท. เป็นรากฐานสาคัญของระบอบประชาธิปไตยเนื่องจากเป็นการเปิด โอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารบริการสาธารณะร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งมีประโยชน์ 2 ประการ คือ o ทาให้ภาครัฐสามารถตอบสนองความต้องการของชุมชนท้องถิ่นและประชาชนได้ตรงเป้าหมาย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ o ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนอันจะก่อให้เกิดจิตสานึกและความตระหนักรู้ในสิทธิหน้าที่ พลเมือง
29
บทที่ ๒ ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศ
อย่างไรก็ตาม การที่กระบวนการกระจายอานาจจะสามารถทาให้บริการสาธารณะมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผลขึ้นอยู่กับคุณภาพของนโยบาย โครงการ และแนวทางการดาเนินงานของ อปท. ซึ่งโครงการ รางวัลพระปกเกล้าประจาปี พ.ศ. 2560 สาหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศให้ความสาคัญกับการดาเนินงานของ อปท. ใน 3 มิติ คือ (1) ความโปร่งใสและการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน (2) การเสริมสร้างสันติสุข และความสมานฉันท์ และ (3) การเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ซึ่งรายละเอียดวิธีการเก็บ รวบรวมข้อมูลเพื่อพิจารณา อปท. ที่สมควรได้รับรางวัลจะกล่าวถึงในบทต่อไป
30
ในบทที่ผ่านมาได้กล่าวถึงทฤษฎีและแนวคิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศทั้ง 3 ด้าน คือ (1) ด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน (2) ด้านเสริมสร้างสันติสุขและ ความสมานฉันท์ และ (3) ด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในบทนี้จะกล่าวถึงวิธีการเก็บ รวบรวมข้อมูล ตัวชี้วัดที่คณะที่ปรึกษาใช้ในการประเมิน อปท. ที่เข้าร่วมโครงการ และขั้นตอนการพิจารณา อปท. ที่สมควรได้รับรางวัล
3.1 วิธีการดาเนินการในขั้นตอนที่ 1 การประเมิน อปท. ในขั้นตอนที่ 1 เป็นการประเมินเอกสารหลักฐานที่ อปท. ทั่วประเทศส่งมาเพื่อรับ การพิจารณาโดยคณะที่ปรึกษาเปิดรับใบสมัครพร้อมหลักฐานระหว่างเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2560 โดย อปท. ต้องเตรียมและส่งข้อมูลและหลักฐานที่เป็นผลงานของ อปท. ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างเดือนตุลาคม 2559 -กันยายน 2560 เพื่อให้คณะที่ปรึกษาพิจารณาตามเงื่อนไขการให้คะแนนของแต่ละประเภทรางวัล ก. รางวัลประเภทที่ 1 ความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน รางวัลสาหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ อปท. ตระหนักในความสาคัญของหลักธรรมาภิบาล คือ ความโปร่งใสและการมี ส่วนร่วมของประชาชน ประกอบด้วย 6 หมวด คือ o การจั ด ท้ า แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น และแผนอื่ น ของ อปท. ได้ แ ก่ แผนพั ฒ นาการศึ ก ษาท้ อ งถิ่ น แผนงานโครงการกิจ กรรมพั ฒ นาสุ ขภาพปี ง บประมาณ 2560 แผนงานป้ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภัย ซึ่งพิจารณาในประเด็นย่อยดังนี้ 1) อปท. มี การแต่ งตั้ งผู้ แทนกลุ่ ม/องค์ กรต่ างๆ ในระดั บจั งหวั ดเป็ นคณะกรรมการพั ฒนา ท้องถิ่น และคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น ตลอดจนมีการประชุมคณะกรรมการ
บทที่ ๓ วิธีการศึกษา
เป็ น ประจ า (เฉพาะ อบจ. มี การแต่ งตั้ งผู้ แทนกลุ่ ม/องค์ กรต่ างๆ ในระดั บจั งหวั ดเป็ น คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นตลอดจนมีการประชุมคณะกรรมการเป็นประจา) 2) อปท. มีการแต่งตั้งผู้ แทนกลุ่ ม/องค์กรต่างๆ ในระดับจังหวัดเป็นคณะกรรมการติดตาม และประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งประกอบไปด้วยหลายภาคส่วน และมีการประชุม คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น 3) อปท. มี แ นวทางที่ เ ป็ น รู ป ธรรมเพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ ห น่ ว ย งานราชการ ภาคเอกชน ภาคประชาคม รวมทั้ ง กลุ่ ม องค์ ก รชุ ม ชนหลากหลายในพื้ น ที่ ตลอดจนกลุ่ ม สตรี แ ละ กลุ่มผู้ด้อยโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทาหรือปรับแผนพัฒนาท้องถิ่น 4) อปท. แสดงบทบาทหลักในการประสานความร่วมมือการจัดทาแผนระหว่างส่วนราชการ และ อปท. ในจังหวัด o การจัดบริการสาธารณะ เป็นการพิจารณากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดบริการ สาธารณะและการประเมินโครงการและบริการสาธารณะ ซึ่งมีประเด็นหัวข้อย่อยเพื่อพิจารณา คือ 1) อปท. เปิดโอกาสให้ประชาชน กลุ่มองค์กรชุมชน หน่วยงานราชการ และ อปท. มีส่วนร่วม ในการริเริ่มหรือเสนอโครงการพัฒนาท้องถิ่น รวมทั้งเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นก่อน เริ่มโครงการ พิจารณาให้ความเห็นชอบ และดาเนินการตามโครงการและกิจกรรม 2) อปท. มีการแต่งตั้งผู้ แทนกลุ่ ม/องค์กรต่างๆ ในระดับจังหวัดเป็นคณะกรรมการติดตาม และประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งประกอบไปด้วยหลายภาคส่วน และมีการประชุม คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น 3) อปท. มีแนวทางและวิธีการกากับดูแลการจัดบริการสาธารณะและการประเมินผลโดยเน้น การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน o การบริหารการเงิน การคลัง และการงบประมาณ เป็นการประเมินแนวทางการบริหารการเงิน การคลั ง ของ อปท. ให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บและกฎหมายว่ า ด้ ว ยการป้ อ งกั น และปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ หลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี และหลักการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน 1) อปท. มี กิ จ กรรมสร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจแก่ ป ระชาชนเกี่ ย วกั บ การจั ด เก็ บ ภาษี ค่าธรรมเนียมเป็นประจา 2) อปท. มี แนวทางมี การเฝ้ าระวั งการทุ จริ ตคอร์ รั ปชั่ นเกี่ ยวกั บการให้ สิ นบนหรื อเงิ นพิ เศษ หรือความบันเทิงหรื อความสะดวกสบายแก่เจ้ าหน้าที่ และการให้ความช่วยเหลือเป็นพิเศษ (การวิ่ ง เต้ น ในทางมิ ช อบ) เพื่ อ ผลประโยชน์ ใ ห้ กั บ ตนเองและพวกพ้ อ งหรื อ บุ ค คลอื่ น อย่างไม่เป็นธรรม 3) อปท. มีการจัดทาฐานข้อมูลการจัดเก็บภาษี ค่าธรรมเนียม และงบประมาณในแต่ละปี ตลอดจนงบการเงินตามที่หน่วยตรวจสอบกาหนดและเผยแพร่แก่ประชาชนอย่างน้อย 3 ปี ย้อนหลัง
32
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
4) อปท. ไม่มีประเด็นทักท้วงจากสานักงานตรวจเงินแผ่นดินหรือกรณีร้องเรียนเรื่องทุจริต ในชั้นสืบสวนสอบสวนของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 5) อปท. สามารถจัดเก็บรายได้ที่เป็นภาษีและค่าธรรมเนียมเพิ่มมากขึ้นในช่วงระยะเวลา 3 ปี ย้อนหลัง o กระบวนการกิจการสภาท้องถิ่น เป็นการประเมินผลดาเนินงานของสภาท้องถิ่นในฐานะเป็น ตั ว แทนของประชาชน ในการเสนอข้ อ บั ญ ญั ติ / เทศบั ญ ญั ติ การพิ จ ารณางบประมาณ และ การติดตามตรวจสอบการทางานของคณะผู้บริหาร อปท. 1) สมาชิกสภา อปท. มีการยื่นกระทู้ถามคณะผู้บริหาร อปท. 2) สภา อปท. มีช่องทางเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับฟังการประชุมสภา อปท. และ เปิดโอกาส ให้ประชาชนร่วมแสดงความคิดเห็น 3) สภา อปท. ตราข้อบัญญัติต่า งๆ ที่นอกเหนือจากข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี และมีการตราข้อบัญญัติที่เสนอโดยกลุ่ม/องค์กรภาคประชาชน o การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เป็นการประเมินการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดาเนินงาน และการใช้จ่ ายเงิน งบประมาณของ อปท. ไปยังสาธารณชนผ่ านช่องทางต่างๆ ซึ่งสะท้ อนให้ เห็นถึงความโปร่งใสของ อปท. ในการบริหารงานท้องถิ่น 1) อปท. มีช่องทางเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่สาคัญ ได้แก่ แผนพัฒนาท้องถิ่น โครงการ/กิจกรรม ที่ ด าเนิ น การ ข้ อ มู ล ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ การจั ด เก็ บ ภาษี ข้ อ มู ล รายรั บ รายจ่ า ย ข้ อ มู ล การดาเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ที่เป็นปัจจุบัน โดยประชาชนสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา 2) อปท. มีวิธีการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ของประชาชน หรือ การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร กับประชาชนได้ตลอดเวลา 3) อปท. มีข้อมูลและผลดาเนินงานแก้ไขปัญหาจากข้อร้องเรียนของประชาชน o โครงการที่ มี ค วามโดดเด่ น ด้ า นความโปร่ ง ใสและส่ ง สร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน อปท. จะต้องเสนอรายละเอียดข้อมูลตัวอย่างโครงการหรือกิจกรรมจานวนไม่เกิน 3 โครงการพร้อม วีดีทัศน์หรือสื่อในลักษณะอื่นเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะที่ปรึกษาใน 3 ประเด็นย่อย คือ 1) โครงการมีความเป็นนวัตกรรมด้านธรรมาภิบาลหรือไม่ 2) โ ค รง กา รส าม าร ถต อบ โ จ ทย์ เป้ า หม าย กา รพั ฒน าอ ย่ า งยั่ งยื น ( Sustainable Development Goals) ขององค์การสหประชาชาติหรือไม่ 3) โครงการมีความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลหรือไม่ 4) โครงการมีความยั่งยืนและมีการพัฒนาต่อยอดหรือไม่ โดยสรุป รางวัลประเภทที่ 1 มี 6 หมวด 170 คะแนนดังปรากฏในตารางที่ 2
33
บทที่ ๓ วิธีการศึกษา
ตารางที่ 2 ประเด็นการประเมินและคะแนนส้าหรับรางวัลด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชน 1. 2. 3. 4. 5. 6.
หมวด การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อปท. การจัดบริการสาธารณะ การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น กิจการสภาท้องถิ่น การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ โครงการที่มีความโดดเด่นทางด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม ของประชาชน รวม
จ้านวน 5 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 4 ข้อ 4 ข้อ 4 ข้อ
คะแนน 25 คะแนน 40 คะแนน 45 คะแนน 20 คะแนน 20 คะแนน 20 คะแนน
28 ข้อ
170 คะแนน
ข. รางวัลประเภทที่ 2 ความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ รางวัลประเภทนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ อปท. ใช้กลไกเชิงสังคม ได้แก่ กิจกรรมเสริมสร้าง ความสามัคคีในชุมชน กิจกรรมคุ้มครองสิทธิทางสังคม และกลไกเชิงกฎหมาย ได้แก่ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ร่ ว มกั น หรื อ การใช้ ก ระบวนการยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน หรื อ การรวมกลุ่ ม บุ ค คลที่ น่ า เคารพเชื่ อ ถื อ ของชุ ม ชน ซึ่งคณะที่ปรึกษาจะประเมินใน 3 หมวด คือ o การจัดการองค์กรเพื่อการเสริมสร้างสันติสุขและสมานฉันท์ เป็นการพิจารณาประเมินภาวะ ผู้ น า การให้ ค วามส าคั ญ และการเตรี ย มความพร้ อ มทั้ ง ในด้ า นบุ ค ลากร งบประมาณ กลไก การดาเนินงานของ อปท. ในการรองรับภารกิจในการส่งเสริมให้เกิดสันติสุขและความสมานฉันท์ 1) อปท. มีการกาหนดวิสัย ทัศน์ /พันธกิจ/ นโยบาย/ ยุทธศาสตร์ เกี่ยวกับการเสริมสร้าง สันติสุขและความสมานฉันท์ 2) อปท. มีกิจกรรมในการพัฒนาบุคลากรในองค์กรให้มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถ ด้านการป้องกันความขัดแย้งภายในชุมชน 3) อปท. มีกิจกรรมในการพัฒนาบุคลากรในองค์กรให้มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถ ด้านการ การจัดการความขัดแย้งภายในชุมชน 4) อปท. มีกิจกรรมในการพัฒนาบุคลากรในองค์กรให้มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถ ด้านการเสริมสร้างความสามัคคีภายในชุมชน 5) อปท. มีการจัดทาฐานข้อมูลสถิติสถานการณ์ความรุนแรง หรือสถานการณ์ความขัดแย้ง ภายในชุมชนท้องถิ่น เช่น สถิติสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว สถานการณ์เด็ก วัยรุ่น ตีกัน สถานการณ์ปัญหาทะเลาะวิวาท เป็นต้น
34
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
6) อปท. มีหน่วยงานที่รับผิดชอบ หรือ มีการมอบหมายให้หน่วยงาน/ คณะกรรมการ/ บุคคลใน องค์กรหรือพื้นที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ในพื้นที่ o การส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพและความเข้ ม แข็ ง ของพลเมื อ ง เป็ น การพิ จ ารณาประเมิ น กิ จ กรรม การเสริ มสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของประชาชน ทั้งในรูปแบบการส่งเสริมการเรียนรู้ โดยทั่วไป การเสริมสร้างความสามารถเฉพาะทาง การปลูกฝังจิตสานึกสาธารณะ ค่านิยมอื่นๆ และที่สาคัญการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองท้องถิ่น เนื่องจากศักยภาพและความเข้มแข็งของ ประชาชนเป็นปัจจัยสาคัญประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงาน ท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ และขจัดความขัดแย้งในสังคม 1) อปท. มี การโครงการ/กิ จ กรรม เกี่ ยวกั บ การปลู ก ฝั ง จิ ต ส านึ ก และการสร้ า งความเป็ น พลเมืองของท้องถิ่น 2) อปท. มี โ ครงการ/กิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ การส่ ง เสริ ม ความมี วิ นั ย ค่ า นิ ย มประชาธิ ป ไตย การเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หรือเคารพความแตกต่างหลากหลายให้แก่ประชาชน 3) อปท. มี โ ครงการกิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาประชาชนให้ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจใน การป้องกัน/การจัดการความขัดแย้ง หรือการเสริมสร้างความสามัคคีภายในชุมชน 4) อปท. มีกรณีข้อพิพาทและความรุนแรงระหว่างประชาชนภายในพื้นที่ลดลง o โครงการที่มีความโดดเด่นด้านสันติสุขและเสริมสร้างความสมานฉัน ท์ อปท. จะต้องเสนอ รายละเอีย ดข้อมูลตัว อย่างโครงการหรือกิจกรรมจานวนไม่เกิน 3 โครงการพร้อมวีดีทัศน์หรื อ สื่อในลักษณะอื่นเกี่ยวกับ (1) การประยุกต์ใช้ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรมในการเสริมสร้างสันติสุข และความสมานฉันท์ (2) การเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และ (3) การแก้ไขข้อพิพาทของชุมชนด้วยหลักยุติธรรมชุมชน ทั้งนี้ คณะที่ ปรึกษาจะพิจารณาและประเมินให้คะแนนตามเกณฑ์ คือ 1) โครงการมีความเป็นนวัตกรรมด้านธรรมาภิบาลหรือไม่ 2) โ ค รง กา รส าม าร ถต อบ โ จ ทย์ เป้ า หม าย กา รพั ฒน าอ ย่ า งยั่ งยื น ( Sustainable Development Goals) ขององค์การสหประชาชาติหรือไม่ 3) โครงการมีความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลหรือไม่ 4) โครงการมีความยั่งยืนและมีการพัฒนาต่อยอดหรือไม่ โดยสรุป รางวัลประเภทที่ 2 มี 3 หมวด 80 คะแนนดังปรากฏในตารางที่ 3
35
บทที่ ๓ วิธีการศึกษา
ตารางที่ 3 ประเด็ น การประเมิ น และคะแนนส้ า หรั บ รางวั ล ด้ า นความโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม การมีส่วนร่วมของประชาชน หมวด 1. การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ของ อปท. 2. การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง 3. โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ รวม
จ้านวน 6 ข้อ
คะแนน 30 คะแนน
6 ข้อ 4 ข้อ 16 ข้อ
30 คะแนน 20 คะแนน 80 คะแนน
ค. รางวัลประเภทที่ 3 ความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม รางวัลประเภทที่ 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ อปท. รู้จักทางานแบบประสานพลังจน เกิดความร่วมมือและประสานงานเพื่อให้กิจกรรม/โครงการของ อปท. เกิดประสิทธิภาพ วิธีการเสริ มสร้าง เครือข่าย ประกอบด้วยหลายวิธีการ เช่น การติดต่อสื่อสาร การประสานงานสม่าเสมอ การแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือประสบการณ์เพื่อเรียนรู้ร่วมกัน การวางแผนและดาเนินกิจกรรมร่วมกันการแบ่งปันทรัพยากร เป็นต้น ซึ่งมีเกณฑ์การประเมิน 3 หมวด คือ o การจั ดการองค์กรเพื่ อการเสริ มสร้ างเครื อข่ายรั ฐ เอกชน และประชาสังคม เป็ นการพิ จารณา ประเมินภาวะผู้ น า การให้ ความสาคัญและการเตรียมความพร้อมทั้งในด้านบุ คลากร งบประมาณ กลไกการดาเนินงาน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการรองรับภารกิจในการส่งเสริมให้เกิดเครือข่าย ความร่วมมือในการดาเนินงาน 1) อปท. มีการกาหนดวิสัย ทัศน์ /พันธกิจ/ นโยบาย/ ยุทธศาสตร์ เกี่ยวกับการเสริมสร้าง เครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม 2) อปท. มีกิจกรรมในการพัฒนาบุคลากรในองค์กรให้มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถ ด้านการเสริมสร้างเครือข่าย หรือการทางานในรูปแบบเครือข่ายกับหน่วยงานอื่นๆ 3) อปท.มีความร่วมมือแบบไม่เป็นทางการและความร่วมมือแบบเป็นทางการในลักษณะบันทึก ข้อตกลงร่วม (MOU) กับส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น ภาคประชาสังคม หรือองค์กรภาคเอกชน 4) อปท. มีความร่ว มมือกับ องค์กรในต่างประเทศ อาทิ การทาโครงการ/กิจกรรมร่ว มกัน หรือร่วมเป็นสมาชิกสมาคม ชมรม หรือการมีความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน ต่างประเทศ (เช่น ความร่วมมือลักษณะบ้านพี่เมืองน้อง) หรือความร่วมมือในรูปแบบอื่นๆ
36
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
o ประเด็นที่ 2 การส่งเสริมศักยภาพและความเข้มแข็งของประชาชน เป็นการพิจารณาประเมิน กิจ กรรมการเสริ มสร้ า งศั กยภาพและความเข้ มแข็ง ของประชาชน ทั้ งในรู ปแบบการส่ งเสริ ม การเรี ย นรู้ โ ดยทั่ว ไป การเสริ มสร้างความสามารถเฉพาะทาง การปลู กฝั งจิตส านึกสาธารณะ ค่านิยมอื่นๆ และที่สาคัญการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองท้องถิ่น 1) อปท. มีกิจกรรมในการพัฒนาบุคลากรในองค์กรให้มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถ ด้านการเสริมสร้างเครือข่าย หรือการทางานในรูปแบบเครือข่ายกับหน่วยงานอื่นๆ 2) อปท. มีเครือข่ายอาสาสมัครและเครือข่ายประชาชนในด้านต่างๆ และมีส่วนร่วมดาเนินงาน กับ อปท. อย่างใกล้ชิด o โครงการที่ มี ค วามโดดเด่ น ด้ า นเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และประชาสั ง คม อปท. จะต้องเสนอรายละเอียดข้อมูลตัวอย่างโครงการหรือกิจกรรมจานวนไม่เกิน 3 โครงการพร้อมวีดี ทัศน์หรือสื่อในลักษณะอื่น โดยคณะที่ปรึกษาจะพิจารณาและประเมินให้คะแนนตามเกณฑ์ คือ 1) โครงการมีความเป็นนวัตกรรมด้านธรรมาภิบาลหรือไม่ 2) โ ค รง กา รส าม าร ถต อบ โ จ ทย์ เป้ า หม าย กา รพั ฒน าอ ย่ า งยั่ งยื น ( Sustainable Development Goals) ขององค์การสหประชาชาติหรือไม่ 3) โครงการมีความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลหรือไม่ 4) โครงการมีความยั่งยืนและมีการพัฒนาต่อยอดหรือไม่ โดยสรุป รางวัลประเภทที่ 3 มี 3 หมวด 50 คะแนนดังปรากฏในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ประเด็นการประเมินและคะแนนส้าหรับรางวัลด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และ ประชาสังคม หมวด 1. การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม 2. การเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง 3. โครงการที่มีความโดดเด่นด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และ ประชาสังคม รวม
จ้านวน 4 ข้อ 2 ข้อ 4 ข้อ
คะแนน 20 คะแนน 10 คะแนน 20 คะแนน
10 ข้อ
50 คะแนน
หลังจากพิจารณาใบสมัครและเอกสารหลักฐานที่ อปท. ส่งเข้ามาประกวด คณะที่ปรึกษาได้คานวณ คะแนน T-score ของ อปท. แต่ละแห่งและนาไปเปรียบเทียบกับ ค่าคะแนน T Score ขั้นต่าที่กาหนดไว้ สาหรับแต่ละประเภทรางวัล (ตารางที่ 5)
37
บทที่ ๓ วิธีการศึกษา
ตารางที่ 5 ค่าคะแนน T-score ขั้นต่้ าที่ก้าหนดไว้ส้าหรับแต่ละประเภทรางวัลเพื่อคัดเลือก อปท. เข้ารับการประเมินรอบที่ 2 ประเภทรางวัล 1. ด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่วม ของประชาชน 2. ด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ 3. ด้านเสริมสร้างเครือข่ายภาครัฐ เอกชน และ ประชาสังคม
ค่า T-Score ขั้นต่้าส้าหรับแต่ละประเภทรางวัล o ระดับ อบจ. = 50 o ระดับเทศบาลและ อบต. = 55 o ระดับ อบจ. = 50 o ระดับเทศบาลและ อบต. = 50 o ระดับ อบจ. = 50 o ระดับเทศบาลและ อบต. = 50
3.2 วิธีการดาเนินการในขั้นตอนที่ 2 การประเมินผลการปฏิบัติงานของ อปท. ที่สมัครเข้าร่วมโครงการรางวัลพระปกเกล้าขั้นตอนที่ 2 มี 2 ส่ ว น คื อ (1) การประเมิ น ความพึ ง พอใจและความเชื่ อ ถื อ ไว้ ว างใจของประชาชนที่ มี ต่ อ อปท. และ (2) การประเมิ น จากการสนทนากลุ่ ม หรื อ การสั ม ภาษณ์ เ ชิ ง ลึ ก กั บ กลุ่ ม เป้ า หมายในพื้ น ที่ อปท. ซึ่ ง คณะที่ปรึกษาได้รับความอนุเคราะห์จากอาจารย์มหาวิทยาลัยและนักวิจัยในพื้นที่ดาเนินการเก็บข้อมูลใน ขั้นตอนที่ 2 ก. การประเมินความพึงพอใจและความไว้วางใจของประชาชนต่อ อปท. การประเมินความพึงพอใจและความไว้วางใจของประชาชนต่อ อปท. เป็นการสารวจภาคสนามโดย ใช้แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจและความเชื่อถือไว้วางใจของประชาชนซึ่งมี 3 ส่วน คือ o ความพึงพอใจต่อคุณภาพชีวิตภายในพื้นที่ อปท. ของตนเอง o ความพึงพอใจต่อกลไกธรรมาภิบาลของ อปท. o ความพึงพอใจต่อการดาเนินงานของ อปท. ตามประเภทรางวัลทั้ง 3 ด้าน การดาเนินการเก็บข้อมูลความพึงพอใจของประชาชนเป็นการเก็บข้อมูลภาคสนามจากกลุ่มตัวอย่าง ประชากรในเขต อปท. ซึ่งใน 3 ประเภทรางวัลใช้รูปแบบการเก็บข้อมูลแบบเดียวกัน ดังนี้ o การประเมิน ความพึ งพอใจและความไว้วางใจของประชาชนต่ อ อบจ. จากกลุ่ มตัว อย่า ง ได้แก่ ตัวแทนส่วนราชการ ตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และตัวแทนกลุ่ม องค์กรประชาชน ซึ่งมีวิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง คือ
38
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
1) คั ด เลื อ กจากตั ว แทน อบต. ร้ อ ยละ 10 ของจ านวน อบต. ทั้ ง หมดในเขตพื้ น ที่ อบจ. โดยกระจายในแต่ ล ะอ าเภอและให้ นายก อบต. หรื อตั ว แทน เป็ นผู้ ตอบแบบสอบถาม แห่งละ 1 คน 2) คัดเลื อกตัว แทนเทศบาลนคร เทศบาลเมืองหรือเทศบาลตาบล ร้อยละ 10 ของจานวน เทศบาลทั้งหมดในเขตพื้นที่ อบจ. โดยกระจายในแต่ล ะอาเภอและให้ นายกเทศมนตรี หรือผู้แทนเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม แห่งละ 1 คน 3) คั ด เลื อ กตั ว แทนส่ ว นราชการ 5 หน่ ว ยงาน เช่ น ส านั ก งานจั ง หวั ด โยธาธิ การจั ง หวั ด พัฒนาการจั งหวั ด หั วหน้ าเขตพื้ นที่ (สปจ.) ส่ งเสริ มท้องถิ่ นจั งหวั ด สาธารณสุ ขจั งหวั ด พัฒนาสั งคมและสวั สดิการสั งคมจังหวัด ปกครองจังหวัด และ สตง.จั งหวัดหน่วยงานละ 1 คน 4) คั ด เลื อ กตั ว แทนกลุ่ ม ภาคประชาสั ง คมในจั ง หวั ด เช่ น หอการค้ า จั ง หวั ด NGOs อสม.จั ง หวั ด สมาคมผู้ สู ง อายุ จั ง หวั ด ผู้ สื่ อ ข่ า วท้ อ งถิ่ น (ประธานหรื อ นายกสมาคม) ประชาสัมพันธ์จังหวัด ครู/อาจารย์ หัวหน้าสถานสงเคราะห์คนชรา ตัวแทนคณะกรรมการ องค์กรสตรี เป็นต้น จานวน 10 คน เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม โดยให้มีการกระจายกลุ่มองค์กร ภาคประชาสังคม o การประเมิน ความพึงพอใจและความไว้วางใจของประชาชนต่อเทศบาล จากกลุ่ มตัวอย่าง ได้แก่ ตัว แทนครั ว เรื อนและกลุ่ม/องค์กรในแต่ล ะชุมชน (จานวนกลุ่ มตัว อย่างผั นแปรไปตาม จานวนชุมชน) ซึ่งมีวิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง คือ 1) สุ่ ม ตั ว อย่ า งชุ ม ชนในเขตเทศบาลร้ อ ยละ 50 ของจ านวนชุ ม ชนทั้ ง หมด และให้ คณะกรรมการชุมชน ๆ ละ 2 คน เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม 2) คัดเลือกตัวแทนกลุ่มต่างๆ หรือตัวแทนประชาคม 7 คน 3) คั ด เลื อ กตั ว แทนครู อาจารย์ ใ นโรงเรี ย นเขตเทศบาล 3 คน หรื อ ตั ว แทนหน่ ว ยงาน ราชการ (ท้องถิ่นอาเภอ) 4) คัดเลือกตัวแทนผู้นาศาสนาในเขตเทศบาล 1 ท่าน 5) ผู้นาองค์กรสตรี/ตัวแทนสภาองค์กรชุมชน o การประเมินความพึงพอใจและความไว้วางใจของประชาชนต่อ อบต. ดาเนินการเก็บข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ตัวแทนครัวเรือนและกลุ่ม/องค์กรในแต่ละหมู่บ้าน (จานวนกลุ่มตัวอย่าง ผันแปรไปตามจานวนหมู่บ้าน) ซึ่งมีวิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง คือ 1) สุ่มตัวอย่างหมู่บ้านร้อยละ 50 ของจานวนหมู่บ้านทั้งหมดในพื้นที่ อบต. และให้ตัวแทน หัวหน้าครัวเรือนในแต่ละหมู่บ้านๆ ละ 5 คน เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม 2) คัดเลือกตัวแทนสมาชิกกลุ่ม หรือคณะกรรมการกลุ่มในหมู่บ้าน หรือ ตัวแทนประชาคม หมู่บ้าน จานวน 10 คน เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม 3) คัดเลือกตัวแทนครูในโรงเรียนในเขตพื้นที่ อบต. 2 คน เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม
39
บทที่ ๓ วิธีการศึกษา
4) 5) 6) 7)
คัดเลือกตัวแทนผู้นาศาสนา 1 ท่าน เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม คัดเลือกตัวแทนกานัน ผู้ใหญ่บ้าน 2 คน เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม คัดเลือกตัวแทนข้าราชการในตาบล 3 คน เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้นาองค์กรสตรี/ตัวแทนสภาองค์กรชุมชน
หลั ง จากได้ ผ ลคะแนนส าหรั บ อปท. แต่ ล ะแห่ ง แล้ ว คณะที่ ป รึ ก ษาได้ น าค่ า ความพึ ง พอใจและ ความไว้วางใจของประชาชนในแต่ละด้านมาคานวณมาผลคะแนนเฉลี่ย ทั้งนี้ เนื่องจากได้มีการกาหนดค่า ความพึงพอใจและความไว้วางใจของประชาชนไว้ 5 ระดับ (“น้อยที่สุด” = 1 จนถึง “มากที่สุด” = 5) ผลคะแนนในแต่ละด้านของการประเมินโดยใช้แบบสอบถามจึงมี คะแนนเต็ม 5 คะแนน รวมทั้งหมด 15 คะแนน โดยคณะที่ปรึกษาแปลงผลคะแนนรวมเป็นค่า T-score ข. การประเมินผลปฏิบัติงานของ อปท. คณะที่ ปรึ กษาใช้ รู ปแบบการสนทนากลุ่ ม (Focus Group) เพื่ อประเมิ นผลปฏิ บั ติ งานของ อปท. ส าหรั บรางวัลพระปกเกล้ าทั้ง 3 ประเภท ซึ่ งเป็นการเพิ่มเติมข้ อมูลเชิงคุณภาพจากข้อมูลเชิงปริมาณที่ได้ จากแบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชน เพื่อสะท้อนความคิดเชิงสร้างสรรค์เกี่ยวกับนวัตกรรมท้องถิ่น สาหรับกลุ่มประชากรที่เข้าร่วมการประชุมสนทนากลุ่มมีความแตกต่างไปตามประเภท อปท. (ตารางที่ 6) ตารางที่ 6 แนวทางและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินผลปฏิบัติงานของ อปท.
40
อบจ.
เทศบาล
อบต.
o กลุ่มที่ 1 ประชุมสนทนากลุ่มกับ ตัวแทนส่วนราชการในจังหวัด ได้แก่ ส้านักงานจังหวัด หอการค้าจังหวัด พัฒนาการ จังหวัด ส่งเสริมท้องถิ่นจังหวัด สาธารณสุขจังหวัด ปกครอง จังหวัด พัฒนาสังคมและ สวัสดิการสังคมจังหวัด หรือ ส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้อง o กลุ่มที่ 2 ประชุมสนทนากลุ่ม กับ กลุ่ม อปท. และกลุ่มประชาชน คือ ตัวแทนจาก อบต. ตัวแทนจาก เทศบาล ตัวแทนกลุ่มในจังหวัด และประชาคม และผู้น้าศาสนา/ ครู
o การประชุมสนทนากลุม่ กับ กลุ่มบุคคลในเทศบาล คือ ตัวแทน คณะกรรมการชุมชน ผู้นากลุม่ ใน ชุมชนและสภาองค์กรชุมชน ตัวแทนหน่วยงานที่อยู่ในเขตพื้นที่ เทศบาล ผู้นาศาสนา/ครู
o การประชุมสนทนากลุม่ กับ กลุ่มบุคคลใน อบต. คือ ผู้นากลุม่ ใน ชุมชนและสภาองค์กรชุมชน ตัวแทนหน่วยงานที่อยู่ในเขตพื้นที่ เทศบาล ผู้นาศาสนา/ครู
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
เพื่อให้การประเมินความเป็นเลิศของ อปท. เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศและมีความถูกต้องตาม หลักวิชาการ คณะทางานโครงการรางวัลพระปกเกล้าสาหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศประจาปี 2560 จึงได้ กาหนดเกณฑ์การประเมินเพื่อให้ทีมนักวิจัยภาคสนามสามารถใช้ประเมิน อปท. จากโครงการที่ อปท. เลือก นาเสนอ และจากการสนทนากลุ่มกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubrics) ดังกล่าว ประกอบด้วย 4 มิติ (ภาพที่ 1) ภาพที่ 1 เกณฑ์การให้คะแนนผลการประชุมสนทนากลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละพื้นที่ อปท. ที่รับการประเมินรอบที่ 2
สาหรับเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละมิตินั้น คณะที่ปรึกษาได้กาหนดไว้ 3 ระดับ คือ o ระดับ 0 (ไม่ได้คะแนน) คือ อปท. ไม่มีผลดาเนินงานในประเด็นนั้น o ระดับ 1 (ได้ 1 คะแนน) คือ อปท. มีผลดาเนินงานในประเด็ นนั้น แต่ไม่ชัดเจนเพียงพอและขาด หลักฐานสนับสนุน o ระดับ 2 (ได้ 2 คะแนน) คือ อปท. มีผลดาเนินงานในประเด็นนั้นชัดเจนและมีหลักฐานสนับสนุน ครบถ้วน เมื่อได้รับผลคะแนนจากนักวิจัยในพื้นที่ที่ได้ประเมิน อปท. แล้ว คณะที่ปรึกษาได้ประมวลผลข้อมูล และคานวณคะแนนดิบ ของ อปท. แต่ล ะแห่ง แล้ว นาไปคานวณหาค่า T-score นอกจากนี้ ทีมนักวิจัย ภาคสนามต้องเขียนผลสรุปโครงการที่ อปท. เลือกมานาเสนอ โดยผลสรุปต้องครอบคลุมประเด็นสาคัญดังนี้ o ชื่อโครงการและข้อมูล อปท. o คณะผู้บริหารและผู้ประสานงานหลักของ อปท. o สรุปข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ 2) เหตุผลและความสาคัญ 3) วัตถุประสงค์ แผนดาเนินงาน และกรอบระยะเวลาการดาเนินงาน
41
บทที่ ๓ วิธีการศึกษา
4) 5) 6) 7)
กิจกรรมหลักและทรัพยากรที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม ประโยชน์ที่ได้รับ ลักษณะเด่นของโครงการนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ สรุปบทเรียน
3.3 การประมวลผลคะแนน คณะที่ปรึกษาประมวลผลคะแนนของ อปท. แต่ละแห่งโดยใช้นาค่า T-score ของผลคะแนนรวมใน แต่ละขั้นตอนมาคูณกับค่าถ่วงน้าหนักที่กาหนดไว้ (ตารางที่ 7) ตารางที่ 7 ค่าถ่วงน้้าหนักส้าหรับคะแนนที่จากการประเมิน 3 ขั้นตอน ผลคะแนน 4. ค่าถ่วงน้าหนักสาหรับผลคะแนนที่ได้จากการประเมินรอบที่ 1 (W1) 5. ค่าถ่วงน้าหนักสาหรับผลคะแนนที่ได้จากแบบประเมินความพึงพอใจ (W2) 6. ค่าถ่วงน้าหนักสาหรับผลคะแนนที่ได้จากการสนทนากลุ่ม (W3) รวม
ค่าถ่วงน้้าหนัก (W) 40% 30% 30% 100%
ดังนั้น สูตรคานวณผลคะแนนรวมของแต่ละ อปท. คือ ภาพที่ 2 สูตรค้านวณคะแนนรวมของ อปท. ที่ผ่านการประเมินรอบที่ 1 และ 2
เมื่อได้ผลคะแนนรวมของ อปท. แต่ละแห่งที่ผ่านการประเมินรอบที่ 1 และ 2 แล้ว คณะที่ปรึกษาได้ นาผลคะแนนทั้งหมดมาเรียงลาดับจากมากไปหาน้อย และระบุรายชื่อ อปท. ที่สมควรได้รับรางวัลพระปกเกล้า สาหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศในแต่ละประเภทรางวัล โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาดังนี้
42
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ตารางที่ 8 หลั ก เกณฑ์ ก ารพิ จ ารณา อปท. ที่ ส มควรได้ รั บ รางวั ล พระปกเกล้ า ส้ า หรั บ อปท. ที่ มี ความเป็นเลิศ ประจ้าปี 2560 ประเภทรางวัล 2. ด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วน ร่วมของประชาชน o อปท. ที่สมควรได้รับโล่รางวัล o อปท. ที่สมควรได้รับใบประกาศ 2. ด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ o อปท. ที่สมควรได้รับโล่รางวัล o อปท. ที่สมควรได้รับใบประกาศ 3. ด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และ ประชาสังคม o อปท. ที่สมควรได้รับโล่รางวัล o อปท. ที่สมควรได้รับใบประกาศ
ผลรวมคะแนนขั้นต่้า ส้าหรับ อบจ.
o 60 คะแนนขึ้นไป o 50-59 คะแนน
ผลรวมคะแนนขั้นต่้า ส้าหรับเทศบาล อบต. และเมืองพัทยา
o 60 คะแนนขึ้นไป o 50-59 คะแนน o 55 คะแนนขึ้นไป o 50-54 คะแนน
o 60 คะแนนขึ้นไป o 50-59 คะแนน
o 55 คะแนนขึ้นไป o 50-54 คะแนน
ในการประเมิน องค์กรปกครองส่ว นท้องถิ่นที่ส มัครเข้าร่ว มโครงการรางวัล พระปกเกล้ า ประจาปี 2560 นั้ น พบว่ า จากจ านวน อปท.ที่ส มัค รเข้ าร่ ว มโครงการทั้ ง หมด 178 แห่ ง มี อปท. ที่ ไม่ ผ่ านเกณฑ์ การประเมินในแต่ละประเภทรางวัล โดยทางคณะผู้วิจัยจะแยกแยะผลการประเมิน อปท. ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ออกเป็น 2 ส่วนตามขั้นการประเมิน คือ ขั้นที่ 1 การประเมินรอบที่ 1 และขั้นที่ 2 การประเมินรอบที่ 2 เพื่อเป็นข้อเสนอแนะให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) นาไปพัฒนาปรับปรุงการดาเนินงานต่อไป
43
การประเมินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในขั้นตอนที่ 1 เป็นการประเมินเอกสารหลักฐานที่ อปท. ทั่วประเทศส่งมาเพื่อรับการพิจารณาโดยคณะที่ปรึกษาเปิดรับใบสมัครพร้อมหลักฐานระหว่างเดือนเมษายน – พฤษภาคม 2560 โดย อปท. ต้องเตรี ยมและส่ งข้อมูล และหลั กฐานที่เป็นผลงานของ อปท. ซึ่งเกิ ดขึ้น ระหว่างเดือนตุลาคม 2559 - กันยายน 2560 เพื่อให้คณะที่ปรึกษาพิจารณาตามเงื่อนไขการให้คะแนนของ แต่ละประเภทรางวัล โดยเนื้อหาสาระของบทนี้จะเริ่มต้นจากการอธิบายข้อมูลทั่วไปของ อปท. ที่เข้าร่วม ประกวดโครงการรางวัลพระปกเกล้าประจาปี พ.ศ. 2560 หลังจากนั้นจะเป็นผลการประเมิน อปท. รอบที่ 1
4.1 ข้อมูลทัว่ ไปของ อปท. ที่เข้าร่วมโครงการรางวัลพระปกเกล้า พ.ศ. 2560 ในปีงบประมาณ 2560 มี อปท. จานวนทั้งสิ้น 178 แห่งส่งผลงานเข้าร่วมประกวดรางวัลพระปกเกล้า โดยเทศบาลตาบลมีจานวนมากที่สุด 86 แห่ง รองลงมาคือ อบต. จานวน 51 แห่ง เทศบาลเมือง จานวน 22 แห่ง อบจ. จานวน 12 แห่ง และเทศบาลนคร จานวน 7 แห่ง (ภาพที่ 3) ภาพที่ 3 จ้านวนและประเภท อปท. ที่ส่งผลงานเข้าประกวดรางวัลพระปกเกล้า ประจ้าปีงบประมาณ 2560
บทที่ ๔ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๑
นอกจากนี้ คณะที่ปรึกษาพิจารณาการกระจายทางภูมิ ศาสตร์ (Geographical Distribution) ของ อปท. ที่ส่งผลปฏิบัติงานเข้าขอรับการประเมินรางวัลพระปกเกล้าในรอบที่ 1 พบว่า ภูมิภาคที่มี อปท. ส่ง ผลงานเข้าประกวดมากที่สุด คือ ภาคเหนือ จานวน 55 แห่ง รองลงมาคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 51 แห่ง ภาคกลางและภาคตะวันออก 41 แห่ง และภาคใต้ 31 แห่ง ภาพที่ 4 การกระจายทางภูมิศาสตร์ของ อปท. ที่ส่งผลงานเข้าประกวดรางวัลพระปกเกล้า ประจ้าปีงบประมาณ 2560
คณะที่ปรึกษาจาแนก อปท. ตามรางวัลพระปกเกล้า 3 ประเภท คือ รางวัลด้านความโปร่งใสและ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน รางวัลด้านเสริมสร้างสันติสุขและสมานฉันท์ และรางวัลด้านเสริมสร้าง เครือข่ายรัฐ เอกชน และภาคประชาสังคม ทั้งนี้ เมื่อแบ่ง อปท. ตามแต่ละประเภทรางวัล พบว่า o รางวัลประเภทที่ 1 ความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน มีจานวน อปท. ส่งผลงานเข้าประกวดทั้งสิ้น 112 แห่งประกอบด้วย อบจ. 7 แห่งและเทศบาล/อบต. 105 แห่ง o รางวัลประเภทที่ 2 เสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ มีจานวน อปท. 10 แห่งส่งผลงาน เข้าประกวด ซึ่งเป็ นเทศบาลและ อบต. ทั้งหมด ไม่มี อบจ. ส่ งใบสมัครเข้าประกวดในรางวัล ประเภทนี้ o รางวัลประเภทที่ 3 เสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคมมี อปท. 56 แห่งส่ง ผลงานเข้าประกวด ประกอบด้วย อบจ. 5 แห่งและเทศบาล, อบต. 51 แห่ง
46
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
4.2 อปท. ที่ผ่านการประเมินรอบที่ 1 ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของประชาชน รางวั ล พระปกเกล้ า ด้ า นความโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชนประกอบด้ ว ย (1) รางวัลสาหรับ อบจ. ซึ่งใช้เกณฑ์ค่า T-score ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป และ (2) รางวัลสาหรับ อบต. เทศบาลและเมืองพัทยา ซึ่งใช้เกณฑ์ค่า T-score ตั้งแต่ร้อยละ 55 ขึ้นไป โดยมี อปท. จานวน 112 แห่ง ส่งหลักฐานเพื่อขอรับการประเมิน แบ่งเป็น อบจ. จานวน 7 แห่ง และเทศบาลและ อบต. จานวน 105 แห่ง ก. ผลการประเมิ น อบจ. เพื่อ รั บ รางวั ลด้ า นความโปร่ งใสและส่ง เสริ ม การมี ส่ว นร่ วมของประชาชน (รอบที่ 1) คณะที่ปรึกษาใช้ค่า T-score ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไปเป็นเกณฑ์คัดเลือก อบจ. ในรอบที่ 1 พบว่า มี อบจ. ที่ผ่านเกณฑ์ดังกล่าวจานวน 4 แห่ง คือ อบจ.สุราษฎร์ธานี อบจ.ตราด อบจ.พัทลุง และ อบจ.บึงกาฬ (ตารางที่ 9) ตารางที่ 9 ผลการประเมิน อบจ. ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน (รอบที่ 1) ที่ อบจ. 1 2 3 4 5 6 7
อบจ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี อบจ.ตราด จ.ตราด อบจ.พัทลุง จ.พัทลุง อบจ.บึงกาฬ จ.บึงกาฬ อบจ.ตาก จ.ตาก อบจ.สุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรี อบจ.อุตรดิตถ์ จ.อุตรดิตถ์
หมวด 2
หมวด 3
หมวด 4
หมวด 5
หมวด 6
หมวด 7
รวม
25 คะแนน
40 คะแนน
20 คะแนน
20 คะแนน
20 คะแนน
20 คะแนน
145 คะแนน
15 (60%) 14 (56%) 15 (60%) 9 (36%) 9 (36%) 14 (56%) 0 (0%)
25 (63%) 24 (60%) 18 (45%) 20 (50%) 16 (40%) 13 (33%) 0 (0%)
34 (76%) 24 (53%) 30 (67%) 27 (60%) 27 (60%) 20 (44%) 19 (42%)
3 (15%) 1 (5%) 2 (10%) 2 (10%) 2 (10%) 2 (10%) 1 (5%)
20 (100%) 20 (100%) 19 (95%) 13 (65%) 17 (85%) 15 (75%) 17 (85%)
20 (100%) 20 (100%) 10 (50%) 20 (100%) 13 (65%) 13 (65%) 13 (65%)
T-score
117
63.69
103
57.08
94
52.83
91
51.42
84
48.11
77
44.81
50
32.06
47
บทที่ ๔ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๑
จากค่า T-score ของ อบจ. ที่ส่งหลักฐานเข้ารับการประเมินด้านด้านความโปร่งใสและส่งเสริม การมีส่วนร่วมของประชาชน รอบที่ 1 คณะที่ปรึกษาพบข้อสังเกต ดังนี้ o อบจ. ทุกแห่งรวมถึง อบจ. ที่มีค่า T-Score มากกว่าร้อยละ 50 มีประเด็นที่ไม่ผ่านเกณฑ์ (ได้รับ ค่าคะแนนต่ากว่าร้อยละ 50) อย่างน้อย 1 ประเด็น o อบจ. ทุกแห่งได้คะแนนไม่ถึงร้อยละ 50 ในหมวดที่ 5 ซึ่งเป็นการประเมินผลดาเนินงานของสภา อบจ. ในฐานะตัว แทนของประชาชนในการเสนอข้อบัญญัติ, การพิจารณางบประมาณ, และ การติดตามตรวจสอบการทางานของคณะผู้บริหาร อบจ. o สาหรับ อบจ. ที่ได้ค่า T-Score ต่ากว่าร้อยละ 50 ได้คะแนนไม่ถึงร้อยละ 50 มากกว่า 2 หมวด กล่าวคือ 1) อบจ.ตาก ได้คะแนนไม่ถึงร้อยละ 50 ในหมวดที่ 2 (การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ในกระบวนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อบจ.) หมวดที่ 3 (การมีส่วนร่วม ของภาคประชาชนในการจั ดบริการสาธารณะ) และหมวดที่ 5 (การปฏิบัติหน้ าที่ของ สภา อบจ.) 2) อบจ.สุ พรรณบุ รี ได้คะแนนไม่ถึงร้อยละ 50 ในหมวดที่ 3 (การมีส่ วนร่ว มของ ภาคประชาชนในการจัดบริการสาธารณะ) หมวดที่ 4 (คุณภาพการบริหารการเงิน การคลังท้องถิ่น) และหมวดที่ 5 (การปฏิบัติหน้าที่ของสภา อบจ.) 3) อบจ.อุตรดิตถ์ ได้คะแนนไม่ถึงร้อยละ 50 ในหมวดที่ หมวดที่ 2 (การมีส่วนร่วมของ ภาคประชาชนในกระบวนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนอื่นของ อบจ.) หมวดที่ 3 (การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการจัดบริการสาธารณะ) หมวดที่ 4 (คุณภาพ การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น)และหมวดที่ 5 (การปฏิบัติหน้าที่ของสภา อบจ.) ข. ผลการประเมินเทศบาล, อบต. และเมืองพัทยา เพื่อรั บรางวัลด้านความโปร่งใสและส่งเสริ มการมี ส่วนร่วมของประชาชน (รอบที่ 1) ผลการประเมินเทศบาล อบต. และเมืองพัทยาในรอบที่ 1 จะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเทศบาล และกลุ่ม อบต. ซึ่งทั้งสองกลุ่มจะคิดคานวณค่า T-score แตกต่างกัน แต่สาหรับการคัดเลือก อปท. เพื่อรับ การประเมินในรอบที่ 2 นั้นจะใช้เกณฑ์มาตรฐานค่า T-score ตั้งแต่ร้อยละ 55 ขึ้นสาหรับทั้ง 2 กลุ่ม กลุ่มเทศบาล (N = 76) เมื่อใช้เกณฑ์ค่า T-score ตั้งแต่ร้อยละ 55 ขึ้นไป คัดเลือกเทศบาลที่ส่งใบสมัครเข้าประกวดรางวัล ประเภทความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน พบว่า มีเทศบาลที่ผ่านเกณฑ์ จานวน 25 แห่ง
48
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ตารางที่ 10 ผลการประเมิ น เทศบาลด้ า นความโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มขอ งประชาชน (รอบที่ 1) ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9
อปท. เทศบาลตาบลวังกะ จ.กาญจนบุรี เทศบาลเมืองกระบี่ จ.กระบี่ เทศบาลตาบลคลองแงะ จ.สงขลา เทศบาลตาบลยางเนิ้ง จ.เชียงใหม่ เทศบาลเมืองแม่เหียะ จ.เชียงใหม่ เทศบาลตาบลหนองเรือ จ.ขอนแก่น เทศบาลเมืองตาคลี จ.นครสวรรค์ เทศบาลเมืองทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช เทศบาลตาบลพระแท่นลาพระยา
จ.กาญจนบุรี 10
เทศบาลตาบลปากน้าประแส
11
จ.ระยอง เทศบาลตาบลแม่ปืม จ.พะเยา
12 13 14
เทศบาลตาบลเสิงสาง จ.นครราชสีมา เทศบาลตาบลสง่าบ้าน จ.เชียงใหม่ เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย
จ.สมุทรปราการ
15 เทศบาลนครยะลา 16 17 18 19 20
จ.ยะลา เทศบาลตาบลวังดิน จ.ลาพูน เทศบาลตาบลเพชรเมืองทอง
จ.อ่างทอง เทศบาลตาบลหนองบัว จ.อุดรธานี เทศบาลตาบลโพลาดแก้ว จ.ลพบุรี เทศบาลเมืองกะทู้ จ.ภูเก็ต
หมวด 2
หมวด 3
หมวด 4
หมวด 5
หมวด 6
หมวด 7
รวม
20 คะแนน
40 คะแนน
35 คะแนน
20 คะแนน
20 คะแนน
20 คะแนน
130 คะแนน
T-Score
10 (50%) 12 (60%) 11 (55%) 14 (70%) 13 (65%) 11 (55%) 10 (50%) 11 (55%) 11 (55%) 10 (50%) 7 (35%)
17 (43%) 25 (63%) 27 (68%) 27 (68%) 23 (58%) 28 (70%) 21 (53%) 21 (53%) 17 (43%) 15 (38%) 24 (60%)
35 (100%) 33 (94%) 21 (68%) 30 (86%) 27 (77%) 19 (54%) 28 (80%) 25 (71%) 27 (77%) 28 (80%) 30 (86%)
12 (60%) 9 (45%) 14 (70%) 3 (15%) 8 (40%) 9 (45%) 7 (35%) 2 (10%) 8 (40%) 10 (50%) 1 (5%)
20 (100%) 20 (100%) 20 (100%) 20 (100%) 18 (90%) 20 (100%) 20 (100%) 20 (100%) 19 (95%) 20 (100%) 19 (95%)
20 (100%) 15 (75%) 20 (100%) 15 (75%) 18 (90%) 20 (100%) 18 (90%) 20 (100%) 15 (75%) 13 (65%) 15 (75%)
114
68.63
114
68.63
113
68.15
109
66.25
107
65.30
107
65.30
104
63.87
99
61.50
97
60.55
96
60.07
96
60.07
11 (55%) 12 (60%)
22 (55%) 20 (50%)
21 (60%) 21 (60%)
3 (15%) 1 (5%)
20 (100%) 20 (100%)
18 (90%) 20 (100%)
95
59.60
94
59.12
11 (55%)
19 (48%)
30 (86%)
1 (5%)
20 (100%)
13 (65%)
94
59.12
12 (60%) 11 (55%)
18 (45%) 18 (45%)
25 (71%) 23 (66%)
3 (15%) 6 (30%)
20 (100%) 20 (100%)
15 (75%) 15 (75%)
93
58.64
93
58.64
8 (40%) 8 (40%) 5 (25%) 13 (65%)
21 (53%) 16 (40%) 20 (50%) 18 (45%)
21 (60%) 29 (83%) 27 (77%) 24 (69%)
10 (50%) 1 (5%) 4 (20%) 0 (0%)
18 (90%) 19 (95%) 17 (85%) 20 (100%)
15 (75%) 20 (100%) 18 (90%) 15 (75%)
93
58.64
93
58.64
91
57.69
90
57.22
49
บทที่ ๔ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๑ 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43
50
เทศบาลตาบลก้อ จ.ลาพูน เทศบาลเมืองชัยภูมิ จ.ชัยภูมิ เทศบาลเมืองไร่ขิง จ.นครปฐม เทศบาลตาบลป่าไผ่ จ.ลาพูน เทศบาลตาบลแสนสุข จ.อุบลราชธานี เทศบาลตาบลวิชิต จ.ภูเก็ต เทศบาลนครปากเกร็ด จ.นนทบุรี เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จ.ร้อยเอ็ด เทศบาลตาบลห้วยกะปิ จ.ชลบุรี เทศบาลตาบลนาอ้อ จ.เลย เทศบาลตาบลบัวบาน จ.กาฬสินธุ์ เทศบาลตาบลท่าสะอาด จ.บึงกาฬ เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรี เทศบาลนครแหลมฉบัง จ.ชลบุรี เทศบาลตาบลวังเจ้า จ.ตาก เทศบาลตาบลแม่ขรี จ.พัทลุง เทศบาลเมืองตาก จ.ตาก เทศบาลตาบลบ้านแหวน จ.เชียงใหม่ เทศบาลตาบลนาอาน จ.เลย เทศบาลตาบลบ้านแหลม จ.เพชรบุรี เทศบาลตาบลเหมืองหง่า จ.ลาพูน เทศบาลตาบลเมืองยวมใต้ จ.แม่ฮอ่ งสอน เทศบาลตาบลขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ
10 (50%) 8 (40%) 13 (65%) 6 (30%) 7 (35%) 8 (40%) 11 (55%) 9 (45%) 3 (15%) 8 (40%) 7 (35%) 7 (35%) 6 (30%) 6 (30%) 5 (25%) 6 (30%) 9 (45%) 2 (10%) 9 (45%) 9 (45%) 7 (35%) 8 (40%) 6 (30%)
19 (48%) 21 (53%) 22 (55%) 18 (45%) 18 (45%) 16 (40%) 13 (33%) 12 (30%) 20 (50%) 21 (53%) 16 (40%) 15 (38%) 16 (40%) 25 (63%) 17 (43%) 12 (30%) 20 (50%) 16 (40%) 15 (38%) 15 (38%) 13 (33%) 18 (45%) 17 (43%)
20 (57%) 17 (49%) 17 (49%) 23 (66%) 22 (63%) 14 (40%) 17 (49%) 22 (63%) 22 (63%) 18 (51%) 23 (66%) 25 (71%) 16 (46%) 16 (46%) 16 (46%) 20 (57%) 9 (26%) 22 (63%) 13 (37%) 14 (40%) 20 (57%) 12 (34%) 20 (57%)
1 (5%) 6 (30%) 1 (5%) 8 (40%) 2 (10%) 6 (30%) 5 (25%) 5 (25%) 2 (10%) 3 (15%) 3 (15%) 3 (15%) 10 (50%) 1 (5%) 3 (15%) 4 (20%) 0 (0%) 4 (20%) 5 (25%) 2 (10%) 3 (15%) 6 (30%) 0 (0%)
19 (95%) 20 (100%) 19 (95%) 20 (100%) 20 (100%) 20 (100%) 20 (100%) 18 (90%) 18 (90%) 20 (100%) 18 (90%) 14 (70%) 14 (70%) 15 (75%) 20 (100%) 18 (90%) 18 (90%) 20 (100%) 19 (95%) 19 (95%) 17 (85%) 12 (60%) 14 (70%)
20 (100%) 15 (75%) 15 (75%) 10 (50%) 16 (80%) 20 (100%) 18 (90%) 18 (90%) 18 (90%) 13 (65%) 15 (75%) 13 (65%) 15 (75%) 13 (65%) 15 (75%) 15 (75%) 18 (90%) 10 (50%) 13 (65%) 15 (75%) 13 (65%) 16 (80%) 15 (75%)
89
56.74
87
55.79
87
55.79
85
54.84
85
54.84
84
54.37
84
54.37
84
54.37
83
53.89
83
53.89
82
53.41
77
51.04
77
51.04
76
50.56
76
50.56
75
50.09
74
49.61
74
49.61
74
49.61
74
49.61
73
49.14
72
48.66
72
48.66
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66
เทศบาลตาบลนาวง จ.ตรัง เทศบาลตาบลควนเนียง จ.สงขลา เทศบาลตาบลช่องลม จ.กาแพงเพชร เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา จ.เชียงใหม่ เทศบาลตาบลหนองกุงศรี จ.กาฬสินธุ์ เทศบาลตาบลด่านซ้าย จ.เลย เทศบาลตาบลแม่ทะ จ.ลาปาง เทศบาลตาบลบ้านเพชร จ.ชัยภูมิ เทศบาลตาบลสันมหาพน จ.เชียงใหม่ เทศบาลเมืองหัวหิน จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ เทศบาลตาบลพนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา เทศบาลตาบลเสาธงหิน จ.นนทบุรี เทศบาลตาบลบ้านไร่ จ. ราชบุรี เทศบาลนครนนทบุรี จ.นนทบุรี เทศบาลตาบลนาดี จ.สมุทรสาคร เทศบาลเมืองทุ่งตาเสา จ.สงขลา เทศบาลตาบลมาบข่า จ.ระยอง เทศบาลตาบลไชยปราการ จ.เชียงใหม่ เทศบาลตาบลเวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี เทศบาลตาบลน้าริด จ.อุตรดิตถ์ เทศบาลตาบลม่วงน้อย จ.ลาพูน เทศบาลเมืองกาแพงเพชร จ.กาแพงเพชร เทศบาลตาบลจันดี จ.นครศรีธรรมราช
5 (25%) 7 (35%) 5 (25%) 8 (40%) 6 (30%) 7 (35%) 6 (30%) 5 (25%) 6 (30%) 8 (40%) 6 (30%) 6 (30%) 7 (35%) 4 (20%) 4 (20%) 8 (40%) 8 (40%) 5 (25%) 6 (30%) 6 (30%) 5 (25%) 7 (35%) 5 (25%)
11 (28%) 14 (35%) 12 (30%) 21 (53%) 12 (30%) 12 (30%) 7 (18%) 16 (40%) 14 (35%) 17 (43%) 12 (30%) 7 (18%) 13 (33%) 12 (30%) 10 (25%) 9 (23%) 13 (33%) 18 (45%) 4 (10%) 7 (18%) 3 (8%) 15 (38%) 9 (23%)
12 (34%) 18 (51%) 15 (43%) 7 (20%) 17 (49%) 20 (57%) 18 (51%) 12 (34%) 10 (29%) 12 (34%) 15 (43%) 17 (49%) 11 (31%) 15 (43%) 12 (34%) 11 (31%) 10 (29%) 14 (40%) 16 (46%) 9 (26%) 12 (34%) 12 (34%) 19 (54%)
17 (85%) 3 (15%) 6 (30%) 2 (10%) 6 (30%) 1 (5%) 6 (30%) 3 (15%) 2 (10%) 0 (0%) 1 (5%) 2 (10%) 3 (15%) 2 (10%) 1 (5%) 7 (35%) 1 (5%) 2 (10%) 1 (5%) 1 (5%) 1 (5%) 2 (10%) 1 (5%)
17 (85%) 20 (100%) 20 (100%) 18 (90%) 15 (75%) 17 (85%) 17 (85%) 20 (100%) 20 (100%) 17 (85%) 16 (80%) 17 (85%) 15 (75%) 12 (60%) 18 (90%) 12 (60%) 15 (75%) 11 (55%) 16 (80%) 20 (100%) 18 (90%) 18 (90%) 10 (50%)
10 (50%) 10 (50%) 13 (65%) 15 (75%) 15 (75%) 13 (65%) 15 (75%) 13 (65%) 15 (75%) 13 (65%) 16 (80%) 15 (75%) 15 (75%) 18 (90%) 18 (90%) 16 (80%) 15 (75%) 10 (50%) 15 (75%) 15 (75%) 16 (80%) 0 (0%) 8 (40%)
72
48.66
72
48.66
71
48.18
71
48.18
71
48.18
70
47.71
69
47.23
69
47.23
67
46.76
67
46.28
66
46.28
64
45.81
64
44.86
63
44.86
63
44.38
63
44.38
62
44.38
60
43.91
58
42.95
58
42.00
55
42.00
54
40.58
52
40.10
51
บทที่ ๔ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๑ 67 68 69 70 71 73 74 75 76
เทศบาลตาบลพันดอน จ.อุดรธานี เทศบาลตาบลลานารายณ์ จ.ลพบุรี เทศบาลตาบลมุก จ.มุกดาหาร เทศบาลตาบลดงป่าคา จ.พิจิตร เทศบาลตาบลหนองแหย่ง จ.เชียงใหม่ เทศบาลเมืองท่าบ่อ จ.หนองคาย เทศบาลเมืองผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา เทศบาลตาบลพระแท่น จ.กาญจบุรี เทศบาลตาบลค่ายหมื่นแผ้ว จ.ชัยภูมิ
7 (35%) 6 (30%) 6 (30%) 5 (25%) 5 (25%) 6 (30%) 5 (25%) 6 (30%) 0 (0%)
6 (15%) 6 (15%) 12 (30%) 9 (23%) 12 (30%) 6 (15%) 9 (23%) 6 (15%) 0 (0%)
15 (43%) 13 (37%) 10 (29%) 22 (63%) 6 (17%) 12 (34%) 7 (20%) 5 (14%) 0 (0%)
1 (5%) 1 (5%) 9 (45%) 1 (5%) 3 (15%) 1 (5%) 0 (0%) 0 (0%) 0 (0%)
10 (50%) 13 (65%) 10 (50%) 10 (50%) 14 (70%) 12 (60%) 10 (50%) 8 (40%) 0 (0%)
13 (65%) 8 (40%) 0 (0%) 0 (0%) 0 (0%) 0 (0%) 0 (0%) 0 (0%) 0 (0%)
52
39.15
47
39.15
47
36.77
47
36.77
40
36.77
37
33.45
31
32.02
25
29.17
0
26.31
กลุ่ม อบต. (N = 29) อบต. ที่ ส่ ง ใบสมั ค รเข้ า ประกวดรางวั ล ประเภทความโปร่ ง ใสและเสริ ม สร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มของ ภาคประชาชน ผ่านเกณฑ์ค่า T-Score (ร้อยละ 55) จานวน 9 แห่ง ตารางที่ 11 ผลการประเมิ น อบต. ด้ า นความโปร่ ง ใสและส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชน (รอบที่ 1) ที่ 1 2 3 4 5 6 7
52
อปท. อบต.นครสวรรค์ออก จ.นครสวรรค์ อบต.นครชุม จ.กาแพงเพชร อบต.ต้าผามอก จ.แพร่ อบต.ท่าโพธิ์ จ.พิษณุโลก อบต.ห้วยเกตุ จ.พิจิตร อบต.พลูตาหลวง จ.ชลบุรี อบต.ตานาน จ.พัทลุง
หมวด 2 20 คะแนน 14 (70%) 11 (55%) 12 (60%) 11 (55%) 9 (45%) 6 (30%) 9 (45%)
หมวด 3 40 คะแนน 28 (70%) 28 (70%) 22 (55%) 15 (38%) 15 (38%) 21 (53%) 14 (35%)
หมวด 4 35 คะแนน 22 (63%) 18 (51%) 31 (89%) 19 (54%) 21 (60%) 23 (66%) 20 (57%)
หมวด 5 20 คะแนน 8 (40%) 9 (45%) 5 (25%) 7 (35%) 8 (40%) 1 (5%) 4 (20%)
หมวด 6 20 คะแนน 20 (100%) 18 (90%) 19 (95%) 20 (100%) 18 (90%) 19 (95%) 18 (90%)
หมวด 7 20 คะแนน 13 (65%) 20 (100%) 15 (75%) 20 (100%) 13 (65%) 13 (65%) 15 (75%)
รวม 130 คะแนน
T-Score
105
68.48
104
68.02
104
68.02
92
62.57
84
58.94
83
58.49
80
57.12
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29
อบต.ไกรนอก จ.สุโขทัย อบต.ทุ่งควายกิน จ.ระยอง อบต.ซา จ.ศรีสะเกษ อบต.บางคูรัด จ.นนทบุรี อบต.พังเคน จ.อุบลราชธานี อบต.สนวน จ.บุรีรมั ย์ อบต.นาทราย จ.นครศรีธรรมราช อบต.สวายจีก จ.บุรีรมั ย์ อบต.สระตะเคียน จ.นครราชสีมา อบต.หัวไผ่ จ.อ่างทอง อบต.นางบวช จ.สุพรรณบุรี อบต.สร้างก่อ จ.อุดรธานี อบต.สามพร้าว จ.อุดรธานี อบต.ขามเฒ่า จ.นครพนม อบต.เมืองเก่า จ.พิจิตร อบต.บางวัน จ.พังงา อบต.โพนทอง จ.ชัยภูมิ อบต.แม่พริก จ.ลาปาง อบต.บางบัวทอง จ.นนทบุรี อบต.เจดีย์ชัย จ.น่าน อบต.ธารปราสาท จ.นครราชสีมา อบต.ป่าสัก จ.เชียงราย
13 (65%) 5 (25%) 6 (30%) 6 (30%) 7 (35%) 5 (25%) 5 (25%) 5 (25%) 3 (15%) 9 (45%) 7 (35%) 4 (20%) 4 (20%) 8 (40%) 5 (25%) 6 (30%) 8 (40%) 5 (25%) 6 (30%) 5 (25%) 3 (15%) 0 (0%)
22 (55%) 15 (38%) 11 (28%) 12 (30%) 15 (38%) 8 (20%) 14 (35%) 9 (23%) 12 (30%) 13 (33%) 8 (20%) 9 (23%) 8 (20%) 22 (55%) 6 (15%) 8 (20%) 9 (23%) 11 (28%) 12 (30%) 10 (25%) 4 (10%) 0 (0%)
12 (34%) 18 (51%) 11 (31%) 19 (54%) 10 (29%) 19 (54%) 12 (34%) 23 (66%) 19 (54%) 20 (57%) 10 (29%) 24 (69%) 11 (31%) 8 (23%) 14 (40%) 12 (34%) 14 (40%) 11 (31%) 4 (11%) 13 (37%) 16 (46%) 9 (26%)
3 (15%) 3 (15%) 12 (60%) 1 (5%) 2 (10%) 1 (5%) 1 (5%) 4 (20%) 2 (10%) 1 (5%) 1 (5%) 1 (5%) 2 (10%) 2 (10%) 1 (5%) 1 (5%) 1 (5%) 1 (5%) 5 (25%) 1 (5%) 1 (5%) 0 (0%)
11 (55%) 15 (75%) 18 (90%) 18 (90%) 18 (90%) 14 (70%) 20 (100%) 15 (75%) 10 (50%) 18 (90%) 16 (80%) 20 (100%) 15 (75%) 14 (70%) 17 (85%) 12 (60%) 8 (40%) 11 (55%) 11 (55%) 8 (40%) 7 (35%) 8 (40%)
15 (75%) 20 (100%) 13 (65%) 13 (65%) 16 (80%) 20 (100%) 15 (75%) 10 (50%) 16 (80%) 0 (0%) 16 (80%) 0 (0%) 16 (80%) 0 (0%) 10 (50%) 10 (50%) 0 (0%) 0 (0%) 0 (0%) 0 (0%) 0 (0%) 0 (0%)
76
55.31
76
55.31
71
53.04
69
52.13
68
46.74
67
51.22
67
51.22
66
48.95
62
48.50
61
47.13
58
47.13
58
46.23
56
45.32
54
44.86
53
43.05
49
38.96
40
38.51
39
38.05
38
37.60
37
37.60
31
34.87
17
28.52
53
บทที่ ๔ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๑
จากผลการประเมินในรอบที่ 1 คณะที่ปรึกษาพบว่า เทศบาลและ อบต. ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ค่า T-score โดยส่วนใหญ่ได้รับคะแนนไม่ถึงร้อยละ 50 ในหมวดที่ 2 ว่าด้วยการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทา แผนพัฒนาและแผนอื่นๆ ของ อปท. และหมวดที่ 5 ว่าด้วยคุณภาพการปฏิบัติหน้าที่ของสภาท้องถิ่นใน การปฏิบัติหน้าองค์กรนิติบัญญัติและการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
4.3 อปท. ที่ ผ่ า นการประเมิ น รอบที่ 1 ความสมานฉันท์
ด้า นการเสริ ม สร้างสัน ติ สุ ข และ
รางวัลด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ถูกกาหนดไว้ให้มี 2 ระดับ คือ ระดับ อบจ. และ ระดับเทศบาล อบต. และเมืองพัทยา อย่างไรก็ตามพบว่า ในปีงบประมาณ 2560 ไม่มี อบจ. ส่งใบสมัคร เพื่อขอรับการประเมินสาหรับรางวัลประเภทนี้ ทาให้มีเพียงเทศบาลและ อบต. จานวน 10 แห่งที่ส่งหลักฐาน เข้าประกวด ด้วยเหตุนี้ กระบวนการคัดเลือก อปท. เพื่อรับรางวัลประเภทนี้จึงเน้นไปที่ อปท. 2 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มเทศบาลและ (2) กลุ่ม อบต. ก. ผลการประเมินเทศบาลเพื่อรับรางวัลด้านเสริมสร้างสันติสุขและสมานฉันท์ รอบที่ 1 คณะที่ปรึกษาใช้ค่า T-score ที่ร้อยละ 50 เป็นเกณฑ์คัดเลือกเทศบาลสาหรับการตรวจประเมิน รอบ ที่ 1 พบว่า มีเทศบาล 5 แห่งที่ผ่านเกณฑ์ดังกล่าว ตารางที่ 12 ผลการประเมินเทศบาลด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ (รอบที่ 1) ที่
54
อปท.
1
เทศบาลนครเชียงราย จ.เชียงราย
2
เทศบาลตาบลพุเตย จ.เพชรบูรณ์
3
เทศบาลนครขอนแก่น จ.ขอนแก่น
4
เทศบาลตาบลกุดกว้าง จ.ขอนแก่น
5
เทศบาลตาบลป่าบอน จ.พัทลุง
6
เทศบาลตาบลศรีธาตุ จ.อุดรธานี
7
เทศบาลตาบลท่าสาป จ.ยะลา
หมวด 2
หมวด 3
หมวด 4
รวม
30 คะแนน
30 คะแนน
20 คะแนน
80 คะแนน
15 (50%) 15 (50%) 16 (53%) 5 (17%) 19 (63%) 3 (10%) 0 (0%)
24 (80%) 24 (80%) 11 (37%) 15 (50%) 9 (30%) 4 (13%) 5 (17%)
18 (90%) 5 (25%) 8 (40%) 13 (65%) 2 (10%) 0 (0%) 2 (10%)
T-Score
57
64.50
44
57.50
35
52.49
33
51.40
30
49.77
7
37.22
7
37.22
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ข. ผลการประเมิน อบต. เพื่อรับรางวัลด้านเสริมสร้างสันติสุขและสมานฉันท์ รอบที่ 1 มี อบต. จานวน 3 แห่งที่ส่งใบสมัครและหลักฐานเข้าประกวด แต่มีเพียง 1 แห่งที่ผ่านเกณฑ์ ค่า T-score ร้อยละ 50 สาหรับการตรวจประเมินรางวัลพระปกเกล้าในรอบที่ 2 คือ อบต. อ่าวนาง จ.กระบี่ ตารางที่ 13 ผลการประเมิน อบต.ด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ (รอบที่ 1) ที่
อปท.
1
อบต.อ่าวนาง จ.กระบี่
2
อบต.ดอนทอง จ.พิษณุโลก
3
อบต.นาดี จ.กาฬสินธุ์
หมวด 2
หมวด 3
หมวด 4
รวม
30 คะแนน
30 คะแนน
20 คะแนน
80 คะแนน
7 (23%) 3 (10%) 0 (0%)
6 (20%) 0 (0%) 0 (0%)
15 (75%) 0 (0%) 0 (0%)
T-Score
28
61.49
3
45.23
0
43.28
กล่าวโดยสรุป คือ มี อปท. 5 แห่ง (เทศบาล 4 แห่ง และ อบต. 1 แห่ง) ที่ผ่านเกณฑ์ค่า T-score ร้อยละ 50 ซึง่ คณะที่ปรึกษามีข้อสังเกต คือ o อปท. ทั้ง 5 แห่งมีคะแนนต่ากว่าร้อยละ 50 อย่างน้อย 1 หมวด โดยที่เทศบาลตาบลพุเตย จ. เลย ซึ่งได้รับค่า T-Score สูงสุด (ร้อยละ 60.18) มีคะแนนในหมวดที่ 4 ต่ากว่าร้อยละ 50 ซึ่งเกี่ยวข้อง กับ โครงการที่มีโ ครงการด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ ในขณะที่เทศบาลตาบล กุดกว้าง จ.ขอนแก่น มีคะแนนในหมวดที่ 2 ต่ากว่าร้อยละ 50 ซึ่งเป็นหมวดที่เกี่ยวกับการบริหาร จัดการภายในองค์กรที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ o นอกจากนี้ อปท. ที่ผ่านเกณฑ์คัดเลือกรอบที่ 1 อีก 3 แห่งมีคะแนนต่ากว่าร้อยละ 50 มากกว่า 1 หมวด โดยส่วนใหญ่ได้รับคะแนนต่ากว่าร้อยละ 50 ในหมวดที่ 2 การบริหารจัดการภายในองค์กร ที่ส่งผลต่อการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ และหมวดที่ 3 การเสริมสร้างศักยภาพและ ความเข้มแข็งของพลเมือง o สาหรับ อปท. ที่ไม่ผ่านเกณฑ์คัดเลือกในรอบที่ 1 มีคะแนนต่ากว่าร้อยละ 50 ในทั้ง 3 หมวด
55
บทที่ ๔ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๑
4.4 อปท. ที่ผ่านการประเมินรอบที่ 1 ด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และ ประชาสังคม ในทานองเดียวกัน รางวัลประเภทที่ 3 แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ (1) ระดับ อบจ. และ (2) ระดับเทศบาล, อบต., และเมืองพัทยา โดยมีจานวน อปท. ที่เข้าร่วมประกวดในประเภทนี้ 56 แห่ง ก. ผลการประเมิน อบจ. เพื่อรับรางวัลด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม รอบที่ 1 สาหรับรางวัลด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม มี อบจ. จานวน 5 แห่งส่งหลักฐาน เข้ารับการประเมิน คณะที่ปรึกษาใช้ค่า T-score ร้อยละ 50 เป็นเกณฑ์คัดเลือก อบจ. สาหรับการประเมินใน รอบที่ 2 พบว่า มี อบจ. 3 แห่งที่ผ่านเกณฑ์ค่า T-score คือ อบจ.สงขลา อบจ.สตูล และ อบจ.ยะลา ตารางที่ 14 ผลการประเมิน อบจ. ด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (รอบที่ 1) ที่
อบจ.
1
อบจ.สงขลา
2
อบจ.สตูล
3
อบจ.ยะลา
4
อบจ.พิษณุโลก
5
อบจ.เลย
หมวด 2
หมวด 3
หมวด 4
รวม
20 คะแนน 5 (25%) 8 (40%) 6 (30%) 4 (20%) 2 (10%)
10 คะแนน 10 (100%) 4 (40%) 4 (40%) 0 (0%) 0 (0%)
20 คะแนน 16 (80%) 18 (90%) 11 (55%) 8 (40%) 0 (0%)
50 คะแนน
T-Score
31
62.28
30
61.45
21
53.95
12
46.46
2
38.14
คณะที่ปรึกษามีข้อสังเกตต่อผลคะแนนการประเมินรอบที่ 1 ดังนี้ o แม้ อบจ.สงขลา จะผ่านเกณฑ์การประเมินในรอบที่ 1 แต่มีค่าคะแนนต่ากว่าร้อยละ 50 ใน 2 หมวด คือ หมวดที่ 2 การจัดการองค์การเพื่อเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ได้คะแนนร้อยละ 25 แต่ได้คะแนนร้อยละ 100 ในหมวดที่ 3 การส่งเสริมศักยภาพและ ความเข้มแข็งของประชาชน o อบจ. ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินรอบที่ 1 มีจานวน 2 แห่งซึ่งได้คะแนนต่ากว่าร้อยละ 50 ทั้ง 3 หมวด
56
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ข. ผลการประเมินเทศบาล, อบต., และเมืองพัทยาเพื่อรับรางวัลด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และ ประชาสังคม รอบที่ 1 ส าหรับ รางวัล ด้า นเสริม สร้า งเครือ ข่า ยรัฐ เอกชน และประชาสัง คม มีเ ทศบาลและ อบต. ส่งใบสมัครและหลักฐานเข้าประกวด 51 แห่งซึ่งคณะที่ปรึกษาแบ่ง ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเทศบาล และกลุ่ม อบต. และใช้ค่า T-Score ที่ร้อยละ 50 เป็นเกณฑ์คัดเลือกเทศบาลและ อบต. ในรอบที่ 1 กลุ่มเทศบาล (N = 31) เมื่อพิจารณาคุณสมบัติของเทศบาลส่งใบสมัครเข้าประกวดรางวัลด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม พบว่ามีเทศบาล จานวน 17 แห่งที่ผ่านเกณฑ์ค่า T-Score ร้อยละ 50 ตารางที่ 15 ผลการประเมินเทศบาลด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (รอบที่ 1) ที่
อปท.
1
เทศบาลตาบ้านแฮด จ.ขอนแก่น เทศบาลตาบลเขาพระงาม จ.ลพบุรี เทศบาลตาบลกระสัง จ.บุรีรมั ย์ เทศบาลตาบลบ้านบึง จ.ชลบุรี เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ จ.กาฬสินธุ์ เทศบาลตาบลอุโมงค์ จ.ลาพูน เทศบาลเมืองมหาสารคาม จ.มหาสารคาม เทศบาลตาบลป่าสัก จ.ลาพูน เทศบาลตาบลเวียงป่าเป้า จ.เชียงราย เทศบาลป่าแดด จ.เชียงใหม่ เทศบาลตาบลบ่อหลวง จ.เชียงใหม่ เทศบาลตาบลกาแพง จ.สตูล เทศบาลตาบลท่าพระ จ.ขอนแก่น
2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
หมวด 2
หมวด 3
หมวด 4
รวม
20 คะแนน
10 คะแนน
20 คะแนน
50 คะแนน
20 (100%) 20 (100%) 12 (60%) 14 (70%) 12 (60%) 10 (50%) 10 (50%) 8 (40%) 7 (35%) 12 (60%) 12 (60%) 9 (45%) 8 (40%)
9 (90%) 10 (100%) 10 (100%) 10 (100%) 8 (80%) 9 (90%) 9 (90%) 6 (60%) 9 (90%) 7 (70%) 8 (80%) 8 (80%) 9 (90%)
20 (100%) 18 (90%) 20 (100%) 18 (90%) 20 (100%) 18 (90%) 18 (90%) 20 (100%) 18 (90%) 15 (75%) 13 (65%) 15 (75%) 15 (75%)
T-Score
49
69.54
48
68.61
42
63.00
42
63.00
40
61.13
37
58.32
37
58.32
34
55.52
34
55.52
34
55.52
33
54.58
32
53.65
32
53.65
57
บทที่ ๔ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๑ 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
เทศบาลตาบลปลายพระยา จ.กระบี่ เทศบาลตาบลหัวนา จ.หนองบัวลาภู เทศบาลตาบลหาดเสี้ยว จ.สุโขทัย เทศบาลเมืองบึงยี่โถ จ.ปทุมธานี เทศบาลตาบลกาแพง จ.ศรีสะเกษ เทศบาลตาบลกุดน้าใส จ.ขอนแก่น
8 (40%) 5 (25%) 5 (25%) 7 (35%) 5 (25%)
6 (60%) 6 (60%) 5 (50%) 8 (80%) 6 (60%)
15 (75%) 18 (90%) 18 (90%) 13 (65%) 15 (75%)
6 (30%)
7 (70%)
13 (65%)
เทศบาลตาบลเรณูนคร จ.นครพนม เทศบาลตาบลท่าผา จ.เชียงใหม่ เทศบาลตาบลห้วยข้าวก่า จ.พะเยา เทศบาลตาบลบ้านกลาง จ.เชียงใหม่ เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี
10 (50%) 4 (20%) 8 (40%) 6 (30%)
5 (50%) 5 (50%) 7 (70%) 1 (10%)
10 (50%) 15 (75%) 8 (40%) 13 (65%)
2 (10%)
5 (50%)
13 (65%)
เทศบาลตาบลป่าเซ่า จ.อุตรดิตถ์ เทศบาลตาบลจองถนน จ.พัทลุง เทศบาลตาบลชมพู จ.เชียงใหม่ เทศบาลเมืองป่าตอง จ.ภูเก็ต เทศบาลตาบลฟ้าฮ่าม จ.เชียงใหม่ เทศบาลตาบลผาเสวย จ.กาฬสินธุ์ เทศบาลตาบลท่าม่วง จ.ร้อยเอ็ด
3 (15%) 3 (15%) 4 (20%) 5 (25%) 4 (20%) 4 (20%) 2 (10%)
0 (0%) 5 (50%) 6 (60%) 6 (60%) 6 (60%) 0 (0%) 3 (30%)
16 (80%) 10 (50%) 8 (40%) 6 (30%) 5 (25%) 3 (15%) 0 (0%)
29
50.84
29
50.84
28
49.91
28
49.91
26
48.04
26
48.04
25
47.10
24
46.17
23
45.24
20
42.43
20
42.43
19
41.50
18
40.56
18
40.56
17
39.63
15
37.76
7
30.28
5
28.41
กลุ่ม อบต. (N = 20) อบต. ที่ ส่ ง ใบสมั ค รเข้ า ประกวดรางวั ล ประเภทด้ า นเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และ ประชาสังคม ผ่านเกณฑ์ค่า T-score (ร้อยละ 50) จานวน 11 แห่ง
58
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ตารางที่ 16 ผลการประเมิน อบต. ด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม (รอบที่ 1) ที่
อปท.
1
อบต. ร่องเคาะ จ.ลาปาง
2
อบต.บ้านทับ จ.เชียงใหม่
3
อบต.สระ จ.เชียงราย
4
อบต. สันกลาง จ.เชียงราย
5
อบต.ข่วงเปา จ.เชียงใหม่
6
อบต.นาไม้ไผ่ จ.นครศรีธรรมราช
7
อบต.ยางขี้นก จ.อุบลราชธานี
8
อบต.นาพู่ จ.อุดรธานี
9
อบต.พลับพลาไชย จ.สุพรรณบุรี
10
อบต.เสม็ดใต้ จ.ฉะเชิงเทรา
11
อบต.มะขามเตี้ย จ.สุราษฎร์ธานี
12
อบต. เขาดิน จ.กระบี่
13
อบต.ท่าข้าม จ.สงขลา
14
อบต.สุโสะ จ.ตรัง
15
อบต.บ้านตุ่น จ.พะเยา
16
อบต.บางคนที จ.สมุทรสงคราม
17
อบต. คาแคน จ.ขอนแก่น
18
อบต.วังทอง จ.ชัยภูมิ
19
อบต.บริบูรณ์ จ.อุดรธานี
หมวด 2 20 คะแนน 9 (45%) 8 (40%) 7 (35%) 7 (35%) 6 (30%) 8 (40%) 8 (40%) 9 (45%) 5 (25%) 7 (35%) 8 (40%) 6 (30%) 8 (40%) 2 (10%) 2 (10%) 6 (30%) 3 (15%) 2 (10%) 3 (15%)
หมวด 3 10 คะแนน 9 (90%) 10 (100%) 6 (60%) 8 (80%) 7 (70%) 8 (80%) 4 (40%) 5 (50%) 6 (60%) 1 (10%) 0 (0%) 7 (70%) 1 (10%) 1 (10%) 5 (50%) 6 (60%) 0 (0%) 0 (0%) 1 (10%)
หมวด 4 20 คะแนน 20 (100%) 18 (90%) 20 (100%) 18 (90%) 18 (90%) 13 (65%) 16 (80%) 13 (65%) 15 (75%) 16 (80%) 15 (75%) 8 (40%) 10 (50%) 16 (80%) 10 (50%) 0 (0%) 8 (40%) 8 (80%) 5 (25%)
รวม 50 คะแนน
T-Score
38
66.23
36
64.11
33
60.94
33
60.94
31
58.83
29
56.71
28
55.66
27
54.60
26
53.54
24
51.43
23
50.37
21
48.26
19
46.14
19
46.14
17
44.03
12
38.74
11
37.69
10
36.63
9
35.57
59
บทที่ ๔ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๑ 20
อบต.โพทะเล จ.สิงห์บุรี
4 (20%)
3 (30%)
0 (0%)
7
33.46
ข้ อสั งเกตของคณะที่ ปรึ กษาต่ อผลการประเมิ นรอบที่ 1 คื อ อปท. ที่ ไม่ ผ่ านเกณฑ์ ค่ า T-score โดยส่วนใหญ่ได้รับคะแนนต่ ากว่าร้อยละ 50 ในหมวดที่ 2 การบริหารจัดการองค์กรเพื่อรองรับการทางาน เชิงเครือข่าย
4.5 สรุปผลการประเมินรอบที่ 1 การคัดเลือก อปท. ในรอบที่ 1 เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้า พบว่า มี อปท. จานวน 75 แห่งที่ผ่าน เกณฑ์ค่า T-score ที่คณะที่ปรึกษากาหนดไว้ ตารางที่ 17 สรุปผลการประเมิน อปท. รอบที่ 1 เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้า ค่า T-Score
1. ประเภทที่ 1 ด้านความโปร่งใสและ เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของ ประชาชน 2. ประเภทที่ 2 ด้านเสริมสร้างสันติ สุขและความสมานฉันท์
o ระดับ อบจ. = 50 o ระดับเทศบาลและ อบต. = 55 o ระดับ อบจ. = 50 o ระดับเทศบาลและ อบต. = 50
0
5
1
6
3. ประเภทที่ 3 ด้านเสริมสร้าง เครือข่าย ภาครัฐ เอกชน และ ประชาสังคม
o ระดับ อบจ. = 50 o ระดับเทศบาลและ อบต. = 50
3
17
11
31
7
47
21
75
รวม
60
จ้านวน อปท. ที่ผ่านการคัดเลือกรอบที่ 1 อบจ. เทศบาล อบต. รวม 4 25 9 38
ประเภทรางวัล
การประเมินผลการปฏิบัติงานของ อปท. รอบที่ 2 ประกอบด้วย (1) การประเมินความพึงพอใจ และความเชื่ อ ถื อ ไว้ ว างใจของประชาชน และ (2) การประเมิ น จากการสนทนากลุ่ ม หรื อ การสั ม ภาษณ์ เชิงลึ กกับ กลุ่ มเป้ าหมายในพื้น ที่ อปท. โดยบทนี้ แบ่งเป็น 3 ส่ วนตามประเภทรางวัล ซึ่งในแต่ล ะส่ ว น ประกอบด้วยผลคะแนนและรายละเอียดโครงการของ อปท. ที่ผ่านการคัดเลือกรอบที่ 2
5.1 อปท. ที่ ผ่ า นการประเมิ น รอบที่ 2 การมีส่วนร่วมของประชาชน
ด้า นความโปร่ งใสและส่ ง เสริ ม
ก. อปท. ที่สมควรได้รับรางวัลด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน ในประเภทรางวัล นี้ ไม่มี อบจ. สมควรได้รับโล่ รางวัล ในปี พ.ศ. 2560 มี อบจ. ที่ส มควรได้รับ ใบประกาศ จานวน 3 แห่ง คือ (1) อบจ. พัทลุง (2) อบจ. สตูล และ (3) อบจ. สงขลา (ตารางที่ 18) สาหรับเทศบาล พบว่า มีเทศบาล 4 แห่งสมควรได้รับโล่รางวั ล คือ (1) เทศบาลเมืองแม่เหียะ (จ.เชียงใหม่) (2) เทศบาลเมืองตาคลี (จ.นครสวรรค์) (3) เทศบาลเมืองกระบี่ (จ.กระบี่) (4) เทศบาล ต้าบลยางเนิ้ง (จ.เชียงใหม่) ส่วนเทศบาลที่สมควรได้รับใบประกาศมี 9 แห่ง คือ (1) เทศบาลต้าบล คลองแงะ จ.สงขลา (2) เทศบาลต้าบลโพธิ์ ตลาดแก้ว (จ.ลพบุรี) (3) เทศบาลต้าบลทุ่งสง (จ.นครศรีธรรมราช) (4) เทศบาลต้าบลวังดิน (จ.ล้าพูน) (5) เทศบาลเมืองกระทู้ (จ.ภูเก็ต) (6) เทศบาล ต้าบลเสิงสาง (จ.นครราชสีมา) (7) เทศบาลต้าบลแสนสุข (จ.อุบลราชธานี) (8) เทศบาลนครยะลา (จ.ยะลา) (9) เทศบาลต้าบลวังกะ (จ.กาญจนบุรี) (ตารางที่ 19) นอกจากนี้ ในบรรดา อบต. ที่ส่ ง ใบสมัครเข้าประกวดในปี 2560 มี อบต. จานวน 1 แห่ ง ที่สมควรได้รับโล่รางวัล คือ อบต.ต้านาน (จ.พัทลุง) อบต. จานวน 4 แห่งสมควรได้รับใบประกาศ คือ (1) อบต. ต้าผามอก (จ.แพร่ ) (2) อบต. นครสวรรค์ออก (จ.นครสวรรค์) (3) อบต.ห้วยเกตุ (จ.พิจิตร) (4) อบต. นครชุม (จ.ก้าแพงเพชร) (ตารางที่ 20)
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
ตารางที่ 18 ผลการประเมินโครงการรางวัลพระปกเกล้าส้าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็น เลิศ ประจ้าปี 2560 (รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน)
62
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ตารางที่ 19 ผลการประเมินโครงการรางวัลพระปกเกล้าส้าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็น เลิศ ประจ้าปี 2560 (รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน)
63
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
ตารางที่ 20 ผลการประเมินโครงการรางวัลพระปกเกล้าส้าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็น เลิศ ประจ้าปี 2560 (รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน)
64
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ข. กรณีศึกษา อปท. ที่สมควรได้รับโล่รางวัลด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน เทศบาลเมืองแม่เหียะ จ.เชียงใหม่ 1) ชื่อโครงการ “ดอยคาลานทานาสุข” 2) เหตุผลและความส้าคัญ โครงการ “ดอยคาลานทานาสุข” เป็นการดาเนินกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา ข้อ ร้ อ งเรี ย นจากภาคประชาชนเกี่ ย วกั บปั ญ หาต่ างๆ ที่ ประชาชนทั้ ง ประชาชนในพื้ น ที่เ ทศบาล เมืองแม่เหียะและประชาชนโดยทั่วไปที่เดินทางมายัง “วัดพระธาตุดอยคา” ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติต่างให้การสักการะนับถือ โดยปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น จุดเริ่มต้นมา จากการที่นั กท่องเที่ย วเดิน ทางมาสักการะวัดพระธาตุดอยคา ซึ่งอยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบของ เทศบาลเมื อ งแม่ เ หี ย ะ มี จ านวนนั ก ท่ อ งเที่ ย วจ านวนมากและหากเป็ น ช่ ว งเทศกาลส าคั ญ จะมี นักท่องเที่ยวต่อวันไม่น้ อยกว่า 3,000 คน จึงมาสู่ปัญหาข้อร้องเรียนต่างๆ โดยเฉพาะปัญหาที่สาคัญ คือ การจับจองพื้นที่ริมถนนเส้นทางขึ้นพระธาตุดอยคาจนถึงเชิงพระธาตุดอยคา จานวนมากถึง 100 ร้าน ของประชาชนที่อาศัย ทั้งในและนอกตาบล ได้ส ร้างปัญหาการจราจร เกิดอุบัติเหตุเมื่อเวลา นั ก ท่อ งเที่ย วจะจอดซื้ อ ดอกมะลิ เ พื่อ นาไปบู ช า การเกิด ปัญ หาทะเลาะวิ ว าท แย่ง พื้ นที่ ขายของ การแข่งขันเพื่อแย่งชิงลูกค้า รวมไปถึงเกิดความไม่เป็นระเบียบและไม่สวยงามของแหล่งท่องเที่ยวที่ สาคัญของจังหวัดเชียงใหม่ 3) วัตถุประสงค์ แผนด้าเนินงาน และกรอบระยะเวลาการด้าเนินงาน เพื่อการจัดพื้นที่และจัดระเบียบ ร้านค้าเชิงพระธาตุดอยคา และเส้นทางถนนสู่พระธาตุดอยคา และนาไปสู่การจัดตั้งคณะกรรมการ “ชมรมพ่อค้าแม่ค้า” และ “ชมรมรถสี่ล้อแดง” เชิงพระธาตุดอยคา เพื่อให้กลุ่มเหล่านี้เป็นผู้บริหาร จัดการ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นร่วมกันกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ 4) กิจ กรรมหลัก และทรั พยากรที่ใ ช้ ใ นแต่ ล ะกิ จกรรม จากปั ญหาที่ ไ ด้ก ล่ า วมาข้า งต้น โดยเฉพาะ เรื่ อ งของการจั บ จองพื้น ที่ ริ ม ถนนและเชิ งพระธาตุด อยค าเพื่ อ ท าการค้ า ของประชาชน ได้ส ร้ า ง ความเดื อ ดร้ อ นให้ กั บ ประชาชนในพื้ น ที่ แ ละนั ก ท่ อ งเที่ ย ว ทางเทศบาลจึ ง เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น สร้ า ง กระบวนการการมีส่ ว นร่ ว มในพื้น ที่ในการแก้ไ ขปั ญหาให้ เ กิดขึ้ น โดยเชิญ ผู้ ที่มี ส่ ว นเกี่ย วข้อ งทุ ก ภาคส่วน ทั้ง อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพปุย (เขตพื้นที่ของพระธาตุดอยคาอยู่ในพื้นที่ของอุทยาน) ทางหลวงชนบท เจ้าหน้าที่ตารวจจราจร กลุ่มพ่อค้าแม่ค้า กลุ่มสี่ล้อแดง มาร่วมประชุมหารือ เพื่อ การสร้างมาตรการในการจัดระเบียบร้านค้าที่มีปัญหา ซึ่งเป็นไปตามกระบวนการมีส่วนร่วม ได้แก่ ร่วมคิด (จัดประชุมหารือจากผู้ที่เกี่ยวข้อง นาเสนอปัญหา และหาข้อยุติ) ร่วมตัดสินใจ (ตัดสินใจ ร่วมกันจัดพื้นที่ร้ านค้า ร่ วมกัน สร้างกฎระเบียบ จัดตั้งชมรมพ่อค้าแม่ค้า กลุ่มคิวรถ และเกิดเป็น กองทุน พั ฒ นาพื้น ที่ เชิง ดอยคา) ร่ ว มปฏิ บัติ (จัด ทาผั งสถานที่ จัด ระเบียบ ปรั บปรุ งพื้น ที่ร้า นค้ า ปฏิบั ติตามระเบี ย บร้ านค้าที่กาหนด และคณะกรรมการช่ว ยกันสอดส่ องดูแล) ร่ว มรับผล (กลุ่ ม/ คณะกรรมการพ่อค้าแม่ค้าในพื้นที่มีรายได้ มีความเข้มแข็ง เทศบาลมีระเบียบในเส้นทางท่องเที่ยว
65
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
ต่อยอดไปสู่ การสร้างงานสร้างอาชีพในชุมชน) และร่วมประเมิน (ทั้งเทศบาลและคณะกรรมการ กลุ่มต่างๆ ร่วมประเมินปัญหาทุกเดือน) 5) ประโยชน์ที่ได้รับ ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการนี้ คือ เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยของร้านค้าและ พื้น ที่ ชุม ชนโดยรอบเขตพระธาตุด อยค า ซึ่ ง จะส่ งผลต่อ การแก้ไ ขปัญ หาจราจร ปั ญ หาอุ บัติ เ หตุ และที่สาคัญเกิดความเข้มแข็งของกลุ่มพ่อค้าแม่ค้าจากการรวมตัวกันจัดตั้งเป็นคณะกรรมการพ่อค้า แม่ค้าที่ร่วมมือกันของประชาชนในการสร้างระเบียบข้ อปฏิบัติร่วมกันในการจัดร้านค้า กาหนดราคา ขายดอกมะสิและสินค้าอื่นๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการแข่งขันหรือแย่งลูกค้ากัน จนนาไปสู่การร่วม กลุ่มของประชาชนในกิจกรรมอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กลุ่มคิวรถแดง (ของชมรมสี่ล้อแดง เพื่อสร้ าง ระบบในการพานักท่องเที่ยวขึ้นไปยังวัดพระธาตุดอยคา มีการจัดทะเบียนเป็นชมรมไว้กับเทศบาล และมีการกาหนดอัตราค่าบริการที่ชัดเจน) และกิจกรรมอื่นเพื่อสร้างรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ ซึงเป็นการต่อยอดจากการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ได้แก่ การสร้างลานเพื่อจัดพื้นที่ร้ านค้าข้างล่างทาง ขึ้นวัดพระธาตุดอยคา การสร้างห้องสุขาเพื่อให้บริการประชาชน การจัดตั้งศูนย์บริการประชาชนและ นักท่องเที่ยว และการรวมกลุ่มของกระชาชนในพื้นที่เพื่อสร้างอาชีพ และมาจาหน่ายสินค้าในพื้นที่ ร้านค้าทางขึ้นวัดพระธาตุ เช่น การรวมกลุ่มสตีแม่บ้าน ทาบุหงามหามงคล (เอาดอกมะลิที่มีจานวน มากจากการบูชาพระเจ้าทันใจ วัดพระธาตุดอยคา มาสร้างเป็นบุหงา) การทาลูกประคบสมุนไพร และ กลุ่มผู้สูงอายุ ให้บริการนวดเพื่อสุขภาพ แก่นักท่องเที่ยวเชิงพระธาตุดอยคา 6) ลักษณะเด่นของโครงการฯนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ โครงการนี้จุดเริ่มต้นมาจาก ปัญหาความไม่เป็นระเบียบของร้านค้าในพื้นที่เทศบาลนาไปสู่การหาทางออกร่วมกันของผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้อง โดยมีเทศบาลเมืองแม่เหียะเป็นเจ้าภาพในการสร้างการมีส่วนร่วมให้เกิดขึ้นในพื้นที่ซึ่งจะ เกิดมุมมองของการร่ วมคิด ร่ ว มแก้ไขปัญหากันในพื้นที่ โดยผลของการดาเนินโครงการที่เกิดขึ้น จะพบว่ าการจั ดระเบี ย บร้ านค้ าและเกิ ดการสร้า งข้ อตกลงร่ว มกั นของกลุ่ ม พ่อ ค้าแม่ค้ าที่ เกิ ดขึ้ น เกิดจากการร่วมมือกันเพื่อหาทางออกที่เหมาะสมของประชาชนที่ได้รับผลกระทบโดยตรง และทาให้ เกิดเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน คือ การสร้างมาตรการและข้อตกลงในการจัดสถานที่ การกาหนดราคา และการสร้าง “กองทุนพัฒนาเชิงพระธาตุดอยคา” เพื่อเป็นกองทุนหมุนเวียน เพื่อให้สมาชิกจาก คณะกรรมการพ่อค้าแม่ค้าสามารถยืมเพื่อนาเงินมาลงทุนประกอบอาชีพได้ โดยที่กองทุนดังกล่าว คณะกรรมการจะเป็นดูแลจัดการด้วยตนเอง นอกจากการมี ส่วนร่วมของประชาชนในการจัดตั้งกลุ่ม พ่อค้าแม่ค้า ยังส่งผลต่อการเกิดกิจกรรมอื่นๆที่จะช่วยผลักดันให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนและ การสร้างสุข (ตามวิสัยทัศน์ของเทศบาล) ให้กับประชาชนในพื้นที่ เช่น การรวมกลุ่มของคิวรถแดง เพื่อสร้างรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่โดยเฉพาะ การรวมกลุ่มของประชาชน ในการสร้างสินค้าและ บริการให้เกิดขึ้นในบริเวณวัดพระธาตุดอยคา ก็ถือเป็นการสร้างรายได้ให้กับประชาชนและส่งผลทาให้ ประชาชนมีความสุขที่เพิ่มขึ้นจากการมีรายได้ ที่ประชาชนคิดและรวมตัวกัน โดยที่เทศบาลเป็นผู้คอย ช่วยเหลือ
66
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
7) สรุปบทเรียน ในส่ วนของการต่อยอดและพัฒนาโครงการดังกล่าว ทางเทศบาลจะดาเนินการจัด กิจกรรมที่ใช้พื้นที่ในเชิงวัดพระธาตุดอยคาที่เป็นพื้นที่ร้านค้าทั้งหมด สร้างมูลค่าทางตลาดให้กับกลุ่ม พ่อค้าแม่ค้ามากขึ้น โดยจัดกิจกรรมตลาดวัฒนธรรม ซึ่งเน้นจุดขายเป็นตลาดที่ขายสินค้าหลากหลาย ประเภท แต่ให้ความสาคัญว่าสินค้าเหล่านั้นต้องมีลักษณะสาคัญที่ช่วยบ่งชี้ถึงวัฒนธรรมแม่เหียะและ วัฒนธรรมล้านนาได้ ทางเทศบาลจึงมีนโยบายให้กิจกรรมตลาดวัฒนธรรมช่วยส่งเสริมการค้าให้กับ ร้านค้าในพื้นที่มากขึ้น เทศบาลเมืองตาคลี จ.นครสวรรค์ 1) ชื่อโครงการ “นวัตกรรมสร้างรายได้เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอยร่วมกับ การชาระค่าน้าประปา” 2) เหตุ ผ ลและความส้ า คั ญ ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยประชาชนไม่ เ ข้ า ใจบทบาทหน้ า ที่ ข องตนต่ อ การพึงปฎิบัติให้อยู่ในสังคมอย่างเป็นสุขจึงต้องมีการแก้ไขปัญหา การชาระค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอย และค่ากาจัดขยะเชิงบังคับ โดยกลยุทธ์ใรการพัฒนาประสิทธิภาพการบังคับจัดเก็บค่าธรรมเนียมฯ ตามหลักการประมาณว่าเมื่อประชาชนทุกครัวเรือนมีการใช้สาธารณูปโภคอย่างครบครัน ถ้าวันใด ขาดสาธารณู ป โภคบางอย่ า งไปจะเดื อ ดร้ อ น และจะรี บด าเนิ น การช่ ว ยเหลื อ ตนเองในเบื้ อ งต้ น เพราะฉะนั้ น สิ่ ง ที่ น าแก้ ปั ญ หาได้ ดี ที่ สุ ด คื อ การน าโครงการรั บ ค่า ธรรมเนี ยมก าจัด ขยะมู ล ฝอย ครัวเรือนนั้นก็ไม่ส ามารถจ่ายค่าน้าประปาได้ เพราะโปรแกรมส าเร็จรูปของระบบประปาจะออก ใบเสร็จใบเดียว ต้องชาระพร้อมกัน แต่ไม่ชาระค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอยและค่ากาจัดขยะก็จะต้อง ถูกตัดมาตรน้าไม่มีน้าใช้ ครัวเรือนนั้นต้องเดือดร้อน มาตรการนี้เป็นมาตรการที่นามาใช้แก้ปัญหา ซึ่งกองคลังได้จัดโครงการฯร่วมกับกองการประปาและกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเริ่มจาก ฐานข้อมูลจานวนผู้ใช้น้าในเขตเทศบาลเมือง ตาคลี กับจานวนประชากรแต่ละครัวเรือน โดย ครบคลุมพื้นที่ 16 ตารางกิโลเมตรเพื่อแก้ปัญหาเพราะตามทฤษฏีของมนุษย์โดยทั่วไปชอบความ ยุติธรรม เป็นธรรม และความเสมอภาค ถ้าทุกครัวเรือนชาระค่าธรรมเนียมหมดทุกหลัง ก็จะไม่มี ปัญหาข้อโต้แย้ง แต่ถ้าบางครัวเรือนชาระค่าธรรมเนียมบ้างไม่ชาระบ้าง การบริหารที่ขาดความสมดุล ไม่เสมอภาคก็ทาให้การบริหารจัดการเรื่องการจัดเก็บรายค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอยและค่าธรรมเนียม การกาจัดขยะเกิดปัญหาขึ้น ซึ่งไม่สามารถบรรเทาได้ 3) วัตถุประสงค์แผนด้าเนินงาน และกรอบระยะเวลาการด้าเนินงาน เพื่อสร้างความยุติธรรม เป็นธรรม และความเสมอภาคต่อประชาชนทุกครัวเรือน เพือ่ ลดค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงบประมาณค่าจ้างและค่าตอบแทนของเทศบาลเมืองตาคลี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในด้านการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอยและค่ากาจัดขยะ 4) กิจกรรมหลักและทรัพยากรที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม เป็นการรวบรวมข้อมูลแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ ประชาชน และติดตั้งโปรแกรมสาเร็จรูปที่มีการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอยร่วมกับการชาระ ค่าน้าประปา
67
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
5) ประโยชน์ที่ได้รับ เกิดความยุติธรรม เป็นธรรม และความเสมอภาคต่อประชาชนทุกครัวเรือน ลดค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงบประมาณค่าจ้างและค่าตอบแทนของเทศบาลเมืองตาคลี เพิ่มประสิทธิภาพในด้านการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอยและค่ากาจัดขยะ 6) ลักษณะเด่นของโครงการนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ มีการแลกเปลี่ยนเรียนความคิดเห็นกับประชาชนเพื่อสร้างความเข้าใจในการดาเนินโครงการ เพิ่มประสิทธิภาพในด้านการจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอยและค่ากาจัดขยะที่เป็ นระบบและ น่าเชื่อถือ 7) สรุปบทเรียน เป็นการรวบรวมข้อมูล แลกเปลี่ยนเรียนความคิดเห็นกับประชาชน และดาเนิน โครงการที่ ส ร้ า งความยุ ติ ธ รรม เป็ น ธรรม ความเสมอภาค และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในด้ า น การจัดเก็บค่าธรรมเนียมขยะมูลฝอยและค่ากาจัดขยะอย่างเป็นระบบและน่าเชื่อถือ เทศบาลเมืองกระบี่ จ.กระบี่ 1) ชื่อโครงการ “โครงการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเฝ้าระวังภัยในเขตเทศบาลเมืองกระบี่” 2) เหตุผลและความส้าคัญ จังหวัดกระบี่เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับโลก มีนักท่องเที่ยวทั้ง ชาวไทยและต่างประเทศเข้ามาท่องเที่ย วปีละหลายล้านคน แหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของจังหวัดกระบี่ เป็ น แหล่ งท่อ งเที่ย วทางธรรมชาติ แต่ก่ อนที่ นัก ท่องเที่ย วจะเดิ นทางไปยังสถานที่ท่ องเที่ยวทาง ธรรมชาติก็จะต้องเข้ามาพักหรือผ่านตัวเมืองเพื่อต่อรถโดยสารเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ เมืองกระบี่ เปรียบเสมือนห้องรับแขกของจังหวัดกระบี่ คณะผู้บริหารเทศบาลเมืองกระบี่ จึงให้ความสาคัญใน เรื่องการดูแลความสงบเรียบร้อยความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยวหรือผู้มาเยือน โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศและประกอบกับเทศบาลเมืองกระบี่ได้มีการกาหนดไว้ใน ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองหรือ (Q-City) ไว้ 6 ด้าน การดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สินได้มีการกาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านเมืองปลอดภัย และเทศบาลเมืองกระบี่ ได้ จั ด ตั้ ง ศู น ย์ อปพร.เทศบาลเมื อ งกระบี่ แ ละได้ มี ก าหนดแผนการด าเนิ น งานให้ อปพร. ออกลาดตระเวนตรวจตราเฝ้าระวังภัยในเขตเทศบาลเมืองกระบี่ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 โดยได้ปฏิบัติหน้าที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของเทศบาลเมืองกระบี่ ชุมชน ประชาชน กลุ่มองค์กรภาคประชาชน ชมรม สมาคม มูลนิธิ เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง ตารวจ ทหารและ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย ย่านการค้าสถานบันเทิง สถานที่ ราชการ สวนสาธารณะและชุมชนในเขตเทศบาล จานวน 14 ชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกัน ปัญหาการโจรกรรม ปัญหาอาชญากรรม การก่อวินาศกรรม ปัญหาการทาลายทรัพย์สินสาธารณะ ปัญหายาเสพติดและการมั่วสุมของกลุ่มวัยรุ่น ตลอดจนการเฝ้าระวังภัยจากเหตุสาธารณภัยต่างๆที่ อาจเกิดขึ้นในพื้นที่ การออกปฏิบัติหน้าที่ของ อปพร. ทาให้เกิดขวัญและกาลังใจต่อประชาชนที่อาศัย
68
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
อยู่ในเขตเทศบาลเมืองกระบี่และนักท่องเที่ยวมีความรู้สึกปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สิ นในการดาเนิน ชีวิตหรือเข้ามาพักอาศัยหรือเข้ามาท่องเที่ยวยังเมืองกระบี่ 3) วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเกิดความมั่นใจและรู้สึกมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินจาก การมาเยือนหรือพักอาศัยในเมืองกระบี่ เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในเขตเมืองร่วมกันระหว่างสมาชิก อปพร. เจ้าหน้าที่ป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย ฝ่ายปกครอง เจ้าหน้าที่ตารวจ ฝ่ายความมั่นคงและส่วนราชการอื่นๆที่ เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อป้องกันและลดปัญหายาเสพติด การมั่วสุมของกลุ่มวัยรุ่นในเขตเมืองกระบี่ เพื่อเฝ้าระวังลดปัญหาการโจรกรรมและอาชญากรรมต่างๆในเขตเมืองกระบี่ เพื่ อ เฝ้ า ระวั ง แจ้ ง ข่ า ว ประสานหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งและให้ ค วามร่ ว มมื อ ช่ ว ยเหลื อ เมื่อเกิดเหตุสาธารณภัยในเขตเมืองกระบี่ เพื่อดูแลความปลอดภัยและป้องกันอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลต่างๆประจาปี 4) ประโยชน์ที่ได้รับ ประชาชนและนั กท่องเที่ย วมีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิ นจากการมาเยือนหรือ พักอาศัยในเมืองกระบี่ เกิดรูปแบบการรักษาความสงบเรียบร้อยในเขตเมืองร่วมกันระหว่างสมาชิก อปพร. เจ้าหน้าที่ ป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย ฝ่ า ยปกครอง เจ้ า หน้ า ที่ ต ารวจ ฝ่ า ยความมั่ น คงและ ส่วนราชการอื่นๆที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ลดปัญหายาเสพติด การมั่วสุมของกลุ่มวัยรุ่นในเขตเมืองกระบี่ ลดปัญหาการโจรกรรมและอาชญากรรมต่างๆในเขตเมืองกระบี่ 5) สรุ ปบทเรียน จากการฝึ กอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ ายพลเรือน (อปพร.) เป็นประจาทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 จนถึงปัจจุบัน และการฝึกอบรมทบทวนสมาชิก อปพร. ที่ผ่านการฝึกอบรมแล้ว รวมถึงการดาเนินการจัดตั้งศูนย์ อปพร. และการจัดทาโครงการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน เฝ้าระวังภัยในเขตเทศบาลเมื องกระบี่ ในปี พ.ศ. 2552 ประชาชนและชุมชนต่างๆ ในเขตเทศบาล เมืองกระบี่ ได้มีการสมัครและส่ งตัว แทนเข้าร่ว มโครงการที่เทศบาลเมืองกระบี่ได้จัดท าขึ้นอย่ า ง ต่อเนื่ อ งทุกปี ส่ งผลให้ ปั จ จุ บั น ศูน ย์ อปพร. เทศบาลเมืองกระบี่ มีจานวนสมาชิกทั้ งสิ้ น 343 คน เทศบาลเมืองกระบี่ได้มีก ารจ่ายค่าตอบแทนแก่สมาชิก อปพร. ที่ได้ออกปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระเบียบ กาหนด รวมถึ งคณะผู้ บ ริ ห ารเทศบาลเมื องกระบี่ไ ด้ให้ ความส าคั ญในด้า นสวั ส ดิ การของสมาชิ ก อปพร. โดยมีการส่งเสริมสนับสนุนให้สมาชิก อปพร. เข้าร่วมกลุ่มกองทุนสวัสดิการชุมชนเทศบาล เมืองกระบี่เพื่อเป็นสวัสดิการ ในส่วนของภาคเอกชนในพื้นที่ก็ได้มีการบริจาคเงิน สิ่งของหรือวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงานของสมาชิก อปพร. รวมถึงหน่วยงานภาครัฐได้มีการประกาศยกย่อง
69
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
เชิ ด ชู เ กี ย รติ แ ก่ ส มาชิ ก อปพร. ที่ ท าคุ ณ ประโยชน์ ห รื อ สร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ กั บ ชุ ม ชนหรื อ สั ง คม มีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่เกียรติคุณและเผยแพร่ผลการปฏิบัติหรือการจัดทากิจกรรมของศูนย์ อปพร. เทศบาลเมืองกระบี่ จากปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น ทาให้การจัดทาโครงการอาสาสมัคร ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนเฝ้าระวังภัยในเขตเทศบาลเมืองกระบี่ เป็นที่พึงพอใจและได้รับการยอมรับ จากประชาชนและจากทุ ก ภาคส่ ว น ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ก ารจั ด ท าโครงการมี อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งทุ ก ปี แ ละ การจัดทาโครงการในแต่ละปีจะมีการพัฒนาต่อยอดเพื่อเพิ่มศักยภาพของสมาชิก อปพร. ให้มีความรู้ ความสามารถในด้ า นต่ า งๆ ซึ่ ง จะส่ ง ผลให้ ป ระชาชนและชุ ม ชนได้ รั บ การ บริ ก ารที่ ดี ยิ่ ง ๆ ขึ้ น อันจะนาไปสู่ความยั่งยืนหรือความต่อเนื่องของการจัดทาโครงการต่อไป เทศบาลต้าบลยางเนิ้ง จ.เชียงใหม่ 1) ชื่อโครงการ “โครงการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุ” 2) เหตุ ผ ลและความส้ า คั ญ ด้ ว ยสภาพภู มิ ศ าสตร์ ข องยางเนิ้ ง มี ลั ก ษณะแบบกิ่ ง เมื อ งกิ่ ง ชนบท ทาให้ลักษณะของครอบครัวจากครอบครัวขยาย กลายมาเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ซึ่งทาให้สมาชิก ในครอบครัวต่างต้องออกจากบ้านในทุกวันเพื่อไปประกอบอาชีพนอกบ้าน เป็นผลทาให้เกิดปัญหาที่ แยกผู้สูงอายุออกจากครอบครัวมากขึ้น หรือปัญหาการที่ผู้สูงอายุจะอาศั ยอยู่โดยลาพังในช่วงเวลาที่ บุตรหลายออกไปทางานนอกบ้านในเวลากลางวัน ซึ่งผู้สูงอายุที่อยู่โดยลาพังก็มีลักษณะที่หลากหลาย กัน ออกไป เช่น ผู้ สูงอายุ ที่ยั งพอช่ว ยเหลื อตัว เองได้ แต่ติดบ้าน หรือผู้ สู งอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ (ติดเตี ยง) ซึ่งในประเภทติดเตียงนี้ มีจานวนที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่ยางเนิ้ง ทาให้ผู้สูงอายุเหล่านี้ต้องการการดูแลทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่างใกล้ชิด นามาสู่โครงการที่ต้องการ แก้ไขปัญหาของผู้สูงอายุในเขตเทศบาล ทั้งผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้าน ติดเตียง และกลุ่มที่ติดสัง คม ชอบทากิจกรรมของชุมชน ให้สามารถรับการดูแล ทั้งสุขภาพกาย สุขภาพใจ การดารงชีวิตอย่าง ปกติสุขได้อย่างครอบคลุมทั้งหมด 3) วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูสุขภาพ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ และเตรียมความพร้อมทางด้านสังคมแก่ ผู้สูงอายุในชุมชน เพื่อจัดกิจกรรมการดูแลฟื้นฟูสุขภาพผู้สูงอายุแบบผสมผสานตามความจาเป็นและทั่วถึง 4) กิจกรรมหลักและทรัพยากรที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม โครงการนี้เกิดจากวิธีการดาเนินงานที่เป็นระบบ โดยอาศัยให้ ภาคประชาชน หรื อกลุ่ มของประชาชนในพื้นที่เป็นตัวนาหลั กในการดาเนินกิจกรรม ช่วยเหลือผู้สูงอายุในพื้นที่ การดาเนินงานของโครงการนี้ จะทาการแบ่งออกเป็น 3 ทีมหลัก ได้แก่ 1) ทีม สร้าง เสริม เพิ่มเติมความเข้าใจ เทศบาลตาบลยางเนิ้ง ที่จะเป็นการดาเนินงานโดยทีมงานทาง เทศบาลเป็ น แกนน า ให้ เ กิดการประชุม พบปะผู้ สู งอายุทุกคนในพื้นที่ หลั ก การของกิ จกรรมคื อ มาสร้ างแรงจู งใจในการทากิจ กรรมให้ กับผู้ สูงอายุในพื้นที่ ซึ่งในการนัดพบปะประชุมทุกครั้งจะมี
70
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
การจัดกิจกรรม เช่น การตรวจสุขภาพ กิจกรรมออกกาลังกาย การให้ความรู้ในเรื่องอาหารการกินที่ ถูกหลักโภชนาการ แล้ วจึ งเป็ น การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้ สูงอายุ ซึ่งทีมที่ 1 นี้ถือเป็นทีมที่ช่วยดึงดูดให้ ผู้สูงอายุที่ไม่เข้าร่วมกิจกรรมใดๆของเทศบาลให้เข้ามาในสนกิจกรรมเทศบาลมากขึ้น เพราะผู้สูงอายุ เหล่านี้จาเป็นต้องมารับเบี้ยยังชีพด้วยตนเองอยู่แล้ว ทีมที่ 2 ทีมสร้าง เสริม เติมความสุข ใกล้ บ้าน ใกล้ใจ โดยทีมใกล้บ้านใกล้ใจนี้จะถือเป็นทีมงานหลักที่มาจากกลุ่มของจิตอาศาของประขาขนในพื้นที่ ตาบยางเนิ้ง โดยการดาเนินกิจกรรม จะทาการสารวจผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง (อาจจะช่วยเหลือ ตัว เองได้บ้ าง) และผู้ สูงอายุที่ติดเตียง (ที่ต้องได้รับการดูแลเฉพาะ) ซึ่งทีมใกล้บ้านใกล้ ใจจะต้อง ดาเนินการดูแลทั้งทางด้านสุขภาพร่างกาย โภชนาการ และสภาพจิตใจของผู้สู งอายุเป็นรายบุคคลไป ทาให้การดาเนิ นงานต้องอาศัย การประสานความร่วมมือไปยังเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น เทศบาล รพสต. โรงพยาบาลสารภี เป็ น ต้ น เพื่ อ ให้ เ ครื อ ข่ า ยเหล่ า นี้ เ ป็ น หน่ ว ยสนั บ สนุ น ทั้ ง องค์ ค วามรู้ ทั ก ษะการปฏิ บั ติ ง านด้ า นสาธารณสุ ข ที่ ถู ก ต้ อ ง รวมทั้ ง อุ ป กรณ์ ต่ า งๆทางการแพทย์ ที่ จ าเป็ น โดยกิจ กรรมต่างๆในการดูแลผู้ สู งอายุที่เกิดขึ้นทั้งหมด จะเป็น ไปตามแนวทางและแผนงานของ กลุ่ มใกล้ บ้ า นใกล้ ใจเป็ น หลั ก เช่น การทางานร่ ว มกัน ของกลุ่ ม ใกล้ บ้ านใกล้ ใ จ กับ เครื อ ข่า ยทาง สาธารณสุข ในการดูแลแบบ Long Term Care ก็เกิดการประสานความร่วมมือกับทาง รพ. ใน การสร้างและออกแบบ Care Plan เพื่อดูแลผู้สูงอายุที่ติดเตียงในระยะยาวขึ้น 5) ประโยชน์ ที่ ไ ด้ รั บ ผลการด าเนิ น งานที่ ผ่ า นมาได้ ก่ อให้ เ กิ ด กิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ ม ฟื้ น ฟู สุ ข ภาพทั้ ง ด้านร่างกายและจิตใจ เกิดทีม “สร้าง เสริม เติมความสุข ใกล้บ้านใกล้ใจ” ที่สมาชิกมาจากประชาชน อาสาสมั ค รในพื้ น ที่ ร วมกลุ่ ม กั น เป็ น ที ม ที่ เ ข้ า ไปดู แ ลผู้ สู ง อายุ ทั้ ง ที่ ติ ด บ้ า น (ไปดู แ ลสภาพจิ ต ใจ เชิญชวนทากิจกรรม) และทีมที่ดูแลผู้สูงอายุที่ติดเตียง (ผ่านการดูแลเรื่องสุขภาพอนามัย โภชนาการ และนวัตกรรมทางการแพทย์ เรื่องของการลดแผลกดทับ) นอกจากนี้ ผลการดาเนินงานที่ช่วยส่งเสริม สุขภาวะของผู้สูงอายุ ยังร่วมไปถึงการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้ไปศึกษา หรือได้ออกไป ทากิจกรรมต่างๆ เช่น ไหว้พระ ทาบุญ นอกพื้นที่ ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ที่ชอบทา กิจกรรมกับชุมชนและสังคมไม่เกิดความเหงา เปิดประสบการณ์ใหม่ที่ไม่มีเพียงแค่บ้านที่อาศัยอยู่ และเป็นการดาเนินกิจกรรมที่ทาให้เกิดความร่วมมือจากภาคเครือข่ายอื่นๆของรัฐที่เกี่ยวข้อง 6) ลักษณะเด่นของโครงการฯนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ โครงการมีนวัตกรรมที่ทาง กลุ่มใกล้บ้านใกล้ใจเป็นผู้คิดค้นขึ้น เพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่ติดเตียง ที่ได้รับการคิดมาจากกลุ่มชาวบ้าน นวั ต กรรมนี้ จ ะช่ ว ยท าให้ ล ดและบรรเทาอาการแผลกดทั บ ได้ และที่ ส าคั ญ เป็ น สิ่ ง ที่ ก ลุ่ ม จาก ภาคประชาชนในพื้น ที่ เป็ น คนคิ ดค้น และประดิษฐ์ เป็น ที่นอนขึ้น มา โดยได้รั บการสนั บสนุ นและ ขอความร่ วมมือจาก รพ. ถือเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมจากประชาชนในฐานะผู้ดาเนินหลักของ โครงการ และการดาเนินงานที่ใช้ประชาชนเป็นตัวขับเคลื่อน และภาครัฐที่เกี่ยวข้องเป็นผู้สนับสนุน และช่วยเหลือแทน 7) สรุ ปบทเรี ยน โครงการนี้ มี ความต้อ งการที่จ ะเสริ มสร้ างสุ ขภาะที่ดี ทั้งทางร่า งกายและจิต ใจให้ กับ ผู้สู งอายุ ทั้งหมด โดยครอบคลุ มทั้งผู้ สูงอายุที่ ช่วยเหลือตนเองได้ ผู้ สูงอายุที่อ ยู่ในภาวะพึ่งพิง
71
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
(ติดเตียง) และผู้สูงอายุที่ชอบทากิจกรรมเข้าสังคม โดยการดาเนินงานจะผ่านทีมงาน ทีมงานหลักที่ เห็นผลของกิจกรรมในตัวโครงการมากที่สุด ดังนั้นการดาเนินโครงการผ่านกลุ่มใกล้บ้านใกล้ใจจึงถือว่า เป็นการแสดงถึงบทบาทการมีส่วนร่วมจากประชาชนในท้องถิ่นเป็นสาคัญ นอกจากนี้ ประชาชนที่อยู่ ในกลุ่มยังรู้ถึงปัญหาและเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนในฐานะเป็นจิตอาสาที่ดูแลผู้สูงอายุในชุมชนของ ตนเอง และเป็นการดาเนินงานที่เกิดการประสานความร่วมมือ ทั้งเทศบาล และหน่วยงานของรัฐที่จะ ช่วยเหลือสนับสนุนในทางที่ถูกต้องต่อการดาเนินโครงการดูแลผู้สูงอายุ อบต. ต้านาน จ.พัทลุง 1) ชื่อโครงการ “โครงการจัดตั้งส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาอาชีพตาบลตานาน สู่นวัตกรรมชุมชน” 2) วัตถุประสงค์ เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ใ นการศึ กษาเรี ย นรู้ ของเกษตรและให้ ส อดคล้ อ งกับ แผนการกระจายอ านาจให้ อบต.ตานาน เพิ่มศักยภาพของชุมชนในการศึกษา วิจัย และพัฒนาเกษตรกรให้ยั่งยืน เพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนการทางานของภาครัฐ สามารถให้บริการแก่เกษตรกร ณ จุดเดียว เพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนการในการพัฒนาการเกษตรให้ชุมชนมีส่วนร่วม เพื่อส่ งเสริ มด้านองค์ความรู้ ตามแนวพระราชดาริ รวมถึงปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง สามารถ กระจายสู่ชุมชนได้อย่างทั่วถึง 3) ประโยชน์ที่ได้รับ เกิดการจัดตั้งศูนย์ในการศึกษาเรียนรู้ของเกษตรและให้สอดคล้องกับแผนการกระจายอานาจให้ อบต. ตานาน มีการพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการศึกษา วิจัย และพัฒนาเกษตรกรให้ยั่งยืน ปรั บ เปลี่ ย นแนวทางและรู ป แบบของกระบวนการท างานของภาครั ฐ สามารถให้ บ ริ ก ารแก่ เกษตรกร ณ จุดเดียว ปรับเปลี่ยนแนวทางและรูปแบบของกระบวนการในการพัฒนาการเกษตรให้ชุมชนมีส่วนร่วม เกิ ดองค์ ความรู้ ตามแนวพระราชด าริ รวมถึ งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยง สามารถกระจายสู่ ชุมชน ได้อย่างทั่วถึง 4) สรุปบทเรียน สาหรับโครงการจัดตั้งส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาอาชีพตาบลตานานสู่นวัตกรรม ชุมชนของ อบต. ตานานนั้นเป็นโครงการเพื่อให้เ กิดกลุ่มเครือข่ายในปัจจุบัน พัฒนาต่อยอดผลิต และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนาเทคนิคความรู้มาพัฒนาต่อยอดผลผลิต สนับสนุนอาหารกลางวันให้ นักเรียน ทาให้ปริมาณขยะในพื้นที่ลดลง และทาให้เกิดการเรียนรู้ของชุมชน สร้างรายได้ลดรายจ่าย ในครัวเรือน ทาให้เกิดการรวมกลุ่มชุมชนและยังทาให้หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยการจัดตั้ง ศูนย์ในการศึกษาเรียนรู้ของเกษตรและให้สอดคล้องกับแผนการกระจายอานาจให้ อบต. ตานาน
72
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
พัฒนาศักยภาพของชุมชนในการศึกษา วิจัย และพัฒนาเกษตรกรให้ยั่งยืน ปรับเปลี่ยนแนวทางและ รู ป แบบของกระบวนการท างานของภาครั ฐ สามารถให้ บ ริ ก ารแก่ เ กษตรกร ณ จุ ด เดี ย ว และ ปรั บ เปลี่ ย นแนวทางและรู ป แบบของกระบวนการในการพั ฒ นาการเกษตรให้ ชุ ม ชนมี ส่ ว นร่ ว ม และสร้างสรรค์องค์ความรู้ตามแนวทางพระราชดาริและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5.2 อปท. ที่ ผ่ า นการประเมิ น รอบที่ 2 ความสมานฉันท์
ด้า นการเสริ ม สร้างสัน ติ สุ ข และ
ก. อปท. ที่สมควรได้รับรางวัลด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ เนื่องจากในปี 2560 ไม่มี อบจ. เข้าร่วมประกวดโครงการรางวัลพระปกเกล้าด้านการเสริมสร้าง สันติสุขและความสมานฉันท์ จึงทาให้ไม่มี อบจ. ใดผ่านการประเมินในรอบที่ 2 อย่างไรก็ตาม มีเทศบาลและ อบต. ที่ผ่านเกณฑ์สมควรได้รับรางวัล จานวน 4 แห่ง ประกอบด้วย เทศบาลและ อบต. ที่สมควรได้รับโล่ รางวัล คือ (1) อบต. อ่าวนาง (จ.กระบี่) (2) เทศบาลตาบลป่าบอน (จ.พัทลุง) และ (3) เทศบาลนครเชียงราย (จ.เชียงราย) ส่วน อปท. ที่สมควรได้รับใบประกาศ คือ (4) เทศบาลนครขอนแก่น (ตารางที่ 21) ข. กรณีศึกษา อปท. ที่สมควรได้รับโล่รางวัลด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ อบต. อ่าวนาง จ.กระบี่ 1) ชื่อโครงการ “โครงการส่งเสริมกิจกรรมของผู้สูงอายุ” 2) เหตุผลและความส้าคัญ ผู้สูงอายุนับเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่ง ทั้งด้านประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ ซึ่งท่ านได้ เคยเป็ นกาลั ง ส าคัญของสั งคมมาก่ อน ไม่ ว่าจะเป็นด้านศาสนา ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ประเพณี วิ ถี ชี วิ ต การพั ฒ นาอาชี พ หรื อ ด้ า นสุ ข ภาพ ฯลฯ โดยผู้ สู ง อายุ ไ ด้ ท า คุณประโยชน์ แก่สั งคมมาแล้ ว มากมาย จึง มีจาเป็นอย่ างยิ่งที่คนรุ่นหลั งจะต้องให้ ความส าคัญใน การยกย่อง ให้การดูแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิต มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี อันเป็นการเชิดชู เกี ย รติ ผู้ สู ง อายุ ใ ห้ ส ามารถด ารงชี วิ ต อยู่ ใ นสั ง คมอย่ า งมี ค วามสุ ข และได้ รั บ การดู แ ลจากสั ง คม ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุน ดูแลเอาใจใส่ และคุ้มครองผู้สูงอายุให้ได้รับการพัฒนาตนเอง เกิดจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม การรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่ายหรือชุมชน ตลอดจน การได้รับข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต จึงได้จัดทาโครงการส่งเสริมกิจกรรมของ ผู้สูงอายุตาบลอ่าวนางขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะพูดคุย ทากิจกรรมกลุ่มร่วมกัน ได้ใช้เวลา ว่างให้เกิดประโยชน์ มีความรักสมัครสมาน
73
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
ตารางที่ 21 ผลการประเมินโครงการรางวัลพระปกเกล้าส้าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็น เลิศ ประจ้าปี 2560 (รางวัลความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์)
74
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
สามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ได้รับการดูแลสุขภาพทั้งทางกาย จิต สังคม จากชุมชนและหน่วยงาน ที่เกี่ย วข้อง ทาให้ ผู้ สู งอายุ รู้ สึ กว่าตนเองมีคุณค่า สามารถดารงตนอยู่ในสั งคมได้อย่างมีความสุ ข เป็ น แบบอย่ า งแก่ อ นุ ช นคนรุ่ น หลั ง ต่ อ ไป ทั้ ง ก่ อ เกิ ด ประโยชน์ แ ก่ต นเอง ครอบครั ว สั ง คม และ คนรอบข้าง เกิดการขั บเคลื่อนชมรมผู้สู งอายุที่เป็นรูปธรรม เป็นเครือข่ายการทางานสั งคมให้แก่ องค์การบริหารส่วนตาบลอ่าวนาง และหน่วยงานอื่นๆ ต่อไป 3) วัตถุประสงค์ แผนด้าเนินงาน และกรอบระยะเวลาการด้าเนินงาน เป็นศูนย์กลางการประสานงานผู้สูงอายุในชุมชน เพื่อสนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และทากิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน เพื่อส่ งเสริ มการพัฒ นาคุณภาพชีวิต และสนับสนุนการจัดสวัส ดิการและการสั งคมสงเคราะห์ แก่ผู้สูงอายุในชุมชน เพื่อเป็นต้นแบบการดาเนินชีวิตแก่ครอบครัว ชุมชน และสังคม ในการช่วยเหลือตนเองและสังคม ส่วนรวม 4) แผนด้าเนินงานและกรอบระยะเวลาการด้าเนินงาน โครงการส่งเสริมกิจกรรมของผู้สูงอายุตาบล อ่าวนางเป็ น โครงการที่ เสริ มสร้ างความสั มพัน ธ์อันดีในชุมชน มีการบูร ณาการและการประสาน ความร่ ว มมือ ในการด าเนิ น โครงการจากภาคี เครื อข่า ยทุก ภาคส่ ว นในการขับเคลื่ อ นกิจ กรรมแก่ ผู้สูงอายุ ให้ผู้สูงอายุได้มีโอการพบปะพูดคุย ทากิจกรรมกลุ่มร่วมกัน มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ทาให้มีกิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ สร้างปฏิสัมพันธ์อันดีในพื้นที่ มีความรักสมัครสมานสามัคคี ช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน ชุมชนเข้มแข็ง อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข 5) กิจกรรมหลักและทรัพยากรที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม เนื่องจากพื้นที่ตาบลอ่าวนางเป็นพื้นที่ชุมชน 3 ศาสนา การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขและความสมานฉันท์จึงเป็นภารกิจหนึ่งที่ผู้บริหารองค์กรไม่ได้ ปล่อยปละละเลย กลับยังขับเคลื่อนผลักดันกลุ่มต่าง ๆ ในพื้นที่ ได้แก่ กลุ่มแม่บ้านตาบลอ่าวนาง กลุ่ม อาชีพ กลุ่มชมรมผู้สูงอายุกลุ่มสภาเด็กและเยาวชนตาบลอ่าวนาง กลุ่มผู้นาศาสนา และกลุ่ มเครือข่าย ภาครัฐภาคเอกชนต่างๆ ให้บูรณาการและร่วมมือร่วมใจทางานกันอย่างต่อเนื่องเพื่อความสันติสุข สมานฉันท์ในตาบลอ่าวนาง ชมรมผู้สูงอายุตาบลอ่าวนางเป็นพลังในการขับเคลื่อนการสร้างสันติสุข และความสมานฉันท์ เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่คนในชุมชนตาบลอ่าวนางให้ความเคารพนับถือ เป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิตของคนในตาบล โดยผู้สูงอายุได้รวมตัวกันเพื่อจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ องค์ก ารบริ ห ารส่ ว นตาบลอ่ าวนางขึ้ น เมื่ อเดื อนมีน าคม 2558 โดยแกนนาของผู้ สู ง อายุใ นพื้ น ที่ ชุดก่อตั้ง จานวน 60 คน ได้รับเลือกเป็นคณะกรรมการขับเคลื่อนชมรม จานวน 19 คน เพื่อเป็น แกนนาในการขับเคลื่อนกิจกรรมเครือข่ายทางสังคม เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ตัวผู้สูงอายุ ครอบครัว และชุ ม ชน โดยเชื่ อ มโยงกิ จ กรรมกั บ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลอ่ า ว นาง กศน.ต าบลอ่ า วนาง รพ.สต.บ้านช่องพลี และภาคีเครือข่าย ได้แก่ สนง.แรงงานจังหวัด อบจ.กระบี่ นาโครงการมาเป็น ตัวขับเคลื่อนงานให้มีการพัฒนาทั้งทางกาย จิต สังคม จนสามารถเชื่อมโยงกับกลุ่มเครือข่ายในพื้นที่
75
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
เช่น สภาเด็กและเยาวชนตาบลอ่าวนาง กลุ่มผู้ พิการตาบลอ่าวนาง กลุ่ มแม่บ้านกลุ่มอาชีพตาบล อ่าวนาง เป็นต้น ในการนากิจกรรมมาเป็นตัวเชื่อมสร้างความสามัคคีและสันติสุขให้เกิดขึ้นในชุมชน 6) ประโยชน์ที่ได้รับ การดาเนินโครงการส่งเสริมกิจกรรมของผู้สูงอายุตาบลอ่าวนางสามารถเสริมสร้าง ความสามัคคีได้อย่างยั่งยืนถาวร เนื่องจากจะมีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องทาให้ผู้สูงอายุได้พบปะ พูดคุยและมีกิจกรรมทาร่วมกัน ก่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี ความเอื้ออาทร ช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน อีกทั้งยังมีการทากิจกรรมสาธารณประโยชน์ กิจกรรมจิ ตอาสา ร่วมกับชุมชนและกลุ่มต่า งๆ ทาให้มีกิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ สร้างปฏิสัมพันธ์อันดีในพื้นที่ ชุมชนเข้มแข็ง เป็นสังคมแห่งการอยู่ ร่วมกันอย่างมีความสุข 7) ลักษณะเด่นของโครงการฯนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ ในทุกโครงการ/กิจกรรมที่ทาง อบต.อ่าวนาง หรือหน่วยงานภาคีเครือข่ายจัดขึ้น มีผู้สูงอายุเป็น ส่ ว นหนึ่ ง ในการขั บ เคลื่ อ นกิ จ กรรมเพื่ อ ให้ เ กิ ด การเสริ ม สร้ า งสั น ติ สุ ข และความสมานฉั น ท์ ทั้งนี้ภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ซึ่งทุกหน่วยต่างมีบทบาทหน้าที่ใน การดู แ ลคนในพื้ น ที่ ใ ห้ อ ยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งปกติ สุ ข สามารถด าเนิ น ชี วิ ต ได้ โ ดยไม่ ต กเป็ น ภาระ ของสังคม โครงการส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมของผู้ สู ง อายุ ต าบลอ่ า วนาง เริ่ ม จากก่ อ ตั้ ง ชมรมผู้ สู ง อายุ ต าบล อ่ า วนางขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ.2558 จุ ด เด่ น ของโครงการ คื อ การขั บ เคลื่ อ นกิ จ กรรมให้ เ กิ ด ความต่อเนื่อง โดยการเชื่อมโยงกับทุกกลุ่ม องค์กร ทั้งผู้รับบริการและผู้ให้บริการ ไม่รู้สึกตนเอง ถู ก ทอดทิ้ ง ได้ รั บ การเหลี ย วแลจากสั ง คม ก่ อ เกิ ด ความรั ก ความสามั ค คี เกิ ด สั น ติ สุ ข และ ความสมานฉันท์ในชุมชนอย่างยั่งยืน 8) สรุ ปบทเรี ยน โครงการส่งเสริ มกิจกรรมของผู้ สู งอายุตาบลอ่าวนางนั้ นเป็นโครงการที่เสริมสร้าง ความสัมพันธ์อันดีในชุมชน มีการบูรณาการและการประสานความร่วมมือในการดาเนินโครงการจาก ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนกิจกรรมแก่ผู้สูงอายุ ให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะพูดคุย ท ากิ จ กรรมกลุ่ ม ร่ ว มกั น มี ส่ ว นร่ ว มในกิ จ กรรมทางสั ง คม ท าให้ มี กิ จ กรรมชุ ม ชนสั ม พั น ธ์ สร้างปฏิสัมพันธ์อันดีในพื้นที่ มีความรักสมัครสมานสามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ชุมชนเข้มแข็ง อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยการเป็นศูนย์กลางการประสานงานผู้สูงอายุในชุมชน เทศบาลต้าบลป่าบอน จ.พัทลุง 1) ชื่อโครงการ “โครงการน้าประปาดื่มได้ เทศบาลตาบลป่าบอน พ.ศ. 2559” 2) เหตุผลและความส้าคัญ โครงการน้าประปาดื่มได้เป็นโครงการที่เทศบาลดาเนินการใน พ.ศ.2557 และสาเร็จในปี พ.ศ. 2559 จาเป็นต้องมีการพัฒนาต่อเนื่องสู่ความยั่งยืนเป็นโครงการ ที่เกิดขึ้นจาก ผลการหารือร่ว มคิดร่วมทาของชุมชนทั้ง 6 ชุมชน ในเขตเทศบาลและหน่วยงานควบคุมตรวจสอบ ได้แก่ ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา และสานักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง โครงการชลประทานพัทลุง
76
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ส านั ก งานทรั พ ยากรธรณี และสิ่ ง แวดล้ อ ม จากผลการประเมิ น คุ ณ ภาพของแหล่ ง น้ าสามารถ ดาเนินการพัฒนาต่อยอดได้โครงการน้าประปาดื่มได้ถือเป็นนวัตกรรมที่สาคัญยิ่ง เนื่องจากประชาชน ทั้งในเขตเทศบาลและพื้นที่ข้างเคียงได้มีน้าสะอาดดื่มและอุปโภคบริโภคเพียงพอตลอดทั้งปี ถือเป็น การพัฒนาท้องถิ่นอีกทางหนึ่งด้วย อีกทั้งเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนผู้รับบริการน้าประปา ที่มีคุณภาพเป็นที่จับต้องได้ ร่วมตรวจสอบ ประเมินผลการปฏิบัติงานของเทศบาลตาบลป่าบอน ในเชิงคุณภาพน้าประปาสาหรับในเชิงปริมาณ ประชาชน โรงเรียน วัด ในพื้นที่ สามารถประหยัด ลดภาระค่าใช้จ่ายในครัวเรือน และยังส่งเสริมคุณภาพชีวิต การเจ็บป่วยหรือ เสียชีวิตด้วยโรคที่เกิด จากน้ า ได้แก่ โรคอุจ จาระร่ว ง โรคบิด โรคไทฟอยท์ คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ดียิ่งขึ้น ทาให้เทศบาลตาบลป่าบอนสามารถจัดทาเทศบัญญัติ ปรับปรุงค่าธรรมเนียมน้าประปาได้สาเร็จ โดยไม่ มี ค วามขั ด แย้ ง กั บ ประชาชน เป็ น การพั ฒ นารายได้ ท้ อ งถิ่ น ส าเร็ จ อี ก ทางหนึ่ ง โครงการ น้าประปาดื่มได้ของเทศบาลตาบลป่าบอนถือได้ว่าเป็นนวัตกรรมที่สาคัญ เนื่องจากเป็นโครงการที่ทา ให้ ป ระชาชนในเขตเทศบาลมี น้ าสะอาดดื่ม และบริ โ ภคเพี ย งพอตลอดปี ท าให้ ป ระชาชนได้ รั บ ความสะดวกสบาย ไม่ต้องเสียเวลาออกไปซื้อหรือจัดหาน้าสาหรับดื่มและบริโภค เพราะสามารถเปิด น้าประปาที่มีอยู่ ในทุกหลังคาเรือนดื่มได้จากก๊อกน้าได้ทันที โดยไม่ต้องผ่ านกระบวนการปรับปรุง คุณภาพน้าใดๆ อีก และเมื่อพิจารณาในด้านของราคาน้าที่ประชาชนในเขตเทศบาลใช้สาหรับดื่ม และบริโภค พบว่าน้าดื่มบรรจุขวด (ขนาดความจุ 1 ขวด = 20 ลิตร/ราคา 10 บาท) ราคาเฉลี่ย ลิตรละ 0.50 บาท เฉลี่ยปีละ 2,955,770 บาท (สองล้านเก้าแสนห้าหมื่นห้าพันเจ็ดร้อยเจ็ดสิบบาท ถ้วน) 3) วัตถุประสงค์ แผนด้าเนินงาน และกรอบระยะเวลาการด้าเนินงาน เพื่อพัฒนาน้าประปาดื่มได้ของเทศบาลให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าเพื่อบริโภคและอุปโภค ในครัวเรือนกรมอนามัย เพื่ อ สร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มจากทุ ก ภาคส่ ว น ร่ ว มกั น พั ฒ นาคุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก ารน้ าประปาใน ทุกขั้นตอนของขบวนการผลิตน้าประปา เพื่อให้เทศบาลพัฒนาคุณภาพน้าบริโภคให้มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เทศบาลสามารถจัดบริการน้าบริโภคที่สะอาดปลอดภัยให้มีความครอบคลุ มทุกหลังคาเรือน อย่างเพียงพอและทั่วถึง เพื่อช่วยลดภาระค่าครองชีพของประชาชนในการจัดหาน้าสะอาดไว้สาหรับดื่ม บริโภคและอุปโภค เพื่อป้ องกัน การเจ็บ ป่ว ยของประชาชนจากโรคที่เกิดจากน้าเป็นสื่ อ โลหะหนัก และสารเคมีที่ ปนเปื้อนอยู่ในน้าดื่มและบริโภค เพื่อสร้ างเครื อ ข่ายเฝ้ าระวัง การตรวจสอบคุ ณภาพน้า การเก็บตั ว อย่า งน้าเพื่อสุ่ มตรวจและ การประชาสัมพันธ์โครงการน้าประปาดื่มได้ โดยให้ชุมชนเข้ามามามีส่วนร่วมในขบวนการผลิต
77
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
4) ประโยชน์ที่ได้รับ น้าประปาดื่มได้ของเทศบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าเพื่อบริโภคและอุปโภคในครัวเรือน กรมอนามัย เกิ ด การมี ส่ ว นร่ ว มจากทุ ก ภาคส่ ว นเพื่ อ ร่ ว มกั น พั ฒ นาคุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก ารน้ าประปาใน ทุกขั้นตอนของขบวนการผลิตน้าประปา เทศบาลพัฒนาคุณภาพน้าบริโภคได้อย่างมีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง เทศบาลสามารถจั ด บริ ก ารน้ าบริ โ ภคที่ ส ะอาดปลอดภัยให้ มีความครอบคลุ มทุ กหลั งคาเรือ น อย่างเพียงพอและทั่วถึง ช่วยลดภาระค่าครองชีพของประชาชนในการจัดหาน้าสะอาดไว้สาหรับดื่ม บริโภคและอุปโภค ลดการเจ็ บ ป่ว ยของประชาชนจากโรคที่เกิดจากน้าเป็นสื่ อ โลหะหนักและสารเคมีที่ปนเปื้อน อยู่ในน้าดื่มและบริโภค เกิ ด เครื อ ข่ า ยเฝ้ า ระวั ง การตรวจสอบคุ ณ ภาพน้ า การเก็ บ ตั ว อย่ า งน้ าเพื่ อ สุ่ ม ตรวจและ การประชาสัมพันธ์โครงการน้าประปาดื่มได้ โดยให้ชุมชนเข้ามามามีส่วนร่วมในขบวนการผลิต 5) สรุปบทเรียน สาหรับโครงการน้าประปาดื่มได้ ของเทศบาลตาบลป่าบอนเป็นการพัฒนาต่อยอด ระบบโครงสร้างของกิจการประปาซึ่งต้องมีการปรับปรุงพัฒนาระบบอย่างต่อเนื่องและมีการติดตาม ผลการด าเนิ น งานในทุ ก ขั้ น ตอน โดยเน้ น หลั ก การมี ส่ ว นร่ ว มของชุ ม ชนเป็ น ตั ว ขั บ เคลื่ อ นโดย เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนและร่วมมือกันดาเนินการในทุก ขั้นตอน รวมทั้งสร้างความรู้ความเข้าใจ ส่งเสริมกิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชนใน ความส าคั ญ ของน้ าดื่ ม และบริ โ ภค การปรับ ปรุ งคุ ณ ภาพน้ า โดยผ่ า นช่ องทางสื่ อ สารต่ า งๆ เช่ น การแจกแผ่นพับ การประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย การติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ในชุมชน วัด โรงเรียน และส่วนราชการต่างๆ เป็นต้น ส่งผลให้ทาให้ประชาชนในเขตเทศบาลมีน้าสะอาดดื่มและบริโภค เพียงพอตลอดปี นามาซึ่งการด้านเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ในพื้นที่เขตเทศบาลตาบล ป่าบอนและพื้นที่ใกล้เคียง
78
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
เทศบาลนครเชียงราย จ.เชียงราย 1) ชื่อโครงการ “การศึ กษาพัฒ นาคุ ณภาพชีวิ ตสู่ สั งคมอุดมปัญ ญา (ผู้ ส นับสนุนการเรียนรู้ประจ า ห้องเรียน Learning Assistant : LS)” 2) เหตุ ผ ลและความส้ า คั ญ โรงเรี ย นเทศบาล 6 นครเชี ย งราย ได้ มี ก ารบริ ห ารจั ด การภายใต้ แนวทางการจัดการศึกษาที่มุ่งพัฒนานักเรียนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพทั้งด้านร่างกายจิตใจ สติปัญญา ความสามารถ มี คุ ณธรรมจริ ยธรรม และวิถี ชี วิตที่เป็ นสุ ขตามที่ สั งคมมุ่งหวั งโดยผ่ านกระบวนการ ทางการศึกษานั้ น นอกจากจะดาเนินการด้วยการส่งเสริมสนับสนุนนักเรียนแล้ ว การป้องกันและ การช่วยเหลือปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับนักเรียนก็ เป็นสิ่ งสาคัญประการหนึ่งของการพัฒนาเนื่องจาก สภาพสั งคมที่ เปลี่ ยนแปลงไปอย่ างมากทั้ งด้ านการสื่ อสารเทคโนโลยี ซึ่ งนอกจากจะส่ งผลกระทบ ต่ อผู้ คนทั้ งในเชิ งบวกและเชิ งลบ ดั งนั้ น ความส าเร็ จที่ เกิ ดจากการพั ฒ นานั กเรี ยนให้ เป็ นไปตาม ความมุ่งหวัง จึงต้องอาศัยความร่ วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะบุคลากรครูทุกคนในโรงเรียนเพื่อ สนับสนุนการเรียนรู้ประจาห้องเรียน (Learning Support Assistant : LS) และครูที่ปรึกษา เป็ นหลั กส าคั ญใน การด าเนิ นการต่ างๆ เพื่อการดู แลช่ วยเหลื อนั กเรี ยนอย่ างใกล้ ชิ ดด้ วยความรั ก และเมตตาที่ มี ต่ อ ศิ ษ ย์ และภาคภู มิ ใ จในบทบาทที่ มี ส่ ว นส าคั ญ ต่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของ เยาวชนให้ เ ติ บ โตงอกงามเป็ น บุ คคลที่ คุ ณ ค่ า ของสั งคมต่ อไป ทั้ ง นี้ เพื่ อพั ฒ นาความสามารถใน การทางานของบุคลากรผู้สนับสนุ นการเรียนรู้ประจาห้องเรียน คณะผู้ บริหารเทศบาลนครเชียงราย จึ งประสานความร่ วมมื อกั บ องค์ กรต่ างๆ ได้ แก่ มู ล นิ ธิ เพื่ อชี วิ ตและพั ฒนาสั งคมจั งหวั ดเชี ยงราย สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงราย โรงเรียนเทศบาล 4 และโรงเรียนเทศบาล 7 เพื่ อให้ เกิ ดการเชื่ อมโยงในการร่ วมมื อระหว่ างโรงเรี ยนและองค์ กร โดยผู้ ส นั บสนุ นการเรี ยนรู้ ประจ าห้ องเรี ย นมี บ ทบาทในการจั ดกิ จ กรรมการส่ ง เสริ ม การเรี ยนรู้ ใ ห้ กั บเยาวชนในมู ล นิ ธิ เพื่ อ ชีวิ ตและพั ฒนาสั งคมจั งหวัดเชียงราย เพื่ อให้ เยาวชนที่ อยู่ภายใต้ การดูแลของมูลนิ ธิเพื่ อชี วิ ตและ พัฒนาสั งคมจั งหวัดเชียงรายมีทั ศคติ และทักษะการด ารงชีวิตที่สามารถอยู่ร่วมกั บผู้ อื่ นในสั งคมได้ อย่างเป็นสุข 3) วัตถุประสงค์ แผนการด้าเนินงาน และกรอบระยะเวลาการด้าเนินงาน o เพื่อสร้างเครือข่ายการทางานในด้านส่งเสริมสันติสุขและสมานฉันท์ o เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนในองค์กรต่างๆเกิดความรักและความสามัคคีในหมู่คณะ o เพื่อส่งเสริมระบบคุณธรรม พัฒนาปัญญาภายในนาไปสู่การใช้ชีวิตของเด็กและเยาวชนในองค์กรต่าง ๆ o เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้สนับสนุนการเรียนรู้ประจาห้องเรียน (Learning Support Assistant) 4) ประโยชน์ที่ได้รับ o มีการขยายผลเพื่ อสร้ างองค์ กรเครื อข่ ายในด้ านการบริ การให้ ค าปรึ กษาและระบบดู แลนั กเรี ยน กั บ โรงเรี ย นเครื อข่ ายในเทศบาลนครเชี ยงรายและกั บหน่ ว ยงานภายนอกที่ มี การน ารู ปแบบ
79
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
การให้บริการผู้สนับสนุนการเรียนรู้ประจาห้องเรียน ( Learning Support Assistant) ไปใช้ เป็นแนวทางในการพัฒนางานบริการด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน o เป็ นการสร้ างความสั มพั นธ์ สร้ างวั ฒนธรรมการเรี ยนรู้ ส่ งเสริ มให้ มี ส่ วนร่ วมในการให้ บริ การ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ระบบดู แ ลช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย นที่ มี ค วามยั่ ง ยื น สร้ า งความสามั ค คี สั น ติ สุ ข และ ความสมานฉันท์ ภายใต้การใช้หลักปฏิบัติงานเข้าใจเข้าถึงและพัฒนา 5) ลักษณะเด่ นของโครงการนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ เทศบาลนครเชียงราย ได้มีการพัฒนานวัตกรรมเพื่อการบริการอย่างต่อเนื่องของผู้สนับสนุนการเรียนรู้ประจาห้องเรียนของ โรงเรี ย นเทศบาล 6 โดยลั ก ษณะเด่ น ของโครงการ คื อ มี ก ารขยายผลสร้า งองค์ ก รเครื อ ข่ า ยใน ด้า นการมีส่ วนร่ ว มของการบริ การให้ คาปรึกษาและระบบดู แลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนร่ว มกัน มี ก ารติ ด ต่ อ ประสานงานด้ า นความร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานภายนอกในการน ารู ป แบบการให้ บริการแบบมีผู้สนับสนุนการเรียนรู้ประจาห้องเรียนไปใช้เป็นแนวทางในการเสริมสร้างความสามัคคี สันติสุข และความสมานฉันท์ เพื่อให้เด็กและเยาวชนเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตสู่สังคมอุดมปัญญา โดยเกิดความร่วมมือ การท างานของภาคส่ ว นอื่ น ๆ เพื่ อสร้ างความสั นติ สุ ขและสมานฉั นท์ โดยผู้ ส นั บสนุ นการเรี ยนรู้ ประจาห้องเรียน 6) สรุปบทเรียน o เทศบาลนครเชียงราย ได้ระบุถึงการสารวจและการศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหาในพื้นที่ก่อนเริ่ม โครงการของกลุ่มเยาวชนเป้าหมายที่เกี่ยวข้องจากเครือข่ายหน่วยงานทั้ง ภายในและภายนอก เทศบาลนครเชี ย งรายที่ เ ข้า ร่ ว มโครงการ ตั ว อย่ า งเช่ น สภาพปัญ หาของมู ล นิธิ เ พื่ อ ชีวิ ต และ พั ฒ นาสั ง คมจั ง หวั ด เชี ย งราย พบว่ า เยาวชนมี ปั ญ หาความขั ด แย้ ง ภายในมู ล นิ ธิ ที่ เ กิ ด จาก ความแตกต่ า งทางชาติ พั น ธุ์ ต่ างวั ฒ นธรรมต่ า งสั ง คมท าให้ ก ระบวนความคิ ดและการสื่ อ สาร ไม่ ต รงกั น และไม่ ย อมรั บ ในความคิ ด เห็ น ของผู้ อื่ น จึ ง ท าให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง กลุ่ ม อยู่ เ สมอ กลุ่มเยาวชนเหล่านี้ยังไม่ได้รับการแก้ไขก็จะส่งผลกระทบขยายวงกว้างมากขึ้นแล้วอาจทาให้เกิด ปัญหาตามมาภายหลัง o เทศบาลนครเชียงรายอธิบายถึงการระดมความคิด เห็นจากผู้บริหารท้องถิ่นและกลุ่มเครือข่าย ในพื้น ที่ทั้ งหน่ ว ยงานภาครั ฐ และภาคีเ ครื อ ข่า ย โดยเชื่ อมโยงความร่ว มมือ ระหว่ า งโรงเรี ย น และองค์กรอื่นๆ ทางสังคม โดยระบุถึงเป้าหมายในการแก้ไขปัญหาของเครือข่ายหน่วยงานภายใน และภายนอกที่กาลังประสบปัญหาเยาวชนที่ต้องรับผิดชอบในองค์กรอย่างชัดเจน อีกทั้งมีการระบุ ถึงแผนการพัฒนาเพื่อต่อยอดและขยายผลไปสู่ความเป็นสังคมเมืองแห่งการศึกษา ด้วยการดาเนิน โครงการมหาวิท ยาลั ย วั ย ที่ ส ามขึ้ น โดยผู้ ส นั บ สนุ นการเรีย นรู้ ประจ าห้ องเรีย นท าหน้า ที่เ ป็ น จิ ต อาสาผู้ ส นั บ สนุ น ภาคประชาชน ในการจั ด การเรี ย นการสอนและขั บ เคลื่ อ นกิ จ กรรมตาม โครงการของมหาวิทยาลัยวัยที่สาม
80
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
o เทศบาลนครเชี ย งรายระบุ ก ลุ่ ม บุ ค คลที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งในโครงการอย่ า งชั ด เจนนั บ ตั้ ง แต่ การเริ่ ม ต้ น ไปสู่ ก ารปฏิ บั ติ ร วมไปถึ งการขั บเคลื่ อ นโครงการจากผู้ รั บ ประโยชน์จ ากโครงการ อย่างชัดเจน มีการดาเนินการจัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะทางานที่เป็นทางการซึ่งระบบถึงบทบาท และหน้ า ที่ ข องผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในภาคส่ ว นต่ า งๆ รวมทั้ ง มี ก ารท าบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ของโครงการระหว่างเทศบาลนครเชียงรายกับเครือข่ายหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง o มี แ ผนการถ่ า ยทอดองค์ ก ารและเผยแพร่ ไ ปสู่ ห น่ ว ยงานอื่ น ๆ ให้ ส ามารถน าไปปรั บ ใช้ เช่ น มีการเตรียมความพร้อมในเรื่องของการดาเนินการจัดทาหลักสูตรหรือคู่มือผู้สนับสนุน การเรียนรู้ ประจาห้องเรียน (Learning Support Assistant : LS) ที่เป็นทางการและสามารถเผยแพร่ขยาย ผลไปใช้งานได้จริงกับหน่วยงานอื่นๆ ที่มีความประสงค์นาไปปรับใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา การศึกษาต่อไป เป็นต้น
5.3 อปท. ที่ผ่านการประเมินรอบที่ 2 ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในปี 2560 มี อปท. จานวน 25 แห่งที่สมควรได้รับรางวัลพระปกเกล้าด้ านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม โดยเป็น อปท. ที่สมควรได้รับโล่รางวัลจานวน 12 แห่ง และใบประกาศ จานวน 13 แห่ง ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ก. อปท. ที่สมควรได้รับรางวัลพระปกเกล้าด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในปี 2560 ไม่ มี อบจ. ที่ ผ่ า นเกณฑ์ ไ ด้ รั บ โล่ รางวั ล ด้ า นเสริ มสร้ า งเครื อ ข่ า ยรั ฐ เอกชน และ ประชาสังคม มีเพียง อบจ. 2 แห่งที่สมควรได้รับใบประกาศ คือ (1) อบจ. สตูล และ (2) อบจ. สงขลา (ตารางที่ 22) สาหรับเทศบาล พบว่า มีเทศบาล 8 แห่งสมควรได้รับโล่รางวัล คือ (1) เทศบาลต้าบลเขาพระงาม (จ.ลพบุรี) (2) เทศบาลต้าบลบ้านแฮด (จ.ขอนแก่น) (3) เทศบาลต้าบลกระสัง (จ. บุรีรัมย์) (4) เทศบาล ต้าบลบ้านบึง (จ.ชลบุรี) (5) เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ (จ.กาฬสินธุ์) (6) เทศบาลต้าบลก้าแพง (จ.สตูล) (7) เทศบาลต้าบลป่าแดด (จ.เชียงใหม่) (8) เทศบาลต้าบลอุโมงค์ (จ.ล้าพูน) ส่วนเทศบาลที่สมควร ได้รับใบประกาศมี 6 แห่ง คือ (1) เทศบาลต้าบลป่าสัก (จ.ล้าพูน) (2) เทศบาลเมืองบึงยี่โถ (จ.ปทุมธานี) (3) เทศบาลเมื อ งมหาสารคาม (จ.มหาสารคาม) (4) เทศบาลต้า บลปลายพระยา (จ.กระบี่ ) (5) เทศบาลต้าบลท่าพระ (จ.ขอนแก่น) (6) เทศบาลต้าบลหัวนา (จ.หนองบัวล้าภู) (ตารางที่ 23) นอกจากนี้ ในบรรดา อบต. ที่ส่งใบสมัครเข้าประกวดในปี 2560 มี อบต. จานวน 4 แห่ง ที่สมควร ได้รับโล่รางวัล คือ (1) อบต.ข่วงเปา (จ.เชียงใหม่) (2) อบต. ยางขี้นก (จ.อุบลราชธานี) (3) อบต. พลับพลาไชย (จ.สมุทรสงคราม) (4) อบต.นาพู่ (จ.อุดรธานี) อบต. จานวน 5 แห่งสมควรได้รับใบประกาศ
81
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
คือ (1) อบต.บ้านทับ (จ.เชียงใหม่) (2) อบต. มะขามเตี้ย (จ.สุราษฎร์ธานี) (3) อบต.ร่องเคาะ (จ.ล้าปาง) (4) อบต. เสม็ดใต้ (จ.ฉะเชิงเทรา) (5) อบต.นาไม้ไผ่ (จ.นครศรีธรรมราช) (ตารางที่ 24) ข. กรณีศึกษา อปท. ที่สมควรได้รับโล่รางวัลด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ เทศบาลต้าบลเขาพระงาม จ.ลพบุรี 1) ชื่อโครงการ “ห้องเรียนจาลองเขยิบวัย” 2) เหตุผลและความส้า คัญ การลดความเหลื่อมล้าทางสั งคมและการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการ ของรั ฐ โดยการพั ฒ นาระบบการคุ้ ม ครองทางสั ง คม ระบบออมและระบบสวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนให้ มี ประสิทธิภาพและมีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการสงเคราะห์ผู้ยากไร้ตามอัตภาพ พัฒนาศักยภาพ คุ้ม ครองและพิทั ก ษ์สิ ทธิ การสร้ างสุ ข ภาพและความเป็ น อยู่ ที่ดี ซึ่ งเป็น เป้า หมายของการพัฒ นา อย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ และการให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน อปท. เอกชน และสถาบั น สั งคมอื่น ส่ งเสริ มความเข้มแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อให้ ชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรมของ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เทศบาลตาบลเขาพระงาม จึงได้มีการจัดโครงการห้องเรียนจาลอง “เขยิบวัย” ขึ้น โดยเป็นโครงการที่ต่อยอดเชิงบูรณาการ จากโครงการบ้ า นต้ น แบบสุ ข ภาวะและศู น ย์ พั ฒ นาชี วิ ต ผู้ สู ง อายุ แ บบครบวงจร และโครงการ เสริมสร้างเครือข่ายมิตรภาพบาบัดเพื่อพัฒนาศักยภาพของเด็กออทิสติกและด้อยโอกาสในชุมชน โดยมุ่งหวังให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้และสร้างจิตสานักเกี่ยวกับผู้สูงอายุจากสถานการณ์จาลอง อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ 3) วัตถุประสงค์ o เพื่อเตรียมการรับการเป็นสังคมผู้สูงอายุเต็มขั้นในอนาคต โดยการบรรจุเข้าไปในหลักสูตรของ สถานศึกษาในสังกัดเทศบาลตาบลเขาพระงาม o เพื่อสร้างจิตสานึกแก่เยาวชนในการเตรียมการรับมือกับสถานการณ์ในชุมชนของตนเอง o เพื่อผลิตผู้ดูแลและผู้ให้การพึ่งพิงที่มีทักษะและความรู้ในการดูแล โดยปรับทัศนคติในชุมชนให้ เน้ น การพึ่ ง พิ ง จากครอบครั ว ตนเองมากกว่ า การรอการช่ ว ยเหลื อ หรื อ ดู แ ลจากภาครั ฐ ซึ่ง จ าเป็ น ต้อ งผลิ ตผู้ ดูแ ลมือ ใหม่ ที่เ ป็น คนในครอบครั ว ให้ มีค วามรู้ มีทั ศนคติแ ละมี ทัก ษะใน การดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการได้อย่างถูกต้อง o เพื่อแก้ไขปัญหาความเข้าใจและปฏิสัมพันธ์ที่ไม่ดีระหว่างเด็กกับผู้สูงอายุและผู้พิการลดช่องว่าง ระหว่างวัยและความไม่เข้าใจกัน เพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดความรู้ เห็นอกเห็นใจผู้สูงอายุและ ผู้พิการมากขึ้น
82
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ตารางที่ 22 ผลการประเมินโครงการรางวัลพระปกเกล้าส้าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็น เลิศ ประจ้าปี 2560 (รางวั ลความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ ประชาชน และประชาสัง
83
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒ ตารางที่
23 ผลการประเมินโครงการรางวัลพระปกเกล้าส้าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศ
ความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรั ฐ ประชาชน และประชาสังคม)
84
ประจ้าปี 2560 (รางวัล
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ตารางที่ 24 ผลการประเมินโครงการรางวัลพระปกเกล้าส้าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็น เลิศ ประจ้าปี 2560 (รางวัลความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ ประชาชน และประชาสังคม)
85
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
4) แผนด้าเนินงาน o จัดประชุมระดมคมการมีส่วนร่วมของประชาชนในทุกภาคส่วน เพื่อร่วมกันแสดงความคิดเห็นและ วางแผน o มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน o ออกแบบนวัตกรรมการจัดทาหลักสูตรเขยิบวัยเพื่อใช้ในการเรียนการสอน o สร้างจิตสานึกผู้เรียนโดยใช้สมุดบันทึกความดี เรียงความ การวาดภาพ o ทดลองใช้หลักสูตรเขยิบวัย o สร้างแกนนาในการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการได้ o วัดผลประเมินผลสรุปโครงการ 5) ประโยชน์ที่ได้รับ o เป็นการเตรียมการรับการเป็นสังคมผู้สูงอายุเต็มขั้นในอนาคต o เป็นการสร้างจิตสานึกแก่เยาวชนในการเตรียมการรับมือกับสถานการณ์ในชุมชนของตนเอง o เป็นการสร้างความเข้าใจและปฏิสัมพันธ์ที่ไม่ดีระหว่างเด็กกับผู้สูงอายุและผู้พิการ o สร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน 6) ลักษณะเด่นของโครงการนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ o นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เช่น ชุดอุปกรณ์จาลองเสมือนแก่ o มีสื่อสาหรับเผยแพร่องค์ความรู้อย่างเป็นรูปธรรม เช่น เล่มการถอดบทเรียน “นวัตกรรมเขยิบวัย” o การมีเครือข่ายการทางานที่หลากหลายและเป็นระบบ เช่น สานักงานสาธารณสุขจังหวัดลพบุรี, ชมรมผู้สูงอายุ, คณะกรรมการสถานศึกษา, โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช ฯลฯ o เป็นโครงการต่อยอดจากโครงการบ้านต้นแบบสุขภาวะและศูนย์พัฒนาชีวิตผู้สูงอายุแบบครบวงจร และโครงการเสริมสร้างเครือข่ายมิตรภาพบาบัดเพื่อพัฒนาศักยภาพของเด็กออทิสติกและด้อย โอกาสในชุมชน o การเป็นทางานบนพื้นฐานของศาสตร์การวิจัย 7) สรุปบทเรียน o การส่งเสริมการเรียนรู้ของคนในชุมชนเป็นงานพัฒนาที่ยั่งยืน นวัตกรรมเขยิบวัยเป็นนวัตกรรมที่ ส่งเสริมการเรียนรู้ของคนในชุมชน ซึ่งมีความสาคัญไม่ต่างกับการจัดบริการสาธารณะแก่ชุมชนแต่ เทศบาลส่วนใหญ่อาจมองข้ามเรื่องการส่งเสริมการเรียนรู้แต่ไปส่งเสริมการจัดบริการสาธารณะ รูปแบบอื่น ซึ่งการส่งเสริมการเรียนรู้จะทาให้ประชาชนเข้าใจและสามารถพึ่งตนเองได้อย่างเข็ม แข็งและยั่งยืน โดยโครงการห้องเรียนจาลองเขยิบวัยนี้ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เป็นกระบวนการ ใหม่ที่ทาให้คนในชุมชนเข้าถึงได้ง่ายและสนุกจากการเรียนรู้ไปพร้อมๆกกับการได้รับประโยชน์ o การป้องกันปัญหาและเตรียมความพร้อมในการรองรับสังคมผู้สูงอายุ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดย การสร้างความรู้ความเข้าใจ ความตระหนัก และจิตสานึกที่ดีการดูแลผู้สูงอายุให้แก่เด็กและ เยาวชนอย่างเป็นระบบ
86
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ จ.กาฬสินธุ์ 1) ชื่อโครงการ “โครงการความร่วมมือเพื่อการคุ้มครองเด็กและผู้ด้อยโอกาส” 2) เหตุ ผลและความส้า คัญ การลดความเหลี่ ยมล้ าและสร้างความเท่าเทียมเป็นความท้าทายใน การขับเคลื่อนงานพัฒนาที่ยากจะแก้ไขปัญหาโดยหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง ดังนั้น การร่วมกันแก้ไข ปั ญ หาโดยที ม งานสหวิ ช าชี พ เพื่ อ ลดความเหลื่ อ มล้ าสร้ า งความเท่ า เที ย มโดยเฉพาะในเด็ ก และ ผู้ด้อยโอกาสในสังคมที่มีการพบปะหารือค้นหาและดาเนินการแก้ไขเยียวยาให้ผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากปั ญ หาความเหลื่ อ มล้ าและความไม่ เ ท่ า เที ย มกั น ในสั ง คมให้ มี ปั จ จั ย ขั้ น พื้ น ฐานที่ เ หมาะสม โดยทุก ภาคส่ ว นมี ส่ ว นร่ ว มในการท างาน ปัญ หาความเหลี่ อ มล้ าในสั ง คมเป็น ปัญ หาระดั บชาติ ที่ จะต้ อ งร่ ว มกั น แก้ไ ขเพื่ อ ลดช่ อ งว่ างลงให้ มีน้ อ ยที่ สุ ด โดยหน่ ว ยงานในระดั บพื้ น ที่ จ ะเป็ น ผู้ ที่ พ บ สภาพปัญหาได้ดีที่สุด ดังนั้น กลไกการแก้ไขปัญหาระดับพื้นที่จึงมีความสาคัญอันดับแรกที่หน่วยงาน ภาครั ฐ และภาคประชาสั งคมต้องร่ว มกั นแก้ไ ขปัญหา โดยไม่ม องว่ าเป็น ปัญหาของหน่ว ยงานใด หน่วยงานหนึ่ง ซึ่งหากไม่ได้รับการแก้ไขอาจเป็นสาเหตุของปัญหาความขัดแย้งและความเดือดร้อน ของประชาชน ดังนั้ น เทศบาลเมืองกาฬสิ นธุ์ และภาคีเ ครือข่ายจึงได้ให้ ความช่ว ยเหลื อเด็กและ ผู้ด้อยโอกาสในสังคม ได้แก่ คนเร่ร่อน คนไร้บ้าน ได้รับความช่วยเหลือ เยียวยา จัดสวัสดิการสังคมที่ เหมาะสมให้กับ กลุ่ มคนเหล่ านั้ น เพื่อเป็นการลดความเหลี่ อมล้ าทางสั งคมลงในระดับหนึ่ง ซึ่งหาก หน่วยงานไม่ ร่วมมือกันแก้ไขปัญหาร่วมกันแล้ว จะส่งผลต่อปัญหาที่อาจจะลุกลามเพิ่มขึ้นจนแก้ไข ได้ยาก ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลการคุ้ม ครองเด็กและผู้ด้อยโอกาสในสังคมเป็นโครงการที่ เทศบาลเมื อ งกาฬสิ น ธุ์ ด าเนิ น การเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายรั ฐ บาลในข้ อ ที่ 3 การลด ความเหลื่อมล้าของสังคมและการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ 3) วัตถุประสงค์ o เพื่อคุ้มครองเด็กและผู้ด้อยโอกาสในเขตเทศบาล o เพื่อลดความเหลื่อมล้าในสังคมเขตเทศบาล o เพื่อให้เด็กและผู้ด้อยโอกาสในเขตเทศบาลมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 4) ประโยชน์ที่ได้รับ o เกิดระบบและกลไกการคุ้มครองเด็กและผู้ด้อยโอกาสในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ o ลดความเหลื่อมล้าในสังคมเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ได้ดีขึ้นจากเดิม o เด็กและผู้ด้อยโอกาสในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากเดิม 5) ลักษณะเด่นของโครงการนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ o ผู้บริหาร อปท. ให้ความสาคัญในการแก้ไขและพัฒนา o มีความสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ซึ่งกาหนดให้ปัญหาความเหลื่อมล้าเป็นวาระแห่งชาติ o มีการบันทึกข้อตกลงร่ว มกัน (MOU) ระหว่างองค์กรปกครองท้องถิ่น และภาคประชาสังคม โดยในบันทึกข้อตกได้ให้ความสาคัญกับการมีระบบและกลไกการทางานให้เป็นรูปธรรม
87
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
o มีผู้นาชุมชนที่เข้มแข็ง มีความสามารถในการประสานความร่วมมือทั้งในระดับบุคคลและระดับ องค์กร o มีก ารพั ฒ นาต่ อ ยอดสู่ กิ จ กรรมใหม่ ๆ ได้ แ ก่ การเชื่ อ มโยงกั บกิ จ กรรมการน าแนวคิ ด ปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชุมชน ดังจะเห็นได้จากมีการเลี้ยงไก่พันธ์ไข่ เลี้ยงปลา ปลูกผัก เพาะเห็ด โดยจะมีเจ้าหน้าที่คอยเป็นพี่เลี้ยงให้แต่ละครับครัวในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ o เป็นโครงการที่ตรงกับความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นเป็นต้นทุน o มีการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังความรุนแรงต่อเด็กและผู้ด้อยโอกาส o มีการจัดทาฐานข้อมูลเด็กและผู้ด้อยโอกาสไว้เบื้องต้น o สนับสนุนกระบวนการค้นหาแกนนาชุมชน o องค์ กรปกครองส่ ว นท้ องถิ่ น สนั บสนุ นงบประมาณในการจั ดหาสถานที่ วัส ดุ อุป กรณ์ จัด จ้ า ง บุคลากร เพื่อจัดหรือเสริมบริการสุขภาพครอบคลุมการดูแลกลุ่มเป้าหมายตามปัญหาในพื้นที่ o มีก ารสนั บ สนุ น กระบวนการค้ น หาแกนน าจิ ต อาสาและพั ฒ นาศั ก ยภาพ ให้ ส ามารถเข้ า ร่ ว ม ให้บริการสุขภาพได้ 6) สรุปบทเรียน o มีการริเริ่มความร่วมมือร่วมกัน กล่าวคือ ที่มาของโครงการมาจากการระดมความคิดเห็นของ ผู้บริหารท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย โดยเฉพาะเครือข่ายภาคประชาสังคม o มีเป้าหมายของการทางานร่วมกันที่ชัดเจนเพื่อช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส o ผู้บริหารเทศบาลต้องมีภาวะผู้นา มีความสามารถในการเจรจา (Negotiation) ปฏิบัติงานด้วย ความยืดหยุ่น (Flexibility) สามารถสร้างความไว้วางใจ (Trust) แก่สมาชิกชุมชนท้องถิ่นได้ และต้องความสามารถในการการประสานงานระดับบุคคลและองค์กร o มีกิจกรรมในโครงการที่หลากหลายและสอดคล้องกับเป้าหมายในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา o มีการใช้หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ในการทางาน ซึ่งเป็นเทคนิคหรือเครื่องมือ การบริหารเชิงกลยุทธ์ที่เป็นสากลและทันสมัย o มีแนวทางการติดตามและประเมินผลอย่างเป็นรูปธรรม o มีการนาผลการติดตามและประเมินผลโครงการไปปรับปรุงและพัฒนาโครงการในระยะต่อไป อย่างเป็นรูปธรรม
88
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
เทศบาลต้าบลกระสัง จ.บุรีรัมย์ 1) ชื่อโครงการ “โครงการรณรงค์ลดพลังงานในชุมชน” 2) เหตุ ผ ลและความส้ า คั ญ โครงการรณรงค์ ล ดพลั ง งานในชุ ม ชนเป็ น การปลู ก จิ ต ส านึ ก และร่ ว ม บูรณาการทางานระหว่างภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนร่วมมือกันใช้พลังงานทุกประเภทอย่างประหยัด และถูกต้อง ส่งเสริม และสนับสนุนให้ประชาชนเห็นคุณค่าและความสาคัญของการใช้พลังงาน สร้างการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการลดพลังงาน และใช้พลังงานอย่างประหยัด มีประสิทธิภาพ และส่งผลดีต่อการรักษา สภาพแวดล้ อ มของชุม ชนให้ น่ าอยู่ ยิ่งขึ้ น อย่างไรก็ตาม การประหยัดไฟฟ้ า และพลั ง งานนั้น เป็ น เรื่องที่ทุกคนควรร่วมมื อกันทาเป็นปกติอยู่แล้วในทุกวัน ไม่ใช่เพียงการประหยัดแค่เฉพาะช่วงที่เกิด เหตุฉุกเฉิน 3) วัตถุประสงค์ o เพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ กลุ่มอาชีพ คณะกรรมการชุมชน อสม. อาสาสมัครลดพลังงานใน ชุมชน ผู้ด้อยโอกาสทางสังคมและประชาชนเห็นคุณค่าและความสาคัญของการลดพลังงานใน ชุมชนอย่างถูกต้อง ประหยัด โดยสามารถนาวัสดุอื่นมาปรับใช้ใหม่หรือใช้วัสดุทดแทน o เพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ กลุ่มอาชีพ คณะกรรมการชุมชน อสม. อาสาสมัครลดพลังงานใน ชุมชน ผู้ด้อยโอกาสทางสังคมและประชาชนรักษาสิ่งแวดล้อมซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้พลังงาน o เพื่อเป็นการบูรณาการทางานร่วมกันทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรการกุศล และประชาชน เพื่อให้ ตระหนักถึงความสาคัญของการใช้พลังงานอย่างมีคุณค่าและสามารถใช้ได้ยาวนาน 4) ลักษณะเด่นของโครงการนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ o มีการพัฒนาต่ อยอด/ออกแบบพัฒนาใหม่ เช่น การใช้พลังงานทดแทนด้วยระบบโซล่ าเซลล์เพื่อ ประหยัดการใช้ไฟฟ้า มีการสูบน้าเสียมารดน้าต้นไม้ด้วยระบบโซล่าเซลล์ การปลูกต้นไม้ในชุมชน และสถานที่ราชการเพื่อสร้างพื้นที่สีเขียวและลดโลกร้อน การรณรงค์ปั่นจักรยานพลังงานสะอาด การลดและคัดแยกขยะจากครัวเรือน การใช้วัสดุธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชนและใช้ผลิตภัณฑ์เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม การใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทน o มีการประชาสั ม พัน ธ์และบู ร ณาการทางานร่ว มกั นทั้ง ภาครัฐ เอกชน และประชาสั ง คมอย่า ง ต่อเนื่องและสม่าเสมอ o ประชาชนในเขตเทศบาลตาบลกระสั ง เกิด ความตระหนัก และส านึ กถึ งประโยชน์ ของการลด พลังงานที่ถูกต้อง ประหยัด และใช้เท่าที่จาเป็น มีการรณรงค์ลดการใช้ไฟฟ้า น้าประปา ลดการใช้ ถุ ง พลาสติ ก รู้ คุ ณ ค่ า ของขยะที่ ส ามารถน ามารี ไ ซเคิ ล และจ าหน่ า ยได้ การใช้ จั ก รยานแทน จักรยานยนต์เพื่อลดน้ามันและมลพิษ รวมทั้งใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิด ประโยชน์กับตนเอง ชุมชน และสังคม
89
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
5) สรุปบทเรียน โครงการรณรงค์ลดพลังงานในชุมชน เทศบาลตาบลกระสังมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ เด็ก เยาวชน ผู้ สู งอายุ กลุ่ มอาชีพ คณะกรรมการชุม ชน อสม. อาสาสมัค รลดพลั งงานในชุมชน ผู้ด้อยโอกาสทางสังคมและประชาชนเห็นคุณ ค่าและความสาคัญของการลดพลังงานในชุมชน รู้จักใช้ พลังงานอย่างถูกต้อง ประหยัด โดยสามารถนาวัสดุอื่นมาปรับใช้ใหม่หรือใช้วัสดุทดแทน สอดคล้อง กั บ นวั ต กรรมธรรมาภิ บ าล คื อ (1) ความสมานฉั น ท์ ป รองดองซึ่ ง การจั ด กิ จ กรรมโครงการเป็ น การบูรณาการทางานร่วมกันทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาสังคม ก่อให้เกิดภาคีเครือข่ายทางาน ร่วมกันด้วยความรัก ความเข้าใจ ความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจดาเนินกิจกรรมเพื่อสร้างความเข้มแข็ง และขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่อย่างยั่งยืน และ (2) การลดความเหลื่อมล้าทางสังคมโดยเปิดโอกาส ให้ทุกคนในชุมชนร่วมกันลดการใช้พลังงาน เทศบาลต้าบลก้าแพง จ.สตูล 1) ชื่อโครงการ “เครือข่ายพัฒนาการบริหารศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยแบบครบวงจร” 2) เหตุ ผ ลและความส้ า คั ญ เทศบาลต าบลก าแพงจั ด การขยะมู ล ฝอยที่ ไ ม่ ถู ก สุ ข ลั ก ษณะซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มรอบข้ า ง ส่ ง กลิ่ น รบกวนเป็ น แหล่ ง เพาะพั น ธุ์ แ ละแพร่ เ ชื้ อ โรคและ อาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในด้านอื่นๆ เช่น แหล่งน้าใต้ดิน เป็นต้น เทศบาลตาบลกาแพงจึงจัด ประชุม หารื อ และลงนามบั น ทึ ก ข้ อตกลงความร่ ว มมื อ กั บ อปท. อื่น จ านวน 19 แห่ ง เพื่ อ ดาเนิ น การศึกษา ความเหมาะสมและออกแบบระบบกาจัดขยะมูลฝอยและจัดทาโครงการของบประมาณ สนับสนุน ผ่านแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด 3) วัตถุประสงค์ o เพื่อบริหารศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยแบบครบวงจรอย่างมีประสิทธิภาพ o เพื่อป้องกัน ปั ญหาสิ่งแวดล้ อมที่จะส่ งผลกระทบแก่ประชาชนบริเวณใกล้เคียงและภาพลั กษณ์ ของเมือง o เพื่อให้ศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยแบบครบวงจรสามารถรองรับขยะมูลฝอยเพียงพอในอนาคต 4) กิจกรรมหลักและทรัพยากรที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม o ศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลใช้งบประมาณในการก่อสร้าง 215,590,000 บาท โดยได้รับ งบประมาณสนับสนุนจากสานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม o จั ดทาบั น ทึกข้อ ตกลงร่ ว ม (MOU) ใหม่ และกาหนดเงื่อ นไขเพิ่มเติม ให้ ท้องถิ่นที่มาร่ว มใช้ ศู น ย์ ก าจั ด ขยะด าเนิ น กิ จ กรรมลด คั ด แยก และน าขยะกลั บ มาใช้ ป ระโยชน์ ตั้ ง แต่ ต้ น ทาง และกาหนดรายละเอีย ดเพิ่มเติ มในสั ญญาเกี่ยวกับการว่าจ้างรถเก็บขนขยะให้ มีกิจกรรม ลด คัดแยกขยะก่อนนามาทิ้ง
90
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
o เทศบาลได้ประชุมปรึกษาหารือการแบ่งกลุ่มพื้นที่ที่รองรับตั้งศูนย์กาจัดขยะมูลฝอย จ.สตูล โดย เทศบาลเป็นแกนนาทาบันทึกข้อตกลงการจัดตั้งศูนย์ฯร่ว มกับอปท.ในอาเภอละงู และอาเภอ ใกล้เคียง 5) ประโยชน์ที่ได้รับ o เกิ ด ศู น ย์ ก าจั ด ขยะมู ล ฝอยแบบครบวงจรที่ ส ามารถด าเนิ น งานได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ รองรับขยะมูลฝอยได้อย่างเพียงพอ o ลดปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มที่ จ ะส่ ง ผลกระทบแก่ ป ระชาชนบริ เ วณใกล้ เ คี ย งและส่ ง ผลกระทบ ภาพลักษณ์ของเมือง o ก่อให้เกิดรายได้และสร้างอาชีพในการกาจัดขยะมูลฝอยแบบครบวงจรของเทศบาลตาบลกาแพง 6) ลักษณะเด่นของโครงการฯนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ การบูรณาการการทางาน ร่ ว มกั น ทั้ ง ภาครั ฐ เอกชนและภาคประชาสั ง คมในการก าจั ด ขยะมู ล ฝอยและสิ่ ง ปฏิ กู ล แบบ ครบวงจร ประกอบไปด้วย ระบบคัดแยกมูลฝอย ระบบหมักมูลฝอยทาปุ๋ย บ่อฝังกลบมูลฝอยและ ระบบบาบัด น้าชะมูลฝอย 7) สรุปบทเรียน การจัดตั้งศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยแบบครบวงจรสามารถกาจัดขยะจากภาคส่วนต่างๆ ก่ อ ให้ เ กิ ด การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชนและเกิ ด การบู ร ณาการระบบจั ด บริ ก ารสาธารณะใน การจัดการขยะมูลฝอยร่วมกั นระหว่าง อปท. ในพื้นที่เสริมสร้างกระบวนการลดคัดแยกขยะมูลฝอย เพื่อนากลับมาใช้ประโยชน์ และเป็นการเพิ่มมูลค่าอีกทางหนึ่ง ตลอดจนสร้างรายได้ให้แก่ครัวเรือน ชุมชน และท้องถิ่น ประกอบกั บยังมีก ารกาหนดแนวทางในการขยายผลในอนาคตเพื่อสร้ า ง เครือข่ายหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชนและภาคประชาสังคมอย่างยั่งยืน เทศบาลต้าบลบ้านแฮด จ.ขอนแก่น 1) ชื่ อ โครงการ “โครงการสร้ า งเครื อ ข่ า ยการมี ส่ ว นร่ ว มจั ด การต าบลสุ ข ภาวะสู่ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น เข้มแข็ง” 2) เหตุ ผ ลและความส้ า คั ญ เทศบาลต าบลบ้ า นแฮดขั บ เคลื่ อ นโครงการโครงการสร้ า งเครื อ ข่ า ย การมีส่วนร่วมจัดการตาบลสุขภาวะสู่ชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็งของตาบลบ้านแฮดเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในพื้นที่ตาบลบ้านแฮดและนาไปสู่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับตาบลอื่นในเครือข่าย ซึ่งเป็นรูปแบบของเทศบาลตาบลบ้านแฮดในการดาเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ รวมไปถึง การจั ดการควบคุ มดู แลกิ จ การโดยยึด หลั กธรรมาภิบาลในการพัฒ นาชุ มชนอย่ างเป็นระบบด้ว ย การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาของชุมชน การสร้างแกนนาหลักสร้างเครือข่าย การสร้างองค์ความรู้จากกระบวนการเรียนรู้ ผ่านกลุ่มชุมชนต่างๆ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของ ชุมชน การดูงานทั้งในพื้น ที่และข้ามพื้นที่เพื่อให้ เกิดทักษะ ความช านาญ และจิตส านึก ในชุมชน ท้องถิ่นของตนเอง รวมถึงการค้นหาจิตอาสาเพื่อทางานให้บริการแก่ประชาชนร่วมกับเทศบาล
91
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
3) วัตถุประสงค์ o เพื่อใช้ทุน และศักยภาพของชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาวะของประชาชนในเขตเทศบาลโดย ส่งเสริ มการรวมกลุ่ ม ให้ มีการถ่ายทอดแลกเปลี่ ยนความรู้ร่ว มกัน มีการพัฒ นาแหล่ งเรียนรู้ ใน ชุมชนให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบกับหมู่บ้านอื่นๆ และต่อยอดนวัตกรรมการเรียนรู้ของ ชุมชน o เพื่ อ บู ร ณาการความร่ ว มมื อ ของชุ ม ชนในการลดปั จ จั ยเสี่ ย งและปั จ จัย ที่ ส่ ง เสริ ม สุ ขภาพจาก การดาเนินการวิจัยชุมชนและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ส่งผลให้คนในชุมชนมีสุขภาพดี ผ่านกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การพัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การเฝ้าระวังตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การพัฒนาเด็กปฐมวัย การสร้างเสริมสุขภาพในโรงเรียน การดูแลผู้พิการ ผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส และการจัดการสิ่งแวดล้อม 4) ประโยชน์ที่ได้รับ o เพิ่มขีดความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของเทศบาลต้าบลบ้านแฮด มุ่งเน้นการสนับสนุน และเสริมสร้างศักยภาพเทศบาลตาบลบ้านแฮด ให้มีความพร้อมในการทาหน้าที่เป็น “ศูนย์เรียนรู้ ด้านการจัดการสุขภาวะชุมชน” และเป็นกลไกขับเคลื่ อนเครือข่าย โดยการพัฒนาระบบข้อมูล ตาบล ยกระดับ ทุน ทางสั งคมให้ เป็นแหล่งเรียนรู้ และเพิ่มขีดความสามารถผู้ นาและวิทยากร ชุมชนอย่างเป็นระบบสาหรับนาใช้เป็นฐานการเรีย นรู้สาหรับ อปท. และเครือข่ายอื่นๆ รวมทั้ง ศักยภาพในการให้คาปรึกษาแก่ผู้นาหรือแกนนาในตาบลเครือข่าย o การสนั บ สนุ น การพั ฒ นาระบบการจั ด การตนเองและการจั ด การเครื อ ข่ า ย มุ่ ง สนั บ สนุ น และเสริ ม ศั ก ยภาพของเครื อ ข่ า ยจั ด การสุ ข ภาวะชุ ม ชนเพื่ อ ก าหนดประเด็ น ขั บ เคลื่ อ น นโยบายสาธารณะในระดับพื้ นที่และเครือข่าย ได้แก่ การจัดการเชิงพื้นที่ การลดปัจจัยเสี่ยงทาง สุ ข ภาพและปั จ จั ย ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ การผลิ ต และพั ฒ นาสื่ อ สาธารณะน าใช้ ใ นการเผยแพร่ การพัฒ นาแหล่ งเรีย นรู้ ที่ ส ามารถขยายผลยังพื้นที่อื่น จนเกิดเป็นเครือข่ายชุมชนท้องถิ่น เพื่อ สุขภาวะ o พัฒนาศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเครือข่าย มุ่งเน้นให้เทศบาลตาบลบ้านแฮดและ อปท. ภายในเครื อ ข่ า ยมี ก ารท างานร่ ว มกั น ในลั ก ษณะเพื่ อ นช่ ว ยเพื่ อ น โดยการเที ย บเคี ย ง ประสบการณ์ในการจัดการพื้นที่ของเทศบาลตาบลบ้านแฮด เพื่อให้ อปท. อื่นเกิดแรงบันดาลใจ สามารถปรับวิธีคิด และนาความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ร่วมกันไปประยุกต์และปรับใช้ในพื้นที่บน ฐานของทุนทางสังคมและศักยภาพของแต่ละท้องถิ่ นและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อเสริมสร้าง ศักยภาพให้แก่ อปท. ภายในเครือข่ายจนเกิดเป็นเครือข่ายชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง 5) ลักษณะเด่นของโครงการและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ o กลไกการบริ ห ารจั ด การพื้ น ที่ เน้ น การท างานแบบมี ส่ ว นร่ ว มของเจ้ า หน้ า ที่ ภาคี เ ครื อ ข่ า ย ประชาชน ทาให้ เ กิดความรั กสามัคคี เกิดจิตอาสาในการดาเนินงาน ปลู กจิตส านึกให้ รู้สึ กถึ ง ความเป็นเจ้ าของ ร่วมคิดร่วมสร้าง แสดงความคิดเห็น หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน
92
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
มีการประชุมอย่างสม่าเสมอ ทบทวนการทางาน ติดตามงานเป็นประจาและได้มีการการจัดเตรียม พืน้ ที่ในการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่าย“รับรุ่น” ในแต่ละรุ่น o การพัฒ นาหลั กสู ต รการเรี ย นรู้ สร้า งความรั บผิ ด ชอบเพื่อ ให้ ผู้ ที่ รับ ผิ ด ชอบได้เ ข้า ใจบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของตัวเอง มีการปรับปรุงพัฒนาแหล่งเรียนรู้เพื่อให้เกิดความเหมาะสม ประชุมวางแผนแก้ไขปัญหา และปรับปรุงหลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และวิทยากรภายในชุมชนให้ มีคุณภาพเพิ่มขึ้นก่อนที่เครือข่ายจะเข้ามาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรุ่นต่อไป 6) สรุ ปบทเรี ยน ศูน ย์ จั ดการเครื อข่ายสุ ขภาวะชุมชนเทศบาลตาบลบ้านแฮดได้ดาเนินโครงการ สร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมจัดการตาบลสุขภาวะสู่ชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็ง โดยใช้ทุนและศักยภาพ ที่มีตามแหล่งเรียนโดยบุ คลากรขององค์กรเทศบาล ผู้นาชุมชน ภาคีเครือข่ายและภาคประชาชน จนท าให้ แ นวคิ ด การขั บ เคลื่ อ นต าบลสุ ข ภาวะได้ รั บ การถ่ า ยทอดไปยั ง ทุ ก ภาคส่ ว นและเกิ ด ความร่วมมือของภาคีเครือข่ายในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน เทศบาลต้าบลป่าแดด จ.เชียงใหม่ 1) ชื่ อ โครงการ “โครงการค้ น หาติ ด ตามเยี่ ย มหญิ ง ตั้ ง ครรภ์ แ ละหลั ง คลอดในเขตเทศบาลต าบล ป่าแดด” 2) เหตุผลและความส้าคัญ ประชาชนส่วนใหญ่ ในเทศบาลตาบลป่าแดดมีอาชีพรับจ้าง โดยเฉพาะ ผู้ห ญิงส่ ว นมากประกอบอาชีพรั บจ้างและทางานนอกบ้า นทาให้ ไม่ค่อยมีเวลาดูแลสุ ขภาพ เมื่อมี การตั้งครรภ์มักจะมีปัญหาในการฝากครรภ์ช้าหลัง 12 สัปดาห์ตามเกณฑ์ และปัญหาเมื่อถึงกาหนด คลอดส่วนมากก็มักจะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในระยะเวลาสั้นๆ หรือเลี้ยงนมแม่พร้อมนมผสมหรือข้าว หรื อ กล้ ว ยไปพร้ อ มกั น โดยไม่ รู้ วิ ธี เก็ บ นมแม่ ไ ว้ใ ห้ ลู ก ดื่ ม ซึ่ง จะส่ ง ผลทาให้ เ กิ ด ปั ญหาท าให้ ลู ก มี สุขภาพไม่แข็งแรง เจ็บป่วยง่าย และส่งผลต่อปัญหาอื่นตามมา 3) วัต ถุประสงค์ เพื่อส่ งเสริ มสนับ สนุนหญิงตั้ง ครรภ์และหญิงหลังคลอดได้รับการติ ด ตามเยี่ยมดูแล จากกลุ่มสายใยรั ก และส่ งเสริมให้หญิงหลั งคลอดให้น มลูกอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน มีระบบ ติดตาม ช่วยเหลือ ดูแล และครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กจนอายุครบ 2 ปี ซึ่งทางเทศบาลมี ศูนย์เด็กเล็กต้นแบบรองรับสาหรับการเรียนรู้ 4) กิจกรรมหลักและทรัพยากรที่ใ ช้ใ นแต่ละกิจกรรม กิจกรรมเสวนาสั ญจรจานวน 4 ครั้งต่อปี โดยมี เ ป้ า หมายให้ ห ญิ ง ตั้ ง ครรภ์ แ ละหญิ ง หลั ง คลอดตั ว อย่ า งร่ ว มแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น และจัดกิจกรรมมอบในประกาศเกียรติคุณแก่แม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวซึ่ งกิจกรรมทั้งหมด ของกลุ่ มสายใยรั ก จะดาเนิน การตั้งแต่พบเมื่อตั้ งครรภ์จนถึงคลอด เลี้ยงลู กด้ว ยนมแม่อย่างเดียว จนถึงอายุ 2 ปี โดยทางกลุ่มจะมีแผนการประเมินและติดตามผลงานดาเนินงานในแต่ละช่วงอายุ 5) ประโยชน์ที่ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ ที่ ได้ รับจากโครงการนี้ คือ ทาให้ เ กิด พลั ง มวลชน ภาคีเ ครือ ข่า ย ในการมีส่วนร่วมดูแลกลุ่มเป้าหมายทาให้สร้างชื่อเสียงให้แก่ตาบลป่าแดด ในฐานะ “ตาบลนมแม่” ซึ่ ง ได้ รั บ การตอบรั บ และยอมรั บ จากคุ ณ แม่ ที่ อ าศั ย อยู่ ใ นเขตเทศบาลต าบลป่ า แดดเกื อ บ
93
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
ทุกครอบครัว โดยการส่งเสริม สนับสนุนให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนอย่างเดียวสาเร็จ ติดเป็นร้อยละ 94 และเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 100 6) ลักษณะเด่นของโครงการนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ โครงการนี้ช่วยส่งเสริมให้ แม่ ใ นยุ ค ปั จ จุ บั น ที่ ท างานนอกบ้ า น ไม่ มี เ วลาให้ ค วามส าคั ญ การเลี้ ย งลู ก ด้ ว ยนมแม่ ต ามหลั ก อย่างน้อย 6 เดือน ได้เห็น ถึงความสาคัญของนมแม่มากขึ้น โดยการดาเนินงานของโครงการมี กลุ่มสายใยรักครอบครัวตาบลป่าแดดเป็นแกนนาในการส่งเสริมและสนับสนุนให้กับคุณแม่ที่อาศัย ในตาบลทั้งหมดหันมาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และส่งผลทาให้เด็กมีพัฒนาการที่สมวัย 7) สรุปบทเรียน โครงการภายใต้การดาเนินการของกลุ่มสายใยรักในพื้นที่ของเทศบาลตาบลป่าแดด ได้อาศัยความร่วมมือกับเครือข่ายอื่นๆ ได้แก่ 1) ภาครัฐ คือ เทศบาลตาบลป่าแดด ในฐานะพี่เลี้ยงใน ยุคเริ่มต้นกลุ่มที่จะมีหน้าที่ให้ความรู้ในเรื่องของนมแม่ การดูแลทารก เด็กเล็ก ฯลฯ และช่วยติดตาม ผลร่ ว มกั บ กลุ่ ม สายใยรั ก 2) รพ.สต. โรงพยาบาลแม่ แ ละเด็ ก แมคเคนที่ ส นั บ สนุ น องค์ ค วามรู้ การฝึ ก อบรมเรื่ องของนมแม่ต่ อ สมาชิ ก กลุ่ ม สายใยรัก 3) โรงเรีย นในเขตเทศบาลต าบลป่ าแดด ร่วมดาเนินกิจกรรมและส่งเสริมการทางานกลุ่มสายใยรัก เช่น การจัดกิจกรรมน้านมแม่ในโรงเรียน การจัดบอร์ดเพิ่มความรู้ต่อผู้ปกครองเรื่องนมแม่ นักเรียนในระดับมัธยมร่วมลงพื้นที่กับกลุ่ม สายใยรัก และ อสม. ติ ด ตามประเมิ น แม่ แ ละเด็ ก ในโครงการ เป็ น ต้ น 4) ภาคเอกชนให้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ กลุ่มสายใยรัก เช่น ร้านค้าในเขตเทศบาลจะไม่นานมผงมาขาย หรืองดขายให้กั บแม่ที่มีทารกหรือ ภาคเอกชนขนาดใหญ่ ใ นพื้ น ที่ ไ ด้ ส นั บ สนุ น การให้ น มแม่ แ ก่ ท ารก โดยจั ด มุ ม ให้ น มแม่ ใ น สถานประกอบการ และสนับสนุนอุปกรณ์ต่อเทศบาลและกลุ่มสายใยรัก เทศบาลต้าบลอุโมงค์ จ.ล้าพูน 1) ชื่อโครงการ “โครงการอาสาปันสุขตาบลอุโมงค์” 2) เหตุ ผลและความส้า คัญ โครงการ “อาสาปันสุ ขตาบลอุโ มงค์ ” เป็นการดาเนินกิจกรรมเพื่ อ ยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สู งอายุและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ของเทศบาล เนื่องจากตาบลอุโ มงค์ มี กลุ่ ม ผู้ สู ง อายุ ผู้ ป่ ว ย ผู้ พิ ก าร และผู้ ด้ อ ยโอกาสอยู่ เ ป็ น จ านวนมาก และกลุ่ ม เหล่ า นี้ ยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ การดูแ ลที่เหมาะสม นอกจากนี้ การดาเนินการของทุกภาคส่ วนในพื้ นที่ ทั้งภาครัฐ เอกชน และ ประชาสังคมเพื่อช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายนั้นยังขาดการบูรณาการ เพื่อไปสู่ผลลัพธ์ที่เป็นองค์รวมจึง จาเป็นต้องมียุทธศาสตร์การทางานและการระดมทรัพยากรทุนทางสังคมเพื่อให้เกิดการสร้างสุขภาวะ ที่ดีต่อผู้ป่วย ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสได้อย่างเป็นระบบส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อย่างเท่าเทียมกับ คนทั่ ว ไปและมี สุ ข ภาพกาย ใจ สั งคม และจิต วิ ญ ญาณที่ดี เทศบาลต าบลอุ โ มงค์จึ ง จั ด โครงการ อาสาปันสุขตาบลอุโมงค์ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุที่ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสที่ช่วยเหลือตัวเอง ไม่ได้ได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมจากชมรมอาสาปันสุขสามารถดารงชีวิตร่วมกับครอบครัว ได้อย่างปกติ และมีความเชื่อมั่นว่าจะไม่ถูกทอดทิ้งในบั้นปลายของชีวิต
94
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
3) ประโยชน์ที่ได้รับ ทาให้เกิดพลังมวลชน ภาคีเครือข่าย ในการมีส่วนร่วมดูแลกลุ่มเป้าหมายให้ ได้ รั บ ปั จ จั ย จากการร่ ว มบริ จ าคในการจั ด ซื้ อ สิ่ งของเครื่ อ งอุ ป โภคบริ โ ภคที่ มี ค วามจ าเป็ น ให้ กั บ กลุ่มเป้าหมาย และทาให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ได้รับการช่วยเหลือ สามารถดารงชีวิตกับชุมชน และครอบครัวได้ อย่างปกติ และมีความเชื่อมั่นว่าจะไม่ถูกทอดทิ้งใน บั้นปลายของชีวิต เป็นสังคมแห่งการเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน 4) ลักษณะเด่นของโครงการนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ โครงการนี้เป็นส่วนหนึ่ง ของการปลู ก ฝั ง จิ ต ส านึ ก และส่ ง เสริ ม การท างานในรู ป แบบเครื อ ข่ า ยกา รท างานอย่ า งใกล้ ชิ ด กับ ประชาชน และประสบความส าเร็ จได้เ พราะเทศบาลมีจุ ดเด่น ในประเด็น ของการบูร ณาการ ความร่วมมือระหว่างทุนทางสังคมและศักยภาพที่มีอยู่ในชุมชนกับภาคีเครือข่ายจากภาคส่วนต่างๆ ภายใต้กรอบแนวทางการจัดการองค์กรเพื่อสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม 5) สรุปบทเรียน ภายใต้กรอบแนวทางการจัดการองค์กรเพื่อสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ในพื้นที่ของเทศบาลตาบลอุโมงค์ ความร่วมมือกับ 6 เครือข่าย ได้แก่ o เครือข่ายสถาบันวิชาการ เช่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) o เครื อ ข่ ายระดั บ ตาบล/หมู่บ้ า น เช่น โรงพยาบาลส่ ง เสริ มสุ ข ภาพประจาต าบล เกษตรตาบล กลุ่ม อสม. o เครื อข่ายระดับ อาเภอ เช่น เกษตรอ าเภอ สถานีตารวจ ส่ ว นราชการอาเภอเมือง ส านักงาน สาธารณสุขอาเภอ o เครือข่ายระดับจังหวัด เช่น สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด สานักงาน พระพุทธศาสนา เครือข่ายเกษตรกรรมยั่งยืน โรงพยาบาลลาพูน o เครือข่ายระดับประเทศ เช่น เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ สภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย และสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ o เครื อ ข่ า ยภายในประเทศ เช่ น การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ก ารพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น กั บ International Institute for Asian Studies, Leiden the Netherlands และการรับอาสาสมัครญี่ปุ่นอาวุโส องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น (Japan International Cooperation Agency: JICA) เป็นต้น เทศบาลเมืองบ้านบึง จ.ชลบุรี 1) ชื่อโครงการ “โครงการเติมรักเติมใจครอบครัวใส่ใจดูแลสูงวัย” 2) เหตุผลและความส้าคัญ สังคมที่เข้าสู่ภาวะประชากรผู้สูงอายุ (Aging Population) หมายถึง สังคมที่มีประชากรผู้สูงอายุตั้งแต่ 65 ปี ขึ้นไปในสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 7 หรืออายุมากกว่า 60 ปี ขึ้ น ไปในสั ด ส่ ว นมากกว่ า ร้ อ ยละ 10 และประเทศไทยก าลั ง ก้ า วเข้ า สู่ ภ าวะสั ง คมผู้ สู ง อายุ เทศบาลเมือ งบ้ า นบึ งตระหนั ก ถึ งปั ญ หาดั ง กล่ า วจึ ง จั ดท าโครงการเติ ม รั ก เติ ม ใจครอบครั ว ใส่ ใ จ
95
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
3) 4)
5)
6)
ดูแลสูงวัย เมื่อเทียบกับประชากรที่ขึ้นทะเบี ยนทั้งหมดของเทศบาลเมืองบ้านบึง แสดงให้เห็นว่า เทศบาลเมืองบ้านบึงก้าวเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ ” เช่นกัน การเพิ่มของผู้สูงอายุนั้นจะส่งผลกระทบ ต่อสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการจัดสรรทรัพยากรทางสุขภาพ เพราะมีผู้สู งอายุจานวนไม่น้อยที่ เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่สาคัญ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น วัต ถุ ประสงค์ เพื่ อเป็ น การบริ ห ารจัด การสั ง คมผู้ สู ง อายุของเทศบาลเมื องบ้านบึง ให้ ส ามารถอยู่ ในสังคมอย่างมีความสุขและมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี ประโยชน์ที่ไ ด้ รั บ ได้ กาหนดแผนดูแลผู้สู งอายุ ระยะยาวได้อย่างต่อเนื่องเกิดเป็นนวัตกรรมที่ สามารถสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ การป้ อ งกั น โรค การฟื้ น ฟูส มรรถภาพร่ างกายและการด ารงชี วิ ต แก่ กลุ่ ม ผู้ สู ง อายุ ใ นพื้ น ที่ เ ทศบาลเมื อ งบ้ า นบึ ง รวมทั้ ง การเข้ า ถึ ง บริ ก ารสาธารณสุ ข ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ ลักษณะเด่นของโครงการนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ o การมีส่วนร่วมของเครือข่ายอย่างเข้มแข็งในการบริหารจัดการสังคมผู้สูงอายุ o ผู้สูงอายุตอบรับให้เทศบาลเมืองบ้านบึงขับเคลื่อนโครงการต่างๆ เกี่ยวกับผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง สรุปบทเรียน จากการดาเนินงานโครงการดังกล่าวทาให้สามารถนาผู้สูงอายุที่อยู่ติดบ้านมาสู่สังคม ผู้สูงอายุติดสังคมได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 ของจานวนประชากรผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลเมืองบ้านบึง เนื่ อ งจากมี ก ารส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ มี กิ จ กรรมดู แ ลผู้ สู ง อายุ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งโดยมุ่ ง เน้ น กลุ่มเป้ าหมาย คือ เด็กนักเรีย นให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุ ขภาพของคนในครอบครัว เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย เป็ นต้น ซึ่งอาจจัดทาโครงการต่อยอดจากโครงการดังกล่ าว ได้แก่ โครงการ หนู น้ อยหมอครอบครั ว ซึ่ งมีลั กษณะเป็น โครงการจัดตั้ งหรือ รวมกลุ่ มเด็ กนั กเรียนเป็ นเครือ ข่า ย ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ อบต. ข่วงเปา จ.เชียงใหม่
2) ชื่ อ โครงการ “การป้ อ งกั น และบรรเทาภั ย แล้ ง แบบบู ร ณาการตามโครงการบริ ห ารจั ด การน้ า อย่างยั่งยืน” 3) เหตุผลและความส้าคัญ จากสภาพพื้นที่ของตาบลข่วงเปาเป็นพื้นที่ราบเชิงเขามักเกิดปัญหาที่ ส าคั ญของเขตพื้น ที่ที่ต้ องเร่ ง แก้ไ ข คื อ ปั ญหาภัย แล้ ง ที่อยู่ ในขั้ นวิก ฤติ ทั้ง การขาดแคลนน้าเพื่ อ การอุปโภคบริโภค น้าเพื่อการเกษตร และพืชผลทางการเกษตรเสียหาย เนื่องจากพื้นที่ทั้งหมดของ ตาบลอยู่ นอกเขตชลประทานทาให้ต้องอาศัยน้าจากแหล่ งธรรมชาติ คือ น้าฝน น้าจากแม่น้าปิง ลาน้าต่างๆ และอ่างเก็บน้าในพื้นที่ แต่นับตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา เกิดปัญหาฝนทิ้งช่วงทาให้น้า จากแหล่งธรรมชาติแห้งขอด น้าตามแหล่งน้าต่างๆ ไม่มีการกักเก็บที่เพียงพอจะใช้เพื่อการอุปโภค และบริโภค ทาให้ทั้งประชาชนทั่ วไปและเกษตรกรเดือดร้อนจากผลผลิตทางการเกษตรที่เสียหาย จึงนามาสู่จุดเริ่มต้นในการแก้ไขปัญหาและช่วยบรรเทาภัยแล้ง เพื่อป้องกันความเสียหายที่เกิดใน
96
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
4)
5)
6)
7)
พื้นที่ทางการเกษตรและการแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้าเพื่อการอุปโภคและบริโภค และโครงการนี้ได้ ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน้าที่เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงในพื้นที่ให้เกิดขึ้น วัตถุประสงค์ o เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขและบรรเทาปัญหาภัยแล้งสาหรับช่วยเหลือราษฎรที่ได้รับผลกระทบ ในพื้นทีใ่ ห้สามารถดารงชีพได้ในช่วงวิกฤตภัยแล้ง o เพื่ อ พั ฒ นาแหล่ ง น้ าบาดาล ระบบประปาหมู่ บ้ า นทุ ก หมู่ บ้ า น ในพื้ น ที่ ป ระสบ ปั ญ หาใน การแก้ปัญหาความเดือดร้อนในภาวะขาดแคลนน้าอุปโภคบริโภคของประชาชน o เพื่อป้องกันความเสี่ยงการเกิดปัญหาภัยแล้ง โดยการเพิ่ มประสิทธิภาพการกักเก็บน้าไว้ใช้ในพื้นที่ ทาการเกษตร ให้มีแหล่งน้าเพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตรทั้งปี o เพื่อพัฒนาและบริหารจัดการน้าอย่างเป็นระบบแบบบูรณาการ รวมทั้งการส่งเสริมการเกษตร สร้างงาน สร้างรายได้ สร้างแหล่งอาหารในชุมชนให้เกษตรสามารถดารงชีพตลอดทั้งปี ประโยชน์ที่ได้รับ โครงการนี้ก่อให้เกิดพลังภาคีเครือข่าย ในการมีส่วนร่วมและการทางานเป็น เครื อ ข่ า ยอย่ า งชั ด เจนที่ ทุ ก ฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งโดยเฉพาะประชาชนร่ ว มกั น หาทางแก้ ไ ข จนเกิ ด ความร่วมมือจากองค์การภาครัฐและภาคเอกชนในพื้นที่ กลายเป็นกระบวนการแก้ไขปัญหาที่ชุมชน และคนในพื้นที่มีบทบาทนาที่สาคัญในการวางกลไกในการแก้ปัญหาน้า และสร้างมาตรการบริหาร จั ด การน้ าในพื้ น ที่ ข องตนเอง ท าให้ ใ นปี พ.ศ. 2560 แม้ จ ะเกิ ด ภั ย แล้ ง หรื อ ฝนทิ้ ง ช่ ว ง น้ าตาม แหล่ ง น้ าธรรมชาติ ล ดลง แต่ ก ารใช้ น้ าในเขตพื้ น ที่ ต าบลข่ ว งเปาก็ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบทั้ ง น้ าเพื่ อ การอุปโภคบริโภค และน้าเพื่อการเกษตร ลักษณะเด่นของโครงการนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ การบริหารจัดการน้าได้ อาศัย ความร่ ว มมือของประชาชนในท้องถิ่นเป็นหลั ก พูดคุยกัน ประชุมหารือกัน ทาให้ ข้อตกลงที่ เกิดขึ้นเป็นข้อตกลงของชุมชนจริง และอีกประการหนี่ง คือ กระบวนการในการบริหารจั ดการน้า ได้แก่ การสร้างฝายในพื้นที่แหล่ งน้าในชุมชนโดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่น และทรัพยากรที่มีอยู่ใน ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น การใช้ อ งค์ ค วามรู้ ข องชุ ม ชนที่ มี แ ละเกิ ด จากการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน สรุ ป บทเรี ย น โครงการนี้ เ น้ น การร่ ว มมื อ กั น ของภาคี เ ครื อ ข่ า ยในการบริ ห ารจั ด การน้ าในพื้ น ที่ ที่ อ าศั ย ความร่ ว มมื อ จากหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ทั้ ง ในระดั บ ชุ ม ชนหรื อ ภาคประชาสั ง คมและ ความร่วมมือระหว่าง อปท. และหน่วยงานภาครัฐ รวมทั้งภาคเอกชน
97
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
อบต. ยางขี้นก จ.อุบลราชธานี 1) ชื่อโครงการ “ใส่ใจร่วมพัฒนาการดูแลเด็กปฐมวัยสู่ชุมชนเข้มแข็ง” 2) เหตุผลและความส้าคัญ ตาบลยางขี้นกมีทุนและศักยภาพทางสังคมในด้านบุคคลที่เป็นปราชญ์ ชาวบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่น แต่กลับพบว่าปัญหาทางด้านสังคมของประชากรกลุ่มเด็กแรกเกิด ถึง 5 ปี ซึ่งส่ ว นใหญ่ที่อยู่ ภ ายใต้การดูแลของผู้ สู งอายุและผู้ ปกครองที่มิใช่บิดามารดาเนื่องจากบิด า มารดาของเด็กส่วนใหญ่เดินทางไปประกอบอาชีพและรับจ้างในเมืองหลวงหรือต่างจังหวัดเพื่อหา รายได้ ซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ ความสั ม พั น ธ์ แ ละการอบรมเลี้ ย งดู อบต. ยางขี้ น กจึ ง ได้ แ สวงหา แนวทางการแก้ไขปัญหาด้วยทุนและศักยภาพที่มีในชุมชน และเชื่อมโยงกับเครือข่ายต่างๆ 3) วัตถุประสงค์ o เพื่อเพิ่มขีดความสามารถองค์การบริหารส่วนตาบลยางขี้นกในการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยให้ เป็นศูนย์เรียนรู้และมีความพร้อมในจัดการเรียนรู้ภายในและสาหรับเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่น น่าอยู่ o เพื่อจัดทาฐานข้อมูลด้านการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยที่เชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลตาบล จากการวิจัยชุมชนและระบบข้อมูลตาบล รวมถึงการนาใช้ข้อมูลกาหนดแนวทางการพัฒนาระบบการ ดูแลเด็กปฐมวัย o เพื่ อพั ฒ นาศั กยภาพผู้ น าชุ มชนท้ องถิ่ นและนั กวิ ช าการด้ านการศึ กษาชุ มชนท้ องถิ่ นให้ มี ความ เชี่ยวชาญด้านการดูแลเด็กปฐมวัย รวมถึงทีมงานของตาบล 4) ประโยชน์ที่ได้รับ o เด็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามหลักการพัฒนาการของเด็ก o ผู้สูงอายุได้เรียนรู้หลักการดูแลเลี้ยงดูบุตรหลานที่ถูกวิธี และใช้ภูมิปัญญาสร้างประโยชน์กับสังคม o ผู้ ป กครอง ผู้ น าชุ ม ชน ชาวบ้ า นต าบลยางขี้ น กได้ พั ฒ นาความสั ม พั น ธ์ ภ ายในชุ ม ชน รวมทั้ ง เชื่อมโยงและสร้างเครือข่ายในการช่วยเหลือและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 5) ลั ก ษณะเด่ น ของโครงการและปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลต่ อ ความส้ า เร็ จ การน าใช้ ฐ านข้ อ มู ล ทุ น และ ศักยภาพทางสั ง คมที่มีในชุมชนมาบูรณาการกิจกรรมในการจัดการเรีย นรู้ ให้ กับ เด็กปฐมวัยและ ผู้สูงอายุน ามาสู่ นวัตกรรม คือ หลั กสู ตรภูมิปัญญาท้องถิ่นเด็กปฐมวัยและผู้ สูงอายุตาบลยางขี้นก ภายใต้ความร่วมมือจากเครือข่ายและทุกภาคส่วน ฐานข้อมูลที่ชัดเจนและครอบคลุม งบประมาณที่ เพียงพอและเข้าถึง การประชาสัมพันธ์โครงการ การประสานงานในการดาเนินงานโครงการของ คณะทางานโครงการ 6) สรุ ป บทเรี ย น การด าเนิ น งานโครงการใส่ ใ จร่ ว มพั ฒ นาการดู แ ลเด็ ก ปฐมวั ย สู่ ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง เกิดจากความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โดยดาเนินการโดยเชื่อมโยงเครือข่ายทางสังคมที่มีในชุมชน จนสามารถแก้ ไขปั ญหาการอบรมเลี้ ย งดู เด็ ก ปฐมวั ย ของผู้ สู งอายุแ ละปั ญหาช่อ งว่ า งระหว่ างวั ย รวมทั้งความสามารถในการประยุ กต์ใช้และบูรณาการข้อมูล กับทุกภาคส่ วนเพื่อประกอบการจัด
98
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
กิ จ กรรมจนสามารถต่ อ ยอดเป็ น นวั ต กรรมหลั ก สู ต รภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น เด็ ก ปฐมวั ย และโรงเรี ย น ผู้สูงอายุตาบลยางขี้นก อบต. พลับพลาไชย จ.สุพรรณบุรี 2) ชื่อโครงการ “พลับพลาไชย ต้นกล้า พิทักษ์ป่าชุมชน” 3) เหตุ ผ ลและความส้ า คั ญ อบต. พลั บ พลาไชยและมู ล นิ ธิ ส ยามกั ม มาจลจั ด กิ จ กรรมพั ฒ นาเด็ ก และเยาวชนเพื่ อ เชื่ อ มโยงชุ ม ชนสร้ า งความเข็ ม แข็ ง โดยใช้ แ นวทางหลั ก การทรงงาน ของ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร “เข้ า ใจ เข้ า ถึ ง พั ฒ นา” ซึ่งจากการเก็บ ข้อมูล ส ารวจ และวิเคราะห์ ความต้องการร่ว มกับเด็กและเยาวชนในพื้นที่ พบว่า การสร้ างความตระหนั กถึงความส าคัญ ของการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และปลู กจิตส านึ ก ให้ เ ยาวชนรั ก ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น แนวทางการพั ฒ นาเด็ ก และเยาวชนอย่ า งยั่ ง ยื น ดั ง นั้ น จึ ง ได้ จั ด โครงการพลั บ พลาไชย ต้ น กล้ า พิ ทั ก ษ์ ป่ า ชุ ม ชนเพื่ อ ให้ เ ด็ ก และเยาวชนได้ มี โอกาสพัฒนาตนเองทางร่างกายและจิตใจ รวมทั้ง สร้างความปรองดองสมานฉันท์แก่ชุมชนร่วมกัน ในการป้องกันแก้ไขปัญหาการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 4) วัตถุประสงค์ o เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับความรู้ ต่างๆของชุมชน เช่น ด้านประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สุขภาพ การส่งเสริมอาชีพ การปลูกป่าชุมชน และด้านศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น o เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีโอกาสพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจ และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ o เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ สร้างความรัก สร้างความสามัคคี และความปรองดองสมานฉันท์ แก่ ชุ ม ชนร่ ว มกั น ในการป้ องกั นแก้ ไขปั ญหาการอนุ รั กษ์ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ งแวดล้ อ ม อย่างยั่งยืน 5) กิจกรรมหลักและทรัพยากรที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม การปลูกจิตสานึกให้เยาวชนในการรักธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมให้แก่เด็กและเยาวชนผ่านกิจกรรมสันทนาการเชิงสร้างสรรค์ 6) ลักษณะเด่นของโครงการและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ เป็นการดาเนินโครงการที่มีเครือข่าย ในการท างานหลายภาคส่ วนอย่ างเป็ นระบบ เช่ น ป่ าไม้ จั งหวั ดสุ พรรณบุ รี กองอ านวยการรั กษา ความมั่นคงภายในจั งหวัดสุ พรรณบุ รี สถานี เพาะช ากล้ าไม้จั งหวัดสุ พรรณบุ รี โรงเรียนวั ดเขาสลั ก โรงเรี ย นบ้ า นหนองกุ ฎี บริ ษั ท ศิ ล ามาตรศรี โรงไฟฟ้ า อู่ ท องไบโอแมส มู ล นิ ธิ ส ยามกั ม มาจล วัดเขาดีสลัก วัดหนองกุฎี และคณะกรรมการป่าชุมชนพุหางนาค เป็นต้น 7) สรุปบทเรียน เป็น การดาเนิน การที่มีคุณค่าและความยั่งยืนเนื่องจากทางเทศบาลจะมีการดาเนิน โครงการต่อยอดในปีต่อไป และยังได้รับความร่วมมือจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยแห่งชาติ (สกว.) ในการทาให้ทิศทางการพัฒนามีความชัดเจนและถูกต้องตามหลักวิชาการมากยิ่งขึ้น
99
บทที่ ๕ ผลการประเมิน อปท. รอบที่ ๒
อบต. นาพู่ จ.อุดรธานี 1) ชื่อโครงการ “โครงการเครือข่ายขจัดปัญหาโรคซึมเศร้าสาหรับผู้สูงอายุ” 2) เหตุผลและความส้าคัญ เนื่องจากการสารวจประชากรที่อยู่ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของ อบต. นาพู่ พบว่า ประชากรที่เป็นผู้สูงอายุจานวนมากถึง 1,408 คน จากประชากรทั้งหมดจานวน 12,574 คน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 10.08 และในกลุ่มประชากรผู้สูงอายุนี้มีจานวน 20 ราย มีภาวะโรคซึมเศร้า อบต. นาพู่ ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานที่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในการจั ด บริ ก ารสาธารณะ สั ง คมสงเคราะห์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี ผู้พิการ ผู้สูงอายุ และผู้ ด้ อยโอกาสให้มีสภาพการดารงชีวิต ตาม ศัก ดิ์ศ รี ข องความเป็ น มนุ ษ ย์ จึ ง ได้เ ล็ ง เห็ นความส าคั ญของปัญ หาและหาทางแก้ไ ขป้ องกัน อย่ า ง ถูกวิธี ด้ว ยการกาหนดโครงการเครือข่า ยขจัด ปัญหาโรคซึ มเศร้ าส าหรับผู้ สู งอายุ ภ ายในโรงเรีย น ผู้สูงอายุ 3) วัตถุประสงค์ แผนด้าเนินงาน และกรอบระยะเวลาการด้าเนินงาน o เพื่อแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุในเขต อบต. นาพู่ผ่านโรงเรียนผู้สูงอายุตาบลนาพู่ o เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของภาคีเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ของ อบต. นาพู่ในการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้าของผู้สูงอายุในพื้นที่ความรับผิดชอบของ อบต. o เพื่ อ ค้ น หารู ป แบบและแนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หาโรคซึ ม เศร้ า ในสั ง คมผู้ สู ง อายุ และขยายผล แนวทางการดาเนินการอย่างยั่งยืน 4) ประโยชน์ที่ได้รับ o แนวทางการบูรณาการงานด้านผู้สูงอายุของ อปท. ชุมชน และภาคส่วนต่างๆ o ผู้ สู ง อายุ ใ นเขตพื้ น ที่ ต าบลนาพู่ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี มี ค วามพึ ง พอใจในระดั บ มากที่ สุ ด ใน การเข้าร่วมกิจกรรม ทาให้ผู้ปราศจากโรคซึมเศร้า 5) ลักษณะเด่นของโครงการและปัจจัยที่ส่งผลต่อความส้าเร็จ ลักษณะเด่นของโครงการเครือข่าย ขจัดปัญหาโรคซึมเศร้ าสาหรั บผู้สูงอายุ คือ ผู้ดาเนินโครงการใช้เครื่องมือที่อิงหลักวิชาการ ได้แก่ การนาแบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คาถาม (2Q) และแบบประเมินโรคซึมเศร้า 9 คาถาม (9Q) ของ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข มาประกอบการดาเนินโครงการ โดยก่อนที่จะเริ่มโครงการ คณะดาเนินงานได้จัดให้ผู้สูงอายุตอบแบบประเมินทั้งสองประเภทนี้ พบว่ามีผู้สูงอายุที่ร่วมตอบแบบ ประเมินมีอาการซึมเศร้าในระดับปานกลางจนถึงระดับรุนแรง จานวน 20 คน และเมื่อได้เริ่มดาเนิน โครงการไปแล้ ว ประมาณหนึ่ ง ปี จึ งได้ ใ ห้ ผู้ เ ข้ าร่ ว มโครงการทาแบบประเมิ น อี กครั้ ง หนึ่ ง พบว่ า มี อาการซึมเศร้าลดลง อยู่ในระดับน้อย น้อยมาก หรือไม่มีอาการซึมเศร้าเลย ทั้งนี้ นวัตกรรมที่สาคัญ คือ โรงเรี ย นผู้ สู งอายุ ตาบลนาพู่ซึ่งเป็นการผสานกระบวนการทางการศึกษาเข้ากับกระบวนการ ทางสุ ขภาพที่มุ่งเน้ น พัฒ นาสุขกายและสุ ขภาพจิตของผู้ สูงอายุ โดยจากการสนทนากลุ่ ม (Focus Group) พบว่า ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพกายและใจดีขึ้นหลังจากเข้าร่วมโครงการ เช่น ความดันโลหิตลดลง อาการของโรคซึมเศร้าบรรเทา เป็นต้น ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ ได้แก่
100
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
การประชาสัมพันธ์ซึ่งมี ส่วนสาคัญอย่างมากในการขับเคลื่อนโรงเรียนผู้สูงอายุ รวมถึงการเข้ามาทา รายงานข่าวและนาเสนอข่าวโดยสานักข่าวต่างๆ การรวมกลุ่มกันของผู้สูงอายุซึ่งจะทาให้มีโอกาส พบปะ พูดคุยกัน ได้ออกจากบ้าน ทาให้คลายภาวะซึมเศร้าลงได้ และกิจกรรมต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริม สุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุ 6) สรุ ปบทเรี ย น โครงการเครื อข่ายขจัด ปัญหาโรคซึมเศร้าส าหรับผู้ สู งอายุของ อบต.นาพู่ เป็ น รูปแบบเครือข่ายระหว่างภาครัฐ เอกชน ประชาชน และประชาสังคม ที่ได้รับความร่วมมือจากหลาย หน่ ว ยงาน และเกิดผลอย่ างเป็ น รู ปธรรมต่อ ผู้ สู งอายุ โดย อบต. นาพู่ เป็น ผู้ ประสานการทางาน ระหว่ า งหน่ ว ยงานต่ า งๆ ในเครื อ ข่ า ย จึ ง สามารถลดอุ ป สรรคซึ่ ง เกิ ด จากความขาดแคลน ทรั พ ยากรด้ า นเงิ น ทุ น อี ก ทั้ ง การประชาสั ม พั น ธ์ ที่ ดี แ ละทั่ ว ถึ ง ยั ง เป็ น ปั จ จั ย ส าคั ญ ที่ ส่ ง เสริ ม ให้ โครงการดังกล่าวประสบผลสาเร็จ โดยคณะวิจัยภาคสนามมีความเห็นว่า หากมีการสนับสนุนทาง ด้านวิช าการเพิ่มเติมแล้ว โครงการเครือข่ายขจัดปัญหาโรคซึมเศร้าส าหรับผู้ สูงอายุผ่านโรงเรียน ผู้สูงอายุจะเป็น โครงการที่ประสบความสาเร็จมากขึ้น ทั้งในด้านการขจัดปัญหาโรคซึมเศร้า รวมถึง การเป็นโรงเรียนผู้สูงอายุที่โดดเด่นในด้านวิชาการและกิจกรรมที่ส่ งเสริมความรู้ สุขภาพกายและใจ ซึ่งจะช่วยเตรียมความพร้อมรับมือกับการเป็นสังคมผู้สูงอายุในอนาคต
101
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ถือเป็นหน่วยงานที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและ ประเทศชาติ มีหน้าที่หลักในการจัดบริการสาธารณะที่เป็นพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาหลายทศวรรษ อปท.ในภาพรวมสามารถจัดบริการสาธารณะได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในแง่ของการพัฒนากิจกรรมและโครงการต่างๆ ที่ตอบสนองความจาเป็นในการดาเนินชีวิตของประชาชน ตลอดจนสามารถจัดการเรื่องราวภายในชุมชนจนก่อให้เกิดนวัตกรรมในการให้บริการสาธารณะและนวัติกรรม ทางด้านการบริหาร สาหรับการประเมิน อปท. เพื่อเข้ารับรางวัลพระปกเกล้าของสถาบันพระปกเกล้าถือ ได้ว่าเป็นประโยชน์โดยตรงต่อ อปท. ที่สมัครเข้าร่วมโครงการ เพราะถือเป็นการประเมินตนเองของ อปท. และเป็นการเรียนรู้มาตรฐานและวิธีการบริหารรัฐกิจที่เป็นเลิศเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับบริบท พื้นที่ทาให้ อปท. พัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพในการบริหารองค์กรและกระบวนการให้บริการประชาชน จนเกิดนวัตกรรมที่เป็นกิจกรรมและโครงการต่างๆ ทั้งด้านความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน ด้านสันติสุขและสมานฉันท์ และด้านเครือข่ายความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ รางวัลพระปกเกล้าสาหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ (1) รางวัลความเป็นเลิศ ด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่ ว มของประชาชน (2) รางวัลความเป็นเลิศด้านสันติสุขและ เสริมสร้างความสมานฉันท์ และ (3) รางวัลความเป็นเลิศด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และภาคประชา สังคม โดยปี พ.ศ. 2560 มี อปท. 178 แห่งส่งผลงานเข้าร่วมประกวด โดยเทศบาลตาบลมีจานวนมากที่สุด 86 แห่ง รองลงมาคือ อบต. จานวน 51 แห่ง เทศบาลเมือง จานวน 22 แห่ง อบจ. จานวน 12 แห่ง และเทศบาลนคร จานวน 7 แห่ง และเมื่อแบ่งตามประเภทรางวัล มี อปท. จานวน 112 แห่งส่งผลงานเข้า ประกวดรางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน อปท. จานวน 10 แห่งส่งผลงานเข้าประกวดรางวัลความเป็นเลิศด้านสันติสุขและเสริมสร้างความสมานฉันท์ และ อปท. จ านวน 56 แห่ งส่ งผลงานเข้ าประกวดรางวั ล ความเป็น เลิ ศด้ านเสริ มสร้า งเครื อข่ ายรัฐ เอกชน และ ภาคประชาสังคม
บทที่ ๖ สรุปผลการประเมิน
6.1 รางวัลความเป็ นเลิศด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมี ส่วนร่วมของ ประชาชน รางวัลความเป็นเลิศด้านความโปร่งใสและเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนมี อปท. 112 แห่ง ส่งผลงานเข้าประกวดประกอบด้วย อบจ. 7 แห่ง เทศบาลและอบต. 105 แห่ง จากการประเมินขั้นที่ 1 และ ขั้นที่ 2 มี อปท. 21 แห่งที่สมควรได้รับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี พ.ศ. 2560 คือ o ประเภท อบจ. พบว่า ไม่มี อบจ. สมควรได้รับโล่รางวัล มี อบจ. ที่สมควรได้รับ ใบประกาศ จานวน 3 แห่ง คือ 8) อบจ. พัทลุง 9) อบจ. สตูล 10) อบจ. สงขลา o ประเภทเทศบาล พบว่า มีเทศบาล 4 แห่งสมควรได้รับโล่รางวัล คือ (1) เทศบาลเมืองแม่เหียะ (จ.เชียงใหม่) (2) เทศบาลเมืองตาคลี (จ.นครสวรรค์) (3) เทศบาลเมืองกระบี่ (จ.กระบี่) (4) เทศบาลตาบลยางเนิ้ง (จ.เชียงใหม่) ส่วนเทศบาลที่สมควรได้รับใบประกาศมี 9 แห่ง คือ (10) เทศบาลตาบลคลองแงะ (จ.สงขลา) (11) เทศบาลตาบลโพธิ์ตลาดแก้ว (จ.ลพบุรี) (12) เทศบาลตาบลทุ่งสง (จ.นครศรีธรรมราช) (13) เทศบาลตาบลวังดิน (จ.ลาพูน) (14) เทศบาลเมืองกระทู้ (จ.ภูเก็ต) (15) เทศบาลตาบลเสิงสาง (จ.นครราชสีมา) (16) เทศบาลตาบลแสนสุข (จ.อุบลราชธานี) (17) เทศบาลนครยะลา (จ.ยะลา) (18) เทศบาลตาบลวังกะ (จ.กาญจนบุรี) o ประเภท อบต. พบว่า มี อบต. จานวน 1 แห่งที่สมควรได้รับโล่รางวัล คือ อบต.ตานาน (จ.พัทลุง) อบต. จานวน 4 แห่งสมควรได้รับใบประกาศ คือ (1) อบต. ต้าผามอก (จ.แพร่) (2) อบต. นครสวรรค์ออก (จ.นครสวรรค์) (3) อบต.ห้วยเกตุ (จ.พิจิตร) (4) อบต. นครชุม (จ.กาแพงเพชร)
104
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
6.2 รางวัลความเป็ นเลิศด้านสันติสุขและเสริมสร้างความสมานฉันท์ รางวัลความเป็นเลิศด้านสันติสุขและเสริมสร้างความสมานฉันท์มี อปท . 10 แห่งที่ส่งผลงานเข้า ประกวด โดยไม่มี อบจ. ส่งผลงานเข้าประกวดในปี พ.ศ. 2560 ภายหลังการประเมินขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 พบว่า มี อปท. จานวน 3 แห่งที่สมควรได้รับโล่รางวัล คือ (4) อบต. อ่าวนาง (จ.กระบี่) (5) เทศบาลตาบลป่าบอน (จ.พัทลุง) (6) เทศบาลนครเชียงราย (จ.เชียงราย) สาหรับ อปท. ที่สมควรได้รับใบประกาศ คือ เทศบาลนครขอนแก่น (จ.ขอนแก่น)
6.3 รางวัลความเป็ นเลิศด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม รางวัลความเป็นเลิศด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคมมี อปท. 56 แห่งที่ส่งผลงาน เข้าประกวด โดยจากการประเมินขั้นตอนที่ 1 และ 2 ของคณะที่ปรึกษาแล้ว พบว่ามี อปท. ที่สมควรได้รับ รางวัลดังนี้ o ประเภท อบจ. ในปี 2560 ไม่มี อบจ. ที่ผ่านเกณฑ์ได้รับโล่รางวัลด้านเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม มีเพียง อบจ. 2 แห่งที่สมควรได้รับใบประกาศ คือ (1) อบจ. สตูล (2) อบจ. สงขลา o ประเภทเทศบาล พบว่า มีเทศบาล 8 แห่งสมควรได้รับโล่รางวัล คือ (1) เทศบาลตาบลเขาพระงาม (จ.ลพบุรี) (2) เทศบาลตาบลบ้านแฮด (จ.ขอนแก่น) (3) เทศบาลตาบลกระสัง (จ. บุรีรัมย์) (4) เทศบาลตาบลบ้านบึง (จ.ชลบุรี) (5) เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ (จ.กาฬสินธุ์) (6) เทศบาลตาบลกาแพง (จ.สตูล) (7) เทศบาลตาบลป่าแดด (จ.เชียงใหม่) (8) เทศบาลตาบลอุโมงค์ (จ.ลาพูน) ส่วนเทศบาลที่สมควรได้รับใบประกาศมี 6 แห่ง คือ (1) เทศบาลตาบลป่าสัก (จ.ลาพูน) (2) เทศบาลเมืองบึงยี่โถ (จ.ปทุมธานี) (3) เทศบาลเมืองมหาสารคาม (จ.มหาสารคาม)
105
บทที่ ๖ สรุปผลการประเมิน
(4) เทศบาลตาบลปลายพระยา (จ.กระบี่) (5) เทศบาลตาบลท่าพระ (จ.ขอนแก่น) (6) เทศบาลตาบลหัวนา (จ.หนองบัวลาภู) o ประเภท อบต. นอกจากนี้ ในบรรดา อบต. ที่ส่งใบสมัครเข้าประกวดในปี 2560 มี อบต. จานวน 4 แห่ง ที่สมควรได้รับโล่รางวัล คือ (1) อบต.ข่วงเปา (จ.เชียงใหม่) (2) อบต.ยางขี้นก (จ.อุบลราชธานี) (3) อบต.พลับพลาไชย (จ.สมุทรสงคราม) (4) อบต.นาพู่ (จ.อุดรธานี) อบต. จานวน 5 แห่งสมควรได้รับใบประกาศ คือ (1) อบต.บ้านทับ (จ.เชียงใหม่) (2) อบต.มะขามเตี้ย (จ.สุราษฎร์ธานี) (3) อบต.ร่องเคาะ (จ.ลาปาง) (4) อบต.เสม็ดใต้ (จ.ฉะเชิงเทรา) (5) อบต.นาไม้ไผ่ (จ.นครศรีธรรมราช)
6.4 ผลการตัดสินใจรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560 รอบสุดท้าย ก. โล่รางวัลพระปกเกล้าส้าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศ ประจ้าปี 2560 ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน จานวน 7 แห่ง (1) องค์การบริหารส่วนจังหวัดตราด (2) องค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง (3) เทศบาลเมืองกระบี่ อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่ (4) เทศบาลเมืองแม่เหียะ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (5) เทศบาลตาบลยางเนิ้ง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ (6) องค์การบริหารส่วนตาบลตานาน อาเภอเมือง จังหวัดพัทลุง (7) องค์การบริหารส่วนตาบลต้าผามอก อาเภอลอง จังหวัดแพร่ ด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ จานวน 3 แห่ง (1) เทศบาลนครเชียงราย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย (2) เทศบาลตาบลป่าบอน อาเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง (3) องค์การบริหารส่วนตาบลอ่าวนาง อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่
106
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ด้านการเสริมสร้างเครือข่าย รัฐ เอกชน และประชาสังคม จานวน 13 แห่ง (1) องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา (2) องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล (3) เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ (4) เทศบาลตาบลบ้านแฮด อาเภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น (5) เทศบาลตาบลป่าแดด อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (6) เทศบาลตาบลกระสัง อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ (7) เทศบาลตาบลเขาพระงาม อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี (8) เทศบาลตาบลอุโมงค์ อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน (9) เทศบาลตาบลกาแพง อาเภอละงู จังหวัดสตูล (10) องค์การบริหารส่วนตาบลข่วงเปา อาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ (11) องค์การบริหารส่วนตาบลพลับพลาไชย อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี (12) องค์การบริหารส่วนตาบลนาพู่ อาเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี (13) องค์การบริหารส่วนตาบลยางขี้นก อาเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ข. ใบประกาศเกียรติคุณสถาบันพระปกเกล้าส้าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ประจ้าปี 2560 ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน จานวน 14 แห่ง (1) องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี (2) เทศบาลนครยะลา อาเภอเมือง จังหวัดยะลา (3) เทศบาลเมืองทุ่งสง อาเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช (4) เทศบาลเมืองตาคลี อาเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ (5) เทศบาลเมืองกะทู้ อาเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต (6) เทศบาลตาบลวังกะ อาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี (7) เทศบาลตาบลเสิงสาง อาเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา (8) เทศบาลตาบลโพธิ์ตลาดแก้ว อาเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี (9) เทศบาลตาบลวังดิน อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน (10) เทศบาลตาบลคลองแงะ อาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา (11) เทศบาลตาบลแสนสุข อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี (12) องค์การบริหารส่วนตาบลนครชุม อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร (13) องค์การบริหารส่วนตาบลนครสวรรค์ออก อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ (14) องค์การบริหารส่วนตาบลห้วยเกตุ อาเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร
107
บทที่ ๖ สรุปผลการประเมิน
ด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ จานวน 1 แห่ง (1) เทศบาลนครขอนแก่น อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ด้านการเสริมสร้างเครือข่าย รัฐ เอกชน และประชาสังคม จานวน 12 แห่ง (1) เทศบาลเมืองมหาสารคาม อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม (2) เทศบาลเมืองบ้านบึง อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี (3) เทศบาลเมืองบึงยี่โถ อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี (4) เทศบาลตาบลปลายพระยา อาเภอปลายพระยา จังหวัดกระบี่ (5) เทศบาลตาบลท่าพระ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (6) เทศบาลตาบลป่าสัก อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน (7) เทศบาลตาบลหัวนา อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู (8) องค์การบริหารส่วนตาบลเสม็ดใต้ อาเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา (9) องค์การบริหารส่วนตาบลบ้านทับ อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ (10) องค์การบริหารส่วนตาบลนาไม้ไผ่ อาเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช (11) องค์การบริหารส่วนตาบลร่องเคาะ อาเภอวังเหนือ จังหวัดลาปาง (12) องค์การบริหารส่วนตาบลมะขามเตี้ย อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
6.5 ข้อเสนอแนะทัว่ ไปสาหรับ อปท. ที่ไม่ผ่านการประเมินขั้นที่ 1 o อปท. ควรแต่งตั้งผู้แทนกลุ่มองค์กรสตรี ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการทุพพลภาพ และปราชญ์ชาวบ้าน ร่วมเป็นคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น คณะกรรมการสนับสนุนแผนพัฒนาท้องถิ่น คณะกรรมการประสาน แผนพัฒนาท้องถิ่น (ในกรณี องค์การบริ หารส่วนจังหวัด ) และคณะกรรมการติด ตามและประเมิน ผล แผนพัฒนาท้องถิ่น คณะที่ปรึกษาพบว่า อปท. ทุกแห่งที่ส่งใบสมัครได้ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น คณะกรรมการสนับสนุนแผนพัฒนาท้องถิ่น คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น และคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นตามที่ระเบียบกฎเกณฑ์ของทางราชการกาหนดไว้อย่างชัดเจน แต่เมื่อพิจารณาองค์ประกอบของคณะกรรมการเหล่านี้ พบว่า อปท. ส่วนใหญ่ยังขาดการชักจูงและเชิญชวน ผู้ แ ทนกลุ่ ม สตรี ผู้ ด้ อ ยโอกาส ผู้ พิ ก ารและทุ พ พลภาพ ตลอดจนปราชญ์ ช าวบ้ า นให้ เ ข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มใน กระบวนการกาหนดนโยบาย การนานโยบายไปปฏิบัติ และการติดตามและประเมินผล ดังนั้น อปท. จึงต้ องมี องค์ประกอบของคณะกรรมการชุดต่างๆที่ครอบคลุมทุกภาคส่วนของชุมชน รวมทั้งจัดให้มีช่องทางการสื่อสาร การแสดงความคิดเห็น และการมีส่วนร่วมของประชาชนให้มีความหลากหลาย เอื้ออานวยความสะดวกให้แก่ ประชาชนที่ต้องการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง และมีความทันสมัยด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศที่มี ระบบบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคลอย่างเคร่งครัด
108
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
o อปท. ควรตราข้อบัญญัติการป้องกันและปราบปรามทุจริตคอรัปชั่นหรื อ มีผลผลิตที่ชัดเจน เกี่ยวกับการแก้ไขผลประโยชน์ทับซ้อน นอกเหนือจากคู่มือการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนหรือโครงการ จัดประชุมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่บุคลากรของ อปท. โดยส่วนมาก อปท. ส่วนมากมีหลักฐานเอกสารที่แสดงให้เห็นถึง แนวทางและวิธีการเปิดเผยข้อมูล ด้ า นการเงิ น การคลั ง และความเสี่ ย งในการบริ ห ารงบประมาณซึ่ ง เป็ น ไปตามระเบี ย บกฎเกณฑ์ ข อง ส่ว นราชการและหน่ ว ยงานอิส ระ นอกจากนี้ ข้อสั งเกตของคณะที่ปรึกษา คือ อปท. ส่ว นมากมีโ ครงการ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการป้องกันผลประโยชน์ให้แก่บุคลากรของ อปท. ตลอดจนโครงการจัดทา คู่มือป้องกันผลประโยชน์ภายในองค์กร แต่ยังขาดหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงความยั่งยืนและการบูรณาการ ระบบป้องกันและปราบปรามทุจริตคอรัปชั่นภายในองค์กร เช่น ข้อบัญญัติการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน เป็นต้น o อปท. ควรเปิ ด โอกาสให้ ภ าคประชาชนและชุ ม ชนมี ส่ ว นร่ ว มในระบบการจั ด การบริ ก าร สาธารณะที่น อกเหนือจากการแสดงความคิดเห็น การท้า ประชาคม หรือการเข้า ร่วมการประชุมสภา นิติบัญญัติของ อปท. อปท. ที่ส่งใบสมัครรางวัลพระปกเกล้าในขั้นต้น โดยส่วนมากมีโครงการและกิจกรรมหลากหลาย ที่ เ ปิ ด โอกาสให้ ป ระชาชนมี ส่ ว นร่ ว มในกระบวนการตั ด สิ น ใจเชิ ง นโยบาย แต่ ยั ง ขาดการส่ ง เสริ ม ให้ ภาคประชาชนมีส่ ว นร่ว มกับ บุ คลากรของ อปท. ในการจัดบริการสาธารณะให้ เป็นไปตามข้อบัญญัติและ นโยบายของ อปท. นอกจากนี้ อปท. ส่ ว นมากยั ง ขาดหลั ก ฐานที่ ชั ด เจนเกี่ ย วกั บ การมี ส่ ว นร่ ว มของ ภาคประชาชนในการติดตามและประเมิน ผลการดาเนินงาน อย่างไรก็ตาม อปท. บางแห่งมีโครงการและ กิจกรรมรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในรูปแบบการประเมินความพึงพอใจซึ่งเป็นการสื่อสารทางเดียว (One-way Communication) และผลการประเมินความพึงพอใจในทุกกรณีก็มีเพียงผลเชิงปริมาณและ เป็นไปในเชิงบวกเพียงอย่างเดียวโดยไม่ก่อให้เกิดแนวทางแก้ไขปรับปรุงและพัฒนางานของ อปท. ที่เป็น รู ป ธรรม อปท. จึ ง ควรแสวงหาแนวทางการประเมิ น ผลการด าเนิ น งานเชิ ง คุ ณ ภาพและเปิ ด โอกาสให้ ภาคประชาชน ชุมชน และบุคลากร อปท. ได้สานเสวนาหารือเกี่ยวกับปัญหาในการดาเนินงาน ข้อขัดแย้ง และแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกันซึ่งจะนาไปสู่วงจรนโยบายสาธารณะที่ยั่งยืนต่อไป o อปท. ควรจั ด ระบบส่งเสริ มและอ้า นวยความสะดวกให้แ ก่ ภ าคประชาชนและกลุ่มองค์ก ร ทางสังคมให้สามารถเสนอร่างข้อบัญญัติต่อสภาท้องถิ่น สาหรับหมวดกิจการสภาท้องถิ่น อปท. ส่วนใหญ่มีเพียงโครงการและกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ ความเข้ า ใจในบทบาทของสภาท้ อ งถิ่ น ให้ แ ก่ ส มาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น แต่ ไ ม่ มี โ ครงการที่ เ สริ ม สร้ า งบทบาท ภาคประชาชนทางด้านนิติบัญญัติ ทั้งนี้ เนื่องจากการเสนอร่างข้อบัญญัติต่อสภาท้องถิ่นโดยภาคประชาชน จาเป็นต้องมีจานวนประชาชนร่วมลงชื่อมากกว่าครึ่งหนึ่งของจานวนประชาชนในเขตพื้นที่ อปท. การร่วมกัน เสนอร่างข้อบัญญัติต่อสภาท้องถิ่นสาหรับภาคประชาชนจึงจาเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจาก อปท. ซึ่งควรจัด ให้ มี ร ะบบส่ ง เสริ ม และอ านวยความสะดวกให้ แ ก่ ผู้ น าชุ ม ชนหรื อ ผู้ น าภาคประชาชนที่ ต้ อ งการเสนอ
109
บทที่ ๖ สรุปผลการประเมิน
ร่างข้อบัญญัติต่อสภาท้องถิ่น ให้ สามารถเสนอร่างข้อบัญญัติได้โดยเกิดผลกระทบต่อครอบครัว ฐานะทาง เศรษฐกิจ และสวัสดิภาพน้อยที่สุด o อปท. ควรมีแผนพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่ ในด้านข้อมูลข่าวสาร อปท. ส่วนใหญ่มีเพียงโครงการและกิจกรรมประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสาร ให้แก่ประชาชนหรือการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ แต่ อปท. ยังขาดระบบบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่จึง ทาให้ขาดเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับข้อมูลสาคัญในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น เช่น ข้อมูลสถิติความรุนแรงและ เหตุทะเลาะวิวาทในพื้นที่ เป็นต้น o อปท. ควรเพิ่มเติ มเครื อข่า ยความร่วมมือในการจัดบริ การสาธารณะร่ วมกับ อปท. อื่น ที่มี อาณาเขตติดต่อกัน โดยอาจเริ่มต้นบูรณาการความร่วมมือจากโครงการหรือกิจกรรมด้านใดด้านหนึ่งที่ จ้าเป็นต่อการด้ารงชีวิตของประชาชน เช่น การจัดการมูลฝอยและปฏิกูล การบ้าบัดน้้าเสีย การป้องกัน และควบคุมโรคภัยไข้เจ็บ เป็นต้น ในหมวดรางวัลส่งเสริมเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม อปท. โดยส่วนใหญ่มีเพียงเครือข่าย ความร่ ว มมือกับ ส่ ว นราชการ รั ฐ วิส าหกิจ และองค์กรภาคธุรกิจเอกชน แต่การประสานความร่ว มมือกับ อปท. อื่ น ในเขตพื้ น ที่ เ ดี ย วกั น เพื่ อ จั ด บริ ก ารสาธารณะร่ ว มกั น อย่ า งมี จ ากั ด โดยแท้ ที่ จ ริ ง แล้ ว อปท. มี ภ ารกิ จ หน้ า ที่ ม ากมายที่ ส ามารถบู ร ณาการความร่ ว มมื อ กั บ อปท. ข้ า งเคี ย งได้ ซึ่ ง นอกจากก่ อ ให้ เ กิ ด “ความประหยัดเชิงขนาด (Economies of Scale)” แล้ว ยังจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการให้บริการ ประชาชนด้วย ได้แก่ การจัดการมูลฝอยและปฏิกูล โดยเฉพาะมูลฝอยที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (สารเคมีและ มูลฝอยติดเชื้อ) ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงและงบประมาณจานวนมากในการบริหารจัดการ ทั้งนี้ หาก อปท. มากกว่า 1 แห่งสามารถร่วมมือกันตามระเบียบกฎหมายเพื่อพัฒนาระบบจัดการขยะมู ลฝอยที่ ครบวงจรได้ก็จะสามารถแก้ไขปัญหาขยะล้นเมืองและสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมได้อย่างยั่งยืน
6.6 ข้อเสนอแนะทัว่ ไปสาหรับ อปท. ที่ไม่ผ่านการประเมินขั้นที่ 2 o อปท. ควรมี ก ระบวนการเสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพความเข้ ม แข็ ง ของบุ ค ลากร อปท. และ ภาคประชาชนให้สามารถปฏิบั ติหน้าที่เป็นภาคีเครือข่ายส้าคัญทางด้านนิติบัญญัติ (กิจการสภาท้องถิ่น) และสามารถช่วยเหลือ อปท. ขับเคลื่อนนโยบายและโครงการในด้านต่างๆ (1) อปท. ควรพิจารณาปรับปรุงกระบวนงานที่ส่ง ผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนากระบวนงานเหล่านี้และใช้วิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ใน การจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดทาบริการสาธารณะร่วมกับ อปท. ข้างเคียง เป็นต้น (2) อปท. ควรมีช่องทางที่หลากหลายในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับกระบวนการทางาน และบริ ก ารสาธารณะด้ า นต่ า งๆ และควรเปิ ด โอกาสให้ ป ระชาชน องค์ ก รชุ ม ชน และ ภาคธุรกิจเอกชนเข้าร่วมประชุมสภานิติบัญญัติของ อปท. และเปิดโอกาสให้เข้าร่วมหารือกับ นายก อปท. เพื่อพิจารณาประเด็นสาคัญของชุมชนและการจัดบริการสาธารณะ นอกจากนี้
110
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ควรส่ ง เสริ ม และเสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพของภาคประชาชนในการเสนอร่ า งข้ อ บั ญ ญั ติ ต่ อ สภานิติบัญญัติของ อปท. และอาจพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เป็น เวทีสานเสวนาทาประชาพิจารณ์เพื่อกาหนดทิศทางและนโยบายการพัฒนา หรือจัดลาดับ ความสาคัญของแผนงานและโครงการของ อปท. ตลอดจนควรมีการสารวจความพึงพอใจของ ประชาชนที่มีต่อบริการสาธารณะของ อปท. เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงกระบวนการ ทางานของ อปท. o อปท. ควรให้ความส้าคัญในการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบปราม การทุจริตอย่างเป็นรูปธรรม อปท. ควรเสริ มสร้ างภาพลั ก ษณ์ ด้านธรรมาภิบ าลและความโปร่ง ใสของกระบวนการปฏิบั ติ ราชการโดยประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการชาระภาษีอาการและค่าธรรมเนียมของ อปท. รายรับ รายจ่ายตามข้อบัญญัติงบประมาณประจาปีของ อปท. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุครุภัณฑ์ของ อปท. ตลอดจน ข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับการประชุมสภานิติบัญญัติของ อปท. ได้แก่ วันและเวลาการประชุม ญัตติต่างๆ และมติ ที่ประชุมสภา นอกจากนี้ อปท. ของท่านควรมีวิธีการที่หลากหลายและชัดเจนเกี่ยวกับการป้องกันการทุจริต คอรัปชั่นภายในองค์กร โดยเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจใน ภาพลักษณ์และความโปร่งใสของ อปท. ของท่าน และยินดีสนับสนุนกิจกรรมต่างๆของ อปท. รวมทั้งการชาระ ภาษีและค่าธรรมเนียมตามที่ อปท. กาหนด o การก้าหนดยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการของ อปท. ควรตั้งอยู่บนหลักวิชาการและมี ทิศทางที่ชัดเจน อปท. ควรทบทวนยุทธศาสตร์ แผนงาน และโครงการต่างๆอยู่เป็นประจ้าและต่อเนื่อง และมีระบบจัดการองค์ความรู้เพื่อถ่ายทอดให้แก่ชุมชนและ อปท. อื่น (1) อปท. ควรมี ทิ ศ ทางที่ ชั ด เจนในการก าหนดนโยบายและโครงการที่ เ ป็ น นวั ต กรรม มีก ลุ่ ม เป้ า หมายที่ ชั ดเจนในการพั ฒ นาและให้ บ ริก ารในโครงการนวัต กรรม รวมทั้ งควร ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง สภาพปั ญ หาและผลกระทบภายในชุ ม ชนก่ อ นที่ จ ะเริ่ ม โครงการนวั ต กรรม ตลอดจนเชื่อมโยงกับบริบทและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก (2) อปท. ควรเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล และอธิ บ ายเปรี ย บเที ยบวิ ธี แ ก้ ไ ขปัญ หาตามนโยบายหรื อ โครงการนวัตกรรมว่ามีความแตกต่างจากแนวคิดหรือวิธีการเดิมอย่างไร เพื่อสะท้อนให้ เห็นถึงความเป็นนวัตกรรมของนโยบายและโครงการ (3) อปท. ควรอธิ บ ายวั ตถุ ป ระสงค์ข องโครงการ แนวทางการด าเนิ น งาน กิจ กรรม วิธี ก าร ประเมิ น ผลความส าเร็ จ ผลสั ม ฤทธิ์ ที่ เ ป็ น รู ป ธรรม และตั ว ชี้ วั ด ที่ ส ะท้ อ นประโยชน์ ข อง ประชาชน รวมทั้งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าปัจจัยใดที่ทาให้โครงการประสบความสาเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิคบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ (4) อปท. ควรแยกแยะระหว่างการติดตาม (Monitoring) และการประเมินผลสั มฤทธิ์ของ โครงการ (Evaluation) โดยกาหนดแนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็น รู ป ธรรมและสามารถน าผลไปปรั บ ปรุ ง กระบวนงานได้ รวมทั้ ง ควรมี ร ะบบการจั ด การ
111
บทที่ ๖ สรุปผลการประเมิน
องค์ความรู้ (Knowledge Management) ที่ได้จากการถอดบทเรียนโครงการนวัตกรรมของ อปท. และควรมีแผนประจาปีห รือระบบการทางานที่ชัดเจนเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ไป ยังสาธารณชนและท้องถิ่นอื่น
112
ภาษาไทย เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2543). การจัดการเครือข่าย: กลยุทธ์สาคัญสู่ความสาเร็จของการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ซัคเซสมีเดีย. โกวิทย์ พวงงาม. (2552). การปกครองท้องถิ่น: ว่าด้วยทฤษฎี แนวคิด และหลักการ. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ท. --- และสร้อยมาศ รุ่งมณี. (2553). ธรรมาภิบาลท้องถิ่นว่าด้วยการมีส่วนร่วมและความโปร่งใส. กรุงเทพฯ: มูลนิธิส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. ดวงกมล เกษโกมล. (2552). การเสริมสร้างประสิทธิภาพและความโปร่งใสในการบริหารงานด้านการเงินของ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบล: กรณี ศึ ก ษาองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลคลองวั ว อ าเภอเมื อ งอ่ างทอง จังหวัดอ่างทอง. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น, มหาวิทยาลัยขอนแก่น. นฤมล นิราทร. (2543). การสร้างเครือข่ายการทางาน : ข้อควรพิจารณาบางประการ. กรุงเทพมหานคร : โครงการระหว่างประเทศว่าด้วยการขจัดปัญหาการใช้แรงงานเด็ก. นลินี เรืองฤทธิศักดิ์. (2553). รูปแบบและแนวทางการสร้างเครือข่ายและการเป็นหุ้นส่วนทางสังคมระหว่าง ประเทศขององค์กรคนพิการ: กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาและฝึกอบรมคนพิการแห่งเอเชียและแปซิฟิก . (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์). บุญรงค์ นิลวงศ์. (2522). การปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร: เจริญวิทย์การพิมพ์. มานิ ต ย์ จุ ม ปา. (2548). ค าอธิ บ ายกฎหมายปกครองว่ า ด้ ว ยการจั ด ระเบี ย บราชการบริ ห าร. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถวิลวดี บุรีกุล (2552). พลวัติการมีส่วนร่วมของประชาชน: จากอดีตจนถึงรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร พุทธศักราช 2550. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า. วีระศักดิ์ เครือเทพ และคณะ. (2558). สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 15 ปี การกระจายอานาจ ของไทย. กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บรรณานุกรม
รุ่งโรจน์ เพชระบูรณิน. (2546). เครือข่ายภาคประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตคอรัปชั่น. (วิทยานิพนธ์มหาบันฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์). สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2552). คู่มือการจัดระดับการกากับดูแลองค์การภาครัฐตาม หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาข้าราชการ พลเรือน. ส านั กงานคณะกรรมการข้อ มูล ข่ าวสารของราชการ ส านัก งานปลั ดส านักนายกรัฐ มนตรี. (2555). คู่มื อ การประเมิ น เกณฑ์ ม าตรฐานและตั ว ชี้ วั ด ความโปร่ ง ใสของหน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ ก าหนดภายใต้ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540. กรุงเทพมหานคร สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สานักงาน ก.พ.ร.). (2555). หลักธรรมมาภิบาลของการบริการ กิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance). กรุงเทพมหานคร อมร รั ก ษาสั ต ย์ . (2538). “การกระจายอ านาจที่ ผิ ด พลาดซ้ าซากของมหาดไทยและนั ก การเมื อ ง. ” ใน ชั ย อนั น ต์ สมุ ท ว ณิ ช และ ปาริ ช าต โ ช ติ ย ะ (บรรณ าธิ ก าร), เท ศบาลในบริ บ ท การกระจายอานาจแห่งยุคสมัย (หน้า 5-13). กรุงเทพมหานคร : สถาบันนโยบายศึกษา.
ภาษาอังกฤษ Barner, C., & Rosenwein, R. (1985). Psychological Perspectives on Politics. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall. Beierle, T., & Caford, J. (2002). Democracy in Practice: Public Participation in Environmental Decisions. Washington, D.C.: Resources for the Future. Blackburn, W., & Bruce, W. (1995). Mediating Environmental Conflicts: Theory and Practice. Westport, Connecticut: Quorum Books. Cheema, S., D. Rondinelli. Decentralizing Governance: Emerging Concepts and Practices Washington, DC: Brookings Institute Press; 2007. Cohen, J., S. Peterson. Administrative Decentralization: A New Framework for Improved Governance, Accountability, and Performance. Cambridge: Harvard Institute for International Development. Falleti, Tulia. “A Sequential Theory of Decentralization: Latin American Cases in Comparative Perspective.” American Political Science Review 2005; 99: 327-46. Ferguson, I., C. Chandrasekharan. Paths and Pitfalls of Decentralization for Sustainable Forest Management: Experiences of the Asia-Pacific Region. International Tropical Timber Organization; 2012.
114
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
Fox, Jonathan, B. Aranda. Decentralization and Rural Development in Mexico: Community Participation in Oaxaca’s Municipal Funds Program. San Diego, California: Center for U.S.–Mexican Studies, University of California; 1996. Gregersen, H., A. Contreras-Hermosilla, A. White, L. Phillips. Forest Governance in Federal Systems: An Overview of Experiences and Lessons. Jakarta, Indonesia: Center for International Forestry Research; 2012. Irvin, R. A., & Stansbury, J. (2004). Citizen Participation in Decision Making: Is It Worth the Effort? Public Administration Review, 64(1), 55-65. Kelly, J. (2004). The Dilemma of the Unsatisfied Customer in a Market Model of Public Administration. Public Administration Review, 65, 76-84. Kukla-Acevedo, S., & Perez, O. J. (2013). Citizen Participation and Satisfaction with Municipal Government Services: the Mediating Roles of Trust and the Economy. Paper Prepared for the Association for Public Policy Analysis and Management (APPAM) Conference, Washington, D.C., November 8, 2013. Manor, J. “Democratic Decentralization in Africa and Asia.” IDS Bulletin 1995; 26: 81-88. Musgrave, R. The Theory of Public Finance. New York: McGraw-Hill; 1958. Oates, W. Fiscal Federalism. New York: Harcourt Brace Jonavich; 1972. Parry, G., Moyster, G., & Day, N. (1992). Political Participation and Democracy in Britain. Cambridge: Cambridge University Press. Pateman, C. (1970). Participation and Democratic Theory. Cambridge: Cambridge University Press. Richardson, A. (1983). Participation. London: Routledge and Keegan. Robbins, J.C. (1983). Organization behavior in private sector. San Francisco: Jossey-Bass. Roger, Everettem. (1976). “Communication” in Communication in Organization. The Free Press, New York. Sabatier, P. (1988). An Advocacy Coalition Framework of Policy Changes and the Role of Policy-oriented Learning therein. Policy Sciences, 21(2-3), 129-168. Schneider, Aaron. “Decentralization: Conceptualization and Measurement.” Studies Comparative International Development 2003; 38: 32-56. Stiefel, M., & Wolfe, M. (1994). A Voice for the Excluded: Popular Participation in Development: Utopia or Necessity. London: Zed Books. Swindell, D., & Kelly, J. (2000). Linking Citizen Satisfaction Data to Performance Measures. Public Performance and Management Review, 24(1), 30-52.
115
บรรณานุกรม
Sudhipongpracha, T., & Wongpredee, A. (2012). “Public Professionalism in Local Government Setting: A Comparative Analysis of Thai and Illinois Municipal Chief Administrators' Perceptions of Public Professionalism.” Journal of Public Administration, 139-182. Thomas, J. (1995). Public Participation in Public Decisions. San Francisco, California: Jossey Bass. Van Ryzin, G. G. (2004). The Measurement of Overall Citizen Satisfaction. Public Performance and Management Review, 27(3), 9-28. ---. (2007). Importance-Performance Analysis of Citizen Satisfaction Surveys. Public Administration, 85(1), 215-226. Verba, S., & Nie, N. (1972). Participation in America: Political Democracy and Social Equality. New York: Harper and Row Publishers. Vigoda, E. (2002). Administrative Agents of Democracy? A Structural Equation Modelling of the Relationship between Public Sector Performance and Citizenship Involvement. Journal of Public Administration Research and Theory, 2, 241-272. Wei, Y.D. Regional Development in China: States, Globalization, and Inequality. London and New York: Routledge; 2000. Wibbels. E. Federalism and the Market: Intergovernmental Conflict and Economic Reform in the Developing World. Cambridge, UK: Cambridge University Press; 2004. World Bank. (1995). World Bank Participation Sourcebook. Washington, D.C.: World Bank.
116
ภาคเหนือ 1.
2. 3. 4. 5.
6. 7.
ชื่อ-สกุล ผศ. ชาญณวุฒ ไชยรักษา o นาย เอกชุมชน ทรัพย์พร้อม (ผู้ช่วยนักวิจัย) o ว่าที่ร้อยตรี ชัชวาล ศรีเสมอ (ผู้ช่วยนักวิจัย) ผศ. นพวรรณ ธรรมสิทธิ์ o นาย กิติศักดิ์ สุรโสหัท (ผู้ช่วยนักวิจัย) อ.ดร.ฉัตรทิพย์ ชัยฉกรรจ์ อ.ดร.ณัฐฑรี สินธุนาวา พงษ์พิพัฒน์ อ.ดารารัตน์ คาเป็ง o นาย สราวุฒิ มณีอินทร์ (ผู้ช่วยนักวิจัย) o นาย อุกฤษณ์ กัณธะคา (ผู้ช่วยนักวิจัย) อ.ดร. ไกรวุฒิ ใจคาปัน อ.นิชนันท์ พิชัยเงาะ o นาย พสธร คันธาเวช (ผู้ช่วยนักวิจัย)
ต้นสังกัด คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร สานักวิชาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ภาคกลางและภาคตะวันออก ชื่อ-สกุล 8. อ.ดร. ปิยะ กล้าประเสริฐ
9. อ.ดร. ลือชัย วงษ์ทอง o นาย กฤษฎา นันทเพ็ชร (ผู้ช่วยนักวิจัย)
ต้นสังกัด คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
ภาคผนวก ๑
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อ-สกุล 10. รศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ 11. อ.ดร.ณรินทร์ เจริญทรัพยานนท์ 12. อ.สุริยานนท์ พลสิม o นางสาว กัลยาณี สมท้าว (ผู้ช่วยนักวิจัย) o นางสาว ภาภรณ์ เรืองวิชา (ผู้ช่วยนักวิจัย) 13. อ.ดร. ประเทือง ม่วงอ่อน 14. ผศ. สุนทรชัย ชอบยศ o นาย อวิรุทธ์ อินอุ่นโชติ (ผู้ช่วยนักวิจัย) o นาย ศตวรรษ เสริฐภูเขียว (ผู้ช่วยนักวิจัย) o นาย ณัฐพงษ์ อินทะนู (ผู้ช่วยนักวิจัย) o นาย ภาณุวัฒน์ ชานาญ (ผู้ช่วยนักวิจัย) 15. อ. ศักดิ์สิทธิ์ ฆารเลิศ 16. อ. ชัยมงคล ศิริวารินทร์ 17. อ. กาญ ดาริสุ 18. ผศ. สุนทรชัย ชอบยศ o นาย อวิรุทธ์ อินอุ่นโชติ (ผู้ช่วยนักวิจัย) o นาย ศตวรรษ เสริฐภูเขียว (ผู้ช่วยนักวิจัย) o นาย ณัฐพงษ์ อินทะนู (ผู้ช่วยนักวิจัย) o นาย ภาณุวัฒน์ ชานาญ (ผู้ช่วยนักวิจัย)
118
ต้นสังกัด วิทยาลัยปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะนิติรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
ภาคใต้ ชื่อ-สกุล 19. อาจารย์ ดร. วิวัฒน์ ฤทธิมา o นางสาว สาลี รักแดง (ผู้ช่วยนักวิจัย) o นางสาว อนัญญา มณี (ผู้ช่วยนักวิจัย)
ต้นสังกัด วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ
119
ภาคผนวก ๒
122
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
123
ภาคผนวก ๒
124
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
125
ภาคผนวก ๒
126
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
127
ภาคผนวก ๒
128
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
129
ภาคผนวก ๓
132
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
133
ภาคผนวก ๓
134
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
135
ภาคผนวก ๓
136
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
137
ภาคผนวก ๓
138
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
139
ภาคผนวก ๔
142
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
143
ภาคผนวก ๔
144
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
145
ภาคผนวก ๔
146
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
147
ภาคผนวก ๔
148
ภาคผนวก ๕
150
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
151
ภาคผนวก ๕
152
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
153
ภาคผนวก ๕
154
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
155
ภาคผนวก ๕
156
ภาคผนวก ๖
158
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
159
ภาคผนวก ๖
160
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
161
ภาคผนวก ๖
162
ภาคผนวก ๗
164
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
165
ภาคผนวก ๗
166
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
167
ภาคผนวก ๗
168
ภาคผนวก ๘
170
ภาคผนวก ๙
172
ภาคผนวก ๑๐
174
ภาคผนวก ๑๑
176
ภาคผนวก ๑๒
178
(Focus Group)
การประเมิน คุณสมบัติของ อปท. เพื่อรับรางวัล พระปกเกล้ า ประจาปี 2560 ในรอบที่ 2 นั้น นอกจากการสารวจความพึงพอใจแล้ ว คณะที่ปรึกษายัง ใช้ผ ลการประเมินความเป็นเลิ ศเชิงคุณ ภาพของ อปท. แต่ละแห่งโดยกาหนดให้ อปท. ต้องนาเสนอโครงการ 1 โครงการต่อทีมนักวิจัยภาคสนาม ซึ่งภายหลัง จากการนาเสนอข้อมูลรายละเอียดโครงการ ทีมนักวิจัยภาคสนามจะดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม ด้วยการสนทนากลุ่ม (Focus Group) กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและตัว แทนภาคประชาชนในพื้นที่ อปท. ที่รับ การตรวจประเมินรอบที่ 2 ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ ก ารประเมิ น ความเป็ น เลิ ศ ของ อปท. เป็ น มาตรฐานเดี ย วกั น ทั้ ง ประเทศและมี ความถูกต้องตามหลั กวิช าการ คณะทางานโครงการรางวัล พระปกเกล้ าส าหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิ ศ ประจาปี 2560 จึงได้กาหนดเกณฑ์การประเมินเพื่อให้ทีมนักวิจัยภาคสนามสามารถใช้ประเมิน อปท. จาก โครงการที่ อปท. เลือกน าเสนอ และจากการสนทนากลุ่มกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสี ย โดยเกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubrics) ดังกล่าวประกอบด้วย 4 มิติ คือ o การวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ปัจจุบัน (5 เกณฑ์) o การวางแผนเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรมการบริหารจัดการ (5 เกณฑ์) o การนาโครงการไปสู่การปฏิบัติ (10 เกณฑ์) o ผลกระทบต่อชุมชนและความยั่งยืน (2 เกณฑ์)
นอกจากนี้ ทีมนักวิจัยภาคสนามต้องเขียนผลสรุปโครงการที่ อปท. เลือกมานาเสนอ โดยผลสรุปมี ความยาวระหว่าง 3-5 หน้ากระดาษ ครอบคลุมประเด็นสาคัญดังนี้
ภาคผนวก ๑๓
o ชื่อโครงการและข้อมูล อปท. o คณะผู้บริหารและผู้ประสานงานหลักของ อปท. o สรุปข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ (1) เหตุผลและความสาคัญ (2) วัตถุประสงค์ แผนดาเนินงาน และกรอบระยะเวลาการดาเนินงาน (3) กิจกรรมหลักและทรัพยากรที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม (4) ประโยชน์ที่ได้รับ (5) ลักษณะเด่นของโครงการนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ (6) สรุปบทเรียน มิติที่ 1 การวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ปัจจุบัน (5 เกณฑ์) ประเด็นพิจารณา (1) อปท. ระบุถึงปัญหา ความเป็นมา และความสาคัญที่นามาสู่การคิดโครงการ (2) อปท. ระบุถึงกลุ่มทางสังคม/กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับผลกระทบจากปัญหา ตารางเกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการให้คะแนน
ไม่ปรากฏ (0 คะแนน)
1. อปท. ได้ระบุถึงปัญหา ความเป็นมา และความสาคัญที่นามา สู่การคิดโครงการ 2. อปท. ได้อธิบายว่าปัญหาที่นามาสู่การคิดโครงการนั้น ก่อให้เกิดผลเสียหายด้านเศรษฐกิจ สังคม หรือวัฒนธรรม ของชุมชนอย่างไร 3. อปท. มีการสารวจหรือมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสภาพปัญหา และผลกระทบต่อชุมชนก่อนที่จะนาไปสู่การคิดโครงการ 4. อปท. มีการเชื่อมโยงสภาพปัญหาและผลกระทบที่อาจจะ เกิดขึ้นกับบริบทและสถานการณ์โลก เช่น ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) ขององค์การสหประชาชาติ เป็นต้น 5. อปท. ระบุกลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มสังคมที่รับได้ผลกระทบจาก สภาพปัญหาอย่างชัดเจน และอธิบายว่าหากกลุ่มสังคม ดังกล่าวไม่ได้รับการแก้ไขปัญหา จะได้รับผลกระทบอย่างไร บ้าง รวมคะแนนทั้งหมดส้าหรับมิติที่ 1
180
ปรากฏแต่ไม่ ชัดเจนหรือ ไม่สอดคล้องกับ ข้อเท็จจริง (1 คะแนน)
การชี้แจงครบถ้วน ชัดเจน และมี หลักฐานประกอบ (2 คะแนน)
รวม
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
มิติที่ 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์และนวัตกรรมการบริหารจัดการ (5 เกณฑ์) ประเด็นพิจารณา (1) อปท. อธิบายที่มาและกระบวนการกาหนดรายละเอียดโครงการ (2) อปท. อธิบายเปรียบเทียบวิธีการแก้ไขปัญหาตามที่ระบุไว้ในโครงการว่าแตกต่างจาก แนวคิดเดิมหรือวิธีการเดิม ตารางเกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการให้คะแนน
ไม่ปรากฏ (0 คะแนน)
ปรากฏแต่ไม่ชัดเจน หรือไม่สอดคล้องกับ ข้อเท็จจริง (1 คะแนน)
การชี้แจงครบถ้วน ชัดเจน และ มีหลักฐาน ประกอบ (2 คะแนน)
รวม
1. โครงการของ อปท. มีที่มาจากการระดมความคิดเห็นของ ผู้บริหารท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย ได้แก่ ภาคเอกชน ภาค ประชาสังคม 2. อปท. มีเป้าหมายในการแก้ไขปัญหาตามโครงการที่ระบุไว้ใน มิติที่ 1 3. โครงการของ อปท. มีกิจกรรมที่หลากหลายและสอดคล้อง กับเป้าหมายในการแก้ไขปัญหา 4. อปท. อธิบายข้อแตกต่างระหว่างวิธแี ก้ปัญหาเดิมของ อปท. กับวิธีการใหม่ (ตามที่ระบุไว้ในโครงการ) 5. อปท. มีแผนการพัฒนาต่อยอดและขยายผลวิธแี ก้ปัญหา ตามที่ระบุไว้ในโครงการ รวมคะแนนทั้งหมดส้าหรับมิติที่ 2
มิติที่ 3 การน้าโครงการไปสู่การปฏิบัติ (10 เกณฑ์) ประเด็นพิจารณา (1) อปท. อธิบายวัตถุประสงค์ของโครงการ แนวทางการดาเนินงาน กิจกรรม วิธีการ ประเมินผลความสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรม และตัวชี้วัดที่สะท้อนประโยชน์ ของประชาชน (2) อปท. อธิ บ ายและแสดงให้ เ ห็ น อย่ า งชั ด เจนว่ า ปั จ จั ย ใดท าให้ โ ครงการประสบ ความส าเร็จ โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิ คบริหารจัดการองค์กรที่ถูกต้องตามหลั ก วิชาการ เช่น Value chain analysis, Core competency analysis, reengineering, strategic doing เป็นต้น (3) อปท. ระบุกลุ่มบุคคลภายในและภายนอกองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการนาโครงการไปสู่ การปฏิบัติ ตลอดจนกลไกความร่วมมือและประโยชน์จากความร่วมมือ (4) อปท. ระบุทรัพยากรที่ใช้ในกิจกรรม และแสดงให้เห็นว่าทรัพยากรดังกล่าวใช้ ขับเคลื่อนกิจกรรมอย่างไรและแต่ละทรัพยากรเกื้ อหนุนกันอย่างไร เพื่อให้โครงการ ประสบผลสาเร็จ
181
ภาคผนวก ๑๓
5) อปท. แยกแยะระหว่างการติดตามและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ และมี แนวทางการติดตามและการประเมินผลโครงการที่เป็นรู ปธรรมและนาผลไปใช้ ประโยชน์ได้ 6) อปท. มีสรุปผลดาเนินงานของโครงการตามผลการติดตามและประเมินผล และมี แนวทางการปรับปรุงและพัฒนาโครงการในระยะต่อไปอย่างเป็นรูปธรรม ตารางเกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการให้คะแนน
ไม่ปรากฏ (0 คะแนน)
1. โครงการของ อปท. มีองค์ประกอบครบถ้วนสมบูรณ์ คือ ความ เป็นมาและความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย กล ยุทธ์ แผนดาเนินงาน กิจกรรม งบประมาณ และตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ ที่ถกู ต้องตามหลักวิชาการ 2. อปท. มีคาอธิบายอย่างชัดเจนว่าแต่ละกิจกรรมของโครงการที่ นาเสนอก่อให้เกิดประโยชน์ตอ่ ประชาชนกลุ่มสังคมทีเ่ ป็น กลุ่มเป้าหมาย 3. อปท. มีคาอธิบายรายละเอียดของแผนดาเนินงานตามลาดับ ขั้นตอนเวลาอย่างชัดเจน และมีการเชื่อมโยงแต่ละกิจกรรมกับ ลาดับขั้นตอนและกิจกรรมอืน่ 4. อปท. อธิบายปัจจัยกาหนดความสาเร็จของโครงการโดยใช้เทคนิค หรือเครื่องมือการบริหารเชิงกลยุทธ์ทเี่ ป็นสากลและทันสมัย เช่น Value Chain Analysis, Core Competency Analysis, Reengineering, Strategic Doing เป็นต้น 5. อปท. ระบุกลุม่ บุคคลและองค์กรที่เกี่ยวข้องกับโครงการ และมี รายละเอียดอย่างชัดเจนว่ากลุ่มบุคคลดังกล่าวมีบทบาทหน้าที่ และส่วนร่วมในโครงการอย่างไร 6. อปท. แสดงให้เห็นว่าทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ เช่น ด้านการเงิน ด้านเทคนิค และด้านทรัพยากรบุคคล ถูกใช้ในการขับเคลือ่ น กิจกรรมอย่างไร มีปัจจัยเกื้อหนุนกันอย่างไรเพื่อให้โครงการ ประสบความสาเร็จ 7. อปท. ระบุตัวชีว้ ัดผลสัมฤทธิ์ของโครงการอย่างชัดเจน เป็น รูปธรรม และมีแหล่งข้อมูลสนับสนุนตัวชี้วดั ผลสัมฤทธิ์อย่าง ชัดเจน 8. อปท. มีแนวทางการติดตามและประเมินผลอย่างเป็นรูปธรรม และแยกแยะระหว่างการติดตามและการประเมินผลโครงการ 9. อปท. มีแผนการนาผลการติดตามและประเมินผลโครงการไป ปรับปรุงและพัฒนาโครงการในระยะต่อไปอย่างเป็นรูปธรรม 10. อปท. มีผลสรุปบทเรียนที่ได้จากโครงการ และมีหลักฐานข้อมูล สนับสนุนที่ถกู ต้องตามหลักวิชาการ รวมคะแนนทัง้ หมดสำหรับมิตทิ ่ี 3
182
ปรากฏแต่ไม่ชัดเจน หรือไม่สอดคล้องกับ ข้อเท็จจริง (1 คะแนน)
การชี้แจงครบถ้วน ชัดเจน และมี หลักฐานประกอบ (2 คะแนน)
รวม
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
มิติที่ 4 ผลกระทบต่อชุมชนและความยั่งยืน (2 เกณฑ์) ประเด็นพิจารณา (1) อปท. มีแผนการถ่ายทอดโครงการและกิจกรรมที่คิดขึ้นมา (2) บทสรุ ป โครงการของ อปท. ต้ อ งสะท้ อนบทเรี ย น หั ว ใจส าคั ญ ของความส าเร็ จ โครงการ และข้อเปรียบเทียบโครงการที่คิดขึ้นมากับแนวทางการแก้ไขปัญหาชุมชน แบบเดิม ตารางเกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการให้คะแนน
ไม่ปรากฏ (0 คะแนน)
ปรากฏแต่ไม่ ชัดเจนหรือ ไม่สอดคล้องกับ ข้อเท็จจริง (1 คะแนน)
การชี้แจงครบถ้วน ชัดเจนและมี หลักฐานประกอบ (2 คะแนน)
รวม
1. อปท. มีการถ่ายทอดและเผยแพร่โครงการและกิจกรรมทิ่คิด ขึ้นเพื่อให้หน่วยงานและ อปท. อื่นนาไปปรับใช้ 2. อปท. มีการถอดบทเรียนโครงการ โดยเปรียบเทียบข้อ แตกต่างระหว่างวิธกี ารที่ใช้ในโครงการที่คิดขึ้นกับวิธกี าร แก้ไขปัญหาแบบเดิม รวมคะแนนทั้งหมดส้าหรับมิติที่ 4
183
ภาคผนวก ๑๓
สรุปบทเรียนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความเป็นเลิศ 1. ชื่อโครงการ____________________________________________________________________ 2. ชือ่ อปท. และจังหวัด_____________________________________________________________ 3. คณะผู้บริหารและผู้ประสานงานหลักของ อปท.
4. เหตุผลและความสาคัญ
5. วัตถุประสงค์ แผนดาเนินงาน และกรอบระยะเวลาการดาเนินงาน
6. กิจกรรมหลักและทรัพยากรที่ใช้ในแต่ละกิจกรรม
7. ประโยชน์ที่ได้รับ
8. ลักษณะเด่นของโครงการนวัตกรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ
9. สรุปบทเรียน
184
รายงานผลการประเมิน อปท. เพื่อรับรางวัลพระปกเกล้าประจาปี 2560
185