ประเทศไทย ๔.๐
Thailand 4.0
รายนามคณะผูบ้ รรยาย
รองศาสตราจารย์ ดร. อัชกรณ์ วงศป์ รีดี
คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิดา้ )
ผูช้ ่ วยศาสตราจารย์ ดร. ธัชเฉลิม สุทธิพงษป์ ระชา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2
ประเด็นการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
ทิศทางการเปลีย่ นแปลงของประชาคมโลกในยุคโลกาภิวัตน์ 4.0 ยุทธศาสตร์การพัฒนาของประเทศตา่ งๆ กับดักการพัฒนาของประเทศไทย ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) การปกครองทอ้ งถิน่ ในยุค Thailand 4.0
3
โลกาภิวัตน์ 1.0, 2.0, 3.0, 4.0 โลกาภิวตั น์ 1.0
การคา้
โลกาภิวตั น์ 2.0
อุตสาหกรรม
โลกาภิวตั น์ 3.0
R&D
โลกาภิวตั น์ 4.0
ปั ญญาประดิษฐ์
4
เศรษฐกิจโลกในปั จจุบัน (ทฤษฎีฝูงห่านป่า)
ห่านป่าทีอ่ พยพจากไซบีเรียจะบินเป็ นฝูง โดยในแตล่ ะ ฝูง ห่านป่าจะผลักกันเป็ นจ่าฝูง ตัวทีใ่ หญท่ สี่ ุดจะเริม่ บิน เป็ นตัวแรก ฝูงห่านป่าก็เหมือนระบบเศรษฐกิจโลก ยุค Globalization 1.0 โปรตุเกสและสเปนเป็ นจ่าฝูง ยุค Globalization 2.0 อังกฤษเป็ นจ่าฝูง ยุค Globalization 3.0 อเมริกาและญีป่ ่ นเป็ ุ นจ่าฝูง ยุค Globalization 4.0 จีน อินเดีย และอื่นๆ
5
การคา้ ขายทีไ่ ร้พรมแดน ไร้มิตรแทท้ ถี่ าวร
6
นโยบายเศรษฐกิจแนวใหมข่ องแตล่ ะประเทศ A Nation of Makers Smart Nation
Design in Innovation
Made in China 2025
Creative Economy
New Economic Model
7
A Nation of Makers นโยบายรัฐบาล “ชาติแห่งนักประดิษฐ”์ เนน้ กระบวนการผลิตทีใ่ ช้เทคโนโลยี 3D, Laser, design software ทาเนียบประธานาธิบดีจัดงานสัปดาห์นกั ประดิษฐ์ รัฐบาลกลางร่วมมือกับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ในการสง่ เสริม นักประดิษฐ์
8
Design in Innovation นโยบายรัฐบาลสนับสนุนเศรษฐกิจดิจิตัล เนน้ นวัตกรรมทางดา้ นการออกแบบ (Design Innovation) การออกแบบผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต และระบบบริหารองคก์ ร
9
Made in China 2025 New IT
อุปกรณแ์ ละ ระบบราง
10
ปั ญญาประดิษฐ์
วัสดุอุปกรณ์ ยานอวกาศ
วิศวกรรมทางทะเลและ เรือเดินสมุทรอัจฉริยะ
พลังงานทางเลือก
แหลง่ กาเนิด พลังงาน รูปแบบใหม่
วัสดุผสม รูปแบบใหม่
ยาและอุปกรณ์ การแพทย์
เครื่องจักรทาง การเกษตร
11
ศูนยก์ ลางระบบ โลจิสติกส์ ของเอเชีย
ศูนยก์ ลางนวัตกรรม ทางดา้ นเทคโนโลยี
“ทุกสิง่ ทุกอยา่ ง ทุกคน ตอ้ ง สามารถเชื่อมโยงถึงกันไดต้ ลอด 24 ชัว่ โมง ดว้ ยนวัตกรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศ”
ศูนยก์ ลางทางดา้ น การแพทยแ์ ละสุขภาพ
Creative Economy รัฐบาล ทอ้ งถิน่ Chaebol
แนวคิดเศรษฐกิจสรา้ งสรรค์ ความรว่ มมือแบบสามเสา้ : รัฐบาล-ทอ้ งถิน่ Chaebol Chaebol = กลุม่ ธุรกิจเอกชนขนาดใหญ่ เช่น ซัมซุง ฮุนได ลอตเต)้
12
พัฒนาการเศรษฐกิจของเกาหลีใต้
13
Next Decade
1980-2000 1960-1980
รัฐเป็ นตัวนา
Chaebol เป็ นตัวนา
ภาคีสามเสา้ เป็ นตัวนา
Dynamic Economy through Innovation
การสรา้ งพลวัติดว้ ยนวัตกรรมในเกาหลีใต้
“Inspiring the World through Sparking Innovation” ในปั จจุบัน เกาหลีใตม้ ี Start-up 8,857 แห่ง ผา่ น Center for Creative Economy and Innovation – South Korea New Economy -> New Start-up -> New Industry
14
18 ศูนยน์ วัตกรรมทัว่ ประเทศเกาหลีใต้
15
New Economic Model ประเทศมาเลเซียประกาศใช้นโยบาย New Economic Policy ภายหลังเหตุการณจ์ ลาจล เมื่อปี ค.ศ. 1969 นโยบายดังกลา่ วมีเป้าหมายเพื่อแกไ้ ขปั ญหาความยากจนและ ความเหลื่อมล้าทางฐานะเศรษฐกิจระหวา่ งชาวจีนมาเลยแ์ ละชาวมาเลยพ์ ้ นื เมือง New Economic Policy ถูกแทนทีด่ ว้ ย New Development Policy ในรัฐบาล นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮัมหมัด แตเ่ นื้อหาสาระยังคงเหมือนกับ New Economic Policy นายกรัฐมนตรีนาจิบ ราซัคประกาศใช้ New Economic Model แทน New Development Policy ในปี ค.ศ. 2010
16
Vision 2020
17
ปฏิรูประบบสวัสดิการสังคม ปฏิรูประบบราชการ มุง่ เนน้ เทคโนโลยีและ นวัตกรรม ปฏิรูประบบงบประมาณ ภาครัฐ
สถานการณท์ างเศรษฐกิจไทย
18
อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย (เฉลีย่ เคลื่อนที)่ ระหวา่ งปี พ.ศ. 2500-2554 การขยายตัวทางเศรษฐกิจไทยมีแนวโนม้ ต่าลงชัดเจน นับตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2532
ประเทศไทยติดกับดัก ประเทศดอ้ ยพัฒนา (Middle-income Country Trap) ทศวรรษทีห่ ายไป (Lost Decades)
เสน้ ทางการพัฒนาของประเทศไทย THAILAND 3.0 Globalization
THAILAND 2.0 Industrialization
THAILAND 1.0 Agriculture
สังคม เกษตรกรรม
สังคม อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมทีเ่ นน้ แรงงาน ราคาถูกและเทคโนโลยีทไี่ ม่ สลับ ซับซ้อนมาก อาศัยเงินทุน ภายในประเทศ
สังคม โลกาภิวัตน์ อุตสาหกรรมหนัก เนน้ เงินลงทุนจาก ตา่ งประเทศ
19
กับดักการพัฒนาของประเทศไทย กับดักความไมส่ มดุล
THAILAND 3.0 THAILAND 2.0 Industrialization
THAILAND 1.0 Agriculture
สังคม เกษตรกรรม
สังคม อุตสาหกรรม
Imbalance Trap
Globalization
สังคม โลกาภิวัตน์
กับดักความไมเ่ ทา่ เทียม Inequality Trap
กับดักรายได้
Income Trap
20
Thailand 4.0 คืออะไร
21
THAILAND 4.0 THAILAND 3.0 THAILAND 2.0 THAILAND 1.0 Agriculture
สังคม เกษตรกรรม
Industrialization
สังคม อุตสาหกรรม
Globalization
สังคม โลกาภิวัตน์
?
หลักการของ “ประเทศไทย 4.0” คนเป็ นศูนยก์ ลาง
เนน้
การพัฒนาอยา่ งยัง่ ยืน
สังคมสาหรับ ทุกคน
22
เศรษฐกิจแห่ง นวัตกรรม
เนน้ “คน” เป็ นศูนยก์ ลาง ประเทศไทย 3.0
23
ประเทศไทย 4.0
“People for Growth”
“Growth for People”
ศักยภาพทุนมนุษย์
การเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ
ปั จจัยการผลิต การเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ
สภาพแวดลอ้ มทีเ่ อื้ออานวย การปลดปลอ่ ย ศักยภาพของทุนมนุษย์
ประเทศไทย 4.0 = การพัฒนาอยา่ งยัง่ ยืน Head
Health
Heart
Hope
Harmony
Happiness
ความสุขของ ประชาชน
การ เจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ
การพัฒนา อยา่ งยัง่ ยืน
24
สังคมสาหรับทุกคน (Inclusive Society) การพัฒนาทีเ่ นน้ “คน” เป็ น ศูนยก์ ลาง
PeopleCentric Development
Sustainable Development
การเจริญเติบโตและ สังคมสาหรับทุกคน
Inclusive Growth/ Society
การพัฒนาอยา่ งยัง่ ยืน
25
เศรษฐกิจนวัตกรรม (Innovation-driven Economy) การพัฒนา อยา่ งยัง่ ยืน
เศรษฐกิจ นวัตกรรม
การเจริญเติบโต สาหรับทุกคน
26
แกไ้ ขกับดักดว้ ยการสร้าง “มูลคา่ ทางเศรษฐกิจ” More for Less
Less for More
Thailand 1.0 – 3.0
Thailand 4.0
เนน้ การผลิตสินคา้ เนน้ อุตสาหกรรม เนน้ การขายสินคา้
เนน้ การผลิตนวัตกรรม เนน้ เทคโนโลยี เนน้ ภาคบริการ
27
ระลอก 5 ลูกแห่งการปฏิรปู เศรษฐกิจและสังคม การเกษตรแบบ ดัง้ เดิม
SMEs แบบ ดัง้ เดิม
การเกษตร อัจฉริยะ
SMEs อัจฉริยะ Startups
ซื้อเทคโนโลยี
ภาคบริการ แบบดัง้ เดิม
แรงงาน ทักษะต่า
สรา้ งเทคโนโลยี
ภาคบริการที่ เพิม่ มูลคา่
แรงงาน ทักษะสูง
28
กลไกประเทศไทย 4.0 วิทยาศาสตร์
วัฒนธรรม
29
ความไดเ้ ปรียบเชิงเปรียบเทียบ ของประเทศไทย
ความไดเ้ ปรียบเชิงการแขง่ ขัน ของประเทศไทย
ความหลากหลายทาง ชีวภาพ
อาหาร การเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพ สุขภาพ สุขภาวะ เทคโนโลยีการแพทย์ เครื่องมือเครื่องใช้อัจฉริยะ ปั ญญาประดิษฐ์ เครื่องมือดิจิตัล เทคโนโลยีสารสนเทศ บริการสร้างสรรคแ์ ละบริการเชิง วัฒนธรรม
ความหลากหลายทาง วัฒนธรรม
Thailand 4.0 และประเด็นยุทธศาสตรช์ าติ ประเด็นยุทธศาสตรช์ าติ
สังคมผูส้ ูงวัย แหลง่ พลังงานยัง่ ยืน Low-Carbon Society เมืองอัจฉริยะ Globalization 4.0 การทอ่ งเทีย่ วเชิงอนุรักษ์ Functional Food Big Data Climate Change
กลไกเศรษฐกิจใหม่
Bio-Tech
Artificial Intelligence
Bio-Med
Digital Technology
Creative & Cultural Services
30
เทคโนโลยีใหมแ่ ละอุตสาหกรรมใหม่
31
เทคโนโลยีใหม่
อุตสาหกรรมใหม่
วิสาหกิจใหม่
เทคโนโลยีทางการแพทย์
สุขภาพ
กลไกอิเล็กทรอนิกส์
เครื่องมืออัจฉริยะ/ ปั ญญาประดิษฐ์
เทคโนโลยีดา้ นสุขภาพ บริการดว้ ยหุ่นยนต์
เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนงาน
เทคโนโลยีดิจิตัล
การออกแบบบริการและ เทคโนโลยี
บริการสร้างสรรคแ์ ละบริการเชิง วัฒนธรรม
เทคโนโลยีชีวภาพ
อาหารและการเกษตร
อุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป
เทคโนโลยีการศึกษา ธุรกิจดิจิตัล ธุรกิจออนไลน์ การออกแบบ การทอ่ งเทีย่ ว
ตัวอยา่ ง: อุตสาหกรรมการเกษตรและอาหารแปรรูป Smart Production „ กระบวนการผลิตครบห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain)
„ ใช้เทคโนโลยีกับทุกขัน้ ตอนของห่วงโซ่อุปทาน
Smart Agriculture „ คุณภาพผลผลิตและผลิตภัณฑ์ „ ภายใตบ้ ริบทการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศของโลกและสังคมผูส้ ูงอายุ
32
ตัวอยา่ ง Agricultural Innovation Hubs ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคเหนือ
Smart Farm Dairy product Functional Food
ภาคกลาง
Functional Food อาหารสาหรับผูส้ ูงวัย
ภาคใต้
อาหารทะเล อาหารฮาลาล ยางพารา
Smart Farm ปศุสัตว์
พื้นทีน่ าร่อง
ห้องทดลอง
บริการที่ เกีย่ วขอ้ ง
สถานี บม่ เพาะ
33
แนวทางดาเนินงานของรัฐบาลพลเอกประยุทธ จันทร์โอชา ใช้มหาวิทยาลัยเป็ นฐาน ในรูปแบบเครือขา่ ยมหาวิทยาลัย (RUN: Research University Network) โดยเริม่ ตน้ จากมหาวิทยาลัยในกลุม่ ทปอ. ดึงมหาวิทยาลัยตา่ งประเทศทีม่ ีช่อื เสียงในดา้ นนีม้ าร่วม ดึงภาคเอกชนในพื้นทีม่ าลงทุนโดยใช้กลไกทีม่ ีอยูแ่ ลว้ มาสนับสนุน เช่น เขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ อุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค เป็ นตน้ ดึงสถาบันการเงิน และการลงทุนในรูปแบบตา่ งๆ มาตอ่ ยอดนวัตกรรม ความเชีย่ วชาญของแตล่ ะ Hub ตอ้ งสอดคลอ้ งกับการพัฒนาพื้นที่ วิจัย
พัฒนา
นวัตกรรม
34
ตัวอยา่ งแนวทางดาเนินงานของรัฐบาล กลไก Thailand 4.0
ภาคีภาคเอกชน
สถาบันการเงิน
อาหาร, สินคา้ เกษตร, เทคโนโลยีชีวภาพ สุขภาพ
CP, Betrago, ตะนาวศรี
ธนาคารออมสิน
สหพัฒน์
ธนาคารกรุงเทพ
เทคโนโลยีดิจิตัล
ศุภชัย, ศุภจี
ธนาคารไทย พาณิชย์
มหาวิทยาลัย ม.เกษตร ม.ขอนแกน่ ม.สงขลาฯ ม.มหิดล ม.เชียงใหม่
35
มหาวิทยาลัย ตา่ งประเทศ UC (Davis) Cornell
MIT Stanford
การปกครองทอ้ งถิน่ ไทย 4.0 เป็ นองคก์ รแห่ง การเรียนรู้
มีระบบพีเ่ ลีย้ งให้แก่ ทอ้ งถิน่
เนน้ การมีสว่ นร่วมคิด และร่วมผลิตของ ภาคประชาชน
สนับสนุนนวัตกรรม ทางสังคม
36
ความทา้ ทายของทอ้ งถิน่ ในยุค 4.0 ประชากรแฝง
ทรัพยากรธรรมชาติ
มลพิษทาง สิง่ แวดลอ้ ม
สุขภาวะอนามัย
37
ประชากรแฝง
38
นักทอ่ งเทีย่ ว แรงงานตา่ งดา้ ว แรงงานพลัดถิน่
ทรัพยากรธรรมชาติลดนอ้ ยลง
39
มลพิษทางสิง่ แวดลอ้ ม
40
การกีดกันการคา้ รูปแบบใหม่
41
Thailand 4.0 กับการปกครองทอ้ งถิน่
Thailand 4.0 คือ แนวคิดการพัฒนาอยา่ งสมดุลเพื่อสังคมที่ เทา่ เทียมกัน โดยใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) ความทา้ ทายของทอ้ งถิน่ ในยุค 4.0 สามารถแกไ้ ขโดยใช้ วทน. วทน. จะเกิดขึ้นไดต้ อ้ งมีระบบการบริหารจัดการและการประสานงาน ระหวา่ งหนว่ ยงานกากับดูแลทีด่ ี ระบบพีเ่ ลีย้ งทอ้ งถิน่ จึงสาคัญมากตอ่ ความสาเร็จของ Thailand 4.0
42
กรม สถ. กับ Thailand 4.0 แผนกระจายอานาจฯ กาหนดหนว่ ยงาน พีเ่ ลีย้ งให้แตล่ ะภารกิจถ่ายโอน แตก่ รมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถิน่ คือ “พีเ่ ลีย้ งใหญ”่
43
พวกเราคือขา้ ราชบริพารในองคพ์ ระมหากษัตริย์
44
“การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้นต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของประชาชน ส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานที่มั่นคง พร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริมความเจริญ และฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลำดับ ต่อไป.........การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิป ระเทศทางภูมิศาสตร์ และภูมิป ระเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคมวิทยา คือ นิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คนอื่นคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนำ เราเข้า ไปดูว่า เขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง”
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗