เล่ม 10. 38 มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง ทุกภพชาติ

Page 1



ทำ�ไมการให้ธรรมทาน จึงเป็นการสร้างบุญใหญ่ ที่มีอานิสงส์บุญมาก... นั่นเพราะธรรมะได้เปลี่ยนจิต ช่วยชีวิตให้คน จำ�นวนมากได้พบความสุขความเจริญไปทุกภพชาติ เหนือกว่าวัตถุทานทีช่ ว่ ยให้แค่รอดเป็นครัง้ คราว เหนือกว่าอภัยทานที่เป็นเรื่องส่วนตน... ขอบุญรักษา ธ.ธรรมรักษ์


ข้าพเจ้าธ.ธรรมรักษ์และเจ้าภาพทีส่ ร้างหนังสือบุญเพือ่ ธรรมทาน ขอน้อมอุทศิ บุญกุศลแห่งการสร้างหนังสือบุญ เพื่ อ ธรรมทานที่ เ กิ ด ขึ้ น นี้ แ ละบุ ญ กุ ศ ลที่ ไ ด้ ทำ � มา ทุกภพชาติ ทุกกัป ทุกกัลป์ ทุกอสงไขย รวมเป็นมหากุศล น้อมถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา เพื่อโมทนาพระคุณความดี พระมหาบารมี พระมหา กรุ ณ าธิ คุ ณ ขององค์ ส มเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ทุ ก พระองค์ นั บ ตั้ ง แต่ ส มเด็ จ องค์ ป ฐมจนถึ ง องค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน พระปัจเจก พุทธเจ้าทุกพระองค์ พระธรรมเจ้า พระอริยสงฆ์เจ้า พระอรหันต์เจ้า พระมหาโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ทุกๆ พระองค์ ในทุกกัป ทุกกัลป์ อุทศิ แด่พรหมเทพเทวาทัง้ หลาย สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ วั่ สากลโลก เจ้าทีเ่ จ้าทางผูด้ แู ลปกป้องบ้านเรือน สถานที่ ทำ�งานประกอบธุรกิจทั้งปวง พ่อแม่ผู้ให้กำ�เนิดและ บรรพบุรุษ ครูบาอาจารย์ ผู้มีพระคุณในทุกภพชาติ โดยเฉพาะในชาติปัจจุบันนี้ อีกทั้งเจ้ากรรมนายเวร


ทั้งหลายทั้งที่กำ�ลังมาส่งผลและที่กำ�ลังรอส่งผล ขอ เมตตาให้ท่านทั้งหลายมาโมทนายินดีในมหากุศลนี้ หากท่านยินดีพอใจรับในมหาบุญกุศลนี้แล้ว ขอได้ โปรดเมตตาให้อโหสิกรรม อดโทษ ยกโทษ ในสิ่งที่ ข้าพเจ้าทั้งหลายละเมิดล่วงเกินท่านทั้งกาย วาจา ใจ ทั้งที่รู้ตัวและไม่รู้ตัวและเจตนาหรือไม่เจตนา และขอให้มหาบุญกุศลจงเป็นพลวปัจจัยส่งผล ให้เหล่าข้าพเจ้าทั้งหลายและครอบครัว ท่านเจ้าภาพ ที่สร้างหนังสือบุญเพื่อธรรมทานทั้งหลาย ท่านผู้อ่าน ทุกท่าน พบแต่ความสุข ความเจริญ ความราบรื่น คล่องตัวทุกประการ ทั้งครอบครัว การงาน การเงิน โดยฉับพลันทันทีเทอญ


๓๘ มงคลชีวิต

พ า ทุ ก ชี วิ ต ใ ห้ เ จ ริ ญ รุ่ ง เ รื อ ง. . . ทุ ก ภ พ ช า ติ ปาฏิหาริย์วิชาศักดิ์สิทธิ์ ๑๐


มงคลชีวิต ๑

Íàสว¹า ¨ ¾าÅา¹í

( อ ะ เ ส ว ะ น า จ ะ พ า ล า นั ง )

äÁ‹¤º¤¹¾าÅ

เราจะรูไ้ ด้อย่างไรว่า คนไหนเป็นคนพาล คนไหนเป็น บัณ±ิต? ในทางพระพุทธศาสนาระบุว่า คนพาลได้แก่ “คนโง่ คนชัว่ ” และพึงสังเกตได้วา่ “คนโง่กบั คนชัว่ ” ถือว่าเป็นอย่างเดียวกัน คือคนทีพ่ ดู ชัว่ ทำาชัว่ คิดชัว่ ไม่ว่าจะมีความรู้สูงส่งเพียงใดก็ยังเรียกว่า “คนโง่” อยู่นั่นเอง


6

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

เพราะคนเหล่านีม้ กั จะทำ�อะไรโง่ๆ ขาดปัญญา ทำ�ไปด้วยอำ�นาจกิเลสฝ่ายต่� ำ ปล่อยชีวติ ให้กเิ ลสพา ไปอย่างเดียว ถ้าคนคนนัน้ มีกเิ ลสหนามากๆ เรียกว่า “อันธพาล” คือ โง่อย่างมืดบอด คนทีแ่ สร้งทำ�ตัวว่าเป็นคนดี ตำ�หนิ ว่าคนอืน่ เป็นคนชัว่ ไม่ดเี ท่าตนก็ดี หรือคนทีร่ ่ำ�รวย อวดรวย อวดอำ�นาจ มีความตระหนี่ หรือบ้ากิเลส ก็เข้าข่ายนี้ทั้งนั้น วิธดี ู “คนพาล” พระพุทธเจ้าทรงสอน ให้ดูที่ความคิด คำ�พูด และการกระทำ� นอกจากนัน้ ยังดูดว้ ยว่า การกระทำ�หรือความ ประพฤตินั้นเป็นไปเพื่อประโยชน์ในปัจจุบันหรือ ประโยชน์ในภายหน้าหรือไม่ ถ้าใช่ก็คือเป็นบัณฑิต แต่ถ้าไม่ใช่ก็คือคนพาล ควรหลีกหนีห่างให้ไกล การหนีให้หา่ งคนพาลมากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะทำ�ได้จงึ เป็น เรื่องที่ควรทำ�ที่สุด


7

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ดังเช่นเรือ่ งราวของ อกิตติดาบส ซึง่ เป็นอดีต มหาเศรษฐีหนุ่มของเมืองพาราณสีที่ได้ออกบวช บำ�เพ็ญพรตอยูใ่ นป่าอย่างสงบ วันหนึง่ ก็มพี ราหมณ์ แก่ๆ คนหนึง่ โซซัดโซเซมาขออาหาร อกิตติดาบสก็ให้ อาหารที่ตนเองมีอยู่ไปทั้งหมดโดยที่ตัวเองไม่ยอม กินอะไรเลย โดยพราหมณ์คนนี้มาขออาหารจาก อกิตติดาบสอยู่ถึงสามวัน ในวันทีส่ ามพราหมณ์ชราก็เลยเปิดเผยตัวจริง ให้ทราบว่าตนเองก็คือพระอินทร์แปลงกายมาเพื่อ พิสจู น์ความอดทนของดาบสหนุม่ แล้วถามว่า “ท่าน อยากจะได้พรอะไรเป็นที่สุด” อกิตติดาบสแทนที่ จะขอทรั พ ย์ สิ น เงิ น ทองหรื อ ความสะดวกสบาย กลับขอพรที่แปลกประหลาดที่สุดคือ


8

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

“ขออย่าได้เห็นคนพาล อย่าได้ยินคนพาล อย่าได้อยู่ร่วมกับคนพาล อย่าได้สนทนาปราศรัย กับคนพาล และอย่าได้ชอบใจในคนพาลเลยแม้สัก นิดเดียว” เมื่อพระอินทร์ได้รับคำ�ขอ ก็สงสัยว่าเพราะ อะไรถึงได้กลัวคนพาลเสียขนาดนั้น ดาบสหนุ่มก็ ตอบว่า “คนพาลมักจะแนะนำ�ในสิ่งที่ไม่ควรแนะนำ� ชักชวนทำ�แต่สิ่งที่ไม่ได้เรื่องคือชวนทำ�แต่ความชั่ว เวลาพูดดีหรือแนะนำ�สิง่ ทีด่ ๆี ให้กโ็ กรธ และคนพาล ไม่เคยมีวนิ ยั กับอะไรทัง้ สิน้ ชาตินขี้ ออย่าเจอคนพาล เลยดีกว่า” พระอินทร์ท่านก็เมตตาให้พรนั้นแก่อกิตติ ดาบสให้สมปรารถนา ตลอดชีวิตท่านจึงไม่เคยเจอ คนชั่วอีกเลย เมื่อได้เจอแต่คนดีๆ ชีวิตท่านก็มีแต่ ความสุข


มงคลชีวิต ๒

ป³Ú±ิµา¹ Ú¨ àสว¹า

( ปั ณ ±ิ ต า นั ญ จ ะ เ ส ว ะ น า )

¤ººั³±ิµ

“บัณ±ิต” คือบุคคลที่มีบุคลิกภาพตรงกันข้ามกับ คนพาลโดยสิน้ เชิง คือเป็นผูส้ งบเรียบร้อยในกาย วาจา ใจ เป็นผูม้ ศี ลี ธรรม เป็นผูร้ อบรูธ้ รรมและรูจ้ กั ปฏิบตั ิ ธรรมตามคำาสอนของพระพุทธเจ้า ซึง่ เหล่านีไ้ ม่ได้ดู จากการมีปริญญาระดับไหนหรือมีกี่ใบ


10

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

คนทีไ่ ม่ได้เรียนหนังสือ เป็นชาวไร่ชาวนา หรือ ใครก็ตามทีส่ ามารถรักษาศีลได้ เป็นผูท้ มี่ คี วามเห็น ที่ถูกต้องตามทำ�นองคลองธรรมต่างล้วนถูกยกย่อง ว่าเป็น “บัณฑิต” ทั้งสิ้น วิธสี งั เกตบัณฑิตนัน้ ไม่ยาก โดยคนเหล่านีม้ กั กระทำ�ในสิ่งต่อไปนี้เป็นประจำ� ได้แก่ ๑. ชอบชักนำ�ในทางที่ถูก เช่น ชักนำ�ให้เลิก ในอบายมุข แนะให้เลิกสูบบุหรี่ แนะให้เลิกดื่มสุรา แนะให้เลิกเล่นการพนัน ชักนำ�ให้คนอื่นรู้จักปฏิบัติ ธรรม แนะนำ�ให้ทำ�มาหากินในทางสุจริต ๒. บัณฑิตชอบทำ�แต่สิ่งที่เป็นการเป็นงาน ไม่เกะกะระรานใคร เมือ่ มีงานก็เร่งรีบทำ�การงานใน หน้าที่ของตนเองให้สำ�เร็จลุล่วงไปด้วยดี ไม่ปล่อย งานให้คงั่ ค้างและไม่กา้ วก่ายงานในหน้าทีข่ องคนอืน่ เว้นแต่เมื่อได้รับการขอร้องหรือเพื่อช่วยเหลือคนอื่น


11

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

๓. บัณฑิตชอบทำ�แต่สงิ่ ทีถ่ กู ทีค่ วร เช่น ชอบ พูดและทำ�ตรงไปตรงมา ชอบสนทนาธรรม รังเกียจ การนินทาว่าร้าย ชอบบำ�เพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ทงั้ ต่อตนเองและต่อผู้อื่น เป็นต้น ๔. เมื่อถูกว่ากล่าวตักเตือนโดยดีบัณฑิตเขา มักจะไม่โกรธ มีนสิ ยั ถือเอาความถูกต้อง ความดี และ ความมีประโยชน์เป็นที่ตั้ง ไม่ถือตัวอวดดีดื้อรั้น แต่ เ ห็ น ว่ า ผู้ ที่ ตั ก เตื อ นคนคื อ ผู้ ที่ ชี้ ขุ ม ทรั พ ย์ ท าง ปัญญาให้ แล้วพยายามแก้ไขปรับปรุงตนเองให้ดขี นึ้ ตามคำ�แนะนำ�นั้น โดยไม่นึกรังเกียจว่าผู้ที่ตักเตือน จะมีอายุ ยศศักดิ์ ฐานะสูงหรือต่ำ�กว่า หากมีผู้อื่น เข้าใจผิดพูดก้าวร้าวไม่สมควร ก็สามารถอดทนไม่ โกรธตอบแล้วพยายามหาโอกาสชี้แจงให้เขาเข้าใจ ภายหลัง จึงทำ�ความอบอุ่นและเย็นใจให้แก่ทุกคน


12

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

๕. บัณฑิตย่อมรับรูร้ ะเบียบวินยั รักทีจ่ ะปฏิบตั ิ ตนตามระเบียบวินัยของหมู่คณะอย่างเคร่งครัด เพราะเขารูด้ วี า่ วินยั เป็นเครือ่ งยกหมูค่ ณะให้เจริญขึน้ ได้จริง ทำ�ให้หมูค่ ณะสงบเรียบร้อยไม่วนุ่ วาย ทำ�ให้ เกิดความสามัคคี การคบบัณฑิตจะส่งผลให้ผู้คบได้สัมผัสกับ ความดีตา่ งๆ ได้เห็นตัวอย่างทีด่ ี ฟังเรือ่ งดีๆ ทำ�สิง่ ดีๆ แนวคิดดีๆ เป็นประโยชน์เกือ้ กูลแก่การปฏิบตั ธิ รรม เพื่อพัฒนาชีวิตไปสู่ความหลุดพ้น ผู้คบบัณฑิตก็เป็นเช่นใบไม้ที่พันของ หอมเอาไว้ แม้จะเอาของหอมนั้นออกจาก ใบไม้ไปแล้ว กลิ่นหอมก็ยังติดตัวไปตลอด นั่นเอง


มงคลชีวิต ๓

ปÙชา ¨ ปÙช¹Õยา¹í

( ปู ช า จ ะ ปู ช ะ นี ย า นั ง )

ºÙชาºØ¤¤ÅทÕè¤วรºÙชา

คนที่ควรจะบูชาหมายถึงคนดีที่ควรให้การยกย่อง เมื่อยกย่องแล้วก็นำาคุณงามความดีของเขาเหล่านั้น มาปฏิบัติตามจึงจะพบกับความสุขความเจริญ ใน ทางโลกนั้นมีบุคคลที่ควรบูชา ๔ ประเภทได้แก่ ๑. คนที่มีชาติวุฒิ ได้แก่ พระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ผ้สู ร้างประโยชน์คุณูปการ แก่ชาติบา้ นเมือง รวมถึงบูรพกษัตริย์ในอดีต


14

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

คนเหล่านีค้ วรบูชาเป็นอย่างมาก เพราะท่าน เหล่ า นั้ น สร้ า งประเทศที่ อ ยู่ ใ ห้ เ ราได้ กิ น ดี อ ยู่ ดี มี ความสุข ๒. คนที่มีคุณวุฒิ สำ�หรับ “คุณวุฒิ” ก็คือ คุณงามความดี มีความรู้ความสามารถมากๆ ที่จะ นำ�ไปทำ�ประโยชน์แก่ชาติบ้านเมือง ถือว่าท่านเป็น ครูบาอาจารย์ที่ดีก็สมควรบูชา ๓. คนที่มีวัยวุฒิ คือคนที่มีประสบการณ์สูง ผ่านร้อนผ่านหนาวมาเยอะ โดยธรรมชาติแล้วคนแก่ๆ มักมีอะไรดีๆ ทีค่ นอายุนอ้ ยมักไม่ทราบ ซึง่ ความรูน้ นั้ ผู้ น้ อ ยก็ ต้ อ งพิ จ ารณาด้ ว ยว่ า เป็ น ความรู้ ห รื อ ประสบการณ์ที่ดีจริงหรือไม่ ถ้าใช่ก็ควรบูชา


15

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

๔. คนทีม่ ปี ญั ญาวุฒิ คือคนทีฉ่ ลาดหลักแหลม ความคิดดี จะอายุน้อยหรืออายุมากไม่เกี่ยว ความ ฉลาดนั้นไม่ใช่การฉลาดแกมโกง แต่ต้องฉลาดใน ธรรมนองคลองธรรม สี่บุคคลที่กล่าวมานี้เป็นผู้ที่ควรบูชาในระดับ คนธรรมดา แต่ถ้าเป็นบุคคลระดับสูงก็ยังมีแบ่งไป อีกคือ พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ รองลงมาก็ พระอุปัชฌาย์ พ่อแม่ ครูบาอาจารย์ คนเหล่านี้มี บุญคุณมากกับเรา ทุกคนต้องบูชาให้ความเคารพ อย่างดี คนที่เคารพบูชาคนที่ไม่ควรบูชาหรือบูชา แบบผิดกาลเทศะนั้นย่อมถึงซึ่งความพินาศย่อยยับ ดังเช่นเรื่องราวของปริพาชกคนหนึ่งเดินผ่านไปยัง ค่ายชนแพะ ที่เมืองพาราณสี มีแพะตัวหนึ่งหลุด ออกมาเห็ น นั ก บวชเข้ า ก็ ย่ อ เขาลงหมายจะขวิ ด ให้ตาย


16

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ปริพาชกก็พาลไปคิดว่าแพะนี้ฉลาด รู้ว่าใคร เป็นผูค้ วรเคารพ ผูท้ รงศีลอย่างเรายังรูจ้ กั เคารพ ใน ขณะทีค่ นรอบข้างไม่เคารพตนเองเลย จึงตัง้ ท่าน้อม รับการเคารพจากแพะ ประจวบกับชายคนหนึง่ เห็นแพะตัง้ ท่าจะขวิด ก็ร้องเตือนบอกว่า “ท่านนักบวช นั่นแพะมันกำ�ลัง จะขวิด ท่านรีบหนีเถอะ เร็วเข้า” ปริพาชกผู้โง่เขลาไม่เชื่อ บอกว่าแพะมัน จะทำ�ความเคารพตนเองอยู่ต่างหาก ว่าพลางก็ ประนมมือรับไหว้แพะ ไม่ทันย่อตัวลงดี แพะก็เอา เขาเสียบเสยที่ท้องจนล้มทั้งยืนจึงต้องตายอย่าง น่าเวทนา เมือ่ รูส้ กึ ตัวก่อนตายจึงได้รำ�พึงออกมาว่า


17

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

“ใครก็ตามทีบ่ ชู าคนทีไ่ ม่ควรบูชา ผูน้ นั้ จะถูก คนชั่วร้ายทำ�ร้ายเอา เหมือนเราผู้โง่เขลา ยกมือ ไหว้แพะจึงโดนแพะร้ายขวิดเอาจนนอนรอความตาย อยู่อย่างนี้” การบูชาคนจึงเป็นเรื่องสำ�คัญ หากบูชาผิด คนก็เท่ากับรับเอาความเลวทรามของคนคนนั้นมา เป็นแบบอย่างในการดำ�เนินชีวิต ก็จะมีแต่หายนะ ทำ�ให้ชีวิตไม่พบ ความสุข ความเจริญเลย


มงคลชีวิต ๔

ปฏิรÙปàทสวาâส ¨

( ป ะ ฏิ รู ป ะ เ ท ส ะ ว า โ ส จ ะ )

Íยً㹶ิè¹ทÕèàหÁาÐสÁ

“การอาศัยอยูใ่ นถิน่ ทีเ่ หมาะสม” พระพุทธเจ้าตรัสว่า เป็นมงคล เพราะเป็นปัจจัยแห่งการทำาบุญของสัตว์ ทัง้ หลาย การอยูใ่ น “ถิน่ ทีเ่ หมาะสม” ต้องพิจารณาว่า ถิน่ นีเ้ มือ่ ไปอยูแ่ ล้ว ทรัพย์สมบัตจิ ะเจริญหรือไม่ คือ สามารถทำามาหากินอย่างสุจริตได้หรือไม่ ชีวิตมี ความสุขหรือไม่ ทรัพย์สินปลอดภัยหรือไม่ และ คุณความดีในตนเองสามารถพัฒนาหรือไม่


19

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ถิ่นที่เหมาะสมนั้นพระอรรถกถาจารย์ ผู้แต่ง หนังสือ อธิบายพระไตรปิฎก ยังระบุค�ำ จำ�กัดความ เอาไว้ดว้ ยว่า “ถิน่ ทีเ่ หมาะสม” นัน้ หมายถึงถิน่ ทีม่ ี บุญกิริยาวัตถุทาน คือถิ่นที่มีคนดีเขาสร้างความดี อยู่กัน และเป็นสถานที่ที่คำ�สอนของพระพุทธเจ้า เจริญรุ่งเรือง ใครที่ได้อยู่ในถิ่นเหล่านี้ย่อมประสบความ เจริญ เพราะจะได้สงิ่ ทีด่ เี ยีย่ ม ๖ ประการคือ ได้พบเห็น สิ่งที่ดี ได้ฟังแต่สิ่งที่ดี ได้ลาภอันดีที่ควรได้ ได้การ ศึกษาที่ดี ได้การบำ�รุงอุปถัมภ์ที่ยอดเยี่ยม และได้ รำ�ลึกถึงสิ่งที่ยอดเยี่ยมก็คือพระรัตนตรัยนั่นเอง ถิน่ ทีค่ วรอยูก่ ค็ อื ถิน่ ทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หล่านี้ ไม่ จำ�เป็นต้องหมายถึงสังคมทีเ่ พียบพร้อมด้วยวัตถุ ตึก รามบ้านช่องที่ใหญ่โตสวยงาม แต่คือถิ่นที่อยู่สบาย พระธรรมเจริญงอกงาม ถิ่นเหล่านั้นล้วนเป็นถิ่นที่ น่าอยู่อาศัยทั้งหมด


มงคลชีวิต õ

ปؾÚྠ¨ กµปØ ÚÞµา

( ปุ พ เ พ จ ะ ก ะ ต ะ ปุ ญ ญ ะ ต า )

ÁÕºØÞวาส¹าÁาก‹Í¹

คือผู้มีบุญอันทำาไว้ก่อนย่อมได้รับสิ่งที่พึงประสงค์ ในสมบัตทิ กุ อย่าง ทัง้ มนุษย์สมบัต ิ สวรรค์สมบัต ิ สูงสุด กระทั่งนิพพานสมบัติ ความเป็นผู้มีบุญอันทำาไว้ใน กาลก่อน เป็นการจัดสิง่ แวดล้อมภายในให้ด ี หมายถึง การสร้างสิง่ ทีด่ ใี ห้เกิดขึน้ ภายในตัวเองในปัจจุบนั ชาติ ซึ่งความดีนั้นจะเป็นฐานรองรับและต่อเติม การพัฒนากายและใจของตนให้ก้าวไปสู่ความสุขที่ สูงขึ้นไป


21

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

คนที่ไม่เคยสั่งสมความดีเลยย่อมไม่ได้รับใน สิ่งที่ดีงาม แม้จะดิ้นรนตะเกียกตะกายก็ไม่ได้ แต่ คนที่หมั่นสร้างความดีไว้ ไม่ต้องตะเกียกตะกาย เมือ่ ถึงเวลาผลบุญก็มาส่งผลเหมือนทีพ่ ดู กันว่า “บุญ หล่นทับ” นั่นเอง ดังเคยมีเรือ่ งเล่ากันว่า ณ เทวาลัยนอกเมือง พาราณสี มีไก่อยูห่ ลายตัวอาศัยอยูท่ นี่ นั่ วันหนึง่ ก็มี ไก่อยู่สองตัวทะเลาะกันเหตุก็เพราะไก่ตัวที่นอน อยู่ด้านบนถ่ายรดหัวตัวที่นอนอยู่ด้านล่าง ทำ�ให้ไก่ ตั ว ล่ า งโมโห ไก่ ตั ว ที่ อ ยู่ ด้ า นบนก็ เ ลยพู ด ยี ย วน ให้เจ็บใจว่า “ขี้ของข้าไม่ใช่ขี้ธรรมดานะ ภูมิใจเสีย เถอะที่ข้าได้ขี้รดหัวแก” ไก่ตวั ล่างก็ยง่ิ แค้นจัดคุยทับไปว่า “ถ้าใครได้กนิ เนือ้ ข้า รับรองได้วา่ วันนัน้ เขาจะได้เงิน ๑ พันกหาปณะ ทันทีเลยจะบอกให้”


22

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ไก่ ตั ว บนได้ ยิ น ดั ง นี้ ก็ เ ลยพล่ า มสาธยาย สรรพคุณของตัวเองเป็นฉากๆ ว่า “ถ้าใครได้กนิ เนือ้ สันของข้าจะได้เป็นพระราชา ได้กนิ เนือ้ ติดหนังจะได้เป็นเสนาบดี ถ้าเป็นหญิงก็จะ ได้เป็นมเหสี ถ้าใครกินเนื้อติดกระดูกจะได้เป็น ขุนคลัง ถ้าเป็นพระกินก็จะได้เป็นอาจารย์ของ เจ้าแผ่นดิน เนื้อของข้าวิเศษแค่ไหนเห็นรึยัง” ชายคนเก็บฟืนได้ยนิ เข้า ก็เลยเอาไก่ตวั ข้างบน ไปฆ่าแล้วก็นำ�มาย่างเป็นอาหารอย่างดี จึงชวน ภรรยาของตนเองไปอาบน้ำ�ชำ�ระร่างกายก่อนจะ กินไก่ เพราะคิดว่าเดี๋ยวได้กินไก่แล้วจะได้เป็นพระ ราชามหากษัตริย์ เผอิญถาดใส่ไก่ย่างถูกลมพัดแรงลงแม่น้ำ� ไป ทัง้ สองก็เลยอดกิน นายควาญช้างคนหนึง่ กำ�ลัง อาบน้�ำ ให้ชา้ ง เห็นไก่ยา่ งอย่างดีใส่ถาดลอยตามน้�ำ มาจึงเก็บไปถวายนักบวชผู้ทรงศีลรูปหนึ่ง


23

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ซึง่ นักบวชฉันแค่สว่ นเนือ้ ติดกระดูก และแบ่ง ส่วนที่เป็นเนื้อสันในให้นายควาญช้างและภรรยากิน แล้วก็อวยพรให้ว่า “โยมทั้งสองจะโชคดีในไม่ช้านี้” จากนั้นก็ลากลับ สามวันต่อมา มีข้าศึกยกทัพมาประชิดนคร พระราชาเกิดนึกครึ้มใจอยากเป็นทหารลงไปต่อสู้ ด้วยพระองค์เอง โดยให้นายควาญช้างปลอมตัว แต่งเป็นพระองค์ ส่วนพระองค์ก็แต่งเป็นทหารเลว ออกไปรบ และโชคร้ายสิ้นพระชนม์ในสนามรบ พอสงครามสงบเหล่าเสนาอำ�มาตย์ไม่รู้จึงได้ยกให้ นายควาญช้างขึน้ เป็นพระราชาปกครองประเทศสืบ ต่อแทน นายควาญช้างที่ได้มีวาสนาเป็นถึงพระราชา ก็เพราะบุญที่เคยทำ�ไว้ดีมาก่อน รวมกับผลบุญใน ปัจจุบนั ส่วนคนหาฟืนบุญวาสนามากองอยูต่ รงหน้า กลับคว้าไว้ไม่ได้ ก็เพราะบุญเก่าไม่มีสนับสนุน ทำ� อย่างไรก็ไม่ได้ในบุญนั้น


มงคลชีวิต ö

͵ڵสÁÚÁาป³ิธิ ¨

( อั ต ต ะ สั ม ม า ป ะ ณิ ธิ จ ะ )

µั駵¹ชͺ

การตั้งตนไว้ชอบคือ การปฏิบัติตนถูกต้องด้วย คุณธรรมและหน้าที่จนคนคนนั้นกลายเป็นคนที่น่า นับถือในที่ทุกสถาน ด้วยการปฏิบัติดีดังนี้ว่า ๑. ยังตนผูไ้ ม่มศี ลี ให้ตงั้ อยูใ่ นความเป็นผูม้ ศี ลี ๒. ยังตนจากผูไ้ ม่มศี รัทธาในคุณงามความดี ให้ตั้งกลับอยู่ในความเป็นผู้มีศรัทธาในความดี


25

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

๓. ยังตนผูต้ ระหนี่ ให้ถงึ พร้อมด้วยการบริจาค และเสียสละ หากจะกล่าวให้เข้าใจง่ายขึน้ ก็คอื การตัง้ จิตให้ ถูกต้อง คนเราถ้าได้ตงั้ จิตเอาไว้ถกู ต้องและดีงามแล้ว ทำ�อะไรก็เจริญก้าวหน้า ตรงกันข้ามกับคนที่ตั้งจิต เอาไว้ผดิ ทางย่อมมีหายนะเป็นทีไ่ ป ดังมีตวั อย่างจะ เล่าให้ฟังเรื่องหนึ่ง มีชาวประมงสองพ่อลูกไปทอดแห ขณะที่ ทอดแหไปก็ไปติดเอาตอไม้ดึงไม่ขึ้น แต่ผู้เป็นพ่อ คิดโลภนึกว่าได้ปลาตัวใหญ่ดงึ ไม่ขนึ้ และถ้าชาวบ้าน คิ ด ว่ าได้ ป ลาตั วใหญ่ ก็ จะพากั น มาขอแบ่งไปกิ น จึงสั่งให้ลูกไปบอกกับแม่ว่าให้หาเรื่องทะเลาะกับ ชาวบ้านไว้จะได้ไม่ตอ้ งมีคนมาขอแบ่งปลา ภรรยาก็โง่ เชือ่ ไปด่าทอชาวบ้าน จนเหล่าชาวบ้านทนไม่ไหวก็เลย พากันรุมกระทืบคนเป็นภรรยาเสียสะบักสะบอม


26

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ฝ่ายพ่อกระโจนลงไปหมายจะจับปลาแต่ตา ข้างหนึ่งไปกระทบกับตอไม้เข้า ทำ�ให้ตาบอดทันที กว่าจะรู้ตัวว่าตัวเองจับปลาไม่ได้ก็สายเสียแล้ว ได้ แต่หอบเอาร่างที่บาดเจ็บกลับบ้าน กลับไปข้าวของ ในบ้านก็เสียหาย เมียก็บาดเจ็บ ตาก็บอด ปลาก็ ไม่ได้กิน แถมยังต้องผิดใจกับเพื่อนบ้านอีก นีค่ อื ผลกรรมแห่งการตัง้ จิตไว้ไม่ชอบ เพราะคิดผิดแต่แรกด้วยความโลภจึงต้อง ลงเอยแบบนี้


มงคลชีวิต ÷

¾าหØส¨Ú¨ Ú¨

( พ า หุ สั จ จั ญ จ ะ )

àปš¹¾หÙสÙµ

ในภาษาบาลี เขียนเอาไว้วา่ “พาหุสจั จะ” ก็คอื การสดับ รับฟังมาก หรือการเรียนรูใ้ ห้มากจาก “การฟัง” นัน่ เอง ในสมัยก่อนการเรียนก็คือ การเข้าไปไต่ถามผู้รู้และ ฟั ง เก็ บ มาคิ ด พิ จ ารณาจึ ง จะได้ ก รองความรู้ นั้ น กลายเป็น “ปัญญา”


28

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

แต่ ก ารเรี ย นรู้ ใ นปั จ จุ บั น มี ม ากมายหลาย ช่องทาง หลายสื่อ ก็ต้องตั้งจิตให้ดีพิจารณาว่า ความรู้เหล่านั้นอันไหนจริงอันไหนเท็จ ความรู้ไหน ควรฟังและต่อยอดให้รู้แจ้งในองค์ความรู้นั้น การเป็นผู้สดับตรับฟังมากหรือเรียนรู้มาก นอกจากได้เพิม่ พูนความรูใ้ นหลักวิชาการต่างๆ แล้ว ยังเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมความประพฤติ ให้ถูกต้องดีงามเป็นคนดีน่าคบหาสมาคมได้ พระพุทธเจ้าทรงยกย่องผูส้ ดับตรับฟังมากว่า เป็น “ผู้มีเครื่องทำ�ความแกล้วกล้าให้เกิดขึ้นในตน” ดั ง พระราหุ ล และพระอานนท์ ที่ เ ป็ น สองยอด นักเรียนรูแ้ ละสดับตรับฟังมาก พระราหุลนัน้ ทุกๆ เช้า จะลงมาทีล่ าน กอบทรายขึน้ มาแล้วอธิษฐานว่า “วันนี้ ขอให้ขา้ พเจ้าได้ฟงั ธรรมจากองค์พระบิดาและเหล่า ครูบาอาจารย์ให้มากดั่งเม็ดทรายในมือนี้เถิด”


29

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ส่ ว นพระอานนท์ เ องก็ ไ ด้ รั บ การยกย่ อ ง จากพระพุทธเจ้าว่าเป็นพหูสูต จดจำ�พุทธวจนะได้ มากกว่าใคร พระพุทธเจ้าแสดงธรรมอะไรไว้กจ็ ดจำ� ได้หมด เพราะอาศัยการเรียนรู้ หมัน่ ทบทวนพระธรรม และมีความเพียรในการปฏิบัติ ทัง้ สองท่านจึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ แม้ จ ะต่ า งที่ ต่ า งเวลาแต่ ก็ นั บ ว่ า ถึ ง ซึ่ ง ความสำ � เร็ จ ในสิ่ ง ที่ ป รารถนาแห่ ง ชี วิ ต เช่นเดียวกัน


มงคลชีวิต ø

สิปÚป Ú¨

( สิ ป ปั ญ จ ะ )

ÁÕศิÅปÐ

“ศิลปะ” ในพระพุทธศาสนาไม่ได้หมายถึงการวาดเขียน การแกะสลัก หรือทำางานวิจติ รศิลปŠได้อย่างสวยงาม คล่องแคล่ว หากคำาว่า “พาหุสจั จะ” หมายถึงการฟัง การเรียนรู ้ “ศิลปะ” ก็คอื การฝึกทำาและลงมือทำาจน ชำานาญในเรือ่ งนัน้ ๆ จนเกิดเป็นประสบการณ์ลา้ำ ค่า พัฒนาและแก้ปัญหาเป็นและเกิดประโยชน์


31

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

การเป็นผู้มีศิลปะย่อมทำ�ให้ชีวิตมีประโยชน์ ต่อตนเองและชุมชน ได้บำ�เพ็ญประโยชน์ต่อสังคม ส่วนรวม คนทีส่ ามารถเปิดร้านอาหารดังๆ จนมีชอื่ เสียง ร่ำ�รวยได้ ก็เพราะเขามีศิลปะในการทำ�งานที่เป็น เอกลักษณ์จนคนที่มาชิมติดใจจนต้องกลับไปชิม อีก ปราชญ์ผู้รู้จึงกล่าวไว้ว่า ขึ้นชื่อว่าเป็นศิลปะ ขอให้เป็นแขนงไหนก็ได้ย่อมดีทั้งสิ้น ขอให้ฝึกจน เชี่ยวชาญเถิดจะเกิดผล ขอเพียงเป็นอาชีพที่สุจริต เท่านั้นก็นับว่าเพียงพอแล้ว หากเป็นศิลปะที่นำ�ไป ใช้ผิดๆ ก็จะมีแต่โทษ ดังมีคนแคระคนหนึง่ ทีม่ วี ชิ าพิสดาร สามารถ ดีดก้อนกรวดให้ไปฉลุลายใบไม้กลายเป็นรูปสัตว์ ต่างๆ ที่สามารถเลี้ยงชีพด้วยวิชานี้อย่างสบาย


32

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

พระราชามาเห็นก็โปรดมากจะนำ�คนแคระ เข้าวัง เพือ่ หวังจะให้สงั่ สอนปุโรหิตปากมากคนหนึง่ โดยไม่ให้รู้ตัว คือเมื่อไรที่พูดมาก ปากมากใน ท้องพระโรงก็จะให้คนแคระแอบดีดขี้แพะใส่ปาก ปุโรหิตกว่าจะรู้ตัวว่าตนเองปากมากไปก็ ขี้แพะเต็มท้องไปแล้ว และรู้ว่าเป็นการลงโทษจาก พระราชา ตั้งแต่นั้นมาจึงได้พูดน้อยสำ�รวมวาจาไป ในทีส่ ดุ คนแคระคนนัน้ จึงได้รบั พระราชทานรางวัล มากมาย และนี่ จึ ง เป็ น ตั ว อย่ า งของผู้ รู้ จั กใช้ ศิลปะให้เกิดประโยชน์นั่นเอง


มงคลชีวิต ù

วิ¹âย ¨ สØสิกÚ¢ิâµ

( วิ น ะ โ ย จ ะ สุ สิ ก ขิ โ ต )

ÁÕวิ¹ัยทÕèดÕ

การเป็นผู้มีวินัยที่ศึกษาดีแล้ว คือปฏิบัติตามวินัย ทัง้ ทางโลกและทางธรรมถูกต้อง ไม่บกพร่อง ปฏิบตั ิ เคร่งครัดเรียบร้อย วินยั นัน้ ก็คอื “แบบ” ทีห่ ล่อหลอม ให้คนเป็นคนดีและมีคุณค่าในสังคม


34

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

หากเอาดินเหนียวตามท้องไร่ท้องนาที่หาค่า อะไรไม่ได้ไปกดเอาไว้ในแบบที่เขาทำ�ไว้เป็นรูปร่าง ลักษณะต่างๆ ที่สวยงามแล้วเอาไปเผาไฟแล้ว เอาออกมาทาสีดู ก็จะกลายเป็นสินค้าดินเผาอย่างดี ชนิดหนึ่ง จากดินเหนียวที่ไม่ค่อยมีค่า เหตุใดจึงกลาย เป็นของมีค่าน่าดูชมได้ หรือแม้แต่โลหะก็ยังมีการ นำ � มาหลอมขึ้ น รู ป ใหม่ เ ป็ น พระพุ ท ธรู ป ให้ ค น กราบไหว้บูชา สิ่งที่ทำ�ให้เป็นเช่นนั้นก็เพราะคำ�ว่า “แบบ” นั่นเอง ทีท่ �ำ ให้ดนิ เป็นของมีคา่ ทำ�ให้โลหะกลายเป็น พระปฏิมาได้ ฉันใดก็ฉนั นัน้ ความมีวนิ ยั ย่อมทำ�ให้ มนุษย์ธรรมดากลายเป็นมนุษย์ทม่ี คี ณุ ค่า ความมีวนิ ยั ทีท่ �ำ ให้พลเรือนกลายเป็นทหารทีเ่ ข้มแข็ง


35

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ความมีวินัย ทำ�ให้คนธรรมดาที่ไม่เคยมีศีล กลายเป็นสามเณรเป็นพระทีด่ ไี ด้ แม้แต่องค์พระมหากษัตริย์ยังให้ความเคารพในวินัย พระมหากษัตริย์ ก็ต้องมีวินัยถึง ๑๕ ข้อ คือทศพิธราชธรรมและศีล ๕ ที่บริบูรณ์ ความมีวนิ ยั ทำ�ให้คนเรามีความสุจริตทางกาย วาจา และใจ ใครๆ ก็ย่อมสรรเสริญคนดีมีวินัยชื่อ เสียงที่ดีงามย่อมขจรไปไกล เพราะมีวินัยเป็นพื้นฐานแห่งความ เจริญในตนเอง


มงคลชีวิต ๑ð

สØÀาสิµา ¨ ยา วา¨า

( สุ ภ า สิ ต า จ ะ ย า ว า จ า )

ÁÕวา¨าÍั¹àปš¹สØÀาÉิµ

คำาพูดทีเ่ ป็นวาจาสุภาษิต ในทีน่ ไี้ ม่ใช่การกล่าวอะไร ก็เป็นบทกลอน เป็นคำาสอนไปทั้งหมด แต่หมายถึง วาจาทีป่ ระกอบด้วยลักษณะ ๕ ประการคือ พูดถูกกาล พูดคำาจริง พูดสุภาพ พูดมีประโยชน์ พูดด้วยเมตตา จิต ถ้าไม่พูดให้ถูกหลักนี้ย่อมไม่นับว่าเป็นสุภาษิต (วาจาดี)


37

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

วาจาสุภาษิตเป็นหลักพัฒนาชีวิตให้เจริญ ยิง่ ๆ ขึ้นไป ช่วยปลุกเร้าให้เกิดคุณธรรม ทำ�ให้เกิด จิตสำ�นึก มีก�ำ ลังใจในการปฏิบตั หิ น้าที่ สร้างความ ปรองดองสามัคคี สร้างความเข้าใจอันดีต่อเพื่อน มนุษย์ด้วยกันที่ก่อประโยชน์อย่างมาก ดังมีลูกเศรษฐีสี่คน เห็นนายพรานบรรทุก เนือ้ ผ่านมา ทัง้ ๔ อยากได้เนือ้ ไปกินบ้าง จึงเอ่ยปาก ขอเนือ้ จากนายพรานคนนัน้ คนที่ ๑ พูดว่า “เฮ้ย พราน ขอเนือ้ ข้าบ้างสิวะ” พรานจึงสวนกลับว่า “จะขออะไร ใครควรพูดให้เข้าหูชาวบ้านหน่อย” ว่าแล้วนายพราน ก็เอาเนื้อพังผืดให้ไป สมกับคำ�พูดหยาบๆ คายๆ ของบุตรคนโต


38

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

คนที่ ๒ เห็นความล้มเหลวของพีช่ ายจึงพูดว่า “พีช่ ายครับ ขอเนือ้ ผมบ้างเถอะ” นายพรานจึงตอบ กลับว่า “พีน่ อ้ งเปรียบเหมือนแขนขาท่านเรียกข้าว่าพี่ จงเอาเนื้อขาไปเถิด” คนที่ ๓ เห็นว่าขนาดพูดยกว่าเป็นพีย่ งั ได้แค่ เนือ้ ขา จึงพูดยกยอเสียเกินจริงว่า “พ่อครับ ขอเนือ้ ผม บ้างเถิด” นายพรานจึงตอบว่า “เวลาใครเรียกท่านว่า พ่อ อาจทำ�ให้หัวใจเขาหวั่นไหว คำ�พูดท่านเปรียบ เหมือนหัวใจ จงเอาเนื้อหัวใจไปเถิด” คนที่ ๔ เห็นพี่ชายทั้งสามล้มเหลว จึงพูด ด้วยความจริงว่า “สหาย ขอเนื้อเราบ้างเถิด” นายพรานได้ยินดังนั้นจึงตอบว่า “บ้านใดไม่มี เพื่อนบ้านนั้นเสมือนป่า คนที่มีเพื่อนนับว่ามีทุกสิ่ง ทุกอย่าง ท่านจงเอาเนื้อทั้งหมดนี้ไปเลยสหาย”


39

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

สุดท้ายนายพรานและลูกชายคนที่สี่ก็ได้ กลายเป็นสหายทีด่ ตี อ่ กัน เพราะลูกคนที่ ๔ พูดครบ องค์สภุ าษิตทัง้ ๕ คือถูกกาลเทศะ เจอหน้าครัง้ แรก ก็ต้องเรียกเพื่อน และมีความจริงใจในการพูดด้วย คุณลักษณะข้ออื่นๆ ครบครัน พูดดีจึงมีประโยชน์สำ�เร็จทุกสิ่งได้ ดังทีต่ อ้ งการ คำ�พูดทีด่ จี งึ เป็นต้นเหตุดดี ว้ ย ประการฉะนี้


มงคลชีวิต ๑๑

Áาµาป µØÍØปฏþ°า¹í

( ม า ต า ปิ ตุ อุ ปั ฏ ฐ า นั ง )

ดÙáźÓรاºิดา Áารดา

ในร้อยความดี “ความกตัญ ู” มาเป็นทีห่ นึง่ นัน่ คือ เลีย้ งดูมารดาบิดา ปรนนิบตั ทิ า่ นด้วยการให้ขา้ ว น้าำ ผ้าห่ม ทีน่ อน การอบกลิน่ หอม ให้การอาบน้าำ ล้างเท้า ทั้งสองให้ท่าน จัดว่าเป็นการปฏิบัติตามหน้าที่ของ บุตรทีด่ ี โดยควรปฏิบตั ติ ามหลักให้ครบ ๕ ประการ ได้แก่


41

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ท่านเลี้ยงเรามาแล้วเลี้ยงท่านตอบ ช่วยทำ� กิจการงานของท่าน ช่วยดำ�รงวงศ์ตระกูลของท่าน ประพฤติตนให้เป็นผู้สมควรรับมรดก และเมื่อท่าน ล่วงลับไปทำ�บุญอุทิศให้ท่าน การกระทำ � ตอบแทนพระคุ ณ ของมารดา บิดาที่กล่าวมาจัดว่าเป็นการกระทำ�อันมีคุณค่ายิ่ง พระพุทธเจ้าเองก็ทรงสรรเสริญไว้ว่า “เพราะการ ปรนนิบัติในมารดาบิดานั่นแล บัณฑิตทั้งหลาย สรรเสริญเขาในโลกนีน้ เี่ อง เขาละไปแล้วย่อมบันเทิง ในสวรรค์” การบำ�รุงบิดามารดาในระดับสูงกว่านั้นก็คือ การนำ�พามารดาบิดาผูไ้ ม่มศี รัทธาในคุณงามความดี ให้กลับมาตั้งอยู่ในศรัทธาแห่งคุณงามความดี เคย เป็นผู้ทุศีลก็แนะนำ�ให้บิดามารดาตั้งอยู่ในความถึง พร้อมด้วยศีล บิดามารดาเคยเป็นผูต้ ระหนีก่ แ็ นะนำ� ให้ถงึ พร้อมด้วยการเสียสละ นัน่ จึงเป็นการตอบแทน พระคุณบิดามารดาแบบสูงสุด


42

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ดังเช่นพระสารีบุตร พระสารีบุตรท่านเป็น ลูกพราหมณ์มฐี านะ แต่มารดาท่านเป็นผูม้ มี จิ ฉาทิฐิ มาก พระลูกชายบวชแต่พอ่ แม่ไม่เห็นดีเห็นงามด้วย มากนัก ภายหลังท่านยังนำ�พาน้องชายบวชอีกถึง ๒ คน พ่อแม่ก็ยิ่งทุกข์ใจไม่รู้จะทำ�อย่างไร จึงได้ แต่ปล่อยเลยตามเลย พระสารีบุตรในตอนท้ายของชีวิต ป่วยเป็น โรคท้องร่วงรุนแรงถึงกับถ่ายเป็นเลือด แต่กย็ งั แข็งใจ เดินทางกลับไปที่บ้าน เพราะต้องทำ�กิจสุดท้าย ในชีวิตให้สำ�เร็จเสียก่อน เพราะแม่ของท่านยังมี มิจฉาทิฐิอยู่ จึงหวังจะกลับไปเทศน์ให้แม่ฟังเป็น ครั้งสุดท้าย ตอนกลางคืนท่านนอนพักอยูใ่ นบ้าน แม่ของ ท่านได้เห็นแสงวูบๆ วาบๆ ตลอดทัง้ คืน เมือ่ ตืน่ เช้า ขึ้นมาก็ถามพระลูกชายว่าแสงที่เห็นนั้นแสงอะไร


43

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

พระสารีบตุ รก็ตอบว่า “พระอินทร์พระพรหม ผูย้ งิ่ ใหญ่ทแี่ ม่กราบไหว้อยูท่ กุ วันนัน่ แหละ แต่คราวนี้ ท่านมหาเทพเหล่านั้นลงมากราบอาตมาเอง” โยม มารดาจึงได้รู้ว่าพระสารีบุตรใหญ่กว่าเทวดาใดๆ ในเทวโลก จึงได้เชือ่ ในความสามารถของลูกชายแล้ว แต่ก่อนหน้านี้มารดาของพระสารีบุตรไม่เชื่อ เลย พระลูกชายมาบ้านบางทีกไ็ ล่ตะเพิดก็มี พอรูว้ า่ แม่คลายทิฐิมานะแล้วท่านก็ได้โอกาสแสดงธรรม ให้ โยมมารดาฟังเทศน์จบท่านก็บรรลุโสดาบัน เข้าถึงกระแสพระนิพพานต่อไป พระสารีบุตรได้ ปลดเปลื้องค่าน้ำ�นม ทดแทนบุญคุณบิดามารดา บังเกิดเกล้าจนหมดสิน้ แล้วท่านก็นพิ พาน หลังเทศน์ จบเลือดก็ไหลออกจากรูทวารทั้ง ๙ ในตอนรุ่งเช้า พอดี ลูกที่ทำ�ได้แบบพระสารีบุตรเท่านั้นที่จะเรียก ว่าทดแทนพระคุณอันมหาศาลของพ่อแม่ได้อย่าง สมบูรณ์


มงคลชีวิต ๑๒

ปصڵส§Ú¤âห

( ปุ ต ต ะ สั ง ค ะ โ ห )

ดÙáÅส§à¤ราÐห์ºØµร

คือการเลี้ยงดูและเป็นตัวอย่างในการปฏิบัติตนใน ทางทีด่ ที ถี่ กู เป็นแบบอย่างทีด่ ใี ห้แก่บตุ ร ดังนัน้ มารดา บิดาพึงสงเคราะห์บตุ รด้วยการทำาหน้าที ่ ๕ ประการ คือ ห้ามมิให้ทาำ ชัว่ ให้ตงั้ อยูใ่ นความดี ให้การศึกษา ศิลปวิทยา หาคู่ครองที่เหมาะสมให้ และรู้จักมอบ ทรัพย์มรดกในกาลอันควร


45

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

การสงเคราะห์ บุ ต รเป็ น คุ ณ ธรรมที่ สำ � คั ญ เป็นการปฏิบัติหน้าที่ที่ตนมีอยู่อย่างถูกต้อง ทำ�ให้ สถาบันครอบครัวร่มเย็นเป็นสุข เพราะการสงเคราะห์ บุตร การเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่บุตร และตนเอง ก็ได้รับด้วยเพราะถือเป็นการพัฒนาศักยภาพของ ตัวบิดามารดาให้ดีขึ้น


มงคลชีวิต ๑๓

ทารส§Ú¤âห

( ท า ร ะ สั ง ค ะ โ ห )

ดÙáÅส§à¤ราÐห์Àรรยา สาÁÕ การรับผิดชอบเลี้ยงดูภรรยา เป็นหน้าที่ของสามี ที่จะพึงสงเคราะห์และอนุเคราะห์ภรรยาอยู่แล้ว พระพุทธเจ้าได้ตรัสถึงหน้าที่อันสามีพึงสงเคราะห์ ภรรยาว่า ต้องยกย่องนับถือว่าเธอเป็นภรรยาที่ ถูกต้อง ไม่ใช่เมียเก็บ ไม่ดหู มิน่ ดูแคลนเธอว่าเป็นหญิง อ่อนแอกว่า ไร้ความสามารถกว่าหรือมีฐานะทีต่ า่ งกัน กับตัวของสามี และต้องไม่นอกใจ ซึ่งข้อนี้สำาคัญ มาก


47

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

การรั ก เดี ย วใจเดี ย วย่ อ มทำ �ให้ ค รอบครั ว มีความสุข มอบความเป็นใหญ่ในครอบครัวให้ และ ให้ เ ครื่ อ งประดั บ แต่ ง ตั ว อั น สมควรเพื่ อ ยกย่ อ ง เชิดหน้าชูตา สำ�หรับภรรยาเองเมือ่ ได้รบั การสงเคราะห์จาก สามีแล้วต้องปฏิบตั หิ น้าทีต่ อ่ สามี ๕ ประการเช่นกัน คือ จัดการงานในบ้านเรียบร้อย สงเคราะห์ญาติมติ ร ทั้งสองฝ่าย ไม่นอกใจ รักษาทรัพย์สมบัติที่สามีหา มาให้ดี และขยันไม่เกียจคร้านในงานทั้งปวง การปฏิบัติตามที่กล่าวมานี้ย่อมถือเป็นมงคล แก่ผปู้ ฏิบตั ิ เพราะการสงเคราะห์กนั เป็นการยึดเหนีย่ ว น้�ำ ใจของกันและกันเอาไว้ ทำ�ให้เกิดความเข้าใจกัน ครองรักครองเรือนร่วมกันอย่างมั่นคง ครอบครัวมี ความสุข สะดวกต่อการสร้างหลักสร้างฐานครอบครัว ในภายภาคหน้า


มงคลชีวิต ๑๔

͹ากØÅา ¨ กÁÚÁ¹Úµา

( อ ะ น า กุ ล า จ ะ กั ม มั น ต า )

ทÓการ§า¹äÁ‹ãหŒ¤ั觤Œา§

สำานวนสุภาษิตที่ว่า “ดินพอกหางหมู” เป็นเรื่อง อัปมงคล ยังคงใช้ได้อยู่ทุกวันนี้ ใครก็ตามที่ชอบ พอกงานไว้ไม่ทาำ ให้เสร็จก็จะเป็นทุกข์ คือนอนไม่หลับ เพราะความเครียด และมีผลกระทบอื่นๆ ส่งผล ตามมาอีกมากมาย คือทำาให้เปลืองเวลา ต้องลงมือ ถึงสองครัง้ เป็นอย่างน้อย แทนทีจ่ ะทำาเพียงครัง้ เดียว เช่น เป็นชาวนาแล้วได้แต่ไถทิ้งไว้ไม่ยอมปักดำาข้าว ดินที่ไถทิ้งไว้ก็เสียหายก็ต้องเสียเวลาไถใหม่


49

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

นอกจากเปลื อ งแรงแล้ ว ยั ง เปลื อ งใจด้ ว ย คือเมื่อมีคนถามหรือนึกถึงขึ้นมาเมื่อไรก็ใจหาย ทุกครั้ง ยิ่งเป็นงานที่ถูกกำ�หนดเอาไว้แล้วก็ร้อนรน รีบตาลีตาเหลือกทำ�ให้เสร็จๆ ไป ผลลัพธ์ในงาน ย่อมไม่ดีเกิดความเสียหาย รู้ถึงไหนก็อายถึงนั่น แต่ถ้าทำ�งานถูกเวลา เหมาะสม ขยันขันแข็ง ไม่ เกียจคร้าน ทำ�อย่างสม่�ำ เสมอ ทำ�งานจริง ไม่ทงิ้ งาน ให้ เ สี ย ไม่ ใ ห้ ง านคั่ ง ค้ า ง ย่ อ มได้ ท รั พ ย์ ไ ด้ รั บ ความสุข พระพุทธเจ้าตรัสยกย่องคนขยันทำ�งานไว้วา่ “ผู้ใดเมื่อหมั่นทำ�กิจแห่งบุรุษโดยไม่คำ�นึงถึง ความหนาวและร้อน ผู้นั้นย่อมไม่เสื่อมไปจากสุข”


มงคลชีวิต ๑๕

ทา¹ Ú¨

( ท า นั ญ จ ะ )

การãหŒทา¹

“การให้ทาน” คือการสงเคราะห์เกือ้ กูลกันในทางทีด่ ี ส่งเสริมการพัฒนาคนให้มคี วามสุข ส่งเสริมผูก้ ระทำา ไม่ให้เป็นคนเห็นแก่ตวั ไม่เอาเปรียบกัน ทานทีใ่ ห้นนั้ มี อยู ่ ๒ ประการคือ “อามิสทาน” คือการให้วตั ถุสงิ่ ของ พวกข้าว น้าำ อาหาร ทีอ่ ยู ่ ยารักษาโรค และ “ธรรมทาน” คือ การให้ธรรมความรู้และการรู้จักให้อภัยต่อกัน


51

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

การให้ที่แท้จริงมันมีจุดประสงค์อยู่ ๓ อย่าง ได้แก่ ๑. ให้เพื่อสงเคราะห์ ๒. ให้เพื่ออนุเคราะห์ ๓. ให้เพื่อทำ�บุญ การให้เพื่อสงเคราะห์และให้เพื่ออนุเคราะห์ นัน้ ความหมายก็คอื เป็นการให้เพือ่ ทำ�คุณหรือให้เพือ่ เกิดบุญคุณเพือ่ หวังผลตอบแทน หากให้มากๆ ก็เรียก ว่า “สงเคราะห์” ให้น้อยๆ พอช่วยแก้ขัดก็เรียกว่า “อนุเคราะห์” เช่น การให้ของขวัญ ให้การเลีย้ งข้าว แก่คนอืน่ ๆ แม้เราคิดว่าเราให้โดยไม่หวังผลตอบแทน อะไร แต่ความจริงในส่วนลึกของใจในแบบปุถชุ นเรายัง แอบทวงบุญคุณเขาอยูเ่ งียบๆ เช่น บางคนหากน้อยใจ ก็ต้องการให้เขารู้สึกซาบซึ้ง ขอบคุณในน้�ำ ใจไมตรี ของเรา


52

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

การให้เพื่อสงเคราะห์และอนุเคราะห์นี้หาก มีการตัง้ จิตไว้อย่างนี้ เมือ่ ให้แล้วไม่ชว่ ยให้ใจสะอาด ขึ้น ดีไม่ดีอาจจะเป็นการพอกพูนกิเลสให้มากขึ้น ด้วยซ้ำ� ทำ�ไปทำ�มาก็กลายเป็นนักลงทุนบุญหรือ นักค้าบุญไปไม่รู้ตัว ซึ่งในการให้แบบทำ�บุญทาง พระพุทธศาสนาสอนว่า การจะทำ�ให้จิตใจเรา สะอาดขึน้ หรือทำ�ทานแบบเป็นบุญนัน้ ต้องประกอบ ด้วย ๑. สิ่งที่จะให้ต้องบริสุทธิ์ คืออะไรก็ได้ที่เรา หามาได้ดว้ ยน้�ำ พักน้�ำ แรงของเรา ไม่เบียดเบียนใคร มา ไม่ขโมยใครมา หรือไม่ไปฆ่าใครเอามาทำ�เป็น วัตถุทานก็เป็นใช้ได้ ๒. เจตนาบริสุทธิ์ คือมีความยินดีทั้งก่อนให้ ขณะกำ�ลังให้ และหลังให้ ไม่ใช่เกิดนึกเสียดายใน ทานนั้น หรือต้องการให้เพื่อเอาหน้าหรือให้เพื่อ ประชาสัมพันธ์ตนเอง


53

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

บางคนกำ�ลังบริจาคสิง่ ของอยู่ แทนทีจ่ ะจดจ่อ มองพิจารณาที่วัตถุหรือพระสงฆ์ กลับหันมายิ้มให้ กล้อง บางทีถ้าถ่ายเร็วไป ถ่ายไม่ทันก็ขอพระท่าน ให้มกี ารทำ�พิธถี วายใหม่ อย่างนีเ้ จตนาว่า “ให้” เพือ่ “เอา” อย่างน้อยก็เอาหน้า เพือ่ แสดงให้เห็นว่าตัวเขา นั้นใจบุญ แต่เจตนากลับไม่บริสุทธิ์ ๓. ผูร้ บั บริสทุ ธิ์ ผูร้ บั ทานนัน้ มีผลต่อบุญทีท่ �ำ มากทีส่ ดุ เปรียบเหมือนการให้อาหารแก่คนอดอยาก สองคน คนหนึง่ เป็นบัณฑิต คนหนึง่ เป็นโจร พอบัณฑิต ได้อาหารก็แข็งแรง มีกำ�ลังวังชาทำ�ประโยชน์อะไร ได้อกี มากมาย ถือว่าได้บญุ มาก แต่ถา้ ให้ทานกับคน ทีเ่ ป็นโจร พออิม่ แล้วก็ไปฆ่าไปปล้นคนเขามากินอีก กลายเป็นบาปเสียอีก การให้ทานที่ดีจึงต้องเลือก ผู้รับด้วย


54

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ผลดีที่เกิดแก่ผู้ให้คือ เขาคนนั้นจะได้กำ�จัด ความตระหนี่ สละความโลภออกไปจากใจ ซึ่ง พระพุทธเจ้าตรัสอานิสงส์ของการให้ไว้ถงึ ๕ ประการ คือ ผู้ให้ย่อมเป็นที่รักที่พอใจของคนหมู่ มาก สัตบุรุษผู้สงบย่อมคบหาผู้ให้ทาน กิตติศัพท์อันงามของผู้ให้ทานย่อมขจรไป ผู้ ใ ห้ ท านย่ อ มไม่ ห่ า งเหิ น จากธรรมของ คฤหัสถ์ และผู้ให้ทานหลังจากตายแล้ว ย่อมเกิดในสุคติโลกสวรรค์


มงคลชีวิต ๑๖

ธÁÚÁ¨ริยา ¨

( ธั ม ม ะ จ ะ ริ ย า จ ะ )

ปรоĵิธรรÁ

“การประพฤติธรรม” คือการน้อมนำาธรรมให้ถงึ พร้อม ในตัวของผูป้ ฏิบตั ิ และเมือ่ ได้ปฏิบตั ธิ รรมสม่าำ เสมอ แล้ว ชีวิตจะมีความสงบสุข มีสุคติเป็นที่ไปใน เบื้องหน้า


56

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

“ธรรม” คืออะไร ครูบาอาจารย์หรือผู้รู้ก็ให้ คำ�ตอบแตกต่างกันไป แต่ถ้าจะพูดให้เข้าใจง่ายๆ ก็คือ สิ่งที่ถูกต้องและคุณงามความดีและอะไรที่ทั้ง ถูกทั้งดีเรียกว่าเป็น “ธรรม” ได้หมดไม่มียกเว้น หลักธรรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ของ พระพุ ท ธเจ้ า ก็ เ ป็ น เรื่ อ งของความถู ก ต้ อ งและ ความดีนั่นเอง ซึ่งการจะประพฤติธรรมทำ�ได้สอง สถาน ได้แก่ ๑. ประพฤติเป็นธรรม คือทำ�ให้ถูกทำ�ให้ดี ไม่ต้องไปทำ�อะไรใหม่ ใครมีหน้าที่การงานอะไรทำ� อยูแ่ ล้วก็ให้ท�ำ หน้าทีน่ นั้ สิง่ ทีม่ นั ถูกก็ถกู อยูแ่ ล้ว อะไร ที่มันดีก็ดีอยู่แล้วทำ�ต่อไป การทำ�งานหาเลี้ยงชีพ ถ้ามันถูกต้องและดีก็คือการประพฤติธรรม


57

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ถ้าเป็นนักเรียนก็เรียนให้ถกู ทางและดี ก็เรียก ประพฤติธรรม เป็นข้าราชการก็ทำ�ให้ถูกทางให้ดี สมกับเป็นข้าของแผ่นดิน จึงเรียกว่าประพฤติตนได้ อย่างเป็นธรรม ๒. ประพฤติตามธรรม คือการประพฤติทถี่ กู และดี แ ละมี ค วามสมบู ร ณ์ ต รงกั บ ความเป็ น จริ ง เหมือนคนที่ตั้งใจจะบวช นั่นเป็นการทำ�ดีประพฤติ ธรรมแน่นอน แต่พอถึงวันบวชกลับมีการเลี้ยงสุรา อาหารกันอย่างออกหน้าออกตาจนมีเหตุทะเลาะ วิวาทจนกลายเป็นมลทิน อย่างนี้เรียกว่าแม้จะ พยายามประพฤติเป็นธรรมแต่ก็ไม่ได้ดำ�เนินตาม ธรรม


58

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

การจะปฏิบัติสิ่งใดให้เป็นไปตามธรรมก็ควร เอาแนวปฏิบัติของพระสงฆ์มาเป็นตัวอย่าง ได้แก่ ปฏิบัติดี (สุปฏิปันโน) ปฏิบัติตรง (อุชุปฏิปันโน) ปฏิบตั สิ มควร (ญายะปฏิปนั โน) และปฏิบตั เิ หมาะสม (สามีจิปฏิปันโน) ดี ตรง ควร และเหมาะสม หลักปฏิบตั ิ ๔ อย่าง นี้ ทำ�อะไรดีๆ เป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น เรียกว่า “การปฏิบัติธรรม” ทั้งสิ้น อย่าได้เข้าใจผิดไปไกลว่า ประพฤติธรรมคือ การนั่งสวดมนต์ ภาวนา นั่งสมาธิ หรือไปอยู่วัด เท่านัน้ เพราะมีคนทีเ่ ข้าใจผิดเตลิดไปไกลว่าการนัง่ สมาธิเจริญวิปสั สนานัน่ แหละประพฤติธรรม อย่างอืน่ ไม่ใช่ คนที่คิดแบบนี้เรียกได้ว่ามี “มิจฉาทิฐิ” เมื่อ ทำ�อะไรแล้วย่อมไม่ประสบความสำ�เร็จ


มงคลชีวิต ๑๗

Þาµกา¹ Ú¨ ส§Ú¤âห

( ญ า ต ะ ก า นั ญ จ ะ สั ง ค ะ โ ห )

ช‹วยàหÅ×Íส§à¤ราÐห์Þาµิ/¾Õ蹌ͧ

“การสงเคราะห์ญาติ” คือการช่วยเหลือเกื้อกูลแก่ ญาติพนี่ อ้ ง การเกือ้ กูลแก่พวกญาติผขู้ ดั สนทรัพย์บา้ ง ผูเ้ จ็บป่วยบ้าง ซึง่ เป็นธรรมดาทีญ่ าติบางฝ่ายของเรา จะมาขอความช่วยเหลือ ด้วยให้ของกิน ผ้านุง่ ห่ม และ ทรัพย์ เป็นต้น เราก็ควรจะช่วยเหลือตามที่จะ สามารถช่วยได้แค่ไม่สร้างความเดือดร้อนแก่ตนเอง


60

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

มีสุภาษิตบทหนึ่งกล่าวว่า ต้นไม้ที่เกิดในป่า มากมายนั้น เวลาโดนลมพัดแรงๆ ย่อมช่วยกัน ต้านลมไว้ได้ ไม่หกั โค่นฉันใด คนทีม่ ญี าติพนี่ อ้ งทีด่ ี มากๆ ย่อมเป็นที่พึ่งพาอาศัยกันยามมีภัยได้ฉันนั้น ซึง่ แม้คนทีไ่ ม่ใช่ญาติแต่มคี วามคุน้ เคยกันก็สามารถ เป็นญาติที่ดีได้ ดังที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสเอาไว้เป็นภาษิต เลยว่า “วิสาสาปะระมาญาตี” แปลว่า “ความคุน้ เคย เป็นญาติอย่างประเสริฐ” พระพุทธเจ้าเป็นตัวอย่างของผูร้ จู้ กั สงเคราะห์ ญาติอย่างดีทสี่ ดุ แม้พระองค์จะออกบวชไปแล้วก็ยงั ประพฤติตนสงเคราะห์พระประยูรญาติเป็นอย่างดี เหมือนเดิม โดยหลังจากทีพ่ ระพุทธองค์ประดิษฐาน พระพุทธศาสนาให้มั่นคงในแคว้นมคธแล้ว ก็เสด็จ กลับมาโปรดพุทธบิดาที่กรุงกบิลพัสดุ์ ซึ่งเป็นเวลา เกือบ ๗ ปีตงั้ แต่ออกบวชแล้วไม่ได้มาเยีย่ มพระญาติ


61

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

อีกกรณีหนึง่ อันเป็นทีม่ าของพระพุทธรูปปาง ห้ามญาติก็คือ พระพุทธองค์ทรงไปห้ามศึกที่แม่น้ำ� โหริณี เพราะญาติสกุลศากยะ (ฝ่ายพระองค์เอง) กับ ฝ่ายโกลิยะ (ฝ่ายพระเจ้าสุปปพุทธะ ซึ่งเป็นพ่อตา) กำ�ลังจะฆ่าฟันกันเพราะแย่งชิงน้�ำ มาทำ�นาด้วยปีนนั้ น้ำ�แล้งมาก ซึ่งก็ประสบความสำ�เร็จโดยที่ทั้งสอง ฝ่ายต่างเห็นแก่ความเป็นญาติ จึงหาข้อตกลงร่วมกัน ที่จะใช้น้ำ�อย่างเกื้อกูลกัน นักปราชญ์ทา่ นแนะนำ�ไว้วา่ “การช่วย ญาติที่ดีที่สุดไม่ใช่ตกปลาให้เขากิน แต่คือ การสอนวิธีหาปลาให้” ทีห่ มายถึง อย่านำ�หรือทำ�อะไรให้ตลอดเวลา โดยที่เขาไม่รู้จักคิดเองทำ�เองเลี้ยงชีวิตได้ ทางที่ดีที่ ถาวรทีส่ ดุ คือช่วยสอนให้ญาติชว่ ยตัวเองได้ ทีส่ �ำ คัญ ต้ อ งไม่ ดู ห มิ่ น ญาติ ข องตนเองเพราะจะเป็ น เหตุ แห่งความหายนะได้


มงคลชีวิต ๑๘

͹วชÚชา¹ิ กÁÚÁา¹ิ

( อ ะ น ะ วั ช ช า นิ กั ม ม า นิ )

ทÓ§า¹ทÕèäÁ‹ÁÕâทÉ

“การงานไม่มโี ทษ” ก็คอื การทำาสิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์ให้ แก่ตนและแก่คนในสังคม คำาว่า “ไม่มีโทษ” ก็คือ งานนั้นไม่เป็นที่น่าตำาหนิเพราะไม่มีโทษภัยที่จะ เกิดขึ้นกับงานนั้น ในทางธรรมแล้ว พระอรรถ กถาจารย์ท่านให้ตัวอย่างการงานไม่มีโทษไว้หลาย อย่าง เช่น


63

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

“อุโบสถกรรม” คือการรักษาศีลอุโบสถทัง้ ๘ ข้อ คือ การไม่ฆา่ สัตว์ ไม่ลกั ทรัพย์ ไม่เสพกาม (ถ้าในศีล ๕ ก็คอื การไม่ผดิ ลูกเมียผูอ้ นื่ ) ไม่พดู เท็จ ไม่ดมื่ สุรา ไม่กนิ อาหารยามวิกาล ไม่ฟอ้ นรำ�ขับร้อง เล่นดนตรี ดูการแสดงต่างๆ ไม่ใช้เครื่องสำ�อางเพื่อประดับ ตกแต่ง ไม่ใช้ที่นอนสูงใหญ่เกินขนาด “ไวยาวัจจกรรม” ก็คอื การช่วยเหลือในกิจการ งานผู้อื่น เช่น การทำ�ถนนที่ขรุขระให้ราบเรียบ ทอดสะพานข้ามน้�ำ เพื่อให้คนใช้สัญจรไปมาสะดวก การปลูกต้นไม้มีเงาไว้ให้ร่มรื่น สำ�หรับความเป็น ชาวบ้านธรรมดา พระพุทธเจ้าทรงสอนให้รู้จัก หาทรัพย์ได้ ใช้จา่ ยทรัพย์เป็น ไม่เป็นหนีใ้ คร ทำ�งาน ที่ไม่มีโทษ ให้ครบทั้ง ๔ อย่างนี้ก็นับว่ามีความสุข เป็นพื้นฐานให้เข้าถึงความสุขในระดับสูงขึ้นไป


มงคลชีวิต ๑๙

ÍารµÕ วิรµÕ ปาปา

( อ า ร ะ ตี วิ ร ะ ตี ป า ป า )

ÅÐàวŒ¹การทÓºาป

“บาป” หากจะแปลความให้เป็นภาษาทีเ่ ข้าใจได้งา่ ย ขึ้นก็คือ “อาการของใจเสีย” หรือจิตใจที่เสียจริต ความดีไปแล้ว ถ้าใจเสียแล้วก็จะออกอาการต่างๆ กัน เช่น จิตเศร้าหมอง จิตเหลวไหล ใจต่ำา ใจทราม อาการเหล่านี้คือ “บาป”


65

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ทีส่ �ำ คัญก็คอื บาปของพระพุทธศาสนาถือเป็น เรื่องเฉพาะบุคคล ใครจะทำ�ให้ใครบริสุทธิ์ไม่ได้ ตัวบุคคลนั้นต้องเป็นผู้ทำ�เอง มีความสงสัยกันมากว่าบาปนั้นเราสามารถ ทำ�ความดีลบล้างความชัว่ ได้หรือไม่ หลายท่านอาจ จะตอบว่าล้างไม่ได้ ทำ�ดีตอ้ งได้ดี ทำ�ชัว่ ต้องได้ชวั่ สิ ทำ�ดีได้ชั่ว หรือทำ�ชั่วแล้วจะกลับเป็นดีได้อย่างไร เรื่องนี้อาจจะหาว่าพูดเล่นลิ้นกลับไปกลับมา หากลองคิดเรื่องกฎแห่งกรรมดูก็จะพบว่ากรรมดี ย่อมเปลีย่ นแปลงกรรมชัว่ ได้ และกรรมชัว่ ก็สามารถ เปลี่ยนแปลงกรรมดีได้เช่นกัน ทุกสิ่งไม่เที่ยงเป็น อนิจจัง ยกตัวอย่างเรือ่ งแก้วน้�ำ สักใบ หากเราเติมน้�ำ เข้าไปหน่อยหนึง่ ก็คอื น้�ำ ใส เสร็จแล้วเอาขีโ้ คลนเล็กๆ สักก้อนหยดลงไปน้�ำ ก็ขนุ่ จากนัน้ ก็เติมน้�ำ ใสๆ ลงไป เรื่อยๆ จนน้ำ�เต็มแก้วจนมันจางและใสเป็นปกติ


66

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

หากจะถามว่าโคลนนั้นมันหายไปหรือเปล่า ก็เปล่า โคลนก็ยังอยู่ในนั้นเช่นเดิม แต่น้ำ�ที่ดีมัน มากกว่าขี้โคลนมากน้ำ� จึงกลับมาใสเหมือนเดิม กรณีนี้ก็คงเรียกว่า “ทำ�กรรมดีมากเสียจนกรรมชั่ว มันตามไม่ทันหรือมองไม่เห็นกรรมชั่วนั้นเลย” องคุลิมาล ก่อนพบพระพุทธเจ้าเป็นคนที่ทำ� ชั่วช้ามาก แต่เมื่อพบพระธรรมคำ�สอนแล้วก็กลับ หลังหันเดินทางสายธรรมออกบวช ในทีส่ ดุ ด้วยการ ทำ�ความดีจงึ บรรลุเป็นพระอรหันต์ เรียกว่า “ต้นคด ปลายตรง” แต่ในระหว่างทางที่กลับใจก็ต้องได้รับ ผลแห่งบาปกรรมด้วย จริงๆ แล้วท่านอาจจะต้อง โดนฆ่าด้วยซ้ำ�เพราะฆ่าคนมามากมาย แต่ผลนั้น กลั บ เหลื อ เพี ย งโดนหิ น ขว้ า งตลอดเวลาที่ ไ ป บิณฑบาต


67

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

นั่นเพราะบุญกุศลที่ทำ�ออกผลมากกว่า โดย หลังจากบวชแล้ว ท่านเคยรำ�พึงความในใจออกมา เป็นบทกวีว่า “เมือ่ ก่อนฉันคือโจรองคุลมิ าลผูด้ รุ า้ ย เวียนว่าย ลอยคอกลางกระแสตัณหาใหญ่ ได้อาศัยพระพุทธองค์ เป็นที่ยึดเกาะอันมั่นคงและปลอดภัย บัดนี้ฉันนั่ง เป็นสุข นอนเป็นสุข พ้นเงือ้ มมือจากมารร้าย อะโห น่าอัศจรรย์ใจ พระกรุณาอันยิง่ ใหญ่ของพระศาสดา” ความชัว่ หรือบาปนัน้ จึงสามารถงดเว้นได้ และ สิ่งที่เคยทำ�บาปมาแล้วก็ทำ�ให้เจือจางได้ ด้วยการ ทำ�บุญดำ�เนินชีวติ ในทางแห่งบุญและความดี ชีวติ ก็ จะประสบสุข เช่น ท่านองคุลิมาลและเหล่าคนชั่ว กลับใจทั้งหลายในโลกนี้ต่างก็มีสุขเป็นที่ไป


มงคลชีวิต ๒ð

ÁชÚชปา¹า ¨ ส ÚÞâÁ

( มั ช ช ะ ป า น า จ ะ สั ญ ญ ะ โ ม )

สÓรวÁ¨ากการด×èÁ¹éÓàÁา หร×ÍสØรา พระพุทธศาสนาถือว่าสุราเมรัยเป็นที่ตั้งของความ ประมาท คือเป็นสาเหตุแห่งความขาดสติ ไม่วา่ ใคร ก็ตามทีด่ มื่ เหล้าแล้วย่อมเมา เมาแล้วก็ไม่มสี ติ หาก ดืม่ บ่อยๆ จนเป็นนิสยั ก็จะเป็นอันตรายต่อชีวติ และ สุขภาพ รวมไปถึงทรัพย์สนิ เพราะเมือ่ ขาดสติกเ็ ข้าหา อบายมุขได้ง่าย


69

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

พระพุทธเจ้าตรัสมงคลข้อนีใ้ ห้ส�ำ รวมจากการ ดืม่ น้�ำ เมาเพราะมีโทษชัดเจนถึง ๖ ประการคือ เสีย ทรัพย์ทนั ตาเห็น ก่อการทะเลาะวิวาทฆ่ากันตายมา นักต่อนัก เป็นบ่อเกิดแห่งโรค เป็นเหตุให้เสียชือ่ เสียง ทำ�ให้ไม่มีความละอาย และเป็นเหตุทอนกำ�ลัง ปัญญา


มงคลชีวิต ๒๑

ÍปÚปÁาâท ¨ ธÁÚàÁสØ

( อั ป ป ะ ม า โ ท จ ะ ธั ม เ ม สุ )

äÁ‹ดÓร§µ¹Íยً㹤วาÁปรÐÁาท

“ความไม่ประมาท” มาจากคำาในบาลีวา่ “อัปปมาโท” คือความไม่อยู่โดยการปราศจากสติ หรือหมายถึง การมีสติกำากับอยู่ตลอดเวลา ไม่เผอเรอในสิ่งต่างๆ รอบตัว ส่วนคำาว่า “ในธรรมทัง้ หลาย” หรือ “ธัมเมสุ” ก็คือการรักษาศีลให้บริบูรณ์ บำาเพ็ญเพียร รู้ใน สัปปุริสธรรม ๗ ขันธ์ ๕ โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ


71

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ในแง่ปฏิบตั กิ ค็ อื ความดีงามทัง้ หลาย คือการ มีสติกระตุ้นเตือนใจตลอดเวลาพยายามที่จะสร้าง ความดีงาม เลิกและละความชัว่ ทุกชนิด สติกเ็ หมือน กับยามเฝ้าประตูของจิต ใครจะเข้าจะออกประตูนี้ ก็รู้ทันหมด ถ้ามีสติอยู่โจรผู้ร้ายก็ไม่มีทางเข้าไป ขโมยหรือทำ�ลายภายในได้ คนมีสติย่อมทำ�อะไรไม่ พลาด พระพุทธเจ้าตรัสเป็นภาษาบาลีวา่ “อัปปมาโท อะมะตังปะทัง ปะมาโท มัจจุโน ปะทัง อัปปะมัตตา นะ มียันติ เย ปะมัตตา ยะถา มะตา” แปลว่า ความไม่ประมาทเป็นทางอมตะ ความประมาทเป็น ทางแห่งความตาย คนไม่ประมาทไม่มีวันตาย คน ประมาทต่อให้มีชีวิตอยู่ก็เหมือนคนที่ตายแล้ว ความไม่ประมาทในธรรม ก่อนที่พระพุทธเจ้า จะปรินิพพาน ๓ เดือน พระองค์ได้ปลงสังขาร เรื่องนี้เป็นเรื่องใหญ่มาก


72

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

บรรดาพระภิกษุจ�ำ นวนมากจึงพากันไปถวาย การรับใช้ใกล้ชดิ เพราะว่ากลัวจะไม่ได้เห็นพระองค์ อีกแล้วแต่มีพระรูปหนึ่งชื่อ “พระธรรมาราม” กลับ พยายามตีตัวออกห่างไม่ไปเฝ้าพระองค์เลยสักครั้ง จนภิกษุคิดว่า พระรูปนี้อาจ “กบฏ” ได้ ซึ่งการที่เหล่าภิกษุคิดเช่นนี้ก็ไม่น่าแปลกใจ เพราะสมัยนั้นมีพวกมารศาสนาเยอะมาก เพียงแต่ สรรพวิธีการอาจไม่แยบยลเท่าสมัยนี้ที่จะสรรหา วิธมี าทำ�ลายพระพุทธศาสนาพอ พระพุทธองค์ทราบ เรือ่ งเข้าก็เรียกให้พระธรรมารามมาเข้าเฝ้า ว่าเหตุใด จึงไม่ยินดีในตัวตถาคตแล้วหรือ ท่านธรรมารามก็บอกว่าไม่ใช่ เพราะตัวท่าน เห็นว่าพระพุทธองค์จะปรินิพพานแล้ว ควรที่จะเร่ง ปฏิบัติธรรมให้เคร่งครัดและบรรลุก่อนที่พระองค์ จะจากไปให้ได้ พระพุทธองค์จึงได้ตรัสโมทนาและ แสดงธรรมแก่ ภิ ก ษุ ใ ห้ ป ฏิ บั ติ ธ รรมตามอย่ า ง พระธรรมาราม ถือเป็นการบูชาและเป็นการใกล้ชิด พระพุทธองค์ได้อย่างสูงสุด


มงคลชีวิต ๒๒

¤ารâว ¨

(คาระโว จะ)

ÁÕ¤วาÁà¤าร¾ã¹ºØ¤¤ÅทÕè¤วรà¤าร¾ “ความเคารพ” มาจากคำาว่า “ครุ” คือการทำาให้หนัก ได้แก่ การยกย่องเชิดชูบุคคลหรือสิ่งที่ควรยกย่อง เชิดชู หรือการตระหนักในความสำาคัญของสิ่งนั้น ไม่ดูเบาในสิ่งนั้นนั่นเอง ความเคารพนั้นไม่ใช่กริยา หยาบ ที่หมายถึงแค่การกราบไหว้ ที่เป็นมารยาท สังคม


74

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

เพราะว่าตอนไหว้กนั ใครจะรูว้ า่ มีการแอบแช่ง ชักหักกระดูกอยู่หรือไม่ หรือไหว้เพราะความกลัว ไม่ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของคุณงามความดี ความสำ�คัญของความเคารพอยู่ที่คุณสมบัติ ทางใจ คือตระหนักและทราบดีในคุณงามความดี พระพุทธเจ้าทรงยกมา ๖ อย่างทีช่ าวพุทธพึงควรให้ ความเคารพคือ ๑. พระพุทธเจ้า โดยผู้ให้ความเคารพต้อง ตระหนักให้ดวี า่ พระองค์มปี ญั ญารูจ้ ริง มีความบริสทุ ธิ์ และมีพระมหากรุณาธิคุณเผื่อแผ่แก่สัตวโลกจริง ๒. พระธรรม เพราะคำ�สอนของพระองค์นั้น พาคนให้ล่วงทุกข์ดับทุกข์ได้จริงๆ ๓. พระสงฆ์ คือพระอริยสงฆ์ทปี่ ฏิบตั ดิ ี ปฏิบตั ิ ตรง ปฏิบตั สิ มควร ปฏิบตั เิ หมาะสม เป็นเนือ้ นาบุญ ของชาวโลก และเป็นผู้สืบทอดพระพุทธศาสนา


75

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

๔. การศึกษา ต้องให้ความสำ�คัญในเรือ่ งการ ฝึกฝนอบรมตนเองให้สมบูรณ์ดว้ ยศีล สมาธิ ปัญญา และไม่ใช่แค่ศึกษา แต่ต้องปฏิบัติด้วย ๕. ความไม่ประมาท คือต้องตระหนักให้ความ สำ�คัญในการควบคุมสติตนเองไม่ให้เผลอไม่วา่ จะทำ� สิ่งใด ๖. การต้อนรับแขก ต้องให้ความสำ�คัญแก่ ผู้มาเยือนด้วยไมตรีจิต ไม่ถือตน หากผู้นั้นนำ�สิริ มงคลมาให้ อย่างไรก็ตามพระพุทธองค์แสดงไว้เพียงเท่านี้ แต่ไม่ได้หมายความว่าสิ่งที่ควรเคารพจะหมดเพียง เท่านี้ สิ่งอื่นๆ ที่ควรให้ความเคารพก็มีอีกมากมาย เพราะการเคารพเป็นการแสดงออกซึ่งความดีงาม


มงคลชีวิต ๒๓

¹ิวาâµ ¨

( นิ ว า โ ต จ ะ )

ÁÕ¤วาÁ¶‹ÍÁµ¹

“ความอ่อนน้อมถ่อมตน” ก็คือปฏิบัติตนเป็นผู้มี บุคลิกภาพดี ไม่เย่อหยิ่ง ไม่มีทิฐิมานะ ไม่ถือตัว ไม่กระด้าง เป็นผู้เด่นในทางดีงาม เป็นผู้ขจัด ความกระด้างได้ ดังพระสารีบุตรที่เปรียบเทียบ ตัวท่านเองว่าเป็นดั่งท่อนผ้าสำาหรับเช็ดเท้า


77

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

เสมอด้วยโคตัวผู้เขาหักและเป็นผู้เสมอด้วย งูพษิ ทีถ่ กู ถอดเขีย้ วแล้ว ย่อมเป็นผูท้ ไี่ ด้รบั การเคารพ แม้ถกู กล่าวหาในทางทีไ่ ม่ดี จนผูก้ ล่าวหายังต้องมา กราบขออภัยยอมศิโรราบให้ เรือ่ งมีอยูว่ า่ วันออกพรรษาฤดูหนึง่ ในพุทธกาล พระสารีบุตรจะออกเดินทางไปจาริกบุญที่อื่นต่อ เพราะอยู่ในวัดพระเชตวันมานานแล้ว ตอนที่ท่าน ลาหมูภ่ กิ ษุ ก็มพี ระขีอ้ จิ ฉารูปหนึง่ คอยมองอยู่ พระ สารีบตุ รไหว้ภกิ ษุไปรอบทิศ ไหว้ลาทัง้ ครูบาอาจารย์ คือพระอัสสชิ และเพื่อนภิกษุด้วยกัน แต่บังเอิญไม่ ได้ลาพระขี้อิจฉารูปนั้น พระรูปนี้ก็เกิดอาการเคืองขึ้นมาแต่ก็หาข้อ ตำ�หนิท่านไม่ได้ บังเอิญชายจีวรของท่านสารีบุตร ไปสะกิดถูกจีวรของพระขี้อิจฉารูปนี้พอดี


78

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ก็เลยเข้าทางพระรูปนี้ได้ทีก็ถือเอาความนี้ไป ทูลพระพุทธเจ้าว่า พระสารีบตุ รเดินชนแล้วไม่ขอโทษ ทำ�ตัวหยิ่งถือตนว่าเป็นอัครสาวกเลยไม่ยอมขอโทษ พระพุทธองค์ทราบดีว่าพระสารีบุตรไม่ทำ� เช่นนั้นแน่แต่ก็เรียกให้มาสอบสวน พระสารีบุตร ซึ่งเป็นพระอรหันต์แล้วจึงได้ตอบว่า “ข้าพเจ้านีเ้ ป็นคนต่�ำ ต้อย เหมือนธาตุดนิ น้�ำ ลม ไฟ ทีเ่ กิดขึน้ แล้วก็ดบั ไป เหมือนผ้าขีร้ วิ้ ทีไ่ ม่มใี คร ต้องการ เหมือนเด็กจัณฑาลทีไ่ ม่มใี ครสนใจ เหมือน โคที่ถูกกุดเขาแล้ว เหมือนซากงูที่คล้องอยู่ในกาย คนโสมม เหมือนคนถือน้ำ�มันที่เต็มปรี่ภาชนะแล้ว มีเพชฌฆาตเดินตามหลัง ถ้าน้ำ�มันหกก็จะโดน ประหารทันที ข้าพเจ้านี้ต่ำ�ต้อยยิ่งนัก ถ้าโทษของ ข้าพเจ้ามีอยู่ขอโปรดให้ท่านจงอภัยให้เราเถิด”


79

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ว่าแล้วพระสารีบุตรก็จะก้มลงกราบขอโทษ ภิกษุใจพาลผู้นั้น แต่เพราะคำ�พูดของท่านที่กล่าว มานี้ลึกซึ้งกินใจมาก พระสงฆ์ที่เป็นปุถุชนทุกรูปได้ยินก็สะท้อนใจ น้ำ�ตาซึมในคุณความดีของท่านต่างร้องไห้ไปตามๆ กัน ส่วนพระใจพาลก็รีบโบกไม้โบกมือกล่าวว่า “ได้โปรดอย่าทำ�ความเคารพข้าพเจ้า ข้าพเจ้า เป็นคนใจพาลกล่าวคำ�เท็จแก่พระศาสดา โปรด ยกโทษให้ด้วย” ว่าแล้วพระใจพาลก็ก้มลงกราบ แทบเท้าพระสารีบุตรด้วยความสำ �นึกผิด นี่คือ คุ ณ แห่ ง ความรู้ จั ก อ่ อ นน้ อ มถ่ อ มตน ต่ อให้ เ จอ มารมาผจญแค่ไหนก็สามารถเอาตัวรอดได้


มงคลชีวิต ๒๔

ส¹ÚµØฏþ°Õ ¨

( สั น ตุ ฏþ ฐี จ ะ )

ÁÕ¤วาÁสั¹âดÉ

“ความสันโดษ” ก็คือความยินดีด้วยของของตน มี ความหมายแฝงอยู่ ๓ ประการคือ ๑. ยินดีด้วย ของของตน ๒. ยินดีด้วยของที่มีอยู่ ๓. ยินดีใน สิ่งนั้นอย่างสม่ำาเสมอ ความสันโดษชื่อว่าเป็นมงคล เพราะเป็นเหตุ ละบาปทัง้ หลาย คือละในความมักมาก ความปรารถนา ลามก


81

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ความสันโดษเป็นหลักธรรมนำ �ตนสู่ความ หลุดพ้น เพราะเป็นเครื่องอบรมอริยมรรคให้ถึง พร้อมสมบูรณ์ คนทีส่ นั โดษนัน้ จะมีคณุ ลักษณะทีน่ า่ สรรเสริญคือจะขยันหา ขยันสร้างสรรค์ ทุม่ เทกำ�ลัง กาย และสติปญั ญาในสิง่ ทีถ่ กู ต้องทีส่ จุ ริต เมือ่ ได้ผล สำ�เร็จแล้วก็ท�ำ ให้เกิดความภาคภูมใิ จ ความสันโดษ เป็นสิง่ ตรงข้ามกับความโลภและความขีเ้ กียจ เพราะ คนพวกนี้วันๆ จะไม่ต้องการทำ�งาน คิดแต่จะหา ทางสรรหาทรัพย์ต่างๆ ด้วยความคดโกง คนสันโดษจะมีความสามารถในการหาทรัพย์ มาอย่างชาญฉลาด คือหาเลี้ยงชีพด้วยความขยัน ด้วยสติปญั ญาทีม่ แี ละด้วยวิธที ชี่ อบธรรม ไม่อยากได้ ของของคนอืน่ ไม่ทจุ ริตเพราะปากท้องส่วนตัว เมือ่ หามาได้ก็จะใช้เท่าที่จำ�เป็นและใช้ด้วยสติปัญญา ไม่ตกเป็นทาสของวัตถุ


82

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ยิ่งไปกว่านั้น คนที่สันโดษเมื่อเขาไม่ได้สิ่ง ที่ต้องการเพราะสุดวิสัยจะได้ ก็จะไม่เร่าร้อน ยัง ทำ�งานของตนเองต่อไปไม่ให้ความผิดหวังครอบงำ� ใจ สามารถหาความสุขได้จากสิ่งที่เป็นของของตน มีความภูมใิ จอันเกิดจากผลสำ�เร็จของกำ�ลังของงาน อดทนและรอคอยความสำ�เร็จได้ รักและจงรักภักดี ในหน้าที่ของตนเอง ทำ�งานเพื่องานโดยแท้ และที่ สำ�คัญทีส่ ดุ ก็คอื ไม่ถอื เอาความสำ�เร็จทีไ่ ด้มายกตน ข่มท่าน คนที่ ถื อ สั นโดษได้ จึ ง เป็ น คนที่ จ ะมี โ อกาส ประสบความสำ�เร็จเพราะความไม่ยึดในกิเลส โลภ โกรธ หลง เมือ่ ไม่มกี เิ ลสสามกองนีห้ รือกิเลสเหล่านี้ เบาบาง จะทำ�อะไรก็ย่อมเจริญทั้งสิ้น


มงคลชีวิต ๒๕

กµ Ú Øµา

( ก ะ ตั ญ ุ ต า )

ÁÕ¤วาÁกµัÞ Ù

ความดีที่เป็นพื้นฐานของคนที่สมบูรณ์ก็คือ ความ กตัญญูกตเวที พระพุทธเจ้าตรัสไว้วา่ “ภูมิ เว สัปปุริ สานัง กตัญ ูกตเวทิตา” แปลว่า ความกตัญญู เป็นพืน้ ของคนดี ซึง่ มีพระมหาสมณรูปหนึง่ ของไทย นำาพุทธภาษิตนี้ไปแต่งให้สวยขึ้นอีกว่า “นิมิตตัง สาธุรูปานัง กตัญ ูกตเวทิตา” ความกตัญญูเป็น เครื่องหมายของคนดี


84

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

พระพุทธเจ้าท่านระบุวา่ คนทีจ่ ะบวชได้กต็ อ้ ง มีคณุ ธรรมนีเ้ ป็นพืน้ ฐาน ถ้าไม่มคี ณุ ธรรมข้อนีเ้ รือ่ งอืน่ ไม่ตอ้ งพูดถึง พระพุทธองค์ไม่รบั บวชเพราะคนทีบ่ วช ให้ยอ่ มมีบญุ คุณ เป็นผูอ้ ปุ ชั ฌาย์ เป็นผูช้ ที้ างสว่างให้ คนมีบุญคุณสูงกับตนเองถึงเพียงนี้ถ้าไม่มีกตัญญู แล้วจะอยู่ไปได้อย่างไร นอกจากนั้ น พระพุ ท ธองค์ ยั ง ทรงแสดง เรือ่ งราวของผูท้ มี่ คี วามกตัญญูให้เกิดความแจ่มแจ้ง ของผลกรรมนั้นว่า ในสมัยพุทธกาลมีภิกษุรูปหนึ่งบิณฑบาตได้ อาหารมา ก็เอาไปให้ผู้บังเกิดเกล้าก่อน ตนเองจะ ได้ฉันบ้างหรือไม่ได้บ้างก็ไม่เป็นไร ทำ�ให้พระรูปอื่น พากันติเตียนว่าทำ�ไม่เหมาะสม นำ�อาหารของพระ ไปให้คฤหัสถ์กินก่อนได้อย่างไร


85

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

แต่พระพุทธเจ้ากลับสรรเสริญภิกษุรูปนั้นว่า ทำ�ถูกแล้ว แม้จะบวชเป็นพระแล้วก็ตามยังสามารถ หาเลี้ยงดูบิดามารดาได้ และอาหารที่ได้มานั้น พระพุทธองค์ก็อนุญาตให้นำ�ไปให้บิดามารดากิน ก่อนได้ไม่ผิดแต่อย่างใด และทรงสรรเสริญภิกษุ นั้นเป็นอันมาก เพราะคุณธรรมความกตัญญูเป็นเหตุ


มงคลชีวิต ๒๖

กาàŹ ธÁÚÁสÚสว¹í

( ก า เ ล น ะ ธั ม มั ส ส ะ ว ะ นั ง )

¿˜§ธรรÁµาÁกาÅ

ดังที่เคยกล่าวแล้วว่าคำาว่า “ธรรม” นั้นมีอยู่หลาย ความหมาย คือสิง่ ทีถ่ กู ต้องดีงาม สิง่ ทีถ่ กู ต้องดีงาม ในที่นี้ขอสรุปว่าคือคำาสอนทางพระพุทธศาสนาที่ ถ่ายทอดมาจากพระพุทธเจ้า ส่วนคำาว่า “ตามกาล” ก็คือ เวลาที่เหมาะสมจะฟัง เหมาะสมที่จะเรียนรู้


87

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ได้แก่ เวลาที่จิตมีความฟุ้งซ่าน ถูกครอบงำ� ด้วยความว้าวุน่ ใจ หรือเรียกง่ายๆ ว่าเวลาทีจ่ ติ กำ�ลัง ร้อนรุม่ ใจสงสัยนัน่ แหละ เป็นเวลาเหมาะจะฟังธรรม มาก มีเรือ่ งราวบันทึกไว้ในสมัยสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๔ มีธรรมเนียมหนึง่ ทีท่ างวังหลวง ต้องนิมนต์พระอริยเจ้ามาเทศนาธรรมให้พระเจ้าอยูห่ วั และเหล่าข้าราชบริพารในวังฟังในวันพระหรือวันพิเศษ มีครั้งหนึ่งเจ้าจอมองค์หนึ่งในพระองค์คาดว่ากำ�ลัง จะประสูติพระโอรสพอดีในวันนั้น ในหลวงจึงทรง กระวนกระวายพระทัยเป็นอย่างมาก ไม่มกี ะจิตกะใจ ฟังธรรมทีส่ มเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) กำ�ลัง เทศน์สอนเลย แต่ทว่าวันนั้น สมเด็จโตฯ ก็เทศนา เสียยาวเป็นพิเศษ เมื่อเทศน์จบในหลวงก็ทรงเสด็จ ไปหาเจ้าจอมทันที


88

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

เวลาล่วงตกมาอีกวัน พระองค์ก็สบายพระราชหฤทัยแล้ว ก็ปรารถนาจะได้ฟงั ธรรมจากสมเด็จโตฯ อีก แต่กลายเป็นว่าคราวนีส้ มเด็จโตฯ ท่านเทศน์สนั้ มาก เรียกได้ว่าสั้นที่สุดเลยก็ว่าได้ ท่านเทศน์วา่ “อันธรรมใดๆ สมเด็จมหาบพิตร พระราชสมภารเจ้าก็ทรงทราบดีอยู่แล้ว เอวังก็ด้วย ประการฉะนี้” ในหลวงทรงตรัสถามว่า ทำ�ไมขรัวโตจึงเทศน์ สัน้ นัก ทัง้ ๆ ทีว่ นั นีม้ อี ารมณ์อยากจะฟัง แต่เมือ่ วาน ไม่มอี ารมณ์อยากจะฟังกลับเทศน์เสียยืดยาว สมเด็จ โตฯ จึงตอบว่า “ก็เมือ่ วานมหาบพิตร จิตไม่สงบ เพราะ มัวฟุ้งซ่านก็เลยต้องอบรมกันยาวเป็นพิเศษ แต่ว่า วันนี้อารมณ์ของมหาบพิตรแจ่มใสแล้ว ธรรมอันใด พระองค์ก็ทราบดีแล้วจึงไม่ต้องพูดมาก”


89

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ในวันนัน้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชหฤทัยเบิกบานทัง้ วัน เพราะได้ฟงั ธรรม สั้นๆ เพียงบทนี้จากสมเด็จโตฯ การฟังธรรมให้ได้ผลก็คือการเอาใจ ใส่ ฟั ง ธรรมและฟั ง อย่ า งเคารพสู ง สุ ดใน พระธรรมนั้น ไม่ใช่การฟังเพื่อจับผิดคน แสดงธรรม แม้ แ ต่ อ งค์ ส มเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ครั้งหนึ่งกำ�ลังเสด็จจะเข้าไปในอาราม ทรงได้ยิน พระสาวกกำ�ลังแสดงธรรมสอนศิษย์อยู่ พระพุทธองค์ จึงหยุดรอและตั้งใจฟังธรรมที่เคยเทศน์สอนไปจาก ปากพระรูปนัน้ ทรงฟังด้วยความเคารพเป็นอย่างยิง่ และยังประนมพระหัตถ์กล่าวสาธุการเมือ่ ภิกษุเทศน์ จบด้วย


มงคลชีวิต ๒๗

¢¹ÚµÕ ¨

( ขั น ตี จ ะ )

ÁÕ¤วาÁÍดท¹ “ความอดทน” คือมีความทนทานทัง้ กายและใจ อดทน ได้ตอ่ กิเลสกองใหญ่สามประการคือ ราคะ โทสะ โมหะ ตามความหมายของการอดทนโบราณไทยกล่าวเป็น สามนัยก็คือ ๑. ทนลำาบาก คือทนต่อความทุกขเวทนา ต่างๆ ไม่บน่ ไม่รอ้ ง เจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ ก็อดทน เอาไว้ไม่สำาออยให้เสียจริต


91

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

๒. ทนตรากตรำ� คือทนสู้ต่อการทำ�มาหากิน เลี้ยงปากท้องในแต่ละวันให้ได้ หนักเอาเบาสู้ ไม่ ท้อถอย ไม่จับจด ๓. ทนเจ็บใจ คือการทนต่อการว่าร้ายด่าทอ โดยไม่เอามาเป็นอารมณ์ ซึ่งนับว่าเป็นความอดทน ระดับสูงสุด แต่ถ้าทำ�ได้ก็นับว่าได้บุญกุศลสูงสุด ครั้ ง หนึ่ ง ที่ มี อั น ธพาลกลุ่ ม หนึ่ งไปตามด่ า พระพุทธเจ้าเพราะได้รับค่าจ้างมา วันๆ ก็ตามด่า พระองค์ไม่หยุดไม่หย่อน พระอานนท์ซึ่งยังไม่ได้ บรรลุอรหันต์กโ็ กรธอยูใ่ นใจแต่อดกลัน้ ไม่ยอมแสดง สีหน้า แต่พระพุทธองค์นนั้ เสด็จดำ�เนินไปอย่างเรียบ เฉย พระอานนท์ซงึ่ กังวลใจมากจึงบอกให้หนีไปทีอ่ นื่ พระองค์ก็บอกพระอานนท์ว่า


92

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

“ถ้าตถาคตหนีเสียแล้วก็จะต้องหนีตลอดไป หนีไม่มที สี่ นิ้ สุดเพราะโลกนีค้ นชัว่ มีมาก ไปไหนก็ถกู ด่าอยู่ดี เรื่องเกิดที่ใดก็ควรให้ดับ ณ ที่แห่งนั้น เรา อยู่ที่นี่แหละ เขาเหนื่อยก็หยุดด่าเอง” ผ่านไปเจ็ดวันก็เห็นผลทันตาไม่มีใครมาตาม ด่าพระพุทธเจ้าอีก เพราะด่าเท่าไรพระพุทธองค์ก็ ไม่แยแสตอแยด้วย กรรมยังตามทันคนเหล่านี้ด้วย เพราะถูกพระราชาจับไปประหารกรอกน้ำ�มันร้อนๆ ใส่ปากให้ตายตกตามกันกับคนว่าจ้าง ก็คือมเหสี ใจร้ายองค์หนึ่งของพระราชาเอง ความอดทนเป็นพื้นฐานในทุกสิ่ง คนที่จะ ประสบความสำ�เร็จย่อมต้องมีความอดทนมากเป็น คุณธรรมประจำ�ใจ เพราะโลกนี้มีเรื่องโหดร้ายต่อ ร่างกายและจิตใจมากมาย คนที่อดทนได้ย่อมเป็น ผู้ชนะ ยิ่งอดทนได้มากเท่าไร ก็ยิ่งไปถึงจุดหมาย เร็วกว่าคนอื่นเท่านั้น


มงคลชีวิต ๒๘

âสว¨สÚสµา

( โ ส ว ะ จั ส ส ะ ต า )

àปš¹¼ÙŒว‹า§‹าย

“ความเป็นคนว่าง่าย” คือเมือ่ ถูกผูอ้ นื่ ว่ากล่าวอยูโ่ ดย ชอบธรรม ก็ไม่ถอื ความ ไม่กลบเกลือ่ น มีความเป็น ผู้นิ่งเฉย รู้จักการคิดถึงคุณและโทษ กระทำาความ เอื้อเฟื้อ ความเคารพ ความถ่อมตนให้ปรากฏขึ้น


94

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญความเป็นผู้ว่าง่าย ว่าเป็นมงคล เพราะเป็นเหตุแห่งการได้โอวาทหรือ คำ�แนะนำ�สัง่ สอนจากเพือ่ นพรหมจารีทงั้ หลาย และ เพราะเป็นเหตุแห่งการบรรลุธรรม พระสารีบุตรเคยนำ�พาศิษย์ของท่านคนหนึ่ง เข้ามาเฝ้าพระพุทธเจ้าซึง่ เป็นผูม้ อี ายุมากแล้ว ชือ่ ว่า “พระราธะ” กราบทูลพระพุทธเจ้าว่า หลวงตารูปนี้ เป็นพระที่ว่านอนสอนง่ายมาก กล่าวตักเตือนอะไร ก็พร้อมจะรับฟังและทำ�ตามด้วยความเคารพ ไม่ถอื ว่าตนเองอายุมากกว่า พระพุทธเจ้าทรงชมเชยและ สอนให้ภิกษุทั้งหลายถือปฏิบัติเป็นแบบอย่าง เดิมทีพระราธะเป็นแค่พราหมณ์แก่ที่ขัดสน ไปอาศัยพระอยู่เพราะเมียไล่ออกจากบ้าน อยาก จะบวชแต่ไม่มีใครบวชให้


95

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

พระพุทธเจ้าตรัสถามพระสงฆ์ว่ า มีใคร รูจ้ กั พราหมณ์รปู นีบ้ า้ ง พระสารีบตุ รเคยรับบิณฑบาต จากท่านก็เลยทูลต่อพระพุทธเจ้าว่าจำ�ได้พระพุทธเจ้าจึงอนุญาตให้บวช หลังจากบวชแล้วพระราธะก็ทำ�ตนว่านอน สอนง่าย สัง่ สอนอะไรก็ทำ�ตาม ไม่ชา้ ก็เข้าถึงความ เป็นพระอรหันต์ เมือ่ เรือ่ งนีร้ ถู้ งึ พระพุทธเจ้า พระองค์ จึงตรัสยกย่องให้เอาเป็นแบบอย่าง หากถามว่าเพราะเหตุใดคนทีว่ า่ ง่ายจึงเป็นคน ทีจ่ ะประสบความสำ�เร็จ เหตุกเ็ พราะเขาพร้อมจะรับ ฟังโดยเคารพ พร้อมจะปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง ของตน เหมือนมีคนมาชี้ขุมทรัพย์ให้ คนแบบนี้ ใครก็อยากคบ ต่อให้ต่ำ�ต้อยในเบื้องต้นแต่จะเจริญ ก้าวหน้าในเบื้องหน้าแน่นอน


มงคลชีวิต ๒๙

สÁ³า¹ Ú¨ ทสÚส¹í

( ส ะ ม ะ ณ า นั ญ จ ะ ทั ส ส ะ นั ง )

äดŒàหç¹สÁ³Ð

คำาว่า “สมณะ” แปลว่า ผูส้ งบ ทีห่ มายถึงผูท้ มี่ กี าย วาจา ใจสงบ หมายความในเชิงลึกก็คือเป็นผู้ที่ สามารถสงบบาปบุญได้ราบคาบแล้วละเว้นความ ชั่วทั้งหลายได้อย่างสิ้นเชิง การเข้าไปหา การบำารุง การระลึกถึง การได้ยนิ และได้ เ ห็ น สมณะผู้ มี กิ เ ลสสงบแล้ ว ย่ อ มมี คุ ณ มี อุปการะมาก เพราะเป็นเหตุให้ได้ประสบสิง่ ทีย่ อดเยีย่ ม


97

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

หากจะถามว่ายอดเยี่ยมได้อย่างไร ลองดู ตัวอย่างจากท่านพราหมณ์อย่างอุปติสสะและโกลิตะ ในสมัยต้นพุทธกาล อุปติสสะเป็นศิษย์ในสำ�นักใหญ่ที่มีชื่อของ เมืองราชคฤห์ วันหนึ่งได้เห็นสมณะรูปหนึ่งเข้ามา บิณฑบาตในเมืองก็เกิดความเลือ่ มใส เพราะประทับใจ ในกิริยามารยาทที่สงบเสงี่ยมจึงเข้าไปถามธรรมะ ต่อท่าน สมณะรูปนัน้ ก็อธิบายธรรมสัน้ ๆ สอนเรือ่ งการ เกิดเหตุและการดับแห่งเหตุ ทุกสิง่ ไม่มสี งิ่ ใดทีเ่ กิดขึน้ ลอยๆ การจะแก้จะดับสิง่ ใดนัน้ ต้องแก้ทตี่ น้ เหตุไม่ใช่ ปลายเหตุ อุปติสสะได้ฟงั เข้าก็ได้ดวงตาเห็นธรรม ไปเล่า ให้โกลิตะสหายฟังและได้ดวงตาเห็นธรรมเช่นกัน ทั้งสองจึงพากันไปบวชในสำ�นักของพระพุทธเจ้า และสำ�เร็จเป็นพระอรหันต์ทงั้ คู่ นัน่ ก็คอื พระสารีบตุ ร และพระโมคคัลลานะนั่นเอง


มงคลชีวิต ๓ð

กาàŹ ธÁÚÁสาก¨Ú©า

( ก า เ ล น ะ ธั ม ม ะ ส า กั จ ฉ า )

ส¹ท¹าธรรÁµาÁกาÅ

“การสนทนาธรรม” ก็คอื การพูดจากันในเรือ่ งความดี ความชอบ เรือ่ งทีเ่ ป็นจริง มีเหตุมผี ล มีหลักฐานอ้างอิง การสนทนาธรรมตามกาล พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็น มงคล เพราะเป็นเหตุแห่งคุณทัง้ หลาย เช่น ได้ความ ฉลาด ป้องกันไม่ให้นิวรณ์มาครอบงำาจิต ได้รับ ความแจ่มแจ้งเรื่องข้อธรรมและการปฏิบัติธรรมใน ด้านต่างๆ เป็นต้น


99

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

(นิวรณธรรม หมายความว่าสิ่งที่ขวางกัน ไม่ให้จิตใจของเราไปสู่เป้าหมายหรือบรรลุธรรม ได้ ทีเ่ รียกกันว่านิวรณธรรมห้าประการ หรือนิวรณ์ ๕ คือ ๑. กามฉันทะ คือพอใจในกามคุณ ๒. พยาปาทะ หรือพยาบาทนิวรณ์ คือการคิดร้ายต่อผู้อื่น ๓. ถีนมิทธะ หรือถีนมิทธะนิวรณ์ คือความหดหู่ ซึมเซา ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ คือความฟุง้ ซ่านและรำ�คาญใจ ๕. วิจิกิจฉา คือความลังเลสงสัย) การสนทนาธรรมตามกาลช่วยส่งเสริมการ ปฏิบัติธรรมให้เจริญก้าวหน้าจนถึงความหลุดพ้น จากกิเลส และแม้ผู้ที่หมดกิเลสแล้วก็จะได้ปัญญา เพิ่มมากขึ้น พระสารีบุตร พระมหากัสสปะ และพระอนุรุทธะ ทั้ง ๓ ท่านนี้เป็นพระอรหันต์ผู้ยิ่งยงทั้งสิ้น เด่นกันคนละอย่าง


100

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

คือพระสารีบตุ รเป็นผูม้ ปี ญั ญามาก พระมหากัสสปะเป็นผู้เลิศในธุดงควัตร ถือธุดงค์เก่งมาก มักน้อย ถือสันโดษทีส่ ดุ และพระอนุรทุ ธะ เป็นผูท้ มี่ ี ตาทิพย์ พระสารีบตุ รผูท้ รงปัญญาก็ตงั้ ปัญหาขึน้ มาว่า “ป่าที่น่ารื่นรมย์นี้ บุคคลเช่นใดควรอยู่ที่สุด” พระมหากัสสปะตอบว่า ก็ควรเป็นผู้ที่ถือ ธุดงควัตร เพราะป่านัน้ เหมาะทีส่ ดุ แล้ว พระสารีบตุ ร ก็วา่ ควรเป็นผูท้ มี่ ปี ญั ญามาอยูน่ า่ จะถูกกว่า เพือ่ จะได้ สนทนาธรรมกัน พระอนุรทุ ธะเห็นว่าความเห็นนีค้ ง ลงตัวกันไม่ได้ง่ายแน่นอน ก็เลยไปทูลขอคำ�แนะนำ� จากพระพุทธองค์ ซึ่งทรงตรัสตอบว่า “ป่าที่น่ารื่นรมย์นั้น ควรเป็นที่อยู่ของพระ ปุถชุ นทีส่ ดุ เพราะปุถชุ นยังมีกเิ ลสอยู่ เหมาะสำ�หรับ การมุ่งมั่นอบรมตนเอง มากกว่าที่ที่คนที่หมดกิเลส แล้วจะมาอยู่”


101

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

พระพุทธเจ้าทรงหมายความว่า คนที่พร้อม แล้วอย่างพระอรหันต์จะอยูท่ ไี่ หนก็ได้ แต่ส�ำ หรับคน ทีย่ งั ต้องพัฒนา สิง่ แวดล้อมนัน้ เป็นปัจจัยสำ�คัญมาก เพราะยิ่งอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีก็ย่อมที่จะประสบ ความสำ�เร็จได้มากกว่าคนที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดี การสนทนาธรรมด้วยเหตุและผลดังนีจ้ งึ ทำ�ให้ หมดข้อสงสัย ต่างคนต่างได้ความรู้ได้ปัญญาไปใช้ ในการดำ�รงชีวิตและการปฏิบัติที่เป็นประโยชน์ต่อ ผู้อื่นอีกเป็นอันมาก การสนทนาธรรมก็คือการแลก เปลี่ยนและถ่ายทอดความรู้ต่อกัน หากผู้สนทนา ทำ�ตัวเป็นถ้วยเปล่าพร้อมจะรับฟังก็จะได้ประโยชน์ แก่การสนทนามากมาย ดังเช่นพระสารีบุตรและ พระมหากัสสปะนั่นเอง


มงคลชีวิต ๓๑

µâป ¨

(ตะโป จะ)

ºÓà¾çÞµºÐ

นอกจากการละเว้นจากบาปแล้ว เรายังต้องเผาผลาญ ให้สิ้นไปอีกด้วย เรียกภาษาที่คุ้นเคยกันว่า “¡ÒÃ บำาเพ็ญตบะ” หมายถึงการทำาให้บาปทัง้ หลายหมดไป จากใจ ให้เกาะติดอยูใ่ นใจไม่ได้ ส่งผลให้จติ สะอาด ผ่องใส การบำาเพ็ญตบะธรรมนั้นจะเป็นเหตุผลของ กันและกัน ความชัว่ ของคนเราแบ่งได้ ๓ ประเภทใหญ่คอื คิดแต่จะได้ (โลภ) คิดแต่จะขุน่ เคือง (โกรธ) คิดแต่จะ หมกมุ่น ตกเป็นทาสโลกและชีวิต (หลง)


103

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ซึ่งสิ่งที่จะกำ�จัดพวกนี้ออกไปได้ก็คือ “ตบะ” ที่แปลว่าการเพียรเผากิเลสหรือเพียรละบาปให้มัน ออกไปจากใจ มีอุปกรณ์ในการชำ�ระบาปหลาย ประการ ได้แก่ ๑. ขันติ คือความอดทน ๒. ศีล การรักษากาย วาจา ใจให้เรียบร้อย ๓. การปฏิบัติตามคำ�สอนในพุทธวจนะ ๔. มีวริ ยิ ะ คือพากเพียรทำ�อย่างเต็มที่ ซึง่ แบ่ง ได้อีก ๔ ขั้นคือ เพียรระวังไม่ให้ความชัว่ น้อยใหญ่เกิดขึน้ เพียร ลดละเลิกความชัว่ ทีเ่ กิดขึน้ แล้ว เพียรบำ�เพ็ญความดี ทีย่ งั ไม่มใี ห้เกิดขึน้ และเพียรรักษาความดีทมี่ อี ยูแ่ ล้ว ให้คงอยูส่ บื ไป ทัง้ หมดนีค้ อื ตบะ หรือเครือ่ งเผากิเลส ให้สิ้นไปทั้งนั้น ใครมีตบะและความเพียรครบ ๔ อย่างนี้ก็รับประกันได้ว่าชีวิตประสบความสำ�เร็จ แน่นอน


มงคลชีวิต ๓๒

¾ÚรหÚÁ¨ริย Ú¨

( พ รั ห ม ะ จ ะ ริ ยั ญ จ ะ )

ปรоĵิ¾รหÁ¨รรย์

“การประพฤติพรหมจรรย์” คือเว้นจากเมถุนธรรม การประพฤติพรหมจรรย์ในมงคลสูตรนี้เป็นการ ปฏิบตั ทิ พี่ ฒั นาขึน้ มาตามลำาดับจากการปฏิบตั มิ งคล ในข้อเบือ้ งต้น เป็นการปรับพืน้ ฐานจิตใจให้หนักแน่น ตัง้ แต่ระดับโลกียะ เป็นการปรุงจิตสูงขึน้ จนก้าวย่าง เข้าสู่โลกุตรธรรม อันเป็นความหลุดพ้นขั้นสูงสุด การประพฤติพรหมจรรย์ชื่อว่าเป็นมงคล เพราะ เป็นเหตุบรรลุคุณพิเศษมีประการต่างๆ ที่สูงขึ้นไป


105

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

การประพฤติพรหมจรรย์ นั้นยังหมายความ รวมถึงการดำ�เนินวิถีชีวิตอย่างประเสริฐ ซึ่งเรามัก เข้าใจว่าการไม่ยุ่งเกี่ยวกับกามารมณ์ หรือแค่การ งดเว้นเสพกามเพียงอย่างเดียว การทำ�ความดีงาม ทัง้ หลายให้เกิดขึน้ อย่างการให้ทาน ช่วยเหลือกิจการ ต่างๆ ของส่วนรวม การรักษาศีล ๕ การเจริญเมตตา การยินดีเฉพาะในภรรยาของตน การปฏิบัติตาม มรรคมีองค์ ๘ หลักคำ�สอนของศาสนาทัง้ หมดล้วน เป็นการปฏิบัติเพื่อความเป็นพรหมจรรย์ (บริสุทธิ์) ทั้งสิ้น ในที่นี้การประพฤติพรหมจรรย์หากจะเน้น เรือ่ งกามก็คอื “เมถุนวิรตั ”ิ คืองดเว้นจากกาม เพราะ ว่ากามกิเลสนั้นร้ายกาจนัก เปรียบเหมือนกระดูกที่ หมาแทะ คื อ หมารู้ สึ ก ว่ า อร่ อ ยนั ก หนาแต่ ที่ แ ท้ เคี้ยวกลืนน้ำ�ลายตัวเอง


106

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

เหมือนชิ้นเนื้อที่แร้งรุมแย่งกินกัน เหมือน คบเพลิงที่ถือทวนลม ดีไม่ดีไฟก็ไหม้มือได้ง่าย เหมือนความฝันทีพ่ อตืน่ ก็หายไป เหมือนน้�ำ ผึง้ ทีอ่ ยู่ บนปลายมีดคือทั้งหวานและอันตราย และเหมือน เงี่ยงธนูที่ปักกลางอก ยิงแล้วดึงออกไม่ได้ กาม ทั้งหลายจึงหมายถึง “สิ่งที่ให้ความสุขน้อยแต่ให้ ทุกข์มาก” คนที่ประพฤติพรหมจรรย์ได้อย่างสูงก็จะงด ยุ่งเรื่องกามารมณ์ ถือเป็นบุคคลระดับอนาคาริยะ บุคคล หรือไม่ก็ออกบวชจึงจะเลิกยุ่งได้ หากเป็นระดับกัลยาณชนทีต่ �่ำ กว่าลงมา ก็คอื สามารถควบคุมการแสดงออกทางกามารมณ์รู้ว่า ลูกเขาเมียใครได้ไม่หน้ามืดตามัว


107

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ถ้าเป็นคนที่ไม่สามารถควบคุมกาม กิเลสได้เป็นทรชนทีถ่ อื คติวา่ คลำ�ดูไม่มหี าง เป็นใช้ได้นั้นนอกจากจะไม่มีทางประสบ ความสำ�เร็จในชีวติ แล้ว อาจถูกลงโทษทัณฑ์ ได้ทั้งทางโลกและกฎแห่งกรรม


มงคลชีวิต ๓๓

Íริยส¨Ú¨า¹ทสÚส¹

( อ ะ ริ ย ะ สั จ จ า น ะ ทั ส ส ะ น ะ )

àหç¹Íริยสั¨

“อริยสัจ” ก็คือ ความจริงทีเ่ ป็นอริยะหรือความจริง ทีป่ ระเสริฐ ๔ ประการ คือทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค โดยจำาแนกอธิบายได้ง่ายๆ ว่า ๑. ทุกข์ คือปัญหาชีวติ ทุกรูปแบบทีเ่ ผชิญอยู่ ๒. สมุทยั สาเหตุของปัญหาชีวติ ก็คอื ตัณหา อยากได้ อยากมี อยากเป็น ยังไม่ได้ ยังไม่มี และ ยังไม่เป็น ได้แล้ว มีแล้ว เป็นแล้ว


109

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ถ้ายังเป็นทีพ่ อใจก็อยากให้มนั มีตลอดไป และ ถ้าเบื่อก็อยากแสวงหาสิ่งที่ใหม่กว่า ๓. นิโรธ การแก้ปัญหาได้ หรือการที่ปัญหา หมดไปสิ้นเชิงซึ่งเป็นผลแห่งการแก้ปัญหา ๔. มรรค วิธีการแก้ปัญหา หรือเหตุที่ทำ�ให้ ปัญหาถูกแก้ การทีพ่ ระพุทธเจ้านำ� “นิโรธ” ขึน้ ก่อน “มรรค” ก็เพื่อแสดงผลก่อนเพราะต้องชี้ให้เห็นประโยชน์ ของความ “หลุดพ้น” ซึง่ ไม่ใช่ความสุขแบบโลกียะแต่ เป็นแบบโลกุตระ อันเป็นสุขนิรันดร์ เหมือนเป็นนัย ให้คนถามหาวิธีการไปถึง ซึ่งนับว่าเป็นวิธีการที่ แยบยลมาก การรูอ้ ริยสัจรูอ้ ย่างไร คือรูว้ า่ ทุกข์คอื อะไร ควร ทำ�อย่างไร ทำ�แล้วได้ผลอย่างไร นิโรธและมรรคก็ เช่นกัน ต้องรูใ้ ห้ครบวงจรจึงจะเข้าใจเหมือนแก้โจทย์ ทีละเปลาะ


110

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

การเห็นอริยสัจก็คอื “การเห็นด้วยการเรียนรู”้ ด้วยอำ�นาจแห่งญาณเครื่องแทงตลอด การรูเ้ ห็นในอริยสัจนัน้ จะรูอ้ ย่างไร คือเราควรรู้ ว่าทุกข์คอื อะไร ควรทำ�อย่างไรกับความทุกข์นนั้ เป็น การหาเหตุให้เจอ ทำ�การแก้ทุกข์แล้วได้ผลอย่างไร ก็รู้วิธีและป้องกันไม่ให้มันเกิดขึ้นอีกเป็นรู้ให้ครบ วงจรจึงจะเข้าใจ เหมือนแก้โจทย์ทลี ะข้อ ไขปัญหา ไปทีละอย่าง แต่เหตุใดหลายคนที่รู้เห็นอริยสัจ ๔ ครบ สามารถท่องได้หมดว่ามรรค ๘ มีอะไรบ้าง แต่ท�ำ ไม ยังมีกิเลสอยู่ ก็เพราะเป็นแค่ความรู้จำ� ไม่ใช่ความ รู้แจ้ง เหมือนเรารู้ว่าชื่อยารักษาโรคนี้ชื่ออะไร รู้ดี หมด แต่ไม่รวู้ ธิ กี นิ ไม่รวู้ า่ กินเท่าไรอย่างไรให้รกั ษา หายหรือครบโดส ถ้ารูค้ รบก็แปลว่ารูอ้ ย่างครบวงจร


111

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

แก่นของอริยสัจ ๔ คือการที่เรารู้จักใช้แก้ ปัญหาชีวติ ว่าจะแก้อย่างไรให้ถกู ต้อง คือมองออกว่า สภาพทีแ่ ท้จริงของปัญหาคืออะไร มีสาเหตุจากอะไร จะแก้ไขทางไหนได้ วิธีการต้องทำ�อย่างไร ทั้งหมด ขึ้นอยู่กับ “ปัญญา” ตัวเดียว คนผู้นั้นต้องเข้าใจ จึงแก้ได้ ถ้าไม่เข้าใจยิ่งแก้ยิ่งยุ่ง ปัญหาก็จะเพิ่ม ทับทวีคูณ การเห็นอริยสัจก็คอื เห็นจริง รูจ้ ริง แก้ปญั หา ชีวิตได้จริงตามแนวทาง ๔ ประการ แต่ไม่ใช่แค่ เห็นด้วยตา ต้องเห็นด้วยใจ คือการ “ลงมือทำ�” ด้วยจึงจะสมบูรณ์


มงคลชีวิต ๓๔

¹ิ¾Ú¾า¹ส¨Ú©ิกิริยา ¨

( นิ พ พ า น ะ สั จ ฉิ กิ ริ ย า จ ะ )

ทÓãหŒá¨Œ§«Ö觾รйิ¾¾า¹

“นิพพาน” ในทีน่ ตี้ ามความหมายมีหลายชัน้ อย่างเช่น การดับกิเลสในระดับชัน้ โสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี ก็เป็นนิพพานอย่างหนึง่ คือดับกิเลสหรือทำาให้กเิ ลส เจือจางไปทีละตัวก็พอจะอนุโลมว่าเป็นนิพพานอย่าง หนึ่ง แต่ยังไม่ใช่การดับอย่างสูงสุดแต่อย่างใด


113

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ระดับของนิพพานนัน้ มีอยู่ ๓ ระดับชัน้ ได้แก่ นิพพานระดับพื้นฐาน คือความสำ�เร็จของ ชาวโลกของคนที่โลดแล่นอยู่บนกองทุกข์อยู่ คือ การมีสขุ จากการมีทรัพย์ ขยันหาเลีย้ งชีพอย่างสุจริต มีเงินทองใช้ไม่ขาดมือ มีเพื่อนดีไม่หันหน้าเข้าหา อบายมุข มีความสุขตามอัตภาพ นี่คือการบรรลุ เป้าหมายของชีวิตระดับต้นนี้แล้ว นิพพานระดับกลาง ก็อยูบ่ นพืน้ ฐานของระดับ ต้น แต่เน้นหนักไปถึงคุณธรรม ไม่ใช่แค่รวยอย่างเดียว เรียกได้วา่ รวยและเป็นคนดี เอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่มคี ณุ ธรรม อยูด่ ว้ ยพรหมวิหาร ๔ ก็ยอ่ มถือว่าประสบความสำ�เร็จ เป็นที่น่าพอใจ


114

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

นิพพานระดับสูงสุด คือนิพพานทีพ่ ระพุทธเจ้า ท่านและพระอริยสงฆ์ไปถึง คือเมือ่ เราเกิดเป็นมนุษย์ แล้วก็ควรไปให้ถงึ ระดับนี้ แต่ถา้ ยังบารมีไม่แก่กล้าพอ ก็ค่อยทำ�สะสมกันไปแค่สองระดับต้นให้ได้ก่อนแล้ว จะได้พื้นฐานปูทางไปสู่นิพพานในระดับสูงเอง นิพพานที่เป็นเป้าหมายสุดท้ายในพระพุทธศาสนานั้นเป็นการดับกิเลสสามกองใหญ่ๆ คือโลภ โกรธ หลง แบบไม่มีอะไรเหลือแม้แต่นิดเดียว โดย แบ่งไว้เป็นอีกสองนัยได้แก่ ๑. สอุปาทิเสสนิพพาน คือการดับกิเลสได้แล้ว แต่ยงั มีขนั ธ์เหลืออยู่ หมายความอีกทีวา่ เป็นการหมด กิเลสอย่างสิน้ เชิง แต่คนผูน้ นั้ ยังมีชวี ติ อยู่ เวลาทีท่ า่ น ผูน้ นั้ เคลือ่ นไหวดำ�เนินกิจกรรมใดๆ ในโลกนีจ้ ะไม่มี ความยึดมั่นถือมั่นในตนหลงเหลืออยู่เลย


115

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

๒. อนุปาทิเสสนิพพาน คือการดับกิเลสหมด แล้ว ขันธ์กไ็ ม่เหลือ กิเลสดับ ร่างกายใดๆ ก็ไม่เหลือ เลย การทำ�ให้แจ้งซึง่ พระนิพพานชือ่ ว่าเป็นมงคล เพราะเป็นเหตุแห่งการอยู่เป็นสุขอย่างแท้จริง ดัง พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า “นิพพานัง ปะระมัง สุขัง” แปลว่า ภาวะนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง พระพุทธเจ้าตรัสว่า นิพพานเป็นธรรมที่ ยอดเยี่ยมที่สุด นิพพานจัดเป็นจุดหมายอันพึง ประสงค์สูงสุดของพระพุทธศาสนา สภาวะจิตของ ท่านผูบ้ รรลุพระนิพพานจะหมดจด จิตผ่องใส สะอาด สว่าง สงบ คงที่ ดับความร้อนใจ ดับกิเลส ไม่มตี ณั หา เครือ่ งร้อยรัด แม้วา่ จะครองเบญจขันธ์อยูก่ ส็ ามารถ ดำ�รงสภาวะจิตที่ดีงามได้ตลอดเวลา


มงคลชีวิต ๓๕

¼Øฏþ°สÚส âÅกธÁÚàÁหิ ¨ิµÚµí ยสÚส ¹ กÁÚปµ (ผุฏþฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะตะ)

ÁÕ¨ิµäÁ‹หวัè¹äหวã¹âÅกธรรÁ

ข้อความพระบาลีในมงคลข้อนี้คือ “ผุสฐัสสะ โลก ธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปติ” แปลว่าจิตของผูท้ ี่ ถูกโลกธรรมกระทบแล้วไม่หวั่นไหวโลกธรรม มี ๘ ประการ ทีเ่ ป็น “อิฏฐารมณ์” คือลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ที่เป็น “อนิฏฐารมณ์” คือเสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์ พระพุทธเจ้าตรัสอธิบายเรื่องจิตไม่ หวั่นไหวด้วยโลกธรรมไว้ว่า


117

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ลาภ เสือ่ มลาภ ยศ เสือ่ มยศ นินทา สรรเสริญ สุข และทุกข์ ธรรมเหล่านี้ในหมู่มนุษย์ล้วนไม่เที่ยง ไม่มนั่ คง มีความเปลีย่ นแปลงเป็นธรรมดา แต่ผทู้ มี่ ี ปัญญาดี มีสติ “รู้ทัน” ธรรมเหล่านี้แล้ว ย่อม พิจารณาเห็นว่าทุกสิ่งมีความแปรผันเป็นธรรมดา เจ้า “อิฏฐารมณ์” หรืออารมณ์ทนี่ า่ ปรารถนาทัง้ หลาย จึงได้ยํ่ายีจิตใจของคนที่รู้ทันโลกธรรมไม่ได้ คนเหล่านี้เมื่อสุขเข้ามาก็เฉย ทุกข์ เข้ามาก็นิ่ง เพราะมีความรู้ทัน มันมาเดี๋ยว มันก็ไป ไม่มีอะไรมากกว่านั้น จิตใจเป็น อิสระไม่ถูกสิ่งเหล่านี้ครอบงำ� นี่คือภาวะ ทีไ่ ม่หวัน่ ไหวต่อโลกธรรมซึง่ เป็นผลจากการ ทำ�นิพพานให้แจ้ง


มงคลชีวิต ๓๖

Íâสกí

( อ ะ โ ส กั ง )

ÁÕ¨ิµäÁ‹àศรŒาâศก “จิตไม่เศร้าโศก” ก็คือภาวะทีไ่ ม่ยึดติดกับอารมณ์ที่ ทำาให้ขุ่นมัวจนต้องร้องไห้ฟูมฟายเสียใจ ซึ่งเป็นจิต ของพระอรหันต์เท่านัน้ เพราะจิตของปุถชุ นอย่างไร ก็ต้องเศร้าหมองอยู่แล้ว


119

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

วิธกี ารทีจ่ ะไม่ท�ำ ให้จติ เศร้าโศก พระพุทธเจ้า ทรงสอนให้เจริญ “มรณานุสติ” หรือพึงระลึกถึง ความตายตลอดเวลา เป็นการแก้ความเศร้าโศก ได้ดีที่สุด เพราะคนเราเกิดมาไม่นานก็มเี หตุให้ตอ้ งตาย อยู่แล้ว ไม่มีอะไรยั่งยืนสักอย่าง มีเพียงอย่างเดียว ที่ยั่งยืนคือความตาย และที่สำ�คัญให้ลองเปรียบเทียบดูว่า ถ้าเรา ตายแล้วร่างกายเราต้องการอะไรจากโลกนี้บ้าง ใน เมื่อข้าวน้ำ�ก็ไม่ต้องการ ทรัพย์สินก็เอาไปไม่ได้ เอาอะไรไปไม่ได้เลยสักอย่าง นี่คือภาวะที่จิตระลึกได้ถึงความตาย ที่แท้ว่าให้ผลเป็นการไม่ยึดมั่นถือมั่น


มงคลชีวิต ๓๗

วิรชí

( วิ ร ะ ชั ง )

ÁÕ¨ิµปราศ¨ากธØÅÕ รากศัพท์ของ “จิตปราศจากกิเลส” แปลมาจาก ภาษาบาลีว่า “วิระชัง” แปลว่าจิตปราศจากธุลี โดยพระพุทธเจ้าเปรียบเทียบกิเลสว่าเป็นของต่ำา เหมือนธุลีเสมอ การทำาให้จิตปราศจากกิเลสก็คือ ทำาให้จิตผ่องแผ้วบริสุทธิ์ ซึ่งเป็นผลที่มีความหมาย กว้างกว่าจิตไม่เศร้าโศกมาก


121

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

คำ�ว่า “กิเลสตัณหา” คงเป็นคำ�ที่เรารู้จักดี “กิเลส” หมายถึงความชัว่ ทางจิตทุกชนิด ความโลภ ก็ใช่ ความโกรธก็ใช่ ความหลงก็ใช่ ในพระไตรปิฎก ไม่ใช้คำ�ว่ากิเลส ถ้าจะพูดถึงความชั่วทางจิตก็พูด ตรงๆ ไปเลยว่านี่คือ ราคะ โทสะ โมหะ ส่วน “ตัณหา” คือความอยาก แบ่งเป็น ๓ ประการคือ “กามตัณหา” อันนี้คือความอยากได้ ใคร่ดี ไม่ใช่แค่เรือ่ งทางเพศ แต่เป็นความต้องการสุข ทุกชนิดถือเป็นกามหมด “ภวตัณหา” คืออยากได้ อยากมี อยากเป็น อยากครอบครอง และ “วิภวตัณหา” คือความไม่พอใจในสิ่งที่มี ไม่อยากมีไม่อยากเป็น ในสิง่ นัน้ แล้วคอยแสวงหาสิง่ ใหม่ๆ กว่าอยูเ่ รือ่ ยไป ในส่วนของกิเลสถ้าจะจัดเป็นระดับก็สามารถ แบ่งได้ ๓ ระดับคือ


122

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

๑. ระดับอนุสัย คือสิ่งที่เป็นสันดานของคน เหมือนตะกอนที่นอนก้นในตุ่ม เมื่อน้ำ�ในตุ่มมันอยู่ นิ่งๆ มันก็ใสอยู่ แต่ถ้ามันถูกกวนถูกคนมันก็ขุ่น กิเลสชนิดนีค้ นธรรมดามีทกุ คน คือความอยากมีลาภ อยากมีเกียรติ มีความโกรธ มีราคะความต้องการ ทางเพศ ถ้าไม่ได้ปฏิบัติธรรมเผาผลาญมันแล้วจะ ทำ�อย่างไรก็ไม่มีวันหมดไปได้ ๒. ระดับปริยุฏฐานะ แปลว่าระดับที่กลุ้ม รุมจิต คือสิ่งที่ทำ�ให้จิตมันฟุ้งซ่าน แต่ยังไม่แสดง ออกมา ยกตัวอย่างเช่น เวลาเราเกิดอาการขัดเคืองใจ ก็คือขัดเคือง (ปฏิฆะ) คือยังไม่แสดงออกมา เก็บ เอาไว้ก่อน แต่ถ้าแสดงออกมา คือพูดจาเดือดดาล แล้วก็คือความโกรธ และถ้าระงับไม่ได้จริงๆ ก็จะ กลายเป็นโทสะ คือระดับรุนแรงทีส่ ดุ ถึงขนาดลงไม้ ลงมือ ต่อยตี หรือฆ่าแกงกัน อย่างที่ได้ยินบ่อยว่า “ความโกรธบันดาลโทสะ”


123

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

๓. ระดับวีตกิ กมะ คือกิเลสทีค่ วบคุมไม่ได้แล้ว ต้องแสดงออกมาเป็นพฤติกรรมอย่างเดียว โจรผูร้ า้ ย ที่ควบคุมกิเลสไม่ได้ก็เลยแสดงสัญชาตญาณดิบๆ ออกมา โลภมากๆ ก็ขโมยของปล้นจี้ โกรธมากๆ ก็ลงมือทำ�ร้าย ราคะมากก็ลงมือข่มขืนกระทำ�ชำ�เรา อย่างนี้เป็นต้น ถ้าหากมนุษย์ปล่อยให้กิเลสมันฟุ้ง ออกมาจนถึงระดับ ๓ แล้วก็นับว่าอันตรายมาก คนดีๆ อาจกลายเป็นคนร้ายได้ พระพุทธเจ้าจึงทรงมอบวิธีดับกิเลสเป็นสาม ระดับ ได้แก่ ๑. ระดับต้น คือ “ศีล” คือรักษากายและวาจา ให้เป็นปกติให้ได้ คือบังคับไม่ให้ร่างกายไปทำ�ผิด ก่อน คือไม่ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ผิดลูกผิดเมีย และ ไม่พูดปด หยาบคาย ส่อเสียด เพ้อเจ้อ และไม่ทำ� อะไรเสี่ยงต่อการขาดสติ


124

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

๒. ระดับกลาง คือ “การเจริญสมาธิ” คำ�ว่า “สมาธิ” คือแค่ท�ำ ให้จติ นิง่ เป็นอารมณ์เดียว ไม่ตอ้ ง คิดอะไร นิ่งอยู่อย่างนั้นเป็นระดับพื้นก่อน ๓. ระดับสูง ก็คือ “การเจริญปัญญา” หรือ “วิปสั สนา” คือใช้ความคิดทบทวนใคร่ครวญไปเป็น วิธี อย่างเช่นนึกถึงความตายตลอดเวลา นึกถึงซากศพ สิ่งไม่สวยงาม เพื่อละความต้องการทางเพศ นึกถึง ร่างกายตนเองว่าสกปรกเพียงใด มีทั้งสารพัดขี้เต็ม ไปหมด ต้องอาบน้ำ�ทุกวัน ขัดขี้ไคลทุกวัน อาบน้ำ� เสร็จมาใหม่ๆ นั่งอยู่เฉยๆ สักครึ่งวันไม่ได้ทำ�อะไร ยังต้องลุกไปอาบอีกรอบ นึกถึงร่างกายคนอืน่ ว่ามันก็สกปรกไม่ตา่ งกับ ร่างกายของเรา หรือนึกถึงว่าร่างกายของเราเป็นแค่ ธาตุทั้ง ๔ ดิน น้ำ� ลม ไฟ ถึงเวลาก็กลับคืนสู่ธาตุ เดิม ไม่ต้องไปยึดมั่นถือมั่น


125

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

จะสังเกตได้วา่ วิธเี จริญวิปสั สนา พระพุทธเจ้า ทรงให้เริม่ จากพิจารณาตัวเองก่อนทัง้ นัน้ ไม่ตอ้ งไป คิดไกลที่ไหนให้ฟุ้งซ่าน พิ จ ารณาธรรมไปตามเหตุ ปั จ จั ย ที่ เกิดขึ้นกับตัวเองให้ดีก่อนก็ถือว่าประสบ ความสำ�เร็จในขั้นต้นแล้ว


มงคลชีวิต ๓๘

à¢Áí

( เ ข มั ง )

ÁÕ¨ิµàกÉÁ “จิตเกษม” หรือ “เขมัง” แปลความว่าเป็นจิตที่ ปลอดภัยแล้วจากกิเลส สะอาดหมดจดแล้วในทุกสิง่ ทุกอย่าง ไม่มอี ะไรไปเจือปนได้อกี เหมือนกับผ้าขาว ทีซ่ กั สะอาดหมดจดแล้ว ต่อให้เอาโคลนไปสาดเอาสี ไปป้ายยังไงก็ปา้ ยไม่ตดิ ไม่สกปรกอีก ซึง่ จิตเกษมเป็น จิตคงที่ ย่อมได้แก่จิตของพระอรหันต์ผู้สิ้นอาสวะ แล้วเท่านั้น


127

๓๘ มงคลชีวิต พาทุกชีวิตให้เจริญรุ่งเรือง... ทุกภพชาติ

ปุถชุ นทีย่ งั มีกเิ ลสอยูย่ งั ต้องฝึกฝนปฏิบตั ติ าม หลักที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ให้ครบ และมีการ สัง่ สมกันเป็นเวลานาน จึงจะมีจติ เกษมปลอดภัยได้ มงคลสูตรเป็นหลักธรรมทีม่ กี ารกล่าวถึงหลัก ปฏิบัติเพื่อนำ�ไปสู่ความหลุดพ้นไล่ไปตั้งแต่ระดับ โลกียะ จนถึงระดับโลกุตระ มีการไม่คบคนพาล เป็นระดับต้น มีจิตอันเกษมปลอดภัยเป็นผลแห่ง ที่สุดในการกระทำ�เหตุแห่งความเป็นมงคล นับว่า ตอบโจทย์เทวดาได้ครบ เมื่อเทวดาทั้งหลายได้ยิน ได้ฟังพระสูตรนี้จบต่างก็กล่าวโมทนาสาธุการแล้ว กลับไปยังสวรรค์ที่อยู่ของตนเอง “มงคลชีวิตที่แท้จริง” ก็คือการปฏิบัติตาม คำ�สอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้ครบ ๓๘ ประการดังที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ใครยิ่งทำ�ยิ่งดี ชีวิตสบาย ร่ำ�รวย เป็นสุขชั่วกาลนาน


๓๘ มงคลชีวติ พาทุกชีวติ ให้เจริญรุง่ เรือง... ทุกภพชาติ โดย ธ.ธรรมรักษ์

 สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามนำ�ส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ไปลอกเลียน ทำ�สำ�เนา ถ่ายเอกสาร หรือนำ�ไปเผยแพร่ในอินเตอร์เน็ต หรือสือ่ ชนิดอืน่ ๆ ไม่วา่ ในรูปแบบใด นอกจากจะได้รบั อนุญาตเป็น ลายลักษณ์อกั ษรเท่านัน้ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ ธ.ธรรมรักษ์ ๓๘ มงคลชีวติ พาทุกชีวติ ให้เจริญรุง่ เรือง... ทุกภพชาติ.--กรุงเทพฯ : ไตรวรินท์, ๒๕๕๙. ๑๒๘ หน้า ๑. พุทธศาสนา--หัวข้อธรรม. I. จิตตวชิระ, ผู้แต่งร่วม. II. ชื่อเรื่อง. ๒๙๔.๓๑๕ ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๒๙๒-๓๗๓-๙ พิมพ์ที่

บริษัท โรงพิมพ์มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค จำ�กัด

๕๒๐-๕๓๐ ซอยเพชรเกษม ๔ ถนนเพชรเกษม แขวงท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ ๑๐๖๐๐

จัดทำ�โดย website

สำ�นักพิมพ์ไตรวรินท์ ๑๕/๑๐๗ ม.๑๘ ต.คูคต อ.ลำ�ลูกกา จ.ปทุมธานี ๑๒๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๖๒-๙๕๙๔๕๑๔, ๐๘๙-๔๔๕๖๑๔๙ www.trivarin.com

จัดทำ�รูปเล่มโดย แฮปปี้กราฟิก

ท่านที่ต้องการหนังสือสร้างบุญนี้เป็นจำ�นวนมากเพื่อใช้ในการสร้างบุญต่างๆ ใช้แจกเป็นธรรมทานหรือเป็นหนังสือที่ระลึกในวาระโอกาสสำ�คัญ ติดต่อได้ที่ ๐๙๔-๖๕๖๑๕๖๕

ราคา ๔๙ บาท


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.