คู่มือความรู้ด้านการช่วยเหลือทางการแพทย์สำหรับสถานการณ์ฉุกเฉินในแหล่งท่องเที่ยว

Page 1

คู่มือความรู้ ด้านการช่วยเหลือ ทางการแพทย์ส�ำหรับ

สถานการณ์ฉุกเฉิน 1669


จัดท�ำโดย องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) 118/1 อาคารทิปโก้ ชั้น 31 ถนนพระราม 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2357 3580-7 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ) 88/4 หมู่ที่ 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 87 พรรษา สาธารณสุขซอย 6 ถนนติวานนท์ ต�ำบลตลาดขวัญ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. 0 2872 1600 โทาสาร 0 2872 1604

ออกแบบและผลิต บริษัท แมงโก้ ดีไซน์ จ�ำกัด 41 ซอย อยู่เย็น3 ถนน อยู่เย็น แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร โทร : 081-812-1323 อีเมล : mangodesign.mail@gmail.com


สารบัญ บทน�ำ

4

การรับมือสถานการณ์ฉุกเฉินส�ำหรับบุคคลทั่วไป

8

- สถานการณ์ทั่วไป -

อาการเจ็บป่วยฉุกเฉิน กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน การแจ้งเหตุฉุกเฉิน 1669 การช่วยฟื้ นคืนชีพขัน ้ พื้นฐาน CPR

4

9 10 11 12

การช่วยชีวิตผู้ปว ่ ยฉุกเฉินที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น ด้วยเครื่อง เอ อี ดี (AED)

15

- การปฐมพยาบาล

18

ภาวะภัยพิบัติ

20

-

การเตรียมความพร้อมรับมือกับภัยพิบัติ ภัยจากเหตุเพลิงไหม้ ภัยจากแผ่นดินไหวและสึนามิ ภัยจากพายุ ภัยจากน�้ำท่วม ภัยจากน�้ำท่วมเฉียบพลัน ภัยจากดินโคลนถล่ม ภัยจากความแห้งแล้ง ภัยจากความหนาว ภัยจากวัตถุต้องสงสัย ภัยจากสงครามและความขัดแย้ง

เบอร์โทรศัพท์ส�ำนักงาน และคณะผู้จัดท�ำ

21 22 22 23 23 24 24 25 25 26 26

27


บทน�ำ

สถานการณ์ ทั่ ว ไป รายงานการคาดการณ์อนาคตการท่องเทีย ่ วโลกสู่ พ.ศ. 2573 (Tourism Towards 2030) โดยองค์ ก ารการท่ อ งเที่ ย วโลก (UNWTO) คาดว่ า แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วใหม่ จ ะได้ รั บ ผลประโยชน์

จากแนวโน้มและโอกาสที่ จะเกิ ดขึ้น ดั งนั้น จึ งควรเตรียมความพร้อมในการเปลี่ ยนแปลงและ ความท้ า ทายที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต โดยการก� ำ หนดนโยบาย ตลอดจนมาตรการต่ า ง ๆ

ในด้านการส่งเสริมและพัฒนาสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ โครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอ�ำนวยความสะดวก

การตลาด และการพัฒนาบุคลากร เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ ของประเทศ พร้อมทั้งสามารถป้องกันและลดผลกระทบทางลบต่าง ๆ ให้การท่องเที่ยวสามารถ เติบโตได้อย่างเหมาะสมและยั่งยืน

4


ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) เป็ น แผนแม่ บ ทระดั บ ชาติ ที่ ว างรากฐานการพั ฒ นา

ของประเทศไทย ที่มงุ่ พัฒนาให้ประเทศไทยเป็นประเทศ ที่ มี ค วามมั่ น คง มั่ ง คั่ ง ยั่ ง ยื น เป็ น ประเทศพั ฒ นาแล้ ว ด้ ว ยการพั ฒ นาตามปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง

โดยมี เ ป้ า หมายหลั ก คื อ การพั ฒ นาให้ ป ระเทศมี ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น สู ง มี ร ายได้ สู ง อยู่ ใ น กลุม ่ ประเทศพัฒนาแล้ว คนไทยมีความสุข อยูด ่ ี กินดี สังคม

มีความมัน ่ คง เสมอภาค และเป็นธรรม ซึง่ จะช่วยยกระดับ คุ ณ ภาพของประเทศไทยในทุ ก ภาคส่ ว นและน� ำ พา

ประเทศไทยให้หลุดพ้นทั้งปัญหาทางเศรษฐกิจ ปัญหา

ความเหลื่อมล้�ำ ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชัน และปัญหา

ความขั ด แย้ ง ในสั ง คม ตลอดจนสามารถรั บ มื อ กั บ ภัยคุกคามและบริหารจัดการกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)

มุ่ ง บรรลุ เ ป้ า หมายในระยะ 5 ปี ที่ จ ะสามารถต่ อ ยอดในระยะต่ อ ไป เพื่ อให้ บ รรลุ เ ป้ า หมาย

การพั ฒ นาระยะยาวตามยุ ท ธศาสตร์ ช าติ 20 ปี โดยในส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การท่ อ งเที่ ย วนั้ น จ ะ มุ่ ง พั ฒ น า อุ ต ส า ห ก ร ร ม ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง บู ร ณ า ก า ร ใ ห้ เ ติ บ โ ต อ ย่ า ง ส ม ดุ ล แ ล ะ ยั่ ง ยื น

โดยมี แ นวทางการพั ฒ นา 3 แนวทาง คื อ (1) ส่ ง เสริ ม การสร้ า งรายได้ จ ากการท่ อ งเที่ ย ว

โดยส่ ง เสริ ม การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ สิ น ค้ า และบริ ก าร พั ฒ นากลุ่ ม คลั ส เตอร์ ท่ อ งเที่ ย ว ฟื้ นฟู ค วามเชื่ อมั่ นและด� ำเนิ น กลยุ ทธ์ ท างการตลาด พั ฒ นาทั กษะฝี มื อ บุ คลากร และ

พั ฒ นาระบบคมนาคมขนส่ ง ให้ เ กิ ด ความเชื่ อมโยงกั น เป็ น โครงข่ า ย (2) ปรั บ ปรุ ง กฎหมาย ที่ เกี่ ยวข้องกั บการท่ องเที่ ยวให้มีความทั นสมัย จั ดท� ำและบังคั บใช้มาตรฐานด้ านการท่ องเที่ ยว โดยปรั บ ปรุ ง ให้ เ อื้ อต่ อ การพั ฒ นาส� ำ หรั บ อนาคต สอดคล้ อ งกั บ สภาวการณ์ และส่ ง เสริ ม ให้

คนทุกกลุม ่ สามารถเข้าถึงการท่องเทีย ่ วได้ และ (3) ปรับโครงสร้างการบริหารจัดการด้านการท่องเทีย ่ ว

5


ยุทธศาสตร์การท่องเทีย ่ วไทย (พ.ศ. 2558 – 2560) เป็ น แผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วไทยในช่ ว งรอยต่ อ ของ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติฉบับแรกและฉบับที่ 2 โดยมี ก ารเน้ น ย้� ำ เรื่ อ งการวางรากฐานการพั ฒ นาให้ มี

การปรั บ ตั ว ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ทิ ศ ทางการเปลี่ ย นแปลง

ของโลก และส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วให้ ป ระเทศไทย เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วคุ ณ ภาพอย่ า งมี ดุ ล ยภาพและ ยั่งยืน โดยมี 3 ยุทธศาสตร์หลัก ได้แก่ (1) การส่งเสริม ตลาดท่องเที่ยว (2) การพัฒนาสินค้าและบริการ และ

(3) การบริ ห ารจั ด การการท่ อ งเที่ ย ว เพื่ อเป้ า หมาย

การสร้ างรายได้ จ ากการท่ องเที่ ยว 2.5 ล้ านล้ านบาท ในพ.ศ. 2560 และเป็นแหล่ งกระจายรายได้ สู่ท้องถิ่ น

รวมทั้ งการเสริ ม สร้ า งคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี แ ละชุ ม ชน มีความเข้มแข็ง การมีจิตส�ำนึกในการพัฒนาบนพื้นฐาน ของความสมดุลและยั่งยืน

การวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มการท่องเที่ยวทั้งในระดับโลกและประเทศ รวมทั้งพิจารณา

องค์ประกอบส�ำคัญที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2574 ที่ว่า “ประเทศไทย เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วคุ ณ ภาพชั้ น น� ำ ของโลกที่ เ ติ บ โตอย่ า งมี ดุ ล ยภาพบนพื้ น ฐานความเป็ น ไทย

เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม และกระจายรายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน” โดยมีแนวคิดหลักในการพัฒนาตามองค์ประกอบทีว ่ า่ ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเทีย ่ วคุณภาพชัน ้ น�ำ ของโลก ด้วยการยกระดับคุณภาพและเพิม ่ ว ่ ความหลากหลายของสินค้าและบริการด้านการท่องเทีย

ให้มม ี าตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล มุง่ เพิม ่ รายได้จากการท่องเที่ยวโดยเน้นการเพิม ่ ค่าใช้จา่ ย และวันพักต่อครั้งของการเดินทางของนักท่องเที่ยว และเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ด้านการท่องเที่ยวของประเทศ

6


การด�ำเนินงานภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ได้ก�ำหนดการสร้างความสามารถทางการแข่งขัน ที่ ก ล่ า วถึ ง อั น ดั บ ความสามารถทางการแข่ ง ขั น ด้ า นการท่ อ งเที่ ย วในประเทศไทย โดย Travel

&Tourism Competitiveness Index หรือ TTCI ได้จัดอันดับด้านความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว (Safety and security) ส�ำหรับประเทศไทยให้อยูใ่ นอันดับ 118 ของโลกในพ.ศ. 2560 นอกจากนั้น ภายใต้ แ ผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 2 พ.ศ. 2560 - 2564 กล่ า วถึ ง ศั ก ยภาพ

ด้ า นการท่ อ งเที่ ย วของไทย ในด้ า นความสะดวกสบายและความปลอดภั ย ในการท่ อ งเที่ ย ว ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น สภาการท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น โลก (Global Sustainable Tourism Council)

ได้ ก� ำ หนดให้ ก ารจั ด การสภาวะวิ ก ฤตและฉุ ก เฉิ น (Crisis and emergency management) เป็นข้อหนึง่ ทีส ่ ำ� คัญในมาตรฐานการท่องเทีย ่ วอย่างยัง่ ยืนโลก (Global Sustainable Tourism Criteria) ในการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวเพื่อน�ำไปสูค ่ วามยั่งยืน ถึ ง แม้ ว่ า อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย วของไทยจะได้ รั บ

การยอมรั บ ในด้ า นคุ ณ ภาพการบริ ก าร และมี เครื อ ข่ า ยอ� ำ นวยความสะดวกด้ า นการสื่ อสาร ที่ ค่ อ นข้ า งครอบคลุ ม แต่ ใ นด้ า นความปลอดภั ย และสุ ข อนามั ย ยั ง มี ค วามจ� ำ เป็ น ที่ จ ะต้ อ งได้ รั บ การพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อง โดยเฉพาะในเรื่ อง มาตรฐานด้ า นความปลอดภั ย และสุ ข อนามั ย

ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ยั ง อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ค่ อ น ข้ า ง ต่� ำ

เกิ ด อาชญากรรม อุ บั ติ เ หตุ และการหลอกลวง นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ่ อ ย ค รั้ ง ซึ่ ง จ า ก ก า ร จั ด อั น ดั บ ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว

ของประเทศไทย ในพ.ศ. 2558 ประเทศไทยอยูใ่ น

อันดับที่ 89 ของโลก ในด้านสุขอนามัย อันดับที่ 116 ในด้านความยัง่ ยืนของสิง่ แวดล้อม และอันดับที่ 132 ในด้ า นความปลอดภั ย โดยทั้ ง สามมิ ติ น้ี เ ป็ น จุ ด ที่

ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ต้ อ ง เ ร่ ง พั ฒ น า เ พื่ อ ส่ ง เ ส ริ ม ขี ด ความสามารถด้านการท่องเที่ยว พร้อมที่จะรองรับ ก า ร เ พิ่ ม ขึ้ น ข อ ง นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว ใ น อ น า ค ต ไ ด้ อย่างยั่งยืน

7


การรับมือ สถานการณ์ฉุกเฉิน ส�ำหรับบุคคลทั่วไป

!

HEL

P

HELP

P

HEL

1669

8

SCAN ME


อาการเจ็ บ ป่ว ยฉุ ก เฉิ น การเจ็บป่วยฉุกเฉิน หมายถึง การได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการเจ็บป่วยกะทันหัน ซึ่งเป็นอันตราย

ต่อชีวิตหรือการท�ำงานของอวัยวะส�ำคัญ จ�ำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที เพื่อป้องกัน การเสียชีวิตหรือมีระดับความรุ นแรงขึ้นของการบาดเจ็บ หรืออาการเจ็บป่วยนั้น ลักษณะอาการ ฉุกเฉินที่ควรโทรแจ้ง 1669 ได้แก่

หมดสติ ช็อก สะลึมสะลือ

เจ็บหน้าอก

มีสิ่งแปลกปลอมอุดตัน

เรียกไม่รู้สึกตัว

หายใจหอบเหนื่อย

ทางเดินหายใจ

ปากเบี้ยว

ชักเกร็ง ชักกระตุก

ปวดท้องรุนแรง

เจ็บท้อง คลอดฉุกเฉิน

ผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ เช่น

อ่อนแรงครึ่งซีกฉับพลัน

ตกเลือด เลือดออกทางช่องคลอด

อุบัติเหตุจราจร ตกจาก ที่สูง จมน�้ำ ไฟฟ้าชอร์ต ไฟฟ้าช็อก ไฟไหม้ ได้รับ สารพิษ สัตว์มีพิษกัดต่อย

Tips ไฟฟ้าชอร์ต มาจากภาษาอังกฤษ “Short Circuit” หมายถึง ไฟฟ้าลัดวงจร ไฟฟ้าช็อก มาจากภาษาอังกฤษ “Shock” จะใช้กับสภาวะที่ไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายหรือไฟดูด 9


กรณี เ จ็ บ ป่ว ยฉุ ก เฉิ น 1. ผู้ปว่ ยหอบหืด

การปฐมพยาบาล คื อ ให้ ผู้ ป่ ว ยนั่ งหรื อ ยื น ในท่ า โน้ ม ตั ว ไปข้ า งหน้ า หลั ง และหน้ า อกตรง

ให้ อ ยู่ ใ นที่ อ ากาศถ่ า ยเทสะดวก คลายเสื้ อผ้ า

ใ ห้ ห ล ว ม ถ้ า ผู้ ป่ ว ย มี ย า พ่ น ใ ห้ พ่ น ย า ที่ มี อ ยู่ หากอาการไม่ ดี ข้ึ น ให้ รี บ โทรศั พ ท์ แ จ้ ง เพื่ อ ขอความช่วยเหลือจาก 1669

2. ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจ ตายเฉียบพลัน

อาการที่ พ บ เจ็ บ แน่ น หน้ า อกเหมื อ นมี อ ะไร มาทั บ หรื อ บี บ รั ด เจ็ บ นานมากกว่ า 20 นาที

อาจร้ า วไปที่ ใ บหน้ า หรื อ ร้ า วลงมาถึ ง สะดื อ ลามร้าวไปที่แขน บางรายอาจมีปวดจุกแน่นลิ้นปี่

ปวดกราม เจ็บหน้าอกด้านซ้ายร้าวไปไหล่จนถึง ปลายนิ้ว รวมทั้งอาจมีอาการของระบบประสาท อั ต โนมั ติ เช่ น หายใจเหนื่ อย นอนราบไม่ ไ ด้

เ ห งื่ อ อ อ ก ใ จ สั่ น ค ลื่ น ไ ส้ อ า เ จี ย น ห น้ า มื ด และหมดสติ

การดูแลเบื้องต้น ให้นอนพัก ลดการเคลื่อนไหว โดยไม่จำ� เป็น โทรแจ้ง 1669 โดยด่วน สังเกตอาการ

อย่ า งใกล้ ชิ ด ระหว่ า งรอชุ ด ปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น ถ้ า พ บ ว่ า ซึ ม ล ง ห ม ด ส ติ ห รื อ ห ยุ ด ห า ย ใ จ

ให้ ก ดนวดหั ว ใจ ตามวิ ธี ก ารช่ ว ยฟื้ นคื นชี พ ขั้นพื้นฐาน(CPR) และให้โทรแจ้ง 1669 ซ้�ำอีกครั้ง

10


3. ผู้ปว ่ ยหลอดเลือดในสมอง แตก/ ตีบ/ ตัน

อาการที่พบ มีอาการอ่อนแรง ชาบริเวณใบหน้า แขนขาอ่ อ นแรง หรื อ ชาครึ่ ง ซี ก ของร่ า งกาย การพู ด ผิ ด ปกติ เช่ น ลิ้ นคั บปาก พู ด ไม่ ชั ด อาการมักเกิดขึ้นทันทีทันใด

การดูแลเบื้องต้น ให้รีบโทรแจ้ง 1669 โดยด่วน เรียกดูวา่ รูส ้ ก ึ ตัวหรือมีการตอบสนองต่อการเรียก/

ปลุกหรือไม่ ถ้าระดับความรูส ้ ก ึ ตัวลดลง/ ไม่รูส ้ ก ึ ตัว ให้ น อนตะแคงตั ว ป้ อ งกั น การส� ำ ลั ก อาหารหรื อ

น้�ำลาย ถ้าพบว่าผูป ้ ว ่ ยหยุดหายใจให้กดนวดหัวใจ

4. ผู้ปว่ ยชัก

ขอความช่วยเหลือโทร 1669 ดูแลทางเดินหายใจ ขณะชักโดยประคองให้ใบหน้าตะแคง หลังหยุดชัก

จัดให้นอนตะแคงกึ่งคว่�ำ ไม่ควรเอาช้อนหรือไม้ กดลิ้ น งั ด ปากผู้ ป่ ว ยขณะชั ก เพราะอาจท� ำ ให้ ฟั น หั ก เศษฟั น อาจอุ ด หลอดลมท� ำ ให้ ห ายใจ

ไม่ อ อกได้ ไม่ ค วรจั บ ยึ ด ตั ว ผู้ ป่ ว ยขณะชั ก หรื อ ฝืนต่ออาการชัก เพราะอาจท�ำให้ผู้ป่วยไหล่หลุด กระดูกแขนขาหักได้

การแจ้งเหตุฉุกเฉิน 1669 การแจ้งเหตุฉุกเฉิน ผู้แจ้งเหตุควรให้ข้อมูล ดังนี้

0888888888

1. ผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บ

เป็นอะไร/ มีอาการ

อย่างไร/ รู้สึกตัว หรือ

2. ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ อยูท ่ ่ีไหน

3. หมายเลขโทรศัพท์ ของผู้แจ้งเหตุ

4. ชื่อผู้แจ้งเหตุ

มีสติ พูดได้หรือไม่

11


การช่วยฟื้นคืนชีพ ขั้นพื้นฐาน CPR การช่วยฟื้นคืนชีพขัน ิ คนหัวใจหยุดเต้น หรือคนทีห ่ ยุดหายใจกะทันหัน ้ พื้นฐาน หมายถึง การช่วยชีวต จากระบบไหลเวียนเลือดและระบบหายใจล้มเหลว ลักษณะของผู้ป่วยที่ต้องท�ำการฟื้นคืนชีพ คือ

หมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่หายใจ หรือหายใจเฮือก

เมื่อพบผู้ปว่ ยฉุกเฉินหมดสติให้ปฏิบัติ ดังนี้

1.

2.

มีสติหรือไม่

3.

เรียกขอความช่วยเหลือ

5.

โทรเรียก 1669

4.

ให้วางสันมือไว้บนกระดูกหน้าอก บริเวณครึ่งล่างของกระดูกหน้าอก

6. ศอกตั้งตรง โน้มตัว ให้หัวไหล่อยู่เหนือผู้หมดสติ

ตรวจดูว่าผู้ปว่ ยหายใจหรือไม่

7. ให้กดนวดหัวใจ ด้วยอัตราเร็ว 100 ครัง ้ /นาที

ขั้นตอนการช่วยฟื้ นคืนชีพขั้นพื้นฐานในผู้ปว่ ยอายุ 8 ปีขึ้นไป

12


1. ตรวจดูว่าผู้ป่วยรู้สึกตัวหรือไม่ โดยการใช้มือทั้ง 2 ข้าง จับบริเวณไหล่ เขย่าให้แรงพอสมควร เพื่อเป็นการเรียกผู้ป่วย

2. หากผู้ป่วยไม่ตอบสนอง ให้เรียกขอความช่วยเหลือ 3. โทรศัพท์ขอความช่วยเหลือผ่านหมายเลข 1669 ให้เร็วที่สุด 4. ตรวจดูว่าผู้ป่วยหายใจหรือไม่ หากไม่หายใจ หรือหายใจเฮือก ให้กดนวดหัวใจ 5. การกดนวดหัวใจ จัดให้ผป ู้ ว ่ ยนอนหงายบนพื้นแข็ง โดยผูช ้ ว ่ ยเหลือนั่งคุกเข่าอยูท ่ างด้านข้างของ ผูป ้ ว่ ย วางส้นมือลงไป ขนานกับแนวกึ่งกลางหน้าอก (กึ่งกลางระหว่างหัวนมทั้งสองข้างของผูป ้ ว่ ย) แล้วน�ำมืออีกข้างมาประกบ ประสานนิว ้ มือสัมผัส ้ และท�ำการล็อกนิว ้ กระดกข้อมือขึ้น โดยให้สน กับหน้าอกเท่านั้น โน้มตัวมาให้แนวแขนตั้งฉากกับหน้าอกของผู้ป่วย

6. แขนตรงและตึง ออกแรงกดลงไปโดยใช้แรงจากหัวไหล่ จุดหมุนอยู่ตรงสะโพก กดให้หน้าอก ยุบลงไปอย่างน้อย 5 เซนติเมตร โดยให้ส้นมือสัมผัสกับหน้าอกผู้ป่วยตลอดการนวดหัวใจ 7. ส้นมือไม่หลุดออกจากหน้าอกผู้ป่วยด้วยความเร็วอย่างน้อย 100 ครั้ง/ นาที 8. ถ้าผู้ชว ่ ยเหลือมีเพียงคนเดียว ให้ท�ำการกดหน้าอกอย่างเดียวในอัตราอย่างน้อย 100 ครั้ง/ นาที จนกว่าทีมกู้ชีพ 1669 จะมาถึง

9. ถ้าผู้ป่วยเป็นญาติสนิทและมั่นใจว่าไม่เป็นโรคติดต่อใด ๆ ให้ท�ำการช่วยหายใจโดยการเป่าปาก ผู้ป่วย 2 ครั้ง โดยวางปากผู้ช่วยเหลือครอบปากผู้ป่วยให้แนบสนิท บีบจมูกผู้ป่วยให้แนบสนิท

และเป่าลมเข้าไป โดยการเป่าแต่ละครั้งให้ยาวประมาณ 1-2 วินาที จนเห็นหน้าอกผูป ้ ว ่ ยยกตัวขึ้น พร้อมกับปล่อยให้หน้าอกผู้ป่วยยุบลงมาอยูต ่ �ำแหน่งเดิมก่อนที่จะเป่าครั้งที่ 2

Tips หากไม่ม่น ั ใจให้กดหน้าอกเพียงอย่างเดียวต่อไปเรื่อย ๆ หรือสลับกับผู้ชว ่ ยเหลือคนอื่น เมื่อครบ 2 นาที

13


สรุปการช่ วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้ นฐาน

!

1. กรณี ผู้ ช่ ว ยเหลื อ อยู่ ค นเดี ย ว ให้ ก ดหั ว ใจอย่ า งน้ อ ย 100 ครั้ง/ นาที ต่อเนื่องจนกว่าทีมช่วยเหลือจะมาถึง

2. กรณี ผู้ ช่ ว ยเหลื อ มากกว่ า 1 คน ในหนึ่ ง รอบของ

การช่วยฟื้นคืนชีพ คือ การปฏิบต ั ก ิ ารกดนวดหัวใจ 30 ครัง้ และช่วยหายใจ จ�ำนวน 2 ครั้ง ท� ำอย่างต่อเนื่องกัน ทั้งหมด 5 รอบ (ใช้เวลาประมาณ 2 นาที) ท�ำสลับกันไป

จนกว่าจะพบว่าผู้ป่วยมีการไอ/ ขยับตัว/ มีการหายใจ หรือทีมช่วยเหลือมาถึง จึงหยุดได้

3. การฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานนั้น จะได้ผลดีต้องท�ำภายใน 4 นาที หลังผู้ป่วยหยุดหายใจ

5 ขั้น ตอนของห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิต (Chain of Survival) 1669

1.

2.

3.

4.

5.

เ รี ย ก ค น ช่ ว ย

ใ ห้ เ ริ่ ม ป ฏิ บั ติ

เ มื่ อ มี ข้ อ บ่ ง ชี้

ป ฏิ บั ติ ก า ร

ใ ห้ ก า ร ดู แ ล

แ ล ะ รี บ แ จ้ ง

ทันที โดยการท�ำ

ไ ฟ ฟ้ า หั ว ใ จ ใ ห้

รวดเร็ ว และมี

อย่ า งใกล้ ชิ ด ใน

อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว สายด่วน 1669

Tips

การช่ ว ยชี วิ ต ใน CPR

ให้ท�ำการกระตุ้น เร็วที่สุด

ช่ ว ย ชี วิ ต อ ย่ า ง ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ

จากหน่ ว ยกู้ ชี พ

ห ลั ง จ า ก C P R โรงพยาบาล

ขั้นสูง

ในต่ า งประเทศ มี ก ารใช้ เ พลง Stayin’ Alive ของ Bee Gees ประกอบการอบรม CPR ให้ กั บ เด็ ก และบุ ค คล ทั่ ว ไป เนื่ องจากจั ง หวะของเพลงท� ำ ให้ ผู้ ท่ี ท� ำ CPR สามารถท� ำ การกด นวดหัวใจในจ�ำนวนที่พอดีต่อ 1 นาที (นายพรพล น้อยธรรมราช)

14


การช่วยชีวิตผู้ปว ่ ยฉุกเฉิน ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นด้วย เครื่อง เอ อี ดี (AED) เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ (Automated External Defibrillator - AED) หรือ เอ อี ดี เป็นอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์แบบพกพาชนิดหนึง่ สามารถวินจ ิ ฉัยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ที่ เ ป็ น อั นตรายถึ งชีวิ ต ชนิ ด เวนทริ คู ล าร์ ฟิ บริ ล เลชั น (ภาวะหัวใจห้องล่ างเต้ นแผ่วระรัว) และ

เวนทริ คู ล าร์ แ ทคี ค าร์ เ ดี ย (ภาวะหั ว ใจห้ อ งล่ า งเต้ น เร็ ว ผิ ด ปกติ ) ได้ โ ดยอั ต โนมั ติ และสามารถ

ให้การรักษาด้วยการช็อกไฟฟ้ากระตุกหัวใจได้โดยใช้กระแสไฟฟ้าหยุดรู ปแบบการเต้นของหัวใจ ที่ผิดจังหวะ เพื่อเปิดโอกาสให้หัวใจกลับมาเต้นใหม่ในจังหวะที่ถูกต้อง

D E A

15


ขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพ 1 . ป ล อ ด ภั ย ไ ว้ ก่ อ น โ ด ย ต ร ว จ ส อ บ ความปลอดภั ย ก่ อ นเข้ า ช่ ว ยเหลื อ ถ้ า อยู่ ใ น สถานการณ์ ไ ม่ ป ลอดภั ย เช่ น ไฟฟ้ า ชอร์ ต ไฟฟ้าช็อก ไฟไหม้ ตึกถล่ม ห้าม เข้าไปช่วยเหลือ โดยเด็ดขาด

คุณ คุณ เป็ นอย่างไรบ้าง

2. ปลุ ก เรี ย ก ตบไหล่ ตรวจสอบดูว่าผู้ป่วย หมดสติหรือไม่ โดยตบที่ไหล่ท้ังสองข้างพอทีจ ่ ะ ปลุ ก คนหลั บ ให้ ต่ ื น ซึ่ ง อาจพู ด ว่ า “คุ ณ คุ ณ เป็ น อย่ า งไรบ้ า ง” พร้ อ มจั ด ท่ า ผู้ ป่ ว ยให้ น อน หงายราบบนพื้นทีแ ่ ข็ง หากผูป ้ ว่ ยตื่น หรือรูส ้ ก ึ ตัว หรือหายใจเองได้ให้จัดท่านอนตะแคง

1669 3. โทร. 1669 เรียกขอความช่วยเหลือ

4. ประเมิ น ผู้ ห มดสติ ตรวจดูว่า

มีคนหมดสติ” และโทร 1669 หรือให้คน

ไม่หายใจ หรือหายใจเฮือก ต้องรีบ

จ า ก ผู้ อื่ น ซึ่ ง อ า จ พู ด ว่ า “ ช่ ว ย ด้ ว ย อื่นโทรก็ได้ พร้อมกับน�ำเครื่อง เอ อี ดี (AED) มา

ผูป ้ ว ่ ยหายใจหรือไม่ หากไม่รูส ้ ก ึ ตัว กดหน้าอก

5. กดหน้าอก การกดหน้าอกท�ำตามขั้นตอนดังนี้

1) จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายโดยผู้ชว ่ ยเหลือนั่งคุกเข่าอยูด ่ ้านข้างของผู้ป่วย 2) วางส้นมือข้างหนึ่งตรงครึ่งล่างกระดูกหน้าอก

3) วางมืออีกข้างวางทับประสานกันไว้ แขนสองข้างเหยียดตรง โดยให้แนวแขนตั้งฉากกับหน้าอก ของผู้ป่วย

16


4) เริ่มท�ำการกดหน้าอกด้วยความลึกอย่างน้อย 5 เซนติเมตร ด้วยความเร็ว 100-120 ครั้งต่อนาที โดยให้ส้นมือสัมผัสกับหน้าอกของผู้ป่วยตลอดการกดหน้าอก

5) ถ้ามีหน้ากากเป่าปาก เป่าปากผ่านหน้ากาก 2 ครั้ง สลับกับการกดหน้าอก 30 ครั้ง โดยนับ “หนึง่ และสอง และสาม และสี.่ ..และสิบ สิบเอ็ด สิบสอง สิบสาม...ยีส ่ บ ิ ยีบเอ็ด (ยีส ่ บ ิ เอ็ด) ยีบสอง (ยีส ่ บ ิ สอง)...ยีบเก้า สามสิบ”

6) ถ้าไม่มห ี น้ากากเป่าปาก หรือไม่เคยฝึกเป่าปาก ให้ทำ� การกดหน้าอกอย่างเดียวอย่างต่อเนื่อง 7) ท�ำการกดหน้าอกและเป่าปากอย่างต่อเนื่องจนกว่าทีมกู้ชีพจะไปถึงที่เกิดเหตุ

6. เมื่อเครื่อง เอ อี ดี (AED) มาถึง 1) เปิดเครื่อง

2) ถอดเสื้อผู้ป่วยออก

3) ถ้าตัวเปียกน้�ำให้เช็ดน้�ำออกก่อน แล้วจึงติดแผ่นน�ำไฟฟ้าที่ตัวผู้ป่วย

4) ติดแผ่นน�ำไฟฟ้าบริเวณใต้กระดูกไหปลาร้าด้านขวา และชายโครงด้านซ้าย

7. ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของเครื่อง เอ อี ดี (AED) 1) หากเครื่องเอ อี ดี (AED) แปลผลว่าไม่ต้องช็อกไฟฟ้าหัวใจ

8. กดหน้าอกต่อหลังท�ำการช็อก ไฟฟ้าหัวใจแล้วทันที

ให้กดหน้าอกต่อไป

2) หากเครื่ องสั่ ง ให้ ช็ อ กไฟฟ้ า หั ว ใจ ผู้ ช่ ว ยเหลื อ พู ด หรื อ ตะโกนว่า “ถอยห่าง/ ห้ามสัมผัสตัวผู้ป่วย” (3) กดปุ่ม ช็อก ตามเครื่องสั่ง

9. ส่งต่อเมื่อทีมกู้ชีพมาถึง (1) ทีมกู้ชพ ี จะท�ำการซักประวัติจากผูช ้ ว ่ ยเหลือ (2) อะไรที่ผู้ชว ่ ยเหลือได้ท�ำให้ผู้ป่วย

(3) ที ม กู้ ชี พ จะน� ำ ส่ ง ผู้ ป่ ว ยไปโรงพยาบาล ที่ใกล้ท่ีสุดและเหมาะสม

17


การปฐมพยาบาล

หมายถึ ง การช่วยเหลื อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็ บเบื้องต้ น โดยใช้อุปกรณ์เท่ าที่ จะหาได้ ในขณะนั้ น ก่อนที่จะได้รับการดูแลรักษาจากบุคลากรทางการแพทย์หรือก่อนส่งต่อไปยังสถานพยาบาล

การปฐมพยาบาลผู้ปว ่ ยหรือผู้บาดเจ็บ กรณีมีบาดแผล 1. แผลฉีกขาด

ให้ท�ำการห้ามเลื อดโดยใช้ผ้าสะอาดหรือผ้าก๊ อซ ปิ ด บาดแผลไว้ ควรสั ง เกตการเสี ย เลื อ ดเพิ่ ม ถ้ า เลื อ ดออกไม่ ห ยุ ด ให้ ใ ช้ ผ้ า ยื ด พั น ทั บ อี ก รอบ

กรณีเป็นบาดแผลบริเวณแขน ขา และไม่มีกระดูก

หั ก ร่ ว มด้ ว ย ให้ ย กส่ ว นนั้ น ให้ สู ง เพื่ อป้ อ งกั น

ก า ร ติ ด เชื้ อควรหลี ก เลี่ ย งการสั ม ผั ส เลื อ ดของ ผูป ้ ว่ ยโดยตรง

2. แผลอวัยวะถูกตัดขาด

เก็ บอวั ยวะที่ ถูกตั ดขาด น�ำส่วนที่ ตัดขาดใส่ใน ถุงพลาสติก แล้วรัดปากถุงให้แน่น แช่ในภาชนะ

ที่ มี น้� ำ ผสมน้� ำ แข็ ง อี ก ชั้ น จากนั้ น ห้ า มเลื อ ด บริ เ วณปลายอวั ย วะส่ ว นที่ ถู ก ตั ด ขาด ห้ า มแช่

3. แผลไฟไหม้น้ำ� ร้อนลวก

ลงไปในน้�ำแข็งโดยตรง

ใช้ น้� ำ สะอาดล้ า งแผลเพื่ อท� ำ ความสะอาดและ ลดอาการปวดแสบปวดร้ อ น ถอดเสื้ อผ้ า และ

เครื่องประดับทีถ ่ ก ู เผาไหม้ออก เสื้อผ้าทีถ ่ ก ู เผาไหม้

อาจติดกับผิวหนัง เมื่อถอดเสื้อผ้าออกหากพบว่า

มีการดึงรั้ง ควรตัดเสื้อผ้าในส่วนที่ติดผิวหนังออก ห้ามใช้น้�ำมันโลชัน ยาสีฟัน หรือยาปฏิ ชีวนะทา

เพราะแผลปิดกั้นการระบาย และห้ามเจาะตุม ่ พอง

4. บาดเจ็บที่ศีรษะ

ท�ำการห้ามเลือดด้วยวิธป ี ด ิ แผลโดยตรง ถ้าเลือด ออกมามากให้ใช้ผ้ายืดพันรัด คอยสังเกตอาการ

เปลี่ ย นแปลงทางสมองควบคู่ ด้ ว ย เช่ น ซึ ม ลง ระดับความรูส ้ ก ึ ตัวลดลง พูดสับสน ปวดศีรษะมาก อาเจียนพุง่ เป็นต้น

18


5. แผลจากวัตถุหักคา

ห้ามดึงวัตถุท่ีหก ั คาออก ยึดวัตถุท่ีหก ั คาให้อยูน ่ ง่ิ ๆ ห้ า มเลื อ ดโดยใช้ ผ้ า แห้ ง สะอาดปิ ด แผลหนา ๆ ปิดบริเวณรอบวัตถุน้ัน

6. แผลไหม้จากสารเคมี

ใช้น้ำ� สะอาดช�ำระล้างหลาย ๆ ครัง้ โดยให้น้ำ� ไหลผ่าน ในบริเวณที่ถูกสารเคมี เพื่อลดความเข้มข้นของ สารเคมีให้ได้มากที่สุด

7. แผลกระดูกหัก

การดูแลเบื้องต้น กรณีไม่มีบาดแผล ประคบด้วย

น้�ำแข็งบริเวณที่ปวด บวม ผิดรู ป เพื่อลดอาการ ปวดบวม จากนั้ น ดามกระดู ก ยึ ด ตรึ ง ส่ ว นที่ หั ก

ให้อยู่นิ่งมากที่สุด กรณีกระดูกหักและมีแผลเปิด

เห็นกระดูกโผล่ ห้ามดันกระดูกกลับเข้าที่เด็ดขาด ท� ำ การปฐมพยาบาลตามขั้ น ตอนการห้ า มเลื อ ด เหมือนแผลจากวัตถุหักคา

8. ภาวะเลือดตกใน

เป็นอาการของการเสียเลื อดภายใน ที่ อาจเกิ ด

ภาวะช็ อ กได้ เช่ น ซึ ม ซี ด เหงื่ อออก ตั ว เย็ น

ชี พ จนเบา เร็ ว หายใจเร็ ว คลื่ นไส้ อาเจี ย น ก ร ะ ห า ย น้� ำ ก า ร ดู แ ล เ บื้ อ ง ต้ น ป ร ะ ส า น

ขอความช่ ว ยเหลื อ โทร 1669 โดยเร็ ว จั ด ท่ า

ให้ ผู้ ป่ ว ยนอนราบ ยกขาสู ง ห่ ม ผ้ า ให้ อ บอุ่ น ค ล า ย เ สื้ อ ผ้ า ใ ห้ ห ล ว ม ห้ า ม ใ ห้ อ า ห า ร ห รื อ น้�ำจนกว่าทีมช่วยเหลือจะมาถึง

9. กรณีเกิดอุบต ั เิ หตุรน ุ แรงหรือตกจากทีส ู ่ ง

อาจมีการหักของกระดูกสันหลังได้ ควรโทรเรียก 1669 โดยเร็ ว และไม่ ค วรยกหรื อ เคลื่ อนย้ า ย ผู้บาดเจ็บ

19


ภาวะภัยพิ บัติ ภาวะภัยพิบัติ การเปลี่ ย นแปลงสภาวะภู มิ อ ากาศโลกในปั จ จุ บั น สื บ เนื่ องมาจากสิ่ ง แวดล้ อ มถู ก ท� ำ ลาย จึ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ ซ่ึ ง เป็ น เรื่ องใกล้ ตั ว มนุ ษ ย์ เ กิ ด ขึ้ น บ่ อ ยครั้ ง และนั บ วั น จะ

ทวีความรุนแรงยิง่ ขึ้น สร้างความเสียหายทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สน ิ ซึ่งเหตุการณ์และปัญหาที่เกิดขึ้น

ในแต่ ละครั้งเป็นสถานการณ์ท่ี ไม่ทันรู้ตัว หรือรู้ตัวแต่ ไม่ทันเตรียมการในการป้องกั น หรือขาด ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ในการเตรียมความพร้อมที่จะรับมือกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น

ซึง่ ประเทศไทยมีความเสีย ่ งต่อภัยพิบต ั ิ ต่าง ๆ อาทิ ภัยน้�ำท่วม ดินถล่ม แผ่นดินไหว สึนามิ ภัยแล้ง ฯลฯ

ในขณะเดี ย วกั น มี ป ระชาชนจ� ำ นวนมากที่ ไ ม่ มี ข้ อ มู ล ส� ำ หรั บ การเตรี ย มพร้ อ มรั บ มื อ ภั ย พิ บั ติ จึงไม่สามารถหาทางป้องกันและปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อเกิดภัย

20

SCAN ME


การเตรียมความพร้อมรับมือกับภัยพิบัติ

1.

2.

3.

4.

5.

1. เตรียมพร้อมก่อนภัยมา โดยการสร้างแผนฉุกเฉิน เช่น หาวิธแ ี จ้งเหตุ กระจายข่าว เส้นทางอพยพ ก�ำหนดจุดปลอดภัย และประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน

2. เตรียมพร้อมด้านร่างกาย ที่อยูอ ่ าศัย และสัตว์เลี้ยง รวมทั้งต้องซักซ้อมบ่อย ๆ ในเรื่องการอพยพ และการสื่อสาร

3.เตรียมปัจจั ยสี่ จั ดเป็นชุ ด ให้หยิบฉวยง่ าย จั ดเตรียมน้�ำ ยารักษาและของใช้ท่ี จ�ำเป็น ใส่ถุง เป็นชุด ๆ เก็บไว้ในที่ท่ีปลอดภัย 4. ติดตามฟังข่าวสารบ้านเมือง

5. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ท่ีถูกต้องแก่ประชาชนทั่วไป

21


ภัยจากเหตุเพลิงไหม้ 1.

2.

3.

5.

4.

199

1. ต้ังสติ โทร 199

2. ใช้ถังดับเพลิงดับไฟ หากประเมินว่าเพลิงไหม้ในวงแคบและสามารถดับไฟได้

3. อพยพผ่านประตูหนีไฟ ก่ อนเปิดประตูให้ใช้หลั งมือสัมผัสประตูหรือลูกบิด หากพบว่ าร้อน ห้ามเปิดและใช้เส้นทางอื่นแทน ห้ามใช้ลิฟท์โดยเด็ดขาด 4. หมอบคลานต่�ำ ใช้ผ้าชุบน้�ำปิดจมูก เพื่อป้องควันไฟ

5. หากติ ดอยู่ภายในอาคาร ใช้ผ้าชุ บน้�ำอุ ดตามช่องว่างรอบประตูหน้าต่างเพื่อกั นควั นไฟ และ พยายามขอความช่วยเหลือ เช่น โบกผ้า ใช้ไฟฉายส่งสัญญาณ

ภัยจากแผ่นดินไหวและสึนามิ 3. 1.

4.

5.

6.

2. 1. อพยพตามแผนของหมูบ ่ ้าน ชุมชน หรือจังหวัด

2. หากออกเรือขณะเกิดสึนามิ ห้ามเข้าใกล้ชายฝั่ งเด็ดขาดและให้อยูใ่ นบริเวณน้�ำลึก

3. หากอยู่ ใ นบ้ า นขณะเกิ ด แผ่ น ดิ น ไหว รี บ หมอบลงใต้ โ ต๊ ะ ที่ แ ข็ ง แรง หากอยู่ ภ ายนอกอาคาร ให้อยูบ ่ ริเวณที่โล่ง ไม่มีสิ่งกีดขวาง

4. ใช้ผ้าปิดปากและจมูก เพื่อป้องกันฝุ่นและสิ่งแปลกปลอม

5. หยุดรถ และจอดชิดขอบทาง อย่าออกจากรถจนกว่าจะแน่ใจว่าปลอดภัย

6. เมื่อเหตุการณ์สงบ เร่งตรวจสอบ ตรวจดูสายไฟ ท่อน้�ำ ท่อแก๊ส อย่าเปิดใช้จนกว่าจะแน่ใจว่า ปลอดภัย

22


ภัยจากพายุ 1.

2.

3.

4.

5.

1. ฟังประกาศการเตือนภัย และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด

2. ตรึงประตูหน้าต่างให้ม่ันคง ถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด เพื่อป้องกันไฟฟ้าลัดวงจรขณะ ฝนตกฟ้าคะนอง

3. เตรียมอุปกรณ์จ�ำเป็น เช่น เทียนไข ไฟฉาย ยาประจ�ำตัวติดตัวตลอด

4. ขณะฝนตกฟ้าคะนอง ห้ามอยูใ่ ต้ต้นไม้ เสาไฟฟ้า และห้ามโทรศัพท์เด็ดขาด

5. หากรู้สึกตัวว่าบ้านก�ำลังจะพังให้หอ ่ ตัวเองด้วยผ้าห่ม หลบใต้โต๊ะ ใต้เตียง หรือที่แข็งแรงมั่นคง

ภัยจากน�้ำท่วม 1.

2. OF

3.

1669

4.

5.

6.

F

1. ติดตามข่าวสารและเชื่อฟังประกาศจากเจ้าหน้าที่

2. สับคัทเอาท์ไฟก่อนออกจากบ้าน แล้วอพยพจากพื้นที่น้�ำท่วมสูงอย่างทันที อย่าห่วงทรัพย์สิน ห่วงชีวิตตนและคนรอบข้างก่อน

3. โทรแจ้งสายด่วน 1669 หากพบผูถ ้ ก ู ไฟดูด ให้การปฐมพยาบาลตามค�ำแนะน�ำ หากหัวใจหยุดเต้น ให้รีบกดหน้าอกช่วยหายใจ

4. หา้ มลงเล่นน้�ำหรือพายเรือเข้าใกล้สายไฟ และระวังอันตรายจากสัตว์มพ ี ษ ิ และเชื้อโรคทีม ่ ากับน้�ำ

5. หากเดินลุยน้�ำ หลังจากเข้าบ้านแล้วควรรีบล้างเท้าท�ำความสะอาดและเช็ดให้แห้ง หากเท้ามี บาดแผลควรชะล้างด้วยน้�ำยาฆ่าเชื้อ เพื่อป้องกันโรคน้�ำกัดเท้า

6. น�ำถุงพลาสติกใส่ทรายหรือดินอุดทีค ่ อห่านและท่อน้�ำทิง้ เพื่อป้องกันน้�ำท่วมดันเข้ามาทางโถส้วม

23


ภัยจากน�้ำท่วมเฉียบพลัน 2.

4.

5.

6. 1669

F

LP

OF

3.

HE

1.

HE

LP

1. ติดตามข่าวสารอย่างใกล้ชิด และปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำ

2. สับคัทเอาท์ไฟก่อนออกจากบ้านแล้วรีบอพยพขึ้นที่สูง โดยหลีกเลี่ยงแนวธารน้�ำ ช่องระบายน้�ำ

3. สวมเสื้อชูชพ ี เสมอ ห้ามเดินฝ่ากระแสน้�ำ และใช้ไม้ปก ั ดินคล�ำทางเพื่อสังเกตว่าดินตื้นลึกแค่ไหน 4. ห้ามขับรถฝ่ากระแสน้�ำท่วม และถ้าหากน้�ำขึ้นสูงรอบ ๆ รถ ให้รีบออกจากรถ 5. อย่าเสี่ยงช่วยผู้อ่ ืนหากอุปกรณ์ไม่พร้อม เพราะอาจไม่รอดทั้งคู่ 6. โทรแจ้งสายด่วนฉุกเฉิน 1669 หากพบผู้บาดเจ็บ

ภัยจากดินโคลนถล่ม 1.

2.

3.

4.

5.

รักษาชีวต ิ ก่อน ทรัพย์สน ิ ไว้ทห ี ลัง

1. หากฝนตกหนัก ให้สงั เกตสัญญาณเตือนภัยของเหตุดน ิ โคลนถล่ม เช่น เสียงต้นไม้หก ั หินก้อนใหญ่ ตกลงมา น้�ำมีสีขุน ่

2. อพยพไปในพื้นที่สูงและมั่นคงตามเส้นทางที่เตรียมการไว้ เมื่อได้รับสัญญาณเตือนภัย

3. ตั้งสติ ท่องไว้ “รักษาชีวิตก่อน ทรัพย์สินไว้ทีหลัง” ให้น�ำของใช้เฉพาะที่จ�ำเป็นติดตัวไปเท่านั้น 4. หากพลัดตกน้�ำ หาต้นไม้ใหญ่เกาะ แล้วรีบขึ้นจากน้�ำให้ได้

5. หากหนีไม่ทัน ให้ม้วนตัวเป็นทรงกลมให้มากที่สุด เพื่อป้องกันศีรษะกระแทก

24


ภัยจากความแห้งแล้ง 2.

3.

4.

5.

1669

1. 1. กักเก็บน้�ำสะอาดและวางแผนใช้น้�ำอย่างประหยัด

2. ดื่มน้�ำบ่อย ๆ หรือใช้ผ้าชุบน้�ำประคบเพื่อลดความร้อนในร่างกาย

3. โทรแจ้ง 1669 หากพบผูป ้ ว่ ยหมดสติ และท�ำการปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยจัดให้ผป ู้ ว่ ยอยูใ่ นทีร่ ม ่ จัดท่ากึ่งนั่งกึ่งนอน คลายเสื้อผ้าและใช้ผ้าชุบน้�ำเช็ดตัวเพื่อคลายร้อน

4. รับประทานอาหารร้อน ๆ และดื่มน้�ำสะอาดเพื่อป้องกันโรคทางเดินอาหาร เช่น อุจจาระร่วง บิด อหิวาตกโรค

5. ไม่อยูก ่ ลางแจ้งเป็นเวลานาน ๆ เพราะอาจท�ำให้เป็นลมแดดได้

ภัยหนาว 1.

2.

3.

4.

5.

6.

1669

BE ER 1. ดื่มน้�ำให้เพียงพอ ความเชื่อเรื่องการดื่มแอลกอฮอล์ท�ำให้รา่ งกายอบอุ่นเป็นความเชื่อที่ผิด 2. หากเป็นหวัด ถ้าออกนอกบ้านให้สวมผ้าปิดปากป้องกันการติดต่อไข้หวัดสูค ่ นรอบข้าง 3. หากเปียกน้�ำ รีบเช็ดตัวให้แห้งและเปลี่ยนเสื้อผ้าทันที เพื่อป้องกันโรคปอดบวม 4. รีบโทรแจ้ง 1669 หากพบผู้ป่วยฉุกเฉิน และระวังโรคที่มากับภัยหนาว

5. ท�ำร่างกายให้อบอุ่น แต่ควรหลีกเลี่ยงการผิงไฟเพราะควันไฟอาจอันตรายต่อสุขภาพ 6. เก็บกวาดเศษใบไม้และขยะรอบบริเวณบ้าน เพื่อป้องกันไฟไหม้

25


ภัยจากวัตถุต้องสงสัย 1.

2.

3.

4.

5.

6.

191

1. ตั้งสติ และรีบออกจากพื้นที่เสี่ยงภัยทันที

2. โทรแจ้ง 191 และ ห้ามแตะต้องหรือเคลื่อนย้ายวัตถุต้องสงสัย โดยเด็ดขาด 3. ถ้ามียางรถยนต์เก่า ใช้ยางรถยนต์เก่าวางครอบวัตถุต้องสงสัย

4. หากติดอยูภ ่ ายในอาคาร ให้ใช้ผา้ ชุบน้�ำอุดช่องประตู เพื่อป้องกันแก๊สพิษ และหาที่ก�ำบังที่ม่น ั คง แข็งแรง

5. หลบอยูเ่ หนือลม ปิดเครื่องปรับอากาศ และสวมเสื้อผ้ามิดชิด เพื่อป้องกันอันตราย 6. หากวัตถุน้น ั เกิดประกายไฟหรือระเบิด ให้หลบหลังที่ก�ำบังที่แข็งแรง

ภัยจากสงครามและความขัดแย้ง 1.

2.

3.

4.

5.

6.

191

1. ห้ามเข้าใกล้พ้ น ื ที่อันตรายหรือร่วมชุมนุม

2. ตั้งสติ อย่าใช้อารมณ์ตัดสิน ใช้วิจารณญาณในการรับข้อมูลข่าวสาร 3. จัดเวรยามในชุมชนเพื่อเป็นหูเป็นตาระวังภัย

4. โทรแจ้ง 191 โดยด่วนหากพบวัตถุต้องสงสัยหรือผิดสังเกต 5. เตรียมปัจจัยสี่และเครื่องใช้ท่ีจ�ำเป็น

6. เตรียมอพยพเข้าหลุมหลบภัย (ลึกอย่างน้อย 50 ซม.) หากเหตุการณ์รุนแรงและไม่สามารถหนี ออกจากพื้นที่ได้ หรืออพยพออกนอกพื้นที่ชุมนุมหรือพื้นที่เสี่ยงภัย

26


เบอร์โทรศัพท์ส�ำนักงาน และคณะผู้จัดท�ำ

27


เบอร์โทรศัพท์ส�ำนักงาน

แจ้งเหตุด่วน - เหตุร้าย..........................................................................

แจ้งอัคคีภัยสัตว์เข้าบ้าน........................................................................

ศูนย์ความปลอดภัยกรมทางหลวงชนบท...............................................

สายด่วนต�ำรวจท่องเที่ยว...................................................................... ปราบปรามการโจรกรรมรถ................................................................... กองปราบปราม.....................................................................................

อุบัติเหตุทางน้�ำกองบัญชาการต�ำรวจ.................................................... ปลอดภัยทางน้�ำ.................................................................................... กรมป้องกันและบรรเทาสารภัย............................................................. สถานีต�ำรวจภูธรเมืองสุโขทัย................................................................ สถานีต�ำรวจภูธรเมืองเก่าต�ำบลเมืองเก่า...............................................

สถานีต�ำรวจภูธรศรีสัชนาลัย................................................................. โรงพยาบาลสุโขทัย...............................................................................

โรงพยาบาลสวรรคโลก.........................................................................

โรงพยาบาลศรีสัชนาลัย........................................................................

โรงพยาบาลศรีสังวร.............................................................................. โรงพยาบาลคีรีมาศ............................................................................... โรงพยาบาลบ้านด่านลานหอย..............................................................

โรงพยาบาล ศรีนคร..............................................................................

โรงพยาบาลทุ่งเสลี่ยม...........................................................................

โรงพยาบาลกงไกรลาศ.......................................................................... โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลเมืองเก่า............................................

โรงพยาบาลรวมแพทย์สุโขทัย...............................................................

โรงพยาบาลพัฒนเวชสุโขทัย.................................................................

28

191 199 1146 1550 1192 1195 1155 1199 1784 055-613112 095-697088 055-671234 055-55611782, 055-610903 055-641592 055-673136 - 8 055-682030 095-695168 055-689027 055-652725, 055-652726 055-659175 055-625248 055-4697052 055-612190 055-621502


สถานพยาบาลหมออาคม......................................................................

055-612762 ศูนย์ก้ช ู ีพเทศบาลเมืองศรีสัชนาลัย........................................................ 055-679195 ส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมจังหวัดสุโขทัย................ 055-615663 ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย...................................................... 055-613375, 055-612258 สภ.กงไกรลาศ....................................................................................... 055-691144 สภ.คีรีมาศ............................................................................................ 055-693299 สภ.ท่าฉนวน.......................................................................................... 055-655225 สภ.ทุ่งเสลี่ยม......................................................................................... 055-659225, 055-659178 สภ.บ้านแก่ง ......................................................................................... 055-675105 สภ.บ้านด่านลานหอย............................................................................ 055-689091, 055-689028 สภ.บ้านไร่............................................................................................. 055-685191, 085-7233025 สภ.บ้านสวน.......................................................................................... 055-699337 สภ.เมืองเก่า.......................................................................................... 055-697088 สภ.เมืองบางขลัง................................................................................... 055-942656 สภ.เมืองสุโขทัย..................................................................................... 055-613112 สภ.ศรีนคร............................................................................................ 055-652775 สภ.ศรีสัชนาลัย.....................................................................................

สภ.ศรีส�ำโรง..........................................................................................

สภ.สวรรคโลก.......................................................................................

055-671234 055-681416, 094-3791079 055-644215, 055-642284

29


คณะผู้จัดท�ำ ข้อมูลหลัก

1. ขั้ น ตอนการช่ ว ยเหลื อ ทางการแพทย์ ส� ำ หรั บ สถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น (กรณี อุ บั ติ เ หตุ ใ นพื้ นที่ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ เ มื อ งเก่ า สุ โ ขทั ย ) : การจั ด ประชุ ม เชิ ง ปฎิ บั ติ ก ารร่ ว มกั บ ภาคีเครือข่ายด้านการท่องเที่ยวในจังหวัดสุโขทัย

2. คู่มืออาสาฉุกเฉินชุมชน – สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.)

3. คู่มือส�ำหรับประชาชนในการช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นด้วยเครื่อง เอ อี ดี - สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.)

ที่ปรึกษา

1. นายทวีพงษ์ วิชัยดิษฐ

ผูอ ้ ำ� นวยการองค์การบริหารการพัฒนาพื้นทีพ ่ เิ ศษเพื่อการท่องเทีย ่ วอย่างยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) 2. เรืออากาศเอกนายแพทย์อัจฉริยะ แพงมา เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

ผู้จัดท�ำ

คณะท� ำ งานพั ฒ นาต้ น แบบการจั ด การภาวะวิ ก ฤตและฉุ ก เฉิ น (Crisis and emergency management) ส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ของประเทศไทย ตามแนวทางของเกณฑ์ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก (Global Sustainable Tourism Council) 1. ดร.ชูวิทย์ มิตรชอบ

รองผู้อ�ำนวยการ อพท.

3. นายประครอง สายจันทร์

ผู้จัดการส�ำนักงานพื้นที่พิเศษ 4 (อพท.)

2. ดร.พิเชษฐ์ หนองช้าง 4. นายศิริชัย นิ่มมา

5. นายพงษ์พิษณุ ศรีธรรมานุสาร 6. นางชิดชนก สุวคนธ์

7. นางสาวเทียมจันทร์ ฉัตรชัยกนันท์ 8. นายวสันต์ เวียนเสี้ยว

9. นางสาวพัชรี รณที

10. นางสาวเนาวนิต ยิ้มวัน 11. นางสิริมา อเดไจ 12. นายชัชวาล ม่วงพรวน

13. นายปสันน์ วิบูลรังสรรค์

ผู้เรียบเรียง

1. ดร.คัชพล จั่นเพชร

2. นางสาวฉัตรกมล ปิยจารุพร

30

ผู้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก ประสานการแพทย์ ฉุ ก เฉิ น (สพฉ.) ผู้ช�ำนาญการ (สพฉ.) ผู้ช�ำนาญการ (สพฉ.) ผู้ช�ำนาญการ (สพฉ.) ผู้ช�ำนาญการ (สพฉ.)

ผู้ช�ำนาญการ (สพฉ.) ผู้ช�ำนาญการ (สพฉ.) ผู้ช�ำนาญการ (สพฉ.)

ผู้ช�ำนาญการ (สพฉ.)

หัวหน้างานองค์ความรู้และพัฒนาหลักสูตร (อพท.) เจ้าหน้าที่พัฒนาพื้นที่พิเศษ (อพท.)

ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านการท่องเทีย ่ วอย่างยัง่ ยืน (อพท.) ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านการท่องเทีย ่ วอย่างยัง่ ยืน (อพท.)




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.