คู่มือการประเมินสถานะความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยว 3 Inch
ตามเกณฑ์
GSTC - D VERSION 2.0
คู่มือการประเมินสถานะความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยว
ตามเกณฑ์
GSTC - D VERSION 2.0
3 Inch
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ G S T C - D
4
Version 2.0
ส
ภาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนระดับโลก (Global Sustainable Tourism Council: GSTC) ได้ ป ระกาศ ใช้ เกณฑ์ GSTC ซึ่งเป็นมาตรฐานระดับโลกส�ำหรับ การเดิ น ทางและการท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น (Sustainable Travel and Tourism) รวมทั้ง ให้การรับรองระดับนานาชาติส�ำหรับหน่วยงาน รั บ รองการท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น (Global Sustainable Tourism Council, 2021) ทาง สภาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนระดับโลก (GSTC) กล่ า วว่ า การพั ฒ นาเกณฑ์ นี้ เ ป็ น หนึ่ ง ในการ ตอบสนองความท้าทายระดับโลกตามเป้าหมาย การพัฒนาขององค์การสหประชาชาติ (United Nations’ Millennium Development Goals) ในด้ า นการแก้ ไ ขปั ญ หาความยากจน ความ เท่ า เที ย มทางเพศสภาพ และความยั่ ง ยื น ทาง สิ่งแวดล้อม ซึ่งรวมถึงประเด็นการเปลี่ยนแปลง ของสภาพอากาศ โดยทั้ ง นี้ เกณฑ์ ด ้ า นการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก (GTSC - Destination ฉบับปี 2556) ได้มีการปรับปรุงพัฒนา และได้ รับรองพร้อมประกาศใช้อย่างเป็นทางการ ภายใต้ ชื่อ “หลักเกณฑ์ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว เวอร์ชั่น 2” ซึ่งถือเป็น เวอร์ ชั่ น ล่ า สุ ด โดยมี ผ ลบั ง คั บ ใช้ กั บ ภาคการ ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง หมด เกณฑ์ ข อง GSTC หรื อ ที่ เรี ย กว่ า GSTC-D เป็ น เกณฑ์ ข้ั น ต้ น ที่ แ หล่ ง ท่องเที่ยว (Destination) หรือสถานที่ท่องเที่ยว ต่างๆ (Attractions) ควรตั้งเป้าที่จะไปให้ถึง
วัตถุประสงค์ ของหลักเกณฑ์
ทัง้ นี้ อพท. ได้ยดึ หลักเกณฑ์การท่องเทีย่ วอย่าง ยัง่ ยืนโลก เพือ่ น�ำมาปรับใช้กบั พืน้ ทีพ่ เิ ศษ และได้ GSTC สร้างต้นแบบของการประเมินสถานะความยั่งยืน ตามเกณฑ์นี้ เพื่อให้แหล่งท่องเที่ยวในปัจจุบัน หรือที่ก�ำลังจะก้าวสู่การแหล่งท่องเที่ยวต้นแบบ ของประเทศ ได้ตรวจสุขภาพความพร้อม และ หลักเกณฑ์ GSTC ใช้เป็นมาตรฐานพื้นฐาน สถานะความยั่งยืนด้านการท่องเที่ยวด้วยมิติทั้ง ส�ำหรับความยัง่ ยืนในการเดินทางและการท่องเทีย่ ว 4 ด้าน ได้แก่ โดยให้ความสนใจ 4 หัวข้อหลักๆ ทัว่ โลก เกณฑ์ GSTC ควรได้รับการแจกจ่ายและ ได้แก่ ด้านการจัดการความยั่งยืน (Sustainable ถูกน�ำไปใช้ เพื่อจุดประสงค์ ดังต่อไปนี้ Management) ความยัง่ ยืนด้านสังคม-เศรษฐกิจ (Socio-economic sustainability) ความยั่งยืน • ให้ เ ป็ น แนวทางส� ำ หรั บ ธุ ร กิ จ และแหล่ ง ด้านวัฒนธรรม (Cultural sustainability) ความ ท่องเที่ยวทุกขนาดและทั่วโลกเพื่อความ ยั่ ง ยื น ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม (Environmental ยั่งยืนมากขึ้น sustainability) ที่มีความส�ำคัญต่อการพัฒนา • ให้ค�ำแนะน�ำส�ำหรับนักเดินทางและผู้ให้ และยกระดั บ การท่ อ งเที่ ย วของประเทศและ บริ ก ารด้ า นการเดิ น ทางในการเลื อ ก เป้ า หมายของ อพท. เพื่ อ ประสาน ส่ ง เสริ ม ซัพพลายเออร์และโปรแกรมการท่องเที่ยว ร่ ว มพั ฒ นาให้ ภ าคี เ ครื อ ข่ า ยเห็ น ความส� ำ คั ญ อย่างยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกันในการรองรับต่อการสถานการณ์ • จั ด ให้ มี พื้ น ที่ สั ด ส่ ว นที่ เ หมาะสมส� ำ หรั บ ที่จะเกิดขื้นในอนาคต การออกสื่อ เพื่อผู้ให้บริการการท่องเที่ยว ที่ยั่งยืนเป็นที่จดจ�ำ คู่มือเล่มนี้ ออกแบบเพื่อให้คณะท�ำงานผู้มี • ช่วยให้การรับรองและโครงการที่เข้าร่วม หน้าที่ในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยสมัครใจอื่นๆ มั่นใจได้ว่ามาตรฐานของ ท� ำ ความเข้ า ใจถึ ง หลั ก เกณฑ์ ขั้ น ตอนในการ ผู้ที่เข้าร่วมเป็นไปตามพื้นฐานที่ยอมรับใน ประเมิน ได้น�ำไปปรับใช้ และประเมินสถานะ วงกว้าง ความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยว รวมถึงเป็นการ • โครงการของภาครัฐและภาคเอกชน โดยที่ เตรียมความพร้อมในการวางเป้าหมายพัฒนาการ ภาคเอกชนมีกรอบในการพัฒนาข้อก�ำหนด ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนมุ่งสู่มาตรฐานสากลอย่าง การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เป็นรูปธรรม
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ G S T C - D
Version 2.0
คํ า นํ า
5
ส า ร บั ญ
02 60
ขั้นตอนการประเมิน ตามแนวทาง GSTC-D
08
01
เกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก ส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว (GSTC - Destination) 11 เกณฑ์นี้ใช้กับใคร 12 ตารางเปรียบเทียบเกณฑ์ GSTC-D Version 1.0 Version 2.0 และ SDGs 40 รายละเอียดเกณฑ์การประเมินของ GSTC-D Version 2.0 41 หมวด A: การจัดการความยั่งยืน (SUSTAINABLE MANAGEMENT) 46 หมวด B: ความยั่งยืนด้านสังคม-เศรษฐกิจ (SOCIO-ECONOMIC SUSTAINABILITY) 50 หมวด C: ความยั่งยืนด้านวัฒนธรรม (CULTURAL SUSTAINABILITY) 53 หมวด D: ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (ENVIRONMENTAL SUSTAINABILITY)
6
03
Version 2.0
ค�ำน�ำ วัตถุประสงค์ของหลักเกณฑ์ GSTC
82
ค�ำอธิบายสถานะความยั่งยืน ของแหล่งท่องเที่ยว ตามเกณฑ์ GSTC-D
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ G S T C - D
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ G S T C - D
Version 2.0
04 05
Version 2.0
162
ภาคผนวก ก.
179
ภาคผนวก ข.
201
ภาคผนวก ค.
258
ภาคผนวก ง.
269
บรรณานุกรม
เกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก ส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว (GSTC-Destination Version 2.0) บัญชีค�ำศัพท์ของเกณฑ์การท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนโลกส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว (GSTC-Destination) ตัวอย่าง Stakeholder and Document mapping Site Observation Checklist: เทคนิคการสังเกตตามตัวชี้วัด ในระหว่างลงพื้นที่
7
(GSTC – Destination)
8 คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เกณฑ์การท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนโลก ส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว
9 GSTC-D Version 2.0
10
(GSTC – Destination)
ใ
นเดือนพฤศจิกายน 2556 สภาการท่องเทีย่ ว อย่างยัง่ ยืนระดับโลก (GSTC) มีการประกาศ หลั กเกณฑ์ ด้ านการท่อ งเที่ ยวอย่ างยั่ งยืน (GSTC – Destination หรือ GSTC-D) ฉบับแรก ซึ่งใช้เป็นมาตรฐานพื้นฐานของโลกส�ำหรับการ จั ด การแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วและเป็ น กรอบส� ำ หรั บ มาตรฐานความยัง่ ยืนในระดับประเทศหรือระดับ ภูมิภาค เพื่อเป็นแนวทางขั้นพื้นฐานที่หน่วยงาน ที่รับผิดชอบการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว (Destination) และแหล่งท่องเทีย่ ว (Attractions) ไปสู่ความยั่งยืนสามารถถือปฏิบัติได้ และเพื่อ ตอบสนองค�ำนิยามของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Global Sustainable Tourism Council, 2019) แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วจะต้ อ งบริ ห ารจั ด การอย่ า ง บูรณาการและมองภาพรวมทีค่ รอบคลุมทัง้ 4 มิติ คือ 1) การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน 2) เพิ่ม ผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบ ทางสังคมเศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถิ่น 3) เพิ่มผลประโยชน์ และลดผลกระทบเชิงลบ ทางวัฒนธรรมแก่ชมุ ชน และนั ก ท่ อ งเที่ ย ว และ 4) เพิ่ ม ผลประโยชน์ และลดผลกระทบด้านลบทางสิ่งแวดล้อม โดย หลั ก เกณฑ์ นี้ ไ ด้ รั บ การออกแบบให้ ส ามารถ ประยุกต์ใช้กับแหล่งท่องเที่ยว (Destination) และแหล่งท่องเที่ยว (Attractions) ทุกประเภท และทุกขนาด (Global Sustainable Tourism Council, 2021)
เกณฑ์นี้ใช้กับใคร เกณฑ์ GSTC-D ได้รบั การออกแบบมาให้เหมาะ ส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว โดยแหล่งท่องเที่ยวเป็น สถานที่ที่มีชื่อซึ่งสามารถระบุได้ ขอบเขตของ GSTC-D นั้นกว้างและสามารถน�ำเกณฑ์ไปใช้กับ ปลายทางได้อย่างหลากหลาย โดยอาจอยูใ่ นส่วน ใดส่วนหนึ่งของโลกและประเภทใดก็ได้ (เช่น ใน เมืองชนบท ภูเขา ชายฝั่งทะเล หรือแบบผสม ผสาน) เกณฑ์สามารถเกีย่ วข้องกับแหล่งท่องเทีย่ ว ขนาดใหญ่ (เช่น เมืองหรือภูมิภาคที่มีขนาดใหญ่) และกับแหล่งท่องเที่ยวขนาดเล็ก (เช่น อุทยาน แห่งชาติ กลุ่มชุมชนในท้องถิ่น ฯลฯ) (Global Sustainable Tourism Council, 2019, 2021) เมื่อ GSTC-D เกี่ยวข้องกับสถานที่ เกณฑ์หลายๆ ข้ออาจถูกน�ำมาใช้และน�ำไปใช้ผ่านองค์กรการ จัดการแหล่งท่องเที่ยวที่มีส่วนความรับผิดชอบ ประสานงานเพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืนภายใน แหล่งท่องเที่ยว การด�ำรงอยู่ขององค์กรดังกล่าว เป็นข้อก�ำหนดกลางของ GSTC-D ตามที่ระบุไว้ ในเกณฑ์ A1 ดังนั้นจะสังเกตว่าองค์กรดังกล่าว ไม่จำ� เป็นต้องเป็นหน่วยงานในพืน้ ทีห่ รือหน่วยงาน ภาครัฐ และต้องมีส่วนร่วมของทั้งภาครัฐและ เอกชน เกณฑ์บางส่วนหมายถึงวิสาหกิจ สิง่ เหล่านี้ อาจเป็นธุรกิจส่วนบุคคล แต่อาจเป็นรูปแบบอืน่ ๆ ของสิ่งอ�ำนวยความสะดวก และการด�ำเนินการ ตัวอย่างเช่น พิพิธภัณฑ์ งานเทศกาล อาคาร สาธารณะ และอนุสาวรีย์ ไม่ใช่เฉพาะธุรกิจการค้า
GSTC-D Version 2.0
เกณฑ์การท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนโลก ส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว
เช่น โรงแรมหรือสถานที่ท่องเที่ยวที่ต้องเสียเงิน (Global Sustainable Tourism Council, 2019, 2021)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ G S T C - D
Version 2.0
บ ท ที่ 1
ในเดือนธันวาคม 2562 เกณฑ์ดา้ นการท่องเทีย่ ว อย่างยั่งยืนโลก (GTSC – Destination ฉบับปี 2556) ได้มีการปรับปรุงพัฒนา และได้รับรอง และประกาศใช้ อ ย่ า งเป็ น ทางการ ภายใต้ ชื่ อ “หลักเกณฑ์ดา้ นการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืนส�ำหรับ แหล่งท่องเที่ยว เวอร์ชั่น 2” ซึ่งถือเป็นเวอร์ชั่น ล่าสุด โดยมีผลบังคับใช้กับภาคการท่องเที่ยว ทัง้ หมด เกณฑ์ของ GSTC หรือทีเ่ รียกว่า GSTC-D เป็นเกณฑ์ขนั้ ต้นทีแ่ หล่งท่องเทีย่ ว (Destination) หรือแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ (Attractions) ควรตั้ง เป้าทีจ่ ะไปให้ถงึ โดยให้ความสนใจ 4 หัวข้อหลักๆ ได้แก่ การจัดการทีย่ งั่ ยืน ผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสังคม ผลกระทบทางวัฒนธรรม และผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม
11
12 13
GSTC-D Version 2.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
A1 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ แหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน - แหล่งท่องเที่ยวมีการด�ำเนินตาม ยุทธศาสตร์ระยะยาวในการบริหาร จัดการด้านความยั่งยืน ซึ่ง สาธารณชนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ โดยมีความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ตลอดจนมีการพิจารณาประเด็น ทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม คุณภาพ สุขอนามัย ความปลอดภัยและความงดงาม โดยแผนยุทธศาสตร์นั้นได้รับ การพัฒนาจากกระบวนการมี ส่วนร่วมของประชาชน
A2 ยุทธศาสตร์การจัดการแหล่งท่องเที่ยว และแผนปฏิบัติการ (Destination management strategy and action plan) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการจัดท�ำและใช้แผน ยุทธศาสตร์การจัดการแหล่งท่องเที่ยวระยะยาว และมีแผนปฏิบัติการที่เหมาะสมและสามารถเปิดเผย ให้สาธารณชนรับทราบได้ - โดยการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ จะต้องด�ำเนินการผ่านการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย และอยู่บนหลักการของความยั่งยืน - แผนยุทธศาสตร์จะต้องมีการระบุถึงและการประเมิน สินทรัพย์ด้านการท่องเที่ยวและควรมีการพิจารณา ถึงประเด็นและความเสี่ยงด้านสังคม-เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม - แผนยุทธศาสตร์จะต้องมีส่วนเกี่ยวข้องต่อนโยบาย และมีอิทธิพลต่อและการท�ำงานในด้านการพัฒนา ความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยวในภาพกว้างอีกด้วย
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
a. เอกสารหลักฐานที่แสดงถึงการ จัดตั้งหรือโครงสร้างของคณะบุคคล ที่ได้รับมอบหมายและอ�ำนาจหน้าที่ ของคณะบุคคลนั้น b. แผนการเงินและงบประมาณ ที่แสดงให้เห็นแหล่งที่มาของเงิน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต c. หลักฐานที่แสดงถึงการมีความ เชื่อมโยงและมีส่วนร่วมกับ หน่วยงานอื่นๆ d. รายชื่อพนักงานประจ�ำและ พนักงานชั่วคราว พร้อมระบุ ประสบการณ์ที่ตรงกับต�ำแหน่งงาน หน้าที่ e. แนวทางและกระบวนการการ จัดการที่แสดงถึงความตระหนักรู้ และการปฏิบัติตามหลักการความ ยั่งยืนและความโปร่งใสในการ ท�ำงานและการกระท�ำสัญญาใดๆ
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
D1 ความเสี่ยงทางด้านสิ่งแวดล้อม - แหล่งท่องเที่ยวได้ระบุความเสี่ยง ทางด้านสิ่งแวดล้อมและมีระบบ ในการจัดการความเสี่ยง GSTC-D Version 2.0
a. มีการเผยแพร่เอกสารแผน ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการของ แหล่งท่องเที่ยวฉบับที่ใช้ในปัจจุบัน b. แผนยุทธศาสตร์/แผนการท�ำงาน สามารถเข้าถึงได้ง่ายและสามารถ ค้นหาแบบ on-line ได้ c. มีหลักฐานของการหารือหรือ การประชุมร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย ในการออกแบบแผนงาน d. แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติ การมีการกล่าวถึงหลักการความ ยั่งยืนและการประเมินสินทรัพย์ ประเด็นและความเสี่ยงด้าน การท่องเที่ยว e. ระบุถึงความเกี่ยวโยงระหว่าง A6 คลังข้อมูลสถานที่และทรัพยากร แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติ ด้านการท่องเที่ยว การกับนโยบายการพัฒนา - แหล่งท่องเที่ยวควรมีการประเมิน ความยั่งยืนในภาพกว้าง (รวมถึง สถานที่ตลอดจนสภาพแวดล้อมที่ การบรรลุ SDGs) ยังคงอยู่อย่างสม�่ำเสมอ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งพื้นที่ทางธรรมชาติและ วัฒนธรรม
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
A2 มีหน่วยงานรับผิดชอบการ A1 ความรับผิดชอบด้านการจัดการแหล่งท่องเที่ยว บริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว (Destination Management responsibility) - แหล่งท่องเที่ยวมีหน่วยงาน - แหล่งท่องเที่ยวมีหน่วยงาน ส่วนงาน กลุ่ม หรือ ฝ่าย กลุ่ม หรือคณะกรรมการ คณะกรรมการ ที่มีประสิทธิภาพที่จะรับผิดชอบเป็น รับผิดชอบการประสานการบริหาร ผู้ประสานงานเพื่อสร้างการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน และ ซึ่งมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐและ ภาคประชาชน ภาคเอกชน โดยกลุ่มตัวแทนนี้ - กลุ่มบุคคลนี้จะต้องมีการก�ำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ มีขนาดที่เหมาะกับขนาดของ การก�ำกับดูแล และความสามารถในการลงมือ แหล่งท่องเที่ยว และมีการก�ำหนด ปฏิบัติงาน เพื่อจัดการประเด็นด้านสังคม-เศรษฐกิจ บทบาทหน้าที่ ภารกิจ และการ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ด�ำเนินงานในการบริหารจัดการ - ในการจัดการแหล่งท่องเที่ยว กลุ่มบุคคลนี้จะต้องได้รับ ประเด็นทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ งบประมาณที่เพียงพอ และสามารถท�ำงานร่วมกับ สังคม และวัฒนธรรม ทั้งนี้กจิ กรรม หน่วยงานหลากหลายรูปแบบได้ ต่างๆ ของกลุ่มมีงบประมาณที่ - กลุ่มบุคคลนี้จะต้องมีบุคลากรที่เพียงพอในการท�ำงาน เหมาะสม (รวมถึงจะต้องมีผู้มีประสบการณ์ในด้านความยั่งยืน ด้วย) และจะต้องปฏิบัติงานตามหลักการความยั่งยืน และมีความโปร่งใส
A(a) กรอบและโครงสร้างการจัดการ
ด้าน A การจัดการความยั่งยืน (Sustainable Management)
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
(การเทียบหลักเกณฑ์เป็นการแปลข้อมูลฉบับจาก GSTC-D Version 2.0)
ตารางแสดงตามเกณฑ์ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลกเปรียบเทียบทั้ง 2 Version และ SDGs
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
SDGs
SDGs
14 15
A3 การติดตามประเมินผล แหล่งท่องเที่ยว - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการติดตาม ประเมินผล รายงานผลให้ สาธารณชนรับทราบ และ ตอบสนองต่อประเด็นที่เกี่ยวข้อง กับสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การท่องเที่ยว และ สิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ ระบบ การติดตามประเมินผลดังกล่าว จะต้องได้รับการทบทวนและ ประเมินอย่างสม�่ำเสมอ
A3 การติดตามและการรายงานผล (Monitoring and reporting) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการสร้างระบบในการติดตาม ดูแล และตอบสนอประเด็นในเชิงเศรษฐกิจ-สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมรวมถึงตอบสนองต่อ ผลกระทบต่างๆ อันเกิดการจากท่องเที่ยว - การด�ำเนินงานและผลลัพธ์จากการด�ำเนินงานจะต้อง มีการก�ำกับดูแล ประเมิน และรายงานต่อสาธารณะ ให้ทราบอยู่เสมอ ทั้งนี้ระบบการติดตามจะต้องได้รับ การทบทวนและปรับปรุงอยู่เสมอ a. มีการก�ำหนดตัวชี้วัดเชิงปริมาณ เพื่อประเมินผลเชิงสังคม-เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม รวมถึง ระบุเป้าหมายที่ชัดเจน b. การประเมินผลตามตัวชีว้ ดั ทีก่ ำ� หนด ขึ้นจะต้องมีการบันทึกและรายงาน สู่สาธารณะอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง c. มีหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ของการติดตามดูแลและ การรายงานผลการด�ำเนินงาน และผลลัพธ์ที่ได้ d. มีเอกสารการแสดงถึงการทบทวน ระบบและติดตามดูแลที่เคยท�ำขึ้น ก่อนหน้านี้ และมีการก�ำหนดการ ส�ำหรับการทบทวนระบบในอนาคต
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
B4 รับฟังความคิดเห็นของชุมชน ท้องถิ่น - แรงบันดาลใจ ข้อห่วงใย และ ความพึงพอใจของคนท้องถิ่น ในเรื่องการบริหารจัดการแหล่ง ท่องเที่ยว ได้รับการประเมิน บันทึก และรายงานต่อ สาธารณะ อย่างสม�่ำเสมอ
GSTC-D Version 2.0
a. หลักฐานการสนับสนุนและ การอ�ำนวยความสะดวกให้เกิด การมีส่วนร่วมของสาธารณะ ในการวางแผนและการจัดการ แหล่งท่องเที่ยว b. ข้อมูลของประเภทและระดับ ของการมีส่วนร่วมนั้นๆ c. มีการส�ำรวจและมีกลไกอื่นๆ ที่จะ ได้มาซึ่งความเห็นและข้อเสนอแนะ ของผู้อยู่อาศัย ซึ่งครอบคลุม ประเด็นการท่องเที่ยว d. หลักฐานของการปฎิบัติการเพื่อ ตอบสนองต่อข้อเสนอแนะของ ผู้อยู่อาศัย e. มีโปรแกรมการให้ข้อมูล ให้ความรู้ และอบรมในเรื่องการท่องเที่ยว ให้แก่ผู้อยู่อาศัย
B3 การมีส่วนร่วมของสาธารณชน - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่สนับสนุน การมีส่วนร่วมของสาธารณชนใน การวางแผน และตัดสินใจในเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวอย่าง สม�่ำเสมอ
A5 การมีส่วนร่วมและข้อเสนอแนะของผู้อยู่อาศัย (Resident engagement and feedback) - แหล่งท่องเที่ยวมีการเปิดโอกาสและสนับสนุนให้ สาธารณชนมีส่วนในการวางแผนและจัดการ แหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน - มีการติดตามดูแลและรายงานให้สาธารณะทราบถึง ความปรารถนา ข้อกังวล และความพึงพอใจของชุมชน ท้องถิ่นที่มีต่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการจัดการ แหล่งท่องเที่ยว พร้อมกับมีการปฏิบัติงานเพื่อ ตอบสนองประเด็นนั้นๆ ของชุมชนท้องถิ่นอยู่เสมอ - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีระบบที่จะเสริมสร้าง ความเข้าใจให้แก่คนในท้องถิ่นเกี่ยวกับโอกาสและ ความท้าทายด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและสร้าง ขีดความสามารถของชุมชนเพื่อให้สามารถตอบสนอง ต่อโอกาสและความท้าทายนั้นๆ
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
accredited ก็ได้) โดยมีการตั้ง เป้าหมายขยายขอบข่ายให้กว้างขึ้น d. หลักฐานการสนับสนุนการเข้าสู่ ระบบการรับรองมาตรฐาน ความยั่งยืน e. รายชื่อของธุรกิจที่ได้รับการรับรอง มาตรฐานความยั่งยืนและมีการ ปรับปรุงรายชื่อให้ทันสมัยตลอด เวลา
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
GSTC-I Accredited ในกรณีที่ผู้ประกอบการนั้น มีขีดความสามารถที่ท�ำได้ - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการเผยแพร่รายชื่อ ผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองมาตรฐานความยั่งยืน
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
A4 การมีส่วนร่วมและการใช้มาตรฐานความยั่งยืน A11 มาตรฐานความยั่งยืน a. หลักฐานที่แสดงถึงการสื่อสาร ของผู้ประกอบการ (Enterprise engagement and - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการส่งเสริม ประเด็นด้านความยั่งยืนกับ sustainability standards) มาตรฐานเพื่อความยั่งยืนที่ ผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการให้ข้อมูลกับผู้ประกอบการ สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ GSTC อย่างสม�ำ่ เสมอ (สื่อ การประชุม ด้านการท่องเที่ยวในเรื่องประเด็นด้านความยั่งยืนอยู่ ส�ำหรับผู้ประกอบการ การพูดคุยโดยตรง ฯลฯ) เสมอ รวมถึงส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ แหล่งท่องเที่ยวมีฐานข้อมูล b. มีการสนับสนุนและให้ค�ำแนะน�ำ เหล่านั้นด�ำเนินกิจการให้มีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น ผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรอง ในเรือ่ งความยัง่ ยืนกับผูป้ ระกอบการ - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องสนับสนุนการน�ำเอามาตรฐาน มาตรฐานความยั่งยืนต่างๆ ด้านการท่องเทีย่ ว ความยั่งยืนมาใช้โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ เผยแพร่ให้สาธารณชนรับรู้ c. จ�ำนวนและร้อยละของธุรกิจ ผู้ประกอบการน�ำมาตรฐานที่ผ่าน GSTC-I Recognized ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานด้าน มาใช้ และเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐานที่ผ่าน ความยั่งยืน (GSTC recognized/
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
SDGs
SDGs
16 17
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
a. แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบตั กิ าร ของการจัดการแหล่งท่องเที่ยว จะต้องมีการจัดการฤดูกาลท่องเทีย่ ว และการกระจายตัวของนักท่องเทีย่ ว b. มีการติดตามดูแลตัวแปรปัจจัย ที่มีผลต่อปริมาณของนักท่องเที่ยว ตลอดทั้งปี รวมถึงในสถานที่ ท่องเที่ยวยอดนิยมด้วย c. มีการระบุถึงผลกระทบจากจ�ำนวน ของนักท่องเที่ยวและกิจกรรม การท่องเทีย่ ว โดยการท�ำการส�ำรวจ แบบสังเกตการณ์และสอบถาม ข้อคิดเห็นจากชุมชนและผูม้ สี ว่ นได้เสีย d. มีการจัดการการเคลื่อนไหว (Flow) ของนักท่องเที่ยวและผลกระทบ
A4 การบริหารจัดการฤดูกาล ท่องเที่ยว - แหล่งท่องเที่ยวมีการจัดเตรียม ทรัพยากรในการลดผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล ท่องเที่ยว โดยมีการด�ำเนินการ เพื่อสร้างสมดุลระหว่างความ ต้องการทางด้านเศรษฐกิจ ชุมชน สังคม วัฒนธรรม ตลอดจน สิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น เพื่อ วิเคราะห์โอกาสทางการท่องเที่ยว ตลอดปี
A8 การจัดการปริมาณนักท่องเที่ยวและกิจกรรม การท่องเที่ยว (Managing visitor volumes and activities) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีระบบในการจัดการ นักท่องเที่ยว โดยระบบนั้นจะต้องมีการทบทวน ปรับปรุงอยู่เสมอ - แหล่งท่องเที่ยวมีการด�ำเนินการติดตามดูแลและ จัดการปริมาณของนักท่องเที่ยวและปริมาณของ กิจกรรมการท่องเที่ยวมีการลดหรือเพิ่มปริมาณของ นักท่องเที่ยวและปริมาณของกิจกรรมการท่องเที่ยว หากมีความจ�ำเป็นตามความเหมาะสมของห้วงเวลา และสถานที่นั้นๆ ทั้งนี้ จะต้องศึกษาความสมดุล ระหว่างความต้องการของเศรษฐกิจ ชุมชม มรดก ทางวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในท้องถิ่นด้วย
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
A14 การส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ a. ข้อมูลและเอกสารโปรโมท - การส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยวฉบับปัจจุบันที่มี แหล่งท่องเที่ยวจะต้องค�ำนึงถึง เนื้อหาทีเ่ หมาะสม ความถูกต้องเที่ยงตรง ไม่ว่าจะ b. มีกระบวนการตรวจสอบความ เป็นการให้ข้อมูลในเรื่องของ ถูกต้องและความเหมาะสมของข้อมูล ผลิตภัณฑ์ การบริการและความ และการโปรโมทแหล่งท่องเที่ยว ยั่งยืนในการท่องเที่ยว ข้อความ c. หลักฐานทีแ่ สดงถึงการปรึกษา ประชาสัมพันธ์นั้นจะต้องสื่อออกไป หารือกับคนท้องถิ่นในแหล่ง ด้วยความจริงแท้และความเคารพ ท่องเที่ยว และหน่วยงานด้าน ต่อชุมชนท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ในการ จัดท�ำและน�ำเสนอเนื้อหาต่างๆ
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
A10 ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว a. มีการส�ำรวจ (และมีกลไกอื่นๆ) - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบติดตาม ที่จะได้มาซึ่งความคิดเห็นของ ประเมินผลความพึงพอใจของ นักท่องเที่ยว รวมถึงมีการรายงาน นักท่องเที่ยวที่สาธารณชนสามารถ ผลการส�ำรวจด้วย เข้าถึงได้ เพื่อที่จะด�ำเนินกา b. แบบส�ำรวจและข้อคิดเห็นหรือ ปรับปรุงให้เกิดความพึงพอใจแก่ ข้อเสนอแนะที่รวมถึงปฏิกิริยาของ นักท่องเที่ยว นักท่องเทีย่ วต่อประเด็นด้าน ความยั่งยืน c. หลักฐานของการปฏิบัติการ เพื่อตอบสนองต่อข้อค้นพบจาก การส�ำรวจหรือสอบถามความเห็น นักท่องเที่ยว d. ตัวอย่างของการให้ข้อมูลแก่ นักท่องเที่ยวในเรื่องของความยั่งยืน และการตอบสนองต่อประเด็นด้าน ความยั่งยืน
B6 ความตระหนักรู้และการศึกษา ด้านการท่องเที่ยว - แหล่งท่องเที่ยวมีกิจกรรมเพิ่มพูน ความเข้าใจในโอกาสและความ ท้าทายของการท่องเที่ยว รวมทั้ง ความส�ำคัญของความยั่งยืน ให้กับ ชุมชนที่เกี่ยวข้องอย่างสม�่ำเสมอ
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
GSTC-D Version 2.0
A7 การส่งเสริมการท่องเที่ยว และการให้ข้อมูล (Promotion and information) - การส่งเสริมการท่องเที่ยว และการให้ข้อมูลของ แหล่งท่องเที่ยวแก่นักท่องเที่ยวจะต้องถูกต้อง ตรงตามที่กล่าวไว้จริง ไม่ว่าจะในเรื่องของผลิตภัณฑ์ การบริการ และความยั่งยืน - ข้อความทางการตลาดและการสื่อสารอื่นๆ จะต้อง สะท้อนถึงคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยวนั้น และแสดงให้ เห็นถึงการมุ่งไปสู่ความยั่งยืน รวมถึงการปฏิบัติต่อ คนในท้องถิ่น ทั้งด้านวัฒนธรรมและธรรมชาติ ด้วยความเคารพ
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
A6 การมีส่วนร่วมและข้อเสนอแนะของนักท่องเที่ยว (Visitor engagement and feedback) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีระบบการติดตามดูแล และ รายงานความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อสาธารณชน ในเรื่องของคุณภาพและความยั่งยืนของประสบการณ์ ในแหล่งท่องเที่ยว และอาจต้องมีการตอบสนอง ในเชิงปฏิบัติหากจ�ำเป็น - แหล่งท่องเที่ยวมีการให้ข้อมูลประเด็นด้านความยั่งยืน แก่นักท่องเที่ยว พร้อมกับแนะน�ำบทบาทของ นักท่องเที่ยวว่าสามารถมีส่วนกับความยั่งยืนของ แหล่งท่องเที่ยวนั้นได้อย่างไร
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
SDGs
SDGs
18 19
A7 ข้อก�ำหนดในการวางแผน แหล่งท่องเที่ยว - แหล่งท่องเที่ยวมีแนวทาง ข้อบังคับ และ/หรือ นโยบายในการวางแผน ซึ่งเกิดจากการประเมินผลกระทบ ทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และ สังคม และบูรณาการกับแนวทาง การใช้พื้นที่ การออกแบบ การสร้าง และการรื้อถอนให้มี ความยั่งยืน ทั้งนี้แนวทาง ข้อบังคับ และ/หรือ นโยบายต้องได้รับการ ออกแบบเพื่อปกป้องรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและมรดกทาง วัฒนธรรม และจะต้องพัฒนาขึ้น โดยกระบวนการการมีส่วนร่วม ของท้องถิ่นและประชาสัมพันธ์ให้ สาธารณชนทราบและมีการบังคับ ใช้อย่างจริงจัง
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
A9 กฎระเบียบในการวางแผนและการควบคุม การพัฒนา (Planning regulations and development control) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีแนวทาง-การวางแผน กฎระเบียบ และ/หรือ นโยบาย ที่ควบคุมที่ตั้งและ ลักษณะของการพัฒนา โดยมีการประเมินผลกระทบ ทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม และบูรณาการการใช้ที่ดิน รวมถึงการออกแบบ การก่อสร้าง และการรื้อถอนของที่ดินอย่างยั่งยืน - กฎระเบียบยังจะต้องน�ำไปใช้กับการด�ำเนินงาน รวมถึงการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ และสัมปทานเพื่อ การท่องเที่ยว แนวทางกฎระเบียบและนโยบาย ต้องถูกสร้างขึ้นผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชน และมีการสื่อสารและบังคับใช้อย่างแพร่หลาย
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
a. ยุทธศาสตร์การจัดการแหล่ง ท่องเที่ยวและแผนปฏิบัติการ จะต้องระบุถึงและแก้ไขปัญหาเรื่อง สภาพภูมิอากาศ b. กฎระเบียบ แนวทาง และการ จัดสรรพื้นที่เพื่อการพัฒนาการ ท่องเทีย่ วและกิจกรรมการท่องเทีย่ ว รองรับผลพวงของการเปลี่ยนแปลง ของสภาพภูมิอากาศ c. มีการจัดท�ำการประเมินความเสี่ยง ทั้งในปัจจุบันและอนาคต และ รายงานให้สาธารณะทราบ d. หลักฐานการพิจารณาผลกระทบ และการช่วยส่งเสริมของระบบ นิเวศในท้องถิ่นในการปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ e. มีการสื่อสารข้อมูลการ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ สู่สาธารณะ
การพัฒนาการท่องเที่ยวเกิดขึ้น ในพื้นที่ของคนเหล่านั้น f. หลักฐานการสื่อสารและการบังคับ ใช้ นโยบาย/กฎระเบียบ/แนวทาง ในขั้นตอนการวางแผน การพัฒนา และการลงมือปฏิบัติ
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
a. มีการรวบรวมเอกสารพร้อมระบุชื่อ อกสารและวันที่ เช่น นโยบาย/ กฎระเบียบ/แนวทางที่เฉพาะ เจาะจงเพื่อการควบคุมการพัฒนา b. มีข้อก�ำหนดการประเมินผลกระทบ ที่ครอบคลุมในเรื่องสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม-วัฒนธรรม ในขอบข่ายที่เพียงพอที่สามารถ ระบุได้ถึงประเด็น ในเชิงระยะยาวของแหล่งท่องเที่ยว c. กฎระเบียบเฉพาะที่เกี่ยวกับ การให้เช่าอสังหาริมทรัพย์และ การด�ำเนินงานเพื่อการท่องเที่ยว พร้อมหลักฐานการน�ำไปปรับใช้ และการบังคับใช้ d. หลักฐานการมีส่วนร่วมของ สาธารณะในการพัฒนา นโยบาย/ กฎระเบียบ/แนวทางต่างๆ e. หลักฐานการปรึกษาหารือและ ความยินยอมจากคนพื้นเมืองหรือ กลุ่มชาติพันธุ์ เมื่อมีการเสนอหรือมี
e. กลยุทธ์การตลาดและการเลือก เป้าหมายทางการตลาดค�ำนึงถึง รูปแบบของการท่องเทีย่ ว ผลกระทบ ของกิจกรรมการท่องเที่ยว และ ความต้องการของแหล่งท่องเที่ยว
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
A10 การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของ A5 การปรับตัวต่อสภาวะความ สภาพภูมิอากาศ (Climate change adaptation) เปลีย่ นแปลงทางสภาพภูมิอากาศ - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องระบุความเสี่ยงและโอกาส - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบประเมิน ที่เกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ความเสีย่ งและโอกาสที่เกี่ยวข้อง - กลยุทธ์การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กับสภาวะความเปลี่ยนแปลงทาง มีไว้เพื่อเป็นแนวทาง ในการติดตั้ง การออกแบบ สภาพภูมอิ ากาศ โดยระบบนี้ การพัฒนา และการจัดการสิ่งอ�ำนวยความสะดวก สนับสนุนกลยุทธ์การตอบสนองต่อ ด้านการท่องเที่ยว สภาวะความเปลีย่ นแปลงทาง - ข้อมูลการคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงของสภาพ สภาพภูมิอากาศเพือ่ การพัฒนา ภูมิอากาศ รวมถึงจะต้องมีการเผยแพร่ข้อมูลความเสี่ยง การออกแบบ และการบริหาร ที่เกี่ยวข้องและสภาวะการณ์ในอนาคตให้แก่ผู้อยู่อาศัย จัดการสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ภาคธุรกิจ และนักท่องเที่ยวให้ได้ทราบ ระบบนี้เป็นส่วนหนึง่ ในความยั่งยืน และความสามารถในการฟื้นตัวของ แหล่งท่องเที่ยว โดยมีการให้ความรู้ เกี่ยวกับสภาวะความเปลี่ยนแปลง ทางสภาพภูมิอากาศแก่คนใน ท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
SDGs
SDGs
20 21
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
a. มีการจัดท�ำเอกสารแผนการลด ความเสี่ยง การจัดการวิกฤตการณ์ และแผนรับมือเหตุฉุกเฉิน ส�ำหรับ การท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว b. ในแผนมีการค�ำนึงถึงรูปแบบ ความเสี่ยงที่หลากหลาย ซึ่งรวมถึง ภัยธรรมชาติ การก่อการร้าย สุขอนามัย ภาวะขาดแคลน ทรัพยากร และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กับแหล่งท่องเที่ยวนั้น c. มีขั้นตอนการสื่อสารที่ระบุไว้เพื่อใช้ ในระหว่างและหลังเกิดเหตุฉุกเฉิน d. มีโปรแกรมส�ำหรับการให้ข้อมูล และการฝึกอบรมเกี่ยวกับการ จัดการความเสี่ยงและวิกฤตการณ์ แก่คนในท้องถิ่น
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
ประเมินผลและมีการรายงานให้ สาธารณชนรับรู้อย่างน้อยปีละหนึ่ง ครั้ง โดยมีการวัดผลและรายงาน ข้อมูลการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว รายได้ต่อห้องพัก การจ้างงาน และ การลงทุน เป็นประจ�ำ
B2 โอกาสการจ้างงานในท้องถิ่น - ผู้ประกอบการในแหล่งท่องเที่ยว เปิดโอกาสให้เกิดการจ้างงาน การ ฝึกอบรม ความปลอดภัยในการ ประกอบอาชีพ และรายได้ที่เป็น ธรรมอย่างเท่าเทียมส�ำหรับทุกคน
- มีการใช้มาตรวัดผลที่เหมาะสม เช่น ระดับจ�ำนวนของ นักท่องเที่ยว การใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว การจ้างงาน การลงทุน และหลักฐานอื่นๆ ที่แสดงถึงการกระจายตัว ของผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
B2 งานที่ดี และโอกาสทางอาชีพ (Decent work and career opportunities) - แหล่งท่องเที่ยวมีการส่งเสริมและสนับสนุนโอกาส ในการท�ำงานและการฝึกอบรมด้านการท่องเที่ยว - ผู้ประกอบการในแหล่งท่องเที่ยวมุ่งมั่นที่จะให้โอกาส ที่เท่าเทียมกันส�ำหรับการจ้างงานคนในท้องถิ่น การฝึกอบรมและความก้าวหน้าในการท�ำงาน รวมถึง การท�ำให้สภาพแวดล้อมการท�ำงานนั้นปลอดภัยและ มั่นคง และให้ค่าครองชีพที่เหมาะสมแก่ทุกคน
ของผลกระทบทางเศรษฐกิจ ที่หลากหลาย (เช่น จ�ำนวน นักท่องเทีย่ ว การใช้จา่ ย การจ้างงาน การลงทุน และการกระจายตัวของ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ในแหล่งท่องเที่ยว)
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
a. มีโปรแกรม/หลักสูตรฝึกอบรม ทักษะทีเ่ กีย่ วข้องให้แก่คนในท้องถิน่ b. มีแถลงการณ์หรือข้อสัญญาของ ผู้ประกอบการในการให้งานที่ดี/ และโอกาสในการประกอบอาชีพ c. มีการส่งเสริมให้มีการฝึกอบรม และโอกาสในการจ้างงานให้แก่ คนในท้องถิ่น รวมถึงผู้หญิง เยาวชน ชนกลุ่มน้อย และผู้ที่มี ความบกพร่อง d. มีช่องทางในการตรวจสอบสภาพ การท�ำงานและรับฟัง/จัดการ ความไม่พอใจของลูกจ้าง (เช่น การมีส่วนร่วมของสหภาพแรงงาน)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
B1 การติดตามประเมินผลทาง a. มีโปรแกรมการเก็บข้อมูลทาง เศรษฐกิจ รวบรวมเศรษฐกิจ - ผลประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจที่ b. มีรายงานประจ�ำปีของผลงานทาง เกิดจากการท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็น เศรษฐกิจที่เกิดจากการท่องเที่ยว ทางตรงหรือทางอ้อมที่เกิดในแหล่ง ทั้งทางตรงและทางอ้อม ท่องเที่ยวนั้น ต้องได้รับการติดตาม c. ข้อมูลจะต้องครอบคลุมมาตรวัดผล
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
B1 การวัดผลงานทางเศรษฐกิจจากการการท่องเที่ยว (Measuring the economic contribution of tourism) - มีการติดตามดูแลผลงานทางเศรษฐกิจที่เกิดจาก การท่องเที่ยวทั้งทางตรงและทางอ้อม และรายงาน ให้สาธารณะทราบ
B(a) การน�ำผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมาสู่ชุมชน (Delivering local economic benefits)
ด้าน B ความยั่งยืนด้านสังคม-เศรษฐกิจ (Socio-economic sustainability)
A11 การจัดการความเสี่ยงและวิกฤตการณ์ A13 การจัดการสภาวะวิกฤตและ (Risk and crisis management) เหตุฉกุ เฉิน - แหล่งท่องเที่ยวมีการลดความเสี่ยง การจัดการ - แหล่งท่องเที่ยวมีแผนการรับมือกับ วิกฤตการณ์ และแผนรับมือเหตุฉุกเฉินที่เหมาะสมกับ สภาวะวิกฤตและสภาวะฉุกเฉิน แหล่งท่องเที่ยวนั้น อย่างเหมาะสม โดยหลักแล้วคือ - มีการสื่อสารข้อมูล/รายละเอียดที่ส�ำคัญ ให้แก่ การสื่อสารให้ข้อมูลแก่ประชาชน ผู้อยู่อาศัย นักท่องเที่ยว และสถานประกอบการต่างๆ นักท่องเที่ยวและผูป้ ระกอบการ - มีการจัดท�ำขั้นตอนการด�ำเนินงานและเตรียมทรัพยากร เกี่ยวกับการท่องเทีย่ ว ซึ่งแผนการ ในการรับมือกับเหตุฉุกเฉิน เพื่อให้พร้อมต่อด�ำเนินการ ดังกล่าวจะต้องมีขั้นตอนชัดเจน ตามแผนอยู่เสมอและมีการปรับปรุงแผน/ขั้นตอนอยู่ มีการก�ำหนดเครื่องมือและการฝึก เป็นประจ�ำ ซ้อมส�ำหรับเจ้าหน้าที่ นักท่องเที่ยว และประชาชนท้องถิ่น อีกทั้งแผน ยังมีความเป็นปัจจุบันด้วย
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
SDGs
SDGs
22 23
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
a. มีข้อมูลอ้างอิงกฎหมาย (อ้างถึง มาตรา และวันประกาศใช้) ทีเ่ กีย่ วข้อง กับเรื่องสิทธิมนุษยชน การแสวงหา ผลประโยชน์สว่ นตน การเลือกปฏิบตั ิ และการล่วงละเมิดต่อบุคคลอื่น b. มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่ามีการ สื่อสารให้ข้อมูล และการบังคับใช้ กฎหมายตามข้อ a. และมีการให้ แนวทางปฏิบัติที่ดี (รวมถึงธุรกิจ ท่องเที่ยวและนักท่องเที่ยว) c. มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงและ ผลกระทบในเรื่องสิทธิมนุษยชน อย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งรวมถึงการค้า มนุษย์ การใช้แรงงานทาสสมัยใหม่ และการใช้แรงงานเด็ก d. แหล่งท่องเที่ยวและผู้มีส่วนส�ำคัญ ในภาคการท่องเที่ยวมีการลงนาม เกี่ยวกับจรรยาบรรณในการปกป้อง เด็กจากการล่วงละเมิดทางเพศ ในภาคการเดินทางและการท่องเทีย่ ว (Code of Conduct for the Protection of Children from Sexual Exploitation in Travel and Tourism)
c. การท�ำกิจกรรมอาสาสมัครและ การมีส่วนร่วมกับชุมชนนั้นต้อง ไม่เกี่ยวข้องกับการบุกรุกหรือ การเอารัดเอาเปรียบชุมชน
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
a. มีการส่งเสริมให้มีการสนับสนุน ชุมชนท้องถิ่นและกิจกรรมริเริ่ม ด้านความยั่งยืน ซึ่งด�ำเนินการโดย ผูป้ ระกอบการการท่องเทีย่ วในท้องถิน่ b. สนับสนุนและจัดให้มีโครงการ ที่ส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วม ในการสนับสนุนชุมชนท้องถิ่นและ กิจกรรมริเริ่มด้านความยั่งยืน
a. มีการให้ค�ำปรึกษา ให้การสนับสนุน ทางการเงิน หรือการสนับสนุนอื่นๆ ให้แก่ธรุ กิจ SMEs ด้านการท่องเทีย่ ว b. มีการช่วยเหลือด้านการเข้าถึง ตลาดการค้าให้แก่ธุรกิจ SMEs ด้านการท่องเที่ยว c. มีการสนับสนุนและช่วยเหลือ ผูป้ ระกอบการธุรกิจท่องเทีย่ วท้องถิน่ ให้ซื้อสินค้าและบริการในท้องถิ่น d. มีการริเริ่มการให้ความช่วยเหลือแก่ เกษตรกร ศิลปิน และผู้ผลิตอาหาร ในท้องถิ่น ในการเข้าสู่ห่วงโซ่ อุปทานของการท่องเที่ยว e. มีการระบุถึง การสนับสนุน และ การเปิดโอกาสให้ผลิตภัณฑ์และ งานศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นจ�ำหน่าย ให้แก่นกั ท่องเทีย่ วในแหล่งท่องเทีย่ ว
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
B5 การป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ B7 การป้องกันการแสวงหา และการเลือกปฏิบัติ (Preventing exploitation ประโยชน์โดยมิชอบ and discrimination) - แหล่งท่องเที่ยวมีกฎหมายและข้อ - แหล่งท่องเที่ยวต้องปฏิบัติตามมาตรฐานด้านสิทธิ ปฏิบัติที่ชัดเจนในการป้องกันการ มนุษยชนในระดับนานาชาติ แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบใน - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีกฎหมาย ข้อปฏิบัติ และแนวทาง รูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจผิด ในการปฏิบัติในการป้องกัน และรายงานถึงปัญหาด้าน กฎหมาย การค้าประเวณี หรือ การค้ามนุษย์ การใช้แรงงานเยี่ยงทาส และการค้าทาส การกระท�ำผิดต่อบุคคลใดๆ โดย และการค้าประเวณี หรือการแสวงหาผลประโยชน์ เฉพาะเด็ก เยาวชน ผู้หญิง และ โดยมิชอบในรูปแบบอื่น การเลือกปฏิบัติ และการรังแก ชนกลุม่ น้อย ทั้งนี้กฎหมายและข้อ บุคคลใดๆ โดยเฉพาะเด็ก วัยรุ่น ผู้หญิง กลุ่มเพศ ปฏิบัตไิ ด้รับการสื่อสารให้ ทางเลือก และชนกลุ่มน้อยอื่นๆ สาธารณชนได้รับรู้ - กฎหมายและข้อปฏิบัติจะต้องมีการสื่อสารแก่ สาธารณะและมีการบังคับใช้
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
B4 การสนับสนุนชุมชน (Support for community) B8 สนับสนุนชุมชน - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่เปิดโอกาสและสนับสนุนให้ - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่สนับสนุน ผู้ประกอบการ นักท่องเที่ยว และสาธารณชน และช่วยให้ผู้ประกอบการ มีส่วนร่วมในชุมชนและจัดกิจกรรมริเริ่มด้านความยั่งยืน นักท่องเที่ยว และสาธารณชน อย่างมีความรับผิดชอบ สามารถร่วมสนับสนุนโครงการ ของชุมชนและโครงการด้าน ความยั่งยืนต่างๆ
B(b) ผลกระทบต่อชุมชนและสวัสดิภาพของชุมชน (Social wellbeing and impacts)
B3 การสนับสนุนผู้ประกอบการท้องถิ่นและการค้า B9 สนับสนุนผู้ประกอบการท้องถิ่น ที่เป็นธรรม (Supporting local entrepreneurs และการค้าที่เป็นธรรม and fair trade) - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่สนับสนุน - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีระบบสนับสนุนให้รายได้จาก ผูป้ ระกอบการท้องถิ่นขนาดเล็ก การท่องเที่ยวหมุนเวียนอยู่ในระบบเศรษฐกิจของ และขนาดกลาง และส่งเสริม ท้องถิ่นโดยได้รับการสนับสนุนจากผู้ประกอบการ ผลิตภัณฑ์อย่างยั่งยืนของท้องถิ่น ท้องถิ่น ห่วงโซ่อุปทาน และการลงทุนอย่างยั่งยืน และหลักการการค้าที่เป็นธรรม - แหล่งท่องเที่ยวมีการสนับสนุนการพัฒนาและการซื้อ (Fair Trade) ซึ่งมีรากฐานบน ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นที่ยั่งยืนบนฐานของหลักการการค้า ทรัพยากรทางธรรมชาติและ ที่เป็นธรรม และสะท้อนถึงเอกลักษณ์ทางธรรมชาติและ วัฒนธรรมของท้องถิ่นซึ่งอาจ วัฒนธรรมของพื้นที่นั้น ซึ่งอาจจะครอบคลุมถึงอาหาร รวมถึงอาหาร และเครื่องดื่ม และเครื่องดื่ม การศิลปหัตถกรรม การแสดง สินค้า หัตถกรรม ศิลปะการแสดง การเกษตร และอื่นๆ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ฯลฯ
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
SDGs
SDGs
24 25
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
A9 การได้มาซึ่งที่ดินแหล่งท่องเที่ยว a. ในแหล่งท่องเที่ยว มีกฎหมาย - กฎหมายและกฎข้อบังคับอัน เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับเรื่องกรรมสิทธิ์ สืบเนื่องมาจากการได้มาซึ่งที่ดิน ในทรัพย์สิน และสิทธิในการได้มา แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการบังคับ และครอบครอง รวมถึงสิทธิในการ ใช้อย่างเคร่งครัด และสอดคล้องกับ เข้าถึงทรัพยากรต่างๆ (ชือ่ กฎหมาย สิทธิของชุมชนและคนพื้นเมืองมี มาตรา และวันที่ท่ปี ระกาศใช้) กระบวนการการรับฟังความคิดเห็น b. กฎหมายในข้างต้นมีการระบุ ของสาธารณชน และการย้ายถิ่น ในเรื่องสิทธิชุมชน และชนพื้นเมือง จะต้องท�ำภายใต้การยินยอมและ การปรึกษาหารือเพื่อรับฟังความ การจ่ายค่าชดเชยอย่างเป็นธรรม คิดเห็นสาธารณะ และการให้ออก และสมเหตุสมผล จากพื้นที่และตั้งถิ่นฐานใหม่ c. มีหลักฐานของการบังคับใช้ A12 ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ กฎหมายตามข้างต้นในบริบท - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบติดตาม ของการพัฒนาการท่องเที่ยวและ ป้องกันและตอบสนองต่อภัยทาง กิจกรรมการท่องเที่ยว ด้านอาชญากรรม ความปลอดภัย d. มีหลักฐานของการเข้าไปปรึกษา และสุขอนามัย ซึ่งมีการรายงานให้ ชุมชน การขอความยินยอม และ สาธารณชนรับรู้ การจ่ายค่าตอบแทน
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
GSTC-D Version 2.0
c. สิ่งอ�ำนวยความสะดวกด้าน การท่องเที่ยวที่ได้รับการตรวจสอบ ให้เป็นไปตามมาตรฐานความ ปลอดภัยและสุขอนามัย
ความสะดวกที่เกี่ยวข้องกับการ ท่องเที่ยวใดๆ ไม่สามารถเข้าถึงได้ สามารถใช้การออกแบบที่ค�ำนึงถึง ลักษณะของแหล่งท่องเที่ยว และ ความสมเหตุสมผลในการเข้าถึงได้
GSTC-D Version 2.0
a. มีข้อบังคับและมาตรฐานที่ เกี่ยวข้องกับสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ส�ำหรับผู้ต้องการความช่วยเหลือ เป็นพิเศษ ให้สามารถเข้าถึงสถานที่ ท่องเที่ยว สิ่งอ�ำนวยความสะดวก และการบริการ b. มีการใช้มาตรฐานการเข้าถึง สิ่งอ�ำนวยความสะดวกสาธารณะ ส�ำหรับผู้ต้องการความช่วยเหลือ เป็นพิเศษ c. มีข้อมูลเกี่ยวกับขอบเขต/สัดส่วน ของการเข้าถึงสถานที่ท่องเที่ยว และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่ ผู้ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ สามารถเข้าถึงได้ d. มีหลักฐานถึงการด�ำเนินการเพื่อ ปรับปรุงการเข้าถึงส�ำหรับผู้ที่ ต้องการความช่วยเหลือด้านการ เข้าถึงในรูปแบบที่หลากหลาย e. แหล่งท่องเที่ยวในภาพรวมจะต้อง มีการสื่อสารข้อมูลด้านสิ่งอ�ำนวย
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
B8 การเข้าถึงการท่องเที่ยวส�ำหรับคนทั้งมวล (Access for all) - สถานที่ท่องเที่ยว สิ่งอ�ำนวยความสะดวก และ การบริการ จะต้องเข้าถึงได้โดยคนทั้งมวล ทั้งนี้ต้อง ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ทั้งในเชิงธรรมชาติและ วัฒนธรรม ซึ่งคนทั้งมวลนั้นรวมถึงผู้ที่มีความบกพร่อง และคนที่มีความต้องการความช่วยเหลือหรือการเข้าถึง เป็นพิเศษ - ในกรณีที่แหล่งท่องเที่ยวและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ไม่สามารถเข้าถึงได้ในทันที จะต้องมีการออกแบบและ การแก้ไขปัญหาโดยค�ำนึงถึงความกลมกลืนของสถานที่ ท่องเที่ยว รวมถึงควรจัดให้มีที่พักส�ำหรับกลุ่มบุคคล ที่มีความต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ในราคา ที่สมเหตุสมผล - มีการให้ข้อมูลด้านการเข้าถึงของสถานที่ท่องเที่ยว สิ่งอ�ำนวยความสะดวก และบริการต่างๆ
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
B7 สวัสดิภาพและความปลอดภัย A8 การท�ำให้ทุกคนสามารถเข้าถึง a. แหล่งท่องเที่ยวมีการให้บริการด้าน (Safety and security) - แหล่งท่องเที่ยวและสิ่งอ�ำนวย ความปลอดภัยและสุขภาพเป็นที่ - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบเพื่อเฝ้าสังเกตการณ์ ป้องกัน ความสะดวกต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการ ยอมรับและใช้การได้ มีการรายงานต่อสาธารณชน และตอบสนองต่อประเด็น ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ วัฒนธรรม b. มีการศึกษาเพื่อก�ำหนดและจัดการ ด้านอาชญากรรม ความปลอดภัย และอันตรายที่มีต่อ และประวัติศาสตร์ทุกคนมีสิทธิ์ ความต้องการของนักท่องเที่ยวเพื่อ สุขภาพ โดยต้องจัดการให้เหมาะสมกับความต้องการ เข้าถึง ไม่ว่าจะเป็นผู้พิการหรือ ให้สามารถให้การบริการด้าน ของทั้งนักท่องเที่ยวและผู้คนในพื้นที่ ผู้ที่ต้องได้รับความช่วยเหลือพิเศษ สุขภาพและความปลอดภัยที่ หากแหล่งท่องเที่ยวและสิ่งอ�ำนวย สอดคล้องกับความต้องการได้
B6 กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและสิทธิทางกฎหมาย (Property and user rights) - มีการจัดท�ำเอกสารและบังคับใช้กฎหมายและ ข้อบังคับเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและสิทธิ ในการครอบครอง - กฎหมายและข้อบังคับเหล่านั้นต้องเคารพสิทธิชุมชน และชนพื้นเมือง และจะต้องมีการรับฟังความคิดเห็น จากสาธารณะด้วย - หากต้องมีการย้ายที่อยู่อาศัย ห้ามมิให้มีการด�ำเนินการ โดยไม่แจ้งข้อมูลให้ทราบล่วงหน้า และจะต้องมี การชดเชยอย่างเป็นธรรม และตรงไปตรงมา - กฎหมายและข้อบังคับเหล่านั้นต้องปกป้องสิทธิทาง กฎหมาย และสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากรที่ส�ำคัญ
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
SDGs
SDGs
26 27
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
a. มีการระบุชัดเจนและจัดท�ำคลัง ข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้อง ไม่ได้ b. ยกตัวอย่างงานเฉลิมฉลองทาง วัฒนธรรม และการให้ ประสบการณ์แก่นักท่องเที่ยว ที่เกี่ยวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรม ที่จับต้องไม่ได้ (งานแสดงอีเว้นท์ ผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น ฯลฯ) c. หลักฐานของการมีส่วนร่วมของ ชุมชนท้องถิ่นและชนพื้นเมือง ในการพัฒนาและส่งมอบ ประสบการณ์ให้กับนักท่องเที่ยว ที่เกี่ยวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรม ที่จับต้องไม่ได้ d. ข้อคิดเห็นจากนักท่องเที่ยวและ ชุมชนท้องถิ่นในการส่งมอบ ประสบการณ์เกี่ยวกับมรดกทาง วัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้
b. มีหลักฐานของการให้ข้อมูล กฎหมายดังกล่าว แก่ผู้ประกอบการ ธุรกิจท่องเที่ยวและนักท่องเที่ยว อย่างชัดเจน c. มีหลักฐานของการบังคับใช้ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
a. มีข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ ทางประวัติศาสตร์ใช้อ้างอิง ในแหล่งท่องเที่ยว โดยให้ระบุข้อ กฎหมาย มาตรา และวันที่ประกาศ
a. มีการจัดท�ำบัญชีข้อมูลรวบรวม ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม รวมถึง การประเมินคุณค่า และประเมิน ความเปราะบาง b. มีโปรแกรมการด�ำเนินงานเพื่อ ฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพย์สินทาง วัฒนธรรม c. มีกลไกส�ำหรับการใช้ประโยชน์ จากรายได้ทางการท่องเที่ยวเพื่อ สนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพย์สินทาง วัฒนธรรม
ความสะดวกส�ำหรับผู้ต้องการ ความช่วยเหลือเป็นพิเศษรวมอยูด่ ว้ ย f. ในจุดท่องเที่ยวหลักมีรายละเอียด จุดอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับ ผู้ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ อยู่ในข้อมูลส�ำหรับนักท่องเที่ยว
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
C3 มรดกที่จับต้องไม่ได้ (Intangible heritage) - แหล่งท่องเที่ยวมีการสนับสนุนการยกย่อง และการ ปกป้องมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ซึ่งรวมถึง ประเพณีท้องถิ่น ศิลปะ เพลง ภาษา อาหาร และ อัตลักษณ์และลักษณะเฉพาะของท้องถิ่นในมิติอื่นๆ - การน�ำเสนอ/แสดง การจ�ำลอง และการสื่อความหมาย ของวัฒนธรรมและประเพณีที่ยังคงอยู่นั้น จะต้องมี ความละเอียดอ่อน และให้ความเคารพ และจะต้องให้ คนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมและได้รับประโยชน์ ในขณะเดียวกันจะต้องมอบประสบการณ์ที่จริงแท้ แก่นักท่องเที่ยว
วัตถุทางประวัติศาสตร์และ โบราณคดี
C4 การปกป้องมรดกทางวัฒนธรรม - แหล่งท่องเที่ยวมีกฎหมายควบคุม การซื้อขาย แลกเปลี่ยน จัดแสดง หรือให้ของก�ำนัลที่เกี่ยวข้องกับ
C2 วัตถุทางวัฒนธรรม (Cultural artefacts) - แหล่งท่องเที่ยวมีกฎหมายที่ในการควบคุม การแลกเปลี่ยน การค้า การจัดแสดง หรือการให้ วัตถุทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีอย่างเหมาะสม
โดยมีการบังคับใช้กฎหมายและมีการให้ข้อมูลแก่ สาธารณชน รวมถึงผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว และนักท่องเที่ยวด้วย
C1 การปกป้องสถานที่ท่องเที่ยว - แหล่งท่องเที่ยวมีนโยบายและ ระบบที่จะประเมิน ฟื้นฟู และ อนุรักษ์สถานที่ท่องเที่ยวทั้ง เชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม ซึ่งรวมถึงมรดกสิ่งปลูกสร้าง (เชิงประวัติศาสตร์และโบราณคดี) และทิวทัศน์ของชนบทและเมือง
C1 การปกป้องทรัพย์สินทางวัฒนธรรม (Protection of cultural assets) - แหล่งท่องเที่ยวมีนโยบายและระบบเพื่อประเมินคุณค่า ฟื้นฟู และสงวนรักษาทรัพย์สินทางวัฒนธรรมที่รวมถึง มรดกที่เป็นสิ่งปลูกสร้าง และภูมิทัศน์เชิงวัฒนธรรม
C(a) การปกป้องมรดกทางวัฒนธรรม (Protecting cultural heritage)
ด้าน C ความยั่งยืนด้านวัฒนธรรม (Cultural sustainability)
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
SDGs
SDGs
28 29
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
a. มีการสื่อสาร/แจกข้อมูลเนื้อหา การสือ่ ความหมายในแหล่งท่องเทีย่ ว ด้วยรูปแบบที่นักท่องเที่ยวสามารถ เข้าถึงได้ก่อนเข้ามายังแหล่ง ท่องเที่ยวได้ b. มีหลักฐานให้เห็นว่าเนื้อหาการสื่อ ความหมายเหล่านั้นได้มาจาก การค้นคว้าวิจัยเป็นอย่างดีและ ถูกต้องแม่นย�ำ c. เนื้อหาการสื่อความหมายมีการระบุ คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
C7 การสื่อความหมายในแหล่งท่องเที่ยว C5 การสื่อความหมายสถานที่ท่อง (Site interpretation) เที่ยว - มีการจัดเตรียมเนื้อหาการสื่อความหมายที่ถูกต้อง - มีการให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับ เพื่อให้ความรู้ในแง่มุมที่มีความส�ำคัญแก่นักท่องเที่ยว สถานที่ทอ่ งเที่ยวทั้งเชิงธรรมชาติ ทั้งในเชิงวัฒนธรรมและเชิงธรรมชาติของสถานที่ และวัฒนธรรม ข้อมูลมีความ ท่องเที่ยวนั้น เหมาะสมในเชิงวัฒนธรรม ได้รับ - ข้อมูลที่ใช้สื่อความหมายมีความเหมาะสมในเชิง การพัฒนาจากการมีส่วนร่วมของ วัฒนธรรม และจัดท�ำโดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ชุมชน และได้รับการถ่ายทอด และสามารถสื่อสารด้วยภาษาที่เหมาะสมชัดเจนทั้งกับ ในภาษาทีน่ ักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ นักท่องเที่ยวและกับผู้คนในพื้นที่ สามารถเข้าใจได้
และจะต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพการเคลื่อนตัว C3 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว จัดการกับผลกระทบที่เกี่ยวกับ ของนักท่องเที่ยว (Visitor Flow) และลดผลกระทบ - แหล่งท่องเที่ยวมีการเผยแพร่และ ท่องเทีย่ วทีเ่ กิดขึน้ ภายในหรือโดยรอบ เชิงลบที่อาจเกิดขึ้น จัดเตรียมแนวทางที่จะท�ำให้นัก สถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม - แหล่งท่องเที่ยวมีคู่มือการปฏิบัติตนส�ำหรับนักท่องเที่ยว ท่องเที่ยวมีพฤติกรรมการท่องเที่ยว c. มีการเผยแพร่คู่มือการปฏิบัติตัว เมื่อเข้าชมแหล่งท่องเที่ยวที่มีความเปราะบาง รวมถึง ที่เหมาะสมในพื้นที่เปราะบางต่างๆ ส�ำหรับนักท่องเที่ยวเมื่อเข้าชม การเข้าชมการจัดแสดงทางวัฒนธรรม และมีการ แนวทางดังกล่าวได้รับการออกแบบ สถานที่ท่องเที่ยวที่เปราะบาง แจกจ่ายคูม่ อื ให้แก่นกั ท่องเทีย่ ว ผูป้ ระกอบการท่องเทีย่ ว ให้ช่วยลดผลกระทบในแง่ลบต่อ และเข้าชมการจัดแสดงอีเว้นท์ทาง และมัคคุเทศก์ทั้งก่อนและ ณ เวลาการเข้าชม แหล่งท่องเทีย่ วให้น้อยที่สุด และ วัฒนธรรมที่จัดท�ำขึ้น ตลอดจน สนับสนุนให้เกิดพฤติกรรมนักท่อง ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตน เที่ยวเชิงบวก ของนักท่องเทีย่ วเป็นระยะ d. มีหลักปฏิบัติส�ำหรับผู้ประกอบ การท่องเที่ยวและมัคคุเทศก์ และ/ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการ นักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรม e. มีการจัดฝึกอบรมส�ำหรับมัคคุเทศก์
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
a. มีการเฝ้าสังเกตการณ์การเคลื่อนตัว ของนักท่องเที่ยวและผลกระทบ ที่เกิดขึ้นในสถานที่ท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรม และมีการแบ่งปันข้อมูล ดังกล่าวไปยังแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ b. มีหลักฐานของการด�ำเนินการ
C6 การจัดการนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวทาง C2 การจัดการนักท่องเที่ยว วัฒนธรรม (Visitor management at cultural sites) - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการจัดการ - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีระบบจัดการนักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว รวมถึงมาตรการ ทั้งภายในและโดยรอบแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ในการอนุรักษ์ ปกป้อง และเชิดชู โดยค�ำนึงถึงคุณลักษณะของพื้นที่ ขีดความสามารถ ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม ในการรองรับ และความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
a. มีกฎหมายเกี่ยวข้องกับทรัพย์สิน ทางปัญญาในแหล่งท่องเที่ยว (ฉบับ มาตรา วันที่) b. มีการให้ข้อมูลในเรื่องทรัพย์สินทาง ปัญญาให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทางการท่องเที่ยว c. มีหลักฐานการได้รับการปกป้อง ของทรัพย์สินทางปัญญาที่ได้รับ การพัฒนาขึ้นเพื่อสร้าง ประสบการณ์ทางวัฒนธรรม
C6 ทรัพย์สินทางปัญญา - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่ก่อให้เกิด การป้องกันและคุ้มครองสิทธิ ในทรัพย์สินทางปัญญาของบุคคล และท้องถิ่น
C5 ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual property) - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการสร้างการมีส่วนร่วม ในการปกป้องและรักษาสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ของชุมชนและบุคคล
a. มีการติดตามการเข้าถึงแหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและ วัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่น b. มีหลักฐานการสร้างการมีส่วนร่วม กับชุมชนท้องถิ่นในเรื่องของ การเข้าถึงวิถีชีวิตปกติของชุมชน c. มีการด�ำเนินการเป็นพิเศษเพื่อ ปกป้องและ/หรือฟื้นฟูการเข้าถึง ของชุมชนท้องถิ่น
B5 การเข้าถึงทรัพยากรของคนใน ท้องถิ่น - แหล่งท่องเที่ยวมีการประเมิน ปกป้อง และหากจ�ำเป็น ก็ต้องมี การด�ำเนินการฟื้นฟูการเข้าถึง ทรัพยากรทั้งในแหล่งธรรมชาติ และวัฒนธรรมของคนในท้องถิ่น
C4 การเข้าถึงวิถีชีวิตปกติของชุมชน (Traditional access) - แหล่งท่องเที่ยวมีการติดตาม ปกป้อง และเมื่อมี ความจ�ำเป็นในการพิจารณาเพื่อพัฒนาการเข้าถึงจะ ด�ำเนินการฟื้นฟู หรือบูรณะซ่อมแซมเพื่อให้ชุมชน ท้องถิ่นได้มีวิถีชีวิตแบบปกติในการเข้าถึงแหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมได้เหมือนเดิม
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
GSTC-D Version 2.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
SDGs
SDGs
30 31
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
ถึงความส�ำคัญและความอ่อนไหว/ ความเปราะบางของสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว d. มีหลักฐานว่าคนในชุมชนมีส่วนร่วม ในการจัดท�ำเนื้อหาการสื่อความ หมายที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ e. เนือ้ หาการสือ่ ความหมาย ได้ถกู แปล ในภาษาทีเ่ หมาะสมกับนักท่องเทีย่ ว
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
C2 การจัดการนักท่องเที่ยว - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการจัดการ นักท่องเที่ยว รวมถึงมาตรการ ในการอนุรักษ์ ปกป้อง และเชิดชู ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม
D2 การจัดการนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ (Visitor management at natural sites) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีระบบจัดการนักท่องเที่ยว ทั้งภายในและโดยรอบแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ โดยค�ำนึงถึงคุณลักษณะของพื้นที่ ขีดความสามารถ ในการรองรับ และความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ และจะต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพการเคลื่อนตัวของ นักท่องเที่ยว (Visitor Flow) และลดผลกระทบเชิงลบ ที่อาจเกิดขึ้น - แหล่งท่องเที่ยวมีคู่มือการปฏิบัติตนส�ำหรับนักท่องเที่ยว เมื่อเข้าชมจุดท่องเที่ยวที่มีความเปราะบาง และมีการ แจกจ่ายคู่มือให้แก่นักท่องเที่ยวผู้ประกอบการท่องเที่ยว และมัคคุเทศก์ ทั้งก่อน และ ณ เวลาเข้าชม
e. มีกลไกส�ำหรับการใช้รายได้ทมี่ าจาก การท่องเที่ยวเพื่อสนับสนุนการ อนุรักษ์ทรัพย์สินทางธรรมชาติ f. มีการสือ่ สารให้ขอ้ มูลกับนักท่องเทีย่ ว และภาคธุรกิจในเรื่องของการลด การแพร่กระจายของสายพันธุ์พืช หรือสัตว์ต่างถิ่น
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
a. มีการเฝ้าสังเกตการณ์การเคลื่อนตัว ของนักท่องเที่ยวและผลกระทบ ที่เกิดขึ้นในสถานที่ท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ และมีการแบ่งปันข้อมูล ดังกล่าวไปยังแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ b. มีหลักฐานของการด�ำเนินการจัดการ C3 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว กับผลกระทบจากการท่องเที่ยว - แหล่งท่องเที่ยวมีการเผยแพร่ ที่เกิดขึ้นภายในหรือโดยรอบแหล่ง และจัดเตรียมแนวทางที่จะท�ำให้ ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ นักท่องเที่ยวมีพฤติกรรม c. มีการเผยแพร่คู่มือการปฏิบัติตัว การท่องเที่ยวที่เหมาะสมในพื้นที่ ส�ำหรับนักท่องเที่ยวเมื่อเข้าชม เปราะบางต่างๆ แนวทางดังกล่าว จุดท่องเที่ยวที่เปราะบาง และมี ได้รับการออกแบบให้ช่วยลด การติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตน ผลกระทบในแง่ลบต่อแหล่ง ของนักท่องเที่ยวเป็นระยะ ท่องเทีย่ วให้นอ้ ยทีส่ ดุ และสนับสนุน d. มีหลักปฏิบัติส�ำหรับผู้ประกอบการ ให้เกิดพฤติกรรมนักท่องเที่ยว ท่องเที่ยวและมัคคุเทศก์ และ/หรือ เชิงบวก ผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการ นักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติ
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
D1 การปกป้องสิ่งแวดล้อมที่มีความเปราะบาง D2 การปกป้องสิ่งแวดล้อมที่มีความ a. มีการจัดท�ำคลังข้อมูลแหล่งมรดก (Protection of sensitive environments) เปราะบาง และทรัพย์สินทางธรรมชาติ โดย - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีระบบเพื่อเฝ้าสังเกตการณ์ - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการติดตาม ระบุชนิด สถานะของการอนุรักษ์ ประเมิน และตอบสนองต่อผลกระทบจากการท่องเที่ยว ประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม และภาวะความเสีย่ ง/ความเปราะบาง ที่มีต่อสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ การสงวนรักษา ของการท่องเที่ยว ปกป้อง แหล่ง b. มีโปรแกรมการด�ำเนินงานเพื่อการ ระบบนิเวศ ถิ่นที่อยู่ และพันธุ์พืชหรือสัตว์ รวมถึง ทีอ่ ยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต สายพันธุ์ อนุรักษ์ความหลากหลายทาง ต้องป้องกันการเริ่มต้นและการแพร่กระจายของ และระบบนิเวศ และป้องกัน ชีวภาพ และมรดกทางธรรมชาติ สายพันธุ์พืชหรือสัตว์ต่างถิ่น การรุกรานของสายพันธุ์ต่างถิ่น c. มีโปรแกรมการด�ำเนินงานเพื่อ ก�ำจัดและควบคุมสายพันธุ์พืชหรือ สัตว์ต่างถิ่น d. มีด�ำเนินการระบุเฝ้าสังเกตการณ์ และบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก การท่องเที่ยวต่อความหลากหลาย ทางชีวภาพ และมรดกทาง ธรรมชาติ
D(a) การอนุรักษ์มรดกทางธรรมชาติ (Conservation of natural heritage)
ด้าน D ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental sustainability)
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
SDGs
SDGs
32 33
GSTC-D Version 2.0
a. มีกฎหมายเฉพาะทั้งในระดับ ระหว่างประเทศ ระดับชาติ และ ระดับท้องถิ่น รวมถึงมาตรฐาน และแนวทางปฏิบัติเพื่อใช้ในแหล่ง ท่องเที่ยวในการปกป้องสวัสดิภาพ สัตว์ และการอนุรักษ์สายพันธุ์พืช และสัตว์ b. มีการชี้แจงข้อมูลด้านกฎหมาย มาตรฐาน และแนวทางปฏิบัติให้ แก่ผู้ประกอบการท่องเที่ยว และ มัคคุเทศก์ c. มีระบบส�ำหรับตรวจสอบเงื่อนไข ของการครอบครองสัตว์ป่า และ สัตว์เลี้ยง รวมถึงการจัดที่อยู่อาศัย และการดูแล d. มีการออกใบอนุญาตและตรวจสอบ คุณสมบัติของบุคลากรที่รับผิดชอบ ในเรือ่ งของสัตว์ปา่ ทีอ่ ยูใ่ นครอบครอง e. มีการด�ำเนินการเพื่อส่งเสริม อนุสัญญา CITES ว่าด้วยการค้า ระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่า คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
D4 การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากพืชหรือสัตว์ D3 การปกป้องพืชพันธุ์และสัตว์ป่า และสวัสดิภาพสัตว์ (Species exploitation and - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่สอดคล้อง animal welfare) กับกฎหมายและมาตรฐานทั้งใน - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่ก�ำกับดูแลท�ำให้มั่นใจว่ามีการ ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับ ปฏิบัติตามกฎหมายท้องถิ่น กฎหมายระดับประเทศ นานาชาติในการล่า จับ จัดแสดง และกฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงมาตรฐานต่างๆ และซือ้ ขาย พืชพันธุ์และสัตว์ป่า เพื่อรับรองว่าสัตว์จะมีสวัสดิภาพที่ดี และมีการอนุรักษ์ สายพันธุ์ต่างๆ (สัตว์ พืช และสิ่งมีชีวิตทั้งหมด) ซึ่งรวมถึงการเลี้ยงหรือการจับ การซื้อขายแลกเปลี่ยน การแสดง และการขายสิ่งมีชีวิตจากป่าและสินค้า ที่ผลิตจากพันธุ์พืชและสัตว์ - ต้องไม่มีการได้มาซึ่งพันธุ์พืชหรือสัตว์ และไม่มีการ ขยายพันธุ์ และการกักขัง สัตว์ป่าชนิดใดๆ เว้นแต่ ได้รับอนุญาตอย่างถูกต้อง รวมถึงอยู่ในการดูแลของ บุคลากรที่มีความพร้อม และอยู่ภายใต้การด�ำเนินการ ตามข้อก�ำหนดที่เหมาะสม - การจัดที่อยู่อาศัย การดูแล และการจัดการทั้งสัตว์ป่า และสัตว์เลี้ยงทั้งหมดนั้น จะต้องให้เป็นไปตามมาตรฐาน สวัสดิภาพของสัตว์ขั้นสูงสุด
f. มีการให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว เกี่ยวกับการท�ำกิจกรรมท่องเที่ยว ที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในป่าซึ่งอาจเป็น อันตราย เช่น การสัมผัส และ การให้อาหาร เป็นต้น
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
e. สร้างความร่วมมือกับหน่วยงาน อนุรักษ์ในท้องถิ่นเพื่อระบุความ เสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่อาจจะเกิด ขึ้นจากการท่องเที่ยว และมี มาตรการลดความเสี่ยงเหล่านั้น f. มีการจัดฝึกอบรมส�ำหรับมัคคุเทศก์
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
a. มีข้อกฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายระดับประเทศ และ กฎหมายท้องถิ่นที่ใช้ในแหล่ง ท่องเทีย่ วในเรือ่ งของการท�ำกิจกรรม/ มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตในป่า b. มีการสนับสนุนให้ใช้มาตรฐานสากล ด้านการปกป้องสิ่งมีชีวิตในป่า ทั้งพันธุ์ที่อยู่ในน�้ำและบนบก c. มีการออกหลักปฏิบัติส�ำหรับการท�ำ กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งมีชีวิต ในป่ารวมถึงการส�ำรวจ ที่เป็นไป ตามมาตรฐานสากล d. มีระบบตรวจสอบการปฏิบัติตาม ข้อบังคับและหลักปฏิบัติในการ ด�ำเนินงานด้านการท่องเที่ยว e. มีการด�ำเนินการเพื่อเฝ้า สังเกตการณ์ความเป็นอยู่ของ สิ่งมีชีวิตในป่า และลดการรบกวน สิ่งมีชีวิตในป่าโดยเฉพาะในบริเวณ ที่มีการท�ำกิจกรรม
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
GSTC-D Version 2.0
D3 การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตในป่า (Wildlife interaction) - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบตรวจสอบการปฏิบัติตาม กฎหมายท้องถิ่น กฎหมายของชาติ และกฎหมาย ระหว่างประเทศ และมาตรฐานการมีปฏิสัมพันธ์และ ด�ำเนินกิจกรรม (ในรูปแบบใดก็ตาม) กับสิ่งมีชีวิตในป่า - กิจกรรมที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสัตว์ป่าที่อาศัยอยู่อย่าง อิสระนั้น จะต้องไม่มีการคุกคามและต้องมีการจัดการ เพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบไม่พึงประสงค์ต่อสัตว์เหล่านั้น โดยค�ำนึงถึงการด�ำรงชีวิตและพฤติกรรมของ สิ่งมีชีวิตในป่า
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
SDGs
SDGs
34 35
พลังงาน และการลดการพึ่งพา เชื้อเพลิงฟอสซิล
ตรวจวัด ติดตามดูแล และลดการใช้พลังงาน และมีการ รายงานผลการด�ำเนินงานต่อสาธารณชน
เช่น การส่งเสริมและสนับสนุนให้ใช้ ฉนวนกันความร้อน เป็นต้น c. มีการลงทุนในพลังงานทดแทน และควบคุมสัดส่วนร้อยละของ การจัดหา/การบริโภคทั้งหมด d. สนับสนุนและสร้างแรงกระตุ้น ในการตรวจสอบและลดการใช้ พลังงานโดยภาคธุรกิจต่างๆ
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
D6 การจัดการน�้ำ a. มีการให้ค�ำแนะน�ำและให้การ - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการส่งเสริม สนับสนุนการติดตามและควบคุม ให้ผู้ประกอบการมีการวัดผล เพื่อลดการใช้น�้ำของภาคธุรกิจ ติดตาม ลดผลกระทบและรายงาน b. มีการด�ำเนินการประเมินความเสี่ยง ให้สาธารณชนรับรู้ ในการบริโภคน�ำ้ เรื่องน�้ำอย่างสม�ำ่ เสมอ c. ในกรณีที่เรื่องน�้ำมีความเสี่ยงสูง ให้มีการตั้งเป้าหมาย และบังคับใช้ เป้าหมายการจัดการน�้ำ และมีการ รายงานต่อสาธารณชน d. ติดตามและควบคุมดูแล แหล่ง และปริมาณทรัพยากรน�้ำที่ใช้เพื่อ วัตถุประสงค์ในการท่องเที่ยว พร้อมทั้งติดตามและควบคุม ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับชุมชนและ ระบบนิเวศในท้องถิ่น ตลอดจน มีการส่งเสริมและตรวจสอบให้ ภาคธุรกิจท่องเทีย่ วการปฏิบัติตาม เป้าหมายการใช้น�้ำ
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
D6 การจัดการน�้ำ (Water stewardship) - แหล่งท่องเที่ยวต้องส่งเสริมให้ธุรกิจต่างๆ มีการ ตรวจวัด ติดตามดูแล และจัดการการใช้น�้ำ รวมถึง มีการรายงานต่อสาธารณชน - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีการประเมินความเสี่ยงด้านน�้ำ ในแหล่งท่องเที่ยว และจัดท�ำเป็นเอกสารเป็น ลายลักษณ์อักษร - ในกรณีที่เรื่องน�้ำมีความเสี่ยงสูงจะต้องมีการก�ำหนด เป้าหมายของการจัดการน�้ำและมีการก�ำกับภาคธุรกิจ เพื่อให้การใช้น�้ำของภาคท่องเที่ยวไม่ก่อให้เกิด ความขัดแย้งกับความต้องการน�้ำของชุมชนและระบบ นิเวศในท้องถิ่น
และพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ ในภาค การท่องเทีย่ ว และตรวจสอบให้ มัน่ ใจว่ามีการปฏิบตั ติ ามอนุสญ ั ญา ดังกล่าว f. มีการให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว ในการหลีกเลี่ยงการค้าสัตว์ใกล้ สูญพันธุ์ เช่น การซื้อของที่ระลึก ที่ท�ำจาก/ได้จากสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามประกาศของสหภาพระหว่าง ประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) หรือ อนุสัญญาว่าด้วย การค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิด สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (CITES) g. มีการบังคับใช้กฎหมายเพื่อเป็น การรับรองว่ากิจกรรมการล่าสัตว์ ใดๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ โดยได้รับการจัดการ อย่างเหมาะสมและเป็นไปตาม กฎหมายอย่างเข้มงวด เพื่อการ อนุรักษ์
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
D5 การอนุรักษ์พลังงาน a. มีการส่งเสริมและเผยแพร่ให้ - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการส่งเสริม สาธารณะทราบถึงเป้าหมายการใช้ ให้ผู้ประกอบการมีการวัดผล พลังงาน ติดตาม ลดผลกระทบและรายงาน b. มีโปรแกรมการด�ำเนินงานในการ ให้สาธารณชนรับรู้ ในการบริโภค เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
D5 การอนุรักษ์พลังงาน (Energy conservation) - แหล่งท่องเที่ยวมีเป้าหมายที่จะลดการใช้พลังงาน ปรับปรุงประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน รวมถึง เพิ่มการใช้พลังงานทดแทน - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการส่งเสริมให้ภาคธุรกิจ
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
SDGs
SDGs
36 37
ส�ำหรับใช้ในภาคการท่องเที่ยว หากเป็นไปได้และมีความเหมาะสม
ผลกระทบเชิงลบต่อประชากร ท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
GSTC-D Version 2.0
D10 การลดปริมาณขยะ a. มีโปรแกรมด�ำเนินการติดตามเรือ่ งขยะ - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการ โดยมีการตั้งเป้าหมาย และผลการ ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการลดขยะ ด�ำเนินงานทีเ่ ผยแพร่ตอ่ สาธารณชน น�ำกลับมาใช้ใหม่ และรีไซเคิลขยะ b. มีการประสานงานร่วมกับธุรกิจ ขยะที่ไม่ได้รับการน�ำกลับมาใช้ใหม่ ท่องเที่ยวในการจัดการรณรงค์/ หรือรีไซเคิลก็ต้องได้รับการจัดการ ให้ค�ำปรึกษา/การสนับสนุนการ อย่างปลอดภัยและยั่งยืน จัดการขยะซึง่ รวมถึงขยะเศษอาหาร c. มีการรณรงค์เพื่อลด/ก�ำจัดการใช้ วัสดุที่ใช้เพียงครั้งเดียวแล้วทิ้ง โดยเฉพาะพลาสติก d. มีโปรแกรมด�ำเนินการจัดการขยะ ในที่ท�ำงานของหน่วยงานภาครัฐ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก สาธารณะต่างๆ e. มีระบบที่รวบรวมและรีไซเคิลขยะ อย่างน้อยสี่ประเภท (เช่น วัตถุ อินทรีย์ กระดาษ โลหะ แก้ว และ พลาสติก) f. จัดให้มีระบบที่ยั่งยืนส�ำหรับการ ก�ำจัดขยะที่ตกค้าง g. มีการรณรงค์ให้เลิกการทิ้งขยะ นอกจุดทิ้งและรักษาความสะอาด ของพื้นที่สาธารณะ h. มีถงั ขยะเพียงพอส�ำหรับการแยกขยะ คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
D9 ขยะมูลฝอย (Solid waste) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการตรวจวัด และรายงาน ปริมาณขยะที่เกิดขึ้น และมีการตั้งเป้าหมายในการลด ปริมาณขยะ - ขยะมูลฝอยได้รับการจัดการอย่างถูกต้องและมีการลด การฝังกลบขยะด้วยการจัดให้มีระบบคัดแยกและ จัดเก็บขยะแบบแยกประเภทและมีระบบรีไซเคิลที่มี ประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถแยกขยะได้อย่างมี ประสิทธิภาพตามชนิดของขยะ - แหล่งท่องเที่ยวมีการส่งเสริมให้ภาคธุรกิจหลีกเลี่ยง การสร้างขยะ และให้มีการลดจ�ำนวนขยะ น�ำขยะ กลับมาใช้ใหม่ และรีไซเคิลขยะ ซึ่งรวมถึงขยะที่เป็น เศษอาหารด้วย - มีการด�ำเนินการเพื่อก�ำจัดหรือลดการใช้วัสดุที่ใช้เพียง ครั้งเดียวแล้วทิ้งโดยเฉพาะพลาสติก - ขยะที่เหลืออยู่ที่ไม่ได้น�ำมาใช้ซ�้ำหรือรีไซเคิลต้อง ได้รับการก�ำจัดอย่างปลอดภัยและยั่งยืน
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
a. มีการจัดท�ำแนวทางปฏิบัติและ ข้อบังคับที่เป็นลายลักษณ์อักษร เกี่ยวกับการบ�ำบัดน�้ำเสีย b. มีระบบของการบังคับใช้แนวทาง ปฏิบัติในกลุ่มผู้ประกอบการ c. มีการติดตามตรวจสอบ/ทดสอบ น�้ำเสียที่ปล่อยทิ้งแล้ว d. มีการจัดตั้งระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย อย่างยั่งยืนชั่วคราวในระดับท้องถิ่น
D9 การบ�ำบัดน�้ำเสีย - แหล่งท่องเที่ยวมีแนวทางที่ชัดเจน และใช้ได้จริงส�ำหรับการก�ำหนด พื้นที่ การบ�ำรุงรักษา และการ ทดสอบการปลดปล่อยน�้ำเสียจาก บ่อเกรอะ และระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย มีการควบคุมให้มีการบ�ำบัดน�้ำเสีย และน�ำกลับไปใช้ใหม่ หรือ ปลดปล่อยอย่างปลอดภัย โดยมี
D8 น�้ำเสีย (Wastewater) - แหล่งท่องเที่ยวมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนและมีการ ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวนั้นในเรื่องของการตั้ง การดูแลรักษา และการทดสอบการระบายจาก บ่อเกรอะ และจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย - แหล่งท่องเที่ยวต้องสร้างความมั่นใจว่าน�้ำเสียเหล่านั้น จะได้รับการบ�ำบัดและน�ำกลับมาใช้ หรือถูกปล่อยทิ้ง อย่างปลอดภัยโดยไม่มีผลกระทบเชิงลบกับคนและ สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
a. มีโปรแกรมการด�ำเนินการติดตาม คุณภาพน�้ำ b. มีข้อมูลและมีการรายงานเกี่ยวกับ คุณภาพน�้ำ c. มีการตรวจสอบน�้ำที่ใช้ส�ำหรับอาบ ด้วยมาตรฐานการรับรองและระบุ สถานที่ตามมาตรฐานทีก�ำหนดไว้ d. มีการด�ำเนินการเพื่อปรับปรุง คุณภาพน�้ำ e. มีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพน�้ำ ดื่มในท้องถิ่นแก่นักท่องเที่ยว เพื่อส่งเสริมการใช้เป็นทางเลือก แทนน�้ำดื่มบรรจุขวด
e. มีการให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยวใน เรื่องความเสี่ยงของน�้ำ และขอให้มี การใช้น�้ำเท่าที่จ�ำเป็น
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
D8 คุณภาพน�้ำ - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการ ตรวจสอบคุณภาพของน�้ำที่ใช้ บริโภค และน�้ำที่ใช้ในกิจกรรม นันทนาการต่างๆ โดยมาตรฐาน คุณภาพน�้ำ ผลการติดตามประเมิน ผลสามารถเข้าถึงได้โดยสาธารณชน และแหล่งท่องเที่ยวมีระบบการ รับมือกับประเด็นเรื่องคุณภาพน�้ำ ที่ทันท่วงทีภายในเวลาที่เหมาะสม
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
GSTC-D Version 2.0
D7 คุณภาพน�้ำ (Water quality) - แหล่งท่องเที่ยวมีการตรวจสอบคุณภาพน�้ำดื่ม น�้ำเพื่อนันทนาการ และน�้ำที่ใช้ทางนิเวศวิทยา โดยใช้มาตรฐานคุณภาพน�้ำ - แหล่งท่องเที่ยวมีการรายงานผลต่อสาธารณชน และมีระบบที่สามารถตอบสนองต่อปัญหาเกี่ยวกับ คุณภาพน�้ำที่เกิดขึ้นอย่างทันท่วงที
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
SDGs
SDGs
38 39
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
แหล่งท่องเที่ยว c. มีการเก็บข้อมูลของนักท่องเที่ยว ที่เลือกใช้การขนส่งทางเลือก d. มีการพัฒนาและสนับสนุน ให้มีการปั่นจักรยานและการเดิน e. ให้ความส�ำคัญกับกลุ่มตลาด นักท่องเที่ยวที่สนใจตัวเลือก การขนส่งระยะสั้นและยั่งยืนยิ่งขึ้น f. หน่วยงานภาครัฐและธุรกิจ ท่องเที่ยวควรให้ความส�ำคัญกับ การใช้การขนส่งที่มีผลกระทบต�่ำ ภายในหน่วยงานของตนเอง
ตัวชี้วัด GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
D11 มลภาวะทางแสงและเสียง a. มีการจัดท�ำแนวทางปฏิบัติในเรื่อง - แหล่งท่องเที่ยวมีแนวทางและ มลภาวะทางแสงและเสียง และ ข้อบังคับในการลดมลภาวะ แจกจ่ายให้ภาคธุรกิจ ทางเสียงและแสง แหล่งท่องเที่ยว b. มีการระบุและเฝ้าสังเกตการณ์จุด/ ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ แหล่งที่มีความเป็นไปได้ในการ ปฏิบตั ติ ามแนวทางและข้อบังคับนัน้ ก่อให้เกิดมลภาวะทางแสงและเสียง ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว c. มีกลไกที่จะให้ผู้คนในพื้นที่สามารถ รายงานเกี่ยวกับมลภาวะทางแสง และเสียง พร้อมกับการปฏิบัติงาน ที่ตอบสนองรายงานนั้นและ สามารถติดตามผลได้
เกณฑ์ GSTC-D Version 1.0
D12 ระบบขนส่งที่ส่งผลกระทบต�่ำ a. มีการลงทุนกับโครงสร้างพื้นฐาน - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการเพิ่ม ด้านการขนส่งที่มีความยั่งยืนยิ่งขึ้น การใช้ระบบขนส่งทีส่ ง่ ผลกระทบต�ำ ่ ซึ่งรวมถึงการขนส่งสาธารณะ และ รวมถึงระบบขนส่งสาธารณะ และ ยานพาหนะที่ปล่อยมลพิษต�่ำ ระบบขนส่งที่ไม่ต้องใช้พลังงาน b. มีการให้ขอ้ มูลโปรโมทการขนส่ง เช่น การเดิน หรือปั่นจักรยาน ทางเลือกต่างๆ ในการเดินทาง มายังแหล่งท่องเที่ยว และภายใน
a. มีการประกาศเป้าหมายในการลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดย ก�ำหนดร้อยละของการลด และวัน ในการวัดผล b. มีการจัดท�ำรายงานสภาพอากาศ ประจ�ำปี รวมถึงการเฝ้าสังเกตการณ์ และการปฏิบัติงานเพื่อผลกระทบ ต่างๆ c. มีการสนับสนุนการรณรงค์หรือ การมีส่วนร่วมในรูปแบบต่างๆ กับ ธุรกิจท่องเที่ยวในการลดและ บรรเทาการปล่อยก๊าซเรือนกระจก d. หน่วยงานภาครัฐมีการด�ำเนินการ ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก e. มีการให้ข้อมูลในเรื่องของ แผนรายการการชดเชย (offset) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มี มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ให้แก่ ภาคธุรกิจต่างๆ และนักท่องเที่ยว
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
D12 มลภาวะทางแสงและเสียง (Light and noise pollution) - แหล่งท่องเที่ยวมีแนวทางปฏิบัติและข้อบังคับ ในการลดมลภาวะทางแสงและเสียง - แหล่งท่องเที่ยวมีส่งเสริมให้ภาคธุรกิจต่างๆ ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติและข้อบังคับนั้น
การเดินทางแบบใช้แรงตัวเอง (Active travel - เช่น การเดินและปั่นจักรยาน) เพื่อให้ภาคการท่องเที่ยว ลดการปลดปล่อยมลพิษทางอากาศ ลดความคับคั่ง ของการจราจร และลดการเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมิอากาศ
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
D11 การขนส่งที่มีผลกระทบต�่ำ (Low-impact transportation) - แหล่งท่องเที่ยวมีเป้าหมายในการลดการปล่อยมลพิษ จากการขนส่งในการเดินทางมายังแหล่งท่องเที่ยว และภายในแหล่งท่องเที่ยว - มีการเพิ่มการน�ำพาหนะและการขนส่งสาธารณะ ที่ยั่งยืน และปล่อยมลพิษต�่ำมาใช้งาน รวมถึง
D10 การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก D4 การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก และบรรเทาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการส่งเสริม (GHG emissions and climate change mitigation) ให้ผู้ประกอบการมีการวัดผล - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีเป้าหมายในการลดการปล่อยก๊าซ ติดตาม ลดผลกระทบและรายงาน เรือนกระจก รวมถึงด�ำเนินการและรายงานผลตาม ให้สาธารณชนรับรู้ ในการลด นโยบายและการปฏิบัติงานในการลดการปล่อยก๊าซ การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก เรือนกระจก จากการด�ำเนินการด้านต่างๆ - ควรมีการสนับสนุนให้ภาคธุรกิจต่างๆ มีการตรวจวัด (รวมถึงการปลดปล่อยจากผู้ให้ ติดตามดูแล ลด หรือปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ บริการต่างๆ) น้อยที่สุด จากทุกมิติของการด�ำเนินธุรกิจ (รวมถึงจากซัพพลายเออร์และผู้ให้บริการด้วย) และมีการรายงานต่อสาธารณชน - ควรมีการสนับสนุนให้มีการชดเชย (offset) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ยังไม่สามารถลดได้
เกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
SDGs
SDGs
รายละเอียดเกณฑ์การประเมินของ GSTC-D Version 2.0
40
การจัดการความยั่งยืน (Sustainable Management)
หมวด A :
ระบบการจัดการความยั่งยืน 11 หลักเกณฑ์
หมวด D :
ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม 12 หลักเกณฑ์
ผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ และสังคม 8 หลักเกณฑ์
B
A D
C
หมวด C :
ผลกระทบทางวัฒนธรรม 7 หลักเกณฑ์
หมวด A: การจัดการความยั่งยืน
หมวด B: ความยั่งยืนด้านสังคม-เศรษฐกิจ
มี 11 หลักเกณฑ์ ประกอบด้วย A1 ความรับผิดชอบด้านการจัดการแหล่งท่องเที่ยว A2 ยุทธศาสตร์การจัดการแหล่งท่องเที่ยวและ แผนปฏิบัติการ A3 ติดตามและการรายงาน A4 การมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการ A5 การมีส่วนร่วมของผู้อยู่อาศัย A6 การมีส่วนร่วมของนักท่องเที่ยว A7 การส่งเสริมการท่องเที่ยว และการให้ข้อมูล A8 การจัดการปริมาณนักท่องเที่ยวและกิจกรรม การท่องเที่ยว A9 กฎระเบียบในการวางแผนและการควบคุมการพัฒนา A10 การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ A11 การจัดการความเสี่ยงและวิกฤตการณ์
มี 8 หลักเกณฑ์ ประกอบด้วย B1 การวัดผลงานทางเศรษฐกิจจากการท่องเที่ยว B2 งานที่ดี และโอกาสทางอาชีพ B3 การสนับสนุนผู้ประกอบการท้องถิ่นและการค้า ที่เป็นธรรม B4 การสนับสนุนชุมชน B5 การป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ และการเลือกปฏิบัติ B6 กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและสิทธิทางกฎหมาย B7 สวัสดิภาพและความปลอดภัย B8 การเข้าถึงการท่องเที่ยวส�ำหรับคนทั้งมวล
หมวด C: ความยั่งยืนด้านวัฒนธรรม มี 7 หลักเกณฑ์ ประกอบด้วย C1 การปกป้องทรัพย์สินทางวัฒนธรรม C2 วัตถุทางวัฒนธรรม C3 มรดกที่จับต้องไม่ได้ C4 การเข้าถึงวิถีปกติของชุมชน C5 ทรัพย์สินทางปัญญา C6 การจัดการนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรม C7 การสื่อความหมายในแหล่งท่องเที่ยว
หมวด D: ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม มี 12 หลักเกณฑ์ ประกอบด้วย D1 การปกป้องสิ่งแวดล้อมที่มีความเปราะบาง D2 การจัดการนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ D3 การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตในป่า D4 การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากพืชหรือสัตว์ และสวัสดิภาพสัตว์ D5 การอนุรักษ์พลังงาน D6 การจัดการน�้ำ D7 คุณภาพน�้ำ D8 น�้ำเสีย D9 ขยะมูลฝอย D10 การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และบรรเทา การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ D11 การขนส่งที่มีผลกระทบต�่ำ D12 มลภาวะทางแสงและเสียง
A1 ความรับผิดชอบด้านการจัดการ แหล่งท่องเที่ยว (Destination Management responsibility)
แหล่งท่องเทีย่ วมีหน่วยงาน ส่วนงาน กลุม่ หรือ คณะกรรมการ ที่มีประสิทธิภาพที่จะรับผิดชอบ เป็นผู้ประสานงานเพื่อสร้างการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน กลุ่มบุคคลนี้จะต้องมีการ ก�ำหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ การก�ำกับดูแล และ ความสามารถในการลงมือปฏิบตั งิ าน เพือ่ จัดการ ประเด็นด้านสังคม-เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และ สิง่ แวดล้อม ในการจัดการแหล่งท่องเที่ยว กลุ่มบุคคลนี้ จะต้องได้รับงบประมาณที่เพียงพอ และสามารถ ท�ำงานร่วมกับหน่วยงานหลากหลายรูปแบบได้ กลุ่มบุคคลนี้จะต้องมีบุคลากรที่เพียงพอในการ ท�ำงาน (รวมถึงจะต้องมีผู้มีประสบการณ์ในด้าน ความยั่ ง ยื น ด้ ว ย) และจะต้ อ งปฏิ บั ติ ง านตาม หลักการความยั่งยืน และมีความโปร่งใส ข้อบ่งชี้: IN-A1.a. มีเอกสารหลักฐานที่แสดงถึงการจัดตั้ง หรือโครงสร้างของคณะบุคคลที่ได้รับ มอบหมายและอ�ำนาจหน้าที่ของคณะ บุคคลนั้น IN-A1.b. มีแผนการเงินและงบประมาณทีแ่ สดงให้ เห็นแหล่งที่มาของเงินได้ทั้งในปัจจุบัน และอนาคต
IN-A1.c. มีหลักฐานทีแ่ สดงถึงการมีความเชือ่ มโยง และมีส่วนร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ IN-A1.d. มีรายชื่อพนักงานประจ�ำและพนักงาน ชั่วคราว พร้อมระบุประสบการณ์ที่ตรง กับต�ำแหน่งงานหน้าที่ IN-A1.e. มีแนวทางและกระบวนการการจัดการ ที่ แ สดงถึ ง ความตระหนั ก รู ้ แ ละการ ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การความยั่ ง ยื น และ ความโปร่ ง ใสในการท� ำ งานและการ กระท�ำสัญญาใดๆ
A2 ยุทธศาสตร์การจัดการ แหล่งท่องเที่ยวและแผนปฏิบัติการ (Destination management strategy and action plan)
แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วจะต้ อ งมี ก ารจั ด ท� ำ และใช้ แผนยุ ท ธศาสตร์ ก ารจั ด การแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว เที่ยวระยะยาว และมีแผนปฏิบัติการที่เหมาะสม และสามารถเปิดเผยให้สาธารณชนรับทราบได้ โดยการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบตั กิ าร จะต้ อ งด� ำ เนิ น การผ่ า นการมี ส ่ ว นร่ ว มของผู ้ มี ส่วนได้เสียและอยู่บนหลักการของความยั่งยืน แผนยุทธศาสตร์จะต้องมีการระบุถึงและการ ประเมินสินทรัพย์ด้านการท่องเที่ยวและควรมี การพิจารณาถึงประเด็นและความเสีย่ งด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงจะ ต้องมีส่วนเกี่ยวข้องต่อนโยบายและมีอิทธิพลต่อ การท� ำ งานในด้ า นการพั ฒ นาความยั่ ง ยื น ของ แหล่งท่องเที่ยวในภาพกว้างอีกด้วย
GSTC-D Version 2.0
หมวด B :
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
แบ่งออกเป็น 4 หมวด มี 38 เกณฑ์ย่อย ดังนี้
หมวด A
41
A4 การมีส่วนร่วมและการใช้มาตรฐาน ความยั่งยืนของผู้ประกอบการ (Enterprise engagement and sustainability standards)
แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วจะต้ อ งมี ก ารให้ ข ้ อ มู ล กั บ ผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวในเรื่องประเด็น ด้ า นความยั่ ง ยื น อยู ่ เ สมอ รวมถึ ง ส่ ง เสริ ม และ สนับสนุนให้ผปู้ ระกอบการเหล่านัน้ ด�ำเนินกิจการ ให้มีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น แหล่งท่องเที่ยวจะต้องสนับสนุนการน�ำเอา มาตรฐานความยัง่ ยืนมาใช้ โดยเฉพาะการสนับสนุน A3 การติดตามและการรายงานผล ให้ผู้ประกอบการน�ำมาตรฐานที่ผ่าน GSTC-I (Monitoring and reporting) Recognized มาใช้ และเข้าสู่ระบบการรับรอง แหล่งท่องเทีย่ วจะต้องมีการสร้างระบบในการ มาตรฐานที่ผ่าน GSTC-I Accredited ในกรณีที่ ติดตามดูแล และตอบสนองประเด็นในเชิงเศรษฐกิจ ผูป้ ระกอบการนัน้ มีขดี ความสามารถทีท่ ำ� ได้ และ สังคม วัฒนธรรม และสิง่ แวดล้อมรวมถึงตอบสนอง แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการเผยแพร่รายชื่อผู้ ต่อผลกระทบต่างๆ อันเกิดจากการท่องเทีย่ ว ประกอบการทีไ่ ด้รบั การรับรองมาตรฐานความยัง่ ยืน การด�ำเนินงานและผลลัพธ์จากการด�ำเนินงาน จะต้องมีการก�ำกับดูแล ประเมิน และรายงานต่อ ข้อบ่งชี้: สาธารณะให้ทราบอยูเ่ สมอ ทัง้ นีร้ ะบบการติดตาม IN-A4.a. หลักฐานที่แสดงถึงการสื่อสารประเด็น จะต้องได้รับการทบทวนและปรับปรุงอยู่เสมอ ด้านความยั่งยืนกับผู้ประกอบการด้าน การท่องเที่ยวอย่างสม�่ำเสมอ (สื่อ การ ข้อบ่งชี้: ประชุม การพูดคุยโดยตรง ฯลฯ) IN-A3.a. มี ก ารก� ำ หนดตั ว ชี้ วั ด เชิ ง ปริ ม าณเพื่ อ IN-A4.b. มีการสนับสนุนและให้คำ� แนะน�ำในเรือ่ ง ประเมินผลเชิงสังคมเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ความยั่งยืนกับผู้ประกอบการด้านการ และสิ่งแวดล้อม รวมถึงระบุเป้าหมาย ท่องเที่ยว ที่ชัดเจน IN-A4.c. จ�ำนวนและร้อยละของธุรกิจทีไ่ ด้รบั การ IN-A3.b. การประเมิ น ผลตามตั ว ชี้ วั ด ที่ ก� ำ หนด รับรองมาตรฐานด้านความยัง่ ยืน (GSTC ขึ้นจะต้องมีการบันทึกและรายงานสู่ recognized/ accredited ก็ได้) โดยมี สาธารณะอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง การตัง้ เป้าหมายขยายขอบข่ายให้กว้างขึน้
IN-A4.d. หลักฐานการสนับสนุนการเข้าสู่ระบบ การรับรองมาตรฐานความยั่งยืน IN-A4.e. รายชื่ อ ของธุ ร กิ จ ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รอง มาตรฐานความยัง่ ยืนและมีการปรับปรุง รายชื่อให้ทันสมัยตลอดเวลา
A6 การมีส่วนร่วมและข้อเสนอแนะของ นักท่องเที่ยว (Visitor engagement and feedback)
แหล่งท่องเทีย่ วจะต้องมีระบบการติดตามดูแล และรายงานความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อ สาธารณชนในเรื่องของคุณภาพและความยั่งยืน A5 การมีส่วนร่วมและข้อเสนอแนะของ ของประสบการณ์ในแหล่งท่องเทีย่ ว และอาจต้อง ผู้อยู่อาศัย (Resident engagement มีการตอบสนองในเชิงปฏิบัติหากจ�ำเป็น and feedback) แหล่งท่องเที่ยวมีการให้ข้อมูลประเด็นด้าน แหล่งท่องเทีย่ วมีการเปิดโอกาสและสนับสนุน ความยั่งยืนแก่นักท่องเที่ยว พร้อมกับแนะน�ำ ให้สาธาณชนมีส่วนในการวางแผนและจัดการ บทบาทของนักท่องเที่ยวว่าสามารถมีส่วนกับ แหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน มีการติดตาม ความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยวนั้นได้อย่างไร ดู แ ลและรายงานให้ ส าธารณะทราบถึ ง ความ ปรารถนา ข้อกังวล และความพึงพอใจของชุมชน ข้อบ่งชี้: ท้องถิ่นที่มีต่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการ IN-A6.a. มีการส�ำรวจ (และมีกลไกอื่นๆ) ที่จะได้ จัดการแหล่งท่องเทีย่ ว พร้อมกับมีการปฏิบตั งิ าน มาซึง่ ความคิดเห็นของนักท่องเทีย่ ว รวม เพือ่ ตอบสนองประเด็นนัน้ ๆ ของชุมชนท้องถิน่ อยู่ ถึงมีการรายงานผลการส�ำรวจด้วย เสมอ และจะต้องมีระบบที่จะเสริมสร้างความ IN-A6.b. แบบส�ำรวจและข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอ เข้า ใจให้แ ก่ค นในท้อ งถิ่นเกี่ยวกับโอกาสและ แนะที่รวมถึงปฏิกิริยาของนักท่องเที่ยว ความท้าทายด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและ ต่อประเด็นด้านความยั่งยืน สร้างขีดความสามารถของชุมชนเพื่อให้สามารถ IN-A6.c. หลักฐานของการปฏิบัติการเพื่อตอบ ตอบสนองต่อโอกาสและความท้าทายนั้นๆ สนองต่อข้อค้นพบจากการส�ำรวจหรือ สอบถามความเห็นนักท่องเที่ยว ข้อบ่งชี้: IN-A6.d. ตัวอย่างของการให้ขอ้ มูลแก่นกั ท่องเทีย่ ว IN-A5.a. หลักฐานการสนับสนุนและการอ�ำนวย ในเรือ่ งของความยัง่ ยืนและการตอบสนอง ความสะดวกให้เกิดการมีส่วนร่วมของ ต่อประเด็นด้านความยั่งยืน สาธารณะในการวางแผนและการจัดการ แหล่งท่องเที่ยว A7 การส่งเสริมการท่องเที่ยว IN-A5.b. ข้อมูลของประเภทและระดับของการ และการให้ข้อมูล (Promotion and มีส่วนร่วมนั้นๆ information) IN-A5.c. มีการส�ำรวจและมีกลไกอื่นๆ ที่จะได้มา การส่งเสริมการท่องเที่ยว และการให้ข้อมูล ซึ่งความเห็นและข้อเสนอแนะของผู้อยู่ ของแหล่งท่องเทีย่ วแก่นกั ท่องเทีย่ วจะต้องถูกต้อง อาศัย ซึง่ ครอบคลุมประเด็นการท่องเทีย่ ว ตรงตามทีก่ ล่าวไว้จริง ไม่วา่ จะในเรือ่ งของผลิตภัณฑ์ IN-A5.d. หลักฐานของการปฎิบัติการเพื่อตอบ การบริการ และความยัง่ ยืน ข้อความทางการตลาด สนองต่อข้อเสนอแนะของผู้อยู่อาศัย และการสือ่ สารอืน่ ๆ จะต้องสะท้อนถึงคุณค่าของ IN-A5.e. มีโปรแกรมการให้ข้อมูล ให้ความรู้ และ แหล่งท่องเทีย่ วนัน้ และแสดงให้เห็นถึงการมุง่ ไปสู่ อบรมในเรื่องการท่องเที่ยวให้แก่ผู้อยู่ ความยั่งยืน รวมถึงการปฏิบัติต่อคนในท้องถิ่น อาศัย ทั้งด้านวัฒนธรรมและธรรมชาติด้วยความเคารพ
GSTC-D Version 2.0
IN-A3.c. มีหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรของ การติดตามดูแลและการรายงานผลการ ด�ำเนินงานและผลลัพธ์ที่ได้ IN-A3.d. มีเอกสารการแสดงถึงการทบทวนระบบ ติดตามดูแลทีเ่ คยท�ำขึน้ ก่อนหน้านี้ และ มีการก�ำหนดการส�ำหรับการทบทวน ระบบในอนาคต
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
42
ข้อบ่งชี้: IN-A2.a. มีการเผยแพร่เอกสารแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการของแหล่งท่องเที่ยว ฉบับที่ใช้ในปัจจุบัน IN-A2.b. แผนยุทธศาสตร์/แผนการท�ำงานสามารถ เข้าถึงได้ง่ายและสามารถค้นหาแบบ on-line ได้ IN-A2.c. มีหลักฐานของการหารือหรือการประชุม ร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียในการออกแบบ แผนงาน IN-A2.d. แผนยุ ท ธศาสตร์ แ ละแผนปฏิ บั ติ ก าร มีการกล่าวถึงหลักการความยั่งยืนและ การประเมิ น สิ น ทรั พ ย์ ประเด็ น และ ความเสี่ยงด้านการท่องเที่ยว IN-A2.e. ระบุ ถึ ง ความเกี่ ย วโยงระหว่ า งแผน ยุ ท ธศาสตร์ แ ละแผนปฏิ บั ติ ก ารกั บ นโยบายการพัฒนาความยั่งยืนในภาพ กว้าง (รวมถึงการบรรลุ SDGs)
43
แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีระบบในการจัดการ นักท่องเที่ยว โดยระบบนั้นจะต้องมีการทบทวน ปรับปรุงอยู่เสมอ และมีการด�ำเนินการติดตาม ดูแลและจัดการปริมาณของนักท่องเที่ยวและ ปริมาณของกิจกรรมการท่องเที่ยว มีการลดหรือ เพิ่มปริมาณของนักท่องเที่ยวและปริมาณของ กิจกรรมการท่องเที่ยวหากมีความจ�ำเป็นตาม ความเหมาะสมของห้วงเวลาและสถานที่นั้นๆ ทั้ ง นี้ จะต้ อ งศึ ก ษาความสมดุ ล ระหว่ า งความ ต้องการของเศรษฐกิจ ชุมชม มรดกทางวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในท้องถิ่นด้วย
แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีแนวทางการวางแผน กฎระเบียบ และ/หรือ นโยบาย ทีค่ วบคุมทีต่ งั้ และ ลักษณะของการพัฒนา โดยมีการประเมินผล กระทบทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม วัฒนธรรม และบูรณาการการใช้ทดี่ นิ รวมถึงการ ออกแบบ การก่อสร้าง และการรื้อถอนของที่ดิน อย่างยั่งยืน กฎระเบียบยังจะต้องน�ำไปใช้กบั การด�ำเนินงาน รวมถึงการให้เช่าสังหาริมทรัพย์ และสัมปทานเพือ่ การท่องเที่ยว แนวทางกฎระเบียบและนโยบาย ต้องถูกสร้างขึน้ ผ่านการมีสว่ นร่วมของประชาชน และมีการสื่อสารและบังคับใช้อย่างแพร่หลาย
ข้อบ่งชี้: IN-A8.a. แผนยุ ท ธศาสตร์ แ ละแผนปฏิ บั ติ ก าร ของการจัดการแหล่งท่องเทีย่ วจะต้องมี การจัดการฤดูกาลท่องเที่ยว และการ กระจายตัวของนักท่องเที่ยว IN-A8.b. มีการติดตามดูแลตัวแปรปัจจัยที่มีผล ต่อปริมาณของนักท่องเที่ยวตลอดทั้งปี รวมถึงในสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วยอดนิยมด้วย IN-A8.c. มีการระบุถึงผลกระทบจากจ�ำนวนของ นักท่องเทีย่ วและกิจกรรมการท่องเทีย่ ว โดยการท�ำการส�ำรวจแบบสังเกตการณ์ และสอบถามข้อคิดเห็นจากชุมชนและ
ข้อบ่งชี้: IN-A9.a. มีการรวบรวมเอกสาร พร้อมระบุชื่อ เอกสารและวั น ที่ เช่ น นโยบาย/กฎ ระเบียบ/แนวทางที่เฉพาะเจาะจง เพื่อ การควบคุมการพัฒนา IN-A9.b. มีข้อก�ำหนดการประเมินผลกระทบที่ ครอบคลุมในเรือ่ งสิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมในขอบข่ายที่เพียงพอ ทีส่ ามารถระบุได้ถงึ ประเดินในเชิงระยะ ยาวของแหล่งท่องเที่ยว IN-A9.c. กฎระเบียบเฉพาะที่เกี่ยวกับการให้เช่า อสังหาริมทรัพย์และการด�ำเนินงานเพือ่
A10 การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ของสภาพภูมิอากาศ (Climate change adaptation)
IN-A10.c. มี ก ารจั ด ท� ำ การประเมิ น ความเสี่ ย ง ทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต และรายงาน ให้สาธารณะทราบ IN-A10.d. หลักฐานการพิจารณาผลกระทบและ การช่ ว ยส่ ง เสริ ม ของระบบนิ เ วศใน ท้องถิ่นในการปรับตัวต่อการเปลี่ยน แปลงสภาพภูมิอากาศ IN-A10.e. มีการสื่อสารข้อมูลการเปลี่ยนแปลง ของสภาพภูมิอากาศสู่สาธารณะ
GSTC-D Version 2.0
A8 การจัดการปริมาณนักท่องเที่ยว และกิจกรรมการท่องเที่ยว (Managing visitor volumes and activities)
และการควบคุมการพัฒนา (Planning regulations and development control)
การท่องเที่ยวพร้อมหลักฐานการน�ำไป ปรับใช้และการบังคับใช้ IN-A9.d. หลักฐานการมีส่วนร่วมของสาธารณะ ในการพัฒนา นโยบาย/กฎระเบียบ/ แนวทาง ต่างๆ IN-A9.e. หลั ก ฐานการปรึ ก ษาหารื อ และความ ยินยอมจากคนพืน้ เมืองหรือกลุม่ ชาติพนั ธุ์ เมื่ อ มี ก ารเสนอหรื อ มี ก ารพั ฒ นาการ ท่องเทีย่ วเกิดขึน้ ในพืน้ ทีข่ องคนเหล่านัน้ IN-A9.f. หลักฐานการสื่อสารและการบังคับใช้ นโยบาย/กฎระเบียบ/แนวทางในขัน้ ตอน การวางแผน การพัฒนา และการลงมือ ปฏิบัติ
A11 การจัดการความเสี่ยงและ วิกฤตการณ์ (Risk and crisis management)
แหล่งท่องเทีย่ วมีการลดความเสีย่ ง การจัดการ วิกฤตการณ์ และแผนรับมือเหตุฉกุ เฉินทีเ่ หมาะสม กับแหล่งท่องเที่ยวนั้น มีการสื่อสารข้อมูล/ราย ละเอียดที่ส�ำคัญ ให้แก่ผู้อยู่อาศัย นักท่องเที่ยว และสถานประกอบการต่างๆ และมีการจัดท�ำขัน้ ตอนการด�ำเนินงานและเตรียมทรัพยากรในการ รับมือ กับเหตุฉุกเฉิน เพื่อให้พร้อมต่อด�ำเนินการ ตามแผนยู่เสมอและมีการปรับปรุงแผน/ขั้นตอน อยู่เป็นประจ�ำ
แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วจะต้ อ งระบุ ค วามเสี่ ย งและ โอกาสทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการเปลีย่ นแปลงของสภาพ ภูมอิ ากาศ กลยุทธ์การปรับตัวต่อการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศมีไว้เพือ่ เป็นแนวทาง ในการติดตัง้ การออกแบบ การพัฒนา และการจัดการสิง่ อ�ำนวย ความสะดวกด้านการท่องเที่ยว ข้อมูลการคาดการณ์การเปลีย่ นแปลงของสภาพ ข้อบ่งชี้: ภูมิอากาศ รวมถึงจะต้องมีการเผยแพร่ข้อมูล IN-A11.a. มีการจัดท�ำเอกสารแผนการลดความ ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องและสภาวะการณ์ในอนาคต เสีย่ ง การจัดการวิกฤตการณ์ และแผน ให้แก่ผู้อยู่อาศัย ภาคธุรกิจ และนักท่องเที่ยว รับมือเหตุฉกุ เฉิน ส�ำหรับการท่องเทีย่ ว ให้ทราบ ในแหล่งท่องเที่ยว IN-A11.b. ในแผนมี ก ารค� ำ นึ ง ถึ ง รู ป แบบความ ข้อบ่งชี้: เสี่ ย งที่ ห ลากหลาย ซึ่ ง รวมถึ ง ภั ย IN-A10.a. ยุทธศาสตร์การจัดการแหล่งท่องเทีย่ ว ธรรมชาติ การก่อการร้าย สุขอนามัย และแผนปฏิบตั กิ ารจะต้องระบุถงึ และ ภาวะขาดแคลนทรัพยากร และอืน่ ๆ ที่ แก้ไขปัญหาเรื่องสภาพภูมิอากาศ เกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยวนั้น IN-A10.b. กฎระเบียบ แนวทาง และการจัดสรร IN-A11.c. มีขนั้ ตอนการสือ่ สารทีร่ ะบุไว้เพือ่ ใช้ใน พื้ น ที่ เ พื่ อ การพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว ระหว่างและหลังเกิดเหตุฉุกเฉิน และกิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย ว รองรั บ IN-A11.d. มีโปรแกรมส�ำหรับการให้ข้อมูลและ ผลพวงของการเปลีย่ นแปลงของสภาพ การฝึกอบรมเกีย่ วกับการจัดการความ ภูมิอากาศ เสี่ยงและวิกฤตการณ์แก่คนในท้องถิ่น
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
44
ข้อบ่งชี้: ผู้มีส่วนได้เสีย IN-A7.a. ข้อมูลและเอกสารโปรโมทแหล่งท่องเทีย่ ว IN-A8.d. มีการจัดการการเคลือ่ นไหว (Flow) ของ ฉบับปัจจุบันที่มีเนื้อหาที่เหมาะสม นักท่องเที่ยวและผลกระทบ IN-A7.b. มีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้อง IN-A8.e. กลยุ ท ธ์ ก ารตลาดและการเลื อ กเป้ า และความเหมาะสมของข้ อ มู ล และ หมายทางการตลาดค�ำนึงถึงรูปแบบของ การโปรโมทแหล่งท่องเที่ยว การท่องเที่ยว ผลกระทบของกิจกรรม IN-A7.c. หลั ก ฐานที่ แ สดงถึ ง การปรึ ก ษาหารื อ การท่องเที่ยว และความต้องการของ กับคนท้องถิ่นในแหล่งท่องเที่ยว และ แหล่งท่องเทีย่ ว หน่วยงานด้านสิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรม ในการจัดท�ำและน�ำเสนอเนื้อหาต่างๆ A9 กฎระเบียบในการวางแผน
45
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
(Socio-economic sustainability)
B1 การวัดผลงานทางเศรษฐกิจ จากการท่องเที่ยว (Measuring the economic contribution of tourism)
ท่องเทีย่ ว ผูป้ ระกอบการในแหล่งท่องเทีย่ วมุง่ มัน่ ที่จะให้โอกาสที่เท่าเทียมกันส�ำหรับการจ้างงาน คนในท้องถิ่น การฝึกอบรมและความก้าวหน้า มีการติดตามดูแลผลงานทางเศรษฐกิจที่เกิด ในการท�ำงาน รวมถึงการท�ำให้สภาพแวดล้อม จากการท่องเที่ยวทั้งทางตรงและทางอ้อม และ การท�ำงานนั้นปลอดภัยและมั่นคง และ ให้ค่า รายงานให้สาธารณะทราบ และมีการใช้มาตรวัด ครองชีพที่เหมาะสมแก่ทุกคน ผลทีเ่ หมาะสม เช่น ระดับจ�ำนวนของนักท่องเทีย่ ว การใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว การจ้างงาน การ ข้อบ่งชี้: ลงทุน และหลักฐานอื่นๆ ที่แสดงถึงการกระจาย IN-B2.a. มีโปรแกรม/หลักสูตรฝึกอบรมทักษะ ตัวของผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ที่เกี่ยวข้องให้แก่คนในท้องถิ่น IN-B2.b. มี แ ถลงการณ์ ห รื อ ข้ อ สั ญ ญาของ ข้อบ่งชี้: ผู้ประกอบการในการให้งานที่ดี/และ IN-B1.a. มีโปรแกรมการเก็บรวบรวมข้อมูลทาง โอกาสในการประกอบอาชีพ เศรษฐกิจ IN-B2.c. มี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารฝึ ก อบรมและ IN-B1.b. มี ร ายงานประจ� ำ ปี ข องผลงานทาง โอกาสในการจ้างงานให้แก่คนในท้องถิน่ เศรษฐกิ จ ที่ เ กิ ด จากการท่ อ งเที่ ย วทั้ ง รวมถึงผูห้ ญิง เยาวชน ชนกลุม่ น้อย และ ทางตรงและทางอ้อม ผู้ที่มีความบกพร่อง IN-B1.c. ข้อมูลจะต้องครอบคลุมมาตรวัดผลของ IN-B2.d. มีช่องทางในการตรวจสอบสภาพการ ผลกระทบทางเศรษฐกิจที่หลากหลาย ท�ำงานและรับฟัง/จัดการความไม่พอใจ (เช่น จ�ำนวนนักท่องเที่ยว การใช้จ่าย ของลูกจ้าง (เช่น การมีส่วนร่วมของ การจ้างงาน การลงทุน และการกระจาย สหภาพแรงงาน) ตัวของผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจใน แหล่งท่องเที่ยว) B3 การสนับสนุนผู้ประกอบการท้องถิ่น
B2 งานที่ดี และโอกาสทางอาชีพ (Decent work and career opportunities)
และการค้าที่เป็นธรรม (Supporting local entrepreneurs and fair trade)
แหล่งท่องเทีย่ วต้องมีระบบสนับสนุนให้รายได้จาก การท่องเทีย่ วหมุนเวียนอยูใ่ นระบบเศรษฐกิจของ แหล่งท่องเที่ยวมีการส่งเสริมและสนับสนุน ท้องถิน่ โดยได้รบั การสนับสนุนจากผูป้ ระกอบการ โอกาสในการท�ำงานและการฝึกอบรมด้านการ ท้องถิน่ ห่วงโซ่อปุ ทาน และการลงทุนอย่างยัง่ ยืน
46
GSTC-D Version 2.0
ความยั่งยืนด้านสังคม-เศรษฐกิจ
แหล่งท่องเทีย่ วมีการสนับสนุนการพัฒนาและ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วมี ส ่ ว นร่ ว มในการ การซือ้ ผลิตภัณฑ์ทอ้ งถิน่ ทีย่ งั่ ยืนบนฐานของหลัก สนั บ สนุ น ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น และกิ จ กรรม การการค้าที่เป็นธรรม และสะท้อนถึงเอกลักษณ์ ริเริ่มด้านความยั่งยืน ทางธรรมชาติและวัฒนธรรมของพืน้ ทีน่ น้ั ซึง่ อาจ IN-B4.c. การท�ำกิจกรรมอาสาสมัครและการมี จะครอบคลุมถึงอาหารและเครื่องดื่ม การศิลป ส่วนร่วมกับชุมชนนั้นต้องไม่เกี่ยวข้อง หัตถกรรม การแสดง สินค้าการเกษตร และอื่นๆ กับการบุกรุกหรือการเอารัดเอาเปรียบ ชุมชน ข้อบ่งชี้: IN-B3.a. มี ก ารให้ ค� ำ ปรึ ก ษา ให้ ก ารสนั บ สนุ น B5 การป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ ทางการเงิน หรือการสนับสนุนอื่นๆ ให้ โดยมิชอบและการเลือกปฏิบัติ แก่ธุรกิจ SMEs ด้านการท่องเที่ยว (Preventing exploitation and IN-B3.b. มีการช่วยเหลือด้านการเข้าถึงตลาดการ discrimination) ค้าให้แก่ธรุ กิจ SMEs ด้านการท่องเทีย่ ว แหล่งท่องเที่ยวต้องปฏิบัติตามมาตรฐานด้าน IN-B3.c. มีการสนับสนุนและช่วยเหลือผูป้ ระกอบ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนในระดั บ นานาชาติ รวมถึ ง ต้ อ ง การธุรกิจท่องเที่ยวท้องถิ่นให้ซื้อสินค้า มีกฎหมาย ข้อปฏิบัติ และแนวทางในการปฏิบัติ และบริการในท้องถิ่น ในการป้องกัน และรายงานถึงปัญหาด้านการค้า IN-B3.d. มี ก ารริ เ ริ่ ม การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ แก่ มนุษย์ การใช้แรงงานเยี่ยงทาส และการค้าทาส เกษตรกร ศิลปิน และผู้ผลิตอาหาร ใน และการค้าประเวณี หรือการแสวงหาผลประโยชน์ ท้องถิ่น ในการเข้าสู่ห่วงโซ่อุปทานของ โดยมิชอบในรูปแบบอืน่ การเลือกปฏิบตั ิ และการ การท่องเที่ยว รังแกบุคคลใดๆ โดยเฉพาะเด็ก วัยรุน่ ผูห้ ญิง กลุม่ IN-B3.e. มีการระบุถึง การสนับสนุน และการ เพศทางเลือก และชนกลุ่มน้อยอื่นๆ เปิ ด โอกาส ให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละงาน ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นจ�ำหน่ายให้แก่ ข้อบ่งชี้: นักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว IN-B5.a. มีข้อมูลอ้างอิงกฎหมาย (อ้างถึงมาตรา และวันประกาศใช้) ที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง B4 การสนับสนุนชุมชน สิทธิมนุษยชน การแสวงหาผลประโยชน์ (Support for community) ส่วนตน การเลือกปฏิบัติ และการล่วง แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วมี ร ะบบที่ เ ปิ ด โอกาสและ ละเมิดต่อบุคคลอื่น สนับสนุนให้ผู้ประกอบการ นักท่องเที่ยว และ IN-B5.b. มีหลักฐานทีแ่ สดงให้เห็นว่ามีการสือ่ สาร สาธารณชน มีส่วนร่วมในชุมชนและจัดกิจกรรม ให้ขอ้ มูล และการบังคับใช้กฎหมายตาม ริเริ่มด้านความยั่งยืนอย่างมีความรับผิดชอบ ข้อ a. และมีการให้แนวทางปฏิบัติที่ดี (รวมถึงธุรกิจท่องเทีย่ วและนักท่องเทีย่ ว) ข้อบ่งชี้: IN-B5.c. มีการวิเคราะห์ความเสีย่ งและผลกระทบ IN-B4.a. มีการส่งเสริมให้มีการสนับสนุนชุมชน ในเรือ่ งสิทธิมนุษยชนอย่างสม�ำ่ เสมอ ซึง่ ท้ อ งถิ่ น และกิ จ กรรมริ เ ริ่ ม ด้ า นความ รวมถึงการค้ามนุษย์ การใช้แรงงานทาส ยั่งยืน ซึ่งด�ำเนินการโดยผู้ประกอบการ สมัยใหม่ และการใช้แรงงานเด็ก การท่องเที่ยวในท้องถิ่น IN-B5.d. แหล่งท่องเที่ยวและผู้มีส่วนส�ำคัญใน IN-B4.b. สนับสนุนและจัดให้มโี ครงการทีส่ ง่ เสริม ภาคการท่องเที่ยวมีการลงนามเกี่ยวกับ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
หมวด B
47
48
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบเพื่อเฝ้าสังเกตการณ์ ป้องกันมีการรายงานต่อสาธารณชน และตอบ สนองต่อประเด็นด้านอาชญากรรม ความปลอดภัย และอันตรายที่มีต่อสุขภาพ โดยต้องจัดการให้ เหมาะสมกับความต้องการของทั้งนักท่องเที่ยว B6 กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและสิทธิทาง และผูค้ นในพืน้ ที่
กฎหมาย (Property and user rights) กฎหมายและข้อบังคับเหล่านัน้ ต้องเคารพสิทธิ ชุมชนและชนพื้นเมือง และจะต้องมีการรับฟัง ความคิดเห็นจากสาธารณะด้วย จะต้องมีการจัด ท�ำเอกสารและบังคับใช้กฎหมายและข้อบังคับ เกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและสิทธิในการ ครอบครอง หากต้องมีการย้ายที่อยู่อาศัย ห้ามมิให้มีการ ด�ำเนินการโดยไม่แจ้งข้อมูลให้ทราบล่วงหน้า และ จะต้องมีการชดเชยอย่างเป็นธรรม และตรงไป ตรงมา กฎหมายและข้ อ บั ง คั บ เหล่ า นั้ น ต้ อ ง ปกป้องสิทธิทางกฎหมาย และสิทธิในการเข้าถึง ทรัพยากรที่ส�ำคัญ
ข้อบ่งชี้: IN-B6.a. ในแหล่งท่องเที่ยว มีกฎหมายเฉพาะที่ เกีย่ วข้องกับเรือ่ งกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สนิ และสิทธิในการได้มาและครอบครอง รวมถึงสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากรต่างๆ (ชือ่ กฎหมาย มาตรา และวันทีท่ ปี่ ระกาศใช้) IN-B6.b. กฎหมายในข้างต้นมีการระบุในเรือ่ งสิทธิ ชุมชน และชนพืน้ เมืองการปรึกษาหารือ เพื่อรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ และ การให้ออกจากพื้นที่และตั้งถิ่นฐานใหม่ IN-B6.c. มีหลักฐานของการบังคับใช้กฎหมาย ตามข้างต้นในบริบทของการพัฒนาการ ท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยว IN-B6.d. มีหลักฐานของการเข้าไปปรึกษาชุมชน การขอความยินยอม และการจ่ายค่า ตอบแทน
ข้อบ่งชี้: IN-B7.a. แหล่งท่องเทีย่ วมีการให้บริการด้านความ ปลอดภัยและสุขภาพเป็นที่ยอมรับและ ใช้การได้ IN-B7.b. มีการศึกษาเพือ่ ก�ำหนดและจัดการความ ต้องการของนักท่องเทีย่ วเพือ่ ให้สามารถ ให้ ก ารบริ ก ารด้ า นสุ ข ภาพและความ ปลอดภัยทีส่ อดคล้องกับความต้องการได้ IN-B7.c. สิง่ อ�ำนวยความสะดวกด้านการท่องเทีย่ ว ที่ ไ ด้ รั บ การตรวจสอบให้ เ ป็ น ไปตาม มาตรฐานความปลอดภัยและสุขอนามัย
B8 การเข้าถึงการท่องเที่ยวส�ำหรับ คนทั้งมวล (Access for all)
สถานที่ท่องเที่ยว สิ่งอ�ำนวยความสะดวก และ การบริการ จะต้องเข้าถึงได้โดยคนทั้งมวล ทั้งนี้ ต้องค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ทั้งในเชิงธรรมชาติ และวัฒนธรรม ซึง่ คนทัง้ มวลนัน้ รวมถึงผูท้ มี่ คี วาม บกพร่อง และคนทีม่ คี วามต้องการความช่วยเหลือ หรือการเข้าถึงเป็นพิเศษ ในกรณีที่แหล่งท่องเที่ยวและสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกไม่สามารถเข้าถึงได้ในทันที จะต้องมีการ ออกแบบและการแก้ไขปัญหาโดยค�ำนึงถึงความ กลมกลืนของสถานที่ท่องเที่ยว รวมถึงควรจัดให้ มีที่พักส�ำหรับกลุ่มบุคคลที่มีความต้องการความ ช่วยเหลือเป็นพิเศษ ในราคาทีส่ มเหตุสมผล รวมถึง มีการให้ขอ้ มูลด้านการเข้าถึงของสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว สิง่ อ�ำนวยความสะดวก และบริการต่างๆ
ข้อบ่งชี้: IN-B8.a. มีข้อบังคับและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับ สิง่ อ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับผูต้ อ้ งการ ความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ให้สามารถ เข้าถึงสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว สิง่ อ�ำนวยความ สะดวก และการบริการ IN-B8.b. มีการใช้มาตรฐานการเข้าถึงกับสิง่ อ�ำนวย ความสะดวกสาธารณะส�ำหรับผูต้ อ้ งการ ความช่วยเหลือเป็นพิเศษที่ IN-B8.c. มีขอ้ มูลเกีย่ วกับขอบเขต/สัดส่วนของการ เข้าถึงสถานที่ท่องเที่ยว และสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกทีผ่ ตู้ อ้ งการความช่วยเหลือ เป็นพิเศษสามารถเข้าถึงได้ IN-B8.d. มีหลักฐานถึงการด�ำเนินการเพือ่ ปรับปรุง การเข้าถึงส�ำหรับผู้ที่ต้องการความช่วย เหลือด้านการเข้าถึงในรูปแบบที่หลาก หลาย IN-B8.e. แหล่งท่องเทีย่ วในภาพรวมจะต้องมีการ สือ่ สารข้อมูลด้านสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ส�ำหรับผู้ต้องการความช่วยเหลือเป็น พิเศษรวมอยู่ด้วย IN-B8.f. ในจุดท่องเที่ยวหลัก มีรายละเอียดจุด อ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับผู้ต้องการ ความช่วยเหลือเป็นพิเศษอยู่ในข้อมูล ส�ำหรับนักท่องเที่ยว
GSTC-D Version 2.0
B7 สวัสดิภาพและความปลอดภัย (Safety and security)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
จรรยาบรรณในการปกป้องเด็กจากการ ล่วงละเมิดทางเพศในภาคการเดินทาง และการท่องเที่ยว (Code of Conduct for the Protection of Children from Sexual Exploitation in Travel and Tourism)
49
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
(Cultural sustainability)
50
ภายใต้เกณฑ์แต่ละเกณฑ์จะประกอบด้วยข้อ ข้อบ่งชี้: บ่งชี้ ดังนี้ IN-C2.a. มีข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวัตถุทาง ประวัตศิ าสตร์ใช้อา้ งอิงในแหล่งท่องเทีย่ ว C1 การปกป้องทรัพย์สนิ ทางวัฒนธรรม โดยให้ระบุข้อกฎหมาย มาตรา และ (Protection of cultural assets) วันที่ประกาศ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วมี น โยบายและระบบเพื่ อ IN-C2.b. มีหลักฐานของการให้ข้อมูลกฎหมาย ประเมินคุณค่า ฟื้นฟู และสงวนรักษาทรัพย์สิน ดังกล่าว แก่ผปู้ ระกอบการธุรกิจท่องเทีย่ ว ทางวัฒนธรรมที่รวมถึงมรดกที่เป็นสิ่งปลูกสร้าง และนักท่องเที่ยวอย่างชัดเจน และภูมิทัศน์เชิงวัฒนธรรม IN-C2.c. มีหลักฐานของการบังคับใช้กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง ข้อบ่งชี้: IN-C1.a. มีการจัดท�ำบัญชีขอ้ มูลรวบรวมทรัพย์สนิ C3 มรดกที่จับต้องไม่ ได้ ทางวัฒนธรรม รวมถึงการประเมินคุณค่า (Intangible heritage) และประเมินความเปราะบาง แหล่งท่องเทีย่ วมีการสนับสนุนการยกย่อง และ IN-C1.b. มีโปรแกรมการด�ำเนินงานเพือ่ ฟืน้ ฟูและ การปกป้องมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ อนุรักษ์ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม ซึ่งรวมถึง ประเพณีท้องถิ่น ศิลปะ เพลง ภาษา IN-C1.c. มี ก ลไกส� ำ หรั บ การใช้ ป ระโยชน์ จ าก อาหาร อัตลักษณ์ และลักษณะเฉพาะของท้องถิน่ รายได้ทางการท่องเที่ยวเพื่อสนับสนุน ในมิติอื่นๆ การอนุรักษ์ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม การน�ำเสนอ/แสดง การจ�ำลอง และการสื่อ ความหมายของวั ฒ นธรรมและประเพณี ที่ ยั ง C2 วัตถุทางวัฒนธรรม คงอยู่นั้น จะต้องมีความละเอียดอ่อน ให้ความ (Cultural artefacts) เคารพ และจะต้องให้คนในท้องถิ่นมีส่วนร่วม แหล่งท่องเที่ยวมีกฎหมายในการควบคุมการ และได้รับประโยชน์ ในขณะเดียวกันจะต้องมอบ แลกเปลีย่ น การค้า การจัดแสดง หรือการให้ วัตถุ ประสบการณ์ที่จริงแท้แก่นักท่องเที่ยว ทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีอย่างเหมาะสม โดยมีการบังคับใช้กฎหมาย และมีการให้ขอ้ มูลแก่ ข้อบ่งชี้: สาธารณชน รวมถึงผูป้ ระกอบการธุรกิจท่องเทีย่ ว IN-C3.a. มีการระบุชัดเจนและจัดท�ำคลังข้อมูล และนักท่องเที่ยวด้วย มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ IN-C3.b. ยกตัวอย่างงานเฉลิมฉลองทางวัฒนธรรม
C4 การเข้าถึงวิถีชีวิตรปกติของชุมชน (Traditional access)
แหล่งท่องเที่ยวมีการติดตาม ปกป้อง และเมื่อ มี ค วามจ� ำ เป็ น ในการพิ จ ารณาเพื่ อ พั ฒ นาการ เข้าถึงจะด�ำเนินการฟื้นฟู หรือบูรณะซ่อมแซม เพื่อให้ชุมชนท้องถิ่นได้มีวิถีชีวิตแบบปกติในการ เข้าถึงแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติและวัฒนธรรม ได้เหมือนเดิม
ข้อบ่งชี้: IN-C5.a. มีกฎหมายเกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทาง ปัญญาในแหล่งท่องเทีย่ ว (ฉบับ มาตรา วันที่) IN-C5.b. มี ก ารให้ ข ้ อ มู ล ในเรื่ อ งทรั พ ย์ สิ น ทาง ปัญญาให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางการ ท่องเที่ยว IN-C5.c. มี ห ลั ก ฐานการได้ รั บ การปกป้ อ งของ ทรัพย์สินทางปัญญาที่ได้รับการพัฒนา ขึน้ เพือ่ สร้างประสบการณ์ทางวัฒนธรรม
C6 การจัดการนักท่องเที่ยว ในแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม (Visitor management at cultural sites)
แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วจะต้ อ งมี ร ะบบจั ด การนั ก ท่องเที่ยวทั้งภายในและโดยรอบแหล่งท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรม โดยค�ำนึงถึงคุณลักษณะของพืน้ ที่ ขีดความสามารถในการรองรับ และความอ่อนไหว เปราะบางของพืน้ ที่ และจะต้องมีการเพิม่ ประสิทธิภาพ การเคลื่อนตัวของนักท่องเที่ยว (Visitor Flow) และลดผลกระทบเชิงลบที่อาจเกิดขึ้น แหล่งท่องเที่ยวมีคู่มือการปฏิบัติตนส�ำหรับ นั ก ท่ อ งเที่ ย วเมื่ อ เข้ า ชมแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ มี ความเปราะบาง รวมถึงการเข้าชมการจัดแสดง ทางวัฒนธรรม และมีก ารแจกจ่า ยคู่มือ ให้แก่ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ผู ้ ป ระกอบการท่ อ งเที่ ย ว และ มัคคุเทศก์ทั้งก่อนและ ณ เวลาการเข้าชม
ข้อบ่งชี้: IN-C4.a. มีการติดตามการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติและวัฒนธรรมของชุมชน ท้องถิ่น IN-C4.b. มีหลักฐานการสร้างการมีส่วนร่วมกับ ชุมชนท้องถิ่นในเรื่องของการเข้าถึงวิถี ชีวิตปกติของชุมชน ข้อบ่งชี้: IN-C4.c. มีการด�ำเนินการเป็นพิเศษเพื่อปกป้อง IN-C6.a. มีการเฝ้าสังเกตการณ์การเคลือ่ นตัวของ และ/หรือ ฟื้นฟูการเข้าถึงของชุมชน นักท่องเที่ยวและผลกระทบที่เกิดขึ้น ท้องถิ่น ในสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทางวัฒนธรรม และ มีการแบ่งปันข้อมูลดังกล่าวไปยังแหล่ง C5 ทรัพย์สินทางปัญญา ท่องเที่ยวอื่นๆ (Intellectual property) IN-C6.b. มีหลักฐานของการด�ำเนินการจัดการกับ แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการสร้างการมีส่วน ผลกระทบที่เกี่ยวกับท่องเที่ยวที่เกิดขึ้น ร่วมในการปกป้องและรักษาสิทธิในทรัพย์สนิ ทาง ภายในหรือโดยรอบสถานที่ท่องเที่ยว ปัญญาของชุมชนและบุคคล ทางวัฒนธรรม
GSTC-D Version 2.0
ความยั่งยืนด้านวัฒนธรรม
และการให้ประสบการณ์แก่นกั ท่องเทีย่ ว ทีเ่ กีย่ วข้องกับมรดกทางวัฒนธรรมทีจ่ บั ต้องไม่ได้ (งานแสดงอีเว้นท์ ผลิตภัณฑ์ ที่โดดเด่น ฯลฯ) IN-C3.c. หลักฐานของการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิน่ และชนพืน้ เมืองในการพัฒนาและ ส่งมอบประสบการณ์ให้กบั นักท่องเทีย่ ว ที่เกี่ยวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรมที่ จับต้องไม่ได้ IN-C3.d. ข้อคิดเห็นจากนักท่องเที่ยวและชุมชน ท้องถิน่ ในการส่งมอบประสบการณ์เกีย่ ว กับมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
หมวด C
51
หมวด D
ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
ภายใต้ เ กณฑ์ แ ต่ ล ะเกณฑ์ จ ะประกอบด้ ว ย IN-D1.e. มีกลไกส�ำหรับการใช้รายได้ทมี่ าจากการ ข้อบ่งชี้ ดังนี้ ท่ อ งเที่ ย ว เพื่ อ สนั บ สนุ น การอนุ รั ก ษ์ ทรัพย์สินทางธรรมชาติ D1 การปกป้องสิ่งแวดล้อมที่มี IN-D1.f. มีการสื่อสารให้ข้อมูลกับนักท่องเที่ยว ความเปราะบาง (Protection of และภาคธุรกิจในเรื่องของการลดการ sensitive environments) แพร่กระจายของสายพันธุ์พืชหรือสัตว์ แหล่งท่องเทีย่ วต้องมีระบบเพือ่ เฝ้าสังเกตการณ์ ต่างถิ่น ประเมิน และตอบสนองต่อผลกระทบจากการ ท่องเที่ยวที่มีต่อสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ D2 การจัดการนักท่องเที่ยว การสงวนรักษาระบบนิเวศ ถิ่นที่อยู่ และพันธุ์ ในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ พื ช หรื อ สั ต ว์ รวมถึ ง ต้ อ งป้ อ งกั น การเริ่ ม ต้ น (Visitor management at natural sites) และการแพร่กระจายของสายพันธุ์พืชหรือสัตว์ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วจะต้ อ งมี ร ะบบจั ด การนั ก ต่างถิ่น ท่องเที่ยวทั้งภายในและโดยรอบแหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติ โดยค�ำนึงถึงคุณลักษณะของพื้นที่ ข้อบ่งชี้: ขีดความสามารถในการรองรับ และความอ่อนไหว IN-D1.a. มีการจัดท�ำคลังข้อมูลแหล่งมรดกและ เปราะบางของพื้ น ที่ และจะต้ อ งมี ก ารเพิ่ ม ทรัพย์สินทางธรรมชาติ โดยระบุชนิด ประสิ ท ธิ ภ าพการเคลื่ อ นตั ว ของนั ก ท่ อ งเที่ ย ว สถานะของการอนุรกั ษ์ และภาวะความ (Visitor Flow) และลดผลกระทบเชิงลบที่อาจ เสี่ยง/ความเปราะบาง เกิดขึ้น IN-D1.b.มี โ ปรแกรมการด� ำ เนิ น งานเพื่ อ การ แหล่งท่องเที่ยวมีคู่มือการปฏิบัติตนส�ำหรับ อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ นักท่องเที่ยวเมื่อเข้าชมจุดท่องเที่ยวที่มีความ และมรดกทางธรรมชาติ เปราะบาง และมี ก ารแจกจ่ า ยคู ่ มื อ ให้ แ ก่ นั ก IN-D1.c. มีโปรแกรมการด�ำเนินงานเพือ่ ก�ำจัดและ ท่องเทีย่ วผูป้ ระกอบการท่องเทีย่ ว และมัคคุเทศก์ ควบคุมสายพันธุ์พืชหรือสัตว์ต่างถิ่น ทั้งก่อน และ ณ เวลาเข้าชม IN-D1.d.มีด�ำเนินการระบุ เฝ้าสังเกตการณ์ และ บรรเทาผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการ ข้อบ่งชี้: ท่ อ งเที่ ย วต่ อ ความหลากหลายทาง IN-D2.a. มีการเฝ้าสังเกตการณ์การเคลือ่ นตัวของ ชีวภาพ และมรดกทางธรรมชาติ นักท่องเที่ยวและผลกระทบที่เกิดขึ้นใน
GSTC-D Version 2.0
(Environmental sustainability)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
52
ข้อบ่งชี้: IN-C7.a. มี ก ารสื่ อ สาร/แจกข้ อ มู ล เนื้ อ หาการ สื่อความหมายในแหล่งท่องเที่ยว ด้วย รูปแบบทีน่ กั ท่องเทีย่ วสามารถเข้าถึงได้ ก่อนเข้ามายังแหล่งท่องเที่ยวได้ IN-C7.b. มีหลักฐานให้เห็นว่าเนือ้ หาการสือ่ ความ หมายเหล่านัน้ ได้มาจากการค้นคว้าวิจยั เป็นอย่างดีและถูกต้องแม่นย�ำ IN-C7.c. เนื้อหาการสื่อความหมายมีการระบุถึง ความส�ำคัญและความอ่อนไหว/ความ เปราะบางของสถานที่ท่องเที่ยว IN-C7.d. มี ห ลั ก ฐานว่ า คนในชุ ม ชนมี ส ่ ว นร่ ว ม C7 การสือ่ ความหมายในแหล่งท่องเทีย่ ว ในการจัดท�ำเนื้อหาการสื่อความหมาย (Site interpretation) ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ มีการจัดเตรียมเนื้อหาการสื่อความหมายที่ IN-C7.e. มี เ นื้ อ หาการสื่ อ ความหมาย ถู ก แปล ถูกต้องเพื่อให้ความรู้ในแง่มุมที่มีความส�ำคัญแก่ ในภาษาที่เหมาะสมกับนักท่องเที่ยว นักท่องเทีย่ ว ทัง้ ในเชิงวัฒนธรรมและเชิงธรรมชาติ ของสถานที่ท่องเที่ยวนั้น ข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ สื่ อ ความหมายมี ค วามเหมาะสม ในเชิงวัฒนธรรม และจัดท�ำโดยการมีสว่ นร่วมของ คนในชุ ม ชน และสามารถสื่ อ สารด้ ว ยภาษาที่ เหมาะสมชัดเจนทั้งกับนักท่องเที่ยวและกับผู้คน ในพื้นที่ IN-C6.c. มีการเผยแพร่คมู่ อื การปฏิบตั ติ วั ส�ำหรับ นักท่องเทีย่ วเมือ่ เข้าชมสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ที่เปราะบาง และเข้าชมการจัดแสดง อีเว้นท์ทางวัฒนธรรมที่จัดท�ำขึ้น ตลอด จนติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตนของ นักท่องเที่ยวเป็นระยะ IN-C6.d. มี ห ลั ก ปฏิ บั ติ ส� ำ หรั บ ผู ้ ป ระกอบการ ท่องเที่ยวและมัคคุเทศก์ และ/หรือ ผู้ที่ เกี่ยวข้องในการจัดการนักท่องเที่ยวใน แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม IN-C6.e. มีการจัดฝึกอบรมส�ำหรับมัคคุเทศก์
53
D3 การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตในป่า D4 การแสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบ (Wildlife interaction) จากพืชหรือสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ แหล่งท่องเที่ยวมีระบบตรวจสอบการปฏิบัติ (Species exploitation and ตามกฎหมายท้องถิ่น กฎหมายของชาติ และ animal welfare) กฎหมายระหว่างประเทศ และมาตรฐานการมี ปฏิสมั พันธ์และด�ำเนินกิจกรรมในรูปแบบใดก็ตาม กับสิ่งมีชีวิตในป่า กิจกรรมที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์ กับสัตว์ป่าที่อาศัยอยู่อย่างอิสระนั้น จะต้องไม่มี การคุกคามและต้องมีการจัดการเพื่อหลีกเลี่ยง ผลกระทบไม่พึงประสงค์ต่อสัตว์เหล่านั้น โดย ค�ำนึงถึงการด�ำรงชีวติ และพฤติกรรมของสิง่ มีชวี ติ ในป่า
แหล่งท่องเทีย่ วมีระบบทีก่ ำ� กับดูแลท�ำให้มนั่ ใจ ว่ามีการปฏิบัติตามกฎหมายท้องถิ่น กฎหมาย ระดับประเทศ และกฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงมาตรฐานต่างๆ เพื่อรับรองว่าสัตว์จะมี สวัสดิภาพที่ดี และมีการอนุรักษ์สายพันธุ์ต่างๆ (สัตว์ พืช และสิง่ มีชวี ติ ทัง้ หมด) ซึง่ รวมถึงการเลีย้ ง หรือการจับ การซื้อขายแลกเปลี่ยน การแสดง และการขายสิง่ มีชวี ติ จากป่าและสินค้าทีผ่ ลิตจาก พันธุ์พืชและสัตว์ ข้อบ่งชี้: ต้องไม่มกี ารได้มาซึง่ พันธุพ์ ชื หรือสัตว์ และไม่มี IN-D3.a. มีขอ้ กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมาย การขยายพันธุ์ และการกักขัง สัตว์ป่าชนิดใดๆ ระดับประเทศ และกฎหมายท้องถิน่ ทีใ่ ช้ เว้นแต่ได้รบั อนุญาตอย่างถูกต้อง รวมถึงอยูใ่ นการ
ดูแลของบุคลากรที่มีความพร้อม และอยู่ภายใต้ การด�ำเนินการตามข้อก�ำหนดที่เหมาะสม การจัดที่อยู่อาศัย การดูแล และการจัดการทั้ง สัตว์ปา่ และสัตว์เลีย้ งทัง้ หมดนัน้ จะต้องให้เป็นไป ตามมาตรฐานสวัสดิภาพของสัตว์ขั้นสูงสุด ข้อบ่งชี้: IN-D4.a. มีกฎหมายเฉพาะทั้งในระดับระหว่าง ประเทศ ระดับชาติ และระดับท้องถิ่น รวมถึงมาตรฐานและแนวทางปฏิบตั เิ พือ่ ใช้ ใ นแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วในการปกป้ อ ง สวัสดิภาพสัตว์ และการอนุรักษ์สาย พันธุ์พืชและสัตว์ IN-D4.b.มีการชีแ้ จงข้อมูลด้านกฎหมาย มาตรฐาน และแนวทางปฏิบตั ใิ ห้แก่ผปู้ ระกอบการ ท่องเที่ยว และมัคคุเทศก์ IN-D4.c. มีระบบส�ำหรับตรวจสอบเงื่อนไขของ การครอบครองสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยง รวมถึงการจัดที่อยู่อาศัยและการดูแล IN-D4.d.มี ก ารออกใบอนุ ญ าตและตรวจสอบ คุณสมบัติของบุคลากรที่รับผิดชอบใน เรื่องของสัตว์ป่าที่อยู่ในครอบครอง IN-D4.e. มีการด�ำเนินการเพื่อส่งเสริมอนุสัญญา CITES ว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ ในภาคการท่องเที่ยว และตรวจสอบให้ มั่ น ใจว่ า มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามอนุ สั ญ ญา ดังกล่าว IN-D4.f. มีการให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว ในการ การหลีกเลี่ยงการค้าสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ เช่ น การซื้ อ ของที่ ร ะลึ ก ที่ ท� ำ จาก/ได้ จากสัตว์ป่าคุ้มครองตามประกาศของ สหภาพระหว่างประเทศเพือ่ การอนุรกั ษ์ ธรรมชาติ (IUCN) หรือ อนุสญ ั ญาว่าด้วย การค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่า และพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (CITES) IN-D4.g. มี ก ารบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายเพื่ อ เป็ น การ รับรองว่ากิจกรรมการล่าสัตว์ใดๆ ทีเ่ ป็น
ส่วนหนึ่งของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยได้รบั การจัดการอย่างเหมาะสมและ เป็นไปตามกฎหมายอย่างเข้มงวด เพื่อ การอนุรักษ์
D5 การอนุรักษ์พลังงาน (Energy conservation)
แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วมี เ ป้ า หมายที่ จ ะลดการใช้ พลังงาน ปรับปรุงประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน รวมถึงเพิม่ การใช้พลังงานทดแทน และมีระบบใน การส่งเสริมให้ภาคธุรกิจตรวจวัด ติดตามดูแล และลดการใช้พลังงาน และมีการรายงานผลการ ด�ำเนินงานต่อสาธารณชน ข้อบ่งชี้: IN-D5.a. มีการส่งเสริมเผยแพร่ให้สาธารณะทราบ ถึงเป้าหมายการใช้พลังงาน IN-D5.b.มีโปรแกรมการด�ำเนินงานในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เช่น การ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ใช้ฉนวนกัน ความร้อน เป็นต้น IN-D5.c. มี ก ารลงทุ น ในพลั ง งานทดแทน และ ควบคุมสัดส่วนร้อยละของการจัดหา/ การบริโภคทั้งหมด IN-D5.d.สนับสนุนและสร้างแรงกระตุ้นในการ ตรวจสอบและลดการใช้พลังงานโดย ภาคธุรกิจต่างๆ
D6 การจัดการน�้ำ (Water stewardship)
แหล่งท่องเที่ยวต้องส่งเสริมให้ธุรกิจต่างๆ มี การตรวจวัด ติดตามดูแล และจัดการการใช้น�้ำ รวมถึงมีการรายงานต่อสาธารณชน รวมถึงต้องมี การประเมินความเสี่ยงด้านน�้ำในแหล่งท่องเที่ยว และจัดท�ำเป็นเอกสารเป็นลายลักษณ์อักษร ในกรณีที่เรื่องน�้ำมีความเสี่ยงสูงจะต้องมีการ ก�ำหนดเป้าหมายของการจัดการน�้ำและมีการ ก�ำกับภาคธุรกิจเพือ่ ให้การใช้นำ�้ ของภาคท่องเทีย่ ว
GSTC-D Version 2.0
ในแหล่งท่องเที่ยวในเรื่องของการท�ำ กิ จ กรรม/มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ สิ่ ง มี ชี วิ ต ในป่า IN-D3.b.มีการสนับสนุนให้ใช้มาตรฐานสากลด้าน การปกป้องสิง่ มีชวี ติ ในป่า ทัง้ พันธุท์ มี่ อี ยู่ ในน�้ำและบนบก IN-D3.c. มี ก ารออกหลั ก ปฏิ บั ติ ส� ำ หรั บ การท� ำ กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งมีชีวิตในป่า รวมถึงการส�ำรวจทีเ่ ป็นไปตามมาตรฐาน สากล IN-D3.d.มี ร ะบบตรวจสอบการปฏิ บั ติ ต ามข้ อ บังคับและหลักปฏิบตั ใิ นการด�ำเนินงาน ด้านการท่องเที่ยว IN-D3.e. มีการด�ำเนินการเพื่อเฝ้าสังเกตการณ์ ความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตในป่า และลด การรบกวนสิ่งมีชีวิตในป่าโดยเฉพาะ ในบริเวณที่มีการท�ำกิจกรรม IN-D3.f. มีการให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยวเกี่ยวกับ การท� ำ กิ จ กรรมท่ อ งเที่ ย วที่ เ กี่ ย วกั บ สิ่งมีชีวิตในป่าซึ่งอาจเป็นอันตราย เช่น การสัมผัส และการให้อาหาร เป็นต้น
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
54
สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และมี การแบ่งปันข้อมูลดังกล่าวไปยังแหล่ง ท่องเที่ยวอื่นๆ IN-D2.b.มีหลักฐานของการด�ำเนินการจัดการกับ ผลกระทบจากการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้น ภายในหรือโดยรอบแหล่งท่องเทีย่ วทาง ธรรมชาติ IN-D2.c. มีการเผยแพร่คมู่ อื การปฏิบตั ติ วั ส�ำหรับ นักท่องเที่ยวเมื่อเข้าชมจุดท่องเที่ยวที่ เปราะบาง และมีการติดตามตรวจสอบ การปฏิบตั ติ นของนักท่องเทีย่ วเป็นระยะ IN-D2.d.มีหลักปฏิบัติส�ำหรับผู้ประกอบการท่อง เที่ ย วและมั ค คุ เ ทศก์ และ/หรื อ ผู ้ ที่ เกี่ยวข้อง ในการจัดการนักท่องเที่ยวใน แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ IN-D2.e. สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานอนุรักษ์ ในท้ อ งถิ่ น เพื่ อ ระบุ ค วามเสี่ ย งด้ า น สิ่ ง แวดล้ อ มที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น จากการ ท่องเทีย่ ว และมีมาตรการลดความเสีย่ ง เหล่านั้น IN-D2.f. มีการจัดฝึกอบรมส�ำหรับมัคคุเทศก์
55
D10 การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และบรรเทาการเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมิอากาศ (GHG emissions and climate change mitigation)
แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วต้ อ งมี เ ป้ า หมายในการลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึงด�ำเนินการ และรายงานผลตามนโยบายและการปฏิบัติงาน ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ควรมีการ สนั บ สนุ น ให้ ภ าคธุ ร กิ จ ต่ า งๆ มี ก ารตรวจวั ด ติ ด ตามดู แ ล ลด หรื อ ปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก ให้ น ้ อ ยที่ สุ ด จากทุ ก มิ ติ ข องการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ข้อบ่งชี้: (รวมถึงจาก ซัพพลายเออร์และผู้ให้บริการด้วย) IN-D9.a. มี โ ปรแกรมด� ำ เนิ น การติ ด ตามเรื่ อ ง และมีการรายงานต่อสาธารณชน รวมถึงการมี ขยะ โดยมี ก ารตั้ ง เป้ า หมาย และผล การสนับสนุนให้มีการชดเชย (offset) การปล่อย การด�ำเนินงานทีเ่ ผยแพร่ตอ่ สาธารณชน ก๊าซเรือนกระจกที่ยังไม่สามารถลดได้ IN-D9.b.มีการประสานงานร่วมกับธุรกิจท่องเทีย่ ว ในการจัด การรณรงค์/ ให้ค�ำปรึก ษา/ ข้อบ่งชี้: การสนับสนุนการจัดการขยะซึ่งรวมถึง IN-D10.a. มี ก ารประกาศเป้ า หมายในการลด ขยะเศษอาหาร การปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก โดย IN-D9.c. มีการรณรงค์เพื่อลด/ก�ำจัดการใช้วัสดุ ก� ำ หนดร้ อ ยละของการลดและวั น ที่ใช้เพียงครั้งเดียวแล้วทิ้ง โดยเฉพาะ ในการวัดผล พลาสติก IN-D10.b. มี ก ารจั ด ท� ำ รายงานสภาพอากาศ IN-D9.d.มี โ ปรแกรมด� ำ เนิ น การจั ด การขยะใน ประจ�ำปี รวมถึงการเฝ้าสังเกตการณ์ ที่ ท� ำ งานของหน่ ว ยงานภาครั ฐ และ และการปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ ผลกระทบ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกสาธารณะต่างๆ ต่างๆ IN-D9.e. มี ร ะบบที่ ร วบรวมและรี ไ ซเคิ ล ขยะ IN-D10.c. มีการสนับสนุนการรณรงค์หรือการ อย่างน้อยสี่ประเภท (เช่น วัตถุอินทรีย์ มีส่วนร่วมในรูปแบบต่างๆ กับธุรกิจ กระดาษ โลหะ แก้ว และพลาสติก) ท่ อ งเที่ ย วในการลดและบรรเทา IN-D9.f. จัดให้มีระบบที่ยั่งยืนส�ำหรับการก�ำจัด การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ขยะที่ตกค้าง IN-D10.d. หน่ ว ยงานภาครั ฐ มี ก ารด� ำ เนิ น การ IN-D9.g. มี ก ารรณรงค์ ใ ห้ เ ลิ ก การทิ้ ง ขยะนอก ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จุดทิ้งและรักษาความสะอาดของพื้นที่ IN-D10.e. ให้ ข ้ อ มู ล แผนรายการแบบชดเชย สาธารณะ (offset) การปล่อยก๊าซเรือนกระจก IN-D9.h. มีถังขยะเพียงพอส�ำหรับการแยกขยะ ที่ มี ม าตรฐานเป็ น ที่ ย อมรั บ ให้ แ ก่ ภาคธุรกิจต่างๆ และนักท่องเที่ยว
GSTC-D Version 2.0
รีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถแยกขยะ ได้อย่างมีประสิทธิภาพตามชนิดของขยะ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วมี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ ภ าคธุ ร กิ จ หลีกเลี่ยงการสร้างขยะ และให้มีการลดจ�ำนวน ขยะ น�ำขยะกลับมาใช้ใหม่และรีไซเคิลขยะ ซึ่ง รวมถึงขยะทีเ่ ป็นเศษอาหารด้วย มีการด�ำเนินการ เพื่อก�ำจัดหรือลดการใช้วัสดุที่ใช้เพียงครั้งเดียว แล้วทิง้ โดยเฉพาะพลาสติก ขยะทีเ่ หลืออยูท่ ไี่ ม่ได้ น�ำมาใช้ซ�้ำหรือรีไซเคิลต้องได้รับการก�ำจัดอย่าง ปลอดภัยและยั่งยืน
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
56
ไม่กอ่ ให้เกิดความขัดแย้งกับความต้องการน�ำ้ ของ IN-D7.c. มีการตรวจสอบน�ำ้ ทีใ่ ช้สำ� หรับอาบ ด้วย ชุมชนและระบบนิเวศในท้องถิ่น มาตรฐานการรับรองและระบุสถานที่ ตามมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ ข้อบ่งชี้: IN-D7.d.มีการด�ำเนินการเพือ่ ปรับปรุงคุณภาพน�ำ้ IN-D6.a. มีการให้ค�ำแนะน�ำและให้การสนับสนุน IN-D7.e. มีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพน�้ำดื่ม การติดตามและควบคุมเพือ่ ลดการใช้นำ�้ ในท้องถิ่นแก่นักท่องเที่ยว เพื่อส่งเสริม ของภาคธุรกิจ การใช้เป็นทางเลือกแทนน�ำ้ ดืม่ บรรจุขวด IN-D6.b.มีการด�ำเนินการประเมินความเสีย่ งเรือ่ ง น�้ำอย่างสม�่ำเสมอ D8 น�้ำเสีย (Wastewater) IN-D6.c. ในกรณีที่เรื่องน�้ำมีความเสี่ยงสูง ให้มี แหล่งท่องเที่ยวมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนและ การตัง้ เป้าหมาย และบังคับใช้เป้าหมาย มีการปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวนั้นในเรื่องของ การจั ด การน�้ ำ และมี ก ารรายงานต่ อ การตัง้ การดูแลรักษา และการทดสอบการระบาย สาธารณชน จากบ่อเกรอะ และจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย และ IN-D6.d.ติ ด ตามและควบคุ ม ดู แ ล แหล่ ง และ ต้องสร้างความมั่นใจว่าน�้ำเสียเหล่านั้นจะได้รับ ปริมาณทรัพยากรน�ำ้ ทีใ่ ช้เพือ่ วัตถุประสงค์ การบ�ำบัดและน�ำกลับมาใช้ หรือถูกปล่อยทิง้ อย่าง ในการท่องเที่ยว พร้อมทั้งติดตามและ ปลอดภัยโดยไม่มีผลกระทบเชิงลบกับคนและ ควบคุ ม ผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ชุ ม ชน สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น และระบบนิเวศในท้องถิ่น ตลอดจนมี การส่งเสริมและตรวจสอบให้ภาคธุรกิจ ข้อบ่งชี้: ท่องเที่ยวการปฏิบัติตามเป้าหมายการ IN-D8.a. มีการจัดท�ำแนวทางปฏิบตั แิ ละข้อบังคับ ใช้น�้ำ ที่ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรเกี่ ย วกั บ การ IN-D6.e. มีการให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยวในเรื่อง บ�ำบัดน�้ำเสีย ความเสี่ยงของน�้ำ และขอให้มีการใช้น�้ำ IN-D8.b.มีระบบของการบังคับใช้แนวทางปฏิบตั ิ เท่าที่จ�ำเป็น ในกลุ่มผู้ประกอบการ IN-D8.c. มีการติดตามตรวจสอบ/ทดสอบน�้ำเสีย D7 คุณภาพน�้ำ (Water quality) ที่ปล่อยทิ้งแล้ว แหล่งท่องเที่ยวมีการตรวจสอบคุณภาพน�้ำดื่ม IN-D8.d.มี ก ารจั ด ตั้ ง ระบบบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย อย่ า ง น�้ำเพื่อนันทนาการ และน�้ำที่ใช้ทางนิเวศวิทยา ยั่งยืนชั่วคราวในระดับท้องถิ่น ส�ำหรับ โดยใช้มาตรฐานคุณภาพน�ำ ้ และมีการรายงานผล ใช้ในภาคการท่องเที่ยว หากเป็นไปได้ ต่อสาธารณชน และมีระบบที่สามารถตอบสนอง และมีความเหมาะสม ต่ อ ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ คุ ณ ภาพน�้ ำ ที่ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า ง ทันท่วงที D9 ขยะมูลฝอย (Solid waste) แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วจะต้ อ งมี ก ารตรวจวั ด และ ข้อบ่งชี้: รายงานปริ ม าณขยะที่ เ กิ ด ขึ้ น และมี ก ารตั้ ง IN-D7.a. มี โ ปรแกรมการด� ำ เนิ น การติ ด ตาม เป้ า หมายในการลดปริ ม าณขยะ ขยะมู ล ฝอย คุณภาพน�้ำ ได้ รั บ การจั ด การอย่ า งถู ก ต้ อ งและมี ก ารลด IN-D7.b.มี ข ้ อ มู ล และมี ก ารรายงานเกี่ ย วกั บ การฝังกลบขยะด้วยการจัดให้มีระบบคัดแยก คุณภาพน�้ำ และจัดเก็บขยะแบบแยกประเภทและมีระบบ
57
58
ข้อบ่งชี้: IN-D11.a. มี ก ารลงทุ น กั บ โครงสร้ า งพื้ น ฐาน ด้ า นการขนส่ ง ที่ มี ค วามยั่ ง ยื น ยิ่ ง ขึ้ น ซึ่งรวมถึงการขนส่งสาธารณะ และ ยานพาหนะที่ปล่อยมลพิษต�่ำ IN-D11.b. มีการให้ข้อมูลโปรโมทการขนส่งทาง เลือกต่างๆ ในการเดินทางมายังแหล่ง ท่องเที่ยว และภายในแหล่งท่องเที่ยว IN-D11.c. มี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล ของนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เลือกใช้การขนส่งทางเลือก IN-D11.d. มี ก ารพั ฒ นาและสนั บ สนุ น ให้ มี ก าร ปั่นจักรยานและการเดิน IN-D11.e. ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ กลุ ่ ม ตลาดนั ก ท่องเที่ยวที่สนใจตัวเลือกการขนส่ง ระยะสั้นและยั่งยืนยิ่งขึ้น IN-D11.f. หน่วยงานภาครัฐและธุรกิจท่องเที่ยว ควรให้ความส�ำคัญกับการใช้การขนส่ง ทีม่ ผี ลกระทบต�ำ่ ภายในหน่วยงานของ ตนเอง
แหล่งท่องเที่ยวมีแนวทางปฏิบัติและข้อบังคับ ในการลดมลภาวะทางแสงและเสียง และมีการ ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจต่างๆ ปฏิบัติตามแนวทาง ปฏิบัติและข้อบังคับนั้น ข้อบ่งชี้: IN-D12.a. มี ก ารจั ด ท� ำ แนวทางปฏิ บั ติ ใ นเรื่ อ ง มลภาวะทางแสงและเสียง และแจก จ่ายให้ภาคธุรกิจ IN-D12.b. มี ก ารระบุ แ ละเฝ้ า สั ง เกตการณ์ จุด / แหล่ ง ที่ มี ค วามเป็ น ไปได้ ใ นการก่ อ ให้ เ กิ ด มลภาวะทางแสงและเสี ย งที่ เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว IN-D12.c. มีกลไกที่จะให้ผู้คนในพื้นที่สามารถ รายงานเกี่ ย วกั บ มลภาวะทางแสง และเสียง พร้อมกับการปฏิบัติงานที่ ตอบสนองรายงานนั้ น และสามารถ การติดตามผลได้
GSTC-D Version 2.0
แหล่งท่องเทีย่ วมีเป้าหมายในการลดการปล่อย มลพิษจากการขนส่งในการเดินทางมายังแหล่ง ท่องเที่ยว และภายในแหล่งท่องเที่ยว มีการเพิ่ม การน�ำพาหนะและการขนส่งสาธารณะที่ยั่งยืน และปล่อยมลพิษต�ำ่ มาใช้งาน รวมถึงการเดินทาง แบบใช้แรงตัวเอง (Active travel - เช่นการเดิน และปั่นจักรยาน) เพื่อให้ภาคการท่องเที่ยวลด การปล่อยมลพิษทางอากาศ ลดความคับคั่งของ การจราจร และลดการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมิอากาศ
D12 มลภาวะทางแสงและเสียง (Light and noise pollution)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
D11 การขนส่งที่มีผลกระทบต�่ำ (Low-impact transportation)
59
60
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ขั้นตอนการประเมิน ตามแบบ GSTC-D
61
GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอนดังนี้
1ขั้นตอนของการศึกษา รวบรวม และเตรียมข้อมูลต่างๆ
Desktop Scoping: Stakeholder Mapping and Document Mapping
ให้พร้อมก่อนที่จะลงพื้นที่จริง
2 ขั้นตอนของการฝึกอบรมให้แก่
Onsite: Opening Stakeholder Workshop ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง
GSTC Destination Assessment Process ขั้นตอนการประเมิน ตามแบบ GSTC
3
Stakeholder Consultation and Site Visits
ขั้นตอนของการเก็บข้อมูล ปฐมภูมิจากการเก็บข้อมูล และการส�ำรวจพื้นที่
4 ขั้นตอนของการจัดประชุม
Preliminary Results Validation Workshop เพื่อคืนผลการประเมิน
5 ขัวิเ้นคราะห์ ตอนของการจัดท�ำรายงานผลการประมวลผล ผล และรายงานสรุป GSTC Assessment Report
62
Desktop Scoping:
Stakeholder and Document Mapping เป็นขั้นตอนของการศึกษา รวบรวม ข้อมูล แนวคิ ด วิ ธี ก ารประเมิ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วตาม แนวทางและหลักเกณฑ์การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน ของ GSTC และเตรียมข้อมูลต่างๆ ให้พร้อมก่อน ที่จะลงพื้นที่จริง โดย 1.1 จัดท�ำแผนการด�ำเนินงาน อธิบายขัน้ ตอน วิธีการ บุคลากร และกรอบเวลาการด�ำเนินงาน ในแต่ละขั้นตอนตลอดโครงการ 1.2 ท� ำ การประเมิ น ผู ้ ที่ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วด้ ว ยเครื่ อ งมื อ Stakeholder Mapping Tool ที่พัฒนาขึ้นโดย GSTC 1.3 เก็บข้อมูลทุติยภูมิของแหล่งท่องเที่ยว ที่ต้องท�ำการประเมิน โดยใช้ Checklist จาก Document Mapping Tool ของ GSTC
1.4 วิเคราะห์การมีอยู่ และการเข้าถึงข้อมูล (Data Availability and Accessibility) ด้วย การไขว้ Stakeholder Mapping Tool และ Document Mapping Tool ของ GSTC เพื่อ ก�ำหนดขอบเขตของเอกสารและหลักฐานที่ต้อง ประสานขอจากผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียส�ำคัญ (Salient Stakeholders) โดยมีรายละเอียดและตัวอย่าง ดังนี้
1.1 จัดท�ำแผนการด�ำเนินงาน
ตัวอย่างแผนการด�ำเนินงานจาก กิจกรรมศึกษา และประเมินแหล่งท่องเทีย่ วตามเกณฑ์ GSTC ใน พื้นที่พิเศษเมืองพัทยาและพื้นที่เชื่อมโยง จัดท�ำ โดย ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง พฤศจิกายน 2561 เดือน มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
กิจกรรม 1. ศึกษา รวบรวม ข้อมูล แนวคิดวิธีการประเมินแหล่งท่องเที่ยวตามแนวทางและ หลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของ GSTC รวมถึงเลือกพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวที่ใช้ ในการประเมิน 5 แหล่ง 2. ประเมินผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยวด้วยเครื่องมือ Stakeholder Mapping Tool ที่พัฒนาขึ้นโดย GSTC 3. วิเคราะห์การมีอยู่และการเข้าถึงข้อมูล (Data Availablity and Accessibility) ด้วย การไขว้ Stakeholder Mapping Tool และ Document Mapping Tool ของ GSTC 4. รวบรวมข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแหล่งท่องเที่ยว รวมถึงการนัดหมายล่วงหน้า เพื่อเตรียมความพร้อมส�ำหรับการลงพื้นที่ครั้งที่ 2 พร้อมผู้เชี่ยวชาญจาก GSTC 5. ลงพื้นที่พร้อมกับผู้เชี่ยวชาญจาก GSTC เพื่อเก็บข้อมูลไปใช้ในการประเมินแหล่ง ท่องเที่ยว และจัดท�ำรายงานการน�ำผู้เชี่ยวชาญจาก GSTC ลงพื้นที่ 6. ลงพื้นที่โดยจัดให้มีการประชุมกลุ่มย่อยร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียในแหล่งท่องเที่ยว เพื่อคืนข้อมูลจากผลการประเมินรอบแรก และเก็บข้อมูลเพิ่มเติม 7. จัดท�ำรายงานผลการประมวลผล วิเคราะห์ผล รายงานสรุป และน�ำเสนอวิธีการและ เครื่องมือที่เหมาะสมในการประเมินแหล่งท่องเที่ยวตามหลักเกณฑ์การท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนของ GSTC รวมถึงวิธีการน�ำเสนอข้อเสนอแนะ
หมายเหตุ: การแรเงา หมายถึง แผลการด�ำเนินการ
GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ G S T C - D
Version 2.0
ขั้นตอนการประเมิน ตามแบบ GSTC-D
1
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
บ ท ที่ 2
หมายถึง ผลการด�ำเนินการจริง หมายถึง การจัดส่งรายงานขั้นต้น รายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์
63
จะเห็นได้วา่ จะมีการระบุหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ ในแต่ละหลักเกณฑ์อยู่ ซึ่งเราสามารถน�ำรายชื่อ เหล่านี้ ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ๆ เราประเมินจริงๆ มาใช้ในตารางของ Stakeholder Mapping Tool ที่พัฒนาขึ้นโดย GSTC ได้ โดยโครงสร้างของ Stakeholder Mapping Tool มีดังนี้
ส่วนที่ระบุหน่วยงานที่รับผิดชอบ (มีได้มากกว่า 1 หน่วยงาน ในแต่ละช่อง)
ส่วนที่ระบุชื่อบุคคล (ถ้าทราบ ควรระบุให้ชัดเจน)
ตัวอย่าง Stakeholder Mapping Tools ของ GSTC
64
ในตาราง Stakeholder Mapping Tool นั้น จะแบ่งหัวข้อ เป็น 5 Area หลัก คือ 1. TOURISM 2. PLANNING 3. ENVIRONMENT/UTILITIES 4. CULTURE 5. ECONOMY ซึ่งเราสามารถ “ใส่ชื่อองค์กรซ�้ำๆ ได้” ถ้าเป็น หน่วยงานที่มีส่วนรับผิดชอบใน Area นั้นจริงๆ เช่น • ส�ำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดมีหน้าที่ - ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในเขตพื้นที่ จังหวัด - จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ดา้ นการท่องเทีย่ วของ จังหวัด ติดตามประเมินผล และรายงาน สถานการณ์ด้านการท่องเที่ยว - ด�ำเนินการเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไข
ปัญหาด้านการท่องเทีย่ วโดยประสานหรือ ร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานอื่ น ทั้ ง ภาครั ฐ และ เอกชน - ให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ และสนับสนุนด้าน วิชาการแก่ อปท. องค์กรเครือข่ายชุมชน ประชาชนและหน่วยงานอื่นที่ด�ำเนินงาน ด้านการท่องเที่ยว GSTC-D Version 2.0
ตรวจสอบผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องว่ามีใครบ้าง เป็น งานส�ำคัญเนือ่ งจากผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทีเ่ กีย่ วข้อง นั้น จะมีเอกสารต่างๆ ที่จ�ำเป็นในการประเมินใน แต่ละประเด็นอยู่ ซึ่งอาจจะเหมือนหรือแตกต่าง กัน เรามีหน้าทีร่ วบรวมข้อมูลเหล่านัน้ และน�ำมา ตรวจสอบในแต่ละหลักเกณฑ์อีกครั้ง โดย GSTC ได้ทำ� เครือ่ งมือทีช่ ว่ ยผูป้ ระเมิน เป็น Checklist ที่ ท� ำ ให้ เ ราค้ น หาความสั ม พั น ธ์ ข องผู ้ ที่ มี ส ่ ว น เกี่ยวข้องในแต่ละประเด็นได้ง่ายขึ้น ทั้งนี้ ถ้าเป็นการประเมินในพื้นที่ที่เข้าร่วมการ วางแผนยุทธศาสตร์ของพื้นที่พิเศษในการพัฒนา แหล่งท่องเทีย่ วให้ยงั่ ยืน นัน้ จะมี “เอกสารการจัด
ท�ำเป้าหมาย (Purpose) ในการพัฒนาแหล่งท่อง เทีย่ วอย่างยัง่ ยืน” ซึง่ พัฒนามาจากประสบการณ์ การประเมินตามหลักเกณฑ์ในบริบทของไทย ให้ สามารถอ้างอิงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ อย่างไร ก็ตามในแต่ละพืน้ ทีก่ จ็ ะมีหน่วยงานเฉพาะอืน่ ๆ ที่ เพิ่มเติมได้ไม่เหมือนกัน
ดังนัน้ ส�ำนักงานท่องเทีย่ วและกีฬาจังหวัด จะอยู่ ในหลายๆ ช่องของ TOURISM AREA เป็นต้น
1.3 เก็บข้อมูลทุติยภูมิของแหล่งท่องเที่ยว โดยการใช้ Document Mapping Tools ของ GSTC ซึง่ จะท�ำให้เราสามารถรวมรวบทุกประเด็น ที่ต้องตรวจสอบได้อย่างครบถ้วน ซึ่งแหล่งข้อมูล ก็สามารถหาได้จากหลายแหล่ง เช่น ตัวบทกฏหมาย แผนยุทธศาสตร์ จากองค์การต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สิ่งส�ำคัญก่อนเริ่มหาข้อมูลคือ ต้องตรวจสอบ
ในแต่ละหลักเกณฑ์ จะมีตัวอย่างของข้อมูล และหลักฐานที่ต้องการ เพื่อน�ำไปใช้ประเมินในหลักเกณฑ์นั้นๆ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
1.2 ท�ำการประเมินผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่เกี่ยวข้อง
ส่วนที่ระบุชื่อเอกสาร
ตัวอย่าง Document Mapping Tools ของ GSTC
65
ตัวอย่างจดหมายเพื่อขอข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หน่วยงาน การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยจังหวัดสุโขทัย ผูใ้ ห้ขอ้ มูล ....................................................................................................................................................... โทรศัพท์: .................................................................... E-Mail: ................................................................. ค�ำชีแ้ จง กรุณาท�ำเครือ่ งหมาย / หน้ารายการเอกสารหรือหลักฐานทีห่ น่วยงานของท่านสามารถอนุเคราะห์ ข้อมูลส�ำหรับการประเมินในครั้งนี้ แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว เอกสารบันทึกกระบวนการจัดท�ำและน�ำแผนไปปฏิบัติ เช่น รายงานผลการปฏิบัติงานประจ�ำปี ระบบการตรวจสอบผลกระทบและมาตรการแก้ไข หลักฐานของความคิดริเริ่มเพื่อจัดการการท่องเที่ยวนอกฤดูกาล เช่น โปรแกรมการท่องเที่ยว ภาพกิจกรรมการท่องเที่ยว ฯลฯ รายงานการส�ำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว ระบบรับรองมาตรฐานความยั่งยืนหรือการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว โปรดระบุ........................................................................................................................................ รายชื่อสถานประกอบการที่ได้รับการรับรองและได้รับมาตรฐาน สื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ ฯลฯ ข้อมูลรายได้จากการท่องเที่ยวประจ�ำปี ข้อมูลการใช้จ่ายของผู้มาเที่ยว รายรับต่อห้องพัก ข้อมูลการจ้างงานและการลงทุนในภาคการท่องเที่ยว กิจกรรมการฝึกอบรมด้านการท่องเที่ยว โปรดระบุ........................................................................................................................... กิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและโครงการริเริ่มสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน โปรดระบุ........................................................................................................................... กิจกรรมสนับสนุนบริษัทขนาดเล็กและผู้ผลิตในท้องถิ่นที่มีความยั่งยืน โปรดระบุ........................................................................................................................... อื่นๆ โปรดระบุ...............................................................................................................................
GSTC-D Version 2.0
แบบฟอร์มการส่งเอกสารประกอบการประเมินแหล่งท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
66
ประเด็นที่ต้องการ และลองสอบถามหน่วยงาน IN-A2.d. แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการมี ที่เกี่ยวข้องว่ามีเอกสารที่สามารถตอบค�ำถาม การกล่าวถึงหลักการความยั่งยืนและ ข้อมูลนั้นๆ ได้หรือไม่ การประเมิ น สิ น ทรั พ ย์ ประเด็ น และ ความเสี่ยงด้านการท่องเที่ยว ยกตัวอย่างเช่น: A2 ยุทธศาสตร์การจัดการแหล่ง IN-A2.e. ระบุ ถึ ง ความเกี่ ย วโยงระหว่ า งแผน ท่องเที่ยวและแผนปฏิบัติการ (Destination ยุ ท ธศาสตร์ แ ละแผนปฏิ บั ติ ก ารกั บ management strategy and action plan) นโยบายการพัฒนาความยั่งยืนในภาพ ถ้าเราพบว่า ผู้ที่มีหน้าที่จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ กว้าง (รวมถึงการบรรลุ SDGs) การท่องเทีย่ วมีหลายหน่วยงาน เช่น กลุม่ ยุทธศาสตร์ ส�ำนักงานจังหวัดส�ำนักงานการท่องเทีย่ วและกีฬา 1.4 วิเคราะห์การมีอยู่ของข้อมูล จังหวัด ฯลฯ เราจะสามารถขอเอกสาร “แผน และการเข้าถึงข้อมูล ยุทธศาสตร์การท่องเทีย่ ว” จากทุกหน่วยงาน เพือ่ การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Availability and น�ำมาตรวจสอบตามว่ามีหลักฐานตามข้อบ่งชีห้ รือไม่ Accessibility) ด้ ว ยการไขว้ Stakeholder แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการจัดท�ำและใช้แผน Mapping Tool และ Document Mapping ยุ ท ธศาสตร์ ก ารจั ด การแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเที่ ย ว Tool ของ GSTC เพือ่ ก�ำหนดขอบเขตของเอกสาร ระยะยาว และมีแผนปฏิบัติการที่เหมาะสม และ และหลักฐานที่ต้องประสานขอจากผู้มีส่วนได้ สามารถเปิดเผยให้สาธารณชนรับทราบได้ โดย ส่วนเสียส�ำคัญ (Salient Stakeholders) การจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ เมื่อเราท�ำการเชื่อมโยงหน่วยงานและเอกสาร จะต้องด�ำเนินการผ่านการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วน เรียบร้อยแล้ว ก็ท�ำการขอข้อมูลไปยังหน่วยงาน ได้เสียและอยู่บนหลักการของความยั่งยืน ต่างๆ เพื่อมาวิเคราะห์ โดยเน้นการขอเอกสาร แผนยุทธศาสตร์จะต้องมีการระบุถึงและการ ที่เป็นทางการและสามารถอ้างอิงได้จริง เช่น ประเมินสินทรัพย์ด้านการท่องเที่ยวและควรมี รายงาน แผน สื่อประชาสัมพันธ์ หรือ รูปภาพ การพิจารณาถึงประเด็นและความเสีย่ งด้านสังคม เป็นต้น เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงจะ ทั้งนี้ ผู้ประเมินจ�ำเป็นต้อง ตรวจสอบ หัวข้อ ต้องมีส่วนเกี่ยวข้องต่อนโยบายและมีอิทธิพลต่อ การประเมิน รวมถึงเจตนารมณ์ของค�ำอธิบาย การท� ำ งานในด้ า นการพั ฒ นาความยั่ ง ยื น ของ ในแต่ละหัวข้อให้ชัดเจน รวมถึงตัวชี้วัดบ่งชี้จะ แหล่งท่องเที่ยวในภาพกว้างอีกด้วย สามารถช่วยให้เราเห็นแนวทางการของข้อมูล ที่น�ำมาประกอบการพิจารณาโดยสามารถดูได้ ข้อบ่งชี้: จากตัวอย่าง Document and Stakeholder IN-A2.a. มีการเผยแพร่เอกสารแผนยุทธศาสตร์ mapping ดังต่อไปนี้ และแผนปฏิบัติการของแหล่งท่องเที่ยว ฉบับที่ใช้ในปัจจุบัน IN-A2.b. แผนยุทธศาสตร์/แผนการท�ำงานสามารถ เข้าถึงได้ง่ายและสามารถค้นหาแบบ on-line ได้ IN-A2.c. มีหลักฐานของการหารือหรือการประชุม ร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียในการออกแบบ แผนงาน
กรุณาส่งแบบฟอร์มนี้และเอกสาร/หลักฐานมาที่ xxx หรือติดต่อ คุณ xxx โทรศัพท์ 08-1888-8888 ภายในวันที่ xx มกราคม 256x
67
68 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
เมืองพัทยา
ส่วนที่ 4 การนํา แผนพัฒนาเมือง พัทยาสี่ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
กระทรวง การท่องเที่ยว และกีฬา
Tourists statistics 64 - estimate
กรอบกฎหมาย ที่ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ให้อ�ำนาจ
GSTC-D Version 2.0
x ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
สนง.สถิติจังหวัด
2_ชลบุรี ข้อมูล เศรษฐกิจ 63
B(a) การน�ำผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมาสู่ชุมชน (Delivering local economic benefits) B1 การวัดผลงานทางเศรษฐกิจจาก a. มีโปรแกรมการเก็บข้อมูล การการท่องเที่ยว (Measuring the ทางรวบรวมเศรษฐกิจ economic contribution of tourism) - มีการติดตามดูแลผลงานทาง เศรษฐกิจที่เกิดจากการท่องเที่ยว ทั้งทางตรงและทางอ้อม และ b. มีรายงานประจ�ำปีของ รายงานให้สาธารณะทราบ ผลงานทางเศรษฐกิจที่เกิด - มีการใช้มาตรวัดผลที่เหมาะสม จากการท่องเที่ยวทั้งทาง เช่น ระดับจ�ำนวนของนักท่องเที่ยว ตรงและทางอ้อม การใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว การจ้าง งาน การลงทุน และหลักฐานอื่นๆ ที่แสดงถึงการกระจายตัวของ c. ข้อมูลจะต้องครอบคลุม ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ มาตรวัดผลของผลกระทบ ทางเศรษฐกิจที่หลาก หลาย (เช่น จ�ำนวนนัก ท่องเที่ยว การใช้จ่าย การ จ้างงาน การลงทุน และ การกระจายตัวของผล ประโยชน์ทางเศรษฐกิจใน แหล่งท่องเที่ยว)
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ระดับการบริหารฯ ทีม่ ีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ความเชื่อมโยง สอดคล้องระหว่าง ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์เมือง พัทยาตาม แนวทาง NEO PATTAYA
เมืองพัทยา
Pattaya City Structure 2559
ด้าน B ความยั่งยืนด้านสังคม-เศรษฐกิจ (Socio-economic sustainability)
เกณฑ์ GSTC V.2
A1 ความรับผิดชอบด้านการจัดการ a. เอกสารหลักฐานที่แสดง แหล่งท่องเที่ยว (Destination ถึงการจัดตั้งหรือ Management responsibility) โครงสร้างของคณะบุคคล - แหล่งท่องเที่ยวมีหน่วยงาน ส่วนงาน ทีไ่ ด้รับมอบหมาย กลุ่ม หรือคณะกรรมการ ที่มี และอ�ำนาจหน้าที่ของ ประสิทธิภาพที่จะรับผิดชอบเป็น คณะบุคคลนั้น ผูป้ ระสานงานเพือ่ สร้างการท่องเทีย่ ว อย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของ b. แผนการเงินและ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค งบประมาณที่แสดงให้เห็น ประชาชน แหล่งที่มาของเงินทั้งใน - กลุ่มบุคคลนี้จะต้องมีการก�ำหนด ปัจจุบนั และอนาคต หน้าที่ความรับผิดชอบ การก�ำกับ ดูแล และความสามารถในการลงมือ ปฏิบัติงาน เพื่อจัดการประเด็นด้าน สังคม-เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อม - ในการจัดการแหล่งท่องเที่ยว กลุ่ม บุคคลนี้จะต้องได้รับงบประมาณ ทีเ่ พียงพอ และสามารถท�ำงานร่วมกับ หน่วยงานหลากหลายรูปแบบได้ - กลุ่มบุคคลนี้จะต้องมีบุคลากร
A(a) กรอบและโครงสร้างการจัดการ
ด้าน A การจัดการความยั่งยืน (Sustainable Management)
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ระดับการบริหารฯ ทีม่ ีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
ตัวอย่าง Document and Stakeholder Mapping จากการทดสอบคู่มือการประเมินสถานะความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยว ตามเกณฑ์ GSTC-D Version 2.0 โดยการลงพื้นที่นาเกลือ เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ในวันที่ 9 – 10 กันยายน 2564
สามารถดูข้อมูลตัวอย่างเพิ่มเติม ในภาคผนวก ค : ตัวอย่าง Document and Stakeholder Map
69
เพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง ได้เข้าใจ ถึงค�ำนิยามของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ตัวชีว้ ดั การ พัฒนา และการประยุกต์ใช้แนวคิดนี้ในภาคการ ท่องเทีย่ ว ก่อนทีจ่ ะแนะน�ำหลักเกณฑ์ของ GSTC
ในรายละเอียดของ เสาหลักเพื่อให้เห็นความ ส�ำคัญและความสอดคล้องของหลักเกณฑ์ทน่ี ำ� มา ใช้ในการประเมินแหล่งท่องเที่ยวครั้งนี้กับภาพ ใหญ่ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
Opening Stakeholder Workshop
ตัวอย่าง บรรยากาศการฝึกอบรมแนวทางการประเมินความยั่งยืนของ แหล่งท่องเที่ยวตามหลักเกณฑ์ของ GSTC จังหวัดน่าน
70
Stakeholder Consultation and Site Visits เป็นการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ เพิ่มเติมจากข้อมูล เอกสารเบื้ อ งต้ น ที่ ท างผู ้ ป ระเมิ น ได้ รั บ เพื่ อ ประกอบการพิจารณา โดยควรจะต้องมีการติดต่อ Stakeholder ที่ส�ำคัญ เพื่อลงเวลานัดในการ สัมภาษณ์ และควรมีการลงพื้นที่จริงเพื่อส�ำรวจ สถานที่ว่าเป็นไปตาม Criteria หรือไม่ อย่างไร ในขั้นตอนนี้ผู้ประเมินจะสามารถเห็น “ความ เป็นระบบของการน�ำไปใช้” ในการประเมินตาม แนวทาง PDCA (PLAN DO CHECK ACT) และ “ผลสัมฤทธิ์” ได้อย่างชัดเจนว่าเมื่อมีมาตรการ แล้วได้น�ำไปใช้อย่างไร หรือได้น�ำไปใช้แล้ว และ เป็นผลส�ำเร็จตามเป้าหมายด้วยหรือไม่ การลง พื้นที่จะท�ำให้สามารถประเมินได้อย่างแม่นย�ำ มากขึน้ ค�ำถามต่างๆ ทีเ่ กิดในระหว่างการรวบรวม ข้อมูลจะถูกคลี่คลายลงด้วยการสัมภาษณ์และ การลงพื้นที่ ซึ่งในขั้นตอนนี้ ภาพถ่าย และวิดีโอ จากสถานที่เหตุการณ์จริงจะเป็นตัวยืนยันข้อมูล ที่ดีที่สุด รวมถึงควรมีการน�ำ Site Observation Checklist มาใช้เป็นเครือ่ งมือในการประเมิน เมือ่ มีการลงพื้นที่ เมื่อเริ่มท�ำการสัมภาษณ์ ทางทีมผู้ประเมิน จ�ำเป็นต้องแนะน�ำตัวเอง อธิบายถึงวัตถุประสงค์ ของโครงการและอธิบายความส�ำคัญของการ เข้ามาประเมินพื้นที่ (ว่าเป็นในลักษณะของการ CHECK UP) เพือ่ สร้างความเข้าใจให้กบั พืน้ ทีแ่ ละ ผู้ได้รับการประเมิน ในการสัมภาษณ์ตอนลงพืน้ ที่ ทางทีมผูป้ ระเมิน ควรมีความเข้าใจองค์กรและตัวชีว้ ดั นัน้ เป็นอย่าง ดี เพื่อให้ได้ค�ำตอบที่ต้องการ และควรตั้งค�ำถาม
เพื่อเปิดประเด็นชวนคุย และ/หรือ ถามแบบ เจาะจงเนื้อหา รวมถึงควรเลี่ยงการชี้น�ำค�ำตอบ แล้วจึงค่อยวิเคราะห์ถึงเกณฑ์การวัดสี ทางทีม ผู้ประเมินอาจน�ำรายละเอียดของค�ำอธิบายผล (Description) ของแต่ละสีมาถามพืน้ ทีว่ า่ ได้มกี าร ด�ำเนินการในลักษณะนั้นหรือไม่ เช่น ทางพื้นมี แผนพัฒนาเชิงปฏิบตั กิ ารตามนโยบายความยัง่ ยืน อย่างไร และมีการติดตามประเมินผลอย่างไร ใน ระหว่างการสัมภาษณ์ หากผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ยงั ไม่ได้ ตอบค�ำถามแบบตรงประเด็น ทางทีมผู้ประเมิน สามารถทวนค� ำ ถาม หรื อ ตั้ ง ค� ำ ถามใหม่ โ ดย กระชับกว่าเดิมและตรงประเด็นกว่าเดิม เพื่อให้ ได้คำ� ตอบส�ำหรับหลักเกณฑ์การประเมินข้อนัน้ ๆ แต่อย่างไรก็ตาม ในบางครั้ง อาจเป็นเพราะ ผู้ให้ สัมภาษณ์อยู่ในระดับผู้บริหารหรือผู้รับนโยบาย แต่ไม่ได้ด�ำเนินการหรือลงมือปฏิบัติ จึงยังไม่ สามารถได้รบั ค�ำตอบทีช่ ดั เจน ซึง่ ผูป้ ระเมินจ�ำเป็น อย่างยิ่งที่ต้องศึกษาข้อมูลเบื้องต้นก่อนท�ำการ สัมภาษณ์ การสัมภาษณ์ที่มีประสิทธิภาพนั้น ผู้ประเมิน ควรมีคุณสมบัติต่อไปนี้ • ผู ้ ป ระเมิ น ต้ อ งไม่ มี อ คติ และไม่ ยึ ด ถื อ ประสบการณ์ของตัวเองเป็นส�ำคัญ ควรเป็น ผู้ฟังที่ดี และเปิดโอกาสให้ทางพื้นที่ได้ให้ ข้อมูลอย่างอิสระ • ผูป้ ระเมินไม่ควรวิพากษ์วจิ ารณ์ หรือโต้เถียง กับทางพื้นที่โดยเด็ดขาด รวมถึงต้องไม่เร่ง หรือรีบร้อนจนเกินไปเพื่อให้ได้ค�ำตอบ
GSTC-D Version 2.0
Onsite:
3
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
2
71
ตัวอย่าง ก�ำหนดการลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล จากพัทยา
10.00 - 12.00 น.
ส�ำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดชลบุรี
A
B
A1 ความรับผิดชอบ ด้านการจัดการ แหล่งท่องเที่ยว A2 ยุทธศาสตร์ การจัดการแหล่ง ท่องเที่ยว และ แผนปฏิบัติการ A3 การติดตาม และการรายงาน A4 การมีส่วนร่วม และการใช้มาตรฐาน ความยั่งยืนของ ผู้ประกอบการ A5 การมีส่วนร่วม และข้อเสนอแนะ ของผู้อยู่อาศัย A6 การมีส่วนร่วม และข้อเสนอแนะ ของนักท่องเที่ยว
B1 การวัดผลของ ผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจจาก การการท่องเที่ยว B1 การวัดผลของ ผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจของ การท่องเที่ยว B2 งานที่ดี และ โอกาสทางอาชีพ B3 การสนับสนุน ผู้ประกอบการ ท้องถิ่น และการค้า ที่เป็นธรรม B7 สวัสดิภาพ และความปลอดภัย B8 การเข้าถึง การท่องเที่ยว ส�ำหรับคน
C C7 การสื่อ ความหมายใน แหล่งท่องเที่ยว
D D2 การจัดการ นักท่องเที่ยวใน แหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติ GSTC-D Version 2.0
วันพฤหัสบดี ที่ 9 เดือนกันยายน พ.ศ. 2564 เวลา หน่วยงาน ห้อง A
ตัวอย่าง Site Observation Checklist ในการทดสอบคู่มือการประเมินสถานะความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยว ตามเกณฑ์ GSTC-D Version 2.0 โดยการลงพื้นที่นาเกลือ เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ในวันที่ 9 – 10 กันยายน 2564 เกณฑ์ GSTC V.2
ผลการประเมิน มี
ไม่มี
แนวทางการประเมินจาก การสังเกตการณ์
ด้าน A การจัดการความยั่งยืน (Sustainable Management) A(a) กรอบและโครงสร้างการจัดการ A1 ความรับผิดชอบด้านการจัดการแหล่งท่องเที่ยว (Destination Management responsibility)
โครงสร้างคณะท�ำงานและ อ�ำนาจหน้าที่
A2 ยุทธศาสตร์การจัดการแหล่งท่องเที่ยวและแผนปฏิบัติการ (Destination management strategy and action plan)
มีการเผยแพร่เอกสารแผน ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ของแหล่งท่องเที่ยวฉบับที่ใช้ ในปัจจุบัน
A3 การติดตามและการรายงาน (Monitoring and reporting)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
• ผูป้ ระเมินมีการทวนค�ำตอบ หรือดึงประเด็น การแสดงออกของการเป็นผู้ประเมิน ควรมี กลับมาเพือ่ ตอบค�ำถามได้ แต่ตอ้ งรอจังหวะ ลักษณะดังต่อไปนี้ ที่เหมาะสม โดยการแจ้งเวลาที่จะใช้ และ • ไม่ควรแสดงทีท่าเสมือนว่าอยู่เหนือกว่า แต่ คาดการณ์ว่า แต่ละข้อน่าจะใช้เวลาเท่าไร ควรให้รู้สึกว่ามาเป็นที่ปรึกษาและอยากให้ อย่างไร ค�ำแนะน�ำ แทนการมาตรวจเช็คความถูกต้อง • ควรมีมารยาทและทักษะในการสร้างการมี ลักษณะของการตัง้ ค�ำถามทีใ่ ช้ในการสัมภาษณ์ ส่วนร่วม รวมถึงข้อควรระวังในการใช้อวจน ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้ ภาษา เช่น การใช้นำ�้ เสียง สายตา กิรยิ า ท่าทาง • ควรตัง้ ค�ำถามแบบปลายเปิด เพือ่ เปิดโอกาส และไม่ควรแสดงท่าทีที่มีอ�ำนาจเหนือกว่า ให้ทางพื้นที่ได้ให้ข้อมูลได้อย่างเสรี รวมถึง ผู้ให้สัมภาษณ์ รวมถึงควรมีท่าทีที่เป็นมิตร ค�ำถามที่มีลักษณะในการกระตุ้นทางพื้นที่ ยิม้ แย้ม แจ่มใส และให้เกียรติผใู้ ห้สมั ภาษณ์ ให้ได้แสดงความคิดเห็นและอธิบายความให้ กว้างขวางขึ้น ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการท� ำ Document and • ไม่ ค วรตั้ ง ค�ำ ถามที่ เ ป็ น การถามชี้ น� ำหรื อ Stakeholder Mapping การลงพื้ น ที่ เ พื่ อ เสนอแนะให้ทางพื้นที่ รวมถึงไม่ควรถาม สัมภาษณ์เก็บข้อมูล รวมถึงการลงพื้นที่ส�ำรวจ ค�ำถามที่ทางพื้นที่เกิดความรู้สึกไม่อยาก ตาม Checklist ที่ได้กล่าวข้างต้น จะเป็นการใช้ ตอบ หรือเกิดความเสื่อมเสียหรืออับอาย เทคนิ ค เก็ บ ข้ อ มู ล การตรวจสอบแบบสามเส้ า • ไม่ควรถามค�ำถามการเมือง ศาสนา หรือ (Data triangulation) ที่สามารถบ่งถึงความ ความขัดแย้งในปัจจุบันโดยไม่มีนัยยะของ น่าเชื่อถือของข้อมูลได้ เพราะไม่ได้มาจากแหล่ง ประเด็นตัวชีว้ ดั เพราะจะท�ำให้ผใู้ ห้สมั ภาษณ์ ข้อมูลเดียวเท่านั้น การมีผู้เชี่ยวชาญด้านการ เกิดความล�ำบากใจที่จะตอบ และน�ำมาซึ่ง ท่องเทีย่ ว หรือในด้านทีเ่ กีย่ วข้องเข้าร่วมประเมิน ปัญหาในการมีส่วนร่วมในครั้งต่อไป ก็จะช่วยสรุปผลได้อย่างชัดเจน ไม่ได้ขนึ้ อยูก่ บั การ ตัดสินใจของคนใดคนหนึง่ เป็นส�ำคัญ รวมถึงการ ประเมินในแต่ละครั้งควรสร้างความเข้าใจถึง เจตนารมณ์ของแต่ละหัวข้อ ก่อนลงเก็บข้อมูล
A(b) การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Engagement) A4 การมีส่วนร่วมและการใช้มาตรฐานความยั่งยืนของ ผู้ประกอบการ (Enterprise engagement and sustainability standards) A5 การมีส่วนร่วมและข้อเสนอแนะของผู้อยู่อาศัย (Resident engagement and feedback)
ตัวอย่าง บรรยากาศในการลงพื้นที่เก็บข้อมูล จังหวัดน่าน
72
กล่องรับฟังความคิดเห็นของ คนในชุมชน
สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ภาคผนวก ง : Site Observation Checklist
73
4
5
พื้ น ที่ ใ ห้ กั บ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย ต่ า งๆ ซึ่ ง กระบวนการนี้ มี ค วามส� ำ คั ญ เป็ น อย่ า งมาก เนื่องจากการประเมินข้อมูลบางอย่างผู้ประเมิน อาจจะได้ข้อคิดเห็น หรือ ข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อน�ำ ไปใช้ในการท�ำรายงานสรุปในขั้นตอนสุดท้ายได้ อย่างถูกต้องตรงตามความเป็นจริงที่สุดอีกด้วย
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบการตีผลระดับผลการ ประเมิน 4 ระดับตามโปรแกรมการประเมินแหล่ง ท่องเที่ยวของ GSTC และการจัดการที่มุ่งเน้นผล สัมฤทธิ์ (Result-Based Management: RBM) ซึ่งมีการแปลความหมายตามทฤษฎีจากระดับต�่ำ สุดที่มีความต้องการจากสภาพปัญหาที่บีบคั้น (ระดับสีแดง) >> กิจกรรมของหน่วยงานที่รับผิด ชอบในการพัฒนามาตรการตอบสนอง (ระดับ สีชมพู) >> ผลผลิตที่เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมายที่มี การปรับพฤติกรรมหรือเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี การผลิต (ระดับสีเหลือง) >> ผลลัพธ์องค์ประกอบ ของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในแต่ละด้าน
ตารางที่ 1 การตีความระดับผลการประเมินความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยว แถบสี
วันที่ 25 ตุลาคม 2561 08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียน 08.30 - 09.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการประชุม และแนะน�ำทีมคณะท�ำงาน โดย อาจารย์ ดร.ปเนต มโนมัยวิบูรณ์ หัวหน้าโครงการ 09.00 - 10.15 น. การบรรยาย เรื่อง ผลการประเมินศักยภาพและความยั่งยืนของการท่องเที่ยวในเมืองพัทยา และพื้นที่เชื่อมโยง โดย อาจารย์ ดร.ปเนต มโนมัยวิบูลย์ 10.15 - 10.30 น. รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 10.30 - 11.00 น. การบรรยาย เรื่อง บทบาท หน้าที่ และการท�ำงานเชิงบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐและ ภาคีเครือข่ายเพื่อการท่องเที่ยว “เมืองยั่งยืน” โดย อาจารย์ ดร.ณัฐกร วิทิตานนท์ 11.00 - 11.30 น. การบรรยาย เรื่อง มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรรณนิภา ดอกไม้งาม 11.30 - 12.00 น. การบรรยาย เรื่อง การท่องเที่ยวหนึ่งเมืองหลายแบบ: ทางเลือกทางรอดเพื่อความยั่งยืน โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พลวัฒ ประพัฒน์ทอง 12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
ค�ำอธิบายเดิม
ค�ำอธิบายที่เน้นผลลัพธ์
การตีความในการประเมินของ GSTC-D Version 2.0
เขียว
เป็นปกติ ควรด�ำเนินการอย่าง มีผลสัมฤทธิ์ของการน�ำไป ต่อเนื่อง ปฏิบัติตามเป้าหมาย
มีการจัดการอย่างเป็นระบบ ทั้งในด้านการ วางแผน นโยบาย การน�ำไปปฏิบัติใช้ และรับฟัง ข้อเสนอแนะ มีทิศทางในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพิ่มประสิทธิภาพ และ/หรือ ได้รับการยอมรับใน ระดับประเทศ หรือสากล ตามแต่พื้นที่ได้ร่วมกัน ก�ำหนดให้บรรลุเป้าหมาย
เหลือง
ยังต้องปรับปรุงบางประการ
มีมาตรการและการน�ำไป ปฏิบัติในกลุ่มเป้าหมาย
มีมาตรการพร้อม **หลักฐานเชิงประจักษ์และ มีระบบที่ได้น�ำไปฏิบัติใช้อย่างมีกลไกและเป็น ระบบที่ได้ใช้กับกลุ่มเป้าหมาย
ชมพู
มีความเสี่ยงปานกลาง
มีมาตรการและกิจกรรมของ มีมาตรการและ มีการออกแบบนโยบาย กฎหมาย แนวทางกิจกรรมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแต่ไม่มี หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่าง บรรยากาศในการคืนข้อมูล พัทยา
ตัวอย่าง ก�ำหนดการจัดประชุมเพื่อคืนข้อมูล พัทยา
74
การจัดท�ำรายงานผลการประมวลผล วิเคราะห์ ผล รายงานสรุป และน�ำเสนอวิธีการและเครื่อง มือทีเ่ หมาะสมในการประเมินแหล่งท่องเทีย่ วตาม หลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของ GSTC รวมถึ ง วิ ธี ก ารน� ำ เสนอข้ อ เสนอแนะ โดยการ วิเคราะห์สถานภาพของแหล่งท่องเทีย่ ว ตามหลัก เกณฑ์ 38 ประเด็น ของ 4 เสาหลักของ GSTC-D โดยก�ำหนดผลการประเมินเป็น 4 ระดับ ดังที่ แสดงในตารางที่ 1 และสรุปผลเป็นภาพรวม ใน รูปแบบภาพและแผนภูมิ
GSTC-D Version 2.0
เป็นการจัดประชุม หรือ Workshop เพือ่ “คืน ผลการประเมิน” ที่เราได้รวบรวม และท�ำการ ประเมินในเบื้องต้นมาแล้วอธิบายการตีความ หมาย การน�ำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ และ ข้อเสนอแนะส�ำหรับการพัฒนาการท่องเที่ยวใน
GSTC Assessment Report
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
Preliminary Results Validation Workshop
**หลักฐานเชิงประจักษ์
แดง
มีความเสี่ยงสูง
มีความเสี่ยงที่ต้องป้องกัน/ ปัญหาที่ต้องแก้ไข
เป็นความเสี่ยงของพื้นที่และจ�ำเป็นต้องรักษา/ แก้ไข/ไม่ได้พิจารณาเรื่องนี้
หมายเหตุ: **นิยามหลักฐานเชิงประจักษ์ หมายถึง การได้มาซึ่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ผ่านกระบวนการสืบค้น วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อน�ำมาปรับปรุง กลไก/ระบบมาตรฐานและคุณภาพของการปฏิบัติงาน
75
ตารางที่ 2 ตัวอย่างการวิเคราะห์ตัวชี้วัดตามเกณฑ์ของ GSTC-D Version 2.0 ด้านที่เลือก A1. ความรับผิดชอบด้านการจัดการแหล่งท่องเที่ยว
76
แหล่งท่องเที่ยวมีหน่วยงาน หรือ กลุ่ม หรือคณะท�ำงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการประสานงานด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และมีหลักฐาน เช่น นโยบาย ที่แสดงให้เห็นถึงแนวทาง การบันทึกข้อมูล และ/หรือความโปร่งใสในการได้รับงบประมาณ และการวางแผนด้านบุคลากร หรือการมีส่วนร่วมของเครือข่าย
ลงมือปฏิบัติและ ติดตามผลอย่าง สม�่ำเสมอและเป็น ระยะๆ
แหล่งท่องเที่ยวไม่มีองค์กรการจัดการด้านการท่องเที่ยว หน่วยงาน หรือกลุ่มที่รับผิดชอบในการประสานงานด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และยังไม่เห็นแนวทางในการหาทุน หรือการวางแผนเรื่องบุคลากรในการขับเคลื่อนในการจัดตั้งหน่วยงานนี้
Reason of Score (เหตุผลในการเลือกสี)
มีข้อมูลที่ชัดเจนจากหน่วยงานภาคีต่างๆ เช่น ททท. ทกจ. เทศบาลเมือง
Comment (ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม) หลักฐาน/ เอกสารเพื่อยืนยันสี
การท�ำการประเมิน และการออกแบบ
RBM
ประเมิน สถานการณ์และ ระบุถึง ความต้องการ
วิเคราะห์ตัวเลือก ที่มีและความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้น ก�ำหนดวิสัยทัศน์ และให้ค�ำจ�ำกัดความ กับกรอบแนวความคิด ของผลลัพธ์
(โปรดระบุชื่อไฟล์) รายงานจาก ททท. ทกจ. เทศบาลเมือง
การประเมินค่าฐานแบบเน้นผลลัพธ์ (RBM) นี้ จ�ำเป็นต้องมีการดัดแปลงเกณฑ์ของ GSTC-D ใน ด้านต่างๆ ให้มคี วามสมบูรณ์ในเชิงเนือ้ หามากขึน้ โดยต้องพิจารณาว่าตัวชี้วัดที่มีอยู่เดิมในแต่ละ ด้านเป็นตัวชีว้ ดั ในระดับมาตรการ (สีชมพู) การน�ำ ไปปฏิบตั ิ (สีเหลือง) หรือผลสัมฤทธิ์ (สีเขียว) และ ในกรณีทตี่ วั ชีว้ ดั ระบุไว้ไม่ครบทัง้ 3 ระดับ จ�ำเป็น ต้องเพิ่มเติมองค์ประกอบให้สมบูรณ์ เพื่อให้เห็น ผลลัพธ์และ Roadmap ในการด�ำเนินการเพือ่ มุง่ สูผ่ ลลัพธ์ในแต่ละด้านตาม 38 เกณฑ์ของ GSTC-D เช่น ตัวอย่างในตารางที่ 2 ในการประเมินความยัง่ ยืนของแหล่งท่องเทีย่ ว มีการน�ำการจัดการที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (Resultbased Management: RBM) มาใช้ในการจัดท�ำ เครื่องมือการประเมิน และยังได้มีการน�ำกลยุทธ์ ในการจัดการเพื่อผลลัพธ์การพัฒนา (Managing for Development Results: MfDR) มาช่วยใน การออกแบบและการวางแผนเชิงกลยุทธ์ที่เน้น ผลลัพธ์ ตลอดจนการใช้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยในการตัดสินใจในการวางแผนงาน MfDR เป็นชุดเครื่องมือที่มีโครงสร้างชัดเจน
วางแผนส�ำหรับ การติดตามดูแลผล และการเรียนรู้ เพิ่มเติม
ประเมินและ แบ่งปันผลจาก การศึกษา
และใช้งานได้จริงในสายงานต่างๆ ซึง่ ใช้หลักเกณฑ์ ของ RBM มาเป็นรากฐานของระบบ เพื่อเป็น แนวทางในการวางแผนกลยุทธ์และการปฏิบตั งิ าน การจัดการความเสี่ยง การติดตามความคืบหน้า และการประเมินผลลัพธ์/ผลกระทบ แนวทางของ MfDR นั้นมุ่งเน้นไปที่การปรับปรุงประสิทธิภาพ ขององค์กรและการบรรลุวัตถุประสงค์ภายใน ใน ขณะเดียวกันก็ท�ำให้มั่นใจว่างานที่องค์กรท�ำนั้น มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีผลกระทบ เชิงบวกอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อผูท้ มี่ สี ว่ นได้สว่ นเสียที่ เกี่ยวข้อง หลักเกณฑ์ RBM ได้มงุ่ เน้นในเรือ่ งของการเป็น เจ้าของอย่างแท้จริงในผลงานหรือการด�ำเนินการ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ การมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนได้ ส่วนเสีย และความรับผิดชอบและการให้ความ ใส่ใจในการได้มาซึ่งผลลัพธ์ จากข้อมูลอ้างอิงของศูนย์พฒ ั นาและฝึกอบรม (Centre for International Development and Training: CIDT) มหาวิทยาลัย Wolverhampton ในประเทศอังกฤษ ได้อธิบาย MfDR เพิ่มเติมว่า เป็นกลไกที่ใช้ในการประเมินเพื่อให้ได้ผลลัพธ์
GSTC-D Version 2.0
แหล่งท่องเที่ยวมีหน่วยงาน หรือ กลุ่ม หรือคณะท�ำงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการประสานงานด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่เป็นระบบ กล่าวคือ มีเอกสาร หรือนโยบายที่แสดงให้เห็นถึงหลักฐานเชิงประจักษ์ในการบันทึกข้อมูล ทั้งด้านความโปร่งใสในการได้รับงบประมาณ และการวางแผนด้านบุคลากร รวมถึงการมีส่วนร่วมของเครือข่ายที่ชัดเจน ทั้งในภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาคม
การประเมินและ การศึกษาจากเอกสาร
การลงมือปฏิบัติและ การติดตามดูแลผล รูปที่ 1 แสดงกระบวนการการจัดการเพื่อผลลัพธ์การพัฒนา (MfDR)
ซึ่งจ�ำเป็นต้องมีการปรับปรุงและเรียนรู้อยู่ตลอด สั ม ภาษณ์ และการลงพื้ น ที่ เ พื่ อ สั ง เกตอย่ า งมี เวลาและสม�่ำเสมอ และผลลัพธ์เหล่านี้มีความ ส่วนร่วม โดยการวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็น เหมาะสมเพียงใดในการท�ำให้เกิดการเปลี่ยน 4 ขัน้ ตอนหลักๆ ดังนี้ แปลงที่ต้องการในการพัฒนามนุษย์ แนวทาง MfDR สนับสนุนให้หน่วยงานด้านการพัฒนาให้ 1. การก�ำหนดผลลัพธ์ทพี่ งึ ประสงค์ (Purpose) ความส�ำคัญกับการสร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยง ผลสั ม ฤทธิ์ ที่ ร ะบุ ไ ว้ ส�ำ หรั บ แต่ ล ะด้ า นจะ และการสร้างความร่วมมือ รวมถึงการก้าวไปใน เป็นกรอบส�ำหรับ DMO ในการน�ำไปก�ำหนด ทิศทางเดียวกัน ซึ่งจะยังส่งเสริมความยั่งยืนมาก เป้ า หมายของการพั ฒ นาสถานภาพการ ขึ้นด้วยมาตรการการพัฒนาขีดความสามารถใน ด�ำเนินการในแต่ละด้านตามหลักเกณฑ์ของ ระดับชาติ อีกด้วย GSTC ให้ถึงระดับผลลัพธ์ที่พึงประสงค์
กระบวนการการประเมินความยั่งยืนของ แหล่งท่องเที่ยวตามเกณฑ์ GSTC-D รูปที่ 2 แสดงแผนผังของการประเมินความ ยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยวตามตัวชี้วัดและเกณฑ์ ของ GSTC ด้ ว ยหลั ก ฐานจากเอกสาร การ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
Description ค�ำอธิบายผล
แหล่งท่องเที่ยวมีหน่วยงาน หรือ กลุ่ม หรือคณะท�ำงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการประสานงานด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่เป็นระบบ ยึดหลักในการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่เห็นผลการปฏิบัติานเชิงประจักษ์อย่างมีประสิทธิภาพ และมีการจัดการทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ที่ได้รับ การยอมรับจากภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และ/หรือได้รับรางวัลหน่วยงานดีเด่นที่เป็นต้นแบบด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
2. การวางแผนสัมภาษณ์และการเก็บหลักฐาน (Document and Stakeholder Mapping) ต้องมีการติดต่อประสานงาน ร่วมกับ อพท. ในพื้นที่ เพื่อสร้างความเข้าใจถึงหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เห็นข้อมูลและจัดเตรียม
77
78
4. การประเมินผลสัมฤทธิ์ (Best Practice Implementation Assessment) หน่วย งานที่เกี่ยวข้องต้องมีผลการตรวจสอบและ รายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ในด้านนั้น เพื่ อ น� ำ มาตรวจสอบว่ า การน� ำ ไปปฏิ บั ติ
ในกรณีที่หัวข้อการประเมินไม่สามารถวัดผล ในพื้นที่ได้ ยกตัวอย่างเช่น D3 การมีปฏิสัมพันธ์ กับสิ่งมีชีวิตในป่า (Wildlife interaction) ซึ่ง พื้นที่ ๆ ประเมินเป็นลักษณะเมืองวัฒนธรรม ที่ ไม่มอี งค์ประกอบในด้านนีเ้ พือ่ พิจารณา ก็สามารถ ที่จะใส่หมายเหตุในการประเมินหัวข้อนี้ว่า “ไม่ สามารถประเมินได้” ไม่จ�ำเป็นต้องประเมินให้ ครบหัวข้อหากไม่มีข้อนั้น จริงๆ รูปที่ 3 แสดงตัวอย่างการประเมินสถานะความ ยั่งยืนตามเกณฑ์ GSTC-D Version 2.0 ในการ ทดสอบคู่มือการประเมินสถานะความยั่งยืนของ แหล่งท่องเทีย่ ว ตามเกณฑ์ GSTC-D Version 2.0 โดยการลงพืน้ ทีน่ าเกลือ เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ในวันที่ 9-10 กันยายน 2564
RED
PINK
YELLOW
GREEN
A
2
8
2
-
B
2
3
3
-
C
2
5
-
-
D
3
7
2
-
Total Color
9
23
6
-
เป็นความเสี่ยงของพื้นที่ มีมาตรฐานและกิจกรรม มีมาตรการพร้อมหลักฐาน การจัดการอย่างเป็นระบบ และจ�ำเป็นต้องรักษา จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เชิงประจักษ์ และมีระบบ มีทิศทางในการพัฒนา ไม่มีหลักฐาน ทีไ่ ด้ท�ำการปฏิบัติมา อย่างต่อเนื่อง ได้รับ เชิงประจักษ์ อย่างมีกลไกและเป็นระบบ การยอมรับในระดับ ที่ได้ใช้กับกลุ่มเป้าหมาย ประเทศหรือสากล
GSTC-D Version 2.0
3. การตรวจสอบการน�ำไปปฏิบัติ (Policy Implementation Assessment) ในกรณี ที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีมาตรการในแหล่ง ท่องเที่ยวครบถ้วน ให้ตรวจสอบว่ามีกลุ่ม เป้าหมายและมีระบบในการด�ำเนินการตาม เป้าหมายทีเ่ กีย่ วข้องหรือไม่ อย่างไร รวมถึง มีหลักฐานเชิงประจักษ์หรือไม่ หากยังไม่มี จะได้รับผลการประเมินในระดับสีชมพู แต่ ถ้ามีหลักฐานของการน�ำไปปฏิบตั อิ ย่างชัดเจน แล้วให้ดำ� เนินการอย่างต่อเนือ่ งมีการวางแผน น�ำไปใช้ ตรวจสอบ ทบทวนปรับปรุงให้ดขี นึ้ ถือได้ว่าจะอยู่ในระดับสีเหลือง
บรรลุ ผ ลลั พ ธ์ ที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นขั้ น ตอนแรก หรือไม่ และได้มีการด�ำเนินการอย่างเป็น ระบบและสามารถเป็นต้นแบบตามเป้าหมาย ได้หรือไม่ หากยังไม่ได้ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ จะได้รบั ผลการประเมินในระดับสีเหลือง แต่ ถ้ า หลั ก ฐานชี้ ว ่ า ผลการด� ำ เนิ น การบรรลุ เป้าหมายที่ก�ำหนดไว้แล้วจะได้รับผลการ ประเมินในระดับสีเขียว
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
**นิยามหลักฐานเชิงประจักษ์ หมายถึง การได้มาซึ่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ่ผ่านกระบวนการสืบค้น วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อน�ำมาปรับปรุง กลไก/ระบบมาตรฐานและคุณภาพของการปฏิบัติงาน
มีการจัดการอย่างเป็นระบบ ทั้งในด้านการวางแผน นโยบาย การน�ำไปปฏิบัติใช้ และรับฟัง ข้อเสนอแนะ มีทิศทางในการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องเพิ่ม ประสิทธิภาพ และ/หรือ ได้รับ การยอมรับในระดับประเทศ หรือสากล ตามแต่พื้นที่ได้ร่วมกัน ก�ำหนดให้บรรลุเป้าหมาย มีมาตรการพร้อม **หลักฐาน เชิงประจักษ์และมีระบบ ที่ได้น�ำไปปฏิบัติใช้อย่างมี กลไกและเป็นระบบที่ได้ใช้กับ กลุ่มเป้าหมาย เป็นความเสี่ยงของพื้นที่และ จ�ำเป็นต้องรักษา/แก้ไข/ ไม่ได้พิจารณาเรื่องนี้
มีมาตรการและมีการออกแบบ นโยบาย กฎหมาย แนวทาง กิจกรรมจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องแต่ไม่มี**หลักฐาน เชิงประจักษ์
GREEN YELLOW
การตีความสถานะความยั่งยืน
None ไม่มี
RED
PINK
Best practices implemented; goals/results achieved น�ำไปปฏิบัติและเป็นไปตามเป็นหมาย Goals/Results unachieved น�ำไปปฏิบัติ แต่ยังไม่บรรลุเป้าหมาย No document, Has documents, Has policy; with risk: not too risk: No systematic ไม่มีเอกสารและ มีเอกสารและ implementation มีความเสี่ยง ไม่มีความเสีย่ ง มีมาตรการแต่ไม่มีการปฏิบัติ อย่างเป็นระบบ
มีรูปแบบการปฏิบัติงานอย่าง เป็นระบบ (PDCA)
มีการประเมินเอกสารและ ตรวจสอบมาตรการ/ นโยบาย/แผน มีการจัดท�ำแผนที่เอกสาร และตรวจสอบหลักฐาน ก�ำหนดเป้าหมาย และผลลัพธ์
3. Evidence & Assessment of Policy Implementation 2.1 Document Assessment & Policy Mapping
1. Determining the goals and desirable results
2. Document Mapping & Evidence Coleection
Complete Collection เอกสาร/หลักฐานครบถ้วน มีความเสี่ยง/ปัญหาเด่นชัด
มีหลักฐานและ มีการออกนโยบายสู่การปฏิบัติ
4. Best Practice Implementation and Assessment
บรรลุตามเป้าหมาย GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
รูปที่ 2 กระบวนการการประเมินความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยวตามเกณฑ์ GSTC-D
พิจารณาหลังจากได้ท�ำการสัมภาษณ์ 2.1 การประเมินเอกสารและตรวจสอบ มาตรการ นโยบาย หรื อ แผนของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งหากไม่มีจะ ได้รับผลการประเมินในระดับสีแดง
รูปที่ 3 แสดงตัวอย่างการประเมินสถานะความยั่งยืนตามเกณฑ์ GSTC-D Version 2.0
79
A07 A08 A09 A10 A11 A12
A13 A14 B01 B02 B03 B04
B05 B06 B07 B08 B09 อพท. 3 สาขา
C01 C02 C03 C04 C05 C06
D01 D02 D03 D04 D05 D06
รูปที่ 4 แสดงตัวอย่างผลการประเมินความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่พิเศษเกาะหมาก (GSTC-D Version1.0)
D07 D08 D09 D10 D11 D12
GSTC-D Version 2.0
A01 A02 A03 A04 A05 A06
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
80
การวิ เ คราะห์ ผ ลจะต้ อ งใช้ ห ลั ก เกณฑ์ ข อง สถานภาพอยูใ่ นระดับสีเขียว (เห็นผลสัมฤทธิข์ อง GSTC Version มาสรุ ป ซึ่ ง จะได้ ต ารางและ การด�ำเนินการ) จ�ำนวน 3 ด้าน ระดับสีเหลือง (มีตวั อย่างของการน�ำไปปฏิบตั โิ ดยกลุม่ เป้าหมาย) แผนภูมิตามตัวอย่างต่อไปนี้ จ�ำนวน 14 ด้าน ระดับสีชมพู (มีมาตรการรองรับ รูปที่ 4 แสดงตัวอย่างผลการประเมินความ แต่ยังขาดการน�ำไปปฏิบัติ) จ�ำนวน 19 ด้าน และ ยัง่ ยืนของแหล่งท่องเทีย่ วในพืน้ ทีพ่ เิ ศษเกาะหมาก ระดับสีแดง (มีปัญหาที่ ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อ ตามเกณฑ์ทั้ง 41 ด้านของ GSTC Version 1 ความยั่งยืน) จ�ำนวน 5 ด้าน ในปี 2562 ซึ่งในเบื้องต้นพบว่า ณ ปัจจุบันมี
81
82
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0 คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
ส�ำรวจสถานะความยั่งยืน ของแหล่งท่องเที่ยว ตามเกณฑ์
83
84 คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
Version 2.0
ส�ำรวจสถานะความยั่งยืน ของแหล่งท่องเที่ยว ตามเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ G S T C - D
บ ท ที่ 3
85
86 87
ค�ำอธิบาย แดง (ความเสี่ยง)
ค�ำอธิบาย
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี องค์กรการจัดการ ด้านการท่องเที่ยว หน่วยงาน หรือกลุ่ม ที่รับผิดชอบในการ ประสานงานด้านการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และยังไม่เห็นแนวทาง ในการหาทุน หรือการ วางแผนเรื่องบุคลากร ในการขับเคลื่อนใน การจัดตั้งหน่วยงานนี้
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมี หน่วยงาน หรือ กลุ่ม หรือคณะท�ำงานที่มี หน้าที่รับผิดชอบ ในการประสานงาน ด้านการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนอย่างเป็น ระบบ กล่าวคือ มีเอกสาร หรือนโยบาย ที่แสดงให้เห็นถึง หลักฐานเชิงประจักษ์ ในการบันทึกข้อมูล ทั้งด้านความโปร่งใส ในการได้รบั งบประมาณ และการวางแผนด้าน บุคลากร รวมถึงการมี ส่วนร่วมของเครือข่าย ที่ชัดเจน ทั้งในภาค ธุรกิจ ภาครัฐ และ ภาคประชาคม
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หน่วยงาน หรือ กลุ่ม หรือคณะท�ำงานที่มี หน้าที่รับผิดชอบใน การประสานงานด้าน การท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน และมีหลักฐาน เช่น นโยบายที่แสดง ให้เห็นถึงแนวทาง การบันทึกข้อมูล และ/ หรือ ความโปร่งใสใน การได้รับงบประมาณ และการวางแผนด้าน บุคลากร หรือการมี ส่วนร่วมของเครือข่าย
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. เอกสารหลักฐานที่แสดงถึงการจัดตั้งหรือ โครงสร้างของคณะบุคคลที่ได้รับมอบหมาย และอ�ำนาจหน้าที่ของคณะบุคคลนั้น b. แผนการเงินและงบประมาณที่แสดงให้เห็น แหล่งที่มาของเงินทั้งในปัจจุบันและอนาคต c. หลักฐานที่แสดงถึงการมีความเชื่อมโยงและ มีส่วนร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ d. รายชื่อพนักงานประจ�ำและพนักงานชั่วคราว พร้อมระบุประสบการณ์ที่ตรงกับต�ำแหน่งงาน หน้าที่ e. แนวทางและกระบวนการการจัดการที่แสดงถึง ความตระหนักรู้และการปฏิบัติตามหลักการ ความยั่งยืนและความโปร่งใสในการท�ำงาน และการกระท�ำสัญญาใดๆ
ความรับผิดชอบด้านการจัดการแหล่งท่องเที่ยว (Destination management responsibility) - แหล่งท่องเที่ยวมีหน่วยงาน ส่วนงาน กลุ่ม หรือคณะกรรมการที่มีประสิทธิภาพที่จะ รับผิดชอบเป็นผู้ประสานงานเพื่อสร้าง การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วม ของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน - กลุ่มบุคคลเหล่านี้จะต้องมีการก�ำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบ การก�ำกับดูแล และความ สามารถในการลงมือปฏิบัติงาน เพื่อจัดการ ประเด็นด้านสังคม-เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม - ในการจัดการแหล่งท่องเที่ยว กลุ่มบุคคล เหล่านี้จะต้องได้รับงบประมาณที่เพียงพอ และสามารถท�ำงานร่วมกับหน่วยงาน หลากหลายรูปแบบได้ - กลุ่มบุคคลเหล่านี้จะต้องมีบุคลากรที่เพียงพอ ในการท�ำงาน (รวมถึงจะต้องมีผู้มีประสบการณ์ ในด้านความยั่งยืนด้วย) และจะต้องปฏิบัติงาน ตามหลักการความยั่งยืน และมีความโปร่งใส
A1
ด้าน A การจัดการความยั่งยืน (Sustainable Management)
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ในการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ในระดับสากล ที่ GSTC ให้การยอมรับ
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมี หน่วยงาน หรือ กลุ่ม หรือคณะท�ำงานที่มี หน้าที่รับผิดชอบ ในการประสานงาน ด้านการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนที่เป็นระบบ ยึดหลักในการ พัฒนาการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนที่เห็นผล การปฏิบัติงานเชิง ประจักษ์อย่างมี ประสิทธิภาพ และ มีการจัดการทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ที่ได้รับการ ยอมรับจากภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ด้านการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน และ/หรือ ได้รับรางวัลหน่วยงาน ดีเด่นที่เป็นต้นแบบ
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
88 89
ยุทธศาสตร์การจัดการแหล่งท่องเที่ยวและ แผนปฏิบัติการ (Destination management strategy and action plan) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการจัดท�ำและใช้แผน ยุทธศาสตร์การจัดการแหล่งท่องเที่ยวระยะยาว และมีแผนปฏิบัติการที่เหมาะสม และสามารถ เปิดเผยให้สาธารณชนรับทราบได้โดยการจัดท�ำ แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการจะต้อง ด�ำเนินการผ่านการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย และอยู่บนหลักการของความยั่งยืน - แผนยุทธศาสตร์จะต้องมีการระบุถึงและ การประเมินสินทรัพย์ด้านการท่องเที่ยวและ ควรมีการพิจารณาถึงประเด็นและความเสี่ยง ด้านสังคม-เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อม - แผนยุทธศาสตร์จะต้องมีส่วนเกี่ยวข้องต่อ นโยบายและมีอิทธิพลต่อการท�ำงานในด้าน การพัฒนาความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยว ในภาพกว้างอีกด้วย
ค�ำอธิบาย
A2
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานที่เป็นการ จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ ในการจัดการแหล่ง ท่องเที่ยวในระยะยาว รวมถึงแผนปฏิบัติการ ที่อยู่บนหลักการความ ยั่งยืนในบริบทพื้นที่ ส่งผลให้เกิดความ ความเสี่ยงในการพัฒนา ที่อาจถูกแทรกแซง จากภายนอก
แดง (ความเสี่ยง)
อย่างยั่งยืนที่การสร้าง สมดุล มิติด้าน สังคม-เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อมที่ชัดเจน
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ได้รับทราบแบบ ออนไลน์ และ/หรือ การทบทวนแผนและ แนวทางปฏิบัติในการ สร้างสมดุลด้านความ ยั่งยืนเป็นต้น
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีกลไก การท�ำแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการ ที่เป็นปัจจุบัน และยึด หลักการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนที่สอดคล้องกับ บริบทพื้นที่มีหลักฐาน เชิงประจักษ์สู่ สาธารณชน และได้รับ ค�ำปรึกษาจากเครือ ข่าย มีการมีส่วนร่วม เพื่อสนับสนุนในการ พัฒนาแผนเชิง บูรณาการ และแต่ละ หน่วยงานได้น�ำแผน ไปใช้จนเห็นผลเป็น รูปธรรมในระยะเวลา 3 ปี แต่ยังขาดการ จัดการความเสี่ยงต่อ การท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนและการปรับตัว มาใช้ให้เห็นเป็นรูป ธรรม รวมถึงการเห็น ผลของการพัฒนา
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวได้ จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ ทั้งระยะยาวและแผน ปฏิบัติการที่เหมาะสม โดยต้องมีการด�ำเนิน การผ่านการมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนได้เสียและ อยู่บนหลักการความ ยั่งยืน ในบริบทพื้นที่ๆ สะท้อนแนวทาง การสร้างสมดุลของ การพัฒนาการท่องเทีย่ ว อย่างยั่งยืนทั้ง สังคมเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม แต่ยัง คงขาดหลักฐานเชิง ประจักษ์สู่สาธารณชน ที่เป็นปัจจุบัน เช่น การหารือ/หรือ การ ประชุมร่วมกับผู้มีส่วน ได้เสีย และน�ำข้อเสนอ แนะมาปรับใช้ และ/ หรือ แผนที่เปิดเผยให้ สาธารณชนค�ำนึงถึง
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการเผยแพร่เอกสารแผนยุทธศาสตร์และ แผนปฏิบัติการของแหล่งท่องเที่ยวฉบับ ที่ใช้ในปัจจุบัน b. แผนยุทธศาสตร์/แผนการท�ำงานสามารถเข้าถึง ได้ง่ายและสามารถค้นหาแบบ on-line ได้ c. มีหลักฐานของการหารือหรือการประชุมร่วมกับ ผู้มีส่วนได้เสียในการออกแบบแผนงาน d. แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการมีการ กล่าวถึงหลักการความยั่งยืนและการประเมิน สินทรัพย์ ประเด็นและความเสี่ยงด้าน การท่องเที่ยว e. ระบุถึงความเกี่ยวโยงระหว่างแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการกับนโยบายการพัฒนา ความยัง่ ยืนในภาพกว้าง (รวมถึงการบรรลุ SDGs)
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
รวมถึงการบรรลุ SDGs และประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงมี การจัดการความเสี่ยง ต่อการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนและการปรับ ตัวอย่างเป็นรูปธรรม และสมดุลในด้าน สังคม-เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อมที่ชัดเจน
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีแผน ยุทธศาสตร์และแผน ปฏิบัติการที่เป็น ปัจจุบันอย่างน้อย 3 ปี และมีการทบทวน อย่างต่อเนื่อง โดยยึด หลักการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนที่สอดคล้องกับ บริบทพื้นที่ มีหลักฐาน เชิงประจักษ์สู่ สาธารณชน และได้รับ ค�ำปรึกษาจากเครือ ข่ายและการมีส่วนร่วม เพื่อสนับสนุนในการ พัฒนาแผน และมีการ ระบุถึงความเกี่ยวโยง ระหว่างแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการเชิง บูรณาการกับนโยบาย การพัฒนาความยั่งยืน ในภาพกว้างร่วมกับ หน่วยงานอื่นๆ อย่าง เป็นรูปธรรม เช่น ก�ำหนดตัวชี้วัดร่วม
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
90 91
การติดตามและการรายงานผล (Monitoring and reporting) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการสร้างระบบในการ ติดตามดูแล และตอบสนองประเด็นในเชิง เศรษฐกิจ-สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงตอบสนองต่อผลกระทบต่างๆ อันเกิดจากการท่องเที่ยว - การด�ำเนินงานและผลลัพธ์จากการด�ำเนินงาน จะต้องมีการก�ำกับดูแล ประเมิน และรายงาน ต่อสาธารณะให้ทราบอยู่เสมอ ทั้งนี้ระบบการ ติดตามจะต้องได้รับการทบทวนและปรับปรุง อยู่เสมอ
ค�ำอธิบาย
A3
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการก�ำหนด ตัวชี้วัดที่แสดงปริมาณ และเป้าหมายที่บ่งชี้ถึง กระบวนการติดตาม ดูแล และตอบสนอง ประเด็นในเชิง เศรษฐกิจ-สังคม วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อมที่อาจะมี ผลกระทบ อันเกิดจาก การท่องเที่ยว
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานเชิงประจักษ์ ในการก�ำหนดตัวชี้วัด ที่แสดงปริมาณ และ เป้าหมายที่บ่งชี้ถึง กระบวนการติดตาม ดูแล และตอบสนอง ประเด็นในเชิง เศรษฐกิจ-สังคม วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อมที่อาจะมี ผลกระทบอันเกิดจาก การท่องเที่ยวได้ โดยมี การติดตาม การประเมิน และการรายงานผลต่อ สาธารณชนอย่าง ต่อเนือ่ งเป็นรายปี และ/ หรือมีการน�ำระบบ สารสนเทศเข้ามาใช้ ในการช่วยติดตาม สถานการณ์ต่างๆ เพื่อการตัดสินใจใน การพัฒนาร่วมกับ ภาคีเครือข่าย
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานอยู่บ้างในการ ก�ำหนดตัวชี้วัดที่แสดง ปริมาณ และเป้าหมาย ที่บ่งชี้ถึงกระบวนการ ติดตาม ดูแล และ ตอบสนองประเด็น ในเชิงเศรษฐกิจ-สังคม วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อมที่อาจะมี ผลกระทบอันเกิดจาก การท่องเที่ยวได้ แต่ กระนั้น การติดตาม การประเมิน และ การรายงานผลต่อ สาธารณชน ยังไม่ได้ ท�ำอย่างต่อเนื่องและ เป็นระบบ
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการก�ำหนดตัวชี้วัดเชิงปริมาณเพื่อประเมินผล เชิงสังคม-เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อม รวมถึงระบุเป้าหมายที่ชัดเจน b. การประเมินผลตามตัวชี้วัดที่ก�ำหนดขึ้นจะต้อง มีการบันทึกและรายงานสู่สาธารณะอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง c. มีหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรของการ ติดตามดูแลและการรายงานผลการด�ำเนินงาน และผลลัพธ์ที่ได้ d. มีเอกสารการแสดงถึงการทบทวนระบบ และติดตามดูแลที่เคยท�ำขึ้นก่อนหน้านี้ และ มีการก�ำหนดการส�ำหรับการทบทวนระบบ ในอนาคต
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานเชิงประจักษ์ ในการก�ำหนดตัวชี้วัด ที่แสดงปริมาณ และ เป้าหมายที่บ่งชี้ถึง กระบวนการติดตาม ดูแล และตอบสนอง ประเด็นในเชิง เศรษฐกิจ-สังคม วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อมที่อาจะมี ผลกระทบอันเกิดจาก การท่องเที่ยวได้ โดยมี ระบบติดตาม การ ประเมิน มีการรายงาน ผลต่อสาธารณชนด้วย ระบบสารสนเทศ ในการเฝ้าระวัง และ มีการทบทวนอย่าง สม�่ำเสมอ รวมถึง การก�ำหนดช่วงเวลา การทบทวนระบบใน อนาคต อย่างน้อย 3 ปี
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
92 93
การมีส่วนร่วมและการใช้มาตรฐาน ความยั่งยืนของผู้ประกอบการ (Enterprise engagement and sustainability standards) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการให้ข้อมูลกับ ผูป้ ระกอบการด้านการท่องเทีย่ วในเรือ่ งประเด็น ด้านความยั่งยืนอยู่เสมอ รวมถึงส่งเสริมและ สนับสนุนให้ผู้ประกอบการเหล่านั้นด�ำเนิน กิจการให้มีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องสนับสนุนการน�ำเอา มาตรฐานความยั่งยืนมาใช้โดยเฉพาะการ สนับสนุนให้ผู้ประกอบการน�ำมาตรฐานที่ผ่าน GSTC-I Recognized มาใช้ และเข้าสู่ระบบ การรับรองมาตรฐานที่ผ่าน GSTC-I Accredited ในกรณีที่ผู้ประกอบการนั้น มีขีดความสามารถที่ท�ำได้ - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการเผยแพร่รายชื่อ ผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ความยั่งยืน
ค�ำอธิบาย
A4
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการน�ำเอา มาตรฐานความยั่งยืน มาก�ำหนดใช้ รวมถึง ไม่มีการสื่อสาร หรือ สนับสนุนให้ค�ำแนะน�ำ ในการได้รับการรับรอง มาตรฐานด้านความ ยั่งยืน (GSTC-I Recognized standard/accredited)
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการน�ำเอามาตรฐาน ความยั่งยืนมาก�ำหนด ใช้ มีการตรวจสอบ และปรับปรุงแนวทาง การสร้างการมีสว่ นร่วม ที่ดี และมีการสื่อสาร หรือสนับสนุนให้ ค�ำแนะน�ำในการได้รับ การรับรองมาตรฐาน ด้านความยั่งยืน (GSTC-I Recognized standard/accredited) หรือ มาตรฐาน Green standard ในระดับ ประเทศ และมีการ เผยแพร่รายชื่อ ผู้ประกอบการที่ได้รับ การรับรองมาตรฐาน ความยั่งยืน
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการน�ำเอา มาตรฐานความยั่งยืน มาก�ำหนดใช้อยู่บ้าง แต่ไม่มีการสื่อสารหรือ สนับสนุนให้ค�ำแนะน�ำ ในการได้รับการรับรอง มาตรฐานด้านความ ยั่งยืน (GSTC-I Recognized standard/accredited)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. หลักฐานที่แสดงถึงการสื่อสารประเด็นด้าน ความยั่งยืนกับผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว อย่างสม�่ำเสมอ (สื่อ การประชุม การพูดคุย โดยตรง ฯลฯ) b. มีการสนับสนุนและให้ค�ำแนะน�ำในเรื่องความ ยั่งยืนกับผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว c. จ�ำนวนและร้อยละของธุรกิจที่ได้รับการรับรอง มาตรฐานด้านความยัง่ ยืน (GSTC recognized / accredited ก็ได้) โดยมีการตั้งเป้าหมายขยาย ขอบข่ายให้กว้างขึ้น d. หลักฐานการสนับสนุนการเข้าสู่ระบบการ รับรองมาตรฐานความยั่งยืน e. รายชื่อของธุรกิจที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ความยั่งยืนและมีการปรับปรุงรายชื่อให้ทันสมัย ตลอดเวลา
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการน�ำเอาหลักฐาน ความยั่งยืนมาก�ำหนด ใช้ และมีการสื่อสาร หรือสนับสนุนให้ ค�ำแนะน�ำในการได้รับ การรับรองมาตรฐาน ด้านความยั่งยืน (GSTC-I Recognized standard/accredited) หรือ มาตรฐาน Green standard ในระดับต้นแบบของ ประเทศ/นานาชาติ โดยมีการเผยแพร่ รายชื่อผู้ประกอบการ ที่ได้รับการรับรอง มาตรฐานความยั่งยืน รวมถึงได้ตั้งเป้าหมาย ขยายขอบเขตจ�ำนวน ของธุรกิจที่ได้รับรอง มาตรฐานด้านความ ยั่งยืนเป็นจ�ำนวนร้อย ละที่ชัดเจนได้อย่าง ต่อเนื่องเป็นเวลา 3 ปี
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
94 95
การมีส่วนร่วมและข้อเสนอแนะของผู้อยู่อาศัย (Resident engagement and feedback) - แหล่งท่องเทีย่ วมีการเปิดโอกาสและสนับสนุนให้ สาธารณชนมีส่วนในการวางแผนและจัดการ แหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน - มีการติดตามดูแลและรายงานให้สาธารณะ ทราบถึงความปรารถนา ข้อกังวล และความ พึงพอใจของชุมชนท้องถิ่น ที่มีต่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนและการจัดการแหล่งท่องเที่ยว พร้อมกับมีการปฏิบัติงานเพื่อตอบสนอง ประเด็นนั้นๆ ของชุมชนท้องถิ่นอยู่เสมอ - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีระบบที่จะเสริมสร้าง ความเข้าใจให้แก่คนในท้องถิ่นเกี่ยวกับโอกาส และความท้าทายด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และสร้างขีดความสามารถของชุมชน เพื่อให้ สามารถตอบสนองต่อโอกาสและ ความท้าทายนั้นๆ
ค�ำอธิบาย
A5
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการเปิด โอกาสให้สาธารณชน คนในพื้นที่ได้มีการเข้า ร่วมและมีส่วนในการ วางแผนและการ จัดการแหล่งท่องเที่ยว ให้เกิดความยั่งยืน
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการเปิดโอกาสและ สร้างขีดความสามารถ แก่ชุมชน คนในพื้นที่ ได้มีการเข้าร่วมและ มีส่วนในการวางแผน และการจัดการแหล่ง ท่องเที่ยวให้เกิดความ ยั่งยืน และระบบ/ กลไกนี้ยังเสริมสร้าง ความเข้าใจแก่คนใน ท้องถิ่นเกี่ยวกับโอกาส และความท้าทายด้าน การท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนและสร้างขีด ความสามารถของ ชุมชนในการตอบ สนองต่อโอกาสและ ความท้าทายนั้นๆ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการเปิด โอกาสและสร้างขีด ความสามารถแก่ชุมชน ในการตอบสนองต่อ โอกาสและความ ท้าทายของคนในพื้นที่ โดยได้มีการเข้าร่วม และมีส่วนในการ วางแผนและการ จัดการแหล่งท่องเที่ยว ให้เกิดความยั่งยืน แต่กระนั้น ยังคงขาด กลไกที่จะได้มาซึ่ง ความเห็นและข้อเสนอ แนะของผู้อยู่อาศัยที่มี ต่อประเด็นที่กังวล ในด้านการท่องเที่ยว รวมถึงระบบการ ติดตาม และตอบสนอง ต่อข้อเสนอแนะนั้น
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. หลักฐานการสนับสนุนและการอ�ำนวย ความสะดวกให้เกิดการมีสว่ นร่วมของสาธารณะ ในการวางแผนและการจัดการแหล่งท่องเที่ยว b. ข้อมูลของประเภทและระดับของการมี ส่วนร่วมนั้นๆ c. มีการส�ำรวจและมีกลไกอื่นๆ ที่จะได้มาซึ่ง ความเห็นและข้อเสนอแนะของผู้อยู่อาศัย ซึ่งครอบคลุมประเด็นการท่องเที่ยว d. หลักฐานของการปฎิบัติการเพื่อตอบสนองต่อ ข้อเสนอแนะของผู้อยู่อาศัย e. มีโปรแกรมการให้ข้อมูล ให้ความรู้ และอบรม ในเรื่องการท่องเที่ยวให้แก่ผู้อยู่อาศัย
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
พึงพอใจของคนใน พื้นที่ รวมถึงหลักฐาน ในการจัดฝึกอบรม การสร้างความเข้าใจ และความสามารถใน การตอบสนองต่อ โอกาสและความ ท้าทายของการ พัฒนาการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ที่มีประสิทธิภาพ ในการเปิดโอกาสและ สร้างขีดความสามารถ แก่ชุมชน คนในพื้นที่ อย่างมีส่วนร่วมเพื่อ การวางแผนและการ จัดการแหล่งท่องเที่ยว ให้เกิดความยัง่ ยืนอย่าง ต่อเนื่อง 3 ปี โดยมี กลไกเปิดรับความเห็น และข้อเสนอแนะของ ผู้อยู่อาศัยต่อประเด็น กังวลหรือสงสัยในด้าน การท่องเที่ยวรวมถึง มีระบบการติดตามและ ตอบสนองต่อข้อเสนอ แนะนั้นโดยกลไกนั้น อาจหมายรวมถึง การท�ำประชาพิจารณ์ การฝึกอบรมด้านการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และการจัดท�ำ แบบสอบถามความ
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
96 97
การมีสว่ นร่วมและข้อเสนอแนะของนักท่องเทีย่ ว (Visitor engagement and feedback) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีระบบการติดตามดูแล และรายงานความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว ต่อสาธารณชนในเรื่องของคุณภาพและ ความยั่งยืนของประสบการณ์ในแหล่งท่องเที่ยว และอาจต้องมีการตอบสนองในเชิงปฏิบัติ หากจ�ำเป็น - แหล่งท่องเที่ยวมีการให้ข้อมูลประเด็นด้าน ความยั่งยืนแก่นักท่องเที่ยว พร้อมกับแนะน�ำ บทบาทของนักท่องเที่ยวว่าสามารถมีส่วนกับ ความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยวนั้นได้อย่างไร
ค�ำอธิบาย
A6
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการสร้าง การมีส่วนร่วมและการ ได้รับข้อเสนอแนะของ นักท่องเที่ยว และ/ หรือการตอบสนองต่อ ข้อค้นพบจากการ ส�ำรวจหรือสอบถาม ความเห็นนักท่องเที่ยว ในเรื่องของคุณภาพ และความยั่งยืนของ ประสบการณ์ในแหล่ง ท่องเที่ยว
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ และหลักฐานเชิง ประจักษ์ในการสร้าง การมีส่วนร่วมและ การได้รับข้อเสนอแนะ ของนักท่องเที่ยวอย่าง ต่อเนื่องและมีการ ตอบสนองต่อข้อค้นพบ จากการส�ำรวจหรือ สอบถามความเห็น นักท่องเที่ยวเรื่อง ประสบการณ์ในแหล่ง ท่องเที่ยว ด้านคุณภาพ และความยั่งยืน รวมถึงมีการปฏิบัติ ด�ำเนินการให้ข้อมูล เกี่ยวกับการพัฒนา การท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนเพื่อตอบสนอง ต่อข้อเสนอแนะ
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการสร้าง การมีส่วนร่วมและ การได้รับข้อเสนอแนะ ของนักท่องเที่ยว เช่น รายงานความพึงพอใจ ผลการศึกษาและ การส�ำรวจความคิดเห็น ต่อการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนของนักท่องเที่ยว แต่ขาดการด�ำเนินการ เพื่อการตอบสนองต่อ ข้อค้นพบจากการ ส�ำรวจหรือสอบถาม ความเห็นนักท่องเที่ยว ในเรื่องประสบการณ์ ในแหล่งท่องเที่ยว ประเด็นด้านคุณภาพ และความยั่งยืน
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการส�ำรวจ (และมีกลไกอื่นๆ) ที่จะได้มาซึ่ง ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยว รวมถึงมีการ รายงานผลการส�ำรวจด้วย b. แบบส�ำรวจและข้อคิดเห็นที่รวมถึงปฏิกิริยาของ นักท่องเที่ยวต่อประเด็นด้านความยั่งยืน c. หลักฐานของการปฏิบัติการเพื่อตอบสนองต่อ ข้อค้นพบจากการส�ำรวจหรือสอบถามความ เห็นนักท่องเที่ยว d. ตัวอย่างของการให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยวใน เรื่องของความยั่งยืนและการตอบสนองต่อ ประเด็นด้านความยั่งยืน
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ความยั่งยืนของแหล่ง ท่องเที่ยว โดยได้รับ การยอมรับในระดับ ประเทศ หรือระดับ สากลในการน�ำเสนอ เรือ่ งราวการสร้างการมี ส่วนร่วมของนักท่องเทีย่ ว ต่อแหล่งท่องเที่ยว
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ และหลักฐานเชิง ประจักษ์ในการสร้าง การมีส่วนร่วมและ การได้รับข้อเสนอแนะ ของนักท่องเทีย่ ว และมี การตอบสนองต่อข้อ ค้นพบจากการส�ำรวจ หรือสอบถามความเห็น นักท่องเที่ยวใน ประสบการณ์ เรื่องแหล่งท่องเที่ยว ด้านคุณภาพและ ความยั่งยืน รวมถึง มีการปฏิบัติด�ำเนินการ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการ พัฒนาการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนเพื่อตอบ สนองต่อข้อเสนอแนะ พร้อมกับเป็นต้นแบบ ในการจัดกระบวนการ ให้ความรู้ ด้านบทบาท ของนักท่องเที่ยวว่า สามารถมีส่วนกับ
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
98 99
การส่งเสริมการท่องเที่ยว และการให้ข้อมูล (Promotion and information) - การส่งเสริมการท่องเที่ยว และการให้ข้อมูลของ แหล่งท่องเที่ยวแก่นักท่องเที่ยวจะต้องถูกต้อง ตรงตามที่กล่าวไว้จริง ไม่ว่าจะในเรื่องของ ผลิตภัณฑ์ การบริการ และความยั่งยืน - ข้อความทางการตลาดและการสื่อสารอื่นๆ จะต้องสะท้อนถึงคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยวนั้น และแสดงให้เห็นถึงการมุ่งไปสู่ความยั่งยืน รวมถึงการปฏิบัติต่อคนในท้องถิ่นทั้งด้าน วัฒนธรรมและธรรมชาติด้วยความเคารพ
ค�ำอธิบาย
A7
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในด้านการให้ ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว ในปัจจุบันและการ ส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยวที่มี เนือ้ หาด้านการท่องเทีย่ ว อย่างยั่งยืนที่เหมาะสม
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในด้านการให้ข้อมูลแก่ นักท่องเที่ยวและมีการ ส่งเสริมประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยวที่มี เนือ้ หาด้านการท่องเทีย่ ว อย่างยั่งยืน มีขั้นตอน ที่เป็นระบบเพื่อท�ำการ ตรวจสอบข้อมูลด้าน เนื้อหา ให้ถูกต้องและ เหมาะสมไม่ว่าจะเป็น เรื่อง ของสินค้าหรือ การบริการ และความ ยั่งยืน ข้อความทาง การตลาดและการ สื่อสารอื่นๆ แต่กระนั้น ยังขาดการปรึกษาหารือ กับคนท้องถิ่นในแหล่ง ท่องเที่ยว และหน่วย งานด้านสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ในการ จัดท�ำและน�ำเสนอ เนื้อหาต่างๆ
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานด้านการให้ ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว ในปัจจุบันและการ ส่งเสริมประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยวที่มี เนื้อหาด้านการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน แต่กระนั้นยังขา ดขั้นตอนที่เป็นระบบ เพื่อท�ำการตรวจสอบ ข้อมูลด้านเนื้อหา ให้ ถูกต้องและเหมาะสม ไม่ว่าจะในเรื่องของ ผลิตภัณฑ์ การบริการ และความยั่งยืน ข้อความทางการตลาด และการสื่อสารอื่นๆ
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. ข้อมูลและเอกสารประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเทีย่ ว ฉบับปัจจุบันที่มีเนื้อหาที่เหมาะสม b. มีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องและ ความเหมาะสมของข้อมูลและการโปรโมท แหล่งท่องเที่ยว c. หลักฐานที่แสดงถึงการปรึกษาหารือกับ คนท้องถิ่นในแหล่งท่องเที่ยว และหน่วยงาน ด้านสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ในการจัดท�ำ และน�ำเสนอเนื้อหาต่างๆ
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมี ระบบในด้านการให้ ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว ด้านการท่องเที่ยว อย่างยัง่ ยืนอย่างต่อเนือ่ ง 3 ปี และมีการส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ แหล่ง ท่องเทีย่ วทีม่ เี นือ้ หาด้าน การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน อย่างต่อเนือ่ ง มีขนั้ ตอน ที่เป็นระบบเพื่อท�ำการ ตรวจสอบข้อมูล ด้าน เนื้อหา ให้ถูกต้องและ เหมาะสมไม่ว่าจะ ในเรื่องของสินค้าหรือ การบริการ และความ ยั่งยืน ข้อความทางการ ตลาดและการสื่อสาร อืน่ ๆ มีการปรึกษาหารือ กับคน ท้องถิ่นในแหล่ง ท่องเที่ยว หน่วยงาน ด้านสิ่งแวดล้อม และ วัฒนธรรม ในการจัดท�ำ และน�ำเสนอเนือ้ หาต่างๆ
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
100 101
การจัดการปริมาณนักท่องเที่ยวและกิจกรรม การท่องเที่ยว (Managing visitor volumes and activities) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีระบบในการจัดการ นักท่องเที่ยว โดยระบบนั้นจะต้องมีการทบทวน ปรับปรุงอยู่เสมอ - แหล่งท่องเที่ยวมีการด�ำเนินการติดตามดูแล และจัดการปริมาณของนักท่องเที่ยวและ ปริมาณของกิจกรรมการท่องเที่ยวมีการลดหรือ เพิ่มปริมาณของนักท่องเที่ยวและปริมาณของ กิจกรรมการท่องเที่ยวหากมีความจ�ำเป็นตาม ความเหมาะสมของห้วงเวลาและสถานที่นั้นๆ ทั้งนี้ จะต้องศึกษาความสมดุลระหว่างความ ต้องการของเศรษฐกิจ ชุมชม มรดกทาง วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในท้องถิ่นด้วย
ค�ำอธิบาย
A8
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในเรื่องการ จัดการนักท่องเที่ยว และ/หรือแผนปฏิบัติ การที่จัดการปริมาณ นักท่องเที่ยวในช่วง เทศกาล ไม่ว่าจะเป็น การลดหรือเพิม่ ปริมาณ ของนักท่องเที่ยวและ กิจกรรมท่องเที่ยว
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ และหลักฐานเชิง ประจักษ์ในเรื่องการ จัดการนักท่องเที่ยว เช่น แผนปฏิบัติการที่ จัดการ ผลกระทบจาก ปริมาณนักท่องเที่ยว มีการด�ำเนินการติดตาม ดูแลตลอดปี รวมถึง การบ่งชี้ตรวจสอบ สถานที่ๆ นักท่องเที่ยว เดินทางมามากที่สุด/ การจัดการผลกระทบ (Overtourism ภาวะ นักท่องเที่ยวล้นเมือง หรือ Undertourism ภาวะขาดแคลน นักท่องเที่ยว) และ มีการรับฟังความเห็น จากชุมชนและเครือข่าย ในเรื่องผลกระทบต่อ การจัดการนักท่องเทีย่ ว
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในเรื่องการ จัดการนักท่องเที่ยว อยู่บ้าง เช่น แผน ปฏิบัติการที่จัดการ และ/หรือ การศึกษา ผลกระทบจากปริมาณ นักท่องเที่ยวเพื่อจัดท�ำ แผนการจัดการ นักท่องเทีย่ ว แต่กระนัน้ ยังคงขาดการด�ำเนินการ ติดตาม ดูแลตลอดปี รวมถึง การบ่งชี้ ตรวจสอบสถานที่ๆ นักท่องเที่ยวเดินทาง มามากที่สุด
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการของ การจัดการแหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการจัดการ ฤดูกาลท่องเที่ยว และการกระจายตัวของ นักท่องเที่ยว b. มีการติดตามดูแลตัวแปรปัจจัยที่มีผลต่อ ปริมาณของนักท่องเที่ยวตลอดทั้งปี รวมถึง ในสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมด้วย c. มีการระบุถึงผลกระทบจากจ�ำนวนของ นักท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยว โดยการท�ำการส�ำรวจแบบสังเกตการณ์และ สอบถามข้อคิดเห็นจากชุมชนและผูม้ สี ว่ นได้เสีย d. มีการจัดการการเคลื่อนไหว (Flow) ของ นักท่องเที่ยวและผลกระทบ e. กลยุทธ์การตลาดและการเลือกเป้าหมาย ทางการตลาดค�ำนึงถึงรูปแบบของการท่องเทีย่ ว ผลกระทบของกิจกรรมการท่องเที่ยว และ ความต้องการของแหล่งท่องเที่ยว
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมี ระบบสารสนเทศที่มี ประสิทธิภาพที่เข้ามา ช่วยจัดการและมี หลักฐานเชิงประจักษ์ใน การจัดการนักท่องเทีย่ ว รวมถึงกลยุทธ์การตลาด และการเลือกเป้าหมาย ทางการตลาดโดย ค�ำนึงถึงรูปแบบของ การท่องเทีย่ วผลกระทบ ของกิจกรรมท่องเที่ยว และได้รับการยอมรับ ในระดับสากล
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
102 103
กฎระเบียบในการวางแผนและการควบคุม การพัฒนา (Planning regulations and development control) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีแนวทางการวางแผน กฎระเบียบ และ/หรือ นโยบาย ที่ควบคุมที่ตั้ง และลักษณะของการพัฒนา โดยมีการประเมิน ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม วัฒนธรรม และบูรณาการการใช้ที่ดิน รวมถึง การออกแบบ การก่อสร้าง และการรื้อถอน ของที่ดินอย่างยั่งยืน - กฎระเบียบยังจะต้องน�ำไปใช้กับการด�ำเนินงาน รวมถึงการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ และสัมปทาน เพื่อการท่องเที่ยว แนวทางกฎระเบียบและ นโยบายต้องถูกสร้างขึ้นผ่านการมีส่วนร่วม ของประชาชนและมีการสื่อสารและบังคับใช้ อย่างแพร่หลาย
ค�ำอธิบาย
A9
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี แนวทาง กฎระเบียบ และ/หรือ นโยบาย การวางแผน ที่ควบคุม ที่ตั้งและลักษณะของ การพัฒนา
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การให้ข้อมูลที่มีเป็น แนวทาง กฎระเบียบ และ/หรือ นโยบาย การวางแผน ที่ควบคุม ที่ตั้งและลักษณะของ การพัฒนา และเชื่อม โยงกับระบบส่วนกลาง ที่เผยแพร่เอกสาร ชี้แจง การบังคับใช้ มีการปฏิบัติตาม มาตรฐานการพัฒนา ในด้านการประเมิน ผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานทีเ่ ป็นแนวทาง กฎระเบียบ และ/หรือ นโยบาย การวางแผน ที่ควบคุมที่ตั้งและ ลักษณะของการพัฒนา แต่กระนั้นก็ยังขาดการ ด�ำเนินงานในการ เผยแพร่เอกสาร ชี้แจง และการบังคับใช้ และ ยังขาดมาตรฐานการ พัฒนาในด้านการ ประเมินผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการรวบรวมเอกสารพร้อมระบุชื่อเอกสาร และวันที่ เช่น นโยบาย/กฎระเบียบ/แนวทาง ที่เฉพาะเจาะจงเพื่อการควบคุมการพัฒนา b. มีข้อก�ำหนดการประเมินผลกระทบที่ครอบคลุม ในเรื่องสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมในขอบข่ายที่เพียงพอที่สามารถ ระบุได้ถึงประเด็นในเชิงระยะยาวของแหล่ง ท่องเที่ยว c. กฎระเบียบเฉพาะที่เกี่ยวกับการให้เช่า อสังหาริมทรัพย์และการด�ำเนินงานเพื่อ การท่องเที่ยวพร้อมหลักฐานการน�ำไปปรับใช้ และการบังคับใช้ d. หลักฐานการมีส่วนร่วมของสาธารณะในการ พัฒนา นโยบาย/กฎระเบียบ/แนวทางต่างๆ e. หลักฐานการปรึกษาหารือและความยินยอม จากคนพื้นเมืองหรือกลุ่มชาติพันธุ์ เมื่อมีการ เสนอหรือมีการพัฒนาการท่องเที่ยวเกิดขึ้น ในพื้นที่ของคนเหล่านั้น f. หลักฐานการสื่อสารและการบังคับใช้ นโยบาย/ กฎระเบียบ/แนวทางในขั้นตอนการวางแผน การพัฒนา และการลงมือปฏิบัติ
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การให้ข้อมูลที่เป็น แนวทาง กฎระเบียบ และ/หรือ นโยบาย การวางแผน ที่ควบคุม ที่ตั้งและลักษณะของ การพัฒนา และเชื่อม โยงกับระบบส่วนกลาง ที่เผยแพร่เอกสาร ชี้แจง การบังคับใช้ โดยมีแนวทางการ ปฏิบัติตามมาตรฐาน ในการพัฒนาที่มีการ ประเมินผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม รวมถึงการสื่อสารอย่าง ต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี มีการปรึกษาหารือและ ความยินยอมจากคน พื้นเมืองหรือกลุ่ม ชาติพนั ธุ์ เมือ่ มีการเสนอ หรือมีการพัฒนา การท่องเที่ยวเกิดขึ้นใน พื้นที่ของคนเหล่านั้น
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
104 105
การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมิอากาศ (Climate change adaptation) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องระบุความเสี่ยงและ โอกาสทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการเปลีย่ นแปลงของ สภาพภูมอิ ากาศ - กลยุทธ์การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศมีไว้เพื่อเป็นแนวทาง ในการ ติดตัง้ การออกแบบ การพัฒนา และการจัดการ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว - ข้อมูลการคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมิอากาศ รวมถึงจะต้องมีการเผยแพร่ ข้อมูลความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องและสภาวะการณ์ ในอนาคตให้แก่ผู้อยู่อาศัย ภาคธุรกิจ และ นักท่องเที่ยวให้ได้ทราบ
ค�ำอธิบาย
A10
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการจัดท�ำ ยุทธศาสตร์แหล่ง ท่องเที่ยวและแผน ปฏิบัติที่บ่งชี้ถึงเรื่อง สภาพภูมิอากาศ ที่เปลี่ยนแปลง
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ และหลักฐานเชิง ประจักษ์ในการจัดท�ำ ยุทธศาสตร์แหล่ง ท่องเที่ยวและแผน ปฏิบัติที่บ่งชี้ถึงเรื่อง สภาพอากาศที่ส่งผล ให้มีความเสี่ยงและ โอกาสโดยได้ด�ำเนิน การอยู่อย่างต่อเนื่อง โดยค�ำนึงถึง แนวทาง หรือการจัดท�ำ zoning เพื่อเตรียมการส�ำหรับ ภาวะอากาศเปลี่ยน แปลง มีการประเมิน ความเสี่ยงที่เป็น ปัจจุบันและผลกระทบ จากความเสี่ยงใน อนาคตต่อระบบนิเวศ ของพืน้ ที่ และข้อค้นพบ ที่เกี่ยวกับอากาศ ได้ รับการเผยแพร่ให้แก่ สาธารณชน
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการจัดท�ำ ยุทธศาสตร์แหล่ง ท่องเทีย่ วและแผนปฏิบตั ิ ทีบ่ ง่ ชีถ้ งึ เรือ่ งการศึกษา สภาพภูมิอากาศที่ ส่งผลต่อความเสี่ยง และโอกาส และ หลักฐานในด้านกฎ ระเบียบ แนวทาง หรือ การจัดท�ำ zoning เพื่อ เตรียมการส�ำหรับภาวะ อากาศเปลีย่ นแปลง
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. ยุทธศาสตร์การจัดการแหล่งท่องเที่ยวและ แผนปฏิบัติการจะต้องระบุถึงและแก้ไขปัญหา เรื่องสภาพภูมิอากาศ b. กฎระเบียบ แนวทาง และการจัดสรรพื้นที่ เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวและกิจกรรมการ ท่องเที่ยว รองรับผลพวงของการเปลี่ยนแปลง ของสภาพภูมิอากาศ c. มีการจัดท�ำการประเมินความเสีย่ งทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต และรายงานให้สาธารณะทราบ d. หลักฐานการพิจารณาผลกระทบและการช่วย ส่งเสริมของระบบนิเวศในท้องถิ่นในการปรับตัว ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ e. มีการสื่อสารข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมิอากาศสู่สาธารณะ
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ที่มีประสิทธิภาพและ หลักฐานเชิงประจักษ์ ในการจัดท�ำยุทธศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวและ แผนปฏิบัติที่บ่งชี้ถึง สภาพอากาศที่ส่งผลให้ มีความเสี่ยงและโอกาส โดยได้ด�ำเนินการอย่าง เห็นผลและมีระบบ เฝ้าระวังทีเ่ ป็นทีย่ อมรับ ในระดับชาติ หรือระดับ สากล และเผยแพร่ ความเป็นต้นแบบของ ประเทศ
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
106 107
การจัดการความเสี่ยงและวิกฤตการณ์ (Risk and crisis management) - แหล่งท่องเที่ยวมีการลดความเสี่ยง การจัดการ วิกฤตการณ์ และแผนรับมือเหตุฉุกเฉิน ที่เหมาะสมกับแหล่งท่องเที่ยวนั้น - มีการสื่อสารข้อมูล/รายละเอียดที่ส�ำคัญ ให้แก่ผู้อยู่อาศัย นักท่องเที่ยว และ สถานประกอบการต่างๆ - มีการจัดท�ำขั้นตอนการด�ำเนินงานและเตรียม ทรัพยากรในการรับมือกับเหตุฉุกเฉิน เพื่อให้ พร้อมต่อด�ำเนินการตามแผนอยู่เสมอ และมีการปรับปรุงแผน/ขั้นตอนอยู่เป็นประจ�ำ
ค�ำอธิบาย
A11
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการท�ำ แผนการลดความเสี่ยง การจัดการวิกฤตการณ์ และแผนรับมือเหตุ ฉุกเฉิน ส�ำหรับ การท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเที่ยว
แดง (ความเสี่ยง)
การสื่อสารขั้นตอน การปฏิบัติตามแผน ก่อน ระหว่าง หรือ หลังเกิดเหตุ
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ และหลักฐานเชิง ประจักษ์ในการท�ำ แผนการลดความเสี่ยง การจัดการวิกฤตการณ์ และแผนรับมือเหตุ ฉุกเฉิน ส�ำหรับการ ท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเที่ยว อันได้แก่ ความเสี่ยงที่เกิดจาก ภัยธรรมชาติ โรคระบาด การเมือง ทรัพยากร ที่ก�ำลังจะหมดไป หรือวิกฤตอื่นๆ มีการ อัปเดตสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นเพื่อสะท้อน ขั้นตอนการรับมือ และทรัพยากรเพื่อ ด�ำเนินการตามแผน และมีการปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง รวมถึง มีการระบุบทบาท หน้าที่ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และ/หรือ
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐาน ในการท�ำ แผนการลดความเสี่ยง กฎระเบียบ ข้อกฎหมาย การจัดการวิกฤตการณ์ และแผนรับมือเหตุ ฉุกเฉิน ส�ำหรับการ ท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเที่ยว แต่ยังไม่มี การบ่งชีแ้ น่ชดั ถึงปัญหา ความเสี่ยงหรือภัยพิบัติ และยังไม่มีการอัปเดต สถานการณ์ที่เกิดขึ้น เพือ่ สะท้อนขัน้ ตอนการ รับมือ และทรัพยากร เพือ่ ด�ำเนินการตามแผน และไม่ได้มกี ารปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการจัดท�ำเอกสารแผนการลดความเสี่ยง การจัดการวิกฤตการณ์ และแผนรับมือ เหตุฉุกเฉิน ส�ำหรับการท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเที่ยว b. ในแผนมีการค�ำนึงถึงรูปแบบความเสี่ยงที่ หลากหลาย ซึ่งรวมถึงภัยธรรมชาติ การก่อการร้าย สุขอนามัย ภาวะขาดแคลน ทรัพยากร และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับแหล่ง ท่องเที่ยวนั้น c. มีขั้นตอนการสื่อสารที่ระบุไว้เพื่อใช้ในระหว่าง และหลังเกิดเหตุฉุกเฉิน d. มีโปรแกรมส�ำหรับการให้ข้อมูลและ การฝึกอบรมเกี่ยวกับการจัดการความเสี่ยง และวิกฤตการณ์แก่คนในท้องถิ่น
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
หน้าที่ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และ/หรือ การสื่อสารขั้นตอน การปฏิบัติตามแผน ก่อน ระหว่าง หรือ หลังเกิดเหตุ เพื่อให้ ได้รับข้อมูลต่อผู้อาศัย เอกสาร และนักท่องเทีย่ ว รวมถึงมีการจัดฝึก อบรมเตรียมความพร้อม และสร้างศักยภาพ ในการบริหารจัดการ วิกฤต และความเสี่ยง
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ จนเป็นต้นแบบในด้าน การจัดการความเสี่ยง การจัดการวิกฤตการณ์ และแผนรับมือเหตุ ฉุกเฉิน ส�ำหรับ การท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเทีย่ วในระดับ ประเทศ/สากล (อันได้แก่ความเสี่ยง ที่เกิดจาก ภัยธรรมชาติ โรคระบาด การเมือง ทรัพยากรที่ก�ำลังจะ หมดไปหรือวิกฤตอื่นๆ) และมีการน�ำเทคโนโลยี เข้ามาใช้ในการอัปเดต สถานการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อสะท้อนขั้นตอน การรับมือ และ ทรัพยากรเพื่อด�ำเนิน การตามแผนและมีการ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง มีการระบุบทบาท
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
108 109
ค�ำอธิบาย แดง (ความเสี่ยง)
ค�ำอธิบาย
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการวัดผล ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ จากการท่องเที่ยว
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีการ บูรณาการระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการข้อมูล มาตรวัดความส�ำเร็จ ด้านเศรษฐกิจอย่าง ยั่งยืน มีการคาดการณ์ แนวโน้มล่วงหน้า ค�ำนึง ถึงปัจจัยความเสี่ยง ที่ส่งผลกระทบต่อการ จัดการการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน มีการตรวจ สอบ วางแผนเพื่อให้ ระบบมีความทันสมัย สามารถตรวจสอบที่มา ของข้อมูลได้ ตอบสนอง ความต้องการของ ผู้ใช้งาน เช่นภาคธุรกิจ เครือข่าย เป็นต้น
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการวัดผล ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ จากการท่องเที่ยว อาทิ รายงานประจ�ำปี/สถิต/ิ งานวิจยั ทีม่ กี ารวัดระดับ จ�ำนวนนักท่องเทีย่ ว การใช้จา่ ยของ นักท่องเทีย่ ว การจ้างงาน การลงทุน และหลักฐาน อืน่ ๆ ทีแ่ สดงถึงกระจาย ตัวของผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจในแหล่ง ท่องเที่ยว หรือ การวัด ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ รวมถึงมีโปรแกรม การเก็บข้อมูลทาง เศรษฐกิจ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีโปรแกรมการเก็บรวบรวมข้อมูลทางเศรษฐกิจ b. มีรายงานประจ�ำปีของผลงานทางเศรษฐกิจที่ เกิดจากการท่องเที่ยวทั้งทางตรงและทางอ้อม c. ข้อมูลจะต้องครอบคลุมมาตรวัดผลของ ผลกระทบทางเศรษฐกิจที่หลากหลาย (เช่น จ�ำนวนนักท่องเที่ยว การใช้จ่าย การจ้างงาน การลงทุน และการกระจายตัวของผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจในแหล่งท่องเที่ยว)
การวัดผลงานทางเศรษฐกิจจากการการท่องเทีย่ ว (Measuring the economic contribution of tourism) - มีการติดตามดูแลผลงานทางเศรษฐกิจ ที่เกิดจากการท่องเที่ยวทั้งทางตรงและ ทางอ้อม และรายงานให้สาธารณะทราบ - มีการใช้มาตรวัดผลที่เหมาะสม เช่น ระดับ จ�ำนวนของนักท่องเที่ยว การใช้จ่ายของ นักท่องเที่ยว การจ้างงาน การลงทุน และ หลักฐานอื่นๆ ที่แสดงถึงการกระจายตัวของ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
B1
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
ด้าน B ความยั่งยืนด้านสังคม-เศรษฐกิจ (Socio-economic sustainability)
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีการ บูรณาการระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาพ เป็นต้นแบบในระดับ ประเทศ/ทัดเทียมสากล ตอบสนองการวัดผล ส�ำเร็จทางเศรษฐกิจ และได้น�ำข้อมูลไป ประยุกต์ใช้ในการ พัฒนาการท่องเที่ยว/ พัฒนาชุมชนอย่าง ต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
110 111
งานที่ดี และโอกาสทางอาชีพ (Decent work and career opportunities) - แหล่งท่องเที่ยวมีการส่งเสริมและสนับสนุน โอกาสในการท�ำงานและการฝึกอบรมด้าน การท่องเที่ยว - ผู้ประกอบการในแหล่งท่องเที่ยวมุ่งมั่นที่จะให้ โอกาสที่เท่าเทียมกันส�ำหรับการจ้างงานคน ในท้องถิ่น การฝึกอบรมและความก้าวหน้า ในการท�ำงาน รวมถึงการท�ำให้สภาพแวดล้อม การท�ำงานนั้นปลอดภัยและมั่นคง และให้ค่าครองชีพที่เหมาะสมแก่ทุกคน
ค�ำอธิบาย
B2
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการส่งเสริม สนับสนุนโอกาส ในการท�ำงานและ การฝึกอบรมด้านการ ท่องเที่ยว และมีปัญหา ด้านแรงงานต่างด้าว ในประเด็นความเป็น ธรรม จ�ำนวนแรงงาน ต่างด้าวที่ส่งผลต่อ โอกาสการท�ำงานของ คนพื้นที่ เป็นต้น
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการส่งเสริม สนับสนุนโอกาสใน การท�ำงาน โดยมี การวางแผน การจัดตั้ง กลุ่มอาชีพ และการ บูรณาการขับเคลื่อน ของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ร่วมกับผู้ประกอบการ ในการตรวจสอบผล การด�ำเนินการอย่าง ต่อเนื่อง ตามกลุ่ม เป้าหมาย ในการมุง่ เน้น ให้คนในท้องถิ่นมีงาน ที่ดี และโอกาสทาง อาชีพ รวมถึงการเก็บ สถิติผลสัมฤทธิ์จาก การจัดอบรมด้าน การพัฒนาทักษะ ในการท�ำงานและมี ช่องทางในการตรวจสอบ สภาพการท�ำงานและ รับฟังความเห็นของ ลูกจ้าง
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการส่งเสริม สนับสนุนโอกาสในการ ท�ำงานและการฝึกอบรม ด้านการท่องเที่ยว ร่วมกับผู้ประกอบการ ทีช่ ดั เจน เช่น มีนโยบาย หรือแผนในการจัด อบรมเพื่อเพิ่มทักษะ และสร้างโอกาสในการ จ้างงาน มีมาตรการ ในการจ้างงานคนพื้นที่ รวมถึงให้ความส�ำคัญ กับ ผู้หญิง เยาวชน กลุ่มชาติพันธุ์ และ คนพิการให้ได้งานท�ำ ที่ดี
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีโปรแกรม/หลักสูตรฝึกอบรมทักษะที่เกี่ยวข้อง ให้แก่คนในท้องถิ่น b. มีแถลงการณ์หรือข้อสัญญาของผู้ประกอบการ ในการให้งานที่ดี/และโอกาสในการประกอบ อาชีพ c. มีการส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมและโอกาส ในการจ้างงานให้แก่คนในท้องถิ่น รวมถึงผู้หญิง เยาวชน ชนกลุ่มน้อย และผู้ที่มีความบกพร่อง d. มีช่องทางในการตรวจสอบสภาพการท�ำงาน และรับฟัง/จัดการความไม่พอใจของลูกจ้าง (เช่น การมีส่วนร่วมของสหภาพแรงงาน)
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ หรือกลไกในการส่งเสริม สนับสนุนโอกาสในการ ท�ำงานอย่างมี ประสิทธิภาพต่อเนื่อง 3 ปี โดยได้รับการ ยอมรับในการเป็นต้น แบบของการเพิ่ม ทักษะ ส่งเสริมโอกาส แก่คนในพื้นที่ จัดตั้ง สหภาพแรงงานของ พื้นที่และส่งเสริม ศักยภาพการท�ำงาน อย่างมีความสุข และ เท่าเทียม ของคน ในพื้นที่อาทิ ผู้หญิง เยาวชน กลุ่มชาติพันธุ์ และคนพิการให้ ประกอบอาชีพด้วย ความภาคภูมิใจ
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
112 113
การสนับสนุนผู้ประกอบการท้องถิ่น และการค้าที่เป็นธรรม (Supporting local entrepreneurs and fair trade) - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีระบบสนับสนุนให้รายได้ จากการท่องเที่ยวหมุนเวียนอยู่ในระบบ เศรษฐกิจของท้องถิ่นโดยได้รับการสนับสนุน จากผู้ประกอบการท้องถิ่น ห่วงโซ่อุปทาน และการลงทุนอย่างยั่งยืน - แหล่งท่องเที่ยวมีการสนับสนุนการพัฒนา และการซื้อผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นที่ยั่งยืนบนฐาน ของหลักการการค้าที่เป็นธรรม และสะท้อนถึง เอกลักษณ์ทางธรรมชาติและวัฒนธรรมของ พื้นที่นั้น ซึ่งอาจจะครอบคลุมถึงอาหารและ เครื่องดื่ม การศิลปหัตถกรรม การแสดง สินค้าการเกษตร และอื่นๆ
ค�ำอธิบาย
B3
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการ สนับสนุนผู้ประกอบ การท้องถิ่นและการค้า ที่ไม่เป็นธรรม/ไม่เคย พิจารณาในการ สนับสนุนกลไกรายได้ หมุนเวียนในท้องถิ่น
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ สนับสนุนให้มีรายได้ หมุนเวียนในท้องถิ่น รวมถึงแผน นโยบาย และการด�ำเนินการ ในการสนับสนุนและ ช่วยเหลือ พัฒนา ผู้ประกอบการธุรกิจ ท่องเที่ยวท้องถิ่น ให้ซื้อสินค้าและบริการ ในท้องถิน่ อย่างต่อเนือ่ ง และเป็นธรรม สะท้อน อัตลักษณ์ของตน
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการ สนับสนุนให้มีรายได้ หมุนเวียนในท้องถิ่น เช่น นโยบาย แนวทาง ข้อตกลงในการจัดซื้อ จัดจ้าง ในการใช้สินค้า ท้องถิ่นในพื้นที่จาก ภาครัฐ และเอกชน เพื่อสนับสนุนเครือข่าย ผู้ประกอบการท้องถิ่น อาทิเกษตรกร ศิลปิน และผู้ผลิตอาหาร ท้องถิ่น ในการเข้าสู่ ห่วงโซ่อุปทานของ การท่องเที่ยวอย่าง เป็นธรรม
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการให้ค�ำปรึกษา ให้การสนับสนุนทางการเงิน หรือการสนับสนุนอื่นๆ ให้แก่ธุรกิจ SMEs ด้านการท่องเที่ยว b. มีการช่วยเหลือด้านการเข้าถึงตลาดการค้า ให้แก่ธุรกิจ SMEs ด้านการท่องเที่ยว c. มีการสนับสนุนและช่วยเหลือผู้ประกอบการ ธุรกิจท่องเที่ยวท้องถิ่นให้ซื้อสินค้าและบริการ ในท้องถิ่น d. มีการริเริ่มการให้ความช่วยเหลือแก่เกษตรกร ศิลปิน และผู้ผลิตอาหาร ในท้องถิ่น ในการ เข้าสู่ห่วงโซ่อุปทานของการท่องเที่ยว e. มีการระบุถึง การสนับสนุน และการเปิดโอกาส ให้ผลิตภัณฑ์และงานศิลปหัตถกรรมท้องถิ่น จ�ำหน่ายให้แก่นักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ และกลไกที่มี ประสิทธิภาพในการ สนับสนุนที่ได้สร้าง ความมั่นคงใน เศรษฐกิจหมุนเวียน ของท้องถิ่นทั้งห่วงโซ่ อุปทาน และการลงทุน การท�ำธุรกิจอย่าง ยั่งยืน โดยมีการเติบโต ร้อยละ 3 ของรายได้ จากผู้ประกอบการ ในเครือข่ายด้านการ ท่องเที่ยว ในช่วง 3 ปี ต่อเนื่อง และ/หรือ การได้รับรางวัลสินค้า และบริการที่สะท้อน อัตลักษณ์ของท้องถิ่น ในระดับสากล เช่น PATA award / Fairtrade award เป็นต้น
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
114 115
การสนับสนุนชุมชน (Support for community) - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่เปิดโอกาส และสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ นักท่องเที่ยว และสาธารณชน มีส่วนร่วมในชุมชน และจัดกิจกรรมริเริ่มด้านความยั่งยืนอย่าง มีความรับผิดชอบ
ค�ำอธิบาย
B4
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการ สนับสนุนชุมชนอย่าง เป็นรูปธรรม ไม่เปิด โอกาสให้ชุมชนได้ แสดงออก ถูกเอารัด เอาเปรียบจากบุคคล/ องค์กรในการเข้ามาหา ผลประโยชน์ในพื้นที่
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมี ระบบในการสนับสนุน ชุมชน เปิดโอกาสให้ ผู้ประกอบการ นักท่องเที่ยวและ สาธารณชน ร่วมกัน สร้างประโยชน์ให้ แหล่งท่องเที่ยว มีจัด โครงการที่แสดงให้เห็น ถึงการสนับสนุนชุมชน อย่างต่อเนื่อง และ มีเป้าหมายในการ สนับสนุนชุมชนทีช่ ดั เจน ร่วมกันกับภาคธุรกิจ และภาคีเครือข่าย
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการสนับสนุน ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม เช่น มีการออกนโยบาย กฎระเบียบ หรือ แผนงานในการพัฒนา สนับสนุนชุมชนในการ จัดกิจกรรมด้านความ ยัง่ ยืนอย่างรับผิดชอบ / หรือมีการวางแผน นโยบายในการท�ำงาน ร่วมกับภาคธุรกิจ ในการสนับสนุน กิจกรรม เพื่อสังคม และสิ่งแวดล้อม
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการส่งเสริมให้มีการสนับสนุนชุมชนท้องถิ่น และกิจกรรมริเริ่มด้านความยั่งยืน ซึ่งด�ำเนิน การโดยผู้ประกอบการการท่องเที่ยวในท้องถิ่น b. สนับสนุนและจัดให้มีโครงการที่ส่งเสริมให้ นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการสนับสนุนชุมชน ท้องถิ่นและกิจกรรมริเริ่มด้านความยั่งยืน c. การท�ำกิจกรรมอาสาสมัครและการมีส่วนร่วม กับชุมชนนั้นต้องไม่เกี่ยวข้องกับการบุกรุก หรือการเอารัดเอาเปรียบชุมชน
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ที่มีประสิทธิภาพ ในการสนับสนุนชุมชน ทั้งในรูปแบบออนไลน์ และออฟไลน์ ตรวจสอบ ความต้องการในการ เปิดโอกาสและสนับสนุน กิจกรรมริเริม่ สร้างสรรค์ และส่งเสริมด้านความ ยั่งยืนของท้องถิ่น จนได้รบั รางวัลในระดับ ประเทศ/ระดับสากล ในด้านการท่องเที่ยว อย่างรับผิดชอบ และ/ หรือการสนับสนุน ชุมชนด้านนวัตกรรม หรือกิจกรรมริเริ่มด้าน ความยั่งยืนของท้องถิ่น
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
116 117
ข้อ
B5
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการป้องกัน การแสวงหาผล ประโยชน์โดยมิชอบ และการเลือกปฏิบัติ รวมถึงมีปัญหาใน การค้ามนุษย์ การใช้ แรงงานผิดกฎหมาย แรงงานเด็ก การค้า ประเวณี เป็นต้น
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การป้องกันการ แสวงหาผลประโยชน์ โดยมิชอบและการเลือก ปฏิบัติ ที่มีการวางแผน วิเคราะห์ความเสี่ยง มีการด�ำเนินงานอย่าง ต่อเนื่อง ปรับปรุง ทบทวน มีโครงการ และกิจกรรมที่เป็น ช่องทางในการสื่อสาร เรื่องสิทธิมนุษยชน และช่องทางในการ แจ้งเบาะแสของการ กระท�ำมิชอบ พร้อม ลงนามเกี่ยวกับ จรรยาบรรณในการ ปกป้องเด็กจาก การล่วงละเมิดทางเพศ ในภาคการเดินทาง และการท่องเที่ยว
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการป้องกัน การแสวงหาผล ประโยชน์โดยมิชอบ และการเลือกปฏิบัติ เช่น มาตรฐานด้าน สิทธิมนุษยชนในระดับ นานาชาติ กฎหมาย ข้อปฏิบัติ และแนวทาง ในการปฏิบัติในการ ป้องกัน และรายงาน ถึงปัญหาด้านการค้า มนุษย์ การใช้แรงงาน ผิดกฎหมาย และ การค้าประเวณี หรือ อื่นๆ
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีข้อมูลอ้างอิงกฎหมาย (อ้างถึงมาตรา และ วันประกาศใช้) ทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งสิทธิมนุษยชน การแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน การเลือก ปฏิบัติ และการล่วงละเมิดต่อบุคคลอื่น b. มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่ามีการสื่อสาร ให้ข้อมูล และการบังคับใช้กฎหมายตามข้อ a. และมีการให้แนวทางปฏิบัติที่ดี (รวมถึงธุรกิจ ท่องเที่ยวและนักท่องเที่ยว) c. มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงและผลกระทบในเรื่อง สิทธิมนุษยชนอย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งรวมถึงการค้า มนุษย์ การใช้แรงงานทาสสมัยใหม่ และการใช้ แรงงานเด็ก d. แหล่งท่องเที่ยวและผู้มีส่วนส�ำคัญในภาค การท่องเที่ยวมีการลงนามเกี่ยวกับจรรยาบรรณ ในการปกป้องเด็กจากการล่วงละเมิดทางเพศ ในภาคการเดินทางและการท่องเที่ยว (Code of Conduct for the Protection of Children from Sexual Exploitation in Travel and Tourism)
ค�ำอธิบาย
การป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ โดยมิชอบและการเลือกปฏิบัติ (Preventing exploitation and discrimination) - แหล่งท่องเที่ยวต้องปฏิบัติตามมาตรฐาน ด้านสิทธิมนุษยชนในระดับนานาชาติ - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีกฎหมาย ข้อปฏิบัติ และแนวทางในการปฏิบัติในการป้องกัน และรายงานถึงปัญหาด้านการค้ามนุษย์ การใช้แรงงานเยี่ยงทาส และการค้าทาส และการค้าประเวณี หรือการแสวงหา ผลประโยชน์โดยมิชอบในรูปแบบอื่น การเลือกปฏิบัติ และการรังแกบุคคลใดๆ โดยเฉพาะเด็ก วัยรุ่น ผู้หญิง กลุ่มเพศ ทางเลือก และชนกลุ่มน้อยอื่นๆ - กฎหมายและข้อปฏิบัติจะต้องมีการสื่อสาร แก่สาธารณะและมีการบังคับใช้
ค�ำอธิบาย
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การป้องกันที่มี ประสิทธิภาพ สามารถ ตรวจสอบสถานะ การท�ำงานของพื้นที่ใน เรื่องนี้ และมีเป้าหมาย ชัดเจนในการลด จ�ำนวนปัญหาด้าน สิทธิ-มนุษยชน และ ความเลื่อมล�้ำในสังคม พร้อมการจัดกิจกรรม ในการให้พื้นที่การ แสดงออกแก่ เด็ก วัยรุ่น กลุ่มเพศทาง เลือก กลุ่มชาติพันธุ์ ต่อเนื่องในระยะ 3 ปี
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
118 119
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและสิทธิทางกฎหมาย (Property and user rights) - มีการจัดท�ำเอกสารและบังคับใช้กฎหมาย และข้อบังคับเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน และสิทธิในการครอบครอง - กฎหมายและข้อบังคับเหล่านั้นต้องเคารพสิทธิ ชุมชนและชนพื้นเมือง และจะต้องมีการรับฟัง ความคิดเห็นจากสาธารณะด้วย - หากต้องมีการย้ายที่อยู่อาศัย ห้ามมิให้มีการ ด�ำเนินการโดยไม่แจ้งข้อมูลให้ทราบล่วงหน้า และจะต้องมีการชดเชยอย่างเป็นธรรม และ ตรงไปตรงมา - กฎหมายและข้อบังคับเหล่านั้นต้องปกป้องสิทธิ ทางกฎหมาย และสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากร ที่ส�ำคัญ
ค�ำอธิบาย
B6
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการใช้ กฎหมายและข้อบังคับ เกี่ยวกับกรรมสิทธิ์และ สิทธิในการครอบครอง รวมถึงสิทธิในการ เข้าถึงทรัพยากรต่างๆ
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการปกป้อง กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน และสิทธิในการครอบ ครอง มีการจัดตั้งกลุ่ม เพื่อเคารพสิทธิมนุษย์ ด้านการท่องเที่ยว รวมถึงมีโครงการใน เรื่องสิทธิชุมชน และ ชนพื้นเมือง และมีการ หารือเพื่อรับฟังความ คิดเห็นอย่างต่อเนื่อง ในกรณีมีการย้ายที่อยู่ ทีเ่ กิดจากการท่องเทีย่ ว ทางหน่วยงานรับผิดชอบ จะมีการรับฟังความคิด เห็นผู้อยู่อาศัย และ น�ำเสนอแนวทาง การย้ายพื้นที่และตั้ง ถิ่นฐานใหม่ ล่วงหน้า และจะต้องมีการ ชดเชยอย่างเป็นธรรม เพื่อเคารพสิทธิชุมชน
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการใช้ กฎหมาย ข้อบังคับ เกี่ยวกับกรรมสิทธิ์และ สิทธิในการครอบครอง รวมถึงสิทธิในการ เข้าถึงทรัพยากรต่างๆ กฎหมายและข้อบังคับ เคารพสิทธิชุมชนและ ชนพื้นเมือง และ กฎหมายและข้อบังคับ ปกป้องสิทธิทาง กฎหมายและสิทธิ ในการเข้าถึงทรัพยากร ที่ส�ำคัญ
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. ในแหล่งท่องเที่ยว มีกฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้อง กับเรื่องกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน และสิทธิในการ ได้มาและครอบครอง รวมถึงสิทธิในการเข้าถึง ทรัพยากรต่างๆ (ชื่อ กฎหมาย มาตรา และ วันที่ที่ประกาศใช้) b. กฎหมายในข้างต้นมีการระบุในเรื่องสิทธิชุมชน และชนพื้นเมืองการปรึกษาหารือเพื่อรับฟัง ความคิดเห็นสาธารณะ และการให้ออกจาก พื้นที่และตั้งถิ่นฐานใหม่ c. มีหลักฐานของการบังคับใช้กฎหมายตาม ข้างต้นในบริบทของการพัฒนาการท่องเที่ยว และกิจกรรมการท่องเที่ยว d. มีหลักฐานของการเข้าไปปรึกษาชุมชน การขอความยินยอม และการจ่ายค่าตอบแทน
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ กลไกในการติดตาม ตรวจสอบประเมินผล ทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการ พัฒนาการท่องเที่ยว และกิจกรรมการ ท่องเที่ยวอย่างเคารพ สิทธิชุมชนและ ชนพื้นเมือง และ มีการสื่อสารให้ชุมชน รับทราบอย่าง สม�่ำเสมอ ต่อเนื่อง 3 ปีขึ้นไป และ/หรือ ได้รับการยอมรับ ในด้านการเคารพสิทธิ ชุมชนในระดับสากล เช่น จากรางวัล TO DO AWARD HUMAN RIGHT IN TOURISM ในงาน ITB เป็นต้น
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
120 121
สวัสดิภาพและความปลอดภัย (Safety and security) - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบเพื่อเฝ้าสังเกตการณ์ ป้องกัน มีการรายงานต่อสาธารณชนและ ตอบสนองต่อประเด็นด้านอาชญากรรม ความปลอดภัย และอันตรายที่มีต่อสุขภาพ โดยต้องจัดการให้เหมาะสมกับความต้องการ ของทั้งนักท่องเที่ยวและผู้คนในพื้นที่
ค�ำอธิบาย
B7
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการบริการ ด้านความปลอดภัย และสุขภาพ จนเป็น เหตุให้เกิดความเสี่ยง ต่ออุบัติเหตุและ อาชญากรรมอยู่ บ่อยครั้ง
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการเฝ้าสังเกตการณ์ ป้องกันและตอบสนอง ต่อประเด็นด้าน อาชญากรรม ความ ปลอดภัย และอันตราย ต่อสุขภาพ รวมถึง การเตรียมความพร้อม และจัดท�ำโครงการ ด้านความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน เกี่ยวกับโรคอุบัติใหม่ และวิธีการป้องกันตาม มาตรฐานสากลอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อทดสอบ ควบคุมระบบในการ ให้บริการ
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการวางแผน และนโยบายในการ บริการด้านความ ปลอดภัยและสุขภาพ มีกฎหมาย มาตรฐาน หรือข้อปฏิบัติในด้าน ความปลอดภัยใน แหล่งท่องเที่ยว ทั้ง ด้านความปลอดภัยใน ทรัพย์สิน อาชญากรรม ด้านสุขภาพ สุขอนามัย
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. แหล่งท่องเที่ยวมีการให้บริการด้าน ความปลอดภัยและสุขภาพเป็นที่ยอมรับ และใช้การได้ b. มีการศึกษาเพื่อก�ำหนดและจัดการ ความต้องการของนักท่องเที่ยวเพื่อสามารถ ให้การบริการด้านสุขภาพและความปลอดภัย ที่สอดคล้องกับความต้องการได้ c. สิ่งอ�ำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว ที่ได้รับการตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐาน ความปลอดภัยและสุขอนามัย
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการเฝ้าสังเกตการณ์ ป้องกันและตอบสนอง ที่มีประสิทธิภาพใน ระดับมาตรฐานสากล ได้รับการยอมรับจาก หน่วยงาน/องค์กรด้าน มาตรฐานการท่องเทีย่ ว อย่างยั่งยืน และ/หรือ เป็นแหล่งท่องเที่ยว ที่วางเป้าหมายเพื่อ ยกระดับภาพลักษณ์ และประสิทธิภาพ ในด้านสวัสดิภาพและ ความปลอดภัยใน แหล่งท่องเที่ยวของ ประเทศในระยะ 3 ปี
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
122 123
การเข้าถึงการท่องเที่ยวส�ำหรับคนทั้งมวล (Access for all) - สถานที่ท่องเที่ยว สิ่งอ�ำนวยความสะดวกและ การบริการ จะต้องเข้าถึงได้โดยคนทั้งมวล ทั้งนี้ ต้องค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ทั้งในเชิงธรรมชาติ และวัฒนธรรม ซึ่งคนทั้งมวลนั้นรวมถึงผู้ที่มี ความบกพร่อง และคนที่มีความต้องการ ความช่วยเหลือหรือการเข้าถึงเป็นพิเศษ - ในกรณีที่แหล่งท่องเที่ยวและสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกไม่สามารถเข้าถึงได้ในทันที จะต้องมี การออกแบบและการแก้ไขปัญหา โดยค�ำนึงถึง ความกลมกลืนของสถานที่ท่องเที่ยว รวมถึง ควรจัดให้มีที่พักส�ำหรับกลุ่มบุคคลที่มีความ ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ในราคา ที่สมเหตุสมผล - มีการให้ข้อมูลด้านการเข้าถึงของสถานที่ ท่องเที่ยว สิ่งอ�ำนวยความสะดวก และ บริการต่างๆ
ค�ำอธิบาย
B8
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการให้ ความส�ำคัญเรื่อง การท�ำการท่องเที่ยว เพื่อคนทั้งมวล รวมถึง คนพิการและคนที่มี ความต้องการความ ช่วยเหลือหรือเข้าถึง เป็นพิเศษ
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการวางแผน ส่งเสริม ด�ำเนินการจัดการ แบบบูรณาการช่วย เหลือในการเข้าถึงเป็น พิเศษแก่คนทั้งมวล ตั้งแต่ก่อน ระหว่าง และหลังเดินทาง รวม ถึงมีเส้นทางท่องเที่ยว ตามกลุ่มเป้าหมายของ การท่องเที่ยวเพื่อคน ทั้งมวล โดยสร้างการ มีส่วนร่วมจากภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง อย่างต่อเนื่องในการ ส่งเสริมการบริการ สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ที่ออกแบบและการ แก้ไขปัญหาต่างๆ ใน เรื่องการเข้าถึง อีกทั้ง ยังคงความกลมกลืน ของสถานที่นั้นๆ ได้ดี
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการวางแผน ก�ำหนดนโยบาย ออก กฎระเบียบที่เกี่ยวกับ การบริการและการ อ�ำนวยความสะดวกแก่ คนทั้งมวล มีการให้ ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว ผ่านสื่อออนไลน์และ ออฟไลน์ที่ตอบสนอง ความต้องการพิเศษ เช่น ผู้พิการทางสายตา ทางหู และทางการ เคลื่อนไหว
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีข้อบังคับและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับผู้ต้องการความ ช่วยเหลือเป็นพิเศษ ให้สามารถเข้าถึงสถานที่ ท่องเทีย่ ว สิง่ อ�ำนวยความสะดวก และการบริการ b. มีการใช้มาตรฐานที่การเข้าถึงสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกสาธารณะส�ำหรับผู้ต้องการความ ช่วยเหลือเป็นพิเศษ c. มีข้อมูลเกี่ยวกับขอบเขต/สัดส่วนของการเข้าถึง สถานที่ท่องเที่ยว และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ที่ผู้ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษสามารถ เข้าถึงได้ d. มีหลักฐานถึงการด�ำเนินการเพื่อปรับปรุงการ เข้าถึงส�ำหรับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือด้าน การเข้าถึงในรูปแบบที่หลากหลาย e. แหล่งท่องเที่ยวในภาพรวมจะต้องมีการสื่อสาร ข้อมูลด้านสิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับ ผู้ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษรวมอยู่ด้วย f. ในจุดท่องเที่ยวหลักมีรายละเอียดจุดอ�ำนวย ความสะดวกส�ำหรับผู้ต้องการความช่วยเหลือ เป็นพิเศษอยู่ในข้อมูลส�ำหรับนักท่องเที่ยว
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีกลไก และระบบที่ได้การ ยอมรับ/รางวัลทาง ด้านการท่องเที่ยวเพื่อ คนทั้งมวลในระดับ สากล เป็นต้นแบบของ การพัฒนาสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกที่ค�ำนึงถึง สิ่งแวดล้อม และ ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการเก็บ ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายใน ด้านความต้องการและ การปรับปรุงพัฒนา เส้นทางท่องเที่ยวเพื่อ คนทั้งมวลอย่างต่อ เนื่องในระยะเวลา 3 ปี
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
124 125
ค�ำอธิบาย แดง (ความเสี่ยง)
ค�ำอธิบาย
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี การปกป้องทรัพย์สิน ทางวัฒนธรรม น�ำมา ซึ่งความเสี่ยงต่อความ เสี่อมโทรมของแหล่ง ท่องเที่ยว และถูก ท�ำลายได้
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการจัดการ ปกป้อง ทรัพย์สนิ ทางวัฒนธรรม ที่รวมถึงมรดกที่เป็น สิ่งปลูกสร้างและ ภูมิทัศน์เชิงวัฒนธรรม ประกอบด้วย นโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ปฏิบัติ รวมถึงการจัด ท�ำบัญชีข้อมูลรวบรวม ทรัพย์สนิ ทางวัฒนธรรม ในพื้นที่ และมีโครงการ เพื่อฟื้นฟู อนุรักษ์ ทรัพย์สนิ ทางวัฒนธรรม อย่างต่อเนื่อง
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการปกป้อง ทรัพย์สนิ ทางวัฒนธรรม ที่รวมถึงมรดกที่เป็น สิง่ ปลูกสร้างและ ภูมิทัศน์เชิงวัฒนธรรม ประกอบด้วย นโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ปฏิบัติ รวมถึงการจัด ท�ำบัญชีข้อมูลรวบรวม ทรัพย์สนิ ทางวัฒนธรรม ในพื้นที่
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการจัดท�ำบัญชีข้อมูลรวบรวมทรัพย์สิน ทางวัฒนธรรม รวมถึงการประเมินคุณค่า และ ประเมินความเปราะบาง b. มีโปรแกรมการด�ำเนินงานเพื่อฟื้นฟูและอนุรักษ์ ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม c. มีกลไกส�ำหรับการใช้ประโยชน์จากรายได้ ทางการท่องเที่ยวเพื่อสนับสนุนการอนุรักษ์ ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม
การปกป้องทรัพย์สินทางวัฒนธรรม (Protection of cultural assets) - แหล่งท่องเที่ยวมีนโยบายและระบบเพื่อ ประเมินคุณค่า ฟื้นฟู และสงวนรักษาทรัพย์สิน ทางวัฒนธรรมที่รวมถึงมรดกที่เป็นสิ่งปลูกสร้าง และภูมิทัศน์เชิงวัฒนธรรม
C1
C(a) การปกป้องมรดกทางวัฒนธรรม (Protecting cultural heritage)
ด้าน c ความยั่งยืนด้านวัฒนธรรม (Cultural sustainability)
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ และกลไกการจัดการ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการ ปกป้องทรัพย์สินทาง วัฒนธรรมที่รวมถึง มรดกทีเ่ ป็นสิง่ ปลูกสร้าง และภูมิทัศน์เชิง วัฒนธรรม ประกอบด้วย นโยบาย กฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ การจัด ท�ำบัญชีข้อมูลรวบรวม ทรัพย์สนิ ทางวัฒนธรรม ในพื้นที่ การจัดสรร รายได้/กองทุนจาก การท่องเที่ยวเพื่อการ อนุรักษ์และมีโครงการ เพื่อฟื้นฟูและอนุรักษ์ อย่างต่อเนื่อง จนได้ เป็นต้นแบบในประเทศ/ สากล อาทิ UNESCO Asia - Pacific Awards for Cultural Heritage Conservation เป็นต้น
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
126 127
วัตถุทางวัฒนธรรม (Cultural artefacts) - แหล่งท่องเที่ยวมีกฎหมายในการควบคุม การแลกเปลี่ยน การค้า การจัดแสดง หรือ การให้วัตถุทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี อย่างเหมาะสม โดยมีการบังคับใช้กฎหมาย และ มีการให้ข้อมูลแก่สาธารณชน รวมถึงผู้ประกอบ การธุรกิจท่องเที่ยวและนักท่องเที่ยวด้วย
ค�ำอธิบาย
C2
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐาน/ข้อกฎหมาย ในการควบคุมการแลก เปลี่ยน การค้า การจัด แสดง หรือการให้วัตถุ ทางประวัติศาสตร์และ โบราณคดี
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการดูแล ควบคุม วัตถุทางประวัติศาสตร์ ที่เหมาะสม รวมถึง การแลกเปลี่ยน การค้า การจัดแสดง หรือ การให้ วัตถุทาง ประวัติศาสตร์และ โบราณคดี ทีม่ กี ารปฏิบตั ิ ใช้จริง เป็นปัจจุบัน มีการปรับปรุงระบบ และสื่อสารให้ข้อมูล แก่สาธารณชน และ ผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งภาค เอกชน คนพื้นที่ และ นักท่องเที่ยว
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐาน เช่น แนวทาง ข้อปฏิบัติ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ ทางประวัติศาสตร์ที่ เหมาะสม รวมถึง หลักฐานของการให้ ข้อมูลกฎหมายดังกล่าว แก่ธุรกิจท่องเที่ยวและ นักท่องเที่ยวอย่าง ชัดเจน แต่ยังขาด ระบบในการควบคุม และปฏิบัติที่เหมาะสม
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวัตถุทาง ประวัติศาสตร์ใช้อ้างอิงในแหล่งท่องเที่ยว โดย ให้ระบุข้อกฎหมาย มาตรา และวันที่ประกาศ b. มีหลักฐานของการให้ข้อมูลกฎหมายดังกล่าว แก่ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวและ นักท่องเที่ยวอย่างชัดเจน c. มีหลักฐานของการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการดูแล ควบคุม วัตถุทางประวัติศาสตร์ ที่มีประสิทธิภาพ เป็น ปัจจุบัน มีการปรับปรุง ระบบ และสื่อสารให้ ข้อมูลแก่สาธารณชน และผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งภาคเอกชน คน พื้นที่ และนักท่องเที่ยว อีกทัง้ ยังจัดท�ำโครงการ ต้นแบบอย่างต่อเนื่อง ในด้านการส่งเสริม คุณค่าวัตถุทาง ประวัติศาสตร์และ โบราณคดี ที่ได้รางวัล ในระดับประเทศ/ ระดับนานาชาติ อาทิ UNESCO Asia Pacific Awards for Cultural Heritage Conservation เป็นต้น
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
128 129
มรดกที่จับต้องไม่ได้ (Intangible heritage) - แหล่งท่องเที่ยวมีการสนับสนุนการยกย่อง และการปกป้องมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้อง ไม่ได้ ซึ่งรวมถึง ประเพณีท้องถิ่น ศิลปะ เพลง ภาษา อาหาร และอัตลักษณ์และลักษณะเฉพาะ ของท้องถิ่นในมิติอื่นๆ - การน�ำเสนอ/แสดง การจ�ำลอง และการสื่อ ความหมายของวัฒนธรรมและประเพณีที่ยังคง อยู่นั้น จะต้องมีความละเอียดอ่อน ให้ความ เคารพ และคนในท้องถิ่นจะต้องมีส่วนร่วมและ ได้รับประโยชน์ ในขณะเดียวกันต้องมอบ ประสบการณ์ที่จริงแท้แก่นักท่องเที่ยว
ค�ำอธิบาย
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการระบุชัดเจนและจัดท�ำคลังข้อมูลมรดก ทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ b. ยกตัวอย่างงานเฉลิมฉลองทางวัฒนธรรม และ การให้ประสบการณ์แก่นักท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้อง กับมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (งานแสดงอีเวนท์ ผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น ฯลฯ) c. หลักฐานของการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น และชนพื้นเมืองในการพัฒนาและส่งมอบ ประสบการณ์ให้กับนักท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้องกับ มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ d. ข้อคิดเห็นจากนักท่องเที่ยวและชุมชนท้องถิ่น ในการส่งมอบประสบการณ์เกี่ยวกับมรดกทาง วัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้
C3
ข้อ
D7
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐาน และไม่ได้ให้ ความส�ำคัญกับมรดกที่ จับต้องไม่ได้ และไม่มี การสนับสนุน ไม่ได้ถูก ยกย่อง และการปกป้อง มรดกทางวัฒนธรรม ในด้านนี้
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
4.กีฬาภูมิปัญญาไทย 5.แนวทางปฏิบัติทาง สังคม 6.พิธีกรรม และ งานเทศกาล 7.ความรู้และแนว ปฏิบัติเกี่ยวกับ ธรรมชาติและจักรวาล และ 8.ภาษา) ซึ่งเป็น อัตลักษณ์ ที่เป็นมรดก ภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรมในพื้นที่ และลักษณะเฉพาะ ของท้องถิ่นในมิติอื่นๆ
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การสนับสนุนสร้าง การรับรู้ถึงคุณค่ามรดก ภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรมในชุมชน รวมถึงยกย่องและ การปกป้อง มรดกทาง วัฒนธรรมที่จับต้อง ไม่ได้ และให้ความส�ำคัญ กับ อัตลักษณ์เฉพาะ ในท้องถิน่ รวมถึงจัดท�ำ โครงการทีเ่ ป็นหลักฐาน เชิงประจักษ์ในด้าน วัฒนธรรมเพื่อการ ยกย่อง การสร้าง ประสบการณ์ร่วม ระหว่างนักท่องเที่ยว และชุมชน มีการสื่อ ความหมาย การรับฟัง ความคิดเห็นต่อ โครงการดังกล่าวเพื่อ น�ำมาปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่อง
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐาน ในการให้ ความส�ำคัญในด้าน การสนับสนุน ยกย่อง มรดกที่จับต้องไม่ได้ ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษา มรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรม พ.ศ. 2559 รวมถึง มีคลังข้อมูล และหลักฐานในการ สนับสนุน ยกย่อง ประกอบด้วย การขึ้น บัญชีมรดกภูมิปัญญา ทางวัฒนธรรม การมี มาตรการ นโยบาย ข้อปฏิบตั ิ หรือกฎหมาย ในการปกป้องมรดก ทางวัฒนธรรมทีจ่ บั ต้อง ไม่ได้ตามแต่การบ่งชี้ ของแต่ละพื้นที่ (อาทิ 1.ศิลปะการแสดง 2.งานช่างฝีมือดั้งเดิม 3.วรรณกรรมพื้นบ้าน
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การสนับสนุนยกย่อง และการปกป้อง มรดก ทางวัฒนธรรมทีจ่ บั ต้อง ไม่ได้ ที่มีประสิทธิภาพ และได้รับรางวัลใน ระดับประเทศ/ระดับ สากล ในการอนุรักษ์ ยกย่อง และปกป้อง มรดกทางวัฒนธรรม ที่จับต้องไม่ได้ อาทิ รางวัลส่งเสริมและ รักษามรดกทาง วัฒนธรรมในสาขาที่ เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม ที่จับต้องไม่ได้ของ กระทรวงวัฒนธรรม/ UNESCO Asia Pacific Awards for Cultural Heritage Conservation เป็นต้น
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
130 131
การเข้าถึงวิถีชีวิตปกติของชุมชน (Traditional access) - แหล่งท่องเที่ยวมีการติดตาม ปกป้อง และ เมื่อมีความจ�ำเป็นในการพิจารณาเพื่อ พัฒนาการเข้าถึง จะด�ำเนินการฟื้นฟู หรือ บูรณะซ่อมแซมเพื่อให้ชุมชนท้องถิ่นได้มีวิถีชีวิต แบบปกติในการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติและวัฒนธรรมได้เหมือนเดิม
ค�ำอธิบาย
C4
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐาน ในการติดตาม ปกป้อง การเข้าถึง แหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติและ วัฒนธรรม จนเกิด ความเสี่ยงในเรื่องการ สร้างสิ่งปลูกสร้าง หรือ เส้นทางที่ท�ำลายระบบ นิเวศทางธรรมชาติ และวิถีดั้งเดิมที่เป็น วัฒนธรรมของท้องถิ่น
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ติดตาม การด�ำเนินการ เพื่อปกป้อง ฟื้นฟูการ เข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติและ วัฒนธรรม โดยมีการ สร้างการมีส่วนร่วมกับ ชุมชนท้องถิ่น อย่าง ต่อเนื่อง และมีการ ด�ำเนินการปรับปรุง แผนปฏิบัติการเพื่อให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัจจุบันของพื้นที่
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐาน ในการติดตาม ปกป้อง การเข้าถึง แหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติและวัฒนธรรม มีแนวทาง มาตรการ และ/ หรือ รายงาน การศึกษาผลกระทบ ทางด้านความเสี่ยง ในเรื่องการเข้าถึง หรือ การสร้างถนน หนทาง ที่ท�ำลายระบบนิเวศ ทางธรรมชาติและวิถี ดั้งเดิมที่เป็นวัฒนธรรม ของท้องถิ่นต่อการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน/ การออกนโยบายย่าน เมืองเก่าเพื่ออนุรักษ์วิถี ท้องถิ่นและการเข้าถึง แหล่งท่องเที่ยว
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการติดตามการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติและวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่น b. มีหลักฐานการสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชน ท้องถิ่นในเรื่องของการเข้าถึงวิถีชีวิตปกติ ของชุมชน c. มีการด�ำเนินการเป็นพิเศษเพื่อปกป้อง และ/ หรือ ฟื้นฟูการเข้าถึงของชุมชนท้องถิ่น
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ที่มีประสิทธิภาพและ เป็นต้นแบบในการ ติดตาม การด�ำเนินการ เพื่อปกป้อง ฟื้นฟูการ เข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติและ วัฒนธรรม โดยสร้าง การมีสว่ นร่วมกับชุมชน ท้องถิ่น เป็นแผนการ ด�ำเนินงานระยะยาว อย่างน้อย 3 ปี และมี การปรับปรุงแผนปฏิบตั ิ การเพื่อให้สอดคล้อง กับสถานการณ์อย่าง ต่อเนื่อง
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
132 133
ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual property) - แหล่งท่องเทีย่ วมีระบบในการสร้างการมีสว่ นร่วม ในการปกป้องและรักษาสิทธิในทรัพย์สินทาง ปัญญาของท้องถิ่นและบุคคลในพื้นที่
ค�ำอธิบาย
C5
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานขึ้นทะเบียน ในการปกป้องและ รักษาสิทธิในทรัพย์สิน ทางปัญญาของชุมชน และบุคคล ส่งผลให้ เกิดความเสี่ยงในด้าน การลอกเลียนแบบ กลายไปเป็นของพื้นที่ อื่นหรือประเทศอื่น
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการสร้างการมี ส่วนร่วมในการปกป้อง และรักษาสิทธิใน ทรัพย์สินทางปัญญา ของชุมชนและบุคคล มีการด�ำเนินงานตรวจ สอบ ทรัพย์สินทาง ปัญญาด้านวัฒนธรรม ในพื้นที่ รวมถึงมีการ ต่อยอดในการพัฒนา เพื่อสร้างประสบการณ์ ทางวัฒนธรรมให้แก่ นักท่องเที่ยว
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐาน ประกอบด้วย นโยบาย มาตรการการ ขึ้นทะเบียนทรัพย์สิน ทางปัญญา กฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับทรัพย์สิน ทางปัญญาในแหล่ง ท่องเที่ยว ข้อมูล ในเรื่องทรัพย์สินทาง ปัญญาให้แก่ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียของการ ท่องเที่ยว นโยบาย การวางแผนในเรื่อง การปกป้อง รักษาสิทธิ ในทรัพย์สินทางปัญญา เชิงวัฒนธรรมนี้ไว้
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีกฎหมายเกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญา ในแหล่งท่องเที่ยว (ระบุฉบับ มาตรา วันที่) b. มีการให้ข้อมูลในเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา ให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางการท่องเที่ยว c. มีหลักฐานการได้รับการปกป้องของทรัพย์สิน ทางปัญญาได้รับการปกป้องและได้รับการ พัฒนาขึ้นเพื่อสร้างประสบการณ์ทางวัฒนธรรม
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการสร้างการมี ส่วนร่วมในการปกป้อง และรักษาสิทธิใน ทรัพย์สนิ ทางปัญญาของ ชุมชนและบุคคล มีการ ด�ำเนินงานตรวจสอบ ทรัพย์สินทางปัญญา ด้านวัฒนธรรมในพื้นที่ รวมถึงมีการต่อยอด ในการพัฒนาสินค้า และบริการเพื่อสร้าง ประสบการณ์ทาง วัฒนธรรมให้แก่ นักท่องเที่ยวจนได้รับ รางวัลในระดับ ประเทศ เช่น รางวัล Cultural Product of Thailand (CPOT) / ระดับสากลทางด้าน การพัฒนาเส้นทาง ท่องเทีย่ วด้านวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
134 135
การจัดการนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรม (Visitor management at cultural sites) - แหล่งท่องเทีย่ วจะต้องมีระบบจัดการนักท่องเทีย่ ว ทั้งภายในและโดยรอบแหล่งท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรม โดยค�ำนึงถึงคุณลักษณะของพื้นที่ ขีดความสามารถในการรองรับ และความอ่อนไหว เปราะบางของพื้นที่ และจะต้องมีการเพิ่ม ประสิทธิภาพการเคลื่อนตัวของนักท่องเที่ยว (Visitor Flow) และลดผลกระทบเชิงลบ ที่อาจเกิดขึ้น - แหล่งท่องเที่ยวมีคู่มือการปฏิบัติตนส�ำหรับ นักท่องเที่ยวเมื่อเข้าชมแหล่งท่องเที่ยวที่มี ความเปราะบาง รวมถึงการเข้าชมการจัดแสดง ทางวัฒนธรรม และมีการแจกจ่ายคู่มือให้แก่ นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการท่องเที่ยว และ มัคคุเทศก์ทั้งก่อนและ ณ เวลาการเข้าชม
ค�ำอธิบาย
C6
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการจัดการ นักท่องเที่ยว และส่ง ผลกระทบเชิงลบให้กับ พื้นที่ในวงกว้าง เช่น การกระจุกตัวในแหล่ง ท่องเที่ยว ความหนา แน่นของนักท่องเที่ยว ที่ส่งผลกระทบต่อ มรดกทางวัฒนธรรม
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการด�ำเนินงาน ตัง้ แต่ ก�ำหนด มาตรการ นโยบาย กฎหมาย และ/ หรือ แผนการจัดการ นักท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรม รวมถึง มีการสื่อสารผ่านสื่อ ออนไลน์/ออฟไลน์/ กิจกรรมในการส่งเสริม การปฏิบัติตนส�ำหรับ นักท่องเทีย่ ว ผูป้ ระกอบ การและผู้มีส่วนได้เสีย ในการเข้าชมแหล่ง ท่องเที่ยวที่มีความ เปราะบาง
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐาน ประกอบด้วย มาตรการ นโยบาย กฎหมาย และ/หรือ แผนการจัดการ นักท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรม และ/หรือ การจัดท�ำคู่มือการ ปฏิบัติตนส�ำหรับ นักท่องเทีย่ ว ผูป้ ระกอบ การและผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อสร้างเข้าใจในการ รับผิดชอบต่อแหล่ง ท่องเที่ยว
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการเฝ้าสังเกตการณ์การเคลื่อนตัวของ นักท่องเที่ยวและผลกระทบที่เกิดขึ้นในสถานที่ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม และมีการแบ่งปัน ข้อมูลดังกล่าวไปยังแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ b. มีหลักฐานของการด�ำเนินการจัดการกับ ผลกระทบที่เกี่ยวกับท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นภายใน หรือโดยรอบสถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม c. มีการเผยแพร่คู่มือการปฏิบัติตัวส�ำหรับ นักท่องเที่ยวเมื่อเข้าชมสถานที่ท่องเที่ยว ที่เปราะบาง และเข้าชมการจัดแสดงอีเวนท์ ทางวัฒนธรรมที่จัดท�ำขึ้น ตลอดจนติดตาม ตรวจสอบการปฏิบัติตนของนักท่องเที่ยว เป็นระยะ d. มีหลักปฏิบัติส�ำหรับผู้ประกอบการท่องเที่ยว และมัคคุเทศก์ และ/หรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องในการ จัดการนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรม e. มีการจัดฝึกอบรมส�ำหรับมัคคุเทศก์
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยว มีระบบและกลไกที่มี ประสิทธิภาพในการ ด�ำเนินงานอย่าง ต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี และเป็นต้นแบบด้าน การจัดการนักท่องเทีย่ ว ในระดับประเทศ/ระดับ สากลตามเป้าหมาย ของพื้นที่
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
136 137
การสื่อความหมายในแหล่งท่องเที่ยว (Site interpretation) - มีการจัดเตรียมเนื้อหาการสื่อความหมาย ที่ถูกต้องเพื่อให้ความรู้ในแง่มุมที่มีความส�ำคัญ แก่นักท่องเที่ยว ทั้งในเชิงวัฒนธรรมและ เชิงธรรมชาติของสถานที่ท่องเที่ยวนั้น - ข้อมูลที่ใช้สื่อความหมายมีความเหมาะสม ในเชิงวัฒนธรรม และจัดท�ำโดยการมีส่วนร่วม ของคนในชุมชน และสามารถสื่อสารด้วยภาษา ที่เหมาะสมชัดเจนทั้งกับนักท่องเที่ยวและ กับผู้คนในพื้นที่
ค�ำอธิบาย
C7
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการให้ ข้อมูลสื่อความหมาย ในแหล่งท่องเที่ยว ที่เล็งเห็นความส�ำคัญ ของการบอกเล่า เรื่องราว เพื่อสร้าง คุณค่าให้กับแหล่ง ท่องเที่ยว
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การวางแผนและ ด�ำเนินงาน ทบทวน ตรวจสอบ ในเรื่อง การสื่อความหมายของ แหล่งท่องเที่ยว และ มีการสร้างการมี ส่วนร่วมในการจัดท�ำ เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับ พื้นที่ มีการจัดท�ำคู่มือ สื่อความหมายของ พื้นที่สามารถใช้งาน ได้ก่อนลงพื้นที่ผ่าน ช่องทางออนไลน์ ให้แก่นักท่องเที่ยว และคนในพื้นที่ รวมถึง แปลภาษาที่เหมาะสม
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการให้ ข้อมูล การออกนโยบาย แนวทาง หรือแผนงาน เพื่อสนับสนุนการสื่อ ความหมายในแหล่ง ท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม และ/หรือ มีการท�ำ วิจัยเพื่อค้นหาเรื่องราว ในพื้นที่
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการสื่อสาร/แจกข้อมูลเนื้อหาการสื่อ ความหมายในแหล่งท่องเที่ยว ด้วยรูปแบบ ที่นักท่องเที่ยวสามารถเข้าถึงได้ก่อนเข้ามายัง แหล่งท่องเที่ยวได้ b. มีหลักฐานให้เห็นว่าเนื้อหาการสื่อความหมาย เหล่านั้นได้มาจากการค้นคว้าวิจัยเป็นอย่างดี และถูกต้องแม่นย�ำ c. เนื้อหาการสื่อความหมายมีการระบุถึงความ ส�ำคัญและความอ่อนไหว/ความเปราะบางของ สถานที่ท่องเที่ยว d. มีหลักฐานว่าคนในชุมชนมีสว่ นร่วมในการจัดท�ำ เนื้อหาการสื่อความหมายที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ e. เนื้อหาการสื่อความหมาย ได้ถูกแปลในภาษา ที่เหมาะสมกับนักท่องเที่ยว
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ และกลไก การวางแผน และด�ำเนินงาน ทบทวน ตรวจสอบอย่างมี ประสิทธิภาพ ในเรื่อง การสื่อความหมายของ แหล่งท่องเที่ยวอย่างมี ส่วนร่วมกับคนในพื้นที่ มีการจัดโครงการ พัฒนาต้นแบบการสื่อ ความหมายในแหล่ง ท่องเที่ยว ทั้งในด้านสื่อ บุคคลและไม่ใช่บุคคล เพื่อมุ่งเน้นการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ แก่ชุมชน และเยาวชน รุ่นใหม่จากรุ่นสู่รุ่น อย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 3 ปี
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
138 139
ค�ำอธิบาย แดง (ความเสี่ยง)
ค�ำอธิบาย
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี การปกป้องสิง่ แวดล้อม ที่มีความเปราะบาง ที่อาจะเป็นเหตุให้ เกิดผลกระทบจาก การท่องเที่ยวทางด้าน สภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติและระบบ นิเวศ เป็นเหตุให้แหล่ง ท่องเที่ยวถูกท�ำลาย จากการท่องเที่ยวได้
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การจัดการที่ติดตาม ผลกระทบจากการ ท่องเที่ยวด้านสภาพ สิ่งแวดล้อม มีคลัง ข้อมูลแหล่งมรดกทาง ธรรมชาติและทรัพย์สิน ทางธรรมชาติ มี โปรแกรมการด�ำเนินงาน เพื่ออนุรักษ์ความหลาก หลายทางชีวภาพ และ การด�ำเนินงานเพือ่ ก�ำจัด และควบคุมสายพันธุ์ พืชหรือสัตว์ต่างถิ่น รวมถึงการด�ำเนินการ ระบุเฝ้าระวังและบรรเทา ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ อย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี แผนการจัดการปกป้อง สิ่งแวดล้อม และ/หรือ แผนการอนุรักษ์ความ หลากหลายทางชีวภาพ และมรดกทางธรรมชาติ และ/หรือแผนหรือ มาตรการการจัดคลัง ข้อมูลแหล่งมรดกทาง ธรรมชาติและทรัพย์สนิ ทางธรรมชาติ (โดยระบุ ชนิด สถานะของการ อนุรักษ์และภาวะความ เสี่ยง/ความเปราะบาง) เพื่อเฝ้าสังเกตการณ์ ประเมิน และตอบสนอง ต่อผลกระทบจากการ ท่องเที่ยวทางด้าน สภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติ การสงวน รักษาระบบนิเวศ
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการจัดท�ำคลังข้อมูลแหล่งมรดกและทรัพย์สิน ทางธรรมชาติ โดยระบุชนิด สถานะของการ อนุรักษ์ และภาวะความเสี่ยง/ความเปราะบาง b. มีโปรแกรมการด�ำเนินงานเพื่อการอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ และมรดกทาง ธรรมชาติ c. มีโปรแกรมการด�ำเนินงานเพื่อก�ำจัดและ ควบคุมสายพันธุ์พืชหรือสัตว์ต่างถิ่น d. มีด�ำเนินการระบุเฝ้าสังเกตการณ์ และบรรเทา ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการท่องเที่ยวต่อความ หลากหลายทางชีวภาพ และมรดกทางธรรมชาติ e. มีกลไกส�ำหรับการใช้รายได้ที่มาจาก การท่องเที่ยวเพื่อสนับสนุนการอนุรักษ์ ทรัพย์สินทางธรรมชาติ f. มีการสื่อสารให้ข้อมูลกับนักท่องเที่ยวและ ภาคธุรกิจในเรื่องของการลดการแพร่กระจาย ของสายพันธุ์พืชหรือสัตว์ต่างถิ่น
การปกป้องสิ่งแวดล้อมที่มีความเปราะบาง (Protection of sensitive environments) - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีระบบเพื่อเฝ้าสังเกตการณ์ ประเมิน และตอบสนองต่อผลกระทบจาก การท่องเที่ยวที่มีต่อสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติ การสงวนรักษาระบบนิเวศ ถิ่นที่อยู่ และพันธุ์พืชหรือสัตว์ รวมถึงต้องป้องกัน การเริ่มต้นและการแพร่กระจายของ สายพันธุ์พืชหรือสัตว์ต่างถิ่น
D1
D(a) การอนุรักษ์มรดกทางธรรมชาติ (Conservation of natural heritage)
ด้าน D ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental sustainability)
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การจัดการติดตาม ผลกระทบจากการ ท่องเที่ยวด้านสภาพ สิ่งแวดล้อมที่มีความ เปราะบางอย่างมี ประสิทธิภาพและ ได้รบั การยอมรับใน ระดับชาติ ตามเป้าหมาย ที่ก�ำหนดร่วมกันของ พื้นที่ โดยมีกลไก ส�ำหรับการหารายได้ เพื่อสนับสนุนการ อนุรักษ์ทรัพย์สินทาง ธรรมชาติ และสื่อสาร ให้ข้อมูลกับผู้มีส่วนได้ เสียอย่างต่อเนื่อง 3 ปี จนเห็นผลในการ ปกป้องรักษาระบบ นิเวศในพื้นที่
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
140 141
การจัดการนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติ (Visitor management at natural sites) - แหล่งท่องเทีย่ วจะต้องมีระบบจัดการนักท่องเทีย่ ว ทั้งภายในและโดยรอบแหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ โดยค�ำนึงถึงคุณลักษณะของพื้นที่ ขีดความสามารถในการรองรับ และความอ่อนไหว เปราะบางของพื้นที่ และจะต้องมีการเพิ่ม ประสิทธิภาพการเคลื่อนตัวของนักท่องเที่ยว (Visitor Flow) และลดผลกระทบเชิงลบ ที่อาจเกิดขึ้น - แหล่งท่องเที่ยวมีคู่มือการปฏิบัติตนส�ำหรับ นักท่องเที่ยวเมื่อเข้าชมจุดท่องเที่ยวที่มี ความเปราะบาง และมีการแจกจ่ายคู่มือให้แก่ นักท่องเที่ยวผู้ประกอบการท่องเที่ยว และ มัคคุเทศก์ ทั้งก่อน และ ณ เวลาเข้าชม
ค�ำอธิบาย
D2
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี การจัดการนักท่องเทีย่ ว ทั้งภายในและโดยรอบ แหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ ส่งผลให้เกิด ปัญหาในเรือ่ งการรองรับ และความอ่อนไหว เปราะบางของพื้นที่
แดง (ความเสี่ยง)
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การจัดการนักท่องเทีย่ ว ทางธรรมชาติ มีการ วางแผนและการด�ำเนิน การ ทบทวน ปรับปรุง ระบบให้มีประสิทธิภาพ อย่างต่อเนื่อง 3 ปี รวมถึงติดตามผลกระทบ เชิงลบที่อาจเกิดขึ้น พร้อมทั้งการประเมิน ขีดความสามารถ ในการรองรับ และ ความอ่อนไหวเปราะ บางของพื้นที่ ด้วย เครื่องมือการประเมิน การจัดนักท่องเที่ยว ตามกรอบกลไกของ อุทยานแห่งชาติ/ มรดกโลก (VMAT UNESCO) และ/หรือ มีการน�ำระบบ เทคโนโลยีการจัดการ นักท่องเที่ยวอย่าง มีสว่ นร่วมเข้ามาใช้
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
ผูป้ ระกอบการท่องเทีย่ ว ส่งผลให้เป็นต้นแบบ และมัคคุเทศก์ ในระดับชาติ/ระดับ สากลตามเป้าหมาย ของพื้นที่
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การจัดการนักท่องเที่ยว ทางธรรมชาติ ที่ปฏิบัติ ตามแผนงาน รวมถึง ติดตามผลกระทบเชิงลบ ที่อาจเกิดขึ้น พร้อมทั้ง การประเมินขีดความ สามารถในการรองรับ และความอ่อนไหว เปราะบางของพื้นที่ มีโครงการส่งเสริม ประสิทธิภาพการจัดการ นักท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ อย่างต่อเนื่องมีการเผย แพร่คู่มือการปฏิบัติตัว ส�ำหรับนักท่องเที่ยว เมื่อเข้าชมจุดท่องเทีย่ ว ทีเ่ ปราะบาง และมีการ ติดตามตรวจสอบ การปฏิบัติตนของ นักท่องเที่ยวเป็นระยะ รวมถึงการให้ข้อมูล และอัปเดตคู่มือนี้แก่
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยว มีแผนในการจัดการ นักท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ มีหลักฐาน ในการศึกษาผลกระทบ เชิงลบที่อาจเกิดขึ้น มีแนวทาง/หลักปฏิบัติ ส�ำหรับผู้ประกอบ การท่องเที่ยวและ มัคคุเทศก์ และ/หรือ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการ จัดการนักท่องเที่ยว ในแหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการเฝ้าสังเกตการณ์การเคลื่อนตัวของ นักท่องเที่ยวและผลกระทบที่เกิดขึ้นในสถานที่ ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และมีการแบ่งปัน ข้อมูลดังกล่าวไปยังแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ b. มีหลักฐานของการด�ำเนินการจัดการกับ ผลกระทบจากการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นภายใน หรือโดยรอบแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ c. มีการเผยแพร่คู่มือการปฏิบัติตัวส�ำหรับ นักท่องเทีย่ วเมือ่ เข้าชมจุดท่องเทีย่ วทีเ่ ปราะบาง และมีการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตนของ นักท่องเที่ยวเป็นระยะ d. มีหลักปฏิบัติส�ำหรับผู้ประกอบการท่องเที่ยว และมัคคุเทศก์ และ/หรือ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติ e. สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานอนุรักษ์ ในท้องถิ่นเพื่อระบุความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการท่องเที่ยว และมีมาตรการลดความเสี่ยงเหล่านั้น f. มีการจัดฝึกอบรมส�ำหรับมัคคุเทศก์
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
142 143
การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตในป่า (Wildlife interaction) - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบตรวจสอบการปฏิบัติ ตามกฎหมายท้องถิ่น กฎหมายของชาติ และกฎหมายระหว่างประเทศ และมาตรฐาน การมีปฏิสัมพันธ์และด�ำเนินกิจกรรม (ในรูปแบบใดก็ตาม) กับสิ่งมีชีวิตในป่า - กิจกรรมที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสัตว์ป่าที่อาศัย อยู่อย่างอิสระนั้น จะต้องไม่มีการคุกคาม และต้องมีการจัดการเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบ ไม่พึงประสงค์ต่อสัตว์เหล่านั้น โดยค�ำนึงถึง การด�ำรงชีวิตและพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตในป่า
ค�ำอธิบาย
D3
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่ได้ ค�ำนึงถึงภัยคุกคาม กรณีการมีปฏิสัมพันธ์ กับสิ่งมีชีวิตในป่า ส่งผลให้เกิด/หรืออาจ จะเกิดผลกระทบต่อ สัตว์เหล่านั้น และ การด�ำรงชีวิตและพฤติ กกรรมของสิ่งมีชีวิต ในป่าที่เปลี่ยนไป
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การตรวจสอบ การเฝ้า ระวังเหตุการณ์ความ เป็นอยู่และการมี ปฏิสมั พันธ์กบั สิง่ มีชวี ติ ในป่าที่เป็นไปตาม กฎหมายของแหล่ง ท่องเที่ยว และ/หรือ มีหลักฐานเชิงประจักษ์ ในการสนับสนุนให้ใช้ มาตรฐานสากลมาปฏิบตั ิ (อนุสัญญา CITES)/ หรือกิจกรรมที่ร่วม รณรงค์การไม่รบกวน หรือมีปฏิสมั พันธ์กับ สัตว์ป่า รวมถึง การส�ำรวจว่าเป็นไปตาม หลักมาตรฐานสากล
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยว มีข้อกฎหมายท้องถิ่น กฎหมายของชาติ กฎหมายระหว่างประเทศ และมาตรฐานการ ปกป้องการมีปฏิสมั พันธ์ ด�ำเนินกิจกรรมกับ สิ่งมีชีวิตในป่า และ/ หรือ การออกหลัก ปฏิบัติส�ำหรับการท�ำ กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่อง กับสิ่งมีชีวิตในป่ารวม ถึงการส�ำรวจ ที่เป็นไป ตามมาตรฐานสากล
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีข้อกฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายระดับ ประเทศ และกฎหมายท้องถิ่นที่ใช้ใน แหล่งท่องเที่ยวในเรื่องของการท�ำกิจกรรม/ มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตในป่า b. มีการสนับสนุนให้ใช้มาตรฐานสากลด้าน การปกป้องสิ่งมีชีวิตในป่า พันธุ์ที่อยู่ในน�้ำ และบนบก c. มีการออกหลักปฏิบัติส�ำหรับการท�ำกิจกรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งมีชีวิตในป่ารวมถึงการส�ำรวจ ที่เป็นไปตามมาตรฐานสากล d. มีระบบตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อบังคับและ หลักปฏิบัติในการด�ำเนินงานด้านการท่องเที่ยว e. มีการด�ำเนินการเพื่อเฝ้าสังเกตการณ์ความ เป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตในป่าและลดการรบกวน สิ่งมีชีวิตในป่าโดยเฉพาะในบริเวณที่มีการท�ำ กิจกรรม f. มีการให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยวเกี่ยวกับการท�ำ กิจกรรมท่องเที่ยวที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในป่า ซึ่งอาจเป็นอันตราย เช่น การสัมผัส และ การให้อาหาร เป็นต้น
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ที่มีประสิทธิภาพเป็น มาตรฐานสากลทั้งใน การตรวจสอบ การเฝ้า ระวังเหตุการณ์ความ เป็นอยู่และการมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิต ในป่า รวมถึงได้รับการ ยอมรับในระดับสากล จากองค์กรพิทักษ์ สัตว์ป่าทั้งในด้าน ระบบตรวจสอบการ ปฏิบัติตามกฎหมาย และการสื่อสารแก่นัก ท่องเที่ยว และผู้มีส่วน ได้เสียถึงความส�ำคัญ และผลกระทบจาก การท่องเที่ยวที่มีต่อ สิ่งมีชีวิตในป่าซึ่งอาจ เป็นอันตราย เช่น การสัมผัส และการให้ อาหาร เป็นต้น
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
144 145
การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากพืชหรือสัตว์ และสวัสดิภาพสัตว์ (Species exploitation and animal welfare) - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่ก�ำกับดูแลท�ำให้มั่นใจ ว่ามีการปฏิบัติตามกฎหมายท้องถิ่น กฎหมาย ระดับประเทศ และกฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงมาตรฐานต่างๆ เพื่อรับรองว่าสัตว์ จะมีสวัสดิภาพที่ดี และมีการอนุรักษ์สายพันธุ์ ต่างๆ (สัตว์ พืช และสิ่งมีชีวิตทั้งหมด) ซึ่งรวมถึง การเลี้ยงหรือการจับ การซื้อขายแลกเปลี่ยน การแสดง และการขายสิ่งมีชีวิตจากป่าและ สินค้าที่ผลิตจากพันธุ์พืชและสัตว์ - ต้องไม่มีการได้มาซึ่งพันธุ์พืชหรือสัตว์ และไม่มี การขยายพันธุ์ และการกักขัง สัตว์ป่าชนิดใดๆ เว้นแต่ได้รับอนุญาตอย่างถูกต้อง รวมถึงอยู่ใน การดูแลของบุคลากรที่มีความพร้อม และอยู่ ภายใต้การด�ำเนินการตามข้อก�ำหนดทีเ่ หมาะสม - การจัดที่อยู่อาศัย การดูแล และการจัดการทั้ง สัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยงทั้งหมดนั้น จะต้องให้เป็น ไปตามมาตรฐานสวัสดิภาพของสัตว์ขั้นสูงสุด
ค�ำอธิบาย
D4
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี กฎหมายท้องถิ่น กฎหมายระดับประเทศ และกฎหมายระหว่าง ประเทศ รวมถึง มาตรฐานต่างๆ เพื่อ รับรองว่าสัตว์จะมี สวัสดิภาพที่ดี
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การดูแล ตรวจสอบ ปฏิบัติตามแผนการ ด�ำเนินงานในเรื่องการ แสวงหาประโยชน์โดย มิชอบจากพืชหรือสัตว์ และสวัสดิภาพสัตว์ เพื่อรับรองว่าสัตว์จะมี สวัสดิภาพที่ดี และมี การอนุรักษ์สายพันธุ์ พืชและสัตว์ ซึ่งรวมถึง การออกใบอนุญาต และตรวจสอบ คุณสมบัติของบุคลากร ที่รับผิดชอบสัตว์ป่า ที่อยู่ในครอบครอง และมีการด�ำเนินการ เพื่อส่งเสริมอนุสัญญา CITES ว่าด้วยการค้า ระหว่างประเทศซึ่งมี ชนิดสัตว์ป่าและพืชป่า ที่ใกล้สูญพันธุ์ ในภาค การท่องเที่ยว
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานทีเ่ ป็นกฎหมาย ท้องถิ่น กฎหมายระดับ ประเทศ และกฎหมาย ระหว่างประเทศ รวมถึง มาตรฐานต่างๆ เพื่อ เป็นมาตรการในการ รับรองว่าสัตว์จะมี สวัสดิภาพทีด่ มี กี ารฃ ชีแ้ จงข้อมูลด้านกฎหมาย มาตรฐาน มาตรการ ตามอนุสัญญา CITES)/ และแนวทางปฏิบัติ ให้แก่ผู้ประกอบการ ท่องเทีย่ ว และมัคคุเทศก์ มีการออกใบอนุญาต และตรวจสอบ คุณสมบัติของบุคลากร ที่รับผิดชอบสัตว์ป่า ที่อยู่ในครอบครอง
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
a. มีกฎหมายเฉพาะทั้งในระดับระหว่างประเทศ ระดับชาติ และระดับท้องถิ่น รวมถึงมาตรฐานและ แนวทางปฏิบตั เิ พือ่ ใช้ในแหล่งท่องเทีย่ วในการปกป้อง สวัสดิภาพสัตว์ และการอนุรักษ์สายพันธุ์พืชและสัตว์ b. มีการชี้แจงข้อมูลด้านกฎหมาย มาตรฐาน และ แนวทางปฏิบัติให้แก่ผู้ประกอบการท่องเที่ยว และ มัคคุเทศก์ c. มีระบบส�ำหรับตรวจสอบเงื่อนไขของการครอบครอง สัตว์ป่า และสัตว์เลี้ยง รวมถึงการจัดที่อยู่อาศัยและ การดูแล d. มีการออกใบอนุญาตและตรวจสอบคุณสมบัติของ บุคลากรที่รับผิดชอบในเรื่องของสัตว์ป่าที่อยู่ใน ครอบครอง e. มีการด�ำเนินการเพื่อส่งเสริมอนุสัญญา CITES ว่า ด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่า ที่ใกล้สูญพันธุ์ ในภาคการท่องเที่ยว และตรวจสอบ ให้มั่นใจว่ามีการปฏิบัติตามอนุสัญญาดังกล่าว f. มีการให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว ในการหลีกเลี่ยง การค้าสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ เช่น การซื้อของที่ระลึกที่ ท�ำจาก/ได้จากสัตว์ป่าคุ้มครองตามประกาศของ สหภาพระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) หรือ อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (CITES) g. มีการบังคับใช้กฎหมายเพื่อเป็นการรับรองว่า กิจกรรมการล่าสัตว์ใดๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ โดยได้รับการจัดการอย่างเหมาะสม และเป็นไปตามกฎหมายอย่างเข้มงวด เพือ่ การอนุรกั ษ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ลดจ�ำนวนกรณีการ แสวงหาประโยชน์โดย มิชอบจากพืชหรือสัตว์ และสวัสดิภาพสัตว์ คิด เป็นร้อยละ 5 จาก ปีกอ่ นในระยะเวลา 3 ปี
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมี ระบบที่มีประสิทธิภาพ ในการดูแลเรื่องการ แสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบจากพืชหรือ สัตว์และสวัสดิภาพ สัตว์ เพื่อรับรองว่า สัตว์จะมีสวัสดิภาพที่ดี และมีการอนุรักษ์ สายพันธุ์พืชและสัตว์ มีระบบส�ำหรับตรวจ สอบเงื่อนไขของ การครอบครองสัตว์ป่า และสัตว์เลี้ยง รวมถึง การจัดที่อยู่อาศัยและ การดูแล และการ จัดการทั้งสัตว์ป่าและ สัตว์เลี้ยงที่มี ประสิทธิภาพตาม มาตรฐานสวัสดิภาพ สูงสุด โดยมีกลไกการ แจ้งเหตุจากประชาชน เพือ่ เฝ้าระวังเหตุการณ์ และสัมฤทธิผลในการ
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
146 147
การอนุรักษ์พลังงาน (Energy conservation) - แหล่งท่องเที่ยวมีเป้าหมายที่จะลดการใช้ พลังงาน ปรับปรุงประสิทธิภาพในการใช้ พลังงาน รวมถึงเพิ่มการใช้พลังงานทดแทน - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการส่งเสริมให้ภาค ธุรกิจตรวจวัด ติดตามดูแล และลดการใช้ พลังงาน และมีการรายงานผลการด�ำเนินงาน ต่อสาธารณชน
ค�ำอธิบาย
D5
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี เป้าหมาย และ/หรือ ไม่มีหลักฐานในการให้ ความส�ำคัญต่อการ อนุรักษ์พลังงาน
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การจัดการการใช้ พลังงาน และมีระบบ การด�ำเนินงานในการ เพิ่มประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน และ/ หรือการใช้พลังงาน ทดแทน รวมถึงมีการ ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจ ตรวจวัด ติดตามดูแล และลดการใช้พลังงาน อย่างต่อเนื่อง
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการ วางแผนการจัดการ การใช้พลังงาน และ/ หรือแผนการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการใช้ พลังงาน และ/หรือ การใช้พลังงานทดแทน โดยมีการเผยแพร่และ ประกาศเป้าหมายการ ใช้พลังงานอย่างชัดเจน แต่ยังไม่ได้น�ำไปด�ำเนิน งานในภาพรวมของ พื้นที่
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการส่งเสริมและเผยแพร่ให้สาธารณะ ทราบถึงเป้าหมายการใช้พลังงาน b. มีโปรแกรมการด�ำเนินงานในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เช่น การส่งเสริม และสนับสนุนให้ใช้ฉนวนกันความร้อน เป็นต้น c. มีการลงทุนในพลังงานทดแทน และควบคุม สัดส่วนร้อยละของการจัดหา/การบริโภคทัง้ หมด d. สนับสนุนและสร้างแรงกระตุ้นในการตรวจสอบ และลดการใช้พลังงานโดยภาคธุรกิจต่างๆ
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การจัดการการใช้ พลังงานและมีระบบ การด�ำเนินงานในการ เพิ่มประสิทธิภาพการ ใช้พลังงาน และ/หรือ การใช้พลังงานทดแทน รวมถึงมีการส่งเสริม ให้ภาคธุรกิจตรวจวัด ติดตามดูแล และลด การใช้พลังงาน รวมถึง มีการลงทุนในพลังงาน ทดแทน และควบคุม สัดส่วนร้อยละของ การจัดหา/การบริโภค ทั้งหมดในห่วงโซ่ คุณค่าของการท่องเทีย่ ว ตามเป้าหมายที่วางไว้ ต่อเนือ่ งในช่วงเวลา 3 ปี
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
148 149
การจัดการน�้ำ (Water stewardship) - แหล่งท่องเที่ยวต้องส่งเสริมให้ธุรกิจต่างๆ มีการตรวจวัด ติดตามดูแล และจัดการการใช้นำ �้ รวมถึงมีการรายงานต่อสาธารณชน - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีการประเมินความเสี่ยง ด้านน�ำ้ ในแหล่งท่องเทีย่ ว และจัดท�ำเป็นเอกสาร เป็นลายลักษณ์อักษร - ในกรณีที่เรื่องน�้ำมีความเสี่ยงสูงจะต้องมี การก�ำหนดเป้าหมายของการจัดการน�้ำและ มีการก�ำกับภาคธุรกิจเพื่อให้การใช้น�้ำของภาค ท่องเที่ยวไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งกับความ ต้องการน�้ำของชุมชนและระบบนิเวศในท้องถิ่น
ค�ำอธิบาย
D6
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการจัดการ น�้ำ ซึ่งน�ำไปสู่ปัญหา ด้านการขาดแคลนน�้ำ ของชุมชนและระบบ นิเวศในท้องถิ่น
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การจัดการการใช้น�้ำ โดยมีการติดตามและ ควบคุมการใช้ปริมาณ ทรัพยากรน�้ำ เพื่อ วัตถุประสงค์ในการ ท่องเที่ยว พร้อมทั้ง ติดตามและควบคุม ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับ ชุมชนและระบบนิเวศ ในท้องถิ่น ตลอดจน มีการส่งเสริมและ ตรวจสอบให้ภาคธุรกิจ ท่องเที่ยวมีการปฏิบัติ ตามเป้าหมายการใช้น�้ำ อย่างต่อเนื่อง
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานการวางแผน ในการตรวจวัด ติดตามดูแล จัดการ การใช้น�้ำ รวมถึง มีรายงานการใช้น�้ำ แจ้งต่อสาธารณชน มีการประเมินความ เสี่ยงด้านน�้ำในแหล่ง ท่องเที่ยว และจัดท�ำ เอกสารเป็นลายลักษณ์ อักษร รวมถึงมีการ ให้ข้อมูลในเรื่องความ เสี่ยงของการใช้น�้ำ และรณรงค์ใช้น�้ำเท่า ที่จ�ำเป็น
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการให้ค�ำแนะน�ำและให้การสนับสนุน การติดตามและควบคุมเพื่อลดการใช้น�้ำ ของภาคธุรกิจ b. มีการด�ำเนินการประเมินความเสี่ยงเรื่องน�้ำ อย่างสม�่ำเสมอ c. ในกรณีที่เรื่องน�้ำมีความเสี่ยงสูง ให้มีการตั้ง เป้าหมาย และบังคับใช้เป้าหมายการจัดการน�้ำ และมีการรายงานต่อสาธารณชน d. ติดตามและควบคุมดูแล แหล่งและปริมาณ ทรัพยากรน�้ำที่ใช้ เพื่อวัตถุประสงค์ ในการท่องเที่ยว พร้อมทั้งติดตามและควบคุม ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับชุมชนและระบบนิเวศ ในท้องถิ่น ตลอดจนมีการส่งเสริมและ ตรวจสอบให้ภาคธุรกิจท่องเที่ยวการปฏิบัติ ตามเป้าหมายการใช้น�้ำ e. มีการให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยวในเรื่อง ความเสี่ยงของน�้ำ และขอให้มีการใช้น�้ำ เท่าที่จ�ำเป็น
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว ในเรื่องความเสี่ยง ของน�้ำ และขอให้มี การใช้น�้ำเท่าที่จ�ำเป็น
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีกลไก การจัดการการใช้น�้ำ อย่างมีประสิทธิภาพ ตามแนวทางการ ประเมิน water footprint จากมาตรฐาน ISO14046 /เทียบเท่า รวมถึงมีการตรวจวัด ติดตามดูแล ประเมิน ความเสี่ยง และจัดการ การใช้น�้ำ พร้อมทั้ง ติดตามและควบคุม ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับ ชุมชนและระบบนิเวศ ในท้องถิ่น ตลอดจน มีการส่งเสริมและ ตรวจสอบให้ภาคธุรกิจ ท่องเที่ยวการปฏิบัติ ตามเป้าหมายการใช้น�้ำ ให้ค�ำแนะน�ำและ ให้การสนับสนุน การติดตามและควบคุม การใช้น�้ำของภาคธุรกิจ นอกจากนี้ยังมีการให้
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
150 151
คุณภาพน�้ำ (Water quality) - แหล่งท่องเที่ยวมีการตรวจสอบคุณภาพน�้ำดื่ม น�้ำเพื่อนันทนาการ และน�้ำที่ใช้ทางนิเวศวิทยา โดยใช้มาตรฐานคุณภาพน�้ำ - แหล่งท่องเที่ยวมีการรายงานผลต่อสาธารณชน และมีระบบที่สามารถตอบสนองต่อปัญหา เกี่ยวกับคุณภาพน�้ำที่เกิดขึ้นอย่างทันท่วงที
ค�ำอธิบาย
D7
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานข้อมูล และ/ หรือรายงานเกี่ยวกับ คุณภาพน�้ำ รวมถึง มีความเสี่ยงต่อการ เกิดปัญหาคุณภาพน�้ำ ในพื้นที่
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การตรวจสอบและ การด�ำเนินการติดตาม คุณภาพน�้ำ น�้ำดื่ม น�้ำ เพื่อนันทนาการ และ ทางนิเวศวิทยา โดยใช้ มาตรฐานคุณภาพน�้ำ ของประเทศ เพื่อการ ด�ำเนินการเพือ่ ปรับปรุง คุณภาพน�ำ้ อย่างต่อเนือ่ ง
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานหรือข้อมูล เชิงสถิติ และ/หรือ รายงานการตรวจสอบ คุณภาพน�้ำใช้และ น�้ำดื่ม น�้ำเพื่อ นันทนาการ และทาง นิเวศวิทยา โดยใช้ มาตรฐานคุณภาพน�้ำ ของประเทศ รวมถึง มีกฎหมายสิ่งแวดล้อม ที่ก�ำหนดมาตรฐาน แหล่งน�้ำ
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีโปรแกรมการด�ำเนินการติดตามคุณภาพน�้ำ b. มีข้อมูลและมีการรายงานเกี่ยวกับคุณภาพน�้ำ c. มีการตรวจสอบน�้ำที่ใช้ส�ำหรับอาบ ด้วย มาตรฐานการรับรองและระบุสถานที่ตาม มาตรฐานทีก�ำหนดไว้ d. มีการด�ำเนินการเพื่อปรับปรุงคุณภาพน�้ำ e. มีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพน�้ำดื่มในท้องถิ่น แก่นักท่องเที่ยว เพื่อส่งเสริมการใช้เป็นทาง เลือกแทนน�้ำดื่มบรรจุขวด
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีกลไก ที่มีประสิทธิภาพ ในการตรวจสอบและ การด�ำเนินการติดตาม และการรายงานผล คุณภาพน�้ำ น�้ำดื่ม น�้ำเพื่อนันทนาการ และทางนิเวศวิทยา และมีระบบที่สามารถ ตอบสนองต่อปัญหา เกี่ยวกับคุณภาพน�้ำ ที่เกิดขึ้นอย่างทันท่วงที รวมถึงมีการตรวจสอบ น�้ำที่ใช้ส�ำหรับอาบ ด้วยมาตรฐานการ รับรองและระบุสถานที่ ตามมาตรฐานที่ก�ำหนด ไว้ และให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับ คุณภาพน�ำ้ ดืม่ ในท้องถิน่ แก่นักท่องเที่ยวและ คนในพื้นที่
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
152 153
น�้ำเสีย (Wastewater) - แหล่งท่องเที่ยวมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน และมีการปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวนั้น ในเรื่องของการจัดตั้ง การดูแลรักษา และการทดสอบการระบายจากบ่อเกรอะ และจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย - แหล่งท่องเที่ยวต้องสร้างความมั่นใจว่าน�้ำเสีย เหล่านั้นจะได้รับการบ�ำบัดและน�ำกลับมาใช้ หรือถูกปล่อยทิง้ อย่างปลอดภัยโดยไม่มผี ลกระทบ เชิงลบกับคนและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
ค�ำอธิบาย
D8
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐาน/แนวทาง ปฏิบัติที่ชัดเจนในเรื่อง ของการจัดตั้ง การดูแล รักษา และการทดสอบ การระบายน�้ำเสียจาก บ่อเกรอะ และจาก ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย/มี ความเสีย่ งในด้านน�ำ้ เสีย
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การจัดการน�้ำเสีย และ มีแนวทางปฏิบัติที่ ชัดเจนต่อเนื่องเห็นผล และมีการปฏิบัติตาม แนวทางดังกล่าวนั้น ในเรื่องของการจัดตั้ง การดูแลรักษา และ การทดสอบการระบาย จากบ่อเกรอะ และ จากระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย รวมถึงมีการจัดตั้ง ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย อย่างยั่งยืนในระดับ ท้องถิ่น และมีระบบ ของการบังคับใช้ แนวทางปฏิบัติในหมู่ ผู้ประกอบการด้าน การท่องเที่ยว
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานการจัดท�ำ แนวทางปฏิบัติและ ข้อบังคับที่เป็นลาย ลักษณ์อักษรเกี่ยวกับ การบ�ำบัดน�้ำเสีย และ มีเอกสารระบุถึงข้อ ควรปฏิบัติในเรื่องของ การจัดตั้ง การดูแล รักษา และการ ทดสอบการระบาย จากบ่อเกรอะ และ จากระบบบ�ำบัดน�้ำ เสีย รวมถึงมีการ ก�ำกับดูแลและบังคับ ใช้กฎหมายอย่าง เคร่งครัดในด้านระบบ บ�ำบัดน�้ำเสียในพื้นที่
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการจัดท�ำแนวทางปฏิบัติและข้อบังคับที่เป็น ลายลักษณ์อักษร เกี่ยวกับการบ�ำบัดน�้ำเสีย b. มีระบบของการบังคับใช้แนวทางปฏิบัติในกลุ่ม ผู้ประกอบการ c. มีการติดตามตรวจสอบ/ทดสอบน�้ำเสีย ที่ปล่อยทิ้งแล้ว d. มีการจัดตั้งระบบบ�ำบัดน�้ำเสียอย่างยั่งยืน ชั่วคราวในระดับท้องถิ่น ส�ำหรับใช้ในภาค การท่องเทีย่ ว หากเป็นไปได้และมีความเหมาะสม
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ กลไกการจัดการน�ำ้ เสีย อย่างมีประสิทธิภาพ และมีแนวทางปฏิบัติ ที่ชัดเจนต่อเนื่อง รวมถึงมีการปฏิบัติ ตามแนวทางของระบบ บ�ำบัดน�้ำเสีย รวมถึง มีการติดตามตรวจสอบ/ ทดสอบน�้ำเสียที่ปล่อย ทิ้งแล้ว เพื่อจะได้รับ การบ�ำบัดและน�ำกลับ มาใช้ (Recycle Water) อย่างมีประสิทธิภาพ จนเป็นต้นแบบของ ประเทศ ในด้านการ จัดการน�้ำเสียในพื้นที่ จากสถาบันที่มีหน้าที่ รับผิดชอบในด้านนี้
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
154 155
ขยะมูลฝอย (Solid waste) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการตรวจวัด และ รายงานปริมาณขยะที่เกิดขึ้น และมีการตั้ง เป้าหมายในการลดปริมาณขยะ - ขยะมูลฝอยได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง และมีการลดการฝังกลบขยะด้วยการจัดให้มี ระบบคัดแยกและจัดเก็บขยะแบบแยกประเภท และมีระบบรีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพ ซึ่ง สามารถแยกขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพตาม ชนิดของขยะ - แหล่งท่องเที่ยวมีการส่งเสริมให้ภาคธุรกิจ หลีกเลี่ยงการสร้างขยะ และให้มีการลดจ�ำนวน ขยะ น�ำขยะกลับมาใช้ใหม่ และรีไซเคิลขยะ ซึ่งรวมถึงขยะที่เป็นเศษอาหารด้วย - มีการด�ำเนินการเพื่อก�ำจัดหรือลดการใช้วัสดุ ที่ใช้เพียงครั้งเดียวแล้วทิ้งโดยเฉพาะพลาสติก - ขยะที่เหลืออยู่ที่ไม่ได้น�ำมาใช้ซ�้ำหรือรีไซเคิล ต้องได้รับการก�ำจัดอย่างปลอดภัยและยั่งยืน
ค�ำอธิบาย
D9
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการจัดการ ขยะมูลฝอยอย่างถูกต้อง และไม่มีมาตรการ การลดการฝังกลบขยะ รวมถึงไม่มีระบบ รีไซเคิล
แดง (ความเสี่ยง)
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ กลไกการจัดการขยะ มูลฝอยอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ เช่น - การลดการฝังกลบ ขยะด้วยการจัดให้มี ระบบคัดแยก - โปรแกรมด�ำเนิน การติดตามเรื่องขยะ โดยมีการตัง้ เป้าหมาย และผลการด�ำเนิน งานที่สัมฤทธิผล พร้อมเผยแพร่ต่อ สาธารณชนอย่าง น้อย 3 ปี - มีการรณรงค์เพื่อลด/ ก�ำจัดการใช้วัสดุที่ใช้ เพียงครั้งเดียวแล้วทิ้ง โดยเฉพาะพลาสติก - มีโปรแกรมด�ำเนิน การจัดการขยะ ในที่ท�ำงานของ หน่วยงานภาครัฐ และสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกสาธารณะต่างๆ
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
โดยตั้งเป้าหมายในการ - มีการรณรงค์ให้เลิก การทิ้งขยะนอกจุด ลดจ�ำนวนขยะมูลฝอย ทิ้งและรักษาความ อย่างน้อย 3 ปี และ สะอาดของพืน้ ที่ มีผลการด�ำเนินงานที่ เผยแพร่ต่อสาธารณชน สาธารณะ นอกจากนี้ แหล่ง ท่องเที่ยวมีการส่งเสริม ให้ภาคธุรกิจหลีกเลี่ยง การสร้างขยะ และให้มี การลดจ�ำนวนขยะ น�ำขยะกลับมาใช้ใหม่ และรีไซเคิลขยะ ซึ่งรวมถึงขยะที่เป็น เศษอาหารด้วย และ มีการประสานงาน ร่วมกับธุรกิจท่องเที่ยว ในการจัดการรณรงค์/ ให้ค�ำปรึกษา/การ สนับสนุนการจัดการ ขยะ ซึ่งรวมถึงขยะ เศษอาหาร และ/หรือ การน�ำแนวทาง เศรษฐกิจหมุนเวียนมา ประยุกต์ใช้จนเป็นต้น แบบในระดับประเทศ/ ระดับสากล
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การจัดการขยะมูลฝอย ประกอบด้วย มีการ ตรวจวัด และรายงาน ปริมาณขยะที่เกิดขึ้น และมีการตั้งเป้าหมาย ในการลดปริมาณขยะ รวมถึงมีระบบทีร่ วบรวม และรีไซเคิลขยะ อย่างน้อย 4 ประเภท (เช่น วัตถุอินทรีย์ กระดาษ โลหะ แก้ว และพลาสติก) และมี การด�ำเนินการเพื่อ ก�ำจัดหรือลดการใช้ วัสดุที่ใช้เพียงครั้งเดียว แล้วทิ้งโดยเฉพาะ พลาสติก รวมถึงขยะ ที่เหลืออยู่ที่ไม่ได้น�ำมา ใช้ซ�้ำหรือรีไซเคิลต้อง ได้รับการก�ำจัดอย่าง ปลอดภัยและยั่งยืน และมีโปรแกรมด�ำเนิน การติดตามเรื่องขยะ
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี มาตรการการจัดการ ขยะมูลฝอย ประกอบ ด้วย มีรายงานปริมาณ ขยะที่เกิดขึ้น และมีการ ตั้งเป้าหมายในการลด ปริมาณขยะ รวมถึงมี แผนการรีไซเคิลขยะ อย่างน้อย 4 ประเภท (เช่น วัตถุอินทรีย์ กระดาษ โลหะ แก้ว และพลาสติก) และมี ระบบที่ยั่งยืนส�ำหรับ การก�ำจัดขยะที่ตกค้าง
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีโปรแกรมด�ำเนินการติดตามเรื่องขยะ โดยมีการตั้งเป้าหมาย และผลการด�ำเนินงาน ที่เผยแพร่ต่อสาธารณชน b. มีการประสานงานร่วมกับธุรกิจท่องเที่ยวในการ จัดการรณรงค์/ให้ค�ำปรึกษา/การสนับสนุนการ จัดการขยะซึ่งรวมถึงขยะเศษอาหาร c. มีการรณรงค์เพื่อลด/ก�ำจัดการใช้วัสดุที่ใช้เพียง ครั้งเดียวแล้วทิ้ง โดยเฉพาะพลาสติก d. มีโปรแกรมด�ำเนินการจัดการขยะในที่ท�ำงาน ของหน่วยงานภาครัฐ และสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกสาธารณะต่างๆ e. มีระบบที่รวบรวมและรีไซเคิลขยะ อย่างน้อย 4 ประเภท (เช่น วัตถุอินทรีย์ กระดาษ โลหะ แก้ว และพลาสติก) f. จัดให้มีระบบที่ยั่งยืนส�ำหรับการก�ำจัดขยะที่ ตกค้าง g. มีการรณรงค์ให้เลิกการทิ้งขยะนอกจุดทิ้งและ รักษาความสะอาดของพื้นที่สาธารณะ h. มีถังขยะเพียงพอส�ำหรับการแยกขยะ
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
156 157
การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และบรรเทา การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (GHG emissions and climate change mitigation) - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีเป้าหมายในการลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึงด�ำเนินการ และรายงานผลตามนโยบายและการปฏิบัติงาน ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก - ควรมีการสนับสนุนให้ภาคธุรกิจต่างๆ มีการ ตรวจวัด ติดตามดูแล ลด หรือปล่อยก๊าซ เรือนกระจกให้น้อยที่สุด จากทุกมิติของการ ด�ำเนินธุรกิจ (รวมถึงจากซัพพลายเออร์และ ผูใ้ ห้บริการด้วย) และมีการรายงานต่อสาธารณชน - ควรมีการสนับสนุนให้มีการชดเชย (offset) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ยังไม่สามารถลดได้
ค�ำอธิบาย
D10
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึงไม่มีการด�ำเนิน การและรายงานผล ตามนโยบาย และไม่มี การปฏิบัติงานในการ ลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ หรือกลไกในการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึงได้มีการด�ำเนิน งาน และรายงานผล ตามนโยบายการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก มีการจัดท�ำรายงาน สภาพอากาศประจ�ำปี รวมถึงการเฝ้าสังเกต การณ์ และการปฏิบัติ งานเพื่อลดผลกระทบ ต่างๆ และมีหลักฐาน ในการจัดท�ำโครงการ สนับสนุนการรณรงค์ อย่างมีส่วนร่วมใน รูปแบบต่างๆ กับธุรกิจ ท่องเที่ยวและผู้มี ส่วนได้เสียในการลด และบรรเทาการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก และ การเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมิอากาศอย่าง ต่อเนื่อง
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการประกาศ เป้าหมายในการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึงแผนการ ด�ำเนินงานในการลด การปล่อยก๊าซเรือน กระจก โดยก�ำหนด ร้อยละของการลด และวันในการวัดผล ซึ่งแหล่งท่องเที่ยว มีหน่วยงานภาครัฐ ที่รับผิดชอบหลัก และ การจัดท�ำ MOU ร่วมกับ เครือข่ายเพื่อลงนาม ในการด�ำเนินการเรื่อง การลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกที่ชัดเจน
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการประกาศเป้าหมายในการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก โดยก�ำหนดร้อยละของการลด และวันในการวัดผล b. มีการจัดท�ำรายงานสภาพอากาศประจ�ำปี รวมถึงการเฝ้าสังเกตการณ์ และการปฏิบัติงาน เพื่อผลกระทบต่างๆ c. มีการสนับสนุนการรณรงค์หรือการมีส่วนร่วม ในรูปแบบต่างๆ กับธุรกิจท่องเที่ยวในการลด และบรรเทาการปล่อยก๊าซเรือนกระจก d. หน่วยงานภาครัฐมีการด�ำเนินการในการลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจก e. มีการให้ข้อมูลในเรื่องของแผนรายการการ ชดเชย (offset) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่มี มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ให้แก่ภาคธุรกิจต่างๆ และนักท่องเที่ยว
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ก๊าซเรือนกระจก และ การให้ข้อมูลในเรื่อง ของแผนรายการ การชดเชย (offset) การปล่อยก๊าซเรือน กระจกที่มีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในการ เป็นต้นแบบในระดับ ประเทศ/ระดับสากล
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีกลไก การลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกที่มี ประสิทธิภาพ โดย ก�ำหนดเป้าหมาย แผนการด�ำเนินการ การติดตามรายงานผล และมีการสนับสนุนให้ ภาคธุรกิจต่างๆ มีการ ตรวจวัด ติดตามดูแล ลด หรือปล่อยก๊าซ เรือนกระจกให้น้อย ที่สุด จากทุกมิติของ การด�ำเนินธุรกิจ (รวม ถึงจากซัพพลายเออร์ และผู้ให้บริการด้วย) และมีการรายงานต่อ สาธารณชน นอกจากนี้ ต้องมีการสนับสนุนการ รณรงค์หรือการมี ส่วนร่วมในรูปแบบต่างๆ กับธุรกิจท่องเที่ยวและ ผู้มีส่วนได้เสียในการลด เพื่อบรรเทาการปล่อย
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
158 159
การขนส่งที่มีผลกระทบต�่ำ (Low-impact transportation) - แหล่งท่องเที่ยวมีเป้าหมายในการลดการปล่อย มลพิษจากการขนส่งในการเดินทางมายัง แหล่งท่องเที่ยว และภายในแหล่งท่องเที่ยว - มีการเพิ่มการน�ำยานพาหนะและการขนส่ง สาธารณะที่ยั่งยืน และปล่อยมลพิษต�่ำมาใช้งาน รวมถึงการเดินทางแบบใช้แรงตัวเอง (Active travel เช่นการเดินและปั่นจักรยาน) เพื่อให้ภาคการท่องเที่ยวลดการปลดปล่อย มลพิษทางอากาศ ลดความคับคัง่ ของการจราจร และลดการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
ค�ำอธิบาย
D11
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานในการลด การปล่อยมลพิษจาก การขนส่งในการเดินทาง มายังแหล่งท่องเที่ยว และภายในแหล่ง ท่องเที่ยว ส่งผลให้เกิด ความเสี่ยงในด้าน สุขภาพของคนในพื้นที่
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ กลไกการก�ำหนด เป้าหมายในการลด การปล่อยมลพิษจาก การขนส่งในการเดิน ทางมายังแหล่งท่อง เที่ยว และภายในแหล่ง ท่องเที่ยวในภาพรวม รวมถึงแหล่งท่องเที่ยว มีการลงทุนกับ โครงสร้างพื้นฐานด้าน การขนส่งที่มีความ ยั่งยืนยิ่งขึ้น ซึ่งรวมถึง การขนส่งสาธารณะ และยานพาหนะ ที่ปล่อยมลพิษต�่ำ และ มีการเก็บข้อมูลของ นักท่องเที่ยวที่เลือกใช้ การขนส่งทางเลือก เพื่อน�ำมาปรับปรุง พัฒนาให้ตอบสนอง การด�ำเนินการใน ปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานในการก�ำหนด เป้าหมายเพื่อลดการ ปล่อยมลพิษจากการ ขนส่งในการเดินทาง มายังแหล่งท่องเที่ยว และภายในแหล่ง ท่องเที่ยวในภาพรวม รวมถึงจัดท�ำแผนงาน ในการสนับสนุนให้ หน่วยงานภาครัฐและ ธุรกิจท่องเที่ยวให้ความ ส�ำคัญกับการใช้การ ขนส่งที่มีผลกระทบ ต�่ำภายในหน่วยงาน ของตนเอง
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการลงทุนกับโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่ง ที่มีความยั่งยืนยิ่งขึ้น ซึ่งรวมถึงการขนส่ง สาธารณะ และยานพาหนะที่ปล่อยมลพิษต�่ำ b. มีการให้ข้อมูลประชาสัมพันธ์การขนส่งทาง เลือกต่างๆ ในการเดินทางมายังแหล่งท่องเที่ยว และภายในแหล่งท่องเที่ยว c. มีการเก็บข้อมูลของนักท่องเที่ยวที่เลือกใช้ การขนส่งทางเลือก d. มีการพัฒนาและสนับสนุนให้มีการปั่นจักรยาน และการเดิน e. ให้ความส�ำคัญกับกลุ่มตลาดนักท่องเที่ยว ทีส่ นใจตัวเลือกการขนส่งระยะสัน้ และยัง่ ยืนยิง่ ขึน้ f. หน่วยงานภาครัฐและธุรกิจท่องเที่ยวควรให้ ความส�ำคัญกับการใช้การขนส่งที่มีผลกระทบ ต�่ำภายในหน่วยงานของตนเอง
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เพือ่ ให้ภาคการท่องเทีย่ ว ลดการปล่อยมลพิษ ทางอากาศ ลดความ คับคั่งของการจราจร และลดการเปลีย่ นแปลง ของสภาพภูมิอากาศ รวมถึงมีการให้ข้อมูล โปรโมทการขนส่ง ทางเลือกต่างๆ ในการ เดินทางมายังแหล่ง ท่องเที่ยว และภายใน แหล่งท่องเที่ยว
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ กลไกการบรรลุเป้าหมาย ในการลดการปล่อย มลพิษอย่างมี ประสิทธิภาพจาก การขนส่งในการเดินทาง มายังแหล่งท่องเที่ยว และภายในแหล่ง ท่องเที่ยว และมีการ ลงทุนกับโครงสร้าง พื้นฐานด้านการขนส่ง ที่มีความยั่งยืนยิ่งขึ้น ซึ่งรวมถึงการขนส่ง สาธารณะ และยาน พาหนะที่ปล่อยมลพิษ ต�่ำ มีการเพิ่มการขนส่ง สาธารณะที่ยั่งยืน และปล่อยมลพิษต�่ำ มาใช้งาน เป็นตัวชี้วัด ในอัตราร้อยละของ จ�ำนวนการขนส่งใน พื้นที่ (เช่น การเดิน ปั่นจักรยาน และ รถไฟฟ้า เป็นต้น)
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
160 161
มลภาวะทางแสงและเสียง (Light and noise pollution) - แหล่งท่องเที่ยวมีแนวทางปฏิบัติและข้อบังคับ ในการลดมลภาวะทางแสงและเสียง - แหล่งท่องเที่ยวมีส่งเสริมให้ภาคธุรกิจต่างๆ ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติและข้อบังคับนั้น
ค�ำอธิบาย
D12
ข้อ
แดง (ความเสี่ยง)
แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานแนวทางปฏิบตั ิ และไม่มขี อ้ บังคับในการ ลดมลภาวะทางแสง และเสียง
แดง (ความเสี่ยง)
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการด�ำเนินการตาม ข้อบังคับในการลด มลภาวะทางแสงและ เสียง และส่งเสริมให้ ภาคธุรกิจและเครือข่าย ต่างๆ ปฏิบัติตาม แนวทางปฏิบัติและ ข้อบังคับนั้น รวมถึง สามารถติดตามผล การปฏิบัติงานในการ แก้ไขปัญหาได้อย่าง ต่อเนื่อง
หลักเกณฑ์
แหล่งท่องเที่ยวมี หลักฐานแนวทางปฏิบัติ และข้อบังคับในการลด มลภาวะทางแสงและ เสียง และมีการเฝ้า สังเกตการณ์จุดที่มี ความเป็นไปได้ในการ ก่อให้เกิดมลภาวะทาง แสงและเสียง โดย เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับ การท่องเที่ยว
เหลือง (เป็นระบบ PDCA)
หลักเกณฑ์
GSTC-D Version 2.0
ชมพู (มาตรการ)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวชี้วัดสนับสนุน a. มีการจัดท�ำแนวทางปฏิบัติในเรื่องมลภาวะ ทางแสงและเสียง และแจกจ่ายให้ภาคธุรกิจ b. มีการระบุและเฝ้าสังเกตการณ์จุด/แหล่งที่มี ความเป็นไปได้ในการก่อให้เกิดมลภาวะทาง แสงและเสียงที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว c. มีกลไกที่จะให้ผู้คนในพื้นที่สามารถรายงาน เกี่ยวกับมลภาวะทางแสงและเสียง พร้อมกับ การปฏิบัติงานที่ตอบสนองรายงานนั้นและ สามารถติดตามผลได้
ค�ำอธิบาย
ข้อ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ กลไกที่มีประสิทธิภาพ ในการจัดการผู้คนใน พืน้ ทีใ่ ห้สามารถรายงาน เกี่ยวกับมลภาวะทาง แสงและเสียง ผ่าน เทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมกับสามารถ ติดตามผลการปฏิบัติ งานได้ พร้อมสามารถ ระบุและเฝ้าสังเกตการณ์ จุดที่มีความเป็นไปได้ ในการก่อให้เกิดมลภาวะ ทางแสงและเสียง โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้อง กับการท่องเที่ยว รวมถึงการส่งเสริมให้ ภาคธุรกิจต่างๆ ปฏิบัติ ตามแนวทางปฏิบัติ และข้อบังคับนัน้ จนเกิด เป็นต้นแบบนวัตกรรม ของการจัดการเรื่อง แสงและเสียง
เขียว (ผลสัมฤทธิ์)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ G S T C - D
162
เกณฑ์การท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนโลก ส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว
(GSTC-Destination Version 2.0) Destination management strategy and action plan The destination has established and is implementing a multi-year destination management strategy and action plan that is publicly available, is suited to its scale, was developed with stakeholder engagement and is based on sustainability principles. The strategy includes an identification and assessment of tourism assets and considers socio-economic, cultural and environmental issues and risks. The strategy relates to and influences wider sustainable development policy and action in the destination.
A2
Indicators (ตัวบ่งชี้)
GSTC-D Version 2.0
a. A published document setting out the current destination strategy and action. b. The strategy/plan clearly visible and available on-line. c. Evidence of stakeholder consultation, meetings etc. in developing the plan. d. Reference to sustainability principles and an assessment of assets, issues and risks, contained in the strategy and action plan. e. Specific references in the strategy/action plan to wider sustainable development policy (including pursuit of the SDGs), and vice versa.
a. Documentary evidence showing relevant make-up and responsibilities of the group. b. A financial plan and budget showing current and future funding sources. c. Evidence of links and engagement with other bodies. d. Records of permanent staff and contracted personnel, indicating relevant experience. e. Management guidelines and processes, which demonstrate awareness and adherence to sustainability principles and transparency in operations
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
Destination management responsibility The destination has an effective organization, department, group, or committee responsible for a coordinated approach to sustainable tourism, with involvement by the private sector, public sector and civil society. This group has defined responsibilities, oversight, and implementation capability for the management of socio- economic, cultural and environmental issues. The group is adequately funded, works with a range of bodies in delivering destination management, has access to sufficient staffing (including personnel with experience in sustainability) and follows principles of sustainability and transparency in its operations and transactions.
A1
A(a) Management structure and framework
SECTION A: Sustainable management
Criteria (หลักเกณฑ์)
หลักเกณฑ์การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (GSTC – Destination Version 2.0) ฉบับภาษาอังกฤษ
ก.
ภาคผนวก ก.
Version 2.0
ภาคผนวก
163
164 165
Monitoring and reporting The destination is implementing a system to monitor and respond to socio-economic, cultural and environmental issues and impacts arising from tourism. Actions and outcomes are regularly monitored, evaluated and publicly reported. The monitoring system is periodically reviewed.
Promotion and information a. Current information and promotional material with Promotion and visitor information material about the destination appropriate content. is accurate with regard to its products, services, and sustainability b. A process exists for checking the accuracy and claims. Marketing messages and other communications reflect the appropriateness of destination promotion and information. destination’s values and approach to sustainability and treat local c. Evidence of consultation with local communities and communities and natural and cultural assets with respect. environmental and cultural bodies on communications content and delivery.
A7
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
a. Visitor surveys (and other feedback mechanisms) – carried out and reported. b. Surveys and feedback includes visitor reaction to sustainability issues. c. Evidence of actions taken in response to visitor survey/ feedback findings. d. Examples of visitor information that covers sustainability issues and how to respond to them.
Visitor engagement and feedback The destination has a system to monitor and publicly report visitor satisfaction with the quality and sustainability of the destination experience and, if necessary, to take action in response. Visitors are informed about sustainability issues in the destination and the part that they can play in addressing them.
A6
a. Evidence of the promotion and facilitation of public participation in destination planning/management. b. Information on the type and level of such participation. c. Surveys of residents and other systematic feedback mechanisms, covering tourism issues. d. Evidence of action taken in response to residents’ feedback. e. Programme of information, education and training on tourism provided for residents.
Indicators (ตัวบ่งชี้)
a. Evidence of regular communication of sustainability issues to tourism-related businesses (Media, meetings, direct contact etc.). b. Sustainability support and advice to tourism-related business – available and promoted. c. Number and percentage of businesses certified against tourism sustainability standards (and whether GSTC recognized/accredited), with targets for wider outreach. d. Evidence of promotion of certification schemes. e. List of tourism-related certified enterprises, kept up to date.
Resident engagement and feedback The destination enables and promotes public participation in sustainable destination planning and management. Local communities’ aspirations, concerns and satisfaction with tourism sustainability and destination management are regularly monitored and publicly reported, and action is taken in response to them. The destination has a system to enhance local understanding of sustainable tourism opportunities and challenges and to build the capacity of communities to respond.
Criteria (หลักเกณฑ์)
Enterprise engagement and sustainability standards The destination regularly informs tourism-related enterprises about sustainability issues and encourages and supports them in making their operations more sustainable. The destination promotes the adoption of sustainability standards, promoting the application of GSTC-I Recognized standards and GSTC-I Accredited certification schemes for tourism enterprises, where available. The destination publicizes a list of sustainability certified enterprises.
a. Specific quantifiable socio-economic, cultural and environmental indicators and targets identified. b. Measurement against these indicators, with results recorded and publicized at least annually. c. Written evidence of monitoring and reporting of actions and outcomes. d. Previous reviews of monitoring system and schedule for future reviews.
Indicators (ตัวบ่งชี้)
GSTC-D Version 2.0
A5
A4
A(b) Stakeholder engagement
A3
Criteria (หลักเกณฑ์)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
166 167
Planning regulations and development control The destination has planning guidelines, regulations and/or policies which control the location and nature of development, require environmental, economic, and socio-cultural impact assessment and integrate sustainable land use, design, construction, and demolition. Regulations also apply to operations, including property rental and concessions for tourism purposes. The guidelines, regulations and policies were created with public participation and are widely communicated and enforced.
A9
Risk and crisis management The destination has a risk reduction, crisis management and emergency response plan that is appropriate to the destination. Key elements are communicated to residents, visitors, and enterprises. Procedures and resources are established for implementing the plan and it is regularly updated.
A11
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
a. A documented risk reduction, crisis management and emergency response plan for tourism in the destination. b. The plan recognises a wide range of risks, including natural disasters, terrorism, health, resource depletion, and others appropriate to the location. c. Communication procedures identified for use during and after an emergency. d. Programme for local delivery of information and training on risk and crisis management
Climate change adaptation a. The destination management strategy and action plan The destination identifies risks and opportunities associated with identifies and addresses climate issues. climate change. Climate change adaptation strategies are pursued b. Regulations, guidelines and zoning for tourism development for the siting, design, development and management of tourism and activities accommodate the consequences of climate facilities. Information on predicted climate change, associated change. risks and future conditions is provided for residents, businesses c. A climate risk assessment, covering current and future risks and visitors. – undertaken and made publicly available. d. Evidence of consideration of impact on, and contribution of, local ecosystems to climate change adaptation. e. Information on climate change that has been made publicly available.
Indicators (ตัวบ่งชี้)
a. Specific policies/regulations/ guidelines which control development – documented and identified by title and date. b. Impact assessment requirements are set out, covering environmental, economic, and socio-cultural impacts, at sufficient scale to address long term issues for the destination. c. Specific regulations on property rental and operation for tourism, with evidence of their application and enforcement. d. Evidence of public participation in the development of policies/regulations/guidelines. e. Evidence of consultation with, and consent from indigenous people or minority ethnic groups when tourism development has been proposed or has occurred in their territories. f. Evidence of communication and enforcement of the policies/ regulations/guidance, at planning, development and implementation stages.
a. The destination management strategy and action plan addresses seasonality and spread of visitation. b. Variation in visitor volumes throughout the year is monitored, including in the most visited locations. c. Impacts of visitor volumes and activities are identified through observation and community and stakeholder feedback. d. Actions taken to manage visitor flows and impacts. e. Marketing strategy and selection of target markets takes account of visit patterns, the impact of activities and destination needs.
Indicators (ตัวบ่งชี้)
GSTC-D Version 2.0
A10
Criteria (หลักเกณฑ์)
Managing visitor volumes and activities The destination has a system for visitor management which is regularly reviewed. Action is taken to monitor and manage the volume and activities of visitors, and to reduce or increase them as necessary at certain times and in certain locations, working to balance the needs of the local economy, community, cultural heritage and environment.
A8
A(c) Managing pressure and change
Criteria (หลักเกณฑ์)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
168 169
Supporting local entrepreneurs and fair trade The destination encourages the retention of tourism spending in the local economy through supporting local enterprises, supply chains and sustainable investment. It promotes the development and purchase of local sustainable products based on fair trade principles and that reflect the area’s nature and culture. These may include food and beverages, crafts, performance arts, agricultural products, etc.
B3
Preventing exploitation and discrimination The destination upholds international standards on human rights. It has laws, practices and an established code of conduct to prevent and report on human trafficking, modern slavery and commercial, sexual, or any other form of exploitation, discrimination and harassment of or against anyone, particularly children, adolescents, women, LGBT and other minorities. The laws and established practices are publicly communicated and enforced.
B5
GSTC-D Version 2.0
a. Reference (title, date) to specific laws that pertain in the destination regarding human rights, exploitation, discrimination and harassment. b. Evidence of communication and enforcement of above laws and related good practice (including to tourism enterprises and visitors). c. Risk and impact analysis regarding human rights, including human trafficking, modern slavery and child labour – conducted regularly. d. Destination and key tourism players are signatories to the Code of Conduct for the Protection of Children from Sexual Exploitation in Travel and Tourism.
a. Support for local community and sustainability initiatives by local tourism enterprises is encouraged and facilitated. b. Schemes exist, and are promoted, for visitors to support local community and sustainability initiatives. c. Volunteering and engagement with the community does not involve intrusion or exploitation.
Indicators (ตัวบ่งชี้)
a. Advice, finance or other support – available in the destination for tourism-related SMEs. b. Assistance with market access for local tourism-related SMEs. c. Action to encourage and assist local tourism enterprises to purchase goods and services locally. d. Initiatives to help local farmers, artisans and food producers to engage in the tourism value chain. e. Local produce and crafts identified, promoted and available for sale to visitors in the destination.
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
Support for community The destination has a system to enable and encourage enterprises, visitors, and the public to contribute to community and sustainability initiatives in a responsible manner.
B4
B(b) Social wellbeing and impacts
Criteria (หลักเกณฑ์)
Decent work and career opportunities The destination encourages and supports career opportunities and training in tourism. The destination’s tourism enterprises commit to providing equality of opportunity for local employment, training and advancement, a safe and secure working environment, and a living wage for all.
B2
a. Provision of relevant skills training programmes/courses, available locally. b. Statements of commitment by tourism enterprises to the provision of decent work/ career opportunities. c. Training and employment opportunities promoted to and taken up by local people, including women, young people, minorities and people with disabilities. d. Channels for checking working conditions and receiving/ handling grievances (e.g. involvement of labour unions).
Measuring the economic contribution of tourism a. Programme of economic data gathering. The direct and indirect economic contribution of tourism to the b. Annual reports on the direct and indirect economic destination’s economy is monitored and publicly reported. contribution of tourism in the destination. Appropriate measures may include levels of visitor volume, visitor c. Data covering a range of measures of economic impact (e.g. expenditure, employment and investment and evidence on the volume, expenditure, employment, investment and spread of distribution of economic benefits. economic benefit in the destination).
Indicators (ตัวบ่งชี้)
GSTC-D Version 2.0
B1
B(a) Delivering local economic benefits
SECTION B: Socio-economic sustainability
Criteria (หลักเกณฑ์)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
170 171
Access for all Where practical, sites, facilities and services, including those of natural and cultural importance, are accessible to all, including persons with disabilities and others who have specific access requirements or other special needs. Where sites and facilities are not immediately accessible, access is afforded through the design and implementation of solutions that take into account both the integrity of the site and such reasonable accommodations for persons with access requirements as can be achieved. Information is made available on the accessibility of sites, facilities and services.
B8
Cultural artefacts a. Reference to relevant laws relating to historical artefacts The destination has laws governing the proper sale, trade, display, pertaining in the destination (title, date). or gifting of historical and archaeological artefacts. The laws are b. Evidence of communication of relevant laws to tourism enforced and publicly communicated, including to tourism enterprises and visitors. enterprises and visitors. c. Evidence of enforcement of relevant laws. Intangible heritage The destination supports the celebration and protection of intangible cultural heritage, including local traditions, arts, music, language, gastronomy and other aspects of local identity and distinctiveness. The presentation, replication and interpretation of living culture and traditions is sensitive and respectful, seeks to involve and benefit local communities, and provides visitors with an authentic and genuine experience.
C2
C3
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
a. Identification and listing of intangible cultural heritage. b. Examples of celebration and visitor experiences of intangible cultural heritage (events, distinctive products etc.). c. Evidence of involvement of local and indigenous communities in developing and delivering visitor experiences based on intangible cultural heritage. d. Feedback from visitors and local communities on delivery of intangible heritage experiences.
Protection of cultural assets The destination has a policy and system to evaluate, rehabilitate, and conserve cultural assets, including built heritage and cultural landscapes.
a. Lists of cultural assets, including evaluation and indication of vulnerability. b. Programme of rehabilitation and conservation of assets. c. Mechanisms for using income from tourism to support conservation of cultural assets.
Indicators (ตัวบ่งชี้)
C1
C(a) Protecting cultural heritage
SECTION C: Cultural sustainability
Criteria (หลักเกณฑ์)
Safety and security a. Security and health services are well established and active The destination has a system to monitor, prevent, publicly report, in the destination. and respond to crime, safety, and health hazards that addresses b. The needs of visitors are identified and addressed in the the needs of both visitors and residents. delivery of security and health services. c. Tourism facilities are inspected for compliance with safety and hygiene standards.
B7
a. The existence of any regulations and standards regarding the accessibility of visitor sites, facilities and services. b. Consistent application of accessibility standards in public facilities. c. Data on the extent/proportion of visitor sites and facilities that are accessible. d. Evidence of programmes to improve access for people with a range of access needs. e. Information on accessibility included in communications about the destination as a whole. f. Details of accessibility included in visitor information about key sites.
Property and user rights a. Reference (title, date) to specific laws that pertain in the Laws and regulations regarding property rights and acquisitions destination regarding property rights and acquisitions and user are documented and enforced. They comply with communal and and access rights to resources. indigenous rights, ensure public consultation and do not b. Reference in the above laws to communal and indigenous authorize resettlement without free prior and informed consent rights, public consultation and resettlement. and fair and just compensation. Laws and regulations also protect c. Evidence of enforcement of the above laws in the context of user and access rights to key resources. tourism development and activity. d. Evidence of community consultation, consent and compensation.
Indicators (ตัวบ่งชี้)
GSTC-D Version 2.0
B6
Criteria (หลักเกณฑ์)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
172 173
Criteria (หลักเกณฑ์)
Indicators (ตัวบ่งชี้)
GSTC-D Version 2.0
a. List of natural heritage sites and assets, indicating type, conservation status and vulnerability. b. Programmes to conserve biodiversity and natural heritage. c. Programmes to eradicate and control invasive species. d. Action to identify, monitor and mitigate tourism impacts on biodiversity and natural heritage. e. Mechanisms for using income from tourism to support conservation of natural assets. f. Communications with visitors and enterprises on reducing spread of alien species. คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
Protection of sensitive environments The destination has a system to monitor, measure and respond to the impacts of tourism on the natural environment, conserve ecosystems, habitats and species, and prevent the introduction and spread of invasive species.
D(a) Conservation of natural heritage D1
Indicators (ตัวบ่งชี้)
a. Monitoring of visitor flows and impact on cultural sites, with results shared across the destination. b. Evidence of action to manage tourism-related impacts in or around cultural sites. c. Existence and distribution of published guidelines on visitor behaviour at sensitive sites and cultural events and periodic monitoring of compliance. d. A code of practice for tour operators and tour guides and/or other engagement with them on visitor management at cultural sites. e. Provision of training for guides.
Site interpretation a. Provision of informative interpretative material on site and in Accurate interpretative material is provided which informs visitors formats that are accessible pre-arrival. of the significance of the cultural and natural aspects of the sites b. Evidence that interpretative material has been well they visit. The information is culturally appropriate, developed researched and is accurate. with host community collaboration, and clearly communicated in c. Interpretation material that identifies the significance and languages pertinent to visitors and residents. sensitivity/fragility of sites. d. Evidence of host community collaboration in preparation of relevant interpretative material. e. Interpretative material available in relevant languages.
Criteria (หลักเกณฑ์)
Visitor management at cultural sites The destination has a system for the management of visitors within and around cultural sites, which takes account of their characteristics, capacity and sensitivity and seeks to optimize visitor flow and minimize adverse impacts. Guidelines for visitor behaviour at sensitive sites and cultural events are made available to visitors, tour operators and guides before and at the time of the visit.
SECTION D: Environmental sustainability
C7
C6
C(b) Visiting cultural sites
Intellectual property The destination has a system to contribute to the protection and preservation of intellectual property rights of communities and individuals.
C5
a. Reference to laws on intellectual property pertaining in the destination (title, date). b. Communication of intellectual property rights to tourism stakeholders. c. Evidence that intellectual property rights are protected in the development of cultural experiences for visitors.
Traditional access a. Monitoring of accessibility to natural and cultural sites for the The destination monitors, protects, and when necessary rehabilitates local community. or restores local community access to natural and cultural sites. b. Evidence of engagement with the local community regarding traditional access. c. Specific action to protect and/or rehabilitate local community access.
Indicators (ตัวบ่งชี้)
GSTC-D Version 2.0
C4
Criteria (หลักเกณฑ์)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
174 175
D4
Wildlife interaction The destination has a system to ensure compliance with local, national, and international laws and standards for wildlife interactions. Interactions with free roaming wildlife, taking into account cumulative impacts, are non-invasive and responsibly managed to avoid adverse impacts on the animals concerned and on the viability and behaviour of populations in the wild.
D3
Indicators (ตัวบ่งชี้)
GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
a. Reference (title, date) to specific international, national and local laws, standards and guidelines that apply in the destination regarding animal welfare and conservation of species. b. Notification of laws, standards and guidelines to tourism enterprises and guides. c. A system for inspection of the conditions of captive wildlife and domestic animals, including their housing and handling. d. Licensing and checking of qualifications of personnel responsible for captive wildlife. e. Action to promote the Convention on International Trade in Endangered Species (CITES) in the tourism sector and to ensure compliance with it. f. Provision of information to visitors on avoiding trade in endangered species, e.g. in purchase of souvenirs derived from threatened species of wildlife notified by IUCN or CITES. g. Enforcement of legislation to ensure that any hunting activity is part of a scientifically based, properly managed and strictly enforced approach to conservation.
Indicators (ตัวบ่งชี้)
a. Reference (title, date) to international, national and local laws that apply in the destination regarding interaction with wildlife. b. Endorsement of international standards for wildlife viewing for both marine and terrestrial species. c. Distribution of a code of practice for wildlife interaction, including viewing, which reflects international standards. d. System for checking compliance with regulations, and code of practice amongst tourism operations. e. Actions to monitor wildlife wellbeing and minimize disturbance, in locations where interactions occur. f. Provision of information to visitors on harmful wildlife interaction, such as touching and feeding.
a. Monitoring of visitor flows and impact on natural sites, with results shared across the destination. b. Evidence of action to manage and mitigate tourism-related impacts in or around natural sites. c. Existence and distribution of published guidelines on visitor behaviour at sensitive sites, and periodic monitoring of compliance. d. A code of practice for tour operators and tour guides and/or other engagement with them on visitor management at natural sites. e. Cooperation with local conservation bodies to identify environmental risks associated with tourism and measures to reduce them. f. Provision of training for guides.
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
Species exploitation and animal welfare The destination has a system to ensure compliance with local, national, and international laws and standards that seek to ensure animal welfare and conservation of species (animals, plants and all living organisms). This includes the harvesting or capture, trade, display, and sale of wildlife species and their products. No species of wild animal is acquired, bred or held captive, except by authorized and suitably equipped persons and for properly regulated activities. Housing, care and handling of all wild and domestic animals meets the highest standards of animal welfare.
Criteria (หลักเกณฑ์)
Visitor management at natural sites The destination has a system for the management of visitors within and around natural sites, which takes account of their characteristics, capacity and sensitivity and seeks to optimize visitor flow and minimize adverse impacts. Guidelines for visitor behaviour at sensitive sites are made available to visitors, tour operators and guides before and at the time of the visit.
D2
Criteria (หลักเกณฑ์)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
176 177
Water quality The destination monitors water quality for drinking, recreational and ecological purposes using quality standards. The monitoring results are publicly available, and the destination has a system to respond in a timely manner to water quality issues.
D7
Solid waste The destination measures and reports on its generation of waste and sets targets for its reduction. It ensures solid waste is properly treated and diverted from landfill, with provision of a multiplestream collection and recycling system which effectively separates waste by type. The destination encourages enterprises to avoid, reduce, reuse, and recycle solid waste, including food waste. Action is taken to eliminate or reduce single-use items, especially plastics. Any residual solid waste that is not reused or recycled is disposed of safely and sustainably.
D9
GSTC-D Version 2.0
a. Waste monitoring programme, with results and targets published. b. Coordinated campaign/advice/support with tourism enterprises on waste management, including food waste. c. Campaign to reduce/eliminate single use items, especially plastics. d. Waste management programme for public offices and facilities. e. Provision of a collection and recycling system, with at least four streams (i.e. organic, paper, metal, glass and plastic). f. Provision of sustainable system for disposal of residual waste. g. Campaign to eliminate dropping of litter, including by visitors, and to keep public spaces clean. h. Adequate bins for separated waste disposal.
a. Written guidelines and regulations on wastewater treatment. b. System of enforcing guidelines amongst enterprises. c. Monitoring/testing of released wastewater. d. Provisional of sustainable municipal water treatment systems, for use by the tourism sector, where practical and appropriate.
Indicators (ตัวบ่งชี้)
a. Programme of water quality monitoring. b. Existence of data and reports on water quality. c. Monitoring bathing water, with certification and identification of sites reaching set standards. d. Evidence of actions to improve water quality. e. Information for visitors on quality of local drinking water, to encourage use as alternative to bottled water.
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
Wastewater The destination has clear and enforced guidelines in place for the siting, maintenance and testing of discharge from septic tanks and wastewater treatment systems. The destination ensures that wastes are properly treated and reused or released safely without adverse impacts on the local population and the environment.
D8
D(c) Management of waste and emissions
Criteria (หลักเกณฑ์)
Water stewardship The destination encourages enterprises to measure, monitor, publicly report and manage water usage. Water risk in the destination is assessed and documented. In cases of high water risk, water stewardship goals are identified and actively pursued with enterprises, to ensure that tourism use does not conflict with the needs of local communities and ecosystems.
D6
a. Provision of guidance and support for monitoring and reduction of water usage by enterprises. b. Program to regularly assess water risk. c. Setting, publication and enforcement of water stewardship goals, where water risk has been assessed as high. d. Monitoring and control of sources and volume of water used for tourism purposes and its effect on local communities and ecosystems. Promotion and checking of adherence to goals by tourism enterprises. e. Visitor information on water risk and minimising water use.
Energy conservation a. Energy consumption targets are publicised and promoted. The destination has targets to reduce energy consumption, improve b. Programme to increase energy efficiency – e.g. promoting and efficiency in its use, as well as increase the use of renewable energy. supporting insulation. The destination has a system to encourage enterprises to measure, c. Investment in renewable energy and percent of total monitor, reduce, and publicly report their contribution to these targets. provision/consumption. d. Support and incentives for energy monitoring and reduction by enterprises.
Indicators (ตัวบ่งชี้)
GSTC-D Version 2.0
D5
D(b) Resource management
Criteria (หลักเกณฑ์)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
178
Low-impact transportation The destination has targets to reduce transport emissions from travel to and within the destination. An increase in the use of sustainable, low-emissions vehicles and public transport and active travel (e.g., walking and cycling) is sought in order to reduce the contribution of tourism to air pollution, congestion, and climate change.
Light and noise pollution The destination has guidelines and regulations to minimize light and noise pollution. The destination encourages enterprises to follow these guidelines and regulations.
D11
D12
a. Guidelines on light and noise pollution – produced and promoted to tourism enterprises. b. Identification and monitoring of potential sources of noise and light pollution related to tourism. c. Mechanisms to enable residents to report noise and light pollution, with follow-up action.
a. Investment in more sustainable transport infrastructure, including public transport and low emissions vehicles. b. Information promoted to visitors on alternative transport options to and within the destination c. Data on visitor use of alternative transport modes. d. Improvement and promotion of cycling and walking opportunities. e. Prioritization of visitor markets accessible by short and more sustainable transport options. f. Public sector and tourism enterprises prioritise low-impact transportation in their own operations.
a. Published target for percentage of emissions reduction by specified date. b. Annual climate report, including monitoring and mitigation actions. c. Supported campaign or other engagement with tourism enterprises on reduction and mitigation of emissions. d. Action to reduce emissions from public sector operations. e. Information for enterprises and visitors on offsetting schemes that meet recognized standards.
Indicators (ตัวบ่งชี้)
GSTC-D Version 2.0
เกณฑ์การท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนโลกส�ำหรับ แหล่งท่องเที่ยว
(GSTC-Destination)
Version 2.0
ข. คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ G S T C - D
GHG emissions and climate change mitigation The destination has targets to reduce greenhouse gas emissions, and implements and reports on mitigation policies and actions. Enterprises are encouraged to measure, monitor, reduce or minimise, publicly report and mitigate greenhouse gas emissions from all aspects of their operation (including from suppliers and service providers). Offsetting of any remaining emissions is encouraged.
D10
Criteria (หลักเกณฑ์)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ภาคผนวก
179
180 181
รอยเท้าคาร์บอน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ
Carbon Footprint Climate Change
Climate change adaptation
ค�ำอธิบาย
GSTC-D Version 2.0
การคาดการณ์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและด�ำเนินการที่เหมาะ สม เพื่อป้องกันหรือลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นให้น้อยที่สุดหรือใช้ประโยชน์จาก โอกาสที่อาจเกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่มีนัยส�ำคัญทางสถิติทั้งในสถานะเฉลี่ยของสภาพภูมิอากาศหรือความ แปรปรวนซึ่งยังคงมีอยู่เป็นระยะเวลานาน (โดยทั่วไปเป็นทศวรรษ หรือนานกว่านั้น) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอาจเนื่องมาจากกระบวนการภายใน ตามธรรมชาติ หรือการบังคับจากภายนอก หรือการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์อย่างต่อเนื่อง ในองค์ประกอบของบรรยากาศ
ปริมาณก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดที่ผลิตขึ้นเพื่อสนับสนุนกิจกรรมของมนุษย์ทั้งทางตรง และทางอ้อม โดยปกติจะแสดงเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ที่เทียบเท่ากัน
กักขัง หรือเก็บไว้ในขอบเขตที่ก�ำหนดไว้
ความแปรปรวนของสิ่งมีชีวิตจากทุกแหล่งรวมทั้งระบบนิเวศทางทะเลและทางน�้ำอื่นๆ และระบบนิเวศที่ซับซ้อนซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ซึ่งรวมถึงความหลากหลายภายในสปีชีส์ระ หว่างสปีชีส์และระบบนิเวศ
หลักฐานที่พิสูจน์ได้ว่ามีการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดที่ระบุเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์กระบวนการ ระบบบุคคลหรือร่างกาย (ดัดแปลงจาก ISO 17000) ค�ำพ้องความหมาย คือ การรับรองการตรวจสอบ
สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมักจะมีวัตถุประสงค์ในทางปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัตถุที่เหลืออยู่ จากช่วงเวลาหนึ่ง
ค�ำอธิบาย
วัตถุใดๆ ที่ผลิตใช้หรือดัดแปลงโดยมนุษย์ ตัวอย่างทั่วไป ได้แก่ เครื่องมือเครื่องใช้ ศิลปะ ซากอาหาร และผลิตภัณฑ์อื่นๆ ที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์
พฤติกรรมของบุคคลใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการท่องเที่ยวที่มีลักษณะเป็นการเคารพใน วัฒนธรรมและระบบนิเวศของสถานที่ตั้ง
สวัสดิภาพสัตว์ หมายถึง วิธีที่สัตว์รับมือกับสภาพที่มันอาศัยอยู่ “Five Freedoms” ที่ได้ รับการยอมรับในระดับสากลซึ่งตีพิมพ์ในปี 1965 อธิบายถึงสิทธิในสวัสดิภาพของสัตว์ ภายใต้การควบคุมของมนุษย์ ตามแนวคิดนี้ความต้องการสวัสดิภาพหลักของสัตว์ สามารถตอบสนองได้โดยการให้ เป็นอิสระจากความหิวโหยการขาดสารอาหารและความ กระหาย เป็นอิสระจากความกลัวและความทุกข์ เป็นอิสระจากความรู้สึกไม่สบายทาง ร่างกายและความร้อน อิสระจากความเจ็บปวดการบาดเจ็บและโรค และเสรีภาพในการ แสดงพฤติกรรมตามปกติ
การปรากฏตัวของสารเคมีหรือสารประกอบในอากาศ ซึ่งปกติจะไม่มีอยู่ แต่เมื่อมีขึ้น ท�ำให้คุณภาพของอากาศต�่ำลง ภาคการขนส่งมีส่วนรับผิดชอบต่อมลพิษทางอากาศใน เมืองเป็นจ�ำนวนมาก
การเดินทางด้วยวิธีการออกก�ำลังกาย เช่น การเดินหรือขี่จักรยาน
มีความสามารถในการเข้าถึง หรือมีส่วนร่วมในสถานที่/สิ่งนั้นๆ
การให้อนุญาตหรือความสามารถในการเข้าใกล้หรือผ่านเข้าและออกจากสถานที่หรือเพื่อ เข้าใกล้หรือสื่อสารกับบุคคลหรือสิ่งของ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ถูกจับเป็บเชลย
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
Captive
Archaeological artefacts
ความหลากหลายทางชีวภาพ
สิ่งประดิษฐ์ทางโบราณคดี
Appropriate behavior
Biodiversity
พฤติกรรมที่เหมาะสม
Animal welfare
ความมั่นใจ
สวัสดิภาพสัตว์
Air pollution
Assurance
มลพิษทางอากาศ
Active travel
สิ่งประดิษฐ์
การเดินทางแบบใช้แรงตัวเอง
ค�ำแปลภาษาไทย
เข้าถึงได้
Accessible
Artefact
การเข้าไปถึง
ค�ำแปลภาษาไทย
Access
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
GSTC-D Version 2.0
บัญชีค�ำศัพท์ของหลักเกณฑ์การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (GSTC – Destination)*
ภาคผนวก ข.
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
182 183
จรรยาบรรณ หลักปฏิบัติ สิทธิชุมชน ความยินยอมของชุมชน
การปฏิบัติตาม สัมปทาน ความแออัด
Code of conduct Code of practice Communal rights Community consent
Compliance Concession Congestion
การจัดการการอนุรักษ์ แผนปฏิบัติการแก้ไข การจัดการวิกฤต เกณฑ์ เกี่ยวกับวัฒนธรรม สิ่งประดิษฐ์ทางวัฒนธรรม ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม
มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิทัศน์วัฒนธรรม
Conservation management Corrective Action Plan Crisis management Criterion Cultural Cultural artefact Cultural assets
Cultural heritage Cultural landscape
ค�ำอธิบาย
GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
ภูมิทัศน์ที่ได้รับผลกระทบอิทธิพล จากการมีส่วนร่วมของมนุษย์
มรดกของสิ่งประดิษฐ์ทางกายภาพและคุณลักษณะที่จับต้องไม่ได้ของกลุ่มหรือสังคมที่ สืบทอดมาจากคนรุ่นก่อนรักษาไว้ในปัจจุบัน และมอบให้เพื่อประโยชน์ของคนรุ่นหลัง
ทรัพย์สินที่เป็นมรดกซึ่งผู้คนระบุและให้คุณค่าเป็นภาพสะท้อนและการแสดงออกของ ความรู้ ความเชื่อ และประเพณีที่พัฒนาขึ้น ทรัพย์สินทางวัฒนธรรมอาจจับต้องได้หรือ ไม่มีตัวตน
วัตถุใดๆ ที่ผลิตใช้หรือดัดแปลงโดยมนุษย์ที่แสดงออกถึงลักษณะเฉพาะของผู้คนหรือ ชนชาติ รวมถึงวิถีชีวิตความเชื่อทางวิญญาณหรือความรู้สึกร่วมกันของประวัติศาสตร์
เกี่ยวข้องกับคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ตลอดจนนิสัยความเชื่อประเพณี
มาตรฐานกฎ หรือการทดสอบที่สามารถตัดสินหรือตัดสินใจได้
การประยุกต์ใช้กลยุทธ์ที่ออกแบบมาเพื่อช่วยให้องค์กรจัดการกับเหตุการณ์เชิงลบที่เกิด ขึ้นอย่างกะทันหันและมีนัยส�ำคัญ
การด�ำเนินการแก้ไขเป็นการระบุว่าปัญหาได้รับการยอมรับแก้ไข และติดตั้งการควบคุมที่ เหมาะสมเพื่อให้แน่ใจว่าปัญหาจะไม่เกิดขึ้นอีก
การจัดการการอนุรักษ์เป็นการรักษาสายพันธุ์หรือที่อยู่อาศัยให้อยู่ในสภาพที่เอื้ออ�ำนวย
วางแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์
ค�ำอธิบาย
สถานการณ์ที่มีการจราจรและการเคลื่อนย้ายมากเกินไป
การให้ที่ดินหรือทรัพย์สินโดยเฉพาะอย่างยิ่งโดยรัฐบาลเพื่อตอบแทนการบริการหรือเพื่อ การใช้งานเฉพาะ สิทธิในการด�ำเนินการและผลก�ำไรจากกิจกรรมที่ระบุ
ความสอดคล้องในการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดอย่างเป็นทางการ
ความยินยอมแสดงถึงการอนุมัติการบุกรุกหรือการพัฒนาใดๆ จากภายนอกในที่ดินหรือ แนวปฏิบัติของชุมชน ความยินยอมไม่ต้องการความเป็นเอกฉันท์ระหว่างสมาชิกทุกคนใน ชุมชน แต่ควรก�ำหนดความยินยอมตามกฎหมายจารีตประเพณีและแนวปฏิบัติหรือในทา งอื่นๆ ที่ชุมชนตกลงกันไว้
สิทธิที่สมาชิกในชุมชนมีร่วมกัน
ชุดแนวทางและ/หรือ ข้อบังคับที่สมาชิกในอาชีพการค้าอาชีพองค์กร ฯลฯ โดยปกติไม่มี ผลบังคับของกฎหมาย
ชุดของกฎที่ชี้แนะว่าอะไรคือสิ่งที่เป็นและไม่เป็นที่ยอมรับหรือพฤติกรรมที่คาดหวังใน สถานการณ์ที่ก�ำหนด
การลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หรือก๊าซเรือนกระจก เพื่อชดเชยหรือชดเชย การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากที่อื่น
การด�ำเนินการเพื่อจ�ำกัดขนาดหรืออัตราการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระยะยาว และผลกระทบที่เกี่ยวข้อง การลดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปเกี่ยวข้องกับ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (จากมนุษย์)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
การอนุรักษ์
Conservation
ค�ำแปลภาษาไทย
การชดเชย CO2
CO2 Offsets
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
การบรรเทาการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ
ค�ำแปลภาษาไทย
Climate change mitigation
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
184 185
ผลกระทบสะสม ความพึงพอใจของลูกค้า งานดี
แหล่งท่องเที่ยว
องค์การบริหารปลายทาง
Cumulative impact Customer satisfaction Decent work
Destination
Destination Management Organization
การเลือกปฏิบัติ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ระบบนิเวศ แผนรับมือเหตุฉุกเฉิน การรับรองด้านสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ยั่งยืนต่อสิ่งแวดล้อม
Discrimination Economic benefit Ecosystem Emergency response plan Environmental certification Environmental Impact Assessment
Environmentally sustainable
ค�ำอธิบาย
GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
ปัจจัยหรือแนวทางปฏิบัติมีความยั่งยืนต่อสิ่งแวดล้อม หากก่อให้เกิดคุณภาพสิ่งแวดล้อม ในระยะยาว เป็นอัตราที่การเก็บเกี่ยวทรัพยากรหมุนเวียนการสร้างมลพิษหรือการหมด ทรัพยากรทีไ่ ม่หมุนเวียนสามารถด�ำเนินต่อไปได้อย่างไม่มกี ำ� หนดโดยไม่ทำ� ลายสิง่ แวดล้อม
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการระบุผลกระทบด้านสิ่ง แวดล้อมสังคมและเศรษฐกิจของโครงการก่อนการตัดสินใจ มีจุดมุ่งหมายเพื่อท�ำนาย ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมในระยะเริ่มต้นในการวางแผนและออกแบบโครงการค้นหา แนวทาง และวิธีการลดผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์ก�ำหนดรูปแบบโครงการให้เหมาะสม กับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นและน�ำเสนอการคาดการณ์และทางเลือกให้กับผู้มีอ�ำนาจ ตัดสินใจ
หมายถึง ผลิตภัณฑ์กระบวนการธุรกิจหรือบริการที่เปิดเผยต่อสาธารณะว่าได้รับการ รับรองหรือตรวจสอบตามมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม
ชุดขั้นตอนที่เป็นลายลักษณ์อักษรส�ำหรับจัดการกับเหตุฉุกเฉินที่ลดผลกระทบของ เหตุการณ์และอ�ำนวยความสะดวกในการกู้คืนจากเหตุการณ์
สิ่งมีชีวิตทั้งหมดในพื้นที่และผลกระทบต่อกันและกัน และสิ่งแวดล้อม
ผลประโยชน์ใดๆ ที่สามารถวัดได้ในรูปของเงินที่สร้างขึ้น เช่น รายได้สุทธิ เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถประหยัดเงินได้เมื่อพูดถึงนโยบายในการลดต้นทุน
การปฏิบัติต่อบุคคลอย่างไม่เท่าเทียมกันด้วยเหตุที่ไม่สมเหตุสมผลในทางกฎหมาย
ผลกระทบโดยตรงจากการใช้จ่ายครั้งแรกซึ่งก่อให้เกิดกิจกรรมเพิ่มเติมในระบบเศรษฐกิจ ท้องถิ่น
ค�ำอธิบาย
องค์กรที่รับผิดชอบในการด�ำเนินนโยบายการท่องเที่ยวเชิงกลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการจัดการที่ประสานกันขององค์ประกอบทั้งหมดที่ประกอบเป็นแหล่งท่องเที่ยว (ที่พักสถานที่ท่องเที่ยวการเข้าถึงการตลาดทรัพยากรบุคคลภาพลักษณ์) รูปแบบและ โครงสร้างของ DMO อาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับบริบทที่ด�ำเนินการ
พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่ประกอบด้วยบริการและโครงสร้างพื้นฐานทั้งหมดที่จ�ำเป็นส�ำหรับ การเข้าพักของนักท่องเที่ยวหรือกลุ่มการท่องเที่ยวที่เฉพาะ เจาะจง แหล่งท่องเที่ยวคือ หน่วยการแข่งขันของการท่องเที่ยวที่เข้ามา
งานที่มีคุณค่าเกี่ยวข้องกับโอกาสในการท�ำงานที่มีประสิทธิผลและให้รายได้ที่เป็นธรรม ความมั่นคงในที่ท�ำงานและการคุ้มครองทางสังคมส�ำหรับครอบครัวโอกาสที่ดีกว่าส�ำหรับ การพัฒนาตนเองและการรวมกลุ่มทางสังคมเสรีภาพส�ำหรับผู้คนในการแสดงความกังวล จัดระเบียบและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจที่มีผลกระทบ ชีวิตของพวกเขาและความเท่า เทียมกันของโอกาสและการปฏิบัติต่อผู้หญิงและผู้ชายทุกคน
การวัดผลว่าผลิตภัณฑ์และบริการที่บริษัทจัดหาให้นั้นตอบสนองหรือเหนือกว่าความคาด หวังของลูกค้าอย่างไร
ผลกระทบของชุดเหตุการณ์หรือการกระท�ำที่เกิดขึ้นซ�้ำๆ หรือแตกต่างกันซึ่งอาจมากกว่า ผลรวมของผลกระทบของแต่ละบุคคล
สถานที่ที่มีความส�ำคัญทางวัฒนธรรมหรือประวัติศาสตร์ ต้องมีการควบคุมดูแลหรือ ระมัดระวังในการปฏิบัติตามเหตุผล
เคารพและยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ผลงานทางเศรษฐกิจโดยตรง
Direct economic contribution
ค�ำแปลภาษาไทย
สถานที่ที่มีความอ่อนไหวทาง วัฒนธรรมหรือประวัติศาสตร์
Culturally or historically sensitive sites
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
มีความเหมาะสมกับวัฒนธรรม
ค�ำแปลภาษาไทย
Culturally appropriate
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
186 187
ได้รับความยินยอมล่วงหน้าและแจ้ง สิทธิเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับชนพื้นเมืองและได้รับการยอมรับในปฏิญญาสหประชาชาติว่า ให้ทราบโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ด้วยสิทธิของชนเผ่าพื้นเมือง (UNDRIP) ซึ่งอนุญาตให้พวกเขาให้หรือระงับความยินยอม ในโครงการที่อาจส่งผลกระทบต่อพวกเขาหรือดินแดนของพวกเขา UNDRIP ให้ความ หมายเฉพาะของค�ำว่า “ฟรี” “ก่อนหน้า” “แจ้ง” และ “ยินยอม” การท�ำอาหาร การปล่อยก๊าซเรือนกระจก
Free prior and informed consent
Gastronomy GHG emissions
ก๊าซเรือนกระจก
ได้รับการรับรอง GSTC-I ได้รับการยอมรับ GSTC-I ที่อยู่อาศัย การล่วงละเมิด สารอันตราย
Greenhouse Gas
GSTC-I Accredited GSTC-I Recognized Habitat Harassment Harmful substances
GSTC-D Version 2.0
สารเคมีที่อาจเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ที่ผู้รับพบว่าเป็นการล่วงละเมิด
หน่วยทางภูมิศาสตร์บนบกน�้ำจืดหรือทางทะเลหรือทางเดินหายใจที่รองรับการรวมตัว ของสิ่งมีชีวิตและปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต
ใช้กับมาตรฐานการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนซึ่งถือว่าเทียบเท่ากับเกณฑ์ GSTC-I / D ส�ำหรับ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ได้รับการอนุมัติจาก GSTC ในฐานะหน่วยรับรองที่มีความสามารถในการรับรององค์กร ต่างๆ ให้ได้มาตรฐานที่ได้รับการยอมรับจาก GSTC
ก๊าซในบรรยากาศที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกและด�ำรงชีวิตบนโลก ความเข้ม ข้นที่เพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศก�ำลังเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยของมนุษย์ ที่วิวัฒนาการมาเพื่อเจริญเติบโต นี่คือกระบวนการที่เรียกว่าภาวะโลกร้อนหรือการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ก๊าซเรือนกระจก ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ ไอน�้ำ ไนตรัส ออกไซด์ โอโซน มีเทน และ CFCs
เกณฑ์ของสภาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนระดับโลก (GSTC) ใช้เป็นมาตรฐานพื้นฐานระดับ โลกส�ำหรับความยั่งยืนในการเดินทางและการท่องเที่ยว เกณฑ์ GSTC ใช้ส�ำหรับการ ศึกษาและการสร้างความตระหนักการก�ำหนดนโยบายและเป็นพื้นฐานส�ำหรับการรับรอง เกณฑ์นี้เป็นเกณฑ์ขั้นต�่ำไม่ใช่สูงสุดที่ธุรกิจรัฐบาลและแหล่งท่องเที่ยวควรบรรลุเพื่อเข้าถึง ความยั่งยืนทางสังคมสิ่งแวดล้อมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ
เรือนกระจกทั้งหมดและสามารถรายงานเป็นปริมาณรวมกันได้
ค�ำอธิบาย
การวัดที่เกี่ยวข้องกับชุดของก๊าซเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของมนุษย์ที่เปลี่ยนแปลง สมดุลพลังงานของโลกและสภาพภูมิอากาศ ก๊าซเรือนกระจก (GHG) ได้แก่ ไอน�้ำ คาร์บอนไดออกไซด์มีเทนและไนตรัสออกไซด์ การประยุกต์ใช้ศักยภาพของภาวะโลกร้อน (GWP) ของแต่ละ GHG ช่วยให้การปล่อยก๊าซทั้งหมดดังกล่าวถูกแปลเป็นหน่วยทั่วไปคือ Carbon Dioxide Equivalent (CO2e) ซึ่งเปรียบเทียบและเกี่ยวข้องกับการปล่อยก๊าซ
ประเพณีหรือรูปแบบการท�ำอาหาร
การค้าที่เป็นธรรมตั้งอยู่บนพื้นฐานของการสนทนาความโปร่งใสและความเคารพแสวงหา ความเท่าเทียมกันในการค้าระหว่างประเทศ มีส่วนช่วยในการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยเสนอ เงื่อนไขการค้าที่ดีขึ้นและการรักษาสิทธิของผู้ผลิตและคนงานชายขอบโดยเฉพาะในภาค ใต้ มาตรฐาน ‘Fairtrade’ หรือ ‘Fair Trade’ ประกอบด้วยข้อก�ำหนดขั้นต�่ำด้านสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมซึ่งผู้ผลิตต้องปฏิบัติตามจึงจะได้รับการรับรอง
ค่าตอบแทนส�ำหรับทรัพย์สินที่ก�ำหนดให้เจ้าของทรัพย์สินอยู่ในต�ำแหน่งเดียวกับก่อนที่ ทรัพย์สนิ จะถูกยึด เพียงแค่คา่ ตอบแทนมักจะเป็นมูลค่าตลาดยุตธิ รรมของทรัพย์สนิ ทีไ่ ด้รบั
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ระดับโลก
Global Sustainable Tourism Criteria
ค�ำแปลภาษาไทย
การค้าที่เป็นธรรม
Fair trade
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
ค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและยุติธรรม
Fair and just compensation
การปฏิบัติต่อผู้คนอย่างไม่เป็นธรรม เพื่อให้ได้รับประโยชน์จากความพยายามหรือ แรงงานของพวกเขา
การแสวงหาผลประโยชน์
Exploitation
จัดการกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน
ค�ำอธิบาย
เท่าเทียมกัน
ค�ำแปลภาษาไทย
GSTC-D Version 2.0
Equitable
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
188 189
สิทธิมนุษยชน
การค้ามนุษย์ ตัวบ่งชี้
ชุมชนพื้นเมือง
ชนพื้นเมือง
Human rights
Human trafficking Indicator
Indigenous communities
Indigenous peoples
สิทธิของชนพื้นเมือง
สิทธิส่วนบุคคลและส่วนรวมของชนเผ่าพื้นเมืองในการรักษาและเสริมสร้างสถาบัน วัฒนธรรมและประเพณีของตนเองและด�ำเนินการพัฒนาตามความต้องการและแรง บันดาลใจของตนเอง ปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของชนพื้นเมืองห้ามมิให้มีการ เลือกปฏิบัติต่อชนพื้นเมืองและส่งเสริมการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่และมีประสิทธิผลในทุก เรื่องที่เกี่ยวข้องกับพวกเขา
อาศัยอยู่ในปัจจุบันหรือเคยอาศัยอยู่ในภูมิภาคนี้ก่อนการล่าอาณานิคมหรือการผนวกใน ภายหลังหรือควบคู่ไปกับกลุ่มวัฒนธรรมอื่นๆ ในระหว่างการก่อตัวของรัฐชาติหรือเป็น อิสระหรือแยกส่วนใหญ่ออกจากอิทธิพลของการปกครองที่อ้างสิทธิ์โดยรัฐชาติและผู้ที่ยัง คงรักษาลักษณะทางภาษาวัฒนธรรมและสังคม/องค์กร ที่แตกต่างกันอย่างน้อยก็ในบาง ส่วนและในการท�ำเช่นนี้ยังคงมีความแตกต่างในระดับหนึ่งจากประชากรรอบข้างและ วัฒนธรรมที่โดดเด่นของรัฐชาติ รวมถึงคนที่ระบุตัวเองว่าเป็นคนพื้นเมืองและคนที่กลุ่ม อื่นยอมรับว่าเป็นเช่นนี้
ค�ำอธิบาย
โดยปกติถือว่ารวมกลุ่มวัฒนธรรมและลูกหลานของพวกเขาที่มีความต่อเนื่องทาง ประวัติศาสตร์ หรือความสัมพันธ์กับภูมิภาคที่ก�ำหนดหรือบางส่วนของภูมิภาคและผู้ที่
ชนเผ่าในประเทศเอกราชซึ่งมีสภาพสังคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจแตกต่างจากส่วนอื่นๆ ของชุมชนแห่งชาติและสถานะถูกควบคุมทั้งหมดหรือบางส่วน โดยขนบธรรมเนียมหรือ ประเพณีของตนเองหรือโดยกฎหมายหรือข้อบังคับพิเศษ
ปัจจัยหรือตัวแปรเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพที่ให้วิธีการที่ง่ายและเชื่อถือได้ในการวัดผล ส�ำเร็จของผลลัพธ์ เพื่อสะท้อนการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับระบบมาตรฐานหรือเพื่อ ช่วยประเมินผลการด�ำเนินงานขององค์กร
การกักขังหรือการขนส่งบุคคลในสถานการณ์การแสวงหาประโยชน์จากการใช้ความ รุนแรงการหลอกลวง หรือการบีบบังคับและการบังคับใช้แรงงาน
สิทธิมนุษยชนเป็นสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานที่มนุษย์ทุกคนควรได้รับการรับรอง เป็น สากลใช้กบั ทุกคนอย่างเท่าเทียมกันและตัง้ อยูบ่ นหลักการแห่งศักดิศ์ รีสำ� หรับมนุษย์ทกุ คน มีรายละเอียดในบทความสามสิบข้อของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (พ.ศ. 2491)
ความส�ำคัญหมายถึงความส�ำคัญของทรัพย์สินที่มีต่อประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม โบราณคดี วิศวกรรม หรือวัฒนธรรมของชุมชน รัฐบาลหรือประเทศชาติ ความส�ำคัญอาจ ขึ้นอยู่กับการเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์กับบุคคลส�ำคัญ ลักษณะทางกายภาพที่โดดเด่นของการออกแบบการก่อสร้างหรือรูปแบบ และศักยภาพ ในการให้ข้อมูลที่ส�ำคัญ
ความเข้มข้นของความหลากหลายทางชีวภาพรวมถึงสิง่ มีชวี ติ เฉพาะถิน่ และสิง่ มีชวี ติ ทีห่ ายาก ถูกคุกคามหรือใกล้สูญพันธุ์ ซึ่งมีความส�ำคัญในระดับโลกระดับภูมิภาคหรือระดับประเทศ
ค�ำอธิบาย
GSTC-D Version 2.0
มรดกที่จับต้องไม่ได้
ทรัพย์สินทางปัญญา
Intangible heritage
Intellectual property
GSTC-D Version 2.0
ทรัพย์สินทางปัญญา (IP) หมายถึงการสร้างสรรค์ของจิตใจ เช่น สิ่งประดิษฐ์ งาน วรรณกรรม และศิลปะ การออกแบบ และสัญลักษณ์ชื่อและรูปภาพที่ใช้ในการค้า IP ได้
ประเพณีหรือการด�ำรงชีวติ ทีส่ บื ทอดมาจากบรรพบุรษุ และส่งต่อไปยังลูกหลานของเรา เช่น ประเพณี ศิลปะการแสดง การปฏิบตั ทิ างสังคม พิธกี รรม งานรืน่ เริง ความรู้ และการปฏิบตั ิ เกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล หรือความรู้และทักษะในการผลิตงานฝีมือแบบดั้งเดิม
การก่อสร้างที่จ�ำเป็นเพื่อรองรับการท�ำงานที่เหมาะสมหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจของ พื้นที่ซึ่งรวมถึง ถนน ทางรถไฟ ท่าเรือ รันเวย์ สนามบิน น�้ำ ไฟฟ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ ระบบก�ำจัดท่อน�้ำทิ้งและสาธารณูปโภคอื่นๆ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
โครงสร้างพื้นฐาน
Infrastructure
Indirect economic contribution การช่วยเหลือทางเศรษฐกิจทางอ้อม ผลทวีคูณซึ่งเป็นผลมาจากการใช้จ่ายกับซัพพลายเออร์ตามภาคหรืออุตสาหกรรม
Indigenous rights
ค�ำแปลภาษาไทย
ความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์
Historical significance
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คุณค่าความหลากหลายทาง ชีวภาพสูง
ค�ำแปลภาษาไทย
High Biodiversity Value
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
190 191
สิทธิแรงงาน
Labour rights
มรดกทางวัฒนธรรมการด�ำรงชีวิต ท้องถิ่น ชุมชนท้องถิ่น ความโดดเด่นของท้องถิ่น
ชนกลุ่มน้อยในท้องถิ่น
ผู้อยู่อาศัยในท้องถิ่น ผู้จัดจ�ำหน่ายสินค้า/ บริการในท้องถิ่น
Living culture Local Local community Local distinctiveness
Local minorities
Local residents Local supplier
ค�ำอธิบาย
GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
บุคคลหรือองค์กรจากภายในพื้นที่ที่ระบุ ซึ่งเกี่ยวข้องกับธุรกิจการท่องเที่ยวที่จัดหาสินค้า หรือบริการให้กับธุรกิจการท่องเที่ยว
ผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงของแหล่งท่องเที่ยว หรือธุรกิจการท่องเที่ยวและอาจได้รับ ผลกระทบทางสังคมเศรษฐกิจหรือสิ่งแวดล้อมจากการมีอยู่หรือการด�ำเนินงาน
กลุ่มสังคมหรือหมวดหมู่ของผู้คนจากภายในพื้นที่ที่ระบุ ซึ่งเกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยว หรือธุรกิจการท่องเที่ยว ซึ่งแตกต่างจากกลุ่มใหญ่ในประเทศหรือพื้นที่ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง มักหมายถึงกลุ่มที่ต้องทนทุกข์ทรมานจากความไม่เสมอภาคของอ�ำนาจหรือการปฏิบัติที่ ไม่เท่าเทียมกันบนพื้นฐานของอัตลักษณ์นั้นหรือในสถานการณ์ที่กลุ่มดังกล่าวเป็นชนกลุ่ม น้อยที่เป็นตัวเลขเกี่ยวกับวัฒนธรรมหรือชาติพันธุ์
สาระส�ำคัญของสิ่งที่ท�ำให้สถานที่แห่งนี้พิเศษ ผลรวมของภูมิทัศน์ สัตว์ป่าโบราณคดี ประวัติศาสตร์ ประเพณี อาคาร และงานฝีมือ ทุกสิ่งที่ท�ำให้สถานที่แห่งนี้มีความพิเศษ อย่างแท้จริง
การรวบรวมผู้คนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงของแหล่งท่องเที่ยวหรือธุรกิจการท่องเที่ยว และอาจได้รบั ผลกระทบทางสังคมเศรษฐกิจ หรือสิง่ แวดล้อมจากการมีอยูห่ รือการด�ำเนินงาน
พื้นที่รอบๆ ปลายทางหรือที่ตั้งของการด�ำเนินธุรกิจในทันที ขนาดของพื้นที่อาจแตกต่าง กันไปขึ้นอยู่กับภูมิศาสตร์กายภาพและความหนาแน่นของประชากรและการกระจาย
การแสดงออกความรู้และทักษะที่ตกทอดจากรุ่นสู่รุ่น มรดกนี้ท�ำให้ชุมชนมีความรู้สึกถึง อัตลักษณ์และถูกสร้างขึ้นใหม่อย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมของพวกเขา
การใช้แสงประดิษฐ์กลางแจ้งมากเกินไปผิดทิศทางหรือรุกราน
ค�ำอธิบาย
ค�ำย่อแสดงถึงเลสเบี้ยน เกย์ ไบเซ็กชวล และคนข้ามเพศ ค�ำศัพท์เฉพาะส�ำหรับใช้ในการ ติดป้ายก�ำกับหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับรสนิยมทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ
สิทธิแรงงานหรือสิทธิของคนงานเป็นกลุ่มสิทธิตามกฎหมายและอ้างว่าสิทธิมนุษยชน เกี่ยวกับความสัมพันธ์ด้านแรงงานระหว่างคนงานและนายจ้าง ซึ่งโดยปกติจะได้รับภาย ใต้กฎหมายแรงงานและการจ้างงาน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2462 องค์การแรงงานระหว่าง ประเทศได้รักษาและพัฒนาระบบมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศที่มุ่งส่งเสริมโอกาส ให้ผู้หญิงและผู้ชายได้งานที่มีประสิทธิผลและมีประสิทธิผลในเงื่อนไขของเสรีภาพความ เสมอภาคความมั่นคงและศักดิ์ศรี
รายการสินทรัพย์หมุนเวียนแบบแยกรายการ การเก็บทรัพยากรธรรมชาติในช่วงเวลาที่ ก�ำหนด
สายพันธุ์ที่ได้รับการแนะน�ำให้รู้จักกับสภาพแวดล้อมที่ไม่ใช่คนพื้นเมืองหรือคนต่างด้าว และการแนะน�ำของสัตว์นั้นก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมหรือเศรษฐกิจหรือเป็น อันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์
กระบวนการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อกระตุ้นและอ�ำนวยความสะดวกในการท�ำความ เข้าใจเกี่ยวกับสถานที่ของผู้คนเพื่อให้เกิดการเอาใจใส่ต่อการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมและ ภูมิทัศน์ได้รับการพัฒนา โดยเผยให้เห็นความส�ำคัญและความหมายของปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติและวัฒนธรรมแก่ผู้มาเยือนโดยปกติจะมีจุดประสงค์ เพื่อให้เกิดความพึง พอใจ ประสบการณ์การเรียนรู้และส่งเสริมพฤติกรรมที่ยั่งยืนมากขึ้น
รับการคุ้มครองตามกฎหมาย ข้อพิจารณาพิเศษใช้กับชุมชนพื้นเมืองและท้องถิ่นเกี่ยวกับ การคุ้มครองส่งเสริมและรักษาความรู้ดั้งเดิมการแสดงออกทางวัฒนธรรมดั้งเดิมและ ทรัพยากรทางพันธุกรรม
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
มลพิษทางแสง
Light pollution
ค�ำแปลภาษาไทย
สินค้าคงคลัง
Inventory
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
สายพันธุ์แปลกปลอม
Invasive species
LGBT
การตีความ
ค�ำแปลภาษาไทย
Interpretation
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
192 193
พันธุ์พื้นเมือง พื้นที่ธรรมชาติ
ทรัพย์สินทางธรรมชาติ มรดกทางธรรมชาติ
ชุมชนใกล้เคียง
Native species Natural area
Natural assets Natural heritage
Neighboring communities
ไม่รุกราน การหักล้าง
ยาฆ่าแมลง
แนวทางการวางแผน มลพิษ
Non-invasive Offsetting
Pesticide
Planning guidelines Pollution
ค�ำอธิบาย
GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
การมีอยู่ของสสาร (ก๊าซของเหลวของแข็ง) หรือพลังงาน (ความร้อนเสียงการแผ่รังสี) ซึ่ง มีลักษณะต�ำแหน่งหรือปริมาณเปลี่ยนแปลงลักษณะหรือกระบวนการของส่วนใดส่วน หนึ่งของสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรงและทางอ้อมและสาเหตุ (หรือมีศักยภาพที่จะท�ำให้เกิด)
ค�ำแนะน�ำในการพัฒนาหรือส่งผลกระทบต่อพื้นที่ที่ระบุโดยมุ่งเป้าไปที่นักวางแผนนัก พัฒนาผู้สร้างและเจ้าของบ้านเป็นหลัก
สารหรือส่วนผสมของสารใดๆ ที่ใช้ในการป้องกันท�ำลายหรือควบคุมศัตรูพืชที่ไม่ต้องการ เช่น แมลงที่เป็นอันตราย สัตว์ขนาดเล็ก พืชป่า และสิ่งมีชีวิตที่ไม่ต้องการอื่นๆ รวมทั้ง พาหะของโรคของมนุษย์หรือสัตว์ สารก�ำจัดศัตรูพืชถูกน�ำมาใช้เนื่องจากคุณสมบัติที่เป็น พิษต่อสายพันธุ์เป้าหมาย แต่ยังอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่เป้าหมาย รูป แบบของการกระท�ำที่ท�ำให้สารก�ำจัดศัตรูพืชมีประสิทธิภาพยังท�ำให้พวกมันเป็นอันตราย ต่อมนุษย์ และ/หรือสิ่งแวดล้อม ซึ่งมักจะเป็นวิธีที่ละเอียดอ่อน สิ่งส�ำคัญคือต้องเข้าใจ ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องและจ�ำกัดการใช้สารเหล่านี้ในสถานการณ์ที่จ�ำเป็นและจ�ำกัดความ เสียหายที่อาจเกิดขึ้นต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
เมื่อค�ำนวณและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกแล้วหากเป็นไปได้มีแผนจ�ำนวนหนึ่งเพื่อ ชดเชยสิ่งที่ไม่สามารถลดได้ ผ่านการซื้อ การลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ได้รับการ รับรอง การชดเชยเป็นเครดิตส�ำหรับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นในสถาน ที่อื่น เช่น ฟาร์มกังหันลม หรือโครงการเตาปรุงอาหารที่สะอาด และแต่ละเครดิตจะ แสดงถึงการปล่อยก๊าซที่หลีกเลี่ยงหรือจับได้หนึ่งตัน
ไม่มีแนวโน้มที่จะแพร่กระจายในระดับที่เชื่อว่าจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจของมนุษย์หรือสุขภาพของมนุษย์ พันธุ์พื้นเมืองบางชนิดอาจรุกรานได้
เสียงรบกวนหรือไม่พึงประสงค์ใดๆ ที่รบกวน หรือเป็นอันตรายต่อมนุษย์หรือสัตว์ป่า
ค�ำอธิบาย
ชุมชนที่ตั้งอยู่ติดกันหรือค่อนข้างใกล้กับธุรกิจการท่องเที่ยว หรือพื้นที่ที่ธุรกิจการท่อง เที่ยวด�ำเนินการ
ลักษณะทางธรรมชาติประกอบด้วยการก่อตัวทางกายภาพและทางชีวภาพหรือกลุ่มของ การก่อตัวดังกล่าว ซึ่งมีคุณค่าสากลที่โดดเด่นจากมุมมองทางสุนทรียศาสตร์หรือทาง วิทยาศาสตร์ การก่อตัวทางธรณีวิทยาและสรีรวิทยาและพื้นที่ที่ก�ำหนดไว้อย่างแม่นย�ำ ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์และพืชที่ถูกคุกคามซึ่งมีคุณค่าสากลที่โดดเด่นจากมุมมองของ วิทยาศาสตร์หรือการอนุรักษ์ แหล่งธรรมชาติหรือพื้นที่ธรรมชาติที่มีคุณค่าสากลที่โดด เด่นจากมุมมองของวิทยาศาสตร์การอนุรักษ์หรือความงามตามธรรมชาติ
ทรัพย์สินของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติรวมถึงทรัพย์สินทางชีวภาพและทางกายภาพ
พื้นที่ที่มีลักษณะเฉพาะของสัตว์ป่าและลักษณะทางธรรมชาติ พื้นที่ธรรมชาติแต่ละแห่งมี เอกลักษณ์เฉพาะอันเป็นผลมาจากปฏิสัมพันธ์ของสัตว์ป่าธรณีสัณฐานวิทยาการใช้ที่ดิน และผลกระทบของมนุษย์
พืช สัตว์ หรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่พบหรือเป็นที่รู้กันว่าถูกพบ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศ ทางธรรมชาติในท้องถิ่น
ระบบขนส่งที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลน้อย ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการรวมกันของการย้ายจาก ส่วนตัวไปสู่การขนส่งสาธารณะ ลดปริมาณการเดินทางโดยรวม ประสิทธิภาพการใช้เชื้อ เพลิงและเชื้อเพลิงทางเลือก(รวมถึงพลังของกล้ามเนื้อ)
สอดคล้องกับบรรทัดฐานทางสังคม วัฒนธรรม และระบบนิเวศของพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง โดย เฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกี่ยวข้องกับการหลีกเลี่ยงความเสียหายต่อสุนทรียศาสตร์ ประเพณี หรือความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
มลพิษทางเสียง
Noise pollution
ค�ำแปลภาษาไทย
การขนส่งที่มีผลกระทบต�่ำ
Low impact transportation
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เหมาะสมในท้องถิ่น
ค�ำแปลภาษาไทย
Locally appropriate
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
194 195
โปรโมชั่น สื่อส่งเสริมการขาย
จัดการอย่างเหมาะสม พื้นที่คุ้มครอง
การมีส่วนร่วมของประชาชน นโยบายการจัดซื้อ
Promotion Promotional materials
Properly managed Protected Areas
Public participation Purchasing policy
ระบบรีไซเคิล อยู่ภายใต้การก�ำกับดูแล ฟื้นฟู พลังงานทดแทน
การจ�ำลองแบบ การตั้งถิ่นฐานใหม่ เคารพ การบริโภคอย่างมีความรับผิดชอบ
Recycling system Regulated Rehabilitate Renewable energy
Replication Resettlement Respect Responsible consumption
ค�ำอธิบาย
GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
ความพยายามร่วมกันในการซื้อและใช้สินค้าและบริการที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต�่ำ และส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจในเชิงบวกเมื่อเป็นไปได้
ให้การพิจารณาและการคล้อยตามการกระท�ำความเชื่อหรือการด�ำรงอยู่ของบุคคล หรือสิ่งอื่น
กระบวนการย้ายผู้คนไปยังที่อื่นเพื่ออาศัยอยู่ เนื่องจากพวกเขาไม่ได้รับอนุญาตให้อยู่ใน พื้นที่ที่พวกเขาเคยอาศัยอยู่อีกต่อไป
การท�ำหรือท�ำอะไรอีกครั้งในลักษณะเดียวกัน
พลังงานทดแทนได้มาจากกระบวนการทางธรรมชาติที่เติมเต็มอย่างต่อเนื่อง ในรูปแบบ ต่างๆ ซึ่งเกิดขึ้นโดยตรงหรือโดยอ้อมจากดวงอาทิตย์หรือจากความร้อนที่เกิดขึ้นในส่วน ลึกของโลก รวมอยู่ในค�ำจ�ำกัดความคือพลังงานที่เกิดจากพลังงานแสงอาทิตย์ลมชีวมวล ความร้อนใต้พิภพพลังงานน�้ำและทรัพยากรในมหาสมุทรและเชื้อเพลิงชีวภาพและ ไฮโดรเจนที่ได้จากทรัพยากรหมุนเวียน
กระบวนการคืนบางสิ่งให้กลับสู่สภาพเดิม
ภายใต้การควบคุมของกฎหมายหรืออ�ำนาจที่บัญญัติขึ้น
ระบบรวบรวมและแปรรูปวัสดุเหลือใช้ที่อาจถูกทิ้งและเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ และบริการใหม่ๆ
ระดับคุณค่าหรือความเป็นเลิศของผลิตภัณฑ์หรือบริการ บางครั้งอาจอ้างถึงคุณค่าหรือ ความเป็นเลิศในระดับสูง
ค�ำอธิบาย
ระบบและขั้นตอนการจัดหาสินค้าและบริการที่เป็นเอกสารรวมถึงกฎและแนวทาง นโยบายการจัดหาและซัพพลายเออร์ที่ได้รับการสนับสนุน หรือได้รับการอนุมัติ
กระบวนการที่ท�ำให้สาธารณชนมีส่วนร่วมโดยตรงในการตัดสินใจและให้การพิจารณา อย่างเต็มที่ต่อข้อมูลสาธารณะในการตัดสินใจนั้น
พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่ก�ำหนดไว้อย่างชัดเจนได้รับการยอมรับทุ่มเทและจัดการผ่านทาง กฎหมายหรือวิธีการอื่นๆ ที่มีประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์ธรรมชาติในระยะยาว ด้วยบริการระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องและคุณค่าทางวัฒนธรรม
บริหารด้วยวิธีที่ช่วยขจัดหรือลดความเสี่ยงเพื่อหลีกเลี่ยงอันตราย หรือการท�ำลายล้างทั้ง ภายในและภายนอก
สื่อส่งเสริมการขายการตลาดหรือการโฆษณาใด ๆ (รวมถึงเว็บไซต์) ที่ผลิตหรือจัด จ�ำหน่าย หรือในนามของธุรกิจการท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์หรือกิจกรรมของ บริษัท หรือที่อ้างอิงหรือแสดงหรือบ่งบอกถึงความเกี่ยวข้องกับธุรกิจการท่องเที่ยว
ด�ำเนินการเพื่อให้ผู้คนตระหนักถึงบางสิ่งหรือบางแห่งเพื่อเพิ่มยอดขายหรือความนิยม
รายชือ่ ธุรกิจและองค์กรทัง้ หมดทีจ่ ดั หาสินค้าและวัสดุสนิ้ เปลืองส�ำหรับธุรกิจการท่องเทีย่ ว
ความสามารถของประชากรหรือประชากรย่อยของสิ่งมีชีวิตที่ยังคงมีอยู่ในพื้นที่
ความเสียหายต่อสภาพสุขภาพความปลอดภัยหรือสวัสดิภาพของสัตว์มนุษย์พืชหรือ ทรัพย์สิน
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
คุณภาพ
Quality
ค�ำแปลภาษาไทย
รายชื่อซัพพลายเออร์ที่ต้องการ
Preferred supplier list
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
ความมีชีวิตของประชากร
ค�ำแปลภาษาไทย
Population viability
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
196 197
การลดความเสี่ยง ความไว การแสวงหาประโยชน์ทางเพศ
มีนัยส�ำคัญ รายการแบบใช้ครั้งเดียว การประเมินผลกระทบทางสังคม
Risk reduction Sensitivity Sexual exploitation
Significant Single-use item Social Impact Assessment
แผนการจัดการขยะมูลฝอย
ความต้องการพิเศษ สายพันธุ์ ไซต์ที่ส�ำคัญทางจิตวิญญาณ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ห่วงโซ่อุปทาน
ความยั่งยืน
Solid Waste Management Plan Special needs Species Spiritually important sites
Stakeholder Supply chain
Sustainability
ค�ำอธิบาย
GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
การใช้ทรัพยากรอย่างรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมเป็นธรรมต่อสังคมและเป็นไปได้ในเชิงเศรษฐกิจ เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้ในปัจจุบันคนรุ่นต่อไปในอนาคตจะไม่ถูกบุกรุก
ส่วนประกอบหลายอย่างรวมถึงที่พัก การเดินทาง และการทัศนศึกษา บาร์และร้าน อาหาร งานหัตถกรรม การผลิตอาหาร การก�ำจัดของเสียและโครงสร้างพื้นฐานที่รองรับ การท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว
บุคคลหรือกลุ่มที่มีความสนใจในการตัดสินใจหรือกิจกรรมใดๆ ขององค์กร
สถานที่ โครงสร้างวัตถุ พื้นที่ หรือลักษณะทางธรรมชาติ หรือพื้นที่ที่รัฐบาลแห่งชาติ หรือ ชุมชนจัดขึ้นเพื่อให้มีความส�ำคัญเป็นพิเศษตามประเพณีของชุมชนพื้นเมืองหรือท้องถิ่น เนื่องจากความส�ำคัญทางศาสนาจิตวิญญาณหรือวัฒนธรรม
ประเภทของสัตว์พืชหรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่สมาชิกมีลักษณะส�ำคัญเหมือนกันและสามารถ ผสมพันธุ์กันได้
ข้อก�ำหนดส่วนบุคคลของบุคคลที่มีความบกพร่องทางจิตใจอารมณ์หรือร่างกาย
กลยุทธ์ในการลดปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกส่งไปฝังกลบ โดยลดแหล่งที่มาของขยะและ การน�ำกลับมาใช้ใหม่ หรือรีไซเคิลให้ได้มากที่สุด ตามแผนการจัดการควรมีเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ที่เป็นรูปธรรมตลอดจนตัวชี้วัดผลการด�ำเนินงาน
สารปนเปื้อนในดินคือ สารเคมีสารอาหารหรือองค์ประกอบที่มีมากกว่าปกติหรือมีความ เข้มข้นตามธรรมชาติในดินอันเป็นผลมาจากการกระท�ำของมนุษย์ ตัวท�ำลาย ยาฆ่าแมลง และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเป็นสารปนเปื้อนในท้องถิ่นที่พบในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ขนาด เล็ก เช่น จากถังเก็บเชื้อเพลิงที่รั่ว
ค�ำอธิบาย
กระบวนการวิเคราะห์ติดตามและจัดการผลลัพธ์ทางสังคมที่ตั้งใจและไม่ได้ตั้งใจทั้งในเชิง บวกและเชิงลบของการแทรกแซงตามแผน (นโยบายแผนงานแผนงานที่คาดการณ์ไว้) และกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมใดๆ ที่เกิดจากการแทรกแซงเหล่านั้น จุด ประสงค์หลักคือเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมทางชีวฟิสิกส์และมนุษย์ที่ยั่งยืนและเท่าเทียม กันมากขึ้น
ผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ที่ตั้งใจจะทิ้งหลังจากใช้งานเพียงครั้งเดียว
ของจ�ำนวนมากอย่างเห็นได้ชัดหรือวัดผลได้มีหรือมีแนวโน้มที่จะมีอิทธิพลหรือผลกระทบ
การแสวงหาประโยชน์ทางเพศคือ การล่วงละเมิดทางเพศของชายและหญิงทุกช่วงอายุ โดยการแลกเปลี่ยนทางเพศหรือการกระท�ำทางเพศ ส�ำหรับยา อาหาร ที่พักพิง การ คุ้มครองพื้นฐานอื่นๆ ของชีวิต และ/หรือ เงิน
ระดับที่ได้รับผลกระทบหรือเปลี่ยนแปลงได้ง่ายจากอิทธิพลภายนอก
จัดการกับชุดของความเสี่ยงเพื่อลดโอกาสที่จะเกิดขึ้นหรือผลที่ตามมาของการเกิดขึ้นหรือ ทั้งสองอย่าง
การระบุการวิเคราะห์การประเมินการควบคุมและการหลีกเลี่ยงการลดหรือก�ำจัดความ เสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้
การบูรณะเป็นกระบวนการทางนิเวศวิทยาในการคืนสภาพพื้นที่ให้เป็นภูมิทัศน์และที่อยู่ อาศัยตามธรรมชาติปลอดภัยส�ำหรับมนุษย์สัตว์ป่าและชุมชนพืชหลังจากการเสื่อมโทรม หรือการท�ำลายระบบนิเวศบางรูปแบบ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
สารปนเปื้อนในดิน
Soil contaminants
ค�ำแปลภาษาไทย
การบริหารความเสี่ยง
Risk management
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
การฟื้นฟู
ค�ำแปลภาษาไทย
Restoration
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
198 199
การลงทุนที่ยั่งยืน วัสดุที่ยั่งยืน แนวทางปฏิบัติที่ยั่งยืน
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
Sustainable investment Sustainable materials Sustainable practices
Sustainable tourism
สายพันธุ์ที่ถูกคุกคาม สินทรัพย์การท่องเที่ยว สถานประกอบการที่เกี่ยวข้องกับ การท่องเที่ยว
ประเพณี โปร่งใส ค่า
Threatened Species Tourism assets Tourism-related enterprises
Tradition Transparent Values
ค�ำอธิบาย
GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
มาตรฐานที่มั่นคงยาวนาน ซึ่งผู้คนสั่งชีวิตและตัดสินใจเลือก
ปราศจากการเสแสร้งหรือหลอกลวง
รูปแบบความคิดการกระท�ำหรือพฤติกรรมที่สืบทอดมา ก�ำหนดขึ้นหรือเป็นประเพณี
องค์กรที่ส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย ซึ่งประกอบไปด้วยประสบการณ์ของผู้เยี่ยมชม สิ่งเหล่านี้อาจรวมถึงการขนส่ง ที่พัก การจัดเลี้ยง ทรัพยากรธรรมชาติวัฒนธรรม การพัก ผ่อนหย่อนใจ ความบันเทิงและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก และบริการอื่นๆ เช่นร้านค้า ธนาคารมัคคุเทศก์ และผู้ประกอบการท่องเที่ยวอื่น ๆ
สิ่งอ�ำนวยความสะดวกหรือคุณลักษณะที่มีมูลค่า เพื่อประโยชน์ต่อประสบการณ์ของผู้ เยี่ยมชม
ค�ำว่าร่มส�ำหรับสิ่งมีชีวิตชนิดใดๆ ที่จัดอยู่ในประเภทที่ใกล้สูญพันธุ์หรือเสี่ยงต่อการสูญ พันธุ์โดย IUCN Red List of Threatened Species
ใช้ในทางที่ผิดและในอัตราที่ไม่น�ำไปสู่การเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมในระยะยาว ดังนั้น จึงยังคงรักษาศักยภาพเพื่อตอบสนองความต้องการและแรงบันดาลใจของคนรุ่นปัจจุบัน และอนาคต
ระหว่างวัฒนธรรม สร้างความมั่นใจในการด�ำเนินงานทางเศรษฐกิจในระยะยาวที่เป็นไป ได้โดยให้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดที่มีการกระจา ยอย่างเป็นธรรมรวมถึงโอกาสในการจ้างงานที่มั่นคงและโอกาสในการหารายได้และ บริการทางสังคมแก่ชุมชนที่เป็นเจ้าภาพ
ค�ำอธิบาย
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนค�ำนึงถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมใน ปัจจุบันและอนาคตโดยตอบสนองความต้องการของผู้มาเยือนอุตสาหกรรมสิ่งแวดล้อม และชุมชนเจ้าภาพ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนควรใช้ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักในการพัฒนาการท่องเที่ยวการรักษากระบวนการทาง นิเวศวิทยาที่ส�ำคัญและช่วยอนุรักษ์มรดกทางธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ เคารพความถูกต้องทางสังคมวัฒนธรรมของชุมชนเจ้าบ้าน อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมที่ สร้างขึ้นและมีชีวิตและคุณค่าดั้งเดิม และมีส่วนร่วมในความเข้าใจและความอดทน
แนวทางปฏิบัติที่ยั่งยืนถูกน�ำมาใช้เพื่อขจัดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมในเชิงลบในการ ออกแบบการก่อสร้าง การบูรณะ หรือการรื้อถอนอาคาร หรือโครงสร้าง ตัวอย่างเช่น การผสมผสานประสิทธิภาพการใช้พลังงานการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตลอดวงจรชีวิตของโครงสร้างการใช้แสงธรรมชาติและวัสดุที่มีผลกระทบต�่ำ และเชื่อมต่อ ผู้ใช้กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
วัสดุทยี่ งั่ ยืนให้ประโยชน์ดา้ นสิง่ แวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจในขณะทีป่ กป้องสุขภาพของ ประชาชนและสิง่ แวดล้อมตลอดวงจรชีวติ ตัง้ แต่การสกัดวัตถุดบิ จนถึงการก�ำจัดขัน้ สุดท้าย
แนวทางการลงทุนที่ค�ำนึงถึงสังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งผลตอบแทนทางการเงิน
กลยุทธ์ปลายทางที่ยั่งยืนคือแผนการด�ำเนินการ โดยอาศัยการปรึกษาหารือและการมี ส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งก�ำหนดวิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์และทิศทาง ส�ำหรับการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในแหล่งท่องเที่ยวที่ตกลงกันไว้และออกแบบมาเพื่อใช้เป็นพื้นฐานใน การระบุการด�ำเนินการจัดการปลายทาง
ระบบการจัดการ (ชุดขององค์ประกอบที่สัมพันธ์กัน) เพื่อก�ำหนดนโยบายและ วัตถุประสงค์ และกระบวนการด้านความยั่งยืน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์เหล่านั้น
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
Sustainable utilization
ค�ำแปลภาษาไทย
กลยุทธ์ปลายทางที่ยั่งยืน
Sustainable Destination Strategy
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
ระบบการจัดการความยั่งยืน
ค�ำแปลภาษาไทย
Sustainability Management System
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
200
การจัดการผู้เยี่ยมชม
น�้ำเสีย
คุณภาพน�้ำ การดูแลน�้ำ
สัตว์ป่า สัตว์ป่า ปฏิสัมพันธ์ของสัตว์ป่า
Visitor management
Wastewater
Water quality Water stewardship
Wild animal Wildlife Wildlife interaction
การสัมผัสของมนุษย์โดยเจตนาหรืออย่างอื่นใดกับชนิดของสัตว์ที่มีชีวิตหรือปลูกพืชใน สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
สิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์หรือถูกเลี้ยงในบ้าน
สมาชิกของสัตว์สายพันธุ์ใดๆ ที่รู้จักกันหรือเคยมีมาแล้วว่าสามารถอาศัยอยู่ในสภาพ ธรรมชาติที่ไม่ได้รับการก�ำจัด
การดูแลน�้ำเป็นเรื่องของการด�ำเนินการเพื่อช่วยให้มั่นใจว่าน�้ำได้รับการจัดการอย่างยั่งยืน ในฐานะทรัพยากรสาธารณะทีใ่ ช้รว่ มกัน สามารถนิยามได้วา่ เป็นการใช้นำ�้ ทีม่ คี วามเท่าเทียม กันทางสังคมยัง่ ยืนต่อสิง่ แวดล้อมและเป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ซึง่ ท�ำได้โดยกระบวนการ รวมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียซึ่งเกี่ยวข้องกับการด�ำเนินการตามพื้นที่และแหล่งกักเก็บน�้ำ
ลักษณะทางกายภาพเคมีชีวภาพและความงาม (ลักษณะและกลิ่น) ของน�้ำ
น�้ำเสียคือน�้ำใดๆ ที่ได้รับผลกระทบด้านคุณภาพจากอิทธิพลของมนุษย์ น�้ำเสียอาจเกิด จากการรวมกันของกิจกรรมในบ้าน อุตสาหกรรมการค้า หรือการเกษตร การไหลบ่าบน ผิวน�้ำหรือสตอร์มวอเตอร์และจากการไหลเข้าของท่อระบายน�้ำหรือการแทรกซึม
การจัดการการเคลื่อนไหวของผู้เยี่ยมชม และการมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้เยี่ยมชม เพื่อปกป้องคุณค่าและคุณลักษณะของปลายทางหรือไซต์ และน�ำไปสู่ประสบการณ์ของผู้ เยี่ยมชมที่มีคุณภาพสูง
ตรวจสอบ เพื่อพิสูจน์แสดงค้นหาหรือระบุว่า (บางสิ่ง) เป็นจริงหรือถูกต้อง
ค�ำอธิบาย
GSTC-D Version 2.0
*แหล่งที่มาของข้อมูล https://www.gstcouncil.org/gstc-criteria/glossary/ และแปลเป็นภาษาไทย โดยทางทีมงานวิจัยของที่ปรึกษา
การยืนยัน
ค�ำแปลภาษาไทย
Verification
ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ตัวอย่าง
Stakeholder and Document mapping
Version 2.0
ค. คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ G S T C - D
ภาคผนวก
201
202 203
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
แผนพัฒนาเมือง พัทยา NEO 2563-2565
แผนพัฒนา เมืองพัทยา NEO 2563-2565
ความเชื่อมโยง สอดคล้องระหว่าง ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ เมืองพัทยาตาม แนวทาง NEO PATTAYA
เมืองพัทยา
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
c. หลักฐานที่แสดงถึงการมี ส่วนที่ 4 การนํา ความเชื่อมโยงและมี แผนพัฒนาเมือง ส่วนร่วมกับหน่วยงานอืน่ ๆ พัทยาสี่ป (พ.ศ. 2561 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ
ตัวชี้วัด
เมืองพัทยา
ส่วนที่ 4 การนํา แผนพัฒนาเมือง พัทยาสี่ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ ความเชื่อมโยง สอดคล้องระหว่าง ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์เมือง พัทยาตาม แนวทาง NEO PATTAYA
เมืองพัทยา
Pattaya City Structure 2559
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
- กลุ่มบุคคลนี้จะต้องมีบุคลากร ที่เพียงพอในการท�ำงาน (รวมถึง จะต้องมีผู้มีประสบการณ์ในด้าน ความยั่งยืนด้วย) และจะต้อง ปฏิบัติงานตามหลักการความยั่งยืน และมีความโปร่งใส
เกณฑ์ GSTC V.2
A1 ความรับผิดชอบด้านการจัดการ a. เอกสารหลักฐานที่แสดง แหล่งท่องเที่ยว (Destination ถึงการจัดตั้งหรือ Management responsibility) โครงสร้างของคณะบุคคล - แหล่งท่องเที่ยวมีหน่วยงาน ส่วนงาน ทีไ่ ด้รับมอบหมาย กลุ่ม หรือคณะกรรมการ ที่มี และอ�ำนาจหน้าที่ของ ประสิทธิภาพที่จะรับผิดชอบเป็น คณะบุคคลนั้น ผูป้ ระสานงานเพือ่ สร้างการท่องเทีย่ ว อย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของ b. แผนการเงินและ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค งบประมาณที่แสดงให้เห็น ประชาชน แหล่งที่มาของเงินทั้งใน - กลุ่มบุคคลนี้จะต้องมีการก�ำหนด ปัจจุบนั และอนาคต หน้าที่ความรับผิดชอบ การก�ำกับ ดูแล และความสามารถในการลงมือ ปฏิบัติงาน เพื่อจัดการประเด็นด้าน สังคม-เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อม - ในการจัดการแหล่งท่องเที่ยว กลุ่ม บุคคลนี้จะต้องได้รับงบประมาณ ทีเ่ พียงพอ และสามารถท�ำงานร่วมกับ หน่วยงานหลากหลายรูปแบบได้
A(a) กรอบและโครงสร้างการจัดการ
ด้าน A การจัดการความยั่งยืน (Sustainable Management)
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
204 205
DASTA
e. แนวทางและกระบวนการ เมืองพัทยารับ การจัดการทีแ่ สดงถึงความ หนังสือรอส่งให้ ตระหนักรู้และการปฏิบัติ นายกเมืองพัทยา ตามหลักการความยั่งยืน และความโปร่งใสในการ ท�ำงานและการกระท�ำ สัญญาใดๆ
ตัวชี้วัด
ความเชื่อมโยง สอดคล้องระหว่าง ยุทธศาสตร์ เมืองพัทยาตาม แนวทาง NEO PATTAYA
แผนพัฒนา เมืองพัทยา NEO 2563-2565
พัฒนาการ ท่องเที่ยวโดย ชุมชนอย่างยั่งยืน และสร้างสรรค์ พ.ศ. 2561-2565
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
- โดยการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์และ แผนปฏิบัติการจะต้องด�ำเนินการ ผ่านการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย และอยู่บนหลักการของความยั่งยืน - แผนยุทธศาสตร์จะต้องมีการระบุถึง และการประเมินสินทรัพย์ด้านการ ท่องเที่ยวและควรมีการพิจารณาถึง ประเด็นและความเสี่ยงด้าน สังคม-เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อม - แผนยุทธศาสตร์จะต้องมีส่วน เกี่ยวข้องต่อนโยบายและมีอิทธิพล ต่อและการท�ำงานในด้านการพัฒนา ความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยว ในภาพกว้างอีกด้วย
เกณฑ์ GSTC V.2
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
แผนปฏิบัติการ ขับเคลื่อนการ
เอกสารหลักฐาน DASTA เพิม่ เติม GSTC A1 เมืองพัทยา แผนยุทธศาสตร์ ส�ำนักส่งเสริม การขับเคลื่อน การท่องเที่ยว นาเกลือ
DASTA
1.1 Sustainability Coordinator 1.2 JD ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายปฏิบัติการ
d. รายชื่อพนักงานประจ�ำ และพนักงานชั่วคราว พร้อมระบุประสบการณ์ที่ ตรงกับต�ำแหน่งงานหน้าที่
ตัวชี้วัด
A2 ยุทธศาสตร์การจัดการ a. มีการเผยแพร่เอกสาร แหล่งท่องเที่ยวและแผนปฏิบัติการ แผนยุทธศาสตร์และ (Destination management แผนปฏิบัติการของแหล่ง strategy and action plan) ท่องเที่ยวฉบับที่ใช้ใน - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการจัดท�ำ ปัจจุบัน และใช้แผนยุทธศาสตร์การจัดการ แหล่งท่องเที่ยวระยะยาว และมีแผน ปฏิบัติการที่เหมาะสมและสามารถ เปิดเผยให้สาธารณชนรับทราบได้
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
จังหวัดและกลุ่ม จังหวัดแบบ บูรณาการ, ระเบียบกระทรวง มหาดไทยว่าด้วย การการจัดท�ำ แผนและประสาน แผนพัฒนาพื้นที่ ในระดับอ�ำเภอ และต�ำบล, ระเบียบกระทรวง มหาดไทย ว่าด้วย การจัดท�ำแผน พัฒนาขององค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น, พ.ร.บ. การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย, พ.ร.ฎ.จัดตั้ง องค์การบริหาร การพัฒนาพื้นที่ พิเศษเพื่อการ ท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
พ.ร.บ. ระเบียบ บริหารราชการ แผ่นดิน, พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมือง ที่ดี, พระราช กฤษฎีกาว่าด้วย การบริหารงาน
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
206 207
e. ระบุถึงความเกี่ยวโยง ระหว่างแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการกับ นโยบายการพัฒนาความ ยั่งยืนในภาพกว้าง (รวมถึง การบรรลุ SDGs)
ตัวชี้วัด
แผนยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อน นาเกลือ
d. แผนยุทธศาสตร์และแผน ปฏิบัติการมีการกล่าวถึง หลักการความยั่งยืนและ การประเมินสินทรัพย์ ประเด็นและความเสี่ยง ด้านการท่องเที่ยว
DASTA
เมืองพัทยา
DASTA
x ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
x ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
GSTC-D Version 2.0
ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวง การท่องเที่ยว และกีฬา เมืองพัทยา, DASTA
ส่วนที่ 4 การนํา เมืองพัทยา แผนพัฒนาเมือง พัทยาสี่ป (พ.ศ. 2561-2564) ไปสูการปฏิบัติ ส่วนที่ 5 การติดตาม และประเมินผล
แผนปฏิบัติ การขับเคลื่อน การพัฒนาการ ท่องเที่ยวโดย ชุมชนอย่างยั่งยืน และสร้างสรรค์ พ.ศ. 2561-2565
แผนยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อน นาเกลือ
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวง การท่องเที่ยว และกีฬา แผนปฏิบัติการ ขับเคลือ่ นการพัฒนา เมืองพัทยา, การท่องเที่ยวโดย DASTA ชุมชนอย่างยั่งยืน และสร้างสรรค์ พ.ศ. 2561-2565
รายงาน การประชุม 1.2563
แผนพัฒนา เมืองพัทยา NEO 2563-2565
เอกสารหลักฐาน เพิ่มเติม GSTC A1 -DASTA, Website
c. มีหลักฐานของการหารือ หรือการประชุมร่วมกับ ผู้มีส่วนได้เสียในการ ออกแบบแผนงาน
b. แผนยุทธศาสตร์/แผน การท�ำงานสามารถเข้าถึง ได้ง่ายและสามารถค้นหา แบบ on-line ได้
ตัวชี้วัด
A3 การติดตามและการรายงานผล a. มีการก�ำหนดตัวชี้วัดเชิง (Monitoring and reporting) ปริมาณเพื่อประเมินผล - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการสร้าง เชิงสังคม-เศรษฐกิจ ระบบในการติดตามดูแล และ วัฒนธรรม และ ตอบสนอประเด็นในเชิงเศรษฐกิจสิ่งแวดล้อม รวมถึงระบุ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม เป้าหมายทีช่ ัดเจน รวมถึงตอบสนองต่อผลกระทบต่างๆ อันเกิดการจากท่องเที่ยว - การด�ำเนินงานและผลลัพธ์จากการ ด�ำเนินงานจะต้องมีการก�ำกับดูแล ประเมิน และรายงานต่อสาธารณะ ให้ทราบอยู่เสมอ ทั้งนี้ระบบการ
เกณฑ์ GSTC V.2
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
208 209
ส่วนที่ 5 การติดตาม เมืองพัทยา และประเมินผล
c. มีหลักฐานทีเ่ ป็นลายลักษณ์ อักษรของการติดตามดูแล และการรายงานผลการ ด�ำเนินงานและผลลัพธ์ทไี่ ด้
d. มีเอกสารการแสดงถึงการ ทบทวนระบบและติดตาม ดูแลที่เคยท�ำขึ้นก่อนหน้า นี้ และมีการก�ำหนดการ ส�ำหรับการทบทวนระบบ ในอนาคต
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
A4 การมีสว่ นร่วมและการใช้มาตรฐาน a. หลักฐานที่แสดงถึงการ ความยั่งยืนของผู้ประกอบการ สื่อสารประเด็นด้านความ (Enterprise engagement and ยั่งยืนกับผู้ประกอบการ sustainability standards) ด้านการท่องเที่ยวอย่าง - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการให้ข้อมูล สม�่ำเสมอ (สื่อ การประชุม กับผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว การพูดคุยโดยตรง ฯลฯ) ในเรื่องประเด็นด้านความยั่งยืนอยู่ เสมอ รวมถึงส่งเสริมและสนับสนุน b. มีการสนับสนุนและให้ ให้ผู้ประกอบการเหล่านั้นด�ำเนิน ค�ำแนะน�ำในเรื่องความ กิจการให้มีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น ยั่งยืนกับผู้ประกอบการ - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องสนับสนุน ด้านการท่องเที่ยว การน�ำเอามาตรฐานความยั่งยืน มาใช้โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ c. จ�ำนวนและร้อยละของ ผู้ประกอบการน�ำมาตรฐานที่ผ่าน ธุรกิจที่ได้รับการรับรอง GSTC-I Recognized มาใช้ และ มาตรฐานด้านความยั่งยืน เข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐานที่ (GSTC recognized/ ผ่าน GSTC-I Accredited ในกรณี accredited ก็ได้) โดยมี ที่ผู้ประกอบการนั้นมีขีดความ การตั้งเป้าหมายขยาย สามารถที่ท�ำได้ ขอบข่ายให้กว้างขึ้น - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการเผยแพร่ รายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับการ รับรองมาตรฐานความยั่งยืน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
A(b) การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Engagement)
ตัวชี้วัด
ส่วนที่ 4 การนํา เมืองพัทยา แผนพัฒนา เมืองพัทยาสี่ป (พ.ศ. 2561 – 2564) ไปสู การปฏิบัติ ส่วนที่ 5 การติดตาม และประเมินผล
b. การประเมินผลตามตัว ชี้วัดที่ก�ำหนดขึ้นจะต้อง มีการบันทึกและรายงาน สู่สาธารณะอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง
ติดตามจะต้องได้รับการทบทวนและ ปรับปรุงอยู่เสมอ
สรุปรายงาน ติดตามผลตาม แผน 61-65 ปี 62
ส่วนที่ 4 การนํา เมืองพัทยา แผนพัฒนาเมือง พัทยาสี่ป (พ.ศ. 2561 – 2564) ไปสูการปฏิบัติ ส่วนที่ 5 การติดตาม และประเมินผล
ตัวชี้วัด
เกณฑ์ GSTC V.2
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
210 211
ตัวชี้วัด
เกณฑ์ GSTC V.2
a. มีการส�ำรวจ (และมีกลไก อื่นๆ) ที่จะได้มาซึ่งความ คิดเห็นของนักท่องเที่ยว รวมถึงมีการรายงานผล การส�ำรวจด้วย
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
10.1 รายงานสรุป DASTA ผลแบบสอบถาม ความพึงพอใจ 10.2 เอกสาร หลักฐานเพิ่มเติม GSTC A10
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
DASTA เอกสารหลักฐาน เพิ่มเติม GSTC B4
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ x เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
เมืองพัทยา Old-town-3
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
A6 การมีส่วนร่วมและข้อเสนอแนะ ของนักท่องเที่ยว (Visitor engagement and feedback) - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีระบบการ ติดตามดูแล และรายงานความ พึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อ
ชุมชนท้องถิ่นที่มีต่อการท่องเที่ยว c. มีการส�ำรวจและมีกลไก อย่างยั่งยืนและการจัดการแหล่ง อื่นๆ ที่จะได้มาซึ่งความ ท่องเที่ยว พร้อมกับมีการปฏิบัติงาน เห็นและข้อเสนอแนะของ เพื่อตอบสนองประเด็นนั้นๆ ของ ผู้อยูอ่ าศัย ซึ่งครอบคลุม ชุมชนท้องถิ่นอยู่เสมอ ประเด็นการท่องเที่ยว - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีระบบ ที่จะเสริมสร้างความเข้าใจให้แก่ d. หลักฐานของการ คนในท้องถิ่นเกี่ยวกับโอกาสและ ปฎิบัติการเพื่อตอบสนอง ความท้าทายด้านการท่องเที่ยวอย่าง ต่อข้อเสนอแนะของ ยั่งยืนและสร้างขีดความสามารถของ ผู้อยู่อาศัย ชุมชนเพื่อให้สามารถตอบสนองต่อ โอกาสและความท้าทายนั้นๆ e. มีโปรแกรมการให้ข้อมูล ให้ความรู้ และอบรมใน เรื่องการท่องเที่ยวให้แก่ผู้ อยู่อาศัย
b. ข้อมูลของประเภทและ ระดับของการมีส่วนร่วม นั้นๆ
เมืองพัทยา
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
e. รายชื่อของธุรกิจที่ได้รับ การรับรองมาตรฐานความ ยั่งยืนและมีการปรับปรุง รายชื่อให้ทันสมัยตลอด เวลา a. หลักฐานการสนับสนุน Old-town-3 และการอ�ำนวยความ สะดวกให้เกิดการมี ส่วนร่วมของสาธารณะ ในการวางแผนและ การจัดการแหล่งท่องเที่ยว
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
d. หลักฐานการสนับสนุนการ เข้าสู่ระบบการรับรอง มาตรฐานความยั่งยืน
ตัวชี้วัด
A5 การมีส่วนร่วมและข้อเสนอแนะ ของผู้อยู่อาศัย (Resident engagement and feedback) - แหล่งท่องเที่ยวมีการเปิดโอกาส และสนับสนุนให้สาธาณชนมีส่วน ในการวางแผนและจัดการแหล่ง ท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน - มีการติดตามดูแลและรายงานให้ สาธารณะทราบถึงความปรารถนา ข้อกังวล และความพึงพอใจของ
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
212 213
ตัวชี้วัด
c. หลักฐานที่แสดงถึงการ เอกสารหลักฐาน ปรึกษาหารือกับคนท้องถิน่ เพิ่มเติม GSTC ในแหล่งท่องเที่ยว และ B4 หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ในการจัดท�ำ และน�ำเสนอเนื้อหาต่างๆ
b. มีกระบวนการตรวจสอบ ความถูกต้องและความ เหมาะสมของข้อมูลและ การโปรโมทแหล่งท่องเทีย่ ว
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
A8 การจัดการปริมาณนักท่องเที่ยว a. แผนยุทธศาสตร์และแผน และกิจกรรมการท่องเทีย่ ว (Managing ปฏิบัติการของการจัดการ visitor volumes and activities) แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมี - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีระบบในการ การจัดการฤดูกาลท่องเทีย่ ว จัดการนักท่องเที่ยว โดยระบบนั้น และการกระจายตัวของ จะต้องมีการทบทวนปรับปรุงอยูเ่ สมอ นักท่องเที่ยว
DASTA
ททท.
ทกจ.
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
a. ข้อมูลและเอกสารโปรโมท Chonburi แหล่งท่องเที่ยวฉบับ Travel ปัจจุบันที่มีเนื้อหาที่ Calendar เหมาะสม ชลบุรี TAT
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ x เอกชน
10.1 รายงานสรุป DASTA ผลแบบสอบถาม ความพึงพอใจ 10.2 เอกสารหลัก ฐานเพิ่มเติม GSTC A10
x ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ x เอกชน
10.1 รายงานสรุป DASTA ผลแบบสอบถาม ความพึงพอใจ 11.3 ช่องทางการ ร้องเรียน
11.3 ช่องทางการ ร้องเรียน
A(c) การจัดการแรงกดดันและการเปลี่ยนแปลง (Managing pressure and change)
A7 การส่งเสริมการท่องเที่ยว และ การให้ข้อมูล (Promotion and information) - การส่งเสริมการท่องเที่ยว และ การให้ข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยวแก่ นักท่องเที่ยวจะต้องถูกต้องตรง ตามที่กล่าวไว้จริง ไม่ว่าจะในเรื่อง ของผลิตภัณฑ์ การบริการ และ ความยั่งยืน - ข้อความทางการตลาดและ การสื่อสารอื่นๆ จะต้องสะท้อนถึง คุณค่าของแหล่งท่องเที่ยวนั้น และ แสดงให้เห็นถึงการมุ่งไปสู่ความ ยั่งยืน รวมถึงการปฏิบัติต่อคน ในท้องถิ่น ทั้งด้านวัฒนธรรมและ ธรรมชาติด้วยความเคารพ
เกณฑ์ GSTC V.2
d. ตัวอย่างของการให้ข้อมูล แก่นักท่องเที่ยวในเรื่อง ของความยั่งยืนและ การตอบสนองต่อประเด็น ด้านความยั่งยืน
สาธารณชนในเรื่องของคุณภาพและ ความยั่งยืนของประสบการณ์ใน แหล่งท่องเที่ยว และอาจต้องมีการ ตอบสนองในเชิงปฏิบัติหากจ�ำเป็น b. แบบส�ำรวจและข้อคิดเห็น - แหล่งท่องเที่ยวมีการให้ข้อมูล หรือข้อเสนอแนะที่รวมถึง ประเด็นด้านความยั่งยืนแก่นักท่อง ปฏิกิริยาของนักท่องเที่ยว เที่ยว พร้อมกับแนะน�ำบทบาทของ ต่อประเด็นด้านความ นักท่องเที่ยวว่าสามารถมีส่วนกับ ยั่งยืน ความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยวนั้นได้ อย่างไร c. หลักฐานของการปฏิบัติ การเพื่อตอบสนองต่อ ข้อค้นพบจากการส�ำรวจ หรือสอบถามความเห็น นักท่องเที่ยว
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
214 215
ตัวชี้วัด
การท่องเที่ยว และความ ต้องการของแหล่งท่องเทีย่ ว
ตัวชี้วัด
10.3 รายละเอียด จ้างออกแบบ โครงการที่จอดรถ
เมืองพัทยา 23. พระราช บัญญัติ ควบคุม อาคาร พ.ศ. 2522 พร้อมด้วย (แก้ไข) เพิ่มเติ่ม 24. ข้อบัญญัติฯ ก�ำหนดบริเวณ ห้ามก่อสร้างฯ การใช้อาคาร ริมถนนพัทยา สายสอง ฯลฯ 25. ข้อบัญญัติฯ ก�ำหนดบริเวณ ห้ามก่อสร้างฯ การใช้อาคารริม ถนนจอมเทียน สายหนึ่ง
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
A9 กฎระเบียบในการวางแผนและ a. มีการรวบรวมเอกสาร การควบคุมการพัฒนา (Planning พร้อมระบุชื่ออกสารและ regulations and development วันที่ เช่น นโยบาย/กฎ control) ระเบียบ/แนวทางที่เฉพาะ - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีแนวทางเจาะจงเพือ่ การควบคุม การวางแผน กฎระเบียบ และ/หรือ การพัฒนา นโยบาย ที่ควบคุมที่ตั้งและลักษณะ ของการพัฒนา โดยมีการประเมิน ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม และบูรณาการ การใช้ที่ดิน รวมถึงการออกแบบ การก่อสร้าง และการรื้อถอนของ ที่ดินอย่างยั่งยืน - กฎระเบียบยังจะต้องน�ำไปใช้กับ การด�ำเนินงาน รวมถึงการให้เช่า อสังหาริมทรัพย์ และสัมปทานเพื่อ การท่องเที่ยว แนวทางกฎระเบียบ และนโยบายต้องถูกสร้างขึ้นผ่าน การมีส่วนร่วมของประชาชนและ มีการสื่อสารและบังคับใช้อย่าง แพร่หลาย
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
e. กลยุทธ์การตลาดและ การเลือกเป้าหมาย ทางการตลาดค�ำนึงถึง รูปแบบของการท่องเที่ยว ผลกระทบของกิจกรรม
เมืองพัทยา
Old-Town-2
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
เมืองพัทยา
Old-Town-2 Old-town-3
d. มีการจัดการการเคลือ่ นไหว (Flow) ของนักท่องเที่ยว และผลกระทบ
- แหล่งท่องเที่ยวมีการด�ำเนินการ b. มีการติดตามดูแลตัวแปร ติดตามดูแลและจัดการปริมาณของ ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณ นักท่องเที่ยวและปริมาณของ ของนักท่องเที่ยวตลอด กิจกรรมการท่องเที่ยวมีการลดหรือ ทัง้ ปี รวมถึงในสถานที่ เพิ่มปริมาณของนักท่องเที่ยวและ ท่องเที่ยวยอดนิยมด้วย ปริมาณของกิจกรรมการท่องเที่ยว หากมีความจ�ำเป็นตามความเหมาะสม c. มีการระบุถงึ ผลกระทบจาก จ�ำนวนของนักท่องเที่ยว ของห้วงเวลาและสถานที่นั้นๆ ทั้งนี้ และกิจกรรมการท่องเที่ยว จะต้องศึกษาความสมดุลระหว่าง โดยการท�ำการส�ำรวจแบบ ความต้องการของเศรษฐกิจ ชุมชม สังเกตการณ์และสอบถาม มรดกทางวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ข้อคิดเห็นจากชุมชนและ ที่อยู่ในท้องถิ่นด้วย ผู้มีส่วนได้เสีย
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
พ.ร.บ. การผังเมือง 2562 พ.ร.บ. ควบคุม อาคาร 2522
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
216 217
เกณฑ์ GSTC V.2
เกณฑ์ GSTC V.2
รื้อ “บ้านสุขาวดี” ล้มไม่เป็นท่า เมือง พัทยาเจอหมัดสวน ศาลปกครอง ระยอง สั่งทุเลา
รื้อบ้านสุขาวดี DASTA ภายใน 15 วัน ปมรุกที่สาธารณะ 11 ไร่ ไม่ยอมท�ำ พร้อมรื้อถอนทันที
เมืองพัทยา
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
f. หลักฐานการสื่อสารและ การบังคับใช้ นโยบาย/ กฎระเบียบ/แนวทางใน ขั้นตอนการวางแผน การพัฒนา และการลงมือ ปฏิบัติ
e. หลักฐานการปรึกษาหารือ Old-town-3 และความยินยอมจากคน พื้นเมืองหรือกลุ่มชาติพันธุ์ เมื่อมีการเสนอหรือมีการ พัฒนาการท่องเทีย่ วเกิดขึน้ ในพื้นที่ของคนเหล่านั้น
d. หลักฐานการมีสว่ นร่วมของ สาธารณะในการพัฒนา นโยบาย/กฎระเบียบ/ แนวทางต่างๆ
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
c. กฎระเบียบเฉพาะทีเ่ กีย่ วกับ การให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ และการด�ำเนินงานเพื่อ การท่องเทีย่ วพร้อมหลักฐาน การน�ำไปปรับใช้และ การบังคับใช้
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
10.4 รายละเอียด จ้างออกแบบ โครงการแหล่ง ท่องเที่ยวธรรมชาติ นาเกลือ 10.5 แผนโครงการ งบประมาณ 2564 10.6 สัญญาจ้าง ก่อสร้างที่จอดรถ b. มีข้อก�ำหนดการประเมิน ผลกระทบที่ครอบคลุมใน เรื่องสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม-วัฒนธรรมใน ขอบข่ายทีเ่ พียงพอทีส่ ามารถ ระบุได้ถึงประเด็นในเชิง ระยะยาวของแหล่งท่องเทีย่ ว
ตัวชี้วัด
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
218 219
ตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
แผนบริหารความ พร้อมต่อสภาวะ วิกฤต
เมืองพัทยา
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
GSTC-D Version 2.0
ส�ำนักปลัดเมือง พัทยา
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
e. มีการสื่อสารข้อมูลการ เปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมิอากาศสู่สาธารณะ
แผนปฏิบัติการ ป้องกันและช่วย เหลือผู้ประสบภัย ทางทะเลพื้นที่ ชายหาดเมือง พัทยาประจ�ำปี 2563
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
d. หลักฐานการพิจารณา ผลกระทบและการช่วย ส่งเสริมของระบบนิเวศใน ท้องถิ่นในการปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ
ตัวชี้วัด
A11 การจัดการความเสี่ยงและ a. มีการจัดท�ำเอกสาร วิกฤตการณ์ (Risk and crisis แผนการลดความเสี่ยง management) การจัดการวิกฤตการณ์ - แหล่งท่องเที่ยวมีการลดความเสี่ยง และแผนรับมือเหตุฉกุ เฉิน การจัดการวิกฤตการณ์ และ ส�ำหรับการท่องเที่ยวใน แผนรับมือเหตุฉุกเฉินที่เหมาะสม แหล่งท่องเที่ยว กับแหล่งท่องเที่ยวนั้น - มีการสื่อสารข้อมูล/รายละเอียด ทีส่ ำ� คัญ ให้แก่ผอู้ ยูอ่ าศัย นักท่องเทีย่ ว และสถานประกอบการต่างๆ
เกณฑ์ GSTC V.2
A10 การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง a. ยุทธศาสตร์การจัดการ ของสภาพภูมิอากาศ (Climate แหล่งท่องเที่ยวและแผน change adaptation) ปฏิบตั ิการจะต้องระบุถึง - แหล่งท่องเทีย่ วจะต้องระบุความเสีย่ ง และแก้ไขปัญหาเรื่อง และโอกาสที่เกี่ยวเนื่องกับการ สภาพภูมอิ ากาศ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ - กลยุทธ์การปรับตัวต่อการ b. กฎระเบียบ แนวทาง และ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีไว้ การจัดสรรพืน้ ที่เพื่อการ เพื่อเป็นแนวทาง ในการติดตั้ง พัฒนาการท่องเที่ยวและ การออกแบบ การพัฒนา และ กิจกรรมการท่องเทีย่ ว การจัดการสิ่งอ�ำนวยความสะดวก รองรับผลพวงของการ ด้านการท่องเที่ยว เปลี่ยนแปลงของสภาพ - ข้อมูลการคาดการณ์การเปลีย่ นแปลง ภูมิอากาศ ของสภาพภูมิอากาศ รวมถึงจะต้อง มีการเผยแพร่ข้อมูลความเสี่ยงที่ c. มีการจัดท�ำการประเมิน เกี่ยวข้องและสภาวะการณ์ในอนาคต ความเสี่ยงทั้งในปัจจุบัน ให้แก่ผู้อยู่อาศัย ภาคธุรกิจ และ และอนาคต และรายงาน นักท่องเที่ยวให้ได้ทราบ ให้สาธารณะทราบ
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
พ.ร.บ.ป้องกัน และบรรเทา สาธารณภัย พ.ศ.2550
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
220 221
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
d. มีโปรแกรมส�ำหรับการให้ ข้อมูลและการฝึกอบรม เกี่ยวกับการจัดการความ เสี่ยงและวิกฤตการณ์แก่ คนในท้องถิ่น
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
c. มีขั้นตอนการสื่อสารที่ระบุ ไว้เพื่อใช้ในระหว่างและ หลังเกิดเหตุฉุกเฉิน
กระทรวง การท่องเที่ยว และกีฬา
Tourists statistics 64 - estimate
x ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
GSTC-D Version 2.0
สนง.สถิติจังหวัด
2_ชลบุรี ข้อมูล เศรษฐกิจ 63
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
B1 การวัดผลงานทางเศรษฐกิจจาก a. มีโปรแกรมการเก็บข้อมูล การการท่องเที่ยว (Measuring the ทางรวบรวมเศรษฐกิจ economic contribution of tourism) - มีการติดตามดูแลผลงานทาง เศรษฐกิจที่เกิดจากการท่องเที่ยว ทั้งทางตรงและทางอ้อม และ b. มีรายงานประจ�ำปีของ รายงานให้สาธารณะทราบ ผลงานทางเศรษฐกิจที่เกิด - มีการใช้มาตรวัดผลที่เหมาะสม จากการท่องเที่ยวทั้งทาง เช่น ระดับจ�ำนวนของนักท่องเที่ยว ตรงและทางอ้อม การใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว การจ้าง งาน การลงทุน และหลักฐานอื่นๆ ที่แสดงถึงการกระจายตัวของ c. ข้อมูลจะต้องครอบคลุม ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ มาตรวัดผลของผลกระทบ ทางเศรษฐกิจที่หลาก หลาย (เช่น จ�ำนวนนัก ท่องเที่ยว การใช้จ่าย การ จ้างงาน การลงทุน และ การกระจายตัวของผล ประโยชน์ทางเศรษฐกิจใน แหล่งท่องเที่ยว)
B(a) การน�ำผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมาสู่ชุมชน (Delivering local economic benefits) ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
แผนบูรณาการ ร่วมป้องกันและ รักษาความ ปลอดภัยพัทยา b. ในแผนมีการค�ำนึงถึงรูปแบบ ความเสี่ยงที่หลากหลาย ซึ่งรวมถึงภัยธรรมชาติ การก่อการร้าย สุขอนามัย ภาวะขาดแคลนทรัพยากร และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ แหล่งท่องเที่ยวนั้น
ตัวชี้วัด
ด้าน B ความยั่งยืนด้านสังคม-เศรษฐกิจ (Socio-economic sustainability)
เกณฑ์ GSTC V.2
- มีการจัดท�ำขั้นตอนการด�ำเนินงาน และเตรียมทรัพยากรในการรับมือ กับเหตุฉุกเฉิน เพื่อให้พร้อมต่อ ด�ำเนินการตามแผนอยู่เสมอและ มีการปรับปรุงแผน/ขั้นตอนอยู่ เป็นประจ�ำ
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
222 223
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
a. มีโปรแกรม/หลักสูตร ฝึกอบรมทักษะที่เกี่ยวข้อง ให้แก่คนในท้องถิ่น
b. มีแถลงการณ์หรือข้อ สัญญาของผู้ประกอบการ ในการให้งานที่ดี/และ โอกาสในการประกอบ อาชีพ c. มีการส่งเสริมให้มีการ ฝึกอบรมและโอกาส ในการจ้างงานให้แก่คน ในท้องถิ่น รวมถึงผู้หญิง เยาวชน ชนกลุ่มน้อย และผู้ที่มีความบกพร่อง d. มีชอ่ งทางในการตรวจสอบ สภาพการท�ำงานและรับฟัง/ จัดการความไม่พอใจของ ลูกจ้าง (เช่น การมีส่วน ร่วมของสหภาพแรงงาน)
B2 งานที่ดี และโอกาสทางอาชีพ (Decent work and career opportunities) - แหล่งท่องเที่ยวมีการส่งเสริมและ สนับสนุนโอกาสในการท�ำงานและ การฝึกอบรมด้านการท่องเที่ยว - ผู้ประกอบการในแหล่งท่องเที่ยว มุ่งมั่นที่จะให้โอกาสที่เท่าเทียมกัน ส�ำหรับการจ้างงานคนในท้องถิ่น การฝึกอบรมและความก้าวหน้า ในการท�ำงาน รวมถึงการท�ำให้ สภาพแวดล้อมการท�ำงานนั้น ปลอดภัยและมั่นคง และให้ค่า ครองชีพที่เหมาะสมแก่ทุกคน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
b. มีการช่วยเหลือด้าน การเข้าถึงตลาดการค้าให้ แก่ธุรกิจ SMEs ด้าน การท่องเที่ยว c. มีการสนับสนุนและ ช่วยเหลือผู้ประกอบการ ธุรกิจท่องเที่ยวท้องถิ่น ให้ซื้อสินค้าและบริการ ในท้องถิ่น d. มีการริเริ่มการให้ความ ช่วยเหลือแก่เกษตรกร ศิลปิน และผู้ผลิตอาหาร ในท้องถิ่น ในการเข้าสู่ ห่วงโซ่อุปทานของการ ท่องเที่ยว
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
a. มีการให้ค�ำปรึกษา ให้การสนับสนุนทางการเงิน หรือการสนับสนุนอื่นๆ ให้แก่ธุรกิจ SMEs ด้าน การท่องเที่ยว B3 การสนับสนุนผู้ประกอบการ ท้องถิ่นและการค้าที่เป็นธรรม (Supporting local entrepreneurs and fair trade) - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีระบบสนับสนุน ให้รายได้จากการท่องเทีย่ วหมุนเวียน อยู่ในระบบเศรษฐกิจของท้องถิ่นโดย ได้รับการสนับสนุนจากผู้ประกอบ การท้องถิ่น ห่วงโซ่อุปทาน และ การลงทุนอย่างยั่งยืน - แหล่งท่องเที่ยวมีการสนับสนุน การพัฒนาและการซื้อผลิตภัณฑ์ ท้องถิ่นที่ยั่งยืนบนฐานของหลักการ การค้าที่เป็นธรรม และสะท้อนถึง เอกลักษณ์ทางธรรมชาติและ วัฒนธรรมของพื้นที่นั้น ซึ่งอาจจะ ครอบคลุมถึงอาหารและเครื่องดื่ม การศิลปหัตถกรรม การแสดง สินค้า การเกษตร และอื่นๆ
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ตัวชี้วัด
เกณฑ์ GSTC V.2
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ตัวชี้วัด
เกณฑ์ GSTC V.2
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
224 225
e. มีการระบุถึง การ สนับสนุน และการเปิด โอกาสให้ผลิตภัณฑ์และ งานศิลปหัตถกรรมท้องถิ่น จ�ำหน่ายให้แก่นกั ท่องเทีย่ ว ในแหล่งท่องเที่ยว
ตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
x ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ทกจ. ททท. สํานัก พัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัด, กระทรวงการ พัฒนาสังคม และ ความมั่นคงของ มนุษย์
B5 การป้องกันการแสวงหาผล a. มีข้อมูลอ้างอิงกฎหมาย ประโยชน์โดยมิชอบและการเลือก (อ้างถึงมาตรา และวัน ปฏิบัติ (Preventing exploitation ประกาศใช้) ที่เกี่ยวข้อง and discrimination) กับเรื่องสิทธิมนุษยชน - แหล่งท่องเที่ยวต้องปฏิบัติตาม การแสวงหาผลประโยชน์ มาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชนในระดับ ส่วนตน การเลือกปฏิบัติ นานาชาติ และการล่วงละเมิดต่อ - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีกฎหมาย บุคคลอื่น ข้อปฏิบัติ และแนวทางในการปฏิบัติ ในการป้องกัน และรายงานถึงปัญหา b. มีหลักฐานที่แสดงให้เห็น ด้านการค้ามนุษย์ การใช้แรงงานเยีย่ ง ว่ามีการสื่อสารให้ข้อมูล ทาส และการค้าทาส และการค้า และการบังคับใช้กฎหมาย ประเวณี หรือการแสวงหาผลประโยชน์ ตามข้อ a. และมีการให้ โดยมิชอบในรูปแบบอื่น การเลือก แนวทางปฏิบัติที่ดี ปฏิบัติ และการรังแกบุคคลใดๆ (รวมถึงธุรกิจท่องเที่ยว โดยเฉพาะเด็ก วัยรุ่น ผู้หญิง กลุ่มเพศ และนักท่องเที่ยว) ทางเลือก และชนกลุ่มน้อยอื่นๆ
พระราชก�ำหนด แก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติ ป้องกันและ ปราบปรามการค้า มนุษย์ พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2562
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
b. สนับสนุนและจัดให้มี โครงการที่ส่งเสริมให้ นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วม ในการสนับสนุนชุมชน ท้องถิ่นและกิจกรรมริเริ่ม ด้านความยั่งยืน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
a. มีการส่งเสริมให้มีการ สนับสนุนชุมชนท้องถิ่น และกิจกรรมริเริ่มด้าน ความยั่งยืน ซึ่งด�ำเนินการ โดยผู้ประกอบการการ ท่องเที่ยวในท้องถิ่น
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
c. การท�ำกิจกรรมอาสา สมัครและการมีส่วนร่วม กับชุมชนนั้นต้องไม่ เกี่ยวข้องกับการบุกรุก หรือการเอารัดเอาเปรียบ ชุมชน
เกณฑ์ GSTC V.2
B4 การสนับสนุนชุมชน (Support for community) - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่เปิดโอกาส และสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ นักท่องเที่ยว และสาธารณชน มีส่วนร่วมในชุมชนและจัดกิจกรรม ริเริ่มด้านความยั่งยืนอย่างมีความ รับผิดชอบ
B(b) ผลกระทบต่อชุมชนและสวัสดิภาพของชุมชน (Social wellbeing and impacts)
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
พ.ร.บ. ป้องกัน และปราบปราม การค้ามนุษย์ 2551 เพิ่มเติม 2562
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
226 227
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
x ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
c. มีหลักฐานของการบังคับ ใช้กฎหมายตามข้างต้นใน บริบทของการพัฒนาการ ท่องเที่ยวและกิจกรรมการ ท่องเที่ยว
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
b. กฎหมายในข้างต้นมีการ ระบุในเรื่องสิทธิชุมชน และชนพื้นเมืองการ ปรึกษาหารือเพื่อรับฟัง ความคิดเห็นสาธารณะ และการให้ออกจากพื้นที่ และตั้งถิ่นฐานใหม่
x ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
แผนสิทธิมนุษยชน สํานักพัฒนา แห่งชาติ ฉบับท่ี 4 สังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ จังหวัด
a. ในแหล่งท่องเที่ยว มี สิทธิชุมชน ตาม กฎหมายเฉพาะทีเ่ กีย่ วข้อง รัฐธรรมนูญ 2560 กับเรื่องกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สิน และสิทธิในการ ได้มาและครอบครอง รวมถึงสิทธิในการเข้าถึง ทรัพยากรต่างๆ (ชื่อ กฎหมาย มาตรา และวันที่ที่ประกาศใช้)
ตัวชี้วัด
d. แหล่งท่องเที่ยวและผู้มี ส่วนส�ำคัญในภาคการท่อง เที่ยวมีการลงนามเกี่ยวกับ จรรยาบรรณในการ ปกป้องเด็กจากการล่วง ละเมิดทางเพศในภาคการ เดินทางและการท่องเที่ยว (Code of Conduct for the Protection of Children from Sexual Exploitation in Travel and Tourism)
c. มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง และผลกระทบในเรื่อง สิทธิมนุษยชนอย่าง สม�่ำเสมอ ซึ่งรวมถึงการ ค้ามนุษย์ การใช้แรงงาน ทาสสมัยใหม่ และการใช้ แรงงานเด็ก
ตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
B6 กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและสิทธิ ทางกฎหมาย (Property and user rights) - มีการจัดท�ำเอกสารและบังคับใช้ กฎหมายและข้อบังคับเกี่ยวกับ กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและสิทธิ ในการครอบครอง - กฎหมายและข้อบังคับเหล่านั้นต้อง เคารพสิทธิชุมชนและชนพื้นเมือง และจะต้องมีการรับฟังความคิดเห็น จากสาธารณะด้วย - หากต้องมีการย้ายที่อยู่อาศัย ห้าม มิให้มีการด�ำเนินการโดยไม่แจ้ง ข้อมูลให้ทราบล่วงหน้า และจะต้อง มีการชดเชยอย่างเป็นธรรม และ ตรงไปตรงมา - กฎหมายและข้อบังคับเหล่านั้น ต้องปกป้องสิทธิทางกฎหมาย และ สิทธิในการเข้าถึงทรัพยากรที่ส�ำคัญ
เกณฑ์ GSTC V.2
- กฎหมายและข้อปฏิบัติจะต้อง มีการสื่อสารแก่สาธารณะและมี การบังคับใช้
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
สิทธิชุมชน (ตามรัฐธรรมนูญ)
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
228 229
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
x ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
c. มีข้อมูลเกี่ยวกับขอบเขต/ สัดส่วนของการเข้าถึง สถานที่ท่องเที่ยว และ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่ ผู้ต้องการความช่วยเหลือ เป็นพิเศษสามารถ เข้าถึงได้
แผนพัฒนาการ กระทรวง ท่องเที่ยวแห่งชาติ การท่องเทีย่ ว ฉบับที่ 2 และกีฬา
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
a. มีข้อบังคับและมาตรฐาน ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกส�ำหรับ ผู้ต้องการความช่วยเหลือ เป็นพิเศษ ให้สามารถ เข้าถึงสถานที่ท่องเที่ยว สิ่งอ�ำนวยความสะดวก และการบริการ
B8 การเข้าถึงการท่องเที่ยวส�ำหรับ คนทั้งมวล (Access for all) - สถานที่ท่องเที่ยว สิ่งอ�ำนวยความ สะดวก และการบริการ จะต้อง เข้าถึงได้โดยคนทั้งมวล ทั้งนี้ต้อง ค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ทั้งในเชิง ธรรมชาติและวัฒนธรรม ซึ่งคนทั้ง มวลนั้นรวมถึงผู้ที่มีความบกพร่อง และคนที่มีความต้องการความ ช่วยเหลือหรือการเข้าถึงเป็นพิเศษ - ในกรณีที่แหล่งท่องเที่ยวและ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกไม่สามารถ เข้าถึงได้ในทันที จะต้องมีการ ออกแบบและการแก้ไขปัญหาโดย ค�ำนึงถึงความกลมกลืนของสถานที่ ท่องเที่ยว รวมถึงควรจัดให้มีที่พัก ส�ำหรับกลุ่มบุคคลที่มีความต้องการ ความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ในราคา ที่สมเหตุสมผล - มีการให้ข้อมูลด้านการเข้าถึงของ สถานที่ท่องเที่ยว สิ่งอ�ำนวยความ สะดวก และบริการต่างๆ
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
b. มีการใช้มาตรฐานการเข้า ถึงสิ่งอ�ำนวยความสะดวก สาธารณะส�ำหรับผู้ ต้องการความช่วยเหลือ เป็นพิเศษ
ตัวชี้วัด
เกณฑ์ GSTC V.2
c. สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ด้านการท่องเที่ยวที่ได้รับ การตรวจสอบให้เป็นไป ตามมาตรฐานความ ปลอดภัยและสุขอนามัย
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
B7 สวัสดิภาพและความปลอดภัย a. แหล่งท่องเที่ยวมีการให้ (Safety and security) บริการด้านความปลอดภัย - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบเพื่อเฝ้า และสุขภาพเป็นที่ยอมรับ สังเกตการณ์ ป้องกัน มีการรายงาน และใช้การได้ ต่อสาธารณชน และตอบสนองต่อ ประเด็นด้านอาชญากรรม ความ ปลอดภัย และอันตรายที่มีต่อสุขภาพ b. มีการศึกษาเพือ่ ก�ำหนดและ โดยต้องจัดการให้เหมาะสมกับความ จัดการความต้องการของ ต้องการของทั้งนักท่องเที่ยวและ นักท่องเทีย่ วเพือ่ ให้สามารถ ผู้คนในพื้นที่ ให้การบริการด้านสุขภาพ และความปลอดภัยที่สอด คล้องกับความต้องการได้ ศูนย์ด�ำรงธรรม จังหวัดชลบุรี
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ตัวชี้วัด
d. มีหลักฐานของการเข้าไป ปรึกษาชุมชน การขอ ความยินยอม และการ จ่ายค่าตอบแทน
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
230 231
c
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
f. ในจุดท่องเที่ยวหลักมี รายละเอียดจุดอ�ำนวย ความสะดวกส�ำหรับ ผู้ต้องการความช่วยเหลือ เป็นพิเศษอยู่ในข้อมูล ส�ำหรับนักท่องเที่ยว
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
e. แหล่งท่องเที่ยวในภาพ รวมจะต้องมีการสื่อสาร ข้อมูลด้านสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกส�ำหรับผู้ต้องการ ความช่วยเหลือเป็นพิเศษ รวมอยู่ด้วย
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
c. มีกลไกส�ำหรับการใช้ ประโยชน์จากรายได้ ทางการท่องเที่ยวเพื่อ สนับสนุนการอนุรักษ์ ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม
C1 การปกป้องทรัพย์สนิ ทางวัฒนธรรม a. มีการจัดท�ำบัญชีข้อมูล ประเพณี(Protection of cultural assets) รวบรวมทรัพย์สินทาง วัฒนธรรม- แหล่งท่องเที่ยวมีนโยบายและระบบ วัฒนธรรม รวมถึงการ และวิถีชีวติ เพื่อประเมินคุณค่า ฟื้นฟู และ ประเมินคุณค่า และ สงวนรักษาทรัพย์สินทางวัฒนธรรม ประเมินความเปราะบาง ที่รวมถึงมรดกที่เป็นสิ่งปลูกสร้าง และภูมิทัศน์เชิงวัฒนธรรม b. มีโปรแกรมการด�ำเนินงาน เพื่อฟื้นฟูและอนุรักษ์ ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม Programme of rehabilitation and conservation of assets.
C(a) การปกป้องมรดกทางวัฒนธรรม (Protecting cultural heritage) เมืองพัทยา DASTA
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
d. มีหลักฐานถึงการด�ำเนินการ เพื่อปรับปรุงการเข้าถึง ส�ำหรับผู้ที่ต้องการความ ช่วยเหลือด้านการเข้าถึง ในรูปแบบที่หลากหลาย
ตัวชี้วัด
ด้าน ความยั่งยืนด้านวัฒนธรรม (Cultural sustainability)
เกณฑ์ GSTC V.2
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
232 233
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
c. หลักฐานของการมีส่วน ร่วมของชุมชนท้องถิ่นและ ชนพื้นเมืองในการพัฒนา และส่งมอบประสบการณ์ ให้กับนักท่องเที่ยวที่ เกี่ยวข้องกับมรดกทาง วัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ d. ข้อคิดเห็นจากนักท่องเทีย่ ว และชุมชนท้องถิ่นในการ ส่งมอบประสบการณ์ เกี่ยวกับมรดกทาง วัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
b. ยกตัวอย่างงานเฉลิมฉลอง ทางวัฒนธรรม และการ ให้ประสบการณ์แก่ นักท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้อง กับมรดกทางวัฒนธรรม ที่จับต้องไม่ได้ (งานแสดง อีเว้นท์ ผลิตภัณฑ์ ที่โดดเด่น ฯลฯ)
เพลง ภาษา อาหาร และอัตลักษณ์ และลักษณะเฉพาะของท้องถิ่น ในมิติอื่นๆ - การน�ำเสนอ/แสดง การจ�ำลอง และ การสื่อความหมายของวัฒนธรรม และประเพณีที่ยังคงอยู่นั้น จะต้องมีความละเอียดอ่อน และ ให้ความเคารพ และจะต้องให้คน ในท้องถิ่นมีส่วนร่วมและได้รับ ประโยชน์ ในขณะเดียวกันจะต้อง มอบประสบการณ์ที่แท้จริงแก่ นักท่องเที่ยว
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ตัวชี้วัด
เกณฑ์ GSTC V.2
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
C3 มรดกที่จับต้องไม่ได้ (Intangible a. มีการระบุชัดเจนและ Chonburi heritage) จัดท�ำคลังข้อมูลมรดกทาง Travel - แหล่งท่องเที่ยวมีการสนับสนุน วัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ Calendar การยกย่อง และการปกป้องมรดก ทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ซึ่งรวมถึง ประเพณีท้องถิ่น ศิลปะ
c. มีหลักฐานของการบังคับ ใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
C2 วัตถุทางวัฒนธรรม (Cultural a. มีข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง artefacts) กับวัตถุทางประวัติศาสตร์ - แหล่งท่องเที่ยวมีกฎหมายที่ในการ ใช้อา้ งอิงในแหล่งท่องเทีย่ ว ควบคุมการแลกเปลี่ยน การค้า โดยให้ระบุข้อกฎหมาย การจัดแสดง หรือการให้ วัตถุทาง มาตรา และวันที่ประกาศ ประวัติศาสตร์และโบราณคดีอย่าง เหมาะสม โดยมีการบังคับใช้ b. มีหลักฐานของการให้ กฎหมายและมีการให้ข้อมูลแก่ ข้อมูลกฎหมายดังกล่าว สาธารณชน รวมถึงผู้ประกอบการ แก่ผู้ประกอบการธุรกิจ ธุรกิจท่องเที่ยวและนักท่องเที่ยวด้วย ท่องเทีย่ วและนักท่องเทีย่ ว อย่างชัดเจน
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
พ.ร.บ. โบราณ สถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และ พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ ฉบับที่ 2
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
234 235
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
C6 การจัดการนักท่องเที่ยวในแหล่ง a. มีการเฝ้าสังเกตการณ์การ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม (Visitor เคลือ่ นตัวของนักท่องเทีย่ ว management at cultural sites) และผลกระทบที่เกิดขึ้น - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีระบบ ในสถานที่ท่องเที่ยวทาง จัดการนักท่องเที่ยวทั้งภายในและ วัฒนธรรม และมีการ โดยรอบแหล่งท่องเที่ยวทาง แบ่งปันข้อมูลดังกล่าว วัฒนธรรม โดยค�ำนึงถึงคุณลักษณะ ไปยังแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ ของพื้นที่ ขีดความสามารถในการ รองรับ และความอ่อนไหวเปราะบาง
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
c. มีหลักฐานการได้รับการ ปกป้องของทรัพย์สินทาง ปัญญาที่ได้รับการพัฒนา ขึ้นเพื่อสร้างประสบการณ์ ทางวัฒนธรรม C(b) การเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Visiting cultural sites)
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ตัวชี้วัด
เกณฑ์ GSTC V.2
เมืองพัทยา
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
Old-Town-1
b. มีการให้ข้อมูลในเรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญาให้แก่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางการ ท่องเที่ยว
a. มีกฎหมายเกี่ยวข้องกับ ทรัพย์สินทางปัญญาใน แหล่งท่องเที่ยว (ฉบับ มาตรา วันที่)
C5 ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual property) - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการสร้าง การมีส่วนร่วมในการปกป้องและ รักษาสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ของชุมชนและบุคคล
c. มีการด�ำเนินการเป็นพิเศษ เพือ่ ปกป้องและ/หรือฟืน้ ฟู การเข้าถึงของชุมชนท้องถิน่
C4 การเข้าถึงวิถีชีวิตปกติของชุมชน a. มีการติดตามการเข้าถึง (Traditional access) แหล่งท่องเที่ยวทาง - แหล่งท่องเที่ยวมีการติดตาม ปกป้อง ธรรมชาติและวัฒนธรรม และหากความจ�ำเป็น ให้ด�ำเนินการ ของชุมชนท้องถิ่น ฟื้นฟู หรือบูรณะซ่อมแซมเพื่อให้ ชุมชนท้องถิ่นได้มีวิถีชีวิตแบบปกติ ในการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวทาง b. มีหลักฐานการสร้างการมี ธรรมชาติและวัฒนธรรมได้อีกครั้ง ส่วนร่วมกับชุมชนท้องถิ่น ในเรื่องของการเข้าถึง วิถีชีวิตปกติของชุมชน
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
236 237
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
5.2 ข้อมูลชุมชน DASTA นาเกลือ ฉบับแปล
ประเพณีวัฒนธรรมและวิถีชีวิต
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
5.1 เอกสาร DASTA หลักฐานเพิ่มเติม GSTC C5 เมืองพัทยา 5.2 ข้อมูลชุมชน นาเกลือ ฉบับแปล
C7 การสื่อความหมายในแหล่ง a. มีการสื่อสาร/แจกข้อมูล ท่องเที่ยว (Site interpretation) เนื้อหาการสื่อความหมาย - มีการจัดเตรียมเนื้อหาการสื่อความ ในแหล่งท่องเที่ยว ด้วย หมายที่ถูกต้องเพื่อให้ความรู้ในแง่มุม รูปแบบที่นักท่องเที่ยว ที่มีความส�ำคัญแก่นักท่องเที่ยว สามารถเข้าถึงได้ก่อน ทั้งในเชิงวัฒนธรรมและเชิงธรรมชาติ เข้ามายังแหล่งท่องเที่ยว ของสถานที่ท่องเที่ยวนั้น - ข้อมูลที่ใช้สื่อความหมายมีความ เหมาะสมในเชิงวัฒนธรรม และจัดท�ำ โดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน และสามารถสื่อสารด้วยภาษา b. มีหลักฐานให้เห็นว่าเนือ้ หา ทีเ่ หมาะสมชัดเจนทัง้ กับนักท่องเทีย่ ว การสื่อความหมายเหล่า และกับผู้คนในพื้นที่ นั้นได้มาจากการค้นคว้า วิจยั เป็นอย่างดีและถูกต้อง แม่นย�ำ
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
3.1 เอกสาร หลักฐานเพิ่มเติม GSTC C3
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ตัวชี้วัด
d. มีหลักปฏิบัติส�ำหรับ ผู้ประกอบการท่องเที่ยว และมัคคุเทศก์ และ/หรือ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการ จัดการนักท่องเที่ยว ในแหล่งท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรม
DASTA
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
e. มีการจัดฝึกอบรมส�ำหรับ มัคคุเทศก์
เกณฑ์ GSTC V.2
b. มีหลักฐานของการด�ำเนิน การจัดการกับผลกระทบที่ เกี่ยวกับท่องเที่ยวที่เกิดขึ้น ภายในหรือโดยรอบสถานที่ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม
ของพื้นที่ และจะต้องมีการเพิ่ม ประสิทธิภาพการเคลื่อนตัวของ นักท่องเที่ยว (Visitor Flow) และ ลดผลกระทบเชิงลบที่อาจเกิดขึ้น - แหล่งท่องเที่ยวมีคู่มือการปฏิบัติตน ส�ำหรับนักท่องเที่ยวเมื่อเข้าชม แหล่งท่องเที่ยวที่มีความเปราะบาง รวมถึงการเข้าชมการจัดแสดงทาง วัฒนธรรม และมีการแจกจ่ายคู่มือ ให้แก่นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ ท่องเที่ยว และมัคคุเทศก์ทั้งก่อน และ ณ เวลาการเข้าชม c. มีการเผยแพร่คู่มือ 3.1 เอกสาร การปฏิบัติตัวส�ำหรับ หลักฐานเพิ่มเติม นักท่องเที่ยวเมื่อเข้าชม GSTC C3 สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีเ่ ปราะบาง และเข้าชมการจัดแสดง อีเว้นท์ทางวัฒนธรรมที่ จัดท�ำขึ้น ตลอดจนติดตาม ตรวจสอบการปฏิบัติตน ของนักท่องเที่ยวเป็นระยะ
ตัวชี้วัด
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
238 239
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
e. เนื้อหาการสื่อความหมาย ได้ถูกแปลในภาษาที่ เหมาะสมกับนักท่องเที่ยว
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
c. มีโปรแกรมการด�ำเนินงาน เพื่อก�ำจัดและควบคุม สายพันธุ์พืชหรือสัตว์ ต่างถิ่น
D1 การปกป้องสิ่งแวดล้อมที่มีความ a. มีการจัดท�ำคลังข้อมูล Nakluaเปราะบาง (Protection of แหล่งมรดกและทรัพย์สิน animals_ sensitive environments) ทางธรรมชาติ โดยระบุชนิด compressed-1 - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีระบบเพื่อเฝ้า สถานะของการอนุรักษ์ สังเกตการณ์ ประเมิน และตอบสนอง และภาวะความเสี่ยง/ ต่อผลกระทบจากการท่องเที่ยวที่มี ความเปราะบาง ต่อสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ การสงวนรักษาระบบนิเวศ ถิ่นที่อยู่ b. มีโปรแกรมการด�ำเนินงาน และพันธุ์พืชหรือสัตว์ รวมถึง เพื่อการอนุรักษ์ความ ต้องป้องกันการเริ่มต้นและการ หลากหลายทางชีวภาพ แพร่กระจายของสายพันธุ์พืชหรือ และมรดกทางธรรมชาติ สัตว์ต่างถิ่น
D(a) การอนุรักษ์มรดกทางธรรมชาติ (Conservation of natural heritage) เมืองพัทยา
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
DASTA
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
d. มีหลักฐานว่าคนในชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดท�ำ เนื้อหาการสื่อความหมาย ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ 5.2 ข้อมูลชุมชน นาเกลือ ฉบับ แปล
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
c. เนื้อหาการสื่อความหมาย มีการระบุถึงความส�ำคัญ และความอ่อนไหว/ความ เปราะบางของสถานที่ ท่องเที่ยว
ตัวชี้วัด
ด้าน D ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental sustainability)
เกณฑ์ GSTC V.2
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
240 241
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
e. มีกลไกส�ำหรับการใช้ราย ได้ที่มาจากการท่องเที่ยว เพื่อสนับสนุนการอนุรักษ์ ทรัพย์สินทางธรรมชาติ f. มีการสื่อสารให้ข้อมูลกับ นักท่องเทีย่ วและภาคธุรกิจ ในเรื่องของการลดการ แพร่กระจายของสายพันธุ์ พืชหรือสัตว์ต่างถิ่น
ตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
d. มีหลักปฏิบัติส�ำหรับผู้ ประกอบการท่องเที่ยว และมัคคุเทศก์ และ/หรือ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการ จัดการนักท่องเที่ยวใน แหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ
แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ แบ่งปันข้อมูลดังกล่าวไป โดยค�ำนึงถึงคุณลักษณะของพื้นที่ ขีด ยังแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ ความสามารถในการรองรับ และ ความอ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ b. มีหลักฐานของการด�ำเนิน และจะต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการกับผลกระทบ การเคลื่อนตัวของนักท่องเที่ยว จากการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้น (Visitor Flow) และลดผลกระทบเชิง ภายในหรือโดยรอบแหล่ง ลบที่อาจเกิดขึ้น ท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ - แหล่งท่องเที่ยวมีคู่มือการปฏิบัติตน ส�ำหรับนักท่องเที่ยวเมื่อเข้าชม c. มีการเผยแพร่คู่มือ 3.1 เอกสารหลัก จุดท่องเที่ยวที่มีความเปราะบางและ การปฏิบัติตัวส�ำหรับ ฐานเพิม่ เติม มีการแจกจ่ายคู่มือให้แก่นักท่องเที่ยว นักท่องเทีย่ วเมื่อเข้าชม GSTC C3 ผูป้ ระกอบการท่องเทีย่ ว และมัคคุเทศก์ จุดท่องเที่ยวที่เปราะบาง ทั้งก่อน และ ณ เวลาเข้าชม และมีการติดตาม ตรวจสอบการปฏิบัติตน ของนักท่องเที่ยวเป็นระยะ
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น x รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
d. มีด�ำเนินการระบุ เฝ้า สังเกตการณ์ และบรรเทา ผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก การท่องเที่ยวต่อความ หลากหลายทางชีวภาพ และมรดกทางธรรมชาติ
ตัวชี้วัด
D2 การจัดการนักท่องเที่ยวในแหล่ง a. มีการเฝ้าสังเกตการณ์การ DASTA ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ (Visitor เคลือ่ นตัวของนักท่องเทีย่ ว management at natural sites) และผลกระทบที่เกิดขึ้น - แหล่งท่องเทีย่ วจะต้องมีระบบจัดการ ในสถานที่ท่องเที่ยวทาง นักท่องเที่ยวทั้งภายในและโดยรอบ ธรรมชาติ และมีการ
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
242 243
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
e. มีการด�ำเนินการเพื่อเฝ้า สังเกตการณ์ความเป็นอยู่ ของสิ่งมีชีวิตในป่า และ ลดการรบกวนสิ่งมีชีวิต ในป่าโดยเฉพาะในบริเวณ ที่มีการท�ำกิจกรรม
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
d. มีระบบตรวจสอบการ ปฏิบัติตามข้อบังคับและ หลักปฏิบัติในการด�ำเนิน งานด้านการท่องเที่ยว
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
c. มีการออกหลักปฏิบัติ ส�ำหรับการท�ำกิจกรรมที่ เกี่ยวเนื่องกับสิ่งมีชีวิตใน ป่ารวมถึงการส�ำรวจ ที่ เป็นไปตามมาตรฐานสากล
ไม่มีการคุกคามและต้องมีการจัดการ b. มีการสนับสนุนให้ใช้ เพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบไม่พึง มาตรฐานสากลด้านการ ประสงค์ต่อสัตว์เหล่านั้น โดยค�ำนึง ปกป้องสิ่งมีชีวิตในป่า ถึงการด�ำรงชีวิตและพฤติกรรมของ ทั้งพันธุ์ที่อยู่ในน�้ำและ สิ่งมีชีวิตในป่า บนบก
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
D3 การมีปฏิสมั พันธ์กบั สิง่ มีชวี ติ ในป่า a. มีข้อกฎหมายระหว่าง (Wildlife interaction) ประเทศ กฎหมายระดับ - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบตรวจสอบ ประเทศ และกฎหมาย การปฏิบัติตามกฎหมายท้องถิ่น ท้องถิ่นที่ใช้ในแหล่ง กฎหมายของชาติ และกฎหมาย ท่องเที่ยวในเรื่องของการ ระหว่างประเทศ และมาตรฐาน ท�ำกิจกรรม/มีปฏิสัมพันธ์ การมีปฏิสัมพันธ์และด�ำเนินกิจกรรม กับสิ่งมีชีวิตในป่า (ในรูปแบบใดก็ตาม) กับสิง่ มีชวี ติ ในป่า - กิจกรรมที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสัตว์ ป่าที่อาศัยอยู่อย่างอิสระนั้น จะต้อง
เกณฑ์ GSTC V.2
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
f. มีการจัดฝึกอบรมส�ำหรับ มัคคุเทศก์
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ตัวชี้วัด
e. สร้างความร่วมมือกับ หน่วยงานอนุรักษ์ใน ท้องถิ่นเพื่อระบุความเสี่ยง ด้านสิ่งแวดล้อมที่อาจจะ เกิดขึ้นจากการท่องเที่ยว และมีมาตรการลดความ เสี่ยงเหล่านั้น
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
244 245
ตัวชี้วัด
b. มีการชี้แจงข้อมูลด้าน กฎหมาย มาตรฐาน และ แนวทางปฏิบัติให้แก่ ผู้ประกอบการท่องเที่ยว และมัคคุเทศก์
a. มีกฎหมายเฉพาะทั้งใน ระดับระหว่างประเทศ ระดับชาติ และระดับ ท้องถิ่น รวมถึงมาตรฐาน และแนวทางปฏิบัติเพื่อใช้ ในแหล่งท่องเที่ยวในการ ปกป้องสวัสดิภาพสัตว์ และการอนุรักษ์สายพันธุ์ พืชและสัตว์
f. มีการให้ข้อมูลแก่นักท่อง เที่ยวเกี่ยวกับการท�ำ กิจกรรมท่องเที่ยวที่เกี่ยว กับสิ่งมีชีวิตในป่าซึ่งอาจ เป็นอันตราย เช่น การ สัมผัส และการให้อาหาร เป็นต้น
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ข้อบัญญัติฯ การ ควบคุมการเสี้ยง สัตว์ หรือปล่อย สัตว์ พ.ศ.2545
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
- ต้องไม่มีการได้มาซึ่งพันธุ์พืชหรือ c. มีระบบส�ำหรับตรวจสอบ สัตว์ และไม่มีการขยายพันธุ์ และ เงื่อนไขของการครอบ การกักขัง สัตว์ป่าชนิดใดๆ เว้นแต่ ครองสัตว์ป่า และสัตว์ ได้รับอนุญาตอย่างถูกต้อง รวมถึง เลีย้ ง รวมถึงการจัดที่อยู่ อยู่ในการดูแลของบุคลากรที่มีความ อาศัยและการดูแล พร้อม และอยู่ภายใต้การด�ำเนินการ ตามข้อก�ำหนดที่เหมาะสม d. มีการออกใบอนุญาตและ - การจัดที่อยู่อาศัย การดูแล และ ตรวจสอบคุณสมบัติของ การจัดการทั้งสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยง บุคลากรที่รับผิดชอบใน ทั้งหมดนั้น จะต้องให้เป็นไปตาม เรื่องของสัตว์ป่าที่อยู่ใน มาตรฐานสวัสดิภาพของสัตว์ขนั้ สูงสุด ครอบครอง อย่างถูกต้อง รวมถึงอยู่ในการดูแล ของบุคลากรที่มีความพร้อม และอยู่ e. มีการด�ำเนินการเพื่อส่ง ภายใต้การด�ำเนินการตามข้อก�ำหนด เสริมอนุสญ ั ญา CITES ที่เหมาะสม ว่าด้วยการค้าระหว่าง - การจัดที่อยู่อาศัย การดูแล และ ประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่า การจัดการทั้งสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยง และพืชป่าที่ใกล้สญ ู พันธุ์ ทั้งหมดนั้น จะต้องให้เป็นไปตาม ในภาคการท่องเทีย่ ว และ มาตรฐานสวัสดิภาพสัตว์สูงสุด ตรวจสอบให้มั่นใจว่า มีการปฏิบัติตามอนุสัญญา ดังกล่าว
เกณฑ์ GSTC V.2
D4 การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ จากพืชหรือสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ (Species exploitation and animal welfare) - แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่ก�ำกับดูแล ท�ำให้มั่นใจว่ามีการปฏิบัติตาม กฎหมายท้องถิ่น กฎหมายระดับ ประเทศ และกฎหมายระหว่าง ประเทศ รวมถึงมาตรฐานต่างๆ เพื่อรับรองว่าสัตว์จะมีสวัสดิภาพที่ดี และมีการอนุรักษ์สายพันธุ์ต่างๆ (สัตว์ พืช และสิ่งมีชีวิตทั้งหมด) ซึ่งรวมถึงการเลี้ยงหรือการจับ การซื้อขายแลกเปลี่ยน การแสดง และการขายสิ่งมีชีวิตจากป่าและ สินค้าที่ผลิตจากพันธุ์พืชและสัตว์
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
246 247
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
g. มีการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อเป็นการรับรองว่า กิจกรรมการล่าสัตว์ใดๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ โดยได้ รับการจัดการอย่าง เหมาะสมและเป็นไปตาม กฎหมายอย่างเข้มงวด เพื่อการอนุรักษ์
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ x เอกชน
GSTC-D Version 2.0
14.2 ตัวอย่าง โรงแรมต่างๆ แผนการอนุรักษ์ พลังงานของ โรงแรมเดอะซายน์ 14.3 ตัวอย่าง แผนการอนุรักษ์ พลังงานของโรงแรม 14.4 ตัวอย่าง แผนการอนุรักษ์ พลังงานของ โรงแรมลองบีช 14.5 ตัวอย่าง c. มีการลงทุนในพลังงาน แผนการอนุรักษ์ ทดแทน และควบคุม พลังงานของ สัดส่วนร้อยละของการ โรงแรมดุสิตธานี จัดหา/การบริโภคทั้งหมด 14.6 ตัวอย่าง แผนการอนุรักษ์ พลังงานของ d. สนับสนุนและสร้างแรง โรงแรมชลจันทร์ กระตุ้นในการตรวจสอบ 14.7 ตัวอย่าง และลดการใช้พลังงานโดย แผนการอนุรักษ์ ภาคธุรกิจต่างๆ พลังงานของ โรงแรมเคปดารา
D5 การอนุรักษ์พลังงาน a. มีการส่งเสริมและเผยแพร่ (Energy conservation) ให้สาธารณะทราบถึงเป้า - แหล่งท่องเทีย่ วมีเป้าหมายทีจ่ ะลดการ หมายการใช้พลังงาน ใช้พลังงาน ปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการใช้พลังงาน รวมถึงเพิ่มการใช้ พลังงานทดแทน - แหล่งท่องเทีย่ วมีระบบในการส่งเสริม b. มีโปรแกรมการด�ำเนินงาน ให้ภาคธุรกิจตรวจวัด ติดตามดูแล ในการเพิ่มประสิทธิภาพ และลดการใช้พลังงาน และมีการ การใช้พลังงาน เช่น การ รายงานผลการด�ำเนินงานต่อ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ใช้ สาธารณชน ฉนวนกันความร้อน เป็นต้น
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
f. มีการให้ข้อมูลแก่ นักท่องเที่ยว ในการ หลีกเลี่ยงการค้าสัตว์ ใกล้สูญพันธุ์ เช่น การซื้อ ของที่ระลึกที่ท�ำจาก/ ได้จากสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามประกาศของสหภาพ ระหว่างประเทศเพื่อการ อนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) หรือ อนุสัญญาว่าด้วย การค้าระหว่างประเทศ ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่า ที่ใกล้สูญพันธุ์ (CITES)
ตัวชี้วัด
D(b) การจัดการทรัพยากร (Resource management)
เกณฑ์ GSTC V.2
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
248 249
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
D7 คุณภาพน�้ำ (Water quality) a. มีโปรแกรมการด�ำเนินการ - แหล่งท่องเที่ยวมีการตรวจสอบ ติดตามคุณภาพน�้ำ คุณภาพน�้ำดื่ม น�้ำเพื่อนันทนาการ และน�้ำที่ใช้ทางนิเวศวิทยา โดยใช้ มาตรฐานคุณภาพน�้ำ - แหล่งท่องเที่ยวมีการรายงานผลต่อ สาธารณชน และมีระบบที่สามารถ ตอบสนองต่อปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพ น�้ำที่เกิดขึ้นอย่างทันท่วงที
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
การประปาส่วน ภูมิภาค
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
e. มีการให้ข้อมูลแก่นักท่อง เที่ยวในเรื่องความเสี่ยง ของน�้ำ และขอให้มีการใช้ น�้ำเท่าที่จ�ำเป็น หลักเกณฑ์การ รับรองสถานีผลิต น�้ำ (ประปา ภูมิภาค)
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
รูปตัดจากเว็บ การประปาส่วน ปริมาณน�้ำ (แสดง ภูมิภาค ข้อมูลปริมาณน�้ำ ส�ำรองรายเดือน)
ระบบนิเวศในท้องถิ่น ตลอดจนมีการส่งเสริม และตรวจสอบให้ภาคธุรกิจ ท่องเที่ยวการปฏิบตั ติ าม เป้าหมายการใช้นำ�้
เกณฑ์ GSTC V.2
d. ติดตามและควบคุมดูแล แหล่งและปริมาณทรัพยากร น�้ำที่ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ ในการท่องเทีย่ ว พร้อมทั้ง ติดตามและควบคุมผลกระทบ ที่เกิดขึ้นกับชุมชนและ
D6 การจัดการน�้ำ a. มีการให้ค�ำแนะน�ำและให้ (Water stewardship) การสนับสนุนการติดตาม - แหล่งท่องเที่ยวต้องส่งเสริมให้ธุรกิจ และควบคุมเพื่อลดการใช้ ต่างๆ มีการตรวจวัด ติดตามดูแล น�้ำของภาคธุรกิจ และจัดการการใช้น�้ำ รวมถึงมีการ รายงานต่อสาธารณชน - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีการประเมิน b. มีการด�ำเนินการประเมิน ความเสี่ยงด้านน�้ำในแหล่งท่องเที่ยว ความเสี่ยงเรื่องน�้ำอย่าง และจัดท�ำเป็นเอกสารเป็นลาย สม�่ำเสมอ ลักษณ์อักษร - ในกรณีที่เรื่องน�้ำมีความเสี่ยงสูงจะ ต้องมีการก�ำหนดเป้าหมายของการ จัดการน�้ำและมีการก�ำกับภาคธุรกิจ c. ในกรณีที่เรื่องน�้ำมีความ เพื่อให้การใช้น�้ำของภาคท่องเที่ยวไม่ เสีย่ งสูง ให้มกี ารตัง้ เป้าหมาย ก่อให้เกิดความขัดแย้งกับความ และบังคับใช้เป้าหมาย ต้องการน�้ำของชุมชนและระบบ การจัดการน�้ำ และมีการ นิเวศในท้องถิ่น รายงานต่อสาธารณชน
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
พ.ร.บ. การประปา ส่วนภูมิภาค พ.ศ.2522, พ.ร.บ. ทรัพยากรน�้ำ แผน แม่บทการบริหาร จัดการทรัพยากร น�ำ ้ 20 ปี 2561-80, เกณฑ์คุณภาพ น�้ำประปาดื่มได้ กรมอนามัย, เกณฑ์ เสนอแนะคุณภาพ น�้ำบริโภคเพื่อการ เฝ้าระวัง กรมอนามัย
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
พ.ร.บ. ทรัพยากร น�้ำ, แผนแม่บท การบริหารจัดการ ทรัพยากรน�้ำ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
250 251
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
d. มีการด�ำเนินการเพื่อ ปรับปรุงคุณภาพน�้ำ
e. มีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับ คุณภาพน�้ำดื่มในท้องถิ่น แก่นักท่องเที่ยว เพื่อ ส่งเสริมการใช้เป็นทาง เลือกแทนน�้ำดื่มบรรจุขวด
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
c. มีการตรวจสอบน�้ำที่ใช้ ส�ำหรับอาบ ด้วย มาตรฐานการรับรองและ ระบุสถานที่ตามมาตรฐาน ที่ก�ำหนดไว้
x ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
x ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
GSTC-D Version 2.0
โครงการติดตาม อปท. เทศบาล ประเมินผลการ กรมควบคุม บริหารจัดการ มลพิษ โครงการภายใต้ แผนบูรณาการขยะ และสิ่งแวดล้อม สถานีปรับปรุง คุณภาพน�้ำ คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
c. มีการติดตามตรวจสอบ/ ทดสอบน�้ำเสียที่ปล่อย ทิ้งแล้ว
โครงการติดตาม อปท. เทศบาล ประเมินผลการ กรมควบคุม บริหารจัดการ มลพิษ โครงการภายใต้ แผนบูรณาการขยะ และสิ่งแวดล้อม สถานีปรับปรุง คุณภาพน�้ำ
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
b. มีข้อมูลและมีการรายงาน เกี่ยวกับคุณภาพน�้ำ
ตัวชี้วัด
D8 น�้ำเสีย (Wastewater) a. มีการจัดท�ำแนวทางปฏิบัติ - แหล่งท่องเที่ยวมีแนวทางปฏิบัติที่ และข้อบังคับที่เป็นลาย ชัดเจนและมีการปฏิบัติตามแนวทาง ลักษณ์อักษรเกี่ยวกับ ดังกล่าวนั้นในเรื่องของการตั้ง การบ�ำบัดน�้ำเสีย การดูแลรักษา และการทดสอบ การระบายจากบ่อเกรอะ และจาก ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย - แหล่งท่องเที่ยวต้องสร้างความมั่นใจ ว่าน�้ำเสียเหล่านั้นจะได้รับการบ�ำบัด และน�ำกลับมาใช้ หรือถูกปล่อยทิ้ง b. มีระบบของการบังคับใช้ อย่างปลอดภัยโดยไม่มีผลกระทบ แนวทางปฏิบัติในหมู่ เชิงลบกับคนและสิ่งแวดล้อมใน ผู้ประกอบการ ท้องถิ่น
เกณฑ์ GSTC V.2
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
พ.ร.บ. สาธารณสุข พ.ร.บ. เทศบาล พ.ร.บ. ส่งเสริม และรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม แห่งชาติ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
252 253
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
f. จัดให้มีระบบที่ยั่งยืน ส�ำหรับการก�ำจัดขยะที่ ตกค้าง
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
e. มีระบบที่รวบรวมและ รีไซเคิลขยะ อย่างน้อย สี่ประเภท (เช่น วัตถุ อินทรีย์ กระดาษ โลหะ แก้ว และพลาสติก)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ตัวชี้วัด
ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
x ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
10 เกณฑ์การ - มีการด�ำเนินการเพื่อก�ำจัดหรือ เมืองพัทยา ประเมินมาตรการ ลดการใช้วัสดุที่ใช้เพียงครั้งเดียวแล้ว ลด คัดแยกขยะ ทิ้งโดยเฉพาะพลาสติก - ขยะที่เหลืออยู่ที่ไม่ได้น�ำมาใช้ซ�้ำหรือ รีไซเคิลต้องได้รับการก�ำจัดอย่าง d. มีโปรแกรมด�ำเนินการ ปลอดภัยและยั่งยืน จัดการขยะในที่ท�ำงาน ของหน่วยงานภาครัฐ และ สิ่งอ�ำนวยความสะดวก สาธารณะต่างๆ
เกณฑ์ GSTC V.2
จังหวัดชลบุรี,
เทศบาล กรมควบคุม มลพิษ
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
มาตรการลด คัดแยกขยะ ลด การใช้พลาสติก กล่องโฟม
d. มีการจัดตั้งระบบบ�ำบัด สถานีปรับปรุง น�้ำเสียอย่างยั่งยืนชั่วคราว คุณภาพน�้ำ ในระดับท้องถิน่ ส�ำหรับใช้ใน ภาคการท่องเทีย่ ว หากเป็น ไปได้และมีความเหมาะสม
ตัวชี้วัด
D9 ขยะมูลฝอย (Solid waste) a. มีโปรแกรมด�ำเนินการ - แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีการตรวจวัด ติดตามเรื่องขยะ โดยมี และรายงานปริมาณขยะที่เกิดขึ้น การตั้งเป้าหมาย และ และมีการตั้งเป้าหมายในการลด ผลการด�ำเนินงานที่ ปริมาณขยะ เผยแพร่ต่อสาธารณชน - ขยะมูลฝอยได้รับการจัดการอย่าง ถูกต้องและมีการลดการฝังกลบขยะ b. มีการประสานงานร่วมกับ ด้วยการจัดให้มีระบบคัดแยกและ ธุรกิจท่องเที่ยวในการ จัดเก็บขยะแบบแยกประเภทและ จัดการรณรงค์/ให้ค�ำ มีระบบรีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพ ปรึกษา/การสนับสนุน ซึ่งสามารถแยกขยะได้อย่างมี การจัดการขยะซึ่งรวมถึง ประสิทธิภาพตามชนิดของขยะ ขยะเศษอาหาร - แหล่งท่องเที่ยวมีการส่งเสริมให้ ภาคธุรกิจหลีกเลี่ยงการสร้างขยะ c. มีการรณรงค์เพื่อลด/ และให้มีการลดจ�ำนวนขยะ น�ำขยะ ก�ำจัดการใช้วัสดุที่ใช้เพียง กลับมาใช้ใหม่ และรีไซเคิลขยะ ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ซึ่งรวมถึงขยะที่เป็นเศษอาหารด้วย โดยเฉพาะพลาสติก
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
พ.ร.บ. สาธารณสุข พ.ร.บ. เทศบาล พ.ร.บ. ส่งเสริม และรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม แห่งชาติ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
ประกาศกระทรวง มหาดไทย เรื่อง การจัดการมูลฝอย พ.ศ. 2560 พ.ร.บ. สาธารณสุข พ.ร.บ. เทศบาล พ.ร.บ. ส่งเสริม และรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม แห่งชาติ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
254 255
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
D11 การขนส่งที่มีผลกระทบต�่ำ a. มีการลงทุนกับโครงสร้าง (Low-impact transportation) พื้นฐานด้านการขนส่งที่มี - แหล่งท่องเที่ยวมีเป้าหมายในการลด ความยัง่ ยืนยิง่ ขึน้ ซึง่ รวมถึง การปล่อยมลพิษจากการขนส่ง การขนส่งสาธารณะ และ ในการเดินทางมายังแหล่งท่องเที่ยว ยานพาหนะทีป่ ล่อยมลพิษต�ำ่ คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
e. มีการให้ข้อมูลในเรื่องของ แผนรายการการชดเชย (offset) การปล่อยก๊าซ เรือนกระจกที่มีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับ ให้แก่ภาค ธุรกิจต่างๆ และนักท่องเทีย่ ว
- ควรมีการสนับสนุนให้ภาคธุรกิจ c. มีการสนับสนุนการรณรงค์ ต่างๆ มีการตรวจวัด ติดตามดูแล หรือการมีสว่ นร่วมในรูปแบบ ลด หรือปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ ต่างๆ กับธุรกิจท่องเที่ยว น้อยที่สุด จากทุกมิติของการด�ำเนิน ในการลดและบรรเทา ธุรกิจ (รวมถึงจากซัพพลายเออร์และ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ผู้ให้บริการด้วย) และมีการรายงาน ต่อสาธารณชน d. หน่วยงานภาครัฐมีการ - ควรมีการสนับสนุนให้มีการชดเชย ด�ำเนินการในการลดการ (offset) การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่ยังไม่สามารถลดได้
ตัวชี้วัด
x ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค x ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
D10 การลดการปล่อยก๊าซเรือน a. มีการประกาศเป้าหมาย กระจก และบรรเทาการเปลี่ยนแปลง ในการลดการปล่อยก๊าซ ของสภาพภูมิอากาศ (GHG เรือนกระจก โดยก�ำหนด emissions and climate change ร้อยละของการลดและวัน mitigation) ในการวัดผล - แหล่งท่องเที่ยวต้องมีเป้าหมาย ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก b. มีการจัดท�ำรายงานสภาพ รวมถึงด�ำเนินการและรายงานผล อากาศประจ�ำปี รวมถึง ตามนโยบายและการปฏิบัติงาน การเฝ้าสังเกตการณ์ ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และการปฏิบัติงานเพื่อ ผลกระทบต่างๆ
เกณฑ์ GSTC V.2
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
h. มีถังขยะเพียงพอส�ำหรับ การแยกขยะ
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ตัวชี้วัด
g. มีการรณรงค์ให้เลิกการ ทิ้งขยะนอกจุดทิ้งและ รักษาความสะอาดของ พื้นที่สาธารณะ
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
พ.ร.ฎ.ว่าด้วย หลักเกณฑ์และ วิธีการบริหาร กิจการบ้านเมือง ที่ดี 2562
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
256 257
ตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
c. มีกลไกที่จะให้ผู้คนในพื้นที่ สามารถรายงานเกี่ยวกับ มลภาวะทางแสงและเสียง พร้อมกับการปฏิบัติงานที่ ตอบสนองรายงานนั้นและ สามารถติดตามผลได้
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
D12 มลภาวะทางแสงและเสียง a. มีการจัดท�ำแนวทางปฏิบัติ (Light and noise pollution) ในเรื่องมลภาวะทางแสง - แหล่งท่องเที่ยวมีแนวทางปฏิบัติและ และเสียง และแจกจ่ายให้ ข้อบังคับในการลดมลภาวะทางแสง ภาคธุรกิจ และเสียง - แหล่งท่องเที่ยวส่งเสริมให้ภาคธุรกิจ ต่างๆ ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติและ b. มีการระบุและเฝ้าสังเกต ข้อบังคับนั้น การณ์จุด/แหล่งทีม่ ีความ เป็นไปได้ในการก่อให้เกิด มลภาวะทางแสงและเสียง ทีเ่ กีย่ วข้องกับการท่องเทีย่ ว
GSTC-D Version 2.0
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ตัวชี้วัด
f. หน่วยงานภาครัฐและธุรกิจ ท่องเที่ยวควรให้ความ ส�ำคัญกับการใช้การขนส่ง ที่มีผลกระทบต�่ำภายใน หน่วยงานของตนเอง
เกณฑ์ GSTC V.2
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
e. ให้ความส�ำคัญกับกลุ่ม ตลาดนักท่องเที่ยวที่สนใจ ตัวเลือกการขนส่งระยะ สั้นและยั่งยืนยิ่งขึ้น
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ เอกชน
d. มีการพัฒนาและสนับสนุน ให้มีการปั่นจักรยานและ การเดิน
และภายในแหล่งท่องเที่ยว b. มีการให้ข้อมูลโปรโมท - มีการเพิ่มการน�ำพาหนะและการ การขนส่งทางเลือกต่างๆ ขนส่งสาธารณะที่ยั่งยืน และปล่อย ในการเดินทางมายัง มลพิษต�่ำมาใช้งาน รวมถึง แหล่งท่องเทีย่ ว และ การเดินทางแบบใช้แรงตัวเอง ภายในแหล่งท่องเที่ยว (Active travel – เช่น การเดินและ ปัน่ จักรยาน) เพือ่ ให้ภาคการท่องเทีย่ ว c. มีการเก็บข้อมูลของ ลดการปลดปล่อยมลพิษทางอากาศ นักท่องเที่ยวที่เลือกใช้ ลดความคับคั่งของการจราจร และ การขนส่งทางเลือก ลดการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมิอากาศ
เกณฑ์ GSTC V.2
GSTC-D Version 2.0
รายการหลักฐาน หน่วยงานที่มี ระดับการบริหารฯ (เอกสารแผน, ความเกี่ยวข้อง ที่มีเกี่ยวข้อง รายงาน, โครงการ ต่อรายการ ต่อตัวชี้วัด ฯลฯ) หลักฐานตามตัวชี้วัด
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
กรอบกฎหมาย ที่ ให้อ�ำนาจ
เอกสาร ได้รับแล้ว
เอกสาร ได้รับแล้ว
258
Site Observation Checklist:
เทคนิคการสังเกต ตามตัวชี้วัด ในระหว่างลงพื้นที่
มี
ไม่มี
แนวทางการประเมินจาก การสังเกตการณ์
ด้าน A การจัดการความยั่งยืน (Sustainable Management) A(a) กรอบและโครงสร้างการจัดการ A1 ความรับผิดชอบด้านการจัดการแหล่งท่องเที่ยว (Destination Management responsibility)
โครงสร้างคณะท�ำงานและ อ�ำนาจหน้าที่
A2 ยุทธศาสตร์การจัดการแหล่งท่องเที่ยวและแผนปฏิบัติการ (Destination management strategy and action plan)
มีการเผยแพร่เอกสารแผน ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ของแหล่งท่องเที่ยวฉบับที่ใช้ ในปัจจุบัน
A3 การติดตามและการรายงาน (Monitoring and reporting) A(b) การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Engagement) A4 การมีส่วนร่วมและการใช้มาตรฐานความยั่งยืนของ ผู้ประกอบการ (Enterprise engagement and sustainability standards) A5 การมีส่วนร่วมและข้อเสนอแนะของผู้อยู่อาศัย (Resident engagement and feedback)
กล่องรับฟังความคิดเห็นของ คนในชุมชน
A6 การมีส่วนร่วมและข้อเสนอแนะของนักท่องเที่ยว (Visitor engagement and feedback)
กล่องรับฟังความคิดเห็นใน แหล่งท่องเที่ยว สมุดเข้าเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยว
A7 การส่งเสริมการท่องเที่ยว และการให้ข้อมูล (Promotion and information)
การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว (เช่น ติด ประกาศ โปสเตอร์ เสียงตามสาย เอกสารแจก หรือวิธีการอื่นๆ ตามความเหมาะสม) มีศูนย์ข้อมูลและศูนย์บริการ การท่องเที่ยว มีเจ้าหน้าที่ประจ�ำศูนย์ข้อมูลและ ศูนย์บริการการท่องเที่ยว
GSTC-D Version 2.0
ง.
ผลการประเมิน
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ G S T C - D
Version 2.0
ภาคผนวก
เกณฑ์ GSTC V.2
259
มี
ไม่มี
แนวทางการประเมินจาก การสังเกตการณ์
A(c) การจัดการแรงกดดันและการเปลี่ยนแปลง (Managing pressure and change)
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
A8 การจัดการปริมาณนักท่องเที่ยวและกิจกรรม การท่องเที่ยว (Managing visitor volumes and activities)
A9 กฎระเบียบในการวางแผนและการควบคุมการพัฒนา (Planning regulations and development control)
A10 การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate change adaptation)
A11 การจัดการความเสี่ยงและวิกฤตการณ์ (Risk and crisis management)
260
เกณฑ์ GSTC V.2
ผลการประเมิน มี
ไม่มี
แนวทางการประเมินจาก การสังเกตการณ์
ด้าน B ความยั่งยืนด้านสังคม-เศรษฐกิจ (Socio-economic sustainability) โครงสร้างพื้นฐานเพียงพอ (เช่น ไฟฟ้าแสงสว่าง ถังขยะ ที่นั่งพัก ห้องน�้ำ เป็นต้น) การจัดระเบียบที่จอดรถ การจัดการขยะตกค้าง การจัดการมลพิษทางเสียง พื้นที่ในการรองรับนักท่องเที่ยว เพียงพอ ไม่แออัด ปริมาณสถานบริการ โรงแรม ที่พัก อสังหาริมทรัพย์ และ สถานบริการเหมาะสม ไม่แออัด การจัดระเบียบภายในสถานที่ ส�ำคัญ พื้นที่สาธารณะมีการดูแลรักษา ก�ำหนดขอบเขตการใช้ประโยชน์ ที่ดินที่ชัดเจน ก�ำกับดูแล และรักษา สถานภาพ ของการท่องเที่ยว ภูมิทัศน์โดยรอบเป็นระเบียบ เรียบร้อย การจัดสรรพื้นที่เพื่อการพัฒนา การท่องเที่ยวและกิจกรรม การท่องเที่ยว รองรับผลพวง ของการเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมิอากาศ
B(a) การน�ำผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมาสู่ชุมชน (Delivering local economic benefits) B1 การวัดผลของผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากการท่องเที่ยว (Measuring the economic contribution of tourism) B2 งานที่ดี และโอกาสทางอาชีพ (Decent work and career opportunities) B3 การสนับสนุนผู้ประกอบการท้องถิ่นและการค้าที่เป็นธรรม (Supporting local entrepreneurs and fair trade)
ร้านขายสินค้าและบริการ โดยคนในท้องถิ่น สินค้าและบริการผลิตจากคน ในท้องถิ่น
B(b) ผลกระทบต่อชุมชนและสวัสดิภาพของชุมชน (Social wellbeing and impacts) B4 การสนับสนุนชุมชน (Support for community) B5 การป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบและ การเลือกปฏิบัติ (Preventing exploitation and discrimination) B6 กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและสิทธิทางกฎหมาย (Property and user rights) B7 สวัสดิภาพและความปลอดภัย (Safety and security) B8 การเข้าถึงการท่องเที่ยวส�ำหรับคนทั้งมวล (Access for all)
ที่พักเพื่อรองรับคนพิการ ทางการเคลื่อนไหวหรือ คนที่ต้องใช้รถเข็นในการเข้าถึง สิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่มี มาตรฐานเพื่อรองรับคนพิการ ทางการเคลื่อนไหวหรือคนที่ต้อง ใช้รถเข็นในการเข้าถึง (ทางลาด พื้นผิวทางเรียบ แยกสี ชานพัก ระดับความสูง สโลป ราวจับ)
GSTC-D Version 2.0
ผลการประเมิน
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เกณฑ์ GSTC V.2
261
262
มี
ไม่มี
แนวทางการประเมินจาก การสังเกตการณ์
แผนที่หรือป้ายบอกทางที่เป็น อักษรเบรลล์ ทางเดินส�ำหรับ คนพิการทางสายตา เสียงเตือนและปุ่มอักษรเบรลล์ ในสถานที่ต่างๆ แผ่นทางเดินชนิดต่างๆ ส�ำหรับ คนพิการทางสายตา สื่อที่เป็นภาษามือและสัญลักษณ์ เพื่อคนพิการทางการได้ยิน บุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจ ในการให้บริการผู้พิการ แผ่นป้ายและสัญลักษณ์ที่เป็น สากลและเข้าใจง่าย มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับระดับของ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่รองรับ Accessible Tourism พื้นที่จอดรถพิเศษพร้อมแสดง สัญลักษณ์ที่เหมาะสมส�ำหรับ ยานพาหนะของคนพิการหรือ ผู้ที่มีความคล่องตัวน้อย ช่องหรือพื้นที่ซึ่งได้สงวนไว้ ส�ำหรับคนพิการหรือผู้ที่มีปัญหา ด้านการเคลื่อนไหว ค่าบริการพิเศษส�ำหรับลูกค้า ที่มีความพิการ สถานประกอบการเกี่ยวกับ อาหารและเครื่องดื่ม ควรมี สิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่คนพิการ และผู้มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว
เกณฑ์ GSTC V.2
ผลการประเมิน มี
ไม่มี
แนวทางการประเมินจาก การสังเกตการณ์
ด้าน c ความยั่งยืนด้านวัฒนธรรม (Cultural sustainability) C(a) การปกป้องมรดกทางวัฒนธรรม (Protecting cultural heritage) C1 การปกป้องทรัพย์สินทางวัฒนธรรม (Protection of cultural assets)
มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ นโยบายอนุรักษ์พลังงาน (เช่น ติดประกาศ โปสเตอร์ เสียงตาม สาย เอกสารแจก หรือวิธีการอื่นๆ ตามความเหมาะสม) ก�ำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนสิ่งก่อสร้าง สถาปัตยกรรมทางด้านวัฒนธรรม
C2 วัตถุทางวัฒนธรรม (Cultural artefacts)
มีการเผยแพร่สื่ออนุรักษ์วัตถุทาง วัฒนธรรม (เช่น ติดประกาศ โปสเตอร์ เสียงตามสาย เอกสาร แจก หรือวิธีการอื่นๆ ตามความ เหมาะสม) ก�ำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนวัตถุทาง วัฒนธรรม
C3 มรดกที่จับต้องไม่ได้ (Intangible heritage)
ชุมชนมีการแต่งกายตาม อัตลักษณ์ของชุมชน ชุมชนมีการจัดกิจกรรมประเพณี ที่สืบสานกันมา การสื่อสารด้วยภาษาท้องถิ่น
C4 การเข้าถึงวิถีปกติ (Traditional access)
ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมกับแหล่ง ท่องเที่ยวเป้นเรื่องปกติ
GSTC-D Version 2.0
ผลการประเมิน
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
เกณฑ์ GSTC V.2
C5 ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual property)
263
มี
ไม่มี
แนวทางการประเมินจาก การสังเกตการณ์
C(b) การเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Visiting cultural sites)
ผลการประเมิน มี
ไม่มี
แนวทางการประเมินจาก การสังเกตการณ์
ด้าน D ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental sustainability)
C6 การจัดการนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม (Visitor management at cultural sites)
แผ่นป้ายและสัญลักษณ์ (เช่น ห้ามขีดเขียน ห้ามสูบบุหรี่ ห้าม ทิ้งขยะ ห้ามก่อกองไฟ ห้ามเสียง ดัง ห้ามเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ห้ามจับ และห้ามปีนป่าย) คู่มือการปฏิบัติตัวส�ำหรับ นักท่องเที่ยวเมื่อเข้าชมสถานที่ ท่องเที่ยวที่เปราะบาง และ เข้าชมการจัดแสดงอีเว้นท์ทาง วัฒนธรรมที่จัดท�ำขึ้น
C7 การสื่อความหมายในแหล่งท่องเที่ยว (Site interpretation)
โสตทัศนูปกรณ์ นิทรรศการ สิ่งพิมพ์ หรือเจ้าหน้าที่ เพื่อ บริการให้ข้อมูลข่าวสารและ ความรู้เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว แผ่นป้ายและสัญลักษณ์เพื่อ บอกทิศทางและข้อมูล กิจกรรมสื่อความหมายโดย การบรรยาย การน�ำ ศึกษา ธรรมชาติ การแสดงและ การจัดกิจกรรมกลุ่ม การจัดท�ำ เอกสารเผยแพร่ ความรู้เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว การพัฒนาระบบป้ายสื่อ ความหมายต่างๆ ในแหล่ง ท่องเที่ยว
GSTC-D Version 2.0
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
264
เกณฑ์ GSTC V.2
D(a) การอนุรักษ์มรดกทางธรรมชาติ (Conservation of natural heritage) D1 การปกป้องสิ่งแวดล้อมที่มีความเปราะบาง (Protection of sensitive environments)
มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ การปกป้องสิ่งแวดล้อม (เช่น ติด ประกาศ โปสเตอร์ เสียงตามสาย เอกสารแจก หรือวิธีการอื่นๆ ตามความเหมาะสม)
D2 การจัดการนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ (Visitor management at natural sites)
แผ่นป้ายและสัญลักษณ์ (เช่น ห้ามขีดเขียน ห้ามสูบบุหรี่ ห้าม บรรจุภัณฑ์พลาสติก ห้ามทิ้งขยะ ห้ามก่อกองไฟ ห้ามเสียงดัง ห้าม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ห้ามปีน ห้ามเดินออกนอกเส้นทาง และ 9 ไม่น�ำพืชพรรณและ ทรัพยากรธรรมชาติออกจากพืน้ ที)่ ปริมาณถังขยะเพียงพอ และ เหมาะสมกับบริเวณโดยรอบ มีการเผยแพร่คู่มือการปฏิบัติตัว ส�ำหรับนักท่องเที่ยวเมื่อเข้าชม จุดท่องเที่ยวที่เปราะบาง
D3 การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตในป่า (Wildlife interaction)
กิจกรรมมีความเกี่ยวเนื่องกับ สิ่งมีชีวิตในป่า มีการให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว เกี่ยวกับท�ำกิจกรรมท่องเที่ยว ที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในป่าซึ่งอาจ เป็นอันตราย เช่น การสัมผัส และการให้อาหาร เป็นต้น
GSTC-D Version 2.0
ผลการประเมิน
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เกณฑ์ GSTC V.2
265
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
266
มี
ไม่มี
แนวทางการประเมินจาก การสังเกตการณ์
มีการให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว ในการหลีกเลี่ยงการค้าสัตว์ ใกล้สูญพันธุ์
เกณฑ์ GSTC V.2
มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ นโยบายอนุรักษ์พลังงาน (เช่น ติดประกาศ โปสเตอร์ เสียงตาม สาย เอกสารแจก หรือวิธีการอื่นๆ ตามความเหมาะสม) มีหน่วยงานหรือคณะท�ำงาน ด้านการจัดการพลังงาน มีโปรแกรมการด�ำเนินงานในการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
D6 การจัดการน�้ำ (Water stewardship)
มีการเผยแพร่ข้อมูลแก่ นักท่องเที่ยวในเรื่องความเสี่ยง ของน�้ำ และขอให้มีการใช้น�้ำ เท่าที่จ�ำเป็น (เช่น ติดประกาศ โปสเตอร์ เสียงตามสาย เอกสาร แจก หรือวิธีการอื่นๆ ตามความ เหมาะสม)
D7 คุณภาพน�้ำ (Water quality)
มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับคุณภาพน�้ำดื่มในท้องถิ่น แก่นักท่องเที่ยว เพื่อส่งเสริม การใช้เป็นทางเลือกแทนน�้ำดื่ม บรรจุขวด (เช่น ติดประกาศ โปสเตอร์ เสียงตามสาย เอกสาร แจก หรือวิธีการอื่นๆ ตามความ เหมาะสม)
มี
ไม่มี
แนวทางการประเมินจาก การสังเกตการณ์
D(c) การจัดการของเสียและการปลดปล่อยมลพิษ (Management of waste and emissions) D8 น�้ำเสีย (Wastewater)
พื้นที่แยกเป็นสัดส่วน บริเวณ รอบๆ สะอาด เรียบร้อย ไม่มี น�้ำขังนอง มีการระบายอากาศ ได้ดี ไม่มีกลิ่นเหม็นรบกวน มีการแยกรางระบายน�้ำฝนและ ระบบรวบรวมน�้ำเสียออกจากกัน มีแบบแผนผังระบบรวบรวม น�้ำเสียและระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย เช่น แนวท่อ บ่อพัก(บ่อตรวจ ระบาย) บ่อดักกลิ่นขยะ บ่อดักไขมัน และในส่วนของ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย มีการฆ่าเชื้อโรคในน�้ำทิ้งก่อน ปล่อยออกจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย เช่น คลอรีน เป็นต้น ผลการตรวจคุณภาพน�้ำทิ้งผ่าน ตามเกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนด มีการบันทึกผลการควบคุมและ บ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย การรายงานสรุปผลการท�ำงาน ของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียทุกเดือน
D9 ขยะมูลฝอย (Solid waste)
จุดรวบรวมขยะอันตราย ถังขยะมีการแบ่งประเภทคัดแยก ขยะอย่างชัดเจน (เช่น วัตถุ อินทรีย์ กระดาษ โลหะ แก้ว และพลาสติก) การจัดการขยะพลาสติก การจัดท�ำปุ๋ยจากขยะอินทรีย์ หรือขยะเศษอาหาร หรือ ขยะเปียก (ถังขยะเปียกระบบปิด) ขยะโดยรอบพื้นที่บริเวณ
D(b) การจัดการทรัพยากร (Resource management) D5 การอนุรักษ์พลังงาน (Energy conservation)
ผลการประเมิน
GSTC-D Version 2.0
GSTC-D Version 2.0
D4 การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากพืชหรือสัตว์และ สวัสดิภาพสัตว์ (Species exploitation and animal welfare)
ผลการประเมิน
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
เกณฑ์ GSTC V.2
267
268
มี
ไม่มี
แนวทางการประเมินจาก การสังเกตการณ์
ปริมาณถังขยะเพียงพอ และ เหมาะสมกับบริเวณโดยรอบ รณรงค์ให้เลิกการทิ้งขยะนอกจุด ทิ้งและรักษาความสะอาดของ พื้นที่สาธารณะ (เช่น ติดประกาศ โปสเตอร์ เสียงตามสาย เอกสาร แจก หรือวิธีการอื่นๆ ตาม ความเหมาะสม) D10 การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และบรรเทา การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (GHG emissions and climate change mitigation)
ประกาศเป้าหมายในการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก (เช่น ติด ประกาศ โปสเตอร์ เสียงตามสาย เอกสารแจก หรือวิธีการอื่นๆ ตามความเหมาะสม)
D11 การขนส่งที่มีผลกระทบต�่ำ (Low-impact transportation)
มีขนส่งทางเลือกให้เลือกหลาก หลาย (เช่น รถเมล์ รถบัส รถ ประจ�ำทาง มอเตอร์ไซค์รับจ้าง) มีเลนส�ำหรับการปั่นจักรยาน
D12 มลภาวะทางแสงและเสียง (Light and noise pollution)
ประกาศเป้าหมายในการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก (เช่น ติด ประกาศ โปสเตอร์ เสียงตามสาย เอกสารแจก หรือวิธีการอื่นๆ ตามความเหมาะสม) ควบคุมพื้นที่ ก�ำกับ ดูแลพื้นที่ใน การจัดท�ำแหล่งท่องเที่ยว
บ ร ร ณ า นุ ก ร ม Version 2.0
ผลการประเมิน
Global Sustainable Tourism Council. (2019). GSTC Destination Criteria Version 2.0. Washington, WA Retrieved from https://www. gstcouncil.org/wp-content/uploads/ GSTC-Destination-Criteria-v2.0.pdf Global Sustainable Tourism Council. (2021). The GSTC Criteria for Destinations. Retrieved from https://www.gstcouncil.org/ gstc-criteria/gstc-destination-criteria/ Green Destination Foundation. (2020). Green Destination Assessments, Awards, and Certification. Retrieved from https://greendestinations.org/ about/
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ G S T C - D
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์
GSTC-D Version 2.0
เกณฑ์ GSTC V.2
269
คู่ มื อ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ะ ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ต ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ G S T C - D
Version 2.0
ค ณ ะ ทํ า ง า น
270
ส�ำนักจัดการองค์ความรู้ ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) ร่วมกับ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล