คู่มือนักสื่อความหมาย ชุมชนคุ้งบางกะเจ้า จังหวัดสมุทรปราการ

Page 1

=ę%;1

5 .ďI1 +6%/%6&

<% Ě< 6 4A 6Ě 5 /+5 .%< ' '6 6'


คู มือนักสื่อความหมาย ชุมชนคุ งบางกะเจ า จังหวัดสมุทรปราการ ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ

ISBN พิมพ : เมษายน พ.ศ. 2565 จํานวน : 300 เลม จัดทําโดย : องคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน หรือ อพท. คณะที่ปรึกษา 1. นาวาอากาศเอก อธิคุณ คงมี 2. นางสาววัชรี ชูรักษา 3. นายสุธารักษ สุนทรวิภาต 4. นายมนัสวิน บุญทวี

ผูอํานวยการองคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน หรือ อพท. ผูชวยผูอํานวยการ อพท. ปฏิบัตหิ นาที่ผูจัดการสํานักงานพื้นที่พิเศษ 1 อพท. ผูอํานวยการฝายอํานวยการ สํานักงานพื้นที่พิเศษ 1 อพท.

คณะผู จัดทํา 1. นางสาวอังศิกานต ศศิธรเวชกุล 2. นางสาวรพา ผานิล 3. นายพรชัย ฤทธิ์แดง 4. นางสาวเบญจมาศ วรยศ 5. นางสาวนุชจรี หอยดี 6. นายสืบพงศ มงคลบรรจง 7. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพฑูรย มนตพานทอง 8. อาจารย ดร.สัญชัย เกียรติทรงชัย 9. อาจารย ดร. สุขุมาล กลํ่าแสงใส

สํานักงานพื้นที่พิเศษ 1 อพท. สํานักงานพื้นที่พิเศษ 1 อพท. สํานักงานพื้นที่พิเศษ 1 อพท. สํานักงานพื้นที่พิเศษ 1 อพท. สํานักงานพื้นที่พิเศษ 1 อพท. สํานักงานพื้นที่พิเศษ 1 อพท. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ

พิมพ ที่

: บริษัท พีทู ดีไซน แอนด พริ้นท จํากัด 100/48 ซ.โยธินพัฒนา ถ.ประดิษฐมนูธรรม แขวงคลองจัน่ เขตบางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-515-1081, 02-515-1083 Email : p2design2002@yahoo.com


คํานํา

คํานํา ตามที่ องคการบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษ เพือ่ การทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน (องคการมหาชน) หรือ อพท. ไดรับงบประมาณอุดหนุนงานวิจัย ในโครงการพัฒนาพืน้ ทีค่ งุ บางกะเจาสูก ารเปน แหลงทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืนมาตรฐานสากลจาก กองทุนสงเสริมวิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม (กองทุนสงเสริม ววน.) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ภายใตกระทรวงการทองเทีย่ วและกีฬา โดยหนึง่ ในกิจกรรมตามแผนงานคือ การจัดทํา คูมือนักสื่อความหมายในพื้นที่คุงบางกะเจา อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ นักสื่อความหมายทองถิ่น เปนสื่อกลางใน การถายทอดใหความรูค วามเขาใจ โดยนําเสนอ ความเปนตัวตนของชุมชนในพื้นที่นั้น ๆ ใหกับ นักทองเทีย่ วไดรบั ฟงและเปดมุมมองการเรียนรู รวมกันกับผูม าเยือน ดังนัน้ หากนักสือ่ ความหมาย ทองถิน่ มีความรูท กั ษะและความชํานาญในการ บอกเล า เรื่ อ งราว ย อ มสามารถสร า งเสน ห  เพิม่ มูลคาใหกบั สินคาทางการทองเทีย่ ว ตลอดจน สรางความประทับใจในการเดินทางมาทองเทีย่ ว โดยคูมือนักสื่อความหมายฉบับนี้ไดนําเสนอ เรื่องเลาของทั้ง 6 ตําบล ในพื้นที่คุงบางกะเจา ไดแก ตําบลทรงคนอง ตําบลบางกระสอบ ตําบลบางยอ ตําบลบางนํ้าผึ้ง ตําบลบางกอบัว

และตําบลบางกะเจา อพท. หวังเปนอยางยิง่ วา คูม อื ฉบับนีจ้ ะเกิดประโยชนกบั นักสือ่ ความหมาย ของชมรมส ง เสริ ม การท อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชน ในคุงบางกะเจา ทั้งนักสื่อความหมายรุนแรก และรุน ตอ ๆ ไป เพือ่ ขับเคลือ่ นการทองเทีย่ วโดย ชุมชนอยางตอเนือ่ ง นํามาซึง่ การกระจายรายได เข า สู  ชุ ม ชนอย า งทั่ ว ถึ ง และเป น ธรรม มุ  ง สู  เปาหมายการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน

นาวาอากาศเอก อธิคุณ คงมี ผูอํานวยการ อพท. 1


1. เส นทางสื่อความหมายตําบลทรงคนอง

สารบัญ 2 1

ตําบลทรงคนอง

เส นทางสื่อความหมาย ตําบลทรงคนอง

3 2 10 เรื่องเล า…ห ามพลาด

4 3 MINDMAP เล าเรื่องชุมชน

12 4 เรื่องนี้ต องขยาย

25 5 ข อควรปฏิบัติสําหรับ นักท องเที่ยว

2

1เส นทางสื่อความหมาย


2. 10 เรื่องเล าห ามพลาด

210 เรื่องเล า… ห ามพลาด 1) 2) 3) 4) 5)

สวนสุขภาพลัดโพธิ์ ประตูระบายนํ้าคลองลัดโพธิ์ วัดคันลัดและพิพิธภัณฑพื้นบานมอญ หมูบานมอญทรงคนอง สวนเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา 6) วัดจากแดง 7) วัดปาเกด 8) สวนปาเกดนอมเกลาฯ 9) ศูนยเรียนรูง านชางพืน้ บานไทย - มอญ 10) วัดโปรดเกศเชษฐาราม

1,2

3


3. MINDMAP

MINDMAP เล าเรื่องชุมชน

1 สวนสุขภาพ ลัดโพธิ์

-

4

ขอมูลทั่วไปตําบลทรงคนอง เสนทางทองเที่ยวโดยชุมชน สวนสุขภาพลัดโพธิ์ และลานพระบรมรูปทรงงาน รัชกาลที่ 9 สะพานภูมิพล 1 และ 2 กิจกรรมสักการะพระบรมรูปทรงงาน รัชกาลที่ 9


2 ประตูระบายนํ้า คลองลัดโพธิ์

- ประวัติความเปนมา - ความสําคัญของโครงการพระราชดําริ ตอชุมชนและประเทศ - การบริหารจัดการประตูระบายนํ้า

MINDMAP/1-2

5


3 วัดคันลัดและ พิพิธภัณฑ พื้นบ าน มอญ - ประวัติความเปนมาของพิพิธภัณฑพื้นบานมอญ - เยี่ยมชมพิพิธภัณฑพื้นบานมอญ - ประเพณีแหหงส – ธงตะขาบ

4 หมู บ านมอญ ทรงคนอง

- ประวัติความเปนมาหมูบานมอญ - เอกลักษณบานมอญ - การเลนสะบาบอน 6


5

- ประวัติความเปนมา - เยี่ยมชมนิทรรศการแสดงเรื่องราวความเปนมา ของบางกะเจาและวิถีชีวิตชุมชนคนบางกะเจา

สวนเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ าอยู หัว เฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา

MINDMAP/3-5

7


- กิจกรรมเยี่ยมชม ประวัติความเปนมา และความสําคัญของวัดจากแดง - กิจกรรมดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม

6 วัดจากแดง

8


7 วัดป าเกด - กิจกรรมเยี่ยมชม ประวัติความเปนมา และความสําคัญของวัดปาเกด

MINDMAP/6-7

9


8 ป าชุมชนเมืองสวน ป าเกดน อมเกล า - ประวัติความเปนมา - กิจกรรมตาง ๆ ไดแก เดินปาศึกษาธรรมชาติ ทําอาหารพื้นบาน ปลูกตนไมพื้นถิ่น มัดยอมสีธรรมชาติ เปนตน

9 ศูนย เรียนรู งานช าง พื้นบ านไทย - มอญ - ประวัติความเปนมา - กิจกรรมแทงหยวก / กิจกรรมทําธงตะขาบจิ๋ว - ผลิตภัณฑชุมชน 10


10

- ประวัติความเปนมา - กราบพระขอพร และเยี่ยมชมพระอารามหลวง ทามกลางวัฒนธรรมมอญและวัดพุทธรามัญ

วัดโปรดเกศเชษฐาราม MINDMAP/8-10 11


4. เรื่องนี้…ต องขยาย

4เรื่องนี้…ต องขยาย

1 สวนสุขภาพ ลัดโพธิ์ 1. ขอมูลทั่วไปตําบลทรงคนอง ตําบลทรงคนอง ตั้งอยูทางทิศเหนือของ อํ า เภอพระประแดง จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ ซึง่ อยูบ ริเวณตําแหนงในคุง บางกะเจาทีแ่ คบทีส่ ดุ ลักษณะตําแหนงคลายคอคอดกระเพาะหมู โดยมีคลองลัดโพธิเ์ ชือ่ มระหวางแมนาํ้ ทัง้ สองดาน ตําบลทรงคนอง เดิมในสมัยรัชกาลที่ 2 ชาวมอญที่เมาะตะมะพากันอพยพครอบครัว หนีการกดขีข่ องพมาเขามาในราชอาณาจักรไทย ทั้ ง ทางเมื อ งตาก เมื อ งอุ ทั ย ธานี รวมไปถึ ง ดานพระเจดียสามองค และหลังจากนั้นได โปรดเกลาฯ ใหชาวมอญมาตัง้ ภูมลิ าํ เนาทีเ่ มือง 12

นครเขื่อนขันธ ชาวมอญทั้งหลายเมื่อไดรับ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ แล ว จึ ง แยกย า ยกั น ตั้ ง บานเรือนเปนกลุม ในภาษามอญ เรียกวา “กวาน” แปลวา หมูบาน คําวา ทรงคนอง แปลวา ดวงดาวหรือกวานดงฮะนอง แปลวา หมูบาน แหงดวงดาว ซึง่ เปนชือ่ หมูบ า นเดียวกับหมูบ า น ในเมืองมอญ เนื่องจากประชาชนที่อพยพมา รวมตัวกันอยูใ นบริเวณนีใ้ ชชอื่ เดิมของหมูบ า น ในเมืองมอญมาตั้งชื่อหมูบานนั่นเอง


2. สวนสุขภาพลัดโพธิ์และลานพระบรม รูปทรงงาน รัชกาลที่ 9 พระบรมรู ป ทรงงานพระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ 9 แห ง แรกและแห ง เดี ย วของประเทศไทย ตั้งอยูกลางแจงตรงกลางสวนสุขภาพลัดโพธิ์ โดยในหลวงรั ช กาลที่ 9 ทรงพระราชทาน พระบรมฉายาลักษณประทับยืนขณะทรงงาน เพื่อเปนตนแบบในการจัดสรางพระบรมรูป ของพระองคขณะทรงงาน ทรงมอบหมายให อาจารยกติ ติชยั ตรีรตั นวชิ ชา (เกีย) เปนผูอ อกแบบ และถวายงานปนดินเหนียวตนแบบ และทรง ตรวจสอบขอมูลในสวนประกอบทุกรายละเอียด เชน รุน กลองที่ทรงใชงาน วิทยุสื่อสารพกพา ขณะทรงงาน อีกทัง้ ยังทรงมอบฉลองพระบาท

คูท ใี่ สในพระบรมฉายาลักษณ ใหชา งปน นําไปใช เปนตนแบบพระบรมรูปประทับยืนทรงงาน สรางเปนรูปหลอโลหะ มีความสูง 2.30 เมตร ในลักษณะสวมฉลองพระองคเชิ้ตดานในทับ ดวยสูท ดานนอก ปกเสือ้ สูทดานซายติดเข็มกลัด มูลนิธริ าชประชานุเคราะห ในพระบรมราชูปถัมภ พรอมสิง่ ของประจําพระองคทที่ รงใชเปนประจํา ในขณะทรงงาน กระเปาเสือ้ ทีอ่ กดานซายเหน็บ ดินสอประจําพระองค เปนดินสอธรรมดาและ ดินสอตรวจงาน สวนกระเปาเสื้อดานลางขวา พกวิทยุสื่อสารประจําพระองค พระศอ (คอ) คลองกลองถายภาพคูพระหัตถ ในลักษณะ พรอมทรงฉายภาพ ขางพระวรกายเปนแผนที่ ที่ พ ระองค ท รงทํ า ขึ้ น เหน็ บ ไว ต ลอดเวลา นับเปนภาพที่ประชาชนทั่วไปมักจะเห็นคุนตา ขณะเสด็จพระราชดําเนินไปในที่ตาง ๆ บริ เ วณด า นหลั ง พระบรมรู ป ทรงงานมี อาคารสวนกลางทีเ่ ปนพิพธิ ภัณฑซงึ่ ภายในแบง เปน 3 สวนคือ สวนแรกจะเปนขอมูลของ โครงการพระราชดําริฯ ในรัชกาลที่ 9 สวนทีส่ อง จะแสดงเกีย่ วกับประวัตคิ วามเปนมา ประเพณี และวัฒนธรรมของชาวมอญในพื้นที่อําเภอ พระประแดง และสวนสุดทายเปนการแสดง เกี่ยวกับงานกอสรางโครงการถนนวงแหวน อุ ต สาหกรรมอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดํ า ริ ฯ ขอมูลสะพานขามแมนาํ้ เจาพระยาในกรุงเทพฯ และปริมณฑล และขอมูลดานวิศวกรรมสะพาน

4/1 1.1-1.2

13


3. สะพานภูมพิ ล 1 และ 2 สะพานภู มิ พ ล 1 และ 2 หรื อ สะพาน วงแหวนอุ ต สาหกรรมถู ก สร า งขึ้ น เนื่ อ งจาก พระราชดํ า ริ ข องพระบาทสมเด็ จ พระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงพระ กรุณาโปรดเกลาฯ ใหกอ สรางขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2538 เพือ่ แกไขปญหาจราจร และใหการเดินทางของ ประชาชนสะดวกสบายยิง่ ขึน้ ซึง่ ทัง้ 2 สะพานนี้ เปนสะพานขามแมนํ้าเจาพระยา เชื่อมตอ ระหวางกรุงเทพฯ กับสมุทรปราการ สะพานภูมิพล 1 เปนสะพานขามแมนํ้า เจาพระยาทางดานเหนือ เชื่อมระหวางแขวง บางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร กับตําบลทรงคนอง อําเภอพระประแดง จังหวัด สมุทรปราการ เปนสะพานขึงเคเบิลคูขนาด กวาง 7 ชองจราจร ที่ประกอบดวยเสาสูง จํานวน 2 ตน ความยาวสะพานชวงขามแมนํ้า เจาพระยา 326 เมตร เปนโครงสรางประกอบ ระหวางคอนกรีตและเหล็ก ความยาวตัวสะพาน

14

ในชวงดานหลัง 128 เมตร เปนโครงสรางแบบ คอนกรีตอัดแรง ความสูงจากระดับนํ้าสูงสุดที่ กึ่งกลางสะพานประมาณ 50 เมตร เพื่อใหเรือ บรรทุกหรือขนสงสินคาสามารถแลนลอดผานได สะพานภูมิพล 2 เปนสะพานขามแมนํ้า เจาพระยาทางดานใต เชื่อมระหวางตําบล ทรงคนองกั บ ตํ า บลบางหญ า แพรก อํ า เภอ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เปนสะพาน ขึงเคเบิลคูข นาดกวาง 7 ชองจราจร ทีป่ ระกอบ ดวยเสาสูง จํานวน 2 ตน ความยาวสะพานชวง ขามแมนาํ้ เจาพระยา 398 เมตร เปนโครงสราง ประกอบระหวางคอนกรีตและเหล็ก ความยาว ตัวสะพานในชวงดานหลัง 152 เมตร เปน โครงสรางแบบคอนกรีตอัดแรง ความสูงจากระดับ นํ้าสูงสุดที่กึ่งกลางสะพานประมาณ 50 เมตร เพือ่ ใหเรือบรรทุกหรือขนสงสินคาจากปากแมนาํ้ เจาพระยาสามารถลอดผานไดเพือ่ เขาสูท า เรือ คลองเตย


2 ประตูระบายนํ้า คลองลัดโพธิ์ ประตูระบายนํ้าคลองลัดโพธิ์ เปนหนึ่งใน โครงการพระราชดําริในดานการบรรเทาปญหา อุทกภัยในบริเวณที่ราบลุมแมนํ้าเจาพระยา สรางเพื่อเปนทางลัดระบายนํ้าเหนือ ชวยให การระบายนํ้าไดเร็วขึ้น เนื่องจากใชระยะทาง

สัน้ เพียง 600 เมตร สามารถปองกันนํา้ ทะเลหนุน ในชวงฤดูแลง ทําใหลดผลกระทบนํา้ ทวมตอพืน้ ที่ ริมแมนํ้าเจาพระยาในเขตกรุงเทพมหานคร และปริ ม ณฑลรวมถึ ง พื้ น ที่ ต ลอดสองฝ  ง แมนํ้าเจาพระยาตั้งแตอําเภอบางไทร จังหวัด พระนครศรีอยุธยา จนถึงอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ประโยชนทางออมที่ เกิดขึน้ คือชวยปองกันนํา้ ทวม ประหยัดเวลาใน การเดินทาง รวมถึงลดภาระการบริหารงาน แกไขปญหานํ้าทวมเฉพาะหนาของภาครัฐได อีกดวย

4/1 1.3 , 4/2

15


3 วัดคันลัดและ พิพิธภัณฑ พื้นบ านมอญ 1. วัดคันลัด วัดคันลัด ตั้งอยูเลขที่ 4 หมูที่ 9 ตําบล ทรงคนอง สรางขึ้นราว พ.ศ. 2349 ในสมัย รัตนโกสินทรตอนตน เมื่อครั้งชาวมอญเริ่ม อพยพเขามาอยูที่เมืองนครเขื่อนขันธ ไดเลือก วั ด คั น ลั ด ที่ มี อ ยู  เ ดิ ม เป น วั ด ประจํ า หมู  บ  า น (เมือ่ คนมอญสรางบานเรือน จะตองมีวดั ประจํา หมูบานนั้น ๆ เสมอ) และนิมนตพระชาวมอญ มาจําพรรษา พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจําวัด คือ หลวงพอหินออน (มัณฑะเลย) พระพุทธรูป เกาแกจากเมืองมัณฑะเลย ประเทศพมา ซึง่ เปน ศิลปะอันงดงาม แตเดิมวัดนีใ้ ชเปนทีฝ่ ง ชางหลวง เรี ย กว า “สุ ส านช า งหลวง” มี ห ลั ก ฐานว า ปลายรัชกาลที่ 2 เมือ่ พระยาเศวตคชลักษณลม

16

และในสมัยรัชกาลที่ 3 พระยามงคลหัสดินทรลม รัชกาลที่ 3 จึงโปรดเกลาฯ ใหนาํ ศพพระยาชาง ไปฝงที่บริเวณปากลัด ซึ่งก็คือบริเวณวัดคันลัด มีการขุดพบกระดูกชางเปนจํานวนมากในวัด แหงนี้ 2. “พิพิธภัณฑพื้นบานมอญ” พิพธิ ภัณฑพนื้ บานมอญ เปนสถานทีจ่ ดั แสดง ขาวของเครื่องใช เครื่องแตงกาย และอุปกรณ การดํารงชีพดั้งเดิมของคนในทองถิ่น เรียนรู เรื่ อ งราวประวั ติ ค วามเป น มาของชาวมอญ พระประแดง พรอมชม “ธงตะขาบ” โดยที่มา ของธงตะขาบนั้ น มี ตํ า นานเล า ว า หลั ง องค สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงตรัสรูแลว พระองคทรงรําลึกถึงพระมารดาทีด่ บั ขันธและ อยูบ นสวรรคชนั้ ดาวดึงส จึงไดเสด็จขึน้ ไปโปรด พุทธมารดาและจําพรรษาอยูนานถึง 3 เดือน จากนัน้ พระพุทธองคเสด็จกลับมายังโลกมนุษย ในครั้งนั้นไดมีผูที่เลื่อมใสศรัทธาตางพากันมา ตอนรับ นําอาหารไปใสบาตร นอกจากนั้นยัง ตอนรับเฉลิมฉลองดวยการชักธงรูปตาง ๆ เปน ทิวแถว และในครั้งนั้นเองไดมีชาวมอญทํา “ธงตะขาบ” มาร ว มตอ นรั บด ว ย ป จ จุ บัน ธงตะขาบ ถูกนําไปประดับตามประตูหนาตาง ของโบสถ ใชเปนสื่อความหมายลึกซึ้งทั้งในคติ ทางโลกและคติทางธรรม


3. ประเพณีแหหงส – ธงตะขาบ ประเพณีแหหงส – ธงตะขาบเปนประเพณี เกาแกของชาวมอญ ซึ่งจัดขึ้นเปนประจําทุกป ในชวงเทศกาลสงกรานต โดยนําธงตะขาบไป แขวนไวบนยอดเสาหงสหนาวัดมอญ ความเปนมา ของประเพณีนี้คือ เปนการระลึกถึง และเปน การบูชา รวมไปถึงการเฉลิมฉลองใหกับครั้งที่ พระพุทธเจาเสด็จกลับลงจากชั้นภพดาวดึงส ซึ่งชาวมอญจะใชเสาหงสและธงตะขาบคูกัน

“หงส ” เป น สั ญ ลั ก ษณ ข องรามั ญ ประเทศ สวน “ตะขาบ” เปนสัตวทมี่ ลี าํ ตัวยาว มีเทามาก มีเขีย้ วเล็บทีม่ พี ษิ สามารถตอสูก บั ศัตรูทมี่ าระราน และรักษาตัวเองได เปรียบเหมือนคนมอญที่ มิเคยหวาดหวั่นตอขาศึกศัตรู สามารถปองกัน ตนเองและปกปองคุม ครองประเทศได ชาวมอญ ปากลัดหรือมอญพระประแดงจะจัดงานขึ้น ทุกป ในวันที่ 13 เมษายน โดยจะเวียนสลับกัน เปนเจาภาพ

4/3 3.1-3.3

17


4 หมู บ านมอญ ทรงคนอง 1. หมูบานมอญทรงคนอง หมูบานมอญทรงคนอง ตั้งอยูฝงตรงขาม กับวัดคันลัด เปนหมูบานที่มีคนไทยเชื้อสาย มอญอาศัยอยูมากที่สุดในคุงบางกะเจา อยูใน หมูท ี่ 7-9 สามารถเยีย่ มชมบานมอญเรือนขวาง โดยคนมอญนิยมปลูกสรางบานเรือนอยูริมนํ้า และมีคติความเชือ่ เรือ่ ง แสง-เงา ผี-พุทธ ในการ ปลูกบานหันดานกวางของเรือน (จัว่ ) โดยใหหอ ง ทีม่ เี สาผี (เสาเอก) ของบานตรงกับทิศตะวันออก เพื่อเปนจุดแรกที่รับแสงอรุณรุง เงาของคนที่ อาศัยอยูในบานจะไดไมทาบทับเขากับเสาผี ที่คนมอญเคารพสูงสุดรองจากพระพุทธเจา โดยในเรื อ นนิ ย มหั น ฝ  ง ด า นจั่ ว ไปทางริ ม นํ้ า ใหหองที่มีเสาผีหรือหองเจาบานรับแสงตะวัน กอนสวนอื่นของบานนั้น และควรที่จะไดรับ แสงยามเชาและแสงลับฟากอนใคร 18

2. การเลนสะบาบอน สะบาบอน เปนการละเลนอยางหนึ่งของ หนุม สาวชาวไทยเชือ้ สายมอญ อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ในวันสงกรานตเพือ่ ความ สนุกสนานและเชือ่ มสัมพันธไมตรีระหวางหนุม สาวชาวไทยเชื้อสายมอญที่จะไดมีโอกาสรูจัก และพูดคุยกันไดอยางใกลชิดแตอยูในสายตา ของผูใหญ ซึ่งในสมัยกอนนั้น หนุมสาวจะตอง ชวยพอแมทาํ มาหากิน เชน ทํานา ทําสวน หรือ จับสัตวนํ้า เปนตน ดังนั้น โอกาสที่จะพบปะ พูดจากันคอนขางยาก ทําใหเกิดการละเลนนี้ ขึน้ มา โดยหนุม สาวจะจัดเตรียมสถานทีเ่ ลนสะบา ซึ่งเรียกกันวา “บอน” โดยใชใตถุนบานเปน การเปดโอกาสใหหนุม สาวไดพบและเลือกคูก นั การเลนสะบาจะแบงออกเปน 2 ฝาย คือ ชาย และหญิง และผูใหญจะแอบมองอยูท บี่ นบาน เพื่อพิจารณารูปลักษณและอุปนิสัยหนุมที่มา เลนสะบาบอน ซึง่ การละเลนนีถ้ อื วาเปนการดํารง เอกลักษณสืบทอดกันมาอยางชานาน


5 สวนเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระเจ าอยู หัว เฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา

สวนเฉลิมพระเกียรติฯ ๘๐ พรรษา ตั้งอยู ซอยเพชรหึงษ 10 (ซอยวัดจากแดง) เปน สวนสาธารณะที่ จั ด สร า งขึ้ น เนื่ อ งในโอกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๘๐ พรรษา 5 ธันวาคม พ.ศ.2550 โดยความรวมมือของ กรมโยธาธิการและผังเมือง และหนวยงาน ทองถิ่นที่เกี่ยวของในที่ดินราชพัสดุ เนื้อที่รวม 38 ไร เริ่มดําเนินกอสรางเมื่อป พ.ศ. 2549 ลักษณะภายในเต็มไปดวยตนไม มีพื้นที่แหลง เรียนรูท รี่ วบรวมพันธุพ ชื และการฟน ฟูระบบนิเวศ ของคุง บางกะเจาในหลากหลายรูปแบบ ทัง้ การ ฟนฟูพื้นที่สีเขียว เพื่อการทองเที่ยวและเพื่อ เปนสถานทีพ่ กั ผอนหยอนใจ ตลอดจนการฟน ฟู พืน้ ทีร่ มิ ฝง แมนาํ้ จากการถูกกัดเซาะ นอกจากนี้ ยังมีอาคารนิทรรศการทีจ่ ดั แสดงเรือ่ งราวความ เปนมาของบางกะเจาและวิถีชีวิตชุมชนคน บางกะเจา

4/4 , 4/5

19


6 วัดจากแดง

วัดจากแดง ตั้งอยูเลขที่ 16 หมู 6 ถนน เพชรหึงษ ซอย 10 ตําบลทรงคนอง อําเภอ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ชือ่ วัดจากแดง มีการสันนิษฐานวามาจากคําวา “จากแดน” หมายถึง หมูบ า นของประชาชนทีอ่ พยพมาจาก ทีอ่ ยูเ ดิมในอยุธยา ตอมาไดเพีย้ นเสียงเปน “จาก แดง” เมือ่ สรางวัดขึน้ แลว ชาวบานจึงไดตงั้ ชือ่ วา วัดจากแดง ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมือ่ ประมาณป พ.ศ. 2330 ปูชนียวัตถุสมัยโบราณ และโดดเดนของวัดจากแดง คือพระพุทธรูป นามวา “หลวงพอหิน” ซึ่งขุดพบบริเวณโบสถ หลังเกาและ “พระสมันตมหาปฏฐานเจดีย” 20

อันงดงามเปนทีป่ ระดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุ เพื่อใหพุทธศาสนิกชนไดกราบไหวบูชา และ เปนขวัญกําลังใจแกเหลาพระและสาธุชนที่ เขามาเรียนพระธรรมตามพระไตรปฎก วัดจากแดง มีความโดดเดนในกิจกรรมดาน การอนุรักษสิ่งแวดลอม โดยมีศูนยการเรียนรู สิ่งแวดลอม ใหองคความรูเกี่ยวกับการคัดแยก ขยะ อี ก ทั้ ง ยั ง มี กิ จ กรรมแปลงผั ก สวนครั ว เกษตรอินทรียชุมชน ผลิตภัณฑจากพลาสติก ชุดของขวัญหวงใยสิ่งแวดลอม ขยะสูบลอก ปูพื้น ทุนกักขยะแมนํ้า ปุยอินทรียจากอาหาร สังฆะเพื่อสังคม ผาไตรจีวรจากขยะพลาสติก ขยะสรางบุญ ศูนยเรียนรูสิ่งแวดลอม เปนตน เพือ่ เปนตนแบบการบริหารจัดการในการสราง ความรับผิดชอบตอสังคม และสิ่งแวดลอม สรางรายไดใหกบั ชุมชนโดยรอบวัดจากแดงใหมี งานทําอยูไดอยางยั่งยืน


7 วัดป าเกด วัดปาเกด ตั้งอยูในหมูที่ 3 บานวัดปาเกด ตําบลทรงคนอง อําเภอพระประแดง จังหวัด สมุทรปราการ เดิมชื่อ วัดถนนเกด ตั้งชื่อตาม ตาเกดซึ่ ง เป น ผู  ขุ ด ถนนเข า วั ด เป น คนแรก แตเนื่องจากบริเวณวัดมีตนเกดขึ้นมากมาย ตอมาจึงเรียกวา “วัดปาเกด”แทน วัดปาเกด สรางขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล า นภาลั ย (รั ช กาลที่ 2) เมือ่ ครัง้ ฟน ฟูพระพุทธศาสนาทัว่ ราชอาณาจักร ประมาณ พ.ศ. 2360 ตอมาในสมัยรัชกาลที่

3 สมเด็จพระสังฆราช (ดอน) วัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ไดมาเปนประธาน สรางอุโบสถขึ้น โดยฝมือชางหลวงเปนผูเขียน ภาพจิตรกรรมฝาผนัง หนาบันทําดวยไมแกะ สลักรูปนารายณทรงครุฑยุดนาค ลอมรอบ ลายเครือเถาวิจติ รงดงามดานหนาและดานหลัง มีเสาเหลี่ยมปลายสอบขนาดใหญตอมาในป พ.ศ. 2513 ไดมีการสรางอุโบสถหลังใหมขึ้น แทนหลังเกาที่ทรุดโทรม อุโบสถหลังเกาจึง กลายเปนวิหารไป

4/6 , 4/7

21


8 ป าชุมชนเมือง สวนป าเกด น อมเกล า สวนปาเกดนอมเกลา ตั้งอยูหมูที่ 2 ซอย เพชรหึงษ 16 (ซอยวัดปาเกด) สวนปาเกดนอม เกลาแหงนี้ เปนวิสาหกิจชุมชนปาในเมืองที่ เกิดจากจุดเริม่ ตนเล็ก ๆ ของคนรักสิง่ แวดลอม มารวมตัวทํางานแบบมีสวนรวมทุกภาคสวน ทั้ ง ชุ ม ชน ภาครั ฐ และเอกชนที่ ค อยให ความสนับสนุนในเรื่องของการอนุรักษพื้นที่

22

สีเขียว ผลักดันชุมชนสูแหลงเรียนรูเชิงนิเวศ คนในชุมชนตางมีสวนรวมในการพัฒนาและ อนุรักษ รวมคิดรวมทํา อาทิ ขุดลอกคลอง ใหสะอาดขึน้ ใหระบบนํา้ หมุนเวียนไดดี ปราศจาก ยุงลาย และชวยกันปลูกตนไมเพิม่ เติมกวา 100 สายพันธุ ตามวิถีชาวสวน ภายในสวนปาเกดนอมเกลา มีการอนุรกั ษ พันธุพืชตาง ๆ กวา 100 สายพันธุ และนกกวา 30 ชนิด รวมถึงกิจกรรมตาง ๆ อีกมากมาย จนกลายเปนแหลงเรียนรูน อกตําราใหกบั นักเรียน นักศึกษาและผูที่สนใจ โดยชาวบานในชุมชน จะเขามาเปนวิทยากรสอนในเรือ่ งการทําปุย หมัก ยอมผาจากตนไมใบไมที่รวมกันปลูก กิจกรรม ทําอาหารไทย ขนมไทยทีเ่ ก็บวัตถุดบิ จากในสวน และเรี ย นรู  ก ารปลู ก พื ช และต น ไม ท  อ งถิ่ น เริ่มจากเพาะกลาเมื่อเติบโตขึ้นคนในชุมชน จะนําไปลงดินและดูแลตอ เชน ตนคัก ตนจิกนํา้ ตนพิลังกาสา เปนตน


9 ศูนย เรียนรู งานช างพื้นบ าน ไทย – มอญ แหลงเรียนรูแ หงใหมทคี่ นในชุมชนรวมกัน อนุรักษวัฒนธรรมประเพณี และกิจกรรมที่ นาสนใจในชุมชน เชน กิจกรรมธงตะขาบจิ๋ว ผามัดยอมจากลูกมะหวด ศิลปะการแทงหยวก เรียนรูการทําขนมไทยโบราณ จิบชายามบาย ในบรรยากาศบานสวน ชิมอาหารพื้นบานที่ หารับประทานไดยากในปจจุบนั ไดแก เนือ้ เค็ม ตมกะทิ นํ้าพริกลงเรือ และขนมชั้นบานมอญ เปนตน 1. กิจกรรมแทงหยวกกลวย ศิลปะการแทงหยวกกลวย เปนภูมิปญญา โบราณ เปนงานฝมอื ทีส่ รางสรรค ใชวสั ดุธรรมชาติ โดยเป น การนํ า หยวกกล ว ยมาฉลุ ล วดลาย ประดับตกแตงในงานตาง ๆ ทั้งงานมงคลและ งานอวมงคล ไดแก งานบวช งานกฐิน ทําบุญ ขึน้ บานใหม งานพิธที างศาสนา และงานศพ เปนตน

โดยชางฝมอื พืน้ บานอยางลุงบุญแถม เพชรประดิษฐ “ศิลปนดีเดน” ของจังหวัดสมุทรปราการ ผูห ลงใหล การแกะสลักหยวกกลวย และฝกฝนดวยตนเอง แบบ “ครูพกั ลักจํา” กับชางสมัยนัน้ เปนเวลานาน จนกระทั่งในที่สุดก็ทําสําเร็จและยังประดิษฐ ลวดลายของตนเองขึ้นมาอีกดวย

2. นํ้าพริกกลงเรื ลงเรือ นํ้าพริกลงเรือ นํ้าพริกตนตํารับชาววังที่มี รสชาติเปรีย้ วหวานเค็ม รับประทานคูก บั ผักตม และผักสด โดยประวัตขิ องนํา้ พริกลงเรือเกิดขึน้ ตัง้ แตสมัยรัชกาลที่ 5 ครัง้ เจาจอมสดับทําถวาย ใหกับเจานายองคเล็กที่ไมเสด็จขึ้นจากเรือ จึงคิดแตงเครือ่ งเสวยจากสิง่ ทีม่ อี ยู เชน นํา้ พริก กะป หมูหวาน ไข เ ค็ ม ฯลฯ รวมทุ ก อย า ง เขาดวยกัน นําไปใหเสวยกับขาวสวยและผักสด จึงเปนทีม่ าของชือ่ “นํา้ พริกลงเรือ” ภายหลังมี ผูน าํ สูตรมาทํารับประทานกันทัว่ ไปจนถึงปจจุบนั สวนนํา้ พริกลงเรือตํารับชาวมอญทรงคนองนัน้ มีความแตกตางที่นํ้าพริกผัดแหง ไมแฉะหรือ ขลุกขลิกอยางนํา้ พริกลงเรือทัว่ ไป และทีส่ าํ คัญ ไมใชหมูหวาน เนื่องจากอยากใหชาวมุสลิม สามารถรับประทานได และเพิม่ เติมกุง แหงใหได รสชาติเขมขนยิ่งขึ้น

4/8 , 4/9

23


10

จุดทีส่ อง ภายในพระวิหารมีพระพุทธไสยาสน ซึง่ เปนตนแบบของพระนอนวัดโพธิ์ งานปูนปน ลงรักปดทอง รูปแบบตอนตนกรุงรัตนโกสินทร นิ่งสงบและออนชอยตามแบบศิลปะไทย และ ความพิเศษของบานประตู หนาตางในพระวิหารนี้ จะมีจิตรกรรมเปนลวดลายโตะเครื่องหมูบูชา เครื่องแขวนตาง ๆ ซึ่งหาชมไดยากในวัดทั่วไป จุ ด ที่ ส าม พระมณฑปกลางนํ้ า เป น สถาปตยกรรมไทยรูปเจดียยอเหลี่ยมไมยี่สิบ ภายในประดิษฐานพระประธานปางมารวิชัย ขัดสมาธิเพชร รอยพระพุทธบาทจําลองประดับ มุกเปนรูปพระพรหมและสัญลักษณทางธรรม วัดโปรดเกศเชษฐาราม ตั้งอยูหมูที่ 11 อื่น ๆ ที่รับรองไดวางดงามยากที่จะลืมเลือน บานคลองหลวง ตําบลทรงคนอง วัดนี้เปน รวมทั้งจะมีจุดรับพลังเมื่อหันหนาไปตามทาง พระอารามหลวงทามกลางวัฒนธรรมมอญและ เขาพระมณฑปกลางนํ้าอีกดวย วัดพุทธรามัญในยานพระประแดง ซึ่งสะทอน สถาปตยกรรมอันวิจิตรงดงาม และมีความ แตกตางจากวัดอื่น ๆ ตรงที่พระอุโบสถไมมี ชอฟา ใบระกา และเปนรูปแบบสถาปตยกรรม ไทยผสมจีนดูไดจากหนาบันเปนศิลปะปูนปน ลายเครือเถา ประดับเครือ่ งลายคราม จุดไมควร พลาดในการมาวัดแหงนี้มี 3 จุด ดังนี้ จุดที่หนึ่ง พระอุโบสถภายในประดิษฐาน พระประธานปางมารวิชยั นามวา “พระพุทธชินนาถ ศาสดา” ภายในพระอุโบสถดานในประดับ ดวยภาพวาดศิลปะแบบตะวันตก ซึ่ง 1 ในนั้น สันนิษฐานวาเปนฝมอื ของขรัวอินโขง จิตกรเอก ประจํารัชกาลที่ 4

วัดโปรดเกศ เชษฐาราม

24


5. ข อควรปฏิบัติสําหรับนักท องเที่ยว

4/10 , 5

25


1. เส นทางสื่อความหมายตําบลบางกระสอบ

สารบัญ 26 1 เส นทางสื่อความหมาย ตําบลบางกระสอบ

27 2 6 เรื่องเล า…ห ามพลาด

28 3 MINDMAP เล าเรื่องชุมชน

32 4 เรื่องนี้ต องขยาย

39 5 ข อควรปฏิบัติสําหรับ นักท องเที่ยว

26

1เส นทางสื่อความหมาย ตําบลบางกระสอบ


2. 6 เรื่องเล าห ามพลาด

26 เรื่องเล า… ห ามพลาด

1) วัดบางกระสอบ 2) เสนทางจักรยานเลียบคลอง บางกระสอบ 3) แหลงเพาะพันธุหมากแดง ณ สวนหมากแดงลุงกลม 4) ทํากิจกรรมทองเที่ยวเชิงสรางสรรค รักษโลก ณ บานสวนริมคลองหมู 4 5) สัมผัสวิถีจาก ณ ศูนยเรียนรู บานบางกระสอบ (หอมปาจาก) 6) สวนผักพิง้ คดาว แปลงผักปลอดสารพิษ ใกลกรุง

1,2

27


3. MINDMAP

MINDMAP เล าเรื่องชุมชน

1 จุดต อนรับ (วัดบางกระสอบ)

11. ชุชมชนบางกระสอบ มชนบางกระสอบ - ขอมูลทั่วไปตําบลบางกระสอบ - เสนทางทองเที่ยวโดยชุมชน ตําบลบางกระสอบ 2. วัดบางกระสอบ - ประวัติความเปนมา - พระเกจิอาจารยชื่อดัง - หอวัฒนธรรมวัดบางกระสอบ แหลงรวมเรื่องราวทางประวัติศาสตร 28


2 ปั นเส นทางจักรยาน เลียบคลอง บางกระสอบ

1 กิจกรรมอนุรักษ - ปลูกปา และเรียนรูร ะบบนิเวศปา 3 นํา้ - วิถีชีวิตของคนคุงบางกะเจา - แนะนําเกี่ยวกับการฟนฟูพื้นที่สีเขียว ของชุมชน

3 1 จุดรับประทานอาหาร - ประวัติความเปนมาของสวนฯ - นําเสนอเมนูอาหารตาง ๆ ที่เสิรฟให นักทองเที่ยว เชน แกงสมพริกสด ไขเจียวใบปรง เปนตน - ทําผามัดยอมสีธรรมชาติและ เขียนพูก นั ดวยสีจาก ณ ศาลาริมแมนาํ้

แหล งเพาะพันธุ หมากแดง ณ สวน หมากแดงลุงกลม

MINDMAP/1-3 29


1. ศูนยเรียนรูบานบางกระสอบ (หอมปาจาก) - ประวัติความเปนมาของหอมปาจาก - ลอมวงดื่มชา เลาเรื่องราวเกี่ยวกับจาก - พายเรือสัมผัสวิถีชีวิต - ทําชานมจาก - สาธิตแกงสมพริกสด - สมเทพรส

2. บานสวนริมคลองหมู 4 - กิจกรรมปนกระถางตนไมจาก กากกาแฟ - ความเปนมาและความสําคัญ ของกิจกรรม

30

4

สัมผัสวิถีจาก ณ ศูนย เรียนรู บ านบางกระสอบ (หอมป าจาก) หรือ ทํากิจกรรมท องเที่ยว เชิงสร างสรรค รักษ โลก ณ บ านสวนริมคลองหมู 4


5 สวนผักพิ้งค ดาว แปลงผักปลอดสารพิษ ใกล กรุง - ประวัติของสวนฯ - วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ

MINDMAP/4-5 31


4. เรื่องนี้…ต องขยาย

4เรื่องนี้…ต องขยาย

1

ชื่อดังแหงวัดบางกระสอบ พรอมรูจักวิถีคน บางกระสอบ ผานหอวัฒนธรรมวัดบางกระสอบ แหลงเรียนรูวิถีชีวิต ภูมิปญญาดั้งเดิมของคน พื้ น ถิ่ น และของสะสมโบราณอั น ลํ้ า ค า ที่ มี ความสําคัญทางศาสนา และขาวของเครื่องใช ของคนโบราณ อาทิ ถวยชามสังคโลก เหรียญ เงินพดดวง ถวย จานที่หาดูไดยาก เปนตน

จุดต อนรับ

(วัดบางกระสอบ) วัดบางกระสอบ ตัง้ อยูใ นซอยเพชรหึงษ 18 เปนวัดเกาแกในคุง บางกะเจา สรางเมือ่ ประมาณ พ.ศ. 2357 เดิมชือ่ “วัดใหมตาดวง ยายทรัพย” โดยมีเรื่องเลาวา มีสองสามีภรรยาคูหนึ่งไดไป ที่ ส ะพานท า ยวั ด เพื่ อ ทํ า การเกษตรแต จ อบ ไดฟนกระทบปากโองโบราณ และไดพบเงิน พดดวงจํานวนมาก ทั้งสองจึงไดนําเงินพดดวง มาสรางวัดแหงนี้ และตอมาจึงไดเปลี่ยนชื่อวัด เปน “วัดบางกระสอบ” จุดหามพลาดเมื่อได มาเยือนวัดแหงนีค้ อื เยีย่ มชมโองโบราณเคลือบ สีนํ้าตาลทรงลูกจันสมัยสุโขทัย มีอายุมากกวา 700 ป และรวมนมัสการหลวงพอเชย เกจิอาจารย 32

ประวัติของหลวงพอปาน ซึ่งเปนพระเกจิ อาจารย ชื่ อ ดั ง ไม ไ ด มี ก ารจดบั น ทึ ก ไว เ ป น ลายลักษณอักษร มีเพียงคําบอกเลาสืบตอกัน มาว า ท า นเป น พระเกจิ อ าจารย ยุ ค เดี ย วกั บ หลวงพอปาน วัดบางเหี้ย และมรณภาพเมื่อ ประมาณป พ.ศ. 2446 และทานก็ไดสราง เครื่องรางของขลังที่เปนรูปองคตอันโดงดัง ของเมืองสมุทรปราการ มูลเหตุทหี่ ลวงพอปาน ไดสรางองคตนัน้ มีเรือ่ งเลาสืบกันมาวา มีปห นึง่ หลวงพอปานไดใหชางมาซอมหลังคาโบสถ ซึง่ ชํารุด ชางทีม่ ามุงกระเบือ้ งใหมไดพลัดตกลงมา


พอขึน้ ไปเปลีย่ นกระเบือ้ งใหมกพ็ ลัดตกลงมาอีก เปนอยูห ลายครัง้ หลายหน จนบรรดาชางตางก็กลัว ไมกลาทีจ่ ะขึน้ ไปบนหลังคาโบสถกนั อีก ลูกศิษย ก็ไปบอกหลวงพอปานวาชางกลัวไมกลาขึ้น บนหลังคาโบสถ เพราะตกลงมาแลวหลายคน หลวงพอปานก็บอกวาไมเปนไรเดีย๋ วจะทําของดี ใหกบั ชาง แลวคอยขึน้ ไปซอมหลังคาโบสถใหม จากนัน้ หลวงพอปานก็ไดบอกกับลูกศิษยใหเอา ดามตาลปตรเกา ๆ ที่ชํารุดมาใหทาน ตอมา ทานจึงแกะสลักออกมาเปนรูปองคต มีหางขมวด เปนฐาน จากนัน้ นําไปปลุกเสกและแจกใหแกชา ง ทีม่ าซอมหลังคาโบสถ แลวบอกวาใหขนึ้ ไปซอม หลังคาโบสถอีกครั้งไมตองกลัววาจะตกลงมา ชางก็เริ่มมั่นใจปนขึ้นไปซอมหลังคาโบสถจน เสร็จเรียบรอยโดยไมมีใครตกลงมาอีก จึงเปน ที่โจษขานกันมากในสมัยนั้น ตอมาลูกศิษย หลวงพอปานที่สงสัยวาทําไมหลวงพอจึงให แกะเปนรูปองคต หลวงพอก็เลาเรื่ององคต ใหฟง วา องคตเปนลูกของพาลี และเปนทหารเอก ของพระราม องคตผูนี้มีฤทธิ์มากไมกลัวใคร ตอนที่พระรามใชใหไปเจรจากับทศกัณฐนั้น ก็ไดแผลงฤทธิ์ไวมาก ตอนที่เขาไปในวังของ ทศกัณฐ เห็นวา ทศกัณฐนั่งอยูบนบัลลังกสูง องคตจึ ง เอาหางมาม ว นขดจนสู ง นั่ ง บนหาง เสมอกับทศกัณฐแลวคอยเจรจา แสดงวาองคต ไมกลัวทศกัณฐ และไมยอมกมหัวใหคนไมดี ดวยฤทธิ์เดชของ องคตตามเรื่องรามเกียรติ์ จึงนํามาสรางเปนเครื่องรางของขลังแจกใหแก ชางที่มาซอมหลังคาโบสถ

พระเกจิอาจารยหลวงพอเชย ทานมีนาม เดิมวา เชย เพชรประดิษฐ บิดาชื่อประดิษฐ มารดาชื่อแกว เกิดวันอังคารเดือน 12 ปมะแม พ.ศ. 2413 ตนรัชกาลที่ 5 ตําบลทองคุง บน อําเภอ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ในวัยเยาว ทานมักจะติดตามโยมบิดามารดาไปทําบุญที่ วัดบางกระสอบอยูเปนประจํา ชอบศึกษาทาง พุทธ และไดเปนลูกศิษยของหลวงพอปาน ถือวา เปนปรมาจารยใหญ มีความสามารถเชีย่ วชาญ ในเรื่ อ งวิ ท ยาคม ท า นได รั บ การประสิ ท ธิ์ ประสาทวิชาทัง้ ในทางพุทธโคดมและวิปส สนา ธุระจากหลวงพอปาน วัดบางกระสอบตั้งแต ตนจนมีอายุครบ 22 ป จึงเขาอุปสมบทที่ วัดบางกระสอบโดยมีหลวงพอจันทร วัดทองคุง เปนอุปช ฌาย หลวงพอปาน วัดบางกระสอบ เปน พระกรรมวาจาจารย หลวงพอเพิม่ วัดสนามแดง เปนพระอนุสาวนาจารย ไดรบั การถายทอดวิชา มาจากหลวงพอปาน รวมทั้งการลงอักขระ เลขยันต จนมีวิชาแกกลา เมื่อหลวงพอปาน มรณภาพลงหลวงพ อ เชย ได รั บ หน า ที่ เ ป น เจาอาวาสตอ ทานไดทําการสอนวิปสสนา ใหกั บ อุ บ าสกและอุ บ าสิ ก าเป น จํ า นวนมาก หลวงพอเชย เปนพระภิกษุผูมีศีลงดงาม ตั้งแต วันอุปสมบทจนถึงมรณภาพ ทานมรณภาพ อยางสงบเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 เวลา 23.45 น. สิริรวมอายุ 62 ป พรรษา 40

4/1

33


2 เส นทางจักรยาน เลียบคลอง บางกระสอบ

34

เสนทางปนจักรยาน ตําบลบางกระสอบ เริม่ ตนจากวัดบางกระสอบ แลวปน เขาเสนทาง จั ก รยานเลี ย บคลองในตํ า บลบางกระสอบ ลัดเลาะไปตามคันคลอง รองสวนผลไม บน ถนนบาง เสนทางมีความสวยงามและปลอดภัย ที่นักปนไมควรพลาด ระหวางการปนจะได สัมผัสธรรมชาติอยางใกลชดิ เรียนรูร ะบบนิเวศ สามนํา้ พันธุไ มพนื้ ถิน่ เชน ปาจาก โกงกาง ลําพู เปนตน พรอมสูดอากาศบริสทุ ธิ์ รายลอมไปดวย พื้ น ที่ สี เ ขี ย วและวิ ถี ชี วิ ต คนบางกระสอบริ ม สองขางทาง และพบกับจุดตองหามพลาดของ เสนทางปนจักรยานดวยคุณปูตนไทรที่อายุ เกาแกมากกวา 50 ป แผกิ่งกานใหรมเงาเคียง คูคลองบางกระสอบ


3 แหล งเพาะพันธุ หมากแดง ณ สวนหมากแดงลุงกลม สวนหมากแดงลุงกลม สามารถเดินทางเขา มาไดทั้งซอยเพชรหึงษ 20 หรือ 22 ซึ่งเปน สวนเกษตรติดริมแมนํ้าเจาพระยา เปนแหลง เพาะพันธุกลาไมหมากแดงหลากหลายพันธุ ไมประดับที่มีสีสันสวยงาม นาวาเอกประเภท มาอ ว ม เกษตรกรเจ า ของสวนหมากแดง ที่ชํานาญดานเทคนิคการปลูกเลี้ยงหมากแดง โดยนักทองเที่ยวที่ตองการเรียนรูวิธีการปลูก หมากแดงจะไดรบั ประสบการณมากมาย อีกทัง้ ยังเปนสวนเกษตรแบบผสมผสานทั้งไมยืนตน และไมลมลุก เชน มะมวง กลวย มะกรูด มะนาว มะพราว ตนชวนชม เปนตน นอกจากนี้แลว นักทองเที่ยวยังสามารถรับประทานอาหาร กลางวัน เมนูสุดพิเศษที่เปนอัตลักษณของ ชุมชน ไดแก แกงสมพริกสด ไขเจียวใบปรง ผักบุง ผัดกะป จากนัน้ ทําผามัดยอมจากสีธรรมชาติ และกิจกรรมเขียนพูก นั ดวยสีจาก ในบรรยากาศ สบาย ๆ รับลมเย็น ๆ ณ ศาลาทานํา้ สวนหมากแดง ลุงกลม

4 ทํากิจกรรมท องเที่ยว เชิงสร างสรรค รักษ โลก ณ บ านสวน ริมคลอง หมู 4 เยี่ยมชมสวนเกษตรริมคลองหมู 4 ตั้งอยู ในซอยเพชรหึงษ 20 สวนเกษตรผสมผสาน ของนางลอง รอดชาง ผูด าํ เนินชีวติ ตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงทีป่ ลูกพืชผักกินไดนานาชนิด เชน มะมวง มะนาว กะเพรา โหระพา พริก สมโอ และมะพราว เปนตน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรม ทองเทีย่ วเชิงสรางสรรค อนุรกั ษสงิ่ แวดลอมจาก การปนกระถางจากกากกาแฟที่นักทองเที่ยว สามารถเลือกตนไมในสวน แลวนํามาปลูกใน กระถางของตนเองไดตามใจชอบ

4/2 , 4/3 , 4/4

35


5 ศูนย เรียนรู บ าน บางกระสอบ (หอมป าจาก) ศูนยเรียนรูบ า นบางกระสอบ ตัง้ อยูใ นซอย เพชรหึงษ 22 บานแบบยกใตถุนสูง ตั้งอยู ทามกลางปาจาก สัมผัสวิถีชีวิตจากและเรียนรู ภูมิปญญาทองถิ่น เชน สาธิตวิธีการทําแกงสม พริกสด พายเรือศึกษาวงจรชีวติ จาก ทําชานมจาก ผลิตภัณฑของใชสอยจากตนจากและการแปรรูป อาหารและขนมจากตนจาก พรอมทั้งดื่มดํ่า Afternoon Tea สไตลวิถีจากโดยสามารถ ทํากิจกรรมไดทั้งครึ่งวันและเต็มวัน - ชานมจาก ตนจาก เปนพืชจําพวกปาลมพบไดทั่วไป ทัง้ ในบริเวณนํา้ จืดและนํา้ กรอยขึน้ เปนดงกวาง ถือเปนพืชสารพัดประโยชนของชุมชนปาชายเลน ใชประโยชนไดหลากหลายอยูท ใี่ ครจะนํามาใช ประโยชนทเี่ หมาะสมของแตละทองที่ เชน ทาง ภาคใตนยิ มทํานํา้ ตาลจาก นําใบออนมาตากแหง มวนยาสูบ สานภาชนะใชสอย เชน หมวก และ หมาจาก เปนตน จากใบแกนิยมนํามาเย็บ 36

ตับจากใชมุงหลังคา โหมงจากหรือลูกจากนํา มารั บ ประทานสดมี ร สชาติ ห อมหวานและ ยังนํามาแปรรูปเปนอาหารหวานและคาวได ดอก ออน ๆ นํามาตมจิม้ นํา้ พริกมีรสฝาดและโคนชอ ดอกอยูใตดินนํามาผัดหรือแกงได สะโพกจาก มีลักษณะเบาลอยนํ้าไดดีใชสําหรับใหเด็ก ๆ พยุ ง ตั ว ฝ ก ว า ยนํ้ า ได นอกจากนี้ สํ า หรั บ คุ  ง บางกะเจาซึง่ เปนพืน้ ทีส่ ามนํา้ มีนาํ้ จืด นํา้ กรอย และนํา้ เค็ม พืน้ ทีเ่ ต็มไปดวยความอุดมสมบูรณ เปนพื้นที่ ชุมนํ้า มีตนจากเปนปาธรรมชาติ นําจากมาใชสอยในชีวิตประจําวันอยางคุมคา หนึ่งในนั้น คือ การนําจากมาทําชาสมุนไพรที่ ดีตอใจ โดยนํานมจาก (เกสรที่อยูใตใบจาก มีลกั ษณะเปนขน สีนาํ้ ตาล คลายยาเสน) มาเปน สมุนไพรพืน้ บาน นํานมจากมาผสมกับดอกจาก ทําเปนชาสมุนไพร มีรสสัมผัสที่หอมกรุนจาก ธรรมชาต ธรรมชาติ


- สอนทําแกงสมพริกสด นั ก ท อ งเที่ ย วสามารถมาร ว มทํ า แกงส ม พริกสด อาหารพื้นถิ่นอันเลื่องชื่อประจําตําบล บางกระสอบ เปนเมนูที่หาทานไดยาก รสชาติ เขมขนดวยเครื่องแกง โดยเครื่องแกงคลาย กั บ แกงเลี ย ง เครื่ อ งปรุ ง ประกอบด ว ยกะป พริกขี้หนูสด หัวหอม นํ้ามะขาม นํ้ามะนาว นํ้าตาลมะพราว โขลกใหเขากัน จากนั้นนํา เครือ่ งแกงใสลงไปในหมอรอจนนํา้ เดือด จากนัน้ ใสผักพื้นถิ่นที่หาไดงายตามรั้วบาน เชน หัวปลี ผักบุง ไหลบัว และดอกโสน พรอมปรุงรสชาติ ใสกงุ หรือเนือ้ ปลาลงไป เมือ่ กุง หรือเนื้อปลาผัก สุกจนเขาเนือ้ กันแลวก็รบั ประทานคูก บั ขาวสวย รอน ๆ รสชาติครบเครือ่ งทั้งอรอยและสุขภาพดี - สมเทพรส สมเทพรส ชือ่ นีม้ ปี รากฏมายาวนาน ทัง้ ใน หนังสือราชการสมัยรัชกาลที่ 4 บทกลอนวา ดวยพรรณพืชและสัตวทแี่ ตงในสมัยรัชกาลที่ 5 และตําราปลูกไมผล สมัยรัชกาลที่ 6 ปจจุบัน สมเทพรสนี้หาไดยาก เนื่องจากนํ้าทวมหนัก เมื่อป พ.ศ. 2526 และ พ.ศ. 2538 รวมถึง การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดิน ทําให สวนไมผลแบบผสมผสานคอย ๆ หายไป คนรุน ใหม จึงไมรูจักสมเทพรส ซึ่งตอมากลุมอนุรักษพืช ของชุมชน ไดแก นายนภดล ทองมัน่ นายปรีชา สาธุการ และนายกัมปนาท ปนเลิศ ผูคนพบ ต น ส ม เทพรสในพื้ น ที่ ส วนเก า ของชาวบ า น

ตําบลบางกระสอบ ที่เปนสวนสมเกา จํานวน 3 ตน คาดวาอายุตนประมาณ 30 ป ขึ้นไป เปนตนที่เกิดจากเมล็ดเนื่องจากมีหนามแหลม ยาว ทรงตนสูง โดยสองตนแรก ผิวเปลือกมี สีเขียว ตนที่ 3 ผิวเปลือกสีเขียวปนสีนํ้าตาล สําหรับรสชาติของสมทั้ง 3 ตนนี้ จะแตกตาง จากสมบางมด คือ สมเทพรสเนือ้ ในหวานกรอบ ไมมีรสเปรี้ยวแมผลยังออน เมื่อปอกเปลือก เสนใยผนังผลดานในจะติดเปลือกออกมา สวน สมบางมดเนือ้ ในจะนุม กวา และมีรสเปรีย้ วแซม กลุมผูอนุรักษ จึงชวยกันขุดตนสมทั้ง 3 ตน จากสวนที่ พ บมาปลู ก ในที่ ส วนของตนเอง ชวยกันพัฒนา ฟน ฟูตน ใหแข็งแรงและไดขยาย พันธุสมเทพรสสองตนแรก โดยการตอนกิ่ง เพือ่ เพิม่ จํานวนไปปลูกในสวนของสมาชิกกลุม ประมาณ 100 ตน สวนตนที่ 3 หลังจากขยายพันธุ เพิม่ ประมาณ 3 – 4 ตน ตนแมไดตายลงเนือ่ งจาก ตนไดรับผลกระทบระหวางการเคลื่อนยาย ลักษณะของสมเขียวหวานพันธุเทพรส ลักษณะของสมเขียวหวานพันธุเ ทพรส หรือ บางคนเรียก “สมพระประแดง” เปนกลุมสม เปลือกลอน คลายสมบางมด ลักษณะทีแ่ ตกตาง จากสมสายพันธุอื่น ๆ คือ มีรสหวานตั้งแต ผลออน เปลือกสีเขียว ผิวเรียบ มีจาํ นวน 10 กลีบ ตอผล โดยจุดเดนของสมชนิดนีค้ อื แมวา ลูกจะเล็ก แคไหนหรือเปนสีเขียวแตรสชาติจะหวานเสมอ อีกทั้งยังถือไดวาเปนผลไมพื้นเมืองเฉพาะถิ่น ของคุงบางกะเจาดวย

4/5

37


6 สวนผักพิ้งค ดาว สวนผักพิง้ คดาว ตัง้ อยูใ นซอยเพชรหึงษ 22 เปนสวนผักอินทรียของคุณลุงเงาะ ผูมีใจรัก การทําเกษตร ซึง่ เมือ่ กอนจะปลูกไมยนื ตนเปน สวนใหญ โดยเฉพาะมะพราว แตเนื่องจาก เกษตรกรไดรับผลกระทบจากปญหาดวงกิน มะพราว จึงหันมาปลูกผักอินทรียค วบคูไ ปดวย ผานการลองผิดลองถูกจากประสบการณทสี่ งั่ สม มาตั้งแตวัยเด็ก สําหรับที่มาของชื่อสวนผัก พิ้ ง ค ด าว นั้ น มาจากชื่ อ ของน อ งพิ้ ง ค ด าว หลานสาวของคุณลุงเงาะ สวนผักแหงนีเ้ ต็มไปดวย ผักนานาสารพัดชนิด เชน ผักบุงจีน คะนา ขึ้นฉาย พริกขี้หนูสวน พริกกะเหรี่ยง ผักชีฝรั่ง จิ ง จู ฉ  า ย กระเพรา โหระพา มะเขื อ พวง ผักกวางตุง ผักกาด และยังมีผักวาซาบิ หรือ ผักกาดหิ่น ที่เรียกวาผักวาซาบิเพราะมีรสเผ็ด แถมกลิน่ ยังฉุนคลาย ๆ กับวาซาบินนั่ เอง ผูม าเยือน สามารถเก็บผักสด ๆ และซือ้ กลับไปปรุงอาหาร ที่บานได 38


5. ข อควรปฏิบัติสําหรับนักท องเที่ยว

4/6 , 5

39


1. เส นทางสื่อความหมายตําบลยอ

สารบัญ 40 1 เส นทางสื่อความหมาย ตําบลบางยอ

41 2 8 เรื่องเล า…ห ามพลาด

42 3 MINDMAP เล าเรื่องชุมชน

46 4 เรื่องนี้ต องขยาย

55 5 ข อควรปฏิบัติสําหรับ นักท องเที่ยว

40

1เส นทางสื่อความหมาย ตําบลบางยอ


2. 8 เรื่องเล าห ามพลาด

28 เรื่องเล า… ห ามพลาด

1) ชุมชนตําบลบางยอ 2) ศูนยการเรียนรูคุงบางกะเจาภายใน ตลาดเกษตรคุงบางกะเจา 3) ครัวของคุง 4) ผลิตภัณฑทางการเกษตรในพื้นที่ครัว ของคุง 5) ศูนยการเรียนรูการทํานํ้าตาลมะพราว ลุงพงษศักดิ์ 6) นํ้าตาลมะพราว 7) สวนเกษตรผสมผสานลุงเปยก แหลงเรียนรูการอนุรักษไมหายาก 8) กิจกรรมเพนทหัวโขนจิ๋วบนวัสดุธรรมชาติ

1,2

41


3. MINDMAP

MINDMAP เล าเรื่องชุมชน

1

1. ชุมชนตําบลบางยอ - ขอมูลทั่วไปตําบลบางยอ - ที่มาของชื่อตําบลบางยอ - เสนทางทองเที่ยวโดยชุ​ุมชน

จุดต อนรับ 2. เยี่ยมชมการทําเกษตรและ ษตรและ ผลิตภัณฑทางการเกษตร กษตร - การเพาะเห็ดครบวงจร - การปลูกผักบนกระเบื้อง - การเลี้ยงไสเดือน - การเลี้ยงไกนานาพันธุ – เปดปากนํ้า - การเลี้ยงแพะพระราชทาน - การปลูกกัญชาเพื่อใชในทางการแพทย - กิจกรรมการปลูกผัก/เก็บผักมาทําอาหาร

42


2 ศูนย การเรียนรู การทํานํ้าตามะพร าว ลุงพงษ ศักดิ์

-

ประวัติความเปนมา ภูมิปญญาที่ใกลสูญหาย จากตนสูนํ้าตาลมะพราว ขั้นตอนการแปรรูปนํ้าตาลมะพราว ประโยชนของนํ้าตาลมะพราว

MINDMAP/1-2 43


3 สวนเกษตรผสม ผสานลุงเป ยก

44

- ประวัติความเปนมา - แนะนําพืชพันธุไมหายากตาง ๆ - แนะนําการขยายพันธุพืช


4 กิจกรรมเพ นท หัวโขนจิ๋ว บนวัสดุธรรมชาติ - แรงบันดาลใจ - ผลิตภัณฑ

MINDMAP/3-4 45


4. เรื่องนี้…ต องขยาย

4เรื่องนี้…ต องขยาย

1 จุดต อนรับ 1. ชุมชนตําบลบางยอ ตําบลบางยอ ตั้งอยูในบริเวณทิศตะวันตก ของคุงบางกะเจา อําเภอพระประแดง จังหวัด สมุทรปราการ คําวา “บางยอ” มาจากคําวา “บางยกยอ” ซึ่งเปนคําที่ชาวบานเรียกกัน เนือ่ งจากสมัยกอนบริเวณนีอ้ ยูร มิ แมนาํ้ เจาพระยา สงผลใหพนื้ ดินสวนใหญมคี วามชุม ชืน้ และอุดม สมบูรณ หนองนํ้า ลําคลอง มีสัตวนํ้าอาศัยอยู เปนจํานวนมาก ชาวบานจึงพากันจับปลาโดย ทํา “ยอ” ไวริมนํ้าหนาบาน

46

- ตําบลบางยอ ‘ครัวของคุง’ สมัยกอนคุงบางกะเจา ขึ้นชื่อวาเปนพื้นที่ ที่อุดมสมบูรณ เพาะปลูกอะไรก็เจริญงอกงาม อาชี พ ดั้ ง เดิ ม ของชาวคุ  ง บางกะเจ า จึ ง เป น ชาวสวน แตในระยะ 10 – 20 ปมานี้ชาวสวน เริม่ มีจาํ นานลดลงเรือ่ ย ๆ ดวยเหตุจากหลาย ๆ ปจจัย ไมวาจะเปนคนหนุมสาวมักจะนิยม ทํางานทีโ่ รงงาน หรือเรียนสูง ๆ เพือ่ จะไดไมตอ ง เปนเกษตรกร คนทัง้ คุง บางกะเจาจากทีเ่ คยทําสวน ทําการเกษตรก็คอย ๆ เลือนหายไปเหลือไมถึง รอยละ 10 ในปจจุบัน จึงอยากรื้อฟนอาชีพ เกษตรกรใหกลับคืนมา โดยยึดหลักปรัชญา เศรษฐกิ จ พอพี ย งของในหลวงรั ช กาลที่ 9 ทําใหเกิด ‘ครัวของคุง’ คือเปนพื้นที่เกษตร เปนแหลงอาหารปลอดภัยของชาวคุง บางกะเจา ชาวบานตองมีอาหารการกินที่สมบูรณจาก การเลี้ยงสัตวและพืชผักที่ปลูกเอาไวกินเอง หากเหลือจึงคอยแบงขาย


- เสนทางครัวของคุง ตําบลบางยอ บนกระเบื้ อ ง และเก็ บ ผั ก นํ า มาทํ า อาหาร นั ก ท อ งเที่ ย วจะได สั ม ผั ส วิ ถี เ กษตรแห ง พรอมซื้อผักปลอดสารพิษกลับบานได คุงบางกะเจา เรียนรูภูมิปญญาทองถิ่น รื่นรมย - การเพาะเห็ดครบวงจร สวนเกษตรปลอดสารพิษ ลิ้มรสอาหารพื้นถิ่น การเพาะพันธุเห็ด แสนอรอย และรวมทํากิจกรรมสุขภาพดีกับ 1. เตรียมกอนเชื้อเห็ดโดยการผสมอาหาร สวนผักกลางกรุง เพาะเห็ด (ขี้เลื่อย รําละเอียด ปูนขาว ยิปซั่ม ดีเกลือ) ไมมีเชื้อรา สมบูรณกอนเต็มสวย 2. บรรจุอาหารเพาะลงในถุงพลาสติกทน รอน 3. รวบปากถุง และไลอากาศออก แลวอัด ถุงใหแนน 4. นํากอนเชื้อเห็ดที่ไดไปนึ่งฆาเชื้อ 5. นําถุงอาหารเพาะเห็ดมาใสเชือ้ เห็ด และ นําไปพักเชื้อประมาณ 30 วัน 6. เปดจุกเห็ด ใหเห็ดเติบโต 7. รดนํา้ เชาเย็น หากอากาศรอนตองรดนํา้ 3 รอบ รอเห็ดออกดอกก็สามารถเก็บผลผลิตได 2. เยี่ยมชมการทําเกษตรและผลิตภัณฑ ทางการเกษตร ศูนยการเรียนรูคุงบางกะเจา ตั้งอยูภายใน ตลาดเกษตรคุง บางกะเจา นักทองเทีย่ วสามารถ เยี่ยมชมการทําเกษตรและผลิตภัณฑทางการ เกษตร ในพื้นที่ครัวของคุง มี 6 จุด ไดแก ชม การเพาะเห็ดครบวงจร การปลูกผักบนกระเบือ้ ง การเลี้ยงไสเดือน การเลี้ยงไกนานาพันธุ – เปดปากนํ้า การเลี้ยงแพะพระราชทานและ การปลูกกัญชาเพื่อใชในทางการแพทย โดย นักทองเที่ยวสามารถทํากิจกรรมการปลูกผัก

เมนูเห็ดสุดอรอย อย 1. เห็ดชุบแปงทอด 2. ตมยําเห็ด

4/1 1.1-1.2

47


- การปลูกผักบนกระเบื้อง คือ การปลูกผักบนโตะโดยใชแผนกระเบือ้ ง เพื่อวางเปนพื้นนั่งราน นําผักปลูกลงบนแผน กระเบื้องที่ใชวางเปนพื้นนั่งรานนั่นเอง วิธีการ นี้เหมาะกับพืชที่มีรากตื้น กระเบื้องที่ใชรอง ปลูกควรเปนกระเบื้องมุงหลังคาเกาที่เคยใช งานแลว เพราะมีรูเจาะชวยระบายนํ้าและ ถายเทอากาศใตดนิ กระเบือ้ งใหมไมควรนํามา ใชปลูกเพราะอาจมีการปนเปอนของสารเคมี จากแผนกระเบื้อง และควรใชกระเบื้องลอนคู เพราะมีความกวางและความลึกพอดีสําหรับ รากพื ช การปลู ก ผั ก บนกระเบื้ อ งมี เ ทคนิ ค เล็กนอยคือ ตองพูนดินปลูกใหสูงกวาลอน กระเบือ้ ง และเวนพืน้ ทีบ่ ริเวณหัวแถว ทายแถว ไวเพื่อเวลารดนํ้าดินจะไดไมไหลลงสูพื้น โดย ความพิเศษของผักบนกระเบือ้ งทีศ่ นู ยการเรียน รูแหงนี้ คือ มีการปลูกผักบนกระเบื้องรวมกับ การเลี้ยงไสเดือน เปนการชวยเพิ่มธาตุอาหาร ที่เปนประโยชนกับพืช ชวยใหพืชผักเจริญ เติบโตไดดี ผักทีป่ ลูกมีหลายชนิด ไดแก ผักสลัด ผักกาด ผักบุง ผักคะนา และผักกวางตุง เปนตน ขั้นตอนการปลูก วิธกี ารปลูกผักก็ไมยงุ ยาก เพียงแคนาํ เมล็ด หวานบนแปลงเพาะกลาพักทิ้งไว 1 อาทิตย เมือ่ เมล็ดงอก นํามาใสถาดหลุมแลวพักทิง้ ไวอกี 1 อาทิตย หลังจากนําตนกลาที่เพาะในถาด หลุมมาปลูกในรองกระเบื้องที่ใชปุยหมักมา ผสมกับกากมะพราว และเศษเปลือกไข เพือ่ ทํา เปนดินที่ใชปลูกผัก การปลูกผักจะมีระยะหาง 48

20 x 20 เซนติเมตร หลังจากนั้นก็ดแู ลผักดวย นํ้าหมักชีวภาพ โดยทั้งปุยหมักและนํ้าหมักที่ นํามาใชลวนแลวแตเปนสารอินทรียทั้งสิ้น

- การเลี้ยงไสเดือน กระบวนการเลี้ยงไสเดือน 1. นําขี้วัวนมใสลงไปในกะละมัง 2. นําไสเดือนใสลงไปในกะละมังประมาณ 2 ขีด ตอ 1 กะละมัง 3. รดนํ้าตอนเชาใสกะละมังใหพอชุม 4. ภายใน 1 อาทิ ต ย จ ะได ปุ  ย ไส เ ดื อ น กะละมังละ 1 – 2 กิโลกรัม ประโยชนของปุยไสเดือน 1. ปุยที่ไดมีธาตุอาหารครบถวน 2. นําไปเพาะปลูกไดกับพืชทุกชนิด 3. สามารถนําไปขาย สรางรายได


- การเลี้ยงไกนานาพันธุ – เปดปากนํ้า ศูนยการเรียนรูค งุ บางกะเจา มีการเลีย้ งไก และเปดหลายสายพันธุด ว ยกัน ไดแก เปดปากนํา้ ไกดําภูพาน ไกไขเบทาโกร ไกตะเพาเภาทอง แต ฟ าร ม ของที่ นี่ ไ ม มี ป  ญ หาเรื่ อ งกลิ่ น ไม พึ ง ประสงค เนื่องจากมีนํ้าหมักซึ่งเกิดจากการไป ศึกษาดูงานทีฟ่ ารมคุณดอกรัก จังหวัดปทุมธานี โดยนํ้าหมักผสมเอง ฉีดพนพื้นคอก และยัง สามารถผสมในนํ้าและอาหารใหสัตวกินได อีกดวย ซึง่ มีสว นผสมของจุลนิ ทรียส าํ หรับสัตว หัวเชือ้ จุลนิ ทรีย กากนํา้ ตาล นํา้ มะพราว จุดเดน ของการใชนํ้าหมักคือหลังจากใชแลวคอกสัตว ตาง ๆ ไมมีกลิ่น ไมมีแมลงวันถือวาเปนการนํา ของเสียที่มีมาใชใหเกิดประโยชนได

- การปลูกกัญชาเพือ่ ใชในทางการแพทย ศูนยการเรียนรูค งุ บางกะเจาเปนสถานทีเ่ ดียว ในคุงบางกะเจาที่ไดรับการอนุญาตใหสามารถ ปลูกกัญชาได และมีการปลูกกัญชงเพือ่ ดูวา ดิน ที่เตรียมไวเหมาะกับการปลูกกัญชาหรือไม โดยหลังจากไดเมล็ดแลวตองนําสงกรมการแพทย เพื่ อ สกั ด ดู ว  า ไม มี ส ารตกค า งแล ว ส ง ต อ ให สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เพือ่ ผลิต นํ้ า มั น กั ญ ชา และเป น ที่ เ ดี ย วที่ ซึ่ ง สามารถ เปดครัวทีม่ ผี ลิตภัณฑโดยมีสว นผสมของกัญชา โดยการนําสวนทีเ่ ปนลําตน ใบ ราก นํามาแปรรูป เชน นํ้าชาจากใบกัญชา คุกกี้กัญชา เปนตน

4/1 1.2

49


- กิจกรรมการปลูกผักสลัด กิ จ กรรมการปลู ก ผั ก สลั ด บนกระเบื้ อ ง เปนการนําตนกลาผักสลัดทีเ่ พาะไวในถาดหลุม นํามาปลูกลงดินในกระเบื้อง เวนระยะหาง ระหวางตน 2 x 20 เซนติเมตร จากนั้นรดนํ้า และดูแลใหเติบโตตอไป ทั้งนี้นักทองเที่ยว สามารถเก็บผักสด ๆ นํามารับประทานคูกับ อาหารจานหลักหรือนํามาทําเปนอาหารงาย ๆ ได เพราะที่ศูนยการเรียนรูคุงบางกะเจาแหงนี้มี ผักหลายชนิด เชน ผักกวางตุง คะนา ผักบุงจีน มะเขือเทศ พริก ผักกาดขาว มะเขือ เห็ด เปนตน หรือจะเปนประเภทผักสลัด เชน เรดโอคกรีนโอค กรีนคอส ที่มีใหเลือกมากมาย ผักที่ศูนยการ เรียนรูแหงนี้เปนผักปลอดสารพิษ 50

ประโยชนของผักปลอดสารพิษ 1. พืชผักสวนครัว ปลูกเอง รับประทานเอง ทําใหไดผักสดใหมและมั่นใจวาปลอดภัยจาก สารพิษตาง ๆ 2. ลดคาใชจายในการซื้อสารเคมีปองกัน และกําจัดศัตรูพืช 3. ทํ า เป น รั้ ว บ า นได คื อ ปลู ก ล อ มกั้ น เปนเขตของบานเปนทีม่ าของคําวา ผักสวนครัว รั้วกินได 4. สามารถนําไปขาย เพิ่มรายได


2 ศูนย การเรียนรู การทํานํ้าตาล มะพร าว ลุงพงษ ศักดิ์

การทํานํ้าตาลมะพราว มีเรื่องราวที่นาสนใจ และเปนหนึ่งในภูมิปญญาทองถิ่นของคนใน คุง บางกะเจาทีเ่ ริม่ ตัง้ แตการเก็บนํา้ ตาลจากตน เปนขั้นตอนเริ่มแรกของการไดมาซึ่งนํ้าตาล มะพราว ที่ตองอาศัยเทคนิคและความชํานาญ ที่ ถ  า ยทอดและประสบการณ ที่ สั่ ง สมมา แตปจ จุบนั ผลกระทบจากวิถชี วี ติ ทีเ่ ปลีย่ นแปลง ไปจากการใชประโยชนทดี่ นิ ภายในคุง บางกะเจา ทีถ่ กู เปลีย่ นแปลงไปอยางรวดเร็ว รวมถึงแมลง ศัตรูพืชที่ระบาด จนทําใหพืชจําพวกมะพราว ลดลงเหลือนอยลง ประกอบกับผลตอบแทนทีไ่ ด

อาชีพการทํานํ้าตาลมะพราว เปนหนึ่งในน อาชีพทีอ่ ยูค กู บั คนคุง บางกะเจามานานกวา 40 ป เนื่องดวยนํ้าตาลที่ไดมาจากตนมะพราวเปน สินคาสําคัญของคนชายฝง ทะเล ทัง้ สมุทรปราการร สมุทรสาครและสมุทรสงคราม มาตั้งแตรอย ๆ ปกอน ชาวบางกะเจาที่อายุเฉียดหลักรอยในน วันนี้เคยถูกพอแมใชใหลางกระบอกนํ้าตาลล แทบทุกครอบครัวตองขึ้นนํ้าตาลทุกวัน ดังนั้น ชาวบานในพื้นที่สวนใหญเมื่ออดีตจึงมีอาชีพ หลัก คือ ทํานํ้าตาลจากมะพราวเพราะพื้นที่ สวนใหญจะเปนสวนมะพราว ชาวสวนจะปน เก็บมะพราวนํามาทํานํา้ ตาลมะพราวขายเปนหลัก และมีวิธีการปลูกมะพราวโดยยกรองสวนหรือ ภาษาที่คนในทองถิ่นเรียกวา “รองสวนเจ ก ”

4/1 1.2 , 4/2

51


เมื่ อ เที ย บกั บ ราคาที่ ดิ น ในพื้ น ที่ ที่ กํ า ลั ง เพิ่ ม มูลคา สงผลใหภมู ปิ ญ  ญาการทํานํา้ ตาลมะพราว กําลังจะลดเลือนไปจากพื้นที่คุงบางกะเจา ศู น ย ก ารเรี ย นรู  ก ารทํ า นํ้ า ตาลมะพร า ว โดยคุ ณ ลุ ง พงษ ศั ก ดิ์ แถวเถื่ อ น ผู  ที่ ยั ง คง ประกอบอาชีพการทํานํ้าตาลมะพราวโดยใช ภูมปิ ญ ญาดัง้ เดิมทีไ่ ดรบั การสืบทอดจากบรรพบุรษุ กวาจะเปนนํ้าตาลมะพราวบริสุทธิ์ปกหนึ่งที่ นําไปใชในการปรุงอาหาร ทําขนมใหไดรสชาติ ทีห่ อมหวานมันในคราวเดียวใชเวลาพอสมควร แสดงถึ ง คุ ณ ค า ของชาวสวนที่ รั ก ษาอาชี พ ดั้งเดิมไวใหคนรุนหลังมีโอกาสไดเรียนรูถึงวิถี ชีวิต วัฒนธรรม และการประกอบอาชีพของ คนรุนกอน - จากตนสูนํ้าตาลมะพราว เริ่มตนจากการขึ้นตนมะพราว เพื่อไปปาด งวงมะพราวหรือดอกมะพราว และลางคอ มะพราว หมายถึงการทําความสะอาดบริเวณ ยอดมะพราว ทางมะพราวใหสะอาดแลวใช เชือกที่ฟนจากกานกลวยแหงที่มีความทนและ เหนี ย วมั ด จั่ น หรื อ ช อ ดอกมะพร า ว ดึ ง จั่ น มะพราวใหโนมลงวันละ 1 – 2 เซนติเมตร และ โนม ลงทุ ก วั น เพื่ อ ให ไ ด นํ้าตาล หลังจากนั้น ใชมีดคมที่เรียกวามีดปาดตาล ปาดปลายงวง อีกครั้งโดยใหกินเนื้อดอกมะพราวนอยที่สุด ทิง้ กระบอกไมไผไวรองนํา้ ตาลบางตนใหนาํ้ ตาล จนล น กระบอก เมื่ อ มะพร า วออกดอกใหม จะทําตามขั้นตอนเดิมวนไปอีกครั้ง

52

- ขั้นตอนการเคี่ยวนํ้าตาลมะพราว การเคี่ยวนํ้าตาล เปนความรูที่เลี้ยงชีพคน คุง บางกะเจามาชานาน สงตอกันมาตัง้ แตในอดีต เมือ่ ไดนาํ้ ตาลจากตนมะพราวแลว ขัน้ ตอนการ เคี่ยวนํ้าตาลเริ่มจากโรงเคี่ยวนํ้าตาลนํานํ้าตาล ที่ไดจากมะพราวมาเทรวมกันในกระทะ ตั้งไฟ พอใหนํ้าตาลเดือดแลวทิ้งไว แลวลงมือเคี่ยว ซึ่ ง การเคี่ ย วนํ้ า ตาลต อ งทํ า เตาสร า งบนดิ น เปนเตาขุดบนพืน้ ดิน มีขนาดคอนขางใหญ และ ทําปลองเพือ่ ระบายความรอน สวนฟนทีใ่ ชเคีย่ ว เปนวัสดุเหลือใชจากสวน เชน ทางมะพราวแหง สวนโคน ตัวใบหรือกานมะพราว


จากประสบการณทยี่ าวนาน ทําใหมกี ารปรับ วิธีการเคี่ยวนํ้าตาลจากมะพราวใหเหมาะสม กับสภาพอากาศ ในชวงหนารอนที่มีอากาศ รอนจัด นํ้าตาลสดจะบูดเร็วมาก ชาวสวนจึง ตองรีบนําไปเคี่ยวพรอมทั้งใชเศษไมพะยอม ทีถ่ ากเปนสะเก็ดเล็ก ๆ 2 – 3 ชิน้ ใสในกระบอก เพื่อชวยปองกันนํ้าตาลบูด มีรสเปรี้ยว เมื่อนํา ไปเคี่ยวจะไมจับตัวแข็งเปนกอน การเคีย่ วนํา้ ตาลตองใชกระทะเหล็กใบใหญ เมือ่ นํา้ ตาลเดือดเตรียมใชวสั ดุจกั สานทีท่ าํ ดวย ไมไผทรงกระบอกทรงสูง วางครอบในกระทะ เพื่อปองกันนํ้าตาลที่เดือดขึ้นฟูขึ้นลนออกมา

ฟองนํา้ ตาลทีเ่ กิดตอนเริม่ เคีย่ วชวงแรกเรียกวา ฟองดอกหมาก ยิง่ ลงมือเคีย่ วนาน นํา้ ยิง่ นอยลง เมื่อมีฟองขนาดใหญขึ้น สามารถใชพายกวน นํา้ ตาลเพือ่ ไมใหตดิ กระทะได เมือ่ ฟองใหญขนึ้ อีกสามารถยกลงจากเตา แลวใชไมตีนํ้าตาล ไดเลยสําหรับไมตนี าํ้ ตาล บริเวณสวนปลายทีอ่ ยู ในกระทะจะมีลักษณะรูปตัวที มีขนาด 1 ใน 3 ของพื้นที่กระทะตรงกลางไมพันเชือกปอเหลือ ปลายสองดาน เพือ่ ชวยใหไมปน นํา้ ตาลในกระทะ ได คนทีจ่ ะชักไมปน นํา้ ตาลจะตองถือปลายเชือก ทัง้ สองขาง แลวดึงดานหนึง่ และปลอยดานหนึง่ ปนจนนํ้าตาลเย็นลงและเริ่มแข็งตัว จึงตักใส ภาชนะเปนอันเสร็จสิ้นกรรมวิธีการทํานํ้าตาล มะพราว - ประโยชนของนํ้าตาลมะพราว 1. เพิม่ รสชาติอาหารและขนม เพราะนํา้ ตาล มะพราวมีความหวานมันและหอม จึงนิยมนํา มาปรุงเปนอาหารและขนมไทยแทบทุกชนิด 2. ปองกันและบรรเทาอาการของโรคบาง ชนิด เชน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคคอเลสเตอรอลในเลือดสูง เปนตน

4/2

53


3 สวนเกษตร ผสมผสาน ลุงเป ยก - ประวัติความเปนมา สวนเกษตรผสมผสานลุงเปยก แหลงเรียน รูก ารอนุรกั ษไมหายากเปนการพัฒนาจากสวน เกษตรธรรมดาทั่วไปเปนแปลงเกษตรที่มีการ อนุรักษไมหายากในทองถิ่น โดยคุณสําเริง เครือเอี่ยม หรือพี่เปยก ไดเห็นและคลุกคลีกบั บรรพบุรุษซึ่งประกอบอาชีพการเกษตรมาชา นาน ถูกปลูกฝงใหมคี วามรัก เห็นคุณคาของพืช พรรณตาง ๆ จึงสืบทอดเปนอาชีพเกษตรกร และอนุรกั ษพชื พรรณเกาแก เพือ่ ใหคนรุน หลัง ไดรจู กั จนทําใหมพี ชื พรรณนานาชนิดทีห่ าดูได ยาก อาทิ ตนอินตนจัน ละมุ ด สี ด า มะพู ด อัมพวา มะดัน สมโอทองดี และมะมวงสาย พันธุพนื้ บานหลายสายพันธุ และอีกทัง้ ยังมีการ ขยายพันธุไมหายาก และคงสายพันธุไว

54

4 กิจกรรมเพ นท หัวโขนจิ๋วบน วัสดุธรรมชาติ กิจกรรมเพนทหัวโขนจิ๋วบนวัสดุธรรมชาติ กิจกรรมแสนเพลิดเพลินและฝกสมาธิไดเปน อยางดี เกิดจากแรงบันดาลใจของคุณณัฎฐพชั ร บุ ญ ทิ พ ย ภู ว เดช หรื อ พี่ ก  อ ย จากการอ า น รามเกียรติม์ าตัง้ แตสมัยเด็ก ตอมาเมือ่ มีโอกาส ไดเรียนรูก ารทําหัวโขนจิว๋ จึงมีการฝกฝนเรียนรู และลงมือทํากอใหเกิดเปนอาชีพในเวลาตอมา นักทองเที่ยวสามารถมารังสรรคผลงานผาน กิ จ กรรมเพ น ท หั ว โขนจิ๋ ว บนวั ส ดุ ธ รรมชาติ โดยจินตนาการวาดภาพตามรูปหนุมาน จากนัน้ ระบายสีอะคริลิกตามใจชอบและนํากลับไป เปนของที่ระลึกไดอีกดวย


5. ข อควรปฏิบัติสําหรับนักท องเที่ยว

4/3 , 4/4 , 5

55


1. เส นทางสื่อความหมายตําบลบางน้ําผึ้ง

สารบัญ 56 1 เส นทางสื่อความหมาย ตําบลบางนํ้าผึ้ง

57 2 7 เรื่องเล า…ห ามพลาด

58 3 MIND…MAP เล าเรื่องชุมชน

64 4 เรื่องนี้…ต องขยาย

75 5 ข อควรปฏิบัติสําหรับ นักท องเที่ยว 56

1เส นทางสื่อความหมาย ตําบลบางนํ้าผึ้ง


2. 7 เรื่องเล าห ามพลาด

27 เรื่องเล า… ห ามพลาด 1) 2) 3) 4)

วัดบางนํ้าผึ้งใน ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง เสนทางปนจักรยานสีเขียว บานขนมถวยแมประคอง ขนมถวยสูตรโบราณ 5) วิสาหกิจชุมชนบางนํ้าผึ้งโฮมสเตย 6) วัดบางนํ้าผึ้งนอก 7) กลุมเกษตรแปลงใหญ เกษตรกรผูเลี้ยงผึ้งชันโรง ตําบลบางนํ้าผึ้ง

1,2

57


3. MINDMAP

MINDMAP เล าเรื่องชุมชน

1

1. ชุมชนบางนํ้าผึ้ง - ขอมูลทั่วไปตําบลบางนํ้าผึ้ง - ที่มาของชื่อตําบลบางนํ้าผึ้ง - ประเพณี/วัฒนธรรม - เสนทางทองเที่ยวโดยชุมชน

จุดต อนรับ (วัดบางนํ้าผึ้งใน)

2. วัดบางนํ้าผึ้งใน - ประวัติความเปนมา - ความสําคัญของวัดตอชุมชน 4. กิจกรรมพับดอกไมใบเตย - ประวัติความเปนมา - วัสดุ อุปกรณ - ขั้นตอนการพับใบเตย - ประโยชนใชสอย 58

3. พระมหามณฑปเจดียศรีนครเขื่อนขันธ - ประวัติความเปนมา - สถาปตยกรรม - ชมทัศนียภาพมุมสูงโดยรอบ ของบางกะเจา


2 ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง - ประวัติความเปนมา - การบริหารจัดการตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง - ของดี ของเด็ด ของตองหาม...พลาด

MINDMAP/1-2 59


3 เส นทางปั นจักรยาน สีเขียว

-

60

สวนปาชุมชน ถนนสายดอกไม เสนทางมรกต กิจกรรมยิง โยน เทนํ้าจุลินทรีย


4 บ านขนมถ วย แม ประคอง ขนมถ วยสูตรโบราณ

- ประวัติความเปนมา - จุดเดนของขนมถวยแมประคอง ที่ไมเหมือนใคร - วัตถุดิบ - ขั้นตอนการทํา

MINDMAP/3-4 61


5 วิสาหกิจชุมชน บางนํ้าผึ้ง โฮมสเตย 1. ประวัติความเปนมา

3. เมนูเด็ด ชางคาว ชางหวาน - มัสมั่นลูกจาก - มาฮอ

62

2. กิจกรรมการทํากะโปงจาก - ประวัติความเปนมา - คําวา“กะโปงจาก” - วัสดุ/อุปกรณ - วิธีการทํา - ประโยชนของกระโปงจาก


6 วัดบางนํ้าผึ้งนอก - ประวัติความเปนมา - โบสถและวิหารอันเกาแก - ภาพจิตรกรรมอันสวยงาม

-

ประวัติความเปนมา ผึ้งชันโรงคืออะไร แนะนําการเลี้ยงชันโรง ผลิตภัณฑตาง ๆ ที่ไดจากชันโรง กิจกรรมแปรรูปผลิตภัณฑจากชันโรง นโรง กิจกรรมทําผามัดยอมสีธรรมชาติติ

7 กลุ มเกษตรแปลงใหญ เกษตรกรผู เลี้ยง ผึ้งชันโรง ตําบลบางนํ้าผึ้ง ตาบลบางนาผง

MINDMAP//5-7 63


4. เรื่องนี้…ต องขยาย

4เรื่องนี้…ต องขยาย

1 จุดต อนรับ

(วัดบางนํ้าผึ้งใน) • ชุมชนตําบลบางนํ้าผึ้ง ตําบลบางนํา้ ผึง้ ตัง้ อยูใ นบริเวณทิศตะวันตก ของบริ เ วณคุ  ง บางกะเจ า ในอดี ต ชาวบ า น ประกอบอาชี พ ทํ า สวนผลไม เ ป น ส ว นใหญ เนือ่ งจากดินบริเวณตําบลบางนํา้ ผึง้ มีความอุดม สมบูรณดว ยแรธาตุและสารอาหารจากพืชพันธุ นานาชนิด ทําใหสามารถปลูกผลไมไดเปนอยางดี นํา้ หวานจากเกสรดอกไมเปนแหลงดึงดูดใหผงึ้ มาทํารังในบริเวณพืน้ ทีด่ งั กลาว ชาวบานไดนาํ นํา้ ผึง้ มาตักบาตรจนเปนวิถชี วี ติ และเปนประเพณี ที่สืบทอดกันมารุนสูรุน ทําใหพื้นที่แหงนี้ไดรับ การขนานนามวา “บางนํ้าผึ้ง” 64

• ประเพณีตักบาตรนํ้าผึ้ง ประเพณี สํ า คั ญ ของคนตํ า บลบางนํ้ า ผึ้ ง ซึ่งจัดกิจกรรมในชวงเดือนเมษายนของทุกป โดยชาวบานจะนํานํา้ ผึง้ บรรจุใสขวดและนํามา ใสบาตรพรอมดวยยาเวชภัณฑ เพือ่ ใหพระสงฆ ได นํ า ไปฉั น เป น ยารั ก ษาโรคยามที่ เ จ็ บ ป ว ย ประเพณีนี้ยึดถือปฏิบัติสืบทอดกันมาหลาย ชัว่ อายุคน นอกจากจะตักบาตรนํา้ ผึง้ แลวชาวบาน ในพื้นที่ยังไดมีการเลนสาดนํ้าสงกรานต และ รดนํ้าขอพรจากผูสูงอายุอีกดวย ซึ่งในงานนี้ ไดมกี ารนําธิดาชางบางนํา้ ผึง้ ทีช่ นะการประกวด มารวมแหในขบวน โดยขบวนแหเริม่ แหมาจาก วัดบางนํ้าผึ้งนอก มาตามถนนบัวผึ้งพัฒนา ไปสิ้นสุดที่วัดบางนํ้าผึ้งใน ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร


• วัดบางนํ้าผึ้งใน ตั้งอยูเลขที่ 21 หมู 10 ตําบลบางนํ้าผึ้ง อํ า เภอพระประแดง จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ สังกัดคณะสงฆมหานิกาย มีเนื้อที่ 9 ไร 2 งาน เปนวัดเกามาชานาน สรางมาตัง้ แตสมัยอยุธยา ที่ใชอิฐรูกระเบื้องรางและศิลาแลง มีชื่อวา “วัดดุสติ ดาราม” อยูใ นแขวงเมืองนครเขือ่ นขันธ วั ด นี้ ไ ด ถู ก ปล อ ยรกร า งมานาน ต อ มาได มี ประชาชนในทองถิ่นไดชวยกันบูรณะกอบกู ขึน้ มา โดยมีนายจอยและนายกลิน่ เปนกําลังสําคัญ และไดทาํ เรือ่ งขอเปนเขตวิสงุ คามสีมา จนไดรบั พระบรมราชานุญาต ตั้งแตวันที่ 30 มิถุนายน ร.ศ. 125 พระพุทธศาสนกาล 2449 โดยมี พระอธิการผอง (พระครูธรรมไพโรจน) เปน เจาอาวาสและไดเจริญรุง เรืองมาเปนลําดับ ตอมา ป พ.ศ. 2457 สมเด็จพระมหาสมณะเจาทรง เปลีย่ นแปลงนามวัดเปน “วัดบางนํา้ ผึง้ ใน” เพือ่ ให สอดคลองกับชื่อของตําบลและใหประชาชน มีความผูกพันกับวัดของตน ตอมาภายหลังไดมี ประกาศใหกาํ หนดเปนเขตวิสงุ คามสีมาขึน้ เมือ่ วันที่ 11 ธันวาคม พระพุทธศาสนกาล 2469 ตัง้ แตบดั นัน้ เปนตนมา ปจจุบนั มีพระครูปญ  ญา ธีรานุวัตร,ดร (ไพชน สิริธมฺโม) เปนเจาอาวาส (บันทึกเมื่อป 2565) • พระมหามณฑปเจดียศ รีนครเขือ่ นขันธ พระมหามณฑปเจดียศรีนครเขื่อนขันธ มี ลักษณะสถาปตยกรรมเปนแบบอินเดียผสม แบบไทย สู ง ประมาณ 12 เมตร ตั้ ง เด น ตระหงานอยูใ นวัดบางนํา้ ผึง้ ใน เปนศรีสงาแหง

เมืองนครเขื่อนขันธ สรางขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2552 โดยผูมีจิตศรัทธา มีพระพุทธรูปปางลีลา นาม วา พระพุทธชัยมงคล มหาชนอภิปูชนีย เปน องคประธาน โดยสมเด็จพระพุฒาจารย วัดสระ เกศ เปนผูประทานนาม และยังมีพระพุทธรูป อีก 8 ปาง ประดิษฐาน 8 ทิศ นักทองเที่ยว นอกจากเขาไปสักการะเพื่อเปนสิริมงคลแลว ยังสามารถชมทัศนียภาพมุมสูงโดยรอบของ บางกะเจาไดอีกดวย ซึ่งถือวาเปนมุมตองหาม พลาดกันเลยทีเดียว • กิจกรรมพับดอกไมใบเตย กิจกรรมพับดอกไมใบเตย ถือเปนภูมปิ ญ  ญา ทีอ่ นุรกั ษไวใหคนรุน หลัง หรือผูท สี่ นใจไดเรียนรู โดยการนําใบเตยมาพับเปนดอกไมหลาย ๆ ดอก รวมกันเปนชอ นําไปสักการะพระประธานที่ พระมหามณฑปเจดียศ รีนครเขือ่ นขันธ บริเวณ วัดบางนํ้าผึ้งใน หรือนําไปบูชาพระที่บาน และ ยังสามารถนําไปไวในรถ ตูเสื้อผา หองนํ้าก็จะ ชวยใหมกี ลิน่ หอม สนุกสนานกับการพับใบเตย เปนดอกกุหลาบดวยฝมอื ของทานเอง สามารถ ทําไดหลายอันเพื่อประกอบเปนชอที่สวยงาม แตละขัน้ ตอนตองอาศัยสมาธิและความประณีต โดยมี พี่ เ ลี้ ย งคอยสาธิ ต และให คํ า แนะนํ า ทุกขั้นตอน

4/1

65


2 ตลาดนํ้า บางนํ้าผึ้ง • ตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง - ประวัติความเปนมา ตลาดนํ้ า บางนํ้ า ผึ้ ง เป น แหล ง ท อ งเที่ ย ว ยอดนิยมของตําบลบางนํา้ ผึง้ โดยเกิดจากแนวคิด ขององคการบริหารสวนตําบลบางนํา้ ผึง้ รวมกับ ชาวบาน และผูนําทองถิ่นที่มีความเห็นพอง ต อ งกั น ว า ต อ งการทํ า ตลาดนํ้ า ขึ้ น มาเพื่ อ จําหนายผลผลิตทางการเกษตร แกไขปญหา ผลผลิ ต การเกษตรล น ตลาด และได นํ า เอา ความคิ ด ดั ง กล า วเข า สู  ที่ ป ระชุ ม ประชาคม ตําบล ทําใหไดรับการตอบรับและขยายกรอบ การดําเนินงานใหกวางขึน้ ในลักษณะศูนยจาํ หนาย สินคาชุมชน จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2547 และเปดอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2547 เปนแหลงเรียนรูว ถิ ชี วี ติ วิถชี มุ ชน และวิถีชาวบานที่มีมาแตอดีตบงบอกถึงเสนห ของทองถิน่ ทีส่ ะทอนความเปนเอกลักษณและ วัฒนธรรมไทยโบราณ เปดใหบริการนักทองเทีย่ ว 66

ในวันหยุดเสาร-อาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษ เวลา 08.00 – 16.00 น. เนือ่ งจากในวันธรรมดา คนในชุมชนจะประกอบอาชีพปกติที่เปนงาน ประจํา สวนกิจกรรมทีเ่ กีย่ วของกับการทองเทีย่ ว ถือเปนอาชีพเสริมทีส่ รางรายไดใหกบั คนในชุมชน สนับสนุนใหชาวบานมีรายไดจากการนําผลผลิต ในทองถิน่ ของตนเองมาจําหนาย และกอใหเกิด การสรางงานในชุมชน ทําใหชุมชนเขมแข็ง มากยิ่งขึ้น นับเปนตลาดนํ้าใกลกรุงเทพฯ ที่มี สินคาหลากหลายทัง้ ของกิน ของฝากนานาชนิด จัดซุมใหนักทองเที่ยวเดินยาวกวา 2 กิโลเมตร ขนานไปกับคลองซอยเล็ก ๆ ที่แตกแขนงจาก แมนํ้าเจาพระยา - การบริหารจัดการตลาดนํ้าบางนํ้าผึ้ง มีการจัดตั้งในรูปแบบงานบริหารกิจการ ตลาดบางนํา้ ผึง้ มีประธาน รองประธานและคณะ ทํางาน มีการประชุมผูจําหนายสินคาภายใน ตลาดบางนํ้าผึ้งเดือนละ 2 ครั้ง จะเนนใช ทรัพยากรใหเกิดประโยชนอยางคุมคา มีการ ปลูกตนไมเพิ่ม การใชถุงผาแทนถุงพลาสติก หามใชโฟม พยายามใชวสั ดุในทองถิน่ แทน เชน กระทงใบตองสด กระทงใบตองแหง เปนตน - ของดี ของเด็ด ของตองหาม...พลาด อะไรบาง แวะมาเติ ม พลั ง กั บ หลายเมนู ร สดี เช น กวยเตี๋ยว หอยทอดขนมครก ทอดมั น ปลา ไขปลาหมึกหอใบตองยาง หอหมก ปลาทูตม เค็ม ลูกชิ้นหมูปงกะทิสด เปนตน ลิ้มรสของหวาน พื้นเมืองฝมือชาวบาน เชน ขนมถวย ขนมจาก


ขนมบาบิ่น มาฮอ ลูกจากลอยแกว ขนมเทียน กาละแมกวน หมี่กรอบโบราณ เปนตน และ ยังมีผกั และผลไมพนื้ ถิน่ ตามฤดูกาล สดจากสวน ของชาวบาน เชน ละมุดสีดา ฟกขาว พิลังกา สา มะพราวออน กลวยหอม ชมพูมะเหมี่ยว และมะมวงนํา้ ดอกไมพนั ธเขียวนวล ทีม่ รี สชาติ หวานนุม ลิน้ มีกลิน่ หอม ซึง่ ไดรบั การขึน้ ทะเบียน เปนสิง่ บงชีท้ างภูมศิ าสตร (GI) หนึง่ เดียวในพืน้ ที่ คุงบางกะเจา เปนตน นอกจากนี้ภายในตลาด ยังเปนแหลงศูนยรวมสินคา OTOP ทีส่ รางสรรค

จากคนในชุมชนบางนํ้าผึ้ง และตําบลใกลเคียง ในจังหวัดสมุทรปราการ เชน ผลิตภัณฑจาก ทะเลอยางกุง แหง กะป หอยดอง ภาพประดิษฐ จากรกมะพราว ของตกแตงบาน โมบาย เปนตน ใครจะนั่งชมบรรยากาศตลาดริมนํ้า พรอมทั้ง รับประทานอาหารอรอย ๆ ก็มีใหเลือกทั้ง กวยเตีย๋ วเย็นตาโฟ กวยเตีย๋ วหมูตม ยํา กวยเตีย๋ ว หมูนํ้าตก กวยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา กวยเตี๋ยวตมยํา ทะเล หมี่กระเฉด

4/2

67


3 เส นทางปั น จักรยานสีเขียว

กลวยนํา้ วา มีทงั้ พืชใบเลีย้ งคู และใบเลีย้ งเดีย่ ว เปนตน สวนพันธุไ มทนี่ าํ มาปลูกใหม เชน นนทรี ประดู สัก ตะเคียน เปนตน สวนของการบริหาร จั ด การนั้ น ทางชุ ม ชนมี ค ณะกรรมการและ ผูดูแลชัดเจน มีการจัดการใหคนภายนอกได เขามาศึกษาเรียนรูท างชีวภาพ ทํากิจกรรม เชน ปลูกปา ใสปุย เปนตน ประโยชนที่ไดรับจาก สวนปาชุมชนตําบลบางนํ้าผึ้ง คือเปนแหลง อาหารของคนในชุมชน แหลงเพาะพันธุทาง ชีวภาพ แหลงเรียนรูู และแหลงพักผอนหยอนใจ

เส น ทางป  น จั ก รยานสี เ ขี ย ว มี ห ลายจุ ด นาสนใจ ทัง้ มีเรือ่ งเลา และมีกจิ กรรมเชิงอนุรกั ษ นักทองเทีย่ วสามารถปน จักรยานไปตามเสนทาง ที่โคงไปตามแนวลําคลอง ปนลัดเลาะไปตาม ถนนเสนเล็ก ๆ ผานสวนและบานคน ทามกลาง ธรรมชาติเขียวขจี สงบรมรืน่ สดชืน่ กับธรรมชาติ รอบขางและการอนุรักษความเปนธรรมชาติ ของชุมชน ทําใหเราสามารถเก็บความประทับใจ ไดตลอดเสนทาง • สวนปาชมชุน (สวนปาหมู 4) สวนปาชุมชนตําบลบางนํ้าผึ้ง มีลักษณะ พืน้ ทีเ่ ปนปาชายเลนเกิดจากดินตะกอนทับถมกัน เหมาะแกการทําการเกษตรเพราะปลูกผลไม เชน มะพราว กลวย สม มะนาว มะมวง เปนตน โดยเฉพาะมะมวงนํ้าดอกไม มีรสชาติหวาน อรอยมาก พันธุไมที่มีอยูในพื้นที่เดิม เชน จาก ลําพู จิก เหงือกปลาหมอ ปอทะเล มะพราว 68

• ถนนสายดอกไม ไ  เปนถนนที่อยูในเสนทางจักรยานภายใน สวนปาหมู 4 เกิดจากจิตอาสาที่บรรจงวาดรูป ดอกไมสวย ๆ ลงบนถนนใหเต็มไปดวยลวดลาย ดอกไม จึ ง เรี ย กถนนแห ง นี้ ว  า “ถนนสาย ดอกไม”


• เสนทางมรกต เปนเสนทางคอนกรีตเลียบคลองบางนํา้ ผึง้ เริ่มตั้งแตใกลกับตลาดบางนํ้าผึ้งขนานยาวไป จนสุดประตูนาํ้ ทางออกแมนาํ้ เจาพระยา ลักษณะ เดนของเสนทางสีเขียวคือ ถนนคอนกรีตที่มี รูปตัวผึ้งอยูบนถนนคดเคี้ยว ใหเลี้ยวเลาะไป ตลอดทาง บางชวงมีการเพนทลวดลายดอกไม เพิม่ ความสวยงาม เหมาะแกการถายรูป มีรวั้ กัน้ ใหปนไดอยางปลอดภัย บวกกับความสวยงาม ตลอดฝงคลองบางนํ้าผึ้ง ที่มีตนไมเขียวชอุม สบายตา ระยะปน ตอไปไมไกลก็จะมีรา นอาหาร และที่พักยอดฮิต เชน บานมะขาม พบรัก ณ บางนํ้าผึ้ง บางกอก ทรี เฮาส เปนตน

• กิจกรรมยิง โยน เทนํ้าจุลินทรีย กิจกรรมนี้ นักทองเที่ยวจะไดลองยิง โยน เทนํ้าจุลินทรียและเทนํ้าหมักชีวภาพที่ทําขึ้น โดยชาวบานลงในคลองบางนํา้ ผึง้ บริเวณเสนทาง จักรยาน นอกจากจะไดรบั ความสนุกสนานแลว จุ ลิ น ทรี ย  ยั ง มี ป ระโยชน ต  อ แม นํ้ า ลํ า คลอง ในเรือ่ งของชวยบําบัดนํา้ เสีย กําจัดคราบไขมัน กําจัดขี้เลนกนบอ และเพิ่มออกซิเจนในนํ้า อีกทัง้ สรางจิตสํานึกในการรักษาแมนาํ้ ลําคลอง และตระหนักถึงความสําคัญของแมนาํ้ ลําคลอง อีกดวย

4/3

69


4 บ านขนมถ วย แม ประคอง ขนมถ วยสูตรโบราณ • บานขนมถวยแมประคอง - ประวัติความเปนมา สมั ย ก อ นคุ  ง บางกะเจ า เป น พื้ น ที่ ที่ มี มะพราวมาก แมประคองมักจะทําขนมใหลกู ๆ รั บ ประทาน ซึ่ ง ก็ คื อ ขนมถ ว ยนี่ เ อง โดยใช วัตถุดิบจากธรรมชาติที่มีในทองถิ่น ขนมถวย ที่นี่จึงใชสูตรดั้งเดิมที่สืบทอดกันมารุนสูรุน เคล็ดลับของความอรอยอยูที่การใชมะพราว และนํ้าตาลมะพราวในคุงบางกะเจา ทําให ขนมถวยมีรสชาติกลมกลอม หอม หวานและ ยั ง เป ด โอกาสให นั ก ท อ งเที่ ย วได ม าเรี ย นรู  ทดลองทําขนมถวยไดดวยตัวเอง ตั้งแตการขูด มะพราว การผสมแปง เทสวนผสมลงไปในถวย จนกลายมาเปนขนมถวยสูตรดั้งเดิมนั่นเอง

70

- สวนผสมของขนมถวย ตัวขนมถวย ประกอบดวย แปงขาวจาว แปงมัน นํ้าตาลมะพราว นํ้าใบเตย และหาง กะทิ สําหรับหนาขนมถวย ประกอบดวย หัวกะทิ หางกะทิ แปงขาวจาว และเกลือปน - ขั้นตอนการทํา 1. ทําตัวขนมถวย นวดแปงขาวจาวและ แปงมันดวยนํา้ เปลาใหเขากัน โดยใสนาํ้ ทีละนอย นวดจนกอนแปงไมติดมือ จากนั้นใสนํ้าตาล มะพราว นวดจนนํ้าตาลมะพราวละลาย ใสนํ้า ใบเตย หางกะทิ แลวกรองใหเรียบรอย 2. ทําหนาขนมถวย นวดแปงขาวจาวดวย นํ้าเปลา นวดเปนกอนจนแปงไมติดมือ ใส หัวกะทิ หางกะทิ และเกลือ จากนั้นกรองให เรียบรอย 3. วิธกี ารหยอดขนมถวย นึง่ ถวยในนํา้ เดือด นาน 5 นาที จากนั้นหยอดตัวขนม 3/4 ถวย นึ่งนาน 5 – 7 นาที จากนั้นหยอดหนากะทิ ลงไปจนเต็มถวย นึง่ ตออีก 7 นาที ยกลงรอใหเย็น พรอมรับประทาน


5 วิสาหกิจชุมชน บางนํ้าผึ้งโฮมสเตย • ประวัติความเปนมา ชุมชนทีไ่ ดรบั รางวัลมาตรฐานตาง ๆ มากมาย ที่การันตีถึงคุณภาพ เชน มาตรฐานโฮมสเตย ไทย ป 2561 – 2563 มาตรฐานโฮมสเตยไทย ลําดับที่ 1 ของภาคกลาง ป 2553 มาตรฐาน Asean Homestay Standard ป 2016 - 2018 ชุมชนทองเที่ยว OTOP นวัตวิถี ระดับจังหวัด สมุทรปราการ ซึ่งนักทองเที่ยวสามารถเรียนรู ภูมิปญญาของคนในตําบลบางนํ้าผึ้ง เรียนรู การการทําอาหารแบบโบราณ ขนมไทยโบราณ การนําสมุนไพรธรรมชาติมาทําเปนเครือ่ งประทินผิว และงานจักสาน รวมถึงวิถชี วี ติ บนความพอเพียง ไดอีกดวย

ไดตั้งแตใบจรดราก วิสาหกิจชุมชนบางนํ้าผึ้ง โฮมสเตย จึงไดหยิบยกวิถชี วี ติ ของคนสมัยกอน มานําเสนอตอนักทองเทีย่ ว หนึง่ ในนัน้ คือ กิจกรรม เรียนรูก ารสานกะโปงจาก โดยวัตถุประสงคเพือ่ ตองการอนุรักษภูมิปญญาของคนสมัยกอน และสงมอบเรือ่ งราวสูค นรุน ปจจุบนั กะโปงจาก มีลกั ษณะเหมือนกระเปาแตกตาง โดยคนในพืน้ ที่ เรียกวา “กะโปง” เพราะสมัยกอนไมมถี งุ พลาสติก ใชอยางในปจจุบนั จึงเกิดเปนภูมปิ ญ  ญาการสาน กะโปงจากขึ้นมา ไวสําหรับใสของตาง ๆ แทน การใชกระเปาหรือถุงพลาสติก ไมวา จะเปน สิง่ ของ ผัก หรือผลไม และคนสมัยกอนมักจะนําใสของ เพือ่ ไปถวายวัดอีกดวย โดยนักทองเทีย่ วสามารถ ลงมือสานกะโปงจากไดดว ยตัวเอง ซึง่ ตองอาศัย • กิจกรรมการสานกะโปงจาก สมาธิ ความอดทน และความประณีต ซึ่งจะมี คุง บางกะเจาเปนพืน้ ทีท่ มี่ คี วามอุดมสมบูรณ พีเ่ ลีย้ งคอยใหคาํ แนะนําทุกขัน้ ตอน เมือ่ ทําเสร็จ มีปา จากขึน้ อยูม ากมาย และถือเปนพืชเศรษฐกิจ เรียบรอยสามารถนํากลับไปเปนของที่ระลึก ทีม่ คี ณ ุ ประโยชนหลากหลาย สามารถใชประโยชน หรือใสของเล็ก ๆ นอย ๆ ไดอีกดวย

4/4 , 4/5

71


• เมนูเด็ด ชางคาว ชางหวาน - มาฮอ มาฮอเปนของวางไทยโบราณ แตเดิมเปน ขนมเคียงกินแกลมผลไมที่มีรสเปรี้ยวจัด นิยม ทําในเทศกาลงานบุญและเปนอาหารในพิธตี า ง ๆ ตามความเชือ่ ของแตละทองถิน่ โดยเฉพาะชุมชน ชาวไทยเชื้อสายมอญ “มาฮอ” คือ ผลไม รสเปรี้ ย ว หั่ น เป น ชิ้ น พอดี คํ า โรยด ว ยไส คลายกับสาคูไสหมู ไสที่วานี้เปรียบเสมือน พริ ก เกลื อ ในป จ จุ บั น ที่ เ อาไว ท านกั บ ผลไม รสเปรี้ยว ซึ่งเปนศิลปะการสรางสรรคอาหาร อย า งหนึ่ ง ทํ า ให ท านผลไม ร สเปรี้ ย วได ใ น ปริมาณมาก รสชาติอรอยขึน้ สวนประกอบสําคัญ ไดแก หมูสับ กุงสับ ถั่วลิสงคั่ว หอมแดง ผัดกับ เครือ่ งเทศ ปรุงรสหวานเค็ม โดยกวนใหเหนียว

72

แล ว ป  น เป น ก อ นกลม จากนั้ น นํ า มาวางไว บนชิน้ สับปะรดหรือสมโอ ทีห่ นั่ เปนชิน้ พอดีคาํ แตหากนําพริกเกลือแบบนี้ไปยัดใสสมผาซีก จะเรียกชื่อใหมวา “มังกรคาบแกว” - แกงมัสมั่นลูกจาก อิม่ อรอยกับแกงมัสมัน่ ใสลกู จาก สูตรเฉพาะ ไมเหมือนใครทีช่ มุ ชนตําบลบางนํา้ ผึง้ มีรสชาติ กลมกลอม เขมขน โดยวิธีทําจะเหมือนแกง มัสมั่นทั่วไป แตความพิเศษของที่นี่คือการใส ลูกจากลงไปในแกงมัสมั่นซึ่งลูกจากเปนพืช ทองถิ่นที่ขึ้นอยูทั่วไปในพื้นที่คุงบางกะเจา


6 วัดบางนํ้าผึ้ง นอก • วัดบางนํ้าผึ้งนอก ประวัตคิ วามเปนมา วัดบางนํา้ ผึง้ นอกเปน วัดเกาแกอายุราว 350 ป โบราณสถานที่ยังคง คุณคาทางสถาปตยกรรมสมัยอยุธยาตอนปลาย ไมปรากฏหลักฐานการสรางที่แนชัด แตจาก การตรวจสอบรูปแบบทางสถาปตยกรรมของ อุโบสถและวิหารหลังเกาพบวา เปนลักษณะ อาคารแบบวิลันดาที่สรางดวยวิธีกออิฐเปนตึก ขนาดยอม ซึง่ ไดรบั อิทธิพลมาจากอาคารรานคา ของพวกฝรั่ง และนิยมสรางกันในสมัยอยุธยา ตอนปลาย มีการสันนิษฐานวาสรางขึ้นในสมัย อยุธยาตอนปลายชวงเดียวกับวัดบางนํ้าผึ้งใน ภายในอุโบสถมีหลวงพอใหญ พระพุทธรูปปาง สมาธิ ที่มีมานานเปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของ ชาวบาน มีชื่อเสียงในเรื่องการบนบานศาล กลาวตามความเชื่อ

- โบสถ วิหารอันเกาแกและภาพจิตรกรรม อันสวยงาม สิ่งที่นาสนใจภายในโบสถและวิหารของ วัดบางนํา้ ผึง้ นอกคือ ภาพจิตรกรรม ภายในวิหาร มี ภ าพจิ ต รกรรมฝาผนั ง ที่ ง ดงามเขี ย นเรื่ อ ง พุทธประวัติตอนมารผจญ เหนือชองหนาตาง เขียนภาพเทพชุมนุม ดานหลังพระประธาน เป น ภาพพระมาลั ย สั ก การะเจดี ย  จุ ฬ ามณี สวนภายในโบสถ บานประตูดานหนามีภาพ เครื่องบูชาแบบจีน และบานประตูดานขาง มีภาพสาวมอญนุงผาแหวก เขียนดวยสีฝุน ซึ่ง น.ณ ปากนํ้า หรืออาจารยประยูร อุลุชาฎะ ศิลปนแหงชาติ สาขาทัศนศิลป (จิตรกรรม) บรรยายไวในหนังสือของทานวา “นี่คือภาพ สาวมอญที่สวยที่สุดในสยามประเทศ”

4/6

73


7 ในการแยกรั ง ผึ้ ง ชั น โรง การเก็ บ นํ้ า หวาน ผึง้ ชันโรงและชิมนํา้ หวานจากรังของผึง้ ชันโรงได ผึ้งชันโรงผลิตไดทั้งนํ้าผึ้งและชัน แตไมผลิต นมผึ้ง มีบทบาทสําคัญในการชวยผสมเกสร ตอมดอกไมทกุ ชนิด ไมเลือกตอมเฉพาะดอกไม ทีช่ อบ เนนเก็บเกสร 80 เปอรเซ็นต เก็บนํา้ หวาน ดอกไม 20 เปอรเซ็นต และดวยระยะบินหากิน แค 300 เมตรจากรัง ทําใหผึ้งชันโรงมีโอกาส ผสมเกสรดอกเดิมซํ้าหลายรอบ จึงควบคุมให - วัตถุประสงค วั ต ถุ ป ระสงค ห ลั ก ในการเลี้ ย งผึ้ ง ชั น โรง ผึง้ ชันโรงผสมเกสรดอกไมทตี่ อ งการไดงา ยกวา ยเพิม่ ผลผลิตพืชตาง ๆ ไดเปนอยางม ไดเปนอยางมี คื อ ต อ งการให ตํ า บลบางนํ้ า ผึ้ ง มี ผึ้ ง อยู  คู  กั บ ผึง้ ทัว่ ไป ชวยเพมผลผลตพชตาง ชาวบางนํ้าผึ้ง และเพื่อชวยผสมเกสร สงผลให ประสิทธิภาพพ ผลผลิตทางการเกษตรเพิม่ ขึน้ อีกทัง้ นํา้ ผึง้ ชันโรง ยังมีสรรพคุณทางยาสูงอีกดวย - ผึ้งชันโรง ผึ้งชันโรง หรือ ผึ้งจิ๋ว (Stingless Bees) เปนแมลงในกลุมเดียวกับผึ้ง แตไมมีเหล็กใน ขนาดของผึ้งชันโรงจะเล็กกวาผึ้งมาก อาศัย ในโพรงธรรมชาติ เชน โพรงไม โพรงใตดนิ และ โพรงเทียมหรือสิ่งกอสรางที่มนุษยสรางขึ้น พบไดในทุกภูมภิ าคของไทย มีชอื่ เรียกแตกตาง กันไปตามแตละทองถิน่ กิจกรรมแยกรังผึง้ ชันโรง ชมการสาธิตหรือนักทองเทีย่ วสามารถมีสว นรวม

กลุ มเกษตรแปลงใหญ เกษตรกรผู เลี้ยง ผึ้งชันโรง ตําบลบางนํ้าผึ้ง

74


5. ข อควรปฏิบัติสําหรับนักท องเที่ยว

- กิจกรรมแปรรูปผลิตภัณฑจากผึง้ ชันโรง สบูกอน สบูเหลว (ครีมอาบนํ้า) การทําสบูเหลวจากผึ้งชันโรง เปนการนํานํ้าผึ้งชันโรงมาผสม กับขมิน้ และสวนประกอบอืน่ ๆ โดยนักทองเทีย่ วสามารถมีสว นรวม ไดตั้งแตขั้นตอนแรก จนถึงขั้นตอนสุดทาย ซึ่งจะมีคนในชุมชน คอยใหคําแนะนําทุกขั้นตอน เมื่อทําเสร็จเรียบรอยก็นํากลับไป ใชงานเอง หรือนําไปเปนของฝาก ของทีร่ ะลึกไดดว ย โดยสรรพคุณ ของนํ้าผึ้งชันโรงคือจะมีสารตาานอนุ นอนุมูลอิสระที่สูงมาก ชวยชะลอ ความเสือ่ มตาง ๆ ของเซลล ทําให าใหผวิ เรียบเนียน และชะลอการเกิด ริ้วรอย

4/7

75


- กิจกรรมทําผามัดยอมสีธรรมชาติ ดวยวิถีดั้งเดิมที่ผูกพันกับสายนํ้าลําคลอง ความเปนระบบนิเวศสามนํ้า จืด เค็ม กรอย “จาก”จึงเปนพืชพืน้ ถิน่ ทีช่ มุ ชนคุน เคยอยูใ นวิถี ชีวติ ของชุมชน ซึง่ “จาก” มีประโยชนมากมาย เชน ใชใบมามุงหลังคา ใชทําอาหาร ขนม เชน ขนมจาก ใบยอดจากตากแหงใชมวนเปนใบ ยาสู บ ทํ า แส ป  ด ยุ ง เป น ต น คุ ณ อุ ทั ย รั ต น คงสมบัติ ไดนาํ โหมงจากโดยใชลกู จากทีเ่ อาเนือ้ ออกมาใชในการทํานํ้ายอม รวมทั้งสวนอื่น ๆ ของจาก เช น ตะโพกจากหรื อ สะโพกจาก ทางจาก รากจาก จะไดสธี รรมชาติทใี่ หสนี าํ้ ตาล ออน แก ทีม่ คี วามงดงาม นอกจาก “จาก” แลว

766

ยังใชใบไมอื่น ๆ ที่มีอยูในทองถิ่นมาทําเปนสี ยอมผา เชน หูกวาง มะมวง ก็จะไดสที แี่ ตกตาง กันออกไป ดวยเทคนิคและความแตกตางของการมัด ผืนผาทีส่ รางจากจินตนาการของผูท าํ ทําใหเกิด ลวดลายที่ไมซํ้าแบบ ความออนแกของเฉดสี ด ว ยลายที่ ผู  ทํ า จั ด ระเบี ย บและสร า งสรรค จินตนาการผานกระบวนการพับผา รัด และมัด จึงนําไปยอม ลวนเปนเสนหของการมัดยอมสี ธรรมชาติ ความโดดเด น ของการมั ด ย อ ม ของคุณอุทัยรัตนอีกอยางหนึ่งก็คือ ลวดลาย อันสะทอนถึงชื่อของตําบลบางนํ้าผึ้ง คือ ลาย ผึ้งชันโรงหรือผึ้งจิ๋วนั่นเอง


4/7 , 5

77


78


5

79


1. เส นทางสื่อความหมายตําบลบางกอบัว

สารบัญ 78 1 เส นทางสื่อความหมาย ตําบลบางกอบัว

79 2 10 เรื่องเล า…ห ามพลาด

80 3 MINDMAP เล าเรื่องชุมชน

84 4 เรื่องนี้ต องขยาย

93 5 ข อควรปฏิบัติสําหรับ นักท องเที่ยว

80

1เส นทางสื่อความหมาย ตําบลบางกอบัว


2. 10 เรื่องเล าห ามพลาด

210 เรื่องเล า… ห ามพลาด

1) ชุมชนบางกอบัว 2) วัดบางกอบัว 3) พิพิธภัณฑพื้นบานคลองบน 4) บานกลางสวนบางกอบัว 5) วิถีคลองแพ 6) เมี่ยงกลีบบัวพริกกะเกลือ 7) ลูกไมกับสายนํ้า 8) ผามัดยอมสีธรรมชาติ 9) ลูกประคบสมุนไพร 10) นวดแชเทาดวยสมุนไพรสด

1,2

81


3. MINDMAP

MINDMAP เล าเรื่องชุมชน

1 ฐานต อนรับ

บ านกลางสวน บางกอบัว (ที่ตั้งชมรมส งเสริม การท องเที่ยวโดย ชุมชนตําบล บางกอบัว)

1. ชุมชนบางกอบัว - ขอมูลทั่วไปตําบลบางกอบัว - ที่มาของชื่อตําบลบางกอบัว - ประเพณี / วัฒนธรรม - เสนทางทองเที่ยวโดยชุมชน 2. วิถีคลองแพ - ประวัติความเปนมาของคลองแพ - ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมในคลองแพ - วิถีของชุมชนที่ผูกพันกับสายนํ้า - ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อที่เกี่ยวของกับสายนํ้า - ลองเรือชมคลองแพ อุโมงคจาก แลฝงพระนคร - กิจกรรมอนุรักษและฟนฟูสายนํ้า

3. เมี่ยงกลีบบัวพริกกะเกลือสุดยอด ของอาหารปรับธาตุ - ประวัติความเปนมา - วัตถุดิบ สวนผสมและขั้นตอนการทํา - สรรพคุณของเมี่ยงกลีบบัวพริกกะเกลือ - ความแตกตาง คุณคาที่อยากสงตอให นักทองเที่ยว 4. ลูกไมกับสายนํ้า ศิลปะประดิษฐจากวัสดุธรรมชาติ - ประวัติความเปนมา - วัสดุ อุปกรณ - ขั้นตอน วิธีการทําลูกไมประดิษฐ - สินคาและผลิตภัณฑแนะนํา - การสรางสรรคและแรงบันดาลใจ

82


5. กิจกรรมทําผามัดยอมสีธรรมชาติ - ประวัติความเปนมา - วัสดุ อุปกรณ - ขั้นตอน วิธีการทําผามัดยอมสีธรรมชาติ - สินคาและผลิตภัณฑแนะนํา - การสรางสรรคและแรงบันดาลใจ 6. กิจกรรมการทําลูกประคบสมุนไพร พรอมสาธิตการนวดประคบ - ประวัติความเปนมาและคุณคาของสมุนไพรไทย - วัตถุดิบ สวนผสมของลูกประคบสมุนไพร - วัสดุ / อุปกรณ - ขั้นตอนและวิธีการทําลูกประคบสมุนไพร - การใชลูกประคบสมุนไพรสามัญประจําบาน - ประโยชนและสรรพคุณของลูกประคบสมุนไพร 7. กิจกรรมนวดแชเทาดวยสมุนไพรสด - ประวัติความเปนมาและคุณคาของสมุนไพรไทย - วัตถุดิบ สวนผสมของสมุนไพรแชเทา - ขั้นตอนและวิธีการทํา - ประโยชนและสรรพคุณของการแชเทา ดวยสมุนไพรสด

MINDMAP/1

83


2 วัดบางกอบัว 84

- ประวัติความเปนมา - โบสถเกา เสากลม อัตลักษณของตําบลบางกอบัว - หลวงปูเหมือนเกจิอาจารยชื่อดัง เทพเจาแหงตําบลบางกอบัว - ความผูกพันความสําคัญของวัดที่มีตอชุมชน


3 - ประวัติความเปนมา - เรียนรูว ิถีชีวิตในอดีตของชุมชนผานเรื่องราว จากขาวของ เครื่องใช วัตถุโบราณที่ควรคา แกการอนุรักษ - “แกงกรุบมะพราวกุงสด” อาหารพื้นบาน ของชุมชนที่หามพลาด 1 ในเมนูสํารับ ชางคาว ชางหวานของคุงบางกะเจา

พิพิธภัณฑ พื้นบ านคลองบน

4 มหาเทวลัย-พระพิฆเนศ สักการบูชาขอพรพระพิฆเนศ เทพเจ าแห งความสําเร็จ ปางมหาราชา และเดินลอดพระชงฆ พระพิฆเนศ แห งเดียวในโลก

- ประวัติความเปนมา - ความศรัทธาและความเชื่อ - การบูชาขอพรพระพิฆเนศ

MINDMAP/2-4 85


4. เรื่องนี้…ต องขยาย

4เรื่องนี้…ต องขยาย

1 บ านกลางสวน บางกอบัว 1.1 ชุมชนตําบลบางกอบัว ตําบลบางกอบัว ตั้งอยูทางทิศตะวันออก เฉียงเหนือของอําเภอพระประแดง จังหวัด สมุทรปราการเปน 1 ใน 6 ตําบลของคุง บางกะเจา ที่มาของชื่อตําบลบางกอบัวนั้นพื้นที่สวนใหญ ของตําบลบางกอบัวมีลักษณะเปนที่ราบลุม มี ก อบั ว ขึ้ น อยู  ต ามหนองนํ้ า ลํ า ประโดง เปนจํานวนมาก ชาวบานทั่วไปจึงเรียกติดปาก วา “บางกอบัว” • ประเพณีตักบาตรทางนํ้า ประเพณีสําคัญของคนตําบลบางกอบัว จัดขึ้นเพื่อเปนการสืบสานการตักบาตรทางนํ้า ซึ่งในอดีตไปมาหาสูกันในคุงบางกะเจาจะใช การสัญจรทางแมนาํ้ ลําคลองเปนหลัก โดยพระสงฆ 86

จะใชเรือพายบิณฑบาต และชาวบานมารอ ใสบาตรบริเวณทานํ้าหนาบาน ตอมาเมื่อมี การตัดถนนการเดินทางสัญจรมีความสะดวก สบาย ชุมชนจึงนิยมใชการเดินทางทางถนน เปนหลักทําใหการสัญจรทางนํา้ ลดนอยลงมาก ประเพณีตกั บาตรทางนํา้ จึงคอย ๆ เลือนรางไป ตอมาคนในชุมชนเกรงวาประเพณีนจี้ ะสูญหายไป จึงจัดใหมีการสืบสานประเพณีนี้ไว ปจจุบัน ประเพณีตกั บาตรกําหนดจัดขึน้ ในวันที่ 12 สิงหาคม และวันที่ 5 ธันวาคมของทุกป ซึ่งคนในชุมชน และตําบลใกลเคียง ตลอดจนพุทธศาสนิกชน ทั่วไปจะนําขาวสารอาหารแหงมาตักบาตร เรียงรายตลอดลํานํ้าคลองแพ


• เสนทางทองเที่ยวโดยชุมชน เปนการทองเทีย่ ววิถคี ลองแพ ตําบลบางกอบัว ซึ่ ง นั ก ท อ งเที่ ย วจะได สั ม ผั ส กั บ วิ ถี ค นที่ อ ยู  ริมคลอง รับฟงเรือ่ งราวของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ 3 นํา้ ชมความงดงามของคลองแพ ผานไทรยอย และแนวอุโมงคจากที่ทอดตัว เรียงรายตามลํานํ้า นอกจากนี้แลวทานจะได เห็นทานํา้ ทีย่ งั มีรอ งรอยของอดีตใหเห็น เรือ่ งเลา เรื่องราวตาง ๆ การเหเรือที่มีเสนห กิจกรรม อนุรักษคลองและสายนํ้ารวมทั้งกิจกรรมสราง สุขภาวะ ทั้งอาหารการกิน การดูแลสุขภาพ ความสุขทางใจจากกิจกรรมตาง ๆ ของชมรมฯ ซึง่ ไดเตรียมการตอนรับนักทองเทีย่ วดุจญาติมติ ร

1.2 วิถีคลองแพ คลองแพ เปนคลองเล็ก ๆ 1 ในจํานวน 8 คลองของตําบลบางกอบัว ระยะความยาว ของคลองประมาณ 2.8 กิโลเมตร ปากคลอง ติ ด กั บ แม นํ้ า เจ า พระยาทางทิ ศ ตะวั น ออก ปลายคลองติดทิศตะวันตกเชื่อมไปถึงตําบล บางนํ้าผึ้งและตําบลบางยอ ในอดีตการเดินทางในชุมชนตองเดินบน คันสวนของชาวบาน เมื่อเขาสูฤดูฝนทําใหดิน เปนเลนและลื่น คนในชุมชนจึงนิยมสัญจรทาง นํ้าเปนหลัก เรือทองถิ่นที่ใชในการสัญจรจะใช เรือสําปน นอกจากนีแ้ ลวยังใชเรือเพือ่ ประกอบ อาชีพทําประมง เชน ตีอวน ตกกุงตกปลา เปนตน ดังนั้นคลองตาง ๆ ในตําบลบางกอบัว และในคุงบางกะเจาจึงเชื่อมโยงถึงกันและยัง สามารถเดินทางออกแมนาํ้ เจาพระยาไดอกี ดวย นอกจากคลองจะเป น เส น ทางหลั ก ในการ เดินทางแลว ยังเปนเครื่องมือในการนํานํ้าเขา ร อ งสวน หรื อ ลํ า ประโดงหรื อ ที่ เ ราเรี ย กว า คลองซอยนั่นเอง คลองในสมัยกอนยังเปนแหลงอาหารของ คนในชุมชน มีปลาหลายชนิด เชน ปลาตะเพียน ปลากระบอก ปลาเสือ ปลาบู ปลาสลิด ปลาที่ อรอยสําหรับคนในคุง บางกะเจา คือ ปลาดุกอุย สวนกุงจะมีกุงกามกราม กุงตะกาด ปูเปยว ปูกามดาบ ปูแสม เปนตน ระบบนิเวศริมคลอง เนือ่ งจากเปนนิเวศ 3 นํา้ จึงมีความอุดมสมบูรณของสายนํา้ ซึง่ ทัง้ สัตวนาํ้ พืชที่อยูริมคลอง เชน ตนจาก ปอทะเล ลําพู

4/1 1.1/1.2

87


ลําแพน คลัก พิลงั กาสา ตีนเปดนํา้ กรวยลําเจียก เปนตน พืชเหลานี้มีรากที่ชวยยึดเกาะดินและ ยังเปนที่อยูของสัตวนํ้าตาง ๆ การตัง้ บานเรือนของชุมชนจะตัง้ บานเรือน ปลูกอยูร มิ คลอง จะมีศาลาทานํา้ ไวใชประโยชน เชน ลงไปตักนํ้าใสโอง เปนทาจอดเรือของ พอคา แมคาที่มาขายของทางเรือ นอกเหนือ จากการตั้งบานเรือนอยูตามแนวริมคลองของ ชุมชนแลว ยังมีรา นคาทีต่ งั้ อยูร มิ คลอง สมัยกอน คนในชุมชนไมไดเรียกรานคาวารานคา แตกลับ เรียกวา “แพในคลอง” อันเปนที่มาของชื่อ คลองแพนั่นเอง ดานอาหารการกิน ในคลองแพยังมีบา นชาง อาหารคาว คือ บานยายจี่ เจาตํารับอาหารไทย โบราณไดแก “ยําใหญ” เปนอาหารไทยโบราณ ตํารับชาววังโบราณทีม่ อี ายุยาวนานกวา 100 ป ตั้ ง แต ช  ว งสงครามโลกครั้ ง ที่ 2 ที่ ถู ก พู ด ถึ ง ในกาพยชมเครือ่ งคาวหวาน บทพระราชนิพนธ ในรัชกาลที่ 2 “ยําใหญใสสารพัด วางจานจัด

88

หลายเหลือตรา รสดีดว ยนํา้ ปลาญีป่ นุ ลํา้ ยํา้ ยวน ใจ” ยําใหญจึงเปนเมนูที่ใสเครื่องเยอะไมวา จะเปนเนื้อหมู เนื้อไก กุง ไขไก เครื่องยําตาง ๆ โดยเคล็ดลับอยูที่นํ้ายําที่กลมกลอมไมจัดจาน จนเกินไปแบบตํารับอาหารชาววัง และยังมี บานยายเล็ก ตาจวง ซึ่งเปนชางอาหารหวาน ของไทย เชน ทองหยิบ ทองหยอด ขนมชั้น ขนมหมอแกง เปนตน สําหรับกิจกรรมทองเทีย่ ววิถคี ลองแพ เปน การลองเรือพายชมอุโมงคตนจากในคลองแพ โดยใชเวลาประมาณ 45 - 60 นาที นักทองเทีย่ ว จะไดสัมผัสกับความรมรื่น ความเงียบสงบ อากาศบริสุทธิ์ ชื่นชมธรรมชาติริมคลองแพ รับฟงเรือ่ งราวประวัตคิ วามเปนมาของคลองแพ วิถีชีวิตของคนที่อยูริมคลองผานความรมรื่น ของกอจาก อุโมงคจากทีท่ อดตัวเปนแนวพันธุไ ม พื้นถิ่น ระบบนิเวศ 3 นํ้าและรวมทํากิจกรรม อนุรักษฟนฟูสายนํ้า เชน กิจกรรมปลูกลูกจาก เปนตน นอกจากนี้แลวนักทองเที่ยวจะไดชม


ความแตกตางของวิว ทิวทัศนที่แมอยูเพียงแค คนละฝงแมนํ้า หากแตเมื่อไดแลมองพระนคร ที่ อ ยู  ฝ   ง ตรงกั น ข า มกั บ คุ  ง บางกะเจ า กลั บ มี ความแตกตางกันอยางสิ้นเชิง 1.3 เมี่ยงกลีบบัวพริกกะเกลือ สุดยอดของอาหารปรับธาตุ เมี่ยงกลีบบัวพริกกะเกลือ เมนูเด็ดสุดยอด เมนูอาหารปรับธาตุที่มีเอกลักษณความพิเศษ ของที่นี่คือ การนําพริกกะเกลือที่เปนอาหาร โบราณ เป น ภู มิ ป  ญ ญาของคนโบราณที่ จ ะ เก็บรักษาอาหารไวรับประทานใหไดนานและ หิวเมื่อใดก็สามารถนํามารับประทานไดทันที วัตถุดิบสําคัญคือมะพราว ซึ่งคุงบางกะเจา ในสมัยกอนชาวบานนิยมปลูกมะพราวกันมาก เพือ่ เปนวัตถุดบิ ในการประกอบอาหาร เอามาขูด คั้นเปนกะทิ ลูกมะพราวทานได นํ้าหอมหวาน ชืน่ ใจ นอกจากนีแ้ ลว ชุมชนยังสามารถปาดงวง มะพร า วหรื อ ดอกมะพร า วนํ า มาทํ า นํ้ า ตาล มะพราวเก็บไวใชเพือ่ การประกอบอาหารในบาน อีกดวย เพื่อเปนการอนุรักษอาหารโบราณ ไมใหสูญหาย ชุมชนจึงนําพริกกะเกลือมาเปน สวนประกอบแทนนํา้ เมีย่ งโดยนําเอามะพราวขูด มาคั่วในกระทะดวยไฟปานกลาง แลวคั่วไป เรือ่ ย ๆ จนมะพราวเหลืองหอม จากนัน้ จึงนํามา พักไวใหเย็น แลวนํามาตําในครกหินจนมีนาํ้ มัน ออกมา และปรุงรสชาติดว ยนํา้ ตาลมะพราวกับ เกลือ ตํารวมกันอีกครั้งเพื่อใหไดรสหวานเค็ม ทานคูกับเครื่องเคียง อยางกุงแหง ขิง มะนาว และถั่วลิสงคั่ว จึงเปนสูตรเฉพาะที่มีในชุมชน

ซึ่งนักทองเที่ยวที่มาที่นี่ตองหามพลาดที่จะ ลิม้ รสชาติอนั โอชาของเมีย่ งกลีบบัวพริกกะเกลือ เมือ่ ไดมาเยือนตําบลบางกอบัว เมี่ยงกลีบบัวพริกกะเกลือเมนูเด็ด สุดยอด เมนูอาหารปรับธาตุ ซึ่งมีประโยชนกับรางกาย ดังนี้ กลีบบัว : บํารุงหัวใจและมีไฟเบอรสูง หัวหอม : บํารุงธาตุลม แกไขหวัด ขิง : บํารุงธาตุไฟ แกอาเจียน เปลือกมะนาว : ธาตุไฟ ชวยขับลม มะนาว : บํารุงธาตุนํ้า ขับเสมหะ พริก : บํารุงธาตุลม ชวยยอยอาหาร บรรเทาอาการทองอืดเฟอ กุงแหง : บํารุงธาตุดิน บํารุงผิวหนัง นํ้าตาล : บํารุงธาตุดิน บํารุงกําลัง มะพราวคั่ว : บํารุงธาตุดิน บํารุงกระดูก ถั่วลิสง : บํารุงธาตุดนิ บํารุงไขขอและ เสนเอ็น

เมี่ยงจึงถือไดวาเปนสุดยอดของอาหาร ปรับธาตุซงึ่ จะชวยบํารุงสุขภาพของทานไดเปน อยางดี

4/1 1.3

89


1.4 ลูกไมกับสายนํ้า ศิลปะประดิษฐ จากวัสดุธรรมชาติ หากนั ก ท อ งเที่ ย วได มี โ อกาสนั่ ง เรื อ ชม คลองแพ จะสังเกตไดวาระหวางที่นั่งเรือและ เพลิดเพลินอยูกับการชมทัศนียภาพสองฝง คลอง ทานจะไดพบเห็นลูกไมลอยตามนํ้ามา เชน ลูกตีนเปด และลูกจาก เปนตน ชุมชนมี แนวคิดที่จะสรางมูลคาโดยการขัดลางและได นําลูกไมเหลานี้มาประดิษฐเปนงานศิลปเพื่อ สรางอาชีพและรายไดใหกบั คนในชุมชน ซึง่ นัก ทองเที่ยวสามารถทํากิจกรรมการประดิษฐ ลูกไมจากธรรมชาติเปนพวงกุญแจ พวงแขวน หรือจะรวมสนับสนุนชุมชนโดยซื้อผลิตภัณฑ เหลานี้ไปเปนของฝาก ของที่ระลึกใหกับคนที่ นักทองเที่ยวทุกเพศ ทุกวัย นอกจากนี้แลว นักทองเที่ยวยังสามารถสนับสนุนกลุมไดโดย อยูทางบานไดอีกดวย การซื้อผลิตภัณฑผามัดยอมสีธรรมชาติ เชน จานรองแกวมัดยอมสีธรรมชาติ มะมวงพวงกุญแจ 1.5 กิจกรรมทําผามัดยอมสีธรรมชาติ ชมรมส ง เสริ ม การท อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชน มัดยอม เปนตน ตําบลบางกอบัว ตระหนักถึงความสําคัญของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดังนั้น 1.6 กิจกรรมการทําลูกประคบสมุนไพร พรอม จึงจัดกิจกรรมและเสนทางทองเทีย่ วทีเ่ ปนมิตร สาธิตการนวดประคบ เรียนรูก ารทําลูกประคบสมุนไพรในการดูแล กับสิ่งแวดลอม กิจกรรมทําผามัดยอมโดยใชสี จากธรรมชาติเปนการนําเอาใบไม ดอกไม เชน สุขภาพของชุมชนบางกอบัว โดยใชสมุนไพรสด พิลังกาสา ดอกดาวเรือง ขมิ้น เปนตน นํามา อาทิ ตะไคร ขมิ้นชัน ใบมะขาม มะกรูด ไพล ต ม และใช ย  อ มผ า เพื่ อ ทดแทนการใช สี เ คมี พิมเสน เกลือ การบูร ที่เปนสมุนไพรใกลตัว ซึ่งความพิเศษคือ สีที่ไดจะเปนสีเหลืองที่สดใส ซึ่งลูกประคบสมุนไพรสดนี้สรรพคุณมากกวา อยางดอกดาวเรืองผสมขมิ้น ที่ไดมาตรฐาน ลูกประคบสมุนไพรแหง เพราะสมุนไพรจะซึม OTOP 4 ดาว พรอมสรางสรรคและออกแบบ เขาสูใตผิวหนังไดดีกวา แถมผอนคลายไปกับ ลายผาไดดวยตนเอง ซึ่งเปนที่ชื่นชอบของ การนวดประคบ คอ บา ไหล นักทองเทีย่ วจะได 90


เรียนรูท งั้ สวนประกอบ ขัน้ ตอนการทําลูกประคบ สมุนไพร สรรพคุณของลูกประคบสมุนไพรและ ทีไ่ มเหมือนใครคือ ทานจะไดเรียนรูแ ละทดลอง การประคบอยางถูกวิธี เพื่อจะนํากลับไปใช ในการดูแลรักษาสุขภาพของทานและคนทีบ่ า น

1.7 กิจกรรมนวดแชเทาดวยสมุนไพรสด เปนกิจกรรมที่นําเอาภูมิปญญาไทยมาใช ในการดูแลสุขภาพ โดยใชสมุนไพรกวา 7 ชนิด อาทิ ชุมเห็ด สมปอย ไพล ขมิ้น ตะไคร มะกรูด เหงือกปลาหมอ เอามาตมไดนํ้าสมุนไพรสด มีสรรพคุณทีช่ ว ยบําบัดอาการชาของมือและเทา

4/1 1.4 - 1.7

91


2 วัดบางกอบัว มีตํานานเลาวา ตอนที่หงสาวดีเสียแกพมา ชาวรามัญไดอพยพมาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ของพระมหากษัตริยไทย ตามตํานานเลาวา มีโบสถวดั เกาแกทตี่ งั้ อยูใ นตําบลบางกอบัวกอน อยูแ ลว มะทอและนางประทุม สองสามีภรรยา ได เ ข า มาบู ร ณะซ อ มแซมโบสถ ห ลั ง นั้ น และ ตั้งชื่อวา“วัดบางกะบัว” ตอมาเรียกเพี้ยนเปน “วัดบางกอบัว” ซึ่งตรงกับคําเรียกชื่อหมูบาน วัดบางกอบัว สรางขึน้ ในป 2274 ชวงกรุงศรีอยุธยา ตอนปลาย ซึ่งนับวาเปนวัดเกาแกวัดหนึ่งของ อําเภอพระประแดง วัดนีส้ มเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงชิ น วรสิ ริ วั ฒ น พ ระสั ง ฆราชเจ า พระองคที่ 11 ในสมัยรัชกาลที่ 6 เคยเสด็จมา ประทับแรม เชิญชวนรวมสักการะหลวงปูเ หมือน พระเกจิอาจารยชื่อดังในอดีต ซึ่งทานศึกษา วิทยาคมจากพระอาจารยคง วัดดาน บางโพงพาง และพระอาจารยทองวัดลาดกระบัง นอกจาก

92

ท า นจะเป น เกจิ อ าจารย ที่ เ ก ง ในเรื่ อ งคาถา อาคมแลว ทานยังเปนพระหมอโบราณที่มีชื่อ เสียงโดงดัง หากชาวบานคนใดเจ็บไขไดปวย จะมาใหทานรักษาดวยยาสมุนไพร ที่ชาวบาน รูจักกันดีในชื่อของ “ยาเขียว” การทํายาเขียว ของหลวงปู ซึ่งทานไดบันทึกลงสมุดขอยตัวยา ประกอบดวย สารภี ดอกพิกลุ เหงือกปลาหมอ บอระเพ็ด จะใชรักษาโรคเด็กตาลขโมย หัด ซึ่ ง ลู ก ศิ ษ ย แ ละชาวบ า นทั่ ว ไปได สั ม ผั ส ถึ ง ค ว า ม เ ม ต ต า แ ล ะ วั ต ร ป ฏิ บั ติ ที่ ง ด ง า ม ตางขนานนามทานวา “เทพเจาแหงวัดบางกอบัว” หลวงปูเ หมือนจึงเปนทีน่ บั ถือของชาวบางกอบัว นอกจากจะแวะสักการะหลวงปูเหมือนแลว ทานจะไดเยี่ยมชมและรับฟงเรื่องราวประวัติ ของเรือทองดํา เรือมาศโบราณ ที่เปนเรือตาม ขบวนทางชลมารคของรัชกาลที่ 5


3 พิพิธภัณฑ พื้นบ านคลองบน พิพธิ ภัณฑพนื้ บานคลองบน เปนแหลงเรียนรู วิถีชีวิตคนทองถิ่นผานของเกาหรือของโบราณ ทีใ่ ชในชีวติ ประจําวัน ไดแก เงินตราสมัยโบราณ เครื่องครัวและเครื่องมือทางการเกษตร ซึ่งใน ปจจุบันหาดูไดยาก ที่นี่ยังเปนแหลงเรียนรู การทําอาหารพื้นถิ่น ซึ่งอาหารพื้นบานของ ชุมชนที่พลาดไมได 1 ในเมนูสํารับชางคาว ชางหวานของคุงบางกะเจา

แกงกรุบมะพราวกุงสด ถือเปนอาหารคาว พืน้ บานของชาวสวนในคุง บางกะเจา เพราะใน ชุ ม ชนปลู ก มะพร า วซึ่ ง เป น วั ต ถุ ดิ บ หลั ก อยู  มากมายทั้งสดและใหมจากสวนที่สามารถทํา รับประทานไดตลอดทั้งป กรุบมะพราวหรือกะลามะพราวที่ยังออน และมะพราวขูดที่จะทําเปนนํ้ากะทิสด ๆ เปน สวนประกอบสําคัญที่จะทําใหแกงมีรสชาติ หอมมันมากขึน้ นอกจากนีช้ มุ ชนยังนิยมใสกงุ สด สํ า หรั บ การเตรี ย มกรุ บ ต อ งผ า กะลาอ อ น ปอกเปลือกแลวแชเนื้อกะลาไวในนํ้ามะพราว จากนั้นนํากะลามาตมใหสุกแลวซอยเปนชิ้น บาง ๆ ผัดกะทิกับพริกแกงดวยไฟแรงจนกะทิ แตกมัน จากนั้นใสเนื้อกะลาสุกลงไปคลุกเคลา ผัดตอจนเครื่องแกงสงกลิ่นหอม คอย ๆ เติม กะทิลงไปเรื่อย ๆ ปรุงรสใหกลมกลอมดวย นํ้าปลา ตัดหวานดวยนํ้าตาลมะพราวเล็กนอย ใสเนือ้ กุง สด แลวจึงใสพริกหัน่ เฉียงและใบโหระพา ลงไปแลวยกลงจากเตา

4/2 , 4/3

93


4 มหาเทวลัย-พระพิฆเนศ สักการบูชา ขอพรพระพิฆเนศเทพเจ าแห งความสําเร็จ ปางมหาราชา และเดินลอดพระชงฆ พระพิฆเนศ แห งเดียวในโลก สถานที่ทองเที่ยวแหงใหมที่สวยงามและ ศักดิ์สิทธิ์ภายในประดิษฐานพระพิฆเนศปาง มหาราชา สูง 9 เมตร ใหสักการะบูชาขอพร ซึ่งพระพิฆเนศนั้นเปนเทพแหงความสําเร็จ อีกทั้งยังทรงเปนเทพแหงศิลปวิทยาการและ การประพันธ และทรงเปนหัวหนานําคณะขาม ความขัดของ หรือผูเ ปนใหญเหนือความขัดของ นั่นเอง มีการทําพิธีเดินลอดพระชงฆ เปนการ เดินลอดใตขาพระพิฆเนศที่เดียวในโลกเพื่อ เปนการขอพรใหกับตัวเอง ฝากสิ่งไมดีไปกับ ดวงไฟขอพรไปถึงมหาเทพ ซึ่งมีพราหมณพา ทําพิธี พรอมแนะนําการสักการะอยางละเอียด

94


5. ข อควรปฏิบัติสําหรับนักท องเที่ยว

4/4 , 5

95


1. เส นทางสื่อความหมายตําบลบางกะเจ า

สารบัญ 94 1 เส นทางสื่อความหมาย ตําบลบางกะเจ า

95 2 8 เรื่องเล า…ห ามพลาด

96 3 MINDMAP เล าเรื่องชุมชน

102 4 เรื่องนี้ต องขยาย

117 5 ข อควรปฏิบัติสําหรับ นักท องเที่ยว

96

1เส นทางสื่อความหมาย ตําบลบางกะเจ า


2. 8 เรื่องเล าห ามพลาด

28 เรื่องเล า… ห ามพลาด

1) สวนสาธารณะและสวนพฤกษชาติ ศรีนครเขื่อนขันธ 2) ลุงตุมบานมัดยอม 3) วิถีสวนดั้งเดิมของคุงบางกะเจา 4) คลองผีหลอก 5) สุขภาพดีที่บานแมริมนํ้า 6) อาหารถิ่น ของกินบางกะเจา 7) สวนรักษ ๙ 8) ขนมจากจากใจคนบางกะเจา

1,2

97


3. MINDMAP

MINDMAP เล าเรื่องชุมชน

1 สวนสาธารณะและ สวนพฤกษชาติ ศรีนครเขื่อนขันธ

98

- ขอมูลทั่วไปตําบลบางกะเจา - ภาพรวมโปรแกรมทองเที่ยวของตําบล - สวนสาธารณะและสวนพฤกษชาติ ศรีนครเขือ่ นขันธ พืชพันธุแ ละสัตวอนุรกั ษ


2

- ประวัติความเปนมา - กิจกรรมทําผามัดยอมสีธรรมชาติ - เอกลักษณและอัตลักษณของผามัดยอม ที่บางกะเจา - วัตถุดิบในการมัดยอม

ลุงตุ มบ านมัดย อม

MINDMAP/1-2 99


3 วิถีสวนดั้งเดิม ของคุ งบางกะเจ า

- ประวัติความเปนมา ของสวนดั้งเดิมคุงบางกะเจา - กิจกรรมเยี่ยมชม ชิม และเก็บพืชผัก ผลไมตามฤดูกาล

100


4 คลองผีหลอก

- ตํานานเรื่องเลาคลองผีหลอก - ชมวิวและสัมผัสบรรยากาศ สองริมฝงแมนํ้าเจาพระยา

MINDMAP/3-4 101


5 สุขภาพดี ที่บ านแม ริมนํ้า

102

- คุณคาของพืชสมุนไพร พิลังกาสา - ชมหิ่งหอยยามคํ่าคืน เรื่องราวตั้งแตเกิดจนตาย - ที่พักริมแมนํ้าจากความงาม ของทิวทัศนสูความงามของสุขภาพ


6 - ขนมหยกมณี - ยําหัวปลี - ขนมจีนนํ้าพริก

อาหารพื้นถิ่น ของกินบางกะเจ า

7 สวนรักษ ๙ - ประวัติความเปนมาของสวนเกษตรผสมผสาน - กิจกรรมเยี่ยมชม ชิม และเก็บพืชผักผลไมในสวน - กิจกรรมทําพวงมาลัยดอกมะลิจากกระดาษทิชชู

8 ขนมจากจากใจ คนบางกะเจ า

-

รูจักตนจาก ประโยชนของจาก สวนผสมของขนมจาก ขั้นตอนการทําขนมจาก

MINDMAP/5-8 103


4. เรื่องนี้…ต องขยาย

4เรื่องนี้…ต องขยาย

1 สวนสาธารณะ

และสวนพฤกษชาติ ศรีนครเขื่อนขันธ 1.1 ขอมูลทั่วไปตําบลบางกะเจา ตําบลบางกะเจา มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 1,809 ไรร ตัง้ อยูท างทิศตะวันตกเฉียงเหนือของคุง บางกะเจา ชื่อตําบล “บางกะเจา” สันนิษฐานเปน 2 นัย นัยแรกมาจากคําวากะเจาทีแ่ ปลวา นกยางหรือ นกกระยาง ซึ่งมีอยูอยางมากมายในสมัยกอน ทีพ่ นื้ ทีอ่ ดุ มสมบูรณ ตามประวัตศิ าสตรกลาววา บริเวณนี้เมื่อประมาณ 1 พันปเศษ ๆ เปน เขตชายทะเล เมื่อระยะเวลาผานมานานเขา เกิ ด การทั บ ถมให เ ป น แผ น ดิ น ขึ้ น (จาก หนังสือ “ของดีเมืองสมุทรปราการ” วารสารร 104

สภาวัฒนธรรม จังหวัดสมุทรปราการ 2540) ซึ่งมีความอุดมสมบูรณจึงมีสัตวตาง ๆ มาอยู มากมายโดยเฉพาะนกยางหรื อ นกกระยาง อีกนัยหนึง่ มาจากเรือ่ งเลาตอ ๆ กันมาวาในอดีต มีครอบครัวผูส งู ศักดิห์ นีภยั มาจากฝง นครหลวง มาทางพื้นที่ ๆ ตอมาเรียกวา “ชองนางหนี” ปจจุบนั เปลีย่ นเปนชองนนทรี คนในครอบครัว ที่เปนสตรี ถึงเวลาอาบนํ้า สระผม เสร็จแลวก็ จะเกลาผมแลวก็มีการรัดผมหรือรัดมวยผม ตอมาจึงไดเรียกขานกันวา “บางรัดเกลา” หรือ “บางลัดเจา” ซึ่งตอมาไดเพี้ยนเปนบางกะเจา หรือบางกระเจา มีหลักฐานชิน้ หนึง่ เมือ่ ป 2478 จะเริ่มมีการสรางทาเรือเพื่อรองรับเรือเดิน สมุทรที่ตําบลคลองเตย จังหวัดพระนคร จึงได


ตราพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่จะเวนคืน ทีด่ นิ ซึง่ มีแผนทีท่ า ยพระราชกฤษฎีกา มีชอื่ วัด บางลัดเจา และคลองบางลัดเจา หลังจากที่มี การเพี้ยนหรือเปลี่ยนมาเปนบางกระเจาแลว ตอมาไดกรอนไปเหลือเพียง “บางกะเจา” 1.2 สวนสาธารณะและสวนพฤกษชาติศรีนครเขื่อนขันธ เปนสวนสาธารณะทีจ่ ดั สรางขึน้ ดวยเหตุการณ แปลกกวาสวนสาธารณะทีอ่ นื่ เมือ่ ป พ.ศ. 2534 รัฐบาลในขณะนั้นซึ่งมีนายอานันท ปนยารชุน เปนนายกรัฐมนตรี มีนโยบายที่จะเวนคืนที่ดิน ในพื้นที่บางกะเจาทั้ง 6 ตําบล ในสมัยป 2534 ยังเรียกพืน้ ทีท่ งั้ 6 ตําบลวา บางกะเจา ไมมคี าํ วา คุงแตอยางใด แตอยางใด จะเวนคนพนทตงแตป จะเวนคืนพื้นที่ตั้งแตประมาณ

คลองลัดโพธิ์เขามาจํานวนพื้นที่ 9,300 ไร เพื่อ จะทําสวนสาธารณะทั้งหมด และจะโยกยาย ประชาชนใหออกไปนอกพื้นที่ เพื่อเปนการ รักษาพื้นที่สีเขียวไว โดยอางวามีนายทุนจาก ภายนอกมากว า นซื้ อ ที่ ดิ น ไป โดยมี ชื่ อ ว า “โครงการสวนกลางมหานคร” ผลคือประชาชน ทัง้ 6 ตําบลไมยนิ ยอม และมีการประทวงรัฐบาล จนกระทั่งมีการปะทะระหวางประชาชนกับ เจาหนาที่ ๆ จะเขามาสํารวจพื้นที่จนเลือดตก ยางออก สุดทายผูนําฝายประชาชนและฝาย รัฐบาลตกลงวาจะไมมีการเวนคืนที่ดิน แตจะ รับซือ้ โดยความสมัครใจ โดยมีเจาภาพในขณะนัน้ คื อ สํานัก งานสิ่ ง แวดล อ มแห ง ชาติ (สวล.) มีประชาชนทยอยขายอยูห ลายป เมือ่ ประมาณ ป 2538 – 2539 ทางหนวยงานของรัฐมีพื้นที่

4/1 1.1-1.2

105


ผืนใหญมากที่สุดที่ติดกันอยูที่หมูที่ 3 และ หมู ที่ 9 ตํ าบลบางกะเจา จํ านวน 148 ไร จึงไดมกี ารจัดสรางสวนสาธารณะระยะแรกขึน้ เรียกวา “สวนกลางมหานคร” พืน้ ทีป่ ระมาณ 120 ไร แตชาวบานมักจะเรียกวา “สวนกลาง บางกะเจ า ” ต อ มาได มี ก ารสร า งเพิ่ ม เติ ม ระยะที่ 2 เปนสวนพฤกษชาติประมาณ 28 ไร ป จ จุ บั น เมื่ อ ประมาณ 3 ป ที่ แ ล ว ได มี ก าร ปรับปรุงใหม เ ป น พื้ น ที่ ส วนสาธารณะเหลื อ 108 ไร และสวนพฤกษชาติ 40 ไร จากชือ่ สวน กลางมหานคร ตอมาไดรบั พระราชทานชือ่ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช

106

ในหลวงรัชกาลที่ 9 ใหมวา “สวนสาธารณะและ สวนพฤกษชาติศรีนครเขื่อนขันธ” ซึ่งหมายถึง สวนสาธารณะที่ เ ป น ศรี แ ก น ครเขื่ อ นขั น ธ (นครเขือ่ นขันธ เปนชือ่ เดิมของอําเภอพระประแดง) การเขาไปเทีย่ วชมในสวนศรีนครเขือ่ นขันธนนั้ ไมเสียคาใชจา ย เปดใหบริการทุกวัน ตัง้ แตเวลา 05.00 – 19.00 น. ภายในสวนศรีฯ ทั้งสวน สาธารณะและสวนพฤกษชาตินนั้ มีจดุ ทองเทีย่ ว ทีน่ า สนใจหลายจุด จุดทีน่ กั ทองเทีย่ วชอบมาก ที่สุดคือการปนจักรยานภายในสวนศรีฯ โดย ทางสวนใหญจะรมรื่น ปกคลุมไปดวยสีเขียว ของตนไม


กิจกรรมทีพ่ ลาดไมได คือ การใหอาหารปลา ซึ่งในตระพังใหญหรือตระพังประธานมีปลา หลายชนิด จํานวนเปนแสนตัวอาศัยอยู (ตระพัง คือสระขนาดใหญ) ถัดจากตระพังใหญจะเริ่ม เขาจุดอุโมงคตนตีนเปดที่มีทรงตนไมสูงสงา สวยงาม มองมาทางขวาจะเห็นสะพานเขือ่ นขันธ มรรคาที่ทอดตัวสวยงามในตระพังนอง ที่มา แลวตองปกหมุด และจุดหามพลาดในการมา เที่ยวยังสวนศรีฯ คือการถายรูปสารพัดทา กับ “หอดูนก” ที่เปนหอสูงคอนกรีตสูง 3 ชั้น กอนจะถึงหอดูนกจะเปนเขตที่เรียกวา “สวน พฤกษชาติ” ที่จะเปนพื้นที่รองสวนเดิม มีไม เบญจพรรณขึ้นรมรื่น มีพื้นที่วงกลมที่มีปาย แสดงรายละเอียดของปาสามยุค นอกจากนีย้ งั มี จุดที่เปนสิริมงคลใหนักทองเที่ยวไปถายรูปกับ “ตนโพทะเลทรงปลูก” ในสมเด็จพระกนิษฐาธิ​ิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งอยูใกล ๆ กับหอง นิทรรศการ พื้นที่มีความหลากหลายทั้งพันธุพืชและ พั น ธุ  สั ต ว โดยเฉพาะพั น ธุ  พื ช ซึ่ ง มี ก ารพบ มากกวา 100 ชนิด เชน สาธร เถาคัน หวายลิง ปรงทะเล หมากผูห มากเมีย เปนตน ในสวนของ พันธุสัตวที่พบ เชน เหยี่ยวเพริกริน นกยางเปย นกเอี้ยงสาลิกา นกเปลาคอสีมวง เปนตน

4/1 1.2

107


2 ลุงตุ ม บ านมัดย อม บานริมแมนาํ้ เจาพระยา ซึง่ รายลอมไปดวย กอจาก ภายในบริ เ วณบ า นมี ต  น มะม ว งนํ้ า ดอกไมพันธุเขียวนวลดั้งเดิมของคุงบางกะเจา ตนชมพูสาแหรก ตนหูกวาง เปนตน มีปราชญ ทองถิ่นที่เปนศิลปนในการรังสรรคลวดลาย มัดยอมจากสีธรรมชาติคอื คุณประภัศร ไทยเจริญ หรือคุณตุม โดยไดเขารับการอบรม การมัดยอม สีธรรมชาติจากพืชพืน้ ถิน่ ประกอบกับการศึกษา หาความรูใ นเรือ่ งผาเรยอนและไดนาํ ผาดังกลาว มาทดลองมัดยอมสีธรรมชาติ โดยใชสว นประกอบ ของตนจาก ตนมะมวง ตนหูกวาง ดังนี้ นํา้ เปลือก ลูกจาก นํ้าใบหูกวาง นํ้าใบมะมวงนํ้าดอกไม มาทําสี และทําการ พับ รัด มัด ยอม ตาม จินตนาการ โดยคิดวานาจะออกมาเปนลวดลาย ทีส่ วยงาม และเมือ่ ทําการยอมสีเสร็จเรียบรอย แกะออกมาดู ปรากฏวาไดลวดลายและสีสัน ที่แตกตางไปจากผามัดยอมอืน่ ๆ ทีเ่ คยเห็นมา มีลวดลายที่เปนเอกลักษณ ลายใบจาก และ 108

เกิดสีตาง ๆ สีนํ้าตาลจากลูกจาก สีเขียวจาก ใบหูกวาง ซึ่งเปนสีประจําตําบลบางกะเจา จากนัน้ ก็เริม่ พัฒนารูปแบบลวดลายและสีตา ง ๆ เพิม่ เติมอยางตอเนือ่ ง โดยสามารถรับนักทองเทีย่ ว กลุมเล็ก ๆ (ไมเกิน 10 คน) เพื่อทํากิจกรรม พรอมชมวิวริมแมนาํ้ เจาพระยาทีส่ วยแปลกตา แหงหนึง่ ในคุง บางกะเจา นอกจากนีย้ งั สามารถ ทํากิจกรรมอาหารคาว - หวาน สูตรโบราณ เชน ขนมจาก ขนมเบื้องญวน เปาะเปยะสด ผั ด ไทย ก ว ยเตี๋ ย วหลอด ขนมหม อ แกงถั่ ว (ผิงแบบโบราณ) เปนตน


4/2

109


3 วิถีสวนดั้งเดิม ของคุ งบางกะเจ า เสนทางสายโรแมนติก“Inside Bangka chao” ตําบลบางกะเจา นักทองเที่ยวจะได สัมผัสกับพื้นที่สีเขียวขนาดใหญ ชมพืชพันธุไม นานาพรรณปน จักรยานสูดอากาศบริสทุ ธิ์ สัมผัส กับธรรมชาติสีเขียวอยางเต็มปอด ในเสนทาง จะมีลกั ษณะผจญภัย ผสมบรรยากาศอันรมรื่น บนทางปู น ลั ด เลาะผ า นบ า นเรื อ น ชุ ม ชน คันคลองรองสวน และยังไดเห็นวิถีสวนดั้งเดิม ของคุงบางกะเจาอีกดวย สภาพพื้นที่โดยทั่ว ๆ ไปของพื้นที่สีเขียว บางกะเจา หรือคุงบางกะเจา มีเอกลักษณเปน สวนยกรอง ซึ่งจะจัดวาเปนภูมิปญญาของ ชาวบ า นในอดี ต ก็ ว  า ได ที่ มี วิ ถี แ ละอาชี พ ทางการเกษตรที่เรียกวาการปลูกตนไมที่เปน ไมผล จนเรียกวามีอัตลักษณเปนสวนผลไม นานาพรรณ สวนยกรองมีลักษณะสําคัญ 3

110

สวน คือ สวนที่เรียกวา อกรอง เปนสวนของ พืน้ ดินทีใ่ ชปลูกตนไม สวนที่ 2 เรียกวาทองรอง ใชสําหรับเก็บนํ้า เอาไวใชในการรดนํ้าตนไม และเคลื่ อ นย า ยผลผลิ ต ส ว นที่ 3 เรี ย กว า คันสวนหรือคันถนน เปนสวนทีล่ อ มรอบอกรอง และทองรองไว เพือ่ เก็บนํา้ ลักษณะหรือรูปลักษณ ทั่วไปของสวนยกรองเปนรูป 4 เหลี่ยมผืนผา ทัง้ สิน้ ขนาดสวนทีล่ ะสวนทีเ่ รียกวา “ขนัด” จะ แตกตางกันตามแตเจาของจะกําหนด และ สวนเกือบทุกขนัดจะมีการแบงสัดสวนแตละ ขนัดไปดวยทางนํ้าไหลที่เรียกวา “ลํามะโดง” หรือ “ลํากระโดง” จนทําใหในอดีตสวนยกรอง ของทั้งตําบลบางกะเจาและตําบลใกลเคียง มี ลั ก ษณะเส น ทางนํ้ า ไหลคล า ยใยแมงมุ ม ที่ สายนํ้าจะตอถึงกัน แนวการวางรูปสวนจะมี ลักษณะการวางเปน 2 แนวใหญ ๆ ที่หัวสกัด หรือหัวอกรองพุง หาตะวัน หรือ อีกแนวหนึง่ คือ วางแนวสวนขวางตะวัน สําหรับสวนแตละขนัด ที่จะมีลํามะโดงหรือลํากระโดงเปนทางนํ้าไหล ผานสวนแลว มีกระบวนการจัดการนํา้ ดวยการ ทําทอตอจากลํามะโดงเขาสวน และมีการเปด ปดทองเรียกวาการใช “หับเผย” เปดปดทอ ในอดีตจนถึงปจจุบัน ยังมีรองรอยใหเห็นอยู เปนจํานวนมากของสวนยกรองทีจ่ ะปลูกผลไม นานาพรรณ เชน มะพราว มะมวงพันธุตาง ๆ มะละกอ สมโอ สมเขียวหวาน นอยโหนง นอยหนา มังคุด ละมุด ลําไย มะเฟอง มะไฟ


สัปปะรด ชมพูสารพัดชนิด เชน มะเหมี่ยว สาแหรก เงาะ กะหลาปา แกมแหมม เปนตน สาเก มะพลับ กระทอน ลักษณะการปลูกตนไม หรือไมผลเศรษฐกิจจะปลูกคลาย ๆ กันทุกสวน เวนแตเจาของสวนจะเนนปลูกชนิดไหนเปนหลัก บางสวนเนนสมเขียวหวาน บางสวนเนนพุทรา แตที่ขาดไมไดเลยเกือบทุกสวนจะตองปลูก คือ ริมทองรองทั้ง 2 ขาง จะปลูกตนหมากเปน ระยะ ๆ ปลูกตนทองหลางกลางอกรองเปนระยะ ๆ และคันสวนหรือคันถนนจะปลูกตนมะพราว (มะพราวแกง – ทํานํ้าตาลมะพราว) ในตําบล บางกะเจาทีเ่ ปนสวนดัง้ เดิมทีป่ ลูกไมนานาพรรณ มี ส วนของป า พิ ส มั ย พู ล เกษ หมูที่ 1 ซอย ราษฎร รั ง สรรค 11 ตํ า บลบางกะเจ า และ

สวนของคุ ณ ครู ช อุ  ม อ ว มเจริ ญ หมู  ที่ 6 ตําบลบางกะเจา ปจจุบนั นีม้ อี กี 1 สวนทีม่ ผี ลไม นานาพรรณเกือบ 20 ชนิด กําลังเจริญเติบโตดี คือ “สวนรักษ ๙” ของคุณสมนึก ฟกเจริญและ คุณอรุณี นาคศรีจันทร เนื่องจากพื้นที่ตําบล บางกะเจาเปนพื้นที่ 3 นํ้า ในบางโอกาสที่เกิด นํ้าเค็มมาก ๆ ขึ้นมา ทําใหมีปูทะเลหลงเขามา ในสวนใหผูคนไดจับเปนอาหาร

4/3

111


4 คลองผีหลอก ป  น จั ก รยานโดยใช เ ส น ทางของตํ า บล บางกะเจ า เข า ซอยเพชรหึ ง ษ 33 ลั ด เลาะ เลียบคลองเขาสูซอยราษฎรรังสรรค 17 แลว เขาซอยเล็กทีเ่ ชือ่ มไปยังซอยราษฎรรงั สรรค 11 เพื่อมุงสูไปเสนทางคลองผีหลอก คลองผีหลอกเปนคลองที่มีความเปนพื้นที่ ธรรมชาติสงู สามารถเขาถึงไดดว ยการเดินหรือ รถจักรยานแตตองปนอยางระมัดระวังเพราะ ตลอดทางรถจักรยานถูกปกคลุมดวยมอสสีเขียว แตบรรยากาศดีตลอดเสนทาง เพราะสภาพของ ลํ า คลองที่ ลึ ก เข า ไปด า นในจะมี ความรมรื่น ดวยปาจาก และความเขียวขจีของพืชริมคลอง ชนิดอื่น จึงมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง เปนที่ชื่นชอบของนักทองเที่ยวสายธรรมชาติ

112

ตํานาน “คลองผีหลอก” ทีว่ า กันวา ในสมัย รัชกาลที่ 2 เปนแมนํ้าที่อุดมสมบูรณ นํ้าใสจน สามารถมองเห็นปลาจํานวนมากได จึงทําให ชาวบานแถวนัน้ รูว า มีปลามากมายตางก็พากัน เอาไฟไปสองปลาในเวลากลางคืนและเชามืด แตในเวลาตอมา เมือ่ ชาวบานแยงกันหาปลามากขึน้ เลยมีคนออกอุบายใหแกลงเปนผีหลอกทําให ชาวบานและคนหาปลาตางพากันหวาดกลัว และ ไมกลามาหาปลาในบริเวณนี้ อีกทัง้ คุง บางกะเจา ยังเคยเปนที่ลี้ภัยในสมัยสงคราม เหลาขุนนาง ชั้นสูงที่มียศถาบรรดาศักดิ์รวมถึงผูคนอื่น ๆ ตางพากันอพยพขามแมนํ้ามาจากฝงตรงขาม ทําใหพนื้ ทีแ่ หงนีม้ กั มีศพลอยนํา้ เขามาในคลอง อยูบ อ ยครัง้ ชาวบานจึงเรียกคลองแหงนีว้ า “คลอง ผีหลอก” หรือ “คลองผีดุ” แตในปจจุบันพื้นที่ คลองผีหลอกมีทวิ ทัศนทสี่ วยงามเปนอยางมาก มองออกไปจะเห็ น แม นํ้ า เจ า พระยากั บ ฝ  ง ตรงขามที่เปนเมือง (ชองนนทรี) และจุดตอง หามพลาดในการชมวิวพระอาทิตยลับขอบฟา จากฝงตรงขามซึ่งเกิดเปนภาพที่นาประทับใจ และหาดูไดยาก


5 สุขภาพดีที่ บ านแม ริมนํ้า ที่ พั ก โฮมสเตย บ  า นทรงไทยริ ม แม นํ้ า เจาพระยา เนนความเปนสวนตัว หองพักจะ มีทั้งแบบบานหลังใหญพักรวม 8 - 10 คน บานเดี่ยวหลังเล็กเตียงคู หองครัว โซนปงยาง ลานกวางและดาดฟาเพื่อชมดาว ติดริมแมนํ้า เจาพระยา บรรยากาศเงียบ สงบ รมเย็น เห็นวิว สองฝง แมนาํ้ ยามเย็นชมพระอาทิตยตก สามารถ เดินเลนสัมผัสกลิ่นไอธรรมชาติของพืชพื้นถิ่น เชน ต น จาก ต น ลํ าพู สวนผลไม และสวน วนเกษตรผสมผสาน ยามคํ่าคืนลองเรือชม หิง่ หอยใกลกรุงเทพฯ สัญลักษณแหงความสมบูรณ ของระบบนิเวศ พรอมรับฟงการบรรยายของ นักอนุรักษหิ่งหอยแหงตําบลบางกะเจา ดื่มดํ่า บรรยากาศสองฟากฝงแมนํ้าเจาพระยา ที่มี ความแตกตางอยางชัดเจนระหวาง ความมืดที่ เงี ย บสงบและความวุ  น วายด ว ยแสงสี ข อง เมืองหลวง สดชืน่ กับเครือ่ งดืม่ เพือ่ สุขภาพอยาง นํา้ พิลงั กาสา นํา้ พัน้ ซพลิ งั กาสา หรือพิลงั กาสา

ซูซา ซึ่งเปนพืชสมุนไพรในทองถิ่น มีสรรพคุณ เชน ชวยบํารุงโลหิต บํารุงตับ แกธาตุพิการ ลดอาการทองเสีย เปนตน และยังมีเมนูอาหาร เพือ่ สุขภาพ นํา้ พริก 3 มะ ปลาทูทอดผักพืน้ ถิน่ ตมยํามะพราวออน กุงทอดซอสตะลิงปลิง ยําหัวปลีกุงสด และผลไมตามฤดูกาล สัมผัส การตอนรับดุจเครือญาติโดยอาจารยประหยัด และอาจารยวัชรินทร นุชนาคา ปราชญผูรู เรื่องราว เรื่องเลาของคุงบางกะเจา

4/4 , 4/5

113


6 อาหารพื้นถิ่น ของกินบางกะเจ า • ขนมหยกมณี สู ต รเด็ ด จากครั ว ครู ช อุ  ม (อายุ 68 ป ) ที่ ค รู ช อุ  ม เป น ศิ ษ ย เ ก า โรงเรี ย นสายป ญ ญา แตไมไดรบั วิชาโดยตรงมาจากอาจารย ม.ร.ว. เตือ้ ง สนิทวงศ อาจารยใหญโรงเรียนสายปญญา เจาของสูตร แตไดรบั ถายทอดมาจากพีส่ าว คือ คุณฉลวย สุวรรณบุญ (ปจจุบันอายุ 94 ป) ทีเ่ ปนลูกศิษยของอาจารย ม.ร.ว. เตือ้ ง สนิทวงศ เนื่ อ งจากการทํ า หยกมณี ล งทุ น ไม ม าก แต ลงแรงมาก คนสูงอายุจะรับงานเปนครั้งคราว เท า นั้ น หยกมณี ข องครั ว ครู ช อุ  ม จะเหนี ย ว เนียน ใส หนึบ ๆ ไมเปนตากบ เพราะกวนนาน จนหนึบ ใส

114

“หยกมณีสีเขียวใสสด ระวังจะหมดเพราะกิน ลืมตาย” ทอนหนึ่งของเพลงแรปบางกะเจา • ยําหัวปลี ยําหัวปลีโบราณ เปนเมนูที่สามารถทําขึ้น มารับประทานไดตลอดทั้งป เนื่องจากหัวปลี สามารถหาไดงายตลอดทั้งป โดยเมนูยําหัวปลี ทีว่ า นีไ้ ดสตู รเฉพาะจากเรือนทวดสําริด ซึง่ เปน เจ า ของสู ต รอาหารไทยโบราณที่ ขึ้ น ชื่ อ ของ คุง บางกะเจา มีอตั ลักษณทโี่ ดดเดน คือ ทุกเมนู ที่ทําขึ้นจะใชวัตถุดิบทั้งหมดมาจากธรรมชาติ หรือตามการปลูกพืชผักในสวนหลังบานและ รองสวน หัวปลีเปนวัตถุดิบหลักในการทํายํา หัวปลีมีสรรพคุณ อาทิ บํารุงเลือด ลดระดับ นํ้าตาลในเลือด ชวยขับนํ้านม และแคลอรี่ตํ่า ซึ่งใครไดลิ้มรสตองบอกเลยวาเด็ดแถมสราง สุขภาพดีอีกดวย • ขนมจีนนํ้าพริก ขนมจีนนํา้ พริกสูตรเรือนทวดสําริด เปนเมนู ขึ้นชื่อของคุงบางกะเจา มีความแตกตางจาก ทีอ่ นื่ ในเรือ่ งเคล็ดลับและวิธกี ารปรุง ความใสใจ และรสชาติที่ลงตัวของเมนูนี้คือตองมีสามรส ไดแก รสหวานนําและเปรี้ยวเค็มตาม เปนเมนู ที่สามารถทําขึ้นไดทุกเทศกาลงานบุญ แถมมี สรรพคุณทางยาชวยขับลมในกระเพาะอาหาร แถมผักเครื่องเคียงตาง ๆ รับประทานรวมกัน ถือเปนยาระบายอยางดี และชวยเพิ่มอรรถรส ในการรับประทานมากยิ่งขึ้น


7 สวนรักษ ๙ “สวนรักษ ๙” จากพื้นที่รกรางที่ถูกปลอย ทิ้งมานานนับป สูการพลิกฟนกลายเปนสวน เกษตรผสมผสาน แหล ง เรี ย นรู  ห  อ งเรี ย น ธรรมชาติที่มากดวยพื้นที่สีเขียว จุดพักผอน หยอนใจดวยธรรมชาติบําบัด เปนจุดเชื่อมโยง การทองเที่ยวในคุงบางกะเจาทั้ง 6 ตําบล เพือ่ เชือ่ มโยงเสนทางการทองเทีย่ ว และกระจาย นักทองเที่ยวไปตามตําบล และชุมชนอื่น ๆ ในคุงบางกะเจา เดิมทีคุณแมของนายสมนึก ฟกเจริญ เกษตรกรเจาของสวนรักษ ๙ ทําสวน เกษตร เปนแมคาขายผลไมพายเรือจากบาน ลองไปตามแมนํ้า ขายผลไมใหกับผูคนในยาน นั้นอยูเปนประจํา แตเมื่อถึงเวลานํ้าขึ้นนํ้าลง ทําใหเกิดปญหานํ้าเค็มทะลักเขาทวมพืชพันธุ ในสวน จนตนไมเสียหายลมตายไปเปนจํานวน มาก ทําใหตอ งหยุดทําสวนผลไมไปโดยปริยาย สวนจึงกลายเปนพืน้ ทีร่ กรางไมไดทาํ ประโยชน

เพราะเกรงวาจะเกิดความเสียหายซํา้ ขึน้ มาอีก คุณสมนึก ฟกเจริญ เกิดแรงบันดาลใจจาก พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหา ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมหาราช บรมนาถบพิ ต ร ในหลวงรัชกาลที่ 9 จากพระราชกรณียกิจของ พระองคทานมาโดยตลอด จึงเกิดแนวคิดที่จะ ลาออกจากงานประจํา เพือ่ มาทําเกษตรผสมผสาน ตามแนวพระราชดําริของในหลวงรัชกาลที่ 9 จึงเริ่มบุกเบิกพื้นที่ทําสวนอีกครั้ง โดยที่ไมมี ความรูเรื่องการเกษตรมากอน และเกิดจาก การลองผิดลองถูกหลายครั้ง พรอมกับมีการ เรียนรูเพิ่มเติมอยูตลอด โดยศึกษาวาพื้นที่ใน คุงบางกะเจา สามารถปลูกพืชชนิดใดไดบาง ประกอบกับไดรับความชวยเหลือจากเกษตร อําเภอมาคอยใหคําแนะนําในที่สุดจึงเกิดเปน “สวนรักษ ๙” สวนเกษตรแบบผสมผสานที่ สอดคลองกับแนวทางของในหลวงรัชกาลที่ 9 และเปนแหลงเรียนรูศ กึ ษาดูงานทางการเกษตร ให กั บ คนที่ ส นใจ เปรี ย บเสมื อ นห อ งเรี ย น ธรรมชาติที่เขามาเรียนรูและพักผอนหยอนใจ จนกลายเปนสถานที่ทองเที่ยวเชิงเกษตรอีก แห ง หนึ่ ง ของตํ า บลบางกะเจ า ที่ ไ ด ต  อ ยอด ความสําเร็จเปนศูนยรวบรวมขอมูลทัง้ 6 ตําบล ใหรวมเปนหนึง่ เพือ่ เชือ่ มโยงเสนทางการทองเทีย่ ว และกระจายนักทองเทีย่ วไปตามตําบล และชุมชน อื่น ๆ ในบางกะเจา ภายในสวนแหงนี้มีกิจกรรมที่เกี่ยวกับวิถี ชีวติ เกษตรทีห่ ลากหลาย ไมวา จะเปนการเรียนรู

4/6 , 4/7

115


ทําปุย หมัก ปลูกผัก ปลูกผลไม ปลูกปา เพาะกลา ทําอาหารพื้นถิ่น เก็บลูกจากมาเรียนรูการทํา ขนมจาก ทําผามัดยอมจากสีธรรมชาติ ตกปลา ในคลองธรรมชาติ พายเรือคายัค นอนกางเต็นท ใกลชิดกับธรรมชาติ และพอพลบคํ่าก็นั่งเรื อ

116

เลี ย บคลองไปชมหิ่ ง ห อ ยตระการตาที่ ย าก จะหาชมได ใ นเมื อ ง โดยในแต ล ะกิ จ กรรม การเรียนรูจะไดชาวบานในชุมชนที่ถนัดใน แตละดานเขามาเปนวิทยากร เพือ่ เปนการกระจาย รายไดใหกับชุมชนอีกดวย

4/7


8 ขนมจาก…จากใจ คนบางกะเจ า คุง บางกะเจาเปนพืน้ ทีส่ เี ขียวทีม่ คี วามรมรืน่ รายลอมไปดวยตนไมหลายชนิด แตจะมีตนไม ชนิดหนึง่ ทีห่ ากใครเคยมาคุง บางกะเจาจะตอง เคยพบเห็นอยางแนนอน นั่นคือตนจาก ตนไม สารพัดประโยชน ที่สามารถนําไปใชไดตั้งแต รากตนจรดปลาย • รูจักตนจาก ตนจากเปนพืชจําพวกปาลม และเปนปาลม เพียงชนิดเดียวที่เปนพืชในปาชายเลน มีลําตน อยูใ ตดนิ นับเปนพืชเกาแกมากชนิดหนึง่ ตนจาก พบไดทั่วไปในเอเชียใต และเอเชียตะวันออก เฉียงใต ทั้งในบริเวณนํ้าจืด และนํ้ากรอย ที่มี นํ้ า เค็ ม ขึ้ น ถึ ง มั ก จะขึ้ น เป น ดงขนาดใหญ เรียกวา ปาจาก หรือ ดงจาก ตนจากสามารถ เจริญเติบโตไดดีในดินโคลน ตามปาชายเลน หรือบริเวณริมคลองทีม่ ไี มใหรม เงาปะปนอยูด ว ย มักอยูใ นชวงทีม่ นี าํ้ จืดและนํา้ กรอยปนกัน แตบนบก ที่นํ้าทวมถึงก็พบจากไดบางเชนกันหากดิน ไมแหงแลงนานจนเกินไป

• ประโยชนของตนจาก ลูกจากออน เนื้อดานในจะเปนสีขาวใส มีลกั ษณะออนนิม่ คลายกับเนือ้ ของลูกตาล แตมี ขนาดเล็กกวามาก ซึ่งจะนํามารับประทานสด หรื อ นํ า มาใช ผ สมเป น อาหารได ทั้ ง คาวและ หวาน ไดหลากหลายเมนูตามแตจะรังสรรค เชน จากลอยแกว เปนตน แกงบวดลูกจาก ลูกจากลอ

ใบจาก ใบจากออน อน นํามาใชหอขนม หรือ ที่เรียกทั่วไปวา ขนมจาก และการจักสานเปน ภาชนะตาง ๆ เชน ที่ตักนํ้า (หมาจาก) ตะกรา เสื่อรองนั่ง และทําหมวกกันฝน เปนตน ดอกจาก ดอกจากที่ยังออนนํามาตมเปน ผักจิ้มนํ้าพริก หรือนํามาทําเปนแกงคั่วใสเนื้อ ใสหมู หรือไก นอกจากนีด้ อกและใบจากทีผ่ า น การขูดนมจากออกไปเอาไปทําเปนสวนผสม ของชาสมุนไพร สําหรับประเทศเพื่อนบานทั้ง กัมพูชา เวียดนามและพมาตางก็เอาบางสวน ของดอกไปเปนยารักษาโรค เปนตน

4/8

117


• สวนผสมของขนมจาก ตํ า บลบางกะเจ า โดยคุ ณ อ อ ย “ธี ร ดา ยะวาวงค” ไดนาํ ใบจากและลูกจากมาทําขนมจาก ซึ่งเปนสูตรที่ตกทอดกันมาแลว 3 รุน ยาวนาน ถึ ง 50 ป รสชาติ มี ค วามแตกตางจากที่อื่ น มีสวนผสมไดแก ลูกจากลักษณะแกปานกลาง แปงขาวเหนียวดํา แปงขาวเหนียวขาว มะพราว ทึนทึก เกลือ นํ้าตาลทราย และนํ้าตาลปบ ซึ่งผลิตขึ้นที่บางกะเจา

118

• ขั้นตอนการทํา 1. ผสมแปงขาวเหนียวกับนํ้ากะทิเคลาให เขากัน ใชเวลาประมาณ 15 นาที 2. ใสนาํ้ ตาลปบ นํา้ ตาลทราย เกลือ มะพราว ทึนทึก และลูกจากลงไปนวดใหเขากัน 3. ตักสวนผสมทีน่ วดจนเขากันดีแลว ใสใน ทางใบจากที่เ ตรี ย มไว ตามยาวดา นในของ ใบจาก และใชอกี ใบปด กลัดดวยไมกลัด หัว ทาย กลางซึ่งความพิเศษของที่นี่คือจะไมนํานมจาก ออกจากใบและนําไปยางบนเตาถาน 20 นาที


5. ข อควรปฏิบัติสําหรับนักท องเที่ยว

5

119


คู มือนักสื่อความหมาย สําหรับพื้นที่คุ งบางกะเจ า 1. ความรูความเขาใจเกีย่ วกับการสือ่ ความหมาย ความหมาย “นักสื่อความหมายชุมชน” นั ก สื่ อ ความหมายชุ ม ชน หรื อ นั ก สื่ อ ความหมายทองถิน่ หมายถึง สมาชิกในชุมชนที่ มีความรู ความเชีย่ วชาญ เฉพาะเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ หรือหลากหลายสาขา นักสือ่ ความหมายชุมชน อาจเปนปราชญชาวบาน นักคิดทองถิน่ หรือครู ภูมปิ ญ  ญา ซึง่ องคความรูน ผี้ า นการทดลอง ลงมือ ปฏิบัติหลายครั้ง การเก็บเกี่ยวประสบการณที่ ยาวนาน รวมทัง้ ปรับปรุงพัฒนาเปนภูมปิ ญ  ญา ทองถิ่นจากรุนสูรุน ความสําคัญของการสื่อความหมาย การสื่อความหมาย เปนรูปแบบหนึ่งของ การเลาเรือ่ ง เปนกระบวนการสือ่ สารทีเ่ ชือ่ มโยง ขอมูล ขอเท็จจริง (Factual Information) สูป ระสบการณตรงของนักทองเทีย่ วผานการเลา เรื่องราว (Story Telling) ในรูปแบบตาง ๆ ที่ เกี่ยวกับสถานที่นั้น การสื่อความหมายจึงมี ความสําคัญดังนี้ 1. เพิม่ ประสบการณในการทองเทีย่ ว (เรียนรู) 2. สรางความภูมใิ จของเจาของพืน้ ทีแ่ ละ สรางสุนทรียศาสตรใหนักทองเที่ยว (เรียนรู สามัคคี รักษา) 120

33. ประชาสั ป ัมพั​ันธและให ใ ขอมูลที​ี่จําเปปน ในพื้นที่นั้น (สื่อสาร) 4. เขาใจภาพรวมของพื้นที่ที่ทองเที่ยว (เขาใจ) 5. สรางความเขาใจอันดีตอพื้นที่ (สราง ภาพลักษณ การรับรู) 6. สรางงาน (การมีสว นรวม สรางโอกาส) 7. ลดตนทุนในการจัดการและการบูรณะ (ประหยัด) 8. เพิ่ ม และกระจายรายได ใ ห กั บ พื้ น ที่ (คุณภาพชีวิต) 9. ตระหนักถึงการอนุรักษสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม (ยั่งยืน) เปาหมายของการสื่อความหมาย มี 3 ระดับ ดังนี้ 1. สื่อความหมาย เพื่อใหเกิดการรับรู 2. สือ่ ความหมาย เพือ่ ใหเกิดความซาบซึง้ 3. สื่ อ ความหมาย เพื่ อ ให เ กิ ด การ ตระหนัก กลาวคือ การเปนนักสื่อความหมายที่ดี การเลาเรือ่ งใหนกั ทองเทีย่ วเกิดการรับรูแ ละเขาใจ ในทรัพยากรของชุมชนนั้นไมเพียงพอ แตตอง เลาเรือ่ งราวใหนกั ทองเทีย่ วทีม่ าเยือนเกิดความ


ซาบซึ้ง และเห็นถึงคุณคาของทรัพยากรใน ชุมชน หรือสื่อสารจนทําใหนักทองเที่ยวเกิด ความตระหนักรู สรางพลังในการชวยกันดูแล อนุรกั ษและปกปองทรัพยากรทัง้ ดานวัฒนธรรม วิ ถี ชี วิ ต และสิ่ ง แวดล อ มให ค งอยู  กั บ ชุ ม ชน ตลอดไป

2. บทบาท หนาที่ คุณลักษณะของ นักสื่อความหมาย 1. การเปนเจาบานทีด่ ี คือ กลุม บุคคลทีอ่ ยู อาศัยในทองถิน่ ทีเ่ ปนแหลงทองเทีย่ วนัน้ ๆ เปน กลุม บุคคลทีม่ คี วามเปนมิตร มีความเชือ่ มัน่ รอบรู เรือ่ งราวในทองถิน่ ใหการตอบรับ ดูแลผูม าเยือน หรือนักทองเทีย่ วใหมคี วามสุขและรูส กึ ปลอดภัย เพราะเมื่ อ ผู  ม าเยื อ นได รั บ ความมี อั ธ ยาศั ย ไมตรีและเจาบานที่ใหการตอนรับอยางอบอุน ยอมทําใหผูมาเยือนเกิดความประทับใจ 2. นั ก สื่ อ ความหมายควรเล า เรื่ อ งแบบ นักการทูต คือ เลาแตเรือ่ งเชิงบวกเปนสวนใหญ หากจําเปนตองเลาเรือ่ งเชิงลบควรเปนการเลา เพื่อสรางความตระหนักใหเห็นถึงผลกระทบ ทางลบในทุกมิติ เพือ่ ปองกันการสรางผลกระทบ ที่เกิดขึ้นในชุมชนไดเปนอยางดี

3. สวมบทบาทเปนครู นักสื่อความหมาย เปนผูที่จะสงมอบองคความรูของชุมชนใหกับ นักทองเทีย่ วผานการเรียนรูด ว ยการทํากิจกรรม ตาง ๆ ที่นักทองเที่ยวจะมีสวนรวมกับชุมชน นักสื่อความหมายไมจําเปนตองเลาทุกเรื่อง แตสามารถเลาเฉพาะเรือ่ งทีเ่ กีย่ วของกับกิจกรรม ที่นักทองเที่ยวรวมเรียนรูได 4. มีความเปนผูน าํ นักสือ่ ความหมายจะตอง เปนผูน าํ นักทองเทีย่ วไปยังสถานทีต่ า ง ๆ อีกทัง้ การทํากิจกรรมตาง ๆ เพื่อการเรียนรูในชุมชน ตองเปนผูน าํ ในการปฏิบตั ติ นในทางทีถ่ กู ทีค่ วร รวมถึงการแนะนําขอควรปฏิบัติ หรือไมควร ปฏิบตั ใิ นชุมชนใหกบั นักทองเทีย่ วไดทราบและ ปฏิบัติตาม การสื่อความหมายเปนกลไกของ การสือ่ สารสูน กั ทองเทีย่ วโดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ - แนะนําเนนสื่อถึงเอกลักษณเฉพาะที่ โดดเดนของชุมชน - ใหขอมูลที่เปนจริง ถูกตอง ครบถวน - ใหความบันเทิง สรางความสุขในการ เยี่ยมชมและรวมกิจกรรมในชุมชน - สรางความเชือ่ ในสิง่ ทีก่ าํ ลังจะทํารวมกับ ชุมชนวาเปนสิ่งที่ดี - อธิ บ ายด ว ยเรื่ อ งราวที่ นั ก ท อ งเที่ ย ว สนใจดวยชองทางทีส่ ามารถสือ่ ถึงนักทองเทีย่ ว ไดอยางมีประสิทธิภาพ - มี อิ ท ธิ พ ลต อ พฤติ ก รรม สื่ อ ให เ ห็ น การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักทองเที่ยว เมื่อผานการเรียนรู

manual/1-2

121


- สือ่ ใหนกั ทองเทีย่ วรูส กึ เปนสวนหนึง่ ของ ชุมชน ทําใหเกิดความรักความเขาใจในชุมชน อยางแทจริง 3. การออกแบบเนือ้ หา

การออกแบบโครงเนื้อหา : Customer Journey (การเดินทางของลูกคา) การเดิ น ทางของลู ก ค า (Customer Journey) คือ ประสบการณที่นักทองเที่ยว จะไดรับในการเดินทางไปยังแหลงทองเที่ยว และไปยั ง แต ล ะจุ ด ของแหล ง ท อ งเที่ ย ว (จุดสัมผัส) ทีช่ มุ ชนนําเสนอ โดยในการเดินทาง 1 ครั้ง สามารถมีไดหลายจุดสัมผัส ซึ่งเจาบาน จะต อ งคํ า นึ ง และออกแบบว า ในแต ล ะจุ ด นักทองเที่ยวจะไดทําอะไร นักทองเที่ยวจะได ฟงอะไร และจะทําอยางไรใหนักทองเที่ยว เกิดความรู  สึ ก WOW ปลอดภัย เชื่อมั่น ใน สุขอนามัยและพึงพอใจ

122

1. ทําอยางไร เราจะตองออกแบบวาจะทําอยางไรให นักทองเทีย่ วเกิดความประทับใจเมือ่ นักทองเทีย่ ว มาเยือน ซึ่งความประทับใจจะเกิดขึ้นเมื่อสิ่งที่ นักทองเที่ยวไดรับเกินความคาดหวัง ดังนั้น กอนอื่นเราจะตองวิเคราะหวานักทองเที่ยว ที่มาเยือนเปนนักทองเที่ยวกลุมใด มาจาก ที่ไหน มากี่คน พูดภาษาอะไร วัตถุประสงคใน การทองเที่ยวคืออะไร ชอบทํากิจกรรมอะไร เปนตน เพราะขอมูลเหลานี้มีผลตอรูปแบบ กิจกรรมที่นักสื่อความหมายจะนําเสนอแกนัก ทองเที่ยว เพื่อใหมีประสิทธิภาพและเขาใจ ไดงาย


2. สรางประสบการณ WOW ประสบการณ WOW คือ ประสบการณที่ ผูมาเยือนไมไดคาดคิดวาจะเจอ จนตองตะลึง กับการตอนรับ การดูแล และการจัดโปรแกรม ท อ งเที่ ย วที่ ทํ า ให รู  สึ ก ประหลาดใจที่ ไ ด พบเจอ ซึ่งจะตองสรางความรูสึกในแงบวก ประทับใจ จนอยากจะบอกเลาประสบการณ ตอใหคนอื่นฟงและกลับมาเยือนอีกครั้ง โดยมี องคประกอบในการนําเสนอและสรางประสบการณ ดัง ตอไปนี้ - การนํ า เสนอด ว ยนํ้ า เสี ย งที่ น  า สนใจ บุคลิก ลีลา ทาทาง และนํ้าเสียงที่มีความสูงตํ่า ถื อ เป น องค ป ระกอบที่ มี อิ ท ธิ พ ลสู ง ในการ โนมนาว ชักจูง สรางความตื่นเตนเราใจใหกับ ผูมาเยือนไดเปนอยางดี - นักทองเที่ยวเกิดความรูสึกสนุกสนาน สื่อความหมายสอดแทรกดวยมุขตลก สราง ความเพลิดเพลิน ไมเกิดความเบื่อหนายใหแก ผูม าเยือน รวมทัง้ ผูส อื่ ความหมายควรมีหนาตา ยิ้มแยม และเปนมิตรกับนักทองเที่ยว - ออกแบบกิจกรรมสรางสรรคที่สัมพันธ กับวิถชี วี ติ ในชุมชน การสือ่ ความหมายในพืน้ ที่ ภู มิ ป ระเทศที่ แ ปลกใหม แตกต า งจากชี วิ ต ประจําวันของผูมาเยือน - สรางการมีสว นรวมในกิจกรรมและสราง ประสบการณรวมกันใหนักทองเที่ยวไดลงมือ ทํากิจกรรมตาง ๆ ดวยตนเอง เปนการสราง ประสบการณในการเรียนรู และความสัมพันธ อันดีระหวางนักทองเทีย่ วและนักสือ่ ความหมาย

เชน การลงมือทําอาหาร การทําผามัดยอมสี ธรรมชาติ เปนตน 3. ความปลอดภัย ความปลอดภัยเปนปจจัยที่มีผลตอการ ตัดสินใจในการเดินทางมาเยือนของนักทองเทีย่ ว เนื่ อ งจากจุ ด เริ่ ม ต น ของการตั ด สิ น ใจและ ความคาดหวังของนักทองเที่ยวในการเดินทาง ท อ งเที่ ย วคื อ เพื่ อ ได รั บ ประสบการณ ใ หม ที่ ไมเคยไดรับมากอน เมื่อนักทองเที่ยววางแผน เดินทางทองเที่ยวนักทองเที่ยวจึงตองเปรียบ เทียบคุณคาเชิงประสบการณทตี่ นจะไดรบั เมือ่ ไปเยือนสถานทีน่ นั้ ๆ ราคา และความเสีย่ งจาก ความไมปลอดภัยในสถานทีท่ อ งเทีย่ วทีต่ นไมมี ความคุน เคย เมือ่ นักทองเทีย่ วเดินทางมาเยือน แหลงทองเที่ยวของเราแลว นักสื่อความหมาย ควรใหความรู ความปลอดภัยแกนักทองเที่ยว บอกถึงสิง่ ทีค่ วรปฏิบตั เิ พือ่ ปองกันไมใหเกิดภัย อันตรายตอชีวติ และทรัพยสนิ ของนักทองเทีย่ ว รวมทั้ ง มรดกคุ ณ ค า ในแหล ง ท อ งเที่ ย วเกิ ด ความเสียหาย 4. สุขอนามัย ควรคํานึงและการสรางความมั่นใจใหกับ นักทองเที่ยวในดานสุขอนามัย การดูแลความ สะอาดและสุขอนามัยในแหลงทองเทีย่ วรวมถึง ที่พัก เนื่องจากปจจุบันสถานการณโควิด – 19 ทําใหแหลงทองเทีย่ วตาง ๆ ตองมีการยกระดับ มาตรฐานความสะอาดและสุขอนามัยใหดยี งิ่ ขึน้ เพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแกนักทองเที่ยว

manual/3

123


5. นักทองเที่ยวเกิดความพึงพอใจ ทําอยางไรใหนักทองเที่ยวเกิดความรูสึก พึงพอใจเมือ่ ไดมาเยือน โดยการทําใหนกั ทองเทีย่ ว ได รั บ ประสบการณ แ ละความประทั บ ใจ ตรงตามความคาดหวัง ซึ่งความพึงพอใจเปน ปจจัยสําคัญที่จะทําใหนักทองเที่ยวตัดสินใจ มาเที่ ย วซํ้ า และสามารถบอกต อ เรื่ อ งราว ความประทับใจรวมถึงประสบการณการทองเทีย่ ว ของตนใหกับบุคคลอื่นตอไปไดอีกดวย

เทคนิคการเตรียมเนือ้ หาเพื่อการสื่อความหมาย เทคนิคที่ 1 การทําลิสตรายการ นักสื่อความหมายลิสตประเด็นที่ตองการ สื่ อ สารแก นั ก ท อ งเที่ ย วมาเรี ย งลํ า ดั บ ความ สําคัญกอน – หลัง เพื่อใหนักสื่อความหมาย สามารถสื่อสารขอมูลที่สําคัญ ใหความรูแก นักทองเทีย่ วไดอยางครบถวนและไมหลงประเด็น ยกตัวอยางเชน 1. ขอมูลชุมชน/ตําบล/อําเภอ/จังหวัด 1.1 ประวัติการกอตั้ง 1.2 อาณาเขต 1.3 ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ 1.4 ประชากร จํานวน อายุ การศึกษา การนับถือศาสนา 1.5 การประกอบอาชีพ 1.6 ประเพณี วัฒนธรรม 1.7 ของขึ้นชื่อ ของฝาก 124

2. วัด/โบราณสถาน/สถานที่สําคัญ 2.1 สถานที่ตั้ง 2.2 วัตถุประสงคการกอสราง 2.3 ประวัติ/ตํานานการกอสราง 2.4 สิ่งกอสรางที่สําคัญ และลักษณะ ที่นาสนใจของสิ่งกอสราง 2.5 วัตถุนา สนใจทีอ่ ยูใ นโบราณสถาน และลักษณะที่นาสนใจของวัตถุ 2.6 พิธกี รรมและกิจกรรมทีจ่ ดั ในวัด/ โบราณสถาน 2.7 ความเชื่ อ /ตํ า นานเกี่ ย วกั บ สิ่ ง ศักดิ์สิทธิ์ 2.8 ระเบียบปฏิบัติและขอหาม 3. อาหารพื้นถิ่น 3.1 ตํานาน/ที่มา (ถามี)


3.2 ความเกีย่ วของกับวิถชี วี ติ อาหาร ในชีวิตประจําวัน 3.3 ความโดดเดนของอาหาร 3.4 วัตถุดิบ 3.5 ลําดับขั้นตอนการปรุง 3.6 สถานที่ / เทศกาลที่ จ ะสามารถ หากิน/ชิมได

6. Why ทําไมจึงสําคัญ ทําไมจึงนาสนใจ? ทําไม คือ สิง่ ทีเ่ ราตองรูว า สิง่ ทีน่ กั ทองเทีย่ ว จะทํานัน้ ทําดวยเหตุผลใด เหตุใดจึงไดทาํ สิง่ นัน้ การใชเทคนิค 5Ws + 1H เปนการคิดวิเคราะห (Analysis Thinking) ทีใ่ ชความสามารถในการ จําแนก แยกแยะองคประกอบตาง ๆ ของสิง่ หนึง่ สิ่งใด ซึ่งอาจจะเปนวัตถุ สิ่งของ เรื่องราว หรือ เหตุการณนาํ มาเชือ่ มโยงระหวางองคประกอบ เทคนิคที่ 2 5Ws+1H technique ตาง ๆ เหลานัน้ จากนัน้ จึงรวบรวมขอมูลทัง้ หมด การเลาเรื่องราว โดยใชหลักการงาย ๆ คือ มาจัดระบบ เรียบเรียงใหมใหงายแกตอการ 5Ws + 1H technique ไดแก ใคร ทําอะไร ทําความเขาใจและพยายามเชือ่ มโยงกับวิถชี วี ติ ชุมชนเพื่อเลาเรื่องใหนักทองเที่ยวฟงไดอยาง ที่ไหน เมื่อไร ทําไม และอยางไร 1. What นั่นอะไร? สนุกสนาน ทําอะไร คือ สิง่ ทีเ่ ราตองรูว า เราจะทําอะไร สมาชิกแตละคนทําอะไรบาง เทคนิคที่ 3 ตน ตื่นเตน -กลาง กลมกลืน -จบ 2. Where มันมาจากไหน? จับใจ เทคนิคการสือ่ ความหมายทีง่ า ย ๆ ดวยการ ทีไ่ หน คือ สิง่ ทีเ่ ราตองรูว า สถานทีท่ เี่ ราจะ ทํากิจกรรมทําที่ไหน อยูตรงไหน แบงโครงสรางของการเลาเรื่องราวออกเปน 3 3. When แลวสรางเมื่อไร? ชวงหลัก ไดแก เมื่อไหร คือ สิ่งที่เราตองรูวา ระยะเวลาที่ 1. ตน ตื่นเตน เปนตอนเปดเรื่อง กระตุน จะทํากิจกรรมตั้งแตเริ่มจนสิ้นสุด เหตุการณ ใหผูฟงเห็นความสําคัญของเรื่องที่จะพูด ตาง ๆ เกิดขึ้นเมื่อวัน เดือน ป ใด 2. กลาง กลมกลืน ดําเนินเรือ่ ง ประกอบดวย 4. Who แลวใครสราง สรางใหใคร? เนื้อหาสาระ ลําดับความสําคัญอยางชัดเจน ใคร คือ สิ่งที่เราตองรูวา ใครรับผิดชอบ 3. จบ จับใจ ตอนจบเรือ่ ง สรุปความทิง้ ทาย ใครเกี่ยวของ ใครไดรับผลกระทบ ในเรื่องนั้น ใหผูฟงนําไปคิด หรือฝากไวในความทรงจํา มีใครบาง ตลอดไป 5. How สรางดวยวัตถุอะไร? อยางไร คือ สิง่ ทีเ่ ราตองรูว า เราจะสามารถ “ขึ้นตนใหตื่นเตน ตอนกลางใหกลมกลืน ทําทุกอยางใหบรรลุผลไดอยางไร กิจกรรมทีใ่ ห และตอนจบใหจับใจ” นักทองเที่ยวลงมือทํานั้นทําอยางไรบาง 125

technical/1-3


ชวง ตน: ตื่นเตน

เนื้อหา เทคนิค แนะนําตัว ทักทาย ผูกมิตร รูจักนักทองเที่ยว – รูตัวเรา – รูสถานที่ ดึงความสนใจ (ใหพรอมฟง) ไตถามเรื่องราวกอนหนา (การเดินทาง/ การกิน/อากาศ) - ฟงอยางใสใจ - ตอบสนอง นําเขาเรื่อง ตั้งคําคม ตั้งคําถาม เลาเรื่อง หัวขอ (คิดใหเสร็จจากบาน) - ขยายความเขาใจ - ลําดับ - ยกตัวอยาง สรุป ขอบคุณทีม่ าเยือน - เชือ่ มัน่ วานักทองเทีย่ ว ไดประโยชน - เชิญชวนใหกลับมาอีกครั้ง

กลาง: กลมกลืน จบ: จับใจ

หลักการ แนวทาง และตัวอยางประโยคในการเลาเรื่อง ชวง ตน: ตื่นเตน - การทักทาย - ตอง “ตรงประเด็น/ รวบรัด/สรางศรัทธา/ พาเราใจ/และ ชวนใหติดตาม” - โดย “พาดหัวขาว/ กลาวคําถาม/ความสงสัย/ ใหรื่นเริง/เชิงกวี”

126

สิ่งที่ควรสื่อสาร แนะนําตัว ทักทาย ผูกมิตร: - รูจักนักทองเที่ยว - รูตัวเรา - รูสถานที่

ตัวอยางประโยค - ยิ้ม+ไหว (หามลืม) - สวัสดีคะ/ครับ - ยินดีตอนรับนักทองเที่ยวจาก... - ผม/ดิฉัน/หนู/พี่/ลุง/ชื่อ.... - เปนกรรมการ/สมาชิก...ของชมรม... - รูส กึ ยินดีอยางยิง่ ทีท่ า นใหเกียรติมาเยีย่ ม...


ชวง

สิ่งที่ควรสื่อสาร ดึงความสนใจ (ใหพรอมฟง): - ไตถามเรื่องราวกอนหนา - การเดินทาง/การกิน/อากาศ/ เหนื่อย) - ฟงอยางใสใจ - ตอบสนอง/ตอบโต จ นจบ ประเด็น นําเขาเรื่อง: - ตั้งคําคม - ตั้งคําถาม

กลาง: กลมกลืน - โดยพูดตามลําดับ/จับ จุดสําคัญ/แบงสรรเปน ตอน/ยกอุ ท าหรณ ใ ห ชัดเจน/ ตัดและเพิ่มได ทันที/ มีสุภาษิต ขอคิด คําคม เสริม จบ: จับใจ - โดย สรุปความ/ ฝากคําถามใหคิด/ สะกิดอารมณชักชวน/ ใชสาํ นวน โคลง กลอน สุภาษิต คําคม

ตัวอยางประโยค - เดินทางกันมาไกลจาก... - เปนครั้งแรกที่มาเยือน...หรือเปลา? - ถาเคยมา มาเที่ยวที่ไหนแลวบาง? - เหนื่อยกันไหมครับ/คะ? - เมื่อคืนพักที่ไหน? - ไดลองชิมอาหาร...หรือยัง อาหารอรอย ไหมครับ/คะ? >>อยาลืมใสใจและตอบโตกบั นักทองเทีย่ ว<< - มาเที่ ย วอํ า เภอพระประแดง ทราบ คําขวัญอําเภอพระประแดงไหมครับ? - ทานเคยไดยนิ เนือ้ รอง “แหเพลงขอทาน” ไหมครับ/คะ?

เลาเรื่อง: - หัวขอ (คิดใหเสร็จจากบาน) - ขยายความเขาใจ - ลําดับประเด็น - ยกตัวอยาง

สรุป: - ขอบคุณที่มาเยือน - เชื่อมั่นวานักทองเที่ยวได ประโยชน - เชิญชวนใหกลับมา

>>มีอะไรสอบถามเพิ่มเติมไหมครับ<< - ขอบคุณทุกทานที่มาเยือน.... - พวกเรามีความยินดีทไี่ ดบอกเลาเรือ่ งราว..... - หวังเปนอยางยิ่งวาทานจะได.... - ขอเชิญชวนทุกทาน...

technical/3

127


เทคนิคที่ 4 Mind Mapping Mind Mapping ถือเปนเครื่องมือในการชวยคิดและจดบันทึกเพื่อถายทอดความคิดออกมา เปนแผนภาพ โดยมีหวั ขอหลักหรือเรือ่ งทีส่ นใจเปนจุดศูนยกลาง แลวแตกประเด็นเปนหัวขอยอย ออกไปรอบ ๆ โดยใชเทคนิคการเชือ่ มโยงดวย ภาพ สี เสนและการเขียนเปนตัวหนังสือทีส่ นั้ กระชับ เปนโครงสรางตามลําดับชั้นออกไปเรื่อย ๆ อยางสอดคลองกัน โดยผูรับผิดชอบแหลงทองเที่ยว แตละจุดจําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองกําหนดหัวขอหลัก ประเด็นหลักและสาระสําคัญในการสือ่ ความหมาย ของแตละครั้ง เนื่องจากขอมูลในแตละแหลงทองเที่ยวมีอยูคอนขางมาก ดังนั้นการทํา Mind Mapping จะชวยนักสือ่ ความหมายในการจัดระเบียบความคิดใหเห็นภาพรวมความสัมพันธของ เนื้อหาแตละประเด็นวามีความเชื่อมโยงกัน ชวยในการจับประเด็นสําคัญ สรุปสาระสําคัญนํามา สื่อสารใหกับนักทองเที่ยวเขาใจไดและยังชวยในเรื่องการจดจํา ทบทวนเนื้อหาไดงายขึ้นอีกดวย

จากรูปภาพเปนการนําเสนอหัวขอ ธูปหอม โดยประเด็นหลัก ๆ ที่นักสื่อความหมายตองการ จะพูดถึงไดแก ความหลังอันยิ่งใหญ ผลิตภัณฑ วัสดุอุปกรณ วิธีการทํา สีสันแหงธูป กลิ่นนํ้าหอม และความภาคภูมใิ จ รวมถึงมีการแตกกิง่ ออกไปเปนประเด็นยอยตาง ๆ ซึง่ เปนการออกแบบการสือ่ ความหมายดวยการกําหนดประเด็นหลัก และประเด็นยอยตาง ๆ เพื่อสื่อสารเรื่องราว เรื่องเลา ที่ถูกตองของแหลงทองเที่ยวที่จะนําเสนอ ทําใหนักทองเที่ยวเขาใจเกี่ยวกับเรื่องราวไดมากขึ้น

128


เทคนิคที่ 5 การสรางกลองเนื้อหา

หลั ก การคิ ด จะคล า ยกั บ เทคนิ ค Mind Mapping โดยใหนกั สือ่ ความหมายคิดหัวขอหลัก ทีต่ อ งการจะสือ่ สารใหนกั ทองเทีย่ วไดรบั ทราบ โดยกําหนดใหในหนึง่ กลองขอความจะมีประเด็น หลัก และประเด็นยอย เพือ่ ขยายความประเด็น หลัก จากรูปภาพเปนการนําเสนอหัวขอ มะพราว โดยประเด็นหลักที่นักสื่อความหมายตองการ

จะสื่อสารคือ พันธุของมะพราว วิธีการปลูก การเก็บเกี่ยว มะพราวกับความเชื่อ ประโยชน และราคา ประโยชนของการสรางเปนกลอง ข อ ความคื อ เพื่ อ ให ง  า ยต อ การจั ด ระเบี ย บ ความคิด ชวยในการจับประเด็นสําคัญและ เปนการสรุปสาระสําคัญเพือ่ นํามาสือ่ สารใหกบั นักทองเที่ยวเขาใจ

technical/4-5 129


NOTE

130

/

/


NOTE

/

/

131


NOTE

132

/

/




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.