คู่มือการวางแผนการดำเนินงานของแหล่งท่องเที่ยวตามเกณฑ์ GSTC-D VERSION2.0

Page 1

คู ่ มื อ การวางแผนการด� ำ เนิ น งานของแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว 3 Inch

ตามเกณฑ์

GSTC - D VERSION 2.0


คู่มือการวางแผนการด�ำเนินงานของแหล่งท่องเที่ยว

ตามเกณฑ์

GSTC - D

VERSION 2.0

3 Inch


คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

โดยในคู ่ มื อ เล่ ม นี้ ประกอบไปด้ ว ย 3 ส่ ว น ด้วยกัน คือ ส่วนที่ 1: เริ่มอย่างไร (Getting started) เพื่อท�ำความเข้าใจการเริ่มเขียนแผน การด�ำเนินงาน ด้วยการใช้เครือ่ งมือ Sustainable Action Plan Canvas (SAP CANVAS) ที่เป็น กรอบการจัดท�ำแผนใน 10 หัวข้อเตรียมตัวไปต่อ

4

GSTC-D Version 2.0

คู่

มื อ เล่ ม นี้ ตั้ ง ใจออกแบบขึ้ น เพื่ อ ให้ นักพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วใช้เป็นแนวทาง ในการจัดท�ำแผนการด�ำเนินงานในการ ยกระดับสถานะความยั่งยืนตามเกณฑ์ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลกที่จะใช้ควบคู่กับ คู่มือการประเมินสถานะความยั่งยืนตามเกณฑ์ GSTC-D Version 2.0 โดยนั ก พั ฒ นาแหล่ ง ท่องเทีย่ ว จ�ำเป็นต้องท�ำความเข้าใจถึงหลักเกณฑ์ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืนโลก ทีไ่ ด้ปรับปรุงขึน้ ใหม่ ทั้งนี้ วัตถุประสงค์ของการน�ำมาปรับใช้กับพื้นที่ พิเศษ นั้น จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะช่วยในการตรวจ สุขภาพความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยว ด้วยมิติ ทั้ง 4 ด้าน อันได้แก่ ด้านการจัดการความยั่งยืน (Sustainable Management) ความยั่ ง ยื น ด้ า นสั ง คม-เศรษฐกิ จ (Socio-economic sustainability) ความยั่ ง ยื น ด้ า นวั ฒ นธรรม (Cultural sustainability) ความยั่ ง ยื น ด้า น สิ่งแวดล้อม (Environmental sustainability) ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การพั ฒ นาและยกระดั บ การท่องเที่ยวของประเทศ

กั บ แผนการด� ำ เนิ น งาน สร้ า งความเข้ า ใจกั บ เครือข่ายจากยุทธศาสตร์ที่เป็นแผนแม่บท สู่การ วางแผนการด�ำเนินงานอย่างมีทิศทาง รวมถึง การถอดประเด็ น เร่ ง ด่ ว น เพื่ อ จั ด ท� ำ แผนการ ด� ำ เนิ น งานตามตั ว ชี้ วั ด ร่ ว ม และประเด็ น การ พัฒนาตามเกณฑ์ GSTC-D Version 2.0 การ เข้าใจห่วงโซ่คุณค่าที่มองถึงผลกระทบด้านการ ท่องเทีย่ ว การวางแผนบูรณาการ การสือ่ สารอย่าง มีทิศทางในการสร้างความพร้อมของเครือข่าย ในส่วนที่ 2: รู้ไว้ก่อนเพื่อเตรียมการ (Preparation) เป็นการทบทวนประเด็นส�ำคัญ เช่น การจัดการงบประมาณและแหล่งทีม่ า การวางแผน เพื่อการรับรองความส�ำเร็จของโครงการและการ จัดการความเสี่ยงและภาวะวิกฤตการท่องเที่ยว การติดตามและประเมินผล และในส่วนสุดท้าย ที่เป็นการน�ำเสนอแผนการด�ำเนินการยกระดับ สถานะความยั่งยืนตามเกณฑ์ GSTC-D Version 2.0 เป็นการน�ำรายละเอียดเกณฑ์การประเมิน มาแสดงขั้ น ตอนตั้ ง แต่ ก ารเริ่ ม ต้ น เตรี ย มการ การเตรียมวางแผน การศึก ษาข้อ มูล เบื้อ งต้น การเตรียมเอกสารต่างๆ ในการยกระดับความ ยั่งยืน และการให้ตัวอย่างโครงการที่สอดคล้อง กับการพัฒนาอย่างเป็นระบบในหัวข้อนัน้ ๆ รวมถึง แนวทางการก้าวสูก่ ารเป็นต้นแบบทัง้ 38 ประเด็น ตามเกณฑ์เพื่อให้นักพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวได้น�ำ ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่ ในการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเป็นเป้าหมายร่วมกันของ เครือข่าย การน�ำคู่มือเล่มนี้ไปท�ำการสื่อสารเพื่อ ออกแบบแผนงานร่วมกันนัน้ จะส่งผลให้เป้าหมาย ทีว่ างไว้สำ� เร็จได้อย่างเต็มประสิทธิภาพและสร้าง ภาพลักษณ์ในการเป็นพื้นที่ๆ ทุกคนร่วมมือกัน เพือ่ ขยายวงกว้างในการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วให้ มีมาตรฐานสู่สากล

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

คํ า นํ า

5


ส า ร บั ญ

02 28

การเตรียมการก่อนด�ำเนินงาน

(Preparation)

04

08

ค�ำน�ำ

01

เริ่มอย่างไร

(Getting Started) 11 1.1 10 หัวข้อเตรียมตัวไปต่อกับ แผนการด�ำเนินงาน (Idea Generation: Project Mapping Canvas) 16 1.2 เข้าใจ Value chain และ Tourism impact 21 1.3 การจัดท�ำแผนพัฒนาเชิงบูรณาการ (Integrated Planning) 23 1.4 ชี้แจงกลุ่มเครือข่ายในแผน และข้อตกลงร่วมกัน (Identification of Key Stakeholders)

6

GSTC-D Version 2.0

33 2.2 การวางแผนเพื่อการรับรองความส�ำเร็จ ของโครงการและการจัดการความเสี่ยง และภาวะวิกฤตการท่องเที่ยว (Project Assurance: Risk Management Analysis, Limitations & Challenges)

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

31 2.1 การจัดการงบประมาณและแหล่งที่มา (Budgeting: Plans, Managing Budget Variances)

41 2.3 การติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation)

03

44 แนวทางการวางแผนการด�ำเนินงาน ของแหล่งท่องเที่ยวตามเกณฑ์ GSTC-D Version 2.0 48 3.1 ด้าน A การจัดการความยั่งยืน (Sustainable Management) 70 3.2 ด้าน B ความยั่งยืนด้านสังคม-เศรษฐกิจ (Socio - economic sustainability) 86 3.3 ด้าน C ความยั่งยืนด้านวัฒนธรรม (Cultural sustainability) 100 3.4 ด้าน D ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental sustainability)

7


(Getting Started)

8 คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เริ่มอย่างไร

9 GSTC-D Version 2.0


บ ท ที่ 1

1.1

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

(Getting Started)

การวางแผนการด�ำเนินงานถือเป็นแผนปฏิบัติ การทีม่ รี ายละเอียดในการเตรียมตัวอยูพ่ อสมควร และถือได้วา่ เป็นแผนทีเ่ ป็นหัวใจหลักของการขับ เคลือ่ นไปสูเ่ ป้าหมายทีแ่ ท้จริง หากปราศจากการ วางแผนการด�ำเนินงานแล้วนั้น แผนยุทธศาสตร์ ทีไ่ ด้จดั ท�ำไว้ตงั้ แต่ตน้ ก็จะเป็นเพียง การคิด แต่ไม่ ถึงจุดหมายทีต่ งั้ ไว้ ดังนี้ นักพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว จ�ำเป็นต้องท�ำความเข้าใจแผนยุทธศาสตร์การ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของพื้นที่ให้เข้าใจ และน�ำ มาวางแผนปฏิบัติสู่กระบวนการการมีส่วนร่วม โดยน�ำ 10 หัวข้อต่อไปนี้ มาจัดท�ำ Workshop กับหน่วยงานที่เป็นเครือข่าย โดยใช้เครื่องมือ

Sustainable Action Plan Canvas: SAP CANVAS นี้

องค์ประกอบที่ 1:

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เริ่มอย่างไร

GSTC-D Version 2.0

10 หัวข้อเตรียมตัวไปต่อกับ แผนการด�ำเนินงาน

วิสัยทัศน์แหล่งท่องเที่ยว (Vision) จากที่ได้จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ ซึ่งได้ก�ำหนด วิสัยทัศน์ของพื้นที่ไว้แล้วนั้น ว่าต้องการเป็น แหล่ง ท่องเที่ยวแบบใดในอีกไม่นานนี้ตัวแปล ส�ำคัญของวิสัยทัศน์โดยทาง ส�ำนักงาน กพร. ได้ ให้ค วามหมายว่า วิสัยทัศ น์ คือ สภาพที่ส่วน ราชการต้องการเป็นในอนาคต โดยลักษณะของ วิสัยทัศน์ที่ดีควรมีดังนี้

ROADMAP period

Vision: วิสัยทัศน์แหล่งท่องเที่ยว

Strategic Issues ประเด็นยุทธศาสตร์

SMART Objectives เป้าหมาย

Strategic Indicator ตัวชี้วัดในระดับ ยุทธศาสตร์

Key partners and Shared KPI

Budgeting (งบประมาณ) และแหล่งเงินทุน

แผนงานและโครงการ (Project)

GSTC:

UCCN:

แผนชาติ:

แผนจังหวัด:

Urgency (โครงการเร่งด่วน) 1. 2. 3.

ผู้รับผิดชอบหลัก

หน่วยงาน สนับสนุน

ภาพที่ 1: เครื่องมือ Sustainable Action Plan Canvas: SAP CANVAS

10

11


องค์ประกอบที่ 3:

ช่วงการพัฒนา (Roadmap period) ในการจัดท�ำยุทธศาสตร์หรือแผนแม่บทในการ พัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน นั้น จะมีการวางช่วงของการพัฒนา เช่น ในระยะ 1 ปี 3 ปี 5 ปี หรือ 10 ปี ตามกรอบการพัฒนา เพือ่ น�ำไปสูว่ สิ ยั ทัศน์ทฝี่ นั อยากจะเป็น เพือ่ ให้เห็น ระยะเวลา และความต่อเนื่องของการท�ำงานใน แผนงานและโครงการที่ได้ท�ำการระดมความคิด เห็นในครั้งนี้

องค์ประกอบที่ 4:

ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic issues) จากยุทธศาสตร์หรือแผนแม่บทในการพัฒนา พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนนั้น จะมี ทั้งนี้ ในการระดมความคิดเห็นสามารถดึงวิสัย การระบุประเด็นยุทธศาสตร์ไว้เรียบร้อยแล้ว ใน ทัศน์ หรือ สามารถใช้ Destination Positioning ส่วนนีใ้ ห้ดคู วามเชือ่ มโยงของประเด็นยุทธศาสตร์ (DP) มาเป็นตัวแปรหลักในการมองภาพอนาคต ต่อการท�ำแผนการด�ำเนินงาน ที่ได้ร่วมกันตั้งขึ้นมาในช่วงท�ำแผนยุทธศาสตร์ ของพื้นที่ และเป็นการวิเคราะห์ร่วมกันถึงภาพ องค์ประกอบที่ 5: อนาคตสู่การคิดแผนปฏิบัติที่ต้องการก้าวไปสู่ เป้าหมาย หรือเป้าประสงค์ เป้าหมายเดียวกัน ตามประเด็นยุทธศาสตร์ จากยุทธศาสตร์หรือแผนแม่บทในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 2: พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนนั้น จะมี ความเชื่อมโยงกับ GSTC UCCN การระบุเป้าหมาย หรือเป้าประสงค์ไว้เรียบร้อย แผนนโยบายแห่งชาติ หรือแผนของจังหวัด แล้ ว ในส่ ว นนี้ ดู ค วามเชื่ อ มโยงของเป้ า หมาย ในส่วนนีท้ างคณะท�ำงานจะต้องท�ำความเข้าใจ ตามประเด็นยุทธศาสตร์และน�ำมาวางแผนการ ร่วมกันโดยวิเคราะห์ความเชื่อมโยงของประเด็น ด�ำเนินงาน โดยทางส�ำนักงาน กพร. ได้ให้ความ ที่มีความส�ำคัญในตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับเกณฑ์ หมาย เป้าประสงค์ ไว้ว่า “เป็นสภาพในอนาคต การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก (GSTC) หรื อ ระดั บ ผลการด� ำ เนิ น การที่ ต ้ อ งการบรรลุ หรือ มีความสอดคล้องกับ UNESCO Creative เป้าประสงค์เป็นไปได้ทั้งระยะสั้น และระยะยาว Cities Network ที่ เ ป็ น แนวทางหลั ก ในการ เป็นจุดปลายทางทีช่ นี้ ำ� การปฏิบตั กิ ารเป้าประสงค์ ขับเคลื่อนการพัฒนาของแหล่งท่องเที่ยว ทั้งนี้ ในเชิ ง ปริ ม าณที่ เ ป็ น จุ ด หรื อ ช่ ว งที่ เ ป็ น ตั ว เลข ยังสามารถเป็นโครงการที่สอดคล้องกับ แผน มักเรียกว่า เป้าหมาย โดยเป้าหมาย อาจเป็น ยุทธศาตร์ชาติ 20 ปีด้านการท่องเที่ยว หรือ การคาดการณ์จากข้อมูลเชิงปริมาณเทียบหรือ

ข้อมูลเชิงแข่งขัน” ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความชัดเจน ในการจัดท�ำแผนด�ำเนินงานควรน�ำเทคนิคการตัง้ เป้าหมาย หรือเป้าประสงค์จากแนวทางการใช้ SMART เข้ามาช่วยโดยให้พิจารณาดังนี้ S - Specific: มีความเฉพาะเจาะจง M - Measurable: วัดผลได้จริงแบบเป็น รูปธรรม (เชิงปริมาณและคุณภาพที่วัดได้) A - Attainable / Achievable: สมเหตุ สมผล สามารถท�ำได้จริง R - Relevant: เป็นไปในทิศทางเดียวกับ วิสัยทัศน์ที่ตั้งไว้ T - Timely: มีกรอบระยะเวลาชัดเจน

องค์ประกอบที่ 6:

ตัวชี้วัดในระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Indicator) จากยุทธศาสตร์หรือแผนแม่บทในการพัฒนา พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนนั้น จะมี การระบุตัวชี้วัดในระดับยุทธศาสตร์ไว้เรียบร้อย แล้ว ในส่วนนี้ ดูความเชื่อมโยงของตัวชี้วัดใน ระดับยุทธศาสตร์และน�ำมาวางแผนการด�ำเนิน งานให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของโครงการที่จะ ท�ำการเขียนในแผนงาน

องค์ประกอบที่ 7:

โครงการเร่งด่วน (Urgency) จากยุทธศาสตร์หรือแผนแม่บทในการพัฒนา พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนนั้น จะมี การระบุ โ ครงการในแผนไว้ แ ล้ ว ในส่ ว นนี้ ท าง คณะท� ำ งานจ� ำ เป็ น ต้ อ งระดมความคิ ด เห็ น ถึ ง สถานการณ์ในปัจจุบัน ปัจจัยที่ส่งผลให้จ�ำเป็น ต้องจัดล�ำดับความส�ำคัญของโครงการเร่งด่วน เช่น เกิดสภาวะดูความเชื่อมโยงของตัวชี้วัดใน ระดับยุทธศาสตร์และน�ำมาวางแผนการด�ำเนิน งานให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของโครงการที่จะ ท�ำการเขียนในแผนงาน

องค์ประกอบที่ 8:

ผู้รับผิดชอบโครงการหลัก เครือข่าย สนับสนุน และตัวชี้วัดร่วมในระดับโครงการ (Key partners and Shared KP) จากองค์ประกอบที่ 6 ที่เป็นตัวชี้วัดในระดับ ยุทธศาสตร์ (Strategic Indicator) จากแผน ยุทธศาสตร์หรือแผนแม่บทในการพัฒนาพื้นที่ พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนนั้น จะมีการ ระบุตัวชี้วัดในระดับยุทธศาสตร์ไว้เรียบร้อยแล้ว ในส่ ว นนี้ จ� ำ เป็ น ต้ อ งระดมความคิ ด เห็ น ใน คณะท�ำงาน โดยมีการก�ำหนดโครงการพร้อม ระบุผู้รับผิดชอบหลัก เครือข่ายสนับสนุน และ ที่ ส� ำ คั ญ คื อ การจั ด ท� ำ ตั ว ชี้ วั ด ร่ ว ม โดยระบุ ดู ความเชื่อมโยงของตัวชี้วัดในระดับยุทธศาสตร์ และน�ำมาวางแผนการด�ำเนินงานให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัดของโครงการที่จะท�ำการเขียนในแผน งาน หลังจากมีตัวชี้วัดหลักส�ำหรับผู้รับผิดชอบ โครงการหลักแล้ว จ�ำเป็นต้องลงมาก�ำหนดตัว ชีว้ ดั ในส่วนของหน่วยงานสนับสนุนหรือเครือข่าย สนั บ สนุ น และต้ อ งให้ ส อดคล้ อ งกั บ ตั ว ชี้ วั ด ในระดับยุทธศาสตร์ในขณะเดียวกันหน่วยงาน สนับสนุนยังสามารถน�ำไปใช้เป็นตัวชี้วัดผลงาน ของหน่วยงานได้อีก หากมีการวางแผนร่วมกัน ตั้งแต่ต้น ตัวชี้วัดร่วมนี้ มีความส�ำคัญมากเพราะ จะช่วยผลักดันให้การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนเป็นแนวทางบูรณาการที่มีประสิทธิภาพ และสื่อสารได้ดีในภาพของการท�ำงานร่วมกัน

องค์ประกอบที่ 9:

งบประมาณโครงการ/แหล่งเงินทุน (Budgeting) ในส่ ว นนี้ ส ามารถดู ไ ด้ จ ากงบประมาณที่ ไ ด้ ถูกจัดตั้งไว้ในแผนยุทธศาสตร์หรือแผนแม่บท ในการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่าง ยัง่ ยืน โดยสามารถน�ำมาวิเคราะห์เป็นแนวทางใน การวางแผนงบประมาณและกระบวนการจัดหา งบประมาณเพิ่มเติมจากแหล่งเงินทุนอื่นๆ เช่น หน่วยงานที่เป็นเครือข่ายกลุ่มภาคีในภาคเอกชน

GSTC-D Version 2.0

แผนพัฒนาของจังหวัดหรือไม่ ซึง่ จ�ำเป็นต้อง Tick เครือ่ งหมาย [ / ] เพือ่ ให้เห็นความเชือ่ มโยงร่วมกัน

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

12

1. มีมมุ มองแห่งอนาคต (Future Perspective) สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และค่านิยมองค์กร 2. ริเริ่มโดยผู้น�ำและสมาชิกมีส่วนร่วมคิดและ ให้การสนับสนุน (Share and Supported) มีความน่าเชื่อถือ ทุกคนเต็มใจที่จะปฏิบัติ ตาม การมีส่วนร่วมของสมาชิกจะก่อให้เกิด ความผูกพัน (Commitment) ร่วมกันและ ทุกคนพร้อมที่จะให้การสนับสนุน 3. มีสาระครบถ้วนและชัดเจน (Comprehensive and Clear) สะท้อนให้เห็นถึงจุดหมาย ปลายทางและทิศทางที่จะก้าวไปในอนาคต ที่ทุกคนเข้าใจง่าย 4. ให้ ค วามฝั น พลั ง ดลใจ (Positive and Inspiring) ท้าทาย ทะเยอทะยาน สามารถ ปลุกเร้าและสร้างความคาดหวังที่เป็นสิ่งที่ พึงปรารถนาที่มองเห็นได้

13


ตารางที่ 2 ตัวอย่างแผนการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนตามแผนยุทธศาสตร์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ ที่สอดคล้องกับเกณฑ์ GSTC และ UCCN

ตารางที่ 1 ตัวอย่างประเด็นยุทธศาสตร์และตัวชี้วัด ตามแผนยุทธศาสตร์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเมืองโบราณอู่ทอง

ตารางที่ 5.4 แผนการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนตามแผนยุทธศาสตร์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเมืองโบราณอู่ทอง พ.ศ. 2565-2569 ที่สอดคล้องกับเกณฑ์ GSTC และ UCCN

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

14

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การพัฒนาและฟื้นฟู แหล่งท่องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ธรรมชาติ เกษตร และสุขภาพ เพื่อเพิ่ม ศักยภาพด้าน การท่องเที่ยวของพื้นที่ เมืองโบราณอู่ทอง

เป้าหมาย เกิดการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับ บริบททางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมของเมืองโบราณอู่ทอง

ตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์ 1. แหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพ ได้รับการฟื้นฟูและพัฒนา อย่างเหมาะสม 2. ประชาชนในท้องถิ่นเข้ามา มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยว 3. มีแนวทางในการดูแลแหล่ง ท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน

แผนงาน แผนงาน 1 แผนงานด้านการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม

แผนงาน 2 แผนงานด้านการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ

ตัวชี้วัดระดับแผนงาน 1. จ�ำนวนแหล่งท่องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร์ และโบราณสถาน ได้รับการบูรณะฟื้นฟู และพัฒนา อย่างเหมาะสม 2. จ�ำนวนแหล่งท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์ และโบราณสถานที่ ได้รับการส่งเสริมให้เป็นสถานที่ ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญของ เมืองโบราณอู่ทอง 3. กิจกรรมทางวัฒนธรรมที่ได้รับการ ส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นกิจกรรม การท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ 4. กิจกรรมการส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชนในท้องถิ่นให้เข้ามา มีส่วนร่วมในการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยว 5. มีแนวทางในการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรมที่เหมาะสมและมี ความยั่งยืน 6. จ�ำนวนเส้นทางท่องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ที่ได้รับการพัฒนา 1. กิจกรรมการส่งเสริมการมีส่วนร่วม และการสร้างจิตส�ำนึกของประชาชน ในท้องถิ่นในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรทางธรรมชาติในพื้นที่ เมืองโบราณอู่ทอง

หรื อ สถาบั น วิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ โครงการนั้ น ๆ องค์ประกอบที่ 10: เป็นต้น โดย อพท. จะท�ำหน้าที่ในการประสาน แผนงานและโครงการ (Project) ส่งเสริมเพื่อให้มีงบประมาณในการจัดท�ำแผนจน ในส่ ว นนี้ คื อ การร่ ว มกั น คิ ด แผนงานและ บรรลุเป้าหมายในระยะยาว โครงการที่สอดคล้องกับเป้าหมายที่ได้ท�ำการ ประเมินตั้งแต่ต้น โดยโครงการที่มีประสิทธิภาพ นั้น สามารถคิดให้ตอบสนองตัวชี้วัดของ GSTC ได้มากกว่า 2 ตัวชี้วัด โดยดูได้จากตัวอย่างตาม ตารางที่ 1 และตารางที่ 2 ซึ่งได้ใช้ในการจัดท�ำ โครงการที่น�ำมาจากแผนแม่บทของพื้นที่พิเศษ เมืองโบราณอู่ทอง

ชื่อโครงการ

หน่วยงานที่ รับผิดชอบ

งบประมาณ เกณฑ์ (ล้านบาท) GSTC

เกณฑ์ UCON

แผนพัฒนากลุ่ม แผนพัฒนาจังหวัด จังหวัดภาคกลาง สุพรรณบุรี ตอนล่าง 1 GC IG GG IP ย.1 ย.2 ย.3 ย.4 ย.5 ย.6 ย.1 ย.2 ย.3 ย.1 ย.2 ย.3 ย.4 แผนยุทธศาสตร์ชาติ

ยุทธศาสตร์การจัดสรร งบประมาณ

GSTC-D Version 2.0

GSTC-D Version 2.0

ยุทธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การพัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ธรรมชาติ เกษตร และสุขภาพ เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของพื้นที่เมืองโบราณอู่ทอง ผ.1 แผนงานด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ✓

1. โครงการปรับปรุง ถนนคนเดิน (ถนนหรรษา วินยานุโยค)

ทต.อู่ทอง/ทต. ท้าวอู่ทอง

1

A4 A8 B8

2. โครงการพัฒนา ปรับปรุงอนุรักษ์ เจดีย์หมายเลข 2 และ 3 เมืองอู่ทอง มรดกไทย สมัยทวารวดี

ส�ำนักศิลปากรที่ 2 สุพรรณบุรี/ สนง.วัฒนธรรม/ ทกจ.

1.5

C1 C4

U1 U2 U5 U6 U9 U10 U11

3. โครงการสร้างและ ส่งเสริมองค์ความรู้ ด้านดนตรี

อบจ./สนง. วัฒนธรรม/ อพท./วิทยาลัย นาฎศิลป สุพรรณบุรี/ โรงละครแห่งชาติ ภาคตะวันตก/ เครือข่ายศิลปิน

10

B3 C4

U1 U2 U4 U6

ผ.2 แผนงานด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ 4. โครงการอนุรักษ์ ศูนย์ แหล่งต้นน�้ำแหล่ง ประสานงานป่า ท่องเที่ยวพุหางนาค

3

D1 D2 D3 D6

✓ ✓

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ตารางที่ 5.2 ประเด็นยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเมืองโบราณอู่ทอง พ.ศ. 2565-2569

15


16

GSTC-D Version 2.0

GSTC การขายสินค้าเพื่อ การท่องเที่ยว

กิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการท่องเที่ยว

กิจกรรมทางวัฒนธรรม

กิจกรรมกีฬาและ การพักผ่อน

เครือข่ายท่องเที่ยว ตัวแทนบริษัทน�ำทัวร์ การเช่ารถ

องค์กรไม่แสวง ผลก�ำไร NGO

เครื่องบิน ทางเรือ

กระทรวงท่องเที่ยว กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงทรัพยากร

การเดินทางทางรถยนต์ การเดินทางโดยรถไฟ

สถาบันการศึกษา

องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น

คนในชุมชน บริษัททัวร์ อาหารและเครื่องดื่ม ที่พัก

โครงสร้างพื้นฐาน ทางด้าน • สิ่งแวดล้อม • สุขภาพ • ความปลอดภัย • การเข้าถึง สิ่งอ�ำนวย ความสะดวก

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

สสปน

สื่อออนไลน์ด้าน การท่องเที่ยว

CSR บริษัท

Event organiser

นัก ท่องเที่ยว สมาคมท่องเที่ยว และโรงแรม

นโยบาย งบประมาณ ทรัพยากรมนุษย์ การสนับสนุน วัฒนธรรมองค์กร การตลาด เครือข่าย

Tour Agency

อพท. ตัวกลาง สนับสนุน ด้านการพัฒนา

TSI Consumption products

ททท

OTA

ตัวกลาง สนับสนุน ด้านการขาย

Distributor Distributor

จาการวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) กระบวนการพัฒนาการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน ของ อพท. นั้ น จะสั ง เกตได้ ว ่ า มี ตั ว แปรส� ำ คั ญ อยู ่ มากมายในการด�ำเนินงานตั้งแต่ ต้นน�้ำ กลางน�้ำ 3. ตัวกลางสนับสนุนด้านการพัฒนา (Distribution) ในส่วน อพท. นั้นมีภาคีที่เป็นเครือข่ายเพื่อ และปลายน�้ำ โดยประกอบไปด้วย 7 ส่วนส�ำคัญ ร่วมพัฒนา โดยสามารถแบ่งออกเป็นทั้งหมด ในห่วงโซ่นี้ คือ 8 กลุม่ คือ กลุม่ บริษทั ทัวร์ คนในชุมชน เจ้าของ แหล่งท่องเที่ยว องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. โครงสร้ า งพื้ น ฐาน ทั้ ง ทางด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม พันธมิตรกระทรวงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ทางกายภาพ ทางด้านสุขภาพ ความปลอดภัย ท่องเทีย่ ว เช่น กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา การเข้าถึง และสิง่ อ�ำนวยความสะดวกเพือ่ การ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงทรัพยากรและ ท่องเที่ยวต่างๆ สิ่งแวดล้อม เป็นต้น รวมถึงองค์กรไม่แสวงผล ก�ำไร (NGO) สถาบันการศึกษา เครือข่ายท่อง 2. ห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain) โดยทางคณะ เที่ยว เช่น เครื่อข่ายอนุรักษ์ เครือข่ายชุมชน ที่ ป รึ ก ษาได้ เ ล็ ง เห็ น ความเชื่ อ มโยงของการ สร้างสรรค์ เครือข่ายเยาวชน เป็นต้น สร้างระบบ TSI Consumption product (Tourism Satellite Index) ที่ทางกระทรวง การท่องเทีย่ วได้จดั ท�ำขึน้ เป็นฐานข้อมูลในการ 4. อพท. ท� ำหน้ า ที่ เ ป็ น พี่ เ ลี้ ย งในการประสาน ส่งเสริม ร่วมพัฒนาการท่องเที่ยว โดยมีกรอบ วิเคราะห์การอุปโภคบริโภคเพื่อการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก (GSTC) มาใช้ ที่มีผลกระทบเชิงเศรษฐกิจ ภายใต้โครงการ ในการสร้างต้นแบบของพืน้ ทีๆ่ ดูแล ทัง้ นี้ อพท. พัฒนาระบบและจัดท�ำบัญชีประชาชาติด้าน มีปัจจัยภายในที่จ�ำเป็นต่อการพัฒนาที่เป็น การท่องเที่ยว ได้แบ่ง กิจกรรมของการผลิต องค์ประกอบส�ำคัญ คือ นโยบายที่เอื้อต่อการ สินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยว เป็น 12 พัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน งบประมาณ ประเภท ดังนี้ 1. ที่พัก 2. อาหารและเครื่องดื่ม จัดสรรเพือ่ การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ ทีมงาน 3. การเดินทางด้วยรถไฟ 4. การเดินทางด้วย

อุปทาน

และกระบวนการพัฒนาการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน ของ อพท.

รถยนต์ 5. การเดินทางทางเรือ 6. การเดินทาง ด้วยเครื่องบิน 7. การเช่ารถ 8. ตัวแทนบริษัท น�ำเที่ยว 9. กิจกรรมทางวัฒนธรรม 10. การ ขายสินค้าเพื่อการท่องเที่ยว 11. กิจกรรมกีฬา และการพักผ่อน 12. กิจกรรมอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับการท่องเที่ยว

Supply

ห่วงโซ่คุณค่า (Value chain)

Basic Infrastructure

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

Tourism impact

เจ้าของแหล่ง

เข้าใจ Value chain และ

ผลกระทบ จากการท่องเที่ยว • GHG emission • Air pollution • Wastewater • Food waste • Package waste • Chemical waste • Land use • Biodiversity loss • Noise & Odour

1.2

ภาพที่ 2: Value chain กระบวนการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ของ อพท.

17


ระบบนิเวศการท่องที่ยวอย่างยั่งยืน Sustainable Tourism Ecosystem

การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์

GSTC-D Version 2.0

HUMAN CAPITAL: POLICY: นโยบาย

COLLECTIVE LEADERSHIP:

MARKET:

การตลาด

ภาวะผู้น�ำร่วม

SUPPORT:

FINANCE:

การสนับสนุน

การจัดสรรงบประมาณ

SUCCESS STORY CULTURE

วัฒนธรรมในการถ่ายทอดเรื่องความส�ำเร็จ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

18

ที่เป็นเสมือนฟันเฟืองหลักของการขับเคลื่อน ที่ ต อบสนองการท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น และ การสนับสนุนในด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน รั บ ผิ ด ชอบมากขึ้ น โดยกลุ ่ ม เป้ า หมายนั้ น ที่มีความช�ำนาญกว่าหน่วยงานอื่น วัฒนธรรม แบ่งออกได้หลายรูปแบบ เช่น นักท่องเที่ยว องค์กรที่เป็นการพัฒนาที่มีส่วนผสมระหว่าง ศึกษาดูงาน นักท่องเที่ยวกลุ่มบริษัทท�ำ CSR ความเป็นพื้นที่ เข้าใจ เข้าถึง และความเป็น นักท่องเทีย่ วแบบครอบครัวทีต่ อ้ งการรับผิดชอบ สากลกับกรอบการประเมินด้านการท่องเที่ยว ต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม นักท่องเที่ยวกลุ่ม อย่างยัง่ ยืนโลก ท�ำให้เกิดวัฒนธรรมองค์กรทีม่ ี เยาวชนเพื่อท�ำกิจกรรมสร้างสรรค์ เป็นต้น ความเปิดรับและทันต่อเหตุการณ์แต่ยงั คงไว้ซงึ่ วิถีคนพื้นที่ และค้นหาเรื่องใหม่ๆ เพื่อการ 7. ผลกระทบจากการท่องเทีย่ ว (Tourism impact) พัฒนาอย่างยัง่ ยืนอยูเ่ สมอ การท�ำหน้าทีใ่ นการ โดยรวมถึงการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG เป็นผู้ร่วมพัฒนาและนักการตลาดตามสมควร emission) มลพิษทางอากาศ (Air pollution) และการมีเครือข่ายที่ครอบคลุมต่อการพัฒนา น�ำ้ เสีย (Wastewater) ขยะจากอาหาร (Food การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในหลายมิติ ท�ำให้ waste) ขยะจากบรรจุภณ ั ฑ์ (Package waste) อพท. จ� ำ เป็ น ต้ อ งเปิ ด รั บ ข้ อ คิ ด เห็ น หรื อ ขยะจากสารเคมี (Chemical waste) การใช้ แนวทางการพั ฒ นาที่ ทั น สมั ย ในกรอบการ พืน้ ที่ (Land use) การสูญเสียของสัตว์และพืช ท�ำงานของ GSTC บางชนิด (Biodiversity loss) เสียงและกลิ่น รบกวน (Noise and Odour) 5. ตั ว กลางสนั บ สนุ น ด้ า นการขายสิ น ค้ า และ บริการ (Distribution) ในส่วนนี้ อพท. มีภาคี จากสถานการณ์โควิด 19 Value chain จึงมี เครือข่ายทีช่ ว่ ยท�ำหน้าทีน่ กั การตลาดในระดับ บทบาทส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ เ ห็ น ถึ ง ผลกระทบทั้ ง พื้ น ที่ แ ละระดั บ ประเทศ เช่ น บริ ษั ท ทั ว ร์ กระบวนการ โดยคณะท�ำงานได้น�ำข้อมูลที่ทาง Online Travel Agency ที่เป็น platform UN (2019) ได้พยายามให้หลายๆ ประเทศน�ำมา ออนไลน์ ททท. ที่ช่วยสนับสนุนขายเส้นทาง วิเคราะห์ Mapping the Value Chain ในเรื่อง ท่องเที่ยวที่ อพท. ได้ท�ำการพัฒนา รวมถึง ของผลกระทบด้านความยัง่ ยืน ทีป่ ระกอบไปด้วย สมาคมการท่องเที่ยวและโรงแรมต่างๆ สื่อ ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจที่สามารถท�ำให้เห็น ออนไลน์ที่มีบทบาทส�ำคัญในปัจจุบัน ที่ อพท. ห่วงโซ่ที่ได้รับผลกระทบทางตรงและทางอ้อม ได้ น� ำ มาใช้ เ ป็ น กลยุ ท ธ์ ใ นการขายเส้ น ทาง รวมถึ ง ผลกระทบจากการท่ อ งเที่ ย วในด้ า น ท่องเที่ยว ส�ำนักงานส่งเสริมการจัดประชุม สิ่งแวดล้อมที่ต้องการให้ทุกประเทศช่วยกันเร่ง และนิ ท รรศการ (TCEB: สสปน.) บริ ษั ท แก้ไข และวางไว้ในห่วงโซ่คุณค่า เพื่อไม่ให้มอง ออแกนไนเซอร์ที่หาพื้นที่ให้บริษัทท�ำกิจกรรม เพียงแค่ดา้ นผลกระทบทางเศรษฐกิจเพียงเท่านัน้ ท�ำ CSR จากผลการทบทวนกระบวนการ (To-Be 6. นักท่องเทีย่ วทีเ่ ข้ามาเยือนพืน้ ทีท่ ที่ าง อพท. ได้ Process) ในการก�ำหนดกรอบการพัฒนาการ ร่วมพัฒนากับพืน้ ทีต่ า่ งๆ โดยในปัจจุบนั เทรนด์ ท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืนทีไ่ ด้นำ� GSTC มาเป็นตัวแปล การท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบถือเป็นแนวทาง หลั ก ในการพั ฒ นา รวมถึ ง การประเมิ น ความ หลักที่ประเทศไทยต้องการสร้างนักท่องเที่ยว เร่งด่วนและจัดล�ำดับความส�ำคัญที่มีผลกระทบ คุณภาพ ซึ่งถือได้ว่าเป็นผลดีต่อกระบวนการ ต่อสิง่ แวดล้อม สังคมและเศรษฐกิจของการจัดท�ำ ท�ำงานของ อพท. ในการสร้างสินค้าและบริการ แผนพัฒนาให้เข้าใจถึงตัวชี้วัดที่มีความชัดเจน

3 Inch

ภาพที่ 3: ระบบนิเวศของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (Eco-system of Sustainable Tourism)

19


1.3

การจัดท�ำแผนพัฒนาเชิงบูรณาการ

การจัดท�ำแผนเชิงบูรณาการนั้นถือเป็นเรื่อง ส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น การกล่าวถึงการมีสว่ นร่วมของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย แต่ไม่ได้ระบุบทบาท หน้าที่ ตัวชี้วัดของแต่ละ หน่วยงานที่มีเป้าหมายเดียวกันให้ชัดเจน อาจ ส่งผลให้แผนที่วางไว้ ไม่บรรลุตามที่คาดหวัง ปัญหาในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าในแต่ละหน่วยงาน มีขอบเขตและงบประมาณตามโครงการที่ได้ระบุ ไว้ จึงอาจท�ำให้เกิดโครงการทีท่ บั ซ้อนจ�ำนวนมาก ส่งผลให้ชุมชนสับสนเกิดความไม่พอใจในการ ท�ำงานของหน่วยงานภาครัฐ ที่เข้ามาสนับสนุน ชุมชนในพืน้ ทีใ่ นระยะเวลาใกล้กนั ในการท�ำแผน พัฒนาเชิงบูรณาการเพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน มีสิ่งส�ำคัญที่ต้องค�ำนึงถึงคือ ขั้นตอนการจัดท�ำ แผนการบูรณาการและการก�ำหนดตัวชี้วัดความ ส�ำเร็จร่วมกัน หรือ Shared KPI ซึ่งเป็นแนวทาง ทีส่ ามารถท�ำได้ใน 5 ขัน้ ตอน โดยมีขนั้ ตอนในการ จั ด ท� ำ โดยน� ำ แนวคิ ด จากสถาบั น เพิ่ ม ผลผลิ ต แห่งชาติ มาปรับใช้ในการก�ำหนดแนวทาง ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1

จัดประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในส่วนงานภาครัฐ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยว เพื่อหา แนวทางในการสร้างกรอบแนวทางการวางแผน การบู ร ณาการ และศึ ก ษาบทบาทของแต่ ล ะ หน่วยงาน เพื่อค้นหาแนวทางการท�ำงานร่วมกัน จากยุทธศาสตร์การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว เพื่อ ก�ำหนดแผนงาน และผู้รับผิดชอบหลัก รวมถึง

20

การก�ำหนดตัวชี้วัดความส�ำเร็จร่วมกัน (Shared KPI) อาทิ กระทรวงการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ า กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กระทรวงวัฒนธรรม หรือใน ระดับกรม เช่น กรมการพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริม การเกษตร กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ พันธุพ์ ชื กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น การท่องเที่ยวแห่งประเทศ ไทย สมาคมท่องเที่ยวต่างๆ เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 2

ท�ำการวิเคราะห์ภาคีเครือข่ายทั้ง 3 ส่วน คือ 1. ความส�ำคัญของแต่ละหน่วยงาน 2. ความเป็น ไปได้ในการประสานงานร่วมกัน ค�ำนึงถึงโครงการ ในยุ ท ธศาสตร์ / แผนงานของแต่ ล ะหน่ ว ยงาน 3. การสร้างเครือข่ายของแต่ละหน่วยงานเพื่อ เชื่ อ มโยงภาคี เ ครื อ ข่ า ยของแต่ ล ะกลุ ่ ม ในการ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยมีการน�ำ เทคโนโลยีเข้ามาปรับใช้เพือ่ ให้มกี ารประสานงาน และวัดผลระหว่างการด�ำเนินการไปด้วยกัน

GSTC-D Version 2.0

(Integrated Planning)

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

มากขึ้น โดยท�ำความเข้าใจกับระบบนิเวศของ 3. การจั ด สรรงบประมาณ เช่ น การให้ กู ้ ยื ม การท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น (Eco-system of การจั ดสรรทุ น บริ ห ารความเสี่ ย ง ตลาดทุน Sustainable Tourism) ดังภาพที่ 3 ด้านล่าง ที่ สาธารณะ พัฒนามาจากงานของ Isenberg, D.J. (2010) และ Edgell (2019) ต่อไปนี้ 4. การสร้างเรือ่ งราวถ่ายทอดความส�ำเร็จ รวมถึง การสร้างการรับรู้ของความส�ำเร็จในแต่ละขั้น การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน การสร้างพลังจากรุน่ สูร่ นุ่ ในการท่องเทีย่ วอย่าง นั้น มีองค์ประกอบหลักๆ ในการพัฒนา 7 ด้าน ยั่งยืน สร้างชื่อเสียงในระดับสากล การต่อสู้ ประกอบไปด้วย เมื่ อ เผชิ ญ ปั ญ หา ความเสี่ ย ง หรื อ ความผิด พลาด เพื่อก้าวต่ออย่างมั่นคงได้ การพัฒนา 1. การก�ำหนดนโยบายจากภาครัฐ ในส่วนนีห้ มาย วัฒนธรรมของการรับผิดชอบต่อสังคม เป็นต้น รวมถึงการมีหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนทาง ด้านการลงทุน ด้านวิจัย ด้านธุรกิจเพื่อสังคม 5. ฝ่ายสนับสนุนจากผู้เชี่ยวชาญ องค์กรไม่แสวง ด้านกฎหมายเพือ่ เอือ้ ต่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ผลก�ำไร และสาธารณูปโภคทีเ่ อือ้ ต่อการพัฒนา รวมถึงการสร้างแนวทางที่เป็นตัวกระตุ้นให้ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เกิ ด ผลกระทบเชิ ง บวกกั บ การพั ฒ นา เช่ น ผลประโยชน์จากการลดหย่อนภาษี หรือการ 6. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การศึกษาในด้าน ให้รางวัล เป็นต้น การท่องเที่ยวและการบริการ แรงงาน และ เครือข่ายธุรกิจและอื่นๆ ที่ช่วยในการพัฒนา 2. การเป็นผู้น�ำ หมายถึง การสร้างผู้น�ำแนวใหม่ แหล่งท่องเที่ยว หรือที่เรียกว่า ผู้น�ำร่วม (Collective leadership) ทีม่ กี ระบวนทัศน์ใหม่เข้าใจตนและเข้าใจ 7. การตลาด ความชั ด เจนด้ า นกลุ ่ ม ลู ก ค้ า โลกอย่างรอบด้าน มีทักษะใหม่ที่จ�ำเป็นต่อ เป้าหมาย ช่องทางจัดจ�ำหน่าย เครือข่ายธุรกิจ การท�ำงานในสังคมทีซ่ บั ซ้อนและเปลีย่ นแปลง ในพื้ น ที่ และการกระจายเครื อ ข่ า ยในการ อย่างรวดเร็ว รวมทัง้ มีภาวะผูน้ ำ� ใหม่ทไี่ ม่ได้นำ� พัฒนาการท่องเที่ยวรวมกับพื้นที่อื่นๆ และมี เพียงคนเดียวแต่เชือ่ มประสานกับคนอืน่ ๆ เป็น การประสานงานที่มีประสิทธิภาพในการสร้าง ภาวะผู้น�ำร่วมนั่นเอง การมีสว่ นร่วมของกลุม่ คนในพืน้ ทีแ่ ละภายนอก

ขั้นตอนที่ 3

ก�ำหนดวัตถุประสงค์หรือผลลัพธ์ที่ต้องการ โดยดูจากฐานตัวชีว้ ดั ของแต่ละหน่วยงาน ก�ำหนด ปัจจัยสูค่ วามส�ำเร็จ (Key Success Factor) และ พั ฒ นาตั ว ชี้ วั ด ที่ ส ามารถบ่ ง ชี้ ถึ ง ความส� ำ เร็ จ ที่ สัมพันธ์กบั วัตถุประสงค์ทตี่ อ้ งการเป้าหมายร่วมกัน ยกตัวอย่างเช่น ปัจจัยด้านคุณภาพแหล่งท่องเทีย่ ว

21


จั ด ท� ำ ดั ช นี ชี้ วั ด สู ่ ห น่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งและ จั ด ท� ำ ความหมายดั ช นี ชี้ วั ด ความส� ำ เร็ จ ร่ ว ม (Shared KPI Dictionary) โดยมีรายละเอียด คือ ชื่อของดัชนีชี้วัด ค�ำจ�ำกัดความหรือนิยาม ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบหลั ก ผู ้ เ ก็ บ ข้ อ มู ล ความถี่ ใ นการ รายงานผล เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันของ ผู้ที่เกี่ยวข้องในการน�ำ Shared KPI ไปใช้ในการ ปฏิบตั งิ านประกอบกับบทบาทหลักของหน่วยงาน นั้นๆ เพื่อไม่ให้เกิดความซับซ้อนในการท�ำงาน

ชี้แจงกลุ่มเครือข่ายในแผน และข้อตกลงร่วมกัน

(Identification of Key Stakeholders)

1.4.1 การจัดการเครือข่ายส�ำหรับ การท่องเทีย่ วอย่างยั่งยืน (Stakeholder management) ขั้นตอนในการจัดท�ำแผนการด�ำเนินงานแบ่ง เป็น 2 ประเด็นหลัก คือ การสื่อสารภายในพื้นที่ และการสื่อสารภายนอก โดยให้ความส�ำคัญของ ภาพลักษณ์ในการท�ำงานร่วมกันในประเด็น การ สร้างตราสัญลักษณ์ร่วมกัน การออกแบบโลโก้ กลางที่เป็นการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนที่ 4

1.4

ในพืน้ ที่ และดึงตัวแทนแต่ละหน่วยงานมากล่าวถึง เป้าหมายที่เขียนไว้ในแผนยุทธศาสตร์ พร้อม วางแผนการสือ่ สารภาพลักษณ์การท�ำงานร่วมกัน ภายใต้โครงการ (Campaign) ทีไ่ ด้กำ� หนดไว้ โดย สามารถสรุปขั้นตอนการด�ำเนินการในการจัดท�ำ แผนการสื่อสารได้ 4 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้

ขั้นตอนที่ 5

มีการจัดท�ำโครงการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่ า งหน่ ว ยงานที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ การ ท่องเที่ยว เพื่อให้เกิดความเข้าใจกันมากขึ้น และ มีการก�ำหนดทิศทางในการด�ำเนินงานเพื่อตอบ สนองความต้องการของพื้นที่อย่างแท้จริง และ เชื่อมโยงการท�ำงานที่มองเห็นภาพเดียวกัน

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ปริมาณนักท่องเที่ยว ปริมาณคาร์บอนที่ลดลง ต้นทุนหรือผลการผลิต เพื่อสนับสนุนสินค้าเพื่อ การท่องเทีย่ ว ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ วและ คนในพื้นที่ ความปลอดภัยและการเพิ่มผลผลิต ของการสนับสนุนสินค้าชุมชน ทัง้ นี้ ควรน�ำเกณฑ์ การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก (GSTC) มาปรับใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาทั้ง 4 มิติ กล่าวคือ ด้านการจัดการการท่องเที่ยว การลด ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม การลดผลกระทบด้าน สังคม-วัฒนธรรม และการลดผลกระทบเชิงลบ ทางด้านเศรษฐกิจ

ภาพที่ 4: รูปแบบการสื่อสารภายใต้โครงการ การบูรณาการเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนประเทศออสเตรเลีย

22

23


1.4.2 ท�ำความเข้าใจ ใครบ้างที่เกี่ยวข้องกับโครงการ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว

หน่วยงานส่วนท้องที่

ซึ่งในแต่ละด้านจะสามารถแยกที่มาของหน่วยงานได้ดังนี้

รัฐวิสาหกิจ

หน่วยงานส่วนกลาง

หน่วยงานส่วนภูมิภาค

รัฐวิสาหกิจ

หน่วยงานส่วนท้องถิ่น

องค์กรมหาชน

องค์กรมหาชน

หน่วยงานส่วนท้องที่

ภาคเอกชน/ประชาสังคม

ภาคเอกชนประชาสังคม

ภาพที่ 5: ตัวอย่าง การแบ่งหมวดหมู่หน่วยงานที่มีส่วนได้ส่วนเสียในพื่นที่ท่องเที่ยว

24

หน่วยงานส่วนท้องถิ่น

GSTC-D Version 2.0

ในการประเมินศักยภาพแหล่งท่องเทีย่ วตามเกณฑ์ GSTC นัน้ มีผมู้ สี ว่ นเกีย่ วข้องในแต่ละด้าน มากมาย ซึ่งหลายๆ หน่วยงาน ก็อาจจะยังไม่ทราบถึงความส�ำคัญของตนเอง ในการเป็น ส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยวยั่งยืน ดังนั้น เพื่อให้เกิดความครบถ้วน GSTC จึงแบ่งหมวดหมู่ หน่วยงานที่มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือ Stakeholder ในพื้นที่ท่องเที่ยว มาให้ 5 ด้านคือ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

ใครบ้างที่เกี่ยวข้อง?

ภาพที่ 6: หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว

25


26

ภาพที่ 7: เว็บไซต์โครงการบูรณาการในการพัฒนาเมืองสีเขียวของประเทศสิงคโปร์ Source: greenplan.gov.sg (2021)

การออกแบบการสื่อสารการบูรณาการ 2. การก�ำหนดกิจกรรมในการจัดท�ำเว็บไซต์ ในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว แบบเชิ ง บู ร ณาการ ภายใต้ โ ครงการความ โดยมีวตั ถุประสงค์ในการก�ำหนดเนือ้ หาในการ สือ่ สาร (Storytelling) ภายใต้กระบวนการท�ำงาน ของแต่ละส่วนงาน โดยมีห้วข้อในการประชุม ดังนี้

ร่วมมือนี้ เช่น ในประเทศสิงคโปร์ ได้มีการ จัดท�ำเว็บไซต์ชื่อว่า Greenplan.gov.sg เพื่อ ท�ำการประชาสัมพันธ์

3. ก�ำหนดเป้าหมายในการสื่อสาร ทั้งภายใน และภายนอก รวมถึ ง การระบุ ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบ ในแต่ละหน่วยงานที่จะเป็นผู้ให้ข้อมูลในการ ประชาสั ม พั น ธ์ และบอกเล่ า เรื่ อ งราวของ หน่วยงานเชือ่ มโยงกับตัวโครงการ รวมถึงระบุ แหล่งงบประมาณในการจัดท�ำโครงการนี้

1. เนือ้ หาทีน่ า่ สนใจเกีย่ วกับหน่วยงานของท่าน ที่มีความเชื่อมโยงกับโครงการ เช่น กรมป่าไม้ น�ำเสนอเรือ่ ง พืชพันธุไ์ ม้หายาก ควรค่าแก่การ รั ก ษา และวิ ธี ก ารดู แ ลของหน่ ว ยงาน หรื อ สาธารณสุขในพื้นที่ ดูแลเรื่องการจัดการโควิด การดูแลผู้สูงอายุ หรือคนในพื้นที่ เป็นเรื่องที่ ต้องการสือ่ สาร สร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงาน 4. การจัดท�ำวีดีโอ หรือภาพ Infographic ของ และอาจนึกถึงเรื่องราวที่เกี่ยวโยงตามบทบาท กลยุทธ์และเป้าหมายของแต่ละหน่วยงาน หน้าทีใ่ นโครงการการพัฒนาท่องเทีย่ ว และจัด ร่ ว มกั น เพื่ อ ให้ เ ห็ น วิ สั ย ทั ศ น์ และกลยุ ท ธ์ ท�ำเป็นสรุปผลการด�ำเนินงานสัน้ ๆ เพือ่ ท�ำการ ในแต่ละด้าน เพือ่ ต่อกันเป็นภาพส�ำเร็จร่วมกัน สื่อสาร ในช่องทางที่ได้จัดไว้ เช่น Facebook ภายในระยะเวลาทีก่ ำ� หนดไว้ ตามแผนยุทธศาสตร์ fanpage Youtube Website เป็นต้น ดังตัวอย่างในภาพที่ 8 นี้

GSTC-D Version 2.0

5. ระบุหวั ข้อและประเด็นสือ่ สาร รวมถึงความถี่ 7. ก� ำ หนดกลไกในการวั ด ความส� ำ เร็ จ ของ และระยะเวลาในการสื่อสาร ผ่านช่องทาง การสื่อสาร โดยอาจใช้การตั้งเป้าหมายของ สื่อสารที่ตอบสนองกลุ่มเป้าหมาย เช่น กลุ่ม social media ในเรื่ อ งของการสร้ า งการ คนในพื้นที่ กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบ กลุ่มคณะ รับรู้ (Awareness) การมีส่วนร่วมของกลุ่ม ท�ำงาน กลุ่มเครือข่ายในภาคธุรกิจ โดยมองถึง เป้าหมาย (Engagement) หน่วยนับผลลัพธ์ ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ทาง อพท. จะช่วยในการ ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ตั้ ง ไว้ จ ากการเห็ น โพส จัดระดมความคิดเห็น เพื่อสรุปและวางแผน ของเรา (Conversion) เช่น กดสมัครเข้าร่วม ในการสื่อสารของโครงการ โดยจ�ำเป็นต้อง โครงการ กดเพือ่ มาถามหาข้อมูล กดเข้ามาเพือ่ มีช่องทางที่เป็นส่วนกลางเพื่อการตอบค�ำถาม สมั ค รเป็ น สมาชิ ก หรื อ ตอบแบบสอบถาม ในประเด็นที่ผู้สนใจรายละเอียดของโครงการ เป็นต้น เพิ่มเติม

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

จากภาพจะเห็นได้วา่ มีการระบุกลยุทธ์หลัก 6. จัดตั้งทีมสื่อสารโครงการโดยดึงตัวแทนจาก ของการเป็นเมืองสีเขียวภายในปี 2030 และ หน่วยงานบูรณาการ เพื่อจัดการท�ำแผนจาก ใส่ โ ลโก้ ข องหน่ ว ยงานร่ ว มกั น พร้ อ มทั้ ง มี ทีไ่ ด้ประชุมในหัวข้อที่ 1 ในระยะเวลา 1 ปี และ การจั ด ท� ำ วี ดี โ อที่ มี ค วามยาวโดยประมาณ ท�ำต่อเนื่องทุกๆ ปี จนกว่าจะบรรลุผลของ 10-15 นาที เพื่อให้ผู้น�ำหรือตัวแทนของแต่ละ โครงการ โดยจัดให้มีการประชุมกลุ่มย่อยใน หน่วยงานได้ออกมาพูดถึงแนวทางในการจัดท�ำ การท�ำเนือ้ หาทีจ่ ะน�ำมาสือ่ สาร ทัง้ ภายในและ แผนเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย ภายนอกอีกด้วย

ภาพที่ 8: Infographic ที่แสดงถึงกลยุทธ์การพัฒนาเมืองสิงคโปร์ ภายใต้โครงการ Green plan 2030

27


28

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

(Preparation) คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

การเตรียมการ ก่อนด�ำเนินงาน

29

GSTC-D Version 2.0

GSTC-D Version 2.0


คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

30

(Preparation)

การจัดการงบประมาณ และแหล่งที่มา

(Budgeting: Plans, Managing Budget Variances)

การจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาการท่อง เที่ยวอย่างยั่งยืนนั้น ถือเป็นอีกประเด็นส�ำคัญ ที่ ต้องวางแผนให้ชัดเจนตั้งแต่ต้น โดยแบ่งแหล่ง ที่มาของงบประมาณ ออกเป็น 6 ส่วน ดังนี้ 1. งบประมาณจากองค์การปกครองส่วนท้องถิน่ โดยตรง ที่ได้จัดเก็บจากภาษีหรือรายได้ใน พืน้ ที่ และจัดตัง้ มาเพือ่ ตอบสนองนโยบายทีไ่ ด้ ให้ความส�ำคัญในปีนั้นๆ ทางผู้น�ำจ�ำเป็นต้อง จัดตั้งไว้ในระยะเป้าหมายที่ต้องการจะบรรลุ ผลตามที่คาดหวังไว้

ประสานกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ขอรั บ การจั ด สรรงบประมาณตามรู ป แบบ โครงการ เช่น การกระจายรายได้ การรักษา สิง่ แวดล้อม การพัฒนาสินค้าเพือ่ การท่องเทีย่ ว อย่างยั่งยืน การรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม การ เพิ่ ม ผลผลิ ต และพั ฒ นาออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ การพั ฒ นาเทคโนโลยี เ พื่ อ ความยั่ ง ยื น ของ ชุมชน เป็นต้น โดยในส่วนนี้ทางจังหวัดควรมี นโนบายในการวางแผนร่วมกันกับทีมคณะ ท�ำงานด้านการพัฒนาการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน เพื่อน�ำงบประมาณมาจัดสรรให้บรรลุตามตัว ชี้วัดร่วมกัน ที่เกี่ยวข้องกับกรอบของ GSTC ที่ได้วางไว้ เช่น กรมการท่องเที่ยว กรมพัฒนา ชุมชน กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กรมส่งเสริม อุ ต สาหกรรม กรมอุ ท ยานแห่ ง ชาติ กรม ศิลปากร กรมป่าไม้ พาณิชย์จังหวัด ทุนวิจัย แห่งชาติ เป็นต้น

2. งบประมาณอุดหนุนพิเศษจากกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น งบอุดหนุนพิเศษจาก กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจะสามารถ จัด สรรให้โครงการที่ส อดคล้อ งกับประเด็น ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แ ละแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสังคมแห่งชาติไปสู่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นได้ 4. งบประมาณจังหวัดและกลุม่ จังหวัด เทศบาล สามารถยื่นโครงการเพื่อขอรับงบประมาณ 3. งบประมาณจากหน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง จากงบประมาณจั ง หวั ด และกลุ ่ ม จั ง หวั ด ได้ หรืองบฟังก์ชั่น คือ งบประมาณที่มีการจัดท�ำ โดยการเสนอแผนงานโครงการไปทางจังหวัด โครงการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว และ เพื่อน�ำเสนอไปยังคณะกรรมการบูรณาการ ตอบสนองตัวชี้วัดในการพัฒนาการท่องเที่ยว นโยบายพัฒนาภาค อย่ า งยั่ ง ยื น ในด้ า นต่ า งๆ ของหน่ ว ยงานใน กระทรวงที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดย อปท. สามารถ

GSTC-D Version 2.0

GSTC-D Version 2.0

การเตรียมการ ก่อนด�ำเนินงาน

2.1

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

บ ท ที่ 2

31


การวางแผนเพื่อการรับรอง ความส�ำเร็จของโครงการและ การจัดการความเสี่ยง และภาวะวิกฤตการท่องเที่ยว

GSTC-D Version 2.0

6. กองทุ น ในประเทศไทย มี ก องทุ น ส� ำ หรั บ เทศบาลในการพัฒนาเมืองมากมาย ประกอบ ด้วย ส�ำนักงานกองทุนพัฒนาเมืองในภูมิภาค ซึ่งก่อตั้งโดยธนาคารโลกและได้ด�ำเนินการ โดยธนาคารออมสิน และกองทุนหมู่บ้านและ ชุมชนเมือง หรืออาจจะหมายรวมถึง การท�ำงาน ร่วมกับสถาบันการศึกษา หรือ ทุนสนับสนุน งานวิ จั ย มุ ่ ง เป้ า ในการพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว อย่างยั่งยืน เช่น หน่วยบริหารและจัดการทุน ด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ (บพข.) ส�ำนักงานสภานโยบายการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม แห่งชาติ (สอวช.)

2.2

(Project Assurance: Risk Management Analysis, Limitations & Challenges)

การวางแผนเพื่อการรับรองความส�ำเร็จของ • ที่จอดรถไม่เพียงพอแก่ความต้องการของ โครงการจ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งเรี ย นรู ้ จ าก นักท่องเที่ยวต้องการเพิ่มที่จอดรถ บทเรียนที่ได้พบเจอจากการดําเนินงานโครงการ • ปัญหาเรือ่ งอุปกรณ์ในการดําน�ำ้ ทีไ่ ม่ทนั สมัย หรือกิจกรรมทีส่ นับสนุนการท่องเท่ยี่ วอย่างยัง่ ยืน และไม่เพียงพอ ต้องขอความร่วมมือจากภาครัฐ ในพื้นที่นั้น หน่วยงานสนับสนุนการท่องเที่ยว ยังพบปัจจัยด้านปัญหาอุปสรรคต่อการดําเนินงาน ทั้งนี้ การให้ความส�ำคัญกับการวางแผนการ โครงการหรือกิจกรรม ซึง่ เป็นผลให้การดําเนินงาน บริ ห ารความเสี่ ย งและการจั ด การภาวะวิ ก ฤต ไม่เป็นไปตามที่คาดหวังไว้ โดยอาจสรุปประเด็น ทางการท่องเที่ยว มีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง ของอุปสรรคตามรายละเอียดดังนี้ ในการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน • ขาดงบประมาณสนับสนุน เป็นทีท่ ราบกันดีอยูว่ า่ อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว • ขาดบุคลากร ทําให้บางครั้งไม่สามารถดูแล นับว่าเป็นอุตสาหกรรมที่มีการเติบโตที่รวดเร็ว ประชาชนได้อย่างทั่วถึง ที่สุดในโลกและยังเป็นอุตสาหกรรมที่ค่อนข้าง • ผู้ประกอบการก่อสร้างไม่ทําตามมาตรฐาน เปราะบางกับเหตุการณ์ และภัยพิบัติต่างๆ ไม่ว่า ที่กําหนด จะเป็นแผ่นดินไหว คลื่นสึนามิ อุทกภัย วาตภัย • ประชาชนในชุมชนบุกรุกพืน้ ท่เี่ พือ่ ประกอบ ได้ ท� ำ ความเสี ย หายอย่ า งมากมายต่ อ แหล่ ง ธุรกิจให้บริการแก่นักท่องเท่ี่ยว ท่องเที่ยว ภาวะโลกร้อนได้ท�ำให้เกิดการเปลี่ยน • ขอบเขตอํานาจในการดูแลไม่กว้างพอและ แปลงสภาพภูมิอากาศจนท�ำให้เกิดภัยแล้งหรือ ได้ดแู ลเฉพาะแหล่งน�ำ้ เพือ่ เกษตร อ่างเก็บน�ำ้ มีพายุหมิ ะทีร่ นุ แรงกว่าแต่กอ่ น ภัยจากโรคระบาด แต่ไม่สามารถคิดนโยบายอืน่ ได้เพือ่ สนับสนุน ที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อาทิ โรคไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ การท่องเที่ยวได้มากนักเนื่องจากติดปัญหา โรคซาร์ส และล่าสุดโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 เร่ื่องขอบเขตอํานาจ ได้ท�ำให้การท่องเที่ยวทั่วโลกหยุดชะงักลง

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

32

5. งบประมาณ จากองค์การบริหารการพัฒนา พื้ น ที่ พิ เ ศษเพื่ อ การท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น (อพท.) คือ งบประมาณที่ อพท. ได้สนับสนุน พืน้ ทีเ่ พือ่ ก้าวไปสูก่ ารท่องเทีย่ วทีย่ งั่ ยืนในพืน้ ที่ พิเศษ โดยการสนับสนุนจะมีหลายรูปแบบขึ้น อยู่กับความเห็นชอบของคณะกรรมการและ คณะรัฐมนตรี ดังต่อไปนี้ 1) คณะกรรมการ บริหารของ อพท. 2) คณะกรรมการนโยบาย การท่องเที่ยวแห่งชาติ และ 3) คณะรัฐมนตรี ตามล�ำดับความส�ำคัญของนโยบายแห่งชาติ และความเร่งด่วน

33


ประเทศไทยจัดว่าเป็นผู้น�ำทางการท่องเที่ยว โลกโดยที่มีรายได้จากการท่องเที่ยวเป็นอันดับ 4 จ�ำนวน 65,242 ล้านเหรียญสหรัฐ เป็นรองจาก สหรัฐอเมริกา สเปน และ ฝรัง่ เศส (ปี พ.ศ. 2561) การเติบโตทางการท่องเที่ยวเป็นไปอย่างรวดเร็ว ในขณะเดี ย วกั น ได้ เ ผชิ ญ กั บ เหตุ ก ารณ์ วิ ก ฤต หลายครั้ง ได้แก่ การระบาดของโรคซาร์ส ในปี พ.ศ. 2546 ภัยพิบัติคลื่นสึนามิ ในปี พ.ศ. 2548 การวางระเบิด กทม. และปริมณฑล ในปี พ.ศ. 2549 วิกฤตเศรษฐกิจโลก ในปี พ.ศ. 2552 มหา อุทกภัย ในปี พ.ศ. 2554 ชุมนุมทางการเมือง ในปี พ.ศ. 2556 ระเบิดแยกราชประสงค์ ในปี พ.ศ. 2558 หากไม่นบั วิกฤตการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เริ่มปลายปี พ.ศ. 2562 ต่อเนื่องกันมาอีกหลายปีซึ่งได้น�ำ ความเสี ย หายอย่ า งมหาศาลต่ อ อุ ต สาหกรรม การท่องทีย่ วโลกแล้ว อาจกล่าวได้วา่ ประเทศไทย ประสบความส�ำเร็จในการบริหารจัดการภาวะ วิกฤตทางการท่องเที่ยว จะเห็นได้จากจ�ำนวน

ภัยคุกคามและจุดอ่อนที่จะส่งผลกระทบต่อ การท่องเที่ยวไทย มีดังนี้ 1. ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ เช่น อุทกภัย แผ่นดิน ถล่ม และ โรคติดต่ออุบัติใหม่ 2. ข่าวสารทางลบของประเทศไทยเกี่ยวกับ ความเสียหายของระบบนิเวศ เช่น แนว ปะการังเสื่อมโทรม หมอกควันพิษ ปัญหา ในการดูแลสัตว์ป่า เช่น ช้าง 3. การพึ่งพิงนักท่องเที่ยวจีนซึ่งมีจ�ำนวนเกือบ หนึ่งในสี่ของจ�ำนวนนักท่องเที่ยวทั้งหมด 4. ผู้ประกอบการท่องเที่ยวส่วนมากไม่ถอด บทเรียนในการจัดการวิกฤตเพื่อเตรียมรับ กับวิกฤตในอนาคต 5. การด� ำ เนิ น การจั ด การวิ ก ฤตมั ก จะเป็ น กระบวนการที่ท�ำชั่วคราวมิใช่ด�ำเนินการ แบบถาวร

2.2.1 การบริหารความเสี่ยง (Risk management) ส� ำ หรั บ ความเสี่ ย งในนิ ย ามที่ เ กี่ ย วกั บ การ ท่องเที่ยว หมายถึง เหตุการณ์หรือภัยต่างๆ ที่มี แนวโน้มที่จะก่อให้เกิดความสูญเสียให้แก่ธุรกิจ ท่ อ งเที่ ย วหรื อ พื้ น ที่ แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว อย่ า งไร ก็ตาม ความเสี่ยงบางประเภทอยู่ในวิสัยที่บริหาร จัดการได้เอง เช่น การโจรกรรมทรัพย์สินของ

นักท่องเที่ยว และความเสี่ยงที่มิได้อยู่ในวิสัยที่ สามารถบริหารจัดการได้เอง เช่น ภาวะเศรษฐกิจ ถดถอย ประเด็นความเสี่ยงสามารถแบ่งได้ดังนี้ 1. ประเด็ น ความเสี่ ย งด้ า นเศรษฐกิ จ เช่ น ภาวะเงินฝืดในประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ ความล้มเหลวของกลไกหรือสถาบันทางการ เงินขนาดใหญ่ 2. ประเด็นความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม เช่น สภาวะอากาศรุนแรง ระบบนิเวศล้มเหลว 3. ประเด็นความเสี่ยงด้านภูมิรัฐศาสตร์ เช่น ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาล รัฐบาลขาด เสถียรภาพในการจัดการท่องเที่ยว 4. ประเด็นความเสี่ยงด้านสังคม เช่น การ ขาดแคลนน�้ำและอาหาร 5. ประเด็นความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี เช่น การโจมตีทางสารสนเทศ การปลอมแปลง และการโจรกรรมข้อมูล นอกจากนี้ ยังมีประเด็นความเสี่ยงที่เกิดจาก เหตุการณ์บางอย่างทีส่ ง่ ผลต่อการด�ำเนินธุรกิจ ท่องเที่ยว 6. อุบัติเหตุต่างๆ ที่เกิดกับนักท่องเที่ยว เช่น อุบตั เิ หตุทางรถยนต์ นักท่องเทีย่ วจมน�ำ้ การ หลอกลวงนักท่องเที่ยว 7. เหตุการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในสถานประกอบ การ เช่น ไฟไหม้ ลูกค้าบาดเจ็บ อาหาร เป็นพิษ

สถานที/่ ทรัพยากรท่องเทีย่ วทัง้ หมดได้ ต้อง ใช้เวลาในการฟื้นฟูสูง และใช้งบประมาณ จ�ำนวนมาก 2. ภัยพิบัติที่เกิดจากฝีมือมนุษย์ คาดว่าจะ สร้างความเสียหายต่อชีวติ และทรัพย์สนิ เป็น วงกว้ า ง และรุ น แรง ทั้ ง สามารถท� ำ ลาย สถานที่ / ทรั พ ยากรท่ อ งเที่ ย วทั้ ง หมดได้ ต้องใช้เวลาในการฟืน้ ฟูสงู และใช้งบประมาณ จ�ำนวนมาก 3. ผูก้ อ่ การร้ายทีห่ วังผลขนาดใหญ่ คาดว่าจะ สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน เป็นวงกว้าง และรุนแรง ซึ่งลดความเชื่อมั่น นักท่องเที่ยวด้านความปลอดภัย และเป็น แหล่งโจมตีเป้าหมายของผู้ก่อการร้าย 4. อาวุธท�ำลายรุนแรง คาดว่าจะสร้างความ เสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินเป็นวงกว้าง และรุนแรง ซึ่งลดความเชื่อมั่นนักท่องเที่ยว ด้านความปลอดภัย และเป็นแหล่งโจมตี เป้าหมาย 5. โรคระบาด คาดว่ามีแนวโน้มกระจายตัวสูง และมี ค วามเสี่ ย งต่ อ ชี วิ ต สู ง มาก นั ก ท่ อ ง เที่ยวลดการเดินทางและขาดความเชื่อมั่น ทางด้านการท่องเที่ยว

การจัดการความเสี่ยง หรือการบริหารความ เสี่ยง (Risk Management) คือ กระบวนการใน การระบุประเด็นความเสีย่ ง (Risk Identification) การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) การ ประเมินความเสีย่ ง (Risk Assessment) การดูแล ตรวจสอบและควบคุมความเสีย่ ง (Risk Control) ที่สัมพันธ์กับกิจกรรมและกระบวนการท�ำงาน ประเด็นความเสี่ยงที่คาดว่าจะมีผลกระทบ เพื่อลดโอกาสของเหตุการณ์เสี่ยงที่เกิดขึ้นและ อย่างสูงต่อการท่องเที่ยวไทย จากการวิเคราะห์ ลดความเสียหายจากความเสี่ยงให้ได้มากที่สุด Harvey Ball Analysis มีดังนี้ อันเนื่อ งมาจากความเสี่ยงที่อ งค์ก รหรือ ธุรกิจ ต้องเผชิญในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง 1. ภัยพิบัติทางธรรมชาติขนาดใหญ่ คาดว่า จะสร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน เป็นวงกว้าง และรุนแรง ยังสามารถท�ำลาย

GSTC-D Version 2.0

นักท่องเที่ยวลดลงเฉพาะในปี พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2548 และ พ.ศ. 2552 เนื่องมาจากความร่วมมือ เป็นอย่างดีระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน รวมทัง้ ได้ด�ำเนินการอย่างมีระบบโดยใช้แผนบริหาร ความเสี่ยงและการจัดการภาวะวิกฤต อย่างไร ก็ ต าม ข่ า วอาชญากรรมได้ ส ่ ง ผลกระทบต่ อ ภาพลักษณ์ความปลอดภัยเฉพาะพื้นที่ เช่น การ ฆาตกรรมนักท่องเที่ยวสาวญี่ปุ่น ที่วัดสะพานหิน พื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยในปี 2550 ส่ ง ผลให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วญี่ ปุ ่ น ลดการเดิ น ทางไป จังหวัดสุโขทัยเป็นจ�ำนวนมากในเวลาหลายปี

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

34

อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วไม่เหมือนอุตสาหกรรม อื่นๆ โดยที่อุตสาหกรรมนี้ต้องอาศัยภาพลักษณ์ ที่ดีเพื่อขายแหล่งท่องเที่ยวได้ เหตุการณ์วิกฤต จะส่งผลให้นักท่องเที่ยวมีภาพลักษณ์ทางลบต่อ แหล่งท่องเที่ยว ความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว เป็นอีกประเด็นหนึ่งที่ส�ำคัญ มีหลายเหตุการณ์ ที่เกี่ยวกับการก่อการร้ายส่งผลวิกฤตทางการ ท่องเทีย่ ว อาทิ การสังหารหมูน่ กั ท่องเทีย่ วต่างชาติ จ�ำนวน 62 คนที่เมืองลักซอร์ ประเทศอียิปต์ ในปี พ.ศ. 2540 เหตุระเบิดในเกาะบาหลีในปี พ.ศ. 2545 ท�ำให้นกั ท่องเทีย่ วออสเตรเลียเสียชีวติ 88 คน ประเทศอียิปต์และประเทศอินโดนีเซีย ต้องใช้งบประมาณเป็นจ�ำนวนมากเพือ่ กูภ้ าพลักษณ์ ความปลอดภัยกลับมาได้ การเตรียมพร้อมเพื่อ รับมือกับเหตุการณ์ตา่ งๆ ทีอ่ าจจะกลายเป็นวิกฤต จึงเป็นเรือ่ งจ�ำเป็นอย่างยิง่ การบริหารความเสีย่ ง และการจัดการภาวะวิกฤตจะช่วยลดผลกระทบ ให้น้อยที่สุด

35


36

สมาคมส่งเสริมการท่องเทีย่ วเอเชียและแปซิฟกิ (Pacific Asia Travel Association) ได้แนะน�ำการ บริหารความเสีย่ งทางการท่องเทีย่ วควรประกอบ ด้วยการด�ำเนินการ 6 ประการ ได้แก่ 1. การระบุความเสีย่ ง เป็นการค้นหาความเสีย่ ง และระบุความเสี่ยงหรือภัยต่างๆ เป็นการ ล่วงหน้าก่อนทีจ่ ะเกิดเหตุ โดยมีการประชุม ระดมสมองกั บ ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ระบุ ค วาม เสี่ยงในพื้นที่ เช่น คลื่นใต้น�้ำ การโจรกรรม ปัญหาหมอกควัน แผ่นดินถล่ม 2. การวิเคราะห์ความเสี่ยง เป็นการประเมิน ความเป็ น ไปได้ ที่ ค วามเสี่ ย งหรื อ ภั ย ที่ จ ะ เกิดขึ้น ระบุช่วงเวลาที่น่าจะเกิดขึ้น ผล กระทบทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ แยกประเภทของ ความเสี่ยงและจัดล�ำดับความส�ำคัญของ แต่ละความเสีย่ ง เช่น อุบตั เิ หตุทางรถยนตร์ มีโอกาสเกิดสูงในช่วงเทศกาลวันหยุดยาว จัดอยูใ่ นประเภทภัยจากการคมนาคมขนส่ง ทางบก มีความส�ำคัญล�ำดับสูงเพราะอาจ

การวิเคราะห์ความเสี่ยงในข้อ 2 มีแนวคิด 2 ประการ คือโอกาสทีจ่ ะเกิดมากหรือน้อยเพียงใด และผลกระทบมีความรุนแรงมากหรือน้อยเพียงใด เพือ่ จัดล�ำดับความส�ำคัญในการบริหารความเสีย่ ง หากโอกาสที่จะเกิดมากและผลกระทบสูงก็จะ เป็นความเสี่ยงที่ต้องเร่งบริหารจัดการเพื่อลด ความเสี่ยงในทันที เช่น พบว่าคลื่นใต้น�้ำจะท�ำให้ นักท่องเทีย่ วจมน�ำ้ ตายจ�ำนวนปีละ 10 คน จะต้อง วางแนวทางป้องกันให้มากขึ้นโดยมีธงแจ้งเตือน หรือจัดให้มียามรักษาชายฝั่ง แผนผังประเมินความเสีย่ ง (Risk Assessment Matrix) จากตารางที่ 3 เป็นเครื่องมือที่จัดล�ำดับ ความส�ำคัญของความเสี่ยง โดยก�ำหนดเกณฑ์ค่า ความสัมพันธ์ระดับผลกระทบความเสี่ยง (1–5) กับโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง (1–5) เมื่อคูณกัน แล้ ว จะได้ ค ่ า ออกมา 4 ระดั บ ระดั บ สู ง มาก (15–25) ระดับสูง (12–16) ระดับปานกลาง (4–9) ระดับต�่ำ (1–3) หากเป็นระดับสูงมากและ สูงต้องเร่งจัดการลดความเสี่ยงโดยเร็ว ถ้าอยู่ใน วิสัยที่จัดการได้ควรค�ำนึงถึง เวลา/งบประมาณ/ เจ้าหน้าที่

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความ เสี่ยง (Risk Impact) 5 ระดับ ดังนี้ - (ค่า 1) รุนแรงเล็กน้อย คือ กระทบต่อการ ปฏิบัติงานปกติของหน่วยงานย่อย แต่ไม่

-

-

-

-

เกี่ยวข้องหรือส่งผลกระทบต่อการด�ำเนิน งานปกติขององค์กร (ค่า 2) ค่อนข้างรุนแรง คือ กระทบต่อเป้าหมาย และปัจจัยความส�ำเร็จของหน่วยงาน แต่ ไม่เกีย่ วข้องหรือส่งผลกระทบการด�ำเนินงาน ปกติขององค์กร (ค่า 3) รุนแรง คือ กระทบต่อเป้าหมาย ชื่อ เสียง และปัจจัย ความส�ำเร็จขององค์กร และ/หรือ เกี่ยวข้องและส่งผลกระทบต่อ การด�ำเนินงานปกติขององค์กร (ค่า 4) รุนแรงมาก คือ เกิดการหยุดชะงัก การด�ำเนินงานปกติขององค์กร กระทบต่อ ภาพลักษณ์ขององค์กร และ/หรือ ภาระ ผูกพัน ข้อตกลงขององค์กรกับหน่วยงาน ภายนอก/ธุรกิจท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้อง (ค่า 5) วิกฤต คือ เกิดการหยุดชะงักการ ด�ำเนินงานปกติขององค์กร ก่อให้เกิดความ เสียหายต่อมูลค่าและภาพลักษณ์ขององค์กร รวมทั้งการท่องเที่ยวของประเทศ

แผนผังประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment Matrix) ความเป็นไปได้

Risk Assessment Matrix

ต�่ำมาก / น้อยมาก

ต�่ำ / น้อย

ปานกลาง

สูง / บ่อย

1

2

3

4

สูงมาก / หายนะ

5

5

10

15

20

25

สูง /วิกฤต

4

4

8

12

16

20

ปานกลาง

3

3

6

9

12

15

ต�่ำ / น้อย

2

2

4

6

8

10

ไม่เป็น สาระส�ำคัญ / 1 น้อยมาก

1

2

3

4

5

สูงมาก / บ่อยมาก

5

GSTC-D Version 2.0

ตัวอย่าง การก�ำหนดค่าโอกาสทีจ่ ะเกิดความเสีย่ ง/ ความเป็นไปได้ และค่าผลกระทบของความเสี่ยง โอกาสที่ จ ะเกิ ด ความเสี่ ย ง/ความเป็ น ไปได้ (Likelihood) 5 ระดับ ดังนี้ - (ค่า 1) โอกาสทีจ่ ะเกิดน้อยทีส่ ดุ คือ มีโอกาส เกิดขึ้นรอบ 2-3 ปี - (ค่า 2) โอกาสที่จะเกิดน้อย คือ มีโอกาสเกิด ขึ้นรอบระยะเวลา 1 ปี - (ค่า 3) โอกาสทีจ่ ะเกิดปานกลาง คือ มีโอกาส เกิดขึ้นในรอบไตรมาส ถึง 6 เดือน - (ค่า 4) โอกาสที่จะเกิดมาก คือ มีโอกาสเกิด ขึ้นในรอบเดือน - (ค่า 5) โอกาสทีจ่ ะเกิดมากทีส่ ดุ คือ มีโอกาส เกิดขึ้นรายวัน ถึงรายสัปดาห์

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

1. การลดความเสี่ยง (Reduce) เป็นการหา ทางป้องกันเพื่อมิให้เกิดความเสียหาย โดย ลดโอกาสที่จะเกิดและลดความรุนแรง มี แผนแนวทางป้องกัน (Mitigation Plan) 2. การรับความเสี่ยงไว้เอง (Accept) หาก ผู ้ บ ริ ห ารยิ น ยอมและอยู ่ ใ นวิ สั ย ที่ ก ารท� ำ ธุรกิจยอมรับได้ 3. การโอนความเสี่ยง (Transfer) เป็นการ โอนความเสี่ยงไปตามความเหมาะสมของ ธุรกิจ เช่น การโอนความเสี่ยงให้กับบริษัท ประกันภัย 4. การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Avoid) โดยไม่ เข้าไปยุ่งกับกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง ถ้าท�ำได้

ท�ำให้นักท่องเที่ยวเสียชีวิตจ�ำนวนมากได้ 3. การวางแผน จัดท�ำแผนปฏิบัติการบริหาร ความเสี่ยง ควรระบุผู้รับผิดชอบและหน้าที่ ของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง การควบคุมภายใน กิจกรรมที่ลดความเสี่ยง งบประมาณ เวลา การสื่อสารภายในองค์กร 4. การติดตาม ติดตามและประเมินผลการ ด� ำ เนิ น งานตามแผนปฏิ บั ติ ก ารบริ ห าร ความเสี่ยง 5. การควบคุม ทบทวนแผนบริหารความเสีย่ ง เพื่ อ ทราบว่ า มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพี ย งใดเพื่ อ ปรับปรุงต่อไป 6. การสื่อสาร เพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทาง การท่องเที่ยวได้รับทราบผลการด�ำเนินงาน และหวังว่าจะได้รับความร่วมมือกันต่อไป

ผลกระทบ / ความรุนแรง

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

การวางแผนรับมือกับความเสี่ยง ประกอบด้วย แนวทาง 4 ประการ

ระดับความเสี่ยง

ตารางที่ 3 ตัวอย่างกิจกรรมบริหารความเสี่ยงทางการท่องเที่ยว

37


3. การตอบสนองต่อภาวะวิกฤต (Response) เป็ น การปฏิ บั ติ ต ามแผนจั ด การในภาวะ วิกฤตและแผนการสือ่ สารในภาวะวิกฤตทีไ่ ด้ เตรียมการไว้ล่วงหน้า เมื่อเกิดเหตุการณ์ ภาวะวิกฤตขึน้ จะต้องด�ำเนินการตอบสนอง อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ หากไม่เป็น เช่นนัน้ จะท�ำให้เหตุการณ์บานปลาย ควรแจ้ง ผูเ้ กีย่ วข้องให้ทราบถึงสถานะของเหตุการณ์ บ่อยครั้งขึ้น ให้ความส�ำคัญกับสื่อมวลชน การสื่อสารต้องเร็วและชัดเจน จัดเตรียม สารและข้อความที่จะส่งให้สื่อมวลชนและ ญาติของผู้ประสบเหตุการณ์ได้ทราบความ คืบหน้าของการจัดการวิกฤต ข้อมูลทุกอย่าง ต้องเป็นความจริง จริงใจ และควรแสดง ความเห็นอกเห็นใจ ผูป้ ระสบภัยหรือเหตุการณ์ ต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือเป็นอย่างดี 4. การฟืน้ ฟูหลังเกิดภาวะวิกฤต (Recovery) ด�ำเนินการตามแผนฟื้นฟูเพื่อซ่อมแซมและ บ�ำรุงรักษาสาธารณูปโภคที่เสียหายด�ำเนิน การเพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่องค์กร และพื้นที่ ประเมินผลการด�ำเนินงานตาม

แผนการจัดการภาวะวิกฤต และแผนสือ่ สาร ในภาวะวิกฤต สรุปผลการด�ำเนินการและ แสดงความขอบคุณทุกภาคส่วนที่ได้ปฏิบัติ งานร่วมกัน ติดตามสถานะของผู้ประสบภัย หรือเหตุการณ์และสือ่ สารต่อไปตามสมควร รวมทั้งถอดบทเรียนจากการจัดการภาวะ วิกฤตเพือ่ ปรับปรุงการด�ำเนินงานในอนาคต

2.2.3 ข้อควรปฏิบัติในการสื่อสาร ในภาวะวิกฤต (Crisis communication planning) สื่อมวลชนมีอิทธิพลอย่างมากในการตัดสินใจ เดินทางของนักท่องเที่ยว การสื่อสารในภาวะ วิกฤตเป็นกระบวนการที่จะลดผลกระทบภาพ ลักษณ์ทางลบให้แก่องค์กร จ�ำเป็นต้องมีการ ตัดสินใจอย่างรวดเร็วและเลือกใช้สื่อทุกประเภท ได้อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะสื่อสังคมออนไลน์ที่ นักท่องเที่ยวมีบทบาทอย่างยิ่งในการรายงานสด เหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ซึง่ จะส่งผลทัง้ ทางลบและทาง บวก ความเสี่ยงคือการรายงานเหตุการณ์อย่าง ล�ำเอียง แต่โอกาสคือการรายงานตามความเป็น จริงท�ำให้ทราบความเป็นไปของเหตุการณ์เป็น ปัจจุบันที่สุด หากองค์กรสามารถจัดการวิกฤตได้ ดีย่อมจะได้รับค�ำสรรเสริญ จึงควรด�ำเนินการ สื่อสารดังนี้ 1. ข้อมูลที่สื่อสารจะต้องเป็นความจริง โปร่งใส จริงใจ แม่นย�ำ และรวดเร็ว 2. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับสื่อสารมวลชนอย่าง ต่อเนื่อง แม้ว่าจะไม่มีเหตุการณ์ร้ายเกิดขึ้น ก็ตาม เพื่อให้สื่อเกิดความเชื่อมั่นและไว้วางใจ องค์กร 3. หากไม่ใช่หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบโดยตรง ไม่ควร วางตัวเป็นผู้สื่อสารหลัก 4. ไม่ควรพูดว่า ‘ไม่ขอให้ความเห็น’ อย่างเด็ดขาด เพราะจะท�ำให้ผรู้ บั ฟังข่าวสารสงสัยว่ามีอะไรที่ ปกปิด หากยังไม่มขี อ้ มูลก็ให้แจ้งว่ายังไม่มขี อ้ มูล แต่จะให้ข้อมูลโดยเร็วที่สุดเมื่อมีข้อมูลแล้ว

GSTC-D Version 2.0

กลยุทธ์ พนักงานรับผิดชอบการสื่อสาร พนักงาน รับผิดชอบการติดตามสถานการณ์ และพนักงาน ที่ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หากมี งบประมาณเพียงพอ ควรจัดหาทีป่ รึกษาทีม่ คี วาม เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประเด็นที่มีความเสี่ยงสูงของ องค์กร เช่น การบรรเทาสาธารณะภัย การรักษา ความปลอดภัย การรักษาพยาบาล การตลาด การซักซ้อมเหตุการณ์จ�ำลองเสมือนจริง ควร ด�ำเนินการอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ให้ความส�ำคัญ กับชั่วโมงแรกที่เกิดเหตุการณ์ภาวะวิกฤต เช่น การซ้อมอพยพนักท่องเที่ยวไปยังที่ปลอดภัยเมื่อ เกิดน�้ำป่าไหลหลาก การซ้อมหนีไฟ การสร้างความสัมพันธ์กบั หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง อย่างต่อเนือ่ ง เช่น เทศบาล โรงพยาบาล สถานี ต�ำรวจ หน่วยบรรเทาสาธารณภัย ผู้ประกอบ ธุรกิจท่องเที่ยวในพื้นที่

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

38

ตัวอย่าง กิจกรรมบริหารความเสี่ยงทางการ การจัดการภาวะวิกฤตทางการท่องเที่ยว แบ่ง ท่องเที่ยว เป็น 4 ขั้นตอน (4R’s) ได้แก่ 1. กิจกรรมบริหารความเสีย่ งต่อการทีน่ กั ท่องเทีย่ ว 1. การลดผลกระทบที่อาจจะเกิดจากภาวะ ถูกท�ำร้ายร่างกาย การทะเลาะวิวาท ปล้น จี้ วิกฤต (Reduction) เป็นการค้นหาความ การขู่กรรโชกทรัพย์ โดยร่วมมือกับสถานี เสี่ยงหรือเหตุการณ์ต่างๆ เพื่อเตรียมรับมือ ต�ำรวจในพืน้ ทีจ่ ดั เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจดูแลความ กับความเสี่ยงหรือความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ปลอดภัยเพิ่มขึ้น มีระบบความปลอดภัย ใหม่ วิเคราะห์ SWOT Analysis และด�ำเนิน ในการสอดส่องดูแล ปราบปรามผู้มีอิทธิพล งานตามกระบวนการบริหารความเสีย่ งทีไ่ ด้ มี ร ะบบกล้ อ งวงจรปิ ด ติ ด ตามตรวจสอบ กล่าวมาข้างต้น พฤติกรรมต่างๆ ตลอด 24 ชั่วโมง มีจุดแจ้ง 2. การเตรียมความพร้อมเพือ่ รับมือกับภาวะ เหตุฉุกเฉินตามจุดต่างๆ เพื่อให้ง่ายต่อการ วิกฤต (Readiness) โดยมีการจัดท�ำคู่มือ ขอความช่วยเหลือ และแผนการจัดการภาวะวิกฤต แผนสือ่ สาร 2. กิจกรรมบริหารความเสีย่ งจากโรคภัยไข้เจ็บ ในภาวะวิ ก ฤต และมี ก ารซั ก ซ้ อ มอย่ า ง โดยร่ ว มมื อ กั บ โรงพยาบาลในพื้ น ที่ แ ละ สม�ำ่ เสมอ มีการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงาน เทศบาลท้องถิน่ ให้ควบคุมความสะอาดของ ที่ให้บริการกรณีฉุกเฉิน อาหารและเครือ่ งดืม่ เพือ่ ลดการเกิดอาการ ป่วยจากอาหารเป็นพิษ และควรมีแพทย์ แผนจัดการในภาวะวิกฤต ควรประกอบด้วย เคลื่อนที่ ในเวลาฉุกเฉิน กระบวนการต่างๆ ที่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร ให้พนักงานแต่ละคนได้ทราบว่าควรจะท�ำอย่างไร 2.2.2 การจัดการภาวะวิกฤตทางการท่องเทีย่ ว ในภาวะวิกฤต ระบุสถานที่ประชุมที่ไหน เมื่อไร (Crisis management in tourism) ใครเป็นประธานการประชุม ใครเป็นผู้สื่อสาร การจัดการภาวะวิกฤตทางการท่องเที่ยว เป็น ผลการด�ำเนินงาน ระบุเบอร์โทรศัพท์และอีเมล์ กลยุทธ์ กระบวนการ และมาตรการ ซึ่งได้มีการ ของพนักงานที่เกี่ยวข้องทุกคน เพื่อให้สามารถ วางแผนไว้แล้วและน�ำมาด�ำเนินการเพื่อป้องกัน ติดต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมง พนักงานจะเข้าใจ และรับมือกับวิกฤต (องค์การท่องเที่ยวโลก - กระบวนการได้งา่ ยขึน้ หากเป็นภาพ Infographic UNWTO) ที่แสดงกระบวนการ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ได้ ก�ำหนดค�ำนิยามภาวะวิกฤต (Crisis) คือ เหตุการณ์ แผนสื่อสารในภาวะวิกฤต ควรประกอบด้วย หรือภัยพิบัติที่เกิดขึ้นอย่างไม่คาดคิดทั้งเกิดจาก ระบบการสือ่ สารในช่วงวิกฤตเพือ่ ให้ขอ้ มูลออกไป ธรรมชาติและการกระท�ำของมนุษย์ รวมถึงโรค ในทิศทางเดียวกันและไม่เกิดความสับสน ฝึกซ้อม ติดต่ออุบตั ใิ หม่ โดยจะส่งผลกระทบหรือความเสีย ในเหตุ ก ารณ์ จ� ำ ลอง ควรอบรมพนั ก งานให้ มี หายอย่างรวดเร็วและรุนแรงต่อการด�ำเนินงาน ทักษะที่จ�ำเป็นในการสื่อสาร เช่น การวิเคราะห์ ตามปกติ ข ององค์ ก ร/อุ ต สาหกรรม และไม่ สถานการณ์ การตอบค�ำถาม การให้ขอ้ มูลข่าวสาร สามารถด�ำเนินงานได้บรรลุเป้าหมายตามกรอบ ต่อสาธารณชน และควรทบทวนแผนทุก 6 เดือน ระยะเวลาที่ตั้งไว้ กลุ่มงานจัดการภาวะวิกฤต อย่างน้อยควร ประกอบด้ ว ย หั ว หน้ า ที่ มี อ� ำ นาจหน้ า ที่ แ ละ สามารถตั ด สิ น ใจในส่ ว นที่ รั บ ผิ ด ชอบได้ อ ย่ า ง ทันท่วงทีพนักงานรับผิดชอบด้านวางแผนและ

39


2.3

การติดตามและประเมินผล

40

ภาพที่ 9: ตัวอย่างแผนภาพการบริหารจัดการในภาวะวิกฤตโดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

5. มีชอ่ งทางทีส่ อื่ มวลชนสามารถติดต่อกับองค์กร ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว 6. ควรมีโฆษกประจ�ำองค์กร 7. ต้องทราบว่าผูร้ บั ฟังคือใคร เป็นสือ่ ประเภทไหน เพื่อให้ข้อมูลได้ถูกต้องตามความต้องการ เช่น ผู้สื่อข่าวสายทั่วไปย่อมต้องการข้อมูลที่เป็น ปัจจุบันที่สุด แต่ผู้สื่อข่าวสายท่องเที่ยว ย่อม ต้องการข้อมูลเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงลึก อาทิ ผลกระทบกับพื้นที่ สถิตินักท่องเที่ยว 8. ให้ข้อมูลเป็นปัจจุบัน (Update) บ่อยครั้งเท่า ที่ท�ำได้ เพราะสื่อมวลชนจะไปหาข้อมูลจาก แหล่งอื่นถ้าไม่เร็วพอ 9. ต้องให้สื่อรู้สึกพึ่งพิงองค์กรของเราได้เมื่อ ต้องการข้อมูล

10. ร่วมมือกับสือ่ มวลชนทุกแขนง โดยไม่ลำ� เอียง กั บ สื่ อ ใดสื่ อ หนึ่ ง เพราะอาจสร้ า งความ บาดหมางใจได้ 11. ต้องวางตัวเองอย่างมืออาชีพ สงบ เยือกเย็น สุขุม และให้เกียรติแก่สื่อทุกแขนง 12. จ�ำไว้เสมอว่าองค์กรไม่สามารถชนะสือ่ มวลชน ได้ 13. หมั่ น ฟั ง เสี ย งสื่ อ สั ง คมออนไลน์ (Social Media Listening) เพื่อทราบเสียงสะท้อน จากสังคมน�ำไปปรับปรุงการด�ำเนินการตาม ความเหมาะสม 14. ให้ความส�ำคัญกับการสื่อสารผ่านสื่อดิจิทัล เช่น YouTube, Facebook, Twitter, Line และเรียนรู้ที่จะใช้ประโยชน์ให้ได้สูงสุด

1. การก�ำหนดกลไกการติดตาม (Monitoring mechanism) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ร่วมกับ อพท. จะก� ำ หนดกรอบการติ ด ตามผล เพื่ อ ทราบถึงความคืบหน้าของแผนปฏิบัติการ 5 ปี ซึ่งรวมถึงการติดตามผลกับกลุ่มการท�ำงานใน ระดับท้องถิน่ ระดับจังหวัด และรวมถึงหน่วยงาน ระดับชาติที่เกี่ยวข้องเป็นระยะทุกๆ ปี การประชุมการติดตามผล องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นที่เป็นผู้ประสานงานหลักจะมีการจัด ทีมในการตรวจสอบ โดย อปท. ที่มีส่วนร่วม ผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสียและที่ปรึกษาจะให้การสนับสนุน หากมีโครงการปฏิบัติงานในแผนปฏิบัติการ เช่น การส่งเสริมการท่องเทีย่ วโดยชุมชน (CommunityBased Tourism) การท่องเที่ยวตามแนวเมือง อัจฉริยะ (Smart tourism city) ทีมตรวจสอบนี้ ควรต้องติดตามผลการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และบ่อยครั้งมากขึ้น

การประชุมกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับโครงการ การพัฒนาการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืนในพืน้ ทีพ่ เิ ศษ ในอนาคตอย่างยั่งยืนเป็นระยะ ฝ่ายเลขานุการ อพท. และ อปท. จะมีการประชุมร่วมกันตามปกติ เพื่ อ ติ ด ตามผลเป็ น ระยะ โดยมี ห น่ ว ยงานที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เข้าร่วมในการประชุม โดยจะขึ้นอยู่กับรูปแบบ ของแผนการพัฒนาที่ได้วางไว้

2. การติดตามความคืบหน้าของโครงการ จัดท�ำแผนขับเคลื่อนการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่พิเศษ ในการติดตามความคืบหน้าของโครงการจัดท�ำ แผนขับเคลื่อ นการพัฒนาการท่อ งเที่ยวอย่าง ยั่งยืนในพื้นที่พิเศษ จะมีการน�ำแบบฟอร์มการ ติดตามความคืบหน้ามาใช้ในการบันทึกข้อมูล ของแต่ละรายการ โดยการติดตามความคืบหน้า ของโครงการดังกล่าว จะอยู่ในรูปแบบของการ ติดตามแผนปฏิบตั กิ าร 5 ปี และแผนของโครงการ จะต้องถูกทบทวนเพื่อเปรียบเทียบกับแผนงาน เดิม โดยติดตามประเด็นต่างๆ ดังนี้ (1) ความคืบหน้าของโครงการ โครงการก�ำลัง ด�ำเนินการ/จัดท�ำได้ตามเวลาที่ก�ำหนดหรือไม่ (2) ผลลัพธ์ของโครงการเป็นอย่างไร (3) ถ้าโครงการมีความล่าช้า อะไรคือสาเหตุ หลักของความล่าช้านั้น (4) มี ข ้ อ จ� ำ กั ด อะไรในการด� ำ เนิ น งานของ โครงการหรือไม่ (ทั้งภายในและภายนอก)

GSTC-D Version 2.0

เพื่อให้แผนงานและโครงการการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนสัมฤทธิผลตามเป้าหมาย ที่ ว างไว้ ควรมี ก ารติ ด ตาม เพื่ อ ดู ส ถานะของ โครงการ เพื่อแก้ไขปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดย การใช้วงจร PDCA (Plan-Do-Check-Act-Again) หรือวงจรการบริหารงานคุณภาพ ซึ่งถือเป็นเรื่อง ส�ำคัญที่ต้องติดตามและประเมินความคืบหน้า ของแผนและโครงการการพัฒนาเมืองในอนาคต อย่างยั่งยืน ร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเด็นหลักดังนี้

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

(Monitoring and Evaluation)

41


ตารางที่ 4 แบบฟอร์มการติดตามความคืบหน้าของโครงการ การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นพิเศษ

42 43

GSTC-D Version 2.0

วัตถุประสงค์ (เป้าหมาย) SMART Objectives

ภายใน (ควบคุมได้)

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

GSTC-D Version 2.0

ภายนอก (ควบคุมไม่ได้)

สาเหตุหลักของความล่าช้า

หน่วยงานรับผิดชอบ ตัวชี้วัดร่วม (Shared KPI) หลัก................................................................ รอง..............................................................

ยุทธศาสตร์ที่ …………......................…… ล�ำดับความส�ำคัญของโครงการ.....… โครงการ.................................................... สถานะ........................................................ ก�ำหนดแล้วเสร็จในช่วง...…............…...… สถานที.่ ...................................................... ความคืบหน้าของโครงการ ยังไม่ได้ด�ำเนินการ ก�ำลังด�ำเนินการ แล้วเสร็จ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ข้อจ�ำกัดในการด�ำเนินงาน

วิสัยทัศน์

แบบฟอร์มการติดตามความคืบหน้าของโครงการการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่พิเศษ โดยน�ำมาใช้ในการท�ำ Workshop ระหว่างการประชุม

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์


44

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ GSTC-D Version 2.0

GSTC-D Version 2.0 คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

GSTC-D Version 2.0

แนวทางการวางแผน การด�ำเนินงาน ของแหล่งท่องเที่ยว ตามเกณฑ์

45


46 คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ GSTC-D Version 2.0

บ ท ที่ 3 GSTC-D Version 2.0

GSTC-D Version 2.0

แนวทางการวางแผน การด�ำเนินงาน ตามเกณฑ์

47


48 49

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

ความ รับผิดชอบ ด้านการ จัดการ แหล่ง ท่องเที่ยว (Destination management responsibility)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

A1

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีหน่วยงาน หรือ กลุ่ม หรือคณะท�ำงาน ที่มีหน้าที่รับผิดชอบใน การประสานงานด้านการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอย่าง เป็นระบบ กล่าวคือ มีเอกสาร หรือนโยบายที่แสดงให้เห็นถึง หลักฐานเชิงประจักษ์ ในการบันทึกข้อมูล ทั้งด้าน ความโปร่งใสในการได้รับ งบประมาณ และการวางแผน ด้านบุคลากร รวมถึงการมี ส่วนร่วมของเครือข่ายที่ ชัดเจน ทั้งในภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาคม

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

หลักฐานพื้นฐาน ตัวอย่างโครงการ - เอกสารหลักฐานการจัดตั้ง - โครงการบริหารจัดการ หรือแผนภูมิโครงสร้าง องค์กร/หน่วยงาน ของคณะบุคคลที่ได้รับ ด้านงบประมาณ และ มอบหมายและอ�ำนาจ การจัดจ้างบุคลากรด้าน หน้าที่ของคณะบุคคลนั้น การท่องเที่ยว - แผนการเงินและ - โครงการส่งเสริมการมี งบประมาณที่สามารถ ส่วนร่วมของเครือข่ายเพือ่ น�ำมาใช้ได้ทั้งในปัจจุบัน พัฒนาการท่องเที่ยว และอนาคต ในพื้นที่ โดยแสดงความ - หลักฐานที่แสดงถึงการมี ต่อเนื่องในการจัดกิจกรรม ความเชื่อมโยงและมี หรือโครงการที่สอดคล้อง ส่วนร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ต่อการมีสว่ นร่วมเพือ่ การท่องเทีย่ ว - กิจกรรมฝึกอบรมให้ ความรู้และศึกษาดูงาน และการจัดประชุม คณะกรรมการขับเคลื่อน การพัฒนาการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนตามกรอบ GSTC

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหน่วยงาน หรือ กลุ่ม หรือคณะท�ำงาน ที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการ ประสานงานด้านการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และ มีหลักฐาน เช่น นโยบาย ที่แสดงให้เห็นถึงแนวทาง การบันทึกข้อมูล และ/หรือ ความโปร่งใสในการได้รับ งบประมาณ และการวางแผน ด้านบุคลากร หรือการมี ส่วนร่วมของเครือข่าย

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

GSTC-D Version 2.0

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3. ร่วมพัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - มีการตรวจสอบระบบ การท�ำงานในองค์กร - วางเป้าหมายให้เป็นที่ ยอมรับจากภาคีเครือข่าย ในประเทศ และระดับสากล - เมื่อด�ำเนินงานมาอย่าง ต่อเนื่อง ร่วมสร้างชื่อเสียง ให้หน่วยงานเพื่อเป็น ต้นแบบด้านการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน เช่น Green Destination Top 100 เป็นต้น - ยึดหลักการของ GTSC เพื่อพัฒนาหน่วยงานและ ภาคีเครือข่าย

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีหน่วยงาน 1. อพท. หรือ กลุ่ม หรือคณะท�ำงาน 2. อปท. ที่มีหน้าที่รับผิดชอบใน 3. เครือข่าย การประสานงานด้านการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่เป็น ระบบ ยึดหลักในการ พัฒนาการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนที่เห็นผลการปฏิบัติงาน เชิงประจักษ์อย่างมี ประสิทธิภาพ และมีการ จัดการทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ที่ได้รับการยอมรับ จากภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และ/หรือ ได้รับรางวัล หน่วยงานดีเด่นที่เป็นต้นแบบ ในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนในระดับสากล ที่ GSTC ให้การยอมรับ

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมเครือข่าย เพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ และรวบรวมเครือข่าย 2. ตั้งองค์กรการจัดการ ด้านท่องเที่ยว 3. วางแผนด้านบุคลากร เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยว 4. ก�ำหนดเป้าหมายในการ พัฒนาการท่องเที่ยว รวมถึงกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นเครือข่ายด้าน การท่องเที่ยว ที่มีความ ส�ำคัญกับตัวชี้วัดของ GSTC

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีองค์กร การจัดการด้านการท่องเที่ยว หน่วยงาน หรือกลุ่มที่ รับผิดชอบในการประสานงาน ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และยังไม่เห็นแนวทางในการ หาทุน หรือการวางแผนเรื่อง บุคลากรในการขับเคลื่อน ในการจัดตั้งหน่วยงานนี้

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

ด้าน A การจัดการความยั่งยืน (Sustainable Management)

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


50 51

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

ยุทธศาสตร์ การจัดการ แหล่ง ท่องเที่ยว และแผน ปฏิบัติการ (Destination management strategy and action plan)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

A2

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวและแผน ปฏิบตั กิ าร/แผนการด�ำเนิน งานตามข้อยุทธศาสตร์ ที่เป็นปัจจุบัน - แผนปฏิบัติการขับเคลื่อน การพัฒนาการท่องเที่ยว โดยชุมชน/การท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์ - รายงานผลการด�ำเนินงาน ที่ได้จัดท�ำแผนแม่บทและ แผนปฏิบัติการ - รายงานการประชุมหารือ กับผู้ที่มีส่วนได้เสีย

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวได้จัดท�ำแผน ยุทธศาสตร์ทั้งระยะยาวและ แผนปฏิบัติการที่เหมาะสม โดยต้องมีการด�ำเนินการ ผ่านการมีส่วนร่วมของผู้มี ส่วนได้เสียและอยูบ่ นหลักการ ความยั่งยืน ในบริบทพื้นที่ๆ สะท้อนแนวทางการสร้าง สมดุลของการพัฒนา การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนทั้ง สังคม-เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม แต่ยังคง ขาดหลักฐานเชิงประจักษ์ สู่สาธารณชนที่เป็นปัจจุบัน เช่น การหารือ/หรือ การประชุมร่วมกับผู้มีส่วน ได้เสีย และน�ำข้อเสนอแนะ มาปรับใช้ และ/หรือ แผนที่ เปิดเผยให้สาธารณชน ได้รับทราบแบบออนไลน์ และ/หรือ การทบทวนแผน และแนวทางปฏิบัติในการ สร้างสมดุลด้านความยั่งยืน เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ ระดับพื้นที่: กิจกรรม การจัดประชุมทบทวนแผน ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติ การโดยกระบวนการมี ส่วนร่วมของคนในพื้นที่ระดับ จังหวัด: กิจกรรมประสาน ความร่วมมือในการขับเคลื่อน กิจกรรมหรือโครงการ เพื่อ บูรณาการหน่วยงานในการ ร่วมกันขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ - โครงการทบทวนแผนการ พัฒนาพื้นที่ต้นแบบครอบ คลุมประเด็นด้านยั่งยืน - กิจกรรมส่งเสริมการมีส่วน ร่วมเปิดรับฟังความคิดเห็น เพือ่ สนับสนุนในการพัฒนา แผนงานเชิงบูรณาการ - โครงการประชาสัมพันธ์ แผนยุทธศาสตร์และการ ขับเคลื่อนเชิงบูรณาการ ผ่านสื่อออนไลน์ เช่น เว็บไซต์ สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อสร้างช่องทางการ สื่อสารสองทาง และ การสร้างความเข้าใจแก่ สาธารณชน

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีกลไกการท�ำ แผนยุทธศาสตร์ และแผน ปฏิบัติการที่เป็นปัจจุบัน และ ยึดหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน ที่สอดคล้องกับบริบทพื้น ที่มีหลักฐานเชิงประจักษ์สู่ สาธารณชน และได้รับ ค�ำปรึกษาจากเครือข่าย มีการ มีส่วนร่วมเพื่อสนับสนุนใน การพัฒนาแผนเชิงบูรณาการ และแต่ละหน่วยงานได้น�ำ แผนไปใช้จนเห็นผลเป็น รูปธรรมในระยะเวลา 3 ปี แต่ยังขาดการจัดการ ความเสี่ยงต่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนและการปรับตัว มาใช้ให้เห็นเป็นรูปธรรม รวมถึงการเห็นผลของ การพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ค�ำนึง ถึงการสร้างสมดุล มิติด้าน สังคม-เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมที่ชัดเจน

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3. ร่วมพัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - มีการทบทวนแผนอย่าง ต่อเนื่องในระยะ 3 ปี - จัดประชุมเครือข่ายเพื่อ ท�ำการพัฒนากลไกการ ท�ำงานเชิงบูรณาการด้วย ตัวชี้วัดร่วมเพื่อเสริม ประสิทธิภาพ พร้อม ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติงาน ที่มี เป้าหมายสู่ความยั่งยืน ในระดับสากล ตามกรอบ GSTC และ SDG - มีการจัดท�ำระบบการ ประเมินความเสี่ยงต่อ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เพื่อเตรียมวางแผนในการ รับมือกับความเสี่ยง ในอนาคตที่อาจจะเกิดขึ้น โดยเตรียมทบทวนเพื่อ บรรจุแนวทางไว้ในแผน ยุทธศาสตร์ในการตั้งรับมือ - พัฒนาช่องทางการเปิดรับ เพื่อร่วมวางแผนยุทธศาสตร์ ให้บรรลุเป้าหมายผ่าน หน้าเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์ แผนยุทธศาสตร์และการ ขับเคลื่อนเชิงบูรณาการ

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีแผน 1. อพท. ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติ 2. อปท. การที่เป็นปัจจุบันอย่างน้อย 3. เครือข่าย 3 ปี และมีการทบทวนอย่าง ต่อเนื่อง โดยยึดหลักการ พัฒนาอย่างยัง่ ยืนทีส่ อดคล้อง กับบริบทพื้นที่ มีหลักฐานเชิง ประจักษ์สู่สาธารณชน และ ได้รับค�ำปรึกษาจากเครือข่าย และการมีส่วนร่วมเพื่อ สนับสนุนในการพัฒนาแผน และมีการระบุถึงความเกี่ยว โยงระหว่างแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการเชิง บูรณาการกับนโยบาย การพัฒนาความยั่งยืนใน ภาพกว้างร่วมกับหน่วยงาน อื่นๆ อย่างเป็นรูปธรรม เช่น ก�ำหนดตัวชี้วัดร่วม รวมถึง การบรรลุ SDGs และ ประเด็นอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงมีการจัดการความ เสี่ยงต่อการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนและการปรับตัวอย่าง เป็นรูปธรรมและสมดุล ในด้าน สังคม-เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ที่ชัดเจน

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดตัง้ หน่วยงานรับผิดชอบ หลัก ตามข้อ A1 พร้อม คณะองค์กรจัดการแหล่ง ท่องเที่ยว (DMOs) 2. ประสานหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อหารือและ ติดตามการจัดท�ำแผน ปฏิบัติการภายใต้แผนแม่บท 3. รวบรวมกิจกรรม หรือ โครงการของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องที่สามารถ ด�ำเนินการตามแผน 4. จัดประชุมปฏิบัติการ เครือข่ายเพือ่ ท�ำความเข้าใจ และร่วมออกแบบแนวทาง การพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ การจัดการแหล่งท่องเที่ยว รวมถึงระบุเป้าหมาย วิสัยทัศน์ รายชื่อคณะ ท�ำงานขับเคลื่อน วิเคราะห์ สถานการณ์และทิศทาง การพัฒนา กรอบระยะ เวลาในการพัฒนา เป็นต้น 5. จัดประชุมรับฟังความคิด เห็นแผนยุทธศาสตร์พัฒนา สู่การปฏิบัติเชิงบูรณาการ ที่ได้ร่วมกันท�ำในข้อที่ 4

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ที่เป็นการจัดท�ำแผน ยุทธศาสตร์ในการจัดการ แหล่งท่องเที่ยวในระยะยาว รวมถึงแผนปฏิบัติการที่อยู่ บนหลักการความยั่งยืน ในบริบทพื้นที่ ส่งผลให้เกิด ความเสี่ยงในการพัฒนา ที่อาจถูกแทรกแซงจาก ภายนอก

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


52 53

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การติดตาม และการ รายงานผล (Monitoring and reporting)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

A3

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน อยู่บ้างในการก�ำหนดตัวชี้วัด ทีแ่ สดงปริมาณ และเป้าหมาย ที่บ่งชี้ถึงกระบวนการติดตาม ดูแล และตอบสนองประเด็น ในเชิงเศรษฐกิจ-สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ที่อาจจะมีผลกระทบอันเกิด จากการท่องเที่ยวได้ แต่ กระนั้น การติดตาม การ ประเมินและการรายงานผล ต่อสาธารณชน ยังไม่ได้ท�ำ อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศในการติดตาม และรายงานผลทีต่ อบสนอง ประเด็นด้านความยั่งยืน ในแหล่งท่องเที่ยว โดย สามารถแสดงผลของ สถานะโครงการได้ - โครงการจัดอบรมการใช้ ระบบการติดตามผลแก่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตาม ตัวชี้วัดในแผนยุทธศาสตร์ - โครงการจัดเวทีรายงานผล การติดตามประเมินผล ความส�ำเร็จการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน - กิจกรรมเปิดรับข้อเสนอแนะ จากเครือข่ายในการ พัฒนาระบบการติดตาม ประเมินผล

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน เชิงประจักษ์ในการก�ำหนดตัว ชี้วัดที่แสดงปริมาณ และ เป้าหมายที่บ่งชี้ถึงกระบวน การติดตาม ดูแล และ ตอบสนองประเด็นในเชิง เศรษฐกิจ-สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมที่อาจะมี ผลกระทบอันเกิดจากการ ท่องเที่ยวได้ โดยมีการติดตาม การประเมิน และการรายงาน ผลต่อสาธารณชนอย่าง ต่อเนื่องเป็นรายปี และ/หรือ มีการน�ำระบบสารสนเทศ เข้ามาใช้ในการช่วยติดตาม สถานการณ์ต่างๆ เพื่อ การตัดสินใจในการพัฒนา ร่วมกับภาคีเครือข่าย

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 2. อปท. 3. เครือข่าย

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3. ร่วมพัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. จัดประชุม DMOs เพื่อน�ำ เสนอปัญหาและแนวทาง ในการจัดการปัญหา 2. ทบทวนวิเคราะห์ปัญหา จากข้อมูลที่ได้จากระบบ ติดตาม 3. จัดประชุมวิเคราะห์ปัญหา ร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (หน่วยงานและชุมชน) 4. จัดท�ำระบบให้มีการเฝ้า ระวัง (Risk management and Precaution system) จากการวางแผนด้าน การจัดการความเสี่ยงนอก เหนือจากการติดตามผล เป็นการสร้างระบบเพื่อ ระวังปัญหาทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ต่อความยัง่ ยืนได้ในอนาคต 5. มีการทดสอบระบบต่อเนือ่ ง ปรับปรุงให้มปี ระสิทธิภาพ ต่อเนื่อง 3 ปี

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน เชิงประจักษ์ในการก�ำหนด ตัวชี้วัดที่แสดงปริมาณ และ เป้าหมายที่บ่งชี้ถึงกระบวน การติดตาม ดูแล และ ตอบสนองประเด็นในเชิง เศรษฐกิจ-สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมที่อาจจะมี ผลกระทบอันเกิดจากการ ท่องเที่ยวได้ โดยมีระบบ ติดตาม การประเมิน มีการ รายงานผลต่อสาธารณชน ด้วยระบบสารสนเทศในการ เฝ้าระวัง และมีการทบทวน อย่างสม�่ำเสมอ รวมถึงการ ก�ำหนดช่วงเวลาการทบทวน ระบบในอนาคต อย่างน้อย 3 ปี

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก หลักฐานพื้นฐาน 1. จัดประชุมคณะกรรมการ - รายงานการประเมิน ขับเคลื่อนการพัฒนา ประสิทธิภาพของการ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ท�ำงานตามแผนยุทธศาสตร์ ตามหลักเกณฑ์ GSTC ที่บง่ ชี้ถึงตัวชี้วัดที่แสดง เพื่อวางแผนด�ำเนินงาน ผลลัพธ์ ตามเป้าหมาย และก�ำหนดเป้าหมายสูงสุด และแนวทางกระบวนการ รวมถึงวิเคราะห์กลุ่ม ติดตามผล เป้าหมาย - รายงานผลการด�ำเนินงาน 2. จัดหาผู้รับจ้างในการจัดท�ำ ประจ�ำปีตามยุทธศาสตร์ ระบบการติดตามผล และการวิเคราะห์ที่ 3. จัดท�ำรายงานผลการ ตอบสนองประเด็นในเชิง ด�ำเนินงาน เศรษฐกิจ-สังคม วัฒนธรรม 4. จัดประชุมปฏิบัติการผู้มี และสิ่งแวดล้อมที่อาจะมี ส่วนได้เสีย (หน่วยงานและ ผลกระทบอันเกิดจากการ ชุมชน) เพื่อทบทวนตัวชี้วัด ท่องเที่ยวที่ต้องเฝ้าระวัง ที่แสดงผลตามเป้าหมาย ในยุทธศาสตร์ ตามข้อ A2

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการก�ำหนดตัวชี้วัดที่แสดง ปริมาณ และเป้าหมายที่บ่งชี้ ถึงกระบวนการติดตาม ดูแล และตอบสนองประเด็น ในเชิงเศรษฐกิจ-สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ที่อาจะมีผลกระทบ อันเกิด จากการท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


54 55

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การมีส่วน ร่วมและ การใช้ มาตรฐาน ความยั่งยืน ของผู้ ประกอบการ (Enterprise engagement and sustainability standards)

ค�ำอธิบาย ในการยก ระดับ

A4

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนในการส่งเสริมการยก ระดับสถานประกอบการ ด้านการท่องเที่ยวตาม มาตรฐานการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน - หลักฐานการสนับสนุน การเข้าสู่ระบบการรับรอง มาตรฐานความยั่งยืน เช่น การร่วมจัดอบรมให้ ความรู้ การรับรอง มาตรฐานความยั่งยืน ของที่พัก บริษัททัวร์ที่ รับผิดชอบ หรือเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม - เอกสารรายชื่อธุรกิจ ที่ได้รับรองมาตรฐาน ด้านความยั่งยืน - ระเบียบของภาครัฐ ในการสนับสนุนธุรกิจ ที่ได้รับรองมาตรฐานการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เป็นส�ำคัญ

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการน�ำเอามาตรฐานความ ยั่งยืนมาก�ำหนดใช้อยู่บ้าง แต่ ไม่มีการสื่อสารหรือสนับสนุน ให้ค�ำแนะน�ำในการได้รับ การรับรองมาตรฐานด้าน ความยั่งยืน (GSTC - I Recognized standard / accredited)

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการส่งเสริการยกระดับ สถานประกอบการด้าน การท่องเที่ยวตาม มาตรฐานการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน - โครงการถ่ายทอดองค์ ความรู้การเป็นผู้ประกอบ การสีเขียว รวมถึงการ พัฒนาเครือข่ายธุรกิจ สีเขียวในพื้นที่ - โครงการจัดท�ำระบบฐาน ข้อมูลเครือข่ายธุรกิจ สีเขียวเพื่อเผยแพร่ต่อ สาธารณชน - โครงการพี่เลี้ยงธุรกิจที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการ น�ำเอามาตรฐานความยั่งยืน มาก�ำหนดใช้ มีการตรวจสอบ และปรับปรุงแนวทางการ สร้างการมีส่วนร่วมที่ดีและ มีการสื่อสารหรือสนับสนุน ให้ค�ำแนะน�ำในการได้รับ การรับรองมาตรฐานด้าน ความยั่งยืน (GSTC - I Recognized standard / accredited) หรือ มาตรฐาน Green standard ในระดับ ประเทศ และมีการเผยแพร่ รายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับ การรับรองมาตรฐานความ ยั่งยืน

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 2. อปท. 3. เครือข่าย 4. หน่วยงาน ผูร้ บั ผิดชอบ ด้าน มาตรฐาน ยั่งยืน เช่น มูลนิธิ ใบไม้เขียว กรม ส่งเสริม คุณภาพ สิ่งแวดล้อม

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3. ร่วมพัฒนา 4. ร่วมส่งเสริม

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - จัดประชุมเพื่อทบทวน แผนด�ำเนินงาน พร้อม ถอดบทเรียน - ตั้งเป้าหมายเป็นร้อยละ ขยายขอบเขตจ�ำนวน ธุรกิจที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม หรือในกรอบ มาตรฐานการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน ที่เป็น Green standard ต่างๆ ในระยะ เวลา 3 ปี - ติดตามผลสัมฤทธิ์ พร้อม ถ่ายทอดองค์ความรู้ความ ส�ำเร็จตามเป้าหมายแก่ผู้มี ส่วนได้เสียให้ได้รับรู้และ ขยายผลต่อไป

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการ น�ำเอาหลักฐานความยั่งยืน มาก�ำหนดใช้ และมีการสือ่ สาร หรือสนับสนุนให้ค�ำแนะน�ำ ในการได้รับการรับรอง มาตรฐานด้านความยั่งยืน (GSTC - I Recognized standard/accredited) หรือ มาตรฐาน Green standard ในระดับต้นแบบของประเทศ/ นานาชาติ โดยมีการเผยแพร่ รายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับ การรับรองมาตรฐานความ ยั่งยืน รวมถึงได้ตั้งเป้าหมาย ขยายขอบเขตจ�ำนวนของ ธุรกิจที่ได้รับรองมาตรฐาน ด้านความยั่งยืนเป็นจ�ำนวน ร้อยละที่ชัดเจนได้อย่าง ต่อเนื่องเป็นเวลา 3 ปี

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมคณะกรรมการ ขับเคลื่อนการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตาม หลักเกณฑ์ GSTC เพื่อ วางแผนด�ำเนินงาน และ ก�ำหนดเป้าหมายสูงสุด รวมถึงวิเคราะห์กลุ่ม เป้าหมายในเรือ่ งการส่งเสริม การยกระดับสถานประกอบ การด้านมาตรฐานการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2. ติดต่อหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ ด้านมาตรฐานความยั่งยืน เพื่อสร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับมาตรฐาน พร้อม ประสาน ส่งเสริมให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการในพื้นที่ 3. จัดกิจกรรมการเตรียม ความพร้อมสู่มาตรฐาน ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4. จัดท�ำรายชื่อธุรกิจที่สนใจ ในการเข้าร่วมสู่กระบวน การมาตรฐานการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน 5. จัดประชุมเครือข่ายหน่วย งานเพือ่ ท�ำข้อตกลงในการ ออกกฏระเบียบ สนับสนุน ธุรกิจทีไ่ ด้รบั รองมาตรฐาน ความยั่งยืน

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการน�ำเอามาตรฐานความ ยั่งยืนมาก�ำหนดใช้ รวมถึง ไม่มกี ารสือ่ สาร หรือสนับสนุน ให้ค�ำแนะน�ำในการได้รับ การรับรองมาตรฐานด้าน ความยั่งยืน (GSTC-I Recognized standard / accredited)

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


56 57

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การมี ส่วนร่วม และข้อ เสนอแนะ ของผู้อยู่ อาศัย (Resident engagement and feedback)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

A5

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - หลักฐานการสนับสนุน การมีส่วนร่วม พร้อมบ่ง ประเภทและระดับการมี ส่วนร่วม เช่น การจัดรับฟัง ความคิดเห็นของผูอ้ ยูอ่ าศัย ในเรื่องการท่องเที่ยว พร้อมสรุปรายงานผล การประชุม แผนการจัดท�ำ ประชาพิจารณ์อย่างมี ขั้นตอน - หลักฐานการวางแผนเสริม สร้างศักยภาพในการ แสดงออกทางความคิดต่อ การพัฒนาการท่องเที่ยว - แผนส�ำรวจความคิดเห็น ของชุมชนในแหล่ง ท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการเปิดโอกาสและสร้าง ขีดความสามารถแก่ชุมชน ในการตอบสนองต่อโอกาส และความท้าทายของคน ในพื้นที่ โดยได้มีการเข้าร่วม และมีส่วนในการวางแผน และการจัดการแหล่งท่องเทีย่ ว ให้เกิดความยั่งยืน แต่กระนั้น ยังคงขาดกลไกที่จะได้มาซึ่ง ความเห็นและข้อเสนอแนะ ของผู้อยู่อาศัยที่มีต่อประเด็น ที่กังวลในด้านการท่องเที่ยว รวมถึงระบบการติดตาม และ ตอบสนองต่อข้อเสนอแนะนัน้

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการพัฒนาศักยภาพ ชุมชนในการแสดงออก ทางความคิดเห็นต่อการ พัฒนาการท่องเที่ยว - กิจกรรมจัดเวทีประชา พิจารณ์ และแสดงผลการ ปรับปรุงแผน/ปัญหาที่ได้ จากการรับฟังความคิดเห็น - โครงการพัฒนาช่องทาง แสดงความคิดเห็นผ่าน สื่อออนไลน์ และน�ำเสนอ แผนงานที่ได้ขอความ คิดเห็นจากประชาชน

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการเปิดโอกาสและสร้าง ขีดความสามารถแก่ชุมชน คนในพื้นที่ ได้มีการเข้าร่วม และมีส่วนในการวางแผน และการจัดการแหล่ง ท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน และระบบ/กลไกนี้ยังเสริม สร้างความเข้าใจแก่คนใน ท้องถิ่นเกี่ยวกับโอกาสและ ความท้าทายด้านการท่อง เที่ยวอย่างยั่งยืนและสร้าง ขีดความสามารถของชุมชน ในการตอบสนองต่อโอกาส และความท้าทายนั้นๆ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3. ร่วมพัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. วางแผนในการสนับสนุน การมีส่วนร่วมจากผู้อยู่ อาศัยอย่างเป็นระบบ 2. จัดท�ำโครงการและมีการ ตรวจสอบ ปรับปรุง ประสิทธิภาพในการสร้าง การมีส่วนร่วมของคน ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง 3 ปี โดยมีรายงานผลของการ พัฒนากลไก/ระบบ 3. การน�ำระบบสื่อออนไลน์ มาสร้างความโปร่งใสของ การรับฟังความคิดเห็น

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่มี 1. อพท. ประสิทธิภาพในการเปิด 2. อปท. โอกาสและสร้างขีดความ 3. เครือข่าย สามารถแก่ชุมชน คนในพื้นที่ อย่างมีส่วนร่วมเพื่อการ วางแผนและการจัดการแหล่ง ท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน อย่างต่อเนื่อง 3 ปี โดยมีกลไก เปิดรับความเห็นและข้อเสนอ แนะของผูอ้ ยูอ่ าศัยต่อประเด็น กังวลหรือสงสัยในด้าน การท่องเที่ยวรวมถึงมีระบบ การติดตามและตอบสนองต่อ ข้อเสนอแนะนั้นโดยกลไกนั้น อาจหมาย รวมถึงการท�ำ ประชาพิจารณ์ การฝึกอบรม ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และการจัดท�ำแบบสอบถาม ความพึงพอใจของคนในพื้นที่ รวมถึงหลักฐานในการจัดฝึก อบรม การสร้างความเข้าใจ และความสามารถในการ ตอบสนองต่อโอกาสและ ความท้าทายของการพัฒนา การท่องเทีย่ วอย่างยั่งยืน

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. ออกแบบแนวทางการสร้าง การมีสว่ นร่วมกับผูอ้ ยูอ่ าศัย ในพื้นที่ รวมถึงการก�ำหนด ระดับการมีส่วนร่วม และ ประเภท 2. เก็บแบบสอบถามเพือ่ รับฟัง ความคิดเห็นและระดับ ความพึงพอใจต่อการจัดการ ด้านการท่องเที่ยว รวมถึง รับข้อมูลประเด็นกังวล ของประชาชน 3. น�ำเสนอประเด็นปัญหาต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. เตรียมจัดท�ำแผนเสริม ศักยภาพในการแสดงออก ทางความคิดต่อการพัฒนา การท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการเปิดโอกาสให้ สาธารณชน คนในพื้นที่ได้มี การเข้าร่วมและมีส่วนในการ วางแผนและการจัดการแหล่ง ท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


58 59

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการสร้างการมีส่วนร่วม และการได้รับข้อเสนอแนะ ของนักท่องเที่ยว เช่น รายงานความพึงพอใจ ผลการศึกษาและการส�ำรวจ ความคิดเห็นต่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนของนักท่องเที่ยว แต่ขาดการด�ำเนินการเพื่อ การตอบสนองต่อข้อค้นพบ จากการส�ำรวจหรือสอบถาม ความเห็นนักท่องเที่ยวใน เรื่องประสบการณ์ในแหล่ง ท่องเที่ยว ประเด็นด้าน คุณภาพและความยั่งยืน

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการจัดส�ำรวจความ คิดเห็นของนักท่องเที่ยว - โครงการปรับปรุงแก้ไข ปัญหา/ผลกระทบที่เกิด กับนักท่องเที่ยวตาม ข้อเสนอแนะ - กิจกรรมส�ำรวจความ พึงพอใจต่อประสบการณ์ คุณภาพ (Qua lityExperience) ของ นักท่องเที่ยวตามกลุ่ม เป้าหมายในแหล่งท่องเทีย่ ว อย่างยั่งยืน - กิจกรรมรายงานผล การปรับปรุงแก้ไขปัญหา จากผลการส�ำรวจความ พึงพอใจของนักท่องเที่ยว ให้แก่สาธารณชนและ ผู้ที่เกี่ยวข้อง - โครงการตรวจสอบความ พึงพอใจนักท่องเที่ยวเพื่อ พัฒนาศักยภาพแหล่ง ท่องเที่ยว (ทบทวน) พร้อมพัฒนาช่องทางการ ให้ความคิดเห็นผ่านสื่อ ออนไลน์ได้ตลอดทั้งปี

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบและ หลักฐานเชิงประจักษ์ในการ สร้างการมีส่วนร่วมและ การได้รับข้อเสนอแนะของ นักท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง และมีการตอบสนองต่อ ข้อค้นพบจากการส�ำรวจหรือ สอบถามความเห็นนักท่องเทีย่ ว เรื่องประสบการณ์ในแหล่ง ท่องเที่ยว ด้านคุณภาพและ ความยั่งยืน รวมถึงมีการ ปฏิบัติด�ำเนินการให้ข้อมูล เกี่ยวกับการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเพื่อ ตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 2. อปท. 3. เครือข่าย 4. ททท.

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3. ร่วมพัฒนา 4. สื่อสารเพื่อ ส่งเสริม ภาพลักษณ์ แหล่ง ท่องเที่ยว คุณภาพ

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - ทบทวนแผนการด�ำเนินงาน อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ รับพัฒนา ความเชื่อมโยงด้านความ ต้องการของนักท่องเที่ยว กับการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว อย่างยั่งยืน - ติดตามผลการปรับปรุง ความพึงพอใจของ นักท่องเทีย่ วเมือ่ ปีทผี่ า่ นมา และเก็บข้อมูลเชิงสถิติ เพือ่ ให้เห็นถึงความก้าวหน้า ในการพัฒนา - วางแผนการสื่อสาร ภาพลักษณ์และช่องทาง ในการรับฟังความคิดเห็น ของนักท่องเที่ยว ทั้งใน แหล่งท่องเที่ยว และสื่อ ออนไลน์เพื่อกระตุ้น การมีส่วนร่วม - จัดท�ำคู่มืออนไลน์ “เสียง ส�ำคัญจากนักท่องเที่ยว” และประชาสัมพันธ์ให้ นักท่องเที่ยวได้เข้ามา มีส่วนร่วมในการพัฒนา การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบและ หลักฐานเชิงประจักษ์ในการ สร้างการมีส่วนร่วมและ การได้รับข้อเสนอแนะของ นักท่องเที่ยว และมีการ ตอบสนองต่อข้อค้นพบจาก การส�ำรวจหรือสอบถาม ความเห็นนักท่องเที่ยวใน ประสบการณ์ เรื่องแหล่ง ท่องเที่ยว ด้านคุณภาพและ ความยั่งยืน รวมถึงมีการ ปฏิบัติด�ำเนินการให้ข้อมูล เกี่ยวกับการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเพื่อ ตอบสนองต่อข้อเสนอแนะ พร้อมกับเป็นต้นแบบในการ จัดกระบวนการให้ความรู้ ด้านบทบาทของนักท่องเที่ยว ว่าสามารถมีส่วนกับความ ยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยว โดยได้รับการยอมรับในระดับ ประเทศ หรือระดับสากล ในการน�ำเสนอเรื่องราว การสร้างการมีส่วนร่วมของ นักท่องเที่ยวต่อแหล่ง ท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก หลักฐานพื้นฐาน - จัดประชุมกับหน่วยงาน - หลักฐานการสนับสนุน ที่เกี่ยวข้องในการวิเคราะห์ การมีส่วนร่วม พร้อมบ่ง แก้ไขปัญหาความพึงพอใจ ประเภทและระดับการมี ของนักท่องเที่ยว ส่วนร่วม เช่น การจัด - จัดท�ำแผนการด�ำเนินงาน รับฟังความคิดเห็นของ ในการส�ำรวจความคิดเห็น นักท่องเที่ยวในเรือ่ งการ ของนักท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเที่ยว พร้อมสรุป ท่องเที่ยว รายงานผลการประชุม - ทบทวนและปรับปรุง แผนการจัดท�ำประชา รูปแบบและเนื้อหาของ พิจารณ์อย่างมีขั้นตอน ค�ำถามในแบบสอบถาม - แผนการด�ำเนินงานส�ำรวจ ความพึงพอใจของ ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยวต่อเรื่อง ประสบการณ์คุณภาพของ นักท่องเที่ยวและมิติความ ส�ำคัญด้านการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน - จัดฝึกอบรมให้ความรู้ เรื่องการมีส่วนร่วมแก่ นักท่องเที่ยวต่อการพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการสร้างการมีส่วนร่วม และการได้รับข้อเสนอแนะ ของนักท่องเทีย่ ว และ/หรือ การมี การตอบสนองต่อข้อค้นพบ ส่วนร่วม จากการส�ำรวจหรือสอบถาม และข้อ ความเห็นนักท่องเทีย่ วในเรือ่ ง เสนอแนะ ของคุณภาพและความยั่งยืน ของ ของประสบการณ์ในแหล่ง นักท่องเทีย่ ว ท่องเที่ยว (Visitor engagement and feedback)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

A6

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


60 61

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนการประชาสัมพันธ์ และ/หรือ แผนการตลาด แหล่งท่องเที่ยวที่ส่งเสริม ภาพลักษณ์การท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน - หลักฐานการจัดเก็บข้อมูล เบื้องต้นในการจัดท�ำแผน ประชาสัมพันธ์/แผนการ ตลาดของแหล่งท่องเที่ยว - ฐานข้อมูลเนื้อหาและ คุณค่าของแหล่งท่องเทีย่ ว เช่น การเก็บข้อมูล สารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) / แผนที่ทาง วัฒนธรรม (Cultural mapping) เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเทีย่ วมีหลักฐานด้าน การให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว ในปัจจุบันและการส่งเสริม ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเทีย่ ว ที่มีเนื้อหาด้านการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน แต่กระนั้นยังขาด ขั้นตอนที่เป็นระบบเพื่อ ท�ำการตรวจสอบข้อมูลด้าน เนื้อหา ให้ถูกต้องและ เหมาะสมไม่ว่าจะในเรื่องของ ผลิตภัณฑ์ การบริการ และ ความยั่งยืน ข้อความทางการ ตลาดและการสื่อสารอื่นๆ

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการจัดท�ำระบบเก็บ ข้อมูลสารสนเทศเพื่อใช้ เป็นข้อมูลในการจัดท�ำ ประชาสัมพันธ์แหล่ง ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนแก่ นักท่องเที่ยว รวมถึงระบุ แหล่งที่มาของข้อมูล - โครงการตรวจสอบข้อมูล ด้านเนื้อหาของแหล่ง ท่องเทีย่ ว และทบทวนแนว ทางการประชาสัมพันธ์ ภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวที่ ตกผลึกจากชุมชนและแสดง ความเคารพให้เกียรติชมุ ชน - โครงการจัดท�ำสื่อ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลแหล่ง ท่องเที่ยวที่มีความเหมาะ สมสอดคล้องกับอัตลักษณ์ พื้นที่ในแหล่งท่องเที่ยว เช่น ป้ายสื่อความหมาย QR CODE การจัดแสดง อัตลักษณ์ท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์ให้ความรู้เป็นต้น - โครงการพัฒนาสื่อ สร้างสรรค์เพื่อถ่ายทอด เรือ่ งราวผ่านสือ่ ทีเ่ หมาะสม เช่น การเล่าเรื่องผ่านสื่อ สังคมออนไลน์ VDO E-Magazine คูม่ อื เจาะลึก อัตลักษณ์พนื้ ที่ ในประเด็น ด้านความยั่งยืน เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในด้าน การให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว และมีการส่งเสริมประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยวที่มีเนื้อหา ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน มีขั้นตอนที่เป็นระบบเพื่อท�ำ การตรวจสอบข้อมูลด้าน เนื้อหา ให้ถูกต้องและ เหมาะสมไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ของสินค้าหรือการบริการและ ความยั่งยืน ข้อความทางการ ตลาดและการสื่อสารอื่นๆ แต่กระนั้น ยังขาดการปรึกษา หารือกับคนท้องถิ่นในแหล่ง ท่องเที่ยวและหน่วยงานด้าน สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม ในการจัดท�ำและน�ำเสนอ เนื้อหาต่างๆ

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 2. อปท. 3. เครือข่าย 4. ททท.

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3. ร่วมพัฒนา 4. สื่อสารเพื่อ ส่งเสริม ภาพลักษณ์ แหล่ง ท่องเที่ยว คุณภาพ

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวนแผนการด�ำเนินงาน อย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี เพื่อพัฒนาระบบ การเก็บข้อมูลและการ ประชาสัมพันธ์ให้มี ประสิทธิภาพอยู่เสมอ 2. มีการประชาสัมพันธ์และ ให้เครดิตกับหน่วยงาน รับผิดชอบและชุมชน เจ้าของเนื้อหาอย่างเป็น รูปธรรม 3. ยกระดับนักพัฒนาสื่อ สร้างสรรค์คุณภาพจากคน ในพืน้ ที่ โดยเป็นการต่อยอด จากการพัฒนาช่องทาง การประชาสัมพันธ์ข้อมูล แหล่งท่องเที่ยว หรือ เรื่องราวที่เป็นอัตลักษณ์ สนับสนุนความยั่งยืนของ พื้นที่ 4. จัดเวทีในการประกวด แข่งขันให้เยาวชนรุ่นใหม่ ได้มีพื้นที่ในการถ่ายทอด เนือ้ หาส่งเสริมการท่องเทีย่ ว อย่างยั่งยืน

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในด้าน การให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน อย่างต่อเนื่อง 3 ปี และ มีการส่งเสริมประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยวที่มีเนื้อหา ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน อย่างต่อเนื่อง มีขั้นตอนที่เป็น ระบบเพื่อท�ำการตรวจสอบ ข้อมูล ด้านเนื้อหา ให้ถูกต้อง และเหมาะสมไม่ว่าจะในเรื่อง ของสินค้าหรือการบริการ และความยั่งยืน ข้อความทาง การตลาดและการสือ่ สารอืน่ ๆ มีการปรึกษาหารือกับคน ท้องถิ่นในแหล่งท่องเที่ยว หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ในการจัดท�ำ และน�ำเสนอเนื้อหาต่างๆ

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อ ค้นหาอัตลักษณ์ของแหล่ง ท่องเที่ยวต้นแบบร่วมกับ ผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่ 2. ประชุมวางแผนการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ในแหล่ง ท่องเที่ยวร่วมกับหน่วยงาน และชุมชนที่เกี่ยวข้อง 3. จัดจ้างท�ำแผน ประชาสัมพันธ์/แผนทาง การตลาดด้านการสื่อสาร ข้อมูลเพื่อนักท่องเที่ยว และคนในพื้นที่ 4. จัดจ้างท�ำฐานข้อมูลเนื้อหา และคุณค่าของแหล่ง ท่องเทีย่ ว ทีผ่ า่ นกระบวนการ การมีส่วนร่วม

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในด้านการให้ข้อมูลแก่ นักท่องเที่ยวในปัจจุบันและ การส่งเสริมประชาสัมพันธ์ การส่งเสริม แหล่งท่องเที่ยวที่มีเนื้อหา การท่องเที่ยว ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และการให้ ที่เหมาะสม ข้อมูล (Promotion and information)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

A7

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


62 63

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนการจัดการปริมาณ นักท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเที่ยวพร้อมระบบ ติดตาม ประเมินผล - ผลการศึกษาข้อคิดเห็น จากชุมชนและผู้มีส่วน ได้เสียเกี่ยวกับผลกระทบ จากจ�ำนวนนักท่องเที่ยว และกิจกรรมการท่องเที่ยว - หลักฐานการออกกฎ ระเบียบ ข้อปฏิบัติในแหล่ง ท่องเที่ยว เพื่อจัดการ จ�ำนวนนักท่องเที่ยวและ กิจกรรมการท่องเที่ยว - แผนทางการตลาดที่แสดง ถึงการจัดการการเคลือ่ นไหว ของนักท่องเที่ยวและ ผลกระทบ (Visitor Flow and impact) เช่น เที่ยว วันธรรมดา การเที่ยวแบบ จองล่วงหน้า การเที่ยวได้ ทั้งปีตามปฏิทินฤดูกาล เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในเรือ่ งการจัดการนักท่องเทีย่ ว อยู่บ้าง เช่น แผนปฏิบัติการ ทีจ่ ดั การ และ/หรือ การศึกษา ผลกระทบจากปริมาณ นักท่องเที่ยวเพื่อจัดท�ำแผน การจัดการนักท่องเที่ยว แต่ กระนั้นยังคงขาดการด�ำเนิน การติดตาม ดูแลตลอดปี รวมถึง การบ่งชี้ตรวจสอบ สถานที่ๆ นักท่องเที่ยว เดินทางมามากที่สุด

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการด�ำเนินการจัดการ ปริมาณนักท่องเที่ยวใน แหล่งท่องเที่ยว - โครงการก�ำหนด Zoning เพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน - โครงการทดสอบระบบ เครื่องมือวัดผลกระทบ จากปริมาณนักท่องเที่ยว ต่อการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน และระบบติดตามการ เคลือ่ นไหวของนักท่องเทีย่ ว - โครงการจัดระเบียบการ จราจรเพื่อการเคลื่อนตัว ของนักท่องเที่ยวในพื้นที่ แหล่งท่องเที่ยว - โครงการติดตามผล การประเมินการวางแผน การตลาดที่ตอบสนอง การจัดการปริมาณ นักท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบและ หลักฐานเชิงประจักษ์ในเรือ่ ง การจัดการนักท่องเทีย่ ว เช่น แผนปฏิบัติการที่จัดการ ผลกระทบจากปริมาณ นักท่องเที่ยว มีการด�ำเนิน การติดตาม ดูแลตลอดปี รวมถึงการบ่งชี้ตรวจสอบ สถานทีๆ่ นักท่องเทีย่ วเดินทาง มามากที่สุด/การจัดการ ผลกระทบ (Overtourism ภาวะนักท่องเที่ยวล้นเมือง หรือ Undertourism ภาวะ ขาดแคลนนักท่องเที่ยว) และ มีการรับฟังความเห็นจาก ชุมชนและเครือข่ายในเรื่อง ผลกระทบต่อการจัดการ นักท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. ททท. ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3. ร่วมพัฒนา 4. การจัดท�ำ แผนการ ตลาดและ ประชา สัมพันธ์เพื่อ แก้ไขปริมาณ นักท่องเที่ยว

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - ทบทวนแผนการด�ำเนินงาน ต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการจัดการนักท่องเที่ยว - จัดท�ำรายงานผลจากการ จัดการปริมาณนักท่องเทีย่ ว ในแหล่งท่องเที่ยว โดย สามารถแสดงผลสัมฤทธิ ต่อความสมดุลระหว่าง ความต้องการของเศรษฐกิจ ชุมชน มรดกทางวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ ในท้องถิ่น - จัดการประชุมเพือ่ ถ่ายทอด องค์ความรู้ในการเป็น ต้นแบบด้านการจัดการ ปริมาณนักท่องเที่ยว ด้วย ระบบจัดการนักท่องเที่ยว และการตลาด

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ ที่เข้ามาช่วยจัดการและมี หลักฐานเชิงประจักษ์ในการ จัดการนักท่องเที่ยวรวมถึง กลยุทธ์การตลาดและการ เลือกเป้าหมายทางการตลาด โดยค�ำนึงถึงรูปแบบของการ ท่องเที่ยวผลกระทบของ กิจกรรมท่องเที่ยวและได้รับ การยอมรับในระดับสากล

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก - จัดประชุมเพื่อท�ำการ วิเคราะห์ผลกระทบร่วมกับ ชุมชนและผู้มีส่วนได้เสีย พร้อมหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ในการวางแผนบูรณาการ - จัดท�ำแผนการจัดการ ปริมาณนักท่องเที่ยว ร่วมกับผู้รับผิดชอบแหล่ง ท่องเที่ยวและหน่วยงาน ด้านการตลาดของพื้นที่ - จัดท�ำแผนทางการตลาด เพื่อให้นักท่องเที่ยว เดินทางมาในพื้นที่อย่าง เหมาะสม ไม่กระจุกเฉพาะ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง - จัดจ้างการศึกษาออกแบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวัด ผลกระทบจากปริมาณ นักท่องเทีย่ วต่อความยัง่ ยืน และระบบติดตามการ เคลือ่ นไหวของนักท่องเทีย่ ว (Visitor flow tracking system)

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในเรือ่ งการจัดการนักท่องเทีย่ ว และ/หรือ แผนปฏิบัติการ ที่จัดการปริมาณนักท่องเที่ยว การจัดการ ในช่วงเทศกาล ไม่ว่าจะเป็น ปริมาณ การลดหรือเพิ่มปริมาณของ นักท่องเทีย่ ว นักท่องเที่ยวและกิจกรรม และ ท่องเที่ยว กิจกรรมการ ท่องเที่ยว (Managing visitor volumes and activities)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

A8

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


64 65

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

กฎระเบียบ ในการ วางแผน และการ ควบคุม การพัฒนา (Planning regulations and development control)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

A9

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - นโยบาย กฎระเบียบ แนวทางในการวางแผนเพือ่ การพัฒนาและการควบคุม การพัฒนาการท่องเที่ยว - แนวทางในการก�ำหนด ขอบเขตการพัฒนา ท่องเที่ยวในพื้นที่ผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วม ของคนในพื้นที่ - กฎหมายการก่อสร้าง อาคารในย่านเมืองเก่าหรือ สถานที่ๆ เป็นอัตลักษณ์ ของแหล่งท่องเที่ยว - ระเบียบในการจัดตั้ง โรงงานหรือสิ่งก่อสร้างที่มี ผลกระทบต่อทัศนวิสัยของ พื้นที่ในด้านสิ่งแวดล้อม มรดกทางวัฒนธรรม หรือ ที่เกี่ยวข้องกับการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ที่เป็นแนวทาง กฎระเบียบ และ/หรือ นโยบาย การ วางแผน ที่ควบคุมที่ตั้งและ ลักษณะของการพัฒนา แต่ กระนั้นก็ยังขาดการด�ำเนิน งานในการเผยแพร่เอกสาร ชี้แจงและการบังคับใช้ และ ยังขาดมาตรฐานการพัฒนา ในด้านการประเมินผลกระทบ ทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการจัดจ้างศึกษา ออกแบบรายละเอียดและ การประเมินผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อม - โครงการจัดอบรมพัฒนา ขีดความสามารถในการ ประเมินการออกแบบ ภูมิทัศน์และผังเมืองเพื่อ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน - โครงการจัดอบรมเพื่อ สร้างความเข้าใจในเรื่อง กฎหมาย นโยบาย ระเบียบต่างๆ ในการพัฒนา การท่องเที่ยวที่มีมาตรฐาน การพัฒนาในด้านการ ประเมินผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการให้ ข้อมูลที่มีเป็นแนวทาง กฎ ระเบียบ และ/หรือ นโยบาย การวางแผน ที่ควบคุมที่ตั้ง และลักษณะของการพัฒนา และเชื่อมโยงกับระบบส่วน กลางที่เผยแพร่เอกสาร ชี้แจง การบังคับใช้ มีการปฏิบัติ ตามมาตรฐานการพัฒนา ในด้านการประเมินผลกระทบ ทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3. ร่วมพัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวนประสิทธิภาพของ ระบบการให้ข้อมูลต่อเนื่อง อย่างน้อย 3 ปี เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพ 2. ตรวจสอบอัพเดจข้อมูล เชือ่ มโยงกับระบบส่วนกลาง ที่เผยแพร่เอกสาร ชี้แจง การบังคับใช้ โดยมีแนวทาง การปฏิบัติตามมาตรฐาน ในการพัฒนาทีม่ กี ารประเมิน ผลกระทบทางสิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม วัฒนธรรม 3. จัดให้มีช่องทางในการ เผยแพร่ขอ้ มูลอย่างต่อเนือ่ ง และสามารถแจ้งปัญหา ที่อาจส่งผลกระทบต่อ การพัฒนาการท่องเที่ยวได้ 4. หากในพื้นที่มีคนพื้นเมือง/ กลุ่มชาติพันธุ์ควรมีการ สร้างการมีส่วนร่วมเพื่อ ด�ำเนินการวางแผนพัฒนา อย่างต่อเนื่อง เช่น การจัด รับฟังความคิดเห็น การเปิด เวทีเพื่อแสดงความคิดเห็น ในด้านการออกแบบ การพัฒนาพื้นที่เพื่อการ ท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการให้ 1. อพท. ข้อมูลที่เป็นแนวทาง กฎ 2. อปท. ระเบียบ และ/หรือ นโยบาย 3. เครือข่าย การวางแผน ที่ควบคุมที่ตั้ง และลักษณะของการพัฒนา และเชื่อมโยงกับระบบส่วน กลางที่เผยแพร่เอกสาร ชี้แจง การบังคับใช้ โดยมีแนวทาง การปฏิบัติตามมาตรฐาน ในการพัฒนาที่มีการประเมิน ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม วัฒนธรรม รวมถึงการสื่อสาร อย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี มีการปรึกษาหารือและ ความยินยอมจากคนพื้นเมือง หรือกลุ่มชาติพันธุ์ เมื่อมี การเสนอหรือมีการพัฒนา การท่องเที่ยวเกิดขึ้นในพื้นที่ ของคนเหล่านั้น

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมเพื่อท�ำการ วิเคราะห์ผลกระทบร่วมกับ ชุมชนและผู้มีส่วนได้เสีย ในการออกกฏระเบียบใน การวางแผนควบคุมที่ตั้ง และลักษณะการท่องเที่ยว พร้อมหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ในการวางแผนบูรณาการ 2. จัดท�ำนโยบาย กฎระเบียบ แนวทางในการวางแผนเพือ่ การพัฒนาและการควบคุม การพัฒนาการท่องเที่ยว ในพื้นที่ 3. สร้างการมีส่วนร่วมในการ ออกกฎหมาย หรือกฎ ระเบียบใดๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับ การพัฒนาการท่องเที่ยว ในพื้นที่ 4. จัดท�ำการศึกษาความ เป็นไปได้ในการพัฒนา การท่องเที่ยวในพื้นที่ (Feasibility study) ที่ครอบคลุมถึงการก�ำหนด เป้าหมาย และขอบเขต ของพื้นที่ในการพัฒนา ด้านการท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีแนวทาง กฎระเบียบ และ/หรือนโยบาย การวางแผน ที่ควบคุมที่ตั้ง และลักษณะของการพัฒนา

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


66 67

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การปรับตัว ต่อการ เปลี่ยนแปลง ของสภาพ ภูมิอากาศ (Climate change adaptation)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

A10

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - การศึกษาปัจจัยสภาพ ภูมิอากาศที่ส่งผลต่อความ เสี่ยงและโอกาสของแหล่ง ท่องเที่ยว - แผนการจัดการแหล่ง ท่องเที่ยวแบบบูรณาการ ที่มีแผนปฏิบัติบ่งชี้ถึง แนวทางการรับมือกับ สถานการณ์ของอากาศที่ เปลี่ยนแปลง (Integrative tourism planning for Climate Action) - ระเบียบและข้อปฏิบัติ ในการลดจ�ำนวนคาร์บอน ในพื้นที่ตามกลุ่มเป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการจัดท�ำยุทธศาสตร์ แหล่งท่องเทีย่ วและแผนปฏิบตั ิ ที่บ่งชี้ถึงเรื่องการศึกษา สภาพภูมิอากาศที่ส่งผลต่อ ความเสี่ยงและโอกาส และ หลักฐานในด้านกฎระเบียบ แนวทาง หรือการจัดท�ำ zoning เพือ่ เตรียมการส�ำหรับ ภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

- โครงการมุ่งสู่เมืองคาร์บอนต�่ำ - โครงการระบบเฝ้าระวังอากาศ เปลีย่ นแปลง (Climate Action Tracker) รวมผลกระทบที่ คาดว่าจะเกิดขึน้ พร้อมแนวทาง ป้องกัน ผ่าน Web application - โครงการน�ำร่อง สนับสนุน ผู้ประกอบการกับแนวทาง เศรษฐกิจหมุนเวียนและท�ำการ ประชาสัมพันธ์เพื่อกระตุ้น จ�ำนวนของผู้สนใจ - โครงการลดการใช้พลังงาน และสนับสนุนพลังงานทาง เลือกตามกลุ่มเป้าหมาย - โครงการเพิ่มจ�ำนวนพื้นที่ สีเขียวในพืน้ ที่ เช่น การปลูกป่า ทดแทน การเพิ่มจ�ำนวนพื้นที่ สีเขียวกับ Green hotelscape - โครงการติดตามการย้ายถิ่น ของสัตว์ป่าเนื่องจากอากาศ เปลี่ยนแปลง - โครงการเฝ้าระวัง โบราณสถาน/ มรดกท้องถิ่นที่มีผลกระทบ จากอากาศเปลีย่ นแปลงรวมถึง ภัยพิบัติทางธรรมชาติ - โครงการสื่อความหมายเรื่อง เมืองคาร์บอนต�่ำ และการ สนับสนุน Climate Action ในพืน้ ทื่ ตามกลุม่ เป้าหมาย เช่น โรงแรม โรงเรียน หน่วยงาน ราชการ

ตัวอย่างโครงการ

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบและ หลักฐานเชิงประจักษ์ในการ จัดท�ำยุทธศาสตร์แหล่ง ท่องเที่ยวและแผนปฏิบัติ ที่บ่งชี้ถึงเรื่องสภาพอากาศ ที่ส่งผลให้มีความเสี่ยงและ โอกาสโดยได้ด�ำเนินการอยู่ อย่างต่อเนื่อง โดยค�ำนึงถึง แนวทาง หรือการจัดท�ำ zoning เพือ่ เตรียมการส�ำหรับ ภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง มีการประเมินความเสีย่ งทีเ่ ป็น ปัจจุบันและผลกระทบจาก ความเสี่ยงในอนาคตต่อ ระบบนิเวศของพื้นที่ และ ข้อค้นพบที่เกี่ยวกับกับ อากาศได้รับการเผยแพร่ ให้แก่สาธารณชน

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 2. อปท. 3. เครือข่าย 4. ส�ำนักงาน นโยบาย และแผน ทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่ง แวดล้อม

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3. ร่วมพัฒนา 4. ร่วมวางแผน ด�ำเนินการ

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวนประสิทธิภาพของ ระบบในการเฝ้าระวังอากาศ เปลี่ยนแปลงที่สามารถ เห็นสถานะปัจจุบันและ อนาคตได้ 2. จัดแผนในการกระตุ้นให้ เกิดการปรับตัวและน�ำไปสู่ การพัฒนาการออกแบบ และบริหารสิง่ อ�ำนวยความ สะดวกต่างๆ ที่สามารถ ท�ำให้เกิดการปรับตัวได้ 3. การจัดท�ำต้นแบบ การ พัฒนาเส้นทางท่องเที่ยว ลดโลกร้อน ที่มีการวัด ผลคาร์บอน และการ สนับสนุนกิจกรรมในพื้นที่ ตามแนวทางเศรษฐกิจ หมุนเวียน 4. ส่งเส้นทางการท่องเที่ยว เข้าประกวด/น�ำเสนอเป็น กรณีศึกษาในระดับสากล เช่น งาน PATA Award / Eco - Tourism Conference /การตีพิมพ์ ในวารสารทางวิชาการระดับ นานาชาติเพื่อน�ำเสนอ มุมใหม่ของการเป็นหนึ่งใน กลไกเพือ่ ลดสภาวะโลกร้อน

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่มี ประสิทธิภาพและหลักฐาน เชิงประจักษ์ในการจัดท�ำ ยุทธศาสตร์แหล่งท่องเที่ยว และแผนปฏิบัติที่บ่งชี้ถึง สภาพอากาศที่ส่งผลให้มี ความเสี่ยงและโอกาสโดยได้ ด�ำเนินการอย่างเห็นผลและ มีมาตรการเฝ้าระวังที่เป็น ที่ยอมรับในระดับชาติ หรือ ระดับสากล และเผยแพร่ ความเป็นต้นแบบของ ประเทศ

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมและท�ำสัญญา ร่วมกันกับภาคีเครือข่าย ในการตั้งเป้าหมายเพื่อลด ปริมาณคาร์บอนในแหล่ง ท่องเที่ยว 2. ท�ำการศึกษาปัจจัยสภาพ ภูมิอากาศที่ส่งผลกระทบ ต่อแหล่งท่องเทีย่ ว 3. จัดท�ำแผนการจัดการ แหล่งท่องเที่ยวเพื่อรับมือ อากาศที่เปลี่ยนแปลง 4. ออกระเบียบ และข้อปฏิบตั ิ ในการลดจ�ำนวนคาร์บอน ในพื้นที่ตามกลุ่มเป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการจัดท�ำยุทธศาสตร์ แหล่งท่องเทีย่ วและแผนปฏิบตั ิ ทีบ่ ง่ ชีถ้ งึ เรือ่ งสภาพภูมอิ ากาศ ที่เปลี่ยนแปลง

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


68 69

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การจัดการ ความเสี่ยง และ วิกฤตการณ์ (Risk and crisis management)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

A11

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนบริหารความพร้อมต่อ สภาวะวิกฤติการณ์ภยั พิบตั ิ และสถานการณ์ฉุกเฉิน ส�ำหรับนักท่องเที่ยวและ ชุมชน - แผนบูรณการร่วมกันป้องกัน และรักษาความปลอดภัย ของแหล่งท่องเที่ยว - แผนป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย - รายงานประเด็นความเสีย่ ง และแนวทางการจัดการ ลดความเสี่ยงย้อนหลัง 3 ปี จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการท�ำแผนการลดความ เสี่ยง กฎระเบียบ ข้อกฎหมาย การจัดการวิกฤตการณ์ และ แผนรับมือเหตุฉุกเฉิน ส�ำหรับ การท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเที่ยว แต่ยังไม่มีการบ่งชี้ แน่ชัดถึงปัญหาความเสี่ยง หรือภัยพิบัติ และยังไม่มีการ อัปเดตสถานการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อสะท้อนขั้นตอนการรับมือ และทรัพยากรเพื่อด�ำเนินการ ตามแผนและไม่ได้มีการ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการพัฒนาทดสอบ แผนและแนวทางปฏิบัติ ในการตั้งรับและป้องกัน ด้านการแพร่ระบาดของโรค - โครงการพัฒนาคู่มือปฏิบัติ เมื่อเกิดภัยพิบัติในสถาน ประกอบการ และแหล่ง ท่องเที่ยว - โครงการจัดตัง้ ศูนย์เตือนภัย พร้อมระบบการจัดการ วิกฤตและการสื่อสารอย่าง เป็นระบบ - โครงการต้นแบบ การจัดการ วิกฤตในแหล่งท่องเที่ยว และการแจ้งเตือนสถานะ ที่อัปเดตสถานการณ์ผ่าน ระบบ Web application เช่น ระดับน�้ำในแม่น�้ำ การวัดระดับน�้ำเค็ม การวัด คุณภาพอากาศ น�้ำบริโภค การแจ้งสภาวะไฟป่าใกล้ตัว ปริมาณอุบตั เิ หตุในพืน้ ทีแ่ ละ สาเหตุ สภาวะคลื่นลมใน ทะเล สถานะของป่าไม้และ สัตว์ป่าในพื้นที่ (หากเป็น สิ่งที่พื้นที่ควรมี) สถานะ คุณภาพน�้ำเพื่อการบริโภค และอัตราส่วนการน�ำไปใช้ จากการท่องเที่ยวและ คนพื้นที่

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบและ หลักฐานเชิงประจักษ์ในการ ท�ำแผนการลดความเสี่ยง การจัดการวิกฤตการณ์ และ แผนรับมือเหตุฉุกเฉิน ส�ำหรับ การท่องเทีย่ วในแหล่งท่องเทีย่ ว อันได้แก่ความเสี่ยงที่เกิดจาก ภัยธรรมชาติ โรคระบาด การเมือง ทรัพยากรที่ก�ำลัง จะหมดไป หรือวิกฤตอื่นๆ มีการอัปเดตสถาณการณ์ ทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ สะท้อนขัน้ ตอน การรับมือ และทรัพยากร เพื่อด�ำเนินการตามแผนและ มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง รวมถึงมีการระบุบทบาท หน้าที่ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ/หรือ การสื่อสารขั้นตอน การปฏิบัติตามแผนก่อน ระหว่าง หรือหลังเกิดเหตุ

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 2. อปท. 3. เครือข่าย 4. ส�ำนักงาน นโยบาย และแผน ทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่ง แวดล้อม 5. สาธารณสุข

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3. ร่วมพัฒนา 4-5. ร่วม วางแผน ด�ำเนินการ

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวนประสิทธิภาพ ของระบบการจัดการวิกฤต ในแหล่งท่องเที่ยว ที่สามารถเป็นในระดับ ต้นแบบได้หรือไม่ 2. ปรับปรุงคุณภาพของการใช้ งานระบบการจัดการวิกฤต ในแหล่งท่องเที่ยว แบบ Real time ทีส่ ามารถ อัปเดตสถานการณ์ได้ อย่างต่อเนื่องกว่า 3 ปี โดย สามารถสะท้อนขั้นตอน ก่อน ระหว่างและหลังเกิด เหตุการณ์ ถึงแนวทางการ ตั้งรับ เพื่อเป็นการเตรียม การในแต่ละช่วง 3. จัดท�ำแบบส�ำรวจความพึง พอใจของผู้ใช้งาน และ ประโยชน์ที่ได้น�ำข้อมูลไป ใช้ในงาน หรือตั้งรับในการ ใช้ชีวิตของคนในพื้นที่ 4. มีการจัดฝึกอบรมอย่างต่อ เนื่องในการให้ข้อมูลในการ ใช้งานระบบการจัดการ วิกฤตในแหล่ง ท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่มี ประสิทธิภาพจนเป็นต้นแบบ ในด้านการจัดการความเสี่ยง การจัดการวิกฤตการณ์ และ แผนรับมือเหตุฉุกเฉินส�ำหรับ การท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเที่ยวในระดับประเทศ/ สากล (อันได้แก่ความเสี่ยงที่ เกิดจากภัยธรรมชาติ โรค ระบาด การเมือง ทรัพยากร ที่ก�ำลังจะหมดไป หรือวิกฤต อื่นๆ) และมีการน�ำเทคโนโลยี เข้ามาใช้ในการอัปเดต สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อ สะท้อนขั้นตอนการรับมือ และทรัพยากรเพื่อด�ำเนินการ ตามแผนและมีการปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง 3 ปี มีการระบุ บทบาทหน้าที่ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และ/หรือ การ สื่อสารขั้นตอนการปฏิบัติ ตามแผนก่อน ระหว่าง หรือ หลังเกิดเหตุเพื่อให้ได้รับ ข้อมูลต่อผู้อาศัย เอกสาร และนักท่องเที่ยว รวมถึงมี การจัดฝึกอบรมเตรียมความ พร้อมและสร้างศักยภาพ ในการบริหารจัดการวิกฤต และความเสี่ยง

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. ประสานกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อขอแผน รับรองสถานการณ์ฉุกเฉิน ในแหล่งท่องเที่ยว 2. การประชุมปฏิบัติการเพื่อ ท�ำความเข้าใจถึงการจัดการ ในภาวะวิกฤต และผู้รับผิด ชอบหลักในแต่ละฝ่าย 3. จัดประชุมเพื่อบูรณาการ แผนบริหารความเสี่ยง และแนวทางการรับมือ ในกรณีที่เกิดวิกฤตต่างๆ ในพื้นที่

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการท�ำแผนการลดความ เสี่ยง การจัดการวิกฤตการณ์ และแผนรับมือเหตุฉุกเฉิน ส�ำหรับการท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


70 71

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA หลักฐานพื้นฐาน ตัวอย่างโครงการ - รายงานสถิติที่เกี่ยวข้องกับ - โครงการจัดเก็บข้อมูลด้าน ระดับจ�ำนวนนักท่องเที่ยว เศรษฐกิจและสังคมที่ การจ้างงาน การลงทุน สอดคล้องกับเกณฑ์การ และการกระจายตัวของ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก เศรษฐกิจในพื้นที่ (GSTC) - โปรแกรมในการเก็บข้อมูล - โครงการจัดท�ำระบบ ทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามา - แผนพัฒนาเศรษฐกิจ จัดการข้อมูลมาตรวัด ในแหล่งท่องเที่ยว ความส�ำเร็จด้านเศรษฐกิจ อย่างยั่งยืน และการ คาดการณ์แนวโน้มจาก ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อ แหล่งท่องเที่ยว - โครงการน�ำเสนอผล การวิเคราะห์ข้อมูลทาง เศรษฐกิจของพื้นที่ด�ำเนิน การ ให้แก่หน่วยงาน ภาครัฐ และเอกชน เพื่อ น�ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเทีย่ วมีการบูรณาการ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการข้อมูลมาตรวัด ความส�ำเร็จด้านเศรษฐกิจ อย่างยั่งยืน มีการคาดการณ์ แนวโน้มล่วงหน้า ค�ำนึงถึง ปัจจัยความเสีย่ งทีส่ ง่ ผลกระทบ ต่อการจัดการการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน มีการตรวจสอบ วางแผนเพื่อให้ระบบมีความ ทันสมัย สามารถตรวจสอบ ที่มาของข้อมูลได้ ตอบสนอง ความต้องการของผู้ใช้งาน เช่นภาคธุรกิจ เครือข่าย เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 2. อปท. 3. เครือข่าย 4. ทกจ. 5. กรม แรงงาน

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3. ร่วมพัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - มีการทบทวนตรวจสอบ การจัดท�ำระบบเทคโนโลยี สารสนเทศในการจัดเก็บ ข้อมูลมาตรวัดความส�ำเร็จ ต่อเนื่องในระยะ 3 ปี - จัดการองค์ความรู้ในการ น�ำข้อมูลมาน�ำเสนอให้กับ สาธารณชนได้รับทราบ ผ่านการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพตรงกลุ่ม เป้าหมาย - เก็บรวมรวมผลการน�ำข้อมูล ไปใช้ประโยชน์พร้อมตั้ง เป้าหมายตอบสนอง ประสิทธิภาพของข้อมูล

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเทีย่ วมีการบูรณาการ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาพ เป็นต้นแบบ ในระดับประเทศ/ทัดเทียม สากล ตอบสนองการวัดผล ส�ำเร็จทางเศรษฐกิจ และ ได้น�ำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ ในการพัฒนาการท่องเที่ยว/ พัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 3 ปี

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. ประสานขอข้อมูลเกี่ยวกับ สถิติจ�ำนวนนักท่องเที่ยว ข้อมูลการใช้จ่ายของ นักท่องเที่ยว ข้อมูลอัตรา การจ้างงาน และข้อมูล การลงทุนกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 2. รวบรวมข้อมูลทีป่ ระสานกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อ จัดท�ำแนวทางการพัฒนา น�ำเสนอคณะกรรมการฯ ในการประชุม 3. จัดท�ำรายงานผลการจัดเก็บ ข้อมูลการวัดผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจจากการ ท่องเที่ยว 4. จัดท�ำโปรแกรมในการเก็บ ข้อมูลทางเศรษฐกิจ 5. จัดท�ำแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ในแหล่งท่องเที่ยวและ การคาดการณ์

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการวัดผลประโยชน์ทาง ในการวัดผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจจากการท่องเที่ยว เศรษฐกิจจากการท่องเที่ยว อาทิ รายงานประจ�ำปี/สถิติ/ การวัดผลของ งานวิจัยที่มีการวัดระดับ ผลประโยชน์ จ�ำนวนนักท่องเที่ยว การใช้ ทางเศรษฐกิจ จ่ายของนักท่องเที่ยว การ จากการ จ้างงาน การลงทุน และ ท่องเที่ยว หลักฐานอื่นๆ ที่แสดงถึง (Measuring กระจายตัวของผลประโยชน์ the ทางเศรษฐกิจในแหล่ง economic ท่องเที่ยว หรือ การวัดผล contribuกระทบด้านเศรษฐกิจรวมถึง tion of มีโปรแกรมการเก็บข้อมูล tourism) ทางเศรษฐกิจ

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

B1

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

ด้าน B ความยั่งยืนด้านสังคม-เศรษฐกิจ (Socio - economic sustainability)

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


72 73

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

งานที่ดี และโอกาส ทางอาชีพ (Decent work and career opportunities)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

B2

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - พรบ. คุ้มครองแรงงาน - พรบ. แรงงานต่างด้าว - หลักฐานขออนุมัติจัดตั้ง กลุ่มอาชีพ - แผนการส่งเสริมอาชีพ พัฒนา ทักษะและฝีมือแรงงาน - แผนยุทธศาสตร์พัฒนา อาชีพในพื้นที่ - แผนการจัดท�ำระบบตรวจ สอบคุณภาพชีวิตและ สภาพแวดล้อม การท�ำงาน - หลักฐานด้านมาตรการ นโยบาย ข้อสัญญา เกี่ยวกับการปฏิบัติและให้ โอกาสในการจ้างงานที่เท่า เทียม

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการส่งเสริมสนับสนุน โอกาสในการท�ำงานและ การฝึกอบรมด้านการท่องเทีย่ ว ร่วมกับผูป้ ระกอบการทีช่ ดั เจน เช่น มีนโยบาย หรือแผน ในการจัดอบรมเพือ่ เพิม่ ทักษะ และสร้างโอกาสในการจ้างงาน มีมาตรการในการจ้างงาน คนพื้นที่ รวมถึงให้ความ ส�ำคัญกับ ผู้หญิง เยาวชน กลุ่มชาติพันธุ์ และคนพิการ ให้ได้งานท�ำที่ดี

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ มีแผนการด�ำเนินงานเป็นขั้น เป็นตอนเพื่อพัฒนาทักษะ ฝีมือแรงงาน อาทิ - โครงการฝึกอาชีพการนวด แผนไทย แพทย์แผนไทย (ขอความร่วมมือจากกรม แพทย์แผนไทยมาสอน) - โครงการการประกอบ อาชีพท�ำอาหาร (ขอความ ร่วมมือจากกรมพัฒนา ฝีมือแรงงาน) - โครงการฝึกอบรมหรือ พัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน - โครงการยกระดับมาตรฐาน การท�ำงานของแรงงาน ต่างด้าว - โครงการจัดเก็บสถิติการ พัฒนาศักยภาพแรงงาน ที่ได้ผ่านการอบรม - โครงการจัดเก็บสถิติข้อมูล แรงงานและแรงงาน ต่างด้าวในสถานประกอบ การเพือ่ น�ำไปสูก่ ารจ้างงาน ที่ถูกกฎหมาย

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการ ส่งเสริมสนับสนุนโอกาสใน การท�ำงาน โดยมีการวางแผน การจัดตั้งกลุ่มอาชีพ และ การบูรณาการขับเคลื่อน ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับผู้ประกอบการในการ ตรวจสอบผลการด�ำเนินการ อย่างต่อเนื่อง ตามกลุ่ม เป้าหมาย ในการมุ่งเน้นให้ คนในท้องถิ่นมีงานที่ดี และ โอกาสทางอาชีพ รวมถึง การเก็บสถิติผลสัมฤทธิ์จาก การจัดอบรมด้านการพัฒนา ทักษะในการท�ำงานและ มีช่องทางในการตรวจสอบ สภาพการท�ำงานและรับฟัง ความเห็นของลูกจ้าง

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรมพัฒนา ด�ำเนินการ ฝีมือ และ แรงงาน บูรณาการ 5. กระทรวง เครือข่าย พัฒนา 3-5. ร่วม สังคม พัฒนา และความ มั่นคงของ มนุษย์

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - ทบทวนแผนและกิจกรรม ส่งเสริมอาชีพเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพต่อเนื่องเป็น แผนระยะยาว - มีการจัดตัง้ สหภาพแรงงาน คุ้มครองแรงงานเด็ก เยาวชน แรงงานหญิง ผู้สูงอายุ คนต่างด้าวตาม กฎของ International Labour Organisation (ILO) convention - มีการตรวจสอบผลของ การจัดอบรมสร้างอาชีพ ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย โดยมี การติดตามผลประเมิน ความก้าวหน้าในอาชีพ การงานที่ได้ฝึกอบรมไป อย่างน้อย 3 ปี

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบหรือ กลไกในการส่งเสริมสนับสนุน โอกาสในการท�ำงานอย่างมี ประสิทธิภาพต่อเนื่อง 3 ปี โดยได้รับการยอมรับในการ เป็นต้นแบบของการเพิ่ม ทักษะ ส่งเสริมโอกาสแก่คน ในพืน้ ที่ จัดตัง้ สหภาพแรงงาน ของพื้นที่และส่งเสริม ศักยภาพการท�ำงานอย่าง มีความสุข และเท่าเทียม ของคนในพื้นที่อาทิ ผู้หญิง เยาวชน กลุ่มชาติพันธุ์และ คนพิการให้ประกอบอาชีพ ด้วยความภาคภูมิใจ

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเพื่อรับฟังข้อคิด เห็นเกี่ยวกับความเสี่ยง ในด้านการประกอบอาชีพ ของคนในพื้นที่ และ แรงงานต่างด้าว 2. จัดท�ำแผนงานเตรียม ความพร้อมเพื่อยกระดับ แรงงาน 3. รวบรวมหลักฐานทีเ่ กีย่ วข้อง เกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพ ด้านการท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการส่งเสริมสนับสนุน โอกาสในการท�ำงานและการ ฝึกอบรมด้านการท่องเที่ยว และมีปัญหาด้านแรงงาน ต่างด้าว ในประเด็นความเป็น ธรรม จ�ำนวนแรงงานต่างด้าว ที่ส่งผลต่อโอกาสการท�ำงาน ของคนพื้นที่ เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


74 75

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - มีหลักฐานการออกนโยบาย เพื่อสนับสนุนสินค้าใน ชุมชน - แผนงานในการพัฒนา ผู้ประกอบการในพื้นที่ - สถิติ หรือข้อมูลเกี่ยวกับ รายได้ของผู้ประกอบการ จากการจ�ำหน่ายสินค้า ในแหล่งท่องเที่ยว - การศึกษาความเชื่อมโยง ของรายได้ในท้องถิ่น

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการสนับสนุนให้มีรายได้ หมุนเวียนในท้องถิ่น เช่น นโยบาย แนวทาง ข้อตกลง ในการจัดซื้อจัดจ้าง ในการใช้ สินค้าท้องถิ่นในพื้นที่จาก ภาครัฐ และเอกชน เพื่อ สนับสนุนเครือข่ายผู้ประกอบ การท้องถิ่น อาทิเกษตรกร ศิลปิน และผู้ผลิตอาหาร ท้องถิ่น ในการเข้าสู่ห่วงโซ่ อุปทานของการท่องเที่ยว อย่างเป็นธรรม

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - มีแผนงานต่อเนื่องเพื่อ สนับสนุนผู้ประกอบการ ในพื้นที่ - โครงการส่งเสริมทักษะ การน�ำผู้รู้มาแนะน�ำ สอน วิชาชีพและอื่นๆ ให้กับ ผู้ประกอบการในชุมชน เพื่อน�ำมาใช้ในการผลิต และพัฒนาต่อยอด - โครงการจัดซื้อจัดจ้าง สินค้าในชุมชน (อาทิ การจัด Fair ต่างๆ โดยใช้ สินค้าในชุมชน และเปิด โอกาสให้ผู้ประกอบการใน ชุมชนมาร่วมงาน Fair ด้วย - โครงการพัฒนาสินค้าชุมชน ด้วยภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ - โครงการมหกรรมสินค้า จากชุมชน - โครงการจัดอบรมให้ความรู้ ด้านธุรกิจ Fairtrade และ การได้ตรารับรองมาตรฐาน - โครงการพัฒนาตรา มาตรฐานสินค้าท้องถิ่น (Local made) เพื่อ เป็นการรับรองการ สนับสนุนท้องถิ่นเชิง สัญลักษณ์

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ สนับสนุนให้มรี ายได้หมุนเวียน ในท้องถิ่น รวมถึงแผน นโยบายและการด�ำเนินการ ในการสนับสนุนและช่วยเหลือ พัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจ ท่องเที่ยวท้องถิ่นให้ซื้อสินค้า และบริการในท้องถิ่นอย่าง ต่อเนื่อง และเป็นธรรม สะท้อนอัตลักษณ์ของตน

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรมพัฒนา ด�ำเนินการ ฝีมือ และ แรงงาน บูรณาการ 5. กระทรวง เครือข่าย พัฒนา 3-7. ร่วม สังคม พัฒนา และความ มั่นคงของ มนุษย์ 6. กระทรวง ต่างประเทศ 7. กรม ส่งเสริม การเกษตร และสหกรณ์ 8. ภาค วิชาการ

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. มีการเก็บข้อมูลทางสถิติ อย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับ รายได้ของพื้นที่จากการ ท่องเที่ยว 2. ก้าวสู่ความพร้อมในการ ศึกษาแนวทางการส่ง สินค้า/บริการที่สะท้อน อัตลักษณ์ของท้องถิ่นเข้าสู่ เวทีรางวัล PATA award / Fairtrade award

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบและ กลไกที่มีประสิทธิภาพในการ สนับสนุนที่ได้สร้างความ มั่นคงในเศรษฐกิจหมุนเวียน ของท้องถิ่นทั้งห่วงโซ่อุปทาน และการลงทุน การท�ำธุรกิจ อย่างยั่งยืน โดยมีการเติบโต ร้อยละ 3 ของรายได้จาก ผู้ประกอบการในเครือข่าย ด้านการท่องเที่ยวในช่วง 3 ปี ต่อเนื่อง และ/หรือการได้รับ รางวัลสินค้าและบริการที่ สะท้อน อัตลักษณ์ของ ท้องถิ่นในระดับสากล เช่น PATA award / Fairtrade award เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเพื่อรับฟัง ข้อคิดเห็น 2. จัดท�ำแผนงานหรือโครงการ เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการ ในพื้นที่ 3. วิเคราะห์แนวทางการ จัดเก็บสถิติ หรือข้อมูล เกี่ยวกับรายได้ของท้องถิ่น

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการสนับสนุนผู้ประกอบ การท้องถิ่นและการค้าที่ไม่ เป็นธรรม/ไม่เคยพิจารณา การสนับสนุน ในการสนับสนุนกลไกรายได้ ผู้ประกอบ หมุนเวียนในท้องถิ่น การท้องถิ่น และการค้า ที่เป็นธรรม (Supporting local entrepreneurs and fair trade)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

B3

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


76 77

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนงานในการสนับสนุน พัฒนาชุมชนด้านการ ท่องเที่ยว - แผนยุทธศาสตร์ นโยบาย ที่เป็นการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุนชุมชนโดยเฉพาะ ด้านการท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืน - กฎระเบียบที่เอื้อต่อ การสนับสนุนชุมชน เช่น การจ้างงานคนในพื้นที่ การใช้สินค้าและบริการ คนในพื้นที่ของหน่วยงาน ภาครัฐ และเอกชน

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการสนับสนุนชุมชนอย่าง เป็นรูปธรรม เช่น มีการออก นโยบาย กฎระเบียบ หรือ แผนงานในการพัฒนา สนับสนุนชุมชนในการจัด กิจกรรมด้านความยั่งยืน อย่างรับผิดชอบ /หรือมีการ วางแผนนโยบายในการ ท�ำงานร่วมกับภาคธุรกิจ ในการสนับสนุนกิจกรรมเพื่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวในชุมชน - โครงการพัฒนาสินค้า ชุมชนในแหล่งท่องเที่ยว ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น - โครงการพัฒนาภูมิปัญญา ชุมชนในแหล่งท่องเที่ยว โดยปราชญ์ชาวบ้าน - โครงการส่งเสริมและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการ ท่องเที่ยวเพื่อยกระดับ เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน (ของฝาก/ของที่ระลึก) - โครงการออกแบบธุรกิจ (value chain) เช่น งาน craft อาหาร การขนส่ง เดินทาง โรงแรม และอื่นๆ เข้ามาเกื้อกูลกับประเด็น ธุรกิจการท่องเทีย่ วในชุมชน เกิด mutual benefit สามารถสร้างผลประโยชน์ ร่วมได้

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการ สนับสนุนชุมชน เปิดโอกาส ให้ผปู้ ระกอบการ นักท่องเทีย่ ว และสาธารณชน ร่วมกันสร้าง ประโยชน์ให้แหล่งท่องเที่ยว มีจัดโครงการที่แสดงให้เห็น ถึงการสนับสนุนชุมชนอย่าง ต่อเนื่อง และมีเป้าหมายใน การสนับสนุนชุมชนที่ชัดเจน ร่วมกันกับภาคธุรกิจ และ ภาคีเครือข่าย

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรมพัฒนา ด�ำเนินการ ฝีมือ และ แรงงาน บูรณาการ 5. กระทรวง เครือข่าย พัฒนา 3-8. ร่วม สังคม พัฒนา และความ มั่นคงของ มนุษย์ 6. กระทรวง พาณิชย์ 7. กรม ส่งเสริม การเกษตร และ สหกรณ์ 8. ภาค วิชาการ

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - ทบทวนระบบในการ สนับสนุนชุมชน ถึง ประสิทธิภาพที่เป็นอยู่ และพัฒนาแก้ไขอย่าง ต่อเนื่อง - จัดหาช่องทางออนไลน์ และออฟไลน์เพือ่ ตรวจสอบ ความต้องการของคน ในพื้นที่ในการได้รับการ สนับสนุน - พัฒนาก้าวสู่การเป็นชุมชน ต้นแบบ - ก้าวสูก่ ารได้รบั รางวัลพัฒนา นวัตกรรม ได้สิทธิบัตร จากการผลิตนวัตกรรม หรือได้ทรัพย์สินทาง ปัญญา

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่มี ประสิทธิภาพในการสนับสนุน ชุมชน ทั้งในรูปแบบออนไลน์ และออฟไลน์ ตรวจสอบ ความต้องการในการเปิด โอกาสและสนับสนุนกิจกรรม ริเริ่ม สร้างสรรค์ และส่งเสริม ด้านความยั่งยืนของท้องถิ่น จนได้รับรางวัลในระดับ ประเทศ/ระดับสากล ในด้าน การท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ และ/หรือ การสนับสนุน ชุมชนด้านนวัตกรรม หรือ กิจกรรมริเริ่มด้านความยั่งยืน ของท้องถิ่น

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเพื่อรับฟัง ข้อคิดเห็น 2. จัดท�ำแผนงานหรือ โครงการพัฒนา ผู้ประกอบการในพื้นที่ ให้เชื่อมโยงกับธุรกิจ การท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการสนับสนุนชุมชนอย่าง เป็นรูปธรรม ไม่เปิดโอกาสให้ ชุมชนได้แสดงออก ถูกเอารัด การสนับสนุน เอาเปรียบจากบุคคล/องค์กร ชุมชน ในการเข้ามาหาผลประโยชน์ (Support ในพื้นที่ for community)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

B4

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


78 79

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การป้องกัน การแสวงหา ผลประโยชน์ โดยมิชอบ และการเลือก ปฏิบัติ (Preventing exploitation and discrimination)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

B5

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - มีแนวทางเฝ้าระวัง การกระท�ำผิดกฎหมาย ในเรื่องแรงงาน ละเมิด สิทธิมนุษยชน - แผนงาน นโยบาย และ การบังคับใช้ข้อก�ำหนด ต่างๆ ที่เป็นการคุ้มครอง สิทธิมนุษยชน และป้องกัน การแสวงหาผลประโยชน์ อันเป็นการล่วงละเมิด บุคคลอื่น - แผนในการจัดท�ำระบบ การสื่อสารและการให้ ข้อมูลเกีย่ วกับสิทธิมนุษยชน - แผนการวิเคราะห์ความ เสี่ยงจากการละเมิดสิทธิ มนุษยชน การป้องกันและ ปราบปรามการค้ามนุษย์

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการป้องกันการแสวงหา ผลประโยชน์โดยมิชอบและ การเลือกปฏิบัติ เช่น มาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชน ในระดับนานาชาติ กฎหมาย ข้อปฏิบัติ และแนวทาง ในการปฏิบัติในการป้องกัน และรายงานถึงปัญหาด้าน การค้ามนุษย์ การใช้แรงงาน ผิดกฎหมาย และการค้า ประเวณีหรืออืน่ ๆ

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการจัดท�ำระบบ การป้องกันการแสวงหา ผลประโยชน์โดยมิชอบ ที่มีช่องทางในการสือ่ สาร เรือ่ งสิทธิมนุษยชนและ การแจ้งเบาะแสของการ กระท�ำมิชอบ - โครงการให้ความรู้เกี่ยวกับ แรงงานผิดกฎหมาย สิทธิ มนุษยชน แก่ประชาชน ทั่วไป - โครงการส่งเสริมการสร้าง อาชีพส�ำหรับเยาวชน สตรี และคนต่างด้าว เพือ่ ป้องกัน การเข้าสู่ธุรกิจสีเทา - โครงการอบรมเพิ่ม ศักยภาพคณะกรรมการ กลุ่มสตรีและให้ความรู้ สิทธิและกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับสตรีและ ครอบครัว - กิจกรรม “ดินแดนน่าอยู่ เรียนรู้สิทธิมนุษยชน” เพื่อ สร้างความรู้ให้แก่เด็กใน ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การป้องกันการแสวงหา ผลประโยชน์โดยมิชอบและ การเลือกปฏิบัติ ที่มีการ วางแผน วิเคราะห์ความเสี่ยง มีการด�ำเนินงานอย่างต่อเนือ่ ง ปรับปรุง ทบทวน มีโครงการ และกิจกรรมที่เป็นช่องทาง ในการสื่อสารเรื่องสิทธิ มนุษยชน และช่องทางในการ แจ้งเบาะแสของการกระท�ำ มิชอบ พร้อมลงนามเกี่ยวกับ จรรยาบรรณในการปกป้อง เด็กจากการล่วงละเมิด ทางเพศในภาคการเดินทาง และการท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรมพัฒนา ด�ำเนินการ ฝีมือ และ แรงงาน บูรณาการ 5. ส�ำนักงาน เครือข่าย สิทธิ 3-7. ร่วม มนุษยชน พัฒนา 6. กระทรวง พัฒนา สังคมและ ความมั่นคง ของมนุษย์ 7. ภาค วิชาการ

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - มีแผนงานต่อเนื่องกว่า 3 ปี ในการด�ำเนินการตาม กฎหมายสิทธิมนุษยชน และตรวจเช็คความ ก้าวหน้าในเรื่องเป้าหมาย ในการลดปัญหาด้านนี้ ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง - ตรวจสอบระบบ การป้องกันการแสวงหา ผลประโยชน์โดยมิชอบ - จัดกิจกรรมในการให้พื้นที่ การแสดงออกแก่เด็ก วัยรุ่น กลุ่มเพศทางเลือก กลุ่มชาติพันธุ์ต่อเนื่อง ในระยะ 3 ปี และมีการ สื่อสารสร้างความเชื่อมั่น เรื่องสิทธิความเท่าเทียม ในกลุ่มนี้อย่างต่อเนื่อง - ศึกษากรอบการได้รับ รางวัลด้านสิทธิมนุษยชน ระดับชาติ และการได้รับ รางวัลองค์กรต้นแบบด้าน สิทธิมนุษยชนจาก UNGC หรือ Human rights awards เพื่อเตรียม รายละเอียด ในกรณีที่ สามารถส่งได้

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการ ป้องกันที่มีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบสถานะ การท�ำงานของพื้นที่ในเรื่องนี้ และมีเป้าหมายชัดเจนในการ ลดจ�ำนวนปัญหาด้านสิทธิ มนุษยชน และความ เหลื่อมล�้ำในสังคม พร้อมการ จัดกิจกรรมในการให้พื้นที่ การแสดงออกแก่ เด็ก วัยรุ่น กลุ่มเพศทางเลือก กลุ่ม ชาติพันธุ์ต่อเนื่องในระยะ 3 ปี

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเพื่อรับฟัง ข้อคิดเห็น 2. จัดท�ำแผนงานหรือ โครงการสร้างความรู้ความ เข้าใจให้กับผู้ประกอบการ ในพื้นที่เรื่องสิทธิมนุษยชน การใช้แรงงานอย่าง ผิดกฏหมาย

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการป้องกันการแสวงหา ผลประโยชน์โดยมิชอบและ การเลือกปฏิบัติ รวมถึง มีปัญหาในการค้ามนุษย์ การใช้แรงงานผิดกฎหมาย แรงงานเด็ก การค้าประเวณี เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


80 81

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

กรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สิน และสิทธิ ทาง กฎหมาย (Property and user rights)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

B6

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - หลักฐานในการบังคับใช้ กฎหมาย ระเบียบ ข้อ บังคับที่ดูแลเกี่ยวกับ กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน และสิทธิในการครอบครอง - แผนในการจัดท�ำระบบ การสื่อสารกับคนในพื้นที่ เกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สินพร้อมการท�ำฐาน ข้อมูลทรัพยากรต่างๆ - คู่มือกระบวนการจัดท�ำ ฐานข้อมูลทรัพยากรและ การใช้ประโยชน์ทรัพยากร ด้านการท่องเที่ยวในระดับ ท้องถิ่น

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการใช้กฎหมาย ข้อบังคับ เกี่ยวกับกรรมสิทธิ์และสิทธิ ในการครอบครองรวมถึงสิทธิ ในการเข้าถึงทรัพยากรต่างๆ กฎหมายและข้อบังคับเคารพ สิทธิชุมชนและชนพื้นเมือง และกฎหมายข้อบังคับ ปกป้องสิทธิทางกฎหมาย และสิทธิในการเข้าถึง ทรัพยากรที่ส�ำคัญ

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการจัดท�ำระบบฐาน ข้อมูลทรัพยากรและการ ใช้ประโยชน์ทรัพยากร ด้านการท่องเที่ยวรวมถึงมี ช่องทางการสื่อสารในการ ปกป้องกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สนิ และสิทธิในครอบครอง - โครงการให้ความรู้แก่ ประชาชนเกี่ยวกับ กรรมสิทธิในทรัพย์สิน กฎหมาย ระเบียบกฏเกณฑ์ ในทรัพย์สินทางปัญญา และสิทธิทางกฎหมาย - โครงการเผยแพร่ความรู้ เกี่ยวกับกรรมสิทธิใน ทรัพย์สิน เช่น คู่มือ ป้าย ที่เกี่ยวกับการให้ความรู้แก่ ประชาชนในเรื่องกฏหมาย ชุมชนโครงการ - โครงการส่งเสริมสิทธิ ของกลุ่มชาติพันธุ์กับการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน - โครงการศึกษาสิทธิชุมชน กับการจัดการของกลุ่ม ชาติพันธุ์

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการปกป้องกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สินและสิทธิ ในการครอบครอง มีการจัด ตั้งกลุ่มเพื่อเคารพสิทธิมนุษย์ ด้านการท่องเที่ยว รวมถึงมี โครงการในเรื่อง สิทธิชุมชน และชนพื้นเมือง และมีการหารือเพื่อรับฟัง ความคิดเห็นอย่างต่อเนื่อง ในกรณีมีการย้ายที่อยู่ที่เกิด จากการท่องเที่ยว ทาง หน่วยงานรับผิดชอบจะมีการ รับฟังความคิดเห็นผู้อยู่ อาศัย และน�ำเสนอแนวทาง การย้ายพื้นที่และตั้งถิ่นฐาน ใหม่ ล่วงหน้าและ จะต้องมีการชดเชยอย่างเป็น ธรรมเพื่อเคารพสิทธิชุมชน

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรม ด�ำเนินการ ทรัพย์สิน และ ทางปัญญา บูรณาการ 5. ส�ำนักงาน เครือข่าย สิทธิ 3-8. ร่วม มนุษยชน พัฒนา 6. กระทรวง พัฒนา สังคมและ ความมั่นคง ของมนุษย์ 7. กระทรวง ยุติธรรม 8. ภาค วิชาการ

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ตรวจสอบระบบช่องทาง การสื่อสารในการปกป้อง กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและ สิทธิครอบครองให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น 2. ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลต่อยอดจาก โครงการต่างๆ และมีการ สื่อสารให้ชุมชนรับทราบ อย่างสม�่ำเสมอ ต่อเนื่อง 3 ปีขึ้นไป 3. ท�ำการศึกษาการเป็นต้น แบบในระดับสากล จาก ผู้ที่ได้รางวัล TO DO AWARD HUMAN RIGHT IN TOURISM ในงาน ITB เพื่อประเมินความเป็นไป ได้ในการส่งเข้าประกวด ในรางวัลนี้

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบกลไก ในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ ในการพัฒนาการท่องเที่ยว และกิจกรรมการท่องเที่ยว อย่างเคารพสิทธิชุมชนและ ชนพื้นเมือง และมีการสื่อสาร ให้ชุมชนรับทราบอย่าง สม�่ำเสมอ ต่อเนื่อง 3 ปีขึ้นไป และ/หรือ ได้รับการยอมรับ ในด้าน การเคารพสิทธิชุมชน ในระดับสากล เช่น จาก รางวัล TO DO AWARD HUMAN RIGHT IN TOURISM ในงาน ITB เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเพื่อรับฟังข้อคิด เห็น และขอค�ำปรึกษาจาก หน่วยงานที่รับผิดชอบ โดยตรง 2. จัดท�ำแผนงานหรือ โครงการที่จะสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องกรรมสิทธิ ในทรัพย์สินแก่ประชาชน และผู้ประกอบการ 3. จัดท�ำคู่มือให้ความรู้เกี่ยว กับกฏหมายกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สินและสิทธิในการ ครอบครอง 4. จัดท�ำแผนในการท�ำระบบ ฐานข้อมูลทรัพยากรและ การใช้ประโยชน์ทรัพยากร ด้านการท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการใช้กฎหมายและ ข้อบังคับเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ และสิทธิในการครอบครอง รวมถึงสิทธิในการเข้าถึง ทรัพยากรต่างๆ

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


82 83

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

สวัสดิภาพ และความ ปลอดภัย (Safety and security)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

B7

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนหรือนโยบายด้านการ รักษาความปลอดภัย ในแหล่งท่องเที่ยว - แผนงานที่ดูแลสวัสดิภาพ และความปลอดภัยแก่ นักท่องเที่ยว - หลักฐานการเตรียมการ ศึกษาในการจัดท�ำระบบ เฝ้าสังเกตการณ์ ป้องกัน และตอบสนองต่อประเด็น ด้านอาชญากรรม ความ ปลอดภัย และอันตราย ต่อสุขภาพ - รายงานการศึกษาเพื่อ ก�ำหนดและจัดการด้าน สวัสดิภาพและความ ปลอดภัยตามความ ต้องการของนักท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการวางแผนและนโยบาย ในการบริการด้านความ ปลอดภัยและสุขภาพ มี กฎหมาย มาตรฐาน หรือ ข้อปฏิบัติในด้านความ ปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยว ทั้งด้านความปลอดภัยใน ทรัพย์สิน อาชญากรรม ด้านสุขภาพ สุขอนามัย

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการรณรงค์เพื่อสร้าง ความตระหนักและการ รับรู้เรื่องความปลอดภัย - โครงการเตรียมความพร้อม ของแหล่งท่องเที่ยวเรื่อง ความปลอดภัย (อัคคีภัย สุขาภิบาลผู้ประกอบการ จ�ำหน่ายสินค้าและบริการ ผู้ให้บริการขนส่ง) - โครงการพัฒนาคู่มือ การรักษาความปลอดภัย ในแหล่งท่องเที่ยว - โครงการพัฒนาบุคลากร ที่ดูแลเรื่องสวัสดิภาพและ ความปลอดภัยในชุมชน - โครงการพัฒนามาตรฐาน ระบบการจัดการด้านความ ปลอดภัยในแหล่งท่องเทีย่ ว และชุมชนให้ได้มาตรฐาน สากล - โครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศเพื่อเฝ้า สังเกตการณ์ป้องกันเหตุ ดูแลรักษาความปลอดภัย แก่นักท่องเที่ยวและความ เชื่อมั่นทางการท่องเที่ยว (กล้อง CCTV, ประชาสัมพันธ์ สร้างภาพลักษณ์, จุด ปฐมพยาบาลในแหล่ง ท่องเที่ยว, สายด่วน)

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการ เฝ้าสังเกตการณ์ ป้องกันและ ตอบสนองต่อประเด็นด้าน อาชญากรรม ความปลอดภัย และอันตรายต่อสุขภาพ รวม ถึงการเตรียมความพร้อมและ จัดท�ำโครงการด้านความ ปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ เกี่ยวกับโรคอุบัติใหม่ และ วิธีการป้องกันตามมาตรฐาน สากลอย่างต่อเนื่อง เพื่อ ทดสอบ ควบคุมระบบในการ ให้บริการ

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. ส�ำนักงาน ด�ำเนินการ ต�ำรวจ และ แห่งชาติ บูรณาการ 5. ต�ำรวจ เครือข่าย ท่องเที่ยว 3-8. ร่วม 6. กรม พัฒนา สวัสดิภาพ และ คุ้มครอง แรงงาน 7. กรมอุทยาน แห่งชาติ

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - ทบทวนระบบเฝ้า สังเกตการณ์ ในด้าน สวัสดิภาพและความ ปลอดภัยของชุมชนและ นักท่องเที่ยว มีการ ปรับปรุงเพิม่ ประสิทธิภาพ อย่างต่อเนื่อง 3 ปี - ตรวจสอบความพึงพอใจ ของชุมชนและนักท่องเทีย่ ว ในด้านสวัสดิภาพและ ความปลอดภัย - ตรวจเช็คเป้าหมายที่ ลดลงของการเกิดอุบัติเหตุ อุบัติภัยในพื้นที่ และ แนวทางการป้องกัน ก้าวสู่มาตรฐานสากล - พัฒนาให้เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวที่ได้รับการ ยกย่องในด้านสวัสดิภาพ และความปลอดภัย ช่วยยกระดับภาพลักษณ์ ของไทย ให้ดีขึ้น จาก หน่วยงานที่ดูแลเรื่องความ ปลอดภัยของประเทศ

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการ เฝ้าสังเกตการณ์ป้องกันและ ตอบสนองที่มีประสิทธิภาพ ในระดับมาตรฐานสากล ได้รบั การยอมรับจากหน่วยงาน/ องค์กรด้านมาตรฐานการ ท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน และ/ หรือ เป็นแหล่งท่องเที่ยว ที่วางเป้าหมายเพื่อยกระดับ ภาพลักษณ์และประสิทธิภาพ ในด้านสวัสดิภาพและความ ปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยว ของประเทศในระยะ 3 ปี

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเพื่อรับฟังข้อคิด เห็นในเรื่องความเสี่ยง ด้านสวัสดิภาพและความ ปลอดภัยในพื้นที่ 2. ขอค�ำปรึกษาหน่วยงาน ที่ดูแลเรื่องสวัสดิภาพและ ความปลอดภัยในพื้นที่ 3. จัดท�ำแผนงานบูรณการ หรือโครงการที่จะสร้าง ความรู้ความเข้าใจเรื่อง สวัสดิภาพและความ ปลอดภัย 4. จัดเตรียมท�ำการศึกษา ในการจัดท�ำระบบ เฝ้าสังเกตการณ์ ในด้าน สวัสดิภาพและความ ปลอดภัยของชุมชนและ นักท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการบริการด้านความ ปลอดภัยและสุขภาพ จนเป็น เหตุให้เกิดความเสี่ยง ต่อ อุบัติเหตุและอาชญากรรม อยู่บ่อยครั้ง

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


84 85

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ การเข้าถึง การ ท่องเที่ยว ส�ำหรับคน ทั้งมวล (Access for all)

B8

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนพัฒนาการท่องเที่ยว เพื่อคนทั้งมวลต้นแบบ - นโยบายการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล ที่ค�ำนึงถึงการออกแบบ อารยสถาปัตย์ การให้ บริการและอ�ำนวยความ สะดวกแก่นักท่องเที่ยว เพื่อคนทั้งมวล - หลักฐานหรือแผนงาน ด้านการสื่อสารที่แสดงราย ละเอียดข้อมูลด้านการ บริการและการอ�ำนวย ความสะดวกต่อผู้ต้องการ ความช่วยเหลือเป็นพิเศษ

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการวางแผน ก�ำหนด นโยบาย ออกกฎระเบียบ ที่เกี่ยวกับการบริการและ การอ�ำนวยความสะดวกแก่ คนทั้งมวล มีการให้ข้อมูลแก่ นักท่องเที่ยวผ่านสื่อออนไลน์ และออฟไลน์ที่ตอบสนอง ความต้องพิเศษ เช่น ผู้พิการ ทางสายตา ทางหู และ ทางการเคลือ่ นไหว

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวให้อ�ำนวยความ สะดวกแก่นักท่องเที่ยว กลุ่มเป้าหมาย - โครงการศึกษาและพัฒนา ศักยภาพพื้นที่และการ ปรับปรุงสถานที่รองรับ การท่องเทีย่ วเพือ่ คนทัง้ มวล - โครงการจัดท�ำ Web application เพื่อ ประชาสัมพันธ์แหล่ง ท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล จากการศึกษา Customer Journey map 2 ภาษา - โครงการอบรมเชิงปฏิบัติ การเรื่องมาตรฐานการ ออกแบบด้านอารยสถาปัตย์ และการให้บริการแก่ นักท่องเที่ยวเป้าหมาย - โครงการจัดท�ำเส้นทาง ท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล และการเพิ่มจ�ำนวน ผู้สนใจในการท�ำธุรกิจ ท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล - โครงการยกระดับการ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อ คนทั้งมวลในระดับ มาตรฐานสากล

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการ วางแผน ส่งเสริมด�ำเนินการ จัดการแบบบูรณาการ ช่วยเหลือในการเข้าถึงเป็น พิเศษแก่คนทั้งมวล ตั้งแต่ ก่อน ระหว่าง และหลัง เดินทาง รวมถึงมีเส้นทาง ท่องเที่ยวตามกลุ่มเป้าหมาย ของการท่องเที่ยวเพื่อคน ทั้งมวล โดยมีการสร้างการมี ส่วนร่วมจากภาคีเครือข่าย ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง ในการส่งเสริมการบริการ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่ ออกแบบและการแก้ไขปัญหา ต่างๆ ในเรื่องการเข้าถึง อีกทั้งยังคงความกลมกลืน ของสถานที่นั้นๆ ได้ดี

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. สมาคม ด�ำเนินการ ผู้พิการ และ แห่ง บูรณาการ ประเทศ เครือข่าย ไทย 3-6. ร่วม 5. สมาคม พัฒนา คนตาบอด แห่ง ประเทศ ไทย 6. บริษัท ทัวร์ ที่จัดท�ำ ทัวร์เพื่อ ผู้พิการ

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - ทบทวนแผนงาน มีการ ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ อย่างต่อเนื่อง 3 ปี - จัดประชุมผู้มีส่วนได้เสีย ยกระดับในการพัฒนา กลไกการท่องเที่ยวเพื่อ คนทั้งมวลในพื้นที่ - ปรับปรุงเส้นทาง ท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล อย่างสม�่ำเสมอในระยะ เวลา 3 ปี - ศึกษาการเป็นต้นแบบ ด้านการพัฒนาสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกที่ค�ำนึงถึง สิ่งแวดล้อมและ อารยสถาปัตย์ พร้อมสร้าง ประสบการณ์คุณภาพแก่ นักท่องเทีย่ วกลุม่ เป้าหมาย พร้อมส่งเข้าประกวดใน ระดับประเทศ/ระดับสากล

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีกลไกและ ระบบที่ได้การยอมรับ/รางวัล ทางด้านการท่องเทีย่ วเพื่อ คนทั้งมวลในระดับสากล เป็นต้นแบบของการพัฒนา สิง่ อ�ำนวยความสะดวกทีค่ ำ� นึง ถึงสิ่งแวดล้อม และระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การเก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย ในด้านความต้องการและ การปรับปรุงพัฒนาเส้นทาง ท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวลอย่าง ต่อเนื่องในระยะเวลา 3 ปี

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเพือ่ รับฟังข้อคิดเห็น 2. จัดท�ำแผนงานหรือ โครงการทีจ่ ะสร้างความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการ เข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวของ คนทัง้ มวล (access for all) 3. ศึกษาแนวทางในการพัฒนา ให้แหล่งท่องเที่ยวเป็น ต้นแบบด้านการท่องเที่ยว เพื่อคนทั้งมวลแบบ ครบวงจร

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการให้ความส�ำคัญเรื่อง การท�ำการท่องเที่ยวเพื่อ คนทั้งมวล รวมถึงคนพิการ และคนที่มีความต้องการ ความช่วยเหลือหรือเข้าถึง เป็นพิเศษ

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


86 87

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การปกป้อง ทรัพย์สินทาง วัฒนธรรม (Protection of cultural assets)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

C1

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ตัวอย่างโครงการ - โครงการปกป้องทรัพย์สิน ทางวัฒนธรรม และ ประเมินคุณค่า ความ เปราะบางของทรัพย์สิน ทางวัฒนธรรม - โครงการฟื้นฟู อนุรักษ์ ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม ชุมชนดั้งเดิม - โครงการสร้างการมี ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ย่านเมืองเก่า อาคารพื้นถิ่น ร่วมกับชุมชนและภาคี เครือข่าย - โครงการระบบจัดเก็บ ข้อมูลทรัพย์สินทาง วัฒนธรรมผ่านสื่อออนไลน์ - โครงการสืบสานต�ำนาน พื้นถิ่น ในระดับโรงเรียน และคนรุ่นใหม่

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการ จัดการ ปกป้องทรัพย์สินทาง วัฒนธรรมที่รวมถึงมรดกที่ เป็นสิ่งปลูกสร้างและภูมิทัศน์ เชิงวัฒนธรรม ประกอบด้วย นโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ปฏิบัติ รวมถึงการจัดท�ำบัญชี ข้อมูลรวบรวมทรัพย์สินทาง วัฒนธรรมในพื้นที่ และมี โครงการเพื่อฟื้นฟู อนุรักษ์ ทรัพย์สินทางวัฒนธรรมอย่าง ต่อเนื่อง

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 2. อปท. 3. เครือข่าย 4. ทกจ. 5. กรม ส่งเสริม วัฒนธรรม 6. วัฒนธรรม จังหวัด

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3-6. ร่วม พัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. มีการทบทวนระบบในการ จัดการ จากแผนงานสู่ การประเมินคุณค่าของ ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม รวมถึงพัฒนาประสิทธิภาพ ของการด�ำเนินงาน ในระยะ 3 ปี 2. ทบทวนเป้าหมายในการ ประเมินคุณค่าของพื้นที่ และทัศนคติของคน ในพื้นที่ต่อแหล่งท่องเที่ยว วัฒนธรรม 3. จัดตั้งกองทุนการท่องเที่ยว เพื่อการอนุรักษ์ โดยน�ำ รายได้มาจัดการดูแลฟื้นฟู และท�ำกิจกรรมสนับสนุน ส่งเสริมสถานที่ท่องเที่ยว 4. จัดการศึกษาความเป็น ไปได้ในการเป็นต้นแบบ จากตัวชี้วัดในรางวัล UNESCO Asia-Pacific Awards for Cultural Heritage Conservation เพื่อการพัฒนาที่เป็น ที่ยอมรับในระดับสากล

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ และกลไกการจัดการที่มี ประสิทธิภาพในการ ปกป้อง ทรัพย์สินทางวัฒนธรรมที่ รวมถึงมรดกที่เป็นสิ่งปลูก สร้างและภูมิทัศน์เชิง วัฒนธรรม ประกอบด้วย นโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ปฏิบัติ การจัดท�ำบัญชีข้อมูล รวบรวมทรัพย์สินทาง วัฒนธรรมในพื้นที่ การจัดสรร รายได้/กองทุนจากการ ท่องเที่ยวเพื่อการอนุรักษ์ และมีโครงการเพื่อฟื้นฟูและ อนุรักษ์อย่างต่อเนื่อง จนได้ เป็นต้นแบบในประเทศ/สากล อาทิ UNESCO Asia - Pacific Awards for Cultural Heritage Conservation เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

หลักฐานพื้นฐาน

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการปกป้องทรัพย์สินทาง วัฒนธรรมที่รวมถึงมรดกที่ เป็นสิ่งปลูกสร้างและภูมิทัศน์ เชิงวัฒนธรรม ประกอบด้วย นโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ปฏิบัติ รวมถึงการจัดท�ำบัญชี ข้อมูลรวบรวมทรัพย์สินทาง วัฒนธรรมในพื้นที่

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

1. จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ 1. แผนการด�ำเนินงานหรือ ส่วนเสียเพื่อรับฟังข้อคิดเห็น แผนยุทธศาสตร์/แผนการ เกี่ยวกับความเสี่ยงในด้าน จัดการทีร่ วมถึงนโยบาย การปกป้องทรัพย์สินทาง ข้อก�ำหนด กฎหมาย เพื่อ วัฒนธรรมในพื้นที่ การฟื้นฟูและอนุรักษ์ 2. จัดท�ำรายงานผลการวิเคราะห์ ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม สิ่งปลูกสร้างและภูมิทัศน์ทาง 2. หลักฐานการจัดท�ำบัญชี วัฒนธรรมที่ควรค่าแก่การ ดูแลรักษา เช่น วัดเก่าแก่ ข้อมูลรวบรวมทรัพย์สิน บ้านโบราณ ย่านชุมชนในอดีต ทางวัฒนธรรมในพื้นที่ สถาปัตยกรรมของอาคาร 3. หลักฐานเอกสารการ เก่าแก่ เป็นต้น ประเมินคุณค่าและความ 3. รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ เปราะบางของทรัพย์สิน ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และ ทางวัฒนธรรม แนวทางปฏิบัติของพื้นที่ (พรบ. ควบคุมอาคาร/กฎหมาย และระเบียบเกี่ยวข้องกับ การปกป้องทรัพย์สินทาง วัฒนธรรม เป็นต้น) 3. ประชุมร่วมกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อจัดตั้งคณะ ท�ำงานด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟู รักษาสถานที่ท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรมและทรัพย์สินทาง วัฒนธรรมของพื้นที่ 4. ยื่นจดจัดตั้งชมรม/สมาคม เพื่อด�ำเนินการบริหาร จัดการปกป้อง ดูแลสถานที่ ท่องเที่ยวและได้รับการ เห็นชอบในการจัดตั้งชมรม 5. วางแผนในการจัดการ อนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม รวมถึงการจัดท�ำบัญชีข้อมูล

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย ขั้นตอนในช่วงแรก

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเทีย่ วไม่มกี ารปกป้อง ทรัพย์สินทางวัฒนธรรม น�ำมาซึ่งความเสี่ยงต่อความ เสี่อมโทรมของแหล่งท่องเที่ยว และถูกท�ำลายได้

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

ด้าน C ความยั่งยืนด้านวัฒนธรรม (Cultural sustainability)

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


88 89

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

วัตถุทาง วัฒนธรรม (Cultural artefacts)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

C2

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ตัวอย่างโครงการ - โครงการจัดท�ำคู่มือ/สื่อ การเรียนการสอน ประวัติศาสตร์และ โบราณคดีท้องถิ่น - โครงการจัดอบรมสร้าง ความเข้าใจถึงข้อกฎหมาย เกี่ยวกับวัตถุทาง ประวัติศาสตร์และ โบราณคดี (Do and Don’t with Cultural Artefacts) - โครงการจัดท�ำระบบเพื่อ เฝ้าระวังควบคุมวัตถุทาง ประวัติศาสตร์และ โบราณคดี และเป็นช่องทาง ในการแจ้งเบาะแสต่อ การกระท�ำอันไม่สมควร รวมถึงเป็นช่องทางสื่อสาร อย่างสร้างสรรค์ ให้ชุมชน ได้ภาคภูมิใจ - โครงการจัดท�ำพิพิธภัณฑ์ ท้องถิ่นเพื่อเก็บรวบรวม วัตถุทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดีที่ส�ำคัญ และเป็นศูนย์การเรียนรู้แก่ ชุมชนและผู้สนใจ

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการดูแล ควบคุมวัตถุทาง ประวัติศาสตร์ที่เหมาะสม รวมถึง การแลกเปลี่ยน การค้า การจัดแสดง หรือ การให้ วัตถุทางประวัตศิ าสตร์ และโบราณคดี ที่มีการปฏิบัติ ใช้จริง เป็นปัจจุบัน มีการ ปรับปรุงระบบ และสื่อสาร ให้ข้อมูลแก่สาธารณชน และ ผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งภาคเอกชน คนพื้นที่ และนักท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 2. อปท. 3. เครือข่าย 4. ทกจ. 5. กรมส่ง เสริม วัฒนธรรม 6. วัฒนธรรม จังหวัด

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3-6. ร่วม พัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - ทบทวน ตรวจเช็คระบบ เพื่อปรับปรุง เพิ่ม ประสิทธิภาพในการจัดท�ำ แผนงาน และการด�ำเนิน งานอย่างต่อเนื่อง 3 ปี - จัดประชุมผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อวางเป้าหมายสร้าง โครงการต้นแบบในเรื่อง การดูแล วัตถุทาง ประวัติศาสตร์และ โบราณคดี โดยศึกษาจาก โครงการที่ได้รับรางวัลใน ระดับประเทศ และระดับ นานาชาติ เพื่อสร้างตัวชี้ วัดเพิ่มเติมในการพัฒนาให้ ไปที่ยอมรับในระดับที่ได้ วางเป้าหมายไว้

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ ในการดูแล ควบคุมวัตถุทาง ประวัตศิ าสตร์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ เป็นปัจจุบัน มีการปรับปรุง ระบบ และสื่อสารให้ข้อมูล แก่สาธารณชน และผูม้ สี ว่ นได้ เสีย ทั้งภาคเอกชน คนพื้นที่ และนักท่องเที่ยว อีกทั้งยัง จัดท�ำโครงการต้นแบบอย่าง ต่อเนื่องในด้านการส่งเสริม คุณค่าวัตถุทางประวัตศิ าสตร์ และโบราณคดี ที่ได้รางวัล ในระดับประเทศ/ระดับ นานาชาติ อาทิ UNESCO Asia-Pacific Awards for Cultural Heritage Conservation เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

หลักฐานพื้นฐาน

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน เช่น แนวทาง ข้อปฏิบัติ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ ทางประวัตศิ าสตร์ทเี่ หมาะสม รวมถึงหลักฐานของการให้ ข้อมูลกฎหมายดังกล่าว แก่ธุรกิจท่องเที่ยวและ นักท่องเที่ยวอย่างชัดเจน แต่ยงั ขาดระบบในการควบคุม และปฏิบัติที่เหมาะสม

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

(แนะน�ำให้ท�ำควบคู่กับข้อ C1) 1. แผนการด�ำเนินงานหรือ 1. จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ แผนยุทธศาสตร์/แผนการ ส่วนเสียเพื่อรับฟังข้อคิดเห็น จัดการ ที่รวมถึงนโยบาย เกี่ยวกับความเสี่ยงในด้าน ข้อก�ำหนด กฎหมาย เพื่อ การดูแลวัตถุทางประวัตศิ าสตร์ อนุรักษ์วัตถุทางวัฒนธรรม และโบราณคดี 2. หลักฐานการสื่อสารและ 2. จัดท�ำรายงานผลการวิเคราะห์ ให้ข้อมูลต่อผู้ประกอบการ วัตถุทางประวัติศาสตร์และ โบราณคดีที่ควรค่าแก่การ โดยเฉพาะด้านวัตถุทาง ดูแลรักษา เช่น เครื่องดนตรี ประวัติศาสตร์และ โบราณ รูปปั้นสมัยทวารวดี ที่ โบราณคดี มีคุณค่าในเชิงประวัติศาสตร์ 3. หลักฐานการให้ข้อมูลแก่ ของพื้นที่และประเทศ เป็นต้น นักท่องเที่ยวเกี่ยวกับ 3. รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ประวัติศาสตร์และ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และ โบราณคดี เช่น คู่มือ แนวทางปฏิบัติของพื้นที่ (พรบ./กฎหมายและระเบียบ เรื่องราวโบราณคดีใน เกี่ยวข้องกับการปกป้องวัตถุ แหล่งท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรม เป็นต้น) 4. ประชุมร่วมกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อจัดตั้งคณะ ท�ำงานด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟู รักษาสถานที่ท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรมและทรัพย์สินทาง วัฒนธรรมของพื้นที่ 5. ยื่นจดจัดตั้งชมรม/สมาคม เพื่อด�ำเนินการบริหารจัดการ ปกป้อง ดูแลสถานที่ท่องเที่ยว และได้รับการเห็นชอบในการ จัดตั้งชมรม 6. วางแผนในการจัดการ อนุรักษ์ วัตถุทางวัฒนธรรม รวมถึง การจัดท�ำบัญชีข้อมูล

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย ขั้นตอนในช่วงแรก

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน/ ข้อกฎหมายในการควบคุม การแลกเปลี่ยน การค้า การจัดแสดง หรือการให้วัตถุ ทางประวัติศาสตร์และ โบราณคดี

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


90 91

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

มรดกที่จับ ต้องไม่ได้ (Intangible heritage)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

C3

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน 1. แผนการด�ำเนินงานหรือ แผนยุทธศาสตร์/แผนการ จัดการ ที่รวมถึงนโยบาย ข้อก�ำหนด กฎหมาย เพื่อ อนุรกั ษ์มรดกทีจ่ บั ต้องไม่ได้ 2. หลักฐานการสื่อสารและ ให้ข้อมูลต่อผู้ประกอบการ โดยเฉพาะด้านมรดก ที่จับต้องไม่ได้ที่ควรค่าแก่ การสนับสนุนและยกย่อง 3. หลักฐานการให้ข้อมูล แก่นักท่องเที่ยวเกี่ยวกับ มรดกที่จับต้องไม่ได้ เช่น คูม่ อื เรือ่ งราวมรดกทีจ่ บั ต้อง ไม่ได้ในแหล่งท่องเที่ยว 4. หลักฐานการประชุมจัดตั้ง คณะท�ำงานและการ ขับเคลื่อนในด้านการ สนับสนุนส่งเสริมกิจกรรม เชิงวัฒนธรรมเพื่อการ ท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการให้ความส�ำคัญในด้าน การสนับสนุน ยกย่องมรดก ที่จับต้องไม่ได้ ตามพระราช บัญญัติส่งเสริมและรักษา มรดกภูมปิ ญ ั ญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. 2559 รวมถึง มีคลังข้อมูล และหลักฐานในการสนับสนุน ยกย่อง ประกอบด้วยการขึ้น บัญชีมรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรม การมีมาตรการ นโยบาย ข้อปฏิบัติ หรือ กฎหมายในการปกป้องมรดก ทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ตามแต่การบ่งชีข้ องแต่ละพืน้ ที่ (อาทิ 1. ศิลปะการแสดง 2. งานช่างฝีมือดั้งเดิม 3. วรรณกรรม พื้นบ้าน 4. กีฬาภูมิปัญญาไทย 5. แนวทางปฏิบัติทางสังคม 6. พิธีกรรม และงานเทศกาล 7. ความรู้และแนวปฏิบัติ เกี่ยวกับธรรมชาติและ จักรวาล และ 8.ภาษา) ซึ่งเป็นอัตลักษณ์ ที่เป็นมรดก ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ในพื้นที่ และลักษณะเฉพาะ ของท้องถิ่นในมิติอื่นๆ

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

1. โครงการจัดท�ำระบบคลัง ข้อมูลมรดกที่จับต้องไม่ได้ และการจัดท�ำทะเบียนรวม ถึงยกย่องบุคลส�ำคัญที่ให้ ข้อมูล และสามารถบ่งชี้ สถานะของมรดกทาง วัฒนธรรมในพื้นที่ เพื่อให้ ทราบสถานะที่เป็นอยู่ เพื่อ เห็นการท�ำงานของภาคีเครือ ข่ายต่อการให้ความส�ำคัญ 2. โครงการส่งเสริมปลูกฝัง ค่านิยมในการคุ้มครองและ ส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรม ที่จับต้องไม่ได้ 3. โครงการส่งเสริมและสนับสนุน เครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน เพื่อพัฒนา สร้างสรรค์กิจกรรมต่อยอด เพื่อสร้างประสบการณ์ร่วม ระหว่างนักท่องเที่ยวและ ชุมชน 4. กิจกรรมเปิดเวทีสร้างสรรค์ สื่อความหมายมรดกทาง วัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ อย่างต่อเนื่อง 5. โครงการจัดประกวด การแสดงรั ก ษาวั ฒ นธรรม ที่เป็นมรดกท้องถิ่น จากรุ่น สู่รุ่น เช่น การประกวด ขับเสภา ลิเกวัยจิ๋ว เป็นต้น

ตัวอย่างโครงการ

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การสนับสนุนสร้างการรับรู้ถึง คุณค่ามรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรมในชุมชน รวมถึง ยกย่องและการปกป้องมรดก ทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ และให้ความส�ำคัญกับ อัตลักษณ์เฉพาะในท้องถิ่น รวมถึงจัดท�ำโครงการ ที่เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ ในด้านวัฒนธรรมเพื่อการ ยกย่อง การสร้างประสบการณ์ ร่วมระหว่างนักท่องเที่ยวและ ชุมชน มีการสื่อความหมาย การรับฟังความคิดเห็นต่อ โครงการดังกล่าวเพื่อน�ำมา ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 2. อปท. 3. เครือข่าย 4. ทกจ. 5. กรม ส่งเสริม วัฒนธรรม 6. วัฒนธรรม จังหวัด

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3-6. ร่วม พัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวน ตรวจเช็ค ระบบ เพื่อปรับปรุงเพิ่ม ประสิทธิภาพในการจัดท�ำ แผนงาน และการด�ำเนิน งานอย่างต่อเนื่อง 3 ปี 2. จัดประชุมผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อวางเป้าหมายสร้าง โครงการต้นแบบในเรื่อง การรักษามรดกทาง วัฒนธรรมในสาขาที่ เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม ที่จับต้องไม่ได้โดยศึกษา จากโครงการที่ได้รับรางวัล ของกระทรวงวัฒนธรรม และระดับนานาชาติ เพื่อสร้างตัวชี้วัดเพิ่มเติม ในการพัฒนาให้เป็นที่ ยอมรับในระดับที่ได้วาง เป้าหมายไว้

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การสนับสนุนยกย่องและการ ปกป้อง มรดกทางวัฒนธรรม ทีจ่ บั ต้องไม่ได้ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และได้รับรางวัลในระดับ ประเทศ/ระดับสากล ในการ อนุรักษ์ ยกย่อง และปกป้อง มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้อง ไม่ได้ อาทิ รางวัลส่งเสริม และรักษามรดกทางวัฒนธรรม ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับ วัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของ กระทรวงวัฒนธรรม/ UNESCO Asia - Pacific Awards for Cultural Heritage Conservation เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

(แนะน�ำให้ท�ำควบคู่กับข้อ C1) 1. จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ส่วน เสียเพือ่ รับฟังข้อคิดเห็นเกีย่ วกับ ความเสีย่ งในด้านการดูแล ความ ส�ำคัญกับมรดกที่จับต้องไม่ได้ 2. จัดท�ำรายงานผลการวิเคราะห์ มรดกที่จับต้องไม่ได้ ที่ควรค่า แก่การดูแลรักษาในพื้นที่ เช่น 1) ศิลปะการแสดง 2) งาน ช่างฝีมือดั้งเดิม 3) วรรณกรรม พืน้ บ้าน 4) กีฬาภูมปิ ญ ั ญาไทย 5) แนวทางปฏิบัติทางสังคม 6) พิธีกรรมและงานเทศกาล เป็นต้น 3. รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ข้อ บังคับ เทศบัญญัติ และแนวทาง ปฏิบตั ขิ องพืน้ ที่ (พรบ./กฎหมาย และระเบียบเกี่ยวข้องกับการ ปกป้องมรดกที่จับต้องไม่ได้ เป็นต้น) 4. ประชุมร่วมกับหน่วยงานที่ เกีย่ วข้อง เพือ่ จัดตัง้ คณะท�ำงาน ด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟูรักษา สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทางวัฒนธรรม และทรัพย์สินทางวัฒนธรรม ของพื้นที่ 5. ยื่นจดจัดตั้งชมรม/สมาคม เพื่อ ด�ำเนินการบริหารจัดการปกป้อง ดูแลสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วและได้รบั การเห็นชอบในการจัดตั้งชมรม 6. วางแผนในการจัดการอนุรักษ์ มรดกที่จับต้องไม่ได้รวมถึงการ จัดท�ำบัญชีคลังข้อมูล

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย ขั้นตอนในช่วงแรก

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน และไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับ มรดกที่จับต้องไม่ได้ และไม่มี การสนับสนุน ไม่ได้ถูกยกย่อง และการปกป้องมรดกทาง วัฒนธรรมในด้านนี้

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


92 93

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - นโยบาย แผนการด�ำเนิน งานที่เกี่ยวข้องกับการ อนุรักษ์วิถีท้องถิ่นดั้งเดิม - หลักฐานการจัดตั้งชมรม อนุรักษ์ ฟื้นฟู เพื่อรักษา วิถีดั้งเดิม - รายงานการศึกษาความ เป็นไปได้ของพื้นที่ๆ มี ความเสี่ยงต่อการถูก ท�ำลายระบบนิเวศทาง ธรรมชาติและวิถีดั้งเดิม และการศึกษาการพัฒนา อนุรักษ์ย่านเมืองเก่า

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการติดตาม ปกป้อง การเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติและวัฒนธรรม มีแนวทาง มาตรการ และ/ หรือ รายงานการศึกษา ผลกระทบทางด้านความเสี่ยง ในเรื่องการเข้าถึง หรือการ สร้างถนน หนทางที่ท�ำลาย ระบบนิเวศทางธรรมชาติและ วิถีดั้งเดิมที่เป็นวัฒนธรรม ของท้องถิ่นต่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน/การออกนโยบาย ย่านเมืองเก่าเพื่ออนุรักษ์วิถี ท้องถิ่นและการเข้าถึงแหล่ง ท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการจัดท�ำระบบ ติดตาม ดูแล ปกป้องวิถี ท้องถิ่น ในเรื่องการเข้าถึง แหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติและวัฒนธรรม - โครงการสร้างการมีสว่ นร่วม ของชุมชนในการส่งเสริม อนุรักษ์ รักษาวิถีดั้งเดิม และการพัฒนาย่านเมืองเก่า - กิจกรรมส่งเสริมอัตลักษณ์ ท้องถิ่น - โครงการศึกษาผลกระทบ ต่อระบบนิเวศจากการเข้า ถึงแหล่งท่องเที่ยว และ การพัฒนารูปแบบทางเข้า แหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเทีย่ วมีระบบติดตาม การด�ำเนินการเพื่อปกป้อง ฟืน้ ฟูการเข้าถึงแหล่งท่องเทีย่ ว ทางธรรมชาติและวัฒนธรรม โดยมีการสร้างการมีส่วนร่วม กับชุมชนท้องถิน่ อย่างต่อเนือ่ ง และมีการด�ำเนินการปรับปรุง แผนปฏิบัติการเพื่อให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัจจุบันของพื้นที่

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 2. อปท. 3. เครือข่าย 4. ทกจ. 5. กรม ส่งเสริม วัฒนธรรม 6. วัฒนธรรม จังหวัด

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3-6. ร่วม พัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวน ตรวจเช็ค ระบบ เพื่อปรับปรุง เพิ่ม ประสิทธิภาพในการจัดท�ำ แผนงาน และการด�ำเนิน งานตามแผนระยะยาว อย่างต่อเนื่อง 3 ปี 2. จัดประชุมผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อวางเป้าหมายสร้าง โครงการต้นแบบในเรื่อง การรักษามรดกทาง วัฒนธรรมย่านเมืองเก่า ในระดับนานาชาติ เพื่อ สร้างตัวชี้วัดเพิ่มเติม ในการพัฒนาให้เป็น ที่ยอมรับในระดับที่ได้ วางเป้าหมายไว้

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่มี ประสิทธิภาพและเป็นต้น แบบในการติดตาม การ ด�ำเนินการเพื่อปกป้อง ฟื้นฟู การเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติและวัฒนธรรม โดย สร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชน ท้องถิ่น เป็นแผนการด�ำเนิน งานระยะยาวอย่างน้อย 3 ปี และมีการปรับปรุงแผน ปฏิบัติการเพื่อให้สอดคล้อง กับสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเพื่อรับฟังข้อคิด เห็นเกี่ยวกับความเสี่ยงใน เรื่องการสร้างสิ่งปลูกสร้าง หรือเส้นทางทีท่ ำ� ลายระบบ นิเวศทางธรรมชาติและ วิถีดั้งเดิมที่เป็นวัฒนธรรม ของท้องถิน่ 2. ขอค�ำปรึกษาจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการวางกฏ ระเบียบ และมาตรการ การเข้าถึงของแหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และวัฒนธรรม 3. ท�ำการศึกษาความเป็น ไปได้ในพื้นที่ๆ มีความ เสี่ยงต่อการท�ำลายระบบ นิเวศทางธรรมชาติและ วิถีดั้งเดิมที่เป็นวัฒนธรรม ของท้องถิ่น และการศึกษา การพัฒนาย่านเมืองเก่า 4. ยื่นจัดตั้งชมรมอนุรักษ์ ฟื้นฟู เพื่อรักษาวิถีดั้งเดิม ของระบบนิเวศทาง ธรรมชาติและวัฒนธรรม ของท้องถิ่น 5. วางแผน/นโยบาย รวมถึง แผนการด�ำเนินการในการ ติดตาม ดูแล ปกป้อง การเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติและวัฒนธรรม

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการติดตาม ปกป้อง การ เข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติและวัฒนธรรม การเข้าถึง จนเกิดความเสี่ยงในเรื่อง วิถีชีวิตปกติ การสร้างสิ่งปลูกสร้าง หรือ ของชุมชน เส้นทางที่ท�ำลายระบบนิเวศ (Traditional ทางธรรมชาติและวิถีดั้งเดิมที่ access) เป็นวัฒนธรรมของท้องถิ่น

ค�ำอธิบาย ในการยก ระดับ

C4

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


94 95

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนงานสื่อสารและให้ ข้อมูลเรื่องทรัพย์สินทาง ปัญญาแก่ผู้มีส่วนได้เสีย และนักท่องเที่ยว - หลักฐานของการทีท่ รัพย์สนิ ทางปัญญาได้รบั การพัฒนา ขึ้นและได้รับการปกป้อง เพื่อสร้างประสบการณ์ทาง วัฒนธรรมให้แก่นกั ท่องเทีย่ ว - การศึกษาความเข้าใจและ รักษาสิทธิในทรัพย์สินทาง ปัญญาเชิงวัฒนธรรมของ พื้นที่ - นโยบาย/แผนการด�ำเนิน การในด้านทรัพย์สินทาง ปัญญาของชุมชน

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ประกอบด้วย นโยบาย มาตรการการขึ้นทะเบียน ทรัพย์สนิ ทางปัญญา กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทาง ปัญญาในแหล่งท่องเที่ยว ข้อมูลในเรื่องทรัพย์สินทาง ปัญญาให้แก่ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียของการท่องเที่ยว นโยบายการวางแผนในเรื่อง การปกป้อง รักษาสิทธิ ในทรัพย์สินทางปัญญาเชิง วัฒนธรรมนี้ไว้

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการส่งเสริมการ บริหารจัดการทรัพย์สิน ทางปัญญาในแหล่ง ท่องเที่ยว - กิจกรรมเสริมสร้างการมี ส่วนร่วมในการปกป้อง รักษาทรัพย์สินทางปัญญา ของชุมชน - โครงการพัฒนาศักยภาพ การขอรับการคุ้มครอง ทรัพย์สินทางปัญญา - โครงการจัดท�ำคู่มือรักษา สิทธิในทรัพย์สนิ ทางปัญญา เชิงวัฒนธรรมของแหล่ง ท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการ สร้างการมีส่วนร่วมในการ ปกป้องและรักษาสิทธิ ในทรัพย์สินทางปัญญาของ ชุมชนและบุคคล มีการ ด�ำเนินงานตรวจสอบทรัพย์สนิ ทางปัญญาด้านวัฒนธรรม ในพื้นที่ รวมถึงมีการต่อยอด ในการพัฒนาเพื่อสร้าง ประสบการณ์ทางวัฒนธรรม ให้แก่นกั ท่องเทีย่ ว

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. ทกจ. ด�ำเนินการ 5. กรม และ ส่งเสริม บูรณาการ วัฒนธรรม เครือข่าย 6. วัฒนธรรม 3-7. ร่วม จังหวัด พัฒนา 7. กรม ทรัพย์สิน ทางปัญญา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - ทบทวน ตรวจเช็คระบบ เพื่อปรับปรุง เพิ่ม ประสิทธิภาพในการจัดท�ำ แผนงาน และการด�ำเนิน งานตามแผนระยะยาว อย่างต่อเนื่อง 3 ปี - จัดประชุมผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อวางเป้าหมายสร้าง โครงการต้นแบบในการ พัฒนาสินค้าและบริการ เพื่อสร้างประสบการณ์ ทางวัฒนธรรมให้แก่ นักท่องเที่ยว โดยท�ำ การศึกษาผู้ที่ได้รับรางวัล ในระดับประเทศ เช่น รางวัล Cultural Product of Thailand (CPOT) / ระดับสากลทางด้านการ พัฒนาเส้นทางท่องเที่ยว ด้านวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการ สร้างการมีส่วนร่วมในการ ปกป้องและรักษาสิทธิ ในทรัพย์สินทางปัญญาของ ชุมชนและบุคคล มีการ ด�ำเนินงานตรวจสอบทรัพย์สนิ ทางปัญญาด้านวัฒนธรรม ในพื้นที่ รวมถึงมีการต่อยอด ในการพัฒนาสินค้าและบริการ เพื่อสร้างประสบการณ์ทาง วัฒนธรรมให้แก่นักท่องเที่ยว จนได้รับรางวัลในระดับ ประเทศ เช่น รางวัล Cultural Product of Thailand (CPOT) / ระดับ สากลทางด้านการพัฒนา เส้นทางท่องเที่ยวด้าน วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเพื่อรับฟังข้อคิด เห็นเกี่ยวกับความเสี่ยง ในเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา ของชุมชนและบุคคล 2. ขอค�ำปรึกษาจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการวางกฏ ระเบียบ และ มาตรการ ด้านทรัพย์สินทางปัญญา ของชุมชน 3. ท�ำการศึกษาความเข้าใจ และรักษาสิทธิในทรัพย์สิน ทางปัญญาเชิงวัฒนธรรม ของพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว แก่กลุ่มมีส่วนได้เสีย เพื่อ ท�ำการวางแผนด�ำเนินงาน 4. วางแผน/นโยบาย รวมถึง แผนการด�ำเนินการในการ ติดตาม ดูแล ปกป้อง ทรัพย์สินทางปัญญาใน แหล่งท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ขึ้นทะเบียนในการปกป้อง และรักษาสิทธิในทรัพย์สิน ทางปัญญาของชุมชนและ ทรัพย์สิน บุคคล ส่งผลให้เกิดความเสี่ยง ทางปัญญา ในด้านการลอกเลียนแบบ (Intellectu- กลายไปเป็นของพื้นที่อื่นหรือ al proper- ประเทศอื่น ty)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

C5

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


96 97

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - เอกสารนโยบาย มาตรการ ข้อกฏหมายหรือแผนการ จัดการนักท่องเที่ยวต่อ แหล่งท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรม - เอกสารคู่มือการให้ความรู้ การปฏิบัติตัวเมื่อเข้ามา ในแหล่งท่องเที่ยว - รายงานผลการศึกษาด้าน การจัดการนักท่องเที่ยว - เอกสารการยินยอม ของพื้นที่ต้นแบบในการ พัฒนาการจัดนักท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ประกอบด้วย มาตรการ นโยบาย กฎหมาย และ/หรือ แผนการจัดการนักท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรม และ/หรือ การจัดท�ำคู่มือการปฏิบัติตน ส�ำหรับนักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการและผู้มีส่วนได้ เสียเพื่อสร้างเข้าใจในการ รับผิดชอบต่อแหล่งท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการจัดระบบติดตาม ความเคลื่อนไหวของ นักท่องเที่ยว (Visitor flow and Impact tracker) ที่มี ผลกระทบต่อมรดกทาง วัฒนธรรมในแหล่งท่องเทีย่ ว ที่มีความเปราะบาง - โครงการจัดอบรมหลัก ปฏิบตั สิ ำ� หรับผูป้ ระกอบการ การท่องเทีย่ วและมัคคุเทศก์ รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องในการ จัดการนักท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรม - โครงการพัฒนาช่องทาง การสื่อสารผ่านสื่อออนไลน์ ที่แจ้งข้อควรปฏิบัติก่อน การเดินทาง รวมถึงการแจ้ง วิธีการจองล่วงหน้า และ อื่นๆ ที่ส�ำคัญต่อการเตรียม ตัวในการเดินทาง - โครงการติดตั้งป้ายบอกทาง เพื่อส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว ให้เกิดความชัดเจนในการ เดินทาง - โครงการเพิ่มช่องทางการ เดินทางในพื้นที่เพื่อสร้าง ประสบการณ์การท่องเที่ยว ลดคาร์บอนและความหนา แน่นของรถยนต์ เช่น รถ รางขนส่งในพื้นที่ จักรยาน และการเดินเท้าด้วยตนเอง

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการ ด�ำเนินงาน ตั้งแต่ ก�ำหนด มาตรการ นโยบาย กฎหมาย และ/หรือ แผนการจัดการ นักท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม รวมถึงมีการสือ่ สารผ่านสือ่ ออนไลน์/ออฟไลน์/กิจกรรม ในการส่งเสริมการปฏิบัติตน ส�ำหรับนักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการและผู้มีส่วน ได้เสียในการเข้าชมแหล่ง ท่องเที่ยวที่มีความเปราะบาง

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 2. อปท. 3. เครือข่าย 4. ทกจ. 5. กรม ส่งเสริม วัฒนธรรม 6. วัฒนธรรม จังหวัด 7. UNESCO

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3-7. ร่วม พัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - ทบทวน ตรวจเช็ค ระบบ เพื่อปรับปรุง เพิ่ม ประสิทธิภาพในการ จัดท�ำแผนงาน และการ ด�ำเนินงานตามแผนระยะ ยาวอย่างต่อเนื่อง 3 ปี - จัดประชุมผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อวางเป้าหมายสร้าง โครงการต้นแบบในการ พัฒนาระบบจัดการ นักท่องเที่ยวในแหล่งท่อง เที่ยว ตามกรอบมาตรฐาน ที่เป็นที่ยอมรับในระดับ สากล

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบและ กลไกที่มีประสิทธิภาพในการ ด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย 3 ปี และเป็นต้น แบบด้านการจัดการ นักท่องเทีย่ วในระดับประเทศ/ ระดับสากลตามเป้าหมาย ของพื้นที่

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก (แนะน�ำให้ท�ำควบคู่กับข้อ A8 ด้านการจัดการปริมาณ นักท่องเที่ยวและกิจกรรม การท่องเที่ยว) 1. จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเพื่อรับฟังข้อคิด เห็นเกี่ยวกับการจัด นักท่องเที่ยว 2. ท�ำการศึกษาด้านการ จัดการนักท่องเที่ยว ทั้งด้านขีดความสามารถ ในการรองรับนักท่องเที่ยว และการเตรียมการภาวะ ขาดแคลนนักท่องเที่ยว 3. ประสานขอข้อมูลการ บริหารและการจัดการ นักท่องเที่ยวต้นแบบ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. ประชุมปฏิบัติการเพื่อการ วางแผน นโยบายการ จัดการนักท่องเที่ยวในทุก สถานการณ์

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการจัดการนักท่องเที่ยว และส่งผลกระทบเชิงลบ ให้กับพื้นที่ในวงกว้าง เช่น การจัดการ การกระจุกตัวในแหล่ง นักท่องเที่ยว ท่องเที่ยว ความหนาแน่นของ ในแหล่ง นักท่องเที่ยวที่ส่งผลกระทบ ท่องเที่ยว ต่อมรดกทางวัฒนธรรม ทาง วัฒนธรรม (Visitor management at cultural sites)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

C6

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


98 99

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การสื่อ ความหมาย ในแหล่ง ท่องเที่ยว (Site interpretation)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

C7

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนการสื่อความหมาย ในพื้นที่ - แผนการด�ำเนินงาน นโยบายเพื่อการสนับสนุน การสื่อความหมายใน แหล่งท่องเที่ยว - หลักฐานการศึกษาค้นคว้า เรื่องราวในพื้นที่ - เอกสารเนื้อหาการสื่อ ความหมาย ทั้งภาษาไทย และภาษาอื่นๆ - แผนการจัดท�ำหลักสูตรสื่อ ความหมายท้องถิ่นศึกษา ร่วมกับปราชญ์ท้องถิ่น และผู้เล่าเรื่องในพื้นที่

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการให้ข้อมูล การออก นโยบาย แนวทาง หรือ แผนงาน เพื่อสนับสนุน การสื่อความหมายในแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ/หรือ มีการท�ำวิจัยเพื่อ ค้นหาเรื่องราวในพื้นที่

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการกิจกรรม สื่อสร้างสรรค์การเล่าเรื่อง สื่อความหมายในพื้นที่ - โครงการนักสื่อความหมาย ท้องถิ่นโดยชุมชน - โครงการ Train the trainer นักสื่อความหมาย ท้องถิ่น - โครงการพัฒนาระบบการ ตรวจสอบเนื้อหาการ สื่อความหมายในแหล่ง ท่องเที่ยว การยกย่อง คุณค่าที่มาของเรื่องเล่า - โครงการกิจกรรมนักสื่อ ความหมายระดับเยาวชน และการจัดตั้งกลุ่มเพื่อ พัฒนาการสื่อความหมาย ในระดับโรงเรียน - โครงการพัฒนาคู่มือสื่อ ความหมายและช่องทาง ออนไลน์ที่ให้นักท่องเที่ยว ได้ศึกษาก่อนมาถึงแหล่ง ท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การวางแผนและด�ำเนินงาน ทบทวน ตรวจสอบ ในเรื่อง การสื่อความหมายของแหล่ง ท่องเที่ยว และมีการสร้าง การมีส่วนร่วมในการจัดท�ำ เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ มีการจัดท�ำคูม่ อื สือ่ ความหมาย ของพื้นที่สามารถใช้งานได้ ก่อนลงพื้นที่ผ่านช่องทาง ออนไลน์ ให้แก่นักท่องเที่ยว และคนในพื้นที่ รวมถึงแปล ภาษาที่เหมาะสม

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 2. อปท. 3. เครือข่าย 4. ทกจ. 5. กรมส่ง เสริม วัฒนธรรม 6. วัฒนธรรม จังหวัด

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3-6. ร่วม พัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวน ตรวจเช็ค ระบบ เพื่อปรับปรุง เพิ่ม ประสิทธิภาพในการจัดท�ำ แผนงาน และการด�ำเนิน งานตามแผนระยะยาว อย่างต่อเนื่อง 3 ปี 2. จัดประชุมกลุ่มนักสื่อ ความหมายและภาคีเครือ ข่ายเพื่อพัฒนาโครงการ ต้นแบบการสื่อความหมาย ในแหล่งท่องเที่ยว 3. จัดการถ่ายทอดองค์ความรู้ จากรุ่นสู่รุ่น รวมถึงการ ส่งเสริมให้เล่าเรื่องผ่านสื่อ สังคมออนไลน์ และจัดท�ำ เส้นทางท่องเที่ยวสื่อ ความหมายเพื่อสร้าง ประสบการณ์ที่มีคุณค่า แก่นักท่องเที่ยวอย่าง ต่อเนื่อง

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบและ กลไก การวางแผนและ ด�ำเนินงาน ทบทวน ตรวจ สอบอย่างมีประสิทธิภาพ ในเรื่องการสื่อความหมาย ของแหล่งท่องเที่ยวอย่าง มีส่วนร่วมกับคนในพื้นที่ มีการจัดโครงการพัฒนา ต้นแบบการสื่อความหมาย ในแหล่งท่องเที่ยว ทั้งในด้าน สื่อบุคคลและไม่ใช่บุคคล เพื่อมุ่งเน้นการถ่ายทอด องค์ความรู้แก่ชุมชน และ เยาวชนรุ่นใหม่จากรุ่นสู่รุ่น อย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 3 ปี

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเพื่อแจ้งประเด็น ด้านการพัฒนาการสื่อ ความหมายในพื้นที่ 2. ปรึกษาหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ที่ท�ำหน้าที่ในการจัด กระบวนถอดรหัส สื่อ ความหมายในพื้นที่ 3. ท�ำการศึกษาและเก็บข้อมูล ในการสื่อความหมาย รวมถึงเรือ่ งเล่าขานในพืน้ ที่ ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม ความเชื่อสังคม ในอดีต-ปัจจุบัน 4. จัดท�ำแผนการสื่อความ หมายในพื้นที่ ทั้งสื่อบุคคล และไม่ใช่บุคคล

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการให้ข้อมูลสื่อความ หมายในแหล่งท่องเที่ยว ที่เล็งเห็นความส�ำคัญของการ บอกเล่าเรื่องราว เพื่อสร้าง คุณค่าให้กับแหล่งท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


100 101

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การปกป้อง สิ่งแวดล้อม ที่มีความ เปราะบาง (Protection of sensitive environments)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

D1

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนการด�ำเนินงาน หรือ แผนยุทธศาสตร์ ที่รวม ไปถึงนโยบาย ข้อก�ำหนด กฎหมาย เพื่อการปกป้อง ฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพย์สิน ทางธรรมชาติ ความ หลากหลายทางชีวภาพ และมรดกทางธรรมชาติ - หลักฐานการจัดท�ำคลัง ข้อมูล รวบรวมทรัพย์สิน ทางธรรมชาติในพื้นที่ - หลักฐานเอกสารการ ประเมินคุณค่าและความ เปราะบางของทรัพย์สิน ทางธรรมชาติ - หลักฐานการศึกษา ออกแบบเครื่องมือที่ใช้ ในการวัดผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมที่มีความ เปราะบาง และระบบ ติดตามความเคลื่อนไหว

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีแผนการ จัดการปกป้องสิ่งแวดล้อม และ/หรือ แผนการอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ และมรดกทางธรรมชาติ และ/หรือแผนหรือมาตรการ การจัดคลังข้อมูลแหล่งมรดก ทางธรรมชาติและทรัพย์สิน ทางธรรมชาติ (โดยระบุชนิด สถานะของการอนุรักษ์และ ภาวะความเสี่ยง/ความ เปราะบาง) เพื่อเฝ้า สังเกตการณ์ ประเมิน และ ตอบสนองต่อผลกระทบ จากการท่องเที่ยวทางด้าน สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ การสงวนรักษาระบบนิเวศ

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการฟื้นฟูธรรมชาติ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ - โครงการพัฒนาระบบ การวัดผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมที่มีความ เปราะบาง และระบบ ติดตามความเคลื่อนไหว - โครงการพัฒนาคู่มือมรดก ทางธรรมชาติ และภาวะ ความเสี่ยง - โครงการพัฒนาเส้นทาง ท่องเที่ยวเยือนถิ่นมรดก ธรรมชาติหาชมยากกับ การเรียนรู้ระบบนิเวศที่ ก�ำลังจะเปลีย่ นไป/เส้นทาง ท่องเที่ยวในยุคอากาศ เปลี่ยนแปลง - กิจกรรมสนับสนุนการเพิ่ม จ�ำนวนของความหลาก หลายทางชีวภาพและ มรดกทางธรรมชาติ - โครงการก�ำจัดและควบคุม สายพันธุ์พืชหรือสัตว์ ต่างถิ่นในระบบนิเวศ

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการ จัดการที่ติดตามผลกระทบ จากการท่องเที่ยวด้านสภาพ สิ่งแวดล้อม มีคลังข้อมูล แหล่งมรดกทางธรรมชาติ และทรัพย์สินทางธรรมชาติ มีโปรแกรมการด�ำเนินงาน เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลาย ทางชีวภาพ และการด�ำเนิน งานเพื่อก�ำจัดและควบคุม สายพันธุ์พืชหรือสัตว์ต่างถิ่น รวมถึงการด�ำเนินการระบุ เฝ้าระวังและบรรเทา ผลกระทบที่เกิดขึ้นอย่าง เป็นระบบและต่อเนื่อง

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3. ร่วมพัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวนประสิทธิภาพของ ระบบการให้ข้อมูลต่อเนื่อง อย่างน้อย 3 ปี เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพ 2. ตรวจสอบ อัปเดตข้อมูล เชื่อมโยงกับระบบแผนงาน พร้อมบรรลุเป้าหมายที่ ก�ำหนดร่วมกันของพื้นที่ 3. จัดให้มีช่องทางในการ เผยแพร่ขอ้ มูลอย่างต่อเนือ่ ง และสามารถแจ้งปัญหาที่ อาจส่งผลกระทบต่อมรดก ธรรมชาติ 4. จัดตั้งแผนในการหารายได้ เพื่อสนับสนุนการอนุรักษ์ ทรัพย์สินทางธรรมชาติ ร่วมกับภาคีเครือข่ายเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพพร้อม สื่อสารให้ข้อมูลแต่ผู้มี ส่วนได้เสียต่อเนื่อง 3 ปี

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการ 1. อพท. จัดการติดตามผลกระทบจาก 2. อปท. การท่องเที่ยวด้านสภาพ 3. เครือข่าย สิง่ แวดล้อมทีม่ คี วามเปราะบาง อย่างมีประสิทธิภาพและ ได้รับการยอมรับในระดับชาติ ตามเป้าหมายที่ก�ำหนด ร่วมกันของพื้นที่ โดยมีกลไก ส�ำหรับการหารายได้เพื่อ สนับสนุนการอนุรักษ์ ทรัพย์สินทางธรรมชาติ และสื่อสารให้ข้อมูลกับผู้มี ส่วนได้เสียอย่างต่อเนื่อง 3 ปี จนเห็นผลในการปกป้อง รักษาระบบนิเวศในพื้นที่

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมเพื่อท�ำการ วิเคราะห์ผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมที่มีความ เปราะบาง พร้อมหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในการวางแผน บูรณาการ 2. ขอรับค�ำปรึกษาเกี่ยวกับ แนวทางการแก้ไขปัญหา และการเตรียมการ 3. จัดท�ำการศึกษาผลกระทบ จากการท่องเที่ยวทางด้าน สภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติและระบบนิเวศ และแผนป้องกัน/ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมระดับ ยุทธศาสตร์ (SEA) 4. จัดการศึกษาออกแบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวัด ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ที่มีความเปราะบาง และ ระบบติดตามความ เคลื่อนไหว 5. จัดท�ำคลังข้อมูลแหล่ง มรดกทางธรรมชาติและ ทรัพย์สินทางธรรมชาติ (โดยระบุชนิด สถานะของ การอนุรักษ์และภาวะ ความเสีย่ ง/ความเปราะบาง)

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเทีย่ วไม่มกี ารปกป้อง สิง่ แวดล้อมทีม่ คี วามเปราะบาง ที่อาจจะเป็นเหตุให้เกิด ผลกระทบจากการท่องเที่ยว ทางด้านสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติและระบบนิเวศ เป็นเหตุให้แหล่งท่องเที่ยว ถูกท�ำลายจากการท่องเทีย่ วได้

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

ด้าน D ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental sustainability)

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


102 103

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การจัดการ นักท่องเที่ยว ในแหล่ง ท่องเที่ยว ทาง ธรรมชาติ (Visitor management at natural sites)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

D2

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - เอกสารนโยบาย มาตรการ ข้อกฏหมายหรือแผนการ จัดการนักท่องเที่ยวต่อ แหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ - เอกสารคู่มือการให้ความรู้ การปฏิบัติตัวเมื่อเข้ามา ในแหล่งท่องเที่ยว - รายงานผลการศึกษาด้าน การจัดการนักท่องเที่ยว - เอกสารการยินยอมของ พื้นที่ต้นแบบในการพัฒนา การจัดนักท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีแผนในการ จัดการนักท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ มีหลักฐานในการ ศึกษาผลกระทบเชิงลบที่อาจ เกิดขึ้นมีแนวทาง/หลักปฏิบัติ ส�ำหรับผู้ประกอบการ ท่องเที่ยวและมัคคุเทศก์ และ/หรือ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการนักท่องเที่ยว ในแหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการจัดระบบติดตาม ความเคลื่อนไหวของ นักท่องเที่ยว (Visitor flow and Impact tracker) ที่มีผลกระทบต่อมรดกทาง ธรรมชาติในแหล่งท่องเที่ยว ที่มีความเปราะบาง - โครงการจัดอบรมหลักปฏิบตั ิ ส�ำหรับผู้ประกอบการ การท่องเทีย่ วและมัคคุเทศก์ รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องในการ จัดการนักท่องเทีย่ วทาง ธรรมชาติ - โครงการพัฒนาช่องทาง การสื่อสารผ่านสื่อออนไลน์ ที่แจ้งข้อควรปฏิบัติก่อน การเดินทาง รวมถึงการแจ้ง วิธีการจองล่วงหน้า และ อื่นๆ ที่ส�ำคัญต่อการ เตรียมตัวในการเดินทาง - โครงการติดตัง้ ป้ายบอกทาง เพื่อส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว ให้เกิดความชัดเจนใน การเดินทาง - โครงการเพิ่มช่องทางการ เดินทางในพื้นที่เพื่อสร้าง ประสบการณ์การท่องเที่ยว ลดคาร์บอนและความ หนาแน่นของรถยนต์ เช่น รถรางขนส่งในพืน้ ที่ จักรยาน และการเดินเท้าด้วยตนเอง

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการ จัดการนักท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ ทีป่ ฏิบตั ติ ามแผนงาน รวมถึงติดตามผลกระทบ เชิงลบที่อาจเกิดขึน้ พร้อมทัง้ การประเมินขีดความสามารถ ในการรองรับ และความ อ่อนไหวเปราะบางของพื้นที่ มีโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพ การจัดการนักท่องเที่ยวใน แหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ อย่างต่อเนื่อง มีการเผยแพร่ คู่มือการปฏิบัติตัวส�ำหรับ นักท่องเที่ยวเมื่อเข้าชมจุด ท่องเที่ยวที่เปราะบาง และ มีการติดตามตรวจสอบ การปฏิบตั ติ นของนักท่องเทีย่ ว เป็นระยะ รวมถึงการให้ ข้อมูลและอัปเดตคู่มือนี้แก่ ผู้ประกอบการท่องเที่ยว และมัคคุเทศก์

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรมอุทยาน ด�ำเนินการ แห่งชาติ และ 5. กรม บูรณาการ ทรัพยากร เครือข่าย ชายฝั่ง 3-5. ร่วม พัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวน ตรวจเช็คระบบ เพื่อปรับปรุง เพิ่ม ประสิทธิภาพในการจัดท�ำ แผนงาน และการด�ำเนิน งานตามแผนระยะยาว อย่างต่อเนื่อง 3 ปี 2. จัดประชุมผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อวางเป้าหมายสร้าง โครงการต้นแบบในการ พัฒนาระบบจัดการ นักท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเที่ยว ตามกรอบ มาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับ ในระดับสากล 3. ด�ำเนินการประเมินด้วย เครื่องมือการประเมินการ จัดการนักท่องเที่ยวตาม มาตรฐานในระดับสากล 4. ศึกษาแนวทางตามกรอบ กลไกของอุทยานแห่งชาติ/ มรดกโลก (VMATUNESCO ) และ/หรือ พัฒนาระบบเทคโนโลยี การจัดการนักท่องเที่ยว อย่างมีส่วนร่วมเข้ามาใช้ ในการเป็นต้นแบบตาม เป้าหมาย (ในระดับชาติ/ ระดับสากล)

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการ จัดการนักท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ มีการวางแผน และการด�ำเนินการ ทบทวน ปรับปรุงระบบให้มี ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง 3 ปี รวมถึงติดตามผลกระทบ เชิงลบที่อาจเกิดขึ้น พร้อมทั้ง การประเมินขีดความสามารถ ในการรองรับ และความ อ่อนไหวเปราะบางของพืน้ ที่ ด้วยเครื่องมือการประเมิน การจัดนักท่องเทีย่ วตามกรอบ กลไกของอุทยานแห่งชาติ/ มรดกโลก (VMAT - UNESCO) และ/หรือ มีการน�ำระบบ เทคโนโลยีการจัดการ นักท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วม เข้ามาใช้ ส่งผลให้เป็นต้น แบบในระดับชาติ/ระดับ สากลตามเป้าหมายของพื้นที่

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก (แนะน�ำให้ท�ำควบคู่กับข้อ A8 ด้านการจัดการปริมาณ นักท่องเที่ยวและกิจกรรม การท่องเที่ยว) 1. จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเพือ่ รับฟังข้อคิดเห็น เกีย่ วกับการจัดนักท่องเทีย่ ว 2. ท�ำการศึกษาด้านการจัดการ นักท่องเที่ยว ทั้งด้านขีด ความสามารถในการรองรับ นักท่องเที่ยว และการ เตรียมการภาวะขาดแคลน นักท่องเที่ยว 3. ประสานขอข้อมูลการ บริหารและการจัดการ นักท่องเที่ยวต้นแบบจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และ แนวทางปฏิบัติของพื้นที่ 5. ประชุมปฏิบัติการเพื่อ การวางแผนนโยบาย การจัดการนักท่องเที่ยว ในทุกสถานการณ์

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การจัดการติดตามผลกระทบ จากการท่องเที่ยวด้านสภาพ สิง่ แวดล้อมทีม่ คี วามเปราะบาง อย่างมีประสิทธิภาพและได้รบั การยอมรับในระดับชาติ ตาม เป้าหมายที่ก�ำหนดร่วมกัน ของพื้นที่ โดยมีกลไกส�ำหรับ การหารายได้เพื่อสนับสนุน การอนุรักษ์ทรัพย์สินทาง ธรรมชาติ และสื่อสารให้ ข้อมูลกับผู้มีส่วนได้เสียอย่าง ต่อเนื่อง 3 ปี จนเห็นผลใน การปกป้องรักษาระบบนิเวศ ในพื้นที่

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


104 105

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การมี ปฏิสัมพันธ์ กับสิ่งมีชีวิต ในป่า (Wildlife interaction)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

D3

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนการด�ำเนินงานในการ ปกป้องการมีปฏิสัมพันธ์ ด�ำเนินกิจกรรมกับสิ่งมี ชีวิตในป่า - มาตรฐานการปกป้อง การมีปฏิสัมพันธ์ด�ำเนิน กิจกรรมกับสิ่งมีชีวิตในป่า หรือหลักปฏิบัติส�ำหรับ การท�ำกิจกรรมทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง กับสิ่งมีชีวิตในป่ารวมถึง การส�ำรวจ ที่เป็นไปตาม มาตรฐานสากล - รายงานการศึกษาด้านภัย คุกคามกรณีการมี ปฏิสมั พันธ์กบั สิง่ มีชวี ติ ในป่า

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีข้อกฎหมาย ท้องถิ่น กฎหมายของชาติ กฎหมายระหว่างประเทศ และมาตรฐานการปกป้อง การมีปฏิสัมพันธ์ด�ำเนิน กิจกรรมกับสิ่งมีชีวิตในป่า และ/หรือ การออกหลักปฏิบตั ิ ส�ำหรับการท�ำกิจกรรมที่ เกี่ยวเนื่องกับสิ่งมีชีวิตในป่า รวมถึงการส�ำรวจ ที่เป็นไป ตามมาตรฐานสากล

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการศึกษาข้อมูล กฏหมายและการตรวจ ข้อปฏิบัติตามกฎหมาย - มีโครงการอบรมเพื่อ พัฒนาศักยภาพของ มัคคุเทศก์และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเกี่ยวกับการดูแล นักท่องเที่ยวกับการมี ปฏิสมั พันธ์กบั สิง่ มีชวี ติ ในป่า - โครงการพัฒนา ประสิทธิภาพระบบ การจัดการแหล่งท่องเที่ยว ที่อ่อนไหว เปราะบาง - โครงการเฝ้าระวังแหล่ง ท่องเที่ยวที่อ่อนไหว เปราะบาง

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการ ตรวจสอบ การเฝ้าระวัง เหตุการณ์ความเป็นอยู่และ การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิต ในป่าที่เป็นไปตามกฎหมาย ของแหล่งท่องเทีย่ ว และ/หรือ มีหลักฐานเชิงประจักษ์ในการ สนับสนุนให้ใช้มาตรฐาน สากลมาปฏิบัติ (อนุสัญญา CITES)/หรือ กิจกรรมที่ร่วม รณรงค์การไม่รบกวนหรือ มีปฏิสัมพันธ์กับสัตว์ป่า รวมถึงการส�ำรวจว่าเป็นไป ตามหลักมาตรฐานสากล

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรมอุทยาน ด�ำเนินการ แห่งชาติ และ 5. กรม บูรณาการ ทรัพยากร เครือข่าย ชายฝั่ง 3-5. ร่วม พัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวนประสิทธิภาพของ ระบบการจัดการแหล่ง ท่องเที่ยวการให้ข้อมูล ต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในระดับสากล 2. ตรวจสอบ อัปเดตข้อมูล เชื่อมโยงกับระบบแผนงาน พร้อมบรรลุเป้าหมายที่ ก�ำหนดร่วมกันของพื้นที่ 3. จัดให้มีช่องทางในการ เผยแพร่ขอ้ มูลอย่างต่อเนือ่ ง และสามารถแจ้งปัญหาที่ อาจส่งผลกระทบต่อการ มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิต ในป่า 4. การตกลงกับภาคีเครือข่าย ในการศึกษาข้อมูลเพื่อ วางเป้าหมายให้ได้รับการ ยอมรับในระดับสากลจาก องค์กรพิทักษ์สัตว์ป่าทั้งใน ด้านระบบตรวจสอบ การปฏิบัติตามกฎหมาย

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่มี ประสิทธิภาพเป็นมาตรฐาน สากลทั้งในการตรวจสอบ การเฝ้าระวังเหตุการณ์ความ เป็นอยู่และการมีปฏิสัมพันธ์ กับสิ่งมีชีวิตในป่า รวมถึง ได้รับการยอมรับในระดับ สากลจากองค์กรพิทักษ์สัตว์ ป่าทั้งในด้านระบบตรวจสอบ การปฏิบัติตามกฎหมาย และ การสื่อสารแก่นักท่องเที่ยว และผู้มีส่วนได้เสียถึงความ ส�ำคัญและผลกระทบจาก การท่องเที่ยวที่มีต่อสิ่งมีชีวิต ในป่าซึ่งอาจเป็นอันตราย เช่น การสัมผัส และการให้ อาหาร เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก (แนะน�ำให้ท�ำควบคู่กับข้อ D1 การปกป้องสิ่งแวดล้อมที่มี ความเปราะบาง) 1. จัดประชุมร่วมกับภาคี เครือข่ายเพื่อชี้แจงและ รับฟังเกี่ยวกับการมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิต ในป่า 2. ขอค�ำแนะน�ำจากผูเ้ ชีย่ วชาญ พร้อมวางแผนในการ ก�ำหนดขอบเขตการศึกษา และการวางแผนงาน 3. รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และ แนวทางปฏิบัติของพื้นท�ำ 4. ท�ำการศึกษาด้านภัย คุกคามกรณีการมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิต ในป่า 5. ประชุมปฏิบัติการเพื่อ การปกป้องการมี ปฏิสัมพันธ์ด�ำเนินกิจกรรม กับสิ่งมีชีวิตในป่า โดยมี การก�ำหนดแผนงานและ นโยบาย

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่ได้ค�ำนึงถึง ภัยคุกคามกรณีการมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตในป่า ส่งผลให้เกิด/หรืออาจจะเกิด ผลกระทบต่อสัตว์เหล่านั้น และการด�ำรงชีวิตและพฤติ กกรรมของสิ่งมีชีวิตในป่า ที่เปลี่ยนไป

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


106 107

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

ตัวอย่างโครงการ - โครงการจัดท�ำระบบติดตาม ตรวจสอบการแสวงหา ประโยชน์โดยมิชอบจากพืช หรือสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ - โครงการชี้แจง หรือ อบรม ให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รับทราบเกี่ยวกับข้อปฏิบัติ กฏหมายในเรื่องการ แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ จากพืชหรือสัตว์และ สวัสดิภาพสัตว์ การค้า ระหว่างประเทศซึ่งมีชนิด สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้ สูญพันธุ์ ในภาคการ ท่องเที่ยว - โครงการอบรมและพัฒนา ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องในเรื่องการดูแล สวัสดิภาพสัตว์ และการ แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ จากพืชหรือสัตว์และ สวัสดิภาพสัตว์

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การดูแล ตรวจสอบ ปฏิบัติ ตามแผนการด�ำเนินงาน ในเรื่องการแสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบจากพืชหรือสัตว์ และสวัสดิภาพสัตว์ เพื่อ รับรองว่าสัตว์จะมีสวัสดิภาพ ทีด่ ี และมีการอนุรกั ษ์สายพันธุ์ พืชและสัตว์ ซึ่งรวมถึงการ ออกใบอนุญาตและตรวจสอบ คุณสมบัติของบุคลากรที่ รับผิดชอบสัตว์ป่าที่อยู่ใน ครอบครอง และมีการด�ำเนิน การเพื่อส่งเสริมอนุสัญญา CITES ว่าด้วยการค้าระหว่าง ประเทศซึ่งมีชนิดสัตว์ป่าและ พืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ ในภาค การท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรมอุทยาน ด�ำเนินการ แห่งชาติ และ 5. กรม บูรณาการ ทรัพยากร เครือข่าย ชายฝั่ง 3-5. ร่วม พัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวนประสิทธิภาพของ ระบบการจัดการแหล่ง ท่องเที่ยวการให้ข้อมูล 2 ทางต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในระดับสากล 2. ทบทวนเป้าหมายในการ ลดจ�ำนวนกรณีการแสวงหา ประโยชน์โดยมิชอบจาก พืชหรือสัตว์และสวัสดิภาพ สัตว์ คิดเป็นร้อยละ 5 จาก ปีก่อนในระยะเวลา 3 ปี ต่อเนื่อง 3. จัดการดูแลสวัสดิภาพสัตว์ และพืชสงวน อย่างเป็น ระบบ ตั้งแต่ เฝ้าระวัง จนถึงอนุรักษ์ ตรวจสอบ สายพันธุ์ต่อเนื่องจนเห็น ผลของจ�ำนวนที่เพิ่มขึ้น จากการอนุรักษ์ 4. จัดการองค์ความรู้ในหัวข้อ การแสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบจากพืชหรือสัตว์ และสวัสดิภาพสัตว์อย่าง บูรณาการกับภาคี เครือข่าย และมีการ เผยแพร่ต่อสาธารณชน

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบที่มี ประสิทธิภาพในการดูแลเรื่อง การแสวงหาประโยชน์โด ยมิชอบจากพืชหรือสัตว์และ สวัสดิภาพสัตว์ เพื่อรับรองว่า สัตว์จะมีสวัสดิภาพทีด่ ี และ มีการอนุรกั ษ์สายพันธุพ์ ืช และสัตว์ มีระบบส�ำหรับ ตรวจสอบเงื่อนไขของการ ครอบครองสัตว์ป่า และ สัตว์เลีย้ ง รวมถึงการจัดทีอ่ ยู่ อาศัยและการดูแล และการ จัดการทัง้ สัตว์ปา่ และสัตว์เลีย้ ง ทีม่ ปี ระสิทธิภาพตามมาตรฐาน สวัสดิภาพสูงสุด โดยมีกลไก การแจ้งเหตุจากประชาชน เพื่อเฝ้าระวังเหตุการณ์ และสัมฤทธิผลในการลด จ�ำนวนกรณีการแสวงหา ประโยชน์โดยมิชอบจากพืช หรือสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ คิดเป็นร้อยละ 5 จากปีก่อน ในระยะเวลา 3 ปี

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมผู้มีส่วนได้ส่วน เสียเพื่อชี้แจงและรับฟัง เกี่ยวกับการแสวงหา ประโยชน์โดยมิชอบจากพืช หรือสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ 2. ขอค�ำปรึกษาจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และ แนวทางปฏิบัติของพื้นที่ 4. จัดท�ำแนวทางปฏิบัติ กฏระเบียบเกี่ยวกับการ ไม่แสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบจากพืชหรือสัตว์ และสวัสดิภาพสัตว์

หลักฐานพื้นฐาน - แนวทางปฏิบัติ กฏหมาย ข้อบัญญัติเกี่ยวกับการ แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ จากพืชหรือสัตว์และ สวัสดิภาพสัตว์ - เอกสารการสื่อสารชี้แจง เพื่อสร้างความเข้าใจ ในข้อกฏหมาย เพื่อการ คุ้มครองและการอนุรักษ์ พันธุ์พืชและสัตว์ป่าต่อ นักท่องเทีย่ ว ผูป้ ระกอบการ และผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่ แหล่งท่องเที่ยว - หลักฐานในการศึกษาเพื่อ จัดท�ำระบบการตรวจสอบ ระแวดระวัง การค้าขาย สินค้าและสิ่งมีชีวิตจากป่า

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ที่เป็นกฎหมายท้องถิ่น กฎหมายระดับประเทศ และ กฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงมาตรฐานต่างๆ เพื่อ เป็นมาตรการในการับรองว่า สัตว์จะมีสวัสดิภาพที่ดีมีการ ชี้แจงข้อมูลด้านกฎหมาย มาตรฐาน มาตรการตาม อนุสัญญา CITES)/และ แนวทางปฏิบัติให้แก่ ผู้ประกอบการท่องเที่ยว และมัคคุเทศก์มีการออก ใบอนุญาตและตรวจสอบ คุณสมบัติของบุคลากร ที่รับผิดชอบสัตว์ป่าที่อยู่ ในครอบครอง

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีกฎหมาย ท้องถิ่น กฎหมายระดับ ประเทศและกฎหมาย ระหว่างประเทศ รวมถึง การแสวงหา มาตรฐานต่างๆ เพื่อรับรองว่า ประโยชน์ สัตว์จะมีสวัสดิภาพที่ดี โดยมิชอบ จากพืช หรือสัตว์ และ สวัสดิภาพ สัตว์ (Species exploitation and animal welfare)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

D4

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


108 109

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การอนุรักษ์ พลังงาน (Energy conservation)

ค�ำอธิบาย ในการยก ระดับ

D5

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนการด�ำเนินงานการ จัดการการใช้พลังงาน - นโยบายปรับปรุงระบบ ห่วงโซ่การใช้พลังงานเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ พลังงาน - เอกสารมาตรการในการ ประหยัดพลังงานในพื้นที่ - แผนการอนุรักษ์พลังงาน ของสถานประกอบการ - ผลการศึกษาในการจัดท�ำ ระบบส่งเสริมให้ ผู้ประกอบการมีการ ตรวจวัด ติดตาม ดูแล ในการลดการใช้พลังงาน - เอกสารประชาสัมพันธ์ การประหยัดพลังงาน

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการวางแผนการจัดการ การใช้พลังงาน และ/หรือ แผนการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการใช้ พลังงาน และ/หรือ การใช้ พลังงานทดแทน โดยมีการ เผยแพร่และประกาศ เป้าหมายการใช้พลังงาน อย่างชัดเจน แต่ยังไม่ได้น�ำไป ด�ำเนินงานในภาพรวมของ พื้นที่

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการพัฒนา ประสิทธิภาพการใช้ พลังงานในแหล่งท่องเที่ยว - โครงการชี้แจง เผยแพร่ การอนุรักษ์พลังงาน และ การน�ำพลังงานทดแทน มาใช้ในแหล่งท่องเที่ยว - โครงการส่งเสริมการใช้ พลังงานทดแทนในแหล่ง ท่องเที่ยว - โครงการฝึกอบรม ผู้ประกอบการ และผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียในแหล่ง ท่องเที่ยวให้มีการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ - โครงการพลังงานทางเลือก - โครงการอนุรักษ์พลังงาน แบบมีส่วนร่วม

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการวางแผนการจัดการ การใช้พลังงาน และ/หรือ แผนการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการใช้ พลังงาน และ/หรือ การใช้ พลังงานทดแทน โดยมีการ เผยแพร่และประกาศ เป้าหมายการใช้พลังงาน อย่างชัดเจน แต่ยังไม่ได้น�ำไป ด�ำเนินงานในภาพรวมของ พื้นที่

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 2. อปท. 3. เครือข่าย 4. กระทรวง พลังงาน

1. บูรณาการ 2. ประสาน จัดท�ำแผน ด�ำเนินการ และ บูรณาการ เครือข่าย 3-4. ร่วม พัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวนประสิทธิภาพของ ระบบการอนุรักษ์พลังงาน ต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน ระดับสากล 2. ทบทวนเป้าหมายลด การใช้พลังงาน รวมถึง มีการลงทุนในพลังงาน ทดแทน และควบคุม สัดส่วนร้อยละของการ จัดหา/การบริโภคทั้งหมด ในห่วงโซ่คุณค่าของการ ท่องเที่ยวตามเป้าหมาย ที่วางไว้ต่อเนื่องในช่วง เวลา 3 ปี 3. พัฒนาประสิทธิภาพ การใช้พลังงานอย่างมี ระบบในภาคท่องเที่ยว (ด้วยการส่งเสริมจาก ภาครัฐ และเอกชน ให้มี ระบบการติดตามและ ประเมินผลการใช้พลังงาน ทดแทน)

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การจัดการการใช้พลังงาน และมีระบบการด�ำเนินงาน ในการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน และ/หรือ การใช้พลังงานทดแทน รวมถึงมีการส่งเสริมให้ ภาคธุรกิจตรวจวัด ติดตาม ดูแล และลดการใช้พลังงาน รวมถึงมีการลงทุนในพลังงาน ทดแทน และควบคุมสัดส่วน ร้อยละของการจัดหา/ การบริโภคทั้งหมดในห่วงโซ่ คุณค่าของการท่องเที่ยว ตามเป้าหมายที่วางไว้ ต่อเนื่องในช่วงเวลา 3 ปี

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการ อนุรักษ์พลังงาน 2. ขอค�ำปรึกษาจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และ แนวทางปฏิบัติของพื้นที่ 4. ท�ำการศึกษาความเป็น ไปได้ในการจัดท�ำระบบ ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ มีการตรวจวัด ติดตาม ดูแลในการลดการใช้ พลังงาน 5. วางแผนงานด�ำเนินการ เรื่องการอนุรักษ์พลังงาน ในแหล่งท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีเป้าหมาย และ/หรือไม่มีหลักฐานในการ ให้ความส�ำคัญต่อการอนุรักษ์ พลังงาน

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


110 111

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การจัดการ น�้ำ (Water stewardship)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

D6

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และ แนวทางปฏิบัติของพื้นที่ - แผนการจัดการน�้ำ พร้อม ทั้งแผนประเมินความเสี่ยง ด้านการใช้น�้ำ - รายงานสถิติการใช้น�้ำทุกปี - มีแผนพับ ป้าย โปสเตอร์ สื่อออนไลน์ ในการ ประชาสัมพันธ์การใช้ ทรัพยากรน�้ำเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ให้ ผู้ประกอบการและ นักท่องเที่ยว - ผลการศึกษาความเป็น ไปได้ในการจัดท�ำแผน การจัดการน�้ำและระบบ ประเมินความเสี่ยงด้าน การใช้นำ�้ ในแหล่งท่องเทีย่ ว

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน การวางแผนในการตรวจวัด ติดตามดูแล จัดการการใช้น�้ำ รวมถึงมีรายงานการใช้น�้ำ แจ้งต่อสาธารณชน มีการประเมินความเสี่ยง ด้านน�้ำในแหล่งท่องเที่ยว และจัดท�ำเอกสารเป็น ลายลักษณ์อักษร รวมถึง มีการให้ข้อมูลในเรื่อง ความเสี่ยงของการใช้น�้ำ และรณรงค์ใช้น�้ำเท่าที่จ�ำเป็น

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการพัฒนาแหล่งน�้ำ แบบบูรณาการทุกภาคส่วน - โครงการอบรมการใช้ ทรัพยากรน�้ำอย่างรู้คุณค่า ให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทุกภาคส่วน - โครงการจัดเก็บสถิติการ ใช้น�้ำในภาคการท่องเที่ยว และประเมินความ ขาดแคลนน�้ำ - กิจกรรมฝึกอบรมการ ประหยัดน�้ำในสถาน ประกอบการและชุมชน - โครงการประเมิน Water footprint ตามมาตรฐาน ISO 14044 - โครงการสร้างก�ำแพง กันดินคลอง (ป้องกัน การกัดเซาะริมคลองและ ป้องกันน�้ำท่วม) - โครงการพัฒนาแหล่งน�้ำ เพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศทาง ธรรมชาติ

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การจัดการการใช้น�้ำ โดยมี การติดตามและควบคุม การใช้ปริมาณทรัพยากรน�้ำ เพื่อวัตถุประสงค์ในการ ท่องเที่ยว พร้อมทั้งติดตาม และควบคุมผลกระทบที่เกิด ขึ้นกับชุมชนและระบบนิเวศ ในท้องถิ่น ตลอดจนมีการ ส่งเสริมและตรวจสอบให้ ภาคธุรกิจท่องเที่ยวมี การปฏิบัติตามเป้าหมาย การใช้น�้ำอย่างต่อเนื่อง

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรม ด�ำเนินการ ทรัพยากร และ น�้ำ บูรณาการ 5. ส�ำนักงาน เครือข่าย ทรัพยากร 3-7. ร่วม น�้ำแห่งชาติ พัฒนา 6. กรมชล ประทาน 7. การประปา ส่วน ภูมิภาค

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวนประสิทธิภาพของ ระบบการจัดการน�้ำต่อ เนื่องอย่างน้อย 3 ปี เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ก้าวสู่มาตรฐานสากล 2. ทบทวนเป้าหมายลด การใช้น�้ำ รวมถึงการ ยกระดับพัฒนา ประสิทธิภาพการใช้น�้ำ ในภาคธุรกิจตามเป้าหมาย ที่วางไว้ต่อเนื่องในช่วง เวลา 3 ปี 3. มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินความเสี่ยง จากการใช้น�้ำในภาค เอกชน ภาคประชาชน และการบูรณการการ มีส่วนร่วมในการใช้น�้ำ 4. พัฒนาช่องทางสื่อสาร ออนไลน์ เพื่อให้ข้อมูลแก่ นักท่องเที่ยวในเรื่องความ เสี่ยงของน�้ำ และรณรงค์ ให้มีการใช้น�้ำเท่าที่จ�ำเป็น

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีกลไก การจัดการการใช้น�้ำอย่างมี ประสิทธิภาพตามแนวทาง การประเมิน water footprint จากมาตรฐาน ISO14046 / เทียบเท่า รวมถึงมีการ ตรวจวัด ติดตามดูแลประเมิน ความเสี่ยง และจัดการการใช้ น�้ำ พร้อมทั้งติดตามและ ควบคุมผลกระทบที่เกิดขึ้น กับชุมชนและระบบนิเวศ ในท้องถิ่น ตลอดจนมีการ ส่งเสริมและตรวจสอบให้ ภาคธุรกิจท่องเทีย่ วการปฏิบตั ิ ตามเป้าหมายการใช้น�้ำ ให้ค�ำแนะน�ำและให้การ สนับสนุนการติดตามและ ควบคุมการใช้น�้ำของภาค ธุรกิจ นอกจากนี้ยังมีการ ให้ข้อมูลแก่นักท่องเที่ยว ในเรื่องความเสี่ยงของน�้ำ และขอให้มีการใช้น�้ำเท่าที่ จ�ำเป็น

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก (แนะน�ำให้ท�ำควบคู่ไปกับ ข้อ D7 ด้านคุณภาพน�้ำ) 1. จัดประชุมชี้แจง ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในเรื่องการจัดการ น�้ำ เพื่อพิจารณาปัจจัย เสี่ยงและสถานการณ์ ปัจจุบัน 2. ขอค�ำปรึกษาจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และ แนวทางปฏิบัติของพื้นที่ 4. ท�ำการศึกษาความเป็น ไปได้ในการจัดท�ำแผนการ จัดการน�้ำและระบบการ ประเมินความเสี่ยงด้าน การใช้นำ�้ ในแหล่งท่องเทีย่ ว 5. วางแผนงานด�ำเนินการ เรื่องการจัดการน�้ำ ในแหล่งท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการจัดการน�้ำ ซึ่งน�ำไปสู่ ปัญหาด้านการขาดแคลน น�้ำของชุมชนและระบบนิเวศ ในท้องถิ่น

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


112 113

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

คุณภาพน�้ำ (Water quality)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

D7

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนการด�ำเนินงาน นโยบายในการปรับปรุง คุณภาพน�้ำในพื้นที่ - หลักฐาน/ข้อมูลทางสถิติ ในการตรวจสอบคุณภาพน�ำ้ ซึ่งรวมไปถึงน�้ำดื่ม น�้ำเพื่อ นันทนาการและทาง นิเวศวิทยา - หลักฐานด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ มาตรฐาน ควบคุม หรือมาตร การควบคุมคุณภาพน�้ำ ซึ่งรวบเป็นไปถึงการ ตรวจสอบคุณภาพน�้ำ - เอกสาร หลักฐานในการ สื่อสารประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับข้อมูลคุณภาพน�้ำ - เอกสารหลักเกณฑ์การ รับรองสถานีผลิตน�้ำและ เกณฑ์คุณภาพน�้ำประปา ดื่มได้

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน หรือข้อมูลเชิงสถิติ และ/หรือ รายงานการตรวจสอบ คุณภาพน�้ำใช้และน�้ำดื่ม น�้ำ เพื่อนันทนาการ และทาง นิเวศวิทยา โดยใช้มาตรฐาน คุณภาพน�้ำของประเทศ รวมถึงมีกฎหมายสิ่งแวดล้อม ที่ก�ำหนดมาตรฐานแหล่งน�้ำ

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการระบบตรวจสอบ คุณภาพน�้ำในแหล่ง ท่องเที่ยวตามแผนงาน บูรณาการ - โครงการส�ำรวจและตรวจ เฝ้าระวังคุณภาพน�้ำดื่ม อย่างสม�่ำเสมอ - โครงการเตรียมการจัดหา น�้ำสะอาดเพื่อการอุปโภค บริโภคทดแทนหากมีกรณี ขาดแคลนน�้ำ หรือคุณภาพ น�้ำไม่ได้มาตรฐาน - โครงการประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อสร้างสรรค์สร้าง ความเข้าใจด้านคุณภาพ น�้ำแก่ประชาชน - โครงการประเมินสถานะ คุณภาพและปริมาณน�้ำ ด้วยระบบเฝ้าระวัง แหล่งน�้ำผ่าน Web application - โครงการพัฒนาประปา หมู่บ้านกับมาตรฐาน ตรวจวัดคุณภาพน�้ำ

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการ ตรวจสอบและการด�ำเนินการ ติดตามคุณภาพน�้ำ น�้ำดื่ม น�้ำเพื่อนันทนาการ และทาง นิเวศวิทยา โดยใช้มาตรฐาน คุณภาพน�้ำของประเทศ เพื่อการด�ำเนินการเพื่อ ปรับปรุงคุณภาพน�้ำอย่าง ต่อเนื่อง

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรม ด�ำเนินการ ทรัพยากร และ น�้ำ บูรณาการ 5. ส�ำนักงาน เครือข่าย ทรัพยากร 3-8. ร่วม น�้ำแห่งชาติ พัฒนา 6. กรมชล ประทาน 7. การประปา ส่วน ภูมิภาค 8. กรม ควบคุม มลพิษ

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวนประสิทธิภาพของ ระบบตรวจสอบคุณภาพ น�้ำต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การก้าวสู่มาตรฐานสากล 2. ทบทวนเป้าหมายเพิ่ม ประสิทธิภาพคุณภาพน�้ำ ในภาคธุรกิจ ภาคประชาชน ตามเป้าหมายที่วางไว้ต่อ เนื่องในช่วงเวลา 3 ปี 3. มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินความเสี่ยง ด้านคุณภาพน�้ำในแหล่ง ท่องเที่ยว และพัฒนา ช่องทางในการตอบสนอง ต่อปัญหาด้านคุณภาพน�้ำ ในภาคเอกชน ภาค ประชาชนได้ทันท่วงที ตามตัวชี้วัดในด้านความ พึงพอใจ

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีกลไกที่มี ประสิทธิภาพในการตรวจสอบ และการด�ำเนินการติดตาม และการรายงานผลคุณภาพน�ำ้ น�้ำดื่ม น�้ำเพื่อนันทนาการ และทางนิเวศวิทยา และมี ระบบที่สามารถตอบสนองต่อ ปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพน�้ำที่ เกิดขึ้นอย่างทันท่วงที รวมถึง มีการตรวจสอบน�้ำที่ใช้ ส�ำหรับอาบ ด้วยมาตรฐาน การรับรองและระบุสถานที่ ตามมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ และให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพ น�้ำดื่มในท้องถิ่นแก่ นักท่องเที่ยวและคนในพื้นที่

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก (แนะน�ำให้ท�ำควบคู่ไปกับ ข้อ D6 ด้านคุณภาพน�้ำ) 1. จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียให้รับทราบถึง สภาวะคุณภาพน�้ำใน ปัจจุบัน พร้อมทั้งระดม ความคิดเห็นเพื่อให้เกิด การมีสว่ นร่วมในการพัฒนา 2. ขอค�ำปรึกษาจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และ แนวทางปฏิบัติของพื้นที่ 4. ท�ำการศึกษาความเป็นไป ได้ในการจัดท�ำแผน บูรณาการในการตรวจสอบ คุณภาพน�้ำและระบบการ ประเมินความเสี่ยงด้าน คุณภาพน�้ำในแหล่ง ท่องเที่ยว 5. วางแผนงานด�ำเนินการ เรื่องการตรวจสอบและ พัฒนาคุณภาพน�้ำ ในแหล่งท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ข้อมูล และ/หรือรายงาน เกี่ยวกับคุณภาพน�้ำ รวมถึงมี ความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหา คุณภาพน�้ำในพื้นที่

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


114 115

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

D8 น�้ำเสีย (Wastewater)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

D8

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนการด�ำเนินการ และการจัดการน�้ำเสีย - เอกสารหลักฐาน แนวทาง การก�ำกับดูแลการใช้น�้ำ และการบ�ำบัดน�้ำเสีย - สถิติการทดสอบคุณภาพ น�้ำและการระบายน�้ำจาก การบ�ำบัดน�้ำเสีย - แผนการด�ำเนินการ เรื่องของน�้ำที่ได้ท�ำการ บ�ำบัดแล้ว - รายงานผลการศึกษา การจัดท�ำแผนบูรณาการ ในการตรวจสอบการ บ�ำบัดน�้ำเสีย และระบบ การประเมินความเสี่ยง

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน การจัดท�ำแนวทางปฏิบัติ และข้อบังคับทีเ่ ป็นลายลักษณ์ อักษรเกี่ยวกับการบ�ำบัด น�้ำเสีย และมีเอกสารระบุถึง ข้อควรปฏิบัติในเรื่องของการ จัดตั้ง การดูแลรักษา และ การทดสอบการระบายจาก บ่อเกรอะ และจากระบบ บ�ำบัดน�้ำเสีย รวมถึงมีการ ก�ำกับดูแลและบังคับใช้ กฎหมายอย่างเคร่งครัด ในด้านระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ในพื้นที่

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการเพิ่มศักยภาพ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย และ ระบบเฝ้าระวังน�้ำเสีย ในแหล่งท่องเที่ยว - มีโครงการอบรมการบ�ำบัด น�้ำเสียให้แก่ผู้มีสว่ นได้ ส่วนเสีย โดยเฉพาะ สถานประกอบการธุรกิจ ท่องเที่ยว และครัวเรือน - มีโครงการจัดท�ำระบบ ก�ำจัดน�้ำเสียในแหล่ง ท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบ การจัดการน�้ำเสีย และมี แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน ต่อเนื่องเห็นผล และมีการ ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าว นั้นในเรื่องของการจัดตั้งการ ดูแลรักษา และการทดสอบ การระบายจากบ่อเกรอะ และจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย รวมถึงมีการจัดตั้งระบบ บ�ำบัดน�้ำเสียอย่างยั่งยืน ในระดับท้องถิ่น และมีระบบ ของการบังคับใช้แนวทาง ปฏิบัติในหมู่ผู้ประกอบการ ด้านการท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรม ด�ำเนินการ ทรัพยากร และ น�้ำ บูรณาการ 5. ส�ำนักงาน เครือข่าย ทรัพยากร 3-8. ร่วม น�้ำแห่งชาติ พัฒนา 6. กรมชล ประทาน 7. การประปา ส่วน ภูมิภาค 8. กรม ควบคุม มลพิษ

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ - ทบทวนประสิทธิภาพของ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย และระบบเฝ้าระวังน�ำ้ เสีย ต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการก้าวสู่มาตรฐานสากล 2. ทบทวนเป้าหมายเพิ่ม ประสิทธิภาพการบ�ำบัด น�้ำเสีย ในภาคธุรกิจ ภาคประชาชนตาม เป้าหมายที่วางไว้ต่อเนื่อง ในช่วงเวลา 3 ปี 3. มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินความเสี่ยง ด้านการบ�ำบัดน�้ำเสีย ในแหล่งท่องเที่ยว 4. พัฒนาโครงการต้นแบบ การบ�ำบัดน�้ำเสียและ น�ำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle Water) อย่างมีประสิทธิภาพ 5. ศึกษาจากต้นแบบใน ประเทศที่มีการบ�ำบัด น�้ำเสียอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ประเทศสิงคโปร์ เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบกลไก การจัดการน�้ำเสียอย่างมี ประสิทธิภาพ และมีแนวทาง ปฏิบัติที่ชัดเจนต่อเนื่อง รวมถึงมีการปฏิบัติตาม แนวทางของระบบบ�ำบัด น�้ำเสีย รวมถึงมีการติดตาม ตรวจสอบ/ทดสอบน�้ำเสีย ที่ปล่อยทิ้งแล้ว เพื่อจะได้รับ การบ�ำบัดและน�ำกลับมาใช้ (Recycle Water) อย่างมี ประสิทธิภาพ จนเป็นต้นแบบ ของประเทศ ในด้านการ จัดการน�้ำเสียในพื้นที่ จาก สถาบันที่มีหน้าที่รับผิดชอบ ในด้านนี้

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก (แนะน�ำให้ท�ำควบคู่ไปกับ ข้อ D6 ด้านคุณภาพน�้ำ) 1. จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียให้รับทราบถึง สภาวะน�้ำเสียในปัจจุบัน พร้อมทั้งระดมความคิด เห็นเพื่อให้เกิดการมี ส่วนร่วมในการพัฒนา 2. ขอค�ำปรึกษาจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และ แนวทางปฏิบัติของพื้นที่ 4. ท�ำการศึกษาความเป็นไป ได้ในการจัดท�ำแผนบูรณา การในการตรวจสอบการ บ�ำบัดน�้ำเสียและระบบ การประเมินความเสีย่ งด้าน น�้ำเสียในแหล่งท่องเที่ยว 5. วางแผนงานด�ำเนินการแบบ บูรณาการเรื่องการตรวจ สอบน�้ำเสีย และการบ�ำบัด น�้ำเสีย และการก�ำหนดข้อ ตกลงร่วมกัน 6. การจัดท�ำแนวทางปฏิบัติ และข้อบังคับที่เป็น ลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับ การบ�ำบัดน�้ำเสียในแหล่ง ท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน/ แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนใน เรื่องของการจัดตั้ง การดูแล รักษา และการทดสอบ การระบายน�้ำเสียจาก บ่อเกรอะ และจากระบบ บ�ำบัดน�้ำเสีย/มีความเสี่ยง ในด้านน�้ำเสีย

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


116 117

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

ขยะมูลฝอย (Solid waste)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

D9

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - เอกสารหลักฐาน แนวทาง การก�ำกับดูแลการจัดการ ขยะ - เอกสารสถิติเพื่อการ ตรวจวัดและรายงาน ปริมาณขยะในพื้นที่แหล่ง ท่องเที่ยว - แผนการ แนวทางในการ จัดการขยะมูลฝอย - แนวทางในการรีไซเคิล อย่างเป็นรูปธรรม - เอกสารหลักฐานการ ส่งเสริมจิตส�ำนึกเกี่ยวกับ การคัดแยกขยะในชุมชน

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีมาตรการ การจัดการขยะมูลฝอย ประกอบด้วย มีรายงาน ปริมาณขยะที่เกิดขึ้น และมี การตั้งเป้าหมายในการลด ปริมาณขยะ รวมถึงมีแผน การรีไซเคิลขยะ อย่างน้อย 4 ประเภท (เช่น วัตถุอินทรีย์ กระดาษ โลหะ แก้ว และ พลาสติก) และมีระบบที่ ยั่งยืนส�ำหรับการก�ำจัดขยะ ที่ตกค้าง

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการรณรงค์และ ลดขยะมูลฝอยในแหล่ง ท่องเที่ยว - โครงการให้ความรู้และ อบรมชุมชนในเรื่องขยะ - โครงการลดขยะ แยกขยะ ขยะมีค่า - โครงการสื่อประชาสัมพันธ์ การจัดการขยะมูลฝอย ภายในแหล่งท่องเที่ยว - โครงการส่งเสริมการจัดการ แยกขยะ และการใช้ถงั ขยะ ให้ถูกวิธี - โครงการจัดการขยะชุมชน ครบวงจร ตามหลัก 3R (Reduce, Reuse, Recycle) พร้อมการจัดท�ำ ธนาคารขยะมีค่า - โครงการระบบการจัดการ ขยะด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศในการติดตาม เส้นทางขยะในพื้นที่แหล่ง ท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบการ จัดการขยะมูลฝอย ประกอบ ด้วย มีการตรวจวัด และ รายงานปริมาณขยะที่เกิดขึ้น และมีการตั้งเป้าหมายในการ ลดปริมาณขยะ รวมถึงมี ระบบที่รวบรวมและรีไซเคิล ขยะ อย่างน้อย 4 ประเภท (เช่น วัตถุอินทรีย์ กระดาษ โลหะ แก้ว และพลาสติก) และมีการด�ำเนินการเพือ่ ก�ำจัด หรือลดการใช้วัสดุที่ใช้เพียง ครั้งเดียวแล้วทิ้งโดยเฉพาะ พลาสติก รวมถึงขยะที่เหลือ อยู่ที่ไม่ได้น�ำมาใช้ซ�้ำหรือ รีไซเคิลต้องได้รับการก�ำจัด อย่างปลอดภัยและยั่งยืน และมีโปรแกรมด�ำเนินการ ติดตามเรื่องขยะ โดยตั้ง เป้าหมายในการลดจ�ำนวน ขยะมูลฝอยอย่างน้อย 3 ปี และมีผลการด�ำเนินงาน ที่เผยแพร่ต่อสาธารณชน

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรมควบคุม ด�ำเนินการ มลพิษ และ บูรณาการ เครือข่าย 3-4. ร่วม พัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขัน้ ตอนการเสริมประสิทธิภาพ 1. ทบทวนประสิทธิภาพของ ระบบการจัดการขยะมูลฝอย และระบบติดตามเส้นทาง ขยะ ต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน การก้าวสู่มาตรฐานสากล ISO 14001 2. ทบทวนเป้าหมายเพิ่ม ประสิทธิภาพการจัดการ ขยะมูลฝอย และการลด จ�ำนวนขยะในภาคธุรกิจ ภาครัฐ ภาคประชาชนตาม เป้าหมายที่วางไว้ต่อเนื่อง ในช่วงเวลา 3 ปี 3. การติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินความเสี่ยงด้านการ จัดขยะล้นเมืองในแหล่ง ท่องเที่ยว 4. การเสริมสร้างความรู้ใน การจัดการขยะมูลฝอยแบบ บูรณาการอย่างต่อเนื่อง (จัดอบรมคัดแยกขยะ จัด ตั้งธนาคารขยะ จัดตั้งเตา เผาขยะ ชุมชนปลอดมลพิษ) 5. การศึกษาต้นแบบ การเป็น เมือง Zero Waste แห่ง อนาคต ที่มีการใช้ นวัตกรรมในการเปลี่ยน ขยะเป็นสิ่งมีคุณค่า ตาม แนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

นอกจากนี้ แหล่งท่องเที่ยว มีการส่งเสริมให้ภาคธุรกิจหลีก เลี่ยงการสร้างขยะ และให้มีการ ลดจ�ำนวนขยะ น�ำขยะกลับมาใช้ ใหม่ และรีไซเคิลขยะ ซึ่งรวมถึง ขยะที่เป็นเศษอาหารด้วย และ มีการประสานงานร่วมกับธุรกิจ ท่องเที่ยวในการจัดการรณรงค์/ ให้ค�ำปรึกษา/การสนับสนุนการ จัดการขยะ ซึ่งรวมถึงขยะเศษ อาหาร และ/หรือ การน�ำ แนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียนมา ประยุกต์ใช้จนเป็นต้นแบบใน ระดับประเทศ/ระดับสากล

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบกลไก การจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูก ต้องและมีประสิทธิภาพ เช่น - การลดการฝังกลบขยะด้วย การจัดให้มีระบบคัดแยก - โปรแกรมด�ำเนินการติดตาม เรื่องขยะ โดยมีการตั้งเป้า หมาย และผลการด�ำเนินงาน ที่สัมฤทธิผลพร้อมเผยแพร่ต่อ สาธารณชนอย่างน้อย 3 ปี - มีการรณรงค์เพื่อลด/ก�ำจัดการ ใช้วัสดุที่ใช้เพียงครั้งเดียวแล้ว ทิ้ง โดยเฉพาะพลาสติก - มีโปรแกรมด�ำเนินการจัดการ ขยะในที่ท�ำงานของหน่วยงาน ภาครัฐ และสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกสาธารณะต่างๆ - มีการรณรงค์ให้เลิกการทิ้งขยะ นอกจุดทิ้งและรักษาความ สะอาดของพื้นที่สาธารณะ

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียให้รับทราบถึงการ จัดการขยะมูลฝอย พร้อม ทั้งระดมความคิดเห็นเพื่อ ให้เกิดการมีส่วนร่วมใน การพัฒนา 2. ขอค�ำปรึกษาจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 3. รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และ แนวทางปฏิบัติของพื้นที่ 4. ท�ำการศึกษาความเป็นไปได้ ในการจัดท�ำแผนบูรณาการ ในการการจัดการขยะ มูลฝอย และระบบการ ประเมินความเสี่ยงด้าน การจัดการขยะมูลฝอย ในแหล่งท่องเที่ยว 5. วางแผนงานด�ำเนินการ แบบบูรณาการเรื่อง การตรวจสอบการจัดการ ขยะมูลฝอย และการ ก�ำหนดข้อตกลงร่วมกัน 6. การจัดท�ำแนวทางปฏิบัติ และข้อบังคับที่เป็น ลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับ การจัดการขยะมูลฝอย ในแหล่งท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการจัดการขยะมูลฝอย อย่างถูกต้องและไม่มมี าตรการ การลดการฝังกลบขยะรวมถึง ไม่มีระบบรีไซเคิล

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


118 119

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การลด การปล่อย ก๊าซเรือน กระจก และ บรรเทา การเปลี่ยน แปลงของ สภาพ ภูมิอากาศ (GHG emissions and climate change mitigation)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

D10

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - แผนยุทธศาสตร์ แผนการ ด�ำเนินงานเพื่อลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก - แผนผังโครงสร้าง หน่วยงานผู้รับผิดชอบ ในด้านการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกในแหล่ง ท่องเที่ยวต้นแบบ - แผนการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ การลดและบรรเทาการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก พร้อมสนับสนุนการมี ส่วนร่วมจากภาคีการ ท่องเที่ยวในพื้นที่ - เอกสารหลักฐานเรื่อง สื่อสารเกี่ยวกับการชดเชย การปล่อยก๊าซเรือนกระจก

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการประกาศเป้าหมาย ในการลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก รวมถึงแผนการ ด�ำเนินงานในการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยก�ำหนดร้อยละของการลด และวันในการวัดผล ซึ่งแหล่ง ท่องเที่ยวมีหน่วยงานภาครัฐ ที่รับผิดชอบหลัก และการ จัดท�ำ MOU ร่วมกับ เครือข่ายเพื่อลงนามในการ ด�ำเนินการเรื่องการลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่ชัดเจน

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการการปรับตัว (adaptation plan) ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ - โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้พลังงานเพื่อลด ผลกระทบจากการเปลี่ยน แปลงสภาพภูมิอากาศ - โครงการศึกษาผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศในพื้นที่ และจัดท�ำระบบตรวจวัด ติดตามดูแล ลด จ�ำนวน การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ให้น้อยที่สุด - โครงการประเมิน Carbon Footprint หรือ มาตรฐาน ISO 14044 - โครงการส่งเสริมกิจกรรม ชดเชยคาร์บอนของการ ท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบหรือ กลไกในการลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก รวมถึงได้มีการ ด�ำเนินงาน และรายงานผล ตามนโยบายการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก มีการจัดท�ำ รายงานสภาพอากาศประจ�ำปี รวมถึงการเฝ้าสังเกตการณ์ และการปฏิบัติงานเพื่อลด ผลกระทบต่างๆ และมี หลักฐานในการจัดท�ำโครงการ สนับสนุนการรณรงค์อย่างมี ส่วนร่วมในรูปแบบต่างๆ กับ ธุรกิจท่องเที่ยวและผู้มีส่วน ได้เสียในการลดและบรรเทา การปล่อยก๊าซเรือนกระจก และการเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมอิ ากาศอย่างต่อเนือ่ ง

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรม ด�ำเนินการ ควบคุม และ มลพิษ บูรณาการ 5. กอง เครือข่าย ประสาน 3-5. ร่วม การจัดการ พัฒนา เปลี่ยน แปลง สภาพภูมิ อากาศ (กปอ.)

GSTC-D Version 2.0

ขัน้ ตอนการเสริมประสิทธิภาพ 1. ทบทวนประสิทธิภาพของ ระบบการจัดการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกและ ระบบติดตาม ต่อเนื่อง อย่างน้อย 3 ปี เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการก้าวสู่ มาตรฐานสากล (มาตรฐาน ISO 14044) 2. ทบทวนเป้าหมายเพิ่ม ประสิทธิภาพการจัดการลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในภาคธุรกิจ ภาครัฐ ภาค ประชาชนตามเป้าหมายที่ วางไว้ตอ่ เนือ่ งในช่วงเวลา 3 ปี 3. การติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินความเสี่ยงด้านการ จัดการลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกในแหล่งท่องเทีย่ ว 4. จัดการประชุมเครือข่าย บูรณาการร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชนในการลด การปล่อยยก๊าซเรือนกระจก เพื่อทบทวน ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง 5. ท�ำการศึกษา ในการส่งเข้า ประกวดรางวัลในเรื่องการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศในระดับนานาชาติ เช่น Green Climate Fund Champion Awards

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีกลไกการ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่มีประสิทธิภาพ โดยก�ำหนด เป้าหมาย แผนการด�ำเนินการ การติดตามรายงานผล และ มีการสนับสนุนให้ภาคธุรกิจ ต่างๆ มีการตรวจวัด ติดตาม ดูแล ลด หรือปล่อยก๊าซ เรือนกระจกให้น้อยที่สุด จากทุกมิตขิ องการด�ำเนินธุรกิจ (รวมถึงจากซัพพลายเออร์ และผู้ให้บริการด้วย) และ มีการรายงานต่อสาธารณชน นอกจากนี้ต้องมีการสนับสนุน การรณรงค์หรือการมีส่วนร่วม ในรูปแบบต่างๆ กับธุรกิจ ท่องเที่ยวและผู้มีส่วนได้เสีย ในการลดเพื่อบรรเทาการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ การให้ข้อมูลในเรื่องของแผน รายการการชดเชย (offset) การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ในการเป็นต้นแบบในระดับ ประเทศ/ระดับสากล

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก (แนะน�ำให้ท�ำควบคู่ไปกับข้อ D11 การขนส่งทีม่ ผี ลกระทบต�ำ่ ) 1. จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียให้รับทราบถึงการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ปัจจุบัน พร้อมทั้งระดม ความคิดเห็นเพื่อให้เกิด การมีสว่ นร่วมในการพัฒนา 2. ขอค�ำปรึกษาจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 3. รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และ แนวทางปฏิบัติของพื้นที่ 4. ท�ำการศึกษาความเป็นไปได้ ในการจัดท�ำแผนบูรณาการ ในการตรวจสอบการเปลีย่ น แปลงสภาพภูมิอากาศ และระบบการประเมิน ความเสี่ยงด้านการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก และบรรเทาการเปลีย่ นแปลง ของสภาพภูมิอากาศ 5. วางแผนงานด�ำเนินการ แบบบูรณาการเรื่อง การลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก และบรรเทา การเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมิอากาศ และการ ก�ำหนดข้อตกลงร่วมกัน 6. การจัดท�ำแนวทางปฏิบัติ และข้อบังคับที่เป็น ลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับ การบรรเทาการเปลี่ยน แปลงของสภาพภูมิอากาศ

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน การลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก รวมถึงไม่มีการ ด�ำเนินการและรายงานผล ตามนโยบาย และไม่มีการ ปฏิบัติงานในการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


120 121

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

การขนส่ง ที่มีผล กระทบต�่ำ (Low - impact transportation)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

D11

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

หลักฐานพื้นฐาน - มีแนวทางการใช้ระบบ การขนส่งที่มีผลกระทบต�่ำ - มีกฎ ระเบียบที่อ�ำนวย ความสะดวกให้เกิดการใช้ การขนส่งที่มีผลกระทบต�่ำ - แผนการ หรือนโยบาย สนับสนุนการขนส่ง สาธารณะและการใช้ พาหนะที่ปล่อยมลพิษต�่ำ - รายงานการศึกษาความ เป็นไปได้ในการพัฒนา ขนส่งที่มีผลกระทบต�่ำ - แผนงานการประชาสัมพันธ์ ตัวเลือกในการเดินทาง ภายในแหล่งท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน ในการก�ำหนดเป้าหมาย เพื่อลดการปล่อยมลพิษ จากการขนส่งในการเดินทาง มายังแหล่งท่องเที่ยว และ ภายในแหล่งท่องเที่ยวใน ภาพรวม รวมถึงจัดท�ำ แผนงานในการสนับสนุนให้ หน่วยงานภาครัฐและธุรกิจ ท่องเที่ยวให้ความส�ำคัญกับ การใช้การขนส่งทีม่ ผี ลกระทบ ต�่ำภายในหน่วยงานของ ตนเอง

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

ตัวอย่างโครงการ - โครงการสนับสนุนการใช้ จักรยานในแหล่งท่องเที่ยว และเส้นทางปั่นจักรยาน - โครงการพัฒนาเครื่องยนต์ ทีใ่ ช้พลังงานไฟฟ้าในท้องที่ - โครงการสอบถาม นักท่องเที่ยวเพื่อพัฒนา การขนส่งที่มีผลกระทบต�่ำ ให้เอื้อประโยชน์แก่ นักท่องเที่ยว - โครงการการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์มาตรการ การลดการใช้รถยนต์ ส่วนตัวเดินทางเข้าสู่แหล่ง ท่องเที่ยวและสนับสนุน ให้ใช้รถโดยสาร

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบกลไก การก�ำหนดเป้าหมายในการ ลดการปล่อยมลพิษจากการ ขนส่งในการเดินทางมายัง แหล่งท่องเที่ยว และภายใน แหล่งท่องเที่ยวในภาพรวม รวมถึงแหล่งท่องเที่ยวมีการ ลงทุนกับโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการขนส่งที่มีความยั่งยืน ยิ่งขึ้น ซึ่งรวมถึงการขนส่ง สาธารณะ และยานพาหนะ ที่ปล่อยมลพิษต�่ำ และมีการ เก็บข้อมูลขอนักท่องเที่ยว ที่เลือกใช้การขนส่งทางเลือก เพื่อน�ำมาปรับปรุง พัฒนาให้ ตอบสนองการด�ำเนินการ ในปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรมควบคุม ด�ำเนินการ มลพิษ และ 5. กระทรวง บูรณาการ คมนาคม เครือข่าย 3-5. ร่วม พัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขัน้ ตอนการเสริมประสิทธิภาพ 1. ทบทวนประสิทธิภาพของ ระบบการจัดการขนส่งที่มี ผลกระทบต�่ำ และระบบ ติดตาม ต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี 2. ทบทวนเป้าหมายเพิ่ม ประสิทธิภาพการเพิ่มการ น�ำพาหนะและการขนส่ง สาธารณะที่ยั่งยืน และ ปล่อยมลพิษต�่ำมาใช้งาน เป็นตัวชี้วัดในอัตราร้อยละ ของจ�ำนวนการขนส่งใน พื้นที่ตามเป้าหมายที่วางไว้ ต่อเนื่องในช่วงเวลา 3 ปี 3. การติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินความเสี่ยงด้านการ จัดการลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกในแหล่งท่องเทีย่ ว 4. จัดการประชุมเครือข่าย บูรณาการร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาชนในการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ การขนส่งที่ส่งผลกระทบต�่ำ 5. บูรณาการความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐ เอกชน และประชาชนเพื่อ สนับสนุนการขนส่งที่มีผลก ระทบต�่ำในแหล่ง ท่องเที่ยวและเดินทาง เข้ามายังแหล่งท่องเที่ยว ในอนาคตที่เป็นระยะยาว

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบกลไก การบรรลุเป้าหมายในการลด การปล่อยมลพิษอย่างมี ประสิทธิภาพ จากการขนส่ง ในการเดินทางมายังแหล่ง ท่องเที่ยว และภายในแหล่ง ท่องเที่ยว และมีการลงทุนกับ โครงสร้างพื้นฐานด้านการ ขนส่งที่มีความยั่งยืนยิ่งขึ้น ซึ่งรวมถึงการขนส่งสาธารณะ และยานพาหนะที่ปล่อย มลพิษต�่ำ มีการเพิ่มการการ ขนส่งสาธารณะที่ยั่งยืน และ ปล่อยมลพิษต�่ำมาใช้งาน เป็นตัวชี้วัดในอัตราร้อยละ ของจ�ำนวนการขนส่งในพื้นที่ (เช่น การเดิน ปั่นจักรยาน และรถไฟฟ้า เป็นต้น) เพื่อให้ ภาคการท่องเที่ยวลดการ ปล่อยมลพิษทางอากาศ ลดความคับคั่งของการจราจร และลดการเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมิอากาศ รวมถึงมีการ ให้ข้อมูลโปรโมทการขนส่ง ทางเลือกต่างๆ ในการเดินทาง มายังแหล่งท่องเที่ยว และ ภายในแหล่งท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก (แนะน�ำให้ท�ำควบคู่ไปกับข้อ D10 การลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก และบรรเทา การเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมิอากาศ) 1. จัดประชุมชี้แจงผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียให้รับทราบถึง การขนส่งที่มีผลกระทบ ในปัจจุบัน พร้อมทั้งระดม ความคิดเห็นเพื่อให้เกิด การมีส่วนร่วมในการ พัฒนาการขนส่งที่มี ผลกระทบต�่ำ 2. ขอค�ำปรึกษาจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และ แนวทางปฏิบัติของพื้นที่ 4. ท�ำการศึกษาความเป็น ไปได้ในการจัดท�ำแผน บูรณาการในการพัฒนาการ ขนส่งที่มีผลกระทบต�่ำ 5. วางแผนงานด�ำเนินการแบบ บูรณาการพัฒนาการขนส่ง ที่มีผลกระทบต�่ำและ การก�ำหนดข้อตกลงร่วมกัน 6. การจัดท�ำแนวทางปฏิบัติ และข้อบังคับที่เป็น ลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับ การพัฒนาการขนส่งที่มี ผลกระทบต�่ำ

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มีหลักฐาน ในการลดการปล่อยมลพิษ จากการขนส่งในการเดินทาง มายังแหล่งท่องเที่ยว และ ภายในแหล่งท่องเที่ยว ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงใน ด้านสุขภาพของคนในพื้นที่

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


122 123

แนวทาง ในการ ด�ำเนินการ

มลภาวะ ทางแสง และเสียง (Light and noise pollution)

ค�ำอธิบาย ในการ ยกระดับ

D12

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนด กลุ่ม เป้าหมาย

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบในการ ด�ำเนินการตามข้อบังคับ ในการลดมลภาวะทางแสง และเสียง และส่งเสริมให้ ภาคธุรกิจและเครือข่ายต่างๆ ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติ และข้อบังคับนั้น รวมถึง สามารถติดตามผลการปฏิบัติ งานในการแก้ไขปัญหาได้ อย่างต่อเนื่อง

ขั้นตอนที่ 4 ตัวอย่างโครงการ/ กิจกรรมเพื่อจัดการ ระบบใน PDCA

หลักฐานพื้นฐาน ตัวอย่างโครงการ - แนวทาง กฎระเบียบเกี่ยว - โครงการอบรมให้ความรู้ กับการควบคุมมลภาวะ แก่ผู้ประกอบการธุรกิจ ทางแสงและเสียง ในแหล่ง ท่องเที่ยวเกี่ยวกับการ ท่องเที่ยว สร้างมลภาวะทางแสง - เอกสารประชาสัมพันธ์ และเสียง เช่นแผ่นพับ ป้ายโปสเตอร์ - โครงการระบบติดตาม เพื่อชี้แจงในเรื่องข้อบังคับ เฝ้าระวังสถานการณ์เสียง ส�ำหรับมลภาวะทางแสง และแสงในพื้นที่แหล่ง และเสียง ท่องเที่ยว - โครงสร้างหน่วยงานที่ รับผิดชอบในเรื่องมลภาวะ ทางแสงและเสียง รวมทั้ง ให้มีการเฝ้าระวังการก่อให้ เกิดมลภาวะทางแสง และเสียง - ผลการศึกษาความเป็น ไปได้ในการจัดท�ำแผน บูรณาการในการลด มลภาวะทางแสงและเสียง

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวมีหลักฐาน แนวทางปฏิบัติและข้อบังคับ ในการลดมลภาวะทางแสง และเสียง และมีการเฝ้า สังเกตการณ์จุดที่มีความเป็น ไปได้ในการก่อให้เกิด มลภาวะทางแสงและเสียง โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับ การท่องเที่ยว

ขั้นตอนที่ 3 หลักฐานที่ควรมี เพื่อการพัฒนา

GSTC-D Version 2.0

1. อพท. 1. บูรณาการ 2. อปท. 2. ประสาน 3. เครือข่าย จัดท�ำแผน 4. กรมควบคุม ด�ำเนินการ มลพิษ และ บูรณาการ เครือข่าย 3-4. ร่วม พัฒนา

GSTC-D Version 2.0

ขั้นตอนการเสริม ประสิทธิภาพ 1. ทบทวนประสิทธิภาพของ ระบบเฝ้าระวังสถานการณ์ เสียงและแสงในพื้นที่แหล่ง ท่องเที่ยว ต่อเนื่องอย่าง น้อย 3 ปี 2. ทบทวนเป้าหมายเพิ่ม ประสิทธิภาพการลด มลภาวะทางแสงและเสียง ที่ยั่งยืน 3. การติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินความเสี่ยงด้าน การจัดการลดมลภาวะทาง แสงและเสียง ร่วมกับภาคี เครือข่ายตามแผน บูรณาการ 4. ศึกษาต้นแบบนวัตกรรม ในการลดมลภาวะทาง เสียงและแสงในแหล่ง ท่องเที่ยว เพื่อน�ำมาปรับ ใช้ในพื้นที่

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

แหล่งท่องเที่ยวมีระบบกลไก ที่มีประสิทธิภาพ ในการ จัดการผู้คนในพื้นที่ให้ สามารถรายงานเกี่ยวกับ มลภาวะทางแสงและเสียง ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมกับสามารถติดตามผล การปฏิบัติงานได้ พร้อม สามารถระบุและเฝ้า สังเกตการณ์จุดที่มีความ เป็นไปได้ในการก่อให้เกิด มลภาวะทางแสงและเสียง โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการ ท่องเที่ยว รวมถึงการส่งเสริม ให้ภาคธุรกิจต่างๆ ปฏิบัติ ตามแนวทางปฏิบัติและ ข้อบังคับนั้น จนเกิดเป็น ต้นแบบนวัตกรรมของ การจัดการเรื่องแสงและเสียง

ขั้นตอนที่ 5 ความรับผิดชอบ การสร้างเสริมประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบ/ ผู้รับผิดชอบ หน้าที่ เป็นที่ยอมรับ

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ขั้นตอนในช่วงแรก 1. จัดประชุมชี้แจงผู้มสี ว่ นได้ ส่วนเสียให้รบั ทราบถึง มลภาวะทางแสงและเสียง ในปัจจุบัน พร้อมทั้งระดม ความคิดเห็นเพื่อให้เกิด การมีสว่ นร่วมในการพัฒนา 2. ขอค�ำปรึกษาจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติ และ แนวทางปฏิบัติของพื้นที่ 4. ท�ำการศึกษาความเป็นไป ได้ในการจัดท�ำแผนบูรณา การในการพัฒนาลด มลภาวะทางแสงและเสียง 5. วางแผนงานด�ำเนินการ แบบบูรณาการพัฒนา การลดมลภาวะทางแสง และเสียงและการก�ำหนด ข้อตกลงร่วมกัน 6. การจัดท�ำแนวทางปฏิบัติ และข้อบังคับที่เป็น ลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับ การพัฒนาการลดมลภาวะ ทางแสงและเสียง

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

แหล่งท่องเที่ยวไม่มี หลักฐานแนวทางปฏิบัติ และไม่มีข้อบังคับในการลด มลภาวะทางแสงและเสียง

ขั้นตอนที่ 1 ก�ำหนด เป้าหมาย สูงสุด

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา

ระบุ เป้าหมาย สูงสุด พร้อม ระยะเวลา

เป้าหมาย สูงสุด/ ระยะเวลา


คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์ GSTC-D Version 2.0

124

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) ร่วมกับ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล GSTC-D Version 2.0

ส�ำนักจัดการองค์ความรู้ ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

คู่ มื อ ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ต า ม ข อ ง แ ห ล่ ง ท่ อ ง เที่ ย ว ต า ม เ ก ณ ฑ์

ค ณ ะ ทํ า ง า น

125


3 Inch


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.