เที่ยวนี้เพื่อใคร: Tourism for whom

Page 1


ข้อมูลผูจ้ ดั ท�ำ

พิมพ์ครั้งที่ 1 ที่ปรึกษา : พันเอก ดร.นาฬิกอติภัค แสงสนิท, ดร.ชูว ิทย์ มิตรชอบ, สุเทพ เกื้อสังข์,  พลากร บุปผาธนากร คณะทำ�งาน : ประภัสสร วรรธนะภูติ, ณวรรณ ทินราช, กรกช พบประเสริฐ,  ชัชวาล ม่วงพรวน, วรรณวิภา ภานุมาต, นพดล จินดาธรรม งานองค์ความรู้ สำ�นักบริหารยุทธศาสตร์ องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) 118/1 อาคารทิปโก้ ชั้น31 ถนนพระราม 6 แขวงสามแสนใน เขตพญาไท กรุงเทพ 10400 โทร 02-357-3580-7 แฟกซ์ 02-357-3599 เว็บไซต์ http://www.dasta.or.th ,http://ctthailand.net , https://www.facebook.com/SaiJaiPaiTiew ผลิตโดย บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด เลขที่ 32 ซอย โชคชัย 4 ซอย 84 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพ 10230 โทร 02-116-9959, 087-718-7324 แฟกซ์ 02-116-9958 อีเมล cocoonjob@gmail.com


ค�ำน�ำ เที่ยวนี…้ เพื่อใคร?: Tourism…for Whom? จะเป็นการบอกเล่าถึงสถานการณ์ การท่องเที่ยวในปัจจุบนั อพท. กับการพั ฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน การท่องเที่ยว เพือ่ ขจัดความยากจน การกระจายรายได้สชู่ ุมชน ความอยูด่ ีมสี ขุ ของชุมชน และการน�ำ ศาสตร์พระราชามาใช้กบั การพั ฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน รวมถึงกรณีศกึ ษาที่นา่ สนใจ ของประเทศที่มดี ชั นีความสุขติดอันดับโลก เช่น เดนมาร์ก และภูฏาน เป็นต้น อพท. คาดหวังว่า ซีรสี่ ค์ วามรู้ “เที่ยวนี…้ เพือ่ ใคร?: Tourism…for Whom?” จะช่วย กระตุน้ ให้ทกุ ภาคส่วน หันกลับมาให้ความส�ำคัญกับการท่องเที่ยวแบบยัง่ ยืน ตระหนัก ถึงทรัพยากรการท่องเที่ยวที่เหลืออยูใ่ นประเทศให้มากขึน้ และเห็นภาพชัดเจนว่า อพท. ไม่ใช่แค่พั ฒนาการท่องเที่ยวเพียงอย่างเดียว แต่ทำ� ให้การท่องเที่ยวเป็นเครือ่ งมือให้ชุมชน พึง่ พาตนเองได้ สร้างรายได้ รูจ้ ักและภูมิ ใจในตนเอง เกิดความอยูด่ ีมสี ขุ มีภมู คิ มุ้ กัน ต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ชุ มชนพร้อมที่จะเป็นเจ้าบ้านที่ดจี ากใจจริง และสร้าง ความประทับใจให้นกั ท่องเที่ยวอยากกลับมาอีก “เที่ยวนี.้ ..เพื่อใคร” จะท�ำให้เห็นมุมมองของการท่องเที่ยวว่าจะพั ฒนาให้ยั่งยืนได้ ต้องให้ความส�ำคัญกับการกระจายรายได้จากการท่องเที่ ยวให้เข้าถึงชุ มชนมากที่ สุด ทั้งชุมชนที่ทำ� การท่องเที่ยวโดยตรงและชุมชนใกล้เคียง ให้มโี อกาสได้รบั ผลประโยชน์ดว้ ย ไม่ใช่รวยกระจุกจนกระจาย ดังนัน้ หลักในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวจะต้องจับมือ ทุกคนไปด้วยกัน ไม่ทงิ้ ใครไว้ขา้ งหลัง เที่ยวนี…้ เพือ่ ใคร? จึงได้คำ� ตอบคือ “เที่ยวนีเ้ พือ่ ชุมชน เพือ่ ความอยูด่ ีมสี ขุ ของชุมชน” พั นเอก (ดร.นาฬิกอติภคั แสงสนิท) ผูอ้ ำ� นวยการ อพท.

สารบัญ บทน�ำ หน้า 6

สถานการณ์ การท่องเที่ยวโลกในปัจจุบัน หน้า 8

การท่องเที่ยว เพื่อลดความยากจน หน้า 12 บทบาท อพท กับการพัฒนา การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน หน้า 14 กรณีศึกษา หน้า 40

การท่องเที่ยว อุตสาหกรรมแห่ง ความหวังของโลก หน้า 10

CBTT และเครื่ องมือ เราได้เรากระจาย หน้า 32

Interview หน้า 48 ศาสตร์พระราชา หน้า 44

ประกวดบทความ และภาพถ่าย หน้า 60

ขอบคุณข้อมูล หน้า 64


บทน�ำ การท่องเที่ยว เครื่ องมือพัฒนาสู่ความยั่งยืน ปฏิเสธไม่ไ ด้ว่าปัญหาความเหลื่อมล�้ำในประเทศไทยจะมีสูงมาก จากการส�ำรวจ ล่าสุดของ Oxford Committee for Famine Relief (Oxfam) ระบุว่าประเทศไทย เป็นอันดับ 3 ของประเทศที่มีความเหลื่อมล�้ำมากที่สุดในโลก รองจากรัสเซียและอินเดี ย ปัญหาตรงจุดนีเ้ ป็นปัญหาที่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก�ำลังร่วมมือเร่งแก้ ไข เพื่อลดความ เหลื่อมล�้ำของประชาชนคนไทย ส�ำหรับ อพท. นัน้ ยังคงยึดมั่นและให้ความส�ำคัญของการพั ฒนาการท่องเที่ยวมาตลอด โดยหวังว่าอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจะช่วยให้คนในชุมชนมีรายได้จากการจ้างงาน ช่วยยก ระดับคุณภาพชี วิต เเละความเป็นอยูข่ องคนในท้องถิ่นให้ดีขนึ้ จนกลายเป็นรากฐานส�ำคัญ ที่จะน�ำไปสู่การพั ฒนาประเทศ “ให้การท่องเที่ยวเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยสร้างรายได้และลด ความเหลือ่ มลาํ้ ให้คนไทย”

การท่องเที่ยวเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยสร้างรายได้ และลดความเหลื่อมล�้ำให้คนไทย ศิลปะวัฒนธรรม ประเพณีอนั ดีงามของประเทศไทยเป็นส่วนหนึง่ ที่ดงึ ดูดให้นกั ท่องเที่ยว หลากหลายเชื้ อชาติเดินทางมาท่องเที่ยว ชื่ นชม สัมผัสกับวิถีความเป็นอยูข่ องประเทศไทย สิ่งนีถ้ ือเป็นจุ ดเด่นที่ คนไทยทุกคนควรอนุรักษ์และหวงแหนเอาไว้ เพื่อต่อยอดน�ำไปสู่ การท่องเที่ยวแบบยัง่ ยืน โดยผูท้ ี่จะได้รับผลประโยชน์จากการท่องเที่ยวแบบยัง่ ยืนก็คอื คนในชุมชนที่เป็นเจ้าของ พืน้ ที่ มีรายได้จากการท่องเที่ยว บนพืน้ ฐานของศิลปวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม กลายเป็น ชุมชนเข้มแข็ง ลดความเหลือ่ มล�ำ้ และช่วยให้มคี วามเป็นอยูท่ ี่ดีขนึ้


สถานการณ์ ท่องเที่ยวโลกในปัจจุบัน ปั จ จุ บั น การท่ อ งเที่ ย วมี บ ทบาทส� ำคั ญ ต่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คมของประเทศไทย เป็นอย่างมาก ซึง่ ดูได้จากจ�ำนวนนักท่องเที่ยว ที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยที่มากขึน้ ทุกๆ ปี โดยปี 2559 มีนกั ท่องเที่ยวต่างชาติเดินทาง มาประเทศไทยจ�ำนวน 32.59 ล้านคน สร้างรายได้ ให้แก่ประเทศไทยกว่า 2.51 ล้านล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2554 ถึง 1.5 ล้านล้านบาท แต่ผลกระทบ ที่ตามมานอกจากจ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่มากขึน้ คือ สภาพสังคม วัฒนธรรม เปลีย่ นแปลงไป ทรั พ ยากรการท่ อ งเที่ ย วของประเทศไทย เริ่ มเสื่อมถอย เนื่องจากการมุ่งเน้นจ�ำนวน

นักท่องเที่ยวและรายได้มากเกินไป โดยไม่ได้ ค�ำนึงถึงศักยภาพของแหล่งท่องเที่ ยวนั้นๆ ส่งผลให้ปจั จัยด้าน Demand เติบโตขึน้ สวนทาง กั บ Supply ที่ เสื่อมถอย ดังนั้นจะต้องมี การเตรียมพร้อมที่จะเผชิญกับความเสี่ยงที่จะ เกิดขึน้ ในระยะเวลาอันใกล้นี้ ดั ง นั้ นทุ ก ภาคส่ ว นควรให้ ค วามส� ำ คั ญ และตระหนักถึงทรัพยากรการท่องเที่ยวที่ยัง หลงเหลื อ อยู ่ ใ ห้ ม ากขึ้ น เพราะทุ ก วั น นี้ ประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงาม แต่ขาด การดูแลรักษาอย่างจริ งจั งเพื่อให้ทรัพ ยากร คงอยูไ่ ว้ให้ลกู หลานต่อไป

8

9


การท่องเที่ยว อุตสาหกรรมแห่งความหวังของโลก

การท่องเที่ยว เครื่ องมือพัฒนาสู่ความยั่งยืน การพั ฒนาที่ครอบคลุมเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิง่ แวดล้อม ผ่านกิจกรรมท่องเที่ยวรูปแบบต่างๆ

ท่องเที่ยว = อุตสาหกรรมแห่งความหวังโลก ข้อมูลจาก United Nations World Tourism Organization ; UNWTO และ World Travel & Tourism Council (WTTC) ในปี 2016 : นักท่องเที่ยวทั่วโลกเดินทางระหว่างประเทศจ�ำนวน 1,236 ล้านคน มูลค่าจากการท่องเที่ยวโลกสูงถึง 7.6 ล้านล้าน US$ 10.2% GDP โลกมาจากภาคการท่องเที่ยว ภาคการท่องเที่ยวมีการจ้างงานสูงถึง 292 ล้านคน (1 ใน 10 แรงงานโลกเป็นแรงงานภาคการท่องเที่ยว) ในปี 2030 UNWTO ประมาณการว่าจะนักท่องเที่ ยว เดินทางระหว่างประเทศสูงถึง 1,800 ล้านคน 10

ด้านเศรษฐกิจ

ด้านสังคม

สร้างรายได้ กระตุน้ เศรษฐกิจ ท้องถิ่น สร้างงานในท้องถิ่น

ฟืน้ ฟูวิถีชี วิต สร้างการเรียนรูท้ าง สังคมผ่านกิจกรรมท่องเที่ยวชุมชน

ด้านวัฒนธรรม

ด้านสิง่ แวดล้อม

ฟืน้ ฟูวฒ ั นธรรมประเพณี เพือ่ เป็น ทรัพยากรท่องเที่ยวอย่างหนึง่ เช่น การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

สร้างแรงจูงใจในการอนุรักษ์ทรัพยากร การท่องเที่ยวและสิง่ แวดล้อม เช่น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 11


การท่องเที่ยว เพื่อลดความยากจน

รูปแบบของการท่องเที่ยวเพื่อลดความยากจน การท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ (Eco-Tourism)

เน้นให้ความส�ำคัญกับสิ่งแวดล้อมด้านการท่องเที่ยว ไม่ท�ำลาย ธรรมชาติ ซึง่ เป็นต้นทุนด้านการท่องเที่ยวอย่างหนึง่

การท่องเทีย่ วโดยชุมชน (Community-Based Tourism)

เป็นการท่องเที่ยวที่ส่งเสริมให้ชุ มชน มีศักยภาพสามารถบริหาร จัดการกันเอง สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน

การท่องเทีย่ วเพือ่ แก้ปญ ั หาความยากจน (Pro-poor Tourism) เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่อยูภ่ ายใต้กรอบการท่องเที่ยวแบบยัง่ ยืน (Sustainable Tourism)

การท่องเที่ยวเพื่อลดความยากจน

การท่องเที่ยวเพื่อลดความยากจนในประเทศไทย

การท่องเที่ยวเพื่อลดความยากจนหรือ Pro-poor Tourism หมายถึงการพั ฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เพื่อให้เกิดการจ้างงาน สร้างรายได้และความเป็นอยู่ที่ ดี ขึ้นแก่คนในชุ มชน สามารถลดความยากจนและความ เหลือ่ มล�ำ้ ทางเศรษฐกิจ พร้อมทั้งพั ฒนาด้านสังคมและ สิง่ แวดล้อมไปพร้อมๆกัน ซึง่ เป็นพืน้ ฐานในการพั ฒนาการ ท่องเที่ยวแบบยัง่ ยืน

อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวถือเป็นหนึง่ ในแหล่งรายได้ที่สำ� คัญของประเทศไทย โดยทุกปีมจี ำ� นวน นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศเดินทางเข้ามาในประเทศไทยเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง แต่นกั ท่องเที่ยว ส่วนใหญ่ยงั กระจุกตัวอยูต่ ามสถานที่ทอ่ งเที่ยวที่มคี วามสะดวกสบาย ท�ำให้รายได้กระจุกตัวอยูใ่ นกลุม่ ของคนที่มรี ายได้ปานกลางถึงสูง ไม่กระจายไปถึงกลุม่ คนจนที่อาศัยอยูใ่ นที่หา่ งไกล ด้วยเหตุนภี้ าครัฐจึงได้ส่งเสริ มการท่องเที่ ยวที่ ยั่งยืน เน้นการสร้างความเชื่ อมโยงระหว่าง ภาคการท่องเที่ยว ชุมชน และการส่งเสริมการกระจายรายได้ โดยเพิม่ การมีสว่ นร่วมของคนจน ซึง่ ที่ ผ่านมาประเทศไทยได้มกี ารด�ำเนินนโยบายในลักษณะ Pro-poor Tourism มาแล้วหลายโครงการ ยกตัวอย่างเช่น โครงการ 1 ต�ำบล 1 ผลิตภัณฑ์ และการสนับสนุนวิสาหกิจชุมชน เป็นต้น ซึง่ โครงการ เหล่านีม้ วี ตั ถุประสงค์เดียวกันคือ บรรเทาความยากจนและสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้กบั คนจนที่ เป็นคนกลุม่ ใหญ่ของประเทศนั่นเอง

12

13


อพท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน

บทบาท อพท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน องค์การบริหารการพั ฒนาพืน้ ที่พเิ ศษเพือ่ การท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) หรื อ อพท. ท�ำหน้าที่ ประสาน ส่งเสริ ม สนับสนุนให้เกิด การดูแลพื้นที่ พิเศษเพื่อ การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน โดยมุ่งเน้นไปที่การท่องเที่ยวบนพื้นฐานของศิลปวัฒนธรรม ประเพณีที่ดี งาม เพื่อยกระดับคุณภาพชี วิ ตและกระจายรายได้ ให้แก่คนในชุ มชนให้อยู่ดี มีสขุ ในวิถีชี วิตแบบพอเพียง 14

15


การท่องเที่ยว เพื่อลดความยากจน Pro - poor Tourism

ด้านผลก�ำไรเชิงเศรษฐกิจ ได้แก่ การจ้างงาน รายได้ และ ค่าจ้าง รวมถึงการขยายกิจการ เล็กๆเป็นกิจการขนาดกลาง

ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวติ การท่ อ งเที่ ย วในประเทศที่ ก� ำ ลั ง พั ฒนาส่ ว นใหญ่ จ ะขั บ เคลื่ อ นด้ ว ย การบริ หารจั ด การโดยชุ มชนเป็นหลัก เนื่ อ งจากคนในชุ มช นจะทราบถึ ง ทรัพ ยากรในพื้นที่ จึงสามารถบ่งบอก ความเป็นมาและความต้องการต่างๆได้ ดี กว่าคนนอกชุ มชน ซึ่งจะท�ำให้เกิดการ พั ฒนาแบบยัง่ ยืน โดยการท่องเที่ยวเพือ่ ลดความยากจนหรือ Pro - poor Tourism สามารถแยกออกเป็น 3 ด้านดังนี้

สร้างเสริมความเข้มแข็งให้ชุมชน รวมถึงการบริหารจัดการด้าน ที่อยูอ่ าศัยและสิง่ แวดล้อม ให้เกิดความสมดุล

ด้านการสร้างการมีสว่ นร่วม ในด้านการบริหาร เพือ่ ท�ำให้คนยากจนหรือผูม้ ี รายได้นอ้ ย เข้ามามีสว่ นร่วม ในการวางแผนและพั ฒนา การท่องเที่ยวของชุมชน

16

17


แนวคิด ขาดทุนคือก�ำไร

จากหลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ 9 สามารถน�ำมาประยุกต์ ใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเพือ่ ลดความยากจน (Pro-poor Tourism) ในการด�ำเนินงานด้านต่างๆ อาจจะต้องเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้นหรือ ต้องขาดทุน แต่หากเป็นการแก้ ไขปัญหาและก่อให้เกิดประโยชน์สุข แก่ประชาชน ก็ถอื เป็นสิง่ ที่คมุ้ ค่าแก่การลงทุน ตลอดระยะเวลา 14 ปีที่ผา่ นมา อพท. ได้ทำ� หน้าที่เป็นพี่เลีย้ งในการ ให้ความรู้ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนแก่ชุ มชน การบริหารจั ดการ การท่ องเที่ ย วในชุ ม ชน ตลอดจนสนั บ สนุน กิ จ กรรมที่ จ ะน� ำ ไปสู ่ การกระจายรายได้สชู่ ุมชนอย่างทั่วถึง ทั้งนีเ้ พราะการพัฒนาการท่องเทีย่ ว ไม่ได้มีเป้าหมายไว้เพื่อใครคนใดคนหนึ่ง แต่มีไว้เพื่อผลประโยชน์สุข ของประชาชนในชุมชนที่เจ้าของทรัพยากรแหล่งท่องเที่ยวนั่นเอง ดังนัน้ กล่าวได้วา่ การพั ฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนตามแนวทาง การด� ำ เนิน งาน อพท.เป็ น การพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วเพื่ อ น� ำ ไปสู ่ การแก้ปญ ั หาความยากจนอย่างแท้จริง

18

19


ความเหลื่อมล�้ำทางสังคม และการกระจายรายได้ อย่างเท่าเทียม

20

ความเหลือ่ มล�ำ้ ทางสังคม หมายถึง ความเหลือ่ มล�ำ้ ทางด้านรายได้ระหว่างคนรวยกับคนจน ซึง่ เครือ่ งมือที่ ใช้วดั ความเหลือ่ มล�ำ้ คือ สัมประสิทธิจ์ นี ี่ (Gini Coefficient) ซึง่ เป็นตัวชี้วดั ความ ไม่เท่าเทียม ค่าสัมประสิทธิจ์ นี เี่ ป็นค่าที่คำ� นวณจากพืน้ ที่ระหว่างเส้น Lorenz curve กับ เส้น กระจายรายได้สมบูรณ์ (Perfect distribution line) หารด้วยพืน้ ที่ ใต้เส้นทแยงมุมทั้งหมด โดยที่การค�ำนวณสัมประสิทธิ์จีนตี่ ั้งอยู่บนสมมุติฐานที่ว่าไม่มี ใครมีรายได้ต�่ำกว่าศูนย์ ค่าสัมประสิทธิจ์ นี จี่ ะมีคา่ ตัง้ แต่ 0 ถึง 1 โดยหากมีคา่ เข้าใกล้ 0 หมายความว่ามีรายได้ เท่า เที ยมกันโดยสมบูรณ์ กันโดยสมบูรณ์ ในทางตรงข้ามหากค่าที่ ได้มีค่า เข้าใกล้ 1 ก็หมายความว่า มีความไม่เท่าเทียมกันหรือมีความเหลือ่ มล�ำ้ มาก

21


การประเมินมูลค่าทรัพยากรการท่องเทีย่ วในพืน้ ทีพ่ เิ ศษของ อพท. ทัง้ การประเมินมูลค่าทางเศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน

มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ ทรัพยากรการท่องเที่ยว ด้านสังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม, ผลกระทบเชิงบวกด้านสังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม การประเมินและวิเคราะห์มลู ค่าทางเศรษฐศาสตร์ของทรัพยากรท่องเที่ยวในพืน้ ที่พเิ ศษทั้ง 6 แห่งของ อพท. เป็นการประเมินมูลค่าทาง เศรษฐศาสตร์ ใน 2 มิติ (ด้านสังคมวัฒนธรรม และสิง่ แวดล้อม) ในแต่ละมิตจิ ะมีการประเมินมูลค่าจากความเต็มใจจ่ายออกเป็น 5 ด้านคือ มูลค่าการใช้โดยตรง มูลค่าการใช้โดยอ้อม

มูลค่าเผือ่ ใช้ มูลค่าของการด�ำรงอยู่

พืน้ ทีพ่ เิ ศษเมืองพัทยาและพืน้ ทีเ่ ชือ่ มโยง 1,894,000 ล้านบาท (ด้านสังคมวัฒนธรรม 843,054 ล้านบาท / ด้านสิง่ แวดล้อม 1,050,946 ล้านบาท)

บั 2 อนั ด

พืน้ ทีพ่ เิ ศษเลย 611,731 ล้านบาท (ด้านสังคมวัฒนธรรม 166,477 ล้านบาท / ด้านสิง่ แวดล้อม 445,254 ล้านบาท)

บั 3 อนั ด

พืน้ ทีพ่ เิ ศษอุทยานประวัตศาสตร์สโุ ขทัย - ศรีสชั นาลัย - ก�ำแพงเพชร 383,355 ล้านบาท (ด้านสังคมวัฒนธรรม 179,668 ล้านบาท / ด้านสิง่ แวดล้อม 179,668 ล้านบาท)

บั 4 อนั ด

พืน้ ทีพ่ เิ ศษหมูเ่ กาะช้างและพืน้ ทีเ่ ชือ่ มโยง 163,962 ล้านบาท (ด้านสังคมวัฒนธรรม 83,797 ล้านบาท / ด้านสิง่ แวดล้อม 80,165 ล้านบาท)

บั 5 อนั ด

พืน้ ทีพ่ เิ ศษเมืองเก่าน่าน 123,829 ล้านบาท (ด้านสังคมวัฒนธรรม 71,982 ล้านบาท / ด้านสิง่ แวดล้อม 51,847 ล้านบาท)

บั 6 อนั ด

พืน้ ทีพ่ เิ ศษเมืองโบราณอูท่ อง 46,534 ล้านบาท (ด้านสังคมวัฒนธรรม 31,229 ล้านบาท / ด้านสิง่ แวดล้อม 15,304 ล้านบาท)

มูลค่าเพือ่ ลูกหลาน ในอนาคต

โดยส�ำรวจข้อมูลจากกลุม่ ตัวอย่างทั้งหมด 6,150 ตัวอย่างสรุปผลการประเมิน มูลค่าเศรษฐศาสตร์ของทรัพยากรการท่องเที่ยวในพืน้ ที่พเิ ศษทั้ง 6 แห่งได้ดงั นี้

22

บั 1 อนั ด

23


การทวีคูณรายได้ จากการท่องเที่ยว

รายได้จากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ถือเป็น รายได้ที่กระจายสู่ระบบเศรษฐกิจอย่างกว้างขวาง เนือ่ งจากการเดินทางไปยังที่ตา่ งๆ ของนักท่องเที่ยว จะมีคา่ ใช้จา่ ยในเรื่องการเดินทาง ค่าอาหาร ค่าที่พั ก โดยค่าใช้จา่ ยเหล่านีจ้ ะไม่กระจุกอยูท่ ี่ ใดที่หนึง่ แต่จะ กระจายออกไปสูช่ ุมชน เช่น ร้านขายของที่ระลึก ที่ ใช้ วัส ดุพื้นบ้านมาประดิษฐ์ ซึ่งรายได้เหล่านี้อาจจะ ดู น ้ อ ย แต่ ห ากรวมกั น แล้ ว จะส่ ง ผลต่ อ ระบบ เศรษฐกิจ รวมถึงการจ้างงานในท้องถิ่นที่มากขึน้ ซึง่ ปรากฏการณ์นเี้ รียกว่า “การทวีคณ ู ของรายได้จากการ ท่องเที่ยว” หรือ “Multipiler Effect of Tourism” โดยภาคีเครือข่ายผู้ประกอบธุรกิจท่องเที่ ยวที่ เข้าร่วมการพั ฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนกับ อพท. มีค่าเฉลี่ยของการทวีคูณรายได้จากการท่องเที่ ยว อยูท่ ี่ 2.09 เท่า ซึง่ เป็นตัวเลขที่สงู กว่าผูป้ ระกอบธุรกิจ ท่องเที่ยวในภาพรวมของพืน้ ที่พเิ ศษ ที่มผี ลประเมิน อยูท่ ี่ 1.38 เท่า

24

25


ด้านการเดินทางและสิง่ อ�ำนวยความสะดวก

ความสุข

ของนักท่องเที่ยว ความสุขของนักท่องเที่ยว ในความหมายของ อพท. หมายถึง ความเพลิดเพลิน ความประทั บใจและความ อิ่มเอมใจของนักท่องเที่ ยวที่ เข้ามาท่องเที่ ยวตามแหล่ง เที่ยวต่างๆในพื้นที่พิเศษของ อพท. โดยสามารถแบ่ง ความสุขของนักท่องเที่ยวออกได้ 5 ด้าน

เดินทางสะดวกสบาย เข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวได้งา่ ย มีหอ้ งน�ำ้ สาธารณะเพียงพอต่อจ�ำนวนนักท่องเที่ยว มีที่ นงั่ เล่นพั กผ่อน เช่น จุดชมวิว ร้านกาแฟ Free wifi มีสญ ั ญาณอินเตอร์เน็ท

ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ได้ชมหรือซือ้ สินค้าในท้องถิ่น การใช้จา่ ยที่สมเหตุสมผล การให้ทปิ มัคคุเทศก์ทอ้ งถิ่น

ด้านสังคมและวัฒนธรรม การได้รับประทานอาหารท้องถิ่น ที่คนในพืน้ ที่เป็นคนปรุง การได้ฟงั ดนตรีพนื้ เมือง การบรรเลง จากคนท้องถิ่น การมีสว่ นร่วมในประเพณีทอ้ งถิ่น ด้านทรัพยากรและสิง่ แวดล้อม ได้พบเห็นเยีย่ มชมสถานที่ทอ่ งเที่ยวที่มคี วามสมบูรณ์ทางธรรมชาติ และมีความสะอาด การมาเยือนสถานที่ทอ่ งเที่ยวที่สงบและมีความเป็นส่วนตัว การท่องเที่ยวในพืน้ ที่ที่ภมู ทิ ัศน์สวยงาม ด้านการแลกเปลีย่ นประสบการณ์และการเรียนรู้ การโพสต์ขอ้ ความและรูปภาพวิถีชี วิต การโพสต์ขอ้ ความและรูปภาพธรรมชาติ การมีเวลาอยูก่ บั ตัวเองและได้ทบทวนถึงคนรอบข้าง 26

27


ความสุข ของคนในชุมชน ความสุขของคนในชุมชน หมายถึง สภาวะความ เป็นอยูข่ องประชาชนในชุมชนพืน้ ที่พเิ ศษของ อพท. ที่ มี ความสุ ข ทั้ ง ในด้ า นร่ างกายและจิ ตใจ ซึ่งมี ด้วยกัน 6 องค์ประกอบ

ด้านครอบครัวอบอุน่ ความมั่นคงในที่อาศัย บุตรหลานได้เรียนรูก้ บั คนในครอบครัวตลอดจนนัก ท่องเที่ยวที่มาเยือน เยาวชนได้รับการฝึกอบรมอาชี พ

ด้านบริหารจัดการชุมชนทีด่ ี ความรูส้ กึ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สนิ ของคนในชุมชน มีการป้องกันอุบตั ภิ ยั ในชุมชน มีขอ้ ปฎิบตั ขิ องชุมชนเกีย่ วกับการท่องเที่ยว

ด้านการมีสขุ ภาวะ การรับประทานอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ การมีความรู้ในการใช้ยาหรือสมุนไพรท้องถิ่น การออกก�ำลังกายอย่างสม�ำ่ เสมอ

ด้านการมีสภาพแวดล้อมทีด่ ี การไม่ถกู รบกวนจากมลพิษทางอากาศ การมีสว่ นร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ มีการสร้างมูลค่าเพิม่ จากทรัพยากรธรรมชาติ

ด้านการเป็นชุมชนประชาธิปไตย

ด้านเศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง การมีรายได้เพียงพอต่อการเลีย้ งชี พ การเก็บออมเงินบางส่วนที่ ได้จากกิจกรรม การท่องเที่ยวในชุมชน การรวมกลุม่ พั ฒนาอาชี พและสินค้าชุมชน 28

การมีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็นในชุมชน การเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณะด้านการท่องเที่ยว การมีส่วนร่วมในการรับผิ ดชอบและรับผลประโยชน์ จากการด�ำเนินการด�ำเนินกิจกรรมในชุมชน

29


ระดับความสุขของประชาชน ในพื้นที่พิเศษเฉลี่ยรวม 72.79 ผลการส�ำรวจระดับความอยูด่ มี สี ขุ ของประชาชนในพืน้ ทีพ่ เิ ศษ ในปี พ.ศ. 2558 - 2560

75.19

ความอยูด่ ีมสี ขุ ของประชาชนในพืน้ ที่พเิ ศษเลย

72.34

ความอยูด่ ีมสี ขุ ของประชาชนในพืน้ ที่พเิ ศษเมืองพั ทยา และพืน้ ที่เชื่ อมโยง

72.24

ความอยูด่ ีมสี ขุ ของประชาชนในพืน้ ที่พเิ ศษหมูเ่ กาะช้าง และพืน้ ที่เชื่ อมโยง

30

71.12

ความอยู่ดี มีสุขของประชาชนในพื้นที่ พิเศษอุทยาน ประวัตศาสตร์สโุ ขทัย-ศรีสชั นาลัย-ก�ำแพงเพชร

69.40

ความอยูด่ ีมสี ขุ ของประชาชนในพืน้ ที่พเิ ศษเมืองโบราณ อูท่ อง

68.48

ความอยูด่ ีมสี ขุ ของประชาชนในพืน้ ที่พเิ ศษเมืองเก่าน่าน 31


CBTT และเครื่องมือ เราได้เรากระจาย

เราได้เรากระจาย การท่องเที่ยวที่ชุมชนได้ประโยชน์ (Community Benefitting Through Tourism : CBTT) เป็นแนวคิดที่ ไม่ใช่เฉพาะชุมชนที่ทำ� การท่องเที่ยวได้ประโยชน์ แต่ยังสร้างประโยชน์ ให้กับชุ มชนต่างๆ ในบริ เวณใกล้เคียงด้วย“เราได้เรากระจาย” เครื่ องมือส�ำคัญใน การช่วยให้ สามารถคิดค่าใช้จา่ ยของนักท่องเที่ยว เพือ่ ให้ทราบว่าจ�ำนวน เงินที่ นกั ท่องเที่ยวใช้จา่ ยออกไปนัน้ มีการกระจายไปยังแหล่งใดบ้าง และใครได้ประโยชน์หรือมีรายได้จากเงินจ�ำนวนนีบ้ า้ ง

การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน สิง่ ส�ำคัญที่จะท�ำให้การท่องเที่ยวโดยชุมชนยัง่ ยืนได้ คือต้องให้คน ในชุ มชนมีส่วนร่วมในการวางแผนร่วมกันเพื่อขับ เคลื่อนการพั ฒนา การท่องเที่ยว ซึง่ สามารถแบ่งได้ 3 บทบาท

ผูอ้ ำ� นวยความสะดวก ท� ำ หน้ าที่ ส ่ ง เสริ ม สนั บ สนุน หรื อ อ� ำ นวย ความสะดวกให้เกิดการพั ฒนาการท่องเที่ ยว โดยชุมชนขึน้

ผูเ้ ชือ่ มตลาด ท� ำ หน้ าที่ เป็ น ตั ว เชื่ อ มระหว่ าง ชุ ม ชนและตลาด การท่องเที่ยว โดยท�ำให้สนิ ค้าและกิจกรรมท่องเที่ยว ของชุมชนเป็นที่รจู้ ัก ผูเ้ ชือ่ มนักท่องเทีย่ ว ท� ำ หน้ า ที่ ติ ด ต่ อ และประชาสั ม พั น ธ์ กิ จ กรรม ท่องเที่ ยวของชุ มชนแก่นักท่องเที่ ยว รวมถึงรับ การจองและอ�ำนวยความสะดวกนักท่องเที่ ยวใน การเดินทางมาถึงชุมชน

32

33


ปัจจัยป้องกันไม่ ให้เกิดการรั่วไหลของรายได้ ในชุมชน

บทบาทกลุ่มส่งเสริ มการท่องเที่ยวโดยชุมชน

เศรษฐกิ จ ในชุ ม ชนจะประสบความส� ำ เร็ จ ได้ ก็ ต ่ อ เมื่ อ คนในชุ ม ชนได้ รั บ ผลประโยชน์ที่เท่าเทียมกัน และมีการรั่วไหลของรายได้นอ้ ยที่สดุ เพือ่ ให้รายได้ หมุนเวียนในชุมชน ซึง่ การป้องกันการรั่วไหลของรายได้สามารถท�ำได้ 3 วิธี :

องค์กรที่มบี ทบาทส�ำคัญในการขับ เคลือ่ นด้านการพั ฒนาและด้านการตลาด ส�ำหรับการท่องเที่ยวโดยชุมชนและเพือ่ ให้เกิดการท�ำงานที่มปี ระสิทธิภาพ องค์กร เหล่านีค้ วรจัดการอย่างเป็นระบบ มีวิสยั ทัศน์ และก�ำหนดบทบาทที่ชดั เจน

การเป็นเจ้าของธุรกิจของคนในชุมชน

ผูอ้ ำ� นวยความสะดวก

ผู้ประกอบการชุ มชนมักขาดทั กษะความรู้ และประสบการณ์ ในการท�ำธุรกิจท่องเที่ ยว ดังนัน้ จึงจ�ำเป็นต้องพั ฒนาความสามารถของ ตนเองและคนในชุ มชนให้มากยิ่งขึ้น รวมถึง การสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ซึง่ จะท�ำให้ รายได้ไม่รั่วไหล

เป็นผูป้ ระสานงาน จัดการให้เกิดการ พูดคุย สร้างการมีสว่ นร่วมกับกลุม่ ต่างๆ ทั้งภายในและ ภายนอกชุมชน

ผูก้ ำ� กับ การจ้างงานคนในชุมชน

การจ้างงานเป็นสิ่งที่ ท�ำให้เกิดรายได้แก่ คนในชุมชน แต่บางต�ำแหน่งงาน คนในชุมชน อาจขาดคุณสมบัติ เนือ่ งจากขาดประสบการณ์ และทักษะความรูด้ า้ นภาษา ท�ำให้ผปู้ ระกอบการ จ�ำเป็นต้องจ้างบุคลากรจากนอกพืน้ ที่ ดังนัน้ คนในชุมชนควรหมั่นเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ๆ เพือ่ พั ฒนา ตัวเองอยูเ่ สมอ

การใช้วตั ถุดบิ ในชุมชน การน� ำ เข้ า วั ต ถุ ดิ บ หรื อ สิ น ค้ าจากนอก พื้นที่มาจ�ำหน่าย เป็นสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้เกิด การรั่วไหลของรายได้ ดังนัน้ หากชุมชนสามารถ ผลิตวัตถุดบิ หรือสินค้าท้องถิ่นเองได้ จะช่วยลด การรั่วไหลของเม็ดเงินออกนอกชุมชนได้มากขึน้ 34

เป็นผูก้ ำ� หนดกฎกติกาและท�ำหน้าที่ควบคุม ให้ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียท�ำตามกติกา สร้างระบบ การให้รางวัลและบทลงโทษ

ผูน้ ำ� เทีย่ ว ท�ำความเข้าใจทรัพยากรที่มี ในพืน้ ที่ (วัฒนธรรม สังคม สิง่ แวดล้อม) จัดน�ำเสนอกิจกรรม

ผูเ้ ชือ่ มตลาด หมายถึงหน่วยงานหรือองค์กรที่ท�ำหน้าที่ เป็ น ตั ว เชื่ อ มระหว่ า งชุ ม ชนและการตลาด ท่ อ งเที่ ย ว โดยท� ำ ให้ สิ น ค้ า และกิ จ กรรม ท่องเที่ยวของชุมชนที่รจู้ ัก 35


การท่องเที่ยวโดยชุมชนก่อให้เกิดการกระจายรายได้

เครื่ องมือ “เราได้-เรากระจาย” เครื่องมือนีท้ ำ� ให้ชุมชนสามารถตรวจวัดผลประโยชน์ที่ ได้รับ จากการท่องเที่ยวชุมชนของนักท่องเที่ยว

ชุมชนที่มกี ารกระจายรายได้ท่ีดี ท�ำกันอย่างไร การกระจายรายได้ภายในชุ มชน การกระจายรายได้มีความเป็นธรรมและสามารถตรวจสอบได้ เนื่องจากมีการ ตั้งกฎระเบี ยบ ข้อบังคับที่ชัดเจนจากการประชุ มของคนในชุ มชนว่าจะกระจายราย ได้ ให้กับส่วนต่าง ๆ ที่เข้ามาช่วยงานการท่องเที่ยวโดยชุ มชนอย่างไรและจั ดสรร เป็นการใช้จ่ายต่าง ๆ เช่น อาหาร กิจกรรม กองทุนส�ำหรับพั ฒนาชุ มชนและการ ปันผลอย่างไร เป็นต้น กระจายรายได้สู่ชุ มชนใกล้เคียง การท่องเที่ยวโดยชุมชนสามารถสร้างผลประโยชน์ ให้กบั ชุมชนต่าง ๆ ในบริเวณ ใกล้เคียงถึงแม้ว่าชุมชนเหล่านั้น จะไม่ได้ประกอบธุรกิจการท่องเที่ยวโดยเเต่ชุ มชน มองเห็นโอกาสทางอ้อมที่เกิดจากการท่องเที่ยว และมีความเข้าใจในเรื่องการตลาด และการเชื่ อมโยง ก็สามารถจะรับประโยชน์จากการท่องเที่ยวได้ ในหลายมิติ ดังนี้ เศรษฐกิจ

ผลิตสินค้าที่ระลึก การขนส่ง อาหาร จ�ำหน่ายให้นกั ท่อง เที่ยวโดยอาจจะเป็นแหล่งส่งวัตถุดบิ ส่งไปที่ชุมชนท่องเที่ยว

สิง่ แวดล้อม

มีกจิ กรรมรักษาสิง่ แวดล้อมต่าง ๆ ที่จะท�ำให้ธรรมชาติ ใน แหล่งท่องเที่ยวและบริเวณใกล้เคียงได้รับการสร้างความ อุดมสมบูรณ์

สังคม

ชุมชนใกล้เคียงมีความช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน มีกจิ กรรมต่างๆ ร่วมกัน 36

เดินทาง

ที่พั ก

่ อาหาร กิจกรรม ของที ระลึก

นักสือ่ สถานที่ ความหมาย มัคคุเทศก์

นักท่องเที่ยว

เราได้

เรากระจาย

ชมรม

กองทุน

37

รั่ว ไหล


เครื่องมือ “เราได้ เรากระจาย” สามารถบ่งบอกการใช้จา่ ยเงินด้านต่างๆ ทั้งการซือ้ สินค้า การบริการของชุมชน และแบ่งออกเป็นการกระจายรายได้ภายในชุมชนดังนี้ รายรับ หมายถึง จ�ำนวนเงินที่รบั จากนักท่องเที่ยวเต็มจ�ำนวน โดยแบ่งออกเป็น ค่าสินค้าและบริการต่างๆ คือค่าเดินทาง ค่าอาหาร ค่าที่พั ก ค่ากิจกรรม ค่าของ ที่ระลึก ค่าธรรมเนียม/ค่าเข้าชมสถานที่ และค่ามัคคุเทศก์/วิทยากร รายได้ หมายถึง จ�ำนวนเงินจากค่าใช้จา่ ยของนักท่องเที่ยวที่เกิดขึน้ ภายในชุมชน ก่อให้เกิดรายได้ภายในชุมชน รายจ่าย หมายถึง จ�ำนวนเงินที่รับจากนักท่องเที่ยวซึง่ ถูกใช้จา่ ยออกไปที่เกิดขึน้ ภายในชุมชนและนอกชุมชน

วิธี ใช้

การรั่วไหล การรั่วไหลของเม็ดเงิน ที่มาเป็นต้นทุนในการผลิต การน�ำเสนอสินค้าและ บริการด้านการท่องเที่ยว สามารถแบ่งประเภทของการรั่วไหลได้เป็น 3 ประเภท

การรัว่ ไหลภายใน เกิดจากการน�ำเข้า สินค้าและบริการที่ ไม่มี ในท้องถิ่น การรั่วไหลนีเ้ กิดขึน้ จากการใช้จา่ ยของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาถึงจุดหมายปลายทางแล้ว การรัว่ ไหลภายนอก หมายถึงการใช้บริการที่ตอ้ งช�ำระเงินให้กบั บริษทั จองตัว๋ โดยสารและที่พั ก ล่วงหน้า ก่อนที่ นกั ท่องเที่ยวจะเดินทางมาถึง การรัว่ ไหลทีส่ งั เกตไม่ได้ การรั่วไหลที่เกิดขึน้ จากค่าเสียหายหรือค่าเสียโอกาส ซึง่ ไม่สามารถวัดได้ อย่างเหมาะสม แต่สง่ ผลกระทบสะสม ได้ เช่นความเสือ่ มสภาพของทรัพยากร ในพืน้ ที่สง่ ผลให้เกิดความเป็นไปได้ที่จะใช้ทรัพยากรจากนอกพืน้ ที่แทน

ระบุจำ� นวนเงินที่ ได้รบั เราได้จากนักท่องเทีย่ วลงในช่องต่างๆ ทีก่ ำ� หนดไว้

ระบบการจัดการรายได้และผลประโยชน์

น�ำตัวเลขช่อง “เราได้” มาบวกกัน ผลลัพธ์ที่ ได้คอื จ�ำนวนเงินรายรับ โดยตรง

การจัดการรายได้ของกลุม่ ชุมชนต้นแบบสามารถแบ่งได้เป็น 2 แบบ

น�ำตัวเลขช่อง “เรากระจาย” มาบวกกัน ผลลัพธ์ที่ ได้คอื จ�ำนวนเงินที่ กระจายสูช่ ุมชน “ช่องรัว่ ไหล” คือ ตัวเลขของการซือ้ ของ การจ้างงาน นอกพืน้ ที่ เมือ่ น�ำมา บวกกัน ผลลัพธ์ที่ ได้คอื จ�ำนวนเงินที่รั่วไหลออกไป

38

แบบรวมศูนย์การจัดการ การจัดการลักษณะนีจ้ ะมีการบริการที่จุดเดียว เป็นศูนย์รวมการติดต่อ นัดหมายกลุม่ นักท่องเที่ยว การจัดการกิจกรรมการท่องเที่ยว สถานที่พั ก อาหาร และเป็นการจัดการรายได้รวมไว้ท่ีศนู ย์กลาง ทั้ง การจัดการเรื่องรายรับ รายจ่ายและผลก�ำไรที่ ได้จะน�ำไปบริหารจัดการไว้เป็นส่วนกลาง แบบกระจัดกระจาย การจัดการในลักษณะนี้ เป็นการจัดการแบบร่วมกัน ให้บริการตามความเชี่ ยวชาญ โดยให้แต่ละ กลุม่ มีอำ� นาจในการบริหารจัดการรายได้ของกิจการตนเอง 39


ผลทางสังคม วัฒนธรรม ท่องเที่ยวท�ำให้ผหู้ ญิงมีอาชี พที่เกีย่ วข้องกับงาน ท่องเที่ยว ท่องเที่ยวท�ำให้เยาวชนมีการสืบสานวัฒนธรรม ท่องเที่ยวท�ำให้ครอบครัวมีความอบอุน่ ท่องเที่ยวท�ำให้คนในครอบครัวมีสขุ ภาพแข็งแรง ท่องเที่ยวท�ำให้มีความเข้าใจเรื่องราวของความ หลากหลายทางวัฒนธรรม ท่องเที่ยวท�ำให้มรี ื้อฟืน้ เรื่องประวัตศิ าสตร์ทอ้ ง ถิ่น ท่องเที่ ยวท�ำให้มีความเท่าเที ยมในการแสดง ความคิดเห็นของทุกเพศ ทุกวัย ท่องเที่ยวท�ำให้มีการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ เรื่องราวท้องถิ่น ท่องเที่ยวท�ำให้ผสู้ งู อายุมคี วามสุข ท่องเที่ยวท�ำให้ความ ภาคภูมิ ใจในบ้านเกิดหรือ ท้องถิ่นของตน ผลทางเศรษฐกิจ

ผลทางสิง่ แวดล้อม

ท่องเที่ยวท�ำให้มกี ารสร้างงานในพืน้ ที่ ท่องเที่ยวท�ำให้ผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่ น�ำมาขายในกิจกรรม ท่องเที่ยวมากขึน้ ท่องเที่ยวท�ำให้มรี ายได้ตอ่ ปีเพิม่ ขึน้ ท่องเที่ยวท�ำให้มกี ลุม่ คนรุน่ ใหม่กลับมามีอาชี พบ้านเกิด ท่องเที่ยวท�ำให้มสี นิ ค้าใหม่ๆ ที่คดิ ค้นท�ำจากคนในท้องถิ่น ท่องเที่ยวท�ำให้มกี ารรวมกลุม่ เพือ่ พั ฒนาสินค้าจากภูมปิ ญ ั ญาท้องถิ่น ท่องเที่ยวท�ำให้ขยะลดน้อยลง ท่องเที่ยวท�ำให้เกิดการใช้นำ�้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท่องเที่ยวท�ำให้มกี ารใช้พลาสติกน้อยลง ท่องเที่ยวท�ำให้เกิดการใช้วสั ดุจากธรรมชาติ 40

การท่องเทีย่ วทีช่ มุ ชนได้รบั ประโยชน์ (CBTT) ควรประกอบ ด้วยแนวคิดหลัก 4 เรื่ องคือ ต้องเป็นการจัดท่องเที่ยวโดยชุมชน ให้คนในชุมชนมีสว่ นร่วม ไม่ได้เป็นของคนใดคนหนึง่ ไม่ทำ� ลายทรัพยากรธรรมชาติ วิถีชี วิตของชุมชน และเผยแพร่ขนบธรรมเนียมวิถีชี วิต สิง่ ดีงาม ของชุมชนให้เป็นที่รจู้ ัก ก่อให้เกิดความสัมพั นธ์ที่ดี ในสังคม เพือ่ การพั ฒนาท้องถิ่น ไม่ให้เกิดความแตกแยก เพือ่ น�ำไปสู่ ปลายเป้าหมายที่ยงั่ ยืน มีเป้าหมายปลายทางที่ทำ� ให้คณ ุ ภาพชี วิตของคนในชุมชนดีขนึ้

ผลประโยชน์และ การเปลี่ยนแปลง จากการท่องเที่ยว โดยชุมชน

การสร้างผนู้ ำ�

ท่องเที่ ยวท�ำให้มีธุรกิจใหม่ของคนท้องถิ่ น เกิดขึน้ ท่องเที่ยวท�ำให้นำ� หัตถกรรมชุมชนในพืน้ ที่มา ใช้ในการท่องเที่ยว ท่องเที่ ยวท�ำให้การจั ดซื้อและน�ำหัตถกรรม ชุมชนจากพืน้ ที่ ใกล้เคียงมาใช้ในการท่องเที่ยว ท่องเที่ยวท�ำให้มกี ารลดหนีส้ นิ ของครัวเรือน ท่องเที่ยวท�ำให้ใช้ไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท่องเที่ยวท�ำให้ชุมชนมีพนื้ ที่สเี ขียวเพิม่ ขึน้ ท่องเที่ยวท�ำให้เกิดจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์ธรรมชาติ ท่องเที่ยวท�ำให้เยาวชนเข้าใจเรื่องภาวะโลกร้อน 41

ท่องเที่ยวท�ำให้มีการรับฟังเพื่อหาจุ ด ร่วมและพร้อมให้การบริการผูอ้ ื่น ท่องเที่ยวท�ำให้มวี ิสยั ทัศน์และควบคุม ทางการจัดการได้ ท่องเที่ยวท�ำให้สร้างการท�ำงานเป็นทีม ท่องเที่ยวท�ำให้สามารถสือ่ สารได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ท่องเที่ ยวท�ำให้รู้จั กคิดเชื่ อมโยงและ มองภาพใหญ่ ท่องเที่ยวท�ำให้กล้าเปลีย่ นแปลง ท่องเที่ยวท�ำให้จงู คนได้ดี ท่องเที่ยวท�ำให้เป็นนักประสานานที่ดี ท่องเที่ ยวท�ำให้คนในชุ มชนเข้าใจ เรื่องการจัดการอย่างยัง่ ยืน ท่องเที่ ยวท�ำให้ครั วเรื อนจั ด การ เรื่องขยะดีขนึ้


กรณีศกึ ษา Denmark model Denmark Model การพัฒนาที่สร้างความสุขให้แก่ประชาชน ประเทศ เดนมาร์ ก เป็ น ประเทศที่ พ ลเมื อ งมี ค วามสุ ข มากเป็นอันดับ 1 ของโลก ตาม ด้วย สวิตเซอร์แลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ ฟินแลนด์ แคนาดา เนเธอร์ แ ลนด์ นิ ว ซี แ ลนด์ ออสเตรเลีย และสวีเดน

ปัจจัยทีส่ ง่ ผลให้ประเทศเดนมาร์กเป็นประเทศทีม่ คี วามสุขมากทีส่ ดุ ในโลก 1 2

เห็นความส�ำคัญส่วนรวมมากกว่าประโยชน์สว่ นตน

ประเทศเดนมาร์กให้อสิ ระทางการศึกษา ไม่ตกี รอบนักเรียน

ชาวเดนมาร์กเป็นคนใจดีมากที่สดุ ในประเทศที่กำ� ลังพั ฒนา

7 8

3

ชาวเดนมาร์กจะไม่อจิ ฉา หากผูอ้ ื่นประสบความส�ำเร็จ

9

ประเทศเดนมาร์กมีทหารที่ นา่ เชื่ อถือและเหมาะกับประชาชน

4

ชาวเดนมาร์กเชื่ อว่าเงินซือ้ ความสุขไม่ได้

10

รัฐบาลเดนมาร์กเน้นช่วยสังคมเป็นหลัก

5

ที่เดนมาร์กไม่มกี ารห้ามเด็กดืม่ สุรา แต่จะซือ้ สุราได้ตอ้ งอายุ 16 ปีขนึ้ ไป

11

ชาวเดนมาร์กเข้าใจและยอมรับในการจ่ายภาษี ในส่วนต่างๆ

6

ไม่สนับสนุนความรุนแรง

12

ชาวเดนมาร์กใส่ใจเรื่องสุขภาพ

42

มีความเท่าเทียมในสังคม ไม่วา่ จะเป็นเรื่องฐานะหรือเพศ

43


กรณีศกึ ษา Bhutan model Bhutan Model การเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ช่วยสร้างความสุขให้ประชาชน

ภูฏาน เป็นประเทศเล็กๆ ในเอเชี ย ทีป่ ระชากร มีความสุขมากถึง 9 1.2% จากการ ประเมินดัชนีความสุขโลกปี 2015 ซึ่ง เพิม่ ขึน้ จากปี 2010 มา 0.743% ปัจจัยทีส่ ง่ ผลท�ำให้ชาวภูฎานมีความสุขมากขึน้

ผลประเมินดัชนีความสุข 1 ผูช้ ายมีความสุขมากกว่าผูห้ ญิง 2 คนที่อาศัยอยูใ่ นเขตเมืองมีความสุขมากกว่าชาวชนบท 3 คนโสดและแต่งงานมีความสุขมากกว่าการหย่าร้างแยกหรือแยกออกจากกัน 4 คนที่มกี ารศึกษามากขึน้ มีความสุขมากขึน้ 5 เกษตรกรมีความสุขน้อยกว่ากลุม่ อาชี พอื่น ๆ 44

1 2

ความสมดุลของช่วงเวลาการท�ำงาน

3

การมีสว่ นร่วมในการท�ำกิจกรรม ด้านวัฒนธรรม

4

ความพึงพอใจต่อผลการด�ำเนินงานของรัฐบาลด้านความเสมอภาค, การศึกษา, สุขภาพ,

มีความรู้ ด้านการศึกษามากขึน้

การต่อต้านการทุจริต 5

การมีความสัมพั นธ์ที่ดีของคนในชุมชน ท�ำให้เกิดเป็นชุมชนเข้มแข็ง

6

สภาพความเป็นอยูท่ ี่สมบูรณ์และไม่มอี นั ตราย

7

รายได้พอเพียงกับค่าครองชี พ 45


ศาสตร์พระราชากับการพัฒนา การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ทรงคิดค้นแนวทางพั ฒนาเพื่อประโยชน์ต่อ ประชาชนสูงสุด ควรยึดเป็นแบบอย่างในการ เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท

ศาสตร์พระราชา 46

อพท. ได้น้อมน�ำหลักการทรงงานใน ศาสตร์พระราชามาใช้เป็นเเนวทางและใน การปฎิบัติงานในทุกพื้นที่พิเศษ โดยไม่ได้ มุ่งหวังให้ประชาชนละทิ้งอาชี พและวิ ถีชี วิ ต เดิมมาท�ำการท่องเที่ยวแต่เพียงอย่างเดียว แต่ อพท. จะมุง่ การพั ฒนาให้การท่องเที่ยว เป็นอาชี พเสริ ม รายได้จากการท่องเที่ ยว เป็นรายได้เสริม เพื่อที่ ในวันหนึ่งหากไม่มี นักท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยวแล้ว ชุ มชนก็ ยังสามารถอยู่ได้ด้วยอาชี พหลักของตนเอง วิ ถีชี วิ ตต้องไม่เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมคง เดิมยิ่ง นั่ นก็คือ “ภูมิคุ้มกันตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพี ยง” การพั ฒนาจะต้องมาจากพื้นฐานการมี ส่วนร่วมของชุ มชน ต้องดูความพร้อมและ ความยินดีของชุมชน ในการที่จะพั ฒนาร่วม กันให้สอดคล้องกับ “ภูมิสังคม” คือมีการ พั ฒนาครบทุกมิตทิ ั้งสังคม เศรษฐกิจ และ สิ่งแวดล้อม คงไว้ซึ่งวัฒนธรรมประเพณี ความเชื่ อ และ อัตลักษณ์ของชุ มชน ที่ ไม่ ต้องการ ปรับ เปลี่ยนสร้างคุณค่าและเชิดชู

อัตลักษณ์ ของชุ มชน เมื่อชุ มชนรู้สึกว่า คุณค่าที่ เกิดจากกิจกรรมทางการท่องเที่ ยว ที่ เกิดจากต้นทุนทางสังคมวัฒนธรรมของ ตนเอง สามารถแปลงมูลค่าเป็นรายได้เสริม จั บต้องได้ เกิดความภาคภูมิ ใจ รักหวงแหน สิ่ ง ที่ มี อ ยู ่ น� ำ มาซี่ ง การอนุ รั ก ษ์ วิ ถี ชี วิ ต วัฒนธรรม ประเพณี และ “มีความสุข” เกิด ความยั่งยืนในมิติ สังคม เศรษฐกิจ และ สิ่งแวดล้อม

“การพัฒนาการท่องเทีย่ ว ที่ ไม่ได้ตอ้ งการเพียงจ�ำนวน นักท่องเทีย่ วทีเ่ พิม่ ขึน้ แต่ตอ้ งการ นักท่องเทีย่ วที่ ใส่ ใจและสนใจ ในภูมปิ ญ ั ญาอัตลักษณ์ วิถชี วี ติ ของพืน้ ทีอ่ ย่างแท้จริง”

47


หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 สามารถน�ำมาปรับใช้กบั การพัฒนาการท่องเทีย่ งยัง่ ยืน หลักการทรงงาน : ระเบิดจากข้างใน พระองค์ทรงมีพระราชด�ำรัสว่า “ต้องระเบิดจาก ข้างใน” กล่าวคือต้องมุง่ เน้นพั ฒนา สร้างความเข้มแข็ง ให้คนในชุ มชนพร้อมเสียก่อน แล้วจึงค่อยออกมาสู่ สังคมภายนอก มิ ใช่น�ำ เอาความเจริ ญจากสังคม ภายนอกเข้าไปหาชุ มชน ซึ่งหลายชุ มชนยังไม่ทั น เตรียมตัว จึงไม่สามารถปรับตัวกับการเปลีย่ นแปลง และน�ำไปสูค่ วามล่มสลาย หลักการทรงงาน : ภูมสิ งั คม การพั ฒนาใดๆ ต้องค�ำนึงถึงสภาพแวดล้อม เศรษฐกิ จ สั ง คม รวมถึ ง ขนบธรรมเนีย ม ประเพณีความเชื่ อ และวิ ถี ชี วิ ตที่แตกต่างกัน ซึง่ จะช่วยเป็นหนทางน�ำไปสูก่ ารวางแผนด�ำเนิน งานที่สอดคล้องและตอบสนองความต้องการ ของราษฎรในชุมชนและประสบผลส�ำเร็จ หลักการทรงงาน : องค์รวม พระองค์ ท รงมองทุก สิ่งเป็นพลวัตที่ เชื่ อมต่อกัน ในการที่ จะพระราชทานพระราชด�ำริ เกี่ยวกับโครงการ หนึ่งนั้น จะทรงมองเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นและแนวทาง แก้ไขอย่างเชื่ อมโยง การเข้าไปช่วยแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ ให้แก่ราษฎรนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมี วิ ธีการคิด และทรงมองปัญหาตั้งแต่ภาพใหญ่จนถึง ภาพเล็กในทุกๆมิติ 48

หลักการทรงงาน : ไม่ตดิ ต�ำรา การพั ฒนาที่ ไม่ผกู ติดกับวิชาการ เทคโนโลยีท่ี ไม่เหมาะสมกับสภาพ ความเป็นอยูข่ องคนไทย หากท�ำอย่างสามัคคี มีเมตตากัน จะอยูไ่ ด้ตลอด ไม่เหมือนกับคนที่ท�ำตามวิ ชาการ ที่เวลาปิด ต�ำราแล้วไม่รู้ท�ำอย่างไร ลงท้ายก็ตอ้ งเปิดหน้าแรกเริ่มใหม่ และถอยหลังเข้าคลอง ถ้าเราใช้ตำ� รา แบบยืดหยุน่ ปรับใช้ตามความเหมาะสมก็จะเป็นการดี

หลักการทรงงาน : การมีสว่ นร่วม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ทรงเปิดโอกาสให้ทกุ ฝ่าย ทั้งสาธารณชน ประชาชน หรือเจ้าหน้าที่ทกุ ระดับได้เข้ามาร่วมกันแสดง ความคิดเห็น ก่อนจะพระราชทานแนวพระราชด�ำริโครงการใดๆ จะทรงให้ ความส�ำคัญกับการสอบถามประชาชนโดยการท�ำ “ประชาพิจารณ์” เพือ่ หลีกเลีย่ งความขัดแย้ง โดยยึดหลักประโยชน์สงู สุดร่วมกัน หลักการทรงงาน : ขาดทุนคือก�ำไร หลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ มีต่อพสกนิกรชาวไทย “การให้” และ “การเสียสละ” เป็นการกระท�ำอันมีผลก�ำไร ทรงถือเป็นการ ลงทุนเพือ่ ความอยูด่ ีมสี ขุ ของราษฎร แม้จะต้องเสียค่าใช้จา่ ยมากหรือต้อง ขาดทุน หากเป็นการแก้ไขปัญหาและก่อประโยชน์สขุ แก่ประชาชน ก็เท่ากับ พระองค์ได้กำ� ไร โดยเฉพาะอย่างยิง่ หากเป็นการลงทุนเพือ่ ให้มผี ลผลิตเพิม่ มากขึน้ หรือช่วยให้เกิดประโยชน์สขุ ต่อส่วนร่วม ถือเป็นสิง่ ทีค่ มุ้ ค่ากับการลงทุน หลักการทรงงาน : เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วย 3 ส่วน 1 “ความพอประมาณ” หมายถึง ความ พอดีตอ่ ความจ�ำเป็นและเหมาะสมกับฐานะของตนเอง ต้องไม่เบียดเบียน ตนเองและ ผูอ้ ื่น 2 “ความมีเหตุผล” หมายถึง การตัดสินใจและด�ำเนิน การอย่างพอเพียง ต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลักคุณธรรม และวัฒนธรรมที่ดีงาม และ 3 “การมีภมู คิ มุ้ กันในตัวที่ดี” หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลีย่ นแปลงด้าน เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรม จากทั้งในประเทศและต่าง ประเทศที่จะเกิดขึน้ 49


ค้นหาความจริงในชุมชนมาน�ำเสนอ

การท่องเที่ยวของโลกก�ำลังมุง่ หาความจริงแท้ โดยอพท. ท�ำหน้าทีช่ ว่ ยค้นหาความจริงแท้ ออกมา น� ำ เสนอ เราจะไม่ เน้ น การกวั ก มื อ เรี ย กคน แต่เน้นให้คนที่มาเที่ยวสามารถบอกเล่าต่อเอง เพราะฉะนั้นความทรงจ�ำของเขาจึงไม่ใช่มาจาก ป้ายโฆษณา แต่มาจากสิ่งที่ ไปพบเห็น สัมผัส เรียนรู้ ลองท�ำเกิดความประทับใจ จนน�ำไปบอกต่อ นั่ นคือสิ่งที่ เราปรารถนาที่ สุดในอุตสาหกรรม ท่องเที่ ยว การที่ ชาวบ้านใช้วัฒนธรรมจริ งแท้ ท�ำออกมา ย่อมจะให้ความลึกซึง้ ที่ยงิ่ ใหญ่ ท�ำให้ ส�ำนึกการอยูร่ ว่ มกลับคืนมา อยูร่ ว่ มกับธรรมชาติ กับชุมชน กับแขกที่มาเยือน การอยูร่ ว่ มกันแบบนี้ คนเมือง ซึง่ เป็นคนรุน่ ใหม่/กลุม่ ใหญ่ของประเทศ จะได้ร่วมรั บรู้ความ“ลึกซึ้ง” จากการเรี ยนรู้ เป็นอย่างมาก

ค่อยๆเป็น ค่อยๆไป ถือเป็นเรื่องดีตอ่ ชุมชน

วีระศักดิ์ โควสุรัตน์ การท่องเทีย่ วโดยชุมชนเพือ่ “ทุกคน”

“ศาสตร์ของพระราชาว่าด้วยปรัชญาแห่งความยัง่ ยืน” คือเข็มทิศที่ชว่ ยให้การด�ำเนินงานขับเคลือ่ น ไปข้างหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้องตามวัตถุประสงค์ที่ตงั้ ใจ โดยคุณวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ ประธานกรรมการองค์การบริหารการพั ฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การ มหาชน) หรือ อพท. ถือเป็นหัวเรือใหญ่ ร่วมกับคนในชุมชนและองค์กรต่างๆ ผลักดันให้การท่องเที่ยว โดยชุมชนเกิดขึน้ และส่งผลให้ทกุ คนมีความสุข บนพืน้ ฐานชี วิตพอเพียง 50

คนที่เดินทางมาเที่ยวแต่ละกลุ่มมีข้อจ�ำกัด ผู้สูงอายุมาพร้อมเด็ก มาพร้อมสตรี มาพร้อม สัตว์เลี้ยง มาในวันธรรมดา เวลาไปในสถานที่ ท่องเทีย่ วปกติระบบบริการก็คอ่ นข้างจะโหรงเหรง ร้านอาหารอาจจะปิด แต่ถา้ เป็นชุมชนนัน้ เราไม่ได้ เร่งให้คนเข้ามาเยอะ ความตัง้ ใจคือให้คอ่ ยๆ มา ไม่ตอ้ งรีบ เพราะว่าถ้าคุณมาด้วยความคาดหวังสูง ชุมชนจะเครียด คุณมาโดยไม่มคี วามคาดหวังสูง ชุ มชนจะไม่เครียด เพราะชุ มชนก็ต้องปรับตัว ไปด้วยพร้อมๆ กัน เว้นแต่บางชุ มชนที่มคี วาม พร้อมแล้ว เราอยากให้คนที่ มาเที่ ยวเล่าและ บอกต่อได้อย่างน่าประทับใจ

สร้างโอกาสให้ทงั้ คนในชุมชนและนักท่องเทีย่ ว ให้ชุ มชนได้รั บโอกาสในการพั ฒนาตนเอง บริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวด้วยตัวเอง รองรับ การท่ องเที่ ย วที่ นั บ วั นจะเติ บ โตขึ้ น ได้ อ ย่ า ง

51

เหมาะสม สามารถปรับตัวกับสภาพแวดล้อมที่ เปลีย่ นแปลงไปด้วย ขณะเดียวกันก็สร้างโอกาส ให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสความจริงแท้ของชุ มชน ร่วมเรียนรู้ ปรับตัวให้เข้ากับชุมชน เพือ่ ให้ได้รับ ประสบการณ์ที่ดีกลับไป

ให้การท่องเทีย่ วรับใช้ชมุ ชน

การท่องเที่ยวโดยชุมชนมีความส�ำคัญเพราะ เป็นเรื่องกระบวนการเรี ยนรู้ ไม่มีสูตรส�ำ เร็จ ไม่มีชุ มชนไหนเหมือนกันเปี๊ยบ แปลว่าเราต้อง เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ ยอมรับในข้อแตกต่าง รูจ้ ักสร้างงานจากจุดแข็งของชุมชน อย่าเอาแต่ พูดจุ ดอ่อน อพท. เราไม่มีเจตนาให้ชุ มชนมา รับใช้การท่องเที่ยว เราต้องการให้การท่องเที่ยว มารั บใช้ชุ มชนด้วยซ�้ำ แต่ค�ำว่าการท่องเที่ ยว รับใช้ชุ มชน ไม่ได้หมายความว่ามาเพราะสงสาร ไม่ใช่มาเพราะนโยบาย แต่มาท่องเที่ ยวเพราะ อยากเขาถึงความจริงแท้ตา่ งหาก และความจริง แท้นี้เองที่ ท�ำให้ช นชั้นกลางที่ ก�ำลังสับสนและ ซับซ้อนทางจิ ตวิ ญญาณ เขาจะได้มาสัมผัสเอง มี ข องที่ คุ ณจะได้ เรี ย นรู ้ ก ลั บ ไปบนพื้ น ฐาน “สะดวก สะอาด ปลอดภัย ได้เอกลักษณ์”


รากฐานดีตอ่ ยอดได้ยงั่ ยืน

“อพท. เป็นหน่วยงานแรกในประเทศไทย ที่ ท�ำ เรื่ องนี้ ซึ่งความยั่ง ยืนที่ ว่าต้องเริ่ มจาก รากฐานคือคนในชุมชน เพราะพวกเขาเป็นเจ้าของ ทรัพ ยากร วิ ถี ชี วิ ต ภูมิปัญญา แต่ที่ ผ ่านมา พวกเขาขาดการมีสว่ นร่วมและไม่ได้รับประโยชน์ เพราะฉะนั้นอพท. มีหน้าที่ประสาน ส่งเสริ ม สนับสนุนให้คนในชุมชนท้องถิ่นเข้ามามีสว่ นร่วม ในการพั ฒนาท้องถิ่นและต้องมีส่วนร่วมในการ รับผลประโยชน์ทั้งในเศรษฐกิจและสังคม และ เมือ่ พวกเขามีสว่ นร่วมในการท่องเที่ยว พวกเขาก็ ย่อมภูมิ ใจ รักและห่วงแหนทรัพยากรธรรมชาติ ทั้ งยังสืบทอดและส่งต่อที่มีผลจะน�ำไปสู่ความ ยัง่ ยืนในอนาคต

สุเทพ เกื้อสังข์ ขับเคลือ่ นการท่องเทีย่ วในชุมชนด้วยหัวใจ

ด้วยจิตวิญญาณของนักพั ฒนาที่มปี ระสบการณ์ดา้ นการท�ำงานท่องเที่ยวในชุมชนมากว่า 30 ปี คุณสุเทพ เกือ้ สังข์ รองผูอ้ ำ� นวยการองค์การบริหารการพั ฒนาพืน้ ที่พเิ ศษเพือ่ การท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน (องค์กรมหาชน) หรือ อพท. จึงถือเป็นอีกหนึง่ บุคคลส�ำคัญที่ทำ� ให้ 14 ชุมชนต้นแบบและ 6 พืน้ ที่ พิเศษภายใต้การดูแลของอพท. มีความเข้มแข็ง สามารถจัดการตนเอง ทั้งยังเป็นพี่เลีย้ งให้ชุมชนอื่น ต่อได้ และยังคงทุม่ เททั้งแรงกายแรงใจ มุง่ มั่นพัฒนาการท่องเที่ยวในชุมชนให้กา้ วไกลต่อไปอย่างยัง่ ยืน 52

ก้าวต่อไปด้วยความภาคภูมิ ใจ

“ตอนนี้ อพท. ท� ำ หน้ า ที่ การประสาน ผูป้ ระกอบการน�ำเที่ยวกว่า 30 บริษทั ให้มาเป็น พี่ เลี้ยงเรื่องการตลาดให้กับชุ มชน หยิบ เรื่องที่ เป็นจุ ดแข็งเรื่ องที่ เรามีประสบการณ์ ไปให้กับ พี่ นอ้ งพืน้ ที่พเิ ศษ สร้างกิจกรรมที่ นกั ท่องเที่ยว ควรไปเรียนรู้ 39 กิจกรรมในชุมชนต่างๆ และ เราก� ำ ลั ง ท� ำ เรื่ อง CBT Academy คื อ ท� ำ เป็นชุ ดความรู้ ให้คนอื่ นมาเรียนรู้กับ เราแล้วไป แบ่งปันต่อ ทั้งหมดนีน้ อกจากตอบโจทย์ภารกิจ ของอพท.แล้ว ยังตอบโจทย์นโยบายของรัฐบาล เรื่องเศรษฐกิจฐานราก สร้างงาน สร้างรายได้ สร้างอาชี พให้ชุ มชน นักท่องเที่ยวไปเที่ยวชุ มชน ไม่ใช่เพราะสงสารชุมชน แต่นกั ท่องเที่ยวไปเรียนรู้ สิง่ ที่มคี ณ ุ ค่าที่ ไม่เคยเห็น คนในชุมชนก็ภมู ิ ใจกับ ให้ความรูค้ คู่ วามใส่ ใจ “คนในชุมชนท้องถิ่นที่เป็นเจ้าของทรัพยาการ สิง่ ที่เขามี” ส่วนใหญ่เป็นชาวไร่ ชาวนา ชาวสวน ชาวประมง ยังไม่มดี ีเอ็นเอเรื่องการท่องเที่ยว เพราะฉะนัน้ เราต้องมองค�ำว่าวิถีของเขาคือสิง่ ที่มคี ณ ุ ค่าแล้ว เอาการท่องเที่ยวมาเติม ส�ำคัญที่สดุ คือเราต้อง ให้ความส�ำคัญกับคน ให้เข้าใจความยัง่ ยืนนีต้ รง กันแม้เป้าหมายของแต่ละชุ มชนจะไม่เหมือนกัน เราต้องสร้างเวทีเพื่อมาล้อมวงคุยว่าถ้าท�ำเรื่อง การท่องเที่ยวในชุ มชน เขาจะได้อะไร เสียอะไร จุดสมดุลอยูต่ รงไหน จากนัน้ ก็มาหาแนวทางการ พั ฒนาอย่างยัง่ ยืน ซึง่ พท. ต้องการให้ทกุ ชุมชน สามารถขับ เคลือ่ นการท�ำงานได้ดว้ ยตัวเองและ ที่สำ� คัญคือสามารถเป็นต้นแบบแบ่งปันและบอก ต่อความรูส้ ชู่ ุมชนอื่นๆ ได้” 53


พลิกวิกฤตเป็นโอกาส

นางสุพรรณ อินทะชัย ชุมชนเข้มแข็งด้วยการร่วมมือ แม่หลวงสุพรรณ อินทะชัย

ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจต้มย�ำกุง้ ในปี 2540 ส่งผลกระทบต่อธุรกิจหลายรายต้องปิดตัว พนักงานถูกเลิกจ้าง ท�ำให้เกิดการว่างและขาดรายได้เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งนีค่ ือเหตุผลหลักที่ท�ำให้ แม่หลวงสุพรรณ อินทะชัย ได้เริ่มต้นจัดตัง้ ชมรมแม่บา้ นขึน้ เพือ่ สร้างรายได้แก่คนในชุมชนบ้านไร่กองขิง จั งหวัดเชี ยงใหม่ จนปัจจุบันชุ มชนได้พั ฒนากลายเป็นการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ที่มีนักท่องเที่ยว เดินทางมาเยีย่ มชมไม่ขาด 54

คนในชุมชน เงินคือผลพลอยได้ทตี่ ามมา ดังนัน้ เรา ปลูกฝังคนในชุมชนให้คดิ ว่าเรือ่ งเงินเป็นเรือ่ งรอง แต่ขณะเดี ยวกันทางคณะกรรมการชุ มชนก็ต้อง โปร่งใสเรื่องเงิน สามารถตรวจเช็กได้ ซึง่ รายได้ จากการท่องเที่ยวชุมชน เมือ่ หักค่าใช้จา่ ยออกแล้ว จะน�ำก�ำไรไปฝากธนาคาร ทุกสิน้ ปีถงึ จะน�ำเงิน จ�ำนวนนัน้ ออกมาแล้วประชุมกัน ว่าเงินจ�ำนวนนี้ จะต้องน�ำไปดูแลรักษาทรัพยากรทางธรรมชาติ หรือบ�ำรุงซ่อมแซมทางส่วนไหนบ้าง เช่น ค่าดูแล สวนเกษตร ค่าซ่อมจักรยาน ฯลฯ เงินที่เหลือจะ น�ำไปแบ่งให้กับคนในชุ มชนที่มีส่วนร่วมกับงาน ด้านต่างๆ ซึ่งแต่ละคนจะมีการลงเวลาท�ำงาน เอาไว้กจ็ ะได้รับส่วนแบ่งไปตามจ�ำนวนนัน้

ช่วงที่ เศรษฐกิจฟองสบู่แตก เราได้จั ด ตั้ง ชมรมแม่บา้ นขึน้ โดยน�ำเงินมาลงขันกันทุกเดือน เพื่อเป็นกองทุนในการผลิตสบู่ แชมพูสมุนไพร ออกจ�ำหน่ายให้คนในชุ มชน เมื่อรายได้มากขึ้น เราได้ แบ่ ง ให้ ค นในชุ ม ชนกู ้ ยื มเพื่ อ การศึ ก ษา การรักษาโรค ปลดหนีน้ อกระบบ ฯลฯ โดยคิด ดอกเบี้ยต�ำ่ กว่าปกติ เมือ่ ทางเทศบาลทราบจึงได้ ยกให้เป็นชุมชนเข้มแข็ง คณะต่างๆ ได้เข้ามาศึกษา ดูงานมากขึ้น จนมีโอกาสได้รู้จั กกับทางอพท. ซึง่ ทาง อพท.ก็ ได้ให้ความรู้ ค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับ การท่องเที่ ยวชุ มชน จึงตัดสินใจท�ำ เกี่ยวกับ การท่องเที่ยวชุมชน โดยเริ่มจากการค้นหาของดี ในชุมชน สิง่ ทีเ่ ป็นจุดเด่น ทั้งวิถีชีวิต อาหารการกิน การท่องเทีย่ วช่วยให้คนในชุมชนมีความสุข โบราณสถาน จนในที่ สุ ด ก็ ม าลงเอยที่ หลังจากท�ำการท่องเที่ยวชุมชนมา 5-6 ปี การท่องเที่ยวชุมชน เชิงสุขภาพ รู้สึกว่าคนในชุ มชนมีความสุขมากขึ้น ได้เจอกัน ได้ทำ� กิจกรรมร่วมกัน ได้มปี ฏิสมั พั นธ์กบั บุคคล สัมผัสวิถชี มุ ชนด้วยกิจกรรมท่องเทีย่ ว เนื่องจากในชุ มชนบ้านไร่กองขิง เป็นชุ มชน ภายนอก และอีกสิง่ หนึง่ ที่เห็นได้ชดั คือการพัฒนา ที่ มีส มุนไพรเยอะ เราจึงสอนการน�ำสมุนไพร คน จากแม่บา้ นที่ ไม่เคยจับไมค์ ไม่กล้าพูด ไม่กล้า เหล่านั้นมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น แสดงออก แต่พอได้ผา่ นการอบรม ก็สามารถพูดคุย ยาหม่องธาตุไฟ ยาหม่องขมิ้น ลูกต้มใบเตย สามารถเป็นนักสื่อความหมายท้องถิ่ นได้เป็น ลูกประคบ นอกจากนีเ้ รายังมีการสอนตัดตุง อย่างดี รวมถึงการกระจายรายได้ให้คนในชุมชน ซึ่งเป็นประเพณีของคนภาคเหนือ สอนท�ำขนม แนวทางพัฒนาอย่างยัง่ ยืน่ ควบคูก่ บ ั การ ท�ำอาหารพืน้ บ้าน ซึง่ วัตถุดบิ ที่ นำ� มาปรุงก็เป็น อนุรกั ษ์ วัฒนธรรมประเพณี พืช ผักที่ปลอดสารพิษทั้ งสิ้น และยังมีห้องพั ก ในอนาคตตัง้ ใจเน้นเรื่องท�ำแปรรูปสมุนไพร แบบโฮมสเตย์ ไว้บริการส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ ให้ลกึ ขึน้ เพือ่ ที่จะต่อยอดไปท�ำผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ ต้องการค้างคืน แต่ที่ชุมชนนีจ้ ะรับแค่ 4-5 คณะ แต่กต็ อ้ งค่อยๆ พั ฒนาไปทีละนิดตามศักยภาพ ต่อหนึง่ เดือน คณะละไม่เกิน 250 คน (แบบ ของชุ มชนเท่าที่ จะท�ำได้ ไม่อยากจะเร่งรีบจน ไปกลับ) แต่ถ้าแบบค้างจะรับไม่เกิน 50 คน เกินไป รวมถึงการส่งเสริมให้เด็กๆในชุมชน ได้มี แต่อยากมา 2-3 คนและท�ำกิจกรรมทุกอย่าง ส่วนร่วมและศึกษาประเพณี วัฒนธรรมเก่าแก่ ค่าใช้จา่ ยจะค่อนข้างสูง ดังนัน้ แนะน�ำว่าควรจะมา ด้านอื่นๆควบคูไ่ ปด้วย ประมาณ 10 คน ค่าใช้จา่ ยจึงจะไม่สงู เช่น การตัดตุง พั บสวยดอก

ปลูกฝังการมีสว่ นร่วมและแบ่งสันปันส่วน และการแสดงพืน้ บ้าน อย่างโปร่งใส เป้ า หมายการท� ำ การท่ องเที่ ย วชุ ม ชนคื อ การพั ฒนาชุ มชน เพื่อความเป็นอยู่ที่ ดี ขึ้นของ

55


ต้องมีสทิ ธิ์ มีเสียง สามารถแสดงความคิดเห็น ในพื้ น ฐานความเป็ นจริ ง ที่ เป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ชุ มชน ไม่ใช่ปล่อยให้คนๆ เดี ยวท�ำทุกอย่าง ถ้าอย่างงัน้ การท่องเที่ยวโดยชุมชนมันจะไม่มที าง ที่ จ ะส� ำ เร็ จ แน่ น อน ซึ่ ง นอกจากสถานที่ ท่องเที่ยวสวยๆแล้ว วิถีชีวิตของคนไทย ที่เป็นอยู่ ทุกวัน ตามวัฒนธรรมของเรานีแ่ หล่ะ ถือเป็น เสน่หอ์ กี อย่างหนึง่ ที่ นกั ท่องเที่ยวอยากสัมผัส

การท่องเทีย่ วส่งผลดีตอ่ ชุมชนอย่างไม่มที สี่ นิ้ สุด

ผศ.ดร.จุฑามาศ วิศาลสิงห์ การมีสว่ นร่วม คือปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ

ในปัจจุบันนักท่องเที่ยวทั้ งชาวไทยและชาวต่างชาติเริ่มให้ความสนใจ การท่องเที่ยวโดยชุ มชน จึงท�ำให้ชุมชนต่างๆ เกิดการตื่นตัวและสนใจเรื่องนีม้ ากขึน้ ซึง่ การที่จะท�ำให้การท่องเที่ยวโดยชุมชน ประสบความส�ำเร็จ อย่างยัง่ ยืน ขึน้ อยูท่ อี่ งค์ประกอบหลากหลายปัจจัย โดย ผศ.ดร.จุฑามาศ วิศาลสิงห์ นักวิ ชาการที่ทำ� งานด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน ได้เสนอข้อคิดและมุมมองในการท�ำท่องเที่ยวโดย ชุมชนไว้อย่างน่าสนใจดังนี้

เริ่มต้นด้วยการส�ำนึกรักท้องถิน่

การที่จะท�ำท่องเที่ยวโดยชุมชนก่อนอื่น คนใน ชุ มชนเองต้องมีความภูมิ ใจในถิ่ นฐานบ้านเกิด ของตัวเอง ความเป็นชนบท ความเป็นภูมปิ ญ ั ญา ภูมิ ใจเรื่องราวในอดีต แล้วน�ำมาพั ฒนาร่วมกับ ความทันสมัย ซึง่ หากไม่มคี วามภูมิ ใจในถิ่นฐาน บ้านเกิดตัวเองก็ยากที่จะเริ่มต้นท�ำการท่องเที่ยว โดยชุมชนได้ 56

การมีสว่ นร่วมของคนในชุมชนเป็นปัจจัยส�ำคัญ

การท่องเทีย่ วโดยชุมชน หมายถึง การท่องเทีย่ ว ที่ คนในชุ มชนเป็นคนบริ หาร จั ดการ และได้ ผลประโยชน์รว่ มกัน ดังนัน้ การจะท�ำให้การท่องเทีย่ ว โดยชุมชนประสบความส�ำเร็จอย่างยัง่ ยืน การมี ส่วนร่วมของคนในชุ มชนถือเป็นปัจจั ยส�ำคัญ ที่สดุ คนในชุมชนต้องร่วมกันสร้างขึน้ มา ตัง้ แต่ ประชุ ม วางแผน การจั ดการทุกอย่าง ทุกคน

ถ้าคนในชุมชนสามารถหาจุดขาย หาจุดเด่น แล้วจั ดการเป็น บริ หารเป็น จะเกิดผลดี ต่อ สิง่ มีชี วิตทุกอย่างที่อยูใ่ นชุมชน ทั้งคน สัตว์และ สิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติ แต่สำ� หรับคนในชุมชน สิ่งที่ เห็นเป็นรูปธรรมจะเป็นเรื่องของรายได้ที่ เพิม่ ขึน้ คุณภาพชีวิตที่ดีขนึ้ สร้างอาชีพ มีความสุข มากขึ้น ฯลฯ เรียกว่าการท่องเที่ยวส่งผลดี ต่อ ชุมชนอย่างไม่มที ี่สนิ้ สุด

แนวโน้มการท่องเทีย่ วโดยชุมชนในอนาคต การท่ อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชนมั น อยู ่ ภ ายใต้ การท่องเที่ ยวเชิง วัฒนธรรมซึ่ง มีมานานแล้ว เหตุ ผลที่ ทุ ก คนไปเที่ ย วก็ เพราะอยากจะเห็ น วัฒนธรรมที่แตกต่างจากวัฒนธรรมของตัวเอง ต้องการไปดู ต้องการไปรู้ ถ้าหากถามว่าตอนนี้ การท่องเที่ ยวโดยชุ มชนมีความนิยมมากน้อย แค่ไหน คงต้องบอกว่าตอนนีก้ ารท่องเที่ยวโดย ชุมชน เป็นเพียงทางเลือกหนึง่ ของนักท่องเที่ยว ที่ ไม่ใช่แค่ไปสถานที่ ท่องเที่ ยวหลักๆ อย่าง พั ทยา ภูเก็ต ฯลฯ ที่ทรัพยากรทางธรรมชาติ ถูกท�ำลายไปมากแล้ว ก็ลองเปลี่ยนมาเที่ ยว ชุ ม ชนบ้ า ง ไปดู วั ฒ นธรรม เรี ย นรู ้ วิ ถี ชี วิ ต ซึ่งประเทศไทยตอนนี้ก็พ ยายามท�ำให้มันเป็น กระแส ให้เป็นที่ นยิ มมากขึน้ เรื่อยๆ

แข่งขันทางด้านธุรกิจระหว่างชุมชน ถือเป็นเรือ่ งดี

ถ้ า ชุ ม ชนทั้ ง ประเทศไทยจะลุ ก ขึ้ น มาท� ำ การท่ องเที่ ย วโดยชุ ม ชนก็ ถื อ ว่ า เป็ น เรื่ องดี ที่ 57

เกิดการแข่งขัน เพราะแต่ละพื้นที่มีเอกลักษณ์ ทรัพยากร สภาพแวดล้อม ที่แตกต่างกัน ท�ำให้ นักท่องเที่ยวมีตัวเลือกในการท่องเที่ยวมากขึ้น แต่ถา้ ไปท�ำอะไรที่เหมือนๆ กันหมด มันไม่มที าง ที่จะขายได้แน่นอน ดังนัน้ ต้องหาจุดขายของตัว เองให้ ได้ และวางแผนการจั ดการให้ดี แล้วจะ ประสบความส�ำเร็จอย่างยัง่ ยืน การท่องเที่ยวโดยชุมชน เพือ่ ชุมชน ผลลัพธ์ ที่ ได้ตอ้ งตอบให้ได้วา่ เราได้ ก�ำไรสุทธิของเราคือ อะไร (Triple bottom line) เราสร้างและใช้ทนุ มนุษย์ ในการท�ำงาน ดังนั้นต้องก่อให้เกิดการ พั ฒนาศักยภาพโดยการด�ำเนินธุรกิจที่เป็นธรรม (People) เราใช้ทนุ ธรรมชาติที่ ไม่ใช่ของใครคนใด คนหนึง่ เราจึงต้องก�ำหนดให้มกี ารพิทักษ์รักษา และฟื้นฟู (Planet) ดังนั้นก�ำไรที่ ได้มิ ใช่เป็น เพี ยงตัวเงินตามมิติการคิดเชิงเศรษฐกิจเพี ยง ด้านเดียว (Profit) แต่คำ� นึงถึง กลไกและเครือ่ งมือ ที่ จะน�ำไปสู่การเสริ มสร้างศักยภาพให้ชุ มชนมี ความเข้มแข็งและเข้าใจการท่องเที่ยวในภาพรวม เพียงพอทีจ่ ะบริหารผลประโยชน์ (benefits) ให้ได้ เป็นไตรก�ำไรสุทธิ คือ triple bottom line ที่ รั กษาไว้ ในชุ มชนและสามารถกระจายไปได้ อย่างทั่วถึง การเก็บ เกีย่ วผลประโยชน์จากการ ท่องเที่ ยวได้อย่างยั่งยืนนี้คือแนวคิดรูปแบบ การเชื่ อมโยงผลประโยชน์ Community Benefitting Through Tourism – CBTT model ซึ่งเป็นรูปแบบการท�ำงานที่ มองการท่องเที่ ยว อย่างเป็นระบบห่วงโซ่คณ ุ ค่า หาค�ำตอบได้วา่ เราได้ อะไรจากการที่ มีการท่องเที่ ยวเข้าไปในชุ มชน เราจะท�ำอย่างไรให้ผลประโยชน์ที่ ได้จากการท่องเทีย่ ว ก่อเกิดผลสูงสุดต่อชุมชนอย่างแท้จริง การจัดการ ผลของการท่องเที่ยวให้มปี ระโยชน์ ให้คงอยูแ่ ละ กระจายได้ ท�ำงานอย่างมีสว่ นร่วมและต้องรูว้ า่ ….. อะไรที่ร่ัวไหลออกจากชุมชน (Leakages) อะไรที่ คงอยู่ (Linkages) เพือ่ น�ำมาเพิม่ มูลค่า รังสรรค์ ให้เกิดคุณค่าที่สดุ ต่อชุมชน


มุมมองของนักวิชาการ, คนในชุมชน, ผู้ประกอบการ, และบล็อกเกอร์ ที่มีต่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน

คุณวรรณวิภา ภานุมาต

หัวหน้างานเสริมสร้างศักยภาพ การท่องเทีย่ ว (อพท.) เป็นการท่องเทีย่ วทีท่ ำ� ให้คนในชุมชนมี รายได้เสริม ได้พัฒนาตัวเอง ได้แลกเปลีย่ น ประสบการณ์กบั นักท่องเที่ยว โดยจุดเด่น ของชุ ม ชนจะเป็ น เรื่ อ งการท� ำ เครื่ อ ง สั ง คโลก ท� ำ พุ ท ธศิ ล ป์ ด ้ า นแกะสลั ก หล่อพระ และอาหารพืน้ บ้านขึน้ ชื่ ออย่าง แกงไข่น�้ำ นักท่องเที่ ยวที่ มาต้องได้ชิม ทุกคน

คุณนพดล จินดาธรรม

เจ้าหน้าทีบ่ ริหารยุทธศาสตร์ (อพท.)

อยากให้การพั ฒนาการท่องเที่ยวมุง่ เน้นให้ประชาชนในพืน้ ที่ ได้รับผลประโยชน์ ในเชิง เศรษฐกิจมากขึน้ กว่าปัจจุบนั และชุมชนยังคงความเป็นนเอกลักษณ์ และวิถีชี วิต ปะเพณี ที่ยงั คงสืบทอดไปยังคนรุน่ หลัง ๆ ได้สบื ไป สิง่ นีค้ อื เสน่หแ์ ละเป็นมูลค่าทางวัฒนธรรม ที่สร้างความแตกต่างด้านการท่องเที่ยวได้อย่างแท้จริง การพั ฒนาการท่องเที่ยวให้เกิด ความยัง่ ยืนต้องสร้างรากฐานที่มั่นคงจากชุมชนที่เป็นฐานราก เพราะหากเรายิง่ พั ฒนา ประเทศในด้านเศรษฐกิจเพื่อเปลี่ยนผ่านไปเป็นสังคมอุตสาหกรรมมากเท่าไหร่ ความ ยากจน ความเหลือ่ มล�ำ้ ในเรื่องของรายได้ ความเสือ่ มถอยของวัฒนธรรม และการอพยพ เข้าสูเ่ มืองก็ยงิ่ มีมากขึน้ เท่านัน้ ปัจจุบนั ต้องยอมรับว่าการท่องเที่ยวถือเป็นแหล่งรายได้หลักที่เข้าสูป่ ระเทศไทยใน ขณะนี้ โจทย์สำ� คัญในการท�ำงานของคนในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวก็คอื จะท�ำอย่างไร ให้ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มอี ยูม่ คี วามยัง่ ยืนต่อไปในอนาคต ดังนัน้ ทุกภาคส่วนจึงควร เร่งหันมาใส่ใจการพั ฒนาการท่องเที่ยวที่เป็นรากฐานส�ำคัญของสังคม และควรค�ำนึงถึง ผูค้ นในท้องถิ่นเป็นหลัก โดยเฉพาะสังคม วัฒนธรรม และสิง่ แวดล้อม ซึง่ ถือว่าเป็นเรื่อง ใกล้ตวั ที่จะสร้างให้การท่องเที่ยวเกิดความยัง่ ยืนมาที่สดุ เท่าที่จะท�ำได้ ทั้งนีท้ ั้งนัน้ ก็เพียง เพราะว่า “การพั ฒนาการท่องเที่ยวไม่ได้มเี ป้าหมายไว้เพือ่ ใครคนใดคนหนึง่ แต่กเ้ พือ่ ผล ประโยชน์สขุ ของประชาชนในชุมชนที่เป็นเจ้าของแหล่งท่องเที่ยวนัน้ เอง 58

คุณปองเลิศ เฉลิมสิริ โรจน์ ชุมชนเมืองเก่าสุโขทัย

แนวทางการพั ฒ นาชุ ม ชนไม่ ค วรเน้ น ไปที่ ป ริ มาณ ควรเน้ น คุ ณ ภาพมากกว่ า แต่ละชุ มชนเองมีทรัพยากร มีเอกลักษณ์ที่ แตกต่างกัน ไม่วา่ จะเป็นวิถีชี วิต เรื่องอาหาร การกิน ความเป็นวิ ถี ชี วิ ตจริงๆนีแ่ หล่ะคือ เสน่ห์ของการท่องเที่ยวชุ มชน ดังนั้นแต่ละ ชุมชนต้องหาตัวเองให้เจอว่าตัวเองเป็นชุมชน แบบไหน มีอะไรดี ถึงจะสามารพัฒนาต่อยอด ไปได้ ซึง่ จะท�ำให้คนในชุมชนได้ผลประโยชน์ จากตรงนี้ ในด้านต่างๆเช่น การสร้างอาชี พ, การฟืน้ ฟูวฒ ั นธรรม ฯลฯ นักท่องเที่ยวที่มา เที่ยวก็จะได้รับความสุข ได้ประสบการณ์ ใหม่ กลับไปด้วย 59


เรามองว่าการเที่ยวในชุมชน นัน้ ท�ำเพือ่ ชุมชนก่อน เรื่องเที่ยว เรื่องรายได้เป็นเรื่องเสริม ชุมชนตะเคียน เตี้ยจะเป็นชุ มชนที่ พ ยายามจะอนุรั กษ์ ประเพณี วัฒนธรรม ที่ดี ในชุมชน เช่น ประเพณีลำ� ตัด , การตัด พวงมโหตร รวมถึงวิ ถี ชี วิ ตของชาวสวนมะพร้าว ส่วนเรื่องอาหารการกินก็มอี ร่อยหลายอย่าง ทั้งแกง ไก่กะลามะพร้าว ขนมทองพั บ ลูกอมกะทิถวั่ โบราณ ฯลฯ ในตอนนีอ้ ยากให้คนในชุมชนมีสว่ นร่วมมากขึน้ เพือ่ จะได้กลายเป็นชุมชนเข้มแข็ง

คุณเชิด สิงห์คำ� ป้อง

ประธานชมรมส่งเสริมการ ท่องเทีย่ วโดยชุมชนปลาบ่า

คุณวันดี ประกอบธรรม ชุมชนต�ำบลตะเคียนเตีย้

เจ้าของเพจ I Roam Alone

คุณธนาวุฒิ ศุภางคะรัตน์ กรรมการผูจ้ ดั การ ธุรกิจ SiamRise Travel

60

CEO และผูก้ อ่ ตัง้ ธุรกิจ Local Alike

คุณมณฑล กสานติกลุ

การท่องเที่ยวที่ชุมชนท�ำให้คนในชุมชนมีความสุขมาก ขึน้ เกิดความรักใครกลมเกลียว เป็นชุมชนเข้มแข็ง จุดเด่นของ ชุมชนปลาบ่าจะเป็นเรือ่ งฟืน้ ฟูปา่ โดยเราจะร่วมกันปลูกป่า ทุกปีเพือ่ เป็นการคืนพืน้ ที่แก่ธรรมชาติ เมือ่ นักท่องเที่ยว มาเที่ยว คนในชุ มชนก็จะได้รจู้ ั กแลกเปลีย่ นความคิดกัน แลกเปลีย่ นวิถีชีวิตกัน ในอนาคตก็อยากให้ทางภาครัฐเพิม่ พืน้ ที่ทอ่ งเที่ยวชุมชนให้มากขึน้ ประชาชนในพืน้ ที่อื่นๆจะได้ มีความเป็นอยูท่ ี่ดีขนึ้ ประเทศก็พั ฒนาขึน้

เป็นเรื่องที่ดี ที่มีการท่องเที่ยวชุ มชน ส่ ว นตั ว คิ ด ว่ า เรื่ องอาหารเป็ นจุ ด เด่ น ที่ ท�ำให้นักท่องเที่ ยวอยากเข้าไปสัมผัส วิ ถี ชี วิ ต ของคนในชุ ม ชน อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ในอนาคตหากชุ ม ชนต้ อ งการให้ ก าร ท่องเที่ยวชุมชนเจริญเติบโตมากขึน้ น่าจะมี การประชาสัมพั นธ์ ให้มากขึน้ กว่าเดิม

คุณสมศักดิ์ บุญค�ำ

การทีท่ างภาครัฐ เริม่ โฟกัสมาทีก่ ารท่องเทีย่ ว ชุมชนท�ำให้เกิดการตื่นตัวมากขึน้ แต่กอ่ นอาจ จะเป็นแค่การศึกษาดูงานตอนนีก้ ็เป็นเรื่อง ท่องเที่ยวมากขึ้น จุ ดเด่นของการท่องเที่ยว ชุ มชนคือเรื่องของอาหาร การกิน ที่มีความ หลากหลาย แต่สง่ิ ที่เป็นเสน่หท์ ี่ นกั ท่องเที่ยว จะได้เห็นคือการจั ดการภายในชุ มชนมากกว่า ชุมชนมีการวางแผน จัดสรร ปันส่วนกันเอง ได้อย่างลงตัว ซึ่งเป็นประสบการณ์อย่าง หนึง่ ที่ นกั ท่องเที่ยวจะได้รับ ส่วนการพั ฒนา ให้เป็นการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนคงต้องเน้น ประชาสัมพันธ์ให้คนทุกคนเข้าใจมากขึน้ ว่าการ ท่องเที่ยวชุมชนคืออะไร เพือ่ ที่ทกุ คนจะได้เข้าใจ และร่วมมือกันท�ำให้ประสบผลส�ำเร็จ

ก่อนอื่นชุมชนต้องเข้มแข็งก่อน ต้อง รูว้ า่ ในชุมชนมีอะไร ต้องการอะไร ค่อยๆ เป็นค่อยๆไป ไม่ตอ้ งเร่ง ไม่ตอ้ งเปลีย่ น ตั ว เองเพื่ อ การท่ อ งเที่ ย วจนเกิ น ไป ซึ่งจุดเด่นของการท่องเที่ยวโดยชุ มชน มั น คื อ ความเป็ น ตั ว ของตั ว เอง ที่ นักท่องเที่ยวจะได้เข้าไปสัมผัส ไปเรียนรู้ เมื่อชุ มชนเข้มแข็งแล้วจากนั้นจึงเป็น หน้าที่ของหน่วยงานรัฐเข้าไปให้ความรู้ ข้อเสนอแนะ และปล่อยให้คนในชุมชน บริการจัดการเอง ถ้าท�ำอย่างถูกต้อง มั นจะเป็ น ส่ ว นส� ำคั ญ ในการพั ฒ นา ชุมชน 61


ประกวดบทความ เที่ยวนี…้ เพื่อสัมผัสชีวิตบน ดอยป่าแป๋

“เบตง” เมืองต้องมนต์ที่ต้องไป ...สักครั้งในชีวิต

สวัสดีคะ่ เราชื่ อหงส์ อายุ 22 ปี เราขอเล่าเกีย่ วกับการท่องเที่ยว(เชิงออกค่าย) ให้ฟงั ค่ะ เป็นค่ายสัมผัสชี วิต ณ ดอยป่า แป๋ จังหวัดล�ำพูน โดยมีชาวเขาเผ่าปกาเกอะญอ อาศัยอยูเ่ ป็นหมูบ่ า้ น ช่วงที่เราไปเป็นช่วงฤดูหนาว บนดอยมีฝนตกเบาๆอยู่ ตลอดทั้งวัน ท�ำให้อากาศหนาวยิง่ ขึน้ มีหมอกลงสวยงาม (แต่บางทีทำ� ให้เราเห็นทางไม่ชดั ) เนือ่ งจากอากาศหนาวท�ำให้เรา ไม่มคี วามคิดว่าจะอาบนํา้ เลย เราคิดตลอดว่าไม่มเี หงือ่ ไม่สกปรก เลยอาบนํา้ 2 วัน 1 ครัง้ ทุกๆเช้าเราจะถูกปลุกด้วยเสียงไก่ ขัน ไก่ที่ทางบ้านเลีย้ งไว้พร้อมใจกันขัน เราจึงลุกออกมาสูดอากาศบริสทุ ธิ์ ลุกไปล้างหน้า แปรงฟัน เตรียมพร้อมเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ ดอยป่าแป๋ จ.ล�ำพูน เป็นแบ่งเขตการพั กอาศัยเป็นหมวดๆ การไปเที่ยวครั้งนีม้ เี ป้าหมายอยูท่ ี่เราจะไปร่วมเรียนรูแ้ ละ ใช้ชี วิตร่วมกับชาวบ้าน โดยปราศจากเงิน ที่อาจเป็นตัวแบ่งชนชัน้ ของสังคมและโทรศัพท์มอื ถือที่ทำ� ให้เราลืมความเป็นจริงที่ อยูต่ รงหน้า บ้านที่เราได้ไปอยูด่ ว้ ย มีทั้งหมด 4 คน โดยเราจะเรียกเขาว่า ตา-ยาย-พ่อ-แม่ ทุกๆคนเลีย้ งดูเราเป็นอย่างดี อาหารครบ 3 มือ้ เช้ามาเราก็ชว่ ยเตรียมอาหาร กินกับข้าวพืน้ เมืองที่ดเู หมือนไม่นา่ กิน แต่รสชาติอร่อยอย่าบอกใคร และ เป็นรสชาติท่ีหาไม่ได้ในกรุงเทพฯ เช่นไข่ไก่สด คือ ไข่ไก่ที่เพิง่ ออกมาจากท้องแม่ไก่สดๆ สามารถเก็บมาลวกหรือทอดกินได้ ทันที ต่อมาช่วงสายของแต่ละวันเราได้เรียนรูว้ ิถีชี วิตมากมาย โดยเริ่มจากการเก็บ เม็ดกาแฟไปขาย เนือ่ งจากอากาศบน ดอยจะหนาวเป็นส่วนใหญ่ ท�ำให้ตน้ กาแฟเติบโตและออกผลได้งา่ ย เราจึงเดินเก็บ เม็ดกาแฟรอบๆบ้าน และเข้าป่าไปเก็บ ได้หลายกิโลกรัม แล้วพ่อก็จะขับรถเอาไปขายให้กบั โรงคัว่ เพือ่ ท�ำเป็นเมล็ดกาแฟอาราบิกา้ วันต่อมาเราได้ตำ� ข้าวเปลือกด้วย ตัวเอง เครื่องต�ำข้าวเปลือกเป็นเครื่องไม้ที่ชาวบ้านประกอบขึน้ มาเองโดยไม้จากธรรมชาติ และเราเอาข้าวเปลือกไปให้ไก่กนิ และวันสุดท้ายเราเดินขึน้ ภูเขา โดยมีนอ้ งๆ ลูกเล็กเด็กแดงของชาวบ้านเป็นไกด์นำ� ทาง โดยเริ่มต้นที่ โรงเรียนประจ�ำหมูบ่ า้ น ที่ นอ้ งๆมาเรียนกันทุกๆวัน มีเครื่องเล่นหน้าโรงเรียนเรากับ เพือ่ นๆก็แวะพั กเล่นของเล่น ย้อนความทรงจากลับไปตอนวัย เด็ก และจึงเริ่มเดินทางต่อไปยังวัดในหมูบ่ า้ น โดยต้องเดินขึน้ ภูเขาไป ระหว่างทางทุกๆคนเริ่มเหนือ่ ย แต่ได้นอ้ งๆมาช่วย กระตุน้ จับมือ ให้เราเดินต่อไปจนถึงวัด อีกทั้งน้องๆยังคอยประคองพวกเราให้เดินลงได้โดยที่ขาไม่สั่นอีกด้วย เนือ่ งจาก อากาศหนาวและมีฝนท�ำให้เราไม่สามารถทอผ้าได้ ซึง่ โดยปกติแล้ว เมือ่ ว่างงานยายและแม่จะใช้เวลาทอผ้า ถ้ามีเวลาว่าง เรากับ เพือ่ นๆจะเดินไปเยีย่ มบ้านอื่นๆกัน ซึง่ ทุกๆบ้านจะมีรอยยิม้ คอยต้อนรับตลอดเวลา และเมือ่ ถึงเวลาอาหารเย็นของ ทุกวันเราจะนัง่ คุยกับทุกๆคนในบ้านรอบกองไฟที่จุดขึน้ ภายในบ้านนอกจากจะให้ความอบอุน่ แล้ว ยังสามารถท�ำอาหารได้ อีกด้วย พวกเราพูดคุยเกีย่ วกับวิถีชี วิตที่เราไปสัมผัสมา ถามค�ำถามที่อยากรู้ ถือเป็นช่วงเวลาของการแลกเปลีย่ นวิถีชี วิต ความรูส้ กึ ซึง่ กันและกันในแต่ละวัน ตัวเราเป็นคนที่อวบหน่อยๆ ดังนัน้ ตากับยาย จะชอบเรียกเราว่า ตุย้ การที่เราอ้วน ท�ำให้พวกเขายิม้ และหัวเราะออกตลอดเวลาที่พวกคุยกัน อีกทั้งพวกเขาจะชักชวนให้เราทานอาหารมากกว่าคนอื่นๆ ทั้งสอง อาจจะอยากให้เราเป็น ตุย้ ตลอดไปก็ ได้ จนถึงวันสุดท้าย ก่อนจากกันเรามีเป็นหนังสืออ่านนอกเวลา ฝากให้นอ้ งๆได้อา่ น และแม่ให้กระเป๋าที่ทอผ้าปักลายด้วย ตัวเองให้เรา ก่อนออกจากบ้านตากับยาย ท�ำพิธเี ล็กๆสักอย่างให้เรากับ เพือ่ น เพือ่ เป็นการอวยพรให้เรากับ เพือ่ น ถือเป็นการ ปิดทริปเที่ยวค่าย ที่สนุกสนาน และได้เรียนรูว้ ิธชี ี วิตของชาวเผ่าปกาเกอะญอ อย่างใกล้ชดิ ได้สมั ผัสกับอากาศที่หาไม่ได้ใน เมือง ช่วงเวลาที่เราอยูบ่ นดอย ถือเป็น Quality time ของเรามากๆ จากการเดินทางครั้งนี้ เรารูว้ า่ เราชอบธรรมชาติเชิง ภูเขามาก เมือ่ เราเหนือ่ ยต้นไม้ขา้ งทางจะเป็นอ็อกซิเจนที่ดี และจุดหมายปลายทางที่เราไปถึงเป็นสิง่ ที่ทำ� ให้ หายเหนือ่ ย เหนืออื่นใดรอยยิม้ ของผูร้ ว่ มทางและคนที่เราพบเจอระหว่างทางท�ำให้เรามีความสุขและพร้อมที่จะกลับไปที่ดอยนีอ้ กี ครั้ง

หากพูดถึงจุดที่อยูส่ ดุ ปลายด้ามขวานของประเทศไทย หลายคนคงไม่เคยรูม้ าก่อนว่าจุดๆนัน้ เป็นอ�ำเภอหนึง่ ของยะลา ที่ถกู โอบล้อมไปด้วยภูเขา อ�ำเภอนีเ้ หมือนเมืองในแอ่งกระทะที่ถกู ปิดกัน้ จากโลกภายนอก คล้ายเมืองลึกลับ แต่ทว่าเมือ่ สัมผัสกลับคงมนต์เสน่หเ์ รือ่ งราวของวิถีชีวิตและธรรมชาติอนั งดงามไว้ ตามสมญานามที่วา่ “ใต้สดุ สยาม เมืองงามชายแดน” อ�ำเภอแห่งนีม้ ชี ื่ อว่า “เบตง” วินาทีแรกที่คณ ุ ลืมตาตื่นนอนในตอนเช้า ณ เบตง คุณจะสัมผัสได้ถงึ บรรยากาศที่เย็นสบาย ได้เห็นหมอกหนาปกคลุมเมือง ได้ยนิ เสียงนกเจือ้ ยแจ้วร้องรับวันใหม่ ได้กลิ่นควันหอมๆจากซึง้ ที่ นงึ่ ติม่ ซ�ำ และหากสัมผัส ได้สกั ระยะหนึง่ คุณจะรูว้ า่ วิถีชี วิตของผูค้ นที่ นเี่ ริ่มต้นขึน้ เมือ่ นาฬิการ้องบอกเวลาสี่นาฬิกาของช่วงเช้า กลอนประตูของบ้าน แต่ละหลังถูกปลด บานประตูที่เปิดออกเสมือนสัญญาณที่ปลุกบ้านใกล้เรือนเคียงให้ตื่นพร้อมรับ เช้าวันใหม่ของการท�ำงาน ตามมาด้วยเสียงสตาร์ทรถจักรยานยนตร์ของผูค้ นที่เดินทางไปจ่ายตลาด หลังจากช่วงเวลานัน้ วิถีที่ นา่ อัศจรรย์ของผูค้ น ในเบตงก็ ได้เริ่มต้นขึน้ วินาทีตอ่ มาคุณจะได้พบเห็นและสัมผัสถึงความหลากหลายของผูค้ นที่มวี ิถีชี วิตที่แตกต่างกัน ทั้งคนไทยพุทธ คน ไทยมุสลิม และคนไทยเชื้ อสายจีน ถือเป็นเมืองที่มสี งั คมพหุลกั ษณ์ที่ชดั เจน ซึง่ วิถีชี วิตของผูค้ นยังยึดโยงกับ เชื้ อชาติและ วัฒนธรรมของตนเองอย่างมิเสือ่ ม โดยเฉพาะคนไทยเชื้อสายจีนของเมืองแห่งนี้ ยังคงมีวิถีชีวิต ประเพณีและวัฒนธรรมของ ผูค้ นที่คงความเป็นจีนไว้เกือบทุกอย่าง ซึง่ เมือ่ คุณเดินตะลุยตะลอนในเมืองจะได้ยนิ ผูค้ นสือ่ สารกันด้วยภาษาจีนกับนักท่อง เที่ยวเป็นหลัก ป้ายร้านค้าและร้านอาหารมักมีชื่อจีนประกอบ คนไทยเชื้อสายจีนยังคงมีนามสกุลที่เรียกว่าแซ่ให้พบเห็นเป็น ส่วนมาก บ้านเกือบทุกหลังมีศาลเจ้าที่จนี เพือ่ บูชา ตกแต่งบ้านด้วยการห้อยโคมแดงหรือเรียกอีกชื่ อว่า หงเติงหลง และ นิยมใช้ปฏิทนิ จีนเพือ่ ย�ำ้ เตือนวันส�ำคัญ โดยเฉพาะเทศกาลตรุษจีน เทศกาลเช็งเม้ง รวมถึงเทศกาลกินเจ คนเบตงจะมีวนั หยุดพิเศษมากกว่าพืน้ ที่อื่น การมาท่องเที่ยวในช่วงเทศกาลเหล่านี้ คุณจะมีโอกาสพบเห็นวิถีการสืบสานอย่างมีขนั้ ตอนของ วัฒนธรรมจีนได้อย่างชัดแจ้งมากกว่าพืน้ ที่อื่นๆในประเทศไทย อีกทั้งเมืองเบตงยังมีโรงเรียนจงฝามูลนิธิ ซึง่ เป็นโรงเรียน จีนที่เก่าแก่ที่สดุ ของอ�ำเภอ มีสถาปัตยกรรมแบบก�ำแพงเมืองจีน ประดับด้วยหัวมังกรอย่างโดดเด่น ถือเป็นศูนย์กลางจีน ศึกษาของอ�ำเภอที่ ได้รบั การยอมรับมากกว่า 90 ปี โรงเรียนแห่งนีจ้ งึ ถือเป็นหนึง่ ในสถานที่ที่ ไม่ควรพลาด เพราะมันสามารถ ท�ำให้คณ ุ รูส้ กึ ว่าก�ำลังยืนอยูบ่ นอารยธรรมของจีนได้ วิถีชีวิตของคนไทยเชื้อสายจีนในเบตงได้แสดงให้เห็นถึงการมีตวั ตนอัน เป็นหนึง่ เดียวอย่างแข็งแกร่งทางชาติพั นธุท์ ี่แตกต่างจากพืน้ ที่อื่นๆ จึงกลายเป็นอัตลักษณ์ที่นา่ สนใจให้มาสัมผัสและศึกษา ส�ำหรับผูค้ นอื่นๆในเบตงที่ตา่ งเชื้ อชาติและวัฒนธรรมก็ผนึกตนเองกับวิถีชี วิตของคนไทยเชื้ อสายจีนอย่างลงตัว โดยคุณจะ เห็นได้จากการรวมตัวกันในร้านติม่ ซ�ำของช่วงเช้า พบปะสังสรรค์กนั ตามงานเลีย้ งของสมาคมจีนในช่วงเย็น และพบปะพูด คุยกันที่รา้ นน�ำ้ ชาในช่วงค�ำ่ ผูค้ นที่ ได้รวมตัวกันต่างสร้างเสียงหัวเราะให้บรรยากาศร้านน�ำ้ ชาเล็กๆมีความครึกครื้น บรรดา พ่อค้าแม่คา้ ต่างก็สร้างความเป็นกันเองและพูดคุยกับนักท่องเที่ยวอย่างเป็นมิตร ความแตกต่างของวิถีชี วิตที่ดเู หมือนแบ่ง แยกกัน ภาพบรรยากาศ ณ วินาทีนนั้ เกิดเป็นประชาสังคมที่ตวั ตนรวมเป็นหนึง่ เดียวในที่สดุ อ�ำเภอเล็กๆท่ามกลางหุบ เขาแห่งนี้ ยังมีเรื่องราวมากมายที่รอการเล่าขานแก่นกั เดินทาง ทุกอย่างในอ�ำเภอยังคงทรง เสน่หแ์ ละน่าเที่ยวไม่ตา่ งไปจากวันวาน มนต์เสน่หเ์ หล่านีจ้ ะอยูท่ ี่เดิมเสมอ รอจนกว่าคุณจะมาเยือน ใต้สดุ สยามเมืองงามชายแดน อ�ำเภอที่มชี ื่ อว่า “เบตง”

คุณ¾ÃóÒÀÃ³ì ¡Ã³ì¹Ñ¹·¾Ñ²¹ì 62

คุณÁ¹ÑÊÇÕÂì ªÒ­ÇÔÃǧÈì 63


ประกวดภาพถ่าย

ÁÔµÃÀÒ¾áËè§ÊоҹÁอญ­

·ÓºØ­ญµÑ¡ºÒµÃ ³ ¶¹¹¤¹à´Ô¹àªÕ§¤Ò¹

ÊоҹÁÍญ­Êѧ¢ÅкØÃÕ ¨Ñ§ËÇÑ´ ¡Òญ­¨¹ºØÃÕ

¶¹¹¤¹à´Ô¹àªÕ§¤Ò¹ ÍÓàÀÍàªÕ§¤Ò¹ ¨Ñ§ËÇÑ´ àÅÂ

¶Ö§¨ÐᵡµèÒ§ áµè¾Ç¡àÃÒ¡çà»ç¹à¾×è͹¡Ñ¹ä´é ·Ñé§ ÁÍ­ àÁÕ¹ÁÒ áÅÐä·Â (¾ÃÐÍÒ·ÔµÂìÊÃéÒ§¤ÇÒÁͺÍØè¹ä´é´Õ¢Öé¹)

àʹèËì¢Í§àªÕ§¤Ò¹ ¤×Í ¡ÒõѡºÒµÃ¢éÒÇà˹ÕÂÇ ÇѲ¹¸ÃÃÁÍѹ´Õ§ÒÁ·Õè´Ö§´Ù´ ·Ø¡¤¹·Õèà´Ô¹·Ò§ä»¶Ö§

คุณÀҳؾ§Èì ¹Ô¸Ô¡ÔµµÔ¡ØÅ

64

คุณ»ÃÐ侾Ѳ¹ì à¾ÕÂûÃÐ⪹ì

65


ขอบคุณข้อมูล หน้า 6-7 บทน�ำ

หน้า 44-47 ศาสตร์พระราชา

ปัจจุบัน

หน้า 48-49

http://themomentum.co/successfulDasta Forum การท่องเที่ยวยั่งยืนหรือยับ เยิน datalab-thailand-inequality-2016-byการสัมภาษณ์ผู้อ�ำนวยการ อพท. รายการเดิน oxfam หน้าประเทศไทย: จากศาสตร์พระราชาสูส่ งั คมอย่าง หน้า 8-9 สถานการณ์การท่องเที่ยวโลกใน ยั่งยืน ออกอากาศวันที่ 16 ตุลาคม 2560 Dasta Forum การท่องเที่ยวยัง่ ยืน หรือ ยับ เยิน

คุ ณวี ร ะศั ก ดิ์ โควสุ รั ต น์ ประธานกรรมการ

หน้า 10-11 การท่องเที่ยวอุตสาหกรรมแห่ง องค์การบริหารการพั ฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่อง ความหวังของโลก เที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. Series Sustainable Tourism หน้า 50-51 หน้า 12-13 การท่องเที่ยวเพื่อก�ำจัดความ ผศ.ดร.จุฑามาศ วิ ศาลสิงห์ กรรมการบริหาร ยากจน สมาคมส่งเสริมการท่องเที่ยวภูมภิ าคเอเชี ยแปซิฟกิ Dasta Forum การท่องเที่ยวยั่งยืนหรือยับ เยิน หน้า 52-53 หน้า 14-31 บทบาท อพท กับการพัฒนาการ นางสุพรรณ อินทะชัย ชมรมส่งเสริ มการท่อง ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เที่ยวโดยชุ มชนบ้านไร่กองขิง จั งหวัดเชี ยงใหม่ Dasta Forum การท่องเที่ยวไทยยั่งยืน หรือ หน้า 54-55 ยับ เยิน

สุเทพ เกือ้ สังข์ รองผูอ้ ำ� นวยการ องค์การบริหาร

หน้า 32-39 CBTT และเครื่ องมือเราได้เรา การพั ฒนาพืน้ ที่พเิ ศษเพือ่ การท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน กระจาย (องค์การมหาชน) หรือ อพท. DASTA CBTT Model เที่ยวนีเ้ พื่อใคร หน้า 56-59 หน้า 40-41 Denmark model นายนพดล จินดาธรรม จนท.บริหารยุทธศาสตร์ AFP , จากการประเมินดัชนีความสุขโลกปี 2016 (อพท.) (Helliwell Layard, & Sachs,2016) น.ส.วรรณวิ ภา ภานุ มาต หนง.เสริ ม สร้ า ง Dasta Forum การท่องเที่ยวไทยยั่งยืน หรือ ศักยภาพการท่องเที่ยว (อพท.) ยับ เยิน นายปองเลิศ เฉลิมสิริโรจน์ ชุมชนเมืองเก่าสุโขทัย หน้า 42-43 Bhutan model นางวันดี ประกอบธรรม ชุมชนต�ำบลตะเคียนเตีย้ Ref: www.bhutanstudies.org.bt , GNH นายเชิด สิงห์ค�ำป้อง ชุ มชนปลาบ่า


Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization) 118/1 Tipco Tower 31st FL. Rama VI Road Phayathai Bangkok 10400 Thailand

www.dasta.or.th www.facebook.com/SaiJaiPaiTiew


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.