ไข้เลือดออก
โรคระบาดในฤดูฝน
ไข้เลือดออกเป็นโรคติดเชื้อที่พบได้บ่อยพบมากในเด็ก ระยะที่ 3 ระยะฟื้นตัว อายุ 2-10 ปี เด็กอายุต่ำ�กว่า 1 ขวบ จะพบน้อยมากส่วนเด็ก ในรายที่ผ่านระยะที่ 2 แล้ว อาการก็จะค่อยดีขึ้นกลับเข้า โตและผูใ้ หญ่กอ็ าจพบได้บา้ งประปรายอาการมักไม่รนุ แรงและ สู่สภาพปกติผู้ป่วยจะเริ่มกินอาหารได้อาการปวดท้องจะลดลง มักระบาดในช่วงฤดูฝนที่มียุงลายชุกชุม อาการเลือดออกจะค่อยๆ ดีขึ้น
สาเหตุของการเกิดไข้เลือดออก
อาการแทรกซ้อน
ไข้เลือดออกเกิดจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งซึ่งมียุงลายเป็น นอกจากภาวะเลือดออกรุนแรงภาวช็อกแล้ว อาจเป็น พาหะสำ�คัญ ยุงลายชอบกัดคนในเวลากลางวัน กล่าวคือยุง ปอดอักเสบ หลอดลมอักเสบแทรกซ้อนได้ หรืออาจเกิดภาวะ ลายจะกัดคนที่เป็นไข้เลือดออกก่อน แล้วจึงจะไปกัดคนที่อยู่ ปอดบวมน้ำ�ได้ ใกล้เคียง ยุงชนิดนี้ชอบเพาะพันธุ์ตามแหล่งน้ำ�นิ่งในบริเวณ บ้าน เช่น น้ำ�ในตุ่ม จานรองตู้กับข้าว ฝากะลา หลุมที่มีน้ำ�ขัง
อาการ
เมื่อเป็นไข้เลือดออกแล้วผู้ป่วยจะมีอาการดังต่อไปนี้
ระยะที่ 1 ระยะไข้สูง
ผู้ป่วยจะมีไข้สูง ซึ่งเกิดขึ้นฉับพลัน มีลักษณะไข้สูง ลอยตลอดเวลา หน้าแดง ตาแดง ปวดศีรษะ กระหายน้ำ� ซึม มักมีอาการเบื่ออาหารและอาเจียนร่วมด้วยเสมอ กินยา ลดไข้ก็จะไม่ลด ในบางรายจะมีอาการปวดท้องบริเวณ ใต้ลิ้น ปี่หรือชายโครงขวา บางคนอาจมีผื่นแดงขึ้นตามลำ�ตัว แขน และ ขา อาจจะพบรอยจ้ำ�เขียวด้วยก็ได้ ผู้ป่วยจะมีไข้สูง 2-7 วัน ถ้าไม่มีอาการรุนแรง ไข้จะลดในวันที่ 5-7
ระยะที่ 2 ระยะช็อกและมีเลือดออก
ถ้าท่านสงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก ควรปฏิบัติตัวดังต่อไปนี้
1. กินยาลดไข้ เช่นพาราเซตามอล ห้ามใช้ยาจำ�พวกแอสไพริน อาการจะเกิดระหว่างวันที่ 3-7 ของโรค อาการไข้จะ เพราะจะทำ�ให้เลือดออกง่าย ลดลง แต่คนไข้จะมีอาการปวดท้อง และอาเจียนบ่อยขึน้ ซึม กระสับกระส่าย มือเท้าเย็น เหงือ่ ออกปัสสาวะบ่อย ชีพจรเบา 2. นอนพักผ่อนให้เพียงพอและดื่มน้ำ�มากๆ เต้นเร็ว ความดันต่ำ� ซึ่งเป็นอาการช็อก ผู้ป่วยอาจมีอาการ ไม่รู้สึกตัว ปากเขียว คลำ�ชีพจรไม่ได้ ถ้าไม่ได้รับการรักษาทัน 3. เฝ้าสังเกต อาการอย่างใกล้ชิดถ้ามีอาการดังกล่าวมาข้างต้น ควรพบแพทย์ ท่วงทีอาจเสียชีวติ ได้ นอกจากนีผ้ ปู้ ว่ ยอาจมีภาวะเลือดกำ�เดา ออก อาเจียนเป็นเลือด มีจุดเลือดออกตามผิวหนัง 4. ในรายที่ปวดท้องมาก อาเจียน รับประทานไม่ได้ กระสับ กระส่าย ควรนำ�ส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
การป้องกันไข้เลือดออกสามารถทำ�ได้ ดังนี้ 1. ทำ�ลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย เช่น
- ปิดฝาโอ่งน้ำ�และล้างโอ่งน้ำ�สัปดาห์ละ 1 ครั้ง - จานรองตูก้ บั ข้าว ควรใส่ทรายอะเบทลงไป หรือเทน้�ำ เดือด ทุกๆสัปดาห์หรือเกลือแกง 2 ช้อนชา ต่อน้ำ�1แก้ว - ควรเก็บกระป๋อง กะลา ยางรถยนต์เก่าๆ ทิง้ เพือ่ จะไม่เป็น ที่ขังของน้ำ� - ปรับพื้นบ้านอย่าให้เป็นหลุมเป็นบ่อ 2. ระวังไม่ให้ยุงกัด เช่น ควรนอนกางมุ้ง หรือทายากันยุง
อาการที่เป็นสัญญาณอันตราย !!! ซึ่งต้องสังเกตอย่างใกล้ชิด
- อาการกระสับกระส่าย หรือซึมมาก - ปวดท้องตรงยอดอกหรือลิ้นปี่ - อาเจียนมาก - มือเท้าเย็น เหงื่อออกมาก - หายใจหอบ ปาก และเล็บเขียว - มีรอยจ้ำ�ตามตัวหลายแห่งถ้าพบอาการอย่างใดอย่าง หนึ่งควรพบแพทย์โดยเร็ว
พิชิตโรคไข้เลือดออก ด้วยการปฏิบัติ 5 ป. @ ปิด ปิดภาชนะที่ใช้เก็บน้ำ�ให้สนิทไม่ให้ยุงเข้าไปวางไข่ @ เปลี่ยน เปลี่ยนน้ำ�แจกันทุก 7 วัน @ ปล่อย ปล่อยปลากินลูกน้ำ�ในอ่างบัว เช่น ปลาหางนกยูง @ ปรับปรุง ปรับปรุงสภาพแวดล้อมกำ�จัดขยะที่อาจเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย @ ปฏิบัติจนเป็นนิสัย
ศูนย์ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ โรงพยาบาลแมคคอร์มิค 1755
เมื่อพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในหอผู้ป่วยของท่าน - ให้ปฏิบัติดังนี้ -
1. ประเมินผู้ป่วยให้ครบทุกระบบ 2. บันทึกใบติดตามอาการผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก (DHF chart) 3. เขียนรายงานแบบรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ไข้เด็งกี่ สำ�นักงานสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่ (แบบ Report case DFDHFDSS) ส่งศูนย์ IC ทันที
ศูนย์ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ โรงพยาบาลแมคคอร์มิค 1755