นายแพทย์ Edwin Charles Cort ผู้นำ�การแพทย์สมัยใหม่สู่เชียงใหม่
นายแพทย์ Edwin Charles Cort ที่ ช าวเชี ย งใหม่ ใ นอดี ต รู้ จั ก ในนาม “หมอคอร์ท”หรือ “พ่อเลี้ยงคอร์ท” โดยสารเรือข้ามมหาสมุทรจาก สหรัฐอเมริกา มาถึงประเทศไทยในปี พ.ศ. 2451 หลังจากสำ�เร็จการศึกษาจาก คณะแพทย์ศาสตร์มหาวิทยาลัย John Hopkins ซึ่งมีชื่อเสียงโด่งดังด้านการ แพทย์ของสหรัฐอเมริกา ความตั้งใจแรกของหมอหนุ่มที่มีศรัทธาแรงกล้าในพระเจ้าคือต้องการ เป็ น มิ ช ชั น นารี ไ ปทำ � งานที่ ป ระเทศจี น แต่ คณะกรรมการฝ่ า ยพั น ธกิ จ ต่ า ง ประเทศของคริสตจักรเพรสไบทีเรียนสหรัฐอเมริกา มีความเห็นว่างานด้าน การแพทย์และสาธารณสุขที่ประเทศไทยมีความจำ�เป็นและสำ�คัญมากกว่าจึง ส่งนายแพทย์ คอร์ท มาทำ�งานที่ประเทศไทย และมอบหน้าที่ให้มาบุกเบิกงาน การแพทย์และสาธารณสุขในเขตภาคเหนือ ซึ่งในเวลานั้นที่จังหวัดเชียงใหม่มี โรงพยาบาลของอเมริกันมิชชั่นเป็นเรือนไม้ 8 ห้อง แบ่งเป็นห้องตรวจโรค ห้องปรุงยา ห้องผ่าตัด ห้องปฏิบัติการ และห้องพักผู้ป่วย ยังไม่มีพยาบาล หรือ บุคลากรทางการแพทย์อน ื่ ต้องใช้ญาติท�ำ อาหารเลีย ้ งผูป ้ ว่ ยและดูแลเฝ้าไข้กน ั เอง
โรงพยาบาลอเมริกันมิชชั่น 1
การที่นายแพทย์คอร์ท สำ�เร็จการศึกษาจากสถาบันการแพทย์ชั้นนำ� ของสหรัฐอเมริกา ทำ�ให้มแ ี รงบันดาลใจต้องการสร้างโรงพยาบาลใหม่ทท ี่ น ั สมัย เพื่อช่วยชีวิตของคนเชียงใหม่และภาคเหนือซึ่งในเวลานั้นเจ็บป่วยและตายด้วย โรคมาลาเรี ย โรคฝี ด าษ โรคพยาธิ และโรคเรื้ อ น เนื่ อ งจากยั ง ไม่ มี ร ะบบ สาธารณสุข ไม่มีส้วมที่ถูกสุขลักษณะ ประชาชนไม่มีความรู้เรื่องสุขอนามัย จึงเกิดการระบาดของโรค ทำ�ให้คนเจ็บป่วยและตายจำ�นวนมาก หลังจากใช้ความพยายามหลายปี ในที่สุดพระเจ้าทรงตอบคำ�อธิษฐาน ขอสร้ า งโรงพยาบาลใหม่ ข องนายแพทย์ ค อร์ ต โดยผ่ า นการช่ ว ยเหลื อ ของ นางไซรัส แมคคอร์มค ิ เศรษฐีนก ั ธุรกิจ ทีบ ่ ริจาคเงินก้อนใหญ่ให้นายแพทย์คอร์ท สร้างโรงพยาบาลใหม่ที่ทันสมัย ขนาด 100 เตียงตามความใฝ่ฝันในพื้นที่ดิน ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำ�ปิง และได้เปลี่ยนชื่อโรงพยาบาลใหม่เพื่อเป็นเกียรติแก่ นางไซรัสผูบ ้ ริจาคเงินว่า “โรงพยาบาลแมคคอร์มค ิ ” (McCormick Hospital) โดยย้ายผู้ป่วยจากโรงพยาบาลเดิมมาอยู่ที่โรงพยาบาลใหม่และเปิดดำ�เนินการ เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2468
อาคารโรงพยาบาลแมคคอร์มิคหลังแรกเมื่อสร้างจวนใกล้จะเสร็จ 2
เนื่องจากยังไม่มีแพทย์ไทยและพยาบาลไทยในเวลานั้น นายแพทย์ คอร์ท จึงตัง้ โรงเรียนฝึกหัดแพทย์ขน ึ้ ในโรงพยาบาลแมคคอร์มค ิ เพือ ่ สอนนักเรียน แพทย์เอง ในเวลานัน ้ การเรียนแพทย์เป็นเรือ ่ งทีย ่ ากมาก เพราะต้องลงไปเรียนที่ กรุงเทพและโอกาสที่จะได้เข้าเรียนในโรงเรียนแพทย์มีน้อยมากเพราะโรงเรียน แพทย์ผลิตแพทย์ได้เพียงปีละ 20 คนเท่านัน ้ นายแพทย์คอร์ทจึงจำ�เป็นต้องเปิด สอนนักเรียนแพทย์เองเพือ ่ สร้างแพทย์มาช่วยทำ�งานของโรงพยาบาลแมคคอร์มค ิ แต่เปิดสอนนักเรียนแพทย์ได้เพียงรุ่นเดียว ก็ต้องปิดโรงเรียนแพทย์ไปเพราะมี ปัญหาอุปสรรคที่ยุ่งยากมากในการสอนและการบริหารจัดการ
นักเรียนแพทย์โรงพยาบาลแมคคอร์มิค 3
และเพือ ่ ให้การดูแลพยาบาลผูป ้ ว่ ยมีคณ ุ ภาพมาตรฐาน นายแพทย์คอร์ท ได้ ตั้ ง โรงเรี ย นฝึ ก หั ด พยาบาลขึ้ น เพื่ อ ฝึ ก พยาบาลให้ ทำ � งานที่ โ รงพยาบาล แมคคอร์มิคและทำ�งานในโรงพยาบาลอื่นๆของอเมริกันเพรสไบที่เรียนมิชชั่น ซึ่งได้ขยายงานไปตั้งโรงพยาบาลโรคเรื้อนแมคเคน โรงพยาบาลแวนแซนต์วูรด์ ทีจ่ งั หวัดลำ�ปาง โรงพยาบาลโอเวอร์บรุค ทีจ่ งั หวัดเชียงราย โรงพยาบาลคริสเตียน ทีจ่ งั หวัดแพร่ และโรงพยาบาลอเมริกน ั มิชชัน ่ ทีจ่ งั หวัดน่าน นายแพทย์คอร์ท ต้อง รณรงค์หาเงินอีกมากเพื่อสร้างห้องเรียน ห้องพัก และอุปกรณ์การเรียน รวมทั้ง ทำ�หลักสูตรการเรียนการสอน โดยเชิญพยาบาลมิชชันนารีเข้ามาช่วย
การเรียนการสอนนักเรียนพยาบาลแมคคอร์มิครุ่นบุกเบิก 4
การทำ�หน้าทีเ่ ป็นมิชชันนารีแพทย์ผอ ู้ �ำ นวยกาโรงพยาบาลแมคคอร์มค ิ ใน สมัยนัน ้ ต้องทำ�งานหนักรับภาระงานทุกด้าน ทัง้ ตรวจผูป ้ ว่ ย ผ่าตัด ตรวจหาเชือ ้ ใน ห้องปฏิบต ั กิ าร ปรุงยา ดูแลการก่อสร้าง หาเงินบริจาคเพือ ่ มาใช้จา่ ยในการบริหารงาน หาเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ ก ารแพทย์ ให้ ค วามรู้ ผู้ ป่ ว ยและญาติ สอนพยาบาล ออกหน่ ว ยแพทย์ ส าธารณสุ ข เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมสั ง คม และที่ สำ � คั ญ ต้ อ ง ประกาศพระกิติคุณเรื่องความรัก ความรอดของพระเจ้าด้วย และนายแพทย์ คอร์ท ยังต้องไปช่วยงานโรงพยาบาลอื่นของอเมริกันเพรสไบที่เรียนมิชชั่น ใน เขตภาคเหนือด้วย ในหนังสือ My Uncle Charlie: Angel Doctor of Siam เขียนโดย S.A. Schreiner Jr. ได้เล่าเรื่อง หมอคอร์ต ควบคุมการก่อสร้างตึกแรกของ โรงพยาบาลแมคคอร์มิค ซึ่งใช้เวลาก่อสร้างถึง 5 ปี เพราะต้องเผาอิฐเอง เลื่อย ไม้เอง อุปกรณ์ก่อสร้างต้องสั่งจากกรุงเทพซึ่งใช้เวลาขนส่งนานเป็นเดือนๆ และ เนื่องจากยังไม่มีบุคลากรทางการแพทย์อื่นในเวลานั้น นายแพทย์คอร์ทจึงต้อง ฝึก คุณ มาร์เบล ภรรยาให้เป็นผู้ช่วยงานในห้องผ่าตัด เพราะในเวลานั้นมีเพียง ลูกศิษย์ของนายแพทย์คอร์ทเพียงสองคนทีช ่ ว่ ยงานทีโ่ รงพยาบาล คือ หมอจินดา สิงหเนตร กับหมอหม่อง ประดิษฐ์วรรณ ที่ช่วยงานท่านในการตรวจรักษาผู้ป่วย คุณมาร์เบล ต้องฝึกหัดแม่ครัวเพื่อทำ�อาหารเลี้ยงผู้ป่วย นายแพทย์คอร์ทต้อง ฝึกหัดบุรุษพยาบาลเพื่อช่วยงานในตึกผู้ป่วย และตั้งโรงเรียนฝึกหัดพยาบาล ตลอดจนการหาเงิ น บริ จ าคเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ซื้ อ เครื่ อ งมื อ และสร้ า งโรงพยาบาล แมคคอร์มิคให้แล้วเสร็จ ในการนมัสการเปิดโรงพยาบาลแมคคอร์มค ิ นายแพทย์คอร์ท อ่าน พระคัมภีร์บทที่กล่าวถึง “ถ้าผู้ใดขอให้ท่านไปกับเขา 1 ไมล์ จงไปกับเขา 2 ไมล์” ความหมายคือ ไมล์ทห ี่ นึง่ เป็นเพียงการทำ�ตามหน้าที่ ไมล์ทส ี่ อง คือการ มีน้ำ�ใจ กระทำ�นอกเหนือหน้าที่ด้วยความรัก ทุกคนควรเต็มใจไปไมล์ที่สอง จนสุดความสามารถ และนีค ่ อ ื หัวใจของความสำ�เร็จทีน ่ ายแพทย์คอร์ท สามารถ 5
ทำ�ให้โรงพยาบาลแมคคอร์มิคมีชื่อเสียงในการรักษาพยาบาลผู้ป่วย และต่อมา เรียกว่า “สปิริตน้ำ�ใจไมล์ที่สองของแมคคอร์มิค” ทำ�ให้โรงพยาบาลแมคคอร์มิค ที่ในเวลานั้นยังขาดแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ และมีข้อจำ�กัดเรื่องเงิน งบประมาณในการบริหารโรงพยาบาลสามารถให้การรักษาพยาบาลผูป ้ ว่ ยอย่าง เกิ ดผล เพราะบุคลากรของโรงพยาบาลแมคคอร์มิคมีสปิริตน้ำ�ใจไมล์ที่สอง โรงพยาบาลมีหมอ 3 คน ผลัดเปลีย ่ นกันอยูเ่ วรทัง้ กลางวันและกลางคืนตลอดทัง้ ปี พยาบาลต้องเรียนหนังสือในเวลากลางวัน และอยูเ่ วรกลางคืนต่อพนักงานคน งานอื่นๆ ต้องอยู่ช่วยงานนอกเวลาโดยไม่ต้องร้องขอ และไม่มีเงินค่าตอบแทน หรือสวัสดิการใดๆ ทุกคนในโรงพยาบาลอยู่ทำ�งานด้วยสปิริตน้ำ�ใจไมล์ที่สอง ที่นายแพทย์คอร์ทและภรรยา ได้สอนและกระทำ�เป็นตัวอย่าง
นายแพทย์ คอร์ท ผ่าตัดผู้ป่วยที่ห้องผ่าตัดของโรงพยาบาลแมคคอร์มิค 6
เมื่ อ โรงพยาบาลแมคคอร์ มิ ค มี โ รงเรี ย นพยาบาลของตนเอง นายแพทย์ ค อร์ ท ได้ ส อนให้ นั ก เรี ย นพยาบาลได้ เ ข้ า ใจถึ ง ความสำ � คั ญ ด้ า น สาธารณสุขและโภชนาการ โดยการนำ�นักเรียนพยาบาลออกหน่วยแพทย์ไปตรวจ รักษาประชาชนในชนบท เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคที่สัมพันธ์กับการสาธารณสุข และสุขอนามัยของประชาชน เช่น เรื่องส้วม น้ำ�ดื่ม และการรับประทานอาหาร ไม่ครบถ้วน
นายแพทย์คอร์ทนำ�ทีมพยาบาลและนักเรียนพยาบาล ออกหน่วยบริการในชนบท การที่นายแพทย์คอร์ทเป็นผู้มีความรักเมตตาผู้อื่นเป็นอุปนิสัย เป็นคน ถ่อมสุภาพ มีอัธยาศัยที่ดีงามต่อคนทุกชั้นทำ�ให้เป็นที่รักใคร่ของชาวเชียงใหม่ และท่านยังมีความสัมพันธ์ทด ี่ ก ี บ ั เจ้านายชัน ้ สูงของเชียงใหม่ และการได้มโี อกาส เข้าเฝ้ากรมหลวงสงขลานครินทร์เมื่อครั้งเสด็จมาเปิดโรงพยาบาลแมคคอร์มิค
7
กรมหลวงสงขลานครินทร์ ทรงเปิดประตูตึก โรงพยาบาลแมคคอร์มิค และได้ถวายคำ�แนะนำ�ในเรื่องการที่พระองค์ทรงสนพระทัยจะเสด็จไป เรียนต่อด้านการแพทย์และสาธารณสุขทีส ่ หรัฐอเมริกาต่อพระองค์ท�ำ ให้ในเวลา ต่อมาเมื่อกรมหลวงสงขลานครินทร์สำ�เร็จการศึกษาจากสหรัฐอเมริกากลับมา ประเทศไทยเพื่อทรงงานแพทย์ พระองค์ทรงมีพระประสงค์เสด็จมาเป็นแพทย์ ประจำ�บ้านทีโ่ รงพยาบาลแมคคอร์มค ิ และประทับทีบ ่ า้ นพักนายแพทย์คอร์ท เพือ ่ ปฏิบัติหน้าที่เป็นแพทย์รักษาผู้ป่วยทั่วไปเยี่ยงคนธรรมดาสามัญ
8
บ้านพัก นายแพทย์คอร์ท ที่กรมหลวงสงขลานครินทร์ ประทับขณะทรงงานแพทย์ที่โรงพยาบาลแมคคอร์มิค นายแพทย์ คอร์ท ได้วางรากฐานทีแ ่ ข็งแกร่งในการก่อตัง้ โรงเรียนฝึกหัด พยาบาล ซึ่งต่อมาได้เป็นโรงเรียนพยาบาลและผดุงครรภ์แมคคอร์มิคโดยส่ง อาจารย์ศรีวิไล สิงหเนตร ไปศึกษาต่อด้านการพยาบาลที่กรุงปักก่ิงประเทศจีน เพื่อกลับมาบริหารโรงเรียนพยาบาลและผดุงครรภ์แมคคอร์มิค ทำ�ให้พยาบาล ที่สำ�เร็จการศึกษามีความสามารถและมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับทั้งในภาคเอกชน และภาคราชการ รวมทั้งในต่างประเทศด้วย ซึ่งต่อมาโรงพยาบาลแมคคอร์มิค ได้โอนให้เป็นคณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ น า ย แ พ ท ย์ ค อ ร์ ต ไ ด้ ส ร้ า ง คุ ณ าปการแก่ เ มื อ งเชี ย งใหม่ แ ละ ประชาชนในภาคเหนืออย่างมากมาย หลายด้าน จึงได้รับพระราชทานเครื่อง ราชอิ ส ริ ย าภรณ์ ต ริ ต าภรณ์ ช้ า งเผื อ ก จากพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู๋ หั ว ภูมพ ิ ลอดุลยเดชฯ เป็นเกียรติแก่ตนเอง และวงศ์ตระกูล
นายแพทย์คอร์ทและภรรยาเฝ้ารับเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 7 9
นายแพทย์ คอร์ท ซึ่งชาวเชียงใหม่ให้การยกย่องเรียก “หมอคอร์ท” หรือ “พ่อเลี้ยงคอร์ท” เกษียณอายุการทำ�งานเป็นผู้อำ�นวยการโรงพยาบาล แมคคอร์มค ิ เมือ ่ อายุ 70 ปี ในปี 2492 โดยมีประชาชนชาวเชียงใหม่กว่าหมืน ่ คน เข้าแถวยาวเป็นกิโลเมตรหน้าโรงพยาบาลแมคคอร์มิค เพื่อทำ�พิธีรดน้ำ�ดำ�หัว “พ่อเลี้ยงคอร์ท” และภรรยา เป็นการแสดงออกครั้งสุดท้ายของชาวเชียงใหม่ซึ่ง ความรัก ความศรัทธา และซาบซึ้งในคุณงามความดีของ “พ่อเลี้ยงคอร์ท”และ ภรรยาก่อนทีท ่ งั้ สองท่านจะเดินทางกลับสหรัฐอเมริกา ในเดือน พฤษภาคม 2492
นายแพทย์คอร์ทและภรรยาก่อนขึ้นรถไฟอำ�ลาพี่น้องชาวเชียงใหม่
10
ชีวิตและการทำ�งานด้วยความศรัทธาในองค์พระผู้เป็นเจ้า อย่างสูง ทำ�ให้นายแพทย์ Edwin Charles Cort สร้างและใช้ชวี ติ เกือบ ทั้ ง ชี วิ ต ร่ ว มกั บ ภรรยานางมาร์ เ บล ที่ โ รงพยาบาลแมคคอร์ มิ ค เชียงใหม่ เพื่อรับใช้พระเจ้าด้วยการทำ�งานช่วยเหลือผู้ป่วยและญาติ ที่ได้รับความทุกข์ยากลำ�บากด้วยความรัก ความเมตตาเพื่อประกาศ พระกิติคุณเรื่องความรักและความรอดของพระเจ้า ซึ่งนายแพทย์ คอร์ท ได้ให้ความสำ�คัญสูงสุดต่อการรักษาผู้ป่วยก่อนเสมอ ดังคำ�พูดที่ ท่านใช้เสมอคือ “Patient first” ให้ดูแลผู้ป่วยด้วยความรักอ่อนโยน “Tender loving care” และการทำ�งานด้วยความมีน้ำ�ใจเสียสละ ต่อผู้ป่วยคือ “Second Mile” การเสียสละและการทุ่มเททำ�งาน ของนายแพทย์คอร์ทและ ภรรยา ตลอดชีวิต เป็นคำ�พยานที่มีชีวิตให้ประชาชนชาวเชียงใหม่ได้ สัมผัสถึงความรักของพระเจ้า เป็นตัวอย่างของการเป็นผูน้ ำ�ผูร้ บั ใช้อย่าง แท้จริง นายแพทย์ Edwin Charles Cort พ่ อ เลี้ ย งคอร์ ท ของชาวเชี ย งใหม่ ถึ ง แก่ ก รรมอย่ า งสงบด้ ว ยโรคหั ว ใจ เมื่ อ วั น ที่ 10 มกราคม 2493 ที่สหรัฐอเมริกา สมชัย ศิริสุจินต์