รายงานเวทีวิชาการเปิดเสรีอาเชียน 2558

Page 1

รายงานเวทีวิชาการ “เปดเสรีอาเซียน ป ๒๕๕๘ : สังคมไทยกาวทันการเปลี่ยนแปลง”

ววันั จจันั ทร ที่ี ๒๖๖ กกันั ยายน ยายน ๒๒๕๕๔ ๕๕๔ ณ หองรอยั งรอยยลั จูจบู ีลี่ อิมแพค แพพค เมืองงทองธานี ทองธานี จังหวัดนนทบุรี เสริ โดยสำนักงานสงเส สรมิ และสนั และสนับสนุ สนุนวิชาการ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยย


คำนำ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ไดจัดเวทีวิชาการภายใตแนวคิด “เปดเสรีอาเซียน ป ๒๕๕๘ : สังคมไทยกาวทันการเปลี่ยนแปลง” ในวันจันทร ที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๔ ณ หองรอยัลจูบีลี่ อิมแพค เมืองทองธานีจงั หวัดนนทบุรโี ดยมีผชู ว ยรัฐมนตรีประจำกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย นางสาวมาลินี อินฉัตร เปนประธานเปดงานเวทีวชิ าการ การจัดงานเวทีวิชาการครั้งนี้ เปนความรวมมือของกลุมประสานงานสำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการและ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑ – ๑๒ โดยมีวัตถุประสงค ๓ ประการ คือ ๑.เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานสภาพสังคมชีวิตความเปนอยูและการจัดสวัสดิการสังคมในกลุมประเทศ สมาชิกอาเซียน ๒.เพื่อนำเสนอประเด็นปญหาสังคมที่สงผลกระทบตอกลุมเปาหมาย ๓.เพื่อเตรียมความพรอมใหแกหนวยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยและภาคี เครือขายในการที่จะเขาสูประชาคมอาเซียนและรองรับตอการเปลี่ยนแปลงเพื่อเปนการสรางภูมิคุมกัน ใหกับประชาชน โดย เฉพาะกลุมสตรี เด็ก เยาวชนผูสูงอายุ คนพิการ และผูดอยโอกาส การจัดเวทีวิชาการในวันนี้ จึงเปนการเปดมุมมองใหมและสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับอาเซียนใหแกบุคลากรของ กระทรวงองคกรปกครองสวนทองถิ่น นิสิต นักศึกษา ภาคีเครือขาย ตลอดจนยังเปนการ นำเสนอประเด็นปญหาทางสังคม เพื่อ ใหเกิดความตระหนักรวมกัน โดยผูเขารวมเวทีวิชาการ ประกอบดวย ผูบริหาร หัวหนาหนวยงานและเจาหนาที่ในสังกัดกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ผูแทนสถานทูต องคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนผูแทนจากภาคประชาชน และ สถาบันการศึกษา จากทั่วประเทศจำนวน ๒,๒๕๓ คน ในการจัดงานเวทีวิชาการ มี ๔ กิจกรรม ประกอบดวย ๑. การปาฐกถาพิเศษในหัวขอเรื่อง “การพัฒนาสังคมและสวัสดิการกับการเขาสูประชาคมอาเซียน” ๒. การเสวนาทางวิชาการ ในหัวขอเรื่อง “เตรียมความพรอมสังคมไทยในการเขาสูประชาคมอาเซียน” ๓. การจัดนิทรรศการ แบงออกเปน ๔ โซน คือรูจ กั อาเซียน , เรียนรูผ ลงานเดน ประเด็นทาทาย และ กาวไปกับ พม. ๔. การมอบโลประกาศเกียรติคุณ ใหแกตำบลตนแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ป ๒๕๕๔ จำน ๒๒๖ ตำบล จะเห็นไดวา จากกิจกรรมดังกลาว เปนการจุดประกาย สรางการเรียนรู พรอมกับนำแนวคิดที่ไดรับจากเวทีวิชาการไปปรับใช ใหเกิดประโยชนเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนที่จะเปนกลไกสำคัญในการนำไปสูการเปลี่ยนแปลงเชิงสรางสรรคและ สรางฐานปญญาเพื่อเปนการเตรียมความพรอมสังคมไทยในการเขาสูประชาคมอาเซียนตอไป

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


สารบัญ คำนำ สารบัญ สารบัญตอ คำกลาวรายงาน คำกลาวเปดเวทีวิชาการ สวนที่ ๑ : ปาฐกถาพิเศษ โดย ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย เรื่อง “การพัฒนาสังคมและสวัสดิการกับการเขาสูประชาคมอาเซียน” ๑) ความมั่นคงของมนุษย ๒) การพัฒนาสังคมและสวัสดิการกับการเขาสูประชาคมอาเซียน -ประชาคมอาเซียนคืออะไร -ปญหาความทาทายในบริบทดานการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ภายใตประชาคมอาเซียน -การเตรียมความพรอมของไทยในการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ในการเขาสูประชาคมอาเซียน -การมีบทบาทนำของไทยในการพัฒนาสังคมและสวัสดิการในเวทีอาเซียน สวนที่ ๒ : เวทีเสวนาเรื่อง “เตรียมความพรอมสังคมไทยในการเขาสูประชาคมอาเซียน” -มุมมองประเทศไทยกับการเปนสังคมอาเซียน -ความแตกตางทางดานภาษาสงผลตอการทำงานดานสังคมและวัฒนธรรมอยางไร -ขอคิดเห็นตอหนวยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ในการเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน สวนที่ ๓ : นิทรรศการ โซนที่ ๑ รูจักอาเซียน ๑) มารูจักอาเซียนกันเถอะ ๒) ความเปนมาและวัตถุประสงคการเปดเสรีอาเซียน ๓) ประชาคมสังคม – วัฒนธรรมอาเซียน ๔) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ๕) ประชาคมเศรษฐกิจ ๖) อาเซียน + ๖ ๗) ธงอาเซียน ๘) คำขวัญ ๙) ขอมูลประเทศตาง ๆ ๑๐)สมาคมอาเซียน - ประเทศไทย ๑๑) อาหารนานาชาติ ๑๒) สถานเอกอัครราชทูตประเทศตาง ๆ ในอาเซียน

หนา ก ข ๑ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๗ ๘ ๑๑ ๑๒ ๑๒ ๑๔ ๑๔ ๑๗ ๑๗ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๑๙ ๑๙ ๑๙ ๒๐ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


ข สารบัญ โซนที่ ๒ เรียนรูผลงานเดน ๑) เด็ก/เยาวชน ๒) สตรี ๓) คนพิการ ๔) ตำบลตนแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคมกับการมุงสูสังคมอาเซียน ๕) บริษัท TOYOTA CSR ความรับผิดชอบตอสังคมของโตโยตา โซนที่ ๓ ประเด็นทาทาย ๑) การตอตานการคามนุษย ๒) สังคมผูสูงอายุ ๓) คุณแมวัยใส ๔) การยุติความรุนแรงในครอบครัว โซนที่ ๔ กาวไปกับ พม. ๑) สถานการณในกรอบอาเซียน ๒) การสรางความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียน ๓) การปรับปรุงและเสริมสรางความเขมแข็งของภาคี ๔) บทบาทของ พม.ในเวทีอาเซียน ๕) โครงสรางอาเซียนใหมภายใตกฎบัตร ๖) ความรวมมือดานการพัฒนาสังคมในอาเซียน ตามความรับผิดชอบ ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย สวนที่ ๔ พิธีมอบมอบโลประกาศเกียรติคุณ ภาคผนวก - กำหนดการเวทีวิชาการ “เปดเสรีอาเซียน ๒๕๕๘ : สังคมไทยกาวทันการ เปลี่ยนแปลง” - วีดีทัศนประกอบการแสดง - การแสดงทางวัฒนธรรม - เอกสารประกอบการประชุม “เปดเสรีอาเซียน ๒๕๕๘” ในมิติของการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

หนา ๒๔ ๒๔ ๒๖ ๒๘ ๒๙ ๓๑ ๓๒ ๓๒ ๓๔ ๓๖ ๓๗ ๔๕ ๔๖ ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๖๑ ๖๒ ๖๔ ๖๕ ๖๖

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๑ คำกลาวรายงาน เวทีวิชาการภายใตแนวคิด “เปดเสรีอาเซียน ป ๒๕๕๘ : สังคมไทยกาวทันการเปลี่ยนแปลง” รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย นางศิรริ ตั น อายุวฒ ั น กลาวรายงานตอผูช ว ยรัฐมนตรีประจำกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กราบเรียน ทานผูชวยรัฐมนตรีประจำกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ในนามของกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย ขอกราบขอบพระคุณทานเปนอยางสูงที่กรุณาใหเกียรติมาเปนประธานในพิธีเปดงานเวทีวิชาการ ภายใตแนวคิด “เปดเสรีอาเซียน ป ๒๕๕๘ สังคมไทยกาวทันการเปลี่ยนแปลง” ในวันนี้ การจัดงานเวทีวิชาการ “เปดเสรีอาเซียน ป ๒๕๕๘ สังคมไทยกาวทันการเปลีย่ นแปลง มีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหเกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรูด า นสภาพสังคมชีวติ ความเปนอยูต ลอดจน การจัดสวัสดิการสังคมในกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน นอกจากนี้ยังเปนการนำเสนอประเด็นปญหาสังคมที่สงผลกระทบตอกลุมเปา หมาย ตลอดจนเปนการเตรียมความพรอมใหแกหนวยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยและภาคี เครือขายในการที่จะเขาสูประชาคมอาเซียนสำหรับผูเขารวมเวทีวิชาการในครั้งนี้ ประกอบดวย ผูบริหารและหัวหนาหนวยงานใน สังกัด กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย องคกรปกครองสวนทองถิ่นตลอดจนผูแทนจากภาคประชาชนและ สถาบันการศึกษาภายในงานประกอบดวย ๑) การปาฐกถาพิเศษในหัวขอเรื่อง“การพัฒนาสังคมและสวัสดิการกับการเขาสูประชาคม อาเซียน” โดยศาสตราจารย ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ๒) การเสวนาทางวิชาการ ในหัวขอเรื่อง “การเตรียมความพรอมสังคมไทย ในการเขาสูประชาคมอาเซียน” ผูเขารวมเวทีเสวนา ประกอบดวยนายสุนทร ชัยยินดีภูมิ รองอธิบดีกรมอาเซียน, ดร.สมเกียรติ์ ออนวิมล นักวิชาการดานสื่อสารมวลชน, รศ. ดร. กิติพัฒน นนทปทมะดุล อาจารยจากคณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร และนางระรินทิพย ศิโรรัตน ผูตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย โดยมีนางสาวปนัดดา วงศผดู ี เปนผูด ำเนินการเสวนา ๓) การจัดนิทรรศการ ซึง่ แบงออกเปน ๔ โซน ไดแก โซนที่ ๑ รูจ กั อาเซียน ประกอบดวย ประเทศ สมาชิกอาเซียน + ๖ ไดแก ประเทศนิวซีแลนด เกาหลีใต พมา มาเลเซีย ลาว อินโดนีเซีย เวียดนาม และญีป่ นุ โซนที่ ๒ เรียนรูผ ลงาน เดนโซนที่ ๓ ประเด็นทาทาย โซนที่ ๔ กาวไปกับ พม. ๔) การมอบโลประกาศเกียรติคุณ ใหแกตำบลตนแบบการพัฒนาสังคมและ สวัสดิการ ป ๒๕๕๔ จำนวน ๒๒๖ ตำบล เพื่อแสดงความขอบคุณในความรวมมือขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ในการขับเคลื่อน งานพัฒนาสังคมในพื้นที่ เพื่อสรางความเขมแข็งใหแกชุมชน บัดนี้ ไดเวลาอันสมควรแลว จึงขอกราบเรียนเชิญทานผูชวยรัฐมนตรี ประจำกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (ทานมาลินี อินฉัตร) เปดงานเวทีวิชาการ “เปดเสรีอาเซียน ป ๒๕๕๘ สังคมไทยกาวทันการเปลี่ยนแปลง” พรอมมอบโลประกาศเกรียติคุณใหแกตำบลตนแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


คำกลาวเปด เวทีวิชาการภายใตแนวคิด “เปดเสรีอาเซียน ป ๒๕๕๘ : สังคมไทยกาวทันการเปลี่ยนแปลง” ผูชวยรัฐมนตรีประจำกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (นางมาลินี อินฉัตร) เรียนศาสตราจารย ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย ผูแทนจากสถานทูต ทานรองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย ผูบริหารสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ผูมีเกียรติทุกทาน กอนอื่นดิฉันตองขออภัยทานผูเขา รวมในพิธีเปดทุกทานที่ทานรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ทานสันติ พรอมพัฒน ไมสามารถเดิน ทางมาเปนประธานในพิธีเปดงานไดเนื่องจากติดภารกิจราชการ จึงมอบหมายใหดิฉันมาเปนประธานในพิธีเปดงานเวทีวิชาการภายใต แนวคิด “เปดเสรีอาเซียนป ๒๕๕๘ สังคมไทยกาวทันการเปลี่ยนแปลง” ในวันนี้ ปจจุบันสถานการณของโลกไดเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก ทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ทำใหอาเซียนตองเผชิญกับความทาทายใหม ๆ มากมาย เชน โรคระบาด การกอการราย อาชญากรรมขามชาติ หรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ อาเซียนจึงตองปรับตัวเพื่อใหรับมือกับสิ่งตาง ๆ เหลานี้อยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ใหได เมือ่ เดือนตุลาคม ๒๕๔๖ ผูน ำอาเซียนจึงไดรว มลงนามในปฏิญาณวาดวยความรวมมืออาเซียน เรียกวา ขอตกลงบาหลี ๒ เห็นชอบ ใหจัดตั้ง “ประชาคมอาเซียน”เพื่อทำใหอาเซียนรวมตัวเปนชุมชนหรือประชาคมเดียวกันใหสำเร็จภายในป ๒๕๖๓ แตตอมาไดตกลง กำหนดระยะเวลาจัดตั้งใหแลวเสร็จในป ๒๕๕๘ โดยจะเปนประชาคมทีป่ ระกอบดวย ๓ เสาหลักทีเ่ กีย่ วของสัมพันธกนั ไดแก ๑)ประชาคม การเมืองและความมัน่ คงอาเซียน มุงใหประเทศในภูมิภาคอยูรวมกันอยางสันติ มีระบบแกไขความขัดแยงระหวางกันไดดวยดี มีกรอบ ความรวมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคาม เพื่อใหประชาชนมีความปลอดภัยและมั่นคง ๒)ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มุงใหเกิดการรวม ตัวกันทางเศรษฐกิจและอำนวยความสะดวกในการติดตอคาขายระหวางกัน และสามารถแขงขันกับภูมิภาคอื่นๆ เพื่อความอยูดีกินดี ของประชาชนในประเทศอาเซียน ๓)ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เพื่อใหประชาชนแตละประเทศอาเซียนอยูรวมกันภายใต แนวคิดสังคมที่เอื้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมที่ดี และมีความมั่นคงทางสังคม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เปนหนวยงานทีจ่ ะตองเขาไปมีสว นรวมในประชาคมดานสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน จึงจำเปนตองมีการเตรียมความพรอมและรองรับ ตอการเปลี่ยนแปลงอันถือเปนการสรางภูมิคุมกันใหกับประชาชนโดยเฉพาะกลุมสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ คนพิการ และผูดอยโอกาส การจัดเวทีวิชาการในวันนี้ จึงถือเปนการเปดมุมมองใหมและสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับการเปดเสรีอาเซียน ใหแกบุคลากรของ กระทรวง องคกรปกครองสวนทองถิ่น นิสิต นักศึกษา ภาคีเครือขาย ตลอดจนยังเปนการนำเสนอประเด็นปญหาทางสังคม เพื่อใหเกิด ความตระหนักรวมกัน ในนามของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย ขอขอบพระคุณหนวยงานและบุคลากรทีเ่ กีย่ วของ ทุกทานโดยเฉพาะอยางยิง่ ศาสตราจารย ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย และผูท รงคุณวุฒทิ กุ ทานทีก่ รุณาสละเวลามาใหความรูใ นการปาฐกถา พิเศษครัง้ นี้ ตลอดจนมุมมองอันเปนประโยชนตอ การดำเนินงานดานการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ และขอแสดงความยินดีกบั องคกรปกครอง สวนทองถิน่ ทีไ่ ดรบั โลประกาศเกียรติคณ ุ ตำบลตนแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการจำนวน ๒๒๖ ตำบล ซึง่ เปนสิง่ ยืนยันวา ทานเปน กำลังสำคัญในการขับเคลือ่ นชุมชนทองถิน่ ใหพง่ึ พาตนเองไดอยางมีศกั ดิศ์ รี บัดนี้ ไดเวลาอันสมควรแลว ดิฉนั จึงขอเปดงานเวทีวชิ าการ“เปดเสรี อาเซียน ป ๒๕๕๘ สังคมไทยกาวทันการเปลี่ยนแปลง” และขออำนวยพรใหการจัดงานเวทีวิชาการภายใตแนวคิด “เปดเสรีอาเซียน ป ๒๕๕๘ สังคมไทยกาวทันการเปลี่ยนแปลง” จงประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงคที่กำหนดไวทุกประการ

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


สวนที่ ๑ : การปาฐกถาพิเศษ: โดย ศาสตราจารย ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย เรื่อง “การพัฒนาสังคมและสวัสดิการกับการเขาสูประชาคมอาเซียน” สรุปได ดังนี้.๑. ความมั่นคงของมนุษย ความมั่นคงของมนุษยตั้งอยูบนหลักการ ๒ ประการ คือ ๑. การปราศจากความกลัว ( Freedom from fear )ไดแก ความกลัวจากอาชญากรรมตาง ๆ ภัยยาเสพติด ภัยทางสังคม ๒. การปราศจากความขาดแคลน ( Freedom from want ) เชน ความอดอยาก การไมมีที่อยูอาศัย การขาดแคลนอาหาร ยารักษาโรค เครื่องนุงหม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย มีหนาที่หลักที่ตองดูแลมนุษยชาติในประเทศไทย จะตองปราศจากความกลัว ( Freedom from fear ) และปราศจากความขาดแคลนทัง้ หลาย ( Freedom from want ) และมี บทบาทหลัก ที่จะทำใหเกิดความเอื้ออาทรในสังคมไทย จึงตองเตรียมตัวเพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน โดย มีบทบาททั้ง ๓ เสาหลัก ของอาเซียน คือ ๑. ดานเศรษฐกิจ ๒. ดานการเมืองและความมั่นคง ๓. ดานสังคมและวัฒนธรรม

๒. “การพัฒนาสังคมและสวัสดิการกับการเขาสูประชาคมอาเซียน” แบงเปน ๔ เรื่องใหญ ๆ สรุปได ดังนี้ เรื่องที่ ๑ ประชาคมอาเซียน คืออะไร

ประชาคมอาเซียนคือ ความพยายามกาวสำคัญของอาเซียนที่จะกอใหเกิดการรวมตัว ใหเปนเนื้อเดียวกันมากขึ้นของอาเซียน โดยมีเสาหลักสำคัญของความรวมมือ 3 เสาหลัก ไดแก

เศรษฐกิจ

การเมืองและ ความมนคง ความมั่นคง

สังคมและ วัฒนธรรม สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๔ เสาหลักที่ ๑ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC : ASEAN Economic Community) ภาวะเศรษฐกิจโลกที่หดตัวทั้งในยุโรป และสหรัฐอเมริกา ทำใหอาเซียนตองหันมาพึ่งพาตลาดภายในอาเซียนและเอเชียมากขึน้ อาเซียนจำเปนตองทำตัวเองใหนา สนใจ โดยสรางตลาดใหใหญขน้ึ เพือ่ ดึงดูดเม็ดเงินลงทุนจากตางประเทศ แขงกับประเทศในเอเชียอืน่ และอาเซียนจำเปนตองสรางอำนาจตอรองใหกบั ตัวเองทางเศรษฐกิจมากขึน้ การกาวไปสูก ารเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีแผนงานสำคัญ คือ การเปดเสรี ๕ ดาน ๑) การคาสินคา การลดภาษี ๒) การคาบริการ ธุรกิจการบริการ และทั้งวิชาชีพ ๓) การลงทุน ๔) การเคลื่อนยายเงินลงทุน เชื่อมโยงตลาดทุนและพัฒนาตลาดพันธบัตร ๕) การเคลื่อนยายแรงงานที่มีฝมือ แรงงานที่มีทักษะ เสาหลักที่ ๒ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ( ASC : ASEAN Security Community) มีแผนงานมุงเนน ๓ เรื่อง คือ ๑) การเสริมสรางความเขาใจในระบบสังคมและประวัตศิ าสตรทแ่ี ตกตางกัน และสงเสริมการพัฒนาทางการเมือง ประชาธิปไตย และการคุมครองสิทธิมนุษยชน ๒) สงเสริมความสงบและความรับผิดชอบรวมกันในการรักษาความมั่นคง ทั้งจากภัยคุกคามในรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม รวมถึงการสรางมาตรการไวเนื้อเชื่อใจและการระงับขอพิพาทดวยสันติวิธี เพื่อใหสมาชิกอาเซียนอยูรวมกันไดอยางสงบสุข ๓) การมีพลวัตและปฏิสัมพันธกับโลกภายนอก เพื่อเสริมสรางความมั่นคงขึ้นในระดับภูมิภาค เสาหลักที่ ๓ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน( ASCC : Socio -Cultural ) มีเปาหมายอยูที่การมีประชาชนเปนศูนยกลาง มีจิตสำนึกของความเปนอาเซียนรวมกันเพื่อสงเสริมอัตลักษณของอาเซียน และเกิดความรวมมือเพื่อพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวอาเซียน รวมทั้งสงเสริมการใชทรัพยากรธรรมชาติรวมกันอยาง ยั่งยืน ภายใตความรวมมือ ๒ สวน คือ สวนที่ ๑ ความรวมมือหลัก ๆ ๕ ดาน คือ ๑) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย ๒) การคุมครองและสวัสดิการสังคม ๓) สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม ๔) ความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม ๕) การลดชองวางของการพัฒนา

ความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


สวนที่ ๒ ความรวมมือในกลุมยอย ๆ ของอาเซียน และความรวมมือ ระหวางอาเซียนกับประเทศอื่น ๆ ๑) ความรวมมือภายในกลุม ยอย ๆ ๑๐ ประเทศอาเซียน ทีเ่ รียกวา อนุอาเซียน เชน -ความรวมมือ ACMECS ( Ayeyawady -Chao Praya – Mekong Economic Cooperation Strategy) (โครงการยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี – เจาพระยา –แมโขง) ไทย พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม ทำงานรวมกัน) -ความรวมมือลุม น้ำโขง GMS (The Greater Mekong Sub region )(โครงการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาค ลุมแมน้ำโขง) ไทย ลาว พมา กัมพูชา เวียดนาม +จีน ทำงานรวมกัน -ความรวมมือ ไทยกับอินโดนีเซียและมาเลเซีย ในเรื่องอาหารและการพัฒนาภาคใต -การสงเสริมการทองเที่ยวในกลุมประเทศลุมแมน้ำโขง -การให วีซา แกชาวตางชาติ เชน ขอวีซา กัมพูชา สามารถเดินทางเขาไปถึงลาว เวียดนาม หรือ สามารถเดินทางไปไดทว่ั ภูมภิ าค ในกลุม นี้ -การพัฒนาทรัพยากรมนุษย -การเชื่อมโยงถนนหนทาง สะพาน ทาเรือน้ำลึก และเสนทางการบิน กับประเทศเพื่อนบาน ๒) ความรวมมือระหวางอาเซียนกับประเทศนอกอาเซียน นอกจากอนุภูมิภาคในอาเซียนดวยกันแลว อาเซียน ยังไปรวมมือกับประเทศอืน่ ๆ เพือ่ ใหประชาคมอาเซียน เกิดขึ้นไดจริง และมีความเขมแข็ง เชน -ความรวมมือ ญี่ปุน แมน้ำโขง ประกอบดวย ไทย พมา ลาว เวียดนาม + ญี่ปุน -ความรวมมือ สหรัฐ กับ ประเทศ ลุม แมนำ้ โขงตอนลาง ใชคำวา ประเทศ “ลุม เวียดนาม” ไมมจี นี และพมา -รวมมือกับ อาเซียน + ๓ (จีน เกาหลีใต ญี่ปุน) ยักษใหญของเอเซียน โดยตกลงรวมลงขันกันเปนเงินหนึ่งแสนสองหมื่นลาน เหรียญสหรัฐเพื่อสรางความมั่นคงทางการเงินใหกับ ASEAN + ๓ และเขารวมกับประเทศอื่น ๆ เพิ่มเติมอีกไมวาจะเปนจีน เกาหลี ญี่ปุน ที่ไปรวมกับอินเดีย และรวมกับออสเตรเลีย นิวซีแลนด โดยขณะนี้ รัสเชียกับอเมริกาจะเขามารวมเปน ASEAN + ๘ เปนการ สรางตลาดพันธมิตรเอเชีย -มีการสงเสริมการทองเที่ยวใน ASEAN + ๓ + ๖ + ประเทศที่เขามารวม และกำลังจะตั้งคลังสำรองขาวฉุกเฉินของอาเซียน ASEAN + ๓ คือ จีน เกาหลีใต ญี่ปุน

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๖ ความหมายของความรวมมือในกลุมอาเซียน และความรวมมือนอกกลุมอาเซียน มีความหมายดังนี้ ๑) เปนการเปดตลาดเศรษฐกิจ คือใหสนิ คาไทยไปขายไดมากขึน้ และสินคา อาเซียน บุกตลาดไทยมากขึน้ ทั้งดานเกษตรและ อุตสาหกรรม การบริการประกันภัยโทรคมนาคม วิชาชีพ แรงงานที่มีทักษะและเงินทุนในขณะเดียวกันก็จะมีการแขงขันกันมากขึ้น ๒) เปนการเชื่อมโยงอาเซียน มี ๔ เรื่องยอย คือ ๒.๑) เชื่อมโยงทางกายภาพ ( Physical Connectivity ) เชน ถนน, การบิน, การขนสง,ทองเที่ยว,การติดตอโทรคมนาคม, โทรศัพท, อินเตอรเน็ต, การเขาถึงขอมูลขาวสาร, แหลงพลังงานอาเซียน ทีเ่ รียกวา ASEAN Power Grid : APG ทำใหการเชือ่ มพลังงาน ในอาเซียนเขาถึงกันทั้งหมด ๒.๒) เชื่อมโยงทางองคกร -หนวยงานภาครัฐ เอกชน ภาคประชาสังคม ตองทำงานรวมกันทั้งระบบศุลกากรการศึกษาระบบขนสง ทีเ่ รียกวา Logistics หรือ E-logistics การสงผานขอมูลระหวางประเทศ (E-ASEAN SingleWindow)การปองกันปราบปรามยาเสพติด, การปราบ ปรามอาชญากรขามชาติ,การปองกันปองปรามการคามนุษยรวมทัง้ องคกรชุมชน, องคกรพัฒนาชุมชน,องคกรเอกชน ( NGO : Non Government Organization ) ตองทำงานรวมกัน ๒.๓) เชื่อมโยงประชาชนกับวิถีชีวิต -การทองเทีย่ ว การเคลือ่ นยาย “คน” ทีเ่ สรีขน้ึ โดยเฉพาะแรงงานวิชาชีพ แรงงานทีม่ ที กั ษะ และชุมชนตางๆ จะเชื่อมโยงการทำงาน รวมกัน,มีการรักษาทรัพยากร และสิ่งแวดลอมรวมกัน ๒.๔) เชื่อมโยงสังคม -วัฒนธรรม, คานิยม (ประชาธิปไตย, สิทธิมนุษยชน, ความยุตธิ รรม,การคุม ครองสวัสดิการสังคม) -เรื่องของเราก็จะเปนเรื่องของ อาเซียน เรื่องของอาเซียนก็จะเปนเรื่องของเรา หนาที่ของเราคนไทย คือ ๑) การรับวัฒนธรรมของอาเซียน ๑๐ ประเทศ มากขึ้น ๒) ตองรักษาวัฒนธรรมของไทยมากขึ้น ตองเขาใจการอยูรวมกันเปนหนึ่งเดียวที่มีความแตกตางและความแตกตาง ไมใชเปนเรื่องของความแตกแยก แตความแตกตางระหวาง ๑๐ประเทศนั้นเปนฐานของพลังรวมกันทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม โดยสรุปแลว สังคมไทยตองปรับ ทั้ง ๔ ดาน คือ -ปรับตัว -ปรับใจ (ปรับทัศนคติ) -ปรับการทำงาน การแขงขัน ใหเขมแข็งยิ่งขึ้น -ปรับสังคม ทั้งสังคมเมืองและสังคมทองถิ่นของเรา

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


เรื่องที่ ๒ ปญหาความทาทายในบริบทดานการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ภายใตประชาคมอาเซียน การพัฒนาสังคมและสวัสดิการภายใตประชาคมอาเซียน คืออะไร อาเซียน (ASEAN) มีการพัฒนาทีส่ ำคัญ มีการเคลือ่ นยาย การไหลเขาออกอยางเสรี ทัง้ การคา ธุรกิจบริการ เงินลงทุน และแรงงาน การไหลเขาออกอยางเสรี นอกจากจะเกิดประโยชนอยางมากมาย ทำใหอาเซียนเปนตลาดที่ใหญขึ้นมีประชากร ๕๙๐ ลานคนลดการพึ่งพาจากตลาดภายนอก สงเสริมและดึงดูดนักลงทุนเขามาในอาเซียนลดตนทุนการผลิต Economy of scale และสงเสริมใหเกิดการลงทุนดาน R & D (Research and Development : การวิจัยและการพัฒนา) มีอำนาจตอรองกับ ตลาดภายนอก ขยายแหลงแรงงานและวัตถุดิบเพื่อลดตนทุนและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน รวมทั้งการใชประโยชน จากทรัพยากรในอาเซียนใหสงู สุด ซึง่ ประเทศไทยและชาติสมาชิกอาเซียนตางก็ไดรบั ประโยชนจากการเกิดประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน แตในขณะเดียวกัน ผลที่จะตามมาจาการเปดเสรีดานตาง ๆ ภายใต AEC (ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน)ก็มีมากมาย ในทางบวก มีผลดีตาง ๆ เชน -การที่มีคนเดินทางกันอยางเสรี ทำใหโครงขายการคมนาคมภายในอาเซียน มีการพัฒนาทีด่ ขี น้ึ มีการเชือ่ มโยงถึงกัน มากขึ้น -มีการเคลื่อนยายแรงงานขามพรมแดนมากขึ้น จะมีแรงงานที่มีฝมือและวิชาชีพเขามาจำนวนมาก -มีนักทองเที่ยวที่ดี เขามาทองเที่ยว -สามารถขยายเครือขายธุรกิจไดมากขึ้น ผูประกอบการภาคธุรกิจ ภาควิสาหกิจชุมชน จะมีโอกาสรวมทุนกับคนใน ประชาคมอาเซียน ๙ ประเทศมากขึ้น ในทางลบ กอใหเกิดปญหาตาง ๆ เพิ่มมากขึ้น เชน -ภัยคุกคามทีม่ าจากการเคลือ่ นยายคน เชน ภัยจากอาชญากรรม การกอการรายขามชาติ ภัยจากโรคติดตอโรคระบาด ยาเสพติด การคามนุษย ภัยจากแรงงานไรฝม อื และแรงงานตางถิน่ ทีไ่ รงานทำปญหาสมองไหลออกและภัยทีม่ าจากนักทองเทีย่ ว -ความยากลำบากในการเขาสูแ หลงงาน หรือการกาวไปสูต ำแหนงผูบ ริหาร เนือ่ งจากไมสามารถสือ่ สารภาษาอาเซียน หรือภาษาสากลได -เมื่อสินคาและบริการเคลื่อนยายไดอยางเสรี ผูประกอบการ ภาคธุรกิจ ภาควิสาหกิจชุมชน ทีไ่ มสามารถแขงขันทาง ดานราคาหรือไมสามารถพัฒนาศักยภาพเพือ่ กาวสูต ลาดระหวางประเทศได ก็อาจจำเปนตองปดธุรกิจหรือยายฐานการผลิตไป ยังประเทศที่มีแหลงตนทุนที่ถูกกวา แรงงานมีโอกาสตกงานมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง ภาคการเกษตร อาจตองประสบกับ ภาวะยากลำบากในการแขงขันเพิ่มมากขึ้น ตองเผชิญปญหาการแขงขันทั้งในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศ อีกทั้งมีความ ยากลำบากในการควบคุมคุณภาพ มาตรฐาน และความปลอดภัยของสินคา และหากขาดมาตรการในการดูแล หรือขาดมาตรการ ในการสรางภูมิคุมกันที่ดีแลว ก็จะเกิดผลกระทบตอสุขภาพ สติปญญา และจิตใจของคนในสังคม -เมื่อเกิดการเชื่อมโยงกันมากขึ้น ก็จะทำใหเทคโนโลยีสมัยใหม เขามาทดแทนเทคโนโลยีเดิมที่ลาหลังและทดแทน แรงงานที่มีตนทุนสูงกวา รวมทั้งทดแทนวิธีการในการเขาสูขอมูลขาวสารแบบเดิม ๆ งานใดที่ใชเครื่องจักรทำแทนไดคนก็จะ ถูกใหออกจากงานมากขึน้ คนกลุม ใดทีไ่ มสามารถเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศไดกจ็ ะขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพขาดโอกาส ในการแสวงหาองคความรูและประโยชนจากอาเซียนที่ไรพรมแดน

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


เรื่องที่ ๓ การเตรียมความพรอมของไทยในการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ในการเขาสู ประชาคมอาเซียน คำถาม ๓ ประเด็น ตอการเตรียมความพรอมของไทยในการพัฒนาสังคมและสวัสดิการในการเขาสูประชาคมอาเซียน ๑) ความพรอมทีจ่ ะรับมือกับโอกาส การทาทาย หรือ ภัยทางสังคม ภัยตอความมัน่ คงของมนุษยหรือยังและมีความพรอมใน ระดับไหน ๒) มาตรการและมาตรฐานในการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสำหรับคนไทย และคนอาเซียนทีอ่ ยูใ นไทย รวมทั้งคนไทยที่ อยูในประชาคมอาเซียน ๙ ประเทศ มีมาตรฐานและมาตรการในการจัดสวัสดิการสังคม อยางไร ๓) บทบาทและรูปแบบของการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยและการสงเสริมการจัดสวัสดิการทางสังคมของเราใน ปจจุบนั ไดตอบโจทย ตอบความทาทายที่จะเกิดขึ้นไดมากนอยเพียงใด ในสวนของแผนการจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน ไดใหความสำคัญและกลาวถึงการสรางภูมคิ มุ กันและมาตรการรองรับทางสังคม และความมั่นคงของมนุษยไว ๒ เสาหลัก ไดแก ๑) เสาหลักประชาคมการเมืองและความมั่นคง -การเสริมสรางความรวมมือเพือ่ ตอตานภัยคุกคามตอความมัน่ คงมนุษยในรูปแบบใหมเชน อาชญากรรมขามชาติ ยาเสพติดการคา มนุษยแมกระทัง่ การรับมือกับภัยธรรมชาติ ซึง่ ภัยดังกลาวยอมเกิดขึน้ จากการเคลือ่ นยายคนไดอยางเสรี หรือเปนภัยทีไ่ รพรมแดน และหากชาติ สมาชิกขาดความรวมมือระหวางกันแลวก็จะไมสามารถปองกัน แกไข หรือรับมือกับภัยดังกลาวไดอยางมีประสิทธิภาพ ๒)เสาหลักประชาคมทางสังคมและวัฒนธรรมของอาเซียน - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยเนนโอกาสทางการศึกษาและโอกาสในการเขาถึงขอมูลขาวสาร - การจัดสวัสดิการสังคมและการปกปองทางสังคม รวมทั้งการจัดสภาพแวดลอมที่ปลอดภัยในการดำรงชีวิต - การลดชองวางของการพัฒนาระหวางอาเซียนเกา กับอาเซียนใหม ซึ่งหากมองถึงมิติภายในประเทศแลวก็จะเห็นไดวา ชาติ สมาชิกของอาเซียนมีความจำเปนทีจ่ ะตองลดชองวาของการพัฒนาภายในประเทศเชนเดียวกันภายใตกระแสอาเซียนภิวตั น ทีก่ ำลังจะเกิด ขึน้ จะทำใหลกั ษณะของผูด อ ยโอกาสทีต่ อ งรอรับการพัฒนาหรือสวัสดิการอาจเปลีย่ นแปลงไป จะมองเพียงกลุม เด็กเรรอ น คนไรทอ่ี ยู คนชรา คนพิการ ไมไดอกี ตอไป เพราะคนทีเ่ คยมีศกั ยภาพและยังมีศกั ยภาพ ก็อาจกลายเปนผูด อ ยโอกาสภายใตอาเซียนภิวัตนได ดังนัน้ เมือ่ เปนประชาคมอาเซียนทีส่ มบูรณ รูปแบบการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคมนัน้ อาจจำเปนตองเปลีย่ นหลักคิด เปลี่ยนรูปแบบ เปลี่ยนวิธีการ ๘ ประเด็น ดังนี้ ๑) เปลี่ยนรูปแบบวิธีการจากการสงเคราะห การใหสิ่งของเปนการพัฒนาศักยภาพ คือ ๑.๑) ใหความรู ใหสติปญญา เชน แทนที่จะจายคาชดเชยการวางงาน เปลี่ยนเปนการหาแหลงเงินเพื่อการพัฒนาความรูหรือ ทักษะหรือพัฒนาความสามารถในดานภาษา ภาษาสากลหรือภาษาอังกฤษ อาจจะตองพูดภาษาลาว กัมพูชา เวียดนาม ภาษากาตาลอก ภาษาฮัสซา ภาษาจีน ไดมากขึ้น

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๙ ๑.๒) ยกระดับฝมือแรงงานคนตกงาน ใหสามารถกลับเขาสูตลาดแรงงานที่มีการคาสินคา,การบริการการลงทุน ที่มีประเทศ อาเซียนเขามามีบทบาทได ควรมีการใหความรูและการศึกษาที่จำเปนสำหรับการกาวเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน (เชน ภาษา, การตลาดเทคโนโลยีสารสนเทศ) ที่สามารถสรางโอกาสที่ดีแกแรงงานที่มีทักษะ รวมทั้งดูแลครอบครัวของแรงงานที่ไปทำงานในตาง ประเทศ ๑.๓) ทำความเขาใจสังคมใน ๙ ประเทศ ซึ่งจะเปนการสรางโอกาสที่ดี ใหกับแรงงานที่มีทักษะไปทำงานกับประเทศอื่น ๆ และหาทางทำใหประเทศอาเซียน เขาใจสังคมทองถิ่นของเรา ๑.๔) ตองมีระบบการบริหารจัดการปญหาสำหรับเด็กที่เกิดโดยไมมีพอไมมีแม ที่จะมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น เพื่อใหเด็กเหลานั้น เติบโตไปเปนกำลังสำหรับการพัฒนาประเทศ ๒) เปลี่ยนการมองปจเจกหรือบุคคลหรือคนคนเดียว เปนการมองที่กลุมคนหรือชุมชนหรือสังคมสวนรวมมากขึ้น เชนกลุม ผูใชแรงงาน แรงงานที่มีฝมือ กลุมเกษตรกรที่ปลูกพืชที่ไมสามารถแขงขันได กลุมภาคการผลิตหรือผูผลิตที่ตองเคลื่อนยายการผลิต กลุม ผูใ หบริการ จำเปนตองปรับตัวมากขึน้ เชน ผูข บั แท็กซี่ สามลอ อาจจะจำเปนตองเรียนภาษาอาเซียน เรียนภาษาอังกฤษ รวมทัง้ ตองมีการใหความรู ระบบปกปองทางสังคมกับผูบริโภคทุกคนเชน สินคา ที่ไมไดมาตรฐาน หรือไมปลอดภัยในการบริโภค และการ โฆษณาชวนเชื่อตาง ๆ เปนตน ๓) เปลีย่ นการจัดสวัสดิการเพือ่ คนไทยอยางเดียว เปนการจัดสวัสดิการเพือ่ คนตางชาติทเ่ี กีย่ วเนือ่ งกับคนไทยหรือคนอาเซียน มากขึ้น เชน -การใหสทิ ธิการรักษาพยาบาล และสวัสดิการสังคม ใหกบั บุตรหลานของคนตางชาติทเ่ี ขามาศึกษาฝกอบรมและเขามาทำงาน -การเขาสูระบบประกันสังคม ใหกับคนตางชาติที่เขามาทำงานในประเทศ -การดูแลนักทองเที่ยว นักลงทุนอาเซียน ที่เดือดรอน หรือไดรับอันตราย ระหวางที่อยูในประเทศไทยเชน เกิดเหตุการณ จลาจลปดสนามบิน ปดสี่แยก เกิดภัยธรรมชาติ เกิดอุบัติเหตุเปนตน ๔) เปลี่ยน การจัดสวัสดิการเพื่อคนที่อยูในประเทศ เปนการจัดสวัสดิการเพื่อคนไทยในประเทศอาเซียนมากขึ้น เชน -แรงงานไทยที่มีทักษะ หรือวิชาชีพที่ตองออกไปหางานทำในตางประเทศ -การพัฒนาศักยภาพผูประกอบการขนาดเล็ก ที่จะมีการลงทุนในอาเซียน -คนไทยที่ถูกลอลวงหรือเปนเหยื่อคามนุษยในประเทศอาเซียน -นักทองเที่ยวที่อยูในประเทศระยะยาว -นักศึกษาที่ไปฝกงาน ไปเรียนหนังสือหรือไปทำงานในตางประเทศ -การจัดสวัสดิการเด็กไทยที่ไดรับทุนใหไปเรียนตอในประเทศอาเซียน เพราะเงินทุนอาจจะไมครอบคลุมคาครองชีพอื่น ๆ ซึ ่ ง ถ า เด็ ก ไม ได ร ั บ เงิ นค า ครองชี พ และไม ส ามารถรั บ ภาระได เ องก็ จ ะทำให เด็ ก เหล า นี ้ เ สี ย โอกาสหรื อ ล ม เหลวในการศึ ก ษา

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๑๐ ๕) เปลี่ยนจากความสัมพันธเชิงเดี่ยว ระหวางผูรับและผูให เปนการมีสวนรวมคิดรวมทำ ระหวางผูรับและผูใหมากขึ้น ความดอยโอกาสทีจ่ ะเกิดขึน้ จะมีมากกวาเดิม ไมวา ความดอยโอกาสทางดานทรัพยสนิ และเงินทอง หรือความดอยโอกาสทางกายภาพ แตจะกลายเปนคนดอยโอกาสเพราะไมสามารถเขาถึงบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือดานภาษาที่จำเปนตอการเลี้ยงชีพ หรืออาจจะ เขาไมถึงความชวยเหลือทางดานกฎหมาย และความชวยเหลือของรัฐ เชน กรณีการคามนุษย ตองดูแลคนตางชาติในไทย และดูแลคนไทย ทีถ่ กู หลอกไปขายตางประเทศ และดูแลคนที่ไมสามารถเขาถึงการคุมครองและการฟนฟูสมรรถภาพได เชน คนติดยาเสพติดจึงตองรวมคิด รวมทำ เพื่อจะไดสอดคลองกับความตองการที่แทจริง ๖) เปลีย่ นการจัดสวัสดิการโดยรัฐ เปนการจัดสวัสดิการโดยอาศัยทรัพยากรจากทุกภาคสวนในสังคมมากขึน้ รวมไปถึงจะตองระดม ทรัพยากรจากตางประเทศ เขามาในการจัดการใหมากขึ้น เงินทุนตางชาติและคนตางชาติทม่ี ศี กั ยภาพในการมีสว นทีจ่ ะบริจาคหรือรับผิดชอบตอสังคมไทย มีมากขึน้ รัฐจึงตองมองความชวยเหลือ ความรวมมือจากภาคเอกชน และจากคนตางชาติในประเทศดวย และตองพิจารณากฎหมาย กฎระเบียบที่เอื้อตอคนตางชาติ ที่จะเขามา มีสวนรวมในการจัดสวัสดิการสังคม หรือพัฒนาความมั่นคงของมนุษย รวมทั้งขอความรวมมือของคนไทยที่อยูตางประเทศ เพื่อใหการ ชวยเหลือ จัดสวัสดิการ และคุมครองคนไทย ที่ไปตกทุกขไดยากในตางประเทศดวย ๗) เปลี่ยนจากการใชทรัพยากรในประเทศ เพื่อการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ไปสูการสรางหุนสวนหรือพันธมิตร จากตางประเทศ เพือ่ แกปญ  หาอันเปนตนเหตุของภัยทีบ่ น่ั ทอนศักยภาพในการพัฒนาสังคมและคุกคามตอความมัน่ คงของมนุษยมากขึน้ เชน -รวมมือกับตางประเทศในอาเซียน หรือประเทศคูเจรจาของอาเซียน หรือประเทศที่พัฒนาแลวในอาเซียนที่มีประสบการณ หรือ เงินทุนมากกวา เพื่อรวมมือกันในดานตาง ๆ เชน ๗.๑) เปนตลาดรองรับผลิตผลจากการปลูกพืชทดแทนพืชเสพติด ๗.๒) ชวยเหลือเหยื่อคามนุษย กับประเทศตนทางและปลายทางและทางผานของยาเสพติด ๗.๓) การสรางกลุมรวมมือในการสรางระบบเตือนภัยธรรมชาติ ๗.๔) การสรางกลุม อาสาสมัคร ระหวางกลุม ประเทศในกลุม อาเซียน ( โดยมีกระทรวง พม. เปนหลัก) เชนกลุม อาสากูภ ยั อาเซียน, หนวยดับเพลิง, หนวยภัยพิบัติ ตาง ๆ เชน น้ำทวม ๗.๕) การปองกันตรวจตรา ติดตาม โรคติดตอ ๗.๖) การตั้งกองทุนระหวางประเทศ เพื่อชวยเหลือเหยื่อจากภัยธรรมชาติ ๘) เปลีย่ นจากการพิจารณาผลของวัฒนธรรมตะวันตก มาเปนพิจารณาผลดีและผลกระทบของการเปดกวางทีจ่ ะรับวัฒนธรรมตะวันออก ดวยกันเอง ตองพิจารณาผลดีและผลกระทบ ในการเปดกวางรับวัฒนธรรมตะวันออกโดยคำนึงถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมสรางการ เรียนรู ปญญา องคความรู และสรางวิสัยทัศน ที่จะทำใหเกิดความคิดริเริ่มในเชิงเศรษฐกิจสรางสรรค และการพัฒนาที่เขาใจสังคมอื่น

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๑๑

เรื่องที่ ๔ บทบาทนำของไทยในการพัฒนาสังคมและสวัสดิการในเวทีอาเซียน บทบาทนำในการจัดสวัสดิการและการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยของไทย ในเวทีตางประเทศในอาเซียน จะชวย แกไขและลดปญหาโดยจะสงผลเชิงบวกตอการระดมทรัพยากรมาใชในการพัฒนาสังคมและสวัสดิการภายในประเทศ ดังที่ไดทำมา แลวในอดีตเชน เรื่องการปองกันปราบปรามยาเสพติด การแกไขปญหาการคามนุษย การสรางพันธมิตร หรือหุนสวน เพื่อการพัฒนา ในอนุภมู ภิ าคการปราบปรามการกอการราย และการปองกันโรคระบาด การปองกันภัยธรรมชาติ การลดชองวางการพัฒนาในอาเซียน การดำเนินงานดังกลาว สงผลเชิงสาระและเชิงภาพลักษณที่ดีและเปนการเปดโอกาสในการแสวงหาความรวมมือในเวทีระหวาง ประเทศมากขึ้น กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย นาจะเปนผูนำในการเสนอแนวคิดใหม ๆ ขอเสนอดี ๆ ที่จะ ไดจากการสัมมนาในครั้งนี้ ไปเสนอในกรอบของอาเซียน หรือในอนุภูมิภาคในอาเซียน ที่นำไปสูการพัฒนาได โดยสรุปแลว การเปดโอกาสทางเศรษฐกิจ การเปนตลาดรวม การเปนฐานการผลิตการลงทุนและการผลิตรวม การมีเสรีใน การเคลื่อนยายสินคา การบริการ การลงทุน แรงงานวิชาชีพ และแรงงานมีทกั ษะ รวมทัง้ ความรวมมือในอนุภมู ภิ าคอาเซียน ความ รวมมือระหวางประเทศอาเซียน กับประเทศนอกอาเซียน ทำใหตองมีการปรับหลักคิด ปรับยุทธศาสตร ปรับนโยบาย ปรับกลยุทธ และรูปแบบวิธีการ ในการพัฒนาสังคมและสวัสดิการของไทย ทั้งในเชิงรุกและเชิงรับ ใหสอดคลองกับความจริงที่เกิดขึ้น จากหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฯไดพระราชทานไวเปนแนวทางในการมีวนิ ยั ในการดำเนิน ชีวิตนั้นจะเห็นวาสามหวงหลัก หรือ ๓ เสาหลัก ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณความสมเหตุสมผล และการมี ภูมิตานทานโดยอยูบน ๒ เงื่อนไข ของการมีความรูและศีลธรรมการมีภูมิตานทานนี้ เปนสิ่งที่ตองรวมกันคิด ตองพิจารณาในเรื่องการ จัดสวัสดิการสังคมวาการเปดเสรีตาง ๆ ที่จะนำไปสูสังคมอาเซียนอยางไรที่จะทำใหเกิดความพอดีในการเปดเสรี ไมมากไป ไมนอยไป ใหสังคมไทย มีภูมิคุมกันไวในยามคับขันจะไดไมถูกกระทบมากเกินไป ทุกภาคสวนตองชวยกันคิดวิเคราะห ชวยกันคาดการณและวาง แผนใหประเทศไทยไดประโยชนจากการเปนประชาคมมากทีส่ ดุ ในแงของการพัฒนาสังคม การเพิม่ สวัสดิการของสังคมและในแงของ การดูแลผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสังคมเรา ในระยะยาวดวย ตองเรียนรูการอยูกับความแตกตางมากขึ้นแมมีผลกระทบทั้งในทางลบ ทางบวกแตจะตองเรียนรูที่จะสรางพลังสังคมบนความแตกตางเพื่อใหสังคมไทยพัฒนาไดอยางมั่นคงและสงบสุข

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๑๒

สวนที่ ๒ : เวทีเสวนาเรื่อง เตรียมความพรอมสังคมไทยในการเขาสูประชาคมอาเซียน การเสวนาทางวิชาการ ในหัวขอเรื่อง “การเตรียมความพรอมสังคมไทยในการเขาสูประชาคมอาเซียน” ผูเขารวม เวทีเสวนา ประกอบดวย นายสุนทร ชัยยินดีภูมิ รองอธิบดีกรมอาเซียน, ดร.สมเกียรติ์ ออนวิมล นักวิชาการดานสื่อสาร มวลชน, รศ. ดร.กิติพัฒน นนทปทมะดุล อาจารยจากคณะสังคมสงเคราะหศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ นางระรินทิพย ศิโรรัตน ผูตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย โดยมีนางสาวปนัดดา วงศผูดี เปนผูดำเนินการเสวนา การเสวนา ๓ ประเด็น ประเด็นที่ ๑ มุมมองประเทศไทยกับการเปนสังคมอาเซียน : นายสุนทร ชัยยินดีภูมิ ประตูสปู ระชาคมอาเซียน คือการใหอาเซียนรวมตัวเปนชุมชนหรือประชาคมเดียวกันใหสำเร็จในป ๒๕๕๘โดยจะเปนประชาคม ที่ประกอบดวย ๓ เสาหลัก ซึ่งเกี่ยวของสัมพันธกัน คือ ๑) การเมืองและความมั่นคง มุงใหประเทศในภูมิภาคอยูรวมกันอยางสันติ มีระบบแกไขความขัดแยงระหวางกันไดดวยดี มีเสถียรภาพรอบดาน มีกรอบความรวมมือเพื่อรับมือกับภัยคุกคามความมั่นคงทั้งรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม ๆ เพื่อใหประชาชน มีความปลอดภัยและมั่นคง ๒) เศรษฐกิจ มุงใหเกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และการอำนวยความสะดวกในการติดตอคาขายระหวางกัน จะทำให ภูมิภาคมีความเจริญมั่งคั่ง และสามารถแขงขันกับภูมิภาคอื่น ๆ ได เพื่อความอยูดีกินดีของประชาชนในประเทศอาเซียน ๓) สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มุง ใหประชาชนแตละประเทศอาเซียนอยูร ว มกันภายใตแนวคิดสังคมทีเ่ อือ้ อาทร มีสวัสดิการ สังคมที่ดี และมีความมั่นคงทางสังคม ประเทศไทยควรมี AEC Blueprint หรือแผนงานภาพรวมที่ระบุกิจกรรมดานสังคมและวัฒนธรรมกำหนดทิศทาง แผนงานที่ ตองดำเนินงานใหชดั เจน ตามกรอบระยะเวลาทีก่ ำหนดจนกวาจะบรรลุเปาหมายและเพือ่ สราง"พันธสัญญา" ระหวางประเทศสมาชิกที่ จะดำเนินการไปสูเปาหมายดังกลาวรวมกัน เพราะการรวมกลุมระดับภูมิภาคขนาดใหญ ไดกลายเปนอุปสรรคสำคัญในการปรับตัวของ อาเซียน ซึ่งมักจะมีความแตกตางในดานตาง ๆอันนำไปสูปญหาความแตกแยก ไมลงรอยกัน :ดร.สมเกียรติ ออนวิมล ประเทศไทยอยูในชวงทำความรูจักกับสังคมอาเซียน โดยสังเกตจากการตื่นตัวใหความรูและการจัดกิจกรรมของหนวยงานตางๆ แตความรูพื้นฐานของผูจัดงานตอการเปนสังคมอาเซียนของไทยยังมีความสับสนโดยเฉพาะหนวยงานทางการศึกษายังขาดความรูและ เขาใจในเรื่องสังคมอาเซียนที่ถูกตอง เชน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ยังขาดความเขาใจวาอาเซียนคืออะไร ความจริงแลวอาเซียนประกอบไปดวย ๑๐ ประเทศ สวนประเทศขางนอกคือประเทศคูเจรจา ถาหนวยงานไหนจะจัดงานเอเซียนให ยึดเอาประเทศในอาเซียนเปนหลัก การจัดการแสดงหรือมีสถานทูต ของประเทศคูเจรจาอื่น ๆ มาแสดงรวมดวยนั้น จะทำใหเกิดการ เขาใจผิดและสับสนได

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๑๓ อาเซียนมี ๑๐ ประเทศที่ลงนามรวมกันในป ๒๕๔๖ ในปฏิญญาวาดวยความรวมมืออาเซียน ที่เรียกวา ขอตกลงบาหลี ๒ เห็นชอบใหจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) มีวัตถุประสงคเพื่อสรางความรวมมือในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยมีเปาหมายในป ๒๕๕๘ เกิดการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน คือการทำใหประเทศสมาชิกอาเซียนเปน “ครอบครัวเดียวกัน” เขาใจเอกลักษณ และอัตลักษณ ที่มีความมั่นคง แข็งแกรงและมีภูมิตานทาน โดยสมาชิกในครอบครัวมีสภาพ ความเปนอยูที่ดี มีความปลอดภัย และสามารถทำมาคาขายไดสะดวกมากยิ่งขึ้น สังคมอาเซียนกับเขตการคาเสรีอาเซียน มีความแตกตางกันเพราะสังคมอาเซียนจะไมมกี ารปด แตเขตการคาเสรีอาเซียนมีการ เปดปด และความเหนียวแนนใกลชิดระหวางกันจะเสริมสรางความเขมแข็งใหอาเซียนสามารถสรางประโยชนสูงสุดจากการรวมตัวกับ ประเทศคูคาตาง ๆ : นายกิติพัฒน นนทปทมะดุล ถาแบงหองโดยแบงเปนหองทางเศรษฐกิจและสังคม แยกออกจากกันแลว การเกิดเหตุพิพาททางการเมือง ก็จะไมสงผลตอ การรวมตัวทางสังคม การเกิดสังคมอาเซียนในป ๒๕๕๘ เปนการรวมมือเฉพาะดาน และไมใชการเริ่มตนใหมของสังคมไทย อาเซียนจะ เปนลักษณะของการคอย ๆ เจราจากัน เนนความแตกตางใหเปนความเหมือนกันเทาเทียมกัน ซึ่งเปนไปตามวิถีชีวิตของคนตะวันออก ซึ่งแตกตางจากคนในชาติตะวันตกที่มักจะมีการประทวงกันโดยทันทีในสวนของกระทรวง พม. ไมไดมองวาประชาชนเปนผูรอรับอยาง เดียว ตัวอยางเชนกระทรวง พม. ดำเนินงานดานการคามนุษยขามชาติมานาน แตยังมีการดำเนินงานไดไมดีเทาที่ควรเนื่องจากติด ปญหาการคาขามชาติดังนั้นการที่ไทยเขาสูสังคมอาเซียนเปนการสรางโอกาสในการทำงานใหมีความสำเร็จและสมบูรณมากขึ้น จึงควร ใชโอกาสนี้ สรางแนวทางในการดำเนินงานที่มีความสมบูรณและประสบผลสำเร็จใหมากยิ่งขึ้น นอกจากนีก้ ระทรวงการพัฒนาสังคมยังรองรับการเปลีย่ นแปลงในอนาคตไดดี ดังนัน้ นักพัฒนาสังคมและ นักสังคมสงเคราะห ควรเตรียมพรอมดานภาษาเพื่อรองรับสังคมอาเซียนในอนาคต ซึ่งจะมีชาวตางชาติมากมายเขามาขอรับการชวยเหลือ : นางระรินทิพย ศิโรรัตน การเตรียมความพรอมของสังคมไทยสูการเปนสังคมอาเซียนเพื่อรวมกันเปนบานหลังเดียวกันนั้นเปนความรวมมือเฉพาะดาน ทั้งในดานสวัสดิการสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งจะเกี่ยวของกับกลุมเปาหมายทุก ๆ กลุมไมวาจะเปนเด็ก เยาวชน ครอบครัว ผูสูงอายุ ผูพิการ และผูดอยโอกาส รวมไปถึงความอดอยากโหยหา และภัยคุกคามตาง ๆทางดานเสาสังคมกระทรวงการพัฒนาสังคมรับผิดชอบ ๓ สาขา ภายใต ASCC รวมไปถึงแผนปฏิบัติการดานสังคม มี ๑๔ สาขาเชนภัยพิบัติ หมอกควัน ความยากจน การพัฒนาสุขภาพ แรงงาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมไปถึงยาเสพติดซึ่งขณะนี้คณะรัฐมนตรีมีมติมอบใหกระทรวงการพัฒนาสังคมฯเปนผูรับผิด ชอบหลักในเสาสังคมและวัฒนธรรมจึงตองเตรียมความพรอมเพื่อรองรับภารกิจดังกลาวไมวาจะเปนเรื่องยกระดับคุณภาพชีวิตความ เสมอภาคทางเพศ ความรับผิดชอบตอสังคมและความยุติธรรม เปนตน

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๑๔ จากการที่มีกฎบัตรเกิดขึ้นในสังคม ทำใหเกิดกลไกดานสิทธิมนุษยชนและมีคณะกรรมาธิการอาเซียนวาดวยการสงเสริม พิทกั ษสทิ ธิเด็กและสตรี (ACWC) ซึง่ ทัง้ ๑๐ ประเทศไดมอี นุสญ ั ญาวาดวยสิทธิเด็ก และการไมปฏิบตั คิ วามรุนแรงตอสตรีในทุกรูปแบบ เพือ่ ลดระดับความไมเทาเทียมกันและการเลือกปฏิบตั ใิ นสังคม การจัดทำ CSR หรือธุรกิจทางสังคม ซึง่ เปนธุรกิจทีเ่ ปนทัง้ ผูใ หและผูร บั ที่มีสวนรับผิดชอบตอสังคม ควรมีแผนปฏิบัติการในระดับกระทรวงและนำเสนอในระดับประเทศตอไป ทุกรัฐบาลใหความสนใจเรือ่ งการจัดสวัสดิการสังคม แตจะ ทำอยางไรใหทกุ ประเทศสนใจเรือ่ งสวัสดิการสังคมและนำเสนอตอ ผูน ำในทุก ๆ ประเทศ รวมทัง้ ควรตัง้ คณะกรรมการตาง ๆรวมกันระหวางภาครัฐและเอกชน เพือ่ เตรียมการรองรับการจัดสวัสดิการสังคม ประเด็นที่ ๒ ความแตกตางทางดานภาษาสงผลตอการทำงานดานสังคมและวัฒนธรรม อยางไร : นายกิติพัฒน นนทปทมะดุล ใหใชภาษาทำงานไมใชภาษาทางการ แตก็มีขอแตกตางกันบาง ในสวนของจังหวัดที่อยูชายแดนเนื่องจากจะไดเรียนรูภาษา ประเทศใกลเคียง เชน ลาว กัมพูชา มาเลเซีย พมา เปนตน และการเปดการคาเสรีไมควรเปดดานเดียวควรเปดดานสังคมและวัฒนธรรม ดวย อีกทั้งการที่เราใชภาษากลางในการติดตอสื่อสารกัน เพราะเราในฐานะประเทศหนึ่งในอาเซียนตองใหความรวมมือชวยเหลือกัน และรวมมือตอการสรางอำนาจการตอรองทั้งในเรื่องการเมือง การคา และสังคมตอกลุมประเทศอื่น ๆ ตอไปในอนาคต โดยเฉพาะ เรื่องของภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในหลาย ประเทศ การทีเ่ ราสามารถชวยเหลือเกือ้ กูลกันในกลุม ประเทศของเราไดอยางเสรีทำใหการใชความชวย เหลือมีประสิทธิภาพและยังสามารถสรางอำนาจตอรองกับกลุมประเทศอื่น ๆ ไดดีอีกดวย อยางไรก็ตามประเทศไทยควรสรางภาพให ประชาชนคนไทยเห็นความสำคัญและประโยชนของการเปนประเทศอาเซียนมากขึ้นเพื่อรองรับการเปดเขาสูสังคมอาเซียนในอนาคต ประเด็นที่ ๓ขอคิดเห็นตอหนวยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมฯในการเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน : นายสุนทร ชัยยินดีภูมิ เปนบทบาทสำคัญของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยที่ตองรับผิดชอบในดานสังคมโดยตรง ดังนั้นการ เตรียมความพรอมเพือ่ รับมือกับการเปดสังคมอาเซียนซึง่ ทางกระทรวงไดเตรียมความพรอมในดานตาง ๆ และเชือ่ วาจะนำสังคมสูส งั คม อาเซียนไดในอนาคต

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๑๕ : นางระรินทิพย ศิโรรัตน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยไดเตรียมความพรอมในดานตาง ๆ ทั้งแผนและโครงสรางของ กระทรวงรวมถึงการเตรียมความพรอมดานบุคลากรเพือ่ รองรับการเขาสูส งั คมอาเซียน ผูบ ริหารควรใหความสำคัญกับเรือ่ งนีเ้ ปนอยาง มาก ไมวาจะเปนเรื่องของภาษาเชน อังกฤษ จีน เพื่อใชในการรองรับกลุมเปาหมายที่มาจากหลากหลายประเทศ และความเขาใจกับ บทบาทของประเทศอาเซียน รวมทั้งการขยายความรวมมือไปยังประเทศตาง ๆ โดยเริ่มจากประเทศใกลเคียงกอน และในสวนสถาน ศึกษาก็ควรเตรียมความพรอมเรื่องการเปดอาเซียนเพื่อใหนักเรียนนักศึกษามีความรูในเรื่องภาษามากยิ่งขึ้นไมวาจะทำงานในดาน อุตสาหกรรม สังคมสงเคราะห และดานอื่น ๆเมื่อเขาสูสังคมอาเซียนแลว จำเปนตองมีภาษากลางในการติดตอสื่อสารรวมกัน : ดร.สมเกียรติ ออนวิมล ในฐานะสื่อมวลชนมองวา แตละกระทรวง รับผิดชอบในเรื่องหลัก ๆ ของแตละกระทรวง เชนกระทรวงศึกษาธิการ รับผิดชอบทางดานการศึกษา กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยกร็ บั ผิดชอบทางดานสังคม กระทรวงวัฒนธรรมรับ ผิดชอบเรือ่ งวัฒนธรรมของประเทศ เปนตน กระทรวง พม.ควรสรางเครือขายเพือ่ การเชือ่ มโยงดานการพัฒนาสังคมของประเทศตางๆ ในอาเซียน ซึง่ การสรางเครือขายเด็กเยาวชนในระดับอาเซียนจะกอใหเกิดพืน้ ฐานการสรางเครือขายทีด่ ใี นการทำงานรวมกันดานสังคม ในอนาคต เพือ่ สรางฐานความรวมมือแลกเปลีย่ นเรียนรู และแกไขปญหา รวมทัง้ การบูรณาการแผนการพัฒนารวมกันในอนาคต ดาน สังคมและวัฒนธรรมตาง ๆ เสาประชาคมดานสังคมและวัฒนธรรมเปนเสาที่ไมนาจะเกิดขึ้นอยางชัดเจนในป ๒๕๕๘ แตจะเปนใน ลักษณะคอย ๆ เปนคอย ๆไป เนื่องจากประเทศสมาชิกตางก็มีสังคมวัฒนธรรมที่แตกตางกัน ดังนั้นการทำความเขาใจ เรียนรู และ สรางเปาหมายเดียวกัน เปนเรื่องที่ตองศึกษากันอยางละเอียดถี่ถวน เนื่องจากเปนเรื่องที่ มีความละเอียดออนอยางมาก อีกทั้งตอง อาศัยปจจัยอื่น ๆ รวมดวยเชนการเดินทางไปมาหาสูกันไดสะดวกขึ้นเปนตน รวมไปถึงการมีแผนงานรวมกันในระดับอาเซียนดวย : นายกิติพัฒน นนทปทมะดุล นอกจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ตองทำงานในเชิงนโยบายแลว ยังตองทำงานดานสังคมและ วัฒนธรรม ตองทำงานในเชิงลึกเนื่องจากเปนเรื่องที่ละเอียดออน โดยใหเชื่อมโยงและสอดคลองกับนโยบายได ทุก ๆ ประเทศมีความ แตกตางกัน ดังนั้นการสรางความรูความเขาใจใหทุก ๆ ประเทศสรางความแตกตางที่มี ใหเปนหนึ่งเดียวจึงเปนสิ่งที่สำคัญ อีกทั้งการ กาวเขาสูเปาหมายของอาเซียนไดนั้น ไมใชจะทำไดทันที แตจะคอย ๆ กาวเขาไปโดยอาศัยการสืบทอด การปลูกฝง ไมอยากให กระทรวงตั้งเปาหมายวา ป ๒๕๕๘ จะตองกาวเขาสูอาเซียนไดเลย แตใหมองในมุมของกิจกรรมการทำงานตาง ๆ ใหมีประสิทธิผล และในชวงแรก ๆ อาจมีการทำงานในเชิงวิชาการมากขึ้นเนื่องจากตองทำการศึกษาในสวนของเหตุและผลมากขึ้น หนาที่ ของ กระทรวง พม. ในอนาคตจะไมไดดูแลคนเพียงประเทศเดียว แตจะตองดูแลคนในกลุมประเทศอาเซียน และสรางความตองการ ตามสภาวการณทางสังคมเพิ่มมากขึ้น

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๑๖ : นางระรินทิพย ศิโรรัตน การสรางเครือขายนั้นกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยไดดำเนินการมามากทั้งดานเด็กและเยาวชน จึงควรปรับปรุงเรื่องการสรางความเขาใจ การลดขอขัดแยงตาง ๆ ในภูมิภาคอาเซียน ไมนำเรื่องในอดีตมาเปนปญหาอุปสรรค ประเทศไทยก็มีปญหาตาง ๆ มากมายทั้งเรื่องความยากจน การคามนุษย อาชญากรรมโรคภัยไขเจ็บ และความไมแนนอน ของนักทองเที่ยวกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยเตรียมความพรอมโดยการขยายความรวมมือไปยังอาเซียน โดยไดเสนอโครงการตาง ๆ เชนการคามนุษยที่ดำเนินการในประเทศลุมแมน้ำโขง และจะขยายไปสูมาเลเซีย สิงคโปร ซึ่งประเทศ ตาง ๆ ใหความสนใจในปญหาดังกลาว คำถาม จากจังหวัดอุตรดิตถ “สินคาทางการเกษตร หากไดเขาไปอยูในระบบ จะเปนอยางไร” : นายกิติพัฒน นนทปทมะดุล การเปดการคาเสรีจะมีศูนยกลางในการคา ซึ่งเปนการเปดโอกาสที่จะทำใหสินคาที่เปนตนกำเนิดของสินคาโดยเฉพาะสินคา ทางการเกษตรไดรบั การปกปองมากขึน้ มีการตรวจสอบคุณภาพสินคา เชน การใชสารเคมี เปนตน และราคาสินคาจะถูกลง ตัวอยาง เชน สินคาจากประเทศจีนทีเ่ ขาระบบ GAB ก็จะทำใหสนิ คามีราคาทีถ่ กู ลง และปจจุบนั ประเทศมาเลเซียไดลดภาษีนำเขาและสงออก สินคาทางการเกษตร

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๑๗

สวนที่ ๓ : การจัดนิทรรศการซึ่งแบงออกเปน ๔ โซน ไดแก โซนที่ ๑ รูจักอาเซียน

โซนรูจักอาเซียน เปนการเสนอและใหความรูเกี่ยวกับอาเซียนและกลุมประเทศตาง ๆ ๑๒ ประเด็น ประกอบดวย

๑) มารูจักอาเซียนกันเถอะ

อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติ แหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of Southeast AsianNations: ASEAN) กอตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพฯ ซึ่งไดลงนามกันที่วังสราญรมย เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมความ เขาใจอันดีตอกันระหวางประเทศในภูมิภาค ธำรงไวซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคงทางการเมือง สรางสรรคความเจริญ ทางดานเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม การกินดีอยูดีบนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชนรวมกัน ของประเทศสมาชิก เมือ่ แรกกอตัง้ ในป ๒๕๑๐ อาเซียนมีสมาชิก ๕ ประเทศ ไดแก ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซียฟลปิ ปนสและสิงคโปร ตอมา บรูไนดารุสซาลาม ไดเขารวมเปนสมาชิกในวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๒๗และเวียดนามไดเขารวมเปนสมาชิก เมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๓๘ ลาวและพมา เขารวมเปนสมาชิก เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐ และกัมพูชาเขารวมเปนสมาชิก เมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๔๒ การเขารวมของประเทศสมาชิกใหมเหลานีส้ อดคลองกับปฏิญญาอาเซียนซึง่ ระบุไววา อาเซียนพรอมรับทุกประเทศ ที่อยูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่พรอมจะรับเปาหมายหลักการและวัตถุประสงคขององคกรที่เปนสมาชิก สาเหตุการกอตั้ง อาเซียนประเทศผูรวมกอตั้ง(ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส และสิงคโปร) เห็นวาการตั้งองคกรความรวมมือระดับภูมิภาคจะ สามารถปองกันการเกิดความขัดแยงและสงเสริมการระงับขอพิพาทโดยสันติวธิ ี ตลอดจนสงเสริมความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชน ปฎิญญากรุงเทพฯ กำหนดเปาหมายและวัตถุประสงคสำหรับอาเซียน ๗ ประการ ๑) สงเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความกาวหนาทางสังคมและวัฒนธรรม ๒) สงเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพ และความมั่นคงของภูมิภาค ๓) สงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร และการบริหาร ๔) สงเสริมความรวมมือซึ่งกันและกันในการฝกอบรมและการวิจัย ๕) สงเสริมความรวมมือในดานเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การคา การคมนาคม การสื่อสาร และการปรับปรุงมาตรฐาน การดำรงชีวิต ๖) สงเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต ๗)รวมมือกับองคกรระดับภูมิภาคและองคกรระหวางประเทศ

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๑๘

๒. ความเปนมาและวัตถุประสงคการเปดเสรีอาเซียน การประชุมสุดยอดผูนำอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ ๔ ป พ.ศ.๒๕๓๕ (ค.ศ.๑๙๙๒) ไดเปนจุดเริ่มตนของการ เปลี่ยนแปลงวาดวยการสงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยมีการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน(ASEAN Free Trade Area-AFTA) และสงเสริมความรวมมือกับประเทศอื่น ๆ ทั้งในและนอกภูมิภาคอาเซียน และตั้งแตป พ.ศ.๒๕๔๐ (ค.ศ.๑๙๙๗) อาเซียนไดเสริมสรางความแข็งแกรงของความรวมมือทางเศรษฐกิจและการเงิน โดยไดมีการแถลงแนวทางในอนาคตของอาเซียน ๒๐๒๐ (ASEAN Vision ๒๐๒๐) จัดการประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอาเซียน (ASEAN Finance Ministers Meeting – AFMM) รวมทั้งริเริ่มความรวมมือในการสอดสองดูแลเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก (ASEAN SurveillanceProcess) และ ความรวมมือกับประเทศญี่ปุน จีน และเกาหลี ทั้งนี้ในป พ.ศ.๒๕๔๒ (ค.ศ.๑๙๙๙) รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอาเซียนไดแถลง แผนปฏิบัติการฮานอย (Hanoi Plan of Action)ซึ่งประกอบดวย ๑๑ แผนงาน รวมทั้ง อนุมัติแผนดำเนินการดานการเงินการคลัง อาเซียน (ASEAN Finance Work Programmed ๑๙๙๙ - ๒๐๐๓) และแบงสรรหนาที่ใหประเทศสมาชิกรับผิดชอบ แนวคิดของการจัดทำแผนงานเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Blueprint) เกิดจากการที่ผูนำอาเซียน เห็นชอบใหเรงรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งประกอบดวย ๓ ดานหลักคือ ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมจากเดิมที่กำหนดไวใน ป ค.ศ.๒๐๒๐ เปนป ค.ศ.๒๐๑๕โดยไดประกาศแถลงการณเซบู วาดวยการเรงรัดการ จัดตั้งประชาคมอาเซียน(Cebu Declaration on the Acceleration of theEstablishment of an ASEAN Community by ๒๐๑๕)เมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม๒๕๕๐ ณ เมืองเซบู ประเทศฟลิปปนส

๓. ประชาคมสังคม – วัฒนธรรมอาเซียน (ASCC : ASEAN Socio–Cultural Community) ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียนมีจุดมุงหมายที่จะทำใหภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต อยูรวมกันในสังคมที่เอื้ออาทร ประชากรมีสภาพความเปนอยูที่ดีไดรับการพัฒนาในทุกดาน และมีความมั่นคงทางสังคม (Social Security)โดยเนนการสงเสริม ความรวมมือในดานตาง ๆ ดังนี้ ๑) การพัฒนาสังคมโดยการยกระดับความเปนอยูของผูดอยโอกาสและผูที่อาศัยในถิ่นทุรกันดารและสงเสริม การมีสวนรวมอยางแข็งขันของกลุมตางๆในสังคม ๒) การพัฒนาการฝกอบรม การศึกษาระดับพื้นฐานและสูงกวาการพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การสรางงาน และการคุมครองทางสังคม ๓) การสงเสริมความรวมมือในดานสาธารณสุขโดยเฉพาะอยางยิ่งการปองกันและควบคุมโรคติดตอ เชนโรคเอดส และโรค ทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง ๔) การจัดการปญหาดานสิ่งแวดลอม ๕) การสงเสริมการปฏิสัมพันธระหวางนักเขียน นักคิดและศิลปนในภูมิภาค

๔. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC : ASEAN Political - Security Community ) มีวัตถุประสงคที่จะทำใหประเทศในภูมิภาคอยูอยางสันติสุข แกไขปญหาภายในภูมิภาคโดยสันติวิธีและยึดมั่นในหลัก ความมั่นคงรอบดาน เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ๓ ประการหลัก คือ .๑)ใชเอกสารทางการเมืองและกลไกของอาเซียนที่มีอยูแลวในการเพิ่มศักยภาพในการแกไขปญหาขอพิพาทภายในภูมิภาค รวมทั้งการตอตานการกอการราย การลักลอบคายาเสพติด การคามนุษยอาชญากรรมขามชาติอื่น ๆและการขจัดอาวุธที่มีอานุภาพ ทำลายลางสูง ๒) ริเริ่มกลไกใหม ๆ ในการเสริมสรางความมั่นคงและกำหนดรูปแบบใหมสำหรับความรวมมือในดานนี้ ซึ่งรวมไปถึงการ กำหนดมาตรฐานการปองกันการเกิดขอพิพาท การแกไขขอพิพาทและการสงเสริมสันติภาพภายหลังจากการเกิดขอพิพาท

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๑๙ ๓) สงเสริมความรวมมือดานความมั่นคงทางทะเล ซึ่งอาเซียนยังไมมีความรวมมือดานนี้ ทั้งนี้ ความรวมมือขางตนจะไปกระทบ ตอนโยบายตางประเทศ และความรวมมือทางทหารของประเทศสมาชิกกับประเทศนอกภูมิภาค

๕.ประชาคมเศรษฐกิจ (AEC : ASEAN Economic Community

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กำหนดวัตถุประสงคตามวิสัยทัศนอาเซียน ๒๐๒๐ที่จะใหภูมิภาคอาเซียตะวันออกเฉียงใตมีความ มั่นคง มั่งคั่ง และสามารถแขงขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได ดังตอไปนี้ ๑) มุงใหเกิดการไหลเวียนอยางเสรีของสินคาการบริการ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจและการลดปญหา ความยากจนและความเหลี่อมล้ำทางสังคม ภายในป ค.ศ.๒๐๒๐ ๒) มุงที่จะจัดตั้งใหอาเซียนเปนตลาดเดียวและเปนฐานการผลิต โดยริเริ่มกลไกและมาตรการใหมๆ ในการปฏิบัติตามขอริเริ่ม ทางเศรษฐกิจที่มีอยูแลว ๓) ใหความชวยเหลือแกประเทศสมาชิกใหมของอาเซียน (กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม หรือ CLMV) เพื่อลดชองวางของ ระดับการพัฒนาและชวยใหประเทศเหลานี้เขารวมในกระบวนการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน ๔) สงเสริมความรวมมือในนโยบายการเงินและเศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงิน และตลาดเงินทุนการประกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการคมนาคม กรอบความรวมมือดานกฎหมายการพัฒนาความรวมมือดานการเกษตร พลังงาน การทองเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝมือ

๖.อาเซียน + ๖

อาเซียน + ๖ คือ กลุม ประเทศในแถบอาเซียนรวมกันอีก ๖ ประเทศ ผูท จ่ี ะเขามาเจรจาการคา กับกลุม อาเซียน ไดแก จีน ญีป่ นุ เกาหลีใต อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด เพือ่ จะรวมกันศึกษาหาขอสรุป ในการทำขอตกลงเปนหุน สวนเศรษฐกิจ หรือ อีพเี อ ความ ตกลงหุนสวนเศรษฐกิจระหวางอาเซียนกับ ๖ ประเทศ(Comprehensive Economic Partnershipin East Asia:CEPEA) อาเซียน ณ ปจจุบันสามารถที่จะพัฒนาไปเปนเขตการคาเสรีและเขตความมั่นคงเอเซียแปซิฟกได โดยการรวมกัน กรอบอาเซียน + ๖ ซึ่งปจจุบันได ขยายกลายเปนอาเซียน + ๘ (เขตการคาเสรี AFTA)และเขตความมั่นคงเอเชียแปซิฟก คือ วงนอกสุด ในสถาปตยกรรมอาเซียนเหตุผล ของกรอบ อาเซียน + ๘ เนือ่ งจาก อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด รัฐเซีย อเมริกา ถือวามีภมู ริ ฐั ศาสตร ใกลอาเซียนและมีการคาขายกันมาก

๗.ธงอาเซียนสัญลักษณอาเซียน

“ตนขาวสีเหลือง ๑๐ ตน มัดรวมกันไว” ธงอาเซียนคือ สิ่งที่แสดงถึงความมั่นคงสันติภาพ ความเปนเอกภาพและพลวัตของอาเซียน สีน้ำเงิน หมายถึงสันติภาพและเสถียรภาพ สีแดง หมายถึงความกลาหาญและพลวัต สีขาว หมายถึงความบริสุทธิ์ สีเหลือง หมายถึงความเจริญรุง เรือง สิง่ ทีป่ รากฏอยูก ลางธงอาเซียน คือ สัญลักษณของอาเซียน ไดแก รวงขาวสีเหลือง ๑๐ ตน เปนตัวแทนของประเทศสมาชิกทั้ง ๑๐ ประเทศที่ผูรวมกอตั้งอาเซียนเคยวาดฝนไววา ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตทั้ง ๑๐ ประเทศนี้สามารถอยูรวมกันอยาง มีมิตรภาพและความเปนน้ำหนึ่งใจเดียว วงกลมที่อยูรอบรวงขาว แสดงถึงความเปนเอกภาพความเปนหนึ่งเดียว และความสมานฉันทของอาเซียน

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๒๐

๘. คำขวัญ “One Vision, One Identity, One Community” “หนึ่งวิสัยทัศน หนึ่งเอกลักษณ หนึ่งประชาคม” ๙. ขอมูลประเทศตาง ๆ เชน แผนที่ตั้งประเทศ จำนวนพื้นที่ จำนวนประชากร ชื่อเมืองหลวง GDP และสกุลเงิน สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of South East Asian Nation) หรืออาเซียน (Asians) เปนองคการทางภูมิศาสตรการเมืองและความรวมมือทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวมกันในการเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม วัฒนธรรมในกลุม ประเทศสมาชิก และการธำรงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในพื้นที่และเปนการเปดโอกาสใหคลายขอพิพาท ระหวางประเทศสมาชิก มีประเทศสมาชิก ๑๐ ประเทศ ไดแก บรูไนดารุสซาลามกัมพูชา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย สหภาพพมา ฟลิปปนส สาธารณรัฐสิงคโปร ราชอาณาจักรไทย และสาธารณรัฐสังคมเวียดนาม บรูไนดารุสซาลาม มี พืน้ ที่ : ๕,๗๖๕ ตาราง กม. มีประชากร ๓๘๑,๓๗๑ คน มีเมืองหลวง ชือ่ บันดาร เสรีเบกาวัน มี GDP ๑๓.๕๓๗ พันลาน USD

-กัมพูชา มีพน้ื ที่ : ๑๘๑,๐๓๕ ตาราง กม. มีประชากร ๑๔.๒ ลานคน มีเมืองหลวง ชือ่ พนมเปญ มี GDP ๗.๒๖ พันลาน USD และใชสกุลเงิน เรียล

-สาธารณรัฐอินโดนีเซีย มีพน้ื ที่ : ๕,๑๙๓,๒๕๐ ตาราง กม. มีประชากร ๒๔๕.๕ ลานคน มีเมืองหลวง ชือ่ จาการตา มี GDP : ๓๖๔ พันลาน USDและใชสกุลเงิน รูเปยห

-สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีพน้ื ที่ : ๒๓๖,๘๐๐ ตาราง กม. มีประชากร ประมาณ ๖ ลานคน มีเมืองหลวงชือ่ เวียงจันทน มี GDP : ๓.๔ พันลาน USD และใชสกุลเงิน กีบ

-มาเลเซีย มีพน้ื ที่ : ๓๒๙,๗๕๘ ตาราง กม. มีประชากร ๒๗.๑๗ ลานคน มีเมืองหลวง ชือ่ กัวลาลัมเปอร มี GDP : ๑๘๗.๗๐ พันลาน USD และใชสกุลเงิน ริงกิต

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๒๑ -สหภาพพมา มีพื้นที่ : ๖๕๗,๗๔๐ ตาราง กม. มีประชากร : ๔๘.๘ ลานคน มีเมืองหลวง ชื่อเนปดอว มี GDP : ๙.๓ พันลาน USD และใชสกุลเงิน จาต

-ฟลิปปนส มีพื้นที่ : ๒๙๘,๑๗๐ ตาราง กม. มีประชากร : ๙๑ ลานคน มีเมืองหลวงชื่อ มะนิลา มี GDP : ๑๔๒.๓ พันลาน USD และใชสกุลเงิน เปโซ

สาธารณรัฐสิงคโปร มีพื้นที่ : ๖๙๙.๔ ตาราง กม. มีประชากร : ๔.๖ ลานคน มีเมืองหลวงชื่อ สิงคโปร มี GDP : ๑๔๗.๕๔๒พันลาน USD และใชสกุลเงิน ดอลลารสิงคโปร

-ราชอาณาจักรไทย มีพื้นที่ : ๕๑๔,๐๐๐ ตาราง กม. มีประชากร : ๖๕,๔๙๓,๒๙๖ คน มีเมืองหลวงชื่อกรุงเทพมหานครฯ มี GDP : ๕๕๙.๕ พันลาน USD และใชสกุลเงิน บาท

-สาธารณรัฐสังคมเวียดนาม มีพื้นที่ : ๓๓๑,๖๙๐ ตาราง กม. มีประชากร : ๘๖ ลานคน มีเมืองหลวงชื่อ ฮานอย มี GDP : ๗๓.๕พันลาน USD และใชสกุลเงิน ดอง

๑๐. สมาคมอาเซียน - ประเทศไทย : ASEAN Association - Thailand

จัดตั้งโดยกระทรวงการตางประเทศ เมื่อปลายป ๒๕๕๑ โดยมุงหวังใหสมาคมฯ มีบทบาทสำคัญในการชวยสงเสริมการ ดำเนินงานของภาครัฐและสรางความตระหนักรับรูเกี่ยวกับความรวมมือของอาเซียนในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เพื่อทำใหกระบวนการสรางประชาคมอาเซียนประสบความสำเร็จตามเปาหมายที่ตั้งไวในป ๒๕๕๘ ประชาคมอาเซียนมีเปาหมายที่จะชวยทำใหประชาชนไดเขาใจ และตระหนักถึงประโยชนของอาเซียนที่มีตอการดำเนินชีวิต ทั้งยังมุงหวังที่จะเปนชองทางใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการสรางประชาคมอาเซียนผานการดำเนินกิจกรรมของสมาคมฯ เกี่ยวกับอาเซียนจากภาคประชาชนหลายสาขาอาชีพ

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๒๒

วัตถุประสงคของสมาคม

๑) เปนกลไกคูขนานกับทางภาครัฐในการเสริมสรางมิตรภาพและความเขาใจระหวางประชาชนของประเทศตาง ๆ ในอาเซียน ๒) สงเสริมใหประชาชนไทยมีจิตสำนึกความเปนพลเมืองอาเซียนซึ่งมีความเอื้ออาทรตอกันโดยทำการเผยแพรขอมูล เกี่ยวกับอาเซียนและประเทศสมาชิกอาเซียนใหแกประชาชน ๓) สงเสริมความรวมมือดานเศรษฐกิจ สังคม วิชาการ และการแลกเปลีย่ นทางวัฒนธรรมระหวางประชาชนประเทศ สมาชิกอาเซียน ๔)เปนศูนยกลางประสานการดำเนินงานขององคการอื่นใดที่ไมใชรัฐบาลกับภาคประชาสังคมในประเด็นตาง ๆ ที่จะ สงเสริมการสรางประชาคมอาเซียนภายใตกฎบัตรอาเซียน อาทิ ดานสิ่งแวดลอม การจัดการภัยพิบัติสิทธิมนุษยชน เปนตน

สมาชิกสมาคมอาเซียน – ประเทศไทย

สมาชิกของสมาคมประกอบไปดวย สมาชิกสามัญตลอดชีพ สมาชิกสามัญรายป สมาชิกสมทบ (นักเรียน นักศึกษา) และสมาชิกที่เปนองคกร สิทธิในการเปนสมาชิก จะไดรับจดหมายขาวของทางสมาคมฯ ไดรับขาวสารขอมูลเกี่ยวกับอาเซียนอยางสม่ำเสมอ รวมทั้งมีสิทธิเขารวมประชุมใหญสามัญประจำปของสมาคมฯ งานสัมมนาและกิจกรรมตาง ๆ

๑๑. อาหารนานาชาติ

เปนการนำเสนออาหารคาวหวานของชาติอาเซียน จากฝมือของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิอาทิเชน ๑) อาหารไทย : ผัดไทย แกงเขียวหวาน มัสมั่น ปลาดุกฟู น้ำพริกลงเรือ ขนมชั้น ทองเอก ทองหยิบ ทองหยอด ลูกชุบ อาลัว สำปนนี และจามงกุฎ เปนตน ๒) อาหารเกาหลี : เจาหญิงนพเกา หมูยางพลุโกกิ ผัดวุนเสนเกาหลี ขาวยำเกาหลี และแพนเคกตนหอม เปนตน ๓) อาหารญี่ปุน: ตั่งโหงะ ไดฟูกู และชูซิ เปนตน ๔) อาหารเวียดนาม : แหนมเนือง ปากหมอญวณ และกุงพันออย เปนตน ๕) อาหารนิวซีแลนด : ขนมปง หอยแมลงภูราดซอสไวทขาว ซี่โครงแกะ พับพะโลวา และชีสบัตเตอรเปนตน นอกจากนี้ยังมีการแกะสลักผักผลไม รวมทั้งเปดโอกาสใหผูรวมงานไดลองชิมอาหารจากชาติตาง ๆ อีกดวย

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๒๓

๑๒. สถานเอกอัครราชทูตประเทศตาง ๆ ในอาเซียน ไดจัดใหมีตัวอยางการแตงกายชุดประจำชาติของประเทศในอาเซียนนั้น ๆ เพื่อใหผูรวมงานไดทราบถึงวัฒนธรรมการ แตงกายของประเทศตาง ๆในอาเซียน โดย มีประเทศที่เขารวมงานดังตอไปนี้ ๑) สถานเอกอัครราชทูตอินโดนีเซียประจำประเทศไทย ใหความรูเกี่ยวกับกฎหมายดานสังคมตาง ๆในประเทศอินโดนีเซีย ประกอบดวย - ชุดประมวลกฎหมายที่เกี่ยวของกับนโยบายการคุมครองเด็ก -กฎรัฐมนตรีวาการกระทรวงพัฒนาสตรีและคุมครองเด็ก สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ฉบับที่ ๑ ป ๒๐๐๙ เรื่องมาตรฐานการ ใหบริการขั้นต่ำสำหรับสวนบริการครบวงจร และ/หรือ ผูที่ตกเปนเหยื่อของอาชญากรรมการคามนุษย ในเขตชุมชน/เมือง - กฎหมายทางสังคม ฉบับที่ ๒๑/๒๐๐๗ ความผิดทางอาญาจากการคามนุษย -กฎรัฐมนตรีวาการกระทรวงพัฒนาสตรีและคุมครองเด็ก สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ฉบับที่ ๒ ป ๒๐๑๐ เรื่องแผนปฏิบัติการ ระดับชาติในการปองกันและแกไขการลวงละเมิดเด็ก ๒๐๑๐ – ๒๐๑๔ -กฎรัฐมนตรีวาการกระทรวงพัฒนาสตรีและคุมครองเด็ก สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ฉบับที่ ๕ ป ๒๐๑๐ เรื่องการเสริมสราง และพัฒนา -แนวทางนโยบายดานการปองกันและคุม ครองแรงงานเด็กในประเทศ รวมไปถึงการเดินทางและทองเทีย่ วในประเทศอินโดนีเซีย ๒) สถานเอกอัครราชทูตลาว ประจำประเทศไทย นำเสนอวัฒนธรรมชนชาติลาวผานทางตุก ตาชนเผาตาง ๆ ทีม่ อี ยูใ นประเทศ รวมทั้งสถานที่ทองเที่ยว วิถีชีวิต การเดินทางไปทองเที่ยว และภาษาที่ใชภายในประเทศลาว ๓) สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุน ประจำประเทศไทย มีกิจกรรมฝกการเขียนอักษรภาษาญี่ปุนรวมทั้งแนะแนวการศึกษา และการทัศนะศึกษาในประเทศญี่ปุน ๔) สถานเอกอัครราชทูตเกาหลี ประจำประเทศไทย มีกจิ กรรมการใสชดุ ฮันบกถายรูป การรับสมัครสมาชิก Korea Privilege Card รวมทั้งใหความรูเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว คูมือทองเที่ยวเกาหลี ประสบการณจากคนที่เคยไปเยือนเกาหลี คูมือการทำอาหาร เกาหลี เปนตน ๕) สถานเอกอัครราชทูตนิวซีแลนด ประจำประเทศไทย การใหความรูเ กีย่ วกับประเทศนิวซีแลนด เชนสถานทีท่ อ งเทีย่ วตาง ๆ ในประเทศ คูมือ/แผนที่การทองเที่ยว และการศึกษาตอยังประเทศนิวซีแลนด นอกจากนี้แลวยังมีเจาหนาที่จากสถานเอกอัครราชทูตมาเลเซีย ประจำประเทศไทย สถานเอกอัครราชทูตพมาประจำประเทศไทย และสถานเอกอัครราชทูตเวียดนาม ประจำประเทศไทย มาใหความรูใหคำปรึกษาเกี่ยวกับการทองเที่ยว การเดินทาง และการศึกษา

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๒๔

โซนที่ ๒ เรียนรูผลงานเดน กิจกรรมเรียนรูผลงานเดน มีการจัดนิทรรศการของหนวยงานภาครัฐ และองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ไดทำงานรวมกับ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย และมีการแจกเอกสารแนะนำกิจกรรมตางๆ ของแตละหนวยงาน ไดแก ๑.เด็ก เยาวชน ๒. สตรี ๓. คนพิการ ๔. ตำบลตนแบบ โครงการสายใยรัก ๕. บริษัท TOYOTA (CSR)

๑.ดานเด็ก/เยาวชน

“รากฐาน ของปญหาของเด็กและเยาวชน เกิดจากสังคมมองเด็กและเยาวชนเชิงลบมากขึ้น รวมทั้งความมีจิตสาธารณะ ของสมาชิกในครอบครัวประกอบกับชุมชนออนแอมากขึ้น และการกระตุนโดยสื่อสารเทคโนโลยี”เด็กและเยาวชนจำเปนตองไดรับการ เสริมสรางพลังภูมิคุมกัน ๕ พลัง คือ พลังแหงตัวตน พลังเพื่อนและกิจกรรม พลังครอบครัว พลังสรางปญญาและพลังชุมชน กิจกรรมโครงการเวทีเด็กและเยาวชน เปนการนำเสนอกิจกรรมการสงเสริมบทบาทของเด็กและเยาวชนภายใตแนวคิดใหม“ Let’s talk Let’s act ” เนนการมีสวนรวมของเด็กและเยาวชนในการปองกันและเฝาระวังการคามนุษยในทุกประเทศ ดังมีตัวอยาง โครงการที่ดีสำหรับเด็กและเยาวชน ดังนี้ ๑.๑ โครงการคาราวานความดี อาชีวศึกษาพัฒนาสังคม คือการจัดอบรมแกนนำเยาวชนอาชีวศึกษา มีวตั ถุประสงค เพือ่ ปองกันและแกไขปญหาทะเลาะวิวาทในเด็กและเยาวชน สงเสริมสนับสนุนอาชีวศึกษา มีภาวะความเปนผูน ำ และมีบทบาทมีสวนรวมในกิจกรรมพัฒนาสังคม ผลที่ไดรับคือ เด็กมีภาวะความเปนผูนำ มีบทบาทและมีสวนรวมในกิจกรรม พัฒนาสังคม รวมทั้งเกิดเครือขายอาชีวศึกษา กลุมพื้นที่นำรอง ๑.๒ โครงการแลกเปลี่ยนเยาวชนระหวางประเทศ คือ การนำเยาวชนตางประเทศ มาแลกเปลี่ยนความรูกัน มีวตั ถุประสงค เพือ่ สงเสริมสัมพันธไมตรี และความเขาใจอันดี ระหวางประเทศ เพือ่ เพิม่ พูนความรูแ ละประสบการณอนั กวางไกล ผลทีไ่ ดรบั คือ เยาวชนไทยไดรบั ความรู ประสบการณทเ่ี พิม่ ขึน้ และนำความรูม าพัฒนาตนเองและสังคมไทยไดเปดมุมมอง และ โลกทัศนของตนเอง เปนการสงเสริม พัฒนาความรวมมือตามกรอบอาเซียน และระหวางประเทศ ๑.๓ โครงการเรือเยาวชนเอเชียอาคเนย มีวตั ถุประสงคเพือ่ สงเสริมมิตรภาพและความเขาใจอันดีระหวางเยาวชนญีป่ นุ และอาเซียนมีการแลกเปลีย่ นความคิดเห็นดานตางๆ ผลที่ไดรับคือ เยาวชนมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น วัฒนธรรมประเพณี อันดีงามของแตละประเทศ

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๒๕

๑.๔ โครงการมิตรภาพเยาวชนลุมน้ำโขง คือ การนำเยาวชนไทยและตางประเทศมาแลกเปลี่ยนความรูกัน

มีวัตถุประสงค เพื่อสรางความใกลชิด รักษาและปูพื้นฐานความสัมพันธอันดีของเยาวชนไทย จีน และเยาวชนใน ภูมิภาคลุมน้ำโขงแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณดานตาง ๆ ผลที่ไดรับคือ เยาวชนไดมีการอยูรวมกันมีความสัมพันธอันดีงามและ เยาวชนสามารถนำความรูไปพัฒนาประเทศได ในอนาคต

๑.๕ โครงการบูรณาการสรางบทบาทและพื้นที่สรางสรรคสำหรับเด็กและเยาวชน

มีวัตถุประสงค เพื่อ สนับสนุนใหเด็กและเยาวชนสามารถพัฒนาศักยภาพตนเอง และเขามามีสวนรวมในการสราง บทบาทประกอบดวยกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการบูรณาการ สรางบทบาทและพื้นที่สรางสรรคสำหรับเด็กและเยาวชน กิจกรรมจัดอบรมแกนนำเด็กและเยาวชนในระดับตำบล กิจกรรมสนับสนุนเงินอุดหนุนฝาย และกิจกรรมดำเนินนิเทศติดตามผล การดำเนินงานตามโครงการ ผลที่ไดรับคือ เยาวชนสามารถพัฒนาศักยภาพตนเอง เกิดภาวะความเปนผูนำ รูจักการรวมกลุมและการทำงานเปนทีม ในการจัดกิจกรรมที่เปนประโยชนตอตนเอง และชุมชนตามความตองการ

๑.๖ โครงการสงเสริมการปกปองคุมครองและพิทักษสิทธิเด็ก

วัตถุประสงค เพือ่ สงเสริมการดำเนินงานตามอนุสญ ั ญาวาดวยสิทธิเด็ก มีกจิ กรรมการจัดเวทีสทิ ธิเด็ก ครัง้ ที่ ๑๗ สิทธิเด็ก และเยาวชนในรัฐธรรมนูญฉบับใหม การฝกอบรมสรางความตระหนัก เรื่อง สิทธิเด็กระดับชาติ ผลที่ไดรับคือ เกิดการบูรณาการงานดานเด็กจากทุกภาคสวนของสังคม การแลกเปลี่ยนและรับฟงความคิดเห็นของเด็ก และเปนการเปดโอกาสใหเด็กไดมีสวนรวมในทุกขั้นตอน ๑.๗ โครงการสรางภูมิคุมกันทางสังคมแกเด็กและเยาวชน คือ การสรางสรรคคุณธรรมจริยธรรมเด็กและเยาวชน วัตถุประสงคเพื่อ สรางภูมิคุมกันแกเด็ก และเยาวชนใหมีคุณธรรมจริยธรรมในตนเอง ผลที่ไดรับคือ เด็กและเยาวชนมีจิตสำนึกในการทำความดีโดยใชหลักธรรมเปนแนวทางในการดำเนินชีวิตและสามารถ นำความรูที่ไดรับไปขยายครัวไทยและสรางภูมิคุมกันแกเยาวชนในสถานศึกษาและชุมชน

๑.๘ โครงการรวมพลังเยาวชนพัฒนาชาติ

มีกิจกรรมเดินรณรงคสงเสริมการมีสวนรวมในรางรัฐธรรมแหงราชอาณาจักรไทยกิจกรรมพลังเยาวชนสรางสรรค ประชาธิปไตย เชน การบรรยายหัวขอ “รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย” และกิจกรรมการประชุมปฏิบัติการเยาวชน อาสาสมัครเรียนรูสูการคุมครองและพิทักษสิทธิเยาวชน ผลที่ไดรับคือเกิดแกนนำเยาวชนอาสาสมัครเรียนรูสูการคุมครองและพิทักษสิทธิกอใหเกิดความเขมแข็งในการดำเนิน งานดานการคนหาสิทธิเยาวชน

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๒๖

๒.ดานสตรี

๒.๑ บทบาทของสตรีตอ ครอบครัวและสังคม ประกอบดวย สามสัมพันธหา ภูมคิ มุ กันสรางสรรคสมดุลใหครอบครัวดังนี้ ๑) สามสัมพันธ ประกอบดวย ๑.๑) ใหเกียรติและหวงใย คือ รั้วกันภัยของครอบครัว ประกอบดวย - ยอมรับซึ่งกันและกัน - เคารพในการตัดสินใจของกันและกัน - มีความไววางใจซึ่งกันและกัน - รวมแบงปนความทุกข และรวมยินดีในความสุข ๑.๒) ใสใจในหนาที่ สมาชิกในครอบครัวรูบทบาทและหนาที่ของตนเอง เชน -การปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดีกับคนในครอบครัว -การดูแลความปลอดภัยสมาชิกในครอบครัวอยางถวนหนา -ความรับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัว เชนการแบงงานกัน ทำในครอบครัว -การปรับเปลี่ยนบทบาทหนาที่ตามสถานการณ -การตัดสินใจในครอบครัว และการรับผิดชอบรวมกัน ๑.๓) สื่อสารที่ดี -การพูดอยางสรางสรรคและการรับฟงอยางตั้งใจ -การใชเวลารวมกันอยางมีคุณภาพ -การแสดงความรักระหวางสมาชิกในครอบครัวทั้ง กาย วาจา และใจ ๒) หาภูมิคุมกัน ประกอบดวย ๒.๑) รูสิทธิและกฎหมายของหญิงชายที่เทาเทียม รูแ ละเขาใจในกฎหมายทีส่ ำคัญตอการดำรงความสมดุลของครอบครัว รวมทัง้ สิทธิพงึ รู เพือ่ สรางสุขสิทธิในฐานะสมาชิกของครอบครัว ที่ตองเคารพ ในสิทธิของกันและกันระหวางสมาชิกในครอบครัวทั้งหญิงและชาย ๒.๒) รูเพศศึกษาของหญิงและชาย รูอยางเทากัน และสามารถปองกันตนเองและครอบครัว ในเรื่องเพศไดรวมทั้งไมอายที่จะสื่อสารเรื่องเพศศึกษาระหวางสมาชิก ในครอบครัว ๒.๓) เขารวมเครือขาย เพื่อการพัฒนาศักยภาพตนเอง / ครอบครัว / ชุมชน

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๒๗ ๒.๔) มีหลักประกันของครอบครัว มีกิจกรรมในครอบครัว เชน การปลูกฝงใหเด็กรูจักออม ประหยัด ใชจายในเรื่องที่จำเปน ไมฟุมเฟอยดวยการทำบัญชี ครัวเรือน ควรมีสวนรวมในการจัดสวัสดิการชุมชนเพื่อสรางหลักประกันครอบครัว เชน สหกรณชุมชนฌาปนกิจสงเคราะห ฯลฯ ๒.๕) ดูสื่อใหสรางสรรค รูเ ทาทันกระบวนการผลิตซ้ำและตอกย้ำของสือ่ รูว า มีทง้ั สือ่ ทีส่ รางสรรคและไมสรางสรรค โดยเลือกบริโภคและใชประโยชน จากสื่ออยางสรางสรรค ๒.๒ สตรีกับการมีสวนรวมทางการเมืองและการบริหาร การสงเสริมผูหญิงเขาสูการเมืองและการบริหาร เพื่อ ๑) เพิ่มประสิทธิภาพทางการเมือง การทำงานการเมืองควรมีมุมมองของทั้งผูหญิงและผูชาย เพื่อใหเกิดการตัดสินใจที่ รอบคอบ มีประสิทธิภาพและคุมคา แกปญหา และสนองความตองการของประชาชนไดทุกกลุมอยางเหมาะสม และจะเปน ประโยชนตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกคนในสังคม โดยเฉพาะกลุมที่ผูหญิงตองดูแลอยางใกลชิด เชน เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุ ผูพิการ และผูดอยโอกาสอื่น ๆ ๒)สรางความเปนธรรมตามหลักการเปนผูแทนในระบบประชาธิปไตยการปกครองระบอบประชาธิปไตยเปนการปกครองโดย ประชาชน คือ ประชาชนทุกคนมีสวนรวมอยางเทาเทียมกันในการตัดสินใจ ๓)สรางความหลากหลายในการพัฒนาผูหญิงและผูชายตางก็มีประสบการณ บทบาทภาระและวิถีชีวิตที่แตกตางกันทั้งใน ครอบครัวและชุมชน จึงสะทอนปญหาและความตองการที่แตกตางกัน ซึ่งจะชวยเพิ่มมุมมองและสรางสมดุลในการตัดสินใจแกปญหา และการจัดสรรความตองการที่แตกตางกัน เชน ผูหญิงตองตั้งครรภ คลอดบุตรและเลี้ยงดูบุตร ๒.๓ กาวไปสูสังคมเสมอภาคกับพลัง สรางสรรคหญิงชายความเสมอภาคระหวางหญิงชาย (gender equality) เปนการใหโอกาสและปฏิบัติตอทั้งหญิงและชายอยางเทาเทียมและเปนธรรม เชน โอกาสในการเขาถึงความยุติธรรมการเขาถึง ทรัพยากร และผลประโยชน รวมถึงการพัฒนาศักยภาพของผูหญิงและผูชาย ๒.๔ ความเปนธรรมระหวางหญิงชาย หมายถึง หลักการสรางความเสมอภาคบนพื้นฐานที่หญิงและชายมีความแตกตางกัน อันเปนผลจากความแตกตางทั้งทาง รางกายและทางสังคม ซึ่งผูหญิงมักดอยโอกาสกวาผูชาย เด็กมักดอยโอกาสมากกวาผูใหญ

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๒๘

๓. ดานคนพิการ

การดำเนินงานดานคนพิการภายใตกรอบอาเซียน ประเด็นดานคนพิการของกรอบยุทธศาสตรฯ ประกอบดวย ๙ โครงการ ซึ่งบรรจุอยูภายใตสองประเด็นหลัก (Thematic Areas) ไดแก Thematic Area ๑ : ทศวรรษคนพิการแหงอาเซียน ๒๕๕๔ – ๒๕๖๓:สงเสริมการบูรณาการประเด็นดานคนพิการในประชาคมอาเซียน Thematic Area ๒ : การพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย (Capacity in Human Resources) ทิศทางในอนาคตของทศวรรษอาเซียนดานคนพิการ เพื่อที่จะสงเสริมการบูรณาการดานคนพิการในอาเชียน ประเทศไทย เสนอใหดำเนินการ ๖ ประการ ดังตอไปนี้ ๑.) อาเซียน ยอมรับ ทศวรรษคนพิการแหงอาเซียน ในฐานะปแหงการรณรงคการบูรณาการประเด็น ดานคนพิการไวในอาเซียน ๒.) การยอมรับกลไกระหวางประเทศและกลไกระดับภูมภิ าค อันรวมถึง แผนปฏิบตั กิ ารโลกวาดวยเรือ่ งคนพิการอนุสญ ั ญาวาดวย สิทธิคนพิการ กรอบการปฏิบัติงานแหงสหัสวรรษจากทะเลสาบบิวาสูสังคมบูรณาการ ปลอดจากอุปสรรคและตั้งอยูบนฐานของสิทธิ สำหรับคนพิการในภูมภิ าคเอเชียและแปซิฟก รวมทัง้ ปรัชญาการดำรงชีวติ อิสระของคนพิการ ควรจะมีการจัดทำกรอบการปฏิบตั งิ าน ที่รวมเปนหนึ่งเดียวกัน ซึ่งระบุถึงความทาทายและประเด็นหลักที่สำคัญ เปาหมายที่วัดผลได และสงเสริมโครงการ/กิจกรรมตาง ๆ ที่หนุนเสริมซึ่งกันและกันรวมทั้ง สงเสริมโครงการ/กิจกรรม ที่ถูกระบุอยูในกรอบยุทธศาสตรอาเซียนดานสังคมและการพัฒนา ๓.) ประเทศสมาชิกอาเชียน ควรเปนเจาภาพรวมกันในทศวรรษคนพิการแหงอาเซียน และกิจกรรมทีเ่ กีย่ วของเพือ่ ทีจ่ ะสงเสริม สิทธิและโอกาสที่เทาเทียมกันของคนพิการอยางเต็มที่ ทั้งในระดับภายในประเทศและระดับภูมิภาค ๔.) อาเซียน ยอมรับในความพยายามรวมของผูมีสวนไดสวนเสียทั้งหลาย ซึ่งรวมถึง คนพิการและครอบครัว องคกรคนพิการ ภาคประชาสังคม องคกรระหวางประเทศ สถาบันการศึกษา ภาคธุรกิจ และหนวยงานอื่นๆ เพื่อใหประเด็นคนพิการ เขาสูกระแสหลักและเพื่อสงเสริมสิทธิและโอกาสอันเทาเทียมของคนพิการ ๕.) อาเซียน ยอมรับความสำคัญของกลไกการขับเคลือ่ นของภาคประชาชน ซึง่ รวมถึง ASEAN Disability Forum และทำให แนใจวาพิการจะไมถูกแบงแยกออกจากกระบวนการพัฒนาของอาเซียน ๖.)อาเซียนจะตองแนใจวาจะมีความพยายามในทุกวิถีทาง ที่จะทำใหอาเซียนเปนสังคมบูรณาการ และแนใจไดวาคนพิการ จะไมถูกแบงแยก

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๒๙

๔. ตำบลตนแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคมกับการมุงสูสังคมอาเซียน (Sub – Model of Social development and Social welfare of the Society towards)

๔.๑ ความเปนมาของตำบลตนแบบ

ตำบลตนแบบ เปนกลไกหนึ่งที่สามารถพัฒนาศักยภาพประชาชนใหเกิดภูมิคุมกันทางสังคม เกิดการรวมตัวในการจัด กิจกรรมบริการสวัสดิการสังคม ภายใตการบูรณาการของหนวยงานภาคีเครือขายที่เกี่ยวของในระดับพื้นที่ ซึ่งสอดคลองกับ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ป ๒๕๕๐ โดยบัญญัตใิ หหนวยงานของรัฐตองจัดบริการสวัสดิการสังคมใหกบั ประชาชนอยางทัว่ ถึง เปนธรรม ไดแกดานสุขภาพอนามัย การศึกษา และบริการสวัสดิการ รวมทั้งไดกำหนดแนวทางในการจัดสวัสดิการสังคม โดยตอง คำนึงถึงประเด็นการจัดสวัสดิการสังคมตามความจำเปนและเหมาะสม ไดแก การบริการทางสังคม ดานการศึกษา สุขภาพอนามัย ที่อยูอาศัย การฝกอาชีพ การประกอบอาชีพ นันทนาการ และกระบวนการยุติธรรม ในป ๒๕๕๔ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กำหนดใหมีการพัฒนาสังคมและสงเสริมสวัสดิการสังคมแกประชาชนกลุม เปาหมายในแตละจังหวัด ซึ่งดำเนินการในพื้นที่ตำบลตนแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคม โดยใหบูรณาการงานตาม แผนงานโครงการ กิจกรรม และบุคคลากรหนวยงานในสังกัดกรมการพัฒนาสังคมและสวัสดิการและกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย และนอมนำรูปแบบสายรักแหงครอบครัว มาเปนแนวทางการดำเนินงาน ๔.๒ กลไกการดำเนินงานตำบลตนแบบ ประกอบดวยคณะทำงาน ตาง ๆ ดังนี้ ๑)คณะทำงานสวนกลาง ประกอบดวย ๑.๑) คณะกรรมการบูรณาการงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคม ๑.๒) คณะทำงานติดตามและประเมินผล ๒) คณะทำงานสวนพื้นที่ ประกอบดวย ๒.๑) คณะทำงาน พม. ระดับจังหวัด (ทีม A) ๒.๒) คณะทำงาน พม. ระดับตำบล (ทีม B) ๒.๓) คณะทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาตำบลเชิงบูรณาการ (ทีม C)

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๓๐ ๔.๓ ปจจัยความสำเร็จ องคความรู และผลการเปลี่ยนแปลงทางสังคม มี ๕ ประการ คือ ๑)ทุนทางสังคมในระดับพื้นที่ มีความหลากหลาย เชน กลุมออมทรัพย กลุมอาชีพ สถาบันการเงิน การศึกษาตาง ๆ ๒)ผูบริหารทองถิ่น ผูนำชุมชน บุคคลกร กลุมเปาหมายในพื้นที่ดำเนินงานตำบลตนแบบ ๓)หนวยงานในสังกัด มีความรวมมือของหนวยงานในระดับพื้นที่ความรวมมือ มีความสามัคคีและความสัมพันธอันดีภายในชุมชน ๔)ประชาชนในชุมชนมีความตระหนักและใหความสำคัญกับการจัดสวัสดิการชุมชน ๕)มีการสำรวจขอมูลผูประสบปญหาทางสังคมในพื้นที่กอนการดำเนินงาน ๔.๔ มิติการขับเคลื่อนตำบลตนแบบ มี ๗ ดาน คือ ๑) ความสัมพันธทางสังคมในชุมชนแบบเกื้อกูลกัน ๒) การกำหนดกฎ กติกาของชุมชนรวมกันที่เปนธรรมรวมกัน ๓) เศรษฐกิจชุมชนที่มีความมั่นคง ๔) กองทุนสวัสดิการชุมชน ๕) การอนุรักษประเพณีวัฒนธรรมทองถิ่น ๖) การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ๗) การศึกษา ปจจุบันยังคงมีอีกหลายพื้นที่ ที่ยังคงขาดการดูแลแกไขและพัฒนาชุมชนใหดียิ่งขึ้น จึงทำใหเกิดปญหาในหลายดานอาทิเชน คนวางงาน อาชญากรรม สิ่งแวดลอมเปนพิษ เด็กยากไร ผูเดือดรอนจากเหตุการณธรรมชาติตาง ๆ และการขาดความสามัคคีของคน ในชุมชน ถาชุมชนตาง ๆ นำโครงการนี้ไปปรับใช เพื่อพัฒนา คงสามารถทำใหสังคม มีความเปนอยูที่ดีขึ้นในทุกๆดานซึ่งสามารถชวย ในภาพลักษณของประเทศและเศรษฐกิจที่ดีไดในอนาคตและเปนโครงการที่สามารถชวยเหลือ คนในสังคมชุมชนทั้งในดานการบริการ สังคม ดานการศึกษา สุขภาพอนามัย การฝกอาชีพ การนันทนาการ รวมถึงสวัสดิการตาง ๆ ที่ประชาชนพึงไดรับ ๔.๕)ตำบลตนแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคมกับการมุงสูสังคมอาเซียน ตำบลตนแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคม มีสวนสำคัญใน การเตรียมความพรอมประชากรสังคม ใหเขมแข็งในการ มุงสูสังคมอาเซียน ในประเด็นตาง ๆ เชน - ลดชองวางการพัฒนา ( Narrowing the Development Gap ) - การสรางอัตลักษณอาเซียน ( Building an ASEAN Identity ) ( Human Development ) - การคุมครองและสวัสดิการสังคม ( Social Welfare and Protection ) - สิทธิและความคุมครองทางสังคม ( Social Justice and rights ) - ความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม ( Environmental Sustainability ) กองทุนสวัสดิการ

สิทธิและความคุมครองทางสังคม

การศึกษา

ความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม การสรางอัตลักษณ

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๓๑

๕. ความรับผิดชอบตอสังคมของโตโยตาและเครือขายธุรกิจ (Fully Integrated CSR across Value Chain) ๔ ลด ๔ เพิ่มไปกับโตโยตา

ขั้นตอนการทำงานการจัดซื้อ วัตถุดิบและชิ้นสวนที่คัดสรร ตองไดรับการรับรองความปลอดภัยดวยมาตรฐานสากล การผลิตและขนสง ใชพลังงานทางเลือกหรือพลังงานที่สามารถนำกลับมาใชใหม เพื่อลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด การบริหารจัดการ พัฒนาสภาพแวดลอมในที่ทำงานใหมีมาตรฐานสูงสุด การตลาดและการขาย ถายทอดความรูและเทคโนโลยีที่จำเปนใหแกผูแทนจำหนายและรวมมือกับผูแทนจำหนายในการดูแลลูกคาอยางดีที่สุด การดูแลบริการหลังการขาย รักษาคุณภาพของชิ้นสวนและสำรองไวในจำนวนที่เพียงพอเสมอ และจะแกปญหาขอบกพรองการรองเรียน ตอบคำถามดวยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รวมถึงการเรียกรถคืนเพื่อทำการแกไขและซอมแซมชิ้นสวนที่มีปญหา เพื่อใหลูกคาและสังคมไดรับความพอใจสูงสุด แนวทางปฏิบัติ ๔ ลด ๔ เพิ่ม (๔ Reduce – ๔ Improve ) ๔ลด ( ๔ R ) -ลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (Reduce CO2) -ลดการใชพลังงาน (Reduce Energy) -ลดการใชน้ำ (Reduce Water) -ลดปริมาณขยะ (Reduce Waste) ๔ เพิ่ม (๔ I) -เพิ่มความสุขและพื้นที่สีเขียวในการทำงาน (Improve Green / Happy Workplace) -เพิ่มความพึงพอใจใหกับพนักงานและผูมีสวนเกี่ยวของในธุรกิจ (Improve Employees / Stakeholders Satisfaction) -เพิ่มโอกาสในการทำกิจกรรมเพื่อสังคมใหกับพนักงาน (Improve Emploees's Particpation in Social Contribution) -เพิ่มเครือขายในการทำความดีเพื่อสังคม (Improve CSR Network)

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๓๒

โซนที่ ๓ ประเด็นทาทาย

ประเด็นทาทาย เปนการเสนอและใหความรู ๔ ดาน เกี่ยวกับการตอตานการคามนุษย สังคมผูสูงอายุ, คุณแมวัยใส และการยุติความรุนแรงในครอบครัว ดังนี้

ดานที่ ๑ การตอตานการคามนุษย

นิทรรศการการตอตานการคามนุษย มีการนำเสนอภาพและขอมูล ๔ ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ ๑ สรางความตระหนักใน ASEAN ปฏิญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก ในหลักการของปฏิญญาดังกลาวย้ำถึง ความ มุงมั่นของอาเซียนที่จะปฏิบัติตามเจตนารมณของอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรมขามชาติที่จัดตั้งในลักษณะ องคกร รวมทั้งพิธีการของสหประชาชาติเพื่อการปองกันและขจัดการคามนุษย ประเด็นที่ ๒ การนำเสนอสถานการณปญหา จากขอมูลแผนภาพตองการสะทอนจุดวิกฤต โอกาส และความมุงมั่น ของประเทศไทยในการปองกันและขจัดอาชญากรรม การคามนุษยขามชาติอยางเขมแข็งรวมกับภาคีเครือขาย ASEAN โดย ๑) การยอมรับสถานะของประเทศไทย ที่เปนทั้งประเทศตนทาง ทางผาน และประเทศปลายทาง ๒) เปนการแสดงความมุงมั่นของประเทศไทยผานนโยบายและการขับเคลื่อนนโยบายไปสูการปฏิบัติ โดยใชยุทธศาสตร ๕ P คือ Policy & coordination, Prosecution, Protection, Prevention และ Partnership (โดยขอใหเนนที่ Partnership ในกลุม ASEAN ) ประเด็นที่ ๓ การนำเสนอผลงานตัวอยางที่ดีของประเทศไทย โดยที่ปญหาการคามนุษยเปนอาชญากรรมขามชาติ ที่ประชาคมอาเซียนจะตองเผชิญกับความสลับซับซอน ของปญหา และแนวโนมอาชญากรรมการคามนุษยขามชาติ ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งยากที่จะจัดการกับปญหาดังกลาวไดเพียงลำพัง ประเทศใดประเทศหนึ่งความรวมมือของกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน จึงเปนหัวใจสำคัญ ในการปองกันและขจัดการคามนุษย ดังนั้นขอมูลภาพกิจกรรม และเนื้อหาผลงานที่นำเสนอ ในสวนนี้จึงตองการแสดงถึงความพยายามของประเทศไทย โดยเนนมิติ ของงานเชิงรุก ที่มุงมั่นจะสรางการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ในลักษณะของ Partnership (P ที่ ๕) ทั้งในงานระดับชาติระดับ ทวิภาคี และระดับนานาชาติใน ๔ กิจกรรม ดังนี้ ๑) กิจกรรมรณรงคตอตานการคามนุษย (ระดับชาติ) เปนการดำเนินงานตามมติ ครม. ที่ประกาศใหทุกวันที่ ๕ มิถุนายน ของทุกป เปนวันรณรงคตอตานการคามนุษยของประเทศไทย โดยรณรงคสรางความรู ความเขาใจ และรูเทาทันภัยการคามนุษย และกระตุนใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการเฝาระวังและปองกันปญหาการคามนุษย โดยใหความสำคัญกับการมีสวนรวม ของประชาชน ๒) กิจกรรมการพัฒนากลไกความรวมมือระหวางประเทศในระดับทวิภาคีภายใตแนวคิด Twin city เปนการสงเสริม ความรวมมือดานการตอตานการคามนุษยในรูปแบบของ MOU ในระดับจังหวัดคูแฝดตามแนวชายแดนไทยและลาว โดยจะให ความสำคัญและการมีสวนรวมของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ ๓) กิจกรรมโครงการปองกันและเฝาระวังการคามนุษยในระดับชุมชน (ระดับทวิภาคีไทย-ลาว) เปนการจัดการเรียนรู เพื่อการปองกันและแกไขปญหาการคามนุษย โดยเนนในมิติดานเศรษฐกิจและสังคม และนำผลการศึกษา มาพัฒนาความรวมมือ ดานการปองกันและเฝาระวังการคามนุษยในระดับชุมชนระหวางไทย-ลาว จุดเดนของโครงการนี้คือมุงเสริมความเขมแข็งของ ชุมชนและมุงใชคุณคาและภูมิปญญาของทองถิ่น มาสนับสนุนงานปองกันและเฝาระวังการคามนุษยในระดับชุมชนของไทยและ ลาวโดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูตัวอยางที่ดีของทั้งสองประเทศรวมดวย

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๓๓ ๔) กิจกรรมโครงการเวทีเด็กและเยาวชน เพื่อนำเสนอความเห็นตอการแกไข ปญหาการคามนุษยและการยายถิ่นนานาชาติ ระดับ อนุภูมิภาคลุมแมน้ำโขงเปนความรวมมือของกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย รวมกับภาคีเครือขาย ภาครัฐ และภาคเอกชน NGO โดยเนนการทำงานภายใตกรอบความรวมมือ ระดับ อนุภมู ภิ าคลุม แมนำ้ โขง (COMMIT) ๖ ประเทศ ไดแก ประเทศไทยลาว กัมพูชา พมา เวียดนาม และจีน เนนการสงเสริมบทบาทของเด็ก และเยาวชน ภายใตแนวคิดใหม “ Let’s talk Let’s act ” เนนการมีสว นรวมของเด็กและเยาวชนในการปองกันและเฝาระวังการคามนุษย ในทุกประเทศ ประเด็นที่ ๔ การนำเสนอขอทาทาย กาวตอไปของประเทศไทย (Challenges & Future Direction) ในสวนนี้ ตองการแสดงใหเห็นแนวโนมของปญหาการคามนุษยทป่ี ระเทศไทยตองเผชิญในอนาคต และเปนขอทาทายของไทย ทีจ่ ะตองเรงสรางความเขาใจและเตรียมความพรอมของทุกภาคสวน ในการรับมือกับปญหาและดำเนินไปขางหนารวมกัน โดยนำเสนอ ทิศทาง/กาวตอไปของประเทศไทย โดยพิจารณาแนวทางการดำเนินงานตามกรอบความรวมมือดานการตอตานการคามนุษยที่ประเทศ สมาชิกอาเซียน ไดลงนามขอตกลงความรวมมือฯ เอกสารปฏิญญาอาเซียนวาดวยการตอตานการคามนุษยฯ ทีส่ อดคลองกับทิศทางการ ดำเนินงานของประเทศไทยใน ๓ ประเด็นสำคัญ ดังนี้ ๑)เสริมสรางความเขมแข็งของกฎหมาย เพื่อปองกันปราบปรามการคามนุษย โดยใชการขับเคลื่อนนโยบายสูการปฏิบัติดวย “การทำงานแบบสหวิชาชีพ” (Multi Disciplinary Team Approach) ๒) การเสริมสรางความเขมแข็งในการปองกันและปราบปรามการคามนุษยขามชาติในระดับภูมิภาค ASEAN โดยอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการตอตานการคามนุษย ซึ่งรวมถึงปฏิญญาอาเซียน วาดวยการตอตานการคามนุษย โดยเฉพาะเด็กและสตรี ๓) การสงเสริมการเรียนรูร ว มกันในระดับภูมภิ าค ผานกลไกของอาเซียน เพือ่ การปองกันและขจัดปญหาการคามนุษยในระดับ ภูมิภาคนี้ รวมทั้งโดยมุงเนนที่ปจจัยรากเหงาและปจจัยภายนอกที่เสริมตอการคามนุษยในกลุมประเทศอาเซียน

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๓๔

ดานที่ ๒ สังคมผูสูงอายุ

นิทรรศการ ดานสังคมผูสูงอายุ มีการนำเสนอภาพและขอมูล ๒ สวน คือ

๒.๑ ศูนยพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผูสูงอายุบานบางแค

พันธกิจ จัดบริการสวัสดิการสังคมที่มคี ณ ุ ภาพ ไดมาตรฐานและมีรปู แบบทีห่ ลากหลายแกผสู งู อายุ สงเสริม สนับสนุนการมีสว นรวมของ ทุกภาคสวนในการจัดบริการสวัสดิการสังคม แกกลุม เปาหมาย รวมทัง้ พัฒนาระบบงาน และบุคลากรผูป ฏิบตั งิ านดานการดูแลผูส งู อายุ เปาหมาย -ผูสงู อายุมีศักยภาพสามารถพึ่งตนเองได และมีความสุขในบั้นปลายของชีวิต ผูสูงอายุในศูนยพัฒนา ไดรับบริการสวัสดิการ สังคมที่มีคุณภาพและไดมาตรฐาน ผูสูงอายุไดรับบริการสวัสดิการสังคมในรูปแบบที่หลากหลาย -เครือขายในการทำงานดานผูสูงอายุมีความเขมแข็ง -ครอบครัว ชุมชน และสังคมรวมกันดูแลผูสูงอายุอยางเหมาะสม -ระบบบริหารจัดการขององคกรมีคุณภาพ ไดมาตรฐาน และมีความทันสมัย -องคกรมีสภาพแวดลอมและวัฒนธรรมการทำงานที่เอื้อตอการบริการ -บุคลากรมีสมรรถนะที่สอดคลองกับภารกิจและยุทธศาสตรการพัฒนา วัตถุประสงค ๑) เพื่อเปนศูนยแหงการเรียนรูและเผยแพรขาวสารดานการจัดสวัสดิการสังคมผูสูงอายุ ๒) สงเสริมสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรดานสวัสดิการผูส งู อายุทง้ั ภาครัฐและเอกชน การจัดสวัสดิการผูส งู อายุทม่ี มี าตรฐาน ๓) เปนศูนยประสานเครือขายในการใหบริการสวัสดิการสังคมผูสูงอายุ ภารกิจ ศูนยบริการทางสังคมผูสูงอายุไดจัดบริการทางสังคมรูปแบบใหมๆ ที่ไดมาตรฐาน โดยเปนสถานที่ฝกการปฏิบัติงานดาน ผูสูงอายุของหนวยงานภาครัฐและเอกชนและสรางเครือขายในชุมชน รวมทั้งประสานงานการจัดหาทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการ ใหบริการผูสูงอายุ และสงเสริมและสนับสนุนทางดานวิชาการและการวิจัย พรอมกับพัฒนารูปแบบบริการประเมินผล ติดตาม ใหคำแนะนำปรึกษาและเสนอแนะจัดบริการที่เหมาะสมใหกับกลุมเปาหมาย ใหเปนไปตามมาตรฐานที่กำหนดและโดยจัดกิจกรรม ตางๆ เชน เปนศูนยกลางระดับภาคทำหนาที่เผยแพรขาวสารดานผูสูงอายุและใหความรูที่เปนประโยชนแกผูสูงอายุและ หนวยงานที่เกี่ยวของ

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๓๕

กิจกรรมดานสังคมและเศรษฐกิจและกิจกรรมเตรียมความพรอมกอนเขาสูวัยผูสูงอายุในชุมชน เพื่อสงเสริมใหบุคคลเตรียมความพรอมและมีความรูในการดูแลตนเอง ทั้งทางดานสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดลอม กลุมเปาหมาย คือ บุคคลอายุ ๕๐ ปขึ้นไป ที่ชวยเหลือตนเองไดในชุมชน / ชมรม กิจกรรมครอบครัวสัมพันธ เพื่อใหผูสูงอายุและสมาชิกในครอบครัวมีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อสรางสัมพันธภาพที่ดี ตระหนักรูในบทบาทหนาที่ของตนเอง กลุมเปาหมาย คือ ผูสูงอายุและสมาชิกในครอบครัวของผูสูงอายุในชุมชน / ชมรม กิจกรรมพัฒนาที่อยูอาศัยแกผูสูงอายุโดยชุมชนมีสวนรวม เพื่อปรับปรุงบานพักอาศัยของผูสูงอายุในชุมชน ใหมคี วามมั่นคงแข็งแรงและปลอดภัยอยูในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม กลุมเปาหมาย คือ ผูสูงอายุที่พักอาศัยอยูในที่ที่ไมมีความปลอดภัย สรุป ไดมีการจัดกิจกรรมตาง ๆ ใหผูสูงอายุไดเขารวมทำกิจกรรมแบบซึ่ง ทำใหเกิดความสามัคคีแกหมูคณะ นอกจากนี้ยังมีสวัสดิการ สังคมแกผูสูงอายุ ทำใหสะดวกสบายตอการใชบริการ เชน ดานกายภาพบำบัด อาชีวบำบัดดานจิตวิทยา เปนตน ทำใหผูสูงอายุมีชีวิต ความเปนอยูก็ดีขึ้นตามลำดับทั้งสุขภาพกายและใจ ๒.๒ ขอมูลนโยบายดานผูสูงอายุอาเซียน (Aging Prole and Policies inASEAN) โดย ดร.Makmur Sunusi ผูสูงอายุในประเทศที่กำลังพัฒนาของภูมิภาคอาเซียนมีการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วเมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแลวในภูมิภาค ยุโรปและอเมริกา (๘๐ ถึง ๑๕๐ ป เพิ่มขึ้นจากรอยละ ๗ เปนรอยละ ๑๔) ยกตัวอยางเชน ประชากรผูสูงอายุในประเทศบรูไน ดารุสซาลามคาดวาจะมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นจากรอยละ ๕ ในป ๒๐๐๗ เปนรอยละ ๒๐ ภายในป ๒๐๕๐ และสำหรับประเทศอินโดนีเซีย ประเทศไทย คาดวามีจำนวนผูสูงอายุเพิ่มขึ้นและมีจำนวนผูสูงอายุที่อายุยืนขึ้นมากพรอมกับมีภาวการณสูญเสียความสามารถของ สมองเล็กนอยโดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับความจำ ( Mild Cognitive Impairment : MCI ) ก็จะเพิ่มขึ้นเชนกัน ทั้งนี้จำนวนผูสูงอายุ ที่เพิ่มขึ้นจะเปนสตรีมากกวา ซึ่งสิ่งที่ตามมาคือจำนวนหมายที่จะเพิ่มขึ้น ปญหาที่เกิดขึ้นตอมาคือ การไมไดรับการคุมครองและการ ถูกขับไลออกจากครอบครัว การเปลี่ยนโครงสรางของครอบครัวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีดังนี้ -การเปลี่ยนแปลงทางดานอายุและเพศสอดคลองกับจำนวนประชากรผูสูงวัย -อัตราการแตงงานและการเจริญพันธลดลง -อัตราการหยารางเพิ่มขึ้น -ครอบครัวเดี่ยวเพิ่มขึ้น -กวา ๑ ใน ๓ ของผูสูงอายุตองอยูเพียงลำพัง หรืออยูกับคูของตัวเองโดยไมมีลูกหลาน -บทบาทการทำงานเขามามีมีอิทธิพลตอความสัมพันธภายในครอบครัว -การเพิ่มขึ้นอยางมากทั้งจำนวนและอายุของผูสูงวัย ในขณะที่อัตราการเจริญพันธุลดลง -บทบาทการดูแลของครอบครัวลดลง -สังคมปจจุบันเปนครอบครัวเดี่ยว ที่มีเพียง พอ แม และลูกหลานมากขึ้น และครอบครัวพอแมเลี้ยงเดี่ยว -อัตราการหยารางเพิ่มขึ้น ในขณะที่บทบาทในการเลี้ยงดูผูสูงอายุก็ลดลง และความตองการตอบริการการดูแลผูสู.อายุที่มี คุณภาพสูงที่เพิ่มขึ้นประเภทของบริการดูแลผูสูงอายุที่กำลังเปนที่ตองการ ยกตัวอยางเชน -การเจ็บปวยระยะสั้นและแบบเรื้อรัง ความตองการบริการทั้งระยะสั้นและระยะยาว -การดูแลสุขภาพจนถึงการดูแลทางสังคม สงผลตอตนทุนทางดานการดูแลผูสูงอายุที่ตองเพิ่มขึ้น

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๓๖

ดานที่ ๓ คุณแมวัยใส (STOP TEEN MOM)

นิทรรศการ ดานคุณแมวยั ใส มีการนำเสนอภาพและขอมูล ทีเ่ กีย่ วกับปญหา สถานการณ สาเหตุและผลกระทบการตัง้ ครรภ ไมพรอมในวัยรุน และแผนการขับเคลื่อนการแกไขปญหาการตั้งครรภไมพรอมในวัยรุน แมวัยใส (STOP TEEN MOM) โครงการสงเสริมกระบวนการเรียนรูในการปองกันและแกไขปญหาการตั้งครรภไมพรอมในวัยรุนอยางมีสวนรวม สนับสนุน โครงการรณรงคปองกันการตั้งครรภไมพรอมในวัยรุน ภายใตโครงการสายใยรักแหงครอบครัวในพระราชูปถัมภสมเด็จพระ บรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร สถานการณปญหาการตั้งครรภไมพรอมในวัยรุนพบวา ในป ๒๕๕๒ ประเทศไทยมีอัตราเฉลี่ยการคลอดบุตรของมารดาอายุ ต่ำกวา ๒๐ ป บริบูรณ สูงเปนอันดับ ๒ ของโลก และเปนอันดับ ๑ ของทวีปเอเชีย คือ รอยละ ๑๓.๕๕ในปจจุบันตัวเลขการตั้งครรภ ของผูหญิงไทยที่อายุต่ำกวา ๒๐ ป เพิ่มขึ้น ๙๐-๑๐๐ ตอ ๑,๐๐๐ คน และมีแนวโนมที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ สาเหตุของผลกระทบของปญหา ปจจัยที่มีอิทธิพลทำใหเกิดสาเหตุของปญหา การตั้งครรภในวัยรุน ๓ ดาน คือ ๑.ดานพฤติกรรมของวัยรุน ๒. ดานครอบครัว ๓.ดานสิ่งแวดลอม ปจจัยสำคัญของการตั้งครรภในวัยรุนมีสาเหตุมาจากความกาวหนาทางเทคโนโลยี ยาเสพติด และผลการเปลี่ยนแปลงของ ฮอรโมนในรางกาย กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ไดมีโครงการสงเสริมกระบวนการเรียนรูในการปองกันและแกไขปญหาการ ตั้งครรภไมพรอมในวัยรุนอยางมีสวนรวม และมียุทธวิธี ในการแกไขกับเยาวชนที่เกิดปญหา รวมทั้งมีการขับเคลื่อนการปองกันและ แกไขปญหาตั้งครรภไมพรอมในวัยรุน ดังนี้ วัตถุประสงค -ศึกษาสภาพปญหา ปจจัยแวดลอม และลักษณะสังคมวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลตอปญหาการตั้งครรภในวัยรุนในระดับภูมิภาค -ศึกษากลยุทธ ยุทธวิธี กระบวนการ มาตรการปองกันและแกไขปญหาการตั้งครรภในวัยรุนในระดับพื้นที่ -สรางความตระหนักรูของประเด็นการตั้งครรภในวัยรุนในระดับภูมิภาค -เผยแพรผลงานการศึกษาตอสาธารณะเกี่ยวกับการสงเสริมและแกไขการตั้งครรภในวัยรุน ขอบเขตการดำเนินโครงการ กลุมเปาหมาย ๑) เด็กและเยาวชนทั่วไป เด็กและเยาวชนอายุไมเกิน ๒๐ ป ๒) เด็กและเยาวชนกลุม เสีย่ ง ไดแก เด็กและเยาวชนในโรงเรียน ซึง่ ศึกษาอยูใ นชัน้ ประถมศึกษาตอนปลายและมัธยมศึกษา ตอนตนเด็กและเยาวชนในชุมชนแออัด เด็กและเยาวชนที่อยูในหอพัก (โดยเฉพาะหอพักที่ไมไดปฏิบัติตามพ.ร.บ. หอพักพ.ศ. ๒๕๐๗) เด็กและเยาวชนที่ทำงานในโรงงาน และเด็กเรรอน ๓) เด็กและเยาวชนที่เปนแมและพอวัยเยาว ๔) ผูม สี ว นไดสว นเสียกับเด็กและเยาวชนกลุม ตาง ๆ เชน พอแม ผูป กครอง ครูอาจารย ผูน ำชุมชน ฯลฯ ๕) กลุม สหวิชาชีพและเครือขายภาครัฐ/ภาคเอกชนทีเ่ กีย่ วของกับเด็กและเยาวชนและปญหาการตัง้ ครรภไมพรอม แผนการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการประกอบดวย ๑) การสรางวิทยากรเครือขายเยาวชนในการปองกันการตั้งครรภไมพรอมในวัยรุน ๒) การจัดเวทีเสวนา ณรงคและปองกันการตั้งครรภไมพรอมในวัยรุน ๓) การประชาสัมพันธและเผยแพรความรูผานสื่อตาง ๆ เชน จัดทำสื่อสปอรตวิทยุ สปอรตโทรทัศน ละครสั้นขาวราย การสาระความรู ปายไวนิลตาง ๆ พรอมทั้งจัดสรางเครือขายทางสังคมผานสื่อออนไลน ๔) พิธีเปดโครงการ โดยพระเจาวรวงศเธอพระองคเจาศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เปนองคประธานในพิธีเปด

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๓๗

ดานที่ ๔ การยุติความรุนแรงในครอบครัว

จากสถานการณความรุนแรงตอเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว เปนปญหาสำคัญและเปนอุปสรรคตอการพัฒนาสังคม เด็กและสตรีจำนวนมากตองทนทุกขทรมานจากการทารุณกรรม ทั้งทางรางกาย จิตใจและทางเพศทั้งในครอบครัว ในบาน และ ในโรงเรียน แมแตที่สาธารณะทั่วไป ปญหาดังกลาวปรากฏใหเห็นเปนเวลานาน และมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ในชวงที่สังคมเกิดวิกฤต ทางเศรษฐกิจ ซึง่ ทำใหคนในครอบครัวเกิดความเครียดและขณะเดียวกันสังคมสวนรวมไมไดตระหนักถึงปญหา เปนเหตุใหผทู ม่ี คี วาม เสี่ยงสูงไมไดรับการปกปอง หรือรูเทาทันความรุนแรงและผูถูกกระทำความรุนแรงก็ไมไดรับการชวยเหลือเยียวยา เทาที่ควร ปญหาความยากจน ทำใหครอบครัวจำนวนมากประสบความเดือดรอน หัวหนาครอบครัวตกงาน ทำใหขาดรายไดมาจุนเจือ ครอบครัวการแพรระบาดของยาเสพติดการพนัน ปญหาสวนใหญมาจากครอบครัวเปนปจจัยสำคัญ ดังนั้นปญหาความรุนแรงในครอบครัวสวนใหญเกิดจากความไมรับผิดชอบตอครอบครัวของฝายชายในการใชอำนาจหรือ ใชอารมณในการตัดสินปญหาและมีพฤติกรรมในการมัวเมาในสิง่ เสพติด ทำใหเกิดการทะเลาะวิวาทและการทำรายทางรางกายและ จิตใจ เด็กถูกทอดทิง้ ไมไดรบั การเลีย้ งดูตามวัย ขาดความรักความเอาใจใส ถูกปลอยปละละเลย เด็กกำพรา เด็กพิการ เด็กดอยโอกาส ทางสังคม และผูส งู อายุถกู ปลอยปละละเลยตามลำพังไมไดรบั ความสนใจ โดยเฉพาะผูส งู อายุในชนบท ถูกทอดทิง้ ใหเลีย้ งดูลกู หลาน เนื่องจากพอแมไปประกอบอาชีพตางถิ่น การจัดนิทรรศการ ดานการยุติความรุนแรงในครอบครัวครั้งนี้ เปนการนำเสนอภาพและขอมูล ๔ ประเด็น คือ ๑. ปญหาสำคัญในบริบทตาง ๆ ที่นำมาซึ่งความรุนแรงตอเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว ๒. สถานการณ ความรุนแรงตอเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว ๓.ปญหาในการบังคับใชพระราชบัญญัติฯ ๔. แผนการดำเนินงานและแนวโนมในอนาคต ดังนี้ ๔.๑ ปญหาสำคัญในบริบทตางๆ ที่นำมาซึ่งความรุนแรงตอเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว มีดังนี้ เจตคติทางสังคมมีแนวโนมจะประณามผูหญิงและเด็กวา เปนผูสรางเงื่อนไขใหเกิดความรุนแรง มากกวาจะมองถึงตัว ผูกระทำซึ่งสวนใหญเปนผูชายและไมเขาใจถึงสิทธิสตรี สิทธิเด็ก หรือไมเรียนรูที่จะแสดงความเคารพในสิทธิสตรีและสิทธิเด็กอยาง จริงจัง โดยเฉพาะอยางยิ่ง ปญหาความรุนแรงในครอบครัว คนมักมองวาเปนปญหาสวนตัวเปนเรื่องทะเลาะเบาะแวงระหวางสามี ภรรยา เปนเรื่องกระทบกระทั่งกันภายในครอบครัวที่คนภายนอกไมควรเขาไปยุงเกี่ยว ผูถูกกระทำความรุนแรงจำนวนมากไมกลา นำเรื่องออกมาเปดเผย เนื่องจากอับอายที่จะตกเปนเปาสายตาของสังคมวาเปนเหยื่อของความรุนแรง ตองคอยซอนเรนและอดทน รับตอสภาพปญหา ทำใหผูถูกทำรายทารุณตองทนอยูในสภาพกระทำซ้ำๆ โดยหาทางออกไมได และบางครั้งทำใหเกิดกรณีการโต กลับดวยความรุนแรงเชน ผูหญิงที่เฉือนอวัยวะเพศผูชายภรรยาฆาสามีดวยความคับแคนที่ถูกสามีทำรายเพราะสะสมมานานป ขณะเดียวกันสังคมสวนรวมก็ยังขาดความเขาใจและตระหนักถึงปญหาความรุนแรงในครอบครัวเปนเหตุใหผูมีความเสี่ยงสูงไมได รับการปกปองหรือรูเทาทันปญหาดังกลาว หากไมมีมาตรการ/กลไกใดแทรกแซง อาจทำใหความรุนแรงลุกลามใหญโตจนยากที่จะ แกไขเยียวยา

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๓๘ นอกจากนี้ ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็วในปจจุบนั ทำใหโครงสรางครอบครัวเปลีย่ นไป จากครอบครัว ขยายมาเปนครอบครัวเดีย่ วมีมากขึน้ ดังนัน้ การแกไขปญหาตาง ๆ ตองเผชิญดวยตนเอง ไมมผี เู ขามาไกลเกลีย่ ปญหา ขาดการควบคุม อารมณและทักษะในการแกไขความขัดแยงอยางสรางสรรค สงผลใหเกิดความรุนแรงในครอบครัวและการหยาราง โดยเฉพาะอยางยิง่ ในสังคมปจจุบนั ทีต่ อ งดิน้ รนมากขึน้ ทำใหมกี ารยายถิน่ เพือ่ หางานทำมากขึน้ ดวย เปนผลใหความสัมพันธในครอบครัวไมแนนแฟน เด็ก และผูส งู อายุไมมผี ดู แู ล ในขณะเดียวกัน ผูห ญิงในบางครัวเรือนยังตองพึง่ พาทางเศรษฐกิจจากผูช ายทำใหขาดอำนาจในการตอรองและ ตองอยูใ นสภาพทีย่ อม ในสภาพสังคม บริโภคนิยม สงผลใหวธิ คี ดิ ของคนเปลีย่ นไป มีการคาแรงงานมากขึน้ บางคนถูกหลอกลวงกดขีแ่ รงงานบังคับ คาประเวณี บางคนตองถูกบีบคัน้ ทางเศรษฐกิจ ทำใหครอบครัวขาดความอบอุน คนในครอบครัวมุง แตแสวงหาทรัพยสนิ และวัตถุเพือ่ ตอบสนองความตองการภายนอก ขาดการดูแลเอาใจใสทางดานจิตใจ เกิดความเครียด ในขณะที่ คูหญิงชายจำนวนมาก อาจยังไมมี ความพรอม ที่จะมีครอบครัว ทั้งทางรางกาย จิตใจ อายุ สุขภาพอนามัย และฐานะทางเศรษฐกิจ ขาดความรูในการเตรียมตัวเปนพอ แมที่ดี ขาดความรูในการทำหนาที่ของพอแม การเลี้ยงดู ใหความอบอุนแกลูก ขาดทักษะในการสื่อสารที่ดีระหวางสมาชิกในครอบครัว ขาดความรูเรื่องเพศสัมพันธ อันเปนสาเหตุของปญหาครอบครัวทำใหเกิด ความรุนแรงและการหยารางในที่สุด ระบบการศึกษายังไมใหความสำคัญ ในการบรรจุหลักสูตรการเรียนการสอนเรื่อง มิติหญิงชาย จริยธรรมทางเพศ การเปน พอแมทด่ี ี สิทธิสตรี สิทธิเด็กและสิทธิมนุษยชน รวมทัง้ การใหความรูเ รือ่ งเพศศึกษา ยังไมเปนทีย่ อมรับอยางจริงจัง เนือ่ งจากเรือ่ งเพศ เปนเรื่องที่ปกปด มีผลทำใหเด็กและวัยรุนเกิดความอยากรูอยากเห็น อยากลอง ไมรูเทาทันปญหา ซึ่งนอกจากจะนำไปสูโรคติดตอ ทางเพศสัมพันธแลว ยังอาจเกิดปญหาการตั้งครรภกอนวัยอันควร การคุนชินกับการเห็นภาพความรุนแรงตอเด็กและสตรี ภาพโฆษณาเชิงพาณิชยที่ใชสตรีเปนวัตถุทางเพศ สื่อตาง ๆเชน ละครที่มีฉากตบตีในครอบครัว ฉากหึงหวงแยงสามี สื่อสิ่งพิมพที่ลงขาวประจำวัน โดยใชถอยคำ สำนวนภาษาสองแงสองงาม ที่สอถึงความรุนแรง ลามกอนาจาร หรือการนำเสนอภาพอาชญากรรมลอแหลม และเกมสคอมพิวเตอรเปนตน สื่อตาง ๆ เหลานี้ ตางก็มีอิทธิพลและมีผลตอทัศนคติ คานิยม และพฤติกรรมเลียนแบบโดยเฉพาะสื่อที่ปรากฏใหเห็นหรือไดยินซ้ำ ๆ รูสึกเคยชินและ เห็นความรุนแรงที่เกิดขึ้นทั้งในครอบครัวและสังคมเปนเรื่องปกติธรรมดา

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๓๙ ๔.๒ สถานการณ ความรุนแรงตอเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว จากขอมูลสถิติและขาวสารจากแหลงตาง ๆ พบวา การทำรายทารุณทางรางกายและทางเพศมีมากขึ้นโดยผูถูกกระทำ สวนใหญจะเปนเด็กและสตรี ซึ่งจะมีตั้งแตเด็กอายุนอย จนกระทั่งผูสูงอายุ รวมไปถึงผูพิการทางสมองและทางรางกายความรุนแรง ตอเด็กและสตรีนับวันยิ่งเพิ่มจำนวนและทวีความรุนแรงมากขึ้น ในขณะที่ผูกระทำสวนใหญพบวา มักเปนคนที่อยูในครอบครัว เปนคนใกลชิดหรือเปนคนที่รูจักกับผูถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัวเปนปญหาที่ซับซอน มีหลากหลายมิติ ซึ่งเกิดจากหลาย ปจจัยตั้งแตปจจัยระดับบุคคล ระดับครอบครัวระดับชุมชน และระดับสังคม โดยมีสาเหตุมาจากทัศนคติและคานิยมดั้งเดิมใน ประเด็นหญิงชาย โดยมีปจจัยกระตุนหรือเรงใหเกิดความรุนแรง เชนบุคลิกภาพอันเปนผลจากพันธุกรรม การอบรมเลี้ยงดู ความเจ็บปวยทางจิต ครอบครัวแตกแยก ปญหาทางเศรษฐกิจการใชสารเสพติด การดื่มสุรา การเลนการพนัน และวัฒนธรรม ฯลฯ สิ่งเหลานี้ลวนเปนปจจัยพื้นฐานสำคัญ ที่ทำใหความรุนแรงยังที่มีอยูในสังคม ผลกระทบจากการกระทำรุนแรงมักกอใหเกิดอันตราย ตอชีวิต รางกาย จิตใจ ตลอดจนสงผลใหเกิดปญหาดานสุขภาพ ศูนยพึ่งได (OSCC) กระทรวงสาธารณสุขไดรวบรวมขอมูล และรายงานวา ในป ๒๕๔๗ มีเด็กและสตรีที่ถูกทำราย และมารักษาที่โรงพยาบาล จำนวน ๖,๙๕๑ ราย หรือ ๑๙ รายตอวัน แตในป ๒๕๕๑ พบวา มี ๒๖,๖๓๑ ราย หรือ ๗๓ รายตอวัน ในป ๒๕๕๒ มีจำนวน ๒๓,๕๑๑ ราย หรือ ๖๔ รายตอวัน ในป ๒๕๕๓ มีจำนวน ๒๕,๗๔๔ ราย หรือ ๗๑ รายตอวันนอกจากนี้ จากขอมูลดังกลาว พบวา ผูหญิงและเด็กหญิงถูกกระทำดวยความรุนแรงมีสัดสวนใกลเคียงกันตลอดมาตั้งแตป ๒๕๔๘- ๒๕๕๓ โดยอยูในชวงรอยละ ๔๑-๕๑ มีสัดสวนรวมกันมากกวารอยละ ๙๐ ในขณะที่เด็กชายถูกกระทำดวยความรุนแรงประมาณรอยละ ๖-๑๐ ความรุนแรงทางกายและความรุนแรงทางเพศมีสัดสวนมากที่สุดทุกป เมื่อเปรียบเทียบกับความรุนแรงลักษณะอื่น ๆ กลาวคือในป ๒๕๕๒ มีรอยละ ๔๘.๓ และรอยละ ๔๓.๕ตามลำดับ สวนความรุนแรงทางจิตใจมีรอยละ ๖.๒ สูงขึ้นกวาป ๒๕๔๙ ซึ่งมีเพียงรอยละ ๓.๐๑ จำนวนผูถูกกระทำความรุนแรงแยกเปนรายภาค พบวาภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีจำนวนเด็กและสตรีถูกกระทำความ รุนแรงมากที่สุด (รอยละ ๒๙) รองลงมาเปนภาคกลาง (รอยละ ๒๘) ภาคเหนือ (รอยละ ๑๙) ภาคใต (รอยละ ๑๗) และภาคตะ วันออก (รอยละ๗) มีเด็กและสตรีจำนวน ๒๕,๗๔๔ ราย หรือ ๗๑ รายตอวันเขารับบริการที่ศูนยพึ่งได

จำนวนผูหญิง เด็กหญิง และเด็กชาย ที่ถูกกระทำรุนแรงรายงานโดยศูนยพึ่งได ป ๒๕๔๘ – ๒๕๕๓

จำนวนผูหญิง เด็กหญิง และเด็กชาย ที่ถูกกระทำรุนแรงรายงานโดยศูนยพึ่งได ป ๒๕๔๘ – ๒๕๕๓

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๔๐ สำหรับกลไกในการปฏิบัติงาน ซึ่งไดแก พนักงานเจาหนาที่ ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูถูกกระทำดวยความรุนแรงใน ครอบครัวพ.ศ.๒๕๕๐ (นักสังคมสงเคราะห นักพัฒนาสังคม นักพัฒนาเด็ก นักวิชาการศึกษา เจาหนาทีศ่ าลยุตธิ รรม นักพัฒนา ชุมชน ฯลฯ)จนถึงป ๒๕๕๔ มีพนักงานเจาหนาที่ ที่ไดรับการแตงตัง้ จากรัฐมนตรีวา การกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คง ของมนุษยแลว จำนวน ๓๕๘ คน เปนชาย ๘๕ คนหญิง ๒๗๓ คน จากจำนวนผูผ า นการอบรมและประเมินผล ชวงระหวางป ๒๕๕๒-๒๕๕๔ มีจำนวน ๙๓๙ คน นอกจากนี้ ยังมีพนักงานฝายปกครอง เจาหนาทีต่ ำรวจตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณา ความอาญาเปนพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายดวย

จำนวนผูไดรับการอบรม และแตงตั้งเปนพนักงานเจาหนาที่ ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูถูกกระทำดวยความรุนแรง ในครอบครัวพ.ศ. ๒๕๕๐ ๔.๓) ปญหาในการบังคับใชพระราชบัญญัติฯ ( กฎหมาย ระบบงานรวมทั้งปญหาที่เกิดจากคำนิยามซึ่งมีผลตอการ จัดเก็บขอมูล และทัศนคติของสังคมและผูปฏิบัติงาน) มี ๓ ประเด็น ดังนี้ ๔.๓.๑) ชองวางในการบังคับใชกฎหมาย มีปญหาในการบังคับใชหลายประการที่สำคัญคือ ชองวางของกฎหมาย ซึ่งมีปญหาในการบังคับใช แมกฎหมายจะมีเพียง ๑๘ มาตรา แตแทบทุกมาตราตองตีความ เชนคำนิยามของบุคคลในครอบครัว ซึ่งรวมถึงอดีตภรรยา อดีตสามี จะครอบคลุมเพียงใดตองขึ้นอยูกับความสัมพันธหรือผลกระทบ ที่อาจเกิดกับบุตรของคูกรณี คำนิยามของคำวา “ความรุนแรงในครอบครัว”ซึ่งหมายรวมถึงความรุนแรงดานจิตใจดวยความรุนแรงทางจิตใจวัดยาก เปนนามธรรมและตองมีบรรทัดฐานในการใหคำนิยามที่ชัดเจนวา อยางไรจึงเปนความรุนแรงทาง “จิตใจ” มีการตีความทาง กฎหมายวาความรุนแรงทางจิตใจตองถึงขนาด สลบ หมดสติ เสียจริต ซึง่ ในความเปนจริงแลว ความรุนแรงในครอบครัวตองการ การชวยเหลืออยางทันทวงที จึงมีผูทรงคุณวุฒิดานกฎหมายหลายทานเห็นวา การทำรายทางจิตใจสงผลกระทบตอพฤติกรรมหรือ สภาวะหรือสุขภาพของผูถ กู กระทำ เชน เหมอลอย คิดอยากฆาตัวตาย หรือมีการใชชวี ติ ประจำวันผิดปกติไป เหลานีอ้ าจตองมีใบรับ รองแพทยมายืนยันดวยอีกทางหนึ่ง

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๔๑ การกำหนดคำนิยามองคประกอบของบุคคลในครอบครัวตามพระราชบัญญัติคุมครองผูถูกกระทำดวยความรุนแรงใน ครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐ ยังมีความแตกตางกัน ทำใหเกิดปญหาความชัดเจนระหวางหนวยงานปฏิบัติ รวมทั้งความชัดเจนในการ จัดเก็บขอมูล โดยเฉพาะกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งแจงวา ขณะนี้ ยังไมสามารถจัดเก็บขอมูลความรุนแรงในครอบครัวแยกออก มาเปนการเฉพาะไดขอมูลที่จัดเก็บหลังจากพระราชบัญญัติฯ บังคับใช ตั้งแตป ๒๕๕๑ เปนตนไป จึงไมจำแนกวาเปนบุคคลใน ครอบครัวและบุคคลอื่นแตจะระบุวาเปน สามี พอ/แม พอเลี้ยง/แมเลี้ยง พอ/แมบุญธรรม ผูดูแล/ผูอุปการะ ลูกชาย/ลูกสาว/ ลูกเลี้ยง พี่นอง/ญาติ แฟน เพื่อน เพื่อนบานเพื่อนรวมงาน นายจาง ลูกจาง ครู นักบวช รวมทั้งบุคคลแปลกหนา และคนราย นอกจากนี้ ระเบียบกระทรวงฯ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติฯ ก็มีชองวางในการบังคับใช เชน กระบวนการ คัดกรองบุคคลใหเปนพนักงานเจาหนาที่ที่ไดรับแตงตั้งจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ซึ่งยุงยาก รวมทั้งตองมีการตรวจสุขภาพจิตดวย ทำใหพนักงานเจาหนาที่ที่ไดรับแตงตั้งมีจำนวนนอยกวามาก เมื่อเทียบกับ จำนวนผูผานการอบรมและไดรับประเมินแลวรวมทั้งแบบกรอกขอมูลตาง ๆ ยังไมครอบคลุมกับการใชงานจริง เชน แบบ คร.๖ ซึ่งเปนแบบการใหความชวยเหลือเบื้องตนในกรณีเขาไปในสถานที่เกิดเหตุ แตในขอเท็จจริง ผูเสียหายอาจเขามารองขอความ ชวยเหลือจากเจาหนาที่เอง หรือไปในชองทางอื่น ๆ เชน โรงพยาบาลแบบ คร.๗ ซึ่งเปนแบบกรอกขอเท็จจริงของพนักงาน เจาหนาที่ ไมครอบคลุมกรณีมีผูถูกกระทำหลายคนในคราวเดียวกัน เปนตน

๔.๓.๒) ระบบงานที่สนับสนุนการบังคับใชตามพระราชบัญญัติฯ รวมทั้งการสรางกลไก เครือขาย และ การเผยแพรประชาสัมพันธ กฎหมายออกแบบใหการดำเนินงานตองอาศัยความรวมมือของกลไก หนวยงานที่เกี่ยวของ

ซึ่งอาจยังมีความเขาใจไมตรงกันในการทำงาน ทำใหขาดความเชื่อมโยง ความรวมมือ รวมไปถึงการรับและสงตอเรื่องใหกับ หนวยงานที่มีภารกิจรองรับ กลไกปฏิบัติงาน เชน ตำรวจ อาจไมมีความรูในการบังคับใชพระราชบัญญัติฯ หรือมีความรูความเขาใจแตไมตระหนัก ตอประเด็นปญหาที่เกิดขึ้นในครอบครัว มองวาเปนเรื่องสวนตัว นอกจากนี้ ในการทำคดี หากคูกรณีสามารถประนีประนอมกัน ไดโดยผูกระทำความรุนแรงตองปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไวในบันทึกขอตกลงเบื้องตนกอนการยอมความอาจเลยระยะเวลาที่ กำหนดใหผัดฟอง (ฟองภายใน ๔๘ ชั่วโมง ผัดฟองไดไมเกิน ๓ คราว ๆละไมเกิน ๖ วัน) เจาหนาที่ตำรวจเกรงวา จะขาดผัดฟอง แมจะขออัยการสูงสุดยื่นฟองตอศาลไดแตผูบังคับบัญชาจะมองวาเปนเรื่องการบกพรองในการปฏิบัติหนาที่ อีกทั้งการดำเนินงาน ตามพระราชบัญญัติฯ เจาหนาที่ตำรวจมองวา มีความละเอียดออนยุงยากในขั้นตอนการดำเนินคดีมากกวาการใชกฎหมายอาญา ธรรมดาจึงมักจะไมนำพระราชบัญญัติฯ มาใชเมื่อเกิดเหตุความรุนแรงในครอบครัว นอกจากนี้ การประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาชนเขาถึงสิทธิและใชประโยชนจากตามพระราชบัญญัติฯ ยังไม ครอบคลุมทั่วถึง ประชาชนจึงอาจไมรูชองทางการรับแจงเหตุ และไมรูบทบาทของชุมชนในการแจงเหตุ นอกจากนี้ แกนนำ ในพื้นที่ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการนำพระราชบัญญัติไปสูการปฏิบัติในชุมชนอาจยังไมทราบวามีพระราชบัญญัติฯหรือไมทราบ ถึงประโยชนของพระราชบัญญัติฯที่สำคัญคือ ผูเสียหายอาจยังไมทราบวา พระราชบัญญัติฯ วามุงเนนการคุมครองสิทธิผูถูก กระทำดวยความรุนแรงในครอบครัวทำใหเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผูกระทำไมใหกลับมากระทำซ้ำ และยังชวยรักษา สถานภาพครอบครัวไวได ไมเนนการลงโทษจำคุกซึ่งอาจสงผลกระทบแกบุคคลในครอบครัว โดยเฉพาะหากผูกระทำเปนผูหา เลี้ยงหลักของครอบครัว

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๔๒ ๔.๓.๓) ทัศนคติของสังคมและผูป ฏิบตั งิ าน ทัง้ ในสวนผูป ฏิบตั งิ าน ประชาชน และสังคมยังมองวาความรุนแรงในครอบครัวั เปนเรื่องสวนตัว คนภายนอกไมควรไปยุงเกี่ยว เหมือนไฟในอยานำออก ผูถูกกระทำดวยความรุนแรงในครอบครัวซึ่งสวนใหญ เปนเด็กและสตรีก็ไมกลาจะเปดเผยเรื่องภายในครอบครัว ผูหญิงมักไมคอยกลาที่จะดำเนินคดีกับอีกฝาย ที่เปนสามีซึ่งมักเปน หัวหนาครอบครัวและเปนกำลังหลักในการหารายไดเลี้ยงครอบครัว บางครั้งก็เปนเรื่องที่รูสึกวานาอับอายที่จะใหบุคคลอื่นทราบ เรื่องครอบครัวดวยเกรงวา ตนจะถูกมองวาเปนผูหญิงไมดี บกพรองในหนาที่ของภรรยา หรือเกรงเสียชื่อเสียงจึงเสมือนตกอยู ในสภาวะน้ำทวมปากที่ไมสามารถจะเรียกรองขอความชวยเหลือ ในขณะเดียวกัน แมผูเสียหายบางรายกลาที่จะดำเนินคดีกับ ผูกระทำความรุนแรงในครอบครัว ผูปฏิบัติงานในกระบวนการยุติธรรม/กลไกที่เกี่ยวของยังอาจละเลยที่จะดำเนินการ เนื่องจาก มองวา ความรุนแรงในครอบครัวเปนเรือ่ งสวนตัว หากเขาไปยุง เกีย่ วดวยแลว เมือ่ คูก รณีกลับมาคืนดีกนั ก็จะกลายเปน “หมาหัวเนา” ผูปฏิบัติงานบางคนอาจขาดความละเอียดออนในมิติครอบครัว โดยเฉพาะอยางยิ่ง ความตระหนักในประเด็นมิติหญิงชายใน ครอบครัว ซึ่งเปนปจจัยสำคัญที่จะทำใหความชวยเหลือสอดคลองกับความตองการ ผูไดรับผลกระทบ จำเปนตองสรางความ เขาใจและรณรงคอยางตอเนื่อง ๔.๔.แผนการดำเนินงานและแนวโนมในอนาคต แผนการดำเนินงานและแนวโนมในอนาคตมี ๖ ประการ ๔.๔.๑) การพัฒนาระบบขอมูลดานความรุนแรงตอเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว ใหครอบคลุมประเด็นทีเ่ กีย่ วของ เพื่อการเผยแพรประชาสัมพันธใหสาธารณชนเขาถึงขอมูลเชิงคุณภาพไดมากขึ้น รวมทั้งเปนแหลงขอมูลการแลกเปลี่ยนเรียนรู กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (พม.) มีแผนที่จะดำเนินการ ดังนี้ - ดำเนินการรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับการใหความคุมครองชวยเหลือผูถูกกระทำความรุนแรง ใหเปนระบบที่สามารถ ตอบสนองตอการรับรูของประชาชน และสามารถนำมาประกอบในการกำหนดนโยบาย และแผนงานไดอยางครอบคลุมมากขึ้น - พัฒนาเว็บไซต เพื่อใหมีขอมูลความรุนแรงตอเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว ที่จัดเก็บโดยหนวยงานตาง ๆ กวางมากขึ้นเกิดความเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนระหวางหนวยงาน โดยจะมีคณะกรรมการดูแลระบบฐานขอมูลระดับชาติ ตั้งแต การกำหนดแนวทางในการจัดเก็บขอมูลที่เปนมาตรฐาน ระบบการเขาถึงขอมูล การสงตอขอมูล และการแลกเปลี่ยนขอมูลที่ ปลอดภัย ไปจนถึงการดูแล และ การบำรุงรักษาระบบ - ฝกอบรมผูใชงานระบบอยางตอเนื่อง การทบทวนใหความรูที่เกี่ยวของ รวมทั้งการแลกเปลี่ยนประสบการณระหวาง ผูใชงานระบบ เพื่อเปนการติดตามผล ปญหาและอุปสรรคในการนำขอมูลเขาสูระบบเปนระยะ เปนที่คาดหวังวา ในอนาคต กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจะเปนศูนยกลางของขอมูลและความรูในประเด็นความรุนแรงตอเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัวในระดับชาติ ๔.๔.๒) การจัดทำแนวทางการปฏิบตั งิ านของกลไกสหวิชาชีพทีเ่ กีย่ วของกับการดำเนินงานตามพระราชบัญญัตคิ มุ ครองผูถ กู กระทำดวยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 ในปจจุบัน หนวยงานที่เกี่ยวของ ซึ่งไดแกกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานตำรวจ แหงชาติ สำนักงานอัยการสูงสุด และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย (บานพักเด็กและครอบครัว และศูนย ปฏิบัติการ เพื่อปองกันการกระทำความรุนแรงในครอบครัว) ไดดำเนินการจัดทำแนวทาง หรือคูมือการปฏิบัติงานของหนวยงานเพื่อ ใหบุคลากรของหนวยงานมีความเขาใจ และมีทิศทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน แตเนื่องจากการดำเนินการตามพระราชบัญญัติ คุมครองผูถูกกระทำดวยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐ มีหลายหนวยงานที่เกี่ยวของ เปนกลไกสำคัญในการขับเคลื่อน พระราชบัญญัติฯ ไปสูการบังคับใชและทุกหนวยงานตองเชื่อมโยงการทำงานเขาดวยกันในแตละขั้นตอนการปฏิบัติ

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๔๓

โดยเฉพาะความรวมมือในการรับและสงตอผูถ กู กระทำดวยความรุนแรงในครอบครัว ประกอบกับแนวทางหรือคูม อื ปฏิบตั งิ าน ของแตละหนวยงานดังกลาวขางตน ยังไมมีการหารือรวมกันอยางจริงจังในแนวทางการปฏิบัติงานรวมกันกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมัน่ คงของมนุษย จึงมีแผนทีจ่ ะดำเนินการจัดทำแนวทางการปฏิบตั งิ านของกลไกสหวิชาชีพทีเ่ กีย่ วของตามพระราช บัญญัติฯ ทั้งระบบงาน โดยมีคณะอนุกรรมการระดับชาติดูแลและกำกับการจัดทำแนวทางดังกลาว เมื่อดำเนินการแลวเสร็จ จะมีการลงนามขอตกลงความรวมมือตามแนวทางการปฏิบัติงานดังกลาวตอไปซึ่งคาดหวังวา การปฏิบัติงานจะเกิดความรวมมือ ระหวางเครือขายสหวิชาชีพทุกระดับที่ชัดเจน สามารถประสานงานเพื่อใหความคุมครองชวยเหลือผูถูกกระทำและผูไดรับผล กระทบอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น ๔.๔.๓) การจัดทำคำนิยามของ “ความรุนแรงในครอบครัว”ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูถูกกระทำดวยความรุนแรง ในครอบครัวพ.ศ.๒๕๕๐ เนื่องจากพระราชบัญญัติฯ ไดกำหนดความหมายของความรุนแรงในครอบครัวและองคประกอบของ ความรุนแรงในครอบครัวไวกวางมาก จึงทำใหมีปญหาในการบังคับใชเนื่องจากการตีความที่แตกตางกัน รวมทั้งปญหาในการจัด เก็บขอมูลของหนวยงานที่เกี่ยวของซึ่งมีความไมชัดเจนวาขอมูลที่จะดำเนินการจัดเก็บเปนขอมูลความรุนแรงในครอบครัวตาม ความหายของพระราชบัญญัติฯ หรือไม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย โดยสำนักงานกิจการสตรีและ สถาบันครอบครัว จึงรวมกับสำนักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (United Nations development Programme: UNDP) กำหนดดำเนินการหาความชัดเจนของคำนิยามตามความหมายของพระราชบัญญัติฯ เพื่อใหเกิดเปนมาตรฐานเดียวกันในการ ปฏิบัติงาน โดยจะนำเสนอคำนิยามดังกลาวตอคณะอนุกรรมการเพื่อปองกันและแกไขปญหาความรุนแรงในครอบครัวใหความ เห็นชอบกอนนำเสนอตอคณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตรครอบครัวแหงชาติซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานเพื่อใหความ เห็นชอบกอนนำไปสูการปฏิบัติตอไป หากคำนิยามตามความหมายของพระราชบัญญัติฯมีความชัดเจนมากขึ้น จะทำใหหนวยงาน และสหวิชาชีพปฏิบัติงานอยางมีมาตรฐานเดียวกันและมีความมั่นใจในการบังคับใชกฎหมายตลอดจนสามารถจัดเก็บขอมูลโดย แยกขอมูลความรุนแรงในครอบครัวตามความหมายของพระราชบัญญัติฯ ออกจากขอมูลความรุนแรงตอเด็กและสตรีอื่น ๆ ที่มา รับบริการในหนวยงานได ๔.๔.๔) การสรางตนแบบที่ดีของศูนยปฏิบัติการเพื่อปองกันการกระทำความรุนแรงในครอบครัว เพื่อนำไปสูการขยายผล ในจังหวัดอื่นๆ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยโดยสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวมีแผนที่จะ สรางมาตรฐานความเขมแข็ง และดำเนินการเสริมสรางความเขมแข็งใหแกศูนยปฏิบัติการฯ ที่มีความพรอมในการดำเนินการ รวมทั้งการสนับสนุนใหศูนยปฏิบัติการฯ มีทักษะการปฏิบัติงานจากการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับคณะผูทรงคุณวุฒิและสหวิชาชีพ จากสวนกลางมีการวางรูปแบบการดำเนินการ และแผนการจัดการรวมกันอยางเปนระบบโดยเฉพาะอยางยิ่ง การสรางเครือขาย การดำเนินงานในระดับจังหวัดและพื้นที่เพื่อนำไปสูการปฏิบัติงานและการแกไขปญหารวมกัน โดยใชศูนยปฏิบัติการฯ เปนศูนย กลางในตัวอยางการประสานงานกับพนักงานเจาหนาที่และเครือขายที่เกี่ยวของ หากศูนยปฏิบัติการฯ ตนแบบมีความเขมแข็งก็ จะนำไปขยายผลสูจังหวัดตาง ๆ ตอไป ในอนาคตจะดำเนินการใหครอบคลุมทุกจังหวัดเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกประชาชน ผูรับบริการ

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๔๔ ๔.๔.๕) การเสริมสรางกลไกการปฏิบตั งิ านอยางตอเนือ่ งรวมทัง้ การติดตามและประเมินผลการปฏิบตั งิ านในปจจุบนั พนักงาน เจาหนาทีท่ ไ่ี ดรบั แตงตัง้ จากรัฐมนตรีวา การกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยยงั มีจำนวนนอยรวมทัง้ กลไกทีเ่ กีย่ วของ เชน พนักงานสอบสวน เจาหนาทีโ่ รงพยาบาลหรือศูนยพง่ึ ไดหลายแหงยังไมมคี วามรูค วามเขาใจเกีย่ วกับการปฏิบตั งิ านตามพระราชบัญญัตฯิ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย โดยสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวจึงมีแผนที่จะดำเนินการ จัดฝกอบรมพนักงานเจาหนาทีโ่ ดยเฉพาะบุคลากรของกระทรวงเองใหครอบคลุมศูนยปฏิบตั กิ ารฯและบานพักเด็กและครอบครัวทุก จังหวัดการสอดแทรกเนื้อหาสาระในการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติฯในหลักสูตรของพนักงานสอบสวนเสริมสรางความรวมมือ กับหนวยงานภาครัฐและเอกชนในการสรางผูประนีประนอมตามพระราชบัญญัติฯนอกจากนี้ ยังมีแผนที่จะติดตามผลการปฏิบัติงานของกลไกขางตนโดยเฉพาะพนักงานเจาหนาทีเ่ พื่อทบทวน ปญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน และเสริมสรางทักษะ/ ความแมนยำและความชำนาญงาน ในประเด็นที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติหนาที่ ๔.๔.๖) การทบทวนเพื่อนำสูการแกไขพระราชบัญญัติคุมครอง ผูถูกกระทำดวยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ และอนุบัญญัติ ที่เกี่ยวของเนื่องจากกฎหมายมีชองวางในการบังคับใช กระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย จึงตองรวบรวมปญหาและ อุปสรรคตาง ๆในการดำเนินงานเพื่อประกอบเปนขอมูลในการแกไข กฎหมายดังกลาว รวมไปถึงอนุบญ ั ญัตทิ ย่ี งั คงเปนปญหาในทางปฏิบตั ิ การแกไขพระราชบัญญัติฯ และอนุบัญญัติที่เกี่ยวของ อาจจะตอง คำนึงถึงความยืดหยุน ในการปฏิบตั งิ านและการมีกองทุนสำหรับดำเนินงาน รวมไปถึงคาตอบแทนตาง ๆ นอกจากนี้ กระทรวง พม. โดยสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว จะดำเนินการขอความรวมมือ หนวยงานที่เกี่ยวของที่ รวมลงนามขอตกลง ความรวมมือการดำเนินการยุตคิ วามรุนแรง ตามพระราชบัญญัติฯ (MOU)เมื่อเดือน มีนาคม ๒๕๕๓โดยเฉพาะอย า งยิ ่ ง สำนั ก งานตำรวจแห ง ชาติ ในการออกระเบียบภายใน ที่เอื้อตอการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน ในการดำเนิ น งานตามพระราชบั ญ ญั ต ิ ด ั ง กล า ว

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๔๕

โซนที่ ๔ กาวไปกับ พม สถานการณการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดลอมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในชวงที่ผานมามีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ผลกระทบจากโลกาภิวัตนไดเชื่อมโยงประเทศในภูมิภาคตางๆ ของโลกใหใกลชิดกันมากขึ้น นำไปสูการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญทั้งใน ดานเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะ การกาวสูความเปนโลกหลายศูนยกลาง อันเนื่องจากการขยายตัวของขั้วอำนาจทางเศรษฐกิจ ใหม คือ บราซิล รัสเซีย อินเดีย และจีน (BRIC) ซึ่งสงผลกระทบในวงกวางตอระบบเศรษฐกิจและการปรับตัวของแตละประเทศ ทำใหการกำหนดทิศทางดำเนินนโยบายการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคตางๆ ทั้งในระดับทวิภาคี ระดับพหุภาคี และภูมิภาคมีความสำคัญเพิ่มมากขึ้นในฐานะเปนเครื่องมือเพื่อสรางอำนาจตอรองทางเศรษฐกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขันของกลุมกับกลุมเศรษฐกิจอื่นๆ ดวยเหตุดังกลาวประเทศไทยจึงตองปรับบทบาทเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง โดยพิจารณา จากสถานการณในบริบทความสัมพันธกบั ประเทศเพือ่ นบานทัง้ ในกรอบอนุภมู ภิ าค กรอบความรวมมืออาเซียน และกรอบภูมภิ าคอืน่ ๆ กาวไปกับ พม.เปนการเสนอและใหความรู ๖ ประเด็น คือ ๑. สถานการณในกรอบอาเซียน ๒. การสรางความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียน ๓. การปรับปรุงและเสริมสรางความเขมแข็งของภาคีการพัฒนาภายในประเทศตั้งแตระดับชุมชนทองถิ่น ใหพรอมตอการ เชื่อมโยงทิศทางการพัฒนาที่เปลี่ยนแปลงในบริบทโลก อาเซียน และอนุภูมิภาค ๔. บทบาทของ พม.ในเวทีอาเซียน ๕.โครงสรางอาเซียนใหมภายใตกฎบัตร ๖..ความรวมมือดานการพัฒนาสังคมในอาเซียนตามความรับผิดชอบของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๔๖

๑. สถานการณในกรอบอาเซียน การเปนประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) เปนความทาทายและโอกาสใหมของไทยทั้งนี้ การจัดตั้งประชาคม อาเซียน ภายในป ๒๕๕๘ มีองคประกอบสำคัญคือ ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN SecurityCommittee : ASC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: SCC) และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Community: SEC) ซึ่งเปน ๓ เสาหลัก ที่จะสงผลใหเกิดความรวมมือทางเศรษฐกิจสังคมและความมั่นคง โดยเฉพาะ ดานเศรษฐกิจที่จะมีการพัฒนาหวงโซมูลคาเพิ่มในภูมิภาค (Regional Value Chain) การเพิ่มความสามารถในการแขงขัน การเพิ่ม อำนาจในการตอรอง และการขยายตลาดอาเซียนที่มีประชากรกวา ๕๕๐ ลานคน ในสวนของประเทศไทย การรวมตัวกันอยางใกลชิดทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคมดังกลาว จะชวยเพิ่มโอกาสทางการคา และการลงทุนใหกับไทย อีกทั้งสงผลใหไทยมีศักยภาพที่จะเปนศูนยกลางทางการคมนาคมและ การขนสงของอาเซียนที่มีการ เคลื่อนยายสินคาบริการ และแรงงาน ระหวางประเทศสมาชิกที่สะดวกขึ้นทั้งยังสามารถใชเปนเวทีผลักดันการแกไขปญหาของ เพื่อนบานและเกื้อหนุนความสัมพันธของไทยในกรอบทวิภาคีเชน ความรวมมือกับมาเลเซียในการลดเงื่อนไขของปญหาสามจังหวัด ชายแดนใต นอกจากนี้ อาเซียนยังชวยสงเสริมความรวมมือในภูมิภาค เพื่อเผชิญกับภัยคุกคามที่สงผลกระทบตอประชาชนโดย ตรงเชน SARs ไขหวัดนก การคามนุษย การตอตานการกอการราย ภัยพิบัติทางธรรมชาติ หมอกควันยาเสพติดปญหาโลกรอน ปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และปญหาความยากจน เปนตน

๒. การสรางความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียน ไทยมีบทบาทนำที่สรางสรรคในเวทีระหวางประเทศดานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจะตองมีการเตรียมการดานตาง ๆ ๕ ดาน คือ ๑)พัฒนาบุคลากรในทุกภาคสวน เชน ภาคเศรษฐกิจ ภาคการผลิต อุตสาหกรรมแปรรูป รวมทั้งผูประกอบการขนาดกลาง และขนาดยอม(SME) โดยเสริมสรางความรู ความเขาใจ ในเรื่องประชาคมอาเซียน ใหไดรับขอมูลและศึกษากฎระเบียบและขอ ตกลงตางๆที่เกี่ยวของใหเขาใจชัดเจน เพื่อใหมีความรูและมีสมรรถนะในการแขงขันในระบบเสรี เพื่อเตรียมความพรอมของธุรกิจ ตลอดจนแนวทางการขยายตลาดตามโอกาสและขอตกลงใหมๆ ที่จะเกิดขึ้นพรอมทั้งมีระบบการเยียวยาชวยเหลือผูไดรับผลกระทบ กระทบจากการปรับโครงสรางและการแขงขัน ๒)ยกระดับการใหบริการดานสุขภาพและบริการดานสาธารณสุข ทั้งบุคลากรและมาตรฐานการใหบริการเพื่อกาวสูการ เปนศูนยกลางการใหบริการสุขภาพของภูมิภาค (Medical Hub) ๓) เสริมสรางความเขมแข็ง ใหสถาบันการศึกษาทัง้ ของรัฐและ เอกชนใหมมี าตรฐานเปนทีย่ อมรับ ในระดับสากลตลอดจนการยก ระดับทักษะฝมอื แรงงานและทักษะ ดานภาษาเพื่อเตรียมความพรอม ของแรงงานไทยเขาสูตลาด แรงงานในภูมภิ าคอาเซียน โดยไทย มีบทบาทนำในอาเซียนรวมกับ ประเทศอื่นที่มีศักยภาพ

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๔๗ ๔)กำหนดมาตรฐานขั้นพื้นฐานของคุณภาพสินคาและบริการ เพื่อปองกันสินคาและบริการนำเขาที่ไมไดคุณภาพซึ่งอาจ กอใหเกิดภัยอันตรายตอชีวิตและทรัพยสิน และกอใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม ตลอดจนการกำหนดคุณสมบัติของแรงงานนำเขา เพื่อใหไดแรงงานที่มีคุณภาพ และตรงกับความตองการ

๓.การปรับปรุงและเสริมสรางความเขมแข็งของภาคีการพัฒนาภายในประเทศ ตั้งแตระดับชุมชน ทองถิ่น ใหพรอมตอการเชื่อมโยงทิศทางการพัฒนาที่เปลี่ยนแปลงในบริบทโลก อาเซียน และอนุภูมิภาค โดยการดำเนิน

การดังตอไปนี้ ๑)เสริมสรางศักยภาพชุมชนทองถิ่นใหรับรูและเตรียมพรอมรับกระแสการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยการพัฒนาองคความรูและสรางเครือขายแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมทั้งสงเสริมการสรางความสัมพันธและความเขาใจทีด่ ตี อ กัน ในระดับประชาชน โดยผานการเชื่อมโยงเครือขายทางวัฒนธรรม ๒)สนับสนุนกลไกการพัฒนาระดับพื้นที่ โดยเฉพาะคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ(กบจ.) คณะกรรมการ บริหารงานกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ (กบก.) คณะกรรมการ กรอ. จังหวัด และคณะกรรมการกรอ. กลุมจังหวัด รวมทั้งหนวยงาน ดานความมั่นคงในพื้นที่ ในการกำหนดยุทธศาสตรการพัฒนาระดับจังหวัดและกลุมจังหวัด โดยเฉพาะจังหวัดชายแดน ใหสามารถ พัฒนาเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบานในทิศทางที่สอดคลองกับนโยบายระหวางประเทศ ๓)สงเสริมศักยภาพดานวิชาการและเครือขายของสถาบันการศึกษาของไทยเพื่อสรางความใกลชิดทางสังคมวัฒนธรรม และปฏิสัมพันธกับประเทศในอนุภูมิภาค

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๔๘

๔. บทบาทของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยในเวทีอาเซียน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยมีบทบาทในเวทีอาเซียน ตามวิสัยทัศนอาเซียน และกฎบัตรอาเซียน ในประเด็นที่เกี่ยวของ ดังนี้ ๑) วิสัยทัศนอาเซียน ค.ศ. ๒๐๒๐ ที่เกี่ยวของกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยตั้งเปาหมาย ที่จะดำเนินการดานตางๆภายในป ค.ศ. ๒๐๒๐ ดังนี้ -ประเทศอาเซียนจะรวมเปนประชาคมอาเซียนที่เปนปกแผนและเอื้ออาทรตอกัน -ประชาชนทุกคนสามารถเขาถึงโอกาสในการพัฒนาบุคคลไดอยางเทาเทียมกัน โดยไมเลือกเพศ เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา หรือพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรม -เปนประชาคมทีไ่ มมปี ญ  หาพืน้ ฐานเรือ่ งความอดอยาก ทุพโภชนาการ ความยากจน หรือการสูญเสีย โดยทีส่ ถาบันครอบครัว ซึ่งเปนพื้นฐานหลัก จะทำหนาที่ดูแลสมาชิกในครอบครัว โดยเฉพาะอยางยิ่ง เด็ก เยาวชน สตรีและผูสูงอายุ -เปนประชาคมที่เอาใจใสเปนพิเศษตอกลุมผูดอยโอกาส ผูพิการ และบุคคลชายขอบ -เปนประชาคมที่ปกครองดวยหลักนิติธรรมและความยุติธรรมทางสังคม ๒) กฎบัตรอาเซียน มีผลบังคับใชเมื่อเดือน ธันวาคม ๒๕๕๑ กฎบัตรอาเซียน เปรียบเสมือนเปนธรรมนูญของอาเซียน ที่จะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสรางองคกรโดยมีเปาหมาย ๓ ประการคือ มีกฎกติกาในการทำงาน (Rules-based) มีประสิทธิภาพ และมีประชาชนเปนศูนยกลาง วัตถุประสงคของกฎบัตร -เพื่อเพิ่มความสามารถในการปรับตัวของภูมิภาคใหอยูรอดเมื่อเผชิญกับปญหาหรือสภาวะ ทาทายตาง ๆ (regional resilience) ดวยการสงเสริมความรวมมือทางการเมือง ความมั่นคง ทางเศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรมใหแนนแฟนยิ่งขึ้น -เพื่อบรรเทาความยากจนและลดชองวางการพัฒนาภายในอาเซียน โดยผานความชวยเหลือและความรวมมือซึ่งกัน และกัน -เพื่อเสริมสรางประชาธิปไตย เพิ่มพูนธรรมาภิบาลและหลักนิติธรรม ตลอดจนสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน โดยคำนึงถึงสิทธิและหนาที่ของรัฐสมาชิกอาเซียน -เพื่อตอบสนองอยางมีประสิทธิภาพ ตามหลักความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ ตอสิ่งทาทายทุกรูปแบบ อาชญากรรม ขามชาติรวมทั้งสิ่งทาทายขามพรมแดนอื่น ๆ -เพื่อเสริมสรางพลังประชาชนและเสริมสรางความเขมแข็งแหงประชาคมอาเซียน -เพื่อเพิ่มพูนความเปนอยูที่ดีและการดำรงชีวิตของประชาชนอาเซียนดวยการใหประชาชนมีโอกาสที่ทัดเทียมกันในการเขาถึง การพัฒนามนุษย สวัสดิการสังคม และความยุติธรรม -เพื่อสงเสริมอาเซียนที่มีประชาชนเปนศูนยกลางโดยทุกภาคสวนของสังคมไดรับการสงเสริมใหมีสวนรวมและไดรับผล ประโยชนจากกระบวนการรวมตัวและการสรางประชาคมของอาเซียน

สสว.๑๐ พส พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๔๙

๕.โครงสรางอาเซียนใหมภายใตกฎบัตรฯ ประชาคมอาเซียนภายในป ๒๕๕๘ ประกอบดวย ประชาคมการเมืองความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจ ประชาคมสังคม วัฒนธรรม ภาคประชาสังคม AIPA, CSO, ABAC แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint : ASCC Blueprint) เพื่อใหเปนสังคมที่เอื้ออาทรและแบงปน (One Caring and Sharing Community) วัตถุประสงค สรางความพรอมของอาเซียนเพื่อรับมือกับความทาทายทางสังคมที่เพิ่มขึ้น อาทิ ปญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำ ยาเสพติด ภัยพิบัติทางธรรมชาติ สิ่งแวดลอม โรคระบาดและโรคติดตอรายแรง การศึกษาและทรัพยากรมนุษย ๑)ใหความสำคัญกับการศึกษา เปาหมายเชิงยุทธศาสตร : เนนการบูรณาการดานการศึกษาใหเปนวาระการพัฒนาของอาเซียนการสรางสังคมความรู โดย สงเสริมการเขาถึงการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานอยางทัว่ ถึง สงเสริมการเลีย้ งดูและพัฒนาเด็กปฐมวัยสรางความตระหนักการรับรูเ รือ่ งอาเซียน ในกลุมเยาวชน ผานทางการศึกษาและกิจกรรมตาง ๆ เพื่อสราง อัตลักษณอาเซียนบนพื้นฐานของมิตรภาพและความรวมมือ ซึ่งกันและกัน การเสริมสรางทักษะในการประกอบการสำหรับสตรีเยาวชน ผูสูงอายุ และผูพิการ เปาหมายเชิงยุทธศาสตร: เนนสงเสริมการมีสวนรวมของสตรี เยาวชน ผูสูงอายุ ผูพิการ กลุมผูดอยโอกาส และกลุม ชายขอบในวัยแรงงานที่มีผลผลิต โดยการฝกอบรมทักษะฝมือเพื่อปรับปรุงคุณภาพความเปนอยู ซึ่งจะชวยสงเสริมการพัฒนาชาติ และการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน ๒)การคุมครองและสวัสดิการสังคม อาเซียนมีพันธกรณีในการสงเสริมความเปนอยูและ คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน โดยลดความยากจนและสงเสริมการคุมครองและสวัสดิการสังคม -เครือขายความปลอดภัยทางสังคมและความคุมกันจากผลกระทบดานลบของการรวมตัวในอาเซียนและโลกาภิวัฒน เปาหมายเชิงยุทธศาสตร:ใหความมั่นใจวาประชาชนอาเซียนทุกคนไดรับสวัสดิการสังคมและการคุมกันจากผลกระทบเชิง ลบจากโลกาภิวัตน และการรวมตัว โดยพัฒนาคุณภาพ ใหครอบคลุม และเกิดความยั่งยืนในการคุมครองทางสังคมและเพิ่มความ สามารถในการจัดการความเสี่ยงทางดานสังคม ๓)ความยุติธรรมและสิทธิอาเซียน มีพันธกรณีในการสงเสริมความยุติธรรม โดยใหสิทธิของประชาชนสะทอนอยูใน นโยบายและทุกวิถีของชีวิต ซึ่งรวมถึงสิทธิและสวัสดิการสำหรับกลุมผูดอยโอกาสและกลุมที่ออนแอเชนสตรี เด็ก ผูสูงอายุ ผูพิการ และแรงงานโยกยายถิ่นฐาน -การสงเสริมและคุมครองสิทธิและสวัสดิการสำหรับสตรี เด็ก ผูสูงอายุ และผูพิการ เปาหมายเชิงยุทธศาสตร ปกปองผลประโยชน สิทธิ รวมทัง้ สงเสริมโอกาสอยางเทาเทียมและยกระดับคุณภาพชีวติ มาตรฐาน การดำรงชีพสำหรับสตรี เด็ก ผูสูงอายุ และผูพิการ -สงเสริมความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรธุรกิจ (CSR) เปาหมายเชิงยุทธศาสตร: สงเสริมใหเรื่องความรับผิดชอบตอสังคมของภาคองคกรธุรกิจเพื่อใหมีสวนในการสนับสนุนการ พัฒนาที่ยั่งยืนในรัฐสมาชิกอาเซียน ๔)การมีสวนรวมของชุมชน เปาหมายเชิงยุทธศาสตรปลูกฝงอัตลักษณอาเซียนและสรางอาเซียนที่มีประชาชนเปนศูนยกลางในการกอตั้งประชาคมโดย สนับสนุนทุกภาคสวนใหมามีสว นรวม“โดยใหสทิ ธิของประชาชนสะทอนอยูใ นนโยบายและทุกวิถขี องชีวติ ซึง่ รวมถึงสิทธิและสวัสดิการ สำหรับกลุมดอยโอกาสและกลุมที่ออนแอ”

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๕๐

๖. ความรวมมือดานการพัฒนาสังคมในอาเซียน ตามความรับผิดชอบของกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย ดำเนินการภายใตกลไกความรวมมือ ๓ ดาน คือความรวมมือดานเยาวชน ดานสตรี และดานการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ซึ่งจะครอบคลุมทั้ง เด็ก ผูสูงอายุ คนพิการ และผูดอยโอกาส ตามเปาประสงคใหอาเซียนเปนประชาคมที่มีความมั่งคั่ง สงบสุข และมีความเอื้ออาทรตอกัน ตาม Master Plan ที่กำหนดไวโดยไดผลักดันให มีการจัดทำความรวมมือ และการจัดทำขอตกลง สำหรับการจัดโครงการและกิจกรรมตาง ๆ ที่จะนำประเทศไทย และประเทศสมาชิกเขาสูการเปนประชาคมอาเชียนที่มีประชาชน เปนศูนยกลาง ดวยการจัดเวทีหารือกับภาคประชาสังคมเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและขอเสนอแนะตาง ๆ กระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย มีบทบาทสำคัญในการผลักดันภาคประชาสังคมเขามามีสว นรวม และมีบทบาทรวมในการสราง ประชาคม ที่จะเปนประชาคมของประชาคมอาเซียนอยางแทจริง โดยใหความสำคัญจากการสงเสริมใหประชากรทุกกลุมไดมีโอกาส ไดใชสิทธิของตนตามสิทธิพื้นฐานที่พึงมีตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะกลุมเด็กและสตรี ผลงานเดนที่ประเทศไทยผลักดันและเปนผูริเริ่ม เชน -ไทยเริม่ ใหภาคประชาสังคมเขามามีสว นรวมในการดำเนินงานภายใตกรอบความรวมมือดานสวัสดิการสังคมโดยเปนผูผ ลักดัน ใหมีการจัดประชุม ASEAN GO-NGO Forum - ASEAN + ๓ Youth Caucus ไทยเปนผูร เิ ริม่ เมือ่ ป ๒๕๕๒ เพือ่ เปนเวทีสำหรับใหเยาวชนมีบทบาท ในการสรางประชาคม อาเซียน และมุงสงเสริมความเขาใจในวัตถุประสงคการรวมกันของประชาคมอาเซียน - ASEAN Social Work Consortium ประเทศไทยรวมรับผิดชอบกับประเทศฟลปิ ปนส ในการกอตัง้ ภาคีความรวมมือระหวาง ผูปฏิบัติงาน นักศึกษาและสถาบันการศึกษาดานสังคมสงเคราะหในอาเซียน เพือ่ ใหเกิดการแลกเปลีย่ นความรูร ะหวางกัน ในการ พัฒนาบุคลากร การพัฒนาการดำเนินงาน การกำหนดมาตรฐาน การปฏิบตั งิ านและการศึกษารวมทัง้ สงเสริมการเรียนการสอน และการประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหในอาเซียน -การประกาศทศวรรษอาเซียนดานคนพิการ (ASEAN Decade of Persons with Disability ๒๐๑๑ – ๒๐๒๐)โดยมีวัตถุ ประสงคเพื่อสงเสริมและพัฒนาคนพิการในภูมิภาคอาเซียน -การจัดตั้งคณะกรรมาธิการอาเซียนสงเสริมและพิทักษสิทธิเด็กและสตรี (ASEAN Commission on the Promotion andProtection of the Right of Women and Children ACWC)ประเทศไทยมีสวนสำคัญและมีบทบาทนำในการผลักดันให เกิด TOR ของ ACWC จนเปนผลสำเร็จภายในระยะเวลา ๖ เดือนของป ๒๕๕๒ โดยมีวัตถุประสงค เพื่อสงเสริมและคุมครอง สิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของสตรีและเด็กในอาเซียนรวมทั้งสงเสริมความเปนอยูที่ดีของสตรีและเด็ก

ในดานสตรี ประเทศไทยเปนเจาภาพจัดการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารระดับภูมภิ าค โดยเนนการชวยเหลือเด็กและสตรีในภาวะวิกฤติจากความรุนแรง และสงเสริมกฎหมายความเสมอภาคหญิงชายสำหรับในป ๒๕๕๔ นี้ ประเทศไทยจะเปนเจาภาพจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ ระดับภูมิภาคดาน CSR เพื่อผลักดันใหภาคธุรกิจเขามามีบทบาท สำคัญในการเสริมสรางประชาคมอาเซียนและประกาศทศวรรษ อาเซียนดานคนพิการอยางเปนทางการดวย เพือ่ ใหประเด็นเรือ่ งคนพิการ เปนความสำคัญอันดับตน ๆ ในกรอบความรวมมือของอาเซียนดานสวัสดิการ สังคมโดยมี วัตถุประสงคเพื่อใหคนพิการไดมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีศักดิ์ศรี และมีสวนรวมในการสรางประชาคมอาเซียน

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๕๑

สวนที่ ๔ พิธีมอบโลประกาศเกียรติคุณ พิธีมอบโลประกาศเกียรติคุณ ใหแกเทศบาลตำบลและองคการบริหารสวนตำบล ที่ดำเนินงานโครงการตำบลตนแบบการ พัฒนาสังคมและสวัสดิการ ในป ๒๕๕๔ เปนปแรกที่กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการไดมอบหมายใหสำนักงานสงเสริมและสนับสนุน วิชาการ ๑-๑๒ดำเนินงานโครงการตำบลตนแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการรวมกับหนวยงานกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย ทุกจังหวัดทั่วประเทศ จังหวัดละ ๓ ตำบล เพื่อแสดงความขอบคุณในความรวมมือขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ุ ใหกบั องคการ ในการขับเคลือ่ นงานพัฒนาสังคมในพืน้ ทีเ่ พือ่ สรางความเขมแข็งใหแกชมุ ชน จึงไดมกี ารมอบโล เพือ่ ประกาศเกียรติคณ บริหารสวนตำบลและเทศบาลตำบล ทีดำเนินงานโครงการตำบลตนแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ จำนวน ๒๒๖ ตำบล จาก ๒๑๐ อำเภอ ๗๕ จังหวัดทั่วประเทศ โดยมีรายชื่อ องคการบริหารสวนตำบลและเทศบาลตำบล ที่ดำเนินงานโครงการตำบลตนแบบการ พัฒนาสังคมและสวัสดิการ ในป ๒๕๕๔ ตามพืน้ ทีค่ วามรับผิดชอบของ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑-๑๒ ตามลำดับ ดังนี้ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑ ๑.จังหวัดนนทบุรี องคการบริหารสวนตำบลบางสีทอง องคการบริหารสวนตำบลพิมลราช องคการบริหารสวนตำบลบางแมนาง ๒.จังหวัดปทุมธานี องคการบริหารสวนตำบลบานงิ้ว องคการบริหารสวนตำบลสวนพริกไทย องคการบริหารสวนตำบลพืชอุดม ๓.จังหวัดพระนครศรีอยุธยา องคการบริหารสวนตำบลเกาะเกิด องคการบริหารสวนตำบลสนามชัย องคการบริหารสวนตำบลบานขลอ ๔.จังหวัดสระบุรี เทศบาลตำบลเมืองเกา เทศบาลตำบลตลาดนอย องคการบริหารสวนตำบลดาวเรือง สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๒ ๕.จังหวัดนครนายก องคการบริหารสวนตำบลหนองแสง องคการบริหารสวนตำบลพรหมณี องคการบริหารสวนตำบลบานพราว

ตำบลบางสีทอง ตำบลพิมลราช ตำบลบางแมนาง

อำเภอบางกรวย อำเภอบางบัวทอง อำเภอบางใหญ

ตำบลบานงิ้ว ตำบลสวนพริกไทย ตำบลพืชอุดม

อำเภอสามโคก อำเภอเมืองปทุมธานี อำเภอลำลูกกา

ตำบลเกาะเกิด ตำบลบานแปง ตำบลตาลเอน

อำเภอบางปะอิน อำเภอบางไทร อำเภอบางปะหัน

ตำบลเมืองเกา ตำบลตลาดนอย ตำบลดาวเรือง

อำเภอเสาไห อำเภอบานหมอ อำเภอเมืองสระบุรี

ตำบลหนองแสง ตำบลพรหมณี ตำบลบานพราว

อำเภอปากพลี อำเภอเมืองนครนายก อำเภอบานนา

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๕๒ ๖.จังหวัดปราจีนบุรี องคการบริหารสวนตำบลดงขี้เหล็ก องคการบริหารสวนตำบลไผชะเลือด องคการบริหารสวนตำบลนาแขม ๗.จังหวัดฉะเชิงเทรา องคการบริหารสวนตำบลคูยายหมี องคการบริหารสวนตำบลเมืองใหม เทศบาลตำบลหัวสำโรง ๘.จังหวัดสมุทรปราการ องคการบริหารสวนตำบลคลองดาน องคการบริหารสวนตำบลแหลมฟาผา องคการบริหารสวนตำบลหนองปรือ ๙.จังหวัดสระแกว องคการบริหารสวนตำบลทับพริก เทศบาลตำบลคลองหาด องคการบริหารสวนตำบลหนองหมากฝาย สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๓ ๑๐.จังหวัดชลบุรี องคการบริหารสวนตำบลคลองตำหรุ องคการบริหารสวนตำบลหนองรี องคการบริหารสวนตำบลพลูตาหลวง ๑๑.จังหวัดระยอง องคการบริหารสวนตำบลวังหวา องคการบริหารสวนตำบลน้ำเปน องคการบริหารสวนตำบลแมน้ำคู ๑๒.จังหวัดจันทบุรี องคการบริหารสวนตำบลวังใหม องคการบริหารสวนตำบลวังโตนด เทศบาลตำบลปากน้ำแหลมสิงห ๑๓.จังหวัดตราด องคการบริหารสวนตำบลนนทรีย เทศบาลตำบลบอพลอย องคการบริหารสวนตำบลหวยแรง

ตำบลดงขี้เหล็ก ตำบลไผชะเลือด ตำบลนาแขม

อำเภอเมืองปราจีนบุรี อำเภอศรีมโหสถ อำเภอกบินทรบุรี

ตำบลคูยายหมี ตำบลเมืองใหม ตำบลหัวสำโรง

อำเภอสนามชัยเขต อำเภอราชสาสน อำเภอแปลงยาว

ตำบลคลองดาน ตำบลแหลมฟาผา ตำบลหนองปรือ

อำเภอบางบอ อำเภอพระสมุทรเจดีย อำเภอบางพลี

ตำบลทับพริก ตำบลคลองหาด ตำบลหนองหมากฝาย

อำเภออรัญประเทศ อำเภอคลองหาด อำเภอวัฒนานคร

ตำบลคลองตำหรุ ตำบลหนองรี ตำบลพลูตาหลวง

อำเภอเมือง อำเภอเมือง อำเภอสัตหีบ

ตำบลวังหวา ตำบลน้ำเปน ตำบลแมน้ำคู

อำเภอแกลง อำเภอเชาชะเมา อำเภอ ปลวกแดง

ตำบลวังใหม ตำบลวังโตนด ตำบลปากน้ำแหลมสิงห

อำเภอนายายอาม อำเภอนายายอาม อำเภอแหลมสิงห

ตำบลนนทรีย ตำบลบอพลอย ตำบลหวยแรง

อำเภอบอไร อำเภอบอไร อำเภอเมือง

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๔ ๑๔.จังหวัดสุพรรณบุรี องคการบริหารสวนตำบลดอนคา องคการบริหารสวนตำบลหนองโพธิ์ เทศบาลตำบลเขาดิน ๑๕.จังหวัดกาญจนบุรี องคการบริหารสวนตำบลบอพลอย เทศบาลตำบลแกงเสี้ยน องคการบริหารสวนตำบลบานใหม ๑๖.จังหวัดนครปฐม องคการบริหารสวนตำบลสระพัฒนา องคการบริหารสวนตำบลบางหลวง องคการบริหารสวนตำบลดอนตูม ๑๗.จังหวัดประจวบคีรีขันธ องคการบริหารสวนตำบลวังกพง องคการบริหารสวนตำบลอางทอง องคการบริหารสวนตำบลกำเนิดนพคุณ ๑๘.จังหวัดเพชรบุรี องคการบริหารสวนตำบลถ้ำรงค องคการบริหารสวนตำบลวังไคร เทศบาลตำบลเขายอย ๑๙.จังหวัดราชบุรี องคการบริหารสวนตำบลคลองตาคต องคการบริหารสวนตำบลจอมประทัด องคการบริหารสวนตำบลดอนแร ๒๐.จังหวัดสมุทรสงคราม องคการบริหารสวนตำบลเหมืองใหม องคการบริหารสวนตำบลคลองเขิน องคการบริหารสวนตำบลคลองโคน ๒๑.จังหวัดสมุทรสาคร องคการบริหารสวนตำบลอำแพง องคการบริหารสวนตำบลทาเสา เทศบาลตำบลหลักหา

๕๓ ตำบลดอนคา ตำบลหนองโพธิ์ ตำบลเขาดิน

อำเภออูทอง อำเภอหนองหญาไซ อำเภอเดิมบางนางบวช

ตำบลบอพลอย ตำบลแกงเสี้ยน ตำบลบานใหม

อำเภอบอพลอย อำเภอเมือง อำเภอทามวง

ตำบลสระพัฒนา ตำบลบางหลวง ตำบลดอนตูม

อำเภอกำแพงแสน อำเภอบางเลน อำเภอบางเลน

ตำบลวังกพง ตำบลอางทอง ตำบลกำเนิดนพคุณ

อำเภอปราณบุรี อำเภอทับสะแก อำเภอบางสะพาน

ตำบลถ้ำรงค ตำบลวังไคร ตำบลเขายอย

อำเภอบานลาด อำเภอทายาง อำเภอเขายอย

ตำบลคลองตาคต ตำบลจอมประทัด ตำบลดอนแร

อำเภอโพธาราม อำเภอวัดเพลง อำเภอเมือง

ตำบลเหมืองใหม ตำบลคลองเขิน ตำบลคลองโคน

อำเภออัมพวา อำเภอเมือง อำเภอเมือง

ตำบลอำแพง ตำบลทาเสา ตำบลโรงเข

อำเภอบานแพว อำเภอกระทุมแบน อำเภอบานแพว

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๕๔ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๕ ๒๒.จังหวัดนครราชสีมา องคการบริหารสวนตำบลดานชาง องคการบริหารสวนตำบลหนองมะนาว เทศบาลตำบลโนนไทย ๒๓.จังหวัดชัยภูมิ องคการบริหารสวนตำบลโนนแดง องคการบริหารสวนตำบลหนองไผ องคการบริหารสวนตำบลสมปอย ๒๔.จังหวัดบุรีรัมย องคการบริหารสวนตำบลโคกกลาง เทศบาลตำบลโนนดินแดง องคการบริหารสวนตำบลถนนหัก ๒๕.จังหวัดสุรินทร องคการบริหารสวนตำบลบานผือ องคการบริหารสวนตำบลเมืองบัว องคการบริหารสวนตำบลโคกตะเคียน สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๖ ๒๖.จังหวัดรอยเอ็ด องคการบริหารสวนตำบลคูเมือง องคการบริหารสวนตำบลหนองไผ องคการบริหารสวนตำบลโนนสงา ๒๗.จังหวัดรอยเอ็ด องคการบริหารสวนตำบลหินตั้ง องคการบริหารสวนตำบลโนนขา องคการบริหารสวนตำบลหนองกุงใหญ ๒๘.จังหวัดมหาสารคาม องคการบริหารสวนตำบลหนองไฮ องคการบริหารสวนตำบลหนองจิก องคการบริหารสวนตำบลเขวาใหญ ๒๙.จังหวัดอุดรธานี องคการบริหารสวนตำบลเมืองพาน องคการบริหารสวนตำบลคำบง เทศบาลตำบลหนองเม็ก

ตำบลดานชาง ตำบลหนองมะนาว ตำบลโนนไทย

อำเภอบัวใหญ อำเภอคง อำเภอโนนไทย

ตำบลโนนแดง ตำบลหนองไผ ตำบลสมปอย

อำเภอบานเขวา อำเภอเมือง อำเภอจัตุรัส

ตำบลโคกกลาง ตำบลโนนดินแดง ตำบลถนนหัก

อำเภอลำปลายมาศ อำเภอโนนดินแดง อำเภอนางรอง

ตำบลบานผือ ตำบลเมืองบัว ตำบลโคกตะเคียน

อำเภอจอมพระ อำเภอชุมพลบุรี อำเภอกาบเชิง

ตำบลคูเมือง ตำบลหนองไผ ตำบลโนนสงา

อำเภอเมืองสรวง อำเภอธวัชบุรี อำเภอปทุมรัตน

ตำบลหินตั้ง ตำบลโนนขา ตำบลหนองกุงใหญ

อำเภอบานไผ อำเภอพล อำเภอกระนวน

ตำบลหนองไฮ ตำบลหนองจิก ตำบลเขวาใหญ

อำเภอวาปปทุม อำเภอบรบือ อำเภอกันทรวิชัย

ตำบลเมืองพาน ตำบลคำบง ตำบลหนองเม็ก

อำเภอบานผือ อำเภอบานผือ อำเภอหนองหาน

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๕๕ ๓๐.จังหวัดหนองคาย เทศบาลเมืองทาบอ องคการบริหารสวนตำบลเซิม องคการบริหารสวนตำบลหนองเลิง ๓๑.จังหวัดเลย องคการบริหารสวนตำบลแสงภา องคการบริหารสวนตำบลอาฮี เทศบาลตำบลเชียงคาน ๓๒.จังหวัดหนองบัวลำภู องคการบริหารสวนตำบลหนองสวรรค องคการบริหารสวนตำบลนามะเฟอง องคการบริหารสวนตำบลโคกใหญ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๗ ๓๓.จังหวัดกาฬสินธุ องคการบริหารสวนตำบลสหัสขันธ เทศบาลตำบลหนองหิน องคการบริหารสวนตำบลทุงคลอง ๓๔.จังหวัดมุกดาหาร องคการบริหารสวนตำบลคำบก องคการบริหารสวนตำบลเหลาหมี องคการบริหารสวนตำบลปงขาม ๓๕.จังหวัดสกลนคร องคการบริหารสวนตำบลธาตุทอง เทศบาลตำบลพอกนอย เทศบาลตำบลเชียงเครือ ๓๖.จังหวัดนครพนม องคการบริหารสวนตำบลโคกหินแห องคการบริหารสวนตำบลนาหวา องคการบริหารสวนตำบลพุมแก ๓๗.จังหวัดยโสธร องคการบริหารสวนตำบลคำแมด องคการบริหารสวนตำบลหนองคู องคการบริหารสวนตำบลทรายมูล

ตำบลทาบอ ตำบลเซิม ตำบลหนองเลิง

อำเภอทาบอ อำเภอโพนพิสัย อำเภอบึงกาฬ

ตำบลแสงภา ตำบลอาฮี ตำบลเชียงคาน

อำเภอนาแหว อำเภอทาลี่ อำเภอเชียงคาน

ตำบลหนองสวรรค ตำบลนามะเฟอง ตำบลโคกใหญ

อำเภอเมือง อำเภอเมือง อำเภอโนนสัง

ตำบลสหัสขันธ ตำบลหนองหิน ตำบลทุงคลอง

อำเภอสหัสขันธ อำเภอหนองกรุงศรี อำเภอคำมวง

ตำบลคำบก ตำบลเหลาหมี ตำบลปงขาม

อำเภอคำชะอี อำเภอดอนตาล อำเภอหวานใหญ

ตำบลธาตุทอง ตำบลพอกนอย ตำบลเชียงเครือ

อำเภอสวางแดนดิน อำเภอพรรณานิคม อำเภอเมือง

ตำบลโคกหินแห ตำบลนาหวา ตำบลพุมแก

อำเภอเรณูนคร อำเภอนาหวา อำเภอนาแก

ตำบลคำแมด ตำบลหนองคู ตำบลทรายมูล

อำเภอกุดชุม อำเภอเมือง อำเภอทรายมูล

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๕๖ ๓๘.หวัดศรีสะเกษ

องคการบริหารสวนตำบลตำแย องคการบริหารสวนตำบลเสียว องคการบริหารสวนตำบลกานเหลือง ๓๙.จังหวัดอุบลราชธานี องคการบริหารสวนตำบลกอเอ องคการบริหารสวนตำบลโพธิ์ไทร องคการบริหารสวนตำบลหนองเหลา ๔๐.จังหวัดอำนาจเจริญ องคการบริหารสวนตำบลหนองสามสี องคการบริหารสวนตำบลนาผือ เทศบาลตำบลหวย

สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๘ ๔๑.จังหวัดลพบุรี องคการบริหารสวนตำบลหนองเมือง องคการบริหารสวนตำบลหัวสำโรง องคการบริหารสวนตำบลทามะนาว ๔๒.จังหวัดสิงหบุรี เทศบาลตำบลบางกระบือ เทศบาลตำบลไมดัด เทศบาลตำบลประศุก ๔๓.จังหวัดอางทอง เทศบาลตำบลโพสะ เทศบาลตำบลโคกพุทรา องคการบริหารสวนตำบลตลาดใหม ๔๔.จังหวัดชัยนาท เทศบาลตำบลชัยนาท เทศบาลตำบลดงคอน เทศบาลตำบลโพนางดำตก ๔๕.จังหวัดนครสวรรค องคการบริหารสวนตำบลสระแกว องคการบริหารสวนตำบลหนองกรด องคการบริหารสวนตำบลเขาชายธง

ตำบลตำแย ตำบลเสียว ตำบลกานเหลือง

อำเภอพยุห อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ อำเภออุทุมพรพิสัย

ตำบลกอเอ ตำบลโพธิ์ไทร ตำบลหนองเหลา

อำเภอเขื่องใน อำเภอพิบูลมังสาหาร อำเภอมวงสามสิบ

ตำบลหนองสามสี ตำบลนาผือ ตำบลหวย

อำเภอเสนางคนิคม อำเภอเมือง อำเภอปทุมราชวงศา

ตำบลหนองเมือง ตำบลหัวสำโรง ตำบลทามะนาว

อำเภอบานหมี่ อำเภอทาวุง อำเภอชัยบาดาล

ตำบลบางกระบือ ตำบลไมดัด ตำบลประศุก

อำเภอเมือง อำเภอบางระจัน อำเภออินทรบุรี

ตำบลโพสะ ตำบลโคกพุทรา ตำบลตลาดใหม

อำเภอเมือง อำเภอโพธิ์ทอง อำเภอวิเศษชัยชาญ

ตำบลชัยนาท ตำบลดงคอน ตำบลโพนางดำตก

อำเภอเมือง อำเภอสรรบุรี อำเภอสรรพยา

ตำบลสระแกว ตำบลหนองกรด ตำบลเขาชายธง

อำเภอลาดยาว อำเภอเมอง อำเภอตากฟา

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๕๗ ๔๖.จังหวัดอุทัยธานี เทศบาลตำบลทัพทัน เทศบาลตำบลหนองสระ องคการบริหารสวนตำบลหวยแหง

ตำบลเขาขี้ฝอย ตำบลหนอสระ ตำบลหวยแหง

อำเภอทัพทัน อำเภอทัพทัน อำเภอบานไร

ตำบลหนองหลุม ตำบลหัวดง ตำบลบางลาย

อำเภอวชิรบารมี อำเภอเมือง อำเภอบึงนาราง

ตำบลลานดอกไมตก ตำบลระหาน ตำบลแมลาด ตำบลนิคมสรางตนเอง

กิ่ง อ.โกสัมพีนคร กิ่งอ.บึงสามัคคี อำเภอคลองขลุง อำเภอเมือง

ตำบลบานกลวย ตำบลบานติ้ว ตำบลดงมูลเหล็ก

อำเภอชนแดน อำเภอหลมสัก อำเภอเมือง

ตำบลสมอแข ตำบลวังพิกุล ตำบลไทรยอย

อำเภอเมือง อำเภอวังทอง อำเภอเนินมะปราง

ตำบลรวมจิต ตำบลแสนตอ ตำบลแมพูล

อำเภอทาปลา อำเภอเมือง อำเภอลับแล

ตำบลไกรนอก ตำบลคลองกระจง ตำบลยางซาย

อำเภอกงไกรลาศ อำเภอสวรรคโลก อำเภอเมือง

ตำบลยกกระบัตร ตำบลสมอโคน ตำบลแมกาษา

อำเภอสามเงา อำเภอบานตาก อำเภอแมสอด

๔๗.จังหวัดพิจิตร องคการบริหารสวนตำบลหนองหลุม เทศบาลตำบลหัวดง องคการบริหารสวนตำบลบางลาย ๔๘.จังหวัดกำแพงเพชร องคการบริหารสวนตำบลลานดอกไมตก เทศบาลตำบลระหาน องคการบริหารสวนตำบลแมลาด เทศบาลตำบลนิคมทุงโพธิ์ทะเล สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๙ ๔๙.จังหวัดเพชรบูรณ องคการบริหารสวนตำบลบานกลวย องคการบริหารสวนตำบลบานติ้ว องคการบริหารสวนตำบลดงมูลเหล็ก ๕๐.จังหวัดพิษณุโลก องคการบริหารสวนตำบลสมอแข องคการบริหารสวนตำบลวังพิกุล องคการบริหารสวนตำบลไทรยอย ๕๑.จังหวัดอุตรดิตถ เทศบาลตำบลรวมจิต องคการบริหารสวนตำบลแสนตอ องคการบริหารสวนตำบลแมพูล ๕๒.จังหวัดสุโขทัย องคการบริหารสวนตำบลไกรนอก องคการบริหารสวนตำบลคลองกระจง องคการบริหารสวนตำบลยางซาย ๕๓.จังหวัดตาก องคการบริหารสวนตำบลยกกระบัตร องคการบริหารสวนตำบลสมอโคน องคการบริหารสวนตำบลแมกาษา

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๕๘ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑๐ ๕๔.จังหวัดเชียงใหม เทศบาลตำบลเชิงดอย เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา องคการบริหารสวนตำบลทุงรวงทอง ๕๕.จังหวัดแมฮองสอน องคการบริหารสวนตำบลผาบอง เทศบาลตำบลแมลานอย องคการบริหารสวนตำบลแมสะเรียง ๕๖.จังหวัดลำพูน เทศบาลตำบลริมปง เทศบาลตำบลบานธิ เทศบาลตำบลหนองลอง ๕๗.จังหวัดลำปาง เทศบาลตำบลแมเมาะ องคการบริหารสวนตำบลเสริมขวา องคการบริหารสวนตำบลใหมพัฒนา ๕๘.จังหวัดเชียงราย องคการบริหารสวนตำบลศรีเมืองชุม เทศบาลตำบลนางแล เทศบาลตำบลสันมะคา ๕๙.จังหวัดพะเยา องคการบริหารสวนตำบลแมสุก เทศบาลตำบลจุน เทศบาลตำบลเชียงคำ ๖๐.จังหวัดแพร เทศบาลตำบลปาแมต องคการบริหารสวนตำบลเหมืองหมอ องคการบริหารสวนตำบลตาผามอก ๖๑.จังหวัดนาน องคการบริหารสวนตำบลและ องคการบริหารสวนตำบลถืมตอง องคการบริหารสวนตำบลน้ำแกน

ตำบลเชิงดอย ตำบลเมืองแกนพัฒนา ตำบลทุงรวงทอง

อำเภอดอยสะเก็ด อำเภอแมแตง อำเภอแมวาง

ตำบลผาบอง ตำบลแมลานอย ตำบลแมสะเรียง

เมืองแมฮองสอน อำเภอแมลานอย อำเภอแมสะเรียง

ตำบลริมปง ตำบลบานธิ ตำบลหนองลอง

อำเภอเมืองลำพูน อำเภอบานธิ อำเภอเวียงหนองลอง

ตำบลแมเมาะ ตำบลเสริมขวา ตำบลใหมพัฒนา

อำเภอแมเมาะ อำเภอเสริมงาม อำเภอเกาะคา

ตำบลศรีเมืองชุม ตำบลนางแล ตำบลสันมะคา

อำเภอแมสาย เมืองเชียงราย อำเภอปาแดด

ตำบลแมสุก ตำบลจุน ตำบลเชียงคำ

อำเภอแมใจ อำเภอจุน อำเภอเชียงคำ

ตำบลปาแมต ตำบลเหมืองหมอ ตำบลตาผามอก

อำเภอเมืองแพร อำเภอเมืองแพร อำเภอลอง

ตำบลและ ตำบลถืมตอง ตำบลน้ำแกน

อำเภอทุงชาง อำเภอเมืองนาน อำเภอภูเพียง

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๕๙ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑๑ ๖๒.จังหวัดสุราษฎรธานี เทศบาลตำบลบานนา องคการบริหารสวนตำบลเวียง องคการบริหารสวนตำบลทาสะทอน ๖๓.จังหวัดตรัง องคการบริหารสวนตำบลเกาะเปยะ องคการบริหารสวนตำบลหนองชางแลน องคการบริหารสวนตำบลนาบินหลา ๖๔.จังหวัดนครศรีธรรมรา องคการบริหารสวนตำบลขุนทะเล องคการบริหารสวนตำบลปากพูน องคการบริหารสวนตำบลไชยมนตรี ๖๕.จังหวัดพังงา องคการบริหารสวนตำบลบางไทร องคการบริหารสวนตำบลทาอยู องคการบริหารสวนตำบลถ้ำน้ำผุด ๖๖.จังหวัดชุมพร องคการบริการสวนตำบลบานควน เทศบาลตำบลปากน้ำ องคการบริการสวนตำบลนาสัก ๖๗.จังหวัดระนอง องคการบริการสวนตำบลบางหิน องคการบริการสวนตำบลหาดสมแปน องคการบริการสวนตำบลบานนา ๖๘.จังหวัดพัทลุง องคการบริการสวนตำบลนาทอม เทศบาลตำบลบางแกว เทศบาลตำบลบานพราว ๖๙.จังหวัดกระบี่ องคการบริการสวนตำบลหวยยูง องคการบริการสวนตำบลคลองพน องคการบริการสวนตำบลคลองยาง

ตำบลบานนา ตำบลเวียง ตำบลทาสะทอน

อำเภอบานนาเดิม อำเภอไชยา อำเภอพุนพิน

ตำบลเกาะเปยะ ตำบลหนองชางแลน ตำบลนาบินหลา

อำเภอยานตาขาว อำเภอหวยยอด อำเภอเมือง

ตำบลขุนทะเล ตำบลปากพูน ตำบลไชยมนตรี

อำเภอลานสกา อำเภอเมือง อำเภอเมือง

ตำบลบางไทร ตำบลทาอยู ตำบลถ้ำน้ำผุด

อำเภอตะกั่วปา อำเภอตะกั่วทุง อำเภอเมือง

ตำบลบานควน ตำบลปากน้ำ ตำบลนาสัก

อำเภอหลังสวน อำเภอหลังสวน อำเภอสวี

ตำบลบางหิน ตำบลหาดสมแปน ตำบลบานนา

อำเภอกะเปอร อำเภอเมือง อำเภอกะเปอร

ตำบลนาทอม ตำบลบางแกว ตำบลบานพราว

อำเภอเมือง อำเภอบางแกว อำเภอปาพยอม

ตำบลหวยยูง ตำบลคลองพน ตำบลคลองยาง

อำเภอเหนือคลอง อำเภอคลองทอม อำเภอเกาะลันตา

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๖๐ ๗๐.จังหวัดภูเก็ต องคการบริการสวนตำบลเทพกระษัตรี องคการบริการสวนตำบลกระทู องคการบริหารสวนตำบลเกาะแกว สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑๒ ๗๑.จังหวัดสงขลา เทศบาลตำบลทุงลาน องคการบริหารสวนตำบลนาทับ องคการบริหารสวนตำบลทาขาม ๗๒.จังหวัดสตูล องคการบริหารสวนตำบลละงู องคการบริหารสวนตำบลบานควน องคการบริหารสวนตำบลนาทอน ๗๓.จังหวัดปตตานี องคการบริหารสวนตำบลตันหยงลุโละ องคการบริหารสวนตำบลนาประดู องคการบริหารสวนตำบลบางโกระ ๗๔.จังหวัดยะลา เทศบาลตำบลยูบอเกาะ องคการบริหารสวนตำบลยะหา องคการบริหารสวนตำบลตาเนาะปูเตะ ๗๕.จังหวัดนราธิวาส องคการบริหารสวนตำบลการยูคละ องคการบริหารสวนตำบลพรอน องคการบริหารสวนตำบลลำภู

ตำบลเทพกระษัตรี ตำบลกะทู ตำบลเกาะแกว

อำเภอถลาง อำเภอกะทู อำเภอเมือง

ตำบลทุงลาน ตำบลนาทับ ตำบลทาขาม

อำเภอคลองหอยโขง อำเภอจะนะ อำเภอหาดใหญ

ตำบลละงู ตำบลบานควน ตำบลนาทอน

อำเภอละงู อำเภอเมือง อำเภอทุงหวา

ตำบลตันหยงลุโละ ตำบลนาประดู ตำบลบางโกระ

อำเภอเมือง อำเภอโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์

ตำบลกายูบอเกาะ ตำบลยะหา ตำบลตาเนาะปูเตะ

อำเภอรามัน อำเภอยะหา อำเภอบันนังสตา

ตำบลกายูคละ ตำบลพรอน ตำบลลำภู

อำเภอแวง อำเภอตากใบ อำเภอเมือง

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๖๑

ภาคผนวก

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๖๒ กำหนดการ เวทีวิชาการ “เปดเสรีอาเซียน ๒๕๕๘ : สังคมไทยกาวทันการเปลี่ยนแปลง” วันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๔ ณ หองรอยัลจูบิลี่ บอลรูม อิมแพค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี จัดโดย สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑, ๒, ๓, ๔, ๘, ๙, ๑๐, ๑๑ และ ๑๒ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เวลา ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น .

รายละเอียดกิจกรรม

สถานที่

ผูเขารวมงานลงทะเบียน/รับเอกสาร

บริเวณดานหนาหอง รอยัลจูบิลี่ บอลรูม

๐๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น.

หองรอยัลจูบิลี่ บอลรูม - พิธีกรคุณปนัดดา วงษผูดี กลาวถึงวัตถุประสงคของการจัดงาน - พิธีกรนำเขา วีดีทัศน ประกอบการแสดง - พิธีกรเรียนเชิญผูชวยรัฐมนตรีประจำกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย (ขึ้นบนเวที ยืน บนโพเดียม) - รองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย นางศิรริ ตั น อายุวฒ ั น กลาวรายงาน (โพเดียมดานลาง) - ผูชวยรัฐมนตรีประจำกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กลาวเปดงานและทำพิธีเปดงานเวทีวิชาการอยางเปนทางการ - พิธีมอบโลประกาศเกียรติคุณแกตำบลตนแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการสังคม จำนวน ๒๒๖ ตำบล - พิธีกรเรียนเชิญอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ นายปกรณ พันธุ มอบของที่ระลึก - พิธีกรเรียนเชิญคณะผูบริหารและแขกผูมีเกียรติขึ้นถายภาพหมู พรอมคณะ รับโลรางวัล

๑๑.๐๐ - ๑๒.๐๐ น.

- ปาฐกถาพิเศษเรื่อง“การพัฒนาสังคมและสวัสดิการกับการเขาสูประชาคมอาเซียน” หองรอยัลจูบิลี่ บอลรูม โดย ดร.สุรเกียรติ เสถียรไทย - พิธีกร เรียนเชิญรองอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ นายวิทัศน เตชะบุญ กลาวขอบคุณและมอบของที่ระลึกแด ดร.สุรเกียรติ เสถียรไทย อดีตรองนายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๖๓

เวลา

รายละเอียดกิจกรรม

สถานที่

๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น.

- รับประทานอาหารกลางวัน (หองจูปเตอร ๓-๑๔) - ชมนิทรรศการที่มีชีวิต จำนวน ๒๐ บูธ โดยมีโซนตาง ๆ ประกอบดวย โซนรูจักอาเซียน โซนเรียนรูผลงานเดน โซนประเด็กทาทาย โซนกาวตอไปกับ พม.

๑๓.๓๐ - ๑๔.๐๐ น.

- ชมการแสดงทางวัฒนธรรมเพลงนานาชาติ

๑๔.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.

- การเสวนาทางวิชาการ เรื่อง “เตรียมความพรอมสังคมไทยในการเขาสู หองรอยัลจูบิลี่ บอลรูม ประชาคมอาเซียน” โดย นายสุนทร ชัยยินดีภูมิ รองอธิบดีกรมอาเซียน, ดร.สมเกียรติ ออนวิมล นักวิชาการดานสื่อสารมวลชน, รศ.ดร.กิติพัฒน นนทปทมะดูล อาจารยจากคณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และนางระรินทิพย ศิโรรัตนผูตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย ดำเนินการเสวนาโดย นางสาวปนัดดา วงษผูดี - พิธีกรเรียนเชิญทานรองอธิบดี กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ นายวิทัศน เตชะบุญ ขึ้นกลาวขอบคุณ และมอบของที่ระลึก

๑๖.๐๐ น.

- ปดงานเวทีวิชาการ ประจำป ๒๕๕๔

หองรอยัลจูบิลี่ บอลรูม

หองรอยัลจูบิลี่ บอลรูม

หมายเหตุ : - เวลา ๑๐.๓๐ น. และ ๑๔.๓๐ น. รับประทานอาหารวาง - กำหนดการอาจมีการปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๖๔

วีดีทัศนประกอบการแสดง การแสดงประกอบวีดีทัศน มีนักแสดงที่เปนตัวแทนของประชาชนอาเซียน ตางเพศ ตางวัย ตางสาขาอาชีพเลาเรื่องราว ความตองการในการรวมตัวเปนกลุมประชาคมอาเซียน เพื่อตองการมีคุณภาพชีวิตที่ดี นำไปสูสังคมที่นาอยูและเปนสุข มีความ เอื้ออาทรตอกันและประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต เชน มีความตองการ การเปดเสรีทางการศึกษา การรักษาวิถีวัฒนธรรมทองถิ่น การเพิ่มพูนศักยภาพแรงงาน การมีมาตรฐานดานการพัฒนาสังคม การพัฒนาและวิจัยทางวิทยาศาสตร การเติบโตดานเทคโนโลยี การปกปองสิ่งแวดลอมที่ดีการรักษาทรัพยากร ธรรมชาติ มรดกและวัฒนธรรมของคนในชาติ คนแตละเชื้อชาติลวนตองการชวยเหลือและแกไขปญหาสังคม การขจัดองคกรการคามนุษยใหหมดไป การยุติการทำราย และการใชความรุนแรงภายในครอบครัว การไดรับสวัสดิการและความเปนอยูของผูสูงอายุ การแกปญหาการตั้งครรภไมพรอมของ เด็กและเยาวชนการแกไขปญหายาเสพติด การใหเด็กและสตรีและผูดอยโอกาสทางสังคมไดรับการคุมครองและพิทักษสิทธิ ตองการ ความเสมอภาคของหญิงชาย ตองการใหคนพิการไดใชชีวิตอยางปกติสุขใกลเคียงกับคนปกติ รวมทั้งการปองกันภัยพิบัติเพื่อชุมชน โดยมีเปาหมายรวมกันในการตอกเสาหลัก ๓ เสาหลักใหไดในป ๒๕๕๘ เสาหลักที่ ๑ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงของอาเซียน เพื่อใหอาเซียนเปนสังคมที่สมาชิกมีความไวเนื้อเชื่อใจซึ่งกัน และกัน มีเสถียรภาพ มีสันติภาพ มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน เสาหลักที่ ๒. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพือ่ ใหประชาชนของประเทศสมาชิ ะชาชนของประเทศสมาชิกมีการคาขายระหวางกั ขายระหวางกันมากขึน้ มีการไป กได มาหาสูกันอยางสะดวก มีศักยภาพในการแขงขันกับโลกภายนอกได เสาหลักที่๓. ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน เพืพื่อเปนสังคมที่มีประชาชนเปนศูนยกลางเปน สังคมที่เอื้ออาทร และแบงปนมีความเปนอยูที่ดี สรางความสุขใหหแกมวลมนุษยชาติ โดยเริ่มจากการพัฒนา การเปนเพื่อนบานสูการเปนครอบครัวเดียวกันเกิดการแบงปนองค งคความรูและเตรียมความพรอม อยางมีเหตุผล เพื่อเปนภูมิคุมกันภายในตัวที่ดี ภายใตความรูคูคุคุณธรรมซึ่งนำไปสูคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจสังคม ที่มีความกาวหนาอยางมั่นคงและยั่งยืน โดยมุงหวังที่จะสรางสังคมแหงความชวยเหลือซึ่งกันและกัน หนึง่ เดียว หนึง่ วิสยั ทัศน หนึง่ เอกลักษณ หนึง่ ประชาคมอาเซียน

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๖๕

การแสดงทางวัฒนธรรม

เปนการแสดงศิลปวัฒนธรรมอาเซียน ๑๐ ประเทศและอีก ๖ ประเทศ โดยนำเสนอการแสดง การรายรำตามประเพณีวัฒนธรรมทองถิ่นของแตละประเทศและกลาวคำวาสวัสดีเปนภาษาทองถิ่น รำประกอบเพลง ตามประเพณีวัฒนธรรมทองถิ่น ประกอบภาพธงชาติ คำทักทายและสถานที่สำคัญของแตละประเทศตามลำดับ ดังนี้

ประเทศบรูไน ซาลามัต ดาตัง

ประเทศไทย สวัสดี

ประเทศกัมพูชา

ประเทศเวียดนาม ซินจาว

ซัวสเดย

ประเทศอินโดนีเซีย ซาลามัต เซียง

ประเทศเกาหลี อันยอง ฮาเซโย

ประเทศลาว สบายดี

ประเทศจีน หนี่หาว

ประเทศมาเลเซีย ซาลามัต ดาตัง

ประเทศญี่ปุน โอะไฮโย โกไซมัส

ประเทศพมา มิงกาละบา

ประเทศอินเดีย นมัสเต

ประเทศฟลปปนส กูมูสตา

ประเทศออสเตรเลีย กูดาย มารท

ประเทศสิงคโปร ตาเจียหาว

ประเทศนิวซีแลนด เคียรโอรา

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๖๖

เอกสารประกอบการประชุมเวทีวิชาการ “เปดเสรีอาเซียน ๒๕๕๘: สังคมไทยกาวทันการเปลี่ยนแปลง” วันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๔ ณ หองรอยัลจูบิลี่บอลรูม อิมแพค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี จัดโดย สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑, ๒, ๓, ๔, ๘, ๙, ๑๐, ๑๑ และ ๑๒ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ----------------------------------------------------------------------------------การเปดเสรีอาเซียน ๒๕๕๘ ในมิติของการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย รองศาสตราจารย ดร.กิติพัฒน นนทปทมะดุลย ความนำ พัฒนาการของสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรืออาเซียน กำลังกาวมาสูความตื่นตัวครั้งใหญ ในการ ประชุมสุดยอดอาเซียน ที่บาหลี ประเทศอินโดเนเซีย เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคมป พ.ศ. ๒๕๔๙ (ค.ศ. ๒๐๐๓) สมาชิกอาเซียนสิบ ประเทศใหการรับรองความเห็นพองในปฏิญญาวาดวยความรวมมือ (Declaration of ASEAN Concord II) หรือที่นิยมเรียก สั้นๆ วา Bali Concord II กำหนดใหมีประชาคมอาเซียน ภายในป พ.ศ. ๒๕๖๓ (ASEAN Community by 2020) ประชาคม อาเซียนที่ตองการใหบรรลุการบูรณาการเปนหนึ่งเดียวของบรรดาสมาชิกประเทศสิบประเทศ ประกอบดวยเสาหลักสามเสา ไดแก (ก) ประชาคมการเมืองความมัน่ คงอาเซียน (ASEAN political–security community หรือ ASC) (ข) ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN economic community หรือ AEC) และ (ค) ประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN socio-cultural community หรือ ASCC)องคประกอบทั้งสามมีการรอยรัดอยางแนบแนนและตางหนุนเสริมซึ่งกันและกัน เพื่อนำไปสูสันติภาพ เสถียรภาพ และความมัง่ คัง่ รวมกันทีย่ ง่ั ยืนของภูมภิ าคนีใ้ นการประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ ๑๒ ในวันที่ ๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐ (ค.ศ. ๒๐๐๗) ที่เซบู ประเทศฟลิปปนส ผูนำสมาชิกอาเซียนยืนยันความเห็นพองลงนามในปฏิญญาเซบู (Cebu Declaration on the Acceleration of an ASEAN community by 2015) ในการเรงรัดการกอตั้งประชาคมอาเซียนใหไดภายในป พ.ศ. ๒๕๕๘

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๖๗

แผนการจัดตั้งประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน (Blueprint for the ASEAN socio-cultural community, 2009-2015) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ ๑๓ ที่ประเทศสิงคโปร เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ที่ประชุมไดเห็น พองในการพัฒนาแผนการจัดตั้ง ASCC โดยมีเปาหมายหลักคือ การใหความสำคัญกับประชาชนหรือประชาชนเปนศูนยกลาง (people-centred) และการตอบสนองตอการบรรลุความเปนเอกภาพรวมกันอยางยั่งยืน ในหมูประเทศสมาชิกและประชาชน ของอาเซียน โดยสรางอัตลักษณรวมกัน และสรางสรรคสังคมแหงการแบงปนและเอื้ออาทรตอกัน อันเปนสังคมที่มีความ ปรองดองสมานฉันท ประชาชนไดรับการดูแลใหมีชีวิตความเปนอยูและมีสวัสดิการที่ดี ประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน หรือ ASCC จะใหความสำคัญกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในภูมิภาคนี้ โดยการดำเนินกิจกรรมรวมกัน กิจกรรม ที่เนนประชาชนเปนพื้นฐาน และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม กลาวโดยสรุป ประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียนมีสาระสำคัญที่มุงใหเกิดขึ้นหกประการ คือ (ก) การพัฒนามนุษย (Human Development) (ข) การคุมครองทางสังคมและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) (ค) ความยุติธรรมทางสังคมและการเคารพสิทธิ (Social Justice and Rights) (ง) การดูแลสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน (Ensuring Environmental Sustainability) (จ) การสรางอัตลักษณอาเซียน (Building an ASEAN Identity) และ (ฉ) การลดชองวางของการพัฒนา (Narrowing the Development Gap) เราจะเห็นวา แผนการจัดตั้ง ประชาสังคมวัฒนธรรม หรือ Blueprint for the ASCC นี้เปนบริบทที่สอดรับกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษยโดยตรง

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๖๘

ตารางที่ ๑ ประชาคมอาเซียน พ.ศ.๒๕๕๘ ASEAN Community 2015 ASEAN Security Community (ASC)

ASEAN Economic Community (AEC)

ASEAN Socio-Cultural Community (ASCC)

กติกา คานิยมและบรรทัด ฐานรวมกัน (Rules-based community of shared norms and values)

ตลาดและฐานการผลิตรวมกัน (Single market and production base)

การพัฒนามนุษย (Human development)

เอกภาพ ความสงบสุข ความ แข็งแกรง พรอมทั้งมีความ รับผิดชอบรวมกันเพื่อแกไข ปญหาความมั่นคงที่ ครอบคลุมทุกดาน (Cohesive, peaceful, stable, resilient region with shared responsibility for comprehensive security)

สรางเสริมขีดความสามารถแขงขัน (Competitive economic region)

สวัสดิการสังคมและการ คุมครองทางสังคม (Social welfare and protection)

มีพลวัตรและมองไปยังโลก ภายนอกที่มีการรวมตัวและ พึ่งพาซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น (Dynamic and outwardlooking region in an increasingly integrated and interdependent world)

การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาค (Equitable economic development)

สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social justice and rights)

บูรณาการกับเศรษฐกิจโลก (Integration into global economy)

ความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม (Ensuring environmental sustainability) การสรางอัตลักษณอาเซียน (Building an ASEAN identity) การลดชองวางทางการพัฒนา (Narrowing the development gap)

ASEAN Charter - One Vision, One Identify, One Caring and Sharing Community Source: ASEAN. สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๖๙ ระดับขั้นการพัฒนาของประเทศสมาชิกอาเซียน การพิจารณาการเตรียมความพรอมของสังคมไทยตอการเปดเสรีประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนของ เสาหลักดานประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียนเราจำเปนตองมีพื้นความรูความเขาใจในสถานการณที่เปนอยูจริงของอาเซียน ศาสตราจารย ไมเคิล คัดดี้และคณะ (Michael Cuddy, et al., 2006) เรียบเรียงรายงานใหกับแผนงานสหภาพยุโรปเพื่อ อาเซียน (European Union's Programme for ASEAN) เรื่องการสรางความเขมแข็งใหกับระบบความคุมครองทางสังคม ในอาเซียน(Strengthening social protection systems in ASEAN)ผูเรียบเรียงรายงานไดจำแนกระดับขั้นการพัฒนาของ ประเทศสมาชิกอาเซียนสิบประเทศโดยพิจารณาระดับขั้นการพัฒนาทางเศรษฐกิจและตัวชี้วัดดานสังคมเศรษฐกิจ อาทิ อัตรา การเติบโตทางเศรษฐกิจผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอรายหัว (per capita GDP) และอุบัติการณของความยากจน สัมบูรณ (absolute poverty) รายงานของแผนงานสหภาพยุโรปเพื่ออาเซียนจำแนกประเทศอาเซียนออกเปนสามกลุมใหญ ไดแก (ก) กลุมประเทศเปลี่ยนผาน (transition countries) (ข) กลุมประเทศที่เริ่มประสบความสำเร็จทางเศรษฐกิจ(emerging countries) และ (ค) กลุมประเทศเศรษฐกิจกาวหนา (advanced economic countries) กลุม ทีห่ นึง่ เปนกลุม ทีย่ งั อยูใ นระยะเปลีย่ นผานจากลัทธิเศรษฐกิจสังคมนิยมไปสูร ะบบตลาดเสรี ไดแก ประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สหภาพพมา และเวียดนาม ประเทศเหลานี้มีการใหหลักประกันความมั่นคงทางสังคม กับประชาชนไมมากนัก ทวา กำลังพัฒนาระบบใหมๆ ที่สอดคลองกับทิศทางของเศรษฐกิจที่มีเสรีมากขึ้นกลุมที่สอง เปนกลุม ประเทศที่ถือวาโดยทั่วไปมีประสบการณความสำเร็จทางเศรษฐกิจและมีการกระจายผลพวงการเจริญเติบโตในเชิงสัมพัทธ ในชวงแรกๆ ของทศวรรษที่ ๑๙๙๐ประเทศ ในกลุมที่สอง ไดแก ประเทศอินโดนีเซีย ฟลิปปนสและไทยประเทศในกลุมที่สองนี้มีประวัติความสำเร็จในการขยาย บริการดานการดูแลสุขภาพและการศึกษาไปสูกลุมประชากรสวนตางๆ ไดคอนขางดี ควบคูไปกับมีนโยบายที่นิยมการเติบโต ทางเศรษฐกิจ อยางไรก็ตาม ประเทศเหลานี้มักมีชองวางระหวางคนร่ำรวยและคนยากจน-ที่กวางมาก ถือวามากที่สุดกวากลุม ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคนี้ กลุมที่สาม เปนกลุมที่มีความกาวหนาทางเศรษฐกิจมากที่สุดในบรรดาประเทศสมาชิกอาเซียน ไดแก ประเทศ บรูไนดารุสซาลาม มาเลเซียและสิงคโปร ประเทศกลุมนี้มีการสรางนโยบายการพัฒนาที่กำหนดขึ้น มาจากทั้งภาครัฐและ เอกชน ที่เขามามีสวนรวมการพัฒนาในหลากหลายสาขา ใหความสำคัญกับการลงทุนดานการพัฒนาสังคมเปนอยางมาก มีระบบธรรมาภิบาล(Good governance)ที่นำมาปฏิบัติในชีวิตประจำวันของประชาชน มีระดับการคุมครองทางสังคมที่สูง ทีน่ ำไปสูก ารสรางกำลังแรงงานทีม่ ผี ลิตภาพสูง มีการขยายตัวของอุปสงคภายในประเทศ และมีอตั ราการเติบโตทางเศรษฐกิจเพิม่ ขึน้

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๗๐ ระดับขั้นการพัฒนาของสมาชิกอาเซียน กลุมที่ ๑ กลุมเปลี่ยนผาน (Transition Countries

กลุมที่ ๒ กลุมประสบความสำเร็จทางเศรษฐกิจ (Emerging Countries)

กลุมที่ ๓ กลุมกาวหนา (Advanced Economic Countries

กัมพูชา

อินโดนีเซีย

บรูไนดารุสซาลาม

สปป.ลาว

ฟลิปปนส

มาเลเซีย

สหภาพพมา

ไทย

สิงคโปร

เวียดนาม (Source: data from Michael Cuddy, et al., 2006) ในชวงที่เกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจการเงิน ประเทศสมาชิกอาเซียนสวนใหญมีระดับ GDP รายหัวลดลง โดยอินโดนีเซีย สปป.ลาว และไทยไดรับผลกระทบหนักที่สุด ประเทศไทยและอินโดนีเซีย นั้นประสบกับการถดถอยอยางมาก ระดับ GDP รายบุคคลลดลงตลอดป พ.ศ. ๒๕๔๐ และ พ.ศ. ๒๕๔๑ สองปซอน ตอมาในอีกสองปคือ พ.ศ. ๒๕๔๒ และ พ.ศ. ๒๕๔๓ ประเทศ อาเซียนสวนใหญจึงคอยๆ ฟนตัว อยางไรก็ตาม สภาวะเศรษฐกิจโลกที่ซบเซา ในป พ.ศ. ๒๕๔๔ ทำใหระดับ GDP และ GDP รายบุคคล หดตัวอีกครั้ง อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของสมาชิกอาเซียนพากันติดลบกันเปนสวนใหญ โดยในประเทศฟลิปปนส ติดลบ รอยละ – ๐.๖บรูไนดารุสซาลาม ติดลบ รอยละ–๑.๐ มาเลเซียติดลบ รอยละ–๑.๙ และสิงคโปร อัตราการเติบโตทาง เศรษฐกิจติดลบถึงรอยละ – ๕.๑ เปอรเซ็นต อยางไรก็ตาม ประเทศเวียดนามกลับมีระบบเศรษฐกิจที่แข็งแกรง โดยเติบโต สวนทางกับประเทศอื่นๆ GDPรายบุคคล ของเวียดนามเพิ่มจากรอยละ ๕.๓ ในป พ.ศ. ๒๕๔๓ เปนรอยละ ๕.๔ ในป พ.ศ. ๒๕๔๔ (ASEAN secretariat, 2004citedin Cuddy, 2006) การพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาคอาเซียนสงผลใหเกิดความไมเสมอภาค เทาเทียมที่เพิ่มมากขึ้น และเกิดกลุมประชาชนที่เปราะบาง (vulnerable)และยากจนเพิ่มมากขึ้น กลายเปนปญหาที่รุนแรง ของประเทศสวนใหญภูมิภาคนี้ ในบรรดาคนยากจน ๑๐๐ คน ๕๘ คนเปนคนยากจนที่อยูในเวียดนามและประมาณ ๔๕ คน อยูใน สปป.ลาวและฟลิปปนส คนยากจนในภูมิภาคอาเซียนสวนใหญเปนคนวางงานที่อาศัยอยูในเมืองแรงงานรับจางที่ไมมี ที่ดินทำกินเกษตรกรขนาดเล็กชาวประมง และผูมีรายไดนอยที่ดิ้นรนเพื่อการอยูรอดในชนบท ดังนั้น การสรางงานจึงเปน แรงขับสำคัญของประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศ การวิเคราะหวาผลกระทบจากการเปดเสรีอาเซียน จะนำมาสูการแกไขปญหาความยากจน หรือมาซ้ำเติมใหปญหา หนักหนาสากรรจยง่ิ ขึน้ จะชวยทำใหประเทศไทยเตรียมความพรอมสำหรับการกาวใหทนั การเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญทก่ี ำลังจะมาถึง

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๗๑

การประเมินความกาวหนาของประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน ฮาบิโต อัลดาบา และเทมโปล (Habito, C.F., Aldaba, F.T., & Templo, O.M. 2004) ไดศึกษาวิจัยประเมินความกาวหนา ของการนำแผนปฏิบัติการฮานอยไปสูการดำเนินการ ทั้งนี้ แผนปฏิบัติการฮานอยเกิดขึ้นกอนที่จะมีการลงนามปฏิญญาเซบู ในป ค.ศ. ๒๐๐๗ ทวา กรอบแนวคิดที่คณะผูศึกษาวิจัยนำมาใชเปนกรอบแนวคิดที่นาสนใจ สามารถนำไปประยุกตใชได ทั้งใน ภาพรวมของภูมิภาคและสำหรับการเตรียมความพรอมของประเทศไทย คณะผูศึกษาวิจัยกำหนดกรอบแนวคิดในการประเมินโดยมีองคประกอบหลักในการบูรณาการหกองคประกอบและใชหลัก เกณฑเรื่องประสิทธิผล (effectiveness) ประสิทธิภาพ (efficiency)และความเปนธรรม-เปนฐานสำหรับวิเคราะห องคประกอบ หุกประการ ไดแก (๑)การบูรณาการทางเศรษฐกิจ (Economic integration) (๒)ความรวมมือดานการเงินและเศรษฐกิจมหภาค (Macroeconomic and financial cooperation) (๓)การพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Science and technology development) (๔) การพัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษย (Social and human resource development) (๕)การพิทักษ สิ่งแวดลอมและการพัฒนาอยางยั่งยืน (Environmental protection and sustainable development)และ (๖) สันติภาพและ ความมั่นคงในภูมิภาค (Regional peace and security)

ภาพประกอบที่ ๑ กรอบแนวคิดการประเมินความกาวหนาของแผนปฏิบตั กิ ารฮานอย ECONOMIC INTEGRATION

MACROECONOMIC and FINANCIAL COOPERATION

IMPACT AND AREAS OF SUCCESS

SCIENCE and TECHNOLOGY DEVELOPMENT

ASEAN VISION 2020 EFFICIENCY AND RESOURCE MOBILIZATION SOCIAL and HUMAN RESOURCE DEVELOPMENT

EQUITY AND NARROWING THE DEVELOPMENT GAP

ENVIRONMENTAL PROTECTION and SUSTAINABLE DEVELOPMENT

REGIONAL PEACE and SECURITY

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๗๒ (Source: Habito, Aldaba, & Templo, 2004). สำหรับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยมคี วามเกีย่ วของโดยตรงกับองคประกอบหกประการของประชาคมสังคม วัฒนธรรมอาเซียน ไดแก (ก) การพัฒนามนุษย (Human Development) (ข) การคุม ครองทางสังคมและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) (ค) ความยุตธิ รรมทางสังคมและการเคารพสิทธิ (Social Justice and Rights) (ง) การดูแลสิ่งแวด ลอมอยางยั่งยืน (Ensuring Environmental Sustainability) (จ) การสรางอัตลักษณอาเซียน (Building an ASEAN Identity) และ (ฉ) การลดชองวางของการพัฒนา (Narrowing the Development Gap) ทั้งนี้ พิจารณาไดจากภาพประกอบ ที่ ๒ แสดงกรอบแนวคิดการประเมินประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน ภาพประกอบที่ ๒ กรอบแนวคิดการประเมินประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC) การพัฒนามนุษย (HUMAN DEVELOPMENT สวัสดิการสังคมและการคุม ครอง (SOCIAL WELFARE and PROTECTION)

ผลกระทบและความสำเร็จ (IMPACT AND AREAS OF SUCCESS)

สิทธิและความยุตธิ รรมทางสังคม (SOCIAL JUSTICE and RIGHTS

ASCC in ASEAN 2015 ประสิทธิภาพและการระดมทรัพยากร (EFFICIENCY and RESOURCE MOBILIZATION)

การสรางอัตลักษณอาเซียน (BUILDING an ASEAN IDENTITY)

การดูแลสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน (ENSURING ENVIRONMENTAL) SUSTAINABILITY

ความเปนธรรม (EQUITY) การลดชองวางการพัฒนา (NARROWING the DEVELOPMENT GAP)

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๗๓

การพัฒนามนุษย แผนปฏิบัติการของ ASCC ใหความสำคัญกับการพัฒนามนุษยและการขจัดความยากจน กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษยควรริเริ่มใหมีการจัดตั้งกลไก หรือแผนงานการทำงานดานการพัฒนามนุษยเพื่อขจัดความยากจนกับสมาชิก อาเซียน โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบานที่มีปญหาสังคมรวมกัน ทั้งนี้ ปญหาสังคมหลายประการมีจุดกำเนิด มีเสนทางผานและมี ปลายทาง วนเวียนอยูในกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน อาทิ ปญหาการคามนุษย ปญหาแรงงานขามชาติ และปญหายาเสพติด ปญหาเหลานี้ลวนมีตนตอมาจากความยากจน และความเปราะบางของมนุษย (ณัฐพล ลิปพันธ, ๒๕๕๔) อันที่จริง กระบวนการดำเนินงานดานปองกันและแกไขปญหาเหลานี้ ตลอดจนการพัฒนาเด็ก การพัฒนาสตรี เปนสิ่งที่ สมาชิกอาเซียนไดรวมดำเนินการอยูบางแลว ประเทศไทย นาจะเปนเจาภาพ ในการเสริมสรางความเขมแข็ง (Strengthening the system andprocess) ใหกับระบบและกระบวนการที่ดำเนินงานอยูแลว ทั้งในประเทศไทยและในกลุมเครือขายสมาชิก อาเซียน โดยพิจารณาฐานแนวคิดสามประการ ไดแก (ก) ประสิทธิภาพและการระดมทรัพยากร (Efficiency and resource mobilization) (ข) ผลกระทบและความสำเร็จ (Impact and areas of success) และ (ค) ความเปนธรรม (Equity) ในระดับของการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยพึงจัดการเพิ่มพูนสมรรถนะ (Capacity buildings) ใหกบั บุคลากร โดยพืน้ ฐานการทำงานทีส่ อดคลองกับโอกาสของประชาคมอาเซียน พ.ศ. ๒๕๕๘ ไดแก การผลิต/ พัฒนาบุคลากรใหมีวัฒนธรรมการทำงานที่เคารพสิทธิของประชาชนทุกชาติทุกภาษา (ประชาชนเปนศูนยกลาง) เชนที่ ดร.สุวิทย เมษินทรีย (๒๕๕๓) เรียกวา ตองมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนอยางขนานใหญ บุคลากรตองเขาถึงวัฒนธรรมที่ใหเกียรติทุกๆ ชาติพันธุ ทุกๆ ชาติภาษา (Cosmo Culture) เขาใจในคุณคาของความหลากหลายทางวัฒนธรรม ฯลฯ พื้นฐานตรงนี้เปนสวน สำคัญอยางยิ่ง อันที่จริง ถาวิเคราะหจุดเดน/จุดแข็งของประเทศไทยตอการสรางโอกาสในวาระเปดเสรีอาเซียน ๒๕๕๘ นี้ ในดานภูมิศาสตร ประเทศไทยเปนประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีพรมแดนติดประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศอื่นมากที่สุด ทำใหการเดินทางเขาออกสะดวก ที่สุด ในดานวัฒนธรรมการตอนรับ-ความมีมิตรภาพ และการมีวิถีชีวิตที่คอนขางสงบ มีแบบแผนของการบริโภคการดำเนินชีวิต ประจำวันที่หลากหลาย ซึ่งทำใหผูคนที่มาจากประเทศอื่น มีการปรับตัวในการเลือกดำเนินชีวิตที่เหมาะสมกับตนไดงาย ฯลฯ สิ่ง เหลานี้ ลวนเสริมคุณลักษณะของ Cosmo culture ที่สังคมไทยและบุคลากรนำไปสรางพื้นฐานของการทำงานไดดีสวัสดิการสังคม และการคุมครองทางสังคม ทีมวิจัยของประชาคมยุโรป (EU) ที่ศึกษาเรื่องการสรางเสริมความคุมครองทางสังคมในอาเซียน (Cuddy,M., et al., 2006) สรุปการวิเคราะหประเด็นปญหาทางดานสังคมที่สมาชิกประเทศของอาเซียนกำลังเผชิญอยูมีดังตอไปนี้ (ก) ตลาดแรงงานของอาเซียน ขาดสมดุล (ข) การเคลื่อนยายของแรงงานและปญหาที่เกี่ยวของทั้งในประเทศตนทางและปลายทาง (ค) กลุมประชาชนชายขอบและ ประชาชนที่เปราะบาง และ (ง) ความยากจนและการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ ทีมวิจยั ชุดนี้ ยังวิเคราะหตอ เนือ่ งไปอีก วาประเด็นปญหาหลักสีป่ ระการขางตน วิวฒ ั นาการไปเปนความยุง ยากสลับซับซอน ของปญหามากยิ่งขึ้น เนื่องจาก (ก) ขอจำกัดดานงบประมาณที่นำมาใชเพื่อแกปญหา

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๗๔ ซึ่งเชื่อมโยงกับระดับการพัฒนาเศรษฐกิจของแตละสมาชิกประเทศ (ข) ความกดดันระหวางการจัดสรรงบประมาณ คาใชจายระหวางนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและนโยบายสังคม (ค) โครงสรางของสถาบันที่มีเปนอุปสรรคขอจำกัดตอการพัฒนา ระบบเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก ยิ่งไปกวานั้น สภาพปญหาดานสังคมของสมาชิกอาเซียนยิ่งผนวกความรุนแรงมากขึ้น เนื่องมาจาก (ก) หายนะทางเศรษฐกิจการเงินในชวงปลายทศวรรษ ๑๙๙๐ - กรณีวิกฤตตมยำกุง ป พ.ศ. ๒๕๔๐ และ (ข) หายนะทางธรรมชาติ คือ สึนามิ ในป พ.ศ. ๒๕๔๗ สภาพการณทางเศรษฐกิจและภาวะดอยโอกาสทางสังคม ทีมวิจัยของสหภาพยุโรป สรุปสถานการณทางเศรษฐกิจ ที่สัมพันธกับภาวะดอยโอกาสทางสังคมของอาเซียน ดังตอไปนี้ (ก) ประชาชนมากกวารอยละ ๖๐ ในอาเซียน อาศัยอยูในเขตชนบท (ข) ความยากจน สวนใหญเปนความยากจนในเขตชนบท และมีแนวโนมที่ความยากจนในเขตเมืองเพิ่มมากขึ้นผูหญิง มีภาวะความเปราะบาง (vulnerable) มากกวาผูชาย และผูสูงอายุที่อยูในภาวะเสี่ยง (risk) มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น (ค) การพัฒนาเศรษฐกิจของอาเซียนสงผลกระทบตอความไมเทาเทียมทางรายได (income disparity) ที่มีชองวาง หางออกจากกันยิ่งขึ้น มีชองวางระหวางเมืองและชนบทมากขึ้น ชองวางระหวางแรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบ ตลอดจน ชองวางระหวางภาครัฐและภาคเอกชน (ง) แรงงานที่รับเงินเดือนและคาจาง ตลอดจนแรงงานนอกระบบที่ไมไดคาจางมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ทวา การจางงาน เติบโตนอยกวาการเติบโตของกำลังแรงงาน (จ) การจัดบริการพื้นฐานดานความคุมครองทางสังคมเพื่อคนยากจน กลุมที่แมไมไดเปนกำลังการผลิตโดยตรงทวา มักจะมีผลกระทบเชิงเศรษฐกิจในดานบวก ตอเปาหมายการพัฒนาประเทศของประเทศสมาชิกที่ใหความใสใจตอคนยากจนกลุมนี้ (ฉ) การจัดบริการพืน้ ฐานเพือ่ คุม ครองทางสังคม ไมจำเปนตองเลือกแลก (Trade-off) ระหวางการคุม ครองทางสังคม กับการเติบโตทางเศรษฐกิจ ทัง้ นีเ้ พราะวา การลดความเสีย่ งและลดภาวะเปราะบางของประชาชน มักมีผลเปนการตอบสนองตอการเพิม่ การลงทุนและเพิ่มการเติบโตทางเศรษฐกิจเสมอ การคุมครองทางสังคมจึงมีความสัมพันธตอการเติบโตทางเศรษฐกิจไปในทางบวก อยางมากที่สุด (maximize positive associations) – ไมตองเลือกเพียงอยางใดอยางหนึ่ง อยางที่เคยเขาใจผิดกันมานาน (ช) ระบบคุมครองทางสังคมแบบดั้งเดิม นั้น ไมสามารถปรับตัวใหสอดรับกับอุปสงคของเศรษฐกิจระบบตลาดเสรี ในขณะเดียวกัน เครือขายครอบครัวและชุมชน ทีค่ อ ยๆ เสือ่ มถอย มีผลทำลายพืน้ ฐานของโครงขายความปลอดภัยตามธรรมชาติเหลานี้

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๗๕

ทีมวิจัยของสหภาพยุโรปมีขอเสนอแนะตอ ASEAN ดังนี้ (๑) ใหมีการจัดตั้ง ASEAN Social Protection Action Group ซึ่งมีผูแทนจากกระทรวงการคุมครองทางสังคมและ องคกรพัฒนาเอกชน(NGOs) ที่เกี่ยวของ โดยมีคณะทำงาน (Working group) สำหรับการคุมครองทางสังคมแตละสาขา (๒) ใหมีการจัดประชุมสวนตางๆ อยางสม่ำเสมอ ในกลุมประเทศสมาชิกเพื่อพิจารณาการคุมครองทางสังคมที่แตกตางกัน (๓) จัดใหมีการตกลงเรื่องนิยามศัพทที่เกี่ยวของกับการคุมครองทางสังคมรวมกัน (๔) จัดตั้งฐานขอมูลที่ใชรวมกัน โดยเปนฐานขอมูลเกี่ยวกับประเด็นทางสังคมและมาตรการดานการคุมครองทางสังคม ที่แตละประเทศกำลังดำเนินการ โดย (ก) จัดตั้งใหมีการกำหนดมาตรฐานเริ่มตน (initialbaseline) และนโยบายที่สมาชิกอาเซียนแตละประเทศสามารถนำมา ใชเปรียบเทียบ (benchmark)กับสถานการณของแตละประเทศได (ข) ปรับปรุงฐานขอมูลใหทันสมัยอยางสม่ำเสมอ (๕) จัดใหมีหนวยวิจัย ที่นำไปสูการเสนอแนะ การสนับสนุนและการสงเสริมความคิดริเริ่มใหมๆ ในภูมิภาค (๖) สรางเสริมความเขมแข็ง (Strengthen) ของเครือขายขอมูลขาวสารและความรูใหไหลลื่นผาน เว็บไซดการคุมครอง ทางสังคมของอาเซียน เชื่อมโยงไปถึงเว็บไซดของประเทศตางๆ (๗) จัดใหมีแนวทางความรวมมือในการสรางความตระหนักทางการเมืองและการรักษาพันธะระหวางสมาชิกอาเซียน (๘) บูรณาการพลังความทุมเทของภาครัฐ องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) และชุมชน โดยกำหนดเปาหมาย ในการคุมครอง ทางสังคมรวมกัน (๙) ใหรัฐบาลของสมาชิกอาเซียนทุกประเทศมีพันธะผูกพันที่จะจัดตั้งฐานเริ่มตนในดาน วัตถุประสงค มาตรการ และ มาตรฐานในการคุมครองทางสังคมแตละดาน (๑๐) จัดตั้งโครงการทดลอง (Pilot project) ระหวางประเทศ โดยใชมาตรการที่มาจากการตกลงรวมกันอาจใชเวลาดำเนิน การประมาณ ๓ ป โดยการสนับสนุนการเงินงบประมาณกองทุนหรือองคกรระหวางประเทศ เพื่อ ก) เปรียบเทียบผลสำเร็จที่เกิดขึ้นในระยะเวลาที่ดำเนินการ (ข) เรียนรูอุปสรรคที่ไมอาจบรรลุมาตรฐานดังกลาว (ค) แสวงหาการปฏิบัติที่ดี (Best practice) ในนโยบายที่ริเริ่ม และพยายามผลักดันใหมีการขับเคลื่อนการปฏิบัติ ที่ดี ไปสูสมาชิกอาเซียน (ง) จัดการประชุมอยางสม่ำเสมอเพื่ออภิปรายและวางแผนความกาวหนา – ใชกรณีศึกษาจากประเทศตางๆ เพื่อสราง ความกาวหนาและกำหนดแผนการในอนาคต (๑๑) กำหนดใหมมี าตรการเชิงนโยบายและกฎหมายจำนวนหนึง่ ทีส่ ามารถนำไปดำเนินการไดในสมาชิกอาเซียน ทุกประเทศ ตัวอยาง เชน การดำเนินการดานสิทธิของแรงงานอพยพ ในอุตสาหกรรมกอสรางอุตสาหกรรมการทองเที่ยว (๑๒) เตรียมการใหมีแผนปฏิบัติการดานมาตรการการคุมครองทางสังคมในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ (๑๓) ริเริม่ ใหมกี ารดำเนินการดานการสรางสมรรถภาพ (capacity building) ใหกบั ผูม สี ว นไดเสียประโยชน (stakeholders) ในระดับภูมภิ าค ตัวอยางเชน (ก) การเสนอโครงการทดลองดานการคุมครองเด็ก การฝกอบรมผูที่ทำหนาที่ใหบริการในหนวยงานที่เกี่ยวของกับอนุสัญญา วาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child) ผูที่ทำหนาที่ดานการพัฒนาเด็กและดูแลเด็กเล็ก

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๗๖

Early Childhood Care and Development) หรือผูที่ทำงานกับเด็กที่จำเปนตองมีการคุมครองเปนพิเศษ (Children in Need of Special Protection) ซึ่งถือเปนกลุมที่เหมาะสมที่สุดที่จะเริ่มโครงการความรวมมือ ระหวางสมาชิกอาเซียน และ (ข) ใหมีการแลกเปลี่ยนบุคลากร เพื่อวัตถุประสงคดานการถายทอดความรูและ การไหลลื่นของขอมูลขาวสาร ขอเสนอทั้งสิบสามประการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยพึงนำไปพิจารณาดำเนินการไดโดย เปนผูริเริ่มในการประสานงานกับสมาชิกอาเซียนอื่นๆ อันที่จริง ไทยเปนผูนำแถวหนา เปนผูริเริ่มใหมีการประชุมจัดตั้งสมาคม ASEAN มาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๑๐ในวาระของการตื่นตัว ASEAN 2015 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยใน ฐานะองคกรหลักในไทยที่ทำหนาที่ดานสวัสดิการสังคมและการคุมครองทางสังคม นาจะมีบทบาทเปนผูนำอยางสำคัญและ อยางสงางามในกิจกรรมที่อยูในกรอบขอเสนอขางตน สรุป การเปดเสรีอาเซียนหรือประชาคมอาเซียน ๒๕๕๘ นาจะใหโอกาสกับประเทศไทยอยางมาก ในเวทีวิชาการที่กลาวถึง ประชาคมอาเซียน หลายๆ เวทีในระยะนี้ ตางๆ เห็นวา ถาขาดการเตรียมความพรอมที่ดี โอกาสของไทยก็จะลดนอยถอยลง ไทยมีจุดแข็งหลายประการที่จะชวยสงเสริมใหคนไทยไดรับประโยชนและในดานของประชาคมสังคมวัฒนธรรมอาเซียน หรือ ASCC กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยมีความโดดเดนหลายประการที่สามารถกาวไปเปนผูนำแถวหนา ของการดำเนินการเพื่อบรรลุวัตถุประสงคของประชาสังคมวัฒนธรรมอาเซียนในที่สุด. เอกสารอาง อิกิติพัฒน นนทปทมะดุลย. (2554). นโยบายสังคมเปรียบเทียบ. คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. กิติพัฒน นนทปทมะดุลย. (2553). ระบบรัฐสวัสดิการเปรียบเทียบในเอเซียตะวันออกและเอเซียตะวันออกเฉียงใต. เอกสารคำสอนวิชา สค.632 นโยบายสวัสดิการสังคมเปรียบเทียบ. ภาค 2/2553 หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ณัฐพล ลิปพันธ. (๒๕๕๔). บันทึกความเขาใจ:อำนาจและระบบในการขับเคลื่อนกระบวนการปองกันและแกไขปญหา การคา มนุษยไทย-ลาว. การประชุมทางวิชาการประจำป ๒๕๕๔ เรื่อง อนาคตประเทศไทย ๒๕๖๓ วันที่ ๑๘-๑๙สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๔ โรงแรมแมนดาริน กรุงเทพมหานคร ลักษณาจันทร เลาหพันธุ. (๒๕๕๓). การบรรยายเรื่อง“บทบาทประเทศไทยในการรวมสรางประชาคมอาเซียน สุริยา จินดาวงษ. (๒๕๕๔). การบรรยายเรื่อง “ประชาคมอาเซียน ค.ศ. 2015 โอกาสและความทาทายของไทย สุวิทย เมษินทรีย. (๒๕๕๓). Community connectivity civil service: การเตรียมความพรอมขาราชการไทย สูประชาคม อาเซียน ผานมุมมองนักกลยุทธภาครัฐ. การประชุมระหวางสวนราชการกับสำนักงาน ก.พ.เรื่อง“วิวัฒนระบบขา ราชการสูประชาคมอาเซียน”วันที่ ๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๓.

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๗๗

ASEAN Secretariat. (2009). The ASEANSocio-Cultural Community (ASCC) Plan of Action. (www.asean.org/16832.htm). Cuddy, M., et al. (2006). Strengthening social protection systems in ASEAN.Final Report. The European Union' Programme for ASEAN. Cuyvers, L., & Tummers, R. (2007). The road to an ASEAN Community: How far still to go?CAS Discussion paper No. 57. Centre for ASEANStudies and Centrefor International Management and Development Antwerp. Habito, C.F., Aldaba,F.T., & Templo, O.M. (2004). An assessment study onthe progress of ASEAN regional integration: The Ha Noi Plan of Action toward ASEAN Vision2020. REPSF Project 03/006b: Final Report. Huong, L.T., (2010). Many faces and one identity? ASEAN in the case of humanrights regimeAsia-Pacific Journal of Social Sciences. Special Issue. (1), December 2010:pp. 56-70. ILO. (2007). Labour and social trends in ASEAN 2007: Integration, challenges and opportunities.Bangkok, International Labour Suharto, E. (2007). Social protection systems in ASEAN: Social policy in a comparative analysis. Paper presented at The 15th Symposium of the International Consortium for Social Development, The Hong Kong Polytechnic University, Hong Kong 16-20 July 2007.

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๗๘

คณะผูจัดทำ ที่ปรึกษา :

กลุมประสานสำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ นางสาวจินตนา สัจจัง ผูอำนวยการสำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๙ นายศตวรรษ สถิตเพียรศิริ ผูอำนวยการสำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑๐ และผูอำนวยการสำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑ – ¬๘ , ๑๑ – ๑๒

แหลงขอมูล :

กลุมประสานสำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑ – ๑๒

รวบรวมและเรียบเรียงขอมูล : สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๙ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑๐ คณะทำงาน :

สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๙ คณะทำงานโครงการเวทีวิชาการ สสว. ๙ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑๐ นายทบ สงวนสัตย นักพัฒนาสังคมชำนาญการพิเศษ นางวันทนีย วงศเสรี นักพัฒนาสังคมชำนาญการ นางสาววราภรณ สัจจะเดช นักพัฒนาสังคมชำนาญการ นางสาวอัจฉรา สุใจ นักพัฒนาสังคมชำนาญการ นายวิโรจน เรืองสอาด นักพัฒนาสังคมชำนาญการ นางสาวรวีกานต เพชรกาฬ นักพัฒนาสังคมชำนาญการ นางศิริวรรณ ถาวร นักพัฒนาสังคมชำนาญการ นางบุษราคัมส วีระนาคินทร นักพัฒนาสังคมชำนาญการ นางสาววิมล กลางประพันธ นักพัฒนาสังคมชำนาญการ นายผาด สุวรรณรัตน นักพัฒนาสังคมชำนาญการ นางสาวพิมพพร เหลาไชย นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ นางสาวภารำพึง อริยะ นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ นายบุญสง ปวงปน ลามภาษาตางประเทศ นายธวัช ปาลี ลามภาษาตางประเทศ นางภัคจีรา มูลเภา ลามภาษาตางประเทศ นางสุรัตน เรืองสอาด พนักงานราชการ นางสาวจีราวรรณ แกวธรรมานุกูล พนักงานราชการ นางสาวกุลวดี ชัยโองคารณ พนักงานราชการ นางสาวเกษรินทร กันโท พนักงานราชการ นางสาวเมษยา อินตา พนักงานราชการ

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


๗๙

สรุป/จัดพิมพ :

สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๙ นางสาวปยะนุช แสนนก นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑๐ นางสาวรวีกานต เพชรกาฬ นักพัฒนาสังคมชำนาญการ นางสาวพิมพพร เหลาไชย นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ นางสาวภารำพึง อริยะ นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ นางสาวจีราวรรณ แกวธรรมานุกูล พนักงานราชการ นางสาวเกษรินทร กันโท พนักงานราชการ นางสาวเมษยา อินตา พนักงานราชการ

ออกแบบรูปเลม/ภาพ : นายผาด นายธวัช นางสาวจีราวรรณ สถานที่จัดพิมพ :

สุวรรณรัตน ปาลี แกวธรรมนุกูล

นักพัฒนาสังคมชำนาญการ ลามภาษาตางประเทศ พนักงานราชการ

สำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑๐ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

: กันยายน ๒๕๕๔

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


รายงานเวทีวิชาการ “เปดเสรีอาเซียน:สังคมไทยกาวทันการเปลี่ยนแปลง”

กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ

โดยสำนักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๙-๑๐ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย

สสว.๑๐ พส.พม. ๒๕๕๔ tpso10.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.