รายงานการศึกษาการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคธุรกิจในการช่วยเหลือสังคม

Page 1

สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม Technical Promotion and Support Office 10 Chiangmai Province

รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาการมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม

(Corporate Social Responsibility: CSR)

สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม

กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กันยายน 2555


รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาการมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม

(Corporate Social Responsibility: CSR)

โดย

สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม

กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กันยายน 2555


คํานํา รายงานการศึ ก ษา การมี ส ว นร ว มขององค ก รภาคธุ ร กิ จ ในการช ว ยเหลื อ สั ง คม (Corporate Social Responsibility: CSR) จัดทําขึ้นตามวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแนวทางและวิธีการ เขามามีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม และเพื่อนําแนวทางที่ไดไปสงเสริม สนับสนุนการทํางานของหนวยงานองคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม โดยไดขอมูลจากองคกร ภาคธุรกิจที่มีสวนรวมในการชวยเหลือสังคม จํานวน 2 แหง คือ บริษัทชาระมิงค จํากัด และบริษัท สัน ติ ภ าพ (ฮั่ ว เพง 1958) จํ ากั ด การศึกษาครั้งนี้ ไดร วบรวมขอมูล ทุติย ภูมิและขอมูลจากการ สัมภาษณเชิงลึกผูบริหารองคกร การสัมภาษณผูแทนองคกร การสนทนากลุมยอยผูแทนเจาหนาที่ พนักงานขององคกร การสัมภาษณกลุมผูมีสวนไดสวนเสียกับการดําเนินงานขององคกร และผูแทน หนวยงานสวนราชการในพื้นที่ที่เกี่ยวของ การศึกษาและการวิเคราะหขอมูล ไดใชการวิเคราะหเชิงคุณภาพ และนําเสนอเปน ความเรียงเชิงพรรณนา โดยมีกรอบคิดการศึกษา ปจจัยนําเขา คือ แนวทางและวิธีการเขามามีสวน รวมดานการชวยเหลือสังคมและรูปแบบการบริหารจัดการในระดับพื้นที่ ปญหาและผลกระทบ ปจจัย กระบวนการ คือ ปญหาและผลกระทบ ปจจัยผลผลิตผลลัพธ คือ รูปแบบที่ใชในการชวยเหลือสังคม และแนวทางการสงเสริมสนับสนุนการดําเนินงานดานความรับผิดชอบทางสังคมขององคกรภาคธุรกิจ และกรอบเนื้อหาครอบคลุมขอมูลบริษัท เปาหมาย วัตถุประสงค ผลลัพธ กิจกรรมการปฏิบัติที่ดี บทเรียนที่ไดรับ ศักยภาพในการตอยอด รายงานฉบับนี้ เปนการนําเสนอขอมูลปจจุบันที่สามารถ นําไปเปนประโยชนในการจัดทําแผนงานโครงการสงเสริมและสนับสนุนองคกรภาคธุรกิจในการมีสวน รวมชวยเหลือสังคมของผูเกี่ยว ของตอไป การจัดทํารายงานฉบับนี้ สําเร็จลุลว งลงไดดวยดี ดวยความชวยเหลือของบุคคล หลายฝาย โดยเฉพาะผูบริหารบริษัทชาระมิงค จํากัด และผูจัดการบริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาโรงงานจังหวัดเชียงใหม และสาขาโรงงานอําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย ที่ใหการ อนุเคราะหขอมูล รวมทั้งบุคคลผูมีสวนเกี่ยวของในการชวยวิเคราะห จัดพิมพ ตรวจทานรายงาน จน ไดรายงานฉบับสมบูรณ จึงขอบขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ คณะผูวิจัย สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 กันยายน 2555


สารบัญ

หนา

คํานํา สารบัญ บทสรุปสําหรับผูบริหาร

ก ข ง

บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความสําคัญและความเปนมา 1.2 วัตถุประสงค 1.3 กรอบแนวคิด 1.4 ขอบเขตและขอจํากัด 1.5 ระยะเวลา 1.6 นิยามศัพท 1.7 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1 1 3 3 3 4 4 5

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวของ 2.1 แนวคิดความรับผิดชอบตอสังคม 2.2 ISO 2600 มาตรฐานการรับผิดชอบตอสังคม 2.3 แนวคิด ทฤษฎีการมีสวนรวม 2.4 แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจูงใจ 2.5 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ

6 6 15 18 33 41

บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 3.3 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล 3.4 การวิเคราะหขอมูล

44 44 44 45 45

บทที่ 4 ผลการศึกษา สวนที่ 1 ผลการศึกษาบริษัทชาระมิงค จํากัด 1. ขอมูลพื้นฐานบริษัท 2. การมีสวนรวมในการชวยเหลือสังคม 3. ปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะและขอคิดเห็นเพิ่มเติม

46 46 47 58 59


ค หนา สวนที่ 2 ผลการศึกษาบริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด 1. ขอมูลพื้นฐานบริษัท 2. การมีสวนรวมในการชวยเหลือสังคม 3. ปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะและขอคิดเห็นเพิ่มเติม

69 69 77 89

บทที่ 5 บทสรุปและขอเสนอแนะ 5.1 บทสรุป 5.2 ขอเสนอแนะ

101 101 104

บรรณานุกรม

105


บทสรุปสําหรับผูบริหาร

การศึกษาการมีสวนรวมขององคกรภาคเอกชนในการชวยเหลือสังคม การศึกษา การมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ดําเนินงานภายใตแผนแมบทการวิจัย สํานักงานสงเสริมและสนับสนุน วิชาการ 1-12 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ประจําปงบประมาณ 2555 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค 2 ประการ คือ เพื่อศึกษาแนวทางและ วิธีการเขามามีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม และเพื่อนําแนวทางที่ไดไปสงเสริม สนับสนุนการทํางานของหนวยงานองคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม ขอมูลที่ใชในการศึกษามา จาก 5 แหลง คือ ขอมูลสวนแรกเปนขอมูลทุติยภูมิจากอินเตอรเน็ต รายงานผลการดําเนินงานของ องคกร สวนที่ 2 ขอมูลไดมาจากการสัมภาษณเชิงลึกผูบริหารองคกรภาคธุรกิจที่มีสวนรวมในการ ชวยเหลือสังคม จํานวน 2 แหง รวม 2 คน สวนที่ 3 ไดจากการสัมภาษณผูแทนองคกรภาคธุรกิจดาน ความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร และดานประชาสัมพันธ จํานวน 2 แหง รวม 10 คน สวนที่ 3 ได จากการเก็บขอมูลการสนทนากลุมยอยผูแทนเจาหนาที่ พนักงานขององคกรภาคธุรกิจที่ช วยเหลือ สังคม จํานวน 2 แหง รวม 30 คน สวนที่ 4 ไดจากการสนทนากลุมและการสัมภาษณกลุมผูมีสวนได สวนเสียตอการดําเนินงานขององคกรภาคธุรกิจที่มีสวนชวยเหลือสังคม ประกอบดวย ตัวแทนผูนํา ทองที่ ผูนําทองถิ่น ตัวแทนกลุมชาวบาน ตัวแทนอาสาสมัครดานๆ ผูแทนหนวยงาน สวนราชการที่ เกี่ยวของในพื้นที่ จํานวน 2 แหง รวม 30 คน การวิเคราะหขอมูลใชการวิเคราะหเชิงพรรณนา โดยใชกรอบแนวคิดตามทฤษฎี เชิงระบบ ดวยการศึกษาระบบจากปจจัยนําเขา กระบวนการและผลผลิต (input-process-output system) ในสวนปจจัยนําเขา คือ แนวทางและวิธีการเขามามีสวนรวมดานการชวยเหลือสังคม และ รูปแบบการบริหารจัดการในระดับพื้นที่ ปจจัยกระบวนการ คือ ปญหาและผลกระทบ และปจจัย ผลผลิตผลลัพธ คือ รูปแบบที่ใชในการชวยเหลือสังคม และแนวทางการสงเสริมและสนับสนุนการ ดําเนินงานดานความรับผิดชอบทางสังคมขององคกรภาคธุรกิจ โดยมีสมมุติฐาน คือ แนวทางและ วิธี การเข ามามี ส วนรว มขององคกรภาคธุรกิจ ในการชว ยเหลือสังคมของแตล ะองคกรภาคธุรกิจ มี ลักษณะที่ไมแตกตางกัน ซึ่งการบริหารจัดการไมไดสรางผลกระทบและปญหาอุปสรรคแกผูมีสวนได สวนเสียแตอยางใด โดยมีกรอบเนื้อหาการศึกษา ประกอบดวย ขอมูลบริษัท เปาหมาย วัตถุประสงค ผลลัพธและกิจกรรม การปฏิบัติที่ดี บทเรียนที่ไดรับ ศักยภาพในการตอยอด การศึกษาการมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ไดศึกษาองคกรธุรกิจทีมีสวนรวมในการชวยเหลือสังคม จํานวน 2 องคกร คือ บริษัทชาระมิงค จํากัด และบริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด ผลการศึกษา ได แนวทางการในการมีสวนรวมในการชวยเหลือสังคม 2 รูปแบบ คือ 1) รูปแบบที่ 1 บริษัทชาระมิงค จํากัดเปนธุรกิจประเภทบริษัทผูผลิตและผูสงออก ผลิตภัณฑประเภทชา ชาออแกนิค กาแฟออแกนิค และสมุนไพร มีรูปแบบการชวยเหลือสังคมเปน


จ รูปแบบการใหเปลา การสงเคราะห การใหทุนการศึกษา การสงเสริมและสนับสนุนใหความรู รวมทั้ง การจัดสวัสดิการคนงาน พนักงาน เจาหนาที่ของบริษัททั้งในรูปแบบการประกันสังคม และการจัด สวั ส ดิ การให กับ พนั ก งาน เจ า หน าที่ของบริษัทเอง ซึ่งเปน ผลจากการดําเนิน นโยบาย Green Marketing and CSR ดังคําขวัญของบริษัท “หนึ่งความดี ที่ทดแทนคุณแผนดินเกิด ความดีนั้นไมเคย สูญเปลา ดุจเดียวกับหยดน้ํา ไมวาอยูที่ใด ยอมมีความหมาย ใหคุณคา และหลอเลี้ยงสิ่งที่อยูราย รอบ” และมีนโยบายมุงเนนการบริหารจัดการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ถือเปนปจจัยสําคัญนําไปสู ความสําเร็ จขององค กร รู ป แบบและกระบวนการในการชว ยเหลือสังคม เปน รูป แบบการสอนให ชาวบานทําโครงการ สนับสนุนเมล็ดพันธุโดยการซื้อเมล็ดพันธุกาแฟใหชาวบาน มีเจาหนาที่ดาน การเกษตรจัดใหมีการฝกอบรมใหกับเกษตรกรหรือชาวบาน โดยบริษัทใหเมล็ดพันธไปปลูกและมีเจา หนาเกษตรมาอบรมใหคําแนะนํา การปลูก การดูแลรักษา ครบวงจรการปลูก รวมทั้งบริษัทสงเสริม และสนับสนุนการปลูกกาแฟแบบออรแกนนิค เปนการสงเสริมการใชปุยอินทรีย ไมมีการใชปุยเคมี ไม ใชยาฆาหญาในพื้นที่การเกษตร การรับซื้อผลผลิต และการตลาด 2) รูปแบบที่ 2 บริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาเชียงใหม เปนองคกร ผูผลิตภัณฑผักกาดกระปอง พืชผักกระปอง ผลไมกระปอง และปลากระปอง มีรูปแบบหรือโมเดลใน การชวยเหลือสังคม คือ การดําเนินงานภายใตกรอบแนวคิดหลัก คือ “โลกสีเขียว ธรรมชาติที่สมดุล ลดโลกรอน” ซึ่งมีวิธีการและแนวทางการดําเนินงาน 2 แนวคิดหลัก คือ แนวคิด “เศรษฐกิจพอเพียง” และแนวคิด “การเสริมสรางการเรียนรู พัฒนาคูชุมชนไทย” มีโครงการและกิจกรรมภายใตแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง 2 โครงการ คือ โครงการการเพิ่มมูลคาใหเกษตรกรและเพิ่มคุณคาเพื่อลูกคา และ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและประหยัดพลังงาน สวนโครงการตามแนวคิด”การเสริมสราง การเรียนรู พัฒนาคูชุมชนไทย” โครงการ 4 โครงการ คือ โครงการพิราบรวมพลคนปลูกเขียวปลี โครงการนกพิราบอาสาเสริสรางปญญาพัฒนาเยาวชนไทย โครงการใหความรูแกนักเรียน นักศึกษา และนั กวิ จั ย และโครงการพั ฒ นาบุคลากรใหมีป ระสิทธิ ภ าพดว ยการเสริมสรางการเรีย นรูและมี คุณภาพชีวิต (HAPPY 8) โดยมีขอเสนอแนะ คือ 1) รั ฐ ควรให ค วามสํ า คั ญ โดยการจั ด ให มี น โยบายและ งบประมาณ สนับสนุนหนวยงานราชการในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เชน ศูนยพัฒนาสังคมจังหวัด สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม สํานักงาน พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดในพื้นที่ ใหมีแผนงานโครงการ ดานการสงเสริมและ สนับสนุน การสรางรู ความเขาใจการขับเคลื่อนกองทุนสวัสดิการชุมชน และกองทุนตางๆ ที่เกี่ยวของ และควรสงเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน (สวัสดิการสามขา) สงเสริมใหมีการเก็บออมเงิน สงเสริมใหมี การจดทะเบียนเปนองคกรสวัสดิการชุมชน หรือเปนองคกรสาธารณะประโยชน ใหกับบริษัทองคกร ภาคธุรกิจทีมีสวนชวยเหลือสังคม เพื่อเปนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน และทําใหชุมชน สังคมเขมแข็งสามารถพึ่งตนเองไดในที่สุด 2) ขอเสนอตอหนวยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย เชน ศูนยพัฒนาสังคมจังหวัด สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดในพื้นที่ ควรจัดใหมีการ สงเสริมและสนับสนุน การสรางรู ความเขาใจการขับเคลื่อนกองทุนสวัสดิการชุมชน และกองทุนตางๆ


ฉ ที่เกี่ยวของ และควรสงเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน (สวัสดิการสามขา) สงเสริมใหมีการเก็บออมเงิน สงเสริมใหมีการจดทะเบียนเปนองคกรสวัสดิการชุมชน หรือเปนองคกรสาธารณะประโยชน เพื่อเปน การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน และทําใหชุมชน สังคมเขมแข็งสามารถพึ่งตนเองไดในที่สุด ผลการศึกษาการมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคมองคกรธุรกิจ บริษัทชาระมิงค จํากัด และบริษัทสนติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สรุปไดวา การมีสวนรวมในความ รับผิดชอบทางสังคมขององคกรทั้งสอง มีรูปแบบการดําเนินงานดานความรับผิดชอบทางสังคมไม แตกตางกัน กลาวคือ เปนองคกรภาคธุรกิจ ที่จัดเปนองคที่มีสวนรวมชวยเหลือสังคมอยูในประเภท ธุรกิจเพื่อสังคม ที่มีการดําเนินการความรับผิดชอบตอสังคมอยูในกระบวนการทํางานหลักของกิจการ ที่มีกิจการดานความรับผิดชอบทางสังคมครอบคลุมทั้ง 4 ดาน คือ ดานเศรษฐกิจ ดานกฎหมาย ดาน จริยธรรม และดานการใชดุลยพินิจ การดําเนินงาน ดานความรับผิดชอบทางสังคมของบริษัทเปนไป ตามมาตรฐาน ISO 2600 โดยเปนไปตามมาตรฐานดานการกํากับดูแลที่ดี คํานึงถึงสิทธิมนุษยชน มีขอ ปฏิบัติดานแรงงาน การดูแลสิ่งแวดลอม การดําเนินธุรกิจอยางเปนธรรม ใสใจตอผูบริโภค รวมทั้งมี การแบงปนสูสังคมและชุมชน โดยมีขอบเขตความรับผิดชอบดานความรับผิดชอบทางสังคมที่บริษัทได ดําเนินงานครอบคลุม ทั้ง 7 ดาน คือ ดานชุมชน ดานสุขภาพและสวัสดิการ ดานการศึกษา ดานสิทธิ มนุษยชน ดานสภาพสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ ดานสิทธิผูบริโภค และดานวัฒนธรรม และกิจกรรม ดานความรับผิดชอบทางสังคมของบริษัทเปนการดําเนินกิจกรรมขององคกรโดยใชทรัพยากรที่มีอยู ภายในองคกรเปนหลัก การดําเนินกิจการตอความรับผิดชอบทางสังคมที่เปนที่ยอมรับ เปนองคกร บรรษัทภิบาล ไดมาตรฐานความรับผิดชอบทางสังคมที่เปนสากล เปนไปตามมาตรฐาน UN Global Compact และ มาตรฐาน GRI: Global Reporting Initiative และมีความยั่งยืน ซึ่งเปนรูปแบบที่ เหมาะสมในการนําไปสูการสงเสริมขยายผลตอไป


บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความสําคัญและความเปนมา ความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) เปนแนวคิดใหมที่ประเทศพัฒนาแลวอาจนํามาใชเปนเงื่อนไขใหม ในการทําการคากับประเทศ ตางๆ สําหรับอนาคตอันใกลนี้ ซึ่งถือเปนมาตรการกีดกันทางการคาที่มิใชภาษีรูปแบบหนึ่ง หาก องคกรธุรกิจใดไมเรงปรับตัวใหเขากับแนวคิดดังกลาวก็อาจถูกปฏิเสธการทําธุรกรรมดานตางๆ ทั้ง ดานการคาและการลงทุนได ซึ่งแนวคิดความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม (CSR) มีมานาน แลว โดยแฝงอยูในกฎระเบียบทางการคาตางๆ อาทิการปกปองและอนุรักษสิ่งแวดลอม เชน กลุม สหภาพยุโรปมีขอบังคับการปดฉลากสินคาที่บงบอกถึงการอนุรักษสิ่งแวดลอม รวมทั้งกฎระเบียบเรื่อง บรรจุภัณฑและการกําจัดกากขยะที่เกิดจากบรรจุภัณฑที่ใชแลว แนวคิดความรับผิดชอบขององคกร ธุรกิจตอสังคม (CSR) เริ่มเปนที่รูจักและยอมรับในระดับโลกมากขึ้น โดยในการประชุม World Economic Forum ประจําป 2542 นาย Kofi Annan เลขาธิการองคการสหประชาชาติ ไดเรียกรอง ใหองคกรธุรกิจในทุกประเทศแสดงความเปนพลเมืองที่ดีของโลก โดยเสนอบัญญัติ 9 ประการ ที่ เรียกวา “The UN Global Compact” ซึ่งแบงเปน 3 หมวดหลัก คือ หมวดสิทธิมนุษยชน มาตรฐาน แรงงาน และสิ่งแวดลอม โดยเวลาตอมาไดเพิ่มบัญญัติที่ 10 คือ หมวดการตอตานคอรรัปชั่น โดยใน ปจจุบันมีองคกรธุรกิจจากทั่วโลกเปนสมาชิกของ UN Global Compact รวม 1,861 บริษัท ซึ่งเปน บริษัทในประเทศไทย จํานวน 13 บริษัท (ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย, ออนไลน: 2555: http://www.exim.go.th/doc/research/article/ csr.pdf) ในป พ.ศ. 2548 สําหรับประเทศไทยคําวา “ความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอ สังคม หรือ CSR” จัดเปนเรื่องใหมสําหรับคนไทย เพราะเพิ่งจะเขามาในชวง 10 กวาปที่ผานมา โดยหลายๆ องค ก รทํ า เพื่ อ แสดงความเป น บริษั ท ที่มี ธ รรมาภิบ าล ในขณะที่อี ก หลายๆ องค ก ร ทําเพราะถูกบีบจากกําแพงทางเศรษฐกิจโลก ที่บริษัทตางชาติจะดําเนินธุรกิจกับบริษัทที่มีมาตรฐาน ดา นแรงงาน สวั ส ดิ การ และสิ่ ง แวดล อ มเทา นั้น จึ งทํ า ให บ ริ ษัท ไทยโดยเฉพาะธุ ร กิ จ ส งออกจึ ง จําเปนตองพัฒนาแนวคิดการทํากิจกรรมความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม หรือ CSR เขามา ใชในบริษัทของตน ถึงแมวาการทํา CSR จะเปนเรื่องใหมตอคนสวนใหญของประเทศ แตบริษัทและ องคกรดานการพัฒนาหลายองคกรที่เปนผูบุกเบิกริเริ่มทํา CSR ก็มีหลายองคกร (บริษัท อิมเมจ พลัส คอมมิว นิเคชั่น จํากัด, ออนไลน: 2555: http://www.csr.imageplus.co.th/csr_history.php) ทามกลางภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลกที่เกิดขึ้น ธุรกิจไทยกําลังเผชิญชวงเวลาที่ยาก ลําบากในการทํากิจกรรมความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม (CSR) ที่จะนําไปสูการพัฒนาที่ ยั่งยืน ในปจจุบันธุรกิจไดจัดทํากิจกรรมความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม (CSR) ในรูปแบบ การทํากิจกรรมเพื่อสังคมโดยมุงเนนการประชาสัมพันธสรางชื่อเสียง หรือมุงเปน เพีย งกลยุทธ การตลาดเทานั้น แตกระแสการพัฒนากิจกรรมความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม (CSR) ใน


2 ระดับโลกนั้น มุงไปที่การพัฒนาการทํากิจกรรมความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม (CSR) ให เปนเครื่องมือการพัฒนาที่จะนําไปสูการสรางความเขมแข็งที่ไมใชเพียงแตธุรกิจเทานั้น แตเปนการ สรางคุณคาทางสังคมที่ธุรกิจมีตอชุมชนและสังคม เพื่อใหเทาทันกระแสการพัฒนาธุรกิจ จําเปนตอง ทําความเขาใจ หาวิธีการในการทํากิจกรรมความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม (CSR) อยาง บูรณาการสําหรับการดําเนินธุรกิจในอนาคต (ปารีณา ประยุกตวงศ และ แมท โอเซ็น : 2552: ออนไลน: http://www.ngobiz.org/csr.php) พันธกิจของหนวยงานภาครัฐทุกแหงลวนมีจุดรวมเดียวกัน ไดแกการใหบริการ สาธารณะเพื่อประโยชนแกสวนรวม ซึ่งก็คือ สังคม ฉะนั้นเรื่องของความรับผิดชอบตอสังคม (Social Responsibility : SR) สําหรับหนวยงานของรัฐ จึงถือเปนบทบาทขั้นพื้นฐาน ที่พึงมีนับตั้งแตวันแรก ของการกอตั้งหนวยงาน หนวยงานของรัฐถือเปนผูมีประสบการณและความเชี่ยวชาญในงานดังกลาว อีกทั้งสมควรที่จะดํารงบทบาทเปนเจาภาพงานใหแกภาคอื่นๆ ไดเขามามีสวนรวมในการดําเนินงาน อีกดวย ดังนั้นบทบาทของรัฐตอธุรกิจที่ลุกขึ้นมาทํากิจกรรมความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม (CSR) ประการแรกจะตอง “สงเสริม” ใหธุรกิจกลุมนี้ มีบทบาทในการรวมรับผิดชอบตอสังคมไดอยาง เต็มที่ สามารถที่จะพัฒนาใหกลายเปนหุนสวนรวมกันระหวางรัฐและเอกชน (Public-Private Partnerships) ในการแกไขและพัฒนาสังคมใหมีคุณภาพ มีการจัดสรรเวทีหรือพื้นที่ดําเนินงานให อยางทั่วถึง ตลอดจนการประกาศเกียรติคุณแกธุรกิจ ซึ่งทําหนาที่ดังกลาวไดอยางเสมอตนเสมอปลาย ประการที่สอง รัฐจะตองทําหนาที่ “สนับสนุน” การดําเนินงานทั้งในเชิงปองกันและแกไข ผลกระทบ ตอสังคมและสิ่งแวดลอม ที่เกิดจากการประกอบธุรกิจ ทําหนาที่สรางการรับรู (Awareness) และ มาตรการจูงใจ (Incentives) ใหธุรกิจที่มีสํานึกรับผิดชอบไดพัฒนากิจกรรมความรับผิดชอบของ องค กรธุ ร กิ จ ต อสั ง คม (CSR) ที่ อํานวยประโยชนตอสังคมและสิ่งแวดลอมกั น อยางกวางขวาง ตลอดจนการสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาขีดความสามารถ (Capacity Building) ในการดําเนิน กิจกรรมดานความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม (CSR) ขององคกรในทุกระดับ ประการที่สาม รัฐจะตอง “สอดสอง” การดําเนินงานของธุรกิจใหเปนไปตามกฎหมาย หรือระเบียบกฎเกณฑที่ กําหนดไวอยางเครงครัด เพื่อมิใหผลกระทบจากกิจกรรมในทางธุรกิจไปกอใหเกิดความเดือดรอน เสียหายตอสังคมและสิ่งแวดลอม ซึ่งปจจุบันเรื่องความรับผิดชอบตอสังคมไมสามารถที่จะผลักใหเปน ภาระของฝายใดฝายหนึ่งได ภาครัฐและเอกชนตางมีบทบาทของตัวในการทําหนาที่ตอสังคม ธุรกิจที่ ไมมีความรับผิดชอบตอสังคม ก็จะถูกตําหนิและกลายเปนจําเลยของสังคม สูญเสียทั้งภาพลักษณและ ลูกคาอยางหลีกเลี่ยงไมได ขณะที่หนวยงานของรัฐ ซึ่งมีหนาที่หลักในการบริการสังคมสวนรวม หาก ปฏิบัติงานโดยขาดความสํานึกรับผิดชอบตอสังคม หรือปลอยใหเรื่องความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจ ตอสังคม (CSR) เปนหนาที่ของธุรกิจฝายเดียว ยอมไดรับการตําหนิ และเรงดําเนินการทบทวน บทบาทของหนวยงานโดยดวน (พิพัฒน ยอดพฤติการณ, 2555: ออนไลน: http://www.ngobiz.org) สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม กรมพัฒนาสังคมและ สวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ในฐานะหนวยงานภาครัฐที่มีบทบาท หนาที่ สนับ สนุน ความรูทางวิช าการ เทคโนโลยี ขอมูลขาวสาร ใหคําปรึกษาแนะนําแกหนว ยงาน ให บ ริ ก ารทุ ก กลุ มเป า หมายและพื้ น ที่ใ หบ ริก ารในความรับ ผิด ชอบของกระทรวง รวมทั้ง องคก ร


3 ปกครองสวนทองถิ่น หนวยงานที่เกี่ยวของ องคกรเอกชนและประชาชน ในการพัฒนาสังคมและ จั ด ระบบสวั ส ดิ ก ารสั ง คมเพื่ อ ให มี คุ ณภาพชีวิ ต ที่ ดีแ ละสามารถพึ่ ง ตนเองได อ ยา งยั่ งยื น จึ ง เห็ น ความสําคัญในการดําเนินงานดานความรับผิดชอบตอสังคม จึงไดศึกษาวิจัย เรื่อง “การมีสวนรวมของ องคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR)” เพื่อทราบ แนวทาง วิธีการเขามามีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม และเพื่อนําแนวทางที่ได ไปสงเสริมและสนับสนุนการทํางานของหนวยงานองคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคมตอไป

1.2 วัตถุประสงค ชวยเหลือสังคม

1. เพื่อศึกษาแนวทาง และวิธีการเขามามีสวนรว มขององคกรภาคธุรกิจในการ

2. เพื่อนําแนวทางที่ไดไปสงเสริมสนับสนุนการทํางานของหนวยงานองคกรภาค ธุรกิจในการชวยเหลือสังคม

1.3 กรอบแนวคิด 1.3.1 สมมติฐานการวิจัย แนวทางและวิธีการเขามามีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคมของ แตละองคกรภาคธุรกิจมีลักษณะที่ไมแตกตางกัน ซึ่งการบริหารจัดการไมไดสรางผลกระทบและ ปญหาอุปสรรคแกผูมีสวนไดสวนเสียแตอยางใด 1.3.2 ผังกรอบแนวคิด แนวทางและวิธีการเขามามี สวนรวมดาน CSR รูปแบบการบริหารจัดการใน ระดับพื้นที่

ปญหาและผลกระทบ

รูปแบบที่เหมาะสมใน สังคมไทย การสงเสริมสนับสนุนการ ทํางานดาน CSR

1.4 ขอบเขตและขอจํากัด การศึ ก ษา การมี ส ว นร ว มขององค ก รภาคธุ ร กิ จ ในการช ว ยเหลื อ สั ง คม สั ง คม (Corporate Social Responsibility: CSR) ครั้งนี้ ไดกําหนดขอบเขตการศึกษาไว ดังนี้


4 1.4.1 ขอบเขตดานพื้นที่และประชากร 1. ขอบเขตด า นพื้น ที่การศึก ษาจะมุงทําการศึกษาองคกรภาคธุร กิ จ ในพื้น ที่เขต รับผิดชอบของสํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม ที่มีสวนชวยเหลือสังคม ในเขตพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน จํานวน 2 องคกร ที่มีสวนชวยเหลือสังคมอยางตอเนื่อง ซึ่ง เปนองคกรภาคธุรกิจขนาดใหญ จํานวน 1 องคกร และองคกรภาคธุรกิจขนาดกลางหรือขนาดเล็ก จํานวน 1 องคกร 2. ขอบเขตดานประชากร การศึกษาโดยมีประชากรในการศึกษา คือ เจาหนาที่ของ องคกรภาคธุรกิจ และผูมีสวนไดสวนเสียจากการชวยเหลือดานสังคม (CSR) ขององคกรภาคธุรกิจ 1.4.2 ขอบเขตดานเนื้อหา การศึกษาการมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ครั้งนี้ มีขอบเขตเนื้อหาประกอบดวย ขอมูลบริษัท เปาหมาย วัตถุประสงค (Goal and objectives) แผนงาน โครงการ กิจกรรม (The Initiative) ฝายตางๆ ที่ เกี่ยวของ (The Parties involved) ผูมีสวนไดเสียจากการที่ทํากิจกรรมดานความรับผิดชอบของ องคกรธุรกิจตอสังคม ผลลัพธและกิจกรรม (Outcomes and Activities) การปฏิบัติที่ดี (The Good Practice) บทเรียนที่ไดรับ (Lesson Learned) และศักยภาพในการตอยอดขยายผล (Potential of Replication) ดานความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม

1.5 ระยะเวลา การศึกษาการมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ดําเนินการศึกษา เดือนมิถุนายน-กันยายน พ.ศ. 2555

1.6 นิยามศัพทเฉพาะ 1. ความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม หมายถึง การดําเนินกิจกรรมของ องคกรธุรกิจที่คํานึงถึงผลกระทบและประโยชนที่มีตอผูมีสวนไดสวนเสีย โดยการใชทรัพยากรที่มีอยู ในองคกร หรือทรัพยากรจากภายนอกองคกร ในการที่จะทําใหอยูรวมกันในสังคมไดอยางเปนปกติสุข 2. การมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจ หมายถึง การที่องคกรภาคธุรกิจเปดโอกาส ใหประชาชนไมวาจะเปนบุคคลหรือกลุมบุคคลที่เกี่ยวของหรือไมเกี่ยวของกับองคกรภาคธุรกิจของตน ไดเขามามีสวนรวมในกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง ทั้งทางตรงและทางออมในลักษณะของการรวมรับรู รวมคิด รวมทํา ในสิ่งที่มีผลกระทบตอตนเองหรือชุมชน 3. แนวทางเขามามีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจ หมายถึง ทางปฏิบัติที่วางไวเปน แนวใหเกิดการมีสวนรวมขององคกรภาคเอกชน ภาครัฐและภาคประชาชน


5 4. วิธีการเขามามีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจ หมายถึง วิธีปฏิบัติตามหลักการ เปนขั้นตอนอยางมีระบบที่ทําใหเกิดการมีสวนรวมขององคกรภาคเอกชน ภาครัฐและภาคประชาชน 5. รูปแบบการบริหารจัดการ หมายถึง วิธีการในการดําเนินกิจกรรมหรือโครงการ ดานเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอมขององคกรธุรกิจอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ 6. เครือขายความรวมมือดานความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม หมายถึง องคกรภาคธุรกิจและผูมีสวนไดสวนเสียที่ใหความรวมมือในการดําเนินกิจกรรมหรือโครงการดาน เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอมอยางมีสวนรวม 7. ผูมีสวนไดสวนเสีย หมายถึง ประชาชน ชุมชน หนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน ที่ไดรับประโยชนและผลกระทบจากการดําเนินกิจกรรมขององคกรธุรกิจ 8. การสงเสริมสนับสนุนดานความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม หมายถึง การผลักดันเพื่อกอใหเกิดนโยบายระดับกระทรวง หรือการจัดเวที หรือการเผยแพรประชาสัมพันธเพื่อ สงเสริมและสนับสนุนใหเกิดการนํารูปแบบการบริหารจัดการดานความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอ สังคมไปสูการปฏิบัติ

1.7 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ สังคม

1. ไดแนวทางและวิธีการเขามามีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือ

2. ไดรูปแบบการบริหารจัดการในการชวยเหลือสังคมขององคกรภาคธุรกิจ 3. สามารถนํ า แนวทางที่ไ ดไปส งเสริ ม และสนับ สนุน การทํางานของหนว ยงาน องคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม


บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวของ การศึ ก ษาเรื่ อ ง การมี ส ว นร ว มขององค ก รภาคธุ ร กิ จ ในการช ว ยเหลื อ สั ง คม (Corporate Social Responsibility: CSR) สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัด เชียงใหม ไดรวบรวมแนวคิดและทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ เพื่อความกระจางชัดในการศึกษา โดยไดศึกษาคนควาแนวคิด ทฤษฎี จากหนังสือ อินเตอรเน็ต เอกสารรายงานตางๆ และผลงานวิจัยที่ เกี่ยวของ เพื่อนํามาใชเปนกรอบและแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห และสังเคราะหผลการศึกษา ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5.

แนวคิดความรับผิดชอบตอสังคม ISO 26000 มาตรฐานการรับผิดชอบตอสังคม ทฤษฎีการมีสวนรวม แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการจูงใจ วรรณกรรมที่เกี่ยวของ

2.1 แนวคิดความรับผิดชอบตอสังคม 2.1.1 ความหมายของความรับผิดชอบตอสังคม ความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม หมายถึง การพิจารณาถึงผลกระทบที่ เกิดขึ้นจากการตัดสินใจของธุรกิจตอกลุมตางๆ ทั้งหมดภายในสังคมนั้น ภายหลังจากพิจารณาถึง ผลกระทบดังกลาวแลว ผูบริหารควรจะทําการตัดสินใจในลักษณะที่เปนประโยชนตอบุคคลสวนมาก คือ ใหความยุติธรรมกับกลุมตางๆ ภายในสังคมมากที่สุด (สมยศ นาวีการ, 2530 : 35) ความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม หมายถึง บทบาท ภาระหนาที่ ตลอดจน คุณธรรมและจริยธรรมของบุคคล สมาชิกของสังคม หรือของประเทศ รวมถึงนโยบาย กิจกรรมที่ องคกรภาคธุรกิจไดจัดขึ้น เพื่อใหความชวยเหลือ ปรับปรุงและสงเสริมใหสภาพสังคมโดยรวมดีขึ้น ขณะเดียวกันประชาชนเองก็มีความเปนอยูที่ดีขึ้น (พัชรี นิวัฒเจริญชัยกุล, 2546 : 21) ความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม หมายถึง ภาระที่บริษัทจะตองดําเนินงาน ที่กอใหเกิดประโยชนตอทั้งผูถือหุนหรือเจาของบริษัทและตอชุมชนภายนอกดวย ความรับผิดชอบของ บริษัทจึงเปนภาระที่บริษัทมีตอผูมีสวนรวมในบริษัท (เสนาะ ติเยาว, 2544 : 36) ความรับ ผิ ดชอบขององคกรธุร กิจต อสั งคม หมายถึ ง แนวคิ ดขององค การในการ ดําเนินกิจกรรม การวางแผน การตัดสินใจ การสื่อสารประชาสัมพันธ การบริหารจัดการและการ ดําเนินการที่คํานึงถึงผลกระทบตอสังคมและสิ่งแวดลอม โดยอาจสอดแทรกเรื่องนี้ไวในกระบวนการ


7 ประกอบธุรกิจ (http://webboard.villagefund.or.th/index.php/2009-05-11-07-09-54/8133-may-2010) ความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม หมายถึง การดําเนินธุรกิจควบคูไปกับการ ใสใจดูแลรักษาสิ่งแวดลอมในชุมชนและสังคมโดยรวม ภายใตหลักจริยธรรม การกํากับดูแลที่ดีเพื่อ นํ า ไปสู ก ารดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ ป ระสบความสํ า เร็ จ อย า งยั่ ง ยื น (http://swhcu.net/km/mkarticles/social-scienc/112-csr-research.html) ความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม หมายถึง การดําเนินกิจกรรมภายในและ ภายนอกองคกร ที่คํานึงถึงผลกระทบตอสังคมทั้งในระดับใกลและไกล ดวยการใชทรัพยากรที่มีอยูใน องคกรหรือทรัพยากรจากภายนอกองคกร ในอันที่จะทําใหอยูรวมกันในสังคมไดอยางเปนปกติสุข (http://thaicsr.blogspot.com/2006/03/blog-post_20.html) ความรั บ ผิ ดชอบขององคกรธุร กิจ ตอสังคม หมายถึง การที่องคกรตอบสนองตอ ประเด็ น ด า นเศรษฐกิ จ สั งคมและสิ่งแวดลอม โดยมุงที่การให ป ระโยชนกับ คน ชุมชนและสังคม นอกจากนั้น ยังเปนเรื่องของบทบาทขององคกรธุรกิจในสังคมและความคาดหวังของสังคมที่มีตอ องคกรธุรกิจ โดยจะตองทําดวยความสมัครใจและผูบริหารจะตองมีบทบาทเกี่ยวของกับกิจกรรมตางๆ โดยสามารถวั ด ผลได อั น นํ า ไปสู ก ารพั ฒ นาอย า งยั่ ง ยื น (http://www.csr.imageplus.co.th/ csr_history.php?id=rcWSZYebx3sEda4L) ความรั บผิ ดชอบขององคกรธุร กิจ ตอสังคม หมายถึง แนวคิดที่บริษัทผสานความ หวงใยตอสังคมและสิ่งแวดลอมไวในกระบวนการดําเนินธุรกิจและการมีปฏิสัมพันธกับผูมีสวนไดเสีย ภายใตพื้นฐานการกระทําดวยความสมัครใจ (http://www.csri.or.th/knowledge/csr/193) สรุปไดวา ความรับผิดชอบขององคกรธุรกิจตอสังคม (CSR) หมายถึง การดําเนิน กิจกรรมขององคกรธุรกิจ ที่คํานึงถึงผลกระทบและประโยชนที่มีตอผูมีสว นไดสวนเสีย โดยการใช ทรัพยากรที่มีอยูในองคกร หรือทรัพยากรจากภายนอกองคกร ในการที่จะทําใหอยูรวมกันในสังคมได อยางเปนปกติสุข 2.1.2 ประเภทของความรับผิดชอบตอสังคม ประเภทของงานความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) สามารถแบงออกเปน 3 กลุม ด ว ยกั น ประกอบด ว ย (http://www.csri.or.th/knowledge/csr/192) สื บ ค น เมื่ อ วั น ที่ 26 กรกฎาคม 2555 1. CSR-after-process เปนการดําเนินกิจกรรมที่แยกตางหากจากการดําเนิน ธุรกิจที่เปนกระบวนการหลักของกิจการ (รวมความถึงกิจกรรมที่เกิดจากผลตอเนื่องของกระบวนการ ดําเนินการธุรกิจ) เชน การแจกจายสิ่งของบรรเทาสาธารณภัย การบําเพ็ญประโยชนตอสาธารณะและ การเยียวยาชุมชนที่ไดรับผลกระทบทางมลพิษจากการประกอบการ


8 2. CSR-in-process เปนการดําเนินความรับผิดชอบตอสังคมที่อยูในกระบวนหลัก ของกิจกรรมหรือเปนการทําธุรกิจที่หากําไรอยางมีความรับผิดชอบ เชน การปองกัน หรือกําจัดมลพิษ ในกระบวนการผลิตเพื่อไมใหสงผลกระทบตอชุมชนการผลิตสิน คาและบริการที่มีคุณภาพและได มาตรฐานตามขอกําหนดในฉลากผลิตภัณฑ การเปดเผยขอมูลผลิตภัณฑตอผูบริโภคอยางถูกตอง ครบถ ว น การชดเชยความเสี ย หายให แก ลู กค าที่ เ กิด จากความผิ ดพลาดและความบกพรอ งของ พนักงาน ซึ่งการดําเนินความรับผิดชอบเหลานี้ ถือเปนกิจกรรมที่อยูเวลาทํางานปกติของกิจการ 3. CSR-as-process เปนกิจกรรมที่ดําเนินงานโดยองคกรที่ไมแสวงหากําไรใหกับ ตนเอง เปนหนวยงานที่กอตั้งขึ้นเพื่อมุงสรางประโยชนตอสังคมเปนดานหลัก เชน มูลนิธิ หรือสมาคม การกุศล ที่เปนองคกรสาธารณประโยชน องคกรประชาชนและสวนราชการ สถาบันไทยพัฒน ไดมีการจําแนกประเภทของความรับผิดชอบตอสังคมออกเปน 3 ประเภท ดังนี้ (http://thaicsr.blogspot.com/2008/01/blog-post_6965.html; สืบคนเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2555) 1. กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คม (CSR-after-process) คื อ การดํ า เนิ น กิ จ กรรมของ หนวยงานซึ่งโดยมากเปนองคกรธุรกิจที่แสวงหากําไร เพื่อสรางใหเกิดประโยชนแกสังคมในดานตางๆ โดยกิจกรรมที่ดําเนินการนั้นมักแยกตางหากจากการดําเนินธุรกิจที่เปนกระบวนการหลักของกิจการ และเกิดขึ้นภายหลัง เชน การแกไขเยียวยาชุมชนที่ไดรับผลกระทบทางมลพิษจากการประกอบการ การแจกจายสิ่งของชวยบรรเทาสาธารณภัย การเปนอาสาสมัครชวยบําเพ็ญสาธารณประโยชน ซึ่ง กิจกรรมเพื่อสังคมเหลานี้มักเปนกิจกรรมที่อยูนอกเหนือเวลาทํางานตามปกติ 2. ธุรกิจเพื่อสังคม (CSR-in-process) คือ การดําเนินความรับผิดชอบตอสังคมที่ อยูในกระบวนการทํางานหลักของกิจการ หรือเปนการทําธุรกิจที่หากําไรอยางมีความรับผิดชอบ เชน การปองกันหรือกําจัดมลพิษในกระบวนการผลิตเพื่อไมใหสงผลกระทบตอชุมชน การผลิตสินคาและ บริการที่มีคุณภาพและไดมาตรฐานตามขอกําหนดในฉลากผลิตภัณฑ การเปดเผยขอมูลผลิตภัณฑ อยางถูกตองครบถวนตอผูบริโภค การชดเชยความเสียหายใหแกลูกคาที่เกิดจากความผิดพลาดและ ความบกพรองของพนักงาน ซึ่งการดําเนินความรับผิดชอบเหลานี้ถือเปนกิจกรรมที่อยูในเวลาทํางาน ปกติของกิจการ 3. กิจการเพื่อสังคม (CSR-as-process) เปนองคกรที่ดําเนินงานโดยไมแสวงหา กําไรใหแกตนเอง ซึ่งเปนหนวยงานที่กอตั้งขึ้นเพื่อยังประโยชนใหแกสังคมในทุกกระบวนการของ กิจการ ไดแก มูลนิธิ องคกรสาธารณประโยชน องคกรประชาชนและสวนราชการตางๆ โดยสถานะ ของกิจ การเพื่อสั งคมเกิ ดจากการผสมผสานอุดมการณในแบบนักพัฒนาสังคมเขากับ การบริห าร จั ด การในแบบผู ป ระกอบการซึ่ ง เปน การผนวกจุดแข็ง ระหวางแผนงานของภาคประชาสังคมกั บ กระบวนการที่มีประสิทธิภาพของภาคธุรกิจในอันที่จะสรางใหเกิดประโยชนสูงสุดแกสังคมโดยรวม สรุปไดวา ประเภทของความรับผิดชอบตอสังคม มี 3 ประเภท ไดแก ประเภทแรก CSR-after-process เปนกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมที่มีผลตอผูมีสวนไดสวนเสียที่ไมเกี่ยวกับ การดําเนินงานขององคกรโดยตรง เชน การปลูกปา การบริจาคทุนการศึกษา ประเภทที่สอง CSR-in-


9 process เปนกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมที่มีผลตอผูมีสวนไดสวนเสียขององคกร เชน การดูแล สวัสดิการพนักงาน การผลิตที่ไมทําลายสิ่งแวดลอม และประเภทสุดทาย CSR-as-process เปน องคกรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อชวยเหลือสังคมและสิ่งแวดลอมโดยไมมุงหวังผลกําไร เชน มูลนิธิ หรือสมาคม การกุศลตางๆ 2.1.3 องคประกอบความรับผิดชอบตอสังคม ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ (2545 : 57-58) ไดกลาววา ความรับผิดชอบตอสังคม ขององคการ ประกอบดวยองคประกอบ 4 ดาน ดังนี้ 1. ความรับผิดชอบดานเศรษฐกิจ (Economic Responsibility) เปนการพิจารณา วาองคการจะตองมีความรับผิดชอบตอสังคมนอกเหนือจากการแสวงหากําไร 2. ความรับผิดชอบดานกฎหมาย (Legal Responsibility) เปนกิจกรรมที่จะตอง ปฏิบัติตามกฎหมายและขอกําหนดทั้งหมด 3. ความรับผิดชอบดานจรรยาบรรณ (Ethical Responsibility) เปนภาระความ รับผิดชอบขององคการเกี่ยวกับหลักศีลธรรมและคานิยม ซึ่งควบคุมการทํางานและการตัดสินใจของ องคการ 4. ความรับผิดชอบในการใชดุลยพินิจ (Discretionary Responsibility) ความ รับ ผิ ดชอบด า นนี้ขึ้น อยู กับ วิจ ารณญาณ และทางเลื อกทางส ว นตั ว โดยคิดวาบริษัทควรมีซึ่งไมได เกี่ยวของกับกฎหมาย 4 ดาน ดังนี้

จินตนา บุญบงการ (2544 : 34) ไดเสนอองคประกอบความรับผิดชอบตอสังคมเปน

1. ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ (Economic Responsibility) เพื่อผลิตสินคา และบริการตามที่ประชาชนตองการ และนํามาขายเพื่อใหเกิดกําไรแกเจาของกิจการ (ในกรณีที่เปน องคกรทําเพื่อกําไร) นับไดวาเปนความรับผิดชอบหลักและความรับผิดชอบดั้งเดิมของการดําเนินการ จนอาจกลาวไดวา นอกจากความรับผิดชอบดานเศรษฐกิจแลว ผูบริหารในอดีตบางคนไมเคยคํานึงถึง ความรับผิดชอบในดานอื่นเลย 2. ความรับผิดชอบทางกฎหมาย (Legal Responsibility) เพื่อดําเนินกิจการไป ตามครรลองของกฎหมายและกฎขอบังคับตางๆ อยางไรก็ตามกฎหมายของกฎขอบังคับไมสามารถจะ ครอบคลุมการกระทําทุกอยางที่องคกรกระทําได การกระทําบางอยางไมผิดกฎหมาย แตองคกรควร จะกระทําหรือไมนั้นขึ้นอยูกับความรับผิดชอบของผูบริหารองคกรนั้นๆ 3. ความรับผิดชอบทางจริยธรรม (Ethical Responsibility) การกระทําบางอยาง ไมใชสิ่งที่กฎหมายบังคับ แตถาองคกรไมทําก็ไมผิดกฎหมาย แตองคกรเลือกกระทําเพราะเห็นวาเปน ความรับผิดชอบทางจริยธรรม เชน การใหสวัสดิการดานเสื้อผา ที่อยูอาศัย เงินกูยืม อาหารกลางวัน รถรับสงพนักงาน การจัดนําเที่ยว เปนตน


10 4. ความรับผิดชอบในการใชดุลยพินิจ (Discretionary Responsibility) ความ รับผิดชอบในระดับนี้เปนความสมัครใจของผูบริหารองคกรโดยตรง และขึ้นอยูกับการตัดสินใจเลือกระ ทําของผูบริหารแตละคน ความรับผิดชอบนี้ไมไดบังคับไวเปนกฎหมาย หรือเปนสิ่งที่พนักงานคิดวา ควรได รั บ ตามหลั กจริ ย ธรรม เช น ผูบ ริห ารไมส นั บ สนุน ใหพนั กงานทํ างานล ว งเวลาแต กลับ จา ง พนักงานเพิ่ม เพิ่มเครื่องจักร เพิ่มเงินเดือน ทั้งนี้เพราะผูบริหารพินิจพิเคราะหอยางสุขุมแลววาการ ทํางานลวงเวลาทําใหสุขภาพของพนักงานเสื่อมโทรมและเปนการบั่นทอนคุณภาพชีวิต 2.1.4 มาตรฐานเพื่อความรับผิดชอบตอสังคม ISO 26000 มาตรฐานเพื่อความรับผิดชอบตอสังคม ไดกําหนดองคประกอบหลัก ของความรับผิดชอบไว 7 ประการ ดังนี้ (โสภณ พรโชคชัย, 2552: 29-30) 1. มีการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Organization governance) กลาวคือ องคกรควร กํา หนดหน าที่ ใหคณะกรรมการฝ ายจัดการ ผูถือหุน และผูมีสว นไดสว นเสียสามารถสอดสองดูแล ผลงานและการปฏิ บั ติ งานขององคกรไดเ พื่อแสดงถึงความโปร งใส พรอมรับ การตรวจสอบและ สามารถชี้แจงใหผูมีสวนไดสวนเสียไดรับทราบถึงผลการปฏิบัติงานได 2. คํานึงถึงสิทธิมนุษยชน (Human rights) ซึ่งเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย โดย สิทธิดังกลาวควรครอบคลุมถึงสิทธิความเปนพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม และสิทธิตามกฎหมายระหวางประเทศดวย 3. ขอปฏิบัติดานแรงงาน (Labor practices) องคกรตองตระหนักวาแรงงานไมใช สินคา ดังนั้นแรงงานจึงไมควรถูกปฏิบัติเสมือเปนปจจัยการผลิต 4. การดูแลสิ่งแวดลอม (Environment) องคกรจําเปนที่จะตองคํานึงถึงหลักการ ปองกันปญหามลพิษการบริโภคอยางยั่งยืน (Sustainable consumption) และการใชทรัพยากร อยางมีประสิทธิภาพในการดําเนินการผลิตและบริการ 5. การดําเนินธุรกิจอยางเปนธรรม (Fair operating practices) องคกรตางๆ ควร แขงขันกันอยางเปนธรรมและเปดกวาง ซึ่งจะชวยสงเสริมประสิทธิภาพในการลดตนทุนสินคาและ บริ ก าร นวั ต กรรมการพั ฒ นาสิ น ค า หรื อกระบวนการใหม ๆ รวมถึ ง จะช ว ยขยายการเติ บ โตทาง เศรษฐกิจและมาตรฐานการครองชีพในระยะยาว 6. ใสใจตอผูบริโภค (Consumer issues) องคกรจะตองเปดโอกาสใหผูบริโภค ไดรับทราบขอมูลในการใชสินคาและบริการอยางเหมาะสม ทั้งยังตองใหความสําคัญกับการพัฒนา สินคาและบริการที่เปนประโยชนตอสังคม โดยคํานึงถึงความปลอดภัยในการใชงานและสุขภาพของ ผูบริโภค นอกจากนี้เมื่อพบวาสินคาไมเปนไปตามเกณฑที่กําหนด องคกรก็จะตองมีกลไกในการเรียก คืนสินคา พรอมทั้งยังตองใหความสําคัญกับกฎหมายคุมครองผูบริโภคและถือปฏิบัติอยางเครงครัดอีก ดวย


11 7. การแบงปนสูสังคมและชุมชน (Contribution to the community and society) การดําเนินการตามระเบียบและการมีสวนรวมในการพัฒนาสังคม โดยปฏิบัติตามกฎหมาย การมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนและสังคม รวมไปถึงการสงเสริมความรวมมือระหวางองคกร Carroll, Archie B. (1991: 5) ไดมีการกําหนดองคประกอบความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ (Economic Responsibility) ซึ่งเปนฐานความ รับผิดชอบขององคกรที่ตองมีในฐานะของการเปนสถาบันทางเศรษฐกิจที่ตองมุงสรางผลผลิตไมวาจะ เปนสินคาหรือบริการตามความตองการของสังคมและตอบแทนกลับมาในรูปของรายไดเพื่อใหบริษัท สามารถดํารงอยูได มีผลกําไรคืนกลับไปยังผูลงทุน 2. ความรับผิดชอบทางกฎหมาย (Law Responsibility) เพื่อเปนการควบคุมไมให องคกรธุรกิจมุงเนนแตจะทํากําไรเพียงอยางเดียว โดยไมสนใจวาจะเกิดผลกระทบในทางลบอยางไร องคกรจะตองบริหารงานภายใตกรอบของกฎหมายและกฎระเบียบของพื้นที่ที่ตนเองดําเนินธุรกิจอยู ดวย 3. ความรับผิดชอบดานจริยธรรม (Ethic Responsibility) ความคาดหวังทาง จริยธรรมจากกลุมตางๆ ทางสังคม คือ ระดับของการแสดงออกทางจริยธรรม การพิจาณาของหลัก ปรัชญาทางศีลธรรม ซึ่งรวมถึงหลักของความยุติธรรม สิทธิและลัทธิผลประโยชน แมวาสิ่งนั้นจะไมได ถูกกําหนดเปนกฎหมายหรือกฎระเบียบก็ตาม 4. ความรับ ผิดชอบดานการใหเพื่อสังคม (Philanthropy Responsibility) หมายถึง กิจกรรมใดๆ ก็ตามขององคกรธุรกิจที่ตอบสนองตอความคาดหวังของสังคมวาตนเองจะเปน พลเมืองที่ดี (good corporate citizens) ของสังคมนั้น ซึ่งรวมถึงการทํากิจกรรมเกี่ยวกับการ สนับสนุนสวัสดิการและมิตรภาพที่ดีของมนุษย เชน การบริจาคทรัพยเพื่อสนับสนุนการศึกษา หรือ พัฒนาชุมชน สรุปไดวา องคประกอบความรับผิดชอบตอสังคม เปนการแสดงความรับผิดชอบตอ ผูที่มีสวนเกี่ยวของใกลชิดกับองคกรโดยตรง ไดแก ลูกคา คูคา ครอบครัวของพนักงาน ชุมชนที่องคกร ตั้งอยู เปนตน และผูที่เกี่ยวของกับองคกรโดยออม ไดแก คูแขงขันทางธุรกิจ ประชาชนทั่วไป เปนตน ทั้ ง การคิ ด การพู ด และการกระทํ า ซึ่ ง ครอบคลุ ม ตั้ ง แต การวางแผน การตั ด สิ น ใจ การสื่ อ สาร ประชาสัมพันธ การบริหารจัดการและการดําเนินงานขององคกร 2.1.5 ขนาดของความรับผิดชอบตอสังคม การพิจารณาเกี่ยวกับระดับความรับผิดชอบตอสังคมของหนวยงานธุรกิจวา ควรมี มากนอยเพียงใดและอยางไรนั้น จะใชวิธีพิจ ารณา “ระดับ ของการตระหนักถึงปญ หาทางสังคม” (Social Responsiveness) หรือระดับความมากนอยในการตระหนักถึงพันธะขอผูกพันขององคกรที่ พึงมีตอสังคม โยการติดตามดูวาธุรกิจไดดําเนินการแกไขปญหาตางๆ เพื่อปลดเปลื้องขอปญหาทาง สังคมที่ธุรกิจมีภาระผูกพันอยูและควรตองเขาชวยเหลือแกไขไดอยางมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ เพียงใด สามารถแบงออกเปน 3 แบบ คือ (ธงชัย สันติวงษ, 2546: 96-97)


12 1. การรับผิดชอบตอสังคมตามขอผูกพัน (Social Obligation Approach) หรือ การรับผิดชอบเฉพาะเทาที่เปนขั้นต่ําสุดตามบังคับของกฎหมายเทานั้น กิจการที่มีแนวคิดแบบนี้จะ เสียสละทรัพยากรขององคกรเฉพาะเพียงเทาที่กฎหมายบังคับใหตองทําเทานั้น แตการจะหวังใหมีการ เสียสละสมัครใจเพื่อชวยแกไขปญหาสังคมนั้น 2. การรับผิดชอบตอสังคม (Social Responsibility Approach) คือ การยอมรับ วาธุรกิจมีความรับผิดชอบทั้งสองทางคูกัน คือ การทํากําไรทางเศรษฐกิจและการรับผิดชอบตอสังคม ในแงของความรับผิดชอบในทางเศรษฐกิจนั้นคือ การมุงทํากําไรและเพิ่มสวนทุนของผูถือหุนใหสูงขึ้น สวนอีกทางหนึ่งคือ ความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งหมายถึง การมุงสนใจตอปญหาทางสังคมที่กําลัง เกิดขึ้นในขณะนั้น แตขอบเขตการเขาไปชวยแกปญหาทางสังคมนี้จะถูกจํากัด โดยจะมีเฉพาะภายใน กรอบที่จะไมทําใหองคกรตองสูญเสียประโยชนทางเศรษฐกิจจนเกิดความเสียหายขึ้น 3. การระวังระไวตอปญหาในสังคม (Social Responsiveness Approach) โดย เนนวาธุรกิจมิใชจะมีความรับผิดชอบในทางเศรษฐกิจและทางสังคมคูกันเทานั้น แตจะตองมองการณ ไกลออกไป โดยคาดหมายถึงปญหาในทางสังคมที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตไวลวงหนาและอุทิศทรัพยากร ขององคกรเพื่อชวยแกไขปญหาเลาหนี้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตดวย วิธีการลักษณะแบบนี้จะเปนการ กระทําแบบ “กันไวดีกวาแก” โดยคาดหมายปญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคตแลวรีบเขาไปลงมือแกไข ในทันที 2.1.6 ขอบเขตความรับผิดชอบตอสังคม ขอบเขตความรับผิดชอบตอสังคม (Areas of social Responsibility) มีทั้งหมด 7 ดาน โดยมีรายละเอียดดังนี้ (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ, 2545 : 95) 1. ดานชุมชน (The Community) องคกรที่รับผิดชอบตอสังคมจะตองสราง จุดเดนขึ้นในชุมชน เชน เปนผูนําในการชวยเหลือและแกปญหาใหกับสังคม 2. ดานสุขภาพและสวัสดิการ (Health and Welfare) องคกรมีความเชื่อวา การ ลงทุนในสุขภาพและการจัดสวัสดิการใหกับชุมชนเปนความรับผิดชอบดานสังคมที่มีคุณคา และจําเปน สําหรับพนักงานบริษัทและชุมชนขนาดใหญ ตัวอยางโครงการดานสุขภาพและสังคมจะสรางคานิยม ในชุมชน ซึ่งจะทําใหบริษัทมีอิทธิพลตอผูลงทุนและสรางภาพลักษณที่ดีใหกับบริษัทดวย 3. ดานการศึ กษา (Education) องคกรจํานวนมากที่มีความสนใจในความ รับผิดชอบดานการศึกษา ผูบริหารมีความตระหนักวาจะตองปรับปรุงการศึกษาทั้งระดับประถม มัธยมศึกษา วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย ทั้งในดานการบริจาคเงินดานการศึกษา การประชาสัมพันธ และดานอื่นๆ 4. ดานสิทธิมนุษยชน (Human Rights) บางองคกรมุงความรับผิดชอบดานสังคม ในการรณรงคสิทธิมนุษยชน เชน ความเทาเทียมกันของเพศชายและเพศหญิงในการไดรับการจางงาน 5. ดานสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ (The Natural Environment) องคกร จํานวนมากไดตัดสินใจเลือกการแกปญหาดานสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ การอนุรักษทรัพยากร


13 ธรรมชาติ และการสรางจิตสํานึกในการรักษาสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ เชน ผลิตสินคาที่ไมเปน อันตรายตอสิ่งแวดลอม ไดแก การไมใชสาร CFC เครื่องปรับอากาศและตูเย็น 6. ดานสิทธิของผูบริโภค (Consumer Rights) บางองคกรไดเนนในเรื่องของสิทธิ ผู บ ริ โ ภคโดยคํ า นึ งถึ งผลิ ตภั ณฑ ที่มีคุณ ภาพ มีความปลอดภัย และการโฆษณาที่เ ปน ความจริ ง (Truthful Advertising) 7. ดานวัฒนธรรม (Culture) เปนการเรียนรูและการคิดรวมกัน ตลอดจนการ แสดงออกระหวางกลุมบุคคลหรือสังคม ธุรกิจที่ใหการสนับสนุนดานศิลปวัฒนธรรมเชื่อวาเปนรูปแบบ หนึ่งของความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งสามารถสงเสริมการรูจักบริษัท ตลอดจนสรางความรูสึกและ ทัศนคติที่ดีใหเกิดกับบริษัทได แนวคิดที่ใหการสนับสนุนเหตุการณดานวัฒนธรรมถือวาเปนการลงทุน ดานคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สําหรับลูกคาชุมชนในทองถิ่น บุคลากรและผูมีสวนเกี่ยวของกับองคกร ถือวา สามารถสรางวัฒนธรรมที่ดีใหกับกลุมเหลานี้ได 2.1.7 ชนิดกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคม สถาบั น ไทยพั ฒน อ างถึงใน ศ.ฟลิป คอตเลอร แหงมหาวิทยาลัยนอรธเวสเทริ์ น และแนนซี่ ลี อาจารยสมทบแหงมหาวิทยาลัยวอชิงตันและมหาวิทยาลัยซีแอตเติ้ล ไดจําแนกซีเอสอาร ไว เ ป น 7 ชนิ ด กิ จ กรรม ได แ ก (http://thaicsr.blogspot.com/2008/01/blog-post_07.html; สืบคนเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2555) 1. การสงเสริมการรับรูประเด็นปญหาทางสังคม (Cause Promotion) เปนการ จัดหาเงินทุน วัสดุสิ่งของ หรือทรัพยากรอื่นขององคกร เพื่อขยายการรับรูและความหวงใยตอประเด็น ปญหาทางสังคมนั้น ตลอดจนสนับสนุนการระดมทุน การมีสวนรวม หรือการเฟนหาอาสาสมัครเพื่อ การดังกลาว องคกรธุรกิจอาจริเริ่มและบริหารงานสงเสริมนั้นดวยตนเอง หรือรวมมือกับองคกรหนึ่ง องคกรใด หรือกับหลายๆ องคกร 2. การตลาดที่เกี่ยวโยงกับประเด็นทางสังคม (Cause-Related Marketing) เปน การอุดหนุน หรื อการบริ จาครายไดสวนหนึ่งจากการขายผลิตภัณฑเพื่อชวยเหลือ หรือรวมแกไข ประเด็นปญหาทางสังคมจําเพาะหนึ่งๆ ซึ่งมักมีชวงเวลาที่จํากัดแนนอน หรือดําเนินการแบบจําเพาะ ผลิตภัณฑ หรือใหแกการกุศลที่ระบุไวเทานั้น กิจกรรม CSR ชนิดนี้ องคกรธุรกิจมักรวมมือกับองคกร ที่ ไ ม มี วั ต ถุ ป ระสงค ห ากํ า ไรเพื่ อ สร า งสั ม พั น ธภาพในประโยชน ร ว มกั น ด ว ยวิ ธี ก ารเพิ่ ม ยอดขาย ผลิตภัณฑ เพื่อนําเงินรายไดไปสนับสนุนกิจกรรมการกุศลนั้นๆ ในขณะเดียวกันก็เปนการเปดโอกาส ใหแกผูบริโภคไดมีสวนรวมในการชวยเหลือการกุศลผานทางการซื้อผลิตภัณฑโดยไมตองเสียคาใชจาย อื่นใดเพิ่มเติม 3. การตลาดเพื่อมุงแกไขปญหาสังคม (Corporate Social Marketing) เปนการ สนั บ สนุ น การพั ฒ นา หรื อ การทํ า ให เ กิ ด ผลจากการรณรงค เ พื่ อ เปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรมในด า น สาธารณสุข ดานความปลอดภัย ดานสิ่งแวดลอม หรือดานสุขภาวะ ความแตกตางสําคัญระหวาง การตลาดเพื่อมุงแกไขปญหาสังคมกับการสงเสริมการรับรูประเด็นปญหาทางสังคม คือ การตลาดเพื่อ มุงแกไขปญหาสังคมจะเนนที่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Behavior Change) เปนหลัก ในขณะที่


14 การส ง เสริ ม การรั บ รู ป ระเด็ น ป ญ หาทางสั ง คมจะเน น ที่ ก ารสร า งความตระหนั ก (Awareness) ตลอดจนการสนับสนุนทรัพยากรดานทุนและอาสาสมัครเพื่อใหรับรูถึงประเด็นปญหาดังกลาว 4. การบริจาคเพื่อการกุศล (Corporate Philanthropy) เปนการชวยเหลือไปที่ ประเด็นปญหาทางสังคมโดยตรงในรูปของการบริจาคเงิน หรือวัตถุสิ่งของ เปนกิจกรรม CSR ที่พบ เห็นในแทบทุกองคกรธุรกิจ และโดยมากมักจะเปนไปตามกระแสความตองการจากภายนอก หรือมีผู เสนอใหทํามากกวาจะเกิดจากการวางแผน หรือออกแบบกิจกรรมจากภายในองคกรเอง ทําใหไมเกิด การเชื่อมโยงเขากับเปาหมายหรือพันธกิจขององคกร 5. การอาสาชวยเหลือชุมชน (Community Volunteering) เปนการสนับสนุน หรือจูงใจใหพนักงาน คูคารวมสละเวลาและแรงงานในการทํางานใหแกชุมชนที่องคกรตั้งอยูและเพื่อ ตอบสนองต อประเด็ น ป ญ หาทางสังคมที่องคกรใหความสนใจ หรือหว งใย องคกรธุร กิจ อาจเปน ผูดําเนินการเองโดยลําพัง หรือรวมมือกับองคกรหนึ่งองคกรใดและอาจเปนผูกําหนดกิจกรรมอาสา ดังกลาวนั้นเอง หรือใหพนักงานเปนผูคัดเลือกกิจกรรมแลวนําเสนอตอองคกรเพื่อพิจารณาใหการ สนับสนุน โดยที่พนักงานสามารถไดรับการชดเชยในรูปของวันหยุดหรือวันลาเพิ่มเติม 6. การประกอบธุ ร กิ จ อย า งรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คม (Socially Responsible Business Practices) เปนการดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจอยางพินิจพิเคราะหทั้งในเชิงปองกันดวยการ หลีกเลี่ยงการกอใหเกิดปญหาทางสังคม หรือในเชิงรวมกันแกไขดวยการชวยเหลือเยียวยาปญหาทาง สังคมนั้นๆ ดวยกระบวนการทางธุรกิจ เพื่อการยกระดับสุขภาวะของชุมชนและการพิทักษสิ่งแวดลอม โดยที่องคกรธุรกิจสามารถที่จะดําเนินการเอง หรือเลือกที่จะรวมมือกับพันธมิตรภายนอก 7. การพัฒนาและสงมอบผลิตภัณฑและบริการตามกําลังซื้อของคนในระดับฐาน ราก (Developing and Delivering Affordable Products and Services) เปนการใชกระบวนการ ทางธุรกิจในการผลิต และจําหนายสินคาและบริการสูตลาดที่เรียกวา The Bottom of the Pyramid (BoP) ในราคาที่ไมแพง เหมาะกับกําลังซื้อของผูบริโภคในระดับฐานรากใหสามารถเขาถึง สินคาและบริการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต พรอมกันกับเปนโอกาสสําหรับธุรกิจในการเขาถึงตลาด ปริมาณมหาศาล การจําแนกกิจกรรม CSR ขางตน หากพิจารณาตามตระกูล (order) ของ CSR จะ พบวากิจกรรม 3 ชนิดแรก เกี่ยวของกับพฤติกรรมทางการพูด หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวาเปนการสื่อสาร การตลาดที่เขาขายการดําเนินกิจกรรมโดยใชทรัพยากรนอกองคกรเปนหลัก (Social-driven CSR) เชน การเชิญชวนใหลูกคาซื้อสินคาและบริการของบริษัทในชวงเวลาการรณรงคโดยบริจาครายไดจาก การขายสินคาและบริการสวนหนึ่งตอทุกๆ การซื้อแตละครั้งใหแกหนวยงานหรือมูลนิธิที่ชวยเหลือ ผูประสบภัยสึนามิถือเปนการระดมเงิน บริจาคจากการซื้อของลูกคา และมอบหมายใหผูอื่นที่มิใช พนักงานในองคกรลงแรงชวยเหลือในพื้นที่ สวนกิจกรรม 4 ชนิดหลัง เกี่ยวของกับพฤติกรรมทางการ กระทํ า หรื อ เป น การดํ า เนิ น กิ จ กรรมขององค กรโดยใช ท รั พ ยากรที่ มี อยู ภ ายในองค ก รเป น หลั ก (Corporate-driven CSR) เชน การที่องคกรบริจาคเงินที่ไดจากกําไรในกิจการ หรือบริจาคสินคาและ บริการของบริษัทเพื่อชวยเหลือผูประสบภัยสึนามิ ถือเปนการเสียสละทรัพยากรที่เปนสิ่งของหรือเปน


15 การลงเงินอยางหนึ่ง หรือการที่องคกรนําพนักงานลงพื้นที่เพื่อเปนอาสาสมัครชวยเหลือผูประสบภัย ถือเปนการเสียสละทรัพยากรดานเวลาหรือเปนการลงแรง แตหากพิจารณาโดยยึดที่ตัวกระบวนการ ทางธุรกิจ (business process) CSR ในตระกูล Corporate-driven CSR ยังสามารถจําแนกออกเปน CSR จําพวก (division) ที่อยูในกระบวนการทางธุรกิจ (CSR-in-process) กับ CSR จําพวกที่อยูนอก กระบวนการทางธุรกิจ หรือเกิดขึ้นภายหลังโดยแยกตางหากจากกระบวนการทางธุรกิจ (CSR- afterprocess)

2.2 ISO 26000 มาตรฐานการรับผิดชอบตอสังคม ISO 26000 Social Responsibility เปนมาตรฐานการแสดงความรับผิดชอบตอ ผลกระทบของสังคมและสิ่งแวดลอมจากการตัดสินใจและดําเนินกิจกรรมตางๆ ขององคกร เพื่อความ เปนอยูที่ดีของคนในสังคมและการพัฒนาที่ยั่งยืนทางธุรกิจ (โสภณ พรโชคชัย, 2552) 2.2.1 สาเหตุของการกอเกิด ISO 26000 ในปจจุบันการบริหารองคกรใหกาวหนาและประสบความสําเร็จนั้น นอกจากจะตอง มีความ “เกง” จําเปนตองมี “ความดี” ขนานควบคูไปดวยเสมอ เพราะวาการที่องคกรใดองคกรหนึ่ง สามารถทํากําไรไดมากมายมหาศาล ไมใชเครื่องชี้วัดวาองคกรนั้นจะสามารถดําเนินธุรกิจไดอยาง ยั่งยื นในอนาคต แต ความรับ ผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมตางหากที่จ ะทําใหองคกรไดรับ การ ยอมรับ ไมโดนสังคมตอตานและสามารถดําเนินธุรกิจไดอยางยั่งยืน คุณธรรมสําคัญที่ทุกองคกรตอง ตระหนักคือ “การให” เพื่อเปนการคืนกําไรไปสูภาคสังคมในรูปแบบตางๆ เชน การบริจาคสิ่งของ เครื่ อ งใช แ ละเงิ น ช ว ยเหลื อ การมอบทุ น การศึ ก ษา รวมไปถึ ง การสนั บ สนุ น กิ จ กรรมด า นสั ง คม การศึกษา ศาสนา และสิ่งแวดลอมของสังคมและชุมชน แนวคิดดังกลาวนี้ไดรับการยอมรับอยาง กวางขวางในทุกภาคสวนคือ ความรับผิดชอบตอสังคม หรือ Social Responsibility : SR ซึ่งในบาง องคกรที่มีความเข็มแข็งในการทํา SR จะไดทําการยกระดับ โดยการนํากิจกรรม SR ไปพัฒนาเปน หลักการที่เรียกวาการพัฒนาที่ยั่งยืน (Social Development : SD) ซึ่งในประเทศไทยมีหลายๆ องคกรที่ไดมีการจัดตั้งสวนงานขึ้นมาเพื่อดูแลในสวนของ SD องคกร เนื่องดวยกระแสการสรางความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร (Corporate Social Responsibility : CSR ) เปนกระแสหลักที่มีความสําคัญตอภาคธุรกิจในโลกมากยิ่งขึ้น เนื่องจาก ปญหาวิกฤติดานสิ่งแวดลอมและแรงงานในทั่วทุกมุมโลก ดังนั้นจึงไดมีการแสวงหาแนวคิดและ แนวทางดําเนินการ เพื่อใหเกิดความสันติและการสานสัมพันธอันดีในการอยูรวมกันในสังคม ดวยเหตุ นี้ อ งค ก ารระหว า งประเทศว า ด ว ยการมาตรฐาน (International Organization for Standardization: ISO) จึงไดกําหนดมาตรฐานวาดวยความรับผิดชอบตอสังคม (ISO 26000 Social Responsibility) ขึ้น เพื่อใหบริษัท องคกร หนวยงานตางๆ ทั่วโลก รวมถึงผูมีสวนไดเสียขององคกร ไดเพิ่มความตระหนักและสรางความเขาใจในเรื่องของความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งมาตรฐานวาดวย ความรับผิดชอบตอสังคม (ISO 26000 Social Responsibility) จะเปนขอแนะนํา หลักการและ วิธีการของความรับผิดชอบตอสังคมที่องคกรพึงปฏิบัติโดยความสมัครใจ ทุกองคกรสามารถนําไป


16 ประยุกตใชไดโดยไมตองมีการตรวจรับรอง ดังนั้น มาตรฐาน ISO 26000 จึงไมสามารถที่จะขอการ รับรองไดเหมือนกับมาตรฐาน ISO 9001 (ระบบริหารคุณภาพ) หรือ มาตรฐาน ISO 14001 (สิ่งแวดลอม) สําหรับประเทศไทยไดมีการประกาศมาตรฐาน ISO 26000 อยางเปนทางการเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 2.2.2 หลักสําคัญของ ISO 26000 ISO 26000 มีหลักการสําคัญ 7 ประการ คือ 1. ความรับผิดชอบ (Accountability) สําหรับการดําเนินงานใดๆ ขององคกรตอง สามารถตรวจสอบไดจากภายนอก 2. ความโปรงใส (Transparency) องคกรควรเปดเผยขอมูลตางๆ ใหผูมีสวนได สวนเสีย รวมถึงผูที่เกี่ยวของไดรับทราบอยางชัดแจง 3. การปฏิบัติอยางมีจริยธรรม (Ethical behavior) องคกรควรมีการกําหนด มาตรฐานการปฏิบัติงานอยางมีจริยธรรม โดยคํานึงถึงความซื่อสัตย ความเทาเทียม ความยุติธรรม สิ่งแวดลอมและผูมีสวนไดเสีย 4. การเคารพตอผลประโยชนของผูมีสวนไดเสีย (Respect for stakeholder interests) องคกรควรตระหนักถึงสิทธิและผลประโยชนของผูมีสวนไดสวนเสีย โดยเปดโอกาสให แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมขององคกร เชน นโยบาย ขอเสนอ หรือการตัดสินใจตางๆ ที่จะ สงผลตอผูมีสวนไดสวนเสีย 5. การเคารพตอหลักนิติธรรม (Respect for rule of law) องคกรจะตองมีการ ปฏิบัติที่สอดคลองกับหลักของกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของ 6. การเคารพตอการปฏิบัติตามแนวทางของสากล (Respect for international norm of behavior) รวมถึงสนธิสัญญาสากล คําสั่ง ประกาศ ขอตกลง มติและขอชี้นําตางๆ ซึ่งไดรับ การรับรองจากองคกรสากลที่เกี่ยวของกับองคกรนั้นๆ 7. การความเคารพตอสิทธิมนุษยชน (Respect of human right) องคกรควร ดําเนินนโยบายและดําเนินกิจกรรมที่สอดคลองกับปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน 2.2.3 องคประกอบของความรับผิดชอบตอสังคม ความรับผิดชอบตอสังคมนั้นมีองคประกอบหลากหลายซึ่งใน ISO 26000 ไดกําหนด องคประกอบหลักของความรับผิดชอบไว 7 ประการ ดังนี้ 1. มีการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Organization governance) กลาวคือ องคกรควร กํา หนดหน าที่ ใหคณะกรรมการฝ ายจัดการ ผูถือหุน และผูมีสว นไดสว นเสียสามารถสอดสองดูแล ผลงานและการปฏิบัติงานขององคกรได เพื่อแสดงถึงความโปรงใส พรอมรับการตรวจสอบและ สามารถชี้แจงใหผูมีสวนไดเสียไดรับทราบถึงผลการปฏิบัติงานได 2. คํานึงถึงสิทธิมนุษยชน (Human rights) ซึ่งเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย โดย สิทธิดังกลาวควรครอบคลุมถึงสิทธิความเปนพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม และสิทธิตามกฎหมายระหวางประเทศ


17 3. ขอปฏิบัติดานแรงงาน (Labor practices) องคกรตองตะหนักวาแรงงานไมใช สินคา ดังนั้นแรงงานจึงไมควรถูกปฏิบัติเสมือนเปนปจจัยการผลิต 4. การดูแลสิ่งแวดลอม (Environment) องคกรจําเปนที่จะตองคํานึงถึงหลักการ ปองกันปญหามลพิษการบริโภคอยางยั่งยืน (Sustainable consumption) และการใชทรัพยากร อยางมีประสิทธิภาพในการดําเนินการผลิตและบริการ 5. การดําเนินธุรกิจอยางเปนธรรม (Fair operating practices) องคกรตางๆ ควรแขงขันกันอยางเปนธรรมและเปดกวาง ซึ่งจะชวยสงเสริมประสิทธิภาพในการลดตนทุนสินคาและ บริการ นวัตกรรมการพัฒนาสินคาหรือกระบวนการใหมๆ รวมถึงจะชวยขยายการเติบโตทาง เศรษฐกิจและมาตรฐานการครองชีพในระยะยาว 6. ใสใจตอผูบริโภค (Consumer issues) องคกรจะตองเปดโอกาสใหผูบริโภค ไดรับทราบขอมูลในการใชสินคาและบริการอยางเหมาะสม ทั้งยังตองใหความสําคัญกับการพัฒนา สินคาและบริการที่เปนประโยชนตอสังคม โดยคํานึงถึงความปลอดภัยในการใชงานและสุขภาพของ ผูบริโภค นอกจากนี้เมื่อพบวาสินคาไมเปนไปตามเกณฑที่กําหนดองคกรก็จะตองมีกลไกในการเรียก คืนสินคา พรอมทั้งยังตองใหความสําคัญกับกฎหมายคุมครองผูบริโภคและถือปฏิบัติอยางเครงครัด 7. การแบงปนสูสังคมและชุมชน (Contribution to the community and society) การดําเนินการตามระเบียบและการมีสวนรวมในการพัฒนาสังคม โดยปฏิบัติตามกฎหมาย การมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนและสังคม รวมไปถึงการสงเสริมความรวมมือระหวางองคกร องคกรทุกแหงตองเกี่ยวของกับ 7 หัวขอหลักทั้งหมด แตอาจจะไมไดเกี่ยวของกับ ประเด็นยอยตางๆ ทุกประเด็น องคกรหนึ่งๆไมจําเปนจะตองดําเนินกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคม ใหครบทุกดาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการทบทวนผลการดําเนินดาน SR ขององคกรตาม 7 หัวขอหลัก การ วิเคราะหผลกระทบตอผูมีสวนไดเสียและประเด็นดานกฎหมาย เนื่องจากการปฏิบัติตามกฎหมายที่ เกี่ยวของ ไดแก ดานแรงงาน ดานสิ่ งแวดล อม ดานความปลอดภัย และดานอาชีว อนามัย ถือเปน หลั กการพื้น ฐานที่ มาตรฐานความรับ ผิดชอบตอสังคมไดแนะนําใหทุกองคกรปฏิบัติตามและตอง ดําเนินการโดยผนวกเขากับการดําเนินการขององคกรธุรกิจตั้งแตในระดับนโยบาย วิสัยทัศนและ แทรกอยูในหนาที่ความรับผิดชอบของพนักงานในหนวยงานตางๆ ขององคกรอยางมีบูรณาการ การที่องคกรจะนําหลักการของ ISO 26000 ไปปรับใชใหเหมาะสมกับองคกร ตอง เริ่มตนจากการทําความเขาใจในเนื้อหาสาระของ ISO 26000 ทุกประเด็น หลังจากนั้นจึงทําการ พิจารณาความสัมพันธขององคกรกับ SR ซึ่งอาจใชการสํารวจภายในองคกรมีการทํา SR ในดานใดใน ขณะนี้ โดยนํา 7 หัวขอหลักไปเทียบเคียง และเลือกปฏิบัติใน SR ที่องคกรมีความพรอมและสามารถ ดําเนินการไดกอน ซึ่งอาจจะเปน SR ที่องคกรไดทําดีอยูแลว หลังจากนั้นจึงเพิ่มขยายไปในประเด็น SR ตางๆ ตอไปใหครบถวนและองคกรที่มีการดําเนินงานตามกรอบแนวทางของ ISO 26000 จะตอง บรรจุ เรื่ องนี้เ ข า ไปอยู ในรายงานประจําป เพื่อเพิ่มความนาเชื่อถือดาน SR ขององคกร ปจ จัย ความสําเร็จของการนํา ISO 26000 ไปใชในองคกรที่สําคัญอยางยิ่งก็คือ การที่ผูบริหารองคกรตองให ความสําคัญกับการนํา SR ไปปฏิบัติใชแบบบูรณาการอยางจริงจัง โดยปรับใหเขากับระดับนโยบายของ


18 องคกร วิสัยทัศน โครงสรางองคกรและทําการสื่อสารในเรื่อง SR ใหพนักงานทุกคนในองคกรไดรับ ทราบและนําไปปฏิบัติตามแนวทางที่องคกรที่ไดกําหนด ประโยชนของการนํา ISO 26000 ไปปรับใชในองคกร นอกจากจะชวยสรางใหเกิด การรับรูและเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงานดานความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรแลว ยังเปน การสรางความไดเ ปรีย บในเชิงธุร กิจ ใหกับ องคก รทั้งในดา นของชื่อ เสีย ง การสรา งความเชื่อ มั่น และทัศ นคติที่เ ปน บวกตอผูมีสวนไดเสียในทุกสวน ตลอดจนยังเปนการสรางความสัมพันธอันดีตอ ภาคธุรกิจ ภาครัฐ สื่อมวลชน คูคา ผูถือหุน ลูกคาและชุมชนในพื้นที่จัดตั้งองคกรธุรกิจ สําหรับ ISO 26000 จะไมไดเปนเพียงกระแสที่ผานมาและผานไปในระยะเวลาสั้นๆ แตจะเปนเสมือนภาษากลางในเรื่องของการรับผิดชอบตอสังคมโลกในระยะยาวที่จะเปนหลักสําคัญใน การนําพาองคกรใหกาวไปสูความยั่งยืน หากผูบริหารทุกองคกรพรอมใจกันนําเรื่องความรับผิดชอบ ตอสังคมใหเขาไปเปนสวนหนึ่งขององคกรและผลักดันใหเปนนโยบายหลักขององคกร ไมเพียงแตจะ เกิดประโยชนในการแขงขันเชิงธุรกิจเทานั้น แตยังเปนการคืนผลกําไรกลับสูสังคมและสิ่งแวดลอม ซึ่ง จะนํ า ไปสู ก ารพั ฒ นาอย า งยั่ งยื น (Sustainable Development) (http://www.csri.or.th/ knowledge/sustainability-report-standard-guideline/776; สืบคน เมื่อวัน ที่ 26 กรกฎาคม 2555)

2.3 ทฤษฎีการมีสวนรวม การมีสวนรวมถือเปนสิ่งสําคัญตอความสําเร็จของการดําเนินกิจกรรม หรือโครงการ ตางๆ เปนอยางมาก โดยเฉพาะการมีสวนรวมในกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร ธุรกิจ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม ที่ประกอบไปดวยกิจกรรมตางๆ มากมายที่ตองการการมีสวน รวมของพนักงานทั่วไป จึงจะสงผลใหการบริหารจัดการงานดานความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร ธุรกิจสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี 2.3.1 ความหมายของการมีสวนรวม การมีสวนรวม หมายถึง การมีสวนรวมของบุคคลจะกอใหเกิดการมีสวนเกี่ยวของ และการมี ส วนเกี่ ยวข องจะส งผลใหเกิดความผูกพัน ตอหนว ยงาน และภารกิจที่ตนเองมีสว นรว ม (เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ, 2537 : 178) การมี ส ว นร ว ม หมายถึ ง กระบวนการให บุ ค คลเข า มามี ส ว นเกี่ ย วข อ งในการ ดําเนินงานพัฒนา รวมคิด ตัดสินใจ แกไขปญหาดวยตนเอง เนนการมีสวนรวมเกี่ยวของอยางแข็งขัน ของ บุคคล แกไขปญหารวมกับการใชวิทยาการที่เหมาะสมและสนับสนุน ติดตามการ ปฏิบัติงานของ องคการและบุคคลที่เกี่ยวของ (ยุพาพร รูปงาม, 2545 : 6) การมีสวนรวม หมายถึง การเกี่ยวของทางดานจิตใจและอารมณของบุคคลหนึ่งใน สถานการณกลุม ซึ่งผลของการเกี่ยวของดังกลาวเปนเหตุเราใจใหกระทําการใหบรรลุจุดมุงหมายของ กลุมนั้น กับทั้งทําใหเกิดความสวนรวมรับผิดชอบกับกลุมดังกลาวดวย (นิรันดร จงวุฒิเวศย, 2527 : 183)


19 การมีสวนรวม หมายถึง การที่ฝายหนึ่งฝายใดที่ไมเคยไดเขารวมในกิจกรรมตางๆ หรื อเขา ร วมการตั ดสิ น ใจ หรือเคยมาเขารว มดว ยเล็กนอยไดเขารว มดว ยมากขึ้น เปน ไปอยางมี อิสรภาพ เสมอภาค มิใชมีสวนรวมอยางผิวเผินแตเขารวมดวยอยางแทจริงยิ่งขึ้นและการเขารวมนั้น ตองเริ่มตั้งแตขั้นแรกจนถึงขั้นสุดทายของโครงการ (นิรันทรชัย พัฒนพงศา, 2546 : 4) การมีสวนรวม หมายถึง กระบวนการที่ทําใหบุคคลสมัครใจเขามามีสวนรวมในการ ตัดสินใจเพื่อตนเองและมีสวนดําเนินการ เพื่อใหบรรลุถึงวัตถุประสงคตามที่ตั้งเอาไว ทั้งนี้ตองไมใช การกําหนดกรอบความคิดจากบุคคลภายนอกหรือองคกรที่บุคคลไดเขามามีสวนรวมในการดําเนินงาน กิจ กรรมในขั้ น ตอนใดขั้ น ตอนหนึ่ ง หรือทุกขั้น ตอนรูป แบบการตั ดสิน ใจของบุคคลในการจัดการ เกี่ยวกับทรัพยากรและปจจัยการผลิตที่มีอยู จะตองทําเพื่อประโยชนตอการพัฒนาชีวิตในทุกๆ ดาน ของตนเองที่เปนอยูใหดีขึ้นกวาเดิม (สุจินต ดาววีระกุล, 2527 : 18) การมีสวนรวม หมายถึง วิธีการที่ผูนําสามารถนํามาปรับใชในการจูงใจและสราง ขวัญกําลังใจใหแกบุคลากร เปนกลยุทธที่จะชวยใหมีแรงจูงใจในการทํางานมากขึ้น มีลักษณะเปน กระบวนการที่จะทําใหพนักงานมีสิทธิมีเสียงในการตัดสินใจที่เกี่ยวของกับงานของตน บุคลากรที่มี สว นร ว มในการตัดสิน ใจอาจมี ความผูกพัน ในการทํางานยิ่งกวาการเขามีสว นรวมในการตัดสิน ใจ เทานั้น ยิ่งไปกวานั้นการเขาไปมีสวนรวมจะทําใหบุคลากรเกิดทัศนะตอการบริหารงานขององคกร ดีขึ้น สงผลใหบุคคลเกิดความพอใจในการทํางานและมีแรงใจที่จะมุงสูความสําเร็จในชีวิตการทํางาน (ทองใบ สุดชารี, 2543 : 227) การมีสวนรวม หมายถึง ผลของการเห็นพองตองกันในเรื่องของความตองการและ ทิศทางการเปลี่ยนแปลง ความเห็นพองตองกันนั้นจะมีมากพอจนเกิดความคิดริเริ่มโครงการเพื่อการ ปฏิบัติการ (ประพันธพงษ ชิณพงษ, 2551 : 9) การมีสวนรวม หมายถึง การไดเขาไปเกี่ยวของที่อาจเปนการเขารวมแบบทางตรง หรือทางออมในการทํากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งก็ได (เนตินา โพธิ์ประสระ, 2541 : 26) สรุปไดวา การมีสวนรวม หมายถึง การเขาไปมีสวนรวมทํากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง อาจเปนการเขารวมแบบทางตรง หรือทางออมก็ได และยังเปนวิธีการที่ผูนําสามารถนํามาปรับใชใน การจูงใจและสรางขวัญกําลังใจใหแกบุคลากร เปนกลยุทธที่จะชวยใหมีแรงจูงใจในการทํางานมากขึ้น การเขาไปมีสวนรวมยังทําใหบุคลากรเกิดทัศนะตอการบริหารงานขององคกรดีขึ้น สงผลใหบุคคลเกิด ความพอใจในการทํางาน เกิดความผูกพันตอหนวยงาน และภารกิจที่ตนเองมีสวนรวมมีแรงใจที่จะมุง สูความสําเร็จในชีวิตการทํางาน 2.3.2 แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการมีสวนรวม ยุ พาพร รู ป งาม (2545 : ประกอบดวย 5 ทฤษฎี สรุปไดดังนี้

7-9)

ได กลาวถึง ทฤษฎีที่ เกี่ย วกั บ การมี สว นรว ม

1. ทฤษฎีการเกลี้ยกลอมมวลชน (Mass Persuation) Maslow กลาววา การเกลี้ย กลอม หมายถึง การใชคําพูดหรือการเขียนเพื่อมุงใหเกิดความเชื่อถือและการกระทํา ซึ่งการเกลี้ย


20 กลอมมีประโยชนในการแกไขปญหาความขัดแยงในการปฏิบัติงานและถาจะใหเกิดผลดีผูเกลี้ยกลอม จะตองมีศิลปะในการสรางความสนใจในเรื่องที่จะเกลี้ยกลอม โดยเฉพาะในเรื่องความตองการของคน ตามหลักทฤษฎีของ Maslow ที่เรียกวา ลําดับขั้นความตองการ (hierarchy of needs) คือ ความ ตองการของคนจะเปนไปตามสําดับจากนอยไปมากมีทั้งหมด 5 ระดับ ดังนี้ 1.1 ความตองการทางดานสรีระวิทยา (physiological needs) เปนความ ตองการ ขั้นพื้นฐานของมนุษย (survival need) ไดแก ความตองการทางดานอาหาร ยา เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย ยารักษาโรคและความตองการทางเพศ 1.2 ความตองการความมั่นคงปลอดภัยของชีวิต (safety and security needs) ไดแก ความตองการที่อยูอาศัยอยางมีความปลอดภัยจากการถูกทํารายรางกาย หรือถูกขโมย ทรัพยสิน หรือความมั่นคงในการทํางานและการมีชีวิตอยูอยางมั่นคงในสังคม 1.3 ความตองการทางดานสังคม (social needs) ไดแก ความตองการความรัก ความตองการที่จะใหสังคมยอมรับวาตนเปนสวนหนึ่งของสังคม 1.4 ความตองการที่จะมีเกียรติยศชื่อเสียง (self - esteem needs) ไดแก ความภาคภูมิใจ ความตองการดีเดนในเรื่องหนึ่งที่จะใหไดรับการยกยองจากบุคคลอื่น ความตองการ ด า นนี้เ ป น ความต องการระดั บ สู งที่เกี่ย วกั บ ความมั่ น ใจในตั ว เองในเรื่ องความความสามารถและ ความสําคัญของบุคคล 1.5 ความตองการความสําเร็จแหงตน (self - actualization needs) เปน ความตองการในระบบสูงสุดที่อยากจะใหเกิดความสําเร็จในทุกสิ่งทุกอยางตามความนึกคิดของตนเอง เพื่อจะพัฒนาตนเองใหดีที่สุดเทาที่จะทําได ความตองการนี้จึงเปนความตองการพิเศษของบุคคลที่จะ พยายามผลักดันชีวิตของตนเองใหเปนแนวทางที่ดีที่สุด 2. ทฤษฎีการระดมสรางขวัญของคนในชาติ (National Morale) คนเรามีความ ตองการทางกายและใจ ถาคนมีขวัญดีพอผลของการทํางานจะสูงตามไปดวย แตถาขวัญไมดีผลงานก็ ต่ําไปดวย ทั้งนี้เนื่องจากวาขวัญเปนสถานการณทางจิตใจที่แสดงออกในรูปพฤติกรรมตางๆ นั่นเอง การจะสรางขวัญใหดีตองพยายามสรางทัศนคติที่ดีตอผูรวมงาน เชน การไมเอารัดเอาเปรียบ การให ขอเท็จจริงเกี่ยวกับงาน การเปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น เปนตน และเมื่อใดก็ตามถาคนทํางานมี ขวัญดีจะเกิดสํานึกในความรับผิดชอบ อันจะเกิดผลดีแกหนวยงานทั้งในสวนที่เปนขวัญสวนบุคคล และขวัญของกลุม ดังนั้น จะเปนไปไดวาขวัญของคนเราโดยเฉพาะคนมีขวัญที่ดียอมเปนปจจัยหนึ่งที่ จะนําไปสูการมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ไดเชนกัน 3. ทฤษฎีสรางความรูสึกชาตินิยม (Nationalism) ปจจัยประการหนึ่งที่นําสูการมี สวนรวม คือ การสรางความรูสึกชาตินิยมใหเกิดขึ้น หมายถึง ความรูสึกเปนตัวของตัวเองที่จะอุทิศ หรือเนนคานิยมเรื่องผลประโยชน สวนรวมของชาติ มีความพอใจในชาติของตัวเอง พอใจเกียรติภูมิ จงรักภักดี ผูกพันตอทองถิ่น


21 4. ทฤษฎีการสรางผูนํา (Leadership) การสรางผูนําจะชวยจูงใจใหประชาชน ทํางานดวยความเต็มใจเพื่อบรรลุเปาหมาย หรือวัตถุประสงครวมกัน ทั้งนี้เพราะผูนําเปนปจจัยสําคัญ ของการรวมกลุมคน จูงใจไปยังเปาประสงค โดยทั่วไปแลวผูนําอาจจะมีทั้งผูนําที่ดีเรียกวาผูนําปฎิฐาน (positive leader) ผูนําพลวัต คือ เคลื่อนไหวทํางานอยูเสมอ (dynamic leader) และผูนําไมมีกิจ ไมมีผลงานสรางสรรค ที่เรียกวา ผูนํานิเสธ (negative leader) ผลของการใหทฤษฎีการสรางผูนําจึง ทํ า ให เ กิ ด การระดมความร ว มมื อ ปฏิ บัติ ง านอย างมี ข วัญ กํ าลั ง ใจ งานมี คุ ณภาพ มี ค วามคิ ดริ เ ริ่ ม สรางสรรคและรวมรับผิดชอบ ดังนั้น การสรางผูนําที่ดี ยอมจะนําไปสูการมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ดวยดีนั่นเอง 5. ทฤษฎีการใชวิธีและระบบทางการบริหาร (Administration and Method) การใชระบบบริหารในการระดมความรวมมือเปนวิธีหนึ่งที่งาย เพราะใชกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน เปนเครื่องมือในการดําเนินการ แตอยางใดก็ตามผลของความรวมมือยังไมมีระบบใดดีที่สุดในเรื่องการ ใชบริหาร เพราะธรรมชาติของคน ถาทํางานตามความสมัครใจอยางตั้งใจไมมีใครบังคับก็จะทํางาน ดวยความรัก แตถาไมควบคุมเลยก็ไมเปนไปตามนโยบายและความจําเปนของรัฐ เพราะการใชระบบ บริหาร เปนการใหปฏิบัติตามนโยบายเพื่อใหบรรลุเปาหมายเพิ่มความคาดหวังผลประโยชน อํานาจ อนันตชัย (2527: 126-128) ไดกลาวถึง ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวกับการมี สวนรวม สรุปได ดังนี้ 1. ทฤษฎีการเกลี้ยกลอมมวลชน (Mass persuasion) การเกลี้ยกลอม หมายถึง การใชคําพูดหรือการเขียน เพื่อมุงใหเกิดความเชื่อถือการกระทํา ซึ่งการเกลี้ยกลอมมีประโยชนในการ แกไขปญหาการขัดแยงในการปฏิบัติงาน และถาจะใหเกิดผลดีผูเกลี้ยกลอมจะตองมีศิลปะในการสราง ความสนใจในเรื่ องที่จ ะเกลี้ ยกล อมใหเขาใจแจมแจง ใหเกิดศรัทธาตรงกับ ความตองการของผูถูก เกลี้ยกลอมโดยเฉพาะในเรื่องของความตองการของตนตามหลักทฤษฎีของ Maslow ที่เรียกวา ลําดับ ขั้นของความตองการ (Hierarchy of needs) คือ ความตองการของตนเปนไปตามลําดับจากนอยไป หามาก มีทั้งหมด 5 ระดับ ดังนี้ 1.1 ความตองการทางดานสรีระวิทยา (Physiological needs) เปนความ ตองการขั้นพื้นฐานของมนุษย (Survival needs) ไดแก ความตองการในเรื่องอาหาร น้ํา เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย ยารักษาโรคและความตองการทางเพศ เปนตน 1.2 ความตองการความมั่นคงปลอดภัยของชีวิต (Safety and security needs) ไดแก ความตองการที่จะอยูอยางมีความปลอดภัยจากการถูกทํารายรางกาย หรือถูกขโมย ทรัพยสิน หรือความมั่นคงในการทํางานและการมีชีวิตอยูอยางมั่นคงในสังคม 1.3 ความตองการทางดานสังคม (Social needs) ไดแก ความตองการความ รัก ความตองการที่จะใหสังคมยอมรับวาตนเปนสวนหนึ่งของสังคม 1.4 ความตองการจะมีเกียรติยศชื่อเสียง (Self esteem needs) ไดแก ความ ภาคภูมิใจ ความตองการดีเดนในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่จะใหไดรับการยกยองจากบุคคลอื่น ความตองการ


22 ดานนี้เปนความตองการระดับสูงที่เกี่ยวกับความมั่นใจตนเองในเรื่องของความรู ความสามารถและ ความสําคัญของบุคคล 1.5 ความตองการความสําเร็จแหงตน (Self actualization needs) เปน ความตองการในระดับสูงสุด ซึ่งเปนความตองการที่อยากจะใหเกิดความสําเร็จในทุกสิ่งทุกอยางตาม ความนึกคิดของตนเอง เพื่ อจะพั ฒนาตนเองใหดีที่สุดเทาที่จ ะทําได ความตองการนี้จึงเปน ความ ตองการพิเศษของบุคคล (Self actualization needs) ที่จะพยายามผลักดันชีวิตของตนเองใหเปนไป ในแนวทางที่ดีที่สุดตามที่ตนคาดหวัง 2. ทฤษฎีการสรางผูนํา (Leadership Theory) เปนการจูงใจใหประชาชนทํางาน ดวยความเต็มใจ เพื่อบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงครวมกัน ผูนําแบบประชาธิปไตยเปนผูที่ปรับตัว เขากับสถานการณใหมไดงายมีความรับผิดชอบ รูจักประนีประนอม ไมตัดสินปญหาขอขัดแยงดวย วิธีการรุนแรง อดทนตอการวิพากษวิจารณ รับฟงความคิดเห็นของคนอื่น กอใหเกิดความรวมมือและ รวมใจจากผูเกี่ยวของทุกฝายและประสานงานกันอยางใกลชิด ผลจากการใชทฤษฎีนี้ทําใหเกิดการ ระดมความรวมมือการปฏิบัติงานอยางมีขวัญ งานมีคุณภาพ มีความคิดริเริ่มสรางสรรคและรวมกัน รับผิดชอบตลอดเวลา 3. ทฤษฎีการกระทําทางสังคม (The Theory of Social Action) การกระทําทาง สังคมมี 4 ขั้น คือ 3.1 การกระตุนที่มีเหตุผล (Rational) เปนการกระทําที่ใชวิธีการอันเหมาะสม ในอัน ที่จ ะบรรลุถึงจุ ดมุ งหมายที่ เลือกไวอยางมีเหตุผล การกระทําดังกลาวมุงไปในดานการเมือง เศรษฐกิจและสังคม 3.2 การกระทําที่เกี่ยวกับคานิยม (Valuable) เปนการกระทําที่ใชวิธีการที่ เหมาะสม เชน เพื่อจะทําใหคานิยมสูงสุดในชีวิตมีความสมบูรณพรอมการกระทําเชนนี้มุงไปในดาน จริยธรรม ศาสนาและทางศีลธรรมอยางอื่น เพื่อการดํารงไวซึ่งความเปนระเบียบในชีวิตทางสังคม 3.3 การกระทํ า ตามประเพณี (Traditional) เป น การกระทํ า ที่ ไม มี ก าร เปลี่ยนแปลงโดยยึดเอาแบบอยางที่ทํากันมาตั้งแตอดีตเปนหลักในพฤติกรรม การกระทําตามประเพณี ไมคํานึงถึงเหตุผล 3.4 การกระทําที่แฝงดวยความเสนหา (Affective) การกระทําแบบนี้คํานึงถึง อารมณและความผูกพันทางจิตระหวางผูทํากับวัตถุที่เปนจุดมุงหมายของการกระทํา การกระทําเชนนี้ ก็ไมคํานึงถึงเหตุผลอยางอื่นใดทั้งสิ้น นอกจากเรื่องสวนตัว 4. แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการติดตอสื่อสาร กระบวนการติดตอสื่อสารเปน ขั้นตอนของแนวความคิดที่จะถายทอดขอความจากผูสง (Sender) จนกระทั้งขอความนั่นไปจนถึง ผูรับ (The receiver) โดยมีปจจัยที่เกี่ยวของ คือ 4.1 ผูสงขาวสาร (The sender of the message) เปนบุคคลที่จะถายทอด ขอความหรือขาวสารตางๆ ที่ตนตองการจะถายทอดไปยังผูรับ


23 4.2 ชองทางของขาวสาร (Transmission of message) เปนตัวเชื่อมระหวาง ผูสงขาวและผูรับขาวสาร ขาวสารนั้นอาจอยูในรูปของการพูดหรือการเขียนก็ได และชองทางของ ขาวสารที่ใชอาจอยูในรูปของการเขียน บันทึก โทรศัพท โทรเลข โทรทัศนและคอมพิวเตอร ฯลฯ 4.3 ผูรับขาวสาร (The receiver of the message) ผูรับขาวสารจะเกิด ความเขาใจและรับรูในขาวสารนั้นมากนอยเพียงใด ขึ้นอยูกับความสนใจ ความตั้งใจ ประสบการณ ความสามารถในการรับรูของแตละบุคคลอีกดวย 4.4 ส งรบกวนและปฏิกิริ ย าย อนกลับ ในการติ ดตอ สื่อ สาร (Noise and feedback communication) ในการติดตอสื่อสารนั้นมักจะมีผลกระทบที่เกิดจากสิ่งรบกวนตางๆ ที่ จะทําใหการติดตอสื่อสารลมเหลม เชน ชองทางของขาวสารมีปญหา เปนตน และในการติดตอสื่อสาร ก็จะมีปฏิกิริยายอนกลับเพื่อทําใหทราบวาการสงขาวสารนั้นสําเร็จหรือลมเหลว ผูสงขาวสารจะได ปรับปรุงชองทางของขาวสารใหมีคุณภาพยิ่งขึ้น สรุปไดวา แนวความคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมจะตองคํานึงถึงอารมณ ความรูสึก คานิยมและเหตุผลที่ติดตัวมาตั้งแตเดิมวาเอื้ออํานวยตอการมีสวนรวมขนาดไหน เปนการศึกษาถึง ปจจัยทางสังคม เศรษฐกิจของบุคคล อีกประการหนึ่งการมีสวนรวมเปนเรื่องความสัมพันธระหวาง บุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไป ซึ่งจะตองเห็นประโยชนอยางเดียวกันหันมารวมมือรวมใจกัน 2.3.3 รูปแบบของการมีสวนรวม 10 รูปแบบ คือ

ชัยอนันต สมุทรวณิช (2527: 13) ไดมีการแบงรูปแบบของการมีสวนรวม ออกเปน 1) การมีสวนรวมประชุม (Attendance at meeting) 2) การมีสวนรวมออกเงิน (Financial contribution) 3) การมีสวนรวมเปนกรรมการ (Membership on committees) 4) การมีสวนรวมเปนผูนํา (Position of leadership) 5) การมีสวนรวมสัมภาษณ (Interviewer) 6) การมีสวนรวมเปนผูชักชวน (Solicitor) 7) การมีสวนรวมเปนผูบริโภค (Customers) 8) การมีสวนรวมเปนผูริเริ่ม (Entrepreneur) 9) การมีสวนรวมเปนผูใชแรงงานหรือเปนลูกจาง (Employee) 10) การมีสวนรวมออกวัสดุอุปกรณ (Material contribution) Lee J. Cary (1976: 25) ไดแบงรูปแบบการเขามีสวนรวมออกเปน 5 รูปแบบ คือ 1) 2) 3) 4)

การเปนสมาชิก (Membership) การเปนสมาชิกผูเขาประชุม (Attendance at meeting) การเปนสมาชิกผูบริจาคเงิน (Financial contribution) การเปนกรรมการ (Membership on committees)


24 5) การเปนประธาน (Position of leadership) รูปแบบ คือ

Norman T. Uphoff (1981: 10) ไดกําหนดรูปแบบของการมีสวนรวมออกเปน 4

1) การมีสวนรวมในการตัดสินใจ ซึ่งอาจจะเปนการตัดสิน ใจตั้งแตเริ่ม การ ตัดสินใจสวนกิจกรรมและการตัดสินใจในการดําเนินกิจกรรม 2) การมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรม 3) การมีสวนรวมในการับผลประโยชน ซึ่งอาจจะเปนวัสดุทางสังคมหรือทาง สวนตัว 4) การมีสวนรวมในการประเมินผล มงคล จันทรสอง (2544: 8) ไดกําหนดรูปแบบของการมีสวนรวมอยู 3 ดาน คือ 1) การมีสวนรวมจะตองมีวัตถุประสงค หรือจุดมุงหมายที่ชัดเจน การใหบุคคล เข า รว มกิ จกรรมจะต องมี วั ตถุ ป ระสงคและเปาหมายที่ชัดเจนวาจะทํากิจ กรรมนั้น ๆ ไปเพื่ ออะไร ผูเขารวมกิจกรรมจะไดตัดสินใจถูกวาควรจะเขารวมหรือไม 2) การมีสวนรวมจะตองมีกิจกรรมเปาหมาย การใหบุคคลเขามามีสวนรวมใน กิจกรรมจะตองระบุลักษณะของกิจกรรมวามีรูปแบบและลักษณะอยางไร เพื่อใหผูเขารวมกิจกรรม สามารถตัดสินใจไดวาจะเขารวมกิจกรรมหรือไม 3) การเขารวมจะตองมีบุคคลหรือกลุมเปาหมาย การที่จะใหบุคคลเขามามี สวนรวมกิจกรรมนั้นจะตองระบุกลุมเปาหมายดวย อยางไรก็ตามโดยทั่วไปบุคคลกลุมเปาหมายมักถูก จํากัดโดยกิจกรรมและวัตถุประสงคของการมีสวนรวมอยูแลวเปนพื้นฐาน ศิริชัย กาญจนวาสี (2547: 48) ไดกําหนดรูปแบบและปจจัยที่มีอิทธิพลตอการมีสวน รวมของบุคคลในองคกร คือ 1) 2) 3) 4) 5) 6) 2 ลักษณะ คือ

การมีสวนรวมในการประชุม การมีสวนรวมในการเสนอปญหา การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ขององคกร การมีสวนรวมตัดสินใจในการเลือกแนวทางในการแกไขปญหา การมีสวนรวมในการประเมินผลในกิจกรรมตางๆ การมีสวนรวมในการไดรับประโยชน

สุจินต ดาววีระกุล (2527: 22) ไดกําหนดรูปแบบของการมีสวนรวมของบุคคลไวเปน

1) การมีสวนรวมอยางแทจริง คือ รูปแบบที่ประชาชนไดเขามามีสวนรวมหรือ เขามาเกี่ยวของรวมตัดสินใจในการดําเนินงานแตละขั้นตอนจนกวาการดําเนินงานจะบรรลุผลเสร็จ สมบูรณ


25 2) การมีสวนรวมที่ไมแทจริง คือ รูปแบบที่ประชาชนไดเขามามีสวนรวมหรือ เขามาเกี่ยวของในลักษณะหนึ่งลักษณะใดหรือในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งเทานั้น เนตินา โพธิ์ประสระ (2541: 17) ไดกลาวถึงรูปแบบของการมีสวนรวม ดังนี้ 1. การมีสวนรวมอยางเปนทางการและไมเปนทางการ (Formal - informal Participation) กลาว คือ การมีสวนรวมอยางเปนทางการ เปนการมีสวนรวมที่ถูกตองตามระบบของ องคกร ซึ่งเปนการมีสวนรวมตามหนาที่ที่มีอิทธิพลตอการเขารวมตามขอบเขตที่องคกรไดวางนโยบาย ไว สวนการมีสวนรวมอยางไมเปนทางการ เปนการมีสวนรวมที่เกิดขึ้นอยางไมมีโครงสรางเปนการรวม ตกลงกันระหวางสมาชิกในกลุม ระหวางพนักงานในบรรยากาศของความเปนสวนตัวมากกวาลักษณะ การมีสวนรวมอยางเปนทางการ 2. การมีสวนรวมทางตรงและทางออม (Direct – indirect Participation) 2.1 การมีสวนรวมทางตรง เปนการมีสวนรวมกันโดยตรงที่สมาชิก หรือ พนักงานในองคกรไดมีสวนรวมโดยตรงแบบทันที พนักงานแตละคนมีสิทธิและโอกาสที่จะแสดงการมี สวนรวมที่เกี่ยวของ 2.2 การมีสวนรวมทางออม เปนการมีสวนรวมของพนักงานโดยผานทางตัวแทน พนักงาน ทวีทอง หงสวิวัฒน (2527: 5-6) ไดอธิบายรูปแบบการมีสวนรวม ดังนี้ 1. การมีสวนรวมในการตัดสินใจ การตัดสินใจชนิดนี้เปนศูนยกลางของการเกิด ความคิ ดที่ห ลากหลาย มีการกําหนดและประเมินทางเลือกตัดสิน ใจ เลือกเปรียบเทีย บไดกับ การ วางแผนเพื่อนําทางที่เลือกมาสูการปฏิบัติ สามารถแบงออกเปน 3 ชนิด คือ 1.1 การตัดสินใจชวงเริ่มตน (Initial Decisions) เปนการเริ่มตนหาความ ตองการจากคนในทองถิ่นและวิธีการเขาไปมีสวนรวมในโครงการที่สําคัญ ขั้นตอนนี้มีความสําคัญที่จะ เลือกเอาโครงการที่เปนประโยชนตอกลุมคนและมีความเปนรูปธรรม โดยผานการใชกระบวนการ ตัดสินใจ ในระยะนี้สามารถใหขอมูลที่สําคัญของทองถิ่นและปองกันความเขาใจที่อาจจะเกิดขึ้นและ เสนอกลยุทธเพื่อแกไขปญหา ซึ่งคนในทองถิ่นสามารถเขามาเกี่ยวของตั้งแตชวงเริ่มตนโครงการทั้งใน เรื่องการเงิน การจัดสรรบุคลากร ตลอดจนวิธีการเขาไปมีสวนรวมในโครงการและสนับสนุนโครงการ ที่จะนําเขามา 1.2 การตัดสินใจในชวงดําเนินการ (On-going Decisions) คนในทองถิ่นอาจ ไมไดเขามามีสวนรวมในชวงเริ่มตน แตถูกขอรองใหเขามาดําเนินการเมื่อโครงการเขามา ความสําเร็จ ในชวงนี้เกิดขึ้นไดมากกวาการมีสวนรวมในการตัดสินใจในชวงเริ่มตน ซึ่งโครงการจะตองคนหาความ ตองการของบุคคลที่เขามามีสวนรวมในภายหลังนี้ และจัดลําดับความสําคัญของโครงการและวิธีการ ดําเนินโครงการที่สอดคลองกับความตองการของผูที่เขามามีสวนรวม 1.3 การตัดสินใจในชวงปฏิบัติการ (Operational Decisions) เปนความ เกี่ยวของในองคกรเมื่อโครงการเขามามีการเชื่อมโยงโครงการเขามาสูคนในทองถิ่น มีการรวบรวมของ องคกรตางๆ ที่เกี่ยวของเพื่อกําหนดกฎเกณฑสําหรับปฏิบัติกิจกรรมในโครงการ กรอบที่สมาชิกยึดถือ ประกอบดวย การประชุมเพื่อจัดทํานโยบาย การคัดเลือกผูนําที่จะมีอิทธิพลตอองคกร


26 2. การมีสวนรวมในการปฏิบัติของคนในทองถิ่นสามารถมีสวนรวมในการปฏิบัติ แบงไดเปน 3 ชนิด คือ 2.1 การมีสวนรวมในการสละทรัพยากร (Resource Contribution) สามารถ ดําเนินการไดหลายรูปแบบ ไดแก แรงงาน เงิน วัสดุ อุปกรณและขอมูลขาวสาร ทั้งหมดนี้เปนแหลง ทรัพยากรหลักที่สําคัญซึ่งมีอยูในทองถิ่น นํามาใชเพื่อพัฒนาโครงการ การสงเสริมโดยใชแรงงานใน ทองถิ่นเปนสิ่งที่ดี การบริจาคเงินและวัสดุอุปกรณตางๆ และอื่นๆ แสดงใหเห็นทิศทางที่ชัดเจนของ การมีสวนรวม สิ่งสําคัญของการมีสวนรวมนี้ คือ การรูวาใครเปนผูสนับสนุนและทําอยางไรโดยวิธีการ สมัครใจ การไดรับคาตอบแทน หรือโดยการบีบบังคับ การสนับสนุนเรื่องทรัพยากรบอยครั้งที่พบวามี ความไมเทาเทียมกันและการแสวงหาผลประโยชนสวนตัว 2.2 การมีสวนรวมในการบริหารและการประสานงาน (Project Demonstration and Co-ordination) คนในทองถิ่นสามารถรวมตัวกันในการปฏิบัติงาน โดยการเปนลูกจาง หรือสมาชิกทีมที่ปรึกษาหรือเปนผูบริหารโครงการ เปนสมาชิกอาสาซึ่งทําหนาที่ประสานงานกิจกรรม ของโครงการ มี การฝ ก อบรมให รู เ ทคนิค การปฏิ บัติ งานในโครงการสําหรับ ผูเข ามาบริห าร หรื อ ประสานงาน วิธีนี้นอกจากจะเพิ่มความไววางใจใหกับคนในทองถิ่นแลวยังชวยใหเกิดความตระหนัก ถึงปญหาของตนเองอีกดวย อีกทั้งยังทําใหเกิดการสื่อสารขอมูลภายในและไดรับคําแนะนํา ซึ่งเปน ปญหาของคนในทองถิ่น ตลอดจนผลกระทบที่ไดรับเมื่อโครงการเขามา 2.3 การมีสวนรวมในการขอความรวมมือ (Enlistment) การขอความรวมมือ ไมจําเปนตองมีผลประโยชนเขามาเกี่ยวของ แตพิจารณาจากขอเท็จจริงที่วา ผลเสียที่ตามมาหลังจาก นําโครงการเขามาและผลที่เกิดกับคนในทองถิ่นที่เขารวมในโครงการ 3. การมีสวนรวมในผลประโยชน เปนสิ่งที่เกิดขึ้นมานานและมีผลในทางเศรษฐกิจ ซึ่งไมควรมองขามไป การมีสวนรวมในผลประโยชนแบงได 3 ชนิด คือ 3.1 ผลประโยชนดานวัตถุ (Material Benefits) เปนความตองการขั้นพื้นฐาน ของบุคคล เชน เปนการเพิ่มการบริโภค รายไดและทรัพยสิน แตสิ่งเหลานี้อาจจะทําใหการสรุปขอมูล ลมเหลวได ซึ่งควรวิเคราะหใหไดวาใครคือผูมีสวนรวมและดําเนินการใหเกิดขึ้น 3.2 ผลประโยชนดานสังคม (Social Benefits) เปนความตองการขั้นพื้นฐาน ดานสาธารณะ ไดแก บริการหรือความพึงพอใจการสาธารณูปโภค การเพิ่มโครงการพัฒนาทองถิ่น โดยใชรูปแบบการผสมผสานเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตใหกับคนยากจน จึงจําเปนตองมีการกําหนดการมี สวนรวมในผลประโยชนทั้งในเรื่องปริมาณ การแบงผลประโยชน คุณภาพบริการและความพึงพอใจ 3.3 ผลประโยชนดานบุคคล (Personal Benefits) เปนความปรารถนาที่จะ เขามาเปนสมาชิกกลุมหรือไดรับการคัดเลือกเขามาเปนความตองการอํานาจทางสังคมและการเมือง โดยผานความรวมมือในโครงการ ผลประโยชนสําคัญที่ไดจากโครงการมี 3 ชนิด คือ ความรูสึกมี คุณคาในตนเอง อํานาจทางการเมืองและความรูสึกวาตนเองทํางานมีประสิทธิผล การมีสวนรวมใน ผลประโยชน ค วรศึ ก ษาผลเสี ย ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ตามมาภายหลั ง ด ว ย เพราะอั ต ราการมี ส ว นร ว มใน ผลประโยชนมีความแตกตางกัน จะเปนขอมูลที่สําคัญในการวางนโยบายหลักที่เกี่ยวของวาจะใหใครมี


27 สวนรวม หากผลที่ออกมาตรงกันขามกับความคาดหวัง จะไดแกไขเพื่อหาแนวทางที่มีความเปนไปได ในการวางรูปแบบใหม 4. การมี ส ว นร ว มในการประเมิน ผล เปนสว นที่มีการเขีย นเปน รายงานไวนอย สามารถประเมินโครงการได 2 รูปแบบ คือ การมีสวนรวมทางตรงและการมีสวนรวมทางออม การมี สวนรวมในการประเมินผล สวนใหญเปนเจาหนาที่จากสวนกลางมากกวาคนในทองถิ่น ซึ่งทําหนาที่ ประเมิ นผลดานงบประมาณ ความพึงพอใจของบุคคลที่มีตอโครงการ ประเมินวามีผูเห็น ดวยกับ โครงการหรือไม ผูที่มีสวนรวมไดแกใครบาง มีสวนรวมโดยวิธีใด มีการแสดงความคิดเห็นผานสื่อตางๆ หรือผานตัวแทนที่เลือกเขาไปอยางไร และทําอยางไร ความคิดเห็นตางๆ จึงจะไดรับการนําไปใช ประโยชน สรุปไดวา รูปแบบของการมีสวนรวมผูที่เขาไปมีสวนรวมตางมีบทบาทในการเขาไปมี สวนรวมที่แตกตางกันแตการเขาไปมีสวนรวมมีความสัมพันธกับการรวมวางแผน การดําเนินกิจกรรม การใชประโยชนและการไดรับประโยชน 2.3.4 ขั้นตอนการมีสวนรวม ทวี ทอง หงสวิ วัฒ น (2527: 6-7) ได มี การกํ า หนดขั้น ตอนการมีส ว นร ว มในการ ดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงค ดังนี้ 1. รวมทําการศึกษา คนควาถึงปญหาและสาเหตุของปญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน รวม ตลอดถึงความตองการของชุมชน 2. รวมคนหาและสรางรูปแบบและวิธีการพัฒนาเพื่อแกไขและลดปญหาของชุมชน หรือเพื่อสรางสรรคสิ่งใหมที่เปนประโยชนตอชุมชนหรือสนองความตองการของชุมชน 3. รวมวางนโยบาย แผนงาน โครงการ กิจกรรมเพื่อขจัดและแกปญหาตลอดจน สนองความตองการของชุมชน 4. รวมตัดสินใจในการใชทรัพยากรที่มีจํากัดใหเปนประโยชนตอสวนรวม 5. รวมจัดหรือปรับปรุงระบบบริหารงานพัฒนาใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 6. รวมจัดลงทุนในกิจกรรมโครงการในชุมชนตามขีดความสามารถของตนเองและ หนวยงาน 7. รวมปฏิบัติตามนโยบาย แผนงาน โครงการและกิจกรรมใหบรรลุตามเปาหมาย ที่วางไว 8. รวมควบคุม ติดตาม ประเมินผลและรวมบํารุงรักษาโครงการและกิจกรรมที่ได ทําไวทั้งภาคเอกชนและภาครัฐ ใหใชประโยชนไดตลอดไป ฉอาน วุฒิกรรมรักษา (2526 : 33 – 34) ไดมีการกําหนดขั้นตอนของการมีสวนรวม ไว 7 ขั้นตอน ไดแก 1. การสํารวจขั้นตน (Preliminary reconnaissance) 2. การศึกษาเพื่อการจัดลําดับความสําคัญของปญหา (Problem identification studies)


28 3. การแสวงหาแนวทางแกไข (Search for solutions) 4. กําหนดทางแกไขปญหา (Assessment of solutions) 5. การปฏิบัติตามโครงการ (Project implementation) ชัยอนันต สมุทวณิช (2527: 14-15) ไดมีการกําหนดขั้นตอนของการมีสวนรวม ออกเปน 4 ขั้นตอน ไดแก ขั้นที่ 1 การมีสวนรวมในการตัดสินใจ ในกระบวนการของการตัดสินใจนั้นประการ แรกที่สุดที่จะตองกระทําก็คือ การกําหนดความตองการและการจัดลําดับความสําคัญ ตอจากนั้นก็ เลือกนโยบายและประชาชนที่เกี่ยวของ การตัดสินใจนี้เปนกระบวนการตอเนื่องที่ตองดําเนินการไป เรื่อยๆ ตั้งแตการตัดสินใจในชวงเริ่มตน การตัดสินใจในชวงดําเนินการวางแผนและการตัดสินใจ ในชวงการปฏิบัติตามแผนที่วางไว ขั้นที่ 2 การมีสวนรวมในการดําเนินงาน จะไดมาจากคําถามที่วาใครจะทําประโยชน ให แกโ ครงการได บ า งและจะทํ า ประโยชนไดโ ดยวิธีใด เชน การชว ยเหลือดานทรัพยากร การ บริหารงานและประสานงาน การใหความชวยเหลือดานแรงงานหรือขอมูล เปนตน ขั้นที่ 3 การมีสวนรวมในการรับผลประโยชน ในสวนที่เกี่ยวกับผลประโยชนนั้น จาก ความสําคัญของผลประโยชนในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพแลว ยังจะตองพิจารณาถึงการกระจาย ผลประโยชนภายในกลุมดวย รวมทั้งผลที่เปนประโยชนในทางบวกและผลที่เกิดขึ้นในทางลบที่เปน ผลเสียของโครงการ ซึ่งอาจจะเปนประโยชนและเปนโทษตอบุคคลและสังคม ขั้นที่ 4 การมีสวนรวมในการประเมินผล การมีสวนรวมในการประเมินผลนั้นสิ่ง สําคัญที่จะตองสังเกตก็คือ ความเห็น (Views) ความชอบ (Preferences) และความคาดหวัง (Expectations) ซึ่งจะมีอิทธิพลสามารถแปรเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคลในกลุมตางๆ ได ขั้นตอน ดังนี้

มงคล จันทรสอง (2544: 8-9) ไดกําหนดขั้นตอนของการมีสวนรวมออกเปน 4

ขั้นที่ 1 การมีสวนรวมในการคนหาปญหาและสาเหตุของปญหา ขั้นตอนนี้เปนสวน แรกที่สําคัญที่สุด เพราะถาชาวบานยังไมสามารถเขาใจปญหาและคนหาสาเหตุของปญหาดวยตนเอง ได กิจกรรมตางๆ ที่ตามมาก็ไรประโยชน เพราะจะขาดความเขาใจและมองไมเห็นความสําคัญของ กิจกรรมนั้น แตอาจมองปญหาไมไดเดนชัด เจาหนาที่หรือนักพัฒนาจึงเสมือนกระจกเงาผูคอยสะทอน ภาพใหชุมชนมองเห็นและวิเคราะหปญหาได ขั้นที่ 2 การมีสวนรวมในการวางแผนดําเนินกิจกรรม การวางแผนการดําเนิน กิจกรรมเปนขั้นตอนที่ขาดไมได หากเจาหนาที่หรือนักพัฒนาตองการแตผลงานการพัฒนาใหเสร็จสิ้น โดยฉับไว ก็จะดําเนินการวางแผนงานดวยตนเอง การมีสวนรวมของชุมชนในการวางแผนจะชวยให ชุมชนเขาใจปญหาพัฒนาประสบการณของตนเองและสามารถวางแผนไดดวยตนเองในที่สุด ขั้นที่ 3 การมีสวนรวมในการลงทุนและการปฏิบัติงาน ชุมชนมีทรัพยากรที่สามารถ ลงทุนและปฏิบัติงานได เพราะจากประสบการณการทํางานในชนบทอยางนอยก็มีแรงงานของตนเอง


29 เปนขั้นต่ําสุดที่จะเขารวมได และในหลายๆ แหงก็สามารถที่จะรวมลงทุนในกิจกรรมหลายๆ ประเภท ได การรวมลงทุนและปฏิบัติงานจะทําใหชุมชนรูจักคิดตนทุนใหกับตนเองในการดําเนินงานและจะ ระมัดระวังรักษากิจกรรมที่ทําขึ้นเพราะจะมีความรูสึกรวมเปนเจาของซึ่งตางไปจากสภาพที่การลงทุน และการปฏิบัติงานทั้งหมดมาจากปจจัยภายนอกจะมีอะไรเสียหายก็ไมเดือดรอนมากนัก และการ บํารุงรักษาก็จะไมเกิดขึ้นเพราะรูสึกวาไมใชชุมชน นอกจากนั้นการรวมปฏิบัติงานดวยตนเองทําใหได เรียนรูการดําเนินกิจกรรมอยางใกลชิดและเมื่อเห็นประโยชนก็สามารถจะดําเนินกิจกรรมชนิดนั้นดวย ตนเองตอไปได ขั้นที่ 4 การมีสวนรวมในการติดตามและประเมินผลงาน ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอน สุดทายที่สําคัญเปนอยางยิ่งอีกเหมือนกัน เพราะถาหากการติดตามและการประเมินผลงานขาดการมี สวนรวมของชุมชนแตเปนการดําเนินการโดยบุคคลภายนอก ชุมชนก็ไมสามารถทราบวางานที่ทําไป นั้นไดรับผลดี ไดรับประโยชนอยางไรหรือไม ถึงแมอาจจะมีผูโตแยงวาการประเมินที่เที่ยงธรรมที่สุด นาจะมาจากบุคคลภายนอกที่ไมไดยุงเกี่ยวกับกิจกรรมนั้นๆ แตถาคิดถึงจุดมุงหมายของการพัฒนาที่ มุงจะพัฒนาคน การคํ านึงถึงแตความเที่ยงธรรมอาจจะไรประโยชน การผสมผสานระหวางคน ภายนอกกับชุมชนนาจะเกิดประโยชนตามวัตถุประสงคมากกวา เพราะนอกจากจะเปนการประเมิน แลวยังแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจในกระบวนการประเมินและเปนกรเผยแพรกิจกรรมออกไปสู ชุมชนอื่นๆ สรุปไดวา ขั้นตอนของการมีสวนรวมจะตองเริ่มตั้งแตการคนหาปญหา การวางแผน ในการดําเนินโครงการ การดําเนินการตามโครงการและการติดตามประเมินผลการดําเนินโครงการ โดยทุกขั้นตอนจะตองมีการรวมมือของกลุมบุคคลเพื่อใหการดําเนินโครงการประสบผลสําเร็จ 2.3.5 ระดับของการมีสวนรวม ระดับการมีสวนรวมนี้ ดร.ไพโรจน สุขสัมฤทธิ์ ไดแบงระดับ (Degree) ของการมีสวน รวมของประชาชนจากนอยไปหามากดังนี้ (ไพโรจน สุขสัมฤทธิ์, 2531: 52) หลีกเลี่ยง

ระดับที่ 1 ถูกบังคับ ประชาชนที่เขารวมในโครงการเพราะถูกบังคับ โดยไมมีทาง

ระดับที่ 2 ถูกลอ ประชาชนจะถูกลอใจดวยผลประโยชนในรูปของคาจางแรงงาน หรือความสะดวกสบายบางอยาง แตเบื้องหลังจริงๆ แลวเปนการหาเสียงของนักการเมืองผูหยิบยื่น โครงการมาหลอกลอเทานั้น ระดับที่ 3 ถูกชักชวน การมีสวนรวมลักษณะนี้สวนมากเปนโครงการที่ทางราชการ คิดขึ้น เองเรีย บรอยแลว และพยายามชักชวนประชาชนใหรว มมือทุกรูป แบบโดยอาศัย ระบบการ โฆษณาประชาสัมพันธผานสื่อมวลชนตางๆ วาเปนโครงการที่ดี ขอใหประชาชนใหความรวมมือ ระดับที่ 4 สัมภาษณแลววางแผนให ในลักษณะนี้ผูที่วางโครงการจะสํารวจปญหา ความตองการของประชาชนดวยการเรียกประชุม สอบถาม สัมภาษณ แตการตัดสินใจวาปญหาของ ชาวบานคืออะไร ควรแกไขดวยวิธีใด จะวางแผนอยางไร ยังเปนเรื่องของทางการ


30 ระดับที่ 5 มีโอกาสเสนอความเห็น ประชาชนเริ่มเขาไปมีสวนรวมเสนอความเห็นที่ เกี่ยวกับการวางโครงการและการดําเนินการตามโครงการ แตการตัดสินใจยังคงเปนของสวนราชการ อยู ระดั บ ที่ 6 มี โ อกาสเสนอโครงการ ระดั บ นี้ ท างราชการกั บ ประชาชนจะมี ก าร ปรึกษาหารือกันอยางใกลชิด ประชาชนจะมีโอกาสตัด สินใจวาป ญหาของตนคืออะไร จะแก ไขได อยางไร วิธีใดดีที่สุด จนกระทั่งมีสิทธิเสนอโครงการและเขารวมปฏิบัติดวย ระดับที่ 7 มีโอกาสตัดสินใจ ประชาชนจะเปนหลักสําคัญของการตัดสินใจในทุกเรื่อง ตั้งแตการวางแผน ปฏิบัติตามแผนและการประเมินผลโครงการ William Reeder, (1974: 39-40) ไดแบงระดับของการมีสวนรวมสามารถแยกได ตามระดับความเขมของการมีสวนรวมตามแนวคิดสมาคมสาธารณสุขของอเมริกา ซึ่งไดกลาวไววา การมีสวนรวมนั้นไมไดมีความแปรเปลี่ยนเฉพาะชนิด (Kinds) และปริมาณของกิจกรรมที่กระทํา เทานั้น แตยังมีความแปรเปลี่ยนในระดับความเขม (Degree) ในการเขาไปมีสวนรวมรับผิดชอบในการ ริเริ่มและวางแผนกิจกรรม ดังนั้น พิสัยของการมีสวนรวมอาจจะมีตั้งแตระดับการยอมรับบริการที่จัด ไวใหแลว ไปจนถึงการรวมกลุมเพื่อตัดสินใจ และริเริ่มโครงการพัฒนาเอง ซึ่งระดับความเขมของการมี สวนรวม หรือระดับการมีสวนรวมตามแนวคิดของสมาคมสาธารณสุขของอเมริกานั้น อาจจําแนกได 3 ระดับ คือ 1. ระดับการตัดสินใจ (Decision making) ในระดับนี้ประชาชนจะเขามามีสวน รวมในการวางแผนและจัดการกับกิจกรรมการพัฒนาดวยตัวของเขาเอง (Level of responsibility by themselves) 2. ระดับการรวมมือ (Cooperation) ในระดับนี้ประชาชนจะใหความรวมมือตอ แผนงานที่ริ เ ริ่ มโดยหน ว ยงานภายนอก ซึ่งอาจตองการความเสีย สละจากประชาชนในดานเวลา ทรัพยสินและแรงงาน เพื่อชวยใหโครงการประสบผลสําเร็จ การมีสวนรวมในระดับนี้ถือวาเปนการมี สวนรวมในระดับที่ยอมรับได (Acceptable level of participation) 3. ระดับการใชประโยชน (Utilization) ในระดับนี้ประชาชนจะยอมรับและใช ประโยชนจากบริการที่ไดวางโครงการไวใหเปนการมีสวนรวมในระดับการยอมรับบริการเทานั้น ดร.นิรันดร จงวุฒิเวศย (2527: 184-185) กลาววา ระดับของการมีสวนรวมสามารถ แบงออกเปน 4 ประเภท ตามลักษณะของการปฏิบัติการ ลักษณะทั้ง 4 ประเภทนี้ไมไดเปนอิสระจาก กัน ยังมีความคาบเกี่ยวและตอเนื่องกัน การจําแนกลักษณะนี้ทั้ง 4 ประเภท ไดแก ประเภทที่ 1 การมีสวนรวมแบบถูกกระทํา (Passive participation) ทั้งนี้เปนขั้น เริ่มแรก ซึ่งถือวาการมีสวนรวมนั้นเปนการยอมรับ (Accepting) หรือการเพิ่ม (Gaining) การเขาถึง ผลประโยชนที่เปนรูปธรรมหรือการชวยเหลือปจจัยการดํารงชีวิตเฉพาะหนาบางประการ สําหรับผูที่ เขาไปเกี่ยวพันกับโครงการพัฒนาซึ่งอาจจะหมายถึงบริการหรือสิ่งอํานวยความสะดวกเฉพาะซึ่งไมเคย มีมากอนหรือหมายถึงการปรับปรุงหรือการแนะนํารูปแบบการผลิตตามแนวทางเศรษฐกิจใหม


31 ประเภทที่ 2 การมีสว นรว มแบบสะทอนการถูกกระทํา (Passive Reflective participation) การมีสวนรวมประเภทนี้เปนสวนตอเนื่องจากประเภทที่หนึ่ง โดยถือวาการมีสวนรวม เปนกิจกรรมทางการศึกษาบางประการที่สามารถชวยใหประชาชนเขาใจสาเหตุของสภาพการณตางๆ เชน การดอยพัฒนาและเขาใจปญหา ซึ่งจะตองแกไขโดยการจัดทําโครงการพัฒนา ประเภทที่ 3 การมีสวนรวมแบบกระตือรือรน (Active participation) การมีสวน รวมในขั้นที่ 3 นี้เปนกิจกรรมที่เกี่ยวกับองคกรหรือบุคคลระดับพื้นฐาน (Grass roots) ซึ่งเปนผูรับ ผลประโยชนจากโครงการ หรือทําการกระตุนการมีสวนรวมของประชาชนในระดับกวางๆ จากกลุม อื่นๆ ทั่วไปที่มีอยูในสวนตางๆ ของสังคม นอกเหนือไปจากกลุมผลประโยชนเอง โดยปกติแลวการมี สวนรวมในมิตินี้รวมไปถึงองคกรในทองถิ่นที่มีอยูแลวและมีขอบขายที่ขยายความครอบคลุมไปถึงกลุม อื่นๆ ที่เกี่ยวของหรือไดรับผลกระทบดวย ประเภทที่ 4 การมีสวนรวมแบบสะทอนความกระตือรือรน (Active / Reflective participation) ขั้นนี้เสริมตอจากขั้นการมีสวนรวมอยางกระตือรือรนเปนการสะทอนหรือการประเมิน เกี่ยวกับขอจํากัดและทางเลือกตางๆ ของโครงการภายใตบริบทระดับชาติ ภายใตเงื่อนไขเดิมของ โครงการที่ มีอยู โดยปกติจะรวมถึงการออกแบบการกอรูป หรือการประเมิน เกี่ยวกับ ยุทธศาสตร ทางเลือกของโครงการพัฒนา ซึ่งเกี่ยวของกับลักษณะความจําเพาะของโครงการและลักษณะทั่วไป ของสั งคมที่ ตอ งการเข า มามี ส ว นร ว มโดยเน น การเข ารว มตั้ง แตก ารศึ กษา ตัด สิน ใจไปจนถึ งการ ประเมินและควบคุม กลาวโดยสรุปไดวา ระดับของการมีสวนรวมจะมีการมองถึงความเขมของการมีสวน รวมตั้งแตการมีสวนรวมแบบเปนฝายถูกกระทําไปจนถึงการเปนผูกระทําโดยตนเอง ซึ่งระดับของการ มีสวนรวมเปนกระบวนการที่บุคคลกลุมหนึ่งหรือสองกลุมขึ้นไปมีอิทธิพลตอกันและกันในการจัดทํา แผน การกําหนดนโยบายและการตัดสินใจ โดยในการวัดความเขมของการมีสวนรวมสามารถวัดได จากปริมาณของอิทธิพลของกลุมบุคคลผูเขาไปรวมกิจกรรมที่มีตอบุคคลอื่น 2.3.6 เงื่อนไขของการมีสวนรวม เงื่อนไขของการมีสวนรวม ดร.นิรันดร จงวุฒิเวศย (2527 : 186-187) กลาววา การ ที่ประชาชนจะริเริ่มและชวยตนเองไดนั้น ประชาชนตองมีโอกาสที่จะเขามีสวนรวมในกิจการพัฒนา ชุมชนเสียกอน กลาวคือ ตองมีเงื่อนไขสําคัญอยางนอย 3 ประการ คือ 1. ประชาชนตองมีอิสรภาพที่จะมีสวนรวม (Freedom to participate) 2. ประชาชนตองสามารถที่จะมีสวนรวม (Ability to participate) 3. ประชาชนตองเต็มใจที่จะมีสวนรวม (Willingness to participate) หากไมมีอิสรภาพ ไมมีความสามารถและไมมีความเต็มใจแลว การมีสวนรวมของ ประชาชนจะไมเกิดขึ้น นอกจากเงื่อนไขสําคัญ 3 ประการแลว ความสําเร็จของการมีสวนรวมยังขึ้นอยู กับเงื่อนไขตอไปนี้


32 1. ประชาชนตองมีเวลาที่จะมีสวนรวม 2. ประชาชนต อ งไม เ สีย เงิ น ทองค า ใช จ ายในการมีส ว นร ว มมากเกิน กว า ที่เ ขา ประเมินคาตอบแทนที่จะไดรับ 3. ประชาชนตองมีความสนใจที่สัมพันธสอดคลองกับการมีสวนรวมนั้น 4. ประชาชนตองสื่อสารรูเรื่องกันทั้ง 2 ฝาย 5. ประชาชนตองไมรูสึกกระทบกระเทือนตอตําแหนงหนาที่ หรือสถานภาพทาง สังคมหากจะมีสวนรวม 2.3.7 ปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวม Norman T. Uphoff (1981: 12) ไดศึกษาถึงปจจัยที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชน ในชนบท พบวา อายุ เพศ การศึกษา ขนาดของครอบครัว อาชีพ รายไดและความยาวนานในการอยู อาศัยในทองถิ่นมีความสัมพันธกับระดับการมีสวนรวมของประชาชน ฉอาน วุฒิกรรมรักษา (2526: 34) กลาวถึงปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมมี 3 ปจจัย คือ ปจจัยสวนบุคคล ปจจัยดานสังคมและเศรษฐกิจ และปจจัยดานการติดตอสื่อสาร William Reeder, (1974: 39-40) ไดกลาวถึงปจจัยตางๆ ที่มีผลตอการเขามามีสวน รวมของประชาชนไว 11 ประการ ดังนี้ 1. การปฏิบัติตนใหคลอยตามความเชื่อพื้นฐาน กลาวคือ บุคคลและกลุมบุคคลดู เหมือนจะเลือกแบบวิธีการปฏิบัติ ซึ่งสอดคลองและคลายคลึงกับความเชื่อพื้นฐานของตนเอง 2. มาตรฐานคุ ณ ค า บุ ค คลและกลุ ม บุ ค คลดู เ หมื อ นจะปฏิ บั ติ ใ นลั ก ษณะที่ สอดคลองกับมาตรฐานคุณคาของตนเอง 3. เป า หมาย บุ ค คลและกลุ ม บุ ค คลดู เ หมื อ นจะส ง เสริ ม ปกป อ งและรั ก ษา เปาหมายของตนเอง 4. ประสบการณที่ผิดปกติธรรมดา พฤติกรรมของบุคคล หรือกลุมบุคคลบางครั้งมี รากฐานมาจากประสบการณที่ผิดปกติธรรมดา 5. ความคาดหมาย บุคคลและกลุมบุคคลจะประพฤติตามแบบที่คาดหมายวา จะตองประพฤติในสถานการณเชนนั้น ทั้งยังชอบปฏิบัติตอผูอื่นในลักษณะที่ตนคาดหวังจากผูอื่นดวย เชนกัน 6. การมองแตตัวเอง บุคคลและกลุมบุคคลมักจะทําสิ่งตางๆ ซึ่งคิดวาตัวเองควร ตองกระทําเชนนั้น 7. การบีบบังคับ บุคคลและกลุมบุคคลมักจะทําสิ่งตางๆ ดวยความรูสึกวาตนถูก บังคับใหทํา 8. นิสัยและประเพณี บุคคลและกลุมบุคคลมักจะทําสิ่งตางๆ ซึ่งเรามีนิสัยชอบ กระทําเมื่ออยูในสถานการณนั้นๆ


33 9. โอกาส บุคคลและกลุมบุคคลมักจะเขามามีสวนรวมในรูปแบบการปฏิบัติของ สังคม โดยเฉพาะในทางที่เกี่ยวของกับจํานวนและชนิดของโอกาส ซึ่งโครงสรางของสังคมเอื้ออํานวย ใหเขามามีสวนรวมกันในการกระทําเชนนั้น เทาที่พวกเขาไดรับรูมา 10. ความสามารถ บุคคลและกลุมบุ คคลมัก จะเขา มามี สว นรว มกัน ในกิจ กรรม บางอยางที่ตนเห็นวาสามารถทําในสิ่งที่ตองการใหเขาในสถานการณเชนนั้น 11. การสนับสนุน บุคคลและกลุมบุคคลมักจะเริ่มปฏิบัติเมื่อเขารูสึกวาเขาไดรับ การสนับสนุนที่ดีพอใหกระทําการเชนนั้น นิรันดร จงวุฒิเวศย (2527: 183) ไดกลาวถึง ปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวม ดังนี้ 1. ความสนใจและความหวงกังวลรวมกัน ซึ่งเกิดจากความสนใจและความหวง กังวลสวนบุคคล ซึ่งบังเอิญพองตองกัน กลายเปนความสนใจและความหวงกังวลรวมกัน 2. ความเดื อ ดร อ นและความไม พึ ง พอใจร ว มกั น ที่ มี ต อ สถานการณ ที่ เ ป น อยู ผลักดันใหพุงไปสูการรวมกลุม วางแผนและลงมือกระทําการรวมกัน 3. การตกลงใจร ว มกั น ที่ จ ะเปลี่ ย นแปลงกลุ ม หรื อ ชุ ม ชนไปในทิ ศ ทางที่ พึ ง ปรารถนา การตัดสิน ใจร ว มกั น นี้จ ะตองรุน แรงมากพอที่จะทําใหเกิดความริเริ่มการกระทําการที่ สนองตอบความเห็นชอบของคนสวนใหญที่เกี่ยวของกับกิจกรรมนั้น 4. ความศรัทธาที่มีตอความเชื่อถือบุคคลสําคัญและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทําใหประชาชนมี สวนรวมในกิจกรรมตางๆ เชน การลงแขก การบําเพ็ญประโยชน การสรางโบสถวิหาร 5. ความเกรงใจที่ มีต อบุ ค คลที่เ คารพนั บ ถื อหรื อมี เกี ย รติ ย ศ ตํ าแหนง การให ประชาชนเกิดความเกรงใจที่จะมีสวนรวมดวย ทั้งๆ ยังไมมีความศรัทธาหรือความเสียใจอยางเต็ม เปยมที่จะกระทํา เชน ผูออกปากขอแรง ผูนอยก็ชวยแรง 6. อํานาจบังคับที่เกิดจากบุคคลที่มีอํานาจเหนือกวา ทําใหประชาชนถูกบีบบังคับ ใหมีสวนรวมในการกระทําตางๆ เชน บีบบังคับใหทํางานเยี่ยงทาส กลาวโดยสรุปไดวา ปจจัยของการมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ คือ ปจจัยสวนบุคคล อั น ได แก อายุ เพศและค า นิ ย มส ว นบุคคล ป จ จั ย ที่ ส อง คือ ปจ จัย ดน สัง คมและเศรษฐกิ จ ไดแ ก การศึกษา อาชีพ รายได ความยาวนานในการอยูอาศัยในทองถิ่นและการเปนสมาชิกกลุม และปจจัย ที่สาม คือ ป จจัย ดา นการสื่อสาร ไดแก การติดตอสื่อสารทั้งการสื่อสารมวลชน สื่อบุคคลและสื่อ ประชาสัมพันธตางๆ เปนตน

2.4 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการจูงใจ ความสําเร็จขององคกรสวนใหญ จะขึ้นอยูกับความมากนอยของการจูงใจที่พนักงาน ไดรับในการปฏิบัติตามภาระหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย เพื่อความสําเร็จในเปาหมายขององคกร ในอดีต ผูบริหารมักจะพิจารณาคนงานในลักษณะที่เปนสินคาอยางหนึ่ง สามารถหาซื้อไดในราคาต่ํา แตใน ปจจุบันจะเห็นวาผูบริหารจะปฏิบัติตอคนงานในฐานะที่เปนสิ่งที่มีชีวิตจิตใจอยางหนึ่ง ใหความสําคัญ


34 กับสวัสดิการของคนงาน เพิ่มคาจางใหสูงขึ้น ปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางานและสงเสริมขวัญ และกําลังใจใหดีขึ้น 2.4.1 ความหมายของการจูงใจ การจูงใจ หมายถึง พลังผลักดันจากภายในจิตใจของพนักงานใหแสดงพฤติกรรมที่ทํา ใหองคกรบรรลุเปาหมายที่ตองการ (เนตรพัณณา ยาวิราช, 2546 : 92) การจูงใจ หมายถึง ความตองการที่เกิดขึ้นอยางรุนแรงภายในจิตใจ ทําใหบุคคลเกิด ความเครียด บุคคลจึงพยายามหาวิธีเพื่อตอบสนองความตองการนั้น (รังสรรค ประเสริฐศรี, 2548 : 81) การจูงใจ หมายถึง พลังที่กระตุนพฤติกรรม กําหนดทิศทางของพฤติกรรมและมี ลักษณะเปนความมุงมั่นอยางไมลดละไปยังเปาหมายหรือสิ่งจูงใจนั้น ดังนั้นการจูงใจจึงประกอบดวย ความตองการ (Need) พลัง (Force) ความพยายาม (Effort) และเปาหมาย (Goal) (เสนาะ ติเยาว, 2543 : 208) การจูงใจ หมายถึง ความเต็มใจที่จะพยายามทุมเทความพยายามอยางเต็มที่ จนงาน ขององคกรบรรลุเปาหมายโดยมีเงื่อนไขวา การทุมเทนั้นเพื่อตอบสนองความตองการของคนคนนั้น (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ, 2545 : 63) การจูงใจ หมายถึง กระบวนการที่ชักนําโนมนาวใหบุคคลเกิดความมานะพยายาม เพื่อที่จะสนองตอบความตองการบางประการใหบรรลุผลสําเร็จ (อํานาจ อนันตชัย, 2527 : 103) การจูงใจ หมายถึง ภาวะในการเพิ่มพฤติกรรมการกระทํากิจกรรมของบุคคลโดย บุคคลจงใจกระทําพฤติกรรมนั้นเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ตองการ (จินตนา บุญบงการ, 2544 : 19) สรุ ป ได ว า การจู งใจ หมายถึง แรงผลั กดัน ทั้ง ภายในและภายนอกที่กระตุน และ ผลักดันใหเกิดพฤติกรรมตอบสนองความตองการของตน 2.4.2 ทฤษฎีของการจูงใจ ประเภท คือ

รังสรรค ประเสริฐศรี (2548 : 81-82) ไดแบงทฤษฎีของการจูงใจออกเปน 3

1. ทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement Theories) จะมุงที่วิธีการตางๆ ใน กระบวนการควบคุมพฤติกรรมของแตละบุคคล เพื่อใหเกิดผลลัพธที่เหมาะสม โดยมุงที่การสังเกต พฤติกรรมมากกวาความรูสึกนึกคิดของพนักงาน ดังนั้นทัศนะการเสริมแรงจะเกิดขึ้นจากการสังเกตตัว บุคคล เพื่อใหทราบถึงผลลัพธที่สัมพันธกับการทํางาน (Work-related Outcomes) ซึ่งมีคุณคา ระดับสูง โดยสังเกตวามีการเปลี่ยนแปลงเมื่อใด ที่ไหน อยางไรและทําไม ผูบริหารสามารถ เปลี่ยนแปลงการจูงใจภายนอกของพนักงานไดโดยการจัดการเสริมแรงอยางมีระบบ นอกจากนี้ รู และไบยาส (Rue & Byars, 2000 ; 450) ไดกลาวถึงทฤษฎีการเสริมแรง หรือการปรับพฤติกรรมวา เปนทฤษฎีที่ระบุวาผลลัพธของพฤติกรรมในปจจุบันของบุคคลไดรับอิทธิพลของพฤติกรรมในอนาคต หรือเปนทฤษฎีที่วาพฤติกรรมของมนุษย โดยพิจารณาถึงความสําคัญของสภาพแวดลอมแทนที่จะพิจา ราณาถึงภายในของแตละบุคคล หรือหมายถึง กระบวนการพฤติกรรมของคน ซึ่งเกิดการเรียนรู


35 ประสบการณในอดีต บี.เอฟ. สกินเนอร (B.F. Skinner) นักจิตวิทยาจากมหาวิทยาลัย Harvard ได พัฒนาทฤษฎีนี้และไดนํามาใชเปนเทคนิคในการจูงใจ ทฤษฎีนี้เรียกวา ทฤษฎีการเสริมแรงดานบวก (Positive Reinforcement) หรือการปรับพฤติกรรม (Behavior Modification) ซึ่งเขาคิดวาแตละ บุคคลจะไดรับการจูงใจโดยการออกแบบที่เหมาะสมของสภาพแวดลอมในการทํางานและผลการ ปฏิ บั ติ ง าน ส ว นการกระทํ า ที่ ไ ม เ หมาะสมจะทํ า ให เ กิ ด การเสริ ม แรงด า นลบ (Negative Reinforcement) 2. ทฤษฎีเนื้อหา (Content Theories) จะมุงที่การกําหนดความตองการของแต ละบุคคลที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมในการทํางาน ซึ่งประกอบดวย ความตองการดานกายภาพ (Physiological) และความตองการดานจิตวิทยา (Psychological) ซึ่งจะเปนแรงผลักดันใหบุคคลเกิด การตอบสนอง เพื่อลดหรือขจัดความตองการนั้นใหหมดไป ทฤษฎีนี้ยังเสนอแนะวา ผูบริหารจะตอง สร า งสภาพแวดล อ มในการทํ า งานที่ ส ามารถตอบสนองด า นบวกต อ ความต อ งการของบุ ค คล นอกจากนี้ผูบริหารยังตองอธิบายใหพนักงานทราบถึงวิธีการทํางานที่ไมดี (Poor Performance) พฤติกรรมที่ไมพึงปรารถนา (Undesirable Behaviors) ความพึงพอใจในระดับต่ํา (Low Satisfaction) และอื่นๆ ที่อาจจะเปนตัวขัดขวางไมใหความตองการไดรับการตอบสนอง หรือทําให เกิดความไมพึงพอใจในการทํางานขึ้น ทฤษฎีเนื้อหาของการจูงใจประกอบดวย 4 ทฤษฎี คือ Theory)

2.1 ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมาสโลว (Maslow’s Hierarchy

2.2 ทฤษฎีการจูงใจ ERG ของ Alderfer (Alderfer’s ERG Theory) 2.3 ทฤษฎีความตองการที่แสวงหาของ McClelland (McClelland’s Acquired-Need Theory) 2.4 ทฤษฎีสองปจจัยของ Herzberg (Herzgerg’s Two Factors Theory) 3. ทฤษฎีกระบวนการ (Process Theories) จะมุงที่การแสวงหาความเขาใจใน กระบวนการความรูความเขาใจ (Cognitive Processes) ซึ่งเกิดขึ้นภายในจิตใจของมนุษย โดยจะมี อิทธิพลตอการแสดงออกทางพฤติกรรมของบุคคล ซึ่งสามารถจําแนกทฤษฎีกระบวนการของการจูงใจ ได 3 ทฤษฎี คือ 3.1 ทฤษฎีความเสมอภาค (Equity Theory) 3.2 ทฤษฎีความคาดหวัง (Expectancy Theory) 3.3 ทฤษฎีการกําหนดเปาหมาย (Goal Setting Theory) ความแตกตางระหวางทฤษฎีเนื้อหากับทฤษฎีกระบวนการ กลาวคือ ทฤษฎีเนื้อหา จะระบุ ว า ความมั่ น คงในการทํ า งานเป น ความต อ งการที่ สํ า คั ญ ของแต ล ะบุ ค คล ส ว นทฤษฎี กระบวนการจะระบุสาเหตุที่บุคคลมีพฤติกรรมตางๆ ซึ่งเกี่ยวของกับการใหรางวัลหรือโอกาสในการ ทํางาน อยางไรก็ตามทฤษฎีแตละประเภทจะชวยทําใหเกิดความเขาใจในเรื่องการจูงใจ ซึ่งไมมีทฤษฎี ใดทฤษฎีหนึ่งที่จะอธิบายไดอยางสมบูรณจึงตองอาศัยทั้ง 3 ทฤษฎีรวมกัน เพื่อใหทัศนะแบบประสม


36 ประสานของกลไกการจูงใจ (Motivational Dynamics) ซึ่งทําใหเกิดประโยชนในสภาพแวดลอมใน การทํางานอยางใดอยางหนึ่ง ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ (2545: 63-65) แรงจูงใจมีจุดเริ่มตนที่ความตองการ ของแตละบุคคล ความจําเปนหรือความตองการเปนความตองการของรางกายที่ยังไมไดรับการ ตอบสนอง หรือความปรารถนาดานจิตวิทยาของบุคคล ทฤษฎีเนื้อหาของการจูงใจจะใชทฤษฎีความ ตองการของแตละบุคคลมาอธิบายถึงพฤติกรรมและทัศนคติของบุคคลในการทํางาน ถึงแมวาแตละ ทฤษฎีจะมีความเห็นแตกตางกันเล็กนอยในเรื่องความตองการแบบตางๆ แตทุกทฤษฎีก็มีความเห็น ตรงกันวาความตองการมีสาเหตุมาจากความตึงเครียด ซึ่งมีอิทธิพลตอทัศนคติและพฤติกรรม ผูจัดการ และผูนํ าที่ ดีตองสามารถกํ าหนดเงื่อนไขที่บุคคลสามารถตอบสนองความตองการจากการทํางาน ตลอดจนวิ ธี ก ารที่ เ ขาขจั ด อุ ป สรรคที่ จ ะมี ผ ลกระทบต อ ความพึ ง พอใจ ทฤษฎี ข องการจู ง ใจ ประกอบดวย 1. ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมาสโลว ในป ค.ศ. 1954 นักจิตวิทยาชื่อ อับราฮัม มาสโลว (Abraham Maslow) ได ศึกษาและจัดแบงความตองการของมนุษยออกเปนขั้นตางๆ 5 ขั้น เหมือนขั้นบันได ซึ่งความตองการ เหลานี้ตองเปนไปตามลําดับขั้นกอนหลัง ไมอาจกระโดดขามขั้นได จัดอยูในกลุมทฤษฎีแรงจูงใจแบบ เนื้อหา ลําดับขั้นความตองการในแงของมาสโลว ไดแก 1.1 ความตองการดานรางกาย (Physiological Needs) คือ ความตองการที่ จะตอบสนองความตองการของมนุษยทางดานรางกาย เชน อาหาร ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม ยารักษา โรค รถยนต เฟอรนิเจอรที่ทันสมัย ฯลฯ ซึ่งสามารถหามาไดโดยการใช “เงิน” มนุษยจึงตองการเงินที่ จะตอบสนองความตองการเหลานี้ใหเพียงพอเสียกอนจึงจะเกิดความตองการในลําดับถัดไป 1.2 ความตองการความมั่นคงและความปลอดภัย (Security and Safety Needs) เปนความตองการที่จะตอบสนองความรูสึกมั่นคง หรือความมีเสถียรภาพในสิ่งที่ตนเองไดรับ หรือหามาไดจากการตอบสนองทางดานรางกาย เชน เมื่อไดบานมาหนึ่งหลังถือเปนการตอบสนอง ความตองการดานรางกายแลวจะเกิดความรูสึกวาทําอยางไรที่จะไมตองเสียบางหลังนี้ไป จําเปนตอง ขยันขันแข็งที่จะหาเงินเพิ่มขึ้นเพื่อใชในการผอนบาน รวมทั้งรูสึกวาทําอยางไรที่จะรูสึกปลอดภัยเมื่อ อยูในบางหลังนี้ ควรซื้อเครื่องมือปองกันภัยตางๆ อยางไร ในภาพกวางความรูสึกตองการความมั่นคง ปลอดภัยนั้นคือ ความรูสึกวาทําอยางไรจึงจะไดรายไดในระดับที่มากพอสําหรับคาใชจายตางๆ เพื่อ บําบัดความตองการดานรางกายตอไปโดยไมติดขัด หากมีรายไดเขามาตลอดเวลาก็จะรูสึกมั่นคง ปลอดภัย 1.3 ความตองการทางสังคม (Social Needs) เปนความตองการที่เกิดขึ้น หลังจากที่มนุษยรูสึกพรอมในทุกๆ ดานแลว มีสถานภาพทางการงานและการเงินที่ดี มนุษยก็จะเกิด ความตองการที่จะเขาสังคมเพื่อใหเปนที่รูจัก หรือเปนที่รักของสังคม อาจแสดงออกโดยการไปงาน บวช งานแตงงาน งานขึ้นบานใหมทั้งของผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชา เพื่อใหสังคมยอมรับตน เขากลุม


37 1.4 ความตองการการยอมรับนับถือ (Esteem Needs) เปนความตองการที่ สอดคลองกับความตองการในลําดับที่สาม เมื่อมนุษยเขาสังคมและไดรับการยอมรับนับถือจาก ผูใตบังคับบัญชาไดรับความรักความเมตตาจากผูบังคับบัญชา ยอมสนับสนุนใหกาวขึ้นสูตําแหนงที่ สูงขึ้นจนนํามาซึ่งชื่อเสียงเกียรติยศ บุคคลที่กาวมาถึงจุดๆ นี้ไดสวนใหญจะพรอมในทุกๆ ดานทั้งการ งาน ทรัพยสิน เงินทอง การไดรับการยอมรับจากสังคม บุคคลเหลานี้จึงมักหันมาหาชื่อเสียง บางครั้ง เพื่อการรับผิดชอบตอสังคมที่ตนเองรวมอยูในนั้น หรือบางครั้งเพื่อชื่อเสียงของวงศตระกูล โดยอาจ แสดงออกในรูปของการชวยเหลือสังคม เปนตน 1.5 ความตองการประสบความสําเร็จ (Self-actualization Needs) เปน ความตองการลึกๆ ในจิตใจของทุกคนที่ตองการประสบความสําเร็จในสิ่งที่ตนหวังและตั้งเปาหมาย เอาไว เปนลําดับขั้นความตองการขั้นสุดทายที่คอนขางยากและมีความทาทาย บุคคลแตละคนที่จะ ประสบความสําเร็จในชีวิตนั้นวัดไดคอนขางยาก บางคนอาจตองการเพียงจบปริญญาเอกก็ถือวา ประสบความสําเร็จในชีวิตแลว ในขณะที่หลายคนอาจมีความตองการขึ้นมายืนอยูระดับแนวหนาของ สังคมโดยเพียรพยายามสมัครเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เพื่อกาวขึ้นสูตําแหนงนายกรัฐมนตรี เปน ตน ดังนั้นหากตองการทฤษฎีดังกลาวมาประยุกตใชในการจูงใจพนักงานในการ ทํา งาน องค กรจะต องศึ กษาวิเ คราะหความตองการของพนักงานแตล ะคนซึ่งอาจเหมือนกัน หรือ แตกตางกัน จัดแบงความตองการเหลานั้นออกเปนกลุมๆ แลวจึงตอบสนองความตองการของพวกเขา เหลานั้น เทาที่องคกรจะสามารถทําไดเพื่อใหพวกเขาเหลานั้นเกิดขวัญและกําลังใจในการทํางาน ตั้งใจปฏิบัติงานโดยปราศจากขอกังวลใดๆ อันอาจเปนเหตุใหเกิดปญหาและอุปสรรคจากความ ตองการของพวกเขามารบกวนจิตใจขัดขวางการปฏิบัติงานของพนักงานได 2. ทฤษฎีการจูงใจ ERG ของ Alderfer ในป ค.ศ. 1969 เกลตัน อัลเดอรเฟอร (Glayton Alerder) จากมหาวิทยาลัย เยล (Yale University) ไดนําทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมาสโลวมาดําเนินการปรับปรุงใหม ดวยวิธีการวิจัยเชิงประจักษ (Empirical Research) และใชชื่อใหมวาทฤษฎีแรงจูงใจ ERG เปน ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษย แตไมคํานึงถึงขั้นความตองการวาความ ตองการใดเกิดขึ้นกอนหรือหลัง และความตองการหลายๆ อยางอาจเกิดขึ้นพรอมกันก็ไดดวยเหตุนี้ ทฤษฎีของเขาจึงจัดอยูในกลุมทฤษฎีแรงจูงใจแบบเนื้อหา โดยจําแนกความตองการหลัก (Core Needs) ของบุคคลในองคกรออกเปน 3 กลุม คือ 2.1 ความตองการในการอยูรอด (Existance Needs : E) เปนความตองการ ในระดับต่ําสุดและมีลักษณะเปนรูปธรรม ประกอบดวยความตองการตามทฤษฎีของมาสโลว คือ ความตองการของรางกายและความตองการความปลอดภัย ผูบริหารสามารถตอบสนองความตองการ ในดานนี้ ไดด วยการจ ายค าตอบแทนที่เปนธรรม มีสวัสดิการที่ดี มีเงินโบนัส รวมถึงทําให ผูใตบังคับบัญชารูสึกมั่นคงปลอดภัยจากการทํางาน ไดรับความยุติธรรม มีการทําสัญญาวาจางการ ทํางาน เปนตน


38 2.2 ความตองการความสัมพันธ (Related Need : R) มีลักษณะเปนรูปธรรม นอยลง ประกอบดวยความตองการดานสังคมตามทฤษฎีของมาสโลวบวกดวยความตองการความ ปลอดภัยและความตองการการยกยอย ผูบริหารควรสงเสริมใหบุคลากรในองคกรมีความสัมพันธที่ดี ตอกัน ตลอดจนสรางความสัมพันธที่ดีตอบุคคลภายนอกดวย เชน การจัดกิจกรรมที่ทําใหเกิด ความสัมพันธระหวางผูนําและผูตาม เปนตน 2.3 ความตองการความเจริญกาวหนา (Growth Needs : G) เปนความ ตองการในระดับสูงสุด ในระดับขั้นตอนของ Alderfer และมีความเปนรูปธรรมต่ําสุด ประกอบดวย สวนที่เปน ความตองการการยกยอยบวกดวยความตองการประสบความสําเร็จตามทฤษฎีของมาสโลว ผูบริหารควรสนับสนุนใหพนักงานพัฒนาตนเอง หรือมอบหมายใหรับผิดชอบตองานกวางขึ้นโดยมี หนาที่การงานสูงขึ้นอันเปนโอกาสที่พนักงานจะกาวไปสูความสําเร็จ 3. ทฤษฎีความตองการที่แสวงหาของ McClelland ในป ค.ศ. 1961 นักจิตวิทยาชื่อ เดวิด แมคเคลลแลนด (David McClelland) ไดสรางทฤษฎีความตองการ ซึ่งมีความสัมพันธกับแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู โดยมุงที่ความปรารถนา เพื่อความสําเร็จ อํานาจ ความผูกพันในขณะที่บุคคลมีการพัฒนาสิ่งเหลานี้จากประสบการณของชีวิต และยังเปนทฤษฎีที่เสนอแนะวาความตองการที่แสวงหาการเรียนรูโดยอาศัยชีวิตและการที่บุคคลมุง ความตองการเฉพาะอยางมากกวาความตองการอื่นๆ ทฤษฎียังจัดอยูในกลุมทฤษฎีแรงจูงใจแบบ เนื้อหาดวยเชนกัน ประกอบดวย 3 ประการ ดังนี้ 3.1 ความตองการความสําเร็จ (Need for Achievement : nAch) เปนความ ตองการที่จะทําสิ่งตางๆ ใหเต็มที่และดีที่สุดเพื่อความสําเร็จ จากการวิจัยของ McClelland พบวา บุคคลที่มีความตองการความสําเร็จสูงจะมีการแขงขัน ชอบงานที่ทาทายและตองการไดรับขอมูล ปอนกลับเพื่อประเมินผลงานตนเอง มีการชํานาญในการวางแผน มีความรับผิดชอบสูงและกลาที่จะ เผชิญกับความลมเหลว 3.2 ความตองการความผูกพัน (Need for Affiliation : nAff) เปนความ ตองการการยอมรับจากบุคคลอื่น ตองการเปนสวนหนึ่งของกลุม ตองการสัมพันธภาพที่ดีตอบุคคลอื่น บุคคลที่มีตองการความผูกพันสูง จะชอบสถานการณการรวมมือมากกวาสถานการณการแขงขัน โดย พยายามที่จะสรางและรักษาความสัมพันธอันดีกับผูอื่น 3.3 ความตองการอํานาจ (Need for Power : nPower) เปนความตองการ อํานาจเพื่อมีอิทธิพลเหนือผูอื่น บุคคลที่มีความตองการอํานาจสูงจะแสวงหาวิถีทางเพื่อทําใหตนมี อิทธิพลเหนือผูอื่นและจะกังวลเรื่องอํานาจมากกวาการทํางานใหมีประสิทธิภาพ ทฤษฎีนี้สามารถ เชื่อมโยงกับระดับความพึงพอใจในการทํางาน ในลักษณะตางๆ โดย McClelland พบวา ความ ตองการอํานาจในระดับปานกลางถึงระดับสูงมีความสัมพันธกับความผูกพันในระดับต่ําในความสําเร็จ ของผูบริหาร ความตองการอํานาจระดับสูงจะทําใหบุคคลเต็มใจที่จะมีอิทธิพลหรือผลกระทบตอ บุคคลอื่น ความตองการความผูกพันในระดับต่ําจะทําใหผูบริหารตัดสินใจโดยปราศจากความวิตก กังวลวาบุคคลอื่นจะเกิดความไมพอใจ นอกจากนี้ McClelland ยังพบรูปแบบการจูงใจความสําเร็จที่ ชัดเจนที่สุดในบริษัทขนาดเล็ก ซึ่งประธานบริษัทมีการจูงใจดานความสําเร็จสูงมาก ในขณะที่พบวา


39 บริ ษัท ขนาดใหญ ผู บ ริ ห ารระดั บ สู ง จะมี การจู งใจดานความสําเร็จ ในระดับ ปานกลางและมี ความ ตองการในดานความมีอํานาจและความผูกพันสูง สวนผูบริหารในระดับปานกลางและระดับสูงจะมี การจูงใจดานความสําเร็จสูงกวาประธานบริษัท 4. ทฤษฎีสองปจจัยของ Herzberg การจูงใจตามทฤษฎีความตองการของเฟรดเดอริค เฮิรซเบอรก (Frederick Herzberg) ไดมีการพัฒนาในป ค.ศ. 1950 – 1959 และในชวงแรกของป ค.ศ. 1960 – 1969 ซึ่งเปน ทฤษฎีที่ระบุถึงสภาพแวดลอมของงานที่ทําใหเกิดความไมพึงพอใจในงาน (Job Dissatisfaction) และลักษณะของงานที่ทําใหเกิดความพึงพอใจในงาน (Job Satisfaction) บางทานเรียกทฤษฎีสอง ปจจัยวา ทฤษฎีการจูงใจสุขอนามัย (Motivation Hyginene Theory) หรือทฤษฎีการจูงใจและธํารง รักษา (Motivation Maintenance Theory) ซึ่งแบงปจจัยการจูงใจออกเปน 2 องคประกอบ คือ ปจจัยกระตุนใหเกิดแรงจูงใจ (Motivation Factor) และปจจัยสุขอนามัย (Hygiene Factor) ปจ จั ยกระตุ น แรงจู งใจทําใหเกิดความกระตือรือรน พยายามทํางานใหมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้นไปเปนสิ่งที่ผูบริหารตองใหความสําคัญ เชน การมอบหมายงานที่ทาทาย มีความ รับผิดชอบสูงขึ้น สนับสนุนความคิดริเริ่ม เลื่อนตําแหนง ผูบริหารจึงควรมอบหมายงานที่ทาทายให บุคคลไดมีโอกาสรับผิดชอบในงานที่สูงขึ้น หากขาดปจจัยสุขอนามัย อาจทําใหเกิดความไมพอใจแก บุคลากรขององคกรได เชน นัดหยุดงาน ประทวงเรียกรอง วิพากษวิจารณใหเสียหาย ผูบริหารอาจจัด โครงการผลประโยชนพิเศษเพื่อพยุง ธํารงรักษา ปองกันความพอใจ รวมตัวกันเรียกรองตอรองของ บุคลากรในองคกร แมวาปจจัยสุขอนามัยไมใชเปนสิ่งจูงใจที่จะทําใหผลผลิตเพิ่มขึ้น แตเปนปจจัย เบื้องตนที่ชวยปองกันไมใหคนงานเกิดความไมพอใจในงานที่ทําอยูนั้น หากไมมีปจจัยนี้ความรุนแรง จากความไมพอใจอาจเกิดขึ้นได ผูบริหารจึงมักจัดโครงการดานผลประโยชนพิเศษตางๆ เพื่อให พนักงานพึงพอใจ เชน การลาปวย การลาพักรอน และโครงการที่เกี่ยวกับสุขภาพและสวัสดิการของ พนักงาน เปนตน สรุปไดวา ทฤษฎีของการจูงใจมีหลายทฤษฎี แตโดยสาระสําคัญของแตละทฤษฎี สามารถสรุปไดวา มนุษยมีแรงจูงใจ หรือความตองการไมสิ้นสุด โดยจะมีความตองการในขั้นพื้นฐาน มากอน คือ ความตองการดานปจจัยสี่ ความตองการดานความมั่นคงทางเศรษฐกิจ หรือความมั่นคง ในการปฏิบัติงาน และความตองการความปลอดภัยทางดานรางกาย หลังจากที่ไดรับการตอบสนองใน ขั้นพื้นฐานแลว ก็จะมีแรงจูงใจหรือความตองการในขั้นตอไปซึ่งเปนความตองการในระดับสูงขึ้นไป คือ ตองการความรัก ความเปนเจาของ อยากมีเพื่อนพอง อยากมีชื่อเสียงเกียรติยศ ตองการใหคนอื่น ยกย องนั บ ถื อ อยากมี อํา นาจบารมี เหนือคนอื่น ๆ ตอ งการความเจริญ กาวหนา ความสํ าเร็จ และ ตองการรักษาความมีชื่อเสียงเกียรติยศ ความเดน รวมทั้งความสําเร็จใหคงอยูตลอดไป


40 2.4.3 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอแรงจูงในในการปฏิบัติงาน ธนวัฒน ตั้งวงษเจริญ (2539: 22) กลาววาปจจัยที่ทําใหคนอยากทํางาน มีอยู 7 ประการ ดังนี้ 1. สิ่งจูงใจเกี่ยวกับวัตถุ ประกอบดวย เงิน วัสดุอุปกรณ อาคารสถานที่ เปนตน 2. สิ่งจูงใจเกี่ยวกับโอกาส เชน โอกาสเกี่ยวกับความมีชื่อเสียง ความเดน ความมี อํานาจอิทธิพล การไดรับตําแหนงที่ดี 3. สิ่งจูงใจที่ เกี่ ย วกับ สภาพวัสดุอุป กรณ ความร วมมือ การไดรับ การบริการซึ่ง อาจจะไดโดยรูตัว หรือไมรูตัว 4. ความสามารถขององคการที่จะทําใหเกิดความพึงพอใจกับบุคคลโดยเปดโอกาส ใหเขาแสดงอุดมคติโดยเสรี เพื่อกอใหเกิดความภาคภูมิใจในฝมือ ตลอดจนโอกาสที่องคการจะใหเขา ไดมีสวัสดิการตางๆ แกตัวเขาเอง ครอบครัว หรือบุคคลอื่น 5. สิ่ ง จู ง ใจเกี่ ย วกั บ เพื่ อ นร ว มงาน การมี สั ม พั น ธ ฉั น ท มิ ต รกั บ บุ ค คลภายใน หนวยงาน ความผูกพันกับสถาบันและการมีสวนรวมกับกิจกรรมสถาบัน 6. สิ่งจูงใจเกี่ยวกับสภาพการทํางานที่เปนไปตามปกติและทัศนคติ ทั้งในแงของ สถาบันผูบังคับบัญชาและผูปฏิบัติ 7. สิ่ ง จู ง ใจที่ เ กี่ ย วกั บ ความปลอดภั ย ทางสั ง คม ความมั่ น คงในการงานและมี หลักประกันความมั่นคง การอยูดีกินดี มนูญ ตนะวัฒนา (2539: 66) ไดกลาวถึงปจจัยที่มีอิทธิพลตอความพึงพอใจในงาน หรือความสุขในการทํางาน มีดังนี้ 1. ความมั่นคง (Security) ประกอบดวยความมั่นคงในการจางและความรูสึก เปน ที่ ต องการขององค การ ความรู สึ กที่ มีความมั่น คงเปน เหตุผ ลที่สําคั ญ ในการชอบงาน ซึ่งเกิดจาก องคประกอบตางๆ ดังนี้ 1.1 โอกาสในความกาวหนา 1.2 ปราศจากความตึงเครียด (Tension) และความกดดัน (Pressure) ทาง อารมณ 1.3 ไดรับการยอมรับ 1.4 ไดทํางานตามสายงานที่ตนมีความสามารถจากการฝกอบรม หรือไดศึกษา เลาเรียน 2. สังคม ความพึงพอใจในงานไมเพียงแตเกิดจากความตองการมีสวนเปนเจาของ (Needs of belonging) และสังคมยอมรับ (Social approval) เทานั้น แตยังกอใหเกิดความสุข (Pleasantness) จากการที่ไดมีความสัมพันธทางสังคมและไดรับการปฏิบัติอยางดีจากหัวหนาหรือ ผูจัดการอีกดวย 3. การติดตอสื่อสาร หมายถึง การรับสงขาวสารการใหและการรับคําสั่ง การทํา รายงาน รวมถึ งการฟ งการรั บ ขอเสนอและการอธิบ ายอีกดว ย การติดตอสื่อสารที่ดีหมายถึงการ กระทําที่อยูตรงขามกับการหันหลังให หรือการเพิกเฉยละเลย


41 4. บุคลิกภาพ หมายถึง มีการศึกษาดี ยืดหยุนและมาจากครอบครัวที่มีพื้นฐาน ทางสุขภาพจิต (Mentally healthy family) ผูที่พบความสําเร็จจะมีสภาพที่แทจริงและเปาหมาย ของตนเอง ตรงกันขามกับคนไมพอใจในงานที่ตนทําอยู มักจะเปนคนแข็งกระดางมีอุปาทาน คือ ยึด มั่นถือมั่นตายตัว (Rigid) ไมยืดหยุนและในการเลือกเปาหมายจะไมเปนไปตามสภาพที่แทจริง เขาไม สามารถเอาชนะอุปสรรคตางๆ จากสิ่งแวดลอมได มักจะพึ่งคนอื่น ตําหนิตนเองเกี่ยวกับวิถีชีวิตใน อนาคตและชีวิตโดยทั่วไปจะไมมี สรุ ป ได ว า ป จ จั ย ที่มี อิ ทธิ พ ลต อแรงจู งในในการปฏิ บั ติง านจะต องมี สิ่ง ที่จู ง ใจซึ่ ง เกี่ยวของกับวัตถุและโอกาส โดยสามารถตอบสนองความตองการทางดานรางกาย ความตองการ ทางดานมั่นคงและปลอดภัย ความตองการทางสังคม ความตองการการยอมรับและความตองการ ประสบความสําเร็จในชีวิต จึงจะทําใหผูที่เกี่ยวของเขารวมกิจกรรมที่ไดใชการจูงใจในการโนมนาวได ประสบผลสําเร็จ

2.6 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ บัณฑิตา ทรัพยกมล (2544) ไดทําการศึกษาเรื่อง ความรับผิดชอบตอสังคมของ องคกรธุรกิจ ศึกษากรณีโรงงานอุตสาหกรรมเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา ทัศนะของผูบริหารตอความรับผิดชอบตอสังคม นโยบายขององคกรและแนวโนมกาจจัดกิจกรรมใน องคกร จากการศึกษาพบวา ทัศนคติของผูบริหารตอความรับผิดชอบตอสังคมภายในองคกรเห็นดวย ตอการจัดกิจกรรมใหแกลูกจางมากที่สุด สวนทัศนคติของผูบริหารตอความรับผิดชอบตอสังคม ภายนอกองคกรเห็นดวยตอการใหบริการที่ซื่อสัตยตอผูบริโภคมากที่สุด รองลงมาคือ การไมจาง แรงงานที่ผิดกฎหมาย และทัศนคติของผูบริหารตอขอบเขตความรับผิดชอบในภาพรวมผูบริหารเห็น ดวยในเรื่องสิทธิของผูบริโภคในดานของนโยบาย พบวา สวนใหญมีนโยบายดานการสงเสริมอาชีพ และการผลิตสินคาและบริการมากที่สุด รองลงมาคือ นโยบายดานการรักษาสิ่งแวดลอม และแนวโนม ของการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวของกับความรับผิดชอบตอสังคม พบวา แนวโนมที่ผูบริหารจะจัดกิจกรรม ในดานการผลิตสินคาที่ดีและมีคุณภาพมากที่สุด รองลงมาคือ การรักษาสภาพแวดลอมการบริจาคเงิน หรือสิ่งของในงานสาธารณกุศลตางๆ พัชรี นิวัฒเจริญชัยกุล (2546) ไดศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมรับผิดชอบตอสังคมของ พนักงานบริษัท เทเลคอมเอเชียคอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษารูปแบบกิจกรรมที่พนักงานเขารวม ปจจัยที่สงเสริมและเปนอุปสรรคตอการมีสวนรวมใน กิจกรรม และศึกษาทัศนะของพนักงานตอแนวทางการมีสวนรวม จากการศึกษาพบวา พนักงานใน บริษัทไดเขารวมกิจกรรมเพื่อสังคม อันไดแก โครงการบริจาคเงินหรือสิ่งของชวยเหลือแกสถาน สงเคราะหมากที่สุด รองลงมาไดแก โครงการบริจาคเงินหรือสิ่งของชวยเหลือผูประสบภัย ปจจัยที่เขา รวมกิจกรรมของพนักงานสวนใหญเขารวมในกิจกรรมเพื่อสังคม เพราะตองการใหสังคมดีขึ้น ดาน กลวิ ธี ผู บ ริ ห ารควรเข า ร ว มกิ จ กรรมกั บ พนั ก งานและการประชาสั ม พั น ธใ นการเข า ร ว มกิ จ กรรม อุปสรรคตอการดําเนินกิจ กรรมเกิด จากพนักงานไมเห็นประโยชนของการทํากิจกรรมและไมเห็ น


42 ความสําคัญของการทํากิจกรรม สวนในเรื่องแนวทางการสงเสริมการมีสวนรวมในกิจกรรมพนักงาน บริษัทสวนใหญมีทัศนะเห็นดวยตอการมีสวนรวม ซึ่งแบงไดเปน 5 ดาน ดานนโยบายองคกร บริษัท ควรมีนโยบายสัมพันธ บริษัทควรมีการเผยแพรขาวสาร/การประชาสัมพันธที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรม เพื่อสังคมเปนระยะๆ ดานการเปดโอกาสใหพนักงานแสดงความคิดเห็นโดยพนักงานสวนใหญเห็นควร ใหพนักงานแสดงความคิดเห็นและดานรางวัลจูงใจ พนักงาน สวนใหญไมเห็นดวยกับแนวทางการ สงเสริมดานรางวัลจูงใจที่ทําใหพนักงานตัดสินใจเขามามีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อสังคม มนตรี เลิศสกุลเจริญ (2547) ไดศึกษาเรื่อง แนวทางการพัฒนาความรับผิดชอบตอ สังคมขององคกรธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดนนทบุรี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาทัศนะของ ผูบริหารองคกรธุรกิจที่มีตอความรับผิดชอบตอสังคมและการจัดกิจกรรมหรือบริการที่สะทอนถึงความ รับผิดชอบตอสังคม เพื่อเปนแนวทางการพัฒนาความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรธุรกิจ โดยศึกษา ทัศนะของผูบริหารองคกรธุรกิจภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดนนทบุรีพบวา ผูบริหารองคกรธุรกิจมี ความเห็นดวยกับแนวคิดความรับผิดชอบตอสังคมทางดานเศรษฐกิจ กฎหมาย จริยธรรมและการใช ดุลยพินิจ ในภาพรวมอยูในระดับมากทั้ง 4 ดาน และมีความเห็นดวยตอการจัดกิจกรรมหรือบริการที่ สะทอนถึงความรับผิดชอบตอสังคมทั้ง 6 ดาน คือ ดานสุขภาพอนามัย สิ่งแวดลอม สิทธิผูบริโภคและ วัฒนธรรมอยูในระดับมาก โดยผูบริหารใหความสําคัญทางดานสิทธิผูบริโภคมากที่สุด และแนวทาง การพัฒนาความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรธุรกิจ ผูบริหารองคกรธุรกิจควรมีการกําหนดนโยบาย ขององคกรใหครอบคลุมถึงความรับผิดชอบตอสังคมดานตางๆ และจัดกิจกรรมใหเหมาะสมกับความ ตองการของลูกจาง และสอดคลองกับวัฒนธรรมของชุมชนอยางแทจริง โดยใชการบริหารแบบมีสวน รวมจากฝายตางๆ ขององคกรธุรกิจ เพื่อใหการจัดกิจกรรมตอบสนองตอความตองการของทุกฝาย อยางเปนรูปธรรมและสรางความเชื่อถือใหกับลูกจางและชุมชนภายนอก โกวิทย สวัสดิ์มงคล (2550) ไดทําการศึกษาเรื่อง ความรับผิดชอบตอสังคมดานการ แกไขปญหามลพิษสิ่งแวดลอมของผูประกอบการรถเอกชนรวมบริการ ขสมก. มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาถึ งความคิดเห็ นของผู ป ระกอบการที่มีตอแนวคิดความรับผิดชอบตอสังคมดานสิ่งแวดลอม ลักษณะการดําเนินธุรกิจรถรวมที่แกไขปญหามลพิษสิ่งแวดลอม ปญหาที่เกิดขึ้นในการดําเนินธุรกิจรถ รวมและความตองการ การสนับสนุนเพื่อเสริมสรางความรับผิดชอบตอสังคมกรณีการแกไขปญหา มลพิษสิ่งแวดลอม กลุมประชากรที่ใชในการศึกษาเปนผูประกอบการรถเอกชนรวมบริการ ขสมก. ใน เขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 62 บริษัท รวมมีผูประกอบการทั้งสิ้น 145 ราย เครื่องมือที่ใชใน การศึกษาคือแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบวา ผูป ระกอบการมีความคิดเห็น ตอแนวคิดความ รับผิดชอบตอสังคมดานสิ่งแวดลอม ภาพรวมอยูในระดับมาก สวนลักษณะการดําเนินธุรกิจรถรวมที่ แกไขปญหามลพิษสิ่งแวดลอม ผูประกอบการมีการปฏิบัติโดยรวมอยูในระดับปานกลาง และความ ตองการการสนับสนุนเพื่อเสริมสรางความรับผิดชอบตอสังคมกรณีการแกไขปญหามลพิษสิ่งแวดลอม ภาพรวมอยูในระดับมาก วิริสุดา ศิริวงศ ณ อยุธยา (2550) ไดทําการศึกษาเรื่องความรับผิดชอบตอสังคมใน องคกรธุรกิจไทย กรณีศึกษาบริษัท โตโยตามอเตอรประเทศไทย จํากัด มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา


43 แนวคิดและแนวปฏิบัติที่ดีในเรื่องความรับผิดชอบตอสังคมในองคกรธุรกิจไทย รวมทั้งลักษณะและ องคประกอบกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคม ปจจัยที่เปนแรงผลักดัน การออกแบบและพัฒนา กิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคม ตลอดจนการประเมินผลการดําเนินกิจกรรมความรับผิดชอบตอ สังคมทั้งภายในและภายนอกกระบวนการธุรกิจ โดยใชขอมูลจากการสัมภาษณผูบริหารและนักวิจัยที่ เกี่ยวของ และจากเอกสารการดําเนินงานขององคกรที่ศึกษา หนังสือ วารสารและบทความตางๆ ผล การศึกษาพบวา องคกรมีการกําหนดนโยบายและเปาหมายความรับผิดชอบตอสังคมเปนสวนหนึ่ง ของนโยบายและปรัชญาขององคกร และกระจายไปยังพนักงานระดับใหมีสวนรวมและมีความ ตระหนัก โดยปจจัยที่เปนแรงผลักดันคือ ปจจัยภายในและปจจัยภายนอกองคกร ลักษณะกิจกรรม ความรับผิดชอบตอสังคมมี 3 รูปแบบ คือ Corporate-driven CSR, Social-Driven CSR และทั้ง 2 แบบรวมกัน และองคประกอบกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคมโดยการเลือกประเด็นความตองการ ของสังคมมาทําเปนโครงการ มีตัวชี้วัดและเปาหมายแผนการดําเนินงานและวิธีการประเมินผล ซึ่ง ประเมินผลทั้งกอนทํา ระหวางทําและหลังทํา โดยประเมินผลกระทบดานเศรษฐกิจและสังคมของ กิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคมตอผูมีสวนไดสวนเสียทั้งหมด ผลที่ไดจัดทําเปนรายงานการพัฒนา เพื่อความยั่งยืน สําหรับแนวโนมกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคมในอนาคตเนนการพัฒนากิจกรรมที่ ทําใหปจจุบันมีความตอเนื่อง สวนประเด็นหรือหัวขอกิจกรรมจะเปนเรื่องใดขึ้นกับกระแสของสังคมใน ขณะนั้น ราชสีห เสนะวงศ (2550) ไดทําการศึกษาเรื่อง ความรับผิดชอบตอสังคมของ ผูสื่อขาวหนังสือพิมพสยามกีฬารายวัน มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความรูตอแนวคิดความรับผิดชอบตอ สังคมของผูสื่อขาว และระดับปฏิบัติความรับผิดชอบตอสังคมของผูสื่อขาว กลุมตัวอยางที่ใชใน การศึกษาเปนผูสื่อขาวหนังสือพิมพสยามกีฬารายวันที่ปฏิบัติงานตั้งแตเวลา 05.00 – 14.00 น. จํานวน 100 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษา คือ แบบสอบถาม ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมี ความรูตอแนวคิดความรับผิดชอบตอสังคมในระดับสูงทั้ง 3 ดาน ไดแก ดานความหมายของความ รับผิดชอบตอสังคม ซึ่งผูสื่อขาวจะตองเสนอขาวสารเพื่อชวยแกไขปญหาสังคมและดานขนาดของ ความรับผิดชอบตอสังคมตองระวังตอปญหาในทางสังคมที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ในระดับปฏิบัตินั้น ผูสื่อขาวตองใหขอมูลที่เปนจริงระมัดระวังในการนําเสนอขาวที่อาจมีผลตอความมั่นคงของชาติและไม ละเมิดสิทธิบุคคล กรณิภา อังคทาภิมณฑ (2552) ไดศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมของพนักงานตอการ ดําเนินกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมของพนักงานธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํา กัด (มหาชน) โดยพบว า กลุมตัว อยางเคยเขารว มโครงการบริจ าคเงินหรือสิ่งของชวยเหลือ ผูประสบภัยและมีการรับรูดานกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคมสวนใหญอยูในระดับสูง


บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษาวิจัยเรื่อง “การมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม (CSR)” เปนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantitative Research) โดยใชการสัมภาษณเชิงลึก ผูบริหาร และการสนทนากลุมในการเก็บขอมูล ซึ่งมีวิธีการและขั้นตอนตางๆ ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 3. การเก็บรวบรวมขอมูล 4. การวิเคราะหขอมูล

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ เจาหนาที่ขององคกรภาคธุรกิจและผูมีสวนได สวนเสียจากการชวยเหลือดานสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ขององคกรภาค ธุรกิจในพื้นที่เขตรับผิดชอบของสํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม ที่มีสวน ชวยเหลือสังคม ในเขตพื้นที่สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จํานวน 2 องคกร ที่มีสวน ชวยเหลือสังคมอยางตอเนื่อง ซึ่งเปนองคกรภาคธุรกิจขนาดใหญ จํานวน 1 องคกร และองคกร ภาคธุรกิจขนาดกลางหรือขนาดเล็ก จํานวน 1 องคกร กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ เจาหนาที่ขององคกรภาคธุรกิจและผูมีสวน ไดสวนเสียจากการชวยเหลือดานสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ขององคกรภาค ธุรกิจละไมนอยกวา 15 คน

3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา ในการรวบรวมขอมูลเพื่อใชในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ นักวิจัยไดอาศัยเครื่องมือตางๆ ที่ใชในการวิจัยดังตอไปนี้ 1. การศึกษาคนควาจากเอกสาร (Documentary Research) ขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวกับการมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ซึ่งไดรวบรวมจากบทความและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2. การศึกษาวิจัยภาคสนาม (Field Survey) ในการรวบรวมขอมูล เพื่อ ใชในการศึกษาครั้งนี้ นั กวิจัย ไดใชโ ครงสร า งแบบ สนทนากลุม การสัมภาษณเชิงลึกตามเคาโครงที่ไดกําหนด โดยเครื่องมือในการศึกษาที่สรางขึ้นเกิด จากการประมวลทฤษฎีที่เกี่ยวของเพื่อไดทราบการมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือ สังคม


45

3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล การศึ ก ษาการมี ส ว นร ว มขององค ก รภาคธุ ร กิ จ ในการช ว ยเหลื อ สั ง คม ได มี ก าร ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล โดยวิธีดังนี้ 1. นั กวิ จั ย ได ดํ า เนิน การพิจ ารณาคั ดเลือกองค ภ าคธุร กิจ ในพื้น ที่รับ ผิดชอบซึ่ง มี ดําเนินการชวยเหลือสังคมอยางตอเนื่องโดยเปนองคกรภาคธุรกิจขนาดใหญ จํานวน 1 องคกร และองคกรภาคธุรกิจขนาดกลางหรือขนาดเล็ก จํานวน 1 องคกร 2. มีการติดตอประสานงานเพื่อขอความอนุเคราะหในการจัดเก็บขอมูล โดยการ จัดส งหนังสือราชการไปยังองคกรภาคธุร กิจ เพื่อใหผูมีอํานาจพิจ ารณาใหความอนุเคราะหในการ จัดเก็บขอมูล 3. ติ ด ต อ ประสานงานไปยัง องค กรภาคธุ ร กิจ เพื่ อกํ าหนดวั น และเวลาในการไป จัดเก็บขอมูลโดยการสนทนากลุมแบบมีโครงสรางหรือการสัมภาษณเชิงลึก 4. ดําเนินการจัดเก็บขอมูลโดยใชโครงสรางแบบสนทนากลุมเปนแบบในการจัดเก็บ ขอมูลตามวันและเวลาที่ไดกําหนดไว โดยทีมงานประกอบดวย ผูดําเนินการสนทนา (Moderator) ผูจดบันทึก (Note taker) และผูชวยทั่วไป (Assistant) และหรือการสัมภาษณเชิงลึกกลุมตัวอยาง ตามเคาโครงสัมภาษณที่ไดกําหนด

3.4 การวิเคราะหขอมูล หลังจากที่ไดเก็บรวบรวมขอมูลแลว นักวิจัยไดทําการวิเคราะหขอมูลที่เก็บรวบรวม ได เ พื่ อกํ า หนดรู ป แบบการมี ส ว นร ว มขององคก รภาคธุร กิ จ ในการชว ยเหลื อ สัง คมที่เ หมาะสมใน สังคมไทยและขับเคลื่อนนโยบายใหองคกรที่เกี่ยวของเพื่อสงเสริมการมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจ ในการชวยเหลือสังคมตอไป


บทที่ 4 ผลการศึกษา การศึกษา การมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) โดยการใชขอมูลทุติยภูมิ และการจัดเก็บขอมูลดวยการสัมภาษณ เชิงลึก และการสนทนากลุม โดยผูใหขอมูล คือ ผูบริหาร เจาหนาที่ และผูมีสวนไดสวนเสีย (ผูนํา ทองที่ ผูนําทองถิ่น แกนนํา อาสาสมัคร และประชาชน) ขององคกรภาคธุรกิจที่มีสวนรวมในการ ชวยเหลือสังคม จํานวน 2 บริษัท คือ บริษัท ชาระมิงค จํากัด และบริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด จํานวน 60 คน โดยผูใหขอมูลเปนผูบริหาร เจาหนาที่ และพนักงานของบริษัท จํานวน 30 คน และผูมีสวนไดสวนเสีย (ผูนําทองที่ ผูนําทองถิ่น แกนนํา อาสาสมัคร และประชาชน) จํานวน 30 คน ซึ่งเก็บรวบรวมขอมูลดวยวิธีการสัมภาษณเชิงลึก (Indept Interview) การสนทนากลุม (Focus Group)และการสังเกตแบบมีสวนรวม ดําเนินการจัดเก็บขอมูลระหวางเดือน มิถุนายน-กรกฎาคม 2555 และไดรวบรวมประมวลผลขอมูลเปนสวนเดียวกัน โดยนําเสนอขอมูลในรูปแบบความเรียง เชิงพรรณนา ประกอบดวยขอมูล บริษัทอยางยอ เปาหมายวัตถุประสงค แผนงาน โครงการ กิจกรรม ฝายตางๆ ที่เกี่ยวของ ผลลัพธ และกิจกรรมการดําเนินงานโครงการ กิจกรรม การปฏิบัติที่ดี บทเรียน ที่ไดรับ ปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะ และศักยภาพในการตอยอดขยายผล โดยนําเสนอเปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 ผลการศึกษา บริษัทชาระมิงค จํากัด สวนที่ 2 ผลการศึกษา บริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด

สวนที่ 1 ผลการศึกษา บริษัทชาระมิงค จํากัด บริษัท ชาระมิงค จํากัด ไดมีสวนรวมในการชวยเหลือสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) จากผลการศึกษา พบวา บริษัท ชาระมิงค จํากัด เปนองคกรธุรกิจขนาดกลาง ที่ เ ป น องค กรผู ผ ลิ ตชาระมิ งค ร า นจําหนายเครื่ องดื่ม ระมิง คทีเ ฮาส และรา นกาแฟรามิโ น โดยมี นโยบายมุงเนนการบริหารจัดการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมทุกกระบวนการ ขั้นตอน ในการผลิต ทั้ง การบํารุงรักษาสวนชาแบบออรแกนนิก (Organic) โดยไมใชสารเคมี การรวมกับชาวบานชุมชนรวม ดู แลรั กษาป า และแหล งต น น้ํ า การบรรจุหีบ หอและบรรจุ ภัณฑที่ส ามารถยอยสลายหรือใชซ้ํา ได รวมทั้งมี นโยบายมุงเนน การตอบแทนตอชุมชน ดว ยการสงเสริม และสนับสนุนเงินทุน ในการทํา กิจกรรมของโรงเรียน วัดพุทธ โบสถคริสตในชุมชน การทําโครงการพัฒนาหองสมุดโรงเรียน การให สวัสดิการแกพนักงานและคนงานในไร การสรางศูนยฝกอาชีพแกโรงเรียนบานหวยตาด สนับสนุนครู และนักเรียนสรางผลงานประดิษฐเพื่อหารายได และการมีสวนรวมสงเสริมและสนับสนุนวิชาการดาน ชา กาแฟรวมกับสถาบันการศึกษาในการใหความรูดานการดูแลบํารุงรักษากาแฟ รวมทั้งเปนสถานที่ ศึกษาดูงาน และฝกงานของนักศึกษาทั้งในและตางประเทศ โดยมีรายละเอียดผลการศึกษา ดังนี้


47

1. ขอมูลพื้นฐานบริษัท 1.1 ความเปนมา

บริษัทชาระมิงค จํากัด เปนบริษัทในเครือ ระมิงคกรุป ประกอบดวย Raming Tea Co., Ltd. Siam Celadon Pottery Co., Ltd. Raming Marketing (2001) Co., Ltd. Siam Nissan Chiangmai Co., Ltd. และ F&R Jewellery Co., Ltd. โดยบริษัทชาระมิงค จํากัด กอตั้งใน ป พ.ศ. 2484 ที่ตั้งสํานักงานใหญ เลขที่ 151 หมู 3 ตําบลทาศาลา อําเภอเมือง จังหวัดชียงใหม บริษัทชาระมิงค จํากัด เปนธุรกิจประเภทบริษัทผูผลิตและผูสงออกผลิตภัณฑประเภทชา ชาออแกนิค กาแฟออแกนิค และสมุนไพร ถือหุนโดยคนไทย รอยละ 100 ทุนจดทะเบียน 19 ลานบาท พนักงาน สํานักงานใหญ (Head Office) จํานวน 48 คน และพนักงานในไรชา (พนักงานและลูกไร) จํานวน 120 คน ตลาดในประเทศ รอยละ 80 และสงออก รอยละ 20 (Asian, EU, Australia) โดยที่การจัด จําหนายสินคาขายโดยบริษัทเอง รอยละ 40 โดยตัวแทนจําหนายกระจายสินคาทั่วประเทศ รอยละ 60 ชองทางการจัดจําหนายโดย Modern Trade, Traditional Trade, Van, Direct Marketing ความเปนมาของบริษัท ผลการศึกษา พบวา บริษัทถือกําเนิดการสํารวจและบุกเบิก ไรชาของประเทศไทยเกิดขึ้นครั้งแรก ป พ.ศ. 2484 โดยคุณประสิทธิ์ พุมชูศรี เกษตรกรตัวอยางของ จังหวัดเชียงใหม และเปนผูกอตั้ง บริษัท ชาระมิงค จํากัด จากแรงบันดาลใจจากการคนพบในหนังสือ เอ็นไซโคลปเดียวา “ณ ผืนแผนดินของถิ่นลานนา เปนแหลงกําเนิดชาแหงหนึ่งของโลก” (William H : Ukers, 1935. All about tea The Tea and Coffee Trade Journal) ในการสํารวจในครั้งนั้น พบวา ตนเมี่ยง ณ เขตภูเขาสูง อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ที่คนรุนเกาเก็บมาทําเมี่ยงเปนตนชา ปาที่ขึ้นตามธรรมชาติ และเปนชาสายพันธุอัสสัม แบบเดียวกับที่นิยมปลูกในประเทศอินเดีย และศรี ลังกา การบุกเบิกทําไร และผลิตชาแบบสากลจึงไดเริ่มตนขึ้น บริษัทชาระมิงค จํากัด เดิมชื่อ บริษัท ใบชาตราภูเขา จํากัด ไดเริ่มบุกเบิก ทําไรชา และผลิตใบชาในพื้นที่ภูเขาสูง แหลงตนน้ํา อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม กวา 3,000 ไร สงเสริม อาชีพการปลูกชาแกชาวเขาเผามูเซอ และชาวทองถิ่น กวา 200 หลังคาเรือน ในป พ.ศ. 2510 ได เปลี่ยนชื่อเปน บริษัทชาระมิงค จํากัด เพื่อใหสอดคลองกับพื้นที่ปลูกชา ซึ่งอยูบริเวณตนแมน้ําปง เดิม ชื่อแมน้ําแมระมิงค และเปนพื้นที่เดียวกับที่แกะภูเขาอาศัย ซึ่งแกะภูเขาภาษาอังกฤษเรียกวา RAM จึงสอดคลองกับคําวา RAMING TEA 1.2 ผลิตภัณฑของบริษัท ผลิตภัณฑ บริษัทชาระมิงค จํากัด ประกอบดวย ผลิตภัณฑเครื่องดื่มชาระมิงค ราน เครื่องดื่มระมิงคทีเฮาส และรานกาแฟรามิโน โดยรายละเอียด ดังนี้ 1.2.1 ผลิตภัณฑเครื่องดื่มชาระมิงค บริษัทชาระมิงค จํากัด เปนผูผลิตชาฝรั่งแหงเดียวในประเทศไทย โดยการคัดเฉพาะ ยอดออนของตนชามาผลิตดวยเทคโนโลยีเฉพาะของการผลิตชาแตละชนิดตามวิธีการผลิตแบบสากล นอกจากจะได สั ม ผั ส ได ถึ ง คุ ณ ค า รสแท ต ามแหล ง กํ า เนิ ด ชา ซึ่ ง เป น เอกลั ก ษณ เ ฉพาะ โดยมี


48 ประสบการณมานานกวา 60 ป มีระบบคุณภาพมุงเนนการพัฒนาระบบบริหารคุณภาพอยางตอเนื่อง เพื่อสรางความพึงพอใจตอลูกคา โดยมีทีมผูเชี่ยวชาญในการชิมชา (tea taster) เปนผูคัดเลือกชา นํามาผสม (Blending) ใหไดคุณภาพ และมีรสชาติไดมาตรฐานระดับสากล บริษัทไดพิถีพิถันตั้งแต การคัดเลือกสายพันธุชา ปลูกบนพื้นที่ความสูง 1,000 เมตรขึ้นไปจากระดับน้ําทะเล โดยวิธีทาง เกษตรอินทรีย (Organic) คัดสรรเฉพาะยอดออนของตนชา ผลิตดวยเทคโนโลยีเฉพาะ ของการผลิต ชาแตละชนิด จึงไดชาที่มีรสชาติและความหอมอยางเปนเอกลักษณของแหลงกําเนิด (Single Origin) และเปนที่ยอมรับในระดับสากล นอกจากนี้ ชาระมิงค ยังเปนผูผลิตชาดํา หรือชาฝรั่งแบบสากล แหง แรก และแหงเดียวในประเทศไทย โดยผลิตภัณฑ บริษัทชาระมิงค จํากัด ประกอบดวย

ลาเต

1) ชาดําหรือชาฝรั่ง ชามาซาลา 2) ชาจีน ชามะลิ ชาอูหลง 3) ชาเขียว ชาเขียวญี่ปุน ชาเขียวกลิ่นมะลิ ชาเขียวมัทฉะ ผงชาเขียวสําหรับกรีนที

4) ชาสมุนไพรไทยเพื่อสุขภาพ ชากระเจี๊ยบ ชาเก็กฮวย ชาขิง ชาตะไคร ชามะตูม ชาใบเตย ชาเขียวใบมอน ชาเจี่ยกูหลาน ชาเขียวดอกอัญชัญ ชามิ้นท และชาดอกคาโมบาย 5) ผงชาไทยสูตรโบราณ ผงชาไทยสูตรโบราณสําหรับทําชาเย็น ชาดําเย็น และชา มะนาว 6) ชาอแกนิค ชาฝรั่งออแกนิค และชาใบเขียวออแกนิค 7) ชาเขียวออแกนิคชนิดใบผสมสมุนไพร ชาเขียวออแกนิค ชนิดใบผสมใบเตย ชา เขียวออแกนิคชนิดใบผสมตะไคร ชาเขียวออแกนิคชนิดใบผสมขิง และชาเจียวกูหลานชนิดใบ 8) Tea Gift Set Collection 2012 ชุดชาสมุนไพรเพื่อสุขภาพ 2 ชนิด พรอมถวย ศิลาดล (Hand made in Chiangmai) 9) ออ โบน ยา ภาษาทองถิ่นของชาวเขาเผาลาหู มีความหมายวา "ขอบคุณ" ผลิตภัณฑทุกชิ้นที่ทานอุดหนุนมีสวนชวยสนับสนุนทุนการศึกษาของเด็กนักเรียนชาวเขา 10) ผลิตภัณฑ หรือ บริการอื่นๆ เชน รับจางบรรจุชา รับจางผลิตชา ชาสมุนไพร เปนตน 1.2.2 รานจําหนวยเครื่องดื่มชาระมิงค ระมิงคทีเฮาส Raming Tea House Siam Celadon เปนการนําศิลปะเครื่อง เคลือบของศิลาดลบวกกับความนุมนวลแหงชา ในรูปแบบการตกแตงรานเปนบานโบราณบนถนน ทาแพ ใจกลางเมือง ซึ่งเปนการผสานอยางลงตัวของศิลาดลศิลปเครื่องเคลือบของศิลาดลกับชาระ มิงค มรดกแหงตนน้ําแมปงของชาวเชียงใหม โดยมีเมนูเครื่องดื่มชาที่หลากหลายจากไรชาระมิงค เสริฟในชุดศิลาดล พรอมอาหารเบาๆ เพื่อสุขภาพ ตั้งอยูเลขที่ 158 ถนนทาแพ ตําบลชางมอย อําเภอ เมือง จังหวัดเชียงใหม ประวัติความเปนมาบานระมิงคทีเฮาสสยามศิลาดล Raming Tea House Siam Celadon เปนบานไมติดลําน้ําแมขา สรางในป พ.ศ. 2458 เปนบานไมสักใหญ 2 ชั้น ไดรับอิทธิพล


49 ตะวันตกแบบเรือนขนมปงขิงที่มีลวดลายไมฉลุตางๆ ประดับตามองคประกอบอาคารทั้งภายในและ ภายนอก รองรั บ ฐานรากด ว ยซุ งแพ และเทพื้น ทับ กลางบานมี ลักษณะเปน โถงโล งอยู ต รงกลาง เนื่องจากคนโบราณจะปลูกบานใหมีหลังคาสูง เพื่อใหลมสามารถพัดผานได ดานหลังของบานเปน แบบสวนหลั ง บ า น เดิ มเป น บ า นของขุ น อนุ ก รบุ รี ตน ตระกู ล นิ มากร เป น คนไทยเชื้ อสายจีน ได บรรดาศักดิ์เปนขุน ในสมัยรัชกาลที่ 6 บานหลังนี้เคยเปดเปนรานจําหนายวัสดุกอสราง ชื่อราน “หนิ่ม เฉี่ยวฉวด” หลังจากขุนอนุกรเสียชีวิต ในป พ.ศ. 2495 จึงยกบานหลังนี้ใหลูกชาย คือ นายบรรยงค นิมากร เปดเปนคลินิค ชื่อวา “คลินิคหมอสมโพธิ” ภายหลังขายให คุณนิตย วังวิวัฒน เจาของกิจการ ชาระมิงค เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2529 หลังจากนั้นไดเปดใหผูอื่นมาเชา เปนรานอาหารอิตาเลี่ยน และ ไดมีการปรับปรุงครั้งใหญ ตั้งแต ในป 2545-2546 สภาพกอนปรับปรุง สภาพเสื่อมโทรมมาก คุณ นิตย และ คุณเพ็ญพรรณ (ภรรยา) เล็งเห็นวา บานหลังนี้เปนบานเกา ควรจะรักษาไว จึงไดบูรณะ ปรับปรุง โดยอาจารยศิริพร กรรณกุลสุนทร อาจารยพิเศษ คณะออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา เปนผูออกแบบ ในสวนที่เปนไมเกาและผุพังก็ใหชางแกะสลักใหกลมกลืนกับของเดิม มากที่สุด โดยไดเปดเปนรานชาระมิงค รวมกับธุรกิจศิลาดล ซึ่งเปนธุรกิจที่ทําอยูแลวนํามาผสมผสาน กัน จึงใชชื่อรานวา “Raming Tea House Siam Celadon” เปดเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2546 บาน Raming Tea House Siam Celadon ไดรับรางวัลอนุรักษศิลปะสถาปตยกรรมดีเดน พระราชทาน จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ป 2547 และรางวัล อาคารอนุรักษดีเดน ประเภทอาคารเกา จากสมาคมสถาปนิกสยาม และเทศบาลนครเชียงใหม เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2547 1.2.3 รานกาแฟรามิโน รานกาแฟรามิโน เปนรานจําหนายเครื่องดื่มกาแฟ และจําหนายผิตภัณฑชาริมงค ดวยคุณภาพแหงชาระมิงค ตํานานชาแหงลานนาสงผานสู Ramino กาแฟอาราบิกา ภายใตผืนดินถิ่น ไรช า ต นน้ํา แม ปง แหลงกําเนิดชาชั้น ยอดของโลก ปลูกดวยวิธีออแกนิค ใหสัมผัสถึงรสแทกาแฟ ออแกนนิคอาราบิกา พรอมคุณคาสุดยอดชาไดอยางลงตัว ตั้งอยู เลขที่ 151 หมู 3 ตําบลทาศาลา อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 1.3 โครงสรางองคกร และนโยบายการดําเนินงาน 1.3.1 โครงสรางองคกร โครงสรางองคกร บริษัท ชาระมิงค จํากัด กอตั้งโดยคุณประสิทธิ พุมชูศรี เปนรุน แรก รุนที่สองบริหารโดยคุณนิตย วังวิวัฒน และปจจุบันเปนรุนที่สาม โดยคุณจักริน วังวิวัฒน เปน กรรมการผูจัดการ สํานักงานใหญตั้งอยูที่อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ในสวนการผลิตชา สํานักงาน ตั้งอยูในพื้นที่ตําบลอินทขิล อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ซึ่งประกอบดวยสวนแปลงเพาะ (หมูบาน ปางกึ๊ด) สวนโรงานฝายผลิต และสวนพนักงานเก็บชา


50 1.3.2 นโยบายการดําเนินงาน บริษัทชาระมิงค จํากัด ไดดําเนินงานโดยมีนโยบาย Green Marketing and CSR ดังคําขวัญของบริษัท “หนึ่งความดี ที่ทดแทนคุณแผนดินเกิด ความดีนั้นไมเคยสูญเปลา ดุจเดียวกับ หยดน้ํา ไมวาอยูที่ใด ยอมมีความหมาย ใหคุณคา และหลอเลี้ยงสิ่งที่อยูรายรอบ” และมีนโยบาย มุ งเน น การบริ ห ารจั ดการที่ เ ป น มิ ต รตอสิ่ งแวดล อมมาตั้ งแตผู บ ริห ารในรุน แรกจนป จ จุ บั น โดยมี นโยบายดานสิ่งแวดลอมและชุมชน ดังนี้ 1. บริษัทชาระมิงค จํากัด ไดบุกเบิกอุตสาหกรรมชาเปนรายแรกของประเทศไทย ตั้งแตป พ.ศ. 2484 จากปาเมี่ยง ซึ่งเปนแหลงกําเนิดชาแหงหนึ่งของโลก ใหเปนไรชาแบบสากล แตยัง คงไวซึ่งความอุดมสมบูรณของปาไม ตนน้ําแมระมิงค หรือแมน้ําปง 2. นโยบายการดูแลสวนชาที่ไมใชสารเคมี ใชการดูแลสวนชาดวยวิธีแบบอินทรีย (Organic) เป น การดู แลสวนชาที่ไมใชสารเคมี ดวยวิธีแบบ Organic ปจ จุบัน ไดรับ การรับ รอง มาตรฐาน Organic ทั้งในประเทศไทยและ ในระดับสากล ACT-IFOAM, ACT-EU, NOP Equivalent และ ACT-Canada นอกจากนี้การปลูกพืช แบบออแกนนิ ค ยั งเปนการเพิ่มมูล คาสินคา (Value Added) สรางโอกาสสงออก เพิ่มรายไดใหแกลูกไรมากขึ้น และไดชวยอนุรักษทรัพยากรปา และ แหลงน้ําใหปราศจากสารปนเปอน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีแกชุมชน 3. นโยบายการดูแลรักษาปาและแหลงตนน้ํา โดยบริษัทไดมีการปลูกฝงลูกไร และ ชุมชนใหรักปาและธรรมชาติ และหามมิใหลูกไรตัดไมทําลายปา อีกทั้งมีการสงเสริมการปลูกพืชแบบ ผสมผสาน เชน กาแฟ อาโวคาโด สมโอ ลิ้นจี่ ตนยาง แมคคาเดเมีย เปนตน เพื่อใหรมเงาแกตนชา เพื่อใหตนชาสามารถดํารงชีวิตอยูไดในสภาวะอากาศที่แหงแลง ขณะเดียวกันก็เปนการรักษาระบบ นิเวศน และเปนการอนุรักษพลังงาน โดยสามารถลดการใชน้ําในการรดน้ําไดอีกดวย 4. นโยบายการเก็บชา ใชวิธีการเก็บแบบใชคนเก็บ (Hand-selected) โดยลูกไร จะเลือกเก็บทีละยอดแทนการใชเครื่องจักร นอกจากจะสามารถควบคุมคุณภาพของยอดชาไดแลว ยัง ชวยลดมลภาวะไอเสียที่ปลอยออกมาจากเครื่องจักรอีกดวย และคาแรงการเก็บชาที่เก็บมาสงโรงงาน บริษัทจายใหลูกไรอยางเหมาะสม และเปนธรรมทั้งดานคุณภาพและปริมาณ 5. การดําเนินระบบบริหารคุณภาพโดยมุงเนนการลดอัตราการใชหรือสิ้นเปลือง ทรัพยากร หรือปจจัยการผลิต โดยมีการวัดผลทุกเดือน 6. การเลือกใชหีบหอหรือบรรจุภัณฑที่สามารถยอยสลายหรือใชซ้ําได และเลือกใช บรรจุภัณฑที่ทํามาจากวัสดุ Recycle เปนสวนประกอบ แตยังคงคุณภาพในแงการเก็บรักษาและ ความปลอดภัยตอผูบริโภค นอกจากนี้ บริษัทชาระมิงค จํากัด ยังมีนโยบายการมุงเนนการตอบแทนตอชุมชน โดยมี คําขวัญ “เมื่อคนในชุมชนมีชีวิตความเปนอยูที่ดี ก็จะสงผลใหเกิดความรักชุมชนและสิ่งแวดลอม” โดย บริษัทชาระมิงค จํากัด ไดมีนโยบายการมุงเนนการตอบแทนตอชุมชน ดังนี้


51 1. สงเสริมลูกไรในการปลูกพืชชนิดอื่นๆ นอกเหนือจากการปลูกชาชวยใหลูกไรมี รายไดที่ตอเนื่องและเพียงพอ ชวยลดปญหาชุมชนในดานการประกอบอาชีพที่ไมสุจริต การทําไรเลื่อน ลอย และดานยาเสพติด 2. สงเสริมและสนับสนุนเงินทุนในการทํากิจกรรมของ วัด โบสถ และ โรงเรียน ใน ชุมชน และปลูกฝงคานิยมใหนักเรียนรักบานเกิด จนนักเรียนที่เรียนจบแลวสวนใหญไดสืบทอดอาชีพ ในทองถิ่นตอไป 3. การจั ด หาทุ น ช ว ยเหลื อ จากหน ว ยงานภายนอก โดยทํ า โครงการร ว มกั บ หนวยงานภายนอกเพื่อพัฒนาชุมชน เชน โครงการพัฒนาหองสมุดโรงเรียนรวมกับสมาคมมิตรภาพ ซาอิตามะ-ไทย โดยเปนโครงการความรวมมือระหวางประเทศญี่ปุนและไทย 4. การบุกเบิกแหลงน้ําเพื่อชุมชนใหมีน้ําใชอยางเพียงพอ 5. การใหสวัสดิการแกลูกไรอยางเหมาะสม และจัดใหมีรานจําหนายสินคาอุปโภค บริโภคเพื่อใหลูกไร และพนักงานไมตองเสียคาใชจายในการเดินทางไปซื้อสินคา หรือซื้อกับพอคา แมคาซึ่งมีราคาแพง และยังซื้อไดในราคาทุนตามที่บริษัทซื้อมาจากรานคาสง รวมทั้งจัดสวัสดิการ ขาวสารยังชีพแกลูกไรในทุกๆ เดือน 6. สนั บ สนุ น ที่ ดิ น ในการสร า งศู น ย ฝ ก อาชี พ โรงเรี ย นบ า นปางห ว ยตาด ตํ า บล อินทขิล อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม และใหการสนับสนุนครูและนักเรียน ในการสรางผลงาน ประดิษฐ เพื่อหารายไดในเวลาวาง และวันหยุด โดยมีพิธีเปดศูนยฝกอาชีพโรงเรียนบานปางหวยตาด อยางเปนทางการเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ 2553 7. การดําเนินโครงการแกไขปญหามอดเจาะผลกาแฟ รวมกับศูนยฝกอบรมเกษตร ที่สูง มหาวิทยาลัยเชียงใหม และสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ใน การแกปญหามอดเจาะผลกาแฟใหแกลูกไร โดยไดจัดกิจกรรม “วันรณรงคกําจัดมอดเจาะผลกาแฟ (Big Cleaning Day)” เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2553 โดยบริษัทไดมีการแจกอุปกรณนวัตกรรมกําจัดมอด เจาะผลกาแฟ ใหลูกไรไดนําไปใช 1.4 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับชา ชา (Tea) เป น เครื่ อ งดื่ ม ที่ มีค นนิ ย มดื่ ม มากเป น อั น ดั บ สองรองจากน้ํา มี ชื่อ ทาง วิทยาศาสตรวา คามิเลีย ไซเนนซิส (Camellia Sinensis) มีสายพันธุมากกวา 1,200 สายพันธุ มีชื่อ เรียกกันมากมาย ขึ้นอยูกับแหลงที่ปลูก เปนไมยืนตนที่มีอายุตั้งแต 80-100 ป ตนชาชอบอากาศ อบอุน มีความชื้นเหมาะสม และเจริญไดดีในพื้นที่สูงจากระดับน้ําทะเลตั้งแต 1,000 เมตร ขึ้นไป ใน อดีตการทําไรชาถูกปลอยใหขึ้นเองตามธรรมชาติ ตนชาจะมีความสูง 15-20 เมตร ทําใหเก็บใบชาทํา ไดยาก ปจจุบันไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีปลูกชาใหเปนแบบเกษตรอุตสาหกรรม ไดมีการตัดแตงตนชา ทุกป เพื่อควบคุมใหมีความสูงไมเกิน 1 เมตร ในการปลูกชาตั้งแตการปลูกโดยใชเมล็ดจนเก็บยอดชา


52 ไดจนใหผลผลิตคือใบชา จะใชเวลานานตั้งแต 5-7 ป สวนฤดูการเก็บใบชา แบงชวงเวลาการเก็บชา เปน 3 ชวงเวลา คือ 1) ในชวงหัวปตั้งแตเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม 2) ชวงกลางป ตั้งแตเดือน มิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม และ 3) ชวงปลายปตั้งแตเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน สวนในชวง เดือนธันวาคมชาของทุกป จะเปนชวงการบํารุงรักษา การตัดแตงใหเปนพุมที่ต่ําลงเพื่อพักตัว และรอ การแตกยอดในฤดูเก็บชาในชวงฤดูถัดไป การปลูกชาพันธุอัสสัม (Assam Tea Planting) กระบวนการขั้นตอนเริ่มจากการ เพาะชาจากเมล็ด โดยการคัดเลือกเมล็ดที่สมบูรณ เพาะเมล็ดลงบนแปลงเพาะที่ใหรมเงา และใหน้ํา อยางสม่ําเสมอ ในสวนดานการเตรียมพื้นที่ปลูก เตรียมพื้นที่เปนแบบขั้นบันได เพื่อปองกันการชะลาง หนาดิน ซึ่งเปนแหลงแรธาตุอาหาร การเตรียมพื้นที่ปลูกเริ่มจากการเปดหนาดิน กําจัดวัชพืช และ ตนไมขนาดเล็ก โดยคงไวเฉพาะตนไมใหญเพื่อใหรมเงา ตอจากนั้นเปนการปรับพื้นที่ใหเปนขั้นบันได ระยะ 0.5 เมตรจากผิวดิน เพื่อเปนแหลงของธาตุอาหาร สวนตนกลาชาจะตองเด็ดใบออก เพื่อลดการ คายน้ํากอน แลวนําไปจุมลงในโคลนเพื่อรักษาความชื้น และยายไปปลูกในพื้นที่ที่เตรียมไวในชวงตน ฤดูฝน หลังจากปลูกไปแลว 3-5 ป จึงสามารถเก็บเกี่ยวได โดยลูกไรที่เปนผูเก็บใบชาเปนผูที่มีความ ชํานาญในการเก็บชามาก แมในพื้นที่ลาดชันก็สามารถเก็บไดคนละ 35-40 กิโลกรัมตอวัน หรือ มากกวานั้นหากเก็บใบชาในพื้นที่ราบ 1.5 ชาและกระบวนการผลิต ประเภทของชา แบงออกเปน 2 ประเภท คือ ชาเขียว และชาจีน โดยมีกระบวนการ ในการผลิตชา ดังนี้ 1. ชาเขียว เปนชาที่ไมผานการหมักใบชาจึงคงสีเขียว ประเทศญี่ปุนไดชื่อวาเปน ประเทศแหงตนตํารับชาเขียว ชาทุกสายพันธุสามารถนํามาผลิตเปนชาเขียวได แตพื้นที่ปลูกที่เหมาะ ที่สุด คือ ประเทศญี่ปุน เนื่องจากมีสภาพของดินเปนดินภูเขาไฟ จึงใหรสชาติเฉพาะที่เปนเอกลักษณ กระบวนการผลิตชาเขียว มีกระบวนการ 8 ขั้นตอน คือ 1) เก็บยอดชาสด (Plucking) 2) ผึ่งชา (Fan Blowing) 3) อบไอน้ํา (Steaming and Cooling) 4) การนวด (Primary Rolling and Drying) 5) Twisting Drying and Final Rolling 6) การอบแหง (Final Drying) 7) การรอนแยกขนาด (Sifting, Refining) และ 8) การผสมและบรรจุ (Blending and Packaging) ตามลําดับ 2. ชาจีน แหลงกําเนิดในประเทศจีน ลักษณะตัวชายังคงสภาพเปนใบอยู จึงเรียก อีกอยางหนึ่งวาชาใบ (Leave Tea) แบงออกเปน 3 ลักษณะ ดังนี้ 1) ชาที่ไม ผานการหมัก (Non-Fermented Tea) หรือชาเขียวแบบจีน (Chinese Green Tea) มักใชชาสายพันธอัสสัมเปนวัตถุดิบ เชน หลงจิ่ง เปนตน


53 2) ชากึ่งหมัก (Semi-Fermented Tea) เชน อูหลง เปาจง เทกวนอิม สุยเซียน (มักใชชาสายพันธอูหลงเปนวัตถุดิบ) เปนตน 3) ชาหมักแก (Fermented Tea) เชน ผูเออ (มักใชชาสายพันธอัสสัมเปน วัตถุดิบ) เปนตน กระบวนการในการผลิตชาจีน มี 7 ขั้นตอน คือ 1) เก็บยอดชาสด (Plucking) 2) ผึ่งชา (Withering) 3) คั่วชา (Panning) 4) การนวด (Rolling) 5) การอบแหง (Drying) 6) การคัด แยกเกรด (Grading) และ 7) การบรรจุ (Packaging) ตามลําดับ เกรดของใบชา แบงเกรดใบชาออกเปน 4 เกรด คือ เกรดใบชาเต็มใบ เกรดใบชารวง และเกรดใบชาผง ดังนี้ 1. เกรดชาเต็มใบ ถือวาเปนใบชาเกรดดี แยกยอยออกเปน 4 เกรดยอย ไดแก 1) ใบตูม หรือใบออน (Flowery Pekoe) ถือวาเปนชาที่ดีที่สุด ใบชาจะมี ขนาดไมเกิน 5-15 มิลลิเมตร ตัวยอของเกรดใบชากลุมนี้ คือ FP, FOP, GFOP 2) ใบชาคูแรก ใบชาจะมีขนาดประมาณ 8-15 มิลลิเมตร ชาเกรดนี้มีชื่อวา Orange Pekoe (OP) 3) Pekoe (P) ใบชาจะหนาและบิดเปนเกลียวเล็กนอย 4) Pekoe souchong (PS) เปนใบชาคูสุดทายที่จะเด็ดมาทําชาได ใบจะมี ขนาดใหญ 2. เกรดใบชารวง เปนใบชาทีไมผานการคัดเกรดตามสี่ขั้นตอนแรก คือ Broken Orange Pekoe (BOP) Broken Pekoe (BP) Broken Pekoe souchong (BPS) และ Pekoe Dust (PD) 3. เกรดใบชาผง (Fine Leaf Teas) คือ ใบชาสวนที่เหลือจากการคัดเกรด แบง ออกเปน 2 เกรด คือ Fannings (F) คือชาผงที่มีขนาด 1-1.5 มิลลิเมตร และ Dust (D) คือชาผงที่มี ขนาดเล็กกวา 1 มิลลิเมตร สายการผลิตและจัดจําหนาย (Supply Chain) บริษัท ชาระมิงค จํากัด ไดมีสายการ ผลิตและจําหนวย ประกอบดวยสวนตางๆ ดังนี้ 1) สวนชาระมิงค อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม เปนสวนชา 3,000 ไร เปน พื้นที่ปลูกและเก็บใบชาโดยลูกไรกวา 100 คน 2) โรงงานอําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม เปนสวนการคัดแยกชา และผลิต ขั้นตนที่โรงงานตําบลอินทขิล อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ซึ่งตั้งอยูบนพื้นที่เดียวกับสวนชา


54 3) โรงงานอําเภอเมือง จังหวั ดเชีย งใหม เปน สวนที่นําชาที่ผานการคัดแยก และผลิตขั้นตนแลวมาจากโรงงานอําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหมมาผลิตตอ ตรวจสอบคุณภาพ และ บรรจุภัณฑที่โรงงานอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 4) บริษัทจัดจําหนาย โดยบริษัท ล็อกซเลย เทรดดิ้ง จํากัด (Loxley Trading Co., Ltd) เปนผูจัดจําหนาย 5) ลูกคาของบริษัทประกอบด วย Discount Store Hyper market Supermarket รานสะดวกซื้อ รานคาสง รานคาปลีก catering และลูกคาอุตสาหกรรม การตรวจสอบคุณภาพชา ซึ่งไดมีการตรวจสอบประเภทของชาตามพระราชบัญญัติ อาหาร พ.ศ. 2522 ซึ่งจัดเปนอาหารที่กําหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน ชาแบงออกเปน 3 ชนิด คือ 1) ชา หมายความวา ใบ ยอด และกาน ที่ยังออนอยูของตนชาในสกุล Camellia ที่ทําใหแหงแลว 2) ชาผงสําเร็จรูป (Instant tea) 3) ชาปรุงสําเร็จ หมายความวา ผลิตภัณฑที่ไดจากชาตาม ขอ 1) และ 2) มาปรุง แตงรสในลักษณะพรอมบริโภค ทั้งชนิดแหงและชนิดเหลว (อางอิงจาก ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 196) พ.ศ. 2543) ผลิตภัณฑชาของ บริษัท ชาระมิงค จํากัด จัดเปนชาตามชนิดที่ 1 (ยกเวนชาผงปรุง สําเร็จจัดเปนชาตามชนิดที่ 3) ชาชนิดที่ 1 มีคุณภาพและมาตรฐาน คือ ความชื้น รอยละของน้ําหนัก ไมเกิน รอยละ 8 เถาทั้งหมด รอยละของน้ําหนักชาแหงไมนอยกวารอยละ 4 และไมเกินรอยละ 8 เถา ที่ละลายน้ําได รอยละของเถาทั้งหมดตองไมนอยกวารอยละ 45 สารสกัดไดดวยน้ํารอน รอยละของ น้ําหนักชาแหงไมนอยกวารอยละ 32 สีสังเคราะหตองไมมี สวนคาเฟอีน รอยละของน้ําหนักไมนอย กวารอยละ 1.5 ในสวนผลิตภัณฑชาของบริษัท ชาระมิงค จํากัด ชาผงปรุงสําเร็จ ซึ่งจัดเปนชาตาม ชนิดที่ 3 ชาชนิดที่ 3 มีคุณภาพและมาตรฐาน คือ กรดเบนโซอิก มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ไมเกิน 200 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม กรดซาลิซิลิกมิลลิกรัมตอกิโลกรัม หามใช กรดซอรบิกมิลลิกรัมตอกิโลกรัมไมเกิน 200 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ความชื้นรอยละน้ําหนักไมเกินรอยละ 6 ตะกั่วมิลลิกรัมตอกิโลกรัม ไมเกิน 0.5 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม สารหนูมิลลิกรัมตอกิโลกรัม ไมเกิน 0.2 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ดีบุกมิลลิกรัม ตอกิโลกรัม ไมเกิน 250 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ทองแดงมิลลิกรัมตอกิโลกรัม ไมเกิน 5 มิลลิกรัมตอ กิโลกรัม ระบบการตรวจสอบคุณภาพในหองปฏิบัติการ (Lab) มีอยู 5 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. การตรวจคุณภาพขั้นตอนรับวัตถุดิบมีการตรวจสอบคุณภาพ 3 ขั้นตอนยอย คือ 1) การตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพ โดยการตรวจลักษณะภายนอก สีและกลิ่น 2) การตรวจสอบ


55 คุณภาพทางเคมีเปนการตรวจสอบความชื้น 3) การตรวจสอบคุณภาพทางประสาทสัมผัส โดยการ ตรวจสอบสี กลิ่นและรส 2. การตรวจคุณภาพขั้นตอนผลิตสินคาและระหวางผลิต มีการตรวจสอบ 3 ขั้น ตอนยอย คือ 1) การตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพ โดยการตรวจลักษณะภายนอก สี และกลิ่น 2) การตรวจสอบคุณภาพทางเคมี โดยการตรวจสอบความชื้น และ 3) การตรวจสอบคุ ณ ภาพทาง ประสาทสัมผัส โดยการตรวจสอบสี กลิ่นและรส 3. การตรวจสอบคุณภาพขั้นตอนการบรรจุเปนสินคาสําเร็จรูป มีการตรวจสอบ คุณภาพ 4 ขั้นตอนยอย คือ 1) การตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพ โดยการตรวจลักษณะภายนอก สี และกลิ่น 2) การตรวจสอบคุณภาพทางเคมี โดยการตรวจคุณภาพความชื้น 3) ก า ร ต ร ว จ ส อ บ คุณภาพทางประสาทสัมผัส โดยการตรวจคุณภาพสี กลิ่นและรส 4) การตรวจสอบคุณภาพทาง ชีวภาพ โดยการตรวจสอบคุณภาพ Total Plate Count, Yeasts and Molds 4. การตรวจสอบคุณภาพการทดสอบ Shelf Life มีการตรวจสอบคุณภาพ 4 ขั้นตอนยอย คือ 1) การตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพ โดยการตรวจลักษณะภายนอก สีและกลิ่น 2) การตรวจสอบคุณภาพทางเคมี โดยการตรวจคุณภาพความชื้น 3) การตรวจสอบคุณภาพทาง ประสาทสัมผัส โดยการตรวจคุณภาพสี กลิ่นและรส 4) การตรวจสอบคุณภาพทางชีวภาพ โดยการ ตรวจสอบคุณภาพ Total Plate Count, Yeasts and Molds 5. การตรวจสอบคุณภาพตรวจสอบสิน คาระหวางการจัดเก็บ มีการตรวจสอบ คุณภาพ 4 ขั้นตอนยอย คือ 1) การตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพ โดยการตรวจลักษณะภายนอก สี และกลิ่น 2) การตรวจสอบคุณภาพทางเคมี โดยการตรวจคุณภาพความชื้น 3) ก า ร ต ร ว จ ส อ บ คุณภาพทางประสาทสัมผัส โดยการตรวจคุณภาพสี กลิ่นและรส 4) การตรวจสอบคุณภาพทาง ชีวภาพ โดยการตรวจสอบคุณภาพ Total Plate Count, Yeasts and Molds การตรวจคุณภาพทางดานเชื้อจุลินทรีย เปนขอมูลที่บงบอกถึงคุณภาพของสินคาที่ ปลอดภัยตอผูบริโภค สินคาประเภทชาไมไดมีขอกฎหมายที่กําหนดในเรื่องของปริมาณ เชื้อจุลินทรีย แตทางบริษัทฯ มีความตระหนักถึงความปลอดภัย ของผูบริโภค จึงมีการตรวจคุณภาพทางดาน เชื้อจุลินทรีย โดยแบงการตรวจเปน 2 ประเภท คือ 1) การตรวจคุณภาพ Total Plate Count (TPC) และ 2) การตรวจคุณภาพ Yeast & Mold สินคา ผลิตภัณฑที่ตองตรวจคุณภาพ คือ 1) วัตถุดิบรับเขา 2) สินคาระหวางผลิต หลังการ จัดเก็บ 3) สินคาสําเร็จรูป 4) สินคาสําเร็จรูปที่ครบอายุ Shelf Life 5) Swab Test ตรวจสุขลักษณะ สวนบุคคล (มือ) ภาชนะ อุปกรณที่สัมผัสกับชาโดยตรง 6) Air Test พื้นที่ปฏิบัติงาน 7) Tea Taster Tea Taster เนื่องจากสภาพภูมิอากาศ แหลงดิน แหลงน้ํา ในแตละทองที่ หรือ แมแตฤดูกาล ลวนมีผลตอคุณภาพชา บริษัทจึงมีทีม tea tasters หรือผูชํานาญในการใชประสาท


56 สัมผัสทั้ง 5 ในการตัดสินคุณภาพชาแตละล็อตที่ทําการผลิต และเพื่อใหไดชาที่เปนมาตรฐานเดียวกัน ทุกครั้ง ทีม Tea Taster จึงเปนผูคิดสูตรตั้งตน โดยการนําชามาผสมกันใหไดตามมาตรฐานที่กําหนด ผลิตภัณฑชาระมิงค ประกอบดวย ชาจีน ชนิดใบ (Chinese Tea Leaves) ชาจีน อบดอกมะลิ (Jasmine Chinese Tea) ชาจีน ชนิดซอง (Chinese Tea Bags) ชาจีนอบดอกมะลิ ชนิดซอง (Jasmine Chinese Tea) ชาจีน ชนิดซอง (Chinese Tea Bags) ชาอูหลงชนิดซอง (Oolong Tea) ชาดํา/ชาฝรั่ง/ชาผง (Black Tea) ชาเขียวญี่ปุน (Japanese Green Tea) ชาเขียว ญี่ปุนกลิ่นมะลิชนิดซอง ชาสมุนไพร (Herbal Teas) 1.6 การเก็บรักษา การชงและประโยชนของชา วิธีเก็บรักษาใบชา การเก็บรักษาใบชาใหใชภาชนะดินเผา หรือภาชนะโลหะขนาด พอเหมาะมีฝาสองชั้นกันไมใหอากาศเขา ไมควรใหใบชาถูกอากาศโดยไมจําเปน เพราะอากาศมี ผลกระทบตอสารตานอนุมูลอิสระที่มีอยูในใบชา จึงควรหลีกเลี่ยงความชื้นเพราะความชื้นจะเปนตัว ทําลายคุณภาพของใบชา ในกรณีที่ซื้อใบชามาในปริมาณที่มาก ควรแบงใบชาใสในภาชนะเล็ก พอเหมาะกับการใชในแตละสัปดาห ควรหลีกเลี่ยงการนําใบชาออกตากแดด เพราะแสงแดดจะ ทําลายคุณภาพของใบชา ไมควรนําภาชนะที่มีกลิ่นมาบรรจุใบชา หรือเก็บใบชาไวใกลกับอาหารหรือ สิ่งของที่มีกลิ่น เพราะใบชามีคุณสมบัติที่ดีในการดูดกลิ่น ใบชาแตละชนิดอุณหภูมิที่เก็บรักษาตางกัน ชาเขียวจะตองเก็บในที่แหงและอุณหภูมิต่ํา อาจเก็บใสกระปองหรือปดมิดชิด หรือไวในตูเย็น สวนชา อูหลง หรือชาดําสามารถเก็บไวไดในอุณหภูมิปกติ แตไมควรใหถูกแสงแดด จะเก็บไวในตูเย็นหรือไม ก็ได การชงชา วิธีการชงชาควรใชน้ําสะอาดในการตม โดยใสน้ําเย็นใหมๆ ลงในกาตมน้ํา ที่ไมมีอะไรคางอยู เชน น้ําที่ผานการตมมาแลว เพราะจะมีออกซิเจนนอย สงผลใหชามีรสชาติชืด กระดาง ใหใชใบชาในปริมาณที่เหมาะสม หากชงในกา สูตรการใชใบชา คือ 1 ชอนชาตอคน ใหบวก อีก 1 ชอนชาสําหรับกาน้ําชา หรือถาใชชาชนิดซอง ก็กะปริมาณการชงดวยวิธีนี้เชนกัน การอุนกาน้ํา ชาโดยเทน้ําเดือดลวกถวยชาหรือกาน้ําชากอน เพื่อใหน้ําเดือดที่จะถูกรินลงไปยังคงอุณหภูมิเดิมเมื่อ สัมผัสผิวกาน้ําชา สําหรับการชงชาชนิดซองก็เชนเดียวกัน เทน้ําลวกทิ้งแลวจึงเทน้ําเดือดลงไป ระยะเวลาเหมาะสม เมื่อเทน้ําเดือดลงไป และปลอยชาแชไว ชาเขียวหรือชาอูหลงควรแชทิ้งไว 2-3 นาที แตสําหรับชาดํา ควรใชเวลา 3-5 นาที หากความเขมขนของน้ําชายังไมถูกใจ ใหเพิ่มปริมาณของ ชา ไมใชเพิ่มเวลา และไมควรปลอยน้ําชาทิ้งไวในกานานเกิน 10 นาที เพราะจะใหรสเหมือนถูกเคี่ยว ชาฝรั่ง หรือชาดํา สามารถเติมนม และน้ําตาลไดตามตองการ หรือสามารถชงเปนชามะนาว ดื่มแก กระหาย คลายรอนไดเปนอยางดี สําหรับชาเขียว นอกจากดื่มแบบรอนแลวก็สามารถดื่มแบบเย็นได อาจเติมน้ําผึ้ง หรือน้ําเชื่อม ตามชอบ แลวเติมน้ําแข็ง สวนวิธีชงชาประเภทตางๆ คือ ชาชนิดใบ ชงใน


57 กาน้ําชา ใชใบชา 3 กรัม หรือประมาณ 1 ชอนโตะตอน้ํารอน 1 กา (250 มล.) ชาชนิดซอง ใชชา 1 ซอง ตอน้ํารอน 1 แกว (150 มล.) ชาชนิดผง ไดแก ชาผงชนิดซอง ชาผงฝรั่ง Loose Tea และชาผง ปรุงสําเร็จ ใชชา 6 ชอนโตะ หรือ 35 กรัม ตอน้ํารอน 1 ลิตร การชงชาทั้ง 3 ชนิด สามารถชงซ้ําได ประมาณ 2 น้ํา แตเพื่อใหไดรสชาติเขมขน ควรชงเพียง 1 น้ํา และสําหรับชาชนิดผง ควรเติมผงชาอีก ครึ่งหนึ่ง เมื่อชงน้ําที่ 2 ประโยชนของชา คือ สารอาหาร และ วิตามิน ที่มีเปนประโยชนตอรางกาย เชน คารโบไฮเดรต กรดอะมิโน วิตามิน C, B-Complex และกรดแพนโทแทนิค และชายังเปนแหลงรวม ธาตุแมกนีเซียมในปริมาณมาก ซึ่งจําเปนตอการเจริญเติบโตของกระดูก และฟลาโวนอล ชาเปนแหลง รวมสารตานอนุมูลอิสระตามธรรมชาติ ที่จะชวยปองกันรางกายจากการเสื่อมโทรมลงเพราะอนุมูล อิสระ ซึ่งอนุมูลอิสระนี้เอง เปนที่มาของการกอใหเกิดโรคมะเร็ง ความจําเสื่อม และโรคหัวใจ สารตาน อนุมูลอิสระที่สําคัญ ไดแก ฟลาโวนอล ซึ่งยังชวยลดระดับคอเลสเตอรอล และ ชวยระงับอาการปวด หัวอีกดวย ซึ่งนักวิจัยไดคนพบวา ชามีสารแอนตี้ออกซิแดนท หรือที่รูจักกันดีวาเปนสารตานมะเร็งมี มากในชามากกวาผักผลไมทุกชนิด ดังนั้น การดื่มชาเพียง 2 ถวย รา งกายจะได รับสารแอนตี้ ออก ซิแดนท เท ากั บ การดื่ มน้ํา สมคั้ น 7 แกว หรือเทากับการดื่มน้ําแอปเปล ถึง 20 แกว (Antioxidant Research Center in London, published in Free Radical Research, Feb 1999) สวน คาเฟอีนในใบชามีผลในการกระตุนระบบประสาทสวนกลาง ทําใหรางกายรูสึกกระปรี้กระเปรา และมี ชีวิตชีวามากขึ้น ซึ่งฤทธิ์ของชาจะไมรุนแรงเทาในกาแฟ โดยที่ฟลูออไรดในชาจะชวยลดกลิ่นปากที่ เกิดจากการหมักหมมของเชื้อแบคทีเรียในชองปาก ดังนั้นการดื่มน้ําชาวันละ 1-2 ถวยประกอบกับ การใชยาสีฟนที่มีสวนผสมของฟลูออไรดเปนประจํา จะไดรับปริมาณฟลูออไรดที่เพียงพอตอความ ตองการของรางกายในแตละวัน เพื่อปองกันโรคฟนผุ และโรคเหงือกอักเสบได นอกจากนี้สารในน้ําชา ยังชวยในการยอยอาหาร ชวยระบาย และลดอาการทองผูก แตสําหรับการผูที่เริ่มทดลองดื่มชาครั้ง แรกอาจจะมีอาการทองผูกในชว งแรกไดเนื่ องจากระบบการปรับ สมดุลในรางกายอยูร ะหวางการ ปรับตัว แตจะเปนเพียงแคชวงระยะแรกเทานั้น รวมทั้ง ชายังมีสารที่ชวยในการชวยยอยไขมัน ในรางกายไดดวย และในสวนของการดับกลิ่น ชาจึงเปนเครื่องดื่มของชนชาติที่นิยมบริโภคเนื้อสัตว และเนยเปนหลัก 1.7 รางวัลและใบรับรองที่ไดรับ รางวั ล และเครื่ อ งหมายรั บ รองคุ ณ ภาพ พบว า บริ ษั ท ชาระมิ ง ค จํ า กั ด ได รั บ เครื่องหมายรับรองคุณภาพ (Quality Certificates) ผลิตภัณฑ จากผลการดําเนินงานโดยมีนโยบาย การบริหารมุงเนนการพัฒนาระบบบริหารคุณภาพอยางตอเนื่อง เพื่อสรางความพึงพอใจตอลูกคา จน ไดรับเครื่องหมายรับรองคุณภาพ (Quality Certificates) คือ


58 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7)

GMP (Thai FDA) : 2003 ISO9001 : 2000 (SGS) : 2005 HALAL (สํานักงานคณะกรรมการอิสลามแหงประเทศไทย) : 2004 TLS 8001: 2003 หรือ มาตรฐานแรงงานไทย (กระทรวงแรงงาน) : 2007 Organic Thai-land Agriculture Standard (กรมวิชาการเกษตร) : 2007 ISO9001: 2008 (URS) : 2009, A.C.T. Organic (IFOAM) : 2009 ISO9001: 2008 (SGS) : 2010

บริษัทชาระมิงค จํากัด ไดรับรางวัล คือ 1) รางวัลเกียรติคุณ การสงเสริมพัฒนาชาดีเดน จากพระเจาวรวงศเธอพระองคเจา โสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ งาน Thailand Asian Coffee & Tea 2010 Award 2) รางวัล Chiangmai Pride 2010 Award รางวัลผูบุกเบิกธุรกิจ และสราง คุณุปการ จากงาน 17th Anniversary of S.P. Publishing Group 2010 3) รางวัลองคกรธุรกิจคิดดี แทนคุณแผนดิน 2010 จัดโดย The Nation Group และกระทรวงวัฒนธรรม

2. การมีสวนรวมในการชวยเหลือสังคม ผลการศึ ก ษา การมี ส ว นร ว มขององค ก รภาคธุ ร กิ จ ในการช ว ยเหลื อ สั ง คม (Corporate Social Responsibility: CSR) ของบริษัท ชาระมิงค จํากัด จากการรวบรวมประมวลผล ขอมูลทุติยภูมิ การเก็บขอมูลดวยวิธีการสัมภาษณเชิงลึกผูบริหารบริษัท (Inept Interview) การ สนทนากลุม (Focus Group) จําแนกเปน 2 กลุม คือ การสนทนากลุมผูบริหาร เจาหนาที่ พนักงาน ของบริษัท จํานวน 15 คน และการการสนทนากลุมผูมีสวนไดสวนเสียของบริษัท ซึ่งประกอบดวย ผูนําทองที่ ทองถิ่น แกนนํา ประชาชนที่มีสวนรวมโครงการของบริษัท จํานวน 15 คน ดําเนินการโดย ทีมนักวิจัย สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษา พบวา บริษัท ชาระมิงค จํากัด ไดมีโครงการชวยเหลือสังคม ประกอบดวย โครงการสงเสริมลูกไรในการปลูกพืชชนิด อื่นๆ นอกเหนือจากการปลูกชาชวยใหลูกไรมีรายไดที่ตอเนื่องและเพียงพอ โครงการสงเสริมและ สนั บสนุน เงินทุนในการทํากิจ กรรมของ วัด โบสถ และ โรงเรีย น ในชุมชนและปลูกฝงคานิย มให นักเรียนรักบานเกิด โครงการพัฒนาชุมชนที่ไดรวมกับหนวยงานภายนอก โครงการใหสวัสดิการแกลูก ไรอยางเหมาะสม โครงการสนับสนุนพื้นที่ในการสรางศูนยฝกอาชีพ และโครงการแกไขปญหามอด เจาะผลกาแฟ โดยมีรายละเอียด ดังนี้


59 2.1 โครงการสงเสริมลูกไรในการปลูกพืชชนิดอื่นๆ นอกเหนือจากการปลูกชาชวยให ลูกไรมีรายไดที่ตอเนื่องและเพียงพอ เพื่อชวยลดปญหาชุมชนในดานการประกอบอาชีพที่ไมสุจริต การทําไรเลื่อนลอย และดานยาเสพติด 2.2 โครงการสงเสริมและสนับสนุนเงินทุนในการทํากิจกรรมของ วัด โบสถ และ โรงเรียน ในชุมชน และปลูกฝงคานิยมใหนักเรียนรักบานเกิด จนนักเรียนที่เรียนจบแลวสวนใหญไดสืบ ทอดอาชีพในทองถิ่นตอไป 2.3 โครงการร ว มกับ หนว ยงานภายนอกเพื่อพัฒ นาชุม ชน เชน โครงการพัฒ นา หองสมุดโรงเรียนรวมกับสมาคมมิตรภาพ ซาอิตามะ-ไทย โดยเปนโครงการความรว มมือระหวา ง ประเทศญี่ปุนและไทย 2.4 โครงการใหสวัสดิการแกลูกไรอยางเหมาะสม และจัดใหมีรานจําหนายสินคา อุปโภคบริโภคเพื่อใหลูกไรและพนักงานไมตองเสียคาใชจายในการเดินทางไปซื้อสินคา หรือซื้ อกับ พอคาแมคาซึ่งมีราคาแพง และยังซื้อไดในราคาทุนตามที่บริษัทฯ ซื้อมาจากรานคาสง 2.5 โครงการสนับ สนุนพื้น ที่ในการสรางศูนยฝกอาชีพโรงเรียนบานปางหวยตาด และใหการสนับสนุนครูและนักเรียนในการสรางผลงานประดิษฐ เพื่อหารายไดในเวลาวางและวันหยุด โดยมีพิธีเปดศูนยฝกอาชีพอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ 2553 โดยบริษัทไดสงเสริมการ ฝกอาชีพ โดยการสงเสริมการผลิตตุกตาชาวเขา และทางบริษัทรับผลิตภัณฑไปจัดจําหนายใหในราน ของบริษัท 2.6 บริ ษั ท ชาระมิ ง ค จํ า กั ด ได ดํ า เนิ น โครงการแก ไ ขป ญ หามอดเจาะผลกาแฟ รวมกับศูนยฝกอบรมที่สูง มหาวิทยาลัยเชียงใหม และสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงชาติ (สวทช.) ในการแกปญหามอดเจาะผลกาแฟใหแกลูกไร โดยไดจัด วันรณรงคกําจัดมอดเจาะ ผลกาแฟ (Big Cleaning Day) เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2553 ซึ่งมีการแจกอุปกรณ นวัตกรรมกําจัดมอด เจาะผลกาแฟ ใหลูกไรไดนําไปใช

3. ปญหา อุปสรรค ขอเสนอ และขอคิดเห็นเพิ่มเติม 3.1 ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ สํานักงานใหญ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ขอเสนอแนะ ปญหา อุปสรรค และขอคิดเห็นเพิ่มเติม ผลการนําเสนอขอมูลขอมูล โดยคุณกิตติ พิทักษทอง ตําแหนงเจาหนาที่การตลาด และคุณฐิติรัตน อปนะ เจาหนาที่ฝายบุคคล ผูประสานงานดานโครงการดานกิจกรรมในการชวยเหลือสังคมของบริษัทชาระมิงค จํากัด และการ สนทนากลุม (Focus Group) เจาหนาที่ของบริษัท โดยทีมนักวิจัย สํานักงานสงเสริมและสนับสนุน วิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม


60 โครงการและกิจกรรมดานการชวยเหลือสังคม (CSR) ของบริษัท ชาระมิงค จํากัด จะเปนลักษณะการจางงานชาวบาน และชาวเขาในพื้นที่ใหมีงานทํา โดยชวงเวลาในการเก็บชานั้นจะ เก็บในตอนเชา เพราะการเก็บชาตองเก็บตอนเชาใบชาจะสมบรูณ โครงการสงเสริมการฝกอาชีพดวย การสงเสริมการผลิตตุกตาชาวเขา แลวทางบริษัทจะรับมาจัดจําหนายใหในรานของบริษัท มีกิจกรรม การปลูกชาแบบอินทรีย หรือออรแกนนิค เปนนโยบายบริษัทสงเสริมการปลูกชาแบบออรแกนนิคโดย ไม ใ ช ส ารเคมี ใ นไร ซึ่ ง เป น การปลู ก แบบออร แ กนนิ ด ทั้ ง หมด และในไร จ ะมี ก ารปลู ก พื ช แซม ประกอบดวย กาแฟ อาโวคาโด ส มโอ ลิ้น จี่ ตน ยาง ผสมผสานกันไป ที่มีการปลูกพืช อื่น แซมนั้น เพราะวาจะชวยไลศัตรูพืชไปในตัว และใหรมเงากับตนชา และการสงเสริมคุณภาพชีวิตในชุมชนโดย ไดชวยใหคนในชุมชนมีชีวิตที่ดีรับเปนคนงานในไร และชวยลดปญหาชุมชนเรื่องการทําไรเลื่อนลอย ยาเสพติด รวมทั้งมีการสงเสริมเงินทุนดานอาชีพ สรางวัด โบสถ โรงเรียนบนดอย บริษัทรวมกับ หนวยงานของราชการในพื้นที่ โดยมีขอเสนอเพิ่มเติม โดยที่พื้นที่หมูบานหวยตาด และบริเวณใกลเคียงเปนพื้นที่ที่ เป น หมู บ า นกลุ ม ชาติ พั น ธ ที่ เ ป น บุ ค คลบนพื้ น ที่ สู ง ยั ง ขาดแคลนเสื้ อ ผ า เครื่ อ งนุ ง ห ม กั น หนาว โดยเฉพาะในชวงฤดูหนาว ในดานการกิจกรรมการบริจาคเสื้อผา ควรที่ตองมีหนวยงานอื่นๆ หรือ หนวยงานภาครัฐเขามาชวยใหการสนับสนุน 3.2 ปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะ สํานักงานอําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ขอเสนอแนะ ป ญ หา อุป สรรค และขอคิดเห็น เพิ่มเติม ผลการศึกษาจากการให ขอมูลโดยคุณสุทิน พันธุพฤกษา หัวหนาคนงาน คุณรัชนี จะฟู เจาหนาที่ฝายธุรการ และเจาหนาที่ ของบริษัทชาระมิงค จํากัด สํานักงานไรชาระมิงค ตําบลอินทขิล อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม จํานวน 5 คน โดยมีทีมนักวิจัยสํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหมเปน ผูดําเนินการและเก็บขอมูล ผลการศึกษาไดมีการใหขอคิดเห็น และขอเสนอแนะเพิ่มเติม ดังนี้ บริษัท ชาระมิงค จํากัด ผูบริหารบริษัทรุนที่ 1 คือ คุณประสิทธ พุมชูศรี ผูบริหาร รุนที่ 2 คือ คุณนิช วังวิวัฒน และปจจุบันเปนรุนที่ 3 ผูบริหาร คือ คุณจักรินทร วังวิวัฒน บริษัท ชา ระมิงค จํากัด เดิมเปนชื่อ บริษัท ชาตราภูเขา จํากัด และไดเปลี่ยนมาใชชื่อ บริษัท ชาระมิงค จํากัด ในชวงที่ไดมีชาวตางชาติเขามารวมดําเนินงาน คือ ชาลิปตัน โดยไดนําเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาใช โดยใชชื่อบริษัทในชวงนั้น คือ บริษัท ชาสยาม จํากัด โดยทีมงายของบริษัท ชาลิปตัน จํากัดไดการเขา มารวมดําเนินงานอยูเปนเวลา 10 ป และใชชื่อสวนวา “ไรชาสยาม” ตอมาภายหลังทางบริษัท ชา สยาม จํากัด ไดมีนโยบายในการดําเนินงานเปดเสรีมากขึ้น สามารถที่จะไปนําชาจากที่ไหนมาปลูกก็ได จึงไดไปนําพันธุชาจากประเทศสิงคโปร เปนชาพันธ ชีรอด มาปลูกในพื้นที่ และจัดจําหนายเปนชาลิป ตัน ตอมาภายหลังบริษัทจะมีการคืนพื้นที่ปลูกชาใหกับทางราชการ ทางบริษัทจึงติดตอกับโครงการ


61 หลวง มูลนิธิชัยพัฒนา แตบุคลากรของโครงการหลวง มูลนิธิชัยพัฒนาไมพรอม และไมมีความถนัด ทางดานชา แตถามอบคืนพื้นที่ใหทางราชการก็จะมีปญหาชาวบานเขามาใชพื้นที่ทํามาหากิน ดวยแต เดิม คุณหลวงประสิทธ พุมชีศรี ซึ่งเปนผูที่มาบุกเบิกพื้นที่กอน ทางบริษัทจึงไดขออนุญาตสัมปทาน พื้น ที่ จํา นวน 2,000 ไร เป น เวลา 50 ป ซึ่งป จจุ บั น ได ดําเนิน การมาแลวเปน เวลา 30 ป ซึ่งการ สัมปทานพื้นที่ปลูกชานั้นไดมีการขอสัมปทานอยู 2 ชวง กลาวคือบริษัท ชาระมิงค จํากัดจะหมด สัมปทาน ในชวงป พ.ศ. 2550 โดยที่บริษัท ชาสยาม จํากัด ไดเขามาชวงเวลาสัมปทานนั้นซึ่งเปน ชวงเวลาที่สั้นกวา ทางบริษัท ชาระมิงค จํากัดจึงขอตอสัมปทานตอออกไปจากการที่บริษัท ชาสยาม จํากัด ไดหยุดกิจการไป บริษัท ชาระมิงค จํากัด จึงมาตอสัญญาเปนระยะที่ 3 และกลับมาเปนชา ระมิงค โดยคุณจักรินทร วังวิวัฒน ซึ่งเปนผูบริหารรุนที่ 3 ของบริษัท ชาระมิงค จํากัด พื้นที่ที่เปนไรชานี้ แตเดิมชาวบานไดปลูกชามากอน เรียกวา “เมี่ยง” ทางบริษัท ไดรับชื้อชาของชาวบาน มาทําเปนใบเมี่ยง โดยที่การขนสงในสมัยกอนนั้นไดใช วัว เปนเครื่องมือใน การขนยาย พอไดใบเมี่ยงมาก็เริ่มมาคั่ว ไมวาชาจีนก็คั่ว ถาเปนชาฝรั่งก็ตาก และไดเริ่มตั้งโรงงาน ตั้งแตไดรับการสัมปทานเปนตนมา ในชวงนั้นบริษัทยังรับซื้อใบชาอยูเนื่องจากมีสวนชาในไรตอนนั้น ยังมีนอยอยู ในชวงนั้นการมีปญหากับชาวบาน ไมมีปญหาใดๆ กับการปลูกชา โดยเมื่อบริษัทไดรับ สั มปทานแล ว นั้ น ยั งได ให ช าวบ า นเขามาทํากิน อยูตอไป และได ใหมีการปลูกกาแฟในสวนชา ซึ่ ง ปริมาณกาแฟในสวนชานั้นมีไดมีปริมาณมากพอสมควร ซึ่งถือวาบริษัทชาระมิงค จํากัดไดชวยเหลือ ชาวในระดับหนึ่ง และไดรับชาวบานมาเปนพนักงานของบริษัทใหมีรายได ไดคาจาง คาแรง ทําใหชีวิต ความเปนอยูของชาวบานดีขึ้น และจํานวนประชากรของชาวบานในพื้นที่เพิ่มขึ้น บริษัทก็ไดจางคนใน หมูบาเปนคนงานเก็บชา และดูแลไรชาของบริษัท ปจจุบันในสวนของพื้นที่สัมปทาน 2,000 ไร บริษัท ไดดําเนินการดูแลเอง และยังมีพื้นที่ของบริษัทอีกสวนหนึ่งไดที่ใหชาวบานดูแล และนําผลผลิตชามา สงขายใหกับบริษัท โดยวิธีการปลูกชา เปนการปลูกแบบอินทรีย หรือแบบออรแกนนิค โดไชยไมมีการ ใชยาฆาหญา ไมใสสารเคมี ปุยเคมี ปจจุบันในพื้นที่ชาไดมีการปลูกกาแฟเสริม และมีผลผลิตกาแฟ จํานวนมาก ราคาขายเมล็ดกาแฟมีราคาดีกวาชา ปริมาณรายไดตอปของชาวบาน พบวา กาแฟให รายไดที่สูงกวาชามากพัฒนาการกอนที่จะมีกาแฟ คือ เมื่อกอนทําสวนชา และคุณหลวงประสิทธ มี แนวความคิดที่วาจะนํากาแฟมาปลูกดวย และนํามาปลูกในสวนชา แตปลูกเริ่มแรกยังไมติดตลาด ไม สามารถสูกาแฟจากตางประเทศไมได จากนั้น 10 ตอมาศูนยพัฒนาและสงเคราะหชาวเขา จังหวัด เชี ยงใหม กรมประชาสงเคราะห (ปจ จุบัน เปนหนวยงานศูน ยพัฒ นาสังคมหนวยที่ 13 จังหวัด เชียงใหม) ไดมีการสงเสริมการปลูกกาแฟ ไดไดสนับสนุนแจกตนกลากาแฟ จึงเปนผลใหเกิด กาแฟ ดอยชาง กาแฟชนิดตางๆ เริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้น ในสวนวิธีการปลูก พบวา วิธีการปลูกกาแฟนั้นตอง ปลูกในแปลงโดยการปลูกใสถุงดําสําหรับเพาะกลากาแฟ แตชาวบานกลับปลูกแบบลงพื้นดินตาม ธรรมชาติ และออกดอกออกผล และนํ า มาขายให กั บ บริ ษั ท ทางบริ ษั ท จึ ง ได รั บ ชื้ อ และถื อ เป น


62 ผลิตภัณฑหนึ่งของบริษัทโดยตั้งชื่อแบรนดขึ้นมาในชื่อ “กาแฟรามิโน” และกาแฟของชาวบานสวน หนึ่งไดมี บริษัท ไทยภูเขา จํากัด และอีกหลายบริษัทที่เปนผูรับซื้อกาแฟไปแปรรูปตอ ในสวนของ บริษัท ไทยภูเขา จํากัด ไดกอตั้งและดําเนินกิจการมากวา 20 กวาป ในสวนของบริษัท ชาระมิงค จํากัด ไดเริ่มซื้อและแปรูปในแบรนด “รามิโน” ไดมีการกอตั้งมาได 5 ป โดยรับชื้อเม็ดกาแฟจาก ชาวบานในพื้นที่และจากแหลงอื่นเพิ่มเติมในสวนรายไดถัวเฉลี่ยตอครอบครัวของชาวบาน พบวา ถา เปนคนงานรายวันมีรายได 200 บาทตอวัน และจะมีรายไดเสริมมาจากรายไดกาแฟเปนรายไดรายป โดยเฉลี่ยแลวรายไดครอบครัวจากการขายผลผลิตกาแฟจะมีรายไดมากกวาการทํางานเก็บชาในไร โดยที่ร าคาเมล็ดกาแฟแห ง 150 บาทตอกิโลกรัม ชาวบานจะมีรายไดตอครอบครัวปละ 40,00050,000 บาทตอป และมีผลผลิตเพิ่มขึ้นทุกปโดยที่คนงานที่เก็บชา กาแฟ ในปจจุบันทั้งหมดเปนคนใน พื้นที่ ในสมัยกอนนี้เปนคนงานที่มาจากคนเรรอน จากพื้นทีอําเภอเชียงดาวและอําเภอฝาง จังหวัด เชียงใหม ซึ่งเปนคนตางพื้นที่ที่เขามาทํางาน และไดมาตั้งถิ่นฐานอยูที่นี้และไดกลายเปนคนในพื้นที่ไป ในที่สุด สําหรับคาจางในพื้นที่นี้เมื่อเทียบกับคูแขงอื่นๆ พบวา ราคาคาแรงยังไมมีบริษัทไหนถึงละดับ คาจา ง 200 บาทตอวัน นอกจากนั้นบริษัทยังมี การทําประกัน สังคมใหกับคนงาน โดยปฏิบัติตาม กฎหมาย และยังมีสวัสดิการการกูยืมเงินใหกับคนงานโดยไมมีดอกเบี้ย คือ ถาเปนคนงานรายวันและ มีความจําเปนเรื่องเงินก็สามารถที่จะกูยืมเงินจากทางบริษัทได โดยการผอนชําระไมมีดอกเบี้ย ซึ่ง ไมไดเปนระบบกองทุน แตใหกูยืมแบบแบบญาติพี่นองที่ไวใจกัน รูปแบบการจายเงินใหกับพนักงาน และคนงาน ซึ่งมีจํานวนคนงานทั้งหมดประมาณ 100 คน บริษัทไดจายเงินเปนรายเดือนผานธนาคาร ซึ่งสามารถเบิกถอนผานตูเอทีเอ็ม (ATM) ในสวนการทําประกันสังคมนั้น บริษัทตองดูระยะเวลาใน การทํ า งานของคนงาย คื อ คนงานต อ งอยู ทํ า งานกั บ บริ ษั ท เป น เวลา 4 เดื อ นขึ้ น ไปถึ ง จะทํ า ประกันสังคมไดถือวาเปนลูกจางประจําของบริษัท และในสวนการสนับสนุนกิจกรรมประจําป เรื่อง ทุนการศึกษา ทางบริษัทใหการสนับสนุนโดยตลอด การดําเนินโครงการและกิจกรรมในการชวยเหลือสังคมของบริษัท ชาระมิงค จํากัด กลาวสรุปไดวา ไดมีการการอยูรวมกันกับชาวบานประชาชน ชุมชน ในพื้นที่อยางเปนหนึ่งเดียวกันที่ ชาวบานและบริษัทจะอยูคูกันไป โดยที่บริษัทไดใหพื้นที่บางสวนใหชาวบานไปปลูกชา และกาแฟนํา ผลผลิตสงขายใหกับบริษัท และยังเปดโอกาสใหใชพื้นที่ที่บริษัทไดสัมปทาน 2,000 ไร ใหชาวบานเขา มาปลู ก กาแฟเสริ ม ในสวนโดยที่ ม าดู แ ลกั น เอง จนชาวบ านใหฉ ายาบริ ษัท (ผู บ ริ ห ารบริ ษั ท) ว า “มีแตให” ปญหาและขอเสนอ จากการที่รัฐบาลไดเปดโอกาสที่ดี ไดมีโครงการดึงครูคืนถิ่น ซึ่ง เปนการเปดโอกาสใหครูในพื้นที่หางไกลไดกลับไปสอนในพื้นที่ใกลบาน ทําใหปจจุบันมีโรงเรียนใน พื้นที่มีปญหาการขาดแคนครูผูสอนซึ่งครูอัตราจางนั้นมีจํานวนนอย และเงินงบประมาณในการจางนั้น มีงบประมาณไมพอ ผูอํานวยการจึงหาวิธีการหาเงินงบประมาณโดยการจัดกิจกรรมทอดผาปาขึ้น


63 เพื่อที่จ ะนําเงินที่ไดมาจางครู อัตราจาง โดยที่องคการบริหารสวนตําบลก็ใหการสนับสนุน แตมี งบประมาณที่สนับสนุนนอย จึงขาดแคลนครูในพื้นที่ ซึ่งทางโรงเรียนมีจํานวนเด็กนักเรียนที่เรียนอยู ประจํากวา 100 คน 3.3 ขอเสนอแนะ และขอคิดเห็นของเจาหนาที่บริษัท สํานักงานอําเภอแมแตง จังหวัด เชียงใหม ขอเสนอแนะ ปญหา อุปสรรค และขอคิดเห็นเพิ่มเติม ผลการศึกษาจากการสนทนา กลุม (Focus Group) ผูบริหาร เจาหนาที่ บริษัทชาระมิงค จํากัด สํานักงานไรชาระมิงค ตําบลอิน ทขิล อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม จํานวน 15 คน โดยมีทีมนักวิจัยสํานักงานสงเสริมและสนับสนุน วิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหมเปนผูดําเนินการและเก็บขอมูล ผลการศึกษาไดมีการใหขอคิดเห็นและ ขอเสนอแนะเพิ่มเติม ดังนี้ การบริหารงานของบริษัทชาระมิงค จํากัด ปจจุบันเปนผูบริหารรุนที่สาม ซึ่งไดมีการ เขามาของบริษัทต างชาติ โดยไดใช ชื่อผลิตภัณฑชาลิปตัน โดยบริษัท ชาสยาม จํากัด ในชว งนั้น มี คนงานมากวา 100 คน เมื่อมีการเลิกไปของบริษัทชาสยาม จํากัด ที่เขามาดําเนินการนานกวา 10 ป ซึ่งไดมีการจางคนอังกฤษ และเจาหนาที่ที่จบจากมหาวิทยาลัยแมโจ จังหวัดเชียงใหม เขามาเปนผู ดําเนินงานบริษัทบริษัทชาระมิงค จํากัด ในชวงยุกแรกเปนการทําชาจีน ชาฝรั่ง โดยใชยี่หอชาตรา “ภูเขา” ในสมัยผูบริหารยุคแรก (คุณประสิทธิ พุมชูศรี) ไดมีการนําชาขึ้นถวายในหลวง และทรง ประทานชื่ อว า “ชาระมิ งค ” บริษั ท ชาระมิงค จํากั ด จึงเกิ ดขึ้น ในชว งผูบ ริ ห ารยุคที่ ส าม (คุ ณ จักรินทร วังวิวัฒน) เปนชวงที่มีการเริ่มจางชาวตางชาติมาทํางาน และไดมีการควบรวมกิจการ (เทค โอเวอร) โดยบริษัทรอยโกฟูด จํากัด ซึ่งเปนบริษัทในเครือบริษัทริเวอร ที่ทํากิจการดานอาหารและ เครื่องดื่ม มาเทคโอเวอร บริษัทชาระมิงค จํากัด ประมาณ 10 กวาป และไดเปลี่ยนชื่อเปน บริษัทชา สยาม จํากัด โดยในชวงที่ บริษัทชาสยาม จํากัด มาทําการอยูนั้น ไดมีการจางผูเชี่ยวชาญในการทําชา จากประเทศอังกฤษเพื่ อปรั บปรุงชาระมิงคใหไดร สชาติมาตรฐานเดีย วกับ “ชาลิปตัน” และมี นักวิชาการที่จบจากมหาวิทยาลัยแมโจ ไดเขามาศึกษาเรียนรูงานจากผูเชี่ยวชาญจากประเทศอังกฤษ และสุดทายผูเชี่ยวชาญในการทําชาจากประเทศอังกฤษก็ออกไป จึงเปนการบริหารงานโดยคนไทย ทั้งหมด โดยทางบริษัทชาลิปตัน จํากัด เปนผูลงทุนในเรื่องเงินทุนใหกับคนไทยทําใหกิจการมีความ เจริญกาวหนามากขึ้นตามมา ตอมาไดมีปญหาบริษัทรอยโกฟูดจะคืนสัมปทานพื้นที่ใหกับทางราชการ ผูบริหารบริษัทชาระมิงค จํากัด จึงไดไปชื้อกิจการคืนมาและทํากิจการใบชาตอ ซึ่งเปนการเปลี่ยนมือ การสัมปทาน ในสวนของการจัดสวัสดิการของคนงานนั้น บริษัทชาระมิงค จํากัด ไดจัดใหมีการทํา ประกันสังคมใหกับคนงาน มีการสนับสนุนกิจกรรมที่ลงในหมูบาน เชน การสรางอาคารสิ่งปลูกสราง การบริจาคตางๆ การสรางและซอมแซมปรับปรุงถนน การจัดสวัสดิการเรื่องอาหารกลางวันใหกับ


64 คนงาน และกรณีที่มีผูปวยตองการยานพาหนะบริษัทก็บริการรถนําสงโรงพยาบาลในเมือง จังหวัด เชียงใหม เปนตน การสนับสนุนใหนักศึกษามาฝกประสบการณเรียนรูการทําชา มีการเปดโอกาสให บุค คลภายนอกเข า มาศึ ก ษาดู ง านได อ ย า งต อ เนื่ อง และยั ง มี ก ารบริก ารให เข า มาศึ ก ษาดู ง านใน ระยะเวลาสั้ น ๆ รวมทั้ งใช พื้น ที่ในการถายทําทําสารคดี และการถายทําหนั ง ละคร มีการให การ สงเสริมและสนับสนุนเด็กที่ไปเรียนตอที่อื่นโดยมีการสนับสนุนเงินทุนการศึกษาให มีสวัสดิการการให กูยืมเงินไปเปนคาการศึกษาของลูกหลานของคนงาน และบริษัทชาระมิงค จํากัด สํานักงานไรช า ระมิงค ตําบลอินทขิล อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ไดมีการจัดสวัสดิการใหกับพนักงานในบริษัท โดยบริษัทไดมีการดูแลอาหารการกิน มีโรงครัว การนําขาวสารมาขายใหในราคาถูก การมีสวนรวมของชาวบาน ประชาชนในพื้นที่ไดมีสวนรวมกับบริษัท โดยชาวบาน ประชาชนในพื้นที่ไดมีสวนในการชวยดูแลพื้นที่ การดูแลเฝาระวังในเรื่องไฟปา โดยดูวาไฟจะมาทาง ไหน มีการจัดเวรยามเปลี่ยนกันดูแลระวังไฟปา โดยกิจกรรมในสวนที่ชาวบานเขามาดูแลก็จะเปนการ เขามาตัดหญา การทําแนวกันไฟ ชาวบานไดมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากแตกอนชาวบานที่เคยใช สารเคมีกับสวน ในปจจุบันไดเลิกการใชสารเคมีกลับมาใชการแบบออรแกนนิคแทน โดยเมื่อกอนมี การใชปุยเคมีกันมาก ปจจุบันใชปุยอินทรียเปนหลัก และไดมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากเดิมที่ ชาวบานในพื้นที่มีการทําไรเลื่อนลอยในการปลูกขาว เมื่อมีการสัมปทานแลวบริษัทไดสงเสริมการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติเพื่อใหเปนแหลงตนน้ํา จึงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการตัดไมลําลาย ปา การแผวทางถางปาเพื่อทําพื้นที่ปลูกขาวเปนมาทํางานกับบริษัท และรักษาพื้นที่ปาไวไดอยาง สมบูรณ รวมทั้งบริษัท ชาระมิงค จํากัด ไดสงเสริมใหปลูกกาแฟ และรับชื้อผลผลิตกาแฟจากชาวบาน โดยจะรับชื้อในราคาทองตลาดโดยไมเอาเปรียบชาวบาน โดยมีการสงเสริมและสนับสนุนทั้งในสวนที่ ใหชาวบานใชพื้นที่ของบริษัทในการปลูกกาแฟ การปลูกเสริมกาแฟในไรชา และที่ชาวบานปลูกใน พื้นที่ของตนเอง บริษัทไดรับชื้อผลิตจากชาวบาน และไดมีการจัดทําโครงการ ในการดูแลตัวมอดเจาะ กาแฟ โดยบริษัทไดมีการผลิตน้ํายา เปนสารลอตัวมอด เปนน้ําสบูเหลว ซึ่งเปนโครงการที่ทํางาน รวมกัน ระหวางบริษัท ชาระมิงค จํากัดกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม มาเผยแพรใหกับชาวบาน ในดานการดําเนินงานของบริษัทชาระมิงค จํากัด สํานักงานตําบลอินทขิล อําเภอแม แตง จังหวัดเชียงใหมนั้น ในสวนของพนักงานไดมีการทําแผนงานปตอป และรับนโยบายจากทาง บริษัทสํานักงานใหญ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม มาอีกทีและทําเปนแผนปตอป โดยนโยบายและ แผนงานฝายบุคคลมีนโยบายจากบริษัท คือ ยังมีการดําเนินงานเปนปกติ การรับคนงานแลวแตชวง เชน ในชว งฤดู การเก็ บ ชา ต องการคนงานมากจึงตองรับ คนงานเพิ่มมากวาเดิม เพื่อใหเก็บ ชาได ทั้งหมดในรอบป และในชวงที่มีปญหาคนงานขาด คือ ชวงหนาฝน คนงานก็จะมีงาน หรือสวนของ ตนเองที่ตองดูแล ซึ่งจะมีผลในชวงที่คนงานขาด ทําใหเก็บชาไมทัน แตปญหานี้ก็ไมไดมีทุกป ขึ้นอยู กับผลผลิตชาปนั้นๆ ออกดอกผลมานอยแคไหนดวย


65 ถามองเรื่องของเทคนิคในการผลผลิตชามีผลตอสิ่งแวดลอมในทางที่ดี โดยมีความ แตกต า งจากที่ อื่น ในการเก็ บ ยอดชา ซึ่ง แล ว แตส ายพัน ธุ ห รื อเทคนิ ค ในแต ล ะพื้ น ที่ ในการเก็บ ไม เหมือนกัน โดยทางบริษัทไดใชคนเขาไปเก็บโดยไมใชเครื่องจักรในการเก็บ ถาใชคนแทนเครื่องจักร อยางนอยก็สามารถใหเงินเปนคาตอบแทนกับคนไดแทนที่จะจางเครื่องจักรเหมือนกับเราเพิ่มรายได ใหกับบุคคล และไมกอควันพิษจากการใชเครื่องจักร ในสวนของบรรจุภัณฑทางบริษัทไดใชผลิตภัณฑ ประเภทรีไซเคิลได และเปนประเภทที่สามารถยอยสลายได โดยที่กลองบรรจุซองชาก็สามารถยอย สลายได รวมทั้งซองใสชาก็สามารถยอยสลายได และในสวนของไรชาเปนลักษณะออรแกนนิคของ สวน คือ การใชปุยหมัก ไมใชยาฆาแมลงและไมใชปุยเคมีเลย กลาวไดวาโครงการ กิจกรรมการมีสวนชวยเหลือสังคมของบริษัท กลาวไดวาบริษัท ไดมีการชวยเหลือทุกอยางกับชาวบาน ชุมชน อยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง กลาวโดยรวมบริษัทชาระ มิงค ไดช วยเหลือสภาพความเปน อยูของชาวบานใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เปน หลัก โดยถือไดวาได ชวยเหลือสังคมใน เรื่อง การจางงาน การชวยเหลือครอบครัว ในเรื่องตางๆ ชวยเหลือองคกรในชุมชน โรงเรียน การสรางปรับปรุงถนน และอื่นๆ ตามที่กลาวมาแลว 3.4 ขอเสนอแนะ และขอคิดเห็นของผูมีสวนไดสวนเสียของบริษัท ชาระมิงค จํากัด ขอเสนอแนะ ปญหา อุปสรรค และขอคิดเห็นเพิ่มเติม ผลการศึกษาจากการสนทนา กลุม (Focus Group) ผูมีสวนไดสวนเสียของบริษัทชาระมิงค จํากัด สํานักงานไรชาระมิงค ตําบลอิน ทขิล อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ซึ่งประกอบดวย ผูนําทองที่ ทองถิ่น ชาวบาน และเกษตรกรใน พื้นที่ จํานวน 15 คน โดยมีทีมนักวิจัยสํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม เปนผูดําเนินการและเก็บขอมูล ผลการศึกษารูปแบบการชวยเหลือสังคม (CSR) ของบริษัท ชาระมิงค จํากัดไดมีการใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติม ดังนี้ ความเปนมาของบริษัท ชาระมิงค จํากัด ไรชาตําบลอินทขิล อําเภอแมแตง จังหวัด เชียงใหม บริษัท ชาระมิงค จํากัด เริ่มกอตั้งบริษัทและเริ่มเขาพื้นที่บุกเบิกปา ในป พ.ศ. 2503 โดย ตั้งแต เดิมชาวบ านในพื้น ที่มีสวนชาอยูกอนแล ว ซึ่งเรียกกัน วา “สวนเมี่ย ง” ซึ่งมีสวนชามากอนที่ บริษัทจะเขามาทําสัมปทาน โดยเลาถึงอดีตสมัยปูยา ไดเลาวา เดิมทีพื้นที่ที่นี้เปนสวนเมี่ยงมากอน โดยพื้นที่ดั้งเดิมมีลักษณะเปนปาทีม่ ีตนไมใหญ และมีตนชาขึ้นแทรกๆ พื้นที่ปาขึ้นมา ชาวบานก็ไดเขา มาเก็บเมี่ยง และทําบานพักชั่วคราวในพื้นที่ ตอมาบริษัทเริ่มมากอตั้งในป พ.ศ. 2503 ไดมีการเริ่ม บุกเบิกปา และในป พ.ศ. 2504 เริ่มมีการสัมปทานปา จากกรมปาไม จํานวน 2,000 ไร โดยบริษัทได เริ่มทําการเพาะกลาชา โดยไดเริ่มดึงเอาแรงงานชาวเขาตามแนวชายแดนไทยพมา ซึ่งมีอาชีพทําไร เลื่อนลอย เอามาเปนแรงงานในสวนชา และมีการทําเรือนเพาะชํา โดยใชน้ําจากลําหวยทําเปนน้ําใช ในการเพาะปลูก มีการสรางอาคารสํานักงาน และโรงปุย โดยบริษัทไดนําเมล็ดพันธุชามาจากดอยวาวี จังหวัดเชียงราย เมล็ดพันธุชาจากสวนเมี่ยงเดิม และเมล็ดพันธุชาจากชาวบานดั้งเดิมที่มีสวนชาหรือ


66 สวนเมี่ยงเกาๆ ในพื้ นที่ โดยตอมาชาวบานในพื้นที่ไดแบงขายพื้นที่สวนชาใหกับ บริษัท เนื่องจาก ชาวบานดูแลไมไหวจึงไดแบงขายใหกับบริษัทเปนผูดูแล โดยที่บริษัทไดมีนโยบายใหชาวบานที่ไมมี พื้นที่ทํากินเปนของตนเองสามารถขอใชพื้นที่สวนชาจากบริษัทได เนื่องดวยพื้นที่สวนชาของบริษัทนั้น มีพื้นที่จํานวนมากไมสามารถดูแลไดทั้งหมด จึงใหชาวบานเขามาดูแล หรือใชพื้นที่ในการปลูกชาให โดยเก็บชาที่ไดสงขายใหกับบริษัท ซึ่งเปนการสรางอาชีพและรายไดใหกับชาวบานในพื้นที่ โดยราคาที่ บริษัทรับซื้อจะแตกตางกับราคาของชาวบานที่มีสวนของตัวเอง ในยุคแรกเริ่มของบริษัทไดมีคนงานของบริษัท จํานวน 30 คน ซึ่งบริษัทไดทําการ ผลิตชาโดยใชตราผลิตภัณฑ “ชาตราภูเขา” ในชวงนั้นทางบริษัท ไดมีการจัดสวัสดิการใหกับคนงาน โดยทําอาหารกลางวันใหคนงานทั้งหมด และไดนําขาวสารมาขายใหกับคนงานโดยไมเอากําไร ตอมา ในยุคที่สองบริษัทไดมีคนงานทั้งคนงานประจํา และคนงานชั่วคราว จํานวน 70 คน และเริ่มใชตรา ผลิตภัณฑ “ชาระมิงค” ไดมีการจัดสวัสดิการใหกับคนงานในรูปแบบการใชกูยืมเงินโดยไมคิดดอกเบี้ย และในยุคที่สาม ซึ่งเปนยุคที่บริษัท รอยโกฟูด จํากัด เขามาเทคโอเวอร บริษัท ชาระมิงค จํากัด และ ไดเปลี่ยนตราผลิตภัณฑเปน “ชาสยาม” ไดมีการดําเนินกิจการบริษัทโดยไดมีการจางผูเชี่ยวชาญจาก ประเทศอังกฤษ มาเปนเปนผูเชี่ยวชาญที่ใหความรูในการดําเนินงาน และตอมาไดมีนักวิชาการจาก มหาวิทยาลัยแมโจ จังหวัดเชียงใหม เขามารับการถายถอดความรูเพื่อดําเนินการตอ และหลังจากนั้น บริษัท ชาระมิงค จํากัด ก็ไดเขาดําเนินการสัมปทานพื้นที่และกิจการของชาสยามตอ เปลี่ยนมาเปน ชาระมิงคจนถึงปจจุบัน ผลงานและผลิตภัณฑของบริษัท เปนผลิตภัณฑจากใบชา สวนการจางแรงงานไดจาง คนในพื้นที่ในการเปนคนงานไรเก็บใบชา ในสวนผลิตภัณฑจากกาแฟนั้น ปจจุบันบริษัทไดสงเสริมและ สนับสนุนการปลูกกาบชาวบานในพื้นที่ และไดรับซื้อผลผลิตที่จากชาวบาน ซึ่งกาแฟบานหวยตาด ตําบลอินทขิล อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ถือเปนกาแฟอันดับหนึ่งที่ไดรับรางวัลกาแฟที่ดีสุดของ ภาคเหนือ ในการสงเสริมการปลูกกาแฟ ไดสนับสนุนการใชปุยธรรมชาติ ไมใชปุยเคมี ยาฆาหญา ใน การปลูกกาแฟ หรือเรียกวา การปลูกแบบออรแกนนิค และบริษัทไดมีการสงเสริมไมผลอื่นๆ ดวย เชน อาโวกาโด มะคาเดเมีย เปนตน ในสวนกิจกรรมการรักษาสิ่งแวดลอม ทางบริษัทไดสนับสนุนการจัดกิจกรรมการ รักษาสิ่งแวดลอมในพื้นที่ มีการสนับสนุนกิจกรรมดานเด็กและเยาวชนในพื้นที่ คือ การสนับสนุนการ อบรมเยาวชนดานยาเสพติด การสนับสนุนเงินทุนในกิจการการอบรมตางๆ ของเด็กเยาวชนในพื้นที่ รูปแบบ กระบวนการและวิธีการในการชว ยเหลือสังคม ของบริษัท เปน รูป แบบ กิจกรรมในการใหการชวยเหลือ และการมีความสัมพันธของบริษัทกับชาวบาน คือ บริษัทไดใหการให การชวยเหลือชาวบาน ชุมชน และสังคมอยูในรูปแบบการบริจาคที่ดิน การสราง ปรับปรุง ซอมแซม ถนน การสรางและซอมแซมประปาหมูบาน การสนับสนุนเงินทุนชวยเหลือเปนทุนการศึกษาแกเด็ก


67 และเยาวชน การดูแลความเปนอยูคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยมีกิจกรรม การสงเสริมและสนับสนุนดานอาชีพและรายได การจางแรงงาน การใหเงินกูยืมเปนเงินลงทุนแบบไม มีการทําสัญญา การสงเสริมสนับสนุนกิจกรรมสาธารณะ การสรางหองสมุด สนับสนุนรถยนตในกรณี ชาวบ า นในพื้ น ที่ เ กิ ดเจ็ บ ป ว ยต องนําตัว สงโรงพยาบาลในเมือง นอกจากนั้ น ยังพบวา การให การ ชวยเหลือดานการเงินของบริษัทนั้น เมื่อชาวบานในหมูบานมีปญหาเดือดรอน บริษัท ชาระมิงค จํากัด (คุณจักริน วังวิวัฒน กรรมการผูจัดการบริษัท) ก็จะใหการชวยเหลือ หรือมีการจัดกิจกรรมใดๆ ทาง บริษัทก็จะสนับสนุนเสมอมา โดยเมื่อชาวบานเกิดมีปญหาเดือดรอนใดๆ ก็จะไดรับความชวยเหลือ เรื่อยมา จนชาวบานในพื้นที่ตั้งฉายยาใหวา “พี่มีแตให” เปนที่ยอมรับนับถือของชาวบานในพื้นที่ และ เปน ที่ย อมรับขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ในพื้นที่ (องคการบริหารสวนตําบลอินทขิล อําเภอ แมแตง จังหวัดเชียงใหม) รวมทั้งการดําเนินงานของบริษัทไดมีการรับฟงความคิดเห็นของผูนําทองที่ ทองถิ่น แกนนํา และชาวบานในพื้นที่ ประกอบกับผูบริหารของบริษัทเปนบุคคลที่มีสัมมาคาระ มี ความสุ ภาพที่เ ป นกั น เองกับ ชาวบาน และบริ ษัทยั งไดมีน โยบายในการรั กษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม โดยไมทําลายปา ไมตัดโคนตนไมใหญ ไมใชสารเคมีกับตนชา กาแฟ ไมพนยาฆาหญา ให การสนับสนุนการใชปุยอินทรีเปนหลัก ในสวนกิจกรรมการชวยเหลือสังคม ดานการจัดสวัสดิการใหกับเจาหนาที่ พนักงาน และคนงานของบริษัท ไดมีการใหทุนกูยืมเพื่อการศึกษาของพนักงาน การใหทุนการศึกษาตอ โดยใน ปจจุบันไดใหทุนการศึกษาระดับปริญญาตรี เรียนตอปริญญาโทแลว จํานวน 2 คน การเขาระบบ ประกันสังคมใหกับพนักงาน คนงาน ประจําของบริษัท การใหกูยืมเงินสรางบานพักอาศัย ครัวเรือน ละไมเกิน 20,000 บาท กิ จ กรรมในด า นการช ว ยเหลื อ สัง คม ชุ มชน บริษั ท ได บ ริ จ าคเงิน ให กั บ กิ จ กรรม สาธารณะกุศล เชน การรวมงานบุญตามวัฒนธรรมประเพณีของหมูบาน การสนับสนุนการสรางวัด อุดมธรรม หมูที่ 12 บานปางหก และการรวมกิจกรรมสรางโบสถคริสต หมู 16 หมูบานปางกึ๊ดและ บานหวยตาด เปนตน การมีรถบริการรับสงผูปวยในกรณีเกิดการเจ็บปวย นําสงโรงพยาบาลสวนดอก อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม การซอมบํารุงเสนทาง ทําถนนบดอัดลูกรัง การใหบริการกับนักศึกษา ฝกงาน ของมหาวิทยาลัยแมโจ มหาวิทยาลัยราชภัฎ และนักศึกษานานาชาติ จากประเทศพมา และ การใหบริการบุคคลทั่วไป เขาเยี่ยมชม ศึกษาดูงาน รวมทั้งเปนแหลงทองเที่ยว ใหสถานที่ในการถาย ทําสารคดี ละครโทรทัศน และอื่นๆ รูปแบบและกระบวนการในการชวยเหลือสังคม เปนรูปแบบการสอนใหชาวบานทํา โครงการ สนับสนุนเมล็ดพันธุโดยการซื้อเมล็ดพันธุกาแฟใหชาวบาน มีเจาหนาที่ดานการเกษตรจัดให มีการฝกอบรมใหกับเกษตรกรหรือชาวบาน โดยบริษัทใหเมล็ดพันธไปปลูกและมีเจาหนาเกษตรมา อบรมใหคําแนะนํา การปลูก การดูแลรักษา ครบวงจรการปลูก รวมทั้งบริษัทสงเสริมและสนับสนุน


68 การปลูกกาแฟแบบออรแกนนิค เปนการสงเสริมการใชปุยอินทรีย ไมมีการใชปุยเคมี ไมใชยาฆาหญา ในพื้นที่การเกษตร การรับซื้อผลผลิต และการตลาด ขอเสนอแนะและความเห็นเพิ่มเติมของผูใหขอมูล จากการสนทนากลุม (Focus Group) ไดมีขอเสนอแนะตอบริษัท และขอเสนอแนะตอหนวยงานราชการ ดังนี้ ขอเสนอแนะตอบริษัท ชาระมิงค จํากัด คือ 1) อยากใหจัดตั้งโรงงานกาแฟในหมูบาน เพื่อสรางอํานาจตอรองกับพอคาคน กลาง 2) นโยบายคาแรงงาน 300 บาท/วัน มีความเห็นรวมกันวา แรงงงานสวนมาก เปนคนในพื้นที่มากกวาหมูบานอื่น อัตราคาแรงที่ไดปจจุบัน 200 บาท/วัน ในอนาคตอยากที่จะได 250 บาท/วัน โดยชาวบานเขาใจบริษัท อยากใหบริษัทอยูได ไมเปนภาระ ดวยเปนหวงวา คาแรง 300 บาท/วัน อาจทําใหบริษัทอยูไมได 3) อยากใหมีการพอบรมเด็กเยาวชนอยางตอเนื่อง 4) อยากใหมีการสนับสนุนทุนการศึกษาดานอาชีพ และมีงานทําในพื้นที่ ขอเสนอตอหนวยงานราชการ คือ เห็ น ควรให ห น ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เชน ศูนยพัฒนาสังคมจังหวัด สํานักงานสงเสริมและสนับสนุน วิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด ในพื้นที่ สงเสริมและสนับสนุน การสรางรู ความเขาใจการขับเคลื่อนกองทุนสวัสดิการชุมชน และกองทุนตางๆ ที่เกี่ยวของ และควรสงเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน (สวัสดิการสามขา) สงเสริมใหมีการเก็บออมเงิน สงเสริมใหมีการจดทะเบียนเปนองคกรสวัสดิการชุมชน หรือเปนองคกรสาธารณะประโยชน เพื่อเปน การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน และทําใหชุมชน สังคมเขมแข็งสามารถพึ่งตนเองไดในที่สุด สรุปไดวา บริษัทชาระมิงค จํากัด เปนองคกรภาคธุรกิจ ที่จัดเปนองคที่มีสวนรวม ชวยเหลือสังคมอยูในประเภทธุรกิจเพื่อสังคม (CSR in Process) ที่มีการดําเนินการความรับผิดชอบ ต อสั ง คมอยู ในกระบวนการทํ า งานหลักของกิ จ การ โดยมีกิจ การดานความรับ ผิ ดชอบทางสังคม ครอบคลุมทั้ง 4 ดาน คือ ดานเศรษฐกิจ ดานกฎหมาย ดานจริยธรรม และดานการใชดุลยพินิจ การ ดําเนินงาน ดาน (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ, 2554: 57-58) โดยที่ความรับผิดชอบทางสังคมของ บริษัทเปนไปตามมาตรฐาน ISO 2600 (โสภณ พรโชคชัย, 2522: 29-30) เปนไปตามมาตรฐานดาน การกํากับดูแลที่ดี คํานึงถึงสิทธิมนุษยชน มีขอปฏิบัติดานแรงงาน การดูแลสิ่งแวดลอม การดําเนิน ธุร กิ จ อย า งเปน ธรรม ใส ใจต อผู บริ โ ภค และมีการแบงปน สูสังคมและชุมชน โดยมีขอบเขตความ รับผิดชอบดานความรับผิดชอบทางสังคมที่บริษัทไดดําเนินงานครอบคลุม ทั้ง 7 ดาน (ศิริวรรณ เสรี รัตน และคณะ, 2554: 95) คือ ดานชุมชน ดานสุขภาพและสวัสดิการ ดานการศึกษา ดานสิทธิ มนุษยชน ดานสภาพสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ ดานสิทธิผูบริโภค และดานวัฒนธรรม และเปนการ


69 ดําเนินกิจกรรมขององคกรโดยใชทรัพยากรที่มีอยูภายในองคกรเปนหลัก โดยมีรูปแบบหรือโมเดลใน การชวยเหลือสังคมของบริษัทเปนรูปแบบการชวยเหลือสังคมมีทั้งที่เปนรูปแบบการใหเปลา การ สงเคราะห การใหทุนการศึกษา การสงเสริมและสนับสนุนใหความรู รวมทั้งการจัดสวัสดิการคนงาน พนักงาน เจาหนาที่ของบริษัททั้งในรูปแบบการประกันสังคมและการจัดสวัสดิการใหกับพนักงาน เจาหนาที่ของบริษัทเอง ซึ่งเปนผลจากการดําเนินนโยบาย Green Marketing and CSR ดังคําขวัญ ของบริษัท “หนึ่งความดี ที่ทดแทนคุณแผนดินเกิด ความดีนั้นไมเคยสูญเปลา ดุจเดียวกับหยดน้ํา ไม วาอยูที่ใด ยอมมีความหมาย ใหคุณคา และหลอเลี้ยงสิ่งที่อยูรายรอบ” และมีนโยบายมุงเนนการ บริหารจัดการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ถือเปนปจจัยสําคัญนําไปสูความสําเร็จขององคกร

สวนที่ 2 ผลการศึกษา บริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด 1. ขอมูลพื้นฐานบริษัท 1.1 ความเปนมา บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด The Peace Canning (1958) Co.,Ltd. สํานักงานใหญ ตั้งอยูเลขที่ 37 หมู 1 ถนนสุขสวัสดิ์ อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาเชียงใหม คุณสุรชัย ไชยนิตย ผูจัดการโรงงาน ตั้งอยูเลขที่ 88 หมู 5 ถนนสันทราย-พราว ตําบลแมแฝกใหม อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาเวียงเปา เลขที่ 192 หมู 4 ตําบลสันสลี อําเภอเวียงปาเปา จังหวัด เชียงราย บริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด ตํานาน “นกพิราบ” ตรา “นกพิราบ” มีจุด กําเนิดเมื่อป 1950 จากการกอตั้งของคุณแกว รัชตสวรรคและเพื่อน จากโรงงานเล็กๆ ในอําเภอปอม ปราบ กรุงเทพฯ ที่ดําเนินธุรกิจแบบกงสีของจีน ภายใตกลุมหุนสวนชื่อ “ฮั่วเพง” สินคาหลักที่สําคัญ คือ ผักกาดดองบรรจุกระปอง และดวยคุณลักษณะของสินคาที่แตกตางจากทองตลาดทั่วไป และ รสชาดถูกปากผูบริโภคไทย ทําใหไดรับการตอบรับดี จนฐานการผลิตเดิมไมเพียงพอตอความตองการ ในป 1958 จึงเพิ่มฐานการผลิตอีกหนึ่งแหงที่อําเภอสําเหร และไดเปลี่ยนชื่อบริษัท เปน “บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด” ในป 1958 อีกสามปตอมาไดยายการผลิตพรอมขยายโรงงานไปที่ อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ บนเนื้อที่กวา 9 ไร และพัฒนาผลิตภัณฑใหมๆ สูตลาด เพิ่มขึ้น อาทิ ผลไมกระปอง อาหารทะเลกระปอง ฯลฯ พรอมๆ กันนั้นไดสงเสริมดานการตลาด เพื่อ สรางการยอมรับเรื่องคุณภาพของสินคาภายใตตรา “นกพิราบ” ทําใหสินคาเปนที่รูจัก และจดจําของ ผูบริโภคมากขึ้น จนกลุมสินคาผักกาดองกระปองมีสวนแบงตลาดเปนอันดับหนึ่ง ในป 1996 ดวย นโยบายเพื่อใหไดวัตถุดิบตนทางที่มีคุณภาพ การสรางงานในชุมชน การเพิ่มศักยภาพในการแขงขัน อีกทั้งเพื่อตอบสนองความตองการของตลาด อันจะสงผลตอการขยายตลาดให กวางขวางมากขึ้น จึง สรางโรงงานในทองถิ่นเพิ่มขึ้นอีก 2 แหง คือ โรงงานชุมพรในภาคใตสําหรับ การผลิตอาหารทะเลในป 2528 และโรงงานเชียงใหมในภาคเหนือสําหรับการผลิตพืชผัก ผลไมกระปอง ในป 2531 โดยมีสาขา


70 ยอยอีกสองแหงที่อําเภอจุนจังหวัด พะเยา และอําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย บริษัทมีปณิธาน แนวแน ในอันที่จะรักษาคุณภาพ และพัฒนาองคกรใหดียิ่งขึ้น จึงไดประยุกตใชระบบคุณภาพ ISO 9001:2008 ในระบบบริหารจัดการ ทั้งนี้เพื่อสรางความมั่นใจใหแกลูกคา บริษัทมีความภาคภูมิใจเปน อยางยิ่งที่ไดมีโอกาสสรางความเชื่อมั่นใหกับ ผูบริโภค จนไดรับความไววางใจจากผูบริโภคตลอดมา ทําใหบริษัทสามารถอยูในเวทีการแขงขันในอุตสาหกรรมอาหาร ทั้งในประเทศและตางประเทศ โครงสรางองคกร คือ 1) คณะกรรมการบริหาร ซึ่งประกอบดวย คุณแกว รัชดา สวรรค ผูกอตั้งบริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด คุณมาลัย รัชตสวรรค กรรมการบริหาร และ คุณวิสุทธิ์ รัชตสวรรค กรรมการบริหาร แบงโครงสรางองคกรเปน 3 สํานัก คือ 1) สํานักขายและ การตลาด 2) สํานักโรงงานและเทคนิค และ 3) สํานักบริหารและจัดการ โดยสํานักขายและการตลาด แบงเปน 3 ฝาย คือ 1) ฝายการตลาด 2) ฝายขายในประเทศ และ 3) ฝายขายตางประเทศ สํานัก โรงงานและเทคนิค แบงเปน 3 ฝาย คือ 1) ฝายจัดซื้อ 2) ฝายโรงงานเชียงใหม ประกอบดวย โรงงาน เชียงใหม โรงงานเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย และโรงานจุน จังหวัดพะเยา 3) ฝายโรงงานชุมพร และ สํานักบริหารและจัดการ แบงเปน 4 ฝาย คือ 1) ฝายพัฒนาธุรกิจ 2) ฝายคลังและจัดสง 3) ฝายบัญชี และการเงิน 4) ฝายสารสนเทศ โดยมีคุณกุหลาบ ทรัพยมณี เปนที่ปรึกษา คุณสุรชัย ไชยนิตย ผูจัดการโรงงาน และคุณประจญ ศรีไสว ผูจัดการฝายผลิต 1.2 ผลิตภัณฑของบริษัท ผลิตภัณฑ บริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด ประกอบดวย ผลิตภัณฑผักกาด กระปอง พืชผักกระปอง ผลไมกระปอง ปลากระปอง โดยมีกําลังการผลิตในแตละวัน คือ ลิ้นจี่ ลําไย (เปลือก) กําลังการผลิต 90 ตันตอวัน ขาวโพดหวานกระปอง กําลังการผลิต 40 ตันตอวัน ผักกาดดอง กระปอง กําลังการผลิต 52 ตันตอวัน หรือ 5,500 กลองตอวัน ผักและผลไมอื่นๆ กระปอง กําลังการ ผลิต 10 ตันตอวัน น้ําผลไมกระปอง กําลังการผลิต 15 ตันตอวัน น้ําอื่นๆ กระปอง กําลังการผลิต 15 ตันตอวัน ผักเปรี้ยว กําลังการผลิต 3 ตันตอวัน ผลิตซอสปรุงรส กําลังการผลิต 15 ตันตอวัน และ โรงงานบอดองเชียงใหม มีกําลังการผลิตดองผักการเขียวปลี 2,700 ตันตอวัน กําลังการผลิตดองแตง 500 ตันตอวัน กําลังการผลิตดองหัวผักกาด 300 ตันตอวัน บริษัทในเครือ บริษัท เอฟบี ฟูดเซอรวิส จํากัด เปนบริษัทในเครือเปนผูดูแลดาน การตลาดของสินคาที่จําหนายในประเทศทั้งหมด โดยสินคาหลักที่จัดจําหนายมี คือ (1) ผักกาดดอง เชน ผักกาดดองเค็ม (ฮั่วน่ําฉาย) ผักกาดดองสามรส ผักผสมดองเค็ม (ซีเซกฉาย) ผักกาดดองเผ็ด หวาน ยําเกี่ยมฉาย ผักกาดดองหวาน ผักกาดดองเปรี้ยว เปนตน ภายใตตรานกพิราบ และนกพิราบคู (2) แมคเคอเรลในซอสมะเขือเทศ ตรานกพิราบ และนกพิราบคู (3) ผลไมแปรรูป เชน เงาะ เงาะสอด ไสสับปะรด ลําไย ลิ้นจี่ ลูกตาล และฟรุตคอกเทล เปนตน ภายใตตรานกพิราบ พีเจี้ยน พีซีซี และมา บิน (4) น้ําผลไมแปรรูป เชน น้ําลิ้นจี่ น้ําเฉากวย น้ําเกกฮวย น้ํามะพราว น้ํามะมวง เปนตน ภายใต


71 ตราพีเจี้ยน (5) พืชผลทางการเกษตรตามฤดูกาล เชน ขาวโพด เห็ดแชมปญอง เห็ดฟาง ถั่วลันเตา เปนตน ภายใตตรา “นกพิราบ” และ (6) อาหารเจ ตราเจฟูดส 1.3 นโยบาย วิสัยทัศน พันธกิจองคกร วิสัยทัศน : Vision เปนบริษัทชั้นนําที่กาวไกลดวยนวัตกรรมในธุรกิจอาหารสําเร็จรูป The Leading and Moving Forward Company with Variety of Food Innovation คานิยมหลัก : Core Value ความเปนผูนํา ความสําคัญของลูกคา การทํางานเปน ทีม ประสิทธิผล ความคิดสรางสรรค และความทาทาย พันธกิจ : Mission 1. พัฒนาและสรางนวัตกรรมที่เพิ่มมูลคาใหแกลูกคา 2. สรางความพึงพอใจใหลูกคาภายในและภายนอก 3. พั ฒ นาบุ ค ลากรให มีป ระสิท ธิ ภ าพด ว ยการเสริ มสรา งการเรีย นรู และมี คุณภาพการดําเนินชีวิตที่ดี 4. การบริหารจัดการองคกรมุงสูความเปนเลิศ 5. รวมสรางผลกําไรองคกร นโยบายการดําเนินงานบริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด มีนโนบาย 4 ดาน คือ นโยบายดานคุณภาพ นโยบายดานบุคลากร นโยบายดานสิ่งแวดลอม และนโยบายดานเกษตรกร คือ 1) นโยบายดา นคุณภาพ คือ “มุงมั่น ผลิตสิน คามีคุณภาพ พัฒ นาระบบบริห าร อยางตอเนื่อง เพื่อความเปนมาตรฐานสากล ลูกคาไดรับความพึงพอใจสูงสุด” 2) นโยบายด า นบุค ลากร คื อ “มุง มั่น ส งเสริมใหพ นักงานไดเรี ย นรู เพิ่มทั กษะ ความสามารถในการทํางานใหเปนมืออาชีพ เปนลูกจางผูทรงภูมิ โดยในการทํางานใหมีความปลอดภัย และนอกเวลางานใหมีความสุข มีคุณภาพ ในการดํารงชีวิตที่ดี” 3) นโยบายดานสิ่งแวดลอม คือ “มุงมั่น ใชพลังงานอยางประหยัดและคุมคาสราง จิตสํานึกอนุรักษสิ่งแวดลอม พัฒนาระบบจัดการมลพิษ เพื่อชุมชนและพนักงานทุกคน” 4) นโยบายดานเกษตรกร คือ “เกษตรกรสรางคุณภาพผัก โรงงานผลิตอาหาร ปลอดภัยเกษตรกรมั่งคั่ง โรงงานมั่นคง” แผนที่ยุทธศาสตร (Road Map) บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด ไดกําหนด แผนที่ยุทธศาสตร คือ ป 2543-2544 ปรับพื้นฐาน ป 2545-2547 ปรับสูมาตรฐานสากล ป 25482550 สรางและรักษามาตรฐาน ป 2551-2553 เพิ่มขีดความสามารถ ป 2554-2555 รางวัลแหงชัย ชนะ ดังรายละเอียดในแผนภาพ


72

การวิเคราะหสภาพแวดลอมองคกร (SWOT Analysis) บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด พบวา ผลการวิเคราะหองคกรสภาพแวดลอมองคกร มีดังนี้ สภาพแวดลอมภายนอกองคกร พบวา คูแขงมีศักยภาพมากขึ้น และมีการทําตลาด เชิงรุกอยางตอเนื่อง พฤติกรรมผูบริโภคสนใจสินคาที่ใหประโยชนตอสุขภาพมากยิ่งขึ้น ราคาวัตถุดิบ ปรับขึ้นตามกลไกของตลาด ทําใหสินคาปรับราคาสูงขึ้น การแขงขันสูง ทั้งหางสรรพสินคา ขายปลีก ขายสง หรือผูผลิต และทิศทางของเศรษฐกิจในประเทศ คาดวา GDP เติบโตไมเกินรอยละ 3 ความ เสี่ยงที่มีผลกระทบกับองคกร พบวา บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด ไดรับผลกระทบของ เศรษฐกิจตกต่ํา ตนทุนสินคาสูงขึ้น ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน การบริหารความเสี่ยง และ ผลกระทบจากปญหาการเมืองในประเทศ จุดแข็ง (Strengths) เปนขอดีที่เกิดจากสภาพแวดลอมภายในบริษัท ไดแก 1) เครือขายเกษตรกรและ Supplier เขมแข็ง 2) Know-How การดอง 3) ตราสินคาผักกาดดองเปนที่รูจัก ยอมรับ 4) ความจงรักภักดีของพนักงาน 5) ใกลแหลงวัตถุดิบ บริษัท ไดแก

จุดออน (Weaknesses) ปญหา หรือขอบกพรองที่เกิดจากสภาพแวดลอมภายใน

1) ขาดการทําตลาดทั้งใน และนอกประเทศ 2) ขาดการรับฟงความตองการของลูกคา Voice of Customer (VOC) มา กําหนดความตองการของลูกคา 3) เทคโนโลยีการผลิตต่ํา ใชแรงงานมาก 4) ความรูของพนักงานทางดานวิชาชีพเฉพาะทางมีนอย


73 5) ขาดการแกปญหาแบบ Cross functional อยางประสิทธิภาพ โอกาส (Opportunities) เป น ผลจากการที่ ส ภาพแวดล อ มภายนอกบริ ษั ท เอื้ อ ประโยชนหรือสงเสริมการดําเนินงานขององคกร คือ 1) อุตสาหกรรมอาหารโดยรวมเติบโตอยางตอเนื่อง 2) เกิดเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) 3) ผูบริโภคใหความสําคัญอาหารเพื่อสุขภาพและปลอดภัย 4) ประเทศไทยเปนแหลงผลิตอาหารที่สําคัญของโลก อุปสรรค (Threats) เปนขอจํากัดที่เกิดจากสภาพแวดลอมภายนอกบริษัท คือ 1) มาตรฐานผูบริโภคสูงขึ้น 2) แรงงานหายาก 3) วัตถุดิบทางเกษตรมีแนวโนมปริมาณลดลงและราคาสูงขึ้น 4) ตนทุนดานพลังงานสูง 5) สินคาทดแทนมีมากขึ้น 6) คูแขงพัฒนาไดรวดเร็ว การวิเคราะหองคกร ดวย STAR MODEL บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด เปนการวิเคราะหถึงศักยภาพขององคการ โดยวิเคราะหการจัดวางกลยุทธ โครงสราง กระบนการ เป า หมายและการประเมิ น และความสามารถของบุ ค ลากรของบริ ษั ท ผลวิ เ คราะห อ งค ก ร สภาพแวดลอมองคกร มีดังนี้

ผลการวิเคราะหผลกระทบขององคประกอบที่ไมสมบูรณ 1. องคประกอบดานกลยุทธ พบวา ความไมชัดเจนของกลยุทธ กลยุทธไมเปนที่ ยอมรับ และการขาดกลยุทธ ผลกระทบที่สงผลผลตอองคกร คือ ไมทราบทิศทางที่ชัดเจน ตีความกล ยุทธตางกันจึงเกิดสภาพตางคนตางทํา บนความเชื่อที่วา สิ่งที่กําลังทําเปนสิ่งที่ดีที่สุด ตางคนตางเดิน


74 บนเสนทางที่ไมมีวันบรรจบกันได การขาดกลยุทธ ทําใหมีแนวโนมทํางานประจําแบบเดิมๆ ที่ไมมุง ผลสัมฤทธิ์ แตมุงใหเสร็จเปนงานๆ ไปเปนวันๆ แทน ทํางานหนักแตไมเกิดผล 2. องคประกอบดานเปาหมายและการประเมิน พบวา การขาดเปาหมายและ เครื่องมือประเมินผล การกําหนดเปาหมายและการประเมินผลที่ไมสนับสนุนกลยุทธ ผลกระทบที่ สงผลตอองคกร คือ สงผลใหขาดแรงจูงใจในการทํางาน ขาดความมั่นใจในระบบการพิจารณาความดี ความชอบ คนดี (ของนาย) ไมไดทํา คนทํา (จริง) ไมไดดี 3. องคประกอบดานโครงสราง พบวา โครงสรางองคกรไมสนับสนุน เชื่อมโยงกล ยุทธ ทําใหผ ลกระทบที่สงผลตอองคกร คือ ความไมชัดเจนในบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบ หา ผูรับผิดชอบที่ชัดเจนไมได เกิดความไรประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร 4. องคประกอบดานกระบวนการ พบวา กระบวนการทํางานที่ไมชัดเจน ขาด ขอตกลงในการทํางานรวมกัน ทําใหเกิดผลกระทบที่สงผลกับองคกร คือ สงผลใหขาดความรวมมือ ระหวางหนวยงาน เกิดความลาชาในการตัดสินใจ เปนอุปสรรคในการปรับปรุงงาน เกิดปญหาการ ทํางานเดิมๆ เกิดขึ้นซ้ําๆ เนื่องจากไมมีการทบทวนหาแนวทางปฏิบัติที่ดี (Best Practice) 5. องค ป ระกอบด า นความสามารถบุ ค ลากร พบว า บุ ค ลากรขาดความรู ความสามารถและการมอบอํานาจการตัดสิน ใจ ทําใหเกิดผลกระทบที่สงผลกับองคกร คือ สงผล โดยตรงตอการปฏิบัติงานที่ไมสามารถทํางานที่คาดหวังได ขาดอํานาจในการตัดสินใจ สงผลตอความ มั่นใจในการทํางาน เกิดการเลี่ยงงานยาก ไมกลาคิด ไมกลาทํา กลัวผิด แนวคิดหลักการในการบริหารจัดการธุรกิจขององคกร (Business Management Concept) ยึดหลัก การบริหารจัดการ Business Strategy Corporate Strategy และ Functional Strategy เพื่อบรรลุเปาหมายคุณภาพ ISO GMP HACCP BRC และใช TQM เปนทั้งแนวคิด เครื่องมือ และชองทางในการบริหารจัดการองคกร โดยใช TQA ในการประเมิน ใช BSC ในการ ทบทวน และใช KPI ในการวัดผล Corporate Strategy 2554 ประกอบดวย 6 กลยุทธ คือ 1) พัฒนาสินคาทาง โภชนาการใหไดเปรียบการแขงขัน 2) พัฒนาระบบบริหารความสัมพันธกับลูกคา (CRM) 3) เพิ่มสวน แบงตลาดในแตละชองทางจํ าหน าย 4) พัฒนาความสามารถบุคลากรตามหลัก Competency 5) สรางวัฒนธรรมการทํางานอยางมีคุณภาพ 6) ลดความสูญเสียของกระบวนการทํางาน FACTORY STRATEGY 2554 ประกอบดวย 5 กลยุทธ เรียกวากลยุทธ 5Q (Quality) คือ 1) Q – Product คือ คุณภาพดานสินคา 2) Q – process คือ คุณภาพดาน กระบวนการ 3) Q – waste คือ คุณภาพดานลดความสูญเสีย 4) Q – worker คือ คุณภาพดาน ลูกจางทรงภูมิ) Q – CSR คือ คุณภาพดานความรับผิดชอบตอสังคม


75 1.4 เปาหมายการดําเนินงานโรงงานเชียงใหม นโยบายการดําเนินงานบริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาโรงงานจังหวัด เชียงใหม เปาหมายการดําเนินงานในป พ.ศ. 2554-2556 ไดมีนโยบายในการนําเทคโนโลยีสมัยใหม มาใชแทนการใชแรงงานคน การปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑใหดีขึ้น และการสรางมาตรฐานโรงงานที่ดี ขึ้น ดังนี้ 1. นําเทคโนโลยีสมัยใหมมาใชแทนการใชแรงงานคน (Put in technology instead of using labors) โดยมีแนวทางดําเนินการ คือ ลดพนักงาน 120 คน จากพนักงาน 455 คน ลดรายจายคาจาง เปนเงิน 6.5 ลานบาท เพิ่มกําลังการผลิต จาก 1.5 ลานกลอง ไปเปน 2 ลาน กลอง และลด Fixed Cost (ตนทุนคงที่) ลง 10 ลานบาท 2. ปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑใหดีขึ้น (High quality of production) คือ 1) กระบวนการผลิต ไดเพิ่มรอยละ Yield การผลิตผักจาก เดิม รอยละ 42 เปนรอยละ 50 (เพิ่มขึ้นคิดเปนมูลคา 14 ลานบาท) ลดการสูญเสียในกระบวนการผลิต (ลดการ สูญเสีย คิดเปนมูลคา 2 ลานบาท) 2) วัตถุดิบ ไดเพิ่มผลผลิตผักกาดเขียวปลีจากเดิม 4,000 กิโลกรัม/ไร เปน 5,000 กิโลกรัม/ไร (คิดเปนเงิน 5 ลานบาท) ลดกานแกเขากระบวนการผลิตลง รอยละ 50 (คิดเปน มูลคา 4 ลานบาท) 3) คุณภาพ ไดลดขอรองเรียนดานคุณภาพระดับรุนแรง (Critical) ลงเหลือ 0 รายการ และลดการ Reject (ตีกลับ) ของงานระหวางผลิตและสินคาคงเหลือลงเหลือ 0 รายการ 3. สรางมาตรฐานโรงงานที่ดีขึ้น (High standard factory) โดยไดลดการใช พลังงานและการจัดการมลพิษ รอยละ 10 (คิดเปนมูลคา 1.3 ลานบาท) พัฒนาระบบน้ําเสียและขยะ ใหไดมาตรฐาน และเปนที่ยอมรับของชุมชน รอยละ 100 และเพิ่มทักษะความรูหัวหนางานทุกระดับ ขึ้น รอยละ 20 กลยุทธและดัชนีชี้วัดกลยุทธการดําเนินงานบริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาโรงงานจังหวัดเชียงใหม ไดกําหนด Key Performance Indicator (KPI) ตามกลยุทธ 5Q ดังนี้ 1) คุณภาพดานสินคา (Q-Product) ดัชนีชี้วัดกลยุทธ คือ ลดขอรองเรียนลง รอยละ 50 ลด NC ลงรอยละ 50 และลด Hold ลงรอยละ 50 2) คุณภาพดานกระบวนการ (Q-Process) ดัชนีชี้วัดกลยุทธ คือ สรางแบบ ซอยงานและมอบหมายหนาที่งานทุกขั้นตอนการทํางาน 3) คุณภาพดานลดความสูญเสีย (Q-Waste) ดัชนีชี้วัดกลยุทธ คือ ลดการ สูญเสียลง รอยละ 3 คิดเปนมูลคา 12 ลานบาท


76 4) คุณภาพดานลูกจางทรงภูมิ (Q-Worker) ดัชนีชี้วัดกลยุทธ คือ ลดอุบัติเหตุ จากการทํางาน ขั้นหยุดงานลงเหลือ 0 รายการ (ไมใหมีเลย) 5) คุณภาพดานความรับผิดชอบตอสังคม (Q-CSR) ดัชนีชี้วัดกลยุทธ คือ จัดทําโครงการสงเสริมการเรียนรู 1 โครงการตอป 1.5 รางวัลและใบรองรองที่ไดรับ ผลการดําเนินงานของบริษัทที่ไดแสดงถึงความใสใจในการผลิตสินคา กระบวนการ ตรวจสอบคุ ณภาพที่ มีอยู ในทุ กขั้ น ตอน ตั้งแตการตรวจสอบวัตถุดิบ การควบคุมคุณภาพภายใน โรงงานผลิ ต และการตรวจสอบคุ ณ ภาพภายในห อ งวิ จั ย ด ว ยความเชี่ ย วชาญของบุ ค ลากรที่ มี ประสบการณ ป ระกอบกั บ การนํ า เอาเทคโนโลยี อั น ทั น สมั ย มาใช อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จึ ง ทํ า ให ผลิตภัณฑของบริษัทสันติภาพเปนผลิตภัณฑที่มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล และบริษัทไดให ความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ โดยคํานึงถึงความตองการของผูบริโภคเปนหลัก เพื่อให สินคาเปนสินคาคุณภาพที่ดีที่สุดของผูบริโภค จึงไดรับรางวัลและใบรับรองตางๆ ดังนี้ 1) GMP (Good Manufacturing Practice) ระบบมาตรฐานการรับรอง หลักเกณฑและวิธีปฏิบัติที่ดีในการผลิตอาหาร จากสถานบันมาตรฐาน SGS 2) HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point System) ระบบ มาตรฐานการวิ เ คราะห อั น ตราย และจุ ด วิ ก ฤติ ที่ ต อ งควบคุ ม ในการผลิ ต อาหาร จาก สถานบั น มาตรฐาน SGS 3) ISO 9001: 2000 มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ จากสถานบัน มาตรฐาน SGS 4) BRC (British Retail Consortium) มาตรฐานระบบคุณภาพการคาปลีก ประเทศอังกฤษ 5) พ.ศ. 2534 ได รั บ รางวั ล ผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละบริ ก ารยอดเยี่ ย มจากชมรมพิ ทั ก ษ ประโยชนแหงประเทศไทย 6) พ.ศ. 2552 ใหเกียติเปนองคการนําเสนอผลงานที่ไดรับ KANO AWARD จาก สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย - ญี่ปุน) 7) ค.ศ. 2006 Good Packaging Design for Export 2006, Department of Export Promotion Ministry of Commerce Royal Thai Government. 8) ค.ศ. 1997 has achieved the Prime Minister Export Award for Distinctive Development & Marketing of a Thai Owned - Brand For 1997 9) ไดรับรางวันโรงงานดีเดน ประเภทอุตสาหกรรมขนาดใหญจากคณะกรรมการ โครงการประกวดโรงงานดีเดน 10) ไดรับรางวัลจากกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล อม เป น 1 ใน 10 ลํ าดับ ของประเภทโรงงานและกลุม บุคคลที่ ล ดการปลอ ย คารบอนไดออกไซดไดสูงสุดในโครงการทําดีเพื่อแผนดิน ลดคารบอน ลดโลกรอน เฉลิมพระเกียรติ


77 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2555 เชียงใหม ดังนี้

ใบรับรองและรางวัลที่ไดรับบริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด โรงงานสาขา

รางวัลที่ไดรับป 2552 บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด โรงงานสาขาเชียงใหม ประกอบดวย รับโล “มาตรฐานการบริหารจัดการดาน Aids ในสถานประกอบการ “จากกรม สวัสดิการและคุมครองแรงงาน รับรางวัล “ธรรมาภิบาลสิ่งแวดลอม” จากจังหวัดเชียงใหมรวมกับ สํานักงานอุตสาหกรรม รับรางวัล “Best Practice on Green Productivity” จากสถาบันอาหาร รับรางวัล “Productivity Facilitator ป 52” จากสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ และรับรางวัล “The Best Creative” ป 52 จากสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ รางวัลที่ไดรับป 2553 บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด โรงงานสาขาเชียงใหม ประกอบดวย รับรางวัล “โครงการเพิ่มผลิตภาพระดับสถานประกอบการ SMEs ในหวงโซอุปทาน อุ ต สาหกรรมอาหารสํ า เร็ จ รู ป ด ว ยการปรับ ปรุงกระบวนการอยางตอเนื่อง ประจําปงบประมาณ 2553” จากสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมรวมกับสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ยอม รับรางวัล “Productivity Sharing-The Best Productivity Team” ภายใตโครงการ แลกเปลี่ยนเรียนรู มุงสู Productivity ประจําป 2553 จากบริษัทปริ้นเซสฟูดส จํากัด และบริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด

2. การมีสวนรวมในการชวยเหลือสังคม ผลการศึกษา การศึกษาการมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม บริษัท สันติภาพ (ฮวเพง 1958) จํากัด สาขาจังหวัดเชียงใหม และสาขาอําเภอเวียงปาเปาจังหวัด เชี ย งราย โดยการรวบรวมประมวลผลขอมูล ทุ ติย ภูมิ การเก็บ ขอมูล ดว ยวิธีการสัม ภาษณเชิงลึ ก ผูบริหารบริษัท (Inept Interview) บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาโรงงานเชียงใหม จํานวน 1 คน และสาขาโรงงานเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย จํานวน 1 คน และการสนทนากลุม (Focus Group) จําแนกเปน 2 กลุม คือ การสนทนากลุมผูบริหาร เจาหนาที่ พนักงานของบริษัท จํานวน 15 คน และการการสนทนากลุมผูมีสวนไดสวนเสียของบริษัท ซึ่งประกอบดวย ผูนําทองที่ ทองถิ่น แกนนํา ประชาชนที่มีสวนรวมโครงการของบริษัท จํานวน 15 คน ผลการศึกษา มีดังนี้ รูปแบบหรือโมเดลในการชวยเหลือสังคมของบริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด โรงงานสาขาจังหวัดเชียงใหม และสาขาอําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย เปนการดําเนินงาน โครงการ กิจกรรมการชวยเหลือสังคมภายใตกรอบแนวคิดหลัก คือ “โลกสีเขียว ธรรมชาติที่สมดุล ลด โลกรอน” ซึ่งมีวิธีการและแนวทางการดําเนินงาน 2 แนวคิดหลัก คือ แนวคิด “เศรษฐกิจพอเพียง”


78 และแนวคิด “การเสริมสรางการเรียนรู พัฒนาคูชุมชนไทย” ซึ่งมีโครงการ กิจกรรม คือ (1) โครงการ และกิจกรรมภายใตแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีโครงการ 2 โครงการ คือ โครงการการเพิ่มมูลคาให เกษตรกรและเพิ่มคุณคาเพื่อลูกคา และโครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและประหยัดพลังงาน (2) โครงการ กิจกรรมตามแนวคิด”การเสริมสรางการเรียนรู พัฒนาคูชุมชนไทย” ซึ่งมีโครงการ 4 โครงการ คือ โครงการ “พิราบรวมพลคนปลูกเขียวปลี” โครงการ “นกพิราบอาสาเสริสรางปญญา พัฒนาเยาวชนไทย” โครงการ “ใหความรูแกนักเรียน นักศึกษา และนักวิจัย” และโครงการ “พัฒนา บุคลากรใหมีประสิทธิภาพดวยการเสริมสรางการเรียนรูและมีคุณภาพชีวิต (HAPPY 8)” บริษัทไดใหความสําคัญกับคุณภาพชีวิตของบุคคลากรและสังคม สงเสริมการสราง ความสัมพันธอันดีระหวางองคกรและชุมชน และการสรางจิตสํานึกความรับผิดชอบตอสังคม โดยการ จัดกิจกรรมตางๆ เพื่ออนุรักษวัฒนธรรมทองถิ่น ขนบธรรมเนียมที่ดีงามของไทย โครงการสงเสริมให เกษตรกรทองถิ่นมีอาชีพและรายไดที่มั่นคง สรางชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น คืนความสุขสูชุมชน และ ตอบแทนสังคม โดยมีกิจกรรมตางๆ ที่ผานมา ดังนี้ 2.1 โครงการและกิจกรรมภายใตแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง โครงการและกิจกรรมภายใตแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีโครงการ 2 โครงการ คือ โครงการการเพิ่มมูลคาใหเกษตรกรและเพิ่มคุณคาเพื่อลูกคา โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการ ผลิตและประหยัดพลังงาน โดยมีกิจกรรม ดังนี้ 2.1.1 โครงการการเพิ่มมูลคาใหเกษตรกรและเพิ่มคุณคาเพื่อลูกคา โครงการการเพิ่มมูลคาใหเกษตรกรและเพิ่มคุณคาเพื่อลูกคา กิจกรรม การคัดเลือก เชื้อบริสุทธิ์เพื่อพัฒนาการดองผักกาดดองเปรี้ยว โดย ดร.เวทชัย เปลงวิทยา ศูนยพันธุวิศวกรรมและ เทคโนโลยี ชี วภาพแห งชาติ การลดการเกิดสีคล้ําในผักการดอง โดย รศ.ดร.โชคชัย ธีรกุล เกีย รติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร การเพิ่มคุณคาทางโภชนาการจากใบผักเหลือใชจากไรผักกาดเขียวปลี โดย ผศ.ดร.บัณฑิต อิน ณวงศ มหาวิทยาลัยศิล ปากร การผลิตปุย ชีว ภาพจากวัส ดุเหลือใชจ ากไร ผักกาดเขียวปลี โดย ศ.ดร.นันทกร บุญเกิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรนารี การพัฒนาน้ําสมสายชู หมั กจากน้ํ า ใบผั กกาดเขี ยวปลี เหลือใชจ ากไรผักกาดเขีย วปลี โดย รศ.ดร.วราวุฒิ ครูสง สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วิธีการพัฒนาวิธีการปลูกผักกาดเขียวปลี โดย ศ.ดร. นันทกร บุญเกิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี การพัฒนาพันธุผักการเขียวปลี โดย รศ.ดร.มณีฉัตร นิกรพันธุ มหาวิทยาลัยเชียงใหม


79 2.1.2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและประหยัดพลังงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและประหยัดพลังงาน คือ (1) โครงการ Total Quality Management (TQM) โดย ดร.วีระพจน ลือประสิทธิกุล (2) การพัฒนาอุตสาหกรรมการ ผลิตโดยการเพิ่มประสิทธิภาพ (MDIPP) โดย ดร.วชิรพงษ สาลีสิงห สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ กรม สงเสริมอุตสาหกรรม (3) การเพิ่มผลิตภาพอยางมีนวัตกรรม (EDIPP) โดย รศ.วีระชัย แกนทรัพย กรม สงเสริมอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี การใหความรูแกพนักงานบริษัทในโรงงาน โดยจัดใหไดรับการฝกอบรมทั้งภายใน และภายนอกองคกร โดยไดจัดอบรมภายในองคกรจํานวนเรื่องที่อบรม 10 เรื่อง และจัดใหมีการ อบรมภายนอกองคกร จํานวนเรื่องที่อบรม 64 เรื่อง เชน การถายทอดความรูเรื่องฉลากคารบอน สําหรับภาคอุตสาหกรรมอาหาร สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โครงการปองกันผลกระทบ ดานมลพิษของสถานประกอบการ สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม กรมโรงงานอุตสาหกรรม การปองกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 การจัดการสุขลักษณะที่ดี (GMP/HACCP) ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร เทคโนโลยีการใชบรรจุภัณฑออนตัวสําหรับอาหารที่มี ความเปนกรดต่ํา สถาบันอาหาร การปองกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม ระบบคุณภาพหองปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล ISO/IEC17025 คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย แมโจ การปองกันการเกิดการปนเปอนขามในกระบวนการผลิตใหไดประสิทธิภาพ บริษัท 3 M ประเทศไทย จํากัด การ Update กฎหมายน้ําทิ้ง และกฎหมายการระบายมลพิษอากาศจากปลอง ระบาย ALS Laboratory Group (Thailand) Co,.td การอบรมโปรแกรม Minitab มหาวิทยาลัย เชียงใหม โครงการปองกันและบริหารจัดการดานเอดสและวัณโรคในสถานประกอบกิจการ สํานักงาน สวัสดิการและคุมครองแรงงานจัดหวัดเชียงใหม การตรวจสมรรถภาพทางรางกาย ทีมพยาบาลอาชีว อนามัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนตน 2.2 โครงการ กิจกรรมตามแนวคิด”การเสริมสรางการเรียนรู พัฒนาคูชุมชนไทย” โครงการ Corporate Social Responsibility: CSR บริษัทไดดําเนินโครงการ กิจ กรรมที่ มีส ว นรั บ ผิ ดชอบตอสั งคม ภายใตแนวคิด “เสริมสรางการเรีย นรู พัฒนาคูชุมชนไทย” พัฒนาใน 4 กลุม คือ การใหความรูแกเกษตรกร การใหความรูแกลูกหลานเกษตรกร การใหความรูแก นักเรียน นักศึกษา นักวิชาการ สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย และการใหความรูแกพนักงานบริษัท รวมกิจกรรมกับทางชุมชน โดยไดดําเนินใหมีโครงการและกิจกรรมดานการเสริมสรางการเรียนรู พัฒนาคูชุมขนไทย เพื่อเกษตรกร อบรมวิธีปลูกผักกาดเขียวปลี กิจกรรมดานประเพณีวัฒนธรรมของ สังคมและชุมชน รวมทั้งดานธรรมาภิบาลและสิ่งแวดลอม โดยบริษัทไดดําเนินโครงการ กิจกรรม ตาม แนวคิด”การเสริมสรางการเรียนรู พัฒนาคูชุมชนไทย” ประกอบดวย


80 1) โครงการ “พิราบรวมพลคนปลูกเขียวปลี” 2) โครงการ “นกพิราบอาสาเสริสรางปญญา พัฒนาเยาวชนไทย” 3) โครงการมอบศูนยการเรียนรูสูชุมชน 4) กิจกรรมการจัดงาน “วันผักกาดเขียวปลี 53” 5) โครงการ “ใหความรูแกนักเรียน นักศึกษา และนักวิจัย” 6) โครงการ “พัฒนาบุคลากรใหมีประสิทธิภาพดวยการเสริมสรางการเรียนรูและมี คุณภาพชีวิต (HAPPY 8)” 2.2.1 โครงการ “พิราบรวมพลคนปลูกเขียวปลี” โครงการพิราบรวมพลคนปลูกเขียวปลี ในชวงวันที่ 11 - 23 กันยายน 2552 โรงงาน เชียงใหม ไดจัดฝกอบรมเกษตรกรผูปลูกผักกาดเขียวปลีโดยใชชื่อวา “พิราบรวมพลคนปลูกเขียวปลี” ภายใตสโลแกน “เกษตรกรสรางคุณภาพผัก โรงงานผลิตอาหารปลอดภัย เกษตรกรมั่งคั่ง โรงงาน ยั่งยืน” ซึ่งปนี้จัดเปนปที่ 7 ใชเวลาอบรมทั้งสิ้น 9 วัน มีผูเขารวมการอบรมมากลนเปนประวัติการณ ถึง 1,362 คน โดยเนนเรื่องการปลูกใหไดหัวขนาดเล็กลงเปน 300 - 500 กรัมตอหัว เพื่อเพิ่มรอยละ Yield ลดการสูญเสียกาบนอกของหัวผักที่ใหญเกินกระปองลง และเนนการรับซื้อที่เขมงวด ใหตรง มาตรฐานที่โรงงานตองการ สงผลใหระบบการสงเสริมการปลูกผักกาดเขียวปลีของบริษัทประสบ ความสําเร็จเปนอยางดี ถือเปนการทํากิจกรรม CSR อยางแทจริงที่มั่นคงและยั่งยืนใหกับชุมชน โครงการ “พิราบรวมพลคนปลูกเขียวปลี” เปนโครงการที่มีกิจกรรมการสงเสริมการ ปลูกผักกาดเขียวปลี เพื่อสรางรายไดใหเกษตรกรอยางยั่งยืน โดยไดมีการกําหนดแผนที่ยุทธศาสตรไว ตั้งแตป พ.ศ.2546-2555 โดยมียุทธศาสตรประกอบดวย 6 ยุทธศาสตร คือ (1) การสรางเครือขาย (Setup Network) ระยะ 1 ป พ.ศ. 2546-2547 ระยะ 2 ป พ.ศ. 2548-2549 ระยะ 3 ป พ.ศ. 2550-2551 ดวยวิธีการ Quantity Focus (2) สรางความผูกพัน (Closing Up) ดําเนินการในป พ.ศ. 2548-2549 ดวยวิธีการ Price Support (3) การสรางความเขาใจ (Understanding) ในป พ.ศ. 2550-2553 ดวยวิธีการ Standard Method (4) สรางมาตรฐาน Sharing ในป พ.ศ. 2550-2553 ดวยวิธีการ Quality Concentration (5) การปรับปรุงและพัฒนา Improvement ในป พ.ศ. 25532555 ดวยวิธีการ Cultivar Improvement และ (6) Royalty ความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) ในป พ.ศ. 2553-2555 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) การสรางเครือขาย (Setup Network) การสร างเครื อขาย ระยะ 1 ป พ.ศ. 2546-2547 ไดดําเนิน การในพื้น ที่ เพาะปลูกผักกาดเขียวปลีภาคเหนือ ในพื้นที่อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย จํานวน 1,200 ไร พื้นที่อําเภอทาวังผา จังหวัดนาน จํานวน 500 ไร พื้นที่อําเภอปง อําเภอจุน จังหวัดพะเยา จํานวน


81 700 ไร พื้นที่อําเภอวังเหนือ อําเภองาว จังหวัดลําปาง จํานวน 700 ไร รวมพื้นที่สงเสริมการเกษตร ทั้งหมด จํานวน 3,900 ไร ใชรูปแบบการอบรมเกษตรกร โดยการฟงการบรรยายในหองประชุม เนื้อหาที่สื่อสารอบรม คือ วิธีการปลูกผักตามหลักวิชาการ ผลการอบรม ตัวแทนเกษตรกรมาตาม หนาที่อยางไมเต็มใจและตัวแทนเกษตรกรจดจําเนื้อหาที่อบรมไมได การสรางเครือขาย ระยะ 2 ป พ.ศ. 2548-2549 ไดเพิ่มจํานวนเกษตรกรเขา ฝกอบรม ในป พ.ศ. 2548 เปาหมาย 200 คน เขาอบรม จํานวน 217 คน ป พ.ศ. 2549 เปาหมาย 480 คน เขารับการอบรม จํานวน 551 คน รูปแบบการอบรมปรับเปนแบบ walk Rally แบง เกษตรกรเปนกลุมๆ ละ 15-20 คน เขารับการอบรมเนื้อหา 9 สถานี ในแตละสถานีมีการเลนเกมส ที่สัมพันธกับเนื้อหาที่อบรม เนื้อหาที่สื่อสารความเขาใจ เรื่อง การประกันราคาวัตถุดิบ และสราง ความสัมพันธอันดีระหวางเกษตรกรและบริษัท ผลการอบรม พบวา เกษตรกรชอบรูปแบบการอบรม ที่มีความสนุกสนาน และสามารถจดจําเนื้อหาไดดีขึ้น การสรางเครือขาย ระยะ 3 ป พ.ศ. 2550-2551 ไดมีการปรับการอบรมเปน เนนวีการปลูกที่เปนมาตรฐานเดียวกันในแตละพื้นที่ปลูก เนนคัดเลือกเกษตรกรที่มีผลงานดี เนนการ จูงใจใหเกษตรกรเปลี่ยนวัฒนธรรมจากเดิม และเกษตรกรกับบริษัทมีความสัมพันธกันในรูปแบบผูซื้อ และผูขาย และการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทํางานโดยรวมกันทํางานเปนทีม (Team Working) ในป พ.ศ. 2550 เปาหมาย 900 คน เกษตรกรเขารวมอบรม จํานวน 1,203 คน ป พ.ศ. 2551 เปาหมาย 1,307 คน มาเขารับการอบรม 894 คน คิดเปนรอยละ 68 เกษตรกรเขารวมโครงการอบรมนอย เพราะพืชแขงขัน ขาว ขาวโพดเลี้ยงสัตว มีราคาสูงกวาราคาผักมาก รูปแบบการอบรม ใหชื่องาน “พิราบรวมพลคนปลูกเขียวปลี” และมีคําขวัญประจํางานวา “เกษตรกรสรางคุณภาพผัก โรงงานผลิต อาหารปลอดภั ย เกษตรกรมั่ งคั่ ง โรงงานมั่น คง” และได มีการมอบรางวัน และเกีย รติบัตรใหกั บ เกษตรกรดีเดน ผลที่ไดรับ พบวา การฝกอบรมสมาชิกเกษตรกรไดครบ รอยละ 100 มีเครือขาย สมาชิกเกษตรกรที่มั่นคง เกษตรกรเริ่มมีการเปลี่ยนวัฒนธรรมที่เคยทําตามใจตนเอง เปนทําตาม ขอกําหนดของบริษัท ในการสงเสริมการปลูกผักแบบอินทรีย ไมใชปุยเคมีและสารเคมีในแปลงผัก เกษตรกรใหความเชื่อถือบริษัท 2) การสรางความผูกพัน (Closing Up) ดําเนินการในป พ.ศ. 2548-2549 ดวย วิธีการ Price Support เปนการประกันราคาวัตถุดิบ หลังจากมีเครือขายเพียงพอแลวพบวา ราคา วัตถุดิบผันผวน ไดแกปญหาโดยกําหนดราคาประกันวัตถุดิบ โดยเทียบจากตนทุนการปลูกบวกกําไร และมีการอบรมและ walk Rally ผลที่ไดรับ พบวา ราคาวัตถุดิบไมผันผวน ปริมาณปริมาณวัตถุดิบมี ความมั่นคง เกษตรกรมีความใกลชิดกับบริษัท เกษตรกรใหความไววางใจบริษัท


82 3) การสรางความเขาใจ (Understanding) ในป พ.ศ. 2550-2553 ดวยวิธีการ Standard Method สรางมาตรฐานการปลูก โดยการปรับรูปแบบการอบรมเปนการเขาไปใน 12 หมูบ าน 4 จังหวัดภาพเหนือนอนพักในหมูบาน 12 วัน ทดลองและวิจัยปลูกผักใหเปนวิธีปลูก มาตรฐานในแตล ะพื้ นที่ คือ กําหนดพัน ธุที่ใชปลูก ระยะปลูกระหวางตน อัตราปุย ที่ใช ชนิดและ ปริ มาณยากํ า จั ดศั ตรู พืช ให ได ตามกรมวิช าการเกษตร ระยะเวลาเก็บ เกี่ย ว การอบรมใช รู ป แบบ Caravan Training ผลที่ได พบวา เกษตรกรยอมรับที่จะเปลี่ยนวิธีการปลูกเปนมาตรฐานเดียวกัน และเกษตรกรเขาใจวิธีการปลูกที่ถูกตองมากขึ้น 4) สรา งมาตรฐาน Sharing ในป พ.ศ. 2550-2553 ด วยวิ ธีการ Quality Concentration เปนการสรางการมีสวนรวมในการจัดการคุณภาพวัตถุดิบ โดยในป 2552-2553 ได ปรับการอบรมกลุมใหเล็กลง จํานวนคนกลุมละไมเกิน 12 คนตอวิทยากร 1 คน และเนนเพื่อหา คุณภาพผัก 3 ขอ คือ น้ําหนักหัวผัก 300-500 กรัม สัดสวนรอยละการหอหัวแนน และสัดสวนรอยละ การกรีดผัก 3 กาบ ซึ่งกําหนดเปนเปาหมายคุณภาพ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ไดมีจํานวนผูเขาอบรม ป 2552 เปาหมาย 1,242 มาจริง 1,362 คน รูปแบบการอบรมเปนการอบรมรูปแบบ Seminar to Sharing ซึ่งเปนการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในลักษณะที่ทุกคนมีสวนรวมในการนําเสนอ แนวทางปรับปรุงคุณภาพวัตถุดิบใหดีขึ้น สรางวิทยากรจากเกษตรกรที่มีความเชี่ยวชาญแตละดาน ให นําเสนอแกเพื่อนรวมอาชีพ และนําเกษตรกรไปศึกษาดูงานวิธีการปลูกตางพื้นที่เพื่อแลกเปลี่ยน ความรู ผลที่ได พบวา เกษตรกรมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นมากขึ้น มีการแลกเปลี่ยนความรู ลักษณะ Cross Functional บริษัทไดขอมูลเชิงลึกดานการเพาะปลูกผักใหไดคุณภาพครบทุกดานที่ สามารถนํ าไปวิ เคราะห ทางสถิติตอไป เกษตรกรใหความใสใจในการปลูกผักใหไดคุณภาพและ ปลอดภัย คุณภาพผักที่สงเขาโรงงานมีความสม่ําเสมอมากขึ้น 5) การปรับปรุงและพัฒนา Improvement ในป พ.ศ. 2553-2555 ดวยวิธีการ Cultivar Improvement เปนการ Breeding Research to Improvement ในการพัฒนาปรับปรุง พันธุผัก โดยในป พ.ศ. 2553-2555 ผลจากการใชสถิติเขามาวิเคราะหขอมูลการปลูกผัก พบวา พันธุ ผักเปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหผักมีคุณภาพตาม Spec ที่บริษัทตองการ ดังนั้นจึงดําเนินการเสาะหา พั น ธุ ที่ เ หมาะสมจากบริ ษั ท นํ า เมล็ ด พั น ธุ ม าปลู ก เปรี ย บเที ย บโดยร ว มกั บ คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และสถาบันวิจัยพืชสวน (YAAS) คุนหมิง ประเทศจีน ในการปรับปรุงพันธุผัก ใหไดตามตองการ ปจจุบันอยูในขั้นตอนนําเมล็ดพันธุจากคุนหมิงมาปลูกทดสอบในประเทศไทย 6) Royalty ความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) ในป พ.ศ. 2553-2555 โดยใชแนวคิด หลักองคกรแหงการเรียนรู (Theme: Learning Organization) นอมนําปรัชญา “เศรษฐกิจ พอเพีย ง” โดยมีวัตถุประสงคเ พื่อพัฒ นา 3 กลุม คือ เพื่อใหความรูทางวิชาการแกเกษตรกร เพื่ อ


83 สงเสริมใหบุตรหลานเกษตรกรไดมีโอกาสเรียนรู โดยเฉพาะดานการเกษตร และเพื่อสงเสริมใหนิสิต นักศึกษา สถาบันตางๆ มาศึกษาดูงาน ฝกงาน เพื่อเพิ่มประสบการณและนําไปประยุกตใช โดยมี วิธีการดําเนินงาน คือ (1) การใหความรูทางวิชาการแกเกษตรกร โดยมีกิจกรรมการฝกอบรมใน โครงการ “พิราบรวมพล คนปลูกผักเขียวปลี” จัดใหนักวิชาการพบเกษตรกร จัดใหมีการศึกษาดูงาน การเพาะปลูกนอกพื้นที่ และการสงเสริมใหเกษตรกรเขาแขงขัน ประกวดเกษตรกรดีเดน (2) การ สงเสริมบุตรหลานเกษตรกรใหมีโอกาสเรียนรู โดยจัดกิจกรรมการมอบศูนยเรียนรู Electronic ใหกับ โรงเรียนในพื้นที่เกษตรกร การมอบอุปกรณการเรียนใหโรงเรียน การสงเสริมใหนักเรียนทําแปลง ทดลองปลูกผักสงขายใหโรงงานเปนรายไดเสริม (3) การสงเสริมนิสิต นักศึกษา สถาบันตางๆ มา ฝกงานและศึกษาดูงาน โดยทางบริษัท รับนักศึกษาฝกงานทุกสถาบัน รับนักศึกษามาศึกษาดูงานใน ทุกระดับ รั บนั กศึ กษาที่ เป นบุ ตรหลานเกษตรกรเขามาทํางานในชวงปดเทอมและหลังจากจบ การศึกษา และการเยี่ยมชมศึกษาดูงานจากสถาบันตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เชน สถาบัน SME, สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ เปนตน โครงการ “พิราบรวมพลคนปลูกเขียวปลี” เปนกิจกรรมภายใตนโยบายของบริษัท ดานการเสริมสรางการเรียนรู พัฒนาคูสังคมไทยเพื่อเกษตรกร โดยมีกิจกรรม คือ (1) การเสริมสราง การเรียนรูพัฒนาคูชุมชนไทยเพื่อเกษตรกร เปนการจัดกิจกรรมการอบรมการปลูกผักกาดเขียวปลี การทดลองปลูกผัก และทําแปลงสาธิตผักกาดเขียวปลี พันธุที่ใชทดลองปลูก คือ พันธุแม็ค 08 พันธุ อังกอร พันธุเอ็มวัน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ หาพันธุที่ใหผลผลิตตอไรสูงที่สุด และหาพันธุที่มีสัดสวน รอยละ yield กรีดหัวสูงที่สุด โดยไดมีการจัดกิจกรรมการอบรมเกษตรกร ประจําป 2554-2555 เมื่อ วันที่ 9-24 กันยายน 2554 โดยมีนโยบาย “เกษตรกรสรางคุณภาพผัก โรงงานผลิตอาหารปลอดภัย เกษตรกรมั่งคั่ง โรงงานมั่นคง” ไดจัดกิจกรรมอบรมใหความรูแกเกษตรกร โดยมีเปาหมายเกษตรกร จํานวน 1,118 คน มาเขารับการอบรม จํานวน 1,062 คน คิดเปนรอยละ 95 รูปแบบการอบรมใช การแบงเกษตรกรที่เขารวมอบรมเปนกลุมยอยทั้งหมด 53 กลุมๆ ละ 15 คน โดยมีจํานวนวันที่อบรม อบรมวันละ 4 กลุม อบรมชวงเชา จํานวน 2 กลุม อบรมชวงบาย จํานวน 2 กลุม รวมทั้งหมด เปน เวลา 14 วัน เนื้อหาและสื่อการอบรมเดิมเปนสื่อ เรื่อง วิธีการปลูกผัก ไดปรับเปนสื่อ เรื่อง ลดตนทุน ในการปลูก โดยใชแนวคิด “3 ลด 2 เพิ่ม 2 ขอรอง” แนวคิด 3 ลด คือ 1) ลดปุยเคมี 2) ลดยาฆา หญา 3) ลดคาแรง แนวคิด 2 เพิ่ม คือ เพิ่มน้ําหนักผลผลิตตอไร และเพิ่มกําไร แนวคิด 2 ขอรอง คือ ขอรองใหกรีด 3 กาบสั้น (ผักกาดเขียวปลี) และขอรองใหตัดกอนผักแตก รูปแบบสื่อเดิมทําบอรดให เกษตรกรดู ไดปรับเปนใชสื่อมัลติมีเดีย มีทั้งภาพและเสียง เพื่อสื่อใหเกษตรกรรับทราบไดอยางชัดเจน และเนื้อหาครอบคลุมมากยิ่งขึ้น กระบวนการไดมีการจัดทําแปลงสาธิตและแตงตั้งผูประสานขึ้น โดย ทําแปลงสาธิต 53 ไร ในโครงการเกษตรอินทรีย การคัดเลือกตัวแทนกลุมตั้งเปนผูประสานเพื่อเก็บ


84 ขอมูลวิธีปลูกผักของสมาชิกภายในกลุม และการจัดชิงโชค รางวัลรถมอเตอรไซค และของรางวัล ใหกับเกษตรกรที่ปฏิบัติตามวิธีการปลูกที่บริษัทกําหนด โครงการพิราบรวบพลคนปลูกเขียวปลี เปนโครงการภายใตคําขวัญที่วา “เกษตรกร สรางคุณภาพผัก โรงงานผลิตาหารปลอดภัย เกษตรกรมั่งคั่ง โรงงานมั่นคง” ซึ่งเปนหนึ่งในนโยบาย หลักในการสงเสริมและพัฒนาเกษตรกร เพื่อเพิ่มพูนความรูและทักษะการปลูกผักการเขียวปลี สราง คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไดดําเนินงานมากวา 10 ป โดยไดเสริมสรางเครือขายที่มีพี่นองสมาชิกเกษตรกร จํานวนกวา 1,400 ครอบครัว มีพื้นที่ในการเพาะปลูกมากกวา 3,500 ไร ไดสรางงานใหภาคเกษตรให เกษตรกรจํานวนมากกวา 20,000 คน ในพื้นที่เขตภาคเหนือจังหวัดนาน ลําปาง เชียงราย และพะเยา ซึ่งประกอบดวย 1) จังหวัดนาน จํานวน 4 อําเภอ 7 ตําบล คือ อําเภอทาวังผา ตําบลปาคา สมาชิก จํานวน 60 คน พื้นที่ จํานวน 60 ไร ตําบลผาตอ สมาชิก จํานวน 80 คน พื้นที่ จํานวน 35 ไร ตําบล ศรีภูมิ สมาชิก จํานวน 100 คน พื้นที่ จํานวน 60 ไร และตําบลริม สมาชิก จํานวน 80 คน พื้นที่ จํานวน 25 ไร อําเภอเชียงกลาง ตําบลเปอ สมาชิก จํานวน 50 คน พื้นที่ จํานวน 25 ไร อําเภอสันติ สุข ตําบลดูพงษ สมาชิก จํานวน 50 คน พื้นที่ จํานวน 25 ไร และอําเภอสองแคว ตําบลนาไรหลวง สมาชิก จํานวน 30 คน พื้นที่ จํานวน 7 ไร 2) จังหวัดลําปาง จํานวน 1 อําเภอ 3 ตําบล คือ อําเภอวังเหนือ ตําบลวังแกว สมาชิก จํานวน 48 คน พื้นที่ จํานวน 187 ไร ตําบลทุงฮั้ว สมาชิก จํานวน 145 คน พื้นที่ จํานวน 329 ไร และตําบลบานออน สมาชิก จํานวน 159 คน พื้นที่ จํานวน 57 ไร 3) จังหวัดเชียงราย จํานวน 1 อําเภอ 2 ตําบล คือ อําเภอเวียงปาเปา ตําบลเวียง สมาชิก จํานวน 54 คน พื้นที่ จํานวน 700 ไร และตําบลสันสลี สมาชิก จํานวน 63 คน พื้นที่ จํานวน 700 ไร 4) จังหวัดพะเยา จํานวน 3 อําเภอ 6 ตําบล คือ อําเภอปง ตําบลงิม สมาชิก จํานวน 68 คน พื้นที่ จํานวน 155 ไร ตําบลออย สมาชิก จํานวน 64 คน พื้นที่ จํานวน 120 ไร ตําบล ควร สมาชิก จํานวน 86 คน พื้นที่ จํานวน 188 ไร และตําบลขนควร สมาชิก จํานวน 68 คน พื้นที่ จํานวน 465 ไร อําเภอเชียงมวน ตําบลสระ สมาชิก จํานวน 133 คน พื้นที่ จํานวน 55 ไร และอําเภอ จุน ตําบลลอ สมาชิก จํานวน 400 คน พื้นที่ จํานวน 87 ไร ผลการดํา เนิ นงานโครงการ พบวา ผลผลิตจากการดําเนินโครงการสงเสริมปลูก ผั กกาดเขี ย วปลี ในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อสามารถสรางรายไดใหเ กษตรกรผูรว มโครงการ คิด เปน มูล ค า 56,385,378 บาท คือ สมาชิกผูรวมโครงการหมูบานโละ อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย สราง รายไดเปนมูลคา 11,173,491 บาท สมาชิกผูรวมโครงการบานแมทรายเงิน อําเภอวังเหนือจังหวัด


85 ลําปาง สรางรายไดเปนมูลคา 6,351,627 บาท สมาชิกรวมโครงการบานแมกวัก อําเภองาว จังหวัด ลําปาง สรางรายไดเปนมูลคา 3,155,701 บาท สมาชิกรวมโครงการตําบลงิม อําเภอปง จังหวัดพะเยา สรางรายไดเปนมูลคา 5,301,450 บาท สมาชิกรวมโครงการตําบลควร อําเภอปง จังหวัดพะเยา สราง รายไดเปนมูลคา 2,713,200 บาท สมาชิกรวมโครงการตําบลขุนควร อําเภอปง จังหวัดพะเยา สราง รายไดเปนมูลคา 12,923,400 บาท สมาชิกโครงการอําเภอทาวังผา จังหวัดนาน สรางรายไดเปน มูลคา 10,463,781 บาท และสมาชิกรวมโครงการอําเภอสันติสุข จังหวัดนาน สรางรายไดเปนมูลคา 4,302,728 บาท 2.2.2 โครงการ “นกพิราบอาสาเสริสรางปญญา พัฒนาเยาวชนไทย” โครงการนกพิราบอาสาเสริมสรางปญญาพัฒนาเยาวชนไทย ซึ่งเปนการรวมเปนสวน หนึ่งในการพัฒนาประเทศ โดยการจัดทําโครงการ “นกพิราบอาสา เสริมสรางปญญา พัฒนาเยาวชน ไทย” เพื่อเพิ่มโอกาสทางการเรียนรูใน 4 วิชาหลักใหแกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน 14 โรงเรียน ในพื้นทีภาคเหนือ เพื่อชุมชนไดมีเยาวชนที่มีความรูและนําความรูกลับมาพัฒนาชุมชน อัน จะนําไปสูชุมชนที่เขมแข็งและประเทศชาติที่มั่นคง โดยไดจัดกิจกรรมการเรียน การสอน รวมกับคณะ ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยใชรูปแบบการติววิชาหลัก 4 วิชา คือ วิชาภาษาไทย วิชา ภาษาอังกฤษ วิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการสอบโอเน็ต (O-net) ของ นักเรียน ในพื้นที่เขตภาคเหนือ จํานวน 14 โรงเรียน ประกอบดวย 1) จังหวัดเชียงใหมตําบลแมแฝกใหม อําเภอสันทราย จํานวน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนเจดียแมครัว จํานวนครู 15 คน นักเรียน 35 คน และโรงเรียนแมแฝก จํานวนครู 10 คน นักเรียน 20 คน 2) จังหวัดเชี ยงรายอําเภอเวีย งปาเปา ตําบลสันสลี มีโรงเรีย นเขารว มกิจกรรม จํานวน 7 โรงเรียน โดย จํานวนนักเรียน 177 คน คณะครู อาจารย จํานวน 76 คน คือ โรงเรียนบาน เดนศาลา ครู จํานวน 10 คน นักเรียน จํานวน 30 คน โรงเรียนสันสลี ครู จํานวน 7 คน นักเรียน จํานวน 10 คน โรงเรียนแมตะละ ครู จํานวน 6 คน นักเรียน จํานวน 10 คน โรงเรียนบานโปงนก ครู จํานวน 8 คน นักเรียน จํานวน 17 คน โรงเรียนบานปางดงมะขามปอม ครู จํานวน 5 คน นักเรียน จํานวน 5 คน โรงเรียนบานโปงนกเหนือ ครู จํานวน 10 คน นักเรียน จํานวน 15 คน โรงเรียนทุงหา ครู จํานวน 10 คน นักเรียน จํานวน 15 คน 3) จังหวัดพะเยา อําเภอจุน ตําบลเลา จํานวน 5 โรงเรียน คือ โรงเรียนบานปาง ปอม ครู จํานวน 10 คน นักเรียน จํานวน 15 คน โรงเรียนบานน้ําจุน ครู จํานวน 10 คน นักเรียน จํานวน 15 คน โรงเรียนบานศรีเมืองชุม ครู จํานวน 8 คน นักเรียน จํานวน 10 คน โรงเรียนบาน รองยาง ครู จํานวน 7 คน นักเรียน จํานวน 10 คน และโรงเรียนบานเวียงลอ ครู จํานวน 7 คน นักเรียน จํานวน 10 คน


86 โครงการนกพิราบอาสาเสริมสรางปญญาพัฒนาเยาวชนไทย เป นโครงการที่เปน กิจกรรมการเปดหลักสูตรสอนวิชาพื้นฐานใหกับลูกหลานเกษตรกรในโรงเรียน ซึ่งเปนนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 โดยวิชาที่สอนนั้น ประกอบดวย 4 วิชาการหลัก คือ 1) วิชาภาษาไทย 2) วิชา อัง กฤษ 3) วิ ช าวิ ท ยาศาสตร และ 4) วิ ช าคณิต ศาสตร เพื่อ ให เด็ ก มี ความรู ขั้น พื้ น ฐาน นํา ไปใช ประโยชนในตอนโตเปนผูใหญ เพื่อเปนการปูทางใหกับเด็ก ตั้งแตวัยประถม ใหมีความรูพื้นฐาน ตอมา ก็ไดชวนมหาวิทยาลัยเชียงใหม คณะศึกษาศาสตร เขารวมโครงการโดยมีโจทย คือ มีโรงเรียน จํานวน 14 โรงเรียน นักเรียน จํานวน 200 กวาคน โดยใชครูจากคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม มาเปนครูฝกสอน โดยใชรูปแบบเปนแบบกึ่งฝกสอน กึ่งใชหลักสูตรคูมือ โดยมีการเรียนการสอนของ โครงการ คือ คือ เรียน 8 วัน เขาคาย 3 วัน และฝกสอน 5 วัน เปาหมาย คือ ใหนักเรียนมีความรู พื้นฐานที่จะดํารงชีพในวันขางหนา หรือเรียนตอได จากที่เริ่มทําโครงการนี้มาก็ไดผลตอบรับดี แตตอง มีการรวมมือจากหลายสวน ปนี้ (พ.ศ. 2555) ก็จะมีการเสนอโครงการนี้ตอ โดยการกําหนดใหได โครงการในระยะ 5 ป หรือเปนไปไดก็อยากใหไดเปนโครงการในระยะ 10 ป งบประมาณโครงการที่ ผานมากวาใชเงินงบประมาณ 400,000 บาท 2.2.3 โครงการมอบศูนยการเรียนรูสูชุมชน โครงการมอบศู น ยการเรียนรูสูชุมชน ณ โรงเรีย นบานน้ําจุน อําเภอจุ น จั งหวัด พะเยา ในวันพุธที่ 13 ตุลาคม 2553 กรรมการบริหารบริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด (นาย วิสุทธิ์ รัชตสวรรค) ไดสงมอบศูนยการเรียนรูสูชุมชนและอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหกับทาง โรงเรียนบานน้ําจุน โดยรับมอบใหกับรองผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พะเยา เขต 2 (นายโกวิท บวรศักดิยุต) และมอบอุปกรณสารสนเทศอีก 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนบาน เวียงลอ และโรงเรียนบานศรีเมืองชุม ซึ่งรวมมูล คากวาสองแสนสี่หมื่น บาท เพื่อสงมอบตอใหกับ ตัวแทนของโรงเรียนตางๆ โดยในงานไดรับเกียจติจากนายอําเภอจุน (นายภูมิชัย ตะพานแกว) เปน ประธานในพิธีเปด และทําพิธีเปดปายศูนยการเรียนรูสูชุมชน ซึ่งศูนยการเรียนรูสูชุมชนและอุปกรณที่ บริษัทมอบใหโรงเรียนบานน้ําจุน ถือเปนประโยชนในการพัฒนาการเรียนรูแกโรงเรียนและชุมชนได เปนอยางดี โดยที่กิจกรรมดานการเสริมสรางการเรียนรู พัฒนาคูสังคมไทยเพื่อลูกหลานเกษตรกร ใน การจัดกิจกรรมมอบศูนยการเรียนรูและอุปกรณคอมพิวเตอร ใหกับโรงเรียนบานน้ําจุน อําเภอจุน จังหวัดพะเยา มูลคา 225,000 บาท เพื่อใหความรูแกลูกหลานเกษตรกร 2.2.4 กิจกรรมการจัดงาน “วันผักกาดเขียวปลี 53” กิจกรรมการจัดงาน “วันผักกาดเขียวปลี 53” โดยบริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด รวมกับองคการบริหารสวนตําบลสันสลี อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย รวมจัดงาน “วัน ผั กกาดเขี ย วปลี 53” ขึ้ น เป น ครั้ งแรกของประเทศไทย เมื่ อ วั น ที่ 15 ตุ ล าคม 2553 ณ ที่ ทําการ


87 องคการบริหารสวนตําบลสันสลี อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย โดยผูวาราชการจังหวัดเชียงราย (นายสมชัย หทยะตันติ) เปนประธานในพิธีเปด”งานวันผักกาดเขียวปลี 53” ซึ่งถือเปนแหลงปลูก ผักกาดเขียวปลีที่ดีแหงหนึ่งของประเทศ และไดมอบอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศ มูลคา 56,000 บาท ใหกับโรงเรียนทาศาลา อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย โดยในงานไดมีหนวยงานภาครัฐ และเอกชนรวมออกราน และบริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด ไดรวมออกรานขายของ และจัด นิทรรศการทางการวิชาการ โดยมีจํานวนผูเขาชมงานและรวมกิจกรรม 3,000 กวาคน งบประมาณ 1,000,000 บาท 2.2.5 โครงการ “ใหความรูแกนักเรียน นักศึกษา และนักวิจัย” โครงการ “ใหความรูแกนักเรียน นักศึกษา และนักวิจัย” บริษัทไดดําเนินกิจกรรม ดานการเสริมสรางการเรียนรูพัฒนาคูสังคมไทยเพื่อนิสิตนักศึกษา และสถาบันการศึกษา โดยผูบริหาร รั บ เป น อาจารย พิ เ ศษบรรยายความรู ก ารบริ ห ารให กั บ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาไทย คณะ วิ ศ วกรรมศาสตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิท ยาลั ย เชีย งใหม และเป น กรรมการเขา ร ว มพัฒ นา หลักสูตรเชิงวิชาการ ป 2554 จํานวน 245 คน และกิจกรรมดานการเสริมสรางการเรียนรู พัฒนาคู สังคมไทยเพื่อเพื่อหนวยงานภาครัฐและเอกชนศึกษาดูงาน โดยในป พ.ศ. 2553 ไดบริหารหนวยงาน เขาเยี่ยมชมดูงานโรงงาน ประกอบดวย องคกร หนวยงานภาครัฐและเอกชนเขาศึกษาดูงาน จํานวน 245 คน สถาบันการศึกษาเขาศึกษาดูงาน 6 สถาบัน 8 คณะ จํานวน 1,033 คน นักศึกษาเขารับการ ฝกงาน 16 สถาบัน จํานวน 49 คน 2.2.6 โครงการ “พัฒนาบุคลากรใหมีประสิทธิภาพดวยการเสริมสรางการเรียนรูและมี คุณภาพชีวิต (HAPPY 8)” โครงการ “พัฒนาบุคลากรใหมีประสิทธิภาพดวยการเสริมสรางการเรียนรู และมี คุณภาพชีวิต (HAPPY 8)” เปนการดําเนินกิจกรรมใหกับพนักงานของบริษัท เพอการดําเนินชีวิตอยาง มีคุณคาและเปนสุข (Quality of Work Life) เปนโครงการที่มีวัตถุประสงคเพื่อมุงใหพนักงานมี ทัศนคติที่ดีตอการทํางานและองคกร เพื่อมุงใหพนักงานมีการดํารงชีวิตที่ดีและมีความสุข และเพื่อมุง ใหพนักงานทํางานอยางปลอดภัย โดยมีเครื่องมือ Happy Workplace 8 Happy คือ 1) Happy Body 2) Happy Heart 3) Happy Society 4) Happy Relax 5) Happy Brain 6) Happy Soul 7) Happy Money และ 8) Happy Family โดยบริษัทไดมีการจัดกิจกรรม Happy Workplace 8 Happy ซึ่งประกอบดวย 1) Happy Body การมีสุขภาพรางกายและจิตใจที่ดี โดยจัดกิจกรรมการแขงขัน กีฬาสัมพันธ การตรวจสุขภาพประจําป การจัดกิจกรรมงดสูบบุหรี่


88 2) Happy Brain เปนการแสวงหาความรู ดวยกิจกรรมการศึกษาดูงานระหวาง หนวยงาน การอบรมใหความรูดานวิธีการทํางานประจําวัน การอบรมกิจกรรม TOM QCC และ KAIZEN เปนตน 3) Happy Heart การมีน้ําใจงาม มีความเอื้ออาทร โดยมีการรวมกิจกรรมวันเด็ก การรวมบริจาคโลหิต การคัดเลือกพนักงานดีเดน การแจกรางวัล QCC และ KAIZEN 4) Happy Money การดําเนินชีวิตอยางพอเพียงปราศจากหนี้ เปนกิจกรรม สงเสริมการออมเงินโดยเจาหนาที่ธนาคารใหคําปรึกษาแนะนํา และบริษัทจัดใหมีเงินกูใหพนักงานโดย ไมมีดอกเบี้ย 5) Happy Relax การรูจักผอนคลาย โดยจัดใหมีกิจกรรมการประกวดรองเพลง การจัดงานทําบุญประจําป การจัดกิจกรรมประจําเดือนชวงพักกลางวัน 6) Happy Soul การดําเนินชีวิตใหจิตใจสงบโดยใชธรรมะ ดวยการจัดกิจกรรม ทําบุญตักบาตร การจัดกิจกรรมฟงเทศน ฟงธรรม จัดโครงการใหพนักงานไปฝกจิตใจใหสงบโดยใช ธรรมะในวัด 7) Happy Society การมีความสามัคคีตอกันในสังคม เปนการจัดกิจกรรม โครงการ CSR เพื่อสังคม เชน การรับนักศึกษาสถาบันตางๆ เขาฝกงาน เปดใหหนวยงานทั้งภาครัฐ เอกชนเขาเยี่ยมชมโรงงาน เปนตน 2.2.7 โครงการและกิจกรรมดานประเพณีของสังคมและชุมชน โครงการและกิจกรรมดานประเพณีของสังคมและชุมชน โดยบริษัทไดจัดกิจกรรม เปนเจาภาพทอดกฐินสามัคคีวัดในพื้นที่สาขาของบริษัท การจัดกิจกรรมวัดเด็กใหโรงเรียนรอบโรงงาน การรวมงานแขงขันกีฬาของชุมชน กิจกรรมการถวายเทียนพรรษา กิจกรรมวันแมแหงชาติ วันพอ แหงชาติ และอื่นๆ 2.2.8 โครงการและกิจกรรมดานธรรมาภิบาลและสิ่งแวดลอม โครงการและกิจกรรมดานธรรมาภิบาลและสิ่งแวดลอม บริษัทไดรวมกิจกรรมลด โลกรอนตําบลแมแฝกใหม อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม ในโครงการปลูกตนไมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวันสิ่งแวดลอมโลก รวมกับเทศบาลตําบลเจดียแมครัว อําเภอ สันทราย จังหวัดเชียงใหม การรวมสมทบทุนในการสรางตูยาม การรวมขุดลอกคูคลอง


89

3. ปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะและขอคิดเห็นเพิ่มเติม ผลการศึกษา การศึกษาการมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาจังหวัดเชียงใหม และสาขาอําเภอเวียงปาเปาจังหวัด เชียงราย จากการเก็บขอมูลดวยวิธีการสัมภาษณเชิงลึกผูบริหารบริษัท (Inept Interview) บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาโรงงานเชียงใหม จํานวน 1 คน และสาขาโรงงานเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย จํานวน 1 คน และการสนทนากลุม (Focus Group) จําแนกเปน 2 กลุม คือ การ สนทนากลุมผูบริหาร เจาหนาที่ พนักงานของบริษัท จํานวน 15 คน และการการสนทนากลุมผูมีสวน ไดสวนเสียของบริษัท ซึ่งประกอบดวย ผูนําทองที่ ทองถิ่น แกนนํา ประชาชนที่มีสวนรวมโครงการ ของบริษัท จํานวน 15 คน ไดมีขอเสนอแนะ ปญหา อุปสรรค และขอคิดเห็นเพิ่มเติม ดังนี้ 3.1 ขอเสนอแนะบริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาจังหวัดเชียงใหม ขอเสนอแนะ ปญหา อุปสรรค และขอคิดเห็นเพิ่มเติม ผลการประชุมสนทนากลุม ยอยบริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาจังหวัดเขียงใหม ซึ่งมีผูรวมใหขอมูลประกอบดวย ผูจัดการโรงงาน หัวหนาฝาย หัวหนาแผนก และเจาหนาที่ รวม 15 คน ดําเนินการสนทนาโดยทีมวิจัย สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม ไดมีขอเสนอแนะและขอคิดเห็นเพิ่มเติม ดังนี้ ผลการดําเนินงานของบริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด จนถึงปจจุบัน (2555) เปนปที่ 55 โดยการดําเนินงานดานการเกษตร บริษัทไดใชวัตถุดิบที่มีอยูในประเทศ ใชแรงงานคนใน ประเทศ ผลิตภัณฑที่เปนสินคาหลัก คือ ผักกาดดอง สวนดานอื่นๆ จําพวกพืชผักตางๆ เปนการผลิต ตามฤดูกาล เชน ชวงตนปในเดือนมกราคม ก็จะเปนพวกเห็ดฟาง ชวงเดือนมีนาคมเปนขาวโพดหวาน ชวงเดือนพฤษภาคมเปนลิ้นจี่ ทําตามฤดูกาลของผลไม และมีการทําอาหารเจ โดยใชพืชผักในทองถิ่น สวนโรงงานอีกที่หนึ่ง บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัดสาขาจังหวัดชุมพร จะผลิตเงาะ ปลา กระปอง และผลไมรวมในบางฤดูกาล งานดานการสงเสริมผักกาดเขียวปลี ไดมีการสงเสริมในการทําเพาะปลูก 6 เดือน โดยไดมีการอบรมเกษตรกร ซึ่งจํานวนเกษตรกรในการปลูกผักกาดเขียวปลี มีอยูในพื้นที่ 4 จังหวัด ภาคเหนือ คือ จังหวัดเชียงราย พะเยา ลําปาง และนาน พื้นที่รวม จํานวน 3,500 ไร จํานวนเกษตรที่ เปนสมาชิกประมาณ 1,200-1,300 คน การอบรมเกษตรกรใชเวลา 20 วัน โดยใชพนักงานในบริษัท แผนกตางๆ ซึ่งเปนผูที่มีประสบการณในการอบรมรวม 10 กวาป เริ่มแรกเลยเนื่องจากเกษตรกร มี ปญหาผลผลิตทางการเกษตรที่ลนตลาด ราคาตกต่ํา เกิดความเสียหายมาก โดยในอบรมชวงแรกไม คอยมีเกษตรกรใหความสนใจเทาที่ควร ตอมาบริษัทไดมีการเพิ่มกิจกรรมเขาไปในการอบรมโดยมีการ


90 รวมมือกับบริษัทภายนอก ประชาชนและเกษตรกรจึงใหความรวมมือมากขึ้นมา โดยบริษัทไดมีการจัด แนวคิดใหม คือ การเขาถึงประชาชนใหมากขึ้นโดยการจัดกิจกรรม เชน คาราวานตะเวนไปอบรมให คนในหมูบาน การแจกรางวัลใหคนในหมูบาน เริ่มมีการปรับปรุงการอบรมใหม ปรับแผนการพัฒนา ใชหลักของในหลวง คือ “การเขาใจ เขาถึง และพัฒนา” พอเริ่มเขาถึงคนในหมูบานเริ่มมีความคุนเคยกันดีขึ้น ก็ใหมีการอบรมใหความรูใน การปลูก แตการปรั บ เปลี่ ย นการปลูก ตามแนววิช าการใหมๆ ยังไมเปนที่ย อมรับ ตอมาจึงมีการ ทดลองทําแปลงสาธิตขึ้น มา โดยใชการปลูกแบบหลักวิชาการ โดยชี้ใหเห็นวาผัก 1 ตน ตองกิน อาหารเท า ไร ต อ งใส ปุ ย เท า ไร ให น้ํ า เท าไร ดู แ ลอย างไร เป น ตน จึง ไดเ กิ ด มี การรวมตัว กั น ของ เกษตรกร ประมาณ 500 ราย ทางบริษัทจึงไดจางเขาปลูกตามวิธีของบริษัทโดยมี 4 ขอ เปนแนวทาง คือ 1) ระยะเวลาปลูก 2) พันธที่ใชปลูก 3) สูตรของปุยที่ใช และ 4) ใชปุยอินทรีย และบริษัทไดมีการ จูงใจเกษตรกรดวยวิธีตางๆ เชน มีการเปดชิงโชค การรับรางวัล เปนตน ผลการดําเนินงาน พบวา ยังคงมีปญหา เนื่องจากเกษตรกรไมยอมทําการปลูกพืชที่แนะนํา และวิธีที่แนะนําตางๆ ยังไมเปนที่ ยอมรับของเกษตรกร ตอมาจึงมีโครงการนกพิราบอาสาขึ้นมา ทําการเปดหลักสูตรสอนวิชาพื้นฐานใหกับ ลูกหลานเกษตรกรในโรงเรียน ซึ่งเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โดยวิชาที่สอนนั้น ประกอบดวย 4 วิชาการหลัก คือ 1) วิชาภาษาไทย 2) วิชาอังกฤษ 3) วิชาวิทยาศาสตร และ 4) วิชาคณิตศาสตร เพื่อใหเด็กมีความรูขั้นพื้นฐาน นําไปใชประโยชนในตอนโตเปนผูใหญ เพื่อเปนการปูทางใหกับเด็ก ตั้งแตวัยประถม ใหมีความรูพื้นฐาน ตอมาก็ไดชวนมหาวิทยาลัยเชียงใหม คณะศึกษาศาสตร เขารวม โครงการโดยมีโจทย คือ มีโรงเรียน จํานวน 14 โรงเรียน นักเรียน จํานวน 200 กวาคน โดยใชครูจาก คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม มาเปนครูฝกสอน โดยใชรูปแบบเปนแบบกึ่งฝกสอน กึ่งใช หลักสูตรคูมือ โดยมีการเรียนการสอนของโครงการ คือ คือ เรียน 8 วัน เขาคาย 3 วัน และฝกสอน 5 วัน เปาหมาย คือ ใหนักเรียนมีความรูพื้นฐานที่จะดํารงชีพในวันขางหนา หรือเรียนตอได จากที่เริ่มทํา โครงการนี้มาก็ไดผลตอบรับดี แตตองมีการรวมมือจากหลายสวน ปนี้ (พ.ศ. 2555) ก็จะมีการเสนอ โครงการนี้ตอ โดยการกําหนดใหไดโครงการในระยะ 5 ป หรือเปนไปไดก็อยากใหไดเปนโครงการใน ระยะ 10 ป งบประมาณโครงการที่ผานมากวาใชเงินงบประมาณ 400,000 บาท กิจกรรมการชวยเหลือทางสังคมในชวงป พ.ศ. 2554 บริษัทไดมีกิจกรรมการทําบุญ มากมาย มีการมอบหองเรียนรู มีคอมพิวเตอร เครื่องฉายโปรเจกเตอร ที่บริจาคไปใหกับโรงเรียน ซึ่ง เป นประโยชนมากมาย ตั วอยา งเชน ชาวบานมาใชป ระโยชนจ ากอุปกรณที่มอบไป เปน ตน และ นอกจากนั้นที่ผานมาบริษัทยังมีการเปดใหบุคคลภายนอกเขามาศึกษาในบริษัท ไดเปดใหมีนักศึกษา มาฝ กประสบการณ และยั งออกไปอบรม บรรยายใหกั บ ที่ อื่น ๆ ด ว ย โดยที่ ไดรั บ เชิญ ให เป น


91 ผู ทรงคุ ณวุ ฒิ จ ากมหาลั ย ราชมงคล ใหออกแบบหลักสูตร ใหเขากับ ธุร กิจ มีวิธีคิดต างๆ นําไปใช ประโยชนได นําไปใชเปนเรื่องเปนราวได และบริษัทยังใหความสําคัญกับกลุมพนักงาน มีการสอนจริง ปฏิบัติจริง ทําใหรายไดเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง หลังจากมีการอบรมใหกับพนักงาน โดยไดมีการนําเอา กิจกรรมของ สสส. มาดําเนินงาน ชื่อโครงการ Happy 8 Happy Workplace ความสมดุลของการใช ชีวิต และการทํางาน 8 ประการ โดยไดมีการจัดกิจกรรมทุกเดือนใหกับพนักงาน ทําใหพนักงานไม เครี ย ดกั บ การทํ า งาน โดยกิ จ กรรมมี ก ารหมุ น เวี ย นไปในแต ล ะแผนก ทํ า ให พ นั ก งานเกิ ด ความ สนุกสนาน ผอนคลาย ไดผลตอบรับที่ดี สวนกิจกรรมดานอื่นๆ ที่รวมกับชุมชน ไดมีการจัดโครงการ มากมาย เชน การจัดกีฬาตางๆ งานทองถิ่น เปนตน ผลที่ไดรับ เกิดความสัมพันธระหวางบริษัทกับ ชุมชนดี ปญหาพนักงานลาออกลดลง คาจางตอหัวอยูที่ 350-400 บาท ดานการจัดสวัสดิการระของบริษัทที่ใหกับพนักงาน พบวา บริษัทไดมีนโยบายตอ การจัดสวัสดิการใหกับพนักงาน คือ บริการดีมีมาตรฐาน ใหการศึกษาตอ ประกันสังคม มีหอพักใหกับ พนักงาน (ฟรี) กองทุนใหกูยืมไมมีดอกเบี้ย คาแรงขั้นต่ํา 251 บาท ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม สําหรับ เรื่องการขึ้นคาแรงขั้นต่ําตามนโยบายรัฐบาล นั้นทางบริษัทไดมีแนวทางการดําเนินการ เปน 2 วิธีการ คือ 1) การแบ งระดั บ งานรั บ ผิ ดชอบ เพราะบริษัทไม ไดตองการจางคาแรงขั้น ต่ํา แตจ ะมีงานที่ มี ความสําคัญ คาจางขึ้นกับระดับความรับผิดชอบของพนักงาน และ 2) บริษัทมองวาคาครองชีพใน พื้นที่บริเวณรอบโรงงานนั้น คาครองชีพไมไดขึ้นตามคาเฉลี่ยของประเทศไทย จึงไมไดสงผลกระทบแต อยางใด สําหรับนโยบายของบริษัทในการที่จะเพิ่มผลผลิตและลดตนทุน ไดมีแนวทางการ ดําเนินงานโดยจะมีการลดคนงาน และนําเทคโนโลยีเขามา แตไมใชการนําคนออก แตจะเพิ่มใหคนรับ หนาที่ผลิตควบคูกับเครื่องจักร และเพิ่มอัตราการผลิตใหเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับคําสั่งซื้อ (Order) ที่ เพิ่มมากขึ้น ถามีเครื่องจักรเขามา พนักงานของบริษัททุกคนก็ตองเปนผูเชี่ยวชาญในดานการผลิต และชํานาญงาน ในดานการควบคุมเครื่องจักรของตน และทํางานเขากับเครื่องจักรไดดี สวนเรื่อง คาแรงขั้นต่ําตองไดสูงกวาที่รัฐบาลกําหนด และตองเปนแรงงานฝมือที่มีคุณภาพ ดานการจัดสวัสดิการของพนักงานทางบริษัทไดมีการสงเสริมใหพนักงานมีโอกาส การเรีย นรู สว นหนึ่ งได มีการเรี ยนรู ในรูป แบบการอบรม อีกสว นหนึ่งเปน การเรียนรูจ ากสภาบัน การศึ กษาที่ เ ป นหลั กสู ตร เช น พนักงานที่จ บการศึกษาระดับ ปริญ ญาตรี ทางบริษัทมีการพัฒ นา บุคลากร โดยถาจบในระดับปริญญาตรีแลว ทางบริษัทก็จะมีใหทุนเรียนตอในระดับปริญญาโท โดย อนุ ญ าตให ล าไปเรี ย นในช ว งวั น เสาร และวั น อาทิตย ในสว นพนัก งานที่ ยั งไม จ บการศึ กษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี บริ ษัทก็มีการผลักดั น ใหไปเรีย นการศึกษานอกโรงเรีย น (กศน.) เพื่อศึกษาตอจนจบ


92 ปริญญาตรี ตามลําดับ สัดสวนพนักงานของบริษัท พบวา เปนคนในพื้นที่เปนสวนใหญ คิดเปนรอยละ 90 สวนที่ที่เหลือเปนพนักงานที่มาจากที่อื่น เชน ยายมาจากบริษัทสํานักงานใหญ เปนตน ความคิ ดเห็ น และขอเสนอตอแนวทางการดําเนิน งานโครงการและกิจ กรรมการ ชวยเหลือสังคม (CSR) ของบริษัท กับการที่เปดเสรีอาเซียน ป 2558 ทางบริษัท ไดใหความเห็นและ ขอเสนอกลาวคือ เนื่องจากสินคาของบริษัทที่ขายอยูทั่วโลกในปจจุบัน สัดสวนที่ขายสวนใหญก็ขาย อยูในกลุมอาเซียนอยูแลว บริษัทก็มองวา สิ่งที่ตองทํา คือ ตองการพัฒนาดานมาตรฐานการผลิ ต ตองการทําใหลูกคาพีงพอใจ และถือเปนการพัฒนาสังคม เพราะจริงๆ แลวที่ทําอยูทุกวันนี้ มองจุด ใหญ คือมองอาเซียน เพราะอยางนอยอาเซียนเปนเขตเศรษฐกิจ สินคาเราเปนเบอรหนึ่งในประเทศ ไทย ความที่เปนเบอรหนึ่งของประเทศไทย ประเทศไทยผลิตอาหาร ก็เปนเบอรหนึ่งของอาเซียน เพราะนั้นพอเปนอยางนี้ประเทศไทยก็คืออาเซียน ในอาเซียนมี สิงคโปร มาเลเชีย อินโดนีเชีย เปน มาตรฐาน เพราะฉะนั้น 3 ประเทศนี้ จึงเปนลูกคาคนสําคัญของบริษัท ซึ่งเขาเปนสากล เขาก็จะมอง องคกรที่เปนสากล ถาเราผลิตคุณภาพดี แตไมมีภาพของพนักงาน สังคม ชุมชน เขาจะไมเห็นเราเลย เพราะฉะนั้น ตัวนี้สําคัญมาก ดังนั้นในการการเปดเสรีอาเซียนกับแรงงานไทย บริษัทเห็นวา ใน ปจจุบันนี้ทางบริษัทเห็นวาแรงงานประเทศไทยเราดีอยูแลว แตขึ้นอยูกับฝมือของแตละคน คือ ถาใคร ฝมือดีก็จ ะไปเปนแรงงานประเทศอื่น แตพื้น ฐานประเทศไทยไมไดพัฒนาใหคนมีฝมือดีขึ้น นี้เปน ปญหาของไทย ในขนาดที่คนไทยถูกวางไววาเปนแรงงานฝมือดี แตพอไปจริงฝมือไมถึง ก็จะทําใหได คาจางไมคุมคา จึงเปนผลใหคนไทยจะเสียเปรียบตรงจุดนี้นี้ 3.2 ขอเสนอแนะบริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาอําเภอเวียงปาเปา จังหวัด เชียงราย ขอเสนอแนะ ปญหา อุปสรรค และขอคิดเห็นเพิ่มเติม ผลการประชุมสนทนากลุม ยอยบริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาอําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย ซึ่งมีผูรวมให ขอมูล ประกอบดว ยผู จั ดการโรงงาน หัว หนาฝาย หัวหนาแผนก ครู ผูป กครอง เกษตรกรสมาชิก โครงการ เจาหนาที่ผูประสานงานศูนยพัฒนาสังคมและสวัสดิการ หนวยที่ 12 จังหวัดเชียงราย รวม 15 คน ดําเนินการสนทนาโดยทีมวิจัย สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม ไดมีขอเสนอแนะและขอคิดเห็นเพิ่มเติมดังนี้ บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย โรงงาน แหงนี้ไดกอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2533 เดิมเปนโรงงานเกา ซึ่งเปนโรงงานดองแตงกวา บริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด ไดทําการชื้อตอโรงงานทั้งหมดเปนโรงงานสาขาเวียงปาเปา มีพนักงานทั้งหมด จํานวน 200 คน แยกเปนพนักงานแบบรายวัน และพนักงานจางเหมางาน สวนใหญคนงานที่ทําเปน คนงานในพื้นที่ คิดเปนรอยละ 90 พบวา ยังมีปญหาเรื่องคนงานเขาๆ ออกๆ ตลอด เนื่องจากปญหา


93 คาแรงที่ใหราคาตางกัน ทําใหคนงานเลือกที่จะทํางานอื่นๆ หรือเปลี่ยนงานบอยๆ และที่คนงานที่เขา ออกบอย มีปญหาเกี่ยวกับระบบประกันสังคมอยู สวนแรงงานตางดาวที่มาทํางาน จะมีในสวนของคน เหมางาน จะเปนแรงงานที่แตกตางกันบางเปนบางสวน และทั้งหมดเปนแรงงานที่ถูกกฎหมายแลว รูปแบบการชวยเหลือสังคม (CSR) ของบริษัท ซึ่งความเปนมาของบริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาโรงงานตําบลสันสลี อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย ที่มาและการ จัดตั้งโรงงานเริ่มจากการที่ทางบริษัทสํานักงานใหญ ตองการตองการขยายสาขาเพื่อปอนวัตถุดิบการ ผลิตอาหารกระปอง ไดเขาดําเนินการขยายงานโดยไดจัดตั้งโรงงานสาขา บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด ณ ตําบลสันสลี อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย ในป พ.ศ. 2538 และไดมีโครงการ การสงเสริมการปลูกผักกาดเขียวปลีในพื้นที่ขึ้น ชาวบานและเกษตรกรสวนในพื้นที่เดิมมีอาชีพดาน เกษตรกรรม คือ การปลูกผักกาด ขาวโพด อยูแลว เมื่อทางบริษัทเขามาดําเนินงานในพื้นที่ ไดมีการ จัดทําโครงการสงเสริมการปลูกผักกาดเขียวปลีในพื้นที่ขึ้น โดยมีกระบวนการการดําเนินงานโครงการ สงเสริมการปลูกผักเขียวปลี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําไปเปนวัตถุดิบในการทําผักกาดดองกระปอง มี กระบวนการ ดังนี้ กระบวนการการดําเนินงานโครงการและกิจกรรมดานการมีสวนรวมชวยเหลือสังคม ของบริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาโรงงานตําบลสันสลี อําเภอเวียงปาเปา จังหวัด เชียงราย ไดมีขั้นตอน กระบวนการดําเนินงาน ดังนี้ 1. การประกาศรั บ สมั ค รสมาชิ ก ร ว มโครงการการปลู ก ผั ก กาดเขี ย วปลี มี ก าร ลงทะเบียนเปนสมาชิก มีการสํารวจตรวจสอบพื้นที่การปลูก โดยรับสมัครสมาชิกที่มีพื้นที่ตั้งแต 1 ไร ขึ้นไป 2. การประชาสัมพันธโครงการผานความเห็นชอบจากผูนําทองที่ และหนวยงาน องคกรปกครองสวนทองถิ่น (องคการบริหารสวนตําบลสันสลี) โครงการ “พิราบรวมพลคนปลูกเขียว ปลี” และโครงการ “นกพิราบอาสาเสริสรางปญญา พัฒนาเยาวชนไทย” 3. การสนับสนุนกิจกรรมดานอาชีพใหกับเกษตรกรที่รวมเปนสมาชิก โดยถือเปน นโยบายของบริษัท ไดใหการสนับสนุนวัตถุการผลิต สินเชื่อ เมล็ดพันธุ ปุยอินทรีย การใหความรู สมาชิกเกษตรกรที่ร วมโครงการ “พิร าบรวมพลคนปลูกเขียวปลี ” โดยทางบริษัทไดจัด เจ าหนาที่ สงเสริมเกษตรไฟใหความรู การแลกเปลี่ยนความรู และรวมสรุปบทเรียน รวมทั้งการจัดทําโครงการ “นกพิร าบอาสาเสริ สร า งป ญ ญา พัฒนาเยาวชนไทย” กลุมเปาหมายเปน นักเรีย นในโรงเรีย นชั้ น ประถมปที่ 6 เปนหลักสูตรในโรงเรียนเปนกิจกรรมที่เนนเด็กเรียนรูไปสูผูปกครอง โดยไดมีการบูรณา การรวมกับสถานบันการศึกษา มหาวิทยาลัย โรงเรียนในพื้นที่ตําบลสันสลี จํานวน 6 แหง กลุมผูนํา ทองที่ และทองถิ่น โดยมีรูปแบบของกิจกรรม เปนกิจกรรมการเขาคาย จํานวน 3 วัน 2 คืน กิจกรรม การสินเสริมในวันเสารและวันอาทิตย เพื่อเตรียมการสอบโอเน็ต และการสนับสนุนและรวมกิจกรรม


94 ตางๆ ของบริษัทในโอกาสวันสําคัญทางประเพณี วัฒนธรรมของชุมชน เชน วันปใหมมง วันเด็ก เปน ตน 4. การดําเนินกิจกรรมมีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง มีการใชเทคโนโลยีสมัยใหม สนับสนุนเกษตรกรในโครงการ เชน การคลุมพลาสติก การใชปุยอินทรียแทนการใชปุยเคมี และการมี การตรวจสอบสารเคมีในพื้นที่ปลูก เปนตน โดยในสวนของความสัมพันธกับชุมชนนั้น บริษัทไดมีสวนที่เกี่ยวพันธกับชุมชน หรือ สวนอื่นๆ เปนการดําเนินกิจกรรมดาน CSR คือ กิจกรรมการพัฒนาเกษตร กิจกรรมการพัฒนา เยาวชน โดยในปแรกที่ไดทําเรื่องของอาชีพและรายไดของเกษตรกรในพื้นที่ โดยตองการใหคนใน พื้นที่ไดมีอาชีพที่มั่นคง โดยที่แตเดิมทางบริษัทไดมีโควตาการเกษตรในพื้นที่อําเภอเวียงปาเปา จังหวัด เชียงราย อําเภอวังเหนือ อําเภองาว จังหวัดลําปาง ซึ่งเปนพื้นที่หางไกล และบริษัทไดพยายามลด โควตาในพื้นที่ในอําเภอที่ไกลลงมา และจัดทําโครงการในพื้นที่ใกลๆ และเสริมกิจกรรมอีกหลายๆ อยางเขามาในพื้นที่ เพื่อใหเกษตรกรที่เปนสมาชิกไดมีอาชีพมั่นคงมากขึ้น โดยในชวง 2 ป บริษัทได เปดรับสมาชิกใหม ซึ่งไดมีการประชาสัมพันธโครงการใหกับเกษตรกรในพื้นที่ทราบ โดยที่เกษตรกรที่ มีความประสงคที่อยากจะปลูกผักกับโรงงาน ทางโรงงานจะใหสิทธิแกเกษตรกรในพื้นที่กอน เพื่อเปน การลดบทบาทของโบรกเกอร โดยในสวนของพื้นที่อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย ไดมีการบริหาร โควตาการเกษตรมีทั้งที่เปนเกษตรกรรายยอยในชุมชน และของโบรกเกอร โดยในพื้นที่บริเวณชุมชน ที่อยูใกล ทางบริษัทไดมีนโยบายในการสงเสริมเกษตรกรในพื้นที่โดยการใหโควตากับเกษตรกรราย ยอยมากกวาโบรกเกอร และทางบริษัทไดมีการประกันราคาผลผลิตใหกับเกษตรกรรวมโครงการ โดย มีวิธีการในการสงเสริม กลาวคือ บริษัทไดมีการสนับสนุน โดยไดใหเมล็ดพันธุพืช มีการใหความรู มี การศึกษา มี การทดลอง มีการเขา ไปใหคําแนะนําตางๆ และใหความรูแกเกษตรกรสมาชิกที่รว ม โครงการ มีการสรุปถอดบทเรียนรวมกันระหวางบริษัทกับสมาชิก เพื่อทราบปญหา หาขอมูล และ หาทางแกปญหารวมกัน รวมทั้งไดมีการประเมินผลทุกป โดยไดมีการใหคะแนน เปนเกณฑตางๆ เชน การตรงตอเวลา ปริมาณ คุณภาพ เปนตน ในสวนผลผลิตที่จะมาสงโรงานตองมีการคัดเกรด โดยทาง โรงงานได มีการพู ด คุ ย กั น ตั้ งแต ต น ที่ เริ่มรับ ชื้อ แตผ ลที่เกิดขึ้น ก็จ ะยั งมี พบวามีปญ หาตามมา คื อ ผลผลิตผิดสเปกที่กําหนดไว ผลผลิตไม ไดมาตรฐาน โดยในสวนการการคัด กรองที่ใชเปนระบบ สายพานคัด ผลที่เกิดยังพบปญหา คือ มีขยะมาก ตีกลับ ไมไดผลผลิตตามสเปกที่กําหนดก็ตีกลับ มี การตัดเปอรเซ็นตามระบบ และบริษัทไดแกปญหาดวยการพูดคุยกันเกษตรกร จากปญหาที่เกิดขึ้นทํา ใหเกษตรกรกรสามารถเลือกที่จะนําสงใหกับบริษัทหรือบริษัทคูแขงอื่นๆ ได รวทั้งไดมีการหาขอสรุป รวมกัน โดยไดมีการสรุปถอดบทเรียนรวมกันกับทางโรงงาน ผลขอสรุปที่ได ไดมีการทําผลิตภัณฑอื่นๆ เสริมอีก คือ แตงกวาญี่ปุน หัวไซเทา เห็ดแชมปญอง สวนตัวผักกาคเขียวปลีนั้นยังคงเปนตัวผลิตภัณฑ หลักของโรงงานตอไป


95 ผลการดําเนินงานโครงการ ผลที่ไดรับการจากดําเนินโครงการทั้งสองโครงการ พบวา บริษัทไดใหความรูแกผูปกครอง มีการสนับสนุนกิจกรรมแกเด็ก เกิดการบูรณาการกับภาคีใน พื้นที่ ประกอบดวย บริษัท โรงเรียน ชุมชน องคการบริหารสวนตําบล และหนวยงานภาครัฐในพื้นที่ รวมทั้งไดเปนสถานที่ฝกงานของนักศึกษาที่รวมโครงการ ผลการดําเนินงานโครงการ “นกพิราบอาสาเสริสรางปญญา พัฒนาเยาวชนไทย” พบวา ผลที่เกิดกับตัวนักเรียนที่รวมโครงการ คือ นักเรียน สามารถสอบผาน O-Net ไดมากขึ้น มีคา คะแนนการสอบโอเน็ตสูงขึ้นทุกภาควิชา และคาคะแนนเฉลี่ยการสอบโอเน็ตของนักเรียนสูงกวาคา คะแนนในระดับเขต จนเปนที่สนใจของอีกหลายโรงเรียนในพื้นที่ มีความตองการเขารวมโครงการมาก ขึ้น และอยากใหทางบริษัทไดมีการดําเนินการทุกปอยางตอเนื่อง ผลจากเด็กที่เขารวมกิจกรรมของ โครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดี ผูปกครองมีความสุข และไดเกิดการสรางโอกาสให เกิดการเรียนรูแบบพี่สอนนองขึ้น และกลาวไดวาเปนบริษัทแรกที่ทําโครงการนี้ รวมทั้งเด็กมีความ สนใจอยากเขารวมโครงการจํานวนเพิ่มมากขึ้น และผูปกครองที่เปนคนงานและสมาชิกโครงการกลาว วาเด็กไดรับโอกาสการเรียนรูเพิ่มจากบริษัทและกลาวไดวาเปนสวัสดิการอยางหนึ่งของบริษัทที่ทํา โครงการนี้ ผลที่ ก ารดํ า เนิ น งานโครงการ “พิ ร าบรวมพลคนปลู ก เขี ย วปลี ” พบว า มี ก าร ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเกษตรกรที่เคยใชปุยเคมีและสารเคมีในการทําการเกษตร เปนการใชปุย อิ น ทรี ย แ ละเลิ ก ใช ส ารเคมี เ พิ่ มมากขึ้ น ผลตอ ชุ ม ชน พบว า กลิ่น ยาฆ า แมลงได ห ายไปจากพื้ น ที่ การเกษตร เกษตรกรและผูรวมโครงการสามารถทําน้ําหมักชีวภาพไดเอง โรงเรียนที่รวมโครงการไดให นักเรียนปลูกผักเปนอาหารกลางวันได เกิดสัมพันธภาพที่ดีระหวางบริษัทกับชุมชน โรงเรียน องคการ บริหารสวนตําบล และองคกรตางๆ ในพื้นที่ไดดีขึ้น ขอดีและจุดเดน จากผลผลจากการดําเนินงานโครงการ “นกพิราบอาสาเสริสราง ปญญา พัฒนาเยาวชนไทย” พบวาจุดเดน คือ 1) ไดมีความสัมพันธที่ดีตอกันเกิดขึ้นของเด็ก ครู และ ผูปกครอง 2) การมีสวนรวมของครู ผูปกครอง ชุมชน ผูนําทองที่ (กํานัน ผูใหญบาน) และผูนําทองถิ่น (สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล) ที่ใหความรวมมือดี และมีบริษัทเปนกลไกกลางในการเชื่อมโยง การดําเนินงาน ปญหา และอุปสรรค จากผลจากการดําเนินงานโครงการ “นกพิราบอาสาเสริสราง ป ญ ญา พั ฒ นาเยาวชนไทย” พบว า ในพื้ น ที่ ตํ า บลสั น สลี อํ า เภอเวี ย งป า เป า จั ง หวั ด เชี ย งราย ประชากรส ว นใหญ เป น กลุ มชนเผา และมีทุกกลุมชาติพัน ธของบุคคลบนพื้น ที่สูง เด็กนักเรีย นใน โรงเรี ย นส ว นใหญ จึ งเป น เด็ ก กลุ มชาติพัน ธ (เด็ กชาวเขา) งบประมาณที่ไดรั บ การสนับ สนุน ดา น การศึกษาของโรงเรียนในพื้นที่มีนอย ผูปกครองสวนใหญไมมีเวลาดูแลลูกหลาน สวนปญหาทั่วไป


96 พบวา โครงการ “พิราบรวมพลคนปลูกเขียวปลี” พบวา ผลการดําเนินงานโครงการตางๆ ในพื้นที่ เกษตรกรในพื้น ที่ที่รวมโครงการสวนใหญการปรับ เปลี่ย นวิธีคิดคอนขางยาก ยังขาดกลไกการ ประสานงาน และยังขาดความเขาใจและความชัดเจนของโครงการ ขอเสนอแนะ จากผลจากการดําเนินกิจกรรมตามโครงการ “นกพิราบอาสาเสริสราง ปญญา พัฒนาเยาวชนไทย” ผลการใหขอมูลจากสนทนากลุมยอย พบวา การใหการสนับสนุนจาก รัฐบาล (กระทรวงศึกษาธิการ) ในการดําเนินงานกิจกรรมดานการศึกษามีงบประมาณที่สนับสนุนดาน การศึกษาของเด็ก มีงบประมาณนอย โดยไดมีขอเสนอแนะ ดังนี้ 1. อยากใหมีการทํางานดานการศึกษาแกเด็กและเยาวชนในพื้นที่โดยการที่ควร จะตองทํางานรวมกันกับภาคีในพื้นที่ (โรงเรียน บริษัท ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น หนวยงาน ภาครัฐ) โดยมีขอเสนอ คือ เห็นควรใหโรงเรียนทําโครงการเสนอตอศูนยพัฒนาสังคมหนวยที่ 12 จังหวัดเชียงราย (ศพส.12) ที่เปนหนวยงานที่รับผิดขอบการดําเนินงานโครงการการจัดสวัสดิการ สังคมบนพื้นที่สูง (Highland Model) เปนเจาภาพจัดประชุมรวมกับสถาบันการศึกษา โรงเรียน มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยแมโจ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคีการพัฒนา มีสวนรวม ในการวางแผนการพัฒนาดานการศึกษาของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ 2. ตองการครูดานภาษาอังกฤษ ควรใหความรูเกี่ยวกับโทษและพิษภัยจากสารเคมี แกเด็กในหองเรียน จากการที่ครูและนักเรียนไดมีกิจกรรมการออมในโรงเรียนอยูแลว จึงควรตอยอด การออมของนักเรียนสูการจดทะเบียนรับรองเปนองคกรสาธารณะประโยชน โดยประสานให ศูนย พัฒนาสังคมหนวยที่ 12 จังหวัดเชียงราย ประสานหนวยงานหลักไปใหความรูดานการออมและการจด ทะเบียนเปนองคกรสาธารณะประโยชนตอไป รวมทั้งการใหความรูดานกองทุนคุมครองเด็ก กองทุน คนพิการ กองทุนการปองกันการคามนุษย กองทุนสวัสดิการชุมชน 3. จากผลความสําเร็จการดําเนินงานจากโครงการ “นกพิราบอาสาเสริสรางปญญา พัฒนาเยาวชนไทย” จึงควรตอยอดโครงการ กิจกรรม ใหตอเนื่องทุกป ควรมีที่ปรึกษา และควร โครงการควรขยายกลุมเปาหมายผูรวมโครงการเปนเริ่มตนตั้งแตเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 เปนตนไป 4. จากผลการดําเนินงานโครงการ กิจกรรมของโรงงานที่ผานมา พบวา เด็กที่จบ การศึกษาในพื้นที่แลว มีสวนหนึ่งที่จะออกจากพื้นที่ไปทํางานดานอาชีพในพื้นที่อื่น แตโดยสวนหนึ่ง จะยังมีการกลับมาทํางานในพื้นที่ โดยความคิดเห็นของบริษัท เห็นวา การพัฒนาเกษตรกร ใน อนาคต เด็กก็จะเปนเกษตรแทนพอแมของเขา ควรที่จะตองมีหนวยงานราช องคการบริหารสวน ตําบล สวนราชการในสังกัดกรมพัฒนาสังคม หรือหนวยงานอื่นๆ รวมทั้งภาคีในพื้นที่ ควรที่จะเขามา มีสวนรวมกับบริษัท ในการชวยพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่ โดยอาจจะสงเด็กหรือใหทุนการศึกษา


97 เด็ ก เพื่ อที่ จ ะไปเรี ย นวิ ช าการด า นการเกษตร เพื่อ กลั บ มาเปน เกษตรกร โดยการสนั บ สนุ น จาก หน ว ยงานต า งๆ หรื อ อาจมี การประชุม จัด ทํา แผนงานโครงการกิ จ กรรมร ว มกัน ของหนว ยงานที่ เกี่ยวของในการสงเสริมและสนับสนุนเด็กและเยาวชนในพื้นที่ตอไป สรุป บริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด เปนองคกรภาคธุรกิจ จัดเปนองคที่มี สวนรวมชวยเหลือสังคมอยูในประเภท ธุรกิจเพื่อสังคม (CSR in Process) มีการดําเนินการความ รับผิดชอบตอสังคมอยูในกระบวนการทํางานหลักของกิจการ ที่มีกิจการดานความรับผิดชอบทาง สังคมครอบคลุมทั้ง 4 ดาน คือ ดานเศรษฐกิจ ดานกฎหมาย ดานจริยธรรม และดานการใชดุลยพินิจ การดําเนินงาน ดาน (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ, 2554: 57-58) ความรับผิดชอบทางสังคมของ บริษัทเปนไปตามมาตรฐาน ISO 2600 (โสภณ พรโชคชัย, 2522: 29-30) โดยไดมีมาตรฐานดานการ กํากับดูแลที่ดี คํานึงถึงสิทธิมนุษยชน มีขอปฏิบัติดานแรงงาน การดูแลสิ่งแวดลอม การดําเนินธุรกิจ อย า งเป น ธรรม ใส ใ จต อ ผู บ ริ โ ภค รวมทั้ ง มี ก ารแบ ง ป น สู สั ง คมและชุ ม ชน โดยมี ข อบเขตความ รับผิดชอบดานความรับผิดชอบทางสังคมที่บริษัทไดดําเนินงานครอบคลุม ทั้ง 7 ดาน (ศิริวรรณ เสรี รัตน และคณะ, 2554: 95) คือ ดานชุมชน ดานสุขภาพและสวัสดิการ ดานการศึกษา ดานสิทธิมนุษย ชน ดานสภาพสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ ดานสิทธิผูบริโภค และดานวัฒนธรรม และกิจกรรมดาน ความรับผิดชอบทางสังคมของบริษัทเปนการดําเนินกิจกรรมขององคกรโดยใชทรัพยากรที่มีอยูภายใน องคกรเปนหลัก โดยมีรูปแบบหรือโมเดลในการชวยเหลือสังคมของบริษัทเปนการดําเนินงานโครงการ ภายใต แ นวคิ ด หลั ก “โลกสี เ ขี ย ว ธรรมชาติ ที่ ส มดุ ล ลดโลกร อ น” ซึ่ ง มี วิ ธี ก ารและแนวทางการ ดําเนินงาน 2 แนวคิดหลัก คือ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และแนวคิด “การเสริมสรางการเรียนรู พัฒนาคูชุมชนไทย” ซึ่งมีโครงการ กิจกรรม คือ โครงการและกิจกรรมภายใตแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง ซึ่งมีโครงการ 2 โครงการ คือ โครงการการเพิ่มมูลคาใหเกษตรกรและเพิ่มคุณคาเพื่อลูกคา โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและประหยัดพลังงาน โดยมีกิจกรรม คือ การเพิ่มมูลคาให เกษตรกรและเพิ่มคุณคาเพื่อลูกคา กิจกรรม การคัดเลือกเชื้อบริสุทธิ์เพื่อพัฒนาการดองผักกาดดอง เปรี้ยว การลดการเกิดสีคล้ําในผักการดอง การเพิ่มคุณคาทางโภชนาการจากใบผักเหลือใชจากไร ผักกาดเขียวปลี การผลิตปุยชีวภาพจากวัสดุเหลือใชจากไรผักกาดเขียวปลี การพัฒนาน้ําสมสายชู หมักจากน้ําใบผักกาดเขียวปลีเหลือใชจากไรผักกาดเขียวปลี การพัฒนาวิธีการปลูกผักกาดเขียวปลี การพัฒนาพันธุผักการเขียวปลี และ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและประหยัดพลังงาน มี กิจกรรม คือ การใหความรูดาน Total Quality Management (TQM) การพัฒนาอุตสาหกรรมการ ผลิตโดยการเพิ่มประสิทธิภาพ (MDIPP) การเพิ่มผลิตภาพอยางมีนวัตกรรม (EDIPP) สวนโครงการ และกิจกรรมตามแนวคิด “การเสริมสรางการเรียนรู พัฒนาคูชุมชนไทย” คือ โครงการ “พิราบรวม พลคนปลูกเขียวปลี” โครงการ “นกพิราบอาสาเสริมสรางปญญา พัฒนาเยาวชนไทย” โครงการ “ให ความรูแกนักเรียน นักศึกษา และนักวิจัย” โครงการ “พัฒนาบุคลากรใหมีประสิทธิภ าพดวยการ


98 เสริมสรางการเรียนรูและมีคุณภาพชีวิต (HAPPY 8)” รวมทั้งโครงการและกิจกรรมดานประเพณีของ สังคมและชุมชน และโครงการและกิจกรรมดานธรรมาภิบาลและสิ่งแวดลอม ซึ่งกลาวไดวาเปนองคกร ธุรกิจที่สวนรวมในการชวยเหลือสังคมที่มีระบบ รูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานที่เปน รูปธรรม สามารถเปนองคกรตนแบบเพื่อการชวยเหลือสังคมตอไป สรุปผลการศึกษา การศึกษาการมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือ สังคม กรณีองคกรธุรกิจบริษัทชาระมิงค จํากัด และบริษัทสนติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด มีการ ดําเนินงานดานความรับผิดชอบทางสังคมเปนที่ยอมรับ มีความครอบคลุมองคประกอบทั้งมิติภายใน องคกร และมิติภายนอก กลาวคือ มิติภายในไดมีการดําเนินการในการจัดทรัพยากรมนุษยอยางมี ความรับผิดชอบตอสังคม สุขภาพและความปลอดภัยในการทํางาน การปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอมในองคกร รวมทั้งบรรษัทภิ บาลและความโปรงใสในการดําเนินกิจการ และในมิติภายนอก มีการจัดการกับ Supplier และ หุนสวนทางธุรกิจ (Partners) ที่รับผิดชอบตอสังคม การดูแลการบริโภค ความรับผิดชอบตอชุมชน ใกลเคียง ความรับผิดชอบตอสังคมโดยรวม และความรับผิดชอบตอโลก รวมทั้งองคกรทั้งสองแหงเปน องคกรที่มีรูปแบบการดําเนินงานดานความรับผิดชอบตอสังคม ในรูปแบบการสงเสริมความรูประเด็น ปญหาทางสังคม การตลาดที่เชื่อมโยงประเด็นทางสังคม การตลาดที่มุงเพื่อแกไขปญหาสังคม การ บริจาค การอาสาชวยเหลือชุมชน รวมทั้งยังเปนองคกรที่ประกอบธุรกิจอยางรับผิดชอบตอสังคม รวมทั้งเปนองคกรบรรษัทภิบาล ที่ดําเนินกิจการไดอยางมีประสิทธิภาพ กิจการเจริญกาวหนา โดยมี ความถูกตองโปรงใส มีจริยธรรมที่ดี มีการคํานึงถึงผูมีสวนไดสวนเสีย และยังมีการดําเนินกิจการไม เฉพาะในสวนกิจการขององคกร ไดมีการแผขยายกวางออกไปครอบคลุมในสวนที่เปนผูมีสวนไดสวน เสียที่มีความรับผิดชอบตอสังคมของผูมีสวนไดสวนเสียทั้งในและนอกกิจการอยางเทาเทียมกัน รวมทั้ง เปนองคกรที่ไดมาตรฐานความรับผิดชอบทางสังคมที่เปนสากล เปนไปตามมาตรฐาน UN Global Compact ซึ่งไดมีการดําเนินกิจการที่รับผิดชอบทางสังคมครอบคลุมมิติดานสิทธิมนุษยชน ดาน มาตรฐานแรงงาน ดานสิ่งแวดลอม และดานการไมยอมรับการทุจริต รวมทั้งเปนไปตามมาตรฐาน GRI: Global Reporting Initiative คือ องคกรดําเนินกิจการครอบคลุมในมิติดานเศรษฐกิจ ผลผลิต และบริการขององคกร มิติดานสิ่งแวดลอมที่ไดมีการใชพลังงานอยางประหยัด ไมกอมลพิษทางน้ํา ทางอากาศ และมิติดา นสั งคมที่ มีการจางแรงงานในทองถิ่น แรงงานในประเทศเปน หลัก รวมทั้ง องค ก รทั้ ง สองได มี ก ารดํ า เนิ น งานด า นความรั บ ผิ ด ชอบทางสั ง คมอย า งยั่ ง ยื น ซึ่ ง เป น ไปตาม องค ป ระกอบ การมุ ง สร า งความรั บ ผิ ด ชอบทางสั ง คมจากภายในสู ภ ายนอก การนํ า องค ก รด ว ย วิสัยทัศนของความรับผิดชอบทางสังคม การสรางการมีสวนรวม การใหความสําคัญแกผูมีสวนไดสวน เสีย การมีมุมมองเชิงระบบ การสรางนวัตกรรมใหม การสรางความยั่งยืนในการทําธุรกิจ การมุงเนน การสรางคุณคาใหแกองคกรและสังคม และการเปนพลเมืองที่ดีของสังคม โดยที่ผลการศึกษาการมี


99 สวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม ครั้งนี้ สอดคลองกับ ผลการศึกษา พัชรี นิวัฒ เจริญชัยกุล (2546) ไดศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมรับผิดชอบตอสังคมของพนักงานบริษัท เทเลคอม เอเชียคอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ การศึกษาพบวา พนักงานในบริษัทไดเขารวม กิจกรรมเพื่อสังคม แนวทางการสงเสริมการมีสวนรวมในกิจกรรมพนักงานบริษัทสวนใหญมีทัศนะเห็น ดวยตอการมีสวนรวม ซึ่งแบงไดเปน 5 ดาน ดานนโยบายองคกร บริษัทควรมีนโยบายสัมพันธ บริษัท ควรมีการเผยแพรขาวสาร/การประชาสัมพันธที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมเปนระยะๆ ดานการ เปดโอกาสใหพนักงานแสดงความคิดเห็นโดยพนักงานสวนใหญเห็นควรใหพนักงานแสดงความคิดเห็น และดานรางวัลจูงใจ พนักงาน สวนใหญไมเห็นดวยกับแนวทางการสงเสริมดานรางวัลจูงใจที่ทําให พนักงานตัดสินใจเขามามีสวนรวมในกิจกรรมเพื่อสังคม และมีความสอดคลองกับผลการศึกษา วิริสุดา ศิริวงศ ณ อยุธยา (2550) ไดทําการศึกษาเรื่องความรับผิดชอบตอสังคมในองคกรธุรกิจไทย กรณีศึกษาบริษัท โตโยตามอเตอรประเทศไทย จํากัด ผลการศึกษาพบวา องคกรมีการกําหนด นโยบายและเปาหมายความรับผิดชอบตอสังคมเปนสวนหนึ่งของนโยบายและปรัชญาขององคกร และ กระจายไปยังพนักงานระดับใหมีสวนรวมและมีความตระหนัก โดยปจจัยที่เปนแรงผลักดันคือ ปจจัย ภายในและปจจัยภายนอกองคกร ลักษณะกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคมมี 3 รูปแบบ คือ Corporate-driven CSR, Social-Driven CSR และทั้ง 2 แบบรวมกัน และองคประกอบกิจกรรม ความรับผิดชอบตอสังคมโดยการเลือกประเด็นความตองการของสังคมมาทําเปนโครงการ มีตัวชี้วัด และเปาหมายแผนการดําเนินงานและวิธีการประเมินผล ซึ่งประเมินผลทั้งกอนทํา ระหวางทําและหลัง ทํา โดยประเมินผลกระทบดานเศรษฐกิจและสังคมของกิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคมตอผูมีสวนได สวนเสียทั้งหมด ผลที่ไดจัดทําเปนรายงานการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน จึ ง สรุ ป ได ว า การมี ส ว นร ว มในความรั บ ผิ ด ชอบทางสั ง คมขององค ก รทั้ ง สอง มี รูปแบบการดําเนินงานดานความรับผิดชอบทางสังคมไมแตกตางกัน กลาวคือ เปนองคกรภาคธุรกิจ ที่ จัดเปนองคที่มีสวนรวมชวยเหลือสังคมอยูในประเภทธุร กิจเพื่อสังคม ที่มีการดําเนินการความ รับผิดชอบตอสังคมอยูในกระบวนการทํางานหลักของกิจการ ที่มีกิจการดานความรับผิดชอบทาง สังคมครอบคลุมทั้ง 4 ดาน คือ ดานเศรษฐกิจ ดานกฎหมาย ดานจริยธรรม และดานการใชดุลยพินิจ การดําเนินงาน ดาน (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ, 2554: 57-58) ความรับผิดชอบทางสังคมของ บริษัทเปนไปตามมาตรฐาน ISO 2600 (โสภณ พรโชคชัย, 2522: 29-30) โดยเปนไปมาตรฐานดาน การกํากับดูแลที่ดี คํานึงถึงสิทธิมนุษยชน มีขอปฏิบัติดานแรงงาน การดูแลสิ่งแวดลอม การดําเนิน ธุรกิจอยางเปนธรรม ใสใจตอผูบริโภค รวมทั้งมีการแบงปนสูสังคมและชุมชน โดยมีขอบเขตความ รับผิดชอบดานความรับผิดชอบทางสังคมที่บริษัทไดดําเนินงานครอบคลุม ทั้ง 7 ดาน (ศิริวรรณ เสรี รัตน และคณะ, 2554: 95) คือ ดานชุมชน ดานสุขภาพและสวัสดิการ ดานการศึกษา ดานสิทธิมนุษย ชน ดานสภาพสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ ดานสิทธิผูบริโภค และดานวัฒนธรรม และกิจกรรมดาน


100 ความรับผิดชอบทางสังคมของบริษัทเปนการดําเนินกิจกรรมขององคกรโดยใชทรัพยากรที่มีอยูภายใน องคกรเป นหลัก และการดําเนินกิจการตอความรับ ผิดชอบทางสังคมที่เปนที่ย อมรับ เปนองคกร บรรษัทภิบาล ไดมาตรฐานความรับผิดชอบทางสังคมที่เปนสากล เปนไปตามมาตรฐาน UN Global Compact และ มาตรฐาน GRI: Global Reporting Initiative และมีความยั่งยืน


บทที่ 5 บทสรุปและขอเสนอแนะ 5.1 บทสรุป โครงการศึ ก ษาการมี ส ว นร ว มขององค ก รภาคธุ ร กิ จ ในการช ว ยเหลื อ สั ง คม (Corporate Social Responsibility: CSR) ของสํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัด เชียงใหม ไดศึกษา องคกรธุรกิจทีมีสวนรวมในการชวยเหลือสังคม จํานวน 2 องคกร คือ บริษัทชาระ มิงค จํากัด และบริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด เพื่อศึกษาแนวทาง และวิธีการเขามามีสวนรวม ขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม และเพื่อนําแนวทางที่ไดไปสงเสริมสนับสนุนการทํางาน ของหนวยงานองคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม ผลการศึกษา ไดแนวทางการในการมีสวนรวม ในการชวยเหลือสังคม 2 รูปแบบ 1. รูปแบบที่ 1 บริษัทชาระมิงค จํากัด เปนบริษัทในเครือ ระมิงคกรุป ประกอบดวย Raming Tea Co., Ltd. Siam Celadon Pottery Co., Ltd. Raming Marketing (2001) Co., Ltd. Siam Nissan Chiangmai Co., Ltd. และ F&R Jewellery Co., Ltd. บริษัทชาระมิงค จํากัด กอตั้งตั้งอยู เลขที่ 151 หมู 3 ตําบลทาศาลา อําเภอเมือง จังหวัดชียงใหม เปนธุรกิจประเภทบริษัทผูผลิตและผู สงออกผลิตภัณฑประเภทชา ชาออแกนิค กาแฟออแกนิค และสมุนไพร เปนบริษัทที่มีโครงการ กิจกรรมที่มีสวนรวมในการชวยเหลือสังคม ตั้งแตการเริ่มกอตั้งบริษัทในยุคแรกจนถึงปจจุบัน รูปแบบการชวยเหลือสังคมเปน รูปแบบ การใหเปลา การสงเคราะห การให ทุนการศึกษา การสงเสริมและสนับสนุนใหความรู รวมทั้งการจัดสวัสดิการคนงาน พนักงาน เจาหนาที่ ของบริษัททั้งในรูปแบบการประกันสังคม และการจัดสวัสดิการใหกับพนักงาน เจาหนาที่ของบริษัท เอง ซึ่งเปนผลจากการดําเนินนโยบาย Green Marketing and CSR ดังคําขวัญของบริษัท “หนึ่ง ความดี ที่ทดแทนคุณแผนดินเกิด ความดีนั้นไมเคยสูญเปลา ดุจเดียวกับหยดน้ํา ไมวาอยูที่ใด ยอมมี ความหมาย ใหคุณคา และหลอเลี้ยงสิ่งที่อยูรายรอบ” และมีนโยบายมุงเนนการบริหารจัดการที่เปน มิตรตอสิ่งแวดลอม ถือเปนปจจัยสําคัญนําไปสูความสําเร็จขององคกร รูปแบบและกระบวนการในการ ชวยเหลือสังคม เปนรูปแบบการสอนใหชาวบานทําโครงการ สนับสนุนเมล็ดพันธุโดยการซื้อเมล็ดพันธุ กาแฟใหชาวบาน มีเจาหนาที่ดานการเกษตรจัดใหมีการฝกอบรมใหกับเกษตรกรหรือชาวบาน โดย บริษัทใหเมล็ดพันธไปปลูกและมีเจาหนาเกษตรมาอบรมใหคําแนะนํา การปลูก การดูแลรักษา ครบ วงจรการปลูก รวมทั้งบริษัทสงเสริมและสนับสนุนการปลูกกาแฟแบบออรแกนนิค เปนการสงเสริม


102 การใช ปุ ย อิ น ทรี ย ไม มีการใช ปุ ย เคมี ไมใชย าฆาหญาในพื้ น ที่การเกษตร การรับ ซื้อผลผลิต และ การตลาด 2. รูปแบบที่ 2 บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด สาขาเชียงใหม เลขที่ 88 หมูที่ 5 ตําบล แมแฝกใหม อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม สํานักงานใหญ เลขที่ 37 หมู 1 ซ.สุขสวัสดิ์ 43 ถ.สุข สวัสดิ์ ต.บางครุ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ผลิตภัณฑผักกาดกระปอง พืชผักกระปอง ผลไม กระปอง และปลากระปอง รูปแบบหรือโมเดลในการชวยเหลือสังคมของบริษัทสัน ติภ าพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด คือ การดําเนินงานภายใตกรอบแนวคิดหลัก คือ “โลกสีเขียว ธรรมชาติที่สมดุล ลดโลกรอน” ซึ่งมีวิธีการและแนวทางการดําเนินงาน 2 แนวคิดหลัก คือ แนวคิด “เศรษฐกิจพอเพียง” และแนวคิด “การเสริมสรางการเรียนรู พัฒนาคูชุมชนไทย” มีโครงการและกิจกรรมภายใตแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง 2 โครงการ คือ โครงการการเพิ่มมูลคาใหเกษตรกรและเพิ่มคุณคาเพื่อลูกคา และโครงการ เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและประหยัดพลังงาน สวนโครงการตามแนวคิด”การเสริมสรางการ เรียนรู พัฒนาคูชุมชนไทย” โครงการ 4 โครงการ คือ โครงการพิราบรวมพลคนปลูกเขียวปลี โครงการนกพิราบอาสาเสริสรางปญญาพัฒนาเยาวชนไทย โครงการใหความรูแกนักเรียน นักศึกษา และนั กวิ จั ย และโครงการพั ฒ นาบุคลากรใหมีป ระสิทธิ ภ าพดว ยการเสริมสรางการเรีย นรูและมี คุณภาพชีวิต (HAPPY 8) ผลการศึกษาการมีสวนรวมขององคกรภาคธุรกิจในการชวยเหลือสังคม กรณีองคกร ธุรกิจบริษัทชาระมิงค จํากัด และบริษัทสนติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด พบวา ไดมีการดําเนินงาน ดานความรับผิดชอบทางสังคมเปนที่ยอมรับ มีความครอบคลุมองคประกอบทั้งมิติภายในองคกร และ มิติภายนอก กลาวคือ มิติภายในไดมีการดําเนินการในการจัดทรัพยากรมนุษยอยางมีความรับผิดชอบ ตอสังคม สุขภาพและความปลอดภัยในการทํางาน การปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอมในองคกร รวมทั้งบรรษัทภิบาลและความ โปรงใสในการดําเนินกิจการ และในมิติภายนอก มีการจัดการกับ Supplier และหุนสวนทางธุรกิจ (Partners) ที่รับผิดชอบตอสังคม การดูแลการบริโภค ความรับผิดชอบตอชุมชนใกลเคียง ความ รับผิดชอบตอสังคมโดยรวม และความรับผิดชอบตอโลก รวมทั้งองคกรทั้งสองแหงเปนองคกรที่มี รูปแบบการดําเนินงานดานความรับผิดชอบตอสังคม ในรูปแบบการสงเสริมความรูประเด็นปญหาทาง สังคม การตลาดที่เชื่อมโยงประเด็นทางสังคม การตลาดที่มุงเพื่อแกไขปญหาสังคม การบริจาค การ อาสาชวยเหลือชุมชน รวมทั้งยังเปนองคกรที่ประกอบธุรกิจอยางรับผิดชอบตอสังคม รวมทั้งเปน องคกรบรรษัทภิบาล ที่ดําเนินกิจการไดอยางมีประสิทธิภาพ กิจการเจริญกาวหนา โดยมีความถูกตอง โปรงใส มีจริยธรรมที่ดี มีการคํานึงถึงผูมีสวนไดสวนเสีย และยังมีการดําเนินกิจการไมเฉพาะในสวน


103 กิจการขององคกร ไดมีการแผขยายกวางออกไปครอบคลุมในสวนที่เปนผูมีสวนไดสวนเสียที่มีความ รับผิดชอบตอสังคมของผูมีสวนไดสวนเสียทั้งในและนอกกิจการอยางเทาเทียมกัน รวมทั้งเปนองคกร ที่ไดมาตรฐานความรับผิดชอบทางสังคมที่เปนสากล เปนไปตามมาตรฐาน UN Global Compact ซึ่ง ไดมีการดําเนินกิจการที่รับผิดชอบทางสังคมครอบคลุมมิติดานสิทธิมนุษยชน ดานมาตรฐานแรงงาน ดา นสิ่ งแวดลอม และด า นการไม ย อมรับ การทุจ ริต รวมทั้งเปนไปตามมาตรฐาน GRI: Global Reporting Initiative คือ องคกรดําเนินกิจการครอบคลุมในมิติดานเศรษฐกิจ ผลผลิตและบริการของ องคกร มิติดานสิ่งแวดลอมที่ไดมีการใชพลังงานอยางประหยัด ไมกอมลพิษทางน้ํา ทางอากาศ และ มิติดานสังคมที่มีการจางแรงงานในทองถิ่น แรงงานในประเทศเปนหลัก รวมทั้งองคกรทั้งสองไดมีการ ดําเนินงานดานความรับผิดชอบทางสังคมอยางยั่งยืน ซึ่งเปนไปตามองคประกอบ การมุงสรางความ รับผิดชอบทางสังคมจากภายในสูภายนอก การนําองคกรดวยวิสัยทัศนของความรับผิดชอบทางสังคม การสรางการมีสวนรวม การใหความสําคัญแกผูมีสวนไดสวนเสีย การมีมุมมองเชิงระบบ การสราง นวัตกรรมใหม การสรางความยั่งยืนในการทําธุรกิจ การมุงเนนการสรางคุณคาใหแกองคกรและสังคม และการเปนพลเมืองที่ดีของสังคม จึ ง สรุ ป ได ว า การมี ส ว นร ว มในความรั บ ผิ ด ชอบทางสั ง คมขององค ก รทั้ ง สอง มี รูปแบบการดําเนินงานดานความรับผิดชอบทางสังคมไมแตกตางกัน กลาวคือ เปนองคกรภาคธุรกิจ ที่ จัดเปนองคที่มีสวนรวมชวยเหลือสังคมอยูในประเภทธุร กิจเพื่อสังคม ที่มีการดําเนินการความ รับผิดชอบตอสังคมอยูในกระบวนการทํางานหลักของกิจการ ที่มีกิจการดานความรับผิดชอบทาง สังคมครอบคลุมทั้ง 4 ดาน คือ ดานเศรษฐกิจ ดานกฎหมาย ดานจริยธรรม และดานการใชดุลยพินิจ การดําเนินงาน ดาน (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ, 2554: 57-58) ความรับผิดชอบทางสังคมของ บริษัทเปนไปตามมาตรฐาน ISO 2600 (โสภณ พรโชคชัย, 2522: 29-30) โดยเปนไปมาตรฐานดาน การกํากับดูแลที่ดี คํานึงถึงสิทธิมนุษยชน มีขอปฏิบัติดานแรงงาน การดูแลสิ่งแวดลอม การดําเนิน ธุรกิจอยางเปนธรรม ใสใจตอผูบริโภค รวมทั้งมีการแบงปนสูสังคมและชุมชน โดยมีขอบเขตความ รับผิดชอบดานความรับผิดชอบทางสังคมที่บริษัทไดดําเนินงานครอบคลุม ทั้ง 7 ดาน (ศิริวรรณ เสรี รัตน และคณะ, 2554: 95) คือ ดานชุมชน ดานสุขภาพและสวัสดิการ ดานการศึกษา ดานสิทธิมนุษย ชน ดานสภาพสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ ดานสิทธิผูบริโภค และดานวัฒนธรรม และกิจกรรมดาน ความรับผิดชอบทางสังคมของบริษัทเปนการดําเนินกิจกรรมขององคกรโดยใชทรัพยากรที่มีอยูภายใน องคกรเปนหลัก และการดําเนินกิจการตอความรับ ผิดชอบทางสังคมที่เปนที่ย อมรับ เปนองคกร บรรษัทภิบาล ไดมาตรฐานความรับผิดชอบทางสังคมที่เปนสากล เปนไปตามมาตรฐาน UN Global Compact และ มาตรฐาน GRI: Global Reporting Initiative และมีความยั่งยืน ซึ่งเปนรูปแบบที่ เหมาะสมในการนําไปสูการสงเสริมขยายผลตอไป


104

5.2 ขอเสนอแนะ จากผลการศึ ก ษา การมี ส ว นร ว มขององค ก รภาคธุ ร กิ จ ในการช ว ยเหลื อ สั ง คม (Corporate Social Responsibility: CSR) บริษัทชาระมิงค จํากัด และบริษัทสันติภาพ (ฮั่วเพง 1958) จํากัด มีขอเสนอแนะเชิงโยบาย ขอเสนอแนะของทีมผูศึกษา และขอเสนอแนะตอ

องคกรที่เกี่ยวของ ดังนี้ 5.2.1 ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. ควรมีนโยบายและงบประมาณ สนับสนุนหนวยงานราชการ คือ ใหหนวยงานใน สังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เชน ศูนยพัฒนาสังคมจังหวัด สํานักงาน สงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย จังหวัดในพื้นที่ มีแผนงาโครงการ การสงเสริมและสนับสนุน การสรางรู ความเขาใจการขับเคลื่อน กองทุ น สวั ส ดิ การชุ มชน และกองทุ น ตางๆ ที่เ กี่ย วของ และควรสง เสริม การจั ดสวัส ดิการชุ มชน (สวัสดิการสามขา) สงเสริมใหมีการเก็บออมเงิน สงเสริมใหมีการจดทะเบียนเปน องคกรสวัสดิการ ชุมชน หรือเปนองคกรสาธารณะประโยชน ใหกับบริษัทองคกรภาคธุรกิจทีมีสวนชวยเหลือสังคม เพื่อ เปนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน และทําใหชุมชน สังคมเขมแข็งสามารถพึ่งตนเองไดใน ที่สุด 5.2.2 ขอเสนอแนะตอองคกรที่เกี่ยวของ 1. ขอเสนอตอหนวยงานราชการ คือ ขอเสนอตอหนวยงานราชการ คือ เห็นควรให หนวยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เชน ศูนยพัฒนาสังคมจังหวัด สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดเชียงใหม สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุ ษย จั งหวั ด ในพื้ น ที่ ส งเสริ มและสนับ สนุน การสรางรู ความเขาใจการขับ เคลื่อนกองทุน สวัสดิการชุมชน และกองทุนตางๆ ที่เกี่ยวของ และควรสงเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน (สวัสดิการ สามขา) สงเสริมใหมีการเก็บออมเงิน สงเสริมใหมีการจดทะเบียนเปนองคกรสวัสดิการชุมชน หรือ เปนองคกรสาธารณะประโยชน เพื่อเปนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน และทําใหชุมชน สังคมเขมแข็งสามารถพึ่งตนเองไดในที่สุด


บรรณานุกรม กรณิภา อังคทาภิมณฑ. 2552. “การมีสวนรวมของพนักงานตอการดําเนินกิจกรรมดานความ รับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมของธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน)”. สารนิพนธสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. โกวิทย สวัสดิ์มงคล. 2522. ความรับผิดชอบตอสังคมดานการแกไขปญหามลพิษสิ่งแวดลอมของ ผูประกอบการรถเอกชนรวมบริการขนสงมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.). วิทยานิพนธสังคม สงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. คอลัมน Quality. วารสาร Engineering Today. ปที่ 6. ฉบับที่ 65. ประจําเดือนพฤษภาคม 2551. เครือขายความรวมมือระหวางภาคธุรกิจและภาคประชาสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เดอะเนทเวิรค (ประเทศไทย) ปารีณา ประยุกตวงศ และ แมท โอเซ็น : 2552 [ระบบออนไลน] แหลงที่มา http://www.csr.imageplus.co.th/csr_history.php จินตนา บุญบงการ. 2544. สภาพแวดลอมทางธุรกิจ. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : บริษัท แอคทีฟพริ้นท จํากัด. ฉอาน วุฒิกรรมรักษา. 2526. ปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลตอการเขามามีสวนรวม ของประชาชนในโครงการสรางงานในชนบท. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ชัยอนันต สมุทวณิช. 2527. ระบบราชการกับการมีสวนรวมของชุมชน : พิจารณาในแงมหภาค. กรุงเทพฯ : ศูนยศึกษานโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล. ทวีทอง หงสวิวัฒน. 2527. การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพฯ : ศักดิ์โสภาการพิมพ. ทองใบ สุดชารี. 2543. ทฤษฎีองคการวิเคราะหแนวความคิดทฤษฎีและการประยุกต. กรุงเทพฯ : คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี. ธงชัย สันติวงษ. 2546. การบริหารสูศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : บริษัทประชุมการชาง จํากัด. ธนวัฒน ตั้งวงษเจริญ, ร.ต.อ.. 2539. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของตํารวจชั้นสัญญาบัตร. วิทยานิพนธสังคมวิทยามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. นรินทรชัย พัฒนพงศา. 2546. การมีสวนรวมหลักการพื้นฐาน เทคนิคและกรณีตัวอยาง. กรุงเทพฯ : 598Print. นิรันดร จงวุฒิเวศย. 2527. แนววิธีการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในงานพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยมหิดล. เนตรพัณณา ยาวิราช. 2546. การจัดการสํานักงาน. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : เซ็นทรัลเอ็กซเพรส. เนตินา โพธิ์ประสระ. 2541. ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการมีสวนรวมและความผูกพันตอองคการของ พนักงาน: ศึกษาเฉพาะกรณีบริษัท สิทธิผล 1919. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ถายเอกสาร.


106 บัณฑิตา ทรัพยกมล. 2544. ความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรภาคธุรกิจ ศึกษาเฉพาะกรณี โรงงานอุตสาหกรรมเขตพื้นที่กรุงเทพ. วิทยานิพนธ สังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ประพันธพงษ ชิณพงษ. 2551. อุตสาหกรรมการทองเที่ยว. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฎ วไลยอลงกรณในพระบรมราชูปถัมภ พัชรี นิวัฒเจริญชัยกุล. 2546. การมีสวนรวมรับผิดชอบตอสังคมของพนักงานบริษัทเทเลคอมเอเชีย คอรปอเรชั่น จํากัด. วิทยานิพนธ สังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. พิพัฒน ยอดพฤติการณ, ไมระบุป. Engaged CSR: ดวยรับผิดชอบและผูกพัน: ออนไลน: The NETWORK NGO-Business Partnerships for Sustainable Development; [ระบบออนไลน] แหลงที่มา http://www.ngobiz.org) ไพโรจน สุขสัมฤทธิ์. 2531. การมีสวนรวมของประชาชน. กรุงเทพฯ : บางกอกบลอดออฟเซ็ท. มนูญ ตนะวัฒนา. 2539. จิตวิทยาพัฒนาชีวิต. กรุงเทพฯ : ธีรพงษการพิมพ. มงคล จันทรสอง. 2544. ระดับความรูและการมีสวนรวมของสมาชิกองคการบริหารสวนตําบล. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศิลปากร มนตรี เลิศสกุลเจริญ. 2547. แนวทางการพัฒนาความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ สังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ยุพาพร รูปงาม. 2545. การมีสวนรวมของขาราชการสํานักงบประมาณในการปฏิรูประบบราชการ. ภาคนิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. ราชสีห เสนะวงศ. 2550. ความรับผิดชอบตอสังคมของผูสื่อขาวหนังสือพิมพสยามกีฬารายวัน. สารนิพนธ สังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. วิริสุดา ศิริวงศ ณ อยุธยา. 2550. ความรับผิดชอบตอสังคมในองคการธุรกิจไทย : กรณีศึกษาบริษัท โตโยตามอเตอรประเทศไทย จํากัด. สารนิพนธ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. ศิริชัย กาญจนวาสี. 2547. ทฤษฎีการประเมิน. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. 2545. องคการและการจัดการ(ฉบับมาตรฐาน). กรุงเทพฯ : บริษัทธรรมสาร จํากัด. สมยศ นาวีการ. 2530. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการบริหาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพพิฆเณศ. สุจินต ดาววีระกุล. 2527. การมีสวนรวมของชุมชนในการพัฒนาชนบทในสภาพสังคมและ วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : ศักดิ์โสภาการพิมพ. เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ. 2537. ปญหาและแนวโนมเกี่ยวกับการมีสวนรวมของประชาชนในการ ประมวลสาระชุดวิชาสัมมนาปญหาและแนวโนมทางการบริหารการศึกษา. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.


107 เสนาะ ติเยาว. 2544. หลักการบริหาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. โสภณ พรโชคชัย. 2552. CSR ที่แท. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. อํานาจ อนันตชัย. 2535. การระดมการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพวิคตอรี่เพาเวอรพอย. Carroll Archie B.. 1991. The Pyramid of Corporate Social Responsibility : Toward the Moral Management of Organizational Stakeholders. Cary lee J.. (Editor). 1976. The Role of the Citizen in C.D. Process, Columbia : University of Missouri Pries. Reeders William W.. 1974. Some aspects of the information social participation Of farm families in New York State. New York : Cornell University. Uphoff Norman T. 1981. Farmer’s Participation in project Formulation Design And Operation. Washington D.C. : The World Bank. http://thaicsr.blogspot.com/2008/01/blog-post_07.html สืบคนเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2555 http://thaicsr.blogspot.com/2008/01/blog-post_6965.html สืบคนเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2555 http://www.csri.or.th/knowledge/sustainability-report-standard-guideline/776 สืบคนเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2555 http://www.csri.or.th/knowledge/csr/192 สืบคนเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2555 http://www.exim.go.th/doc/research/article/CSR.pdf สืบคนเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2555 http://www.ngobiz.org/csr.php?Mod=csr_evi&act=sh&ID=NDU4& สืบคนเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2555 http://www.ngobiz.org/picture/File/Government%20and%20CSR%20by%20 Dr_Pipat.pdf สืบคนเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2555


108

คณะผูวิจัย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

นายศตวรรษ สถิตยเพียรศิริ นายทวิช จตุวรพฤกษ นายวิโรจน เรืองสอาด นางสาววิมล กลางประพันธ นางบุษราคัมส วีระนาคินทร นางศิริวรรณ ถาวร นายพงศกร โสระสิงห

ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา หัวหนาโครงการวิจัย นักวิจัย นักวิจัย นักวิจัย ผูชวยนักวิจัย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.