วิสย ั ทัศน์ประเทศอัจฉริยะสูก ่ ารพัฒนาเมือง URBAN DEVELOPMENT TOWARDS A SMART NATION VISION
โดย นางสาววันเรารวี ธนกัญญา นักผังเมืองชํานาญการ สังกัด กลุ่มงานประเมินผลและมาตรฐานทางผังเมือง ส่วนผังเมืองรวม สํานักงานวางผังเมือง สํานักการวางผังและพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร
คํานํา ด้วยผูเ้ ขียนได้รบ ั ทุนฝกอบรมออนไลน์หลักสูตร Urban Development Towards a Smart Nation Vision ซึงจัดขึนระหว่างวันที 22, 24, 26, 29 และ 31 มีนาคม 2564 ภายใต้โครงการความร่วมมือ Japan – Singapore Partnership Programme for the 21st Century (JSPP21) จากรัฐบาลสิงคโปร์ ผูเ้ ขียนจึงมีความประสงค์ในการ นําข้อมูลความรูท ้ ีได้รบ ั จากหลักสูตรดังกล่าวและการศึกษาค้นคว้าเพิมเติมมาจัดทําเอกสารเผยแพร่ความรูว้ ช ิ าการ ในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เรือง “วิสย ั ทัศน์ประเทศอัจฉริยะสูก ่ ารพัฒนาเมือง” โดยมุง ่ หวังให้เกิด ประโยชน์ต่อผูอ ้ ่านและผูป ้ ฏิบต ั ิงานด้านผังเมืองจากตัวอย่างแนวคิดเมืองอัจฉริยะทีทันสมัยของสาธารณรัฐสิงคโปร์ และประเทศญีปุนอันจะนําไปสูก ่ ารพัฒนานวัตกรรมทางผังเมืองใหม่ ๆ ให้สามารถนําไปใช้เปนกลไกในการพัฒนา เมืองอัจฉริยะในอนาคตของกรุงเทพมหานครและจังหวัดอืน ๆ ในประเทศไทยได้อย่างเปนรูปธรรมเช่นกัน
วันเรารวี ธนกัญญา 29 กรกฎาคม 2564
CONTENTS สารบัญ
01 17 22 31 40 44 68 76 91 101
ความน่าอยูข ่ องสิงคโปร์และเมืองอัจฉริยะในอาเซียน นโยบายและการวางแผนระบบคมนาคมขนส่งทางบกในสิงคโปร์
สิงแวดล้อมทียังยืนและการทําประเทศสิงคโปร์ให้สะอาด ทีอยูอ ่ าศัยในสิงคโปร์ จากสลัมสูเ่ มืองอัจฉริยะ
การบริหารจัดการนําในสิงคโปร์ ภาพรวมการวางผังและการพัฒนาเมืองในประเทศญีปุน การออกแบบชุมชนเมืองและการมีสว่ นร่วมของชุมชนในเรือง เมืองอัจฉริยะ: กรณีเมืองมหาวิทยาลัยคาชิวะโนฮา การพัฒนาเมืองและทีอยูอ ่ าศัย: ประสบการณ์ขององค์กรพัฒนาและฟนฟู เมือง โครงข่ายการคมนาคมขนส่งสาธารณะกับการพัฒนาเมือง ในประเทศญีปุน ถนนทีเมืองโยโกฮาม่ามุง ่ สูเ่ มืองแห่งอนาคต ตามเปาหมายการพัฒนาทียังยืน
SINGAPORE LIVEABILITY & THE ASEAN SMART CITIES FRAMEWORK ความน่าอยูข ่ องสิงคโปร์และเมืองอัจฉริยะในอาเซียน
สิงคโปร์ในอดีต ช่วงป ค.ศ. 1950s – 1960s เปนประเทศทีเต็มไปด้วยปญหาจากการเติบโตของเมืองไม่วา่ จะเปน ปญหาการจราจรติดขัด การขาดแคลนนําสะอาดสําหรับอุ ปโภคและบริโภค การจัดการขยะ และระบบการระบายนํา ทีขาดประสิทธิภาพ แต่ในยุคปจจุบน ั สิงคโปร์ได้กลายเปนประเทศทีพัฒนาให้มค ี วามทันสมัยระดับโลกและเปนเมืองน่าอยู่ ปญหาสิงแวดล้อมในอดีตได้ดําเนินการแก้ไขเปนทีเรียบร้อยจนกระทังมีแหล่งนําสะอาดสําหรับอุ ปโภคบริโภค อย่างเพียงพอ มีระบบการคมนาคมขนส่งทีทันสมัย และมีการใช้ประโยชน์ทีดินทีเหมาะสมอย่างเต็มศักยภาพ อย่างไรก็ตาม ด้วยขนาดพืนทีของประเทศทีมีขนาดเล็กเพียง 725.7 ตารางกิโลเมตร จํานวนประชากร 5.69 ล้านคน ความหนาแน่นของประชากรสูงถึง 7,840 คนต่อตารางเมตร และทรัพยากรทางธรรมชาติมจ ี าํ กัด สิงคโปร์ยง ั ต้อง พัฒนาต่อไปเพือให้ทันต่อความต้องการของประชาชนและการเปลียนแปลงของกระแสโลก
อดีต
ปจจุ บน ั
หน้ า 1
SINGAPORE COMPETITIVE ECONOMY ความสามารถในการแข่งขัน ด้านเศรษฐกิจของสิงคโปร์ จากการจัดลําดับความสามารถในการแข่งขันด้านเศรษฐกิจใน Global Power City Index โดย Mori Memorial Foundation (MMF) สิงคโปร์อยูใ่ นลําดับที 5 ของโลก 3 ปซ้อน ตังแต่ป พ.ศ. 2560 – 2562 และสิงคโปร์ได้ก้าวขึนมาจากลําดับที 3 ในป พ.ศ. 2560 ลําดับที 2 ในปพ.ศ. 2561 และลําดับที 1 ของโลกในป พ.ศ. 2562 ตามรายงาน Global Competitiveness Report โดยสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum หรือ WEF) การจัดลําดับด้านความน่าอยูโ่ ดยบริษัท Mercer สิงคโปร์อยูใ่ นลําดับที 1 ของเอเชียและลําดับที 25 ของโลก ตังแต่ป พ.ศ. 2560 – 2562 ด้านสุขภาพและความสุขของ ประชาชนจาก World Happiness Report โดย Sustainable Development Solutions Network (SDSN) สิงคโปร์อยูใ่ น ลําดับที 1 ของเอเชียและลําดับที 26 ของโลกในป พ.ศ. 2560 เปนลําดับที 2 ของเอเชียและลําดับที 34 ของโลกในป พ.ศ. 2561 – 2562 ในขณะเดียวกัน จากการสํารวจด้านคุณภาพ ชีวต ิ ของประชาชนโดยบริษัท Mercer สิงคโปร์เปนเมืองทีมี คุณภาพชีวต ิ สูงทีสุดเปนลําดับที 1 รองลงมาได้แก่ กรุงลอนดอน และกรุงโตเกียว
หน้ า 2
ภาพรวมการเติ บ โต ด้ า นเศรษฐกิ จ และ คุ ณ ภาพชีวิต ในสิ ง คโปร์ ในป พ.ศ. 2562
ประชาชนที อยู่ อ าศั ย ในสิ ง คโปร์มี ร ายได้ ต่ อ หั ว สู ง ถึ ง 88,991 ดอลล่ า ร์สิ ง คโปร์ (2.119 ล้ า นบาท/คน/ป อั ต ราแลกเปลี ยนธนาคารแห่ ง ประเทศไทย ณ วั น ที 1 พฤษภาคม 2564 อยู่ ที 1 ดอลล่ า ร์สิ ง คโปร์ = 23.82 บาท) เมื อเที ย บกั บ ป พ.ศ. 2502 รายได้ ต่ อ หั ว ประชากรประมาณ 30,000 บาท/คน/ป อั ต ราการว่ า งงาน 2.3% ลดลงจากป พ.ศ. 2502 ที มี อั ต ราการว่ า งงาน 8.6% ประชาชนชาวสิ ง คโปร์มี ที อยู่ อ าศั ย เปนของตนเอง จํา นวน 90.4% และประชาชนทั งหมด 100% เข้ า ถึ ง แหล่ ง นําสะอาด สํา หรับ อุ ปโภคบริโ ภค
กรอบการวางแผนและการพัฒนาเมืองน่าอยู่ เปาประสงค์หลัก 3 ประการ คุ ณ ภาพชี วิ ต สู ง เศรษฐกิ จ ที สามารถแข่ ง ขั น ได้ สิ งแวดล้ อ มมี ค วามยั งยื น ิ ต้องมี สิงที บู ร ณาการผั ง เมื อ งให้ เ ข้ า กั บ การพั ฒ นา การบริห ารจั ด การเมื อ งแบบไดนามิ ก ทั น ต่ อ การเปลี ยนแปลง
หน้ า 3
ดั ช นี ชีวัด เพื อประเมิ น ความน่ า อยู่ ข องสิ ง คโปร์
อัตราการเปนเจ้าของบ้าน จํานวนผูท ้ ีอาศัยและทํางาน จํานวนโครงการทีมุง ่ สู่ ในพืนทีใจกลางเมือง การรับรองอาคารเขียว
การจราจรติดขัด ในช่วงชัวโมงเร่งด่วน
ระดับการใช้พลังงาน
มาตรการความปลอดภัย เปอร์เซ็นต์ผใู้ ช้ทีพึงพอใจ และคุณภาพอาคาร กับสวนสาธารณะ
ระดับความพึงพอใจของ การลดปริมาณนําทีไม่ได้ การเข้าถึงสุขาภิบาล ผูใ้ ช้ในระบบขนส่งสาธารณะ นํามาคํานวณให้น้อยทีสุด
ร้อยละผูท ้ ีพึงพอใจกับ สภาพแวดล้อมในการ ดํารงชีวต ิ การทํางาน และ การพักผ่อนในสิงคโปร์
เปอร์เซ็นต์การโดยสาร รถสาธารณะ
อัตราส่วนการจัดให้มี สวนสาธารณะ (พืนที 1 เฮกตาร์ ต่อประชากร 1,000 คน)
ระดับการใช้นาในประเทศ ํ นําทีตรงตามหลักเกณฑ์ จํานวนเหตุการณ์มลพิษ ต่อหัวประชากร คุณภาพนําดืมของ WHO ทางอากาศและทางนํา ในหนึงป
อัตราการใช้ทีดินของรัฐ
อัตราการรีไซเคิล
จํานวนวันในหนึงปทีดัชนี มาตรฐานมลพิษ (PSI) อยูใ่ น “ระดับดี”
การเข้าถึงแหล่งนําดืมสะอาด
ขนาดของพืนทีเสียงภัยนําท่วม หน้ า 4
การสร้างเศรษฐกิจทียืดหยุน ่ เติบโต และทันต่อการเปลียนแปลงของกระแสโลก ในอดีต สิง คโปร์เปนเมืองท่ า (Port City) ที มีประชากรหนาแน่ น มีป ญหามลภาวะด้ านต่ า ง ๆ และปญหาด้าน การจราจร ต่ อมาในยุ คอุ ต สาหกรรม สิงคโปร์ไ ด้ ส ร้า งพืนที อุ ต สาหกรรม (Industrial City) ที เกาะจู ร ง โดยเน้ นการใช้แรงงานของประชากร เมือเทคโนโลยีมีก ารพัฒ นามากขึนและการเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ สูงขึน สิงคโปร์ได้เ ปลี ยนทิ ศ ทางการพัฒนามายังธุ ร กิ จ และอุ ต สาหกรรมที มีมูล ค่ าสูง (Business Park) จนกระทั ง ปจจุ บัน สิงคโปร์มุ่ง เน้ นการพัฒ นาเศรษฐกิ จ ที ใช้ค วามรู แ ้ ละเทคโนโลยีร ะดั บ สูง (Knowledge Economy) เพือเทคโนยีสะอาดไม่ก่อมลภาวะและการสร้า งเมือ งในสวน (City in Garden)
หน้ า 5
"ทุ ก หน่ ว ยงานทํา งานร่ว มกั น " การก่อตังสภาเศรษฐกิจอนาคตของสิงคโปร์ (Future Economy Council) เปนการทํางานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน ภาครัฐทุกกระทรวง และมีการจัดตังคณะอนุกรรมการแต่ละด้าน ได้แก่ การพัฒนาภาคการผลิตและอุ ตสาหกรรม ภาคการก่อสร้าง การค้าและการคมนาคมขนส่ง การบริการสําหรับประชาชนทีจําเปนในประเทศ การพัฒนาบริการ สมัยใหม่ และการพัฒนาธุรกิจทีเหมาะสมกับวิถีชวี ต ิ ของคนยุคปจจุบน ั โดยมีหน่วยงานรับผิดชอบหลักแต่ละด้าน ดังแสดงในแผนภาพ
การวางผังเมืองแบบหลายศูนย์กลาง (Polycentric Planning) เปนส่วนหนึง ของการวางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาวของสิงคโปร์ สถานการณ์แพร่ระบาดโควิด-19 ทําให้มก ี ารทํางานจากทีบ้านกระตุ้นให้ วางผังเมืองเกิดเปนย่านเซลลูลาร์อัจฉริยะเพือให้สะดวกต่อทุกคน
หน้ า 6
การพัฒนาประเทศอัจฉริยะ เศรษฐกิจอัจฉริยะ เพิมประสิทธิภาพทางธุรกิจ สร้างงานและโอกาสใหม่ ๆ รองรับเศรษฐกิจในอนาคต
รัฐบาลดิจท ิ ัล
ภาคประชาชน สร้างการมีสว่ นร่วมจากประชาชน โดยผูค ้ นได้ลองสิงใหม่ ๆ และสร้างเสริมทักษะใหม่ ๆ เพือพร้อมสําหรับการใช้งานสิงต่าง ๆ แบบดิจท ิ ัลและมีทักษะดิจท ิ ัลขันพืนฐาน ภาคธุรกิจและอุ ตสาหกรรม สร้างสรรค์วธ ิ ก ี ารดําเนินงานใหม่และส่งมอบผลิตภัณฑ์และ บริการทีดียงขึ ิ น ภาครัฐบาล ให้บริการสาธารณะระดับโลก โดยรัฐบาลจําเปนต้องเปดให้ ประชาชนเข้าถึงสิงต่าง ๆ ได้ง่ายขึนด้วยระบบดิจท ิ ัลและ เตรียมความพร้อมด้านดิจท ิ ัลให้แก่ประชาชนอย่างทัวถึง
ให้บริการจากหน่วยงานภาครัฐแบบบูรณาการ และไร้รอยต่อ ส่งเสริมการกําหนดนโยบายและการดําเนินงาน ทีชาญฉลาดมากขึน
สังคมดิจท ิ ัล ใช้ชวี ต ิ อย่างสะดวกสบายและเชือมต่อกันมากขึน มองโลกในแง่ดีและแสวงหาโอกาส
"การสร้า งประเทศอั จ ฉริย ะ ต้ อ งอาศั ย ความร่ว มมื อ ร่ว มใจ ของทุ ก คนทุ ก ภาคส่ ว นในชาติ " หน้ า 7
SUSTAINABLE ENVIRONMENT
สิงแวดล้อมทีมีความยังยืน
โครงการเขือนและอ่างเก็บนํา Marrina Barrage
การแก้ปญหาการขาดแคลนนํา
1) แยกนําจืดจากนําทะเล 2) ปองกันนําท่วม 3) เปนพืนทีพักผ่อนหย่อนใจและพืนทีสันทนาการ
สิงคโปร์ลงทุนในการวิจย ั และการใช้เทคโนโลยีสาํ หรับ การบําบัดนําเสีย การรีไซเคิลนํา และการกักเก็บนําแบบ บูรณาการทีมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า
"การวางผั ง นําและผั ง พื นที สี เ ขี ย วของสิ ง คโปร์เ ริมขึ นในป พ.ศ. 2534" ถึงแม้วา่ ในระหว่างป พ.ศ. 2529 - 2553 ประชากรเพิมขึนจาก 2.7 ล้านคนเปน 5 ล้านคน พืนทีสีเขียวในสิงคโปร์ก็ได้เพิมขึนจาก 35.7% เปน 50% ของพืนทีทังหมด
หน้ า 8
GREEN & HEALTHY ECO-SYSTEMS ระบบนิเวศสีเขียวและสุขภาวะ
ABC Waters Programme (Active - Beautiful - Clean) เปนโครงการริเริมทีสอดรับกับกลยุทธ์ในการปรับปรุงคุณภาพนํา และเพิมคุณภาพชีวต ิ ของประชาชนโดยการใช้ประโยชน์จาก แหล่งนําทีมีอย่างเต็มประสิทธิภาพ
เส้นทางระบบนิเวศไบโอฟลิก (Biophilic Corridors) เมืองไบโอฟลิกเปนการอาศัยอยูใ่ นธรรมชาติอย่างกลมกลืน หลากมิติด้วยพืชหลายชนิดทีรองรับสัตว์และสิงมีชวี ต ิ ชนิดอืน ๆ อย่างอุ ดมสมบูรณ์ เต็มไปด้วยปาไม้ สวน ลําธาร และสภาพแวดล้อม ทางทะเลทีเชือมโยงกันเปนเส้นทางระบบนิเวศน์ทีมีองค์ประกอบ ตามธรรมชาติครบถ้วน
เมืองในธรรมชาติ (City in Nature) เปนการผสมผสานพืนทีสีเขียวและแหล่งนําทีทําให้พช ื และสัตว์ อยูอ ่ าศัยได้ตามธรรมชาติ
หน้ า 9
เมืองในธรรมชาติ
พลังงานสะอาด
เศรษฐกิจสีเขียว
ความเปนอยู่ อ่ยา่ งยังยืน อนาคตทียืดหยุน ่ และปรับตัวได้ตามสภาวการณ์
SG GREEN PLAN ผั ง สิ ง คโปร์สี เ ขี ย ว
เปนวาระแห่งชาติของสิงคโปร์ ในการก้าวเข้าสูก ่ ารพัฒนาสิงแวดล้อมอย่างยังยืน และสามารถรับมือกับภาวะโลกร้อนและสภาวะอากาศ แปรปรวนได้
หน้ า 10
HIGH QUALITY OF LIFE คุณภาพชีวต ิ สูงในสิงคโปร์ เนืองจากสิงคโปร์เปนประเทศทีมีพนที ื ขนาดเล็ก จึงจําเปนต้อง พัฒนาเมืองให้มค ี วามหนาแน่นสูง ในขณะเดียวกันได้มก ี ารสร้าง สภาพแวดล้อมสําหรับการอยูอ ่ าศัยทียังยืนและสะดวกสบาย สําหรับผูค ้ นในการใช้ชวี ต ิ ทํางาน เรียนรู ้ และพักผ่อนหย่อนใจ เพือให้มนใจได้ ั วา่ สิงคโปร์มค ี วามน่าอยู่
ย่านทีอยูอ ่ าศัยในสิงคโปร์ จํานวน 24 แห่ง เปนชุมชนทีเชือมต่อถึงกันโดยสะดวกด้วยการวางแผน การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในแนวเส้นทางการคมนาคมขนส่ง ทีดี มีประสิทธิภาพ และมีทางเลือกในการเดินทางสัญจร ทีหลากหลาย
พัฒนาการรูปแบบโครงการทีอยูอ ่ าศัยในสิงคโปร์ในลักษณะอาคารสูงเพือให้การใช้ประโยชน์ทีดินคุ้มค่า หน้ า 11
HDB SMART HUB
เปนแพลตฟอร์มดิจท ิ ัลทีรวมข้อมูลจากโครงการทีอยูอ ่ าศัย 10,000 แห่ง ใน 24 ย่าน เพือเผชิญกับความท้าทายในเมือง เช่น โครงสร้างพืนฐานทีมีอายุการใช้งานหลายปและการเปลียนแปลงสภาพภูมอ ิ ากาศ ข้อมูลดิจท ิ ัลทีนํามาใช้จะทําให้ การบริหารจัดการทีอยูอ ่ าศัยให้กับประชาชนมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยมากยิงขึน
หน้ า 12
A CITY OF CULTURE & HERITAGE "การหาจุ ด สมดุ ล ระหว่ า งการพั ฒ นาเมื อ งและการอนุ ร ัก ษ์ ม รดกวั ฒ นธรรมเปนสิ งสํา คั ญ ที ทํา ให้ เ มื อ งมี เ สน่ ห์ และสามารถสื บ ทอดสิ งที ดี ใ ห้ ค นรุ ่น ต่ อ ไปได้ "
หน้ า 13
INTEGRATED MASTER PLANNING AND DEVELOPMENT การบูรณาการระหว่างการวางผังเมืองและการพัฒนา
การจัดทําผังเมืองสิงคโปร์เปนการวางแผนระยะยาว
โครงการพัฒนาเมืองอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐทุกฝายทีเกียวข้องเพือให้ เกิดผลสําเร็จเปนรูปธรรม หน้ า 14
DYNAMIC URBAN GOVERNANCE การดําเนินการของภาครัฐทีมีประสิทธิภาพและทันต่อการเปลียนแปลง มีวส ิ ย ั ทัศน์และเปนไปได้ในการดําเนินการ
โครงการ Greening Singapore จุดเริมต้นมาจากวันปลูกต้นไม้ ครังแรกในป พ.ศ.2514 นําโดย นายกรัฐมนตรีลี กวน ยู จนปจจุบน ั เกิดเปนโครงการ Gardens by the Bay ทีมีชอเสี ื ยงระดับโลก
ทํางานตรงตามความต้องการของตลาดปจจุ บน ั
ตัวอย่าง โรงกําเนิดพลังงานไฟฟาจากการเผาขยะซึงเปนโครงการ ร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน (Public Private Partnership หรือ PPP) หน้ า 15
ASEAN SMART CITIES NETWORK เครือข่ายเมืองอัจฉริยะอาเซียน (Asean Smart Cities Network: ASCN) เปนเวทีสาํ หรับเมืองต่างๆ ทัวอาเซียน ในการทํางานร่วมกันโดยมีเปาหมายหลักในการปรับปรุงคุณภาพชีวต ิ ของประชาชนและพัฒนาเมืองให้มค ี วามยังยืน โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ เปนตัวกระตุ้นเพือให้เกิดเมืองอัจฉริยะ สมาชิกในเครือข่ายเมืองอัจฉริยะอาเซียน มีจาํ นวน 26 เมือง ดังปรากฏในแผนที ประเทศไทยเข้าร่วมเปนสมาชิก 3 เมือง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดชลบุร ี และจังหวัดภูเก็ต
ก่อนจบการบรรยาย วิทยากรได้ขอเชิญให้ผเู้ ข้ารับการฝกอบรมและผูส ้ นใจเข้าร่วมการประชุมออนไลน์ World Cities Summit 2021 หัวข้อ "เมืองน่าอยูแ ่ ละยังยืน: การปรับตัวให้เข้ากับโลกทีเปลียนไป" ในวันที 21 - 23 มิถน ุ ายน 2564 รายละเอียดเพิมเติมติดตามได้จาก www.worldcitiessummit.com.sg หน้ า 16
OVERCOMING CONSTRAINTS TO SUSTAINING MOBILITY: SINGAPORE'S LAND TRANSPORT POLICIES & PLANNING นโยบายและการวางแผนระบบคมนาคมขนส่งทางบกในสิงค์โปร์ ในช่วงป ค.ศ. 1950s - กลาง ค.ศ. 1970s ปญหาด้านการจราจรและขนส่งในสิงคโปร์ ได้แก่ การเติบโตจํานวนประชากร อย่างรวดเร็ว พืนทีประเทศมีขนาดจํากัด ปญหาจราจรติดขัด การให้บริการรถโดยสารสาธารณะไม่เพียงพอต่อการใช้งาน ขาดการบํารุงรักษาระบบสาธารณูปการ และขาดการวางแผนระยะยาว ในป ค..ศ. 1965 สิงคโปร์มป ี ระชากรจํานวน 1.9 ล้านคน และมีจาํ นวนรถยนต์สว่ นบุคคล 160,000 คัน ปจจุบน ั สิงคโปร์มป ี ระชากร จํานวน 5.7 ล้านคน จํานวนรถส่วนบุคคล 959,000 คัน เรียกได้วา่ สิงคโปร์เปนมหานครทีมี ความทันสมัยแห่งหนึงของโลกทีถูกขับเคลือนด้วยการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ ในขณะเดียวกัน สิงคโปร์สามารถเดินทาง ไปมาระหว่างประเทศได้อย่างสะดวก ประชาชนมีคณ ุ ภาพชีวต ิ สูง และเมืองมีสงแวดล้ ิ อมทียังยืน น่าอยู่ เดินทางได้ง่ายขึน ด้วยระบบคมนาคมขนส่งทีครอบคลุมและมีทางเลือกทีหลากหลายมากขึน
อดีต
ปจจุ บน ั
รถไฟฟา ปริมาณสัญจร 3.5 ล้านเทียว ระยะทาง 229 กิโลเมตร จํานวน 180 สถานี รถโดยสารสาธารณะ ปริมาณสัญจร 4 ล้านเทียว บน 350 เส้นทาง จํานวน 5,600 คัน แท็กซีและรถเช่า
ปริมาณสัญจร 1.1 ล้านเทียว จํานวน 65,000 คัน หน้ า 17
CHALLENGES ความท้าทาย
ขนาดพืนทีจํากัดเพียง 725 ตร.กม.
ประชากรสูงอายุเพิมขึน
ความต้องการใช้งาน เพิมมากขึน
SOLUTIONS
ขาดแคลนแรงงาน และความรูด ้ ิจท ิ ัล
ทางออก
จัดทําผังการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนโดย การมีสว ่ นร่วมจากสาธารณะและความเห็นชอบ จากประชาชน
ผังการพัฒนาระบบขนส่งมวลชน วิสย ั ทัศน์ป ค.ศ. 2040 (Land Transportation Master Plan 2040)
การบูรณาการระหว่างการวางผังเมืองและการพัฒนาโดยการทํางานร่วมกันระหว่างหน่วยงานรัฐทีเกียวข้อง หน้ า 18
SOLUTIONS
ทางออก จัดทํายุทธศาสตร์การพัฒนาระบบขนส่งมวลชน ระยะสัน ระยะกลาง และระยะยาว เพิมประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ทีดินให้มี ความหนาแน่นสูง เพิมมูลค่าสูงสุดให้แก่ทีดินในแนวแกนรถไฟฟา เพิมการใช้งานระบบขนส่งสวลชนให้ทัวถึงทุกพืนที คํานึงระหว่างปริมาณความต้องการใช้งานรถโดยสาร สาธารณะและการพึงพารถยนต์สว่ นบุคคล วางแผนเส้นทางคมนาคมในอนาคต
บูรณาการระหว่างการพัฒนาเส้นทางคมนาคม และโครงการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัย
ขยายเส้นทางและการเชือมต่อระบบราง มีเปาหมายในการขยายระยะทางเส้นทางจาก 182 กิโลเมตร เปน 360 กิโลเมตร ภายในป ค.ศ. 2030
พัฒนาพืนทีรอบสถานีขนส่งมวลชน (Transit-Oriented Development หรือ TOD) การใช้ประโยชน์ทีดินแบบผสมผสาน (Mixed uses) ความหนาแน่นสูง เชือมต่อพืนทีโดยสะดวก มีทางเลือกในการสัญจรทีหลากหลาย มีการออกแบบการใช้พนที ื สวยงามคุณภาพสูง
หน้ า 19
SOLUTIONS
ทางออก มีหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการดําเนินงาน สิงคโปร์จด ั ตัง Land Transport Authority (LTA) ในป ค.ศ. 1995 เพือทําหน้าที ดังนี 1) การกําหนดนโยบายการขนส่งทางบก 2) บูรณาการแผนการขนส่งกับการใช้ประโยชน์ทีดิน 3) วางแผน ออกแบบ และพัฒนาระบบขนส่งระบบ RTS 4) วางแผน ออกแบบ และพัฒนาถนนและโครงสร้างพืนฐาน 5) จัดการการจราจรบนถนนและบํารุงรักษาโครงสร้างพืนฐาน 6) กําหนดราคาการใช้งาน 7) ควบคุมการบริการขนส่งสาธารณะ 8) ควบคุมการเปนเจ้าของรถยนต์สว่ นตัวและการใช้งาน 9) วางแผนเครือข่ายรถโดยสารประจําทาง 10) บริหารจัดการตัว ระบบการชําระเงิน การทําธุรกรรม การกําหนดราคาการใช้ถนน และระบบทีจอดรถ อิเล็กทรอนิกส์
หน่วยงาน Public Transport Council (PTC) จัดตังขึนเปนองค์กรอิสระในป ค.ศ. 1987 เพือทําหน้าทีกําหนดรูปแบบการให้บริการรถโดยสาร สาธารณะ การกําหนดราคาและจําหน่ายตัวโดยสาร เจ้า หน้าทีขับรถและพนักงาน
FINANCING FRAMEWORK
ด้านการเงินและการลงทุน
ภาครัฐ - เปนผูล ้ งทุนและดําเนินการก่อสร้างทังหมด ผูด ้ ําเนินการ - ดูแลการคืนทุนจากผลกําไร เช่น ค่าโดยสาร ค่าโฆษณา และอืน ๆ ผูใ้ ช้บริการ - จ่ายค่าโดยสาร แผนภาพแสดงหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการดําเนินการ ระบบขนส่งมวลชนและการบริหารจัดการภายใต้การดูแลจากกระทรวงคมนาคม หน้ า 20
ELECTRONIC ROAD PRICING (ERP)
การจัดเก็บค่าผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์แบบใหม่จากรถยนต์ทีเดินทางเข้าเมือง
การจัดเก็บค่าผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์จากรถยนต์และ รถจักรยานยนต์ทีเดินทางเข้าเมืองรูปแบบใหม่ในสิงคโปร์ ระบบจะประมวลผลจากข้อมูลดาวเทียมทีได้รบ ั จาก กล่อง ERP บนรถ เมือรถเดินทางเข้าสูใ่ นเขตพืนทีทีกําหนด ราคาค่าเข้าและระยะทางทีรถยนต์สญ ั จรในพืนที ผูใ้ ช้งานติดตังกล่องอุ ปกรณ์หน้ารถของตนเองและ สอดบัตร เติมเงิน หรือบัตร EZ-Link card ในอุ ปกรณ์ เพือจ่ายเงินอัตโนมัติ
นโยบายลดจํานวนรถยนต์บนผิวถนนของสิงคโปร์ 1. การควบคุมการเปนเจ้าของรถยนต์สว ่ นบุคคล 1.1 จํากัดจํานวนรถยนต์ทีเปนเจ้าของ 1.2 เพิมค่าใช้จา่ ยในการใช้รถยนต์สว่ นบุคคลจากค่าทะเบียน รถยนต์ทีเพิมขึน ภาษีรถยนต์ และภาษีการใช้ถนน 2. จํากัดการใช้งาน 2.1 จัดเก็บค่าผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ (ERP) 2.2 ภาษีการใช้นํามัน 2.3 ค่าจอดรถสูง หน้ า 21
ENVIRONMENTAL SUSTAINABILITY & CLEANING A NATION สิงแวดล้อมทียังยืนและการทําประเทศสิงคโปร์ให้สะอาด ในป ค.ศ. 1965 สิงคโปร์ได้รบ ั อิสรภาพจากการเปนอาณานิคมของอังกฤษ สภาพภูมศ ิ าสตร์เปนพืนทีเกาะ มีเนือที 720 ตารางกิโลเมตร ปจจุบน ั มีประชากรจํานวน 5.7 ล้านคน ภูมป ิ ระเทศเปนทีลุ่มตํา ไม่มท ี รัพยากรธรรมชาติ อากาศร้อนชืน จุดเน้นการพัฒนาสิงคโปร์ คือ ความยังยืนด้านสิงแวดล้อมเพือธํารงรักษาและปกปองสิงแวดล้อม ใช้ประโยชน์สง ู สุดจากสิงทีมี ปกปองสิงคโปร์จากอุ ทกภัยและภัยแล้ง และทําสิงคโปร์ให้สะอาดอยูเ่ สมอ เพือให้แน่ใจว่า ชาวสิงคโปร์สามารถมีความสุข เพลิดเพลินกับสิงแวดล้อมสีเขียว และมีสข ุ อนามัยทีดี
อดีต
การบุกรุกทีดินเพือสร้างทีอยูอ ่ าศัย
กําจัดสิงปฏิกล ู
การค้าในตลาดเปดโล่ง
ร้านค้าริมถนน หน้ า 22
VISION
ภาพอนาคตทีต้องการ
"สิงแวดล้อมสะอาด เมืองสีเขียว และคุณภาพชีวต ิ ทีดี" อดีต
เปดร้านซ่อมรถยนต์หลังบ้าน
ทิงขยะในทีสาธารณะ
โรงงานไอศกรีมผิดกฎหมาย
ปญหามลภาวะทางนําและทางอากาศ
ฟาร์มปศุสต ั ว์
ปญหานําท่วม
หน้ า 23
MOTIVATION แรงจูงใจทีอยากทําให้เกิดการพัฒนา มุง ่ มันเพือมาตรฐานการครองชีพทีสูงขึนและคุณภาพชีวต ิ ทีดี เพิมความได้เปรียบในการแข่งขันเพือดึงดูดการลงทุน บุคลากรความสามารถสูง และนักท่องเทียว เพิมขวัญกําลังใจของคนในชาติและคุณธรรมจริยธรรม
POLITICAL WISDOM & LEADERSHIP
ภูมป ิ ญญาทางการเมืองและความเปนผู้นํา
วิสย ั ทัศน์
นําไปสู่
ความเปนจริง
ี าการพัฒนาคุณภาพสิงแวดล้อม 6 หลักการทีใช้ชนํ 1. ควบคุมมลภาวะจาก แหล่งกําเนิด ปองกันการเกิดมลภาวะ ไม่มก ี าร "พัฒนาไปก่อน แล้วทําความสะอาดทีหลัง"
4. เทคโนโลยีและนวัตกรรม
2. ผู้ก่อมลภาวะต้องจ่าย ใช้เปนหลักการพืนฐาน
5. อนุรก ั ษ์ทรัพยากร อนุรก ั ษ์พลังงาน ใช้หลัก 3R: Reduce - Reuse - Recycle
3. ปฏิบต ั ิการแต่เนิน ๆ ปองกันดีกว่าตามแก้ไข 6. สร้างความเปนเจ้าของ ด้านสิงแวดล้อม ดําเนินการร่วมกันเพือทําให้ สิงคโปร์สะอาด เปนเมืองสีเขียว และน่าอยู่ หน้ า 24
5 ยุทธศาสตร์ ด้านสิงแวดล้อมของสิงคโปร์ ยุทธศาสตร์ที 1 - การวางแผนสิงแวดล้อม การใช้ประโยชน์ทีดิน พิจารณาปจจัยด้านสิงแวดล้อมทังหมด พิจารณาสถานการณ์ของการพัฒนาเมืองในปจจุบน ั จัดสรรทีดินสําหรับโครงสร้างพืนฐานด้านสิงแวดล้อม ควบคุมการวางแผนและการพัฒนาเมือง ปฏิบต ั ิตามกฎหมาย กฎ และระเบียบด้านสิงแวดล้อม ใช้มาตรการควบคุมมลพิษทีเกิดขึนจากการพัฒนา
ยุทธศาสตร์ที 2 - โครงสร้างพืนฐานด้านสิงแวดล้อม มีระบบการบริหารจัดการขยะของเสียแบบองค์รวม มีหน่วยบําบัดนําเสีย
ยุทธศาสตร์ที 3 - กฎหมายสิงแวดล้อมและการบังคับใช้ กฎหมายสิงแวดล้อมของสิงคโปร์ พระราชบัญญัติการคุ้มครองและการจัดการสิงแวดล้อม พระราชบัญญัติการสาธารณสุขสิงแวดล้อม พระราชบัญญัติการระบายนําทิงและการระบายนําท่วม การบังคับใช้กฎหมาย มีแนวทางปฏิบต ั ิทีชัดเจนและสามารถทําได้ มันคงในหลักการ ยุติธรรม สมเหตุสมผล และสมําเสมอในการปฏิบต ั ิ
ยุทธศาสตร์ที 4 - การเฝาติดตามด้านสิงแวดล้อม การตรวจสอบคุณภาพอากาศและนํา ประเมินคุณภาพสิงแวดล้อมทางธรรมชาติและขนาด/ปริมาณมลพิษ ประเมินประสิทธิภาพผลการบังคับใช้กฎหมายในการควบคุมมลพิษ กําหนดแนวโน้มการพัฒนาด้านสิงแวดล้อม ทบทวนนโยบายและ มาตรฐานสิงแวดล้อม แนะนําแนวทางในการใช้ประโยชน์ทีดิน ควบคุม มลภาวะทีมีผลต่อสิงแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที 5 - การให้ความรูแ ้ ละการศึกษาด้านสิงแวดล้อม ปลูกฝงจิตสํานึกด้านสิงแวดล้อม ปลูกฝงความเปนเจ้าของสิงแวดล้อม แนวทางปฏิบต ั ิ ได้แก่ การสือสาร การมีสว่ นร่วม และการเสริมพลังใน ภาคีทีมีสว่ นร่วม
หน้ า 25
MISSION : CLEANING SINGAPORE 3 ยุทธศาสตร์สาํ คัญ
"เปลียนสิงคโปร์ให้เปนหนึงในเมืองทีสะอาดทีสุดในโลก" ยุทธศาสตร์ที 1 ทําความสะอาดพืนที กฎหมาย ก่อนป พ.ศ. 2511 มีการปองกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชือและควบคุมการระบาดของโรค ป พ.ศ. 2511 มีพระราชบัญญัติการสาธารณสุขสิงแวดล้อมระบุขอ ้ กําหนดการก็บขยะและการกําจัด สถานทีสําหรับ จัดเก็บขยะ การทิงขยะมูลฝอย การทําความสะอาดถนน ท่อระบายนํา และพืนทีสาธารณะ โดยกฎหมายมีรายละเอียด การบังคับใช้ชด ั เจน ไม่สามารถต่อรองบทลงโทษ การบังคับใช้กฎหมาย บังคับใช้กฎหมายเหมือนกันทังประเทศ มีความสมําเสมอในการปฏิบต ั ิ หนักแน่น ยุติธรรม การลงโทษตามกฎหมายกระทําอย่างรวดเร็ว การให้ความรูแ ้ ก่ประชาชน ปลูกฝงจิตสํานึกให้กับประชาชนทุกคน สร้างความรับผิดชอบต่อสังคม และมีระเบียบวินัย มีวธ ิ ก ี ารการสือสารกับประชาชน สร้างการมีสว่ นร่วม และเสริมพลังร่วมกันในการรักษาสิงแวดล้อม สร้างความรูส ้ ก ึ ในการเปนเจ้าของสิงแวดล้อมร่วมกัน การจัดการขยะมูลฝอย มีการจัดการขยะทีสะดวก เชือถือได้ และมีประสิทธิภาพ บริการเก็บขยะทุกวันเพือปองกันการระบาดของโรค รักษามาตรฐานด้านสาธารณสุขระดับสูง หน้ า 26
ยุทธศาสตร์ที 2 ย้ายผู้ค้าริมทาง หาบเร่ แผงลอย ในป ค.ศ. 1960 สิงคโปร์มผ ี ค ู้ ้าริมทาง หาบเร่ แผงลอยจํานวนมาก ทีไม่ถก ู สุขอนามัย สร้างมลพิษทางนํา กีดขวางการจราจร อีกทังยังทําให้ การทําความสะอาดพืนทีสาธารณะ ถนน และท่อระบายนําทําได้ยาก พืนทีบางแห่งมีสภาพคล้ายชุมชนแออัด ในป ค.ศ. 1968 - 1969 ได้มก ี ารสํารวจจํานวนผูค ้ ้าริมทาง หาบเร่ แผงลอย พบว่า มีจาํ นวนประมาณ 24,000 ราย เพือลดจํานวนผูค ้ ้าดังกล่าว รัฐบาลได้ออกมาตรการย้ายผูค ้ ้า ดังนี
มาตรการย้ายผู้ค้าริมทาง หาบเร่ แผงลอยระยะสัน ย้ายผูค ้ ้าไปยังพืนทีทีกําหนดเปนการชัวคราว เช่น พืนทีเปดโล่ง ทีจอดรถ เลนถนนด้านข้างหรือเลนถนนด้านหลัง มาตรการย้ายผู้ค้าริมทาง หาบเร่ แผงลอยระยะยาว ย้ายผูค ้ ้าไปยังศูนย์อาหารและตลาด จนสามารถย้ายผูค ้ ้าทังหมดได้ในกลางป ค.ศ. 1980
ยุทธศาสตร์ที 3 ทําความสะอาดแม่นาสิ ํ งคโปร์ แม่นําสิงคโปร์เปนสายเลือดแห่งชีวต ิ ของชาวสิงคโปร์และ เปนศูนย์กลางของกิจกรรมทางการค้า จนกระทังป ค.ศ. 1960 แม่นําสิงคโปร์กลายเปนแม่นําทีขาดชีวต ิ ชีวาเนืองจากมีการ ระบายนําและทิงขยะลงแม่นําจนกระทังนําในแม่นํากลายเปน สีดํา มีกลินเน่าเหม็นเกรอะกรัง ปลา สัตว์นํา และสิงมีชวี ต ิ ต่าง ๆ ไม่สามารถอยูอ ่ าศัยในแม่นําแห่งนีได้
ปญหาและความท้าทาย เนืองจากแม่นําสิงคโปร์และลุ่มนํากัลลังกินพืนที 1/6 ของประเทศ การทําความสะอาดแม่นําสิงคโปร์จง ึ ไม่ใช่แค่ การขุดลอกแม่นําเท่านัน แต่ยง ั รวมถึงการกําจัดแหล่งกําเนิด มลพิษเพือเปนพืนทีสําหรับกิจกรรมการดํารงชีวต ิ ต่าง ๆ มีโครงสร้างพืนฐานด้านสิงแวดล้อมทีสมบูรณ์ สามารถพัฒนา พืนทีริมแม่นําให้เปนทีอยูอ ่ าศัย พืนทีการค้า และสิงอํานวย ความสะดวกอืน ๆ ดังนัน การทําความสะอาดแม่นําสิงคโปร์ จึงต้องคํานึงถึงปจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม สิงแวดล้อม และ การมีสว่ นร่วมของผูม ้ ส ี ว่ นได้สว่ นเสีย
หน้ า 27
แผนภาพแสดงการทํางานร่วมกันของหน่วยงานภาครัฐสิงคโปร์ นําโดยกระทรวงสิงแวดล้อม
แผนแม่บทการทําความสะอาดแม่นาสิ ํ งคโปร์และลุ่มนํากัลลัง พ.ศ. 2520 - 2530 เปาหมาย กําจัดแหล่งกําเนิดมลพิษ รักษาคุณภาพนําเพือให้ปลาและสัตว์นําอืน ๆ อาศัยอยูไ่ ด้และเปนพืนทีเหมาะสําหรับกิจกรรมสันทนาการทางนํา ี ารดําเนินการ วิธก 1. ติดตามแหล่งกําเนิดมลพิษ 2. กําจัดแหล่งกําเนิดมลพิษ - พัฒนาแผนปฏิบต ั ิการ - ปรับปรุงโครงสร้างพืนฐานด้านสิงแวดล้อมทีมีอยูแ ่ ละ ทําการก่อสร้างเพิม - ทบทวนโครงสร้างการทํางานของหน่วยงานทีเกียวข้อง และกฎหมาย 3. ดําเนินการขุดลอกแม่นํา 4. ฟนฟู พนที ื ริมแม่นําและสร้างความสวยงามให้กับพืนที
แหล่งกําเนิดมลพิษ บ้านเรือนทีบุกรุกริมนํา 26,000 ครัวเรือน อาคารทีไม่ได้รบ ั การซ่อมแซม 21,000 แห่ง ผูค ้ ้าหาบเร่แผงลอยริมถนน 24,000 ราย ผูค ้ ้าส่งผักและผลไม้ 390 ราย อุ ตสาหกรรมทีผลิตหลังบ้านตนเอง 3,600 ราย ร้านซ่อมมอเตอร์ 430 ราย ฟาร์มเลียงสุกร 610 ราย ฟาร์มเลียงเปด 480 ราย อู ่เรือ 64 แห่ง โปะเรือและเรือสําเภา 770 ลํา
แผนปฏิบต ั ิการ ย้ายผูท ้ ีอยูใ่ นชุมชนแออัด บ้านเรือนทีบุกรุกพืนทีริมแม่นํา หรืออยูใ่ นอาคารทีไม่ได้รบ ั การซ่อมแซมให้เข้าไปอยู่ ในอาคารพักอาศัยในโครงการเคะหะแห่งชาติสง ิ คโปร์ (HDB) ย้ายผูป ้ ระกอบกิจกรรมอุ ตสาหกรรมไปทีนิคมอุ ตสาหกรรม JTC ปจจัยแห่งความสําเร็จทีสําคัญ ย้ายผูค ้ ้าหาบเร่แผงลอยริมถนนไปยังศูนย์อาหารหรือตลาด ย้ายผูค ้ ้าส่งผักและผลไม้ไปศูนย์ค้าส่ง เจตจํานงทางการเมืองและความเปนผูน ้ ํา ย้ายโปะเรือและกิจกรรมทางนําไปที Pasir Panjang การประสานงานระหว่างหน่วยงาน ย้ายเรือและอู ่เรือไปยังพืนทีศูนย์ควบคุมมลพิษ ร่วมมือกับผูม ้ ส ี ว่ นได้สว่ นเสีย ปรับปรุงระบบท่อนําทิงทีมีอยูแ ่ ละสร้างระบบใหม่ ความยังยืนในการรักษาสิงคโปร์ให้สะอาด ปรับปรุงโรงเก็บขยะ ขุดลอกแม่นํา ปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพและเพิมความสวยงามของพืนทีริมฝงแม่นํา หน้ า 28
สภาพแม่นําสิงคโปร์ในป พ.ศ. 2530 ภายหลังดําเนินการ นําในแม่นําสะอาด ปลา และสัตว์นําสามารถอยูอ ่ าศัยได้ มีพนที ื กิจกรรมสันทนาการเพือการพักผ่อนหย่อนใจ สามารถล่องเรือในแม่นําได้ ภูมท ิ ัศน์รม ิ แม่นําได้รบ ั การปรับปรุงให้มค ี วามสวยงาม มีหาดทราย พืนทีริมแม่นําได้รบ ั การพัฒนาให้มม ี ูลค่าสูงขึน
หน้ า 29
North Boat Quay
Robertson Quay
1981
1980
1987
Jiak Kim Street
1987 Kampong Bugis
1982
1983
1987
1987
แม่นําสิงคโปร์ในปจจุ บน ั
หน้ า 30
SINGAPORE HOUSING: FROM SLUMS TO SMART TOWNS ทีอยูอ ่ าศัยในสิงคโปร์ จากสลัมเปนเมืองอัจฉริยะ แม้วา่ สิงคโปร์จะเปนประเทศขนาดเล็กทีมีพนที ื จํากัด แต่ในปจจุบน ั สิงคโปร์ สามารถสร้างสภาพแวดล้อมการอยูอ ่ าศัยทียังยืนและสะดวกสบายสําหรับ ผูค ้ นในการใช้ชวี ต ิ ทํางาน เรียนรู ้ และพักผ่อนหย่อนใจเพือให้แน่ใจว่า ประชาชนทุกคนสามารถอยูอ ่ าศัยได้อย่างมีความสุขโดยการพัฒนารูปแบบ ทีอยูอ ่ าศัยทีมีความหนาแน่นสูง ในป ค.ศ. 1964 มีประชาชนทีอยูอ ่ าศัยในโครงการเคหะแห่งชาติสง ิ คโปร์ จํานวนเพียง 23% ต่อมา เมือโครงการเคหะได้รบ ั การพัฒนามากขึน ในป ค.ศ. 2019 มีประชาชนทีอยูอ ่ าศัยในโครงการเคหะแห่งชาติสง ิ คโปร์จาํ นวน 81% หรือ 3.2 ล้านคน ภายใต้ความรับผิดชอบการดําเนินงานของ คณะกรรมการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัย (HDB) ซึงเปนหน่วยงานกลาง ในการวางแผนพัฒนาโครงการก่อสร้าง การจัดสรร และการบริหารจัดการ ทีอยูอ ่ าศัยให้กับประชาชนชาวสิงคโปร์
จัดสรรทีอยูอ ่ าศัย ราคาไม่แพงและ ประชาชนเปน เจ้าของบ้านได้
บํารุงรักษา และยกระดับ สภาพแวดล้อมที ดีในการอยูอ ่ าศัย
นโยบาย ด้านทีอยูอ ่ าศัย
ส่งเสริม การรวมกลุ่มทาง ชาติพน ั ธุ ์ รวมทุก ความต้องการและ ยึดเหนียวกัน
อุ ดหนุนเงินทุนโครงการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัย ให้สน ิ เชือกู้ยม ื และเงินทุน มีทีอยูอ ่ าศัยหลายรูปแบบทีสามารถเลือกให้เหมาะสมกับรายได้ มีทางเลือกหลากหลายสําหรับความต้องการของครอบครัว เช่น คู่หนุ่มสาว ครอบครัวทีมีเด็กหรือผูส ้ ง ู อายุ ให้ความช่วยเหลือในการปรับปรุงทีอยู่ และให้ความเปนธรรม ตอบสนอง ความต้องการ ของวงจรชีวต ิ
ส่งเสริมการรวมกลุ่มทางสังคมผ่านการออกแบบ ทางกายภาพของทีอยูแ ่ ละละแวกบ้าน นโยบายทีอยูอ ่ าศัยสาธารณะ เช่น นโยบายการรวม กลุ่มชาติพน ั ธุ์ โครงการส่งเสริมความผูกพันในชุมชน
มีการบํารุงรักษาและซ่อมแซมเปนประจํา จัดหาสิงทดแทนอุ ปกรณ์ ทีชํารุด ฯลฯ สิงแวดล้อมละแวกบ้าน บล็อกโครงการ และทีอยูอ ่ าศัยแต่ละยูนิต ได้รบ ั การดูแลเปนอย่างดี หน้ า 31
ความท้าทายด้านทีอยูอ ่ าศัยของสิงคโปร์ในช่วงป พ.ศ. 2493 -2503 ชุมชนแออัดมีจาํ นวนเพิมขึน เนืองจากการอพยพย้ายถินและการเพิมขึนของจํานวนประชากรอย่างรวดเร็ว โดยขยายพืนทีชุมชนแออัดไปยังขอบเมืองในสภาพแวดล้อมทีไม่ถก ู สุขอนามัย
ช่วงป พ.ศ. 2503 - 2506 เกิดความจําเปนเร่งด่วนในการแก้ไขปญหาการขาดแคลนทีอยูอ ่ าศัยและลดจํานวนชุมชนแออัด ประกอบกับเหตุการณ์ ไฟไหม้ครังใหญ่ทีทําลายบ้านเรือนไป 2,800 หลังและเกิดการพลัดถินขอคนจํานวน 16,000 คน ดังนัน ในช่วงเวลา ดังกล่าวจึงเน้นการสร้างทีอยูอ ่ าศัยให้เสร็จอย่างรวดเร็วและมีราคาถูกเพือย้ายกลุ่มผูม ้ รี ายได้น้อยไปสูอ ่ าคารพักอาศัย ทีมีสภาพความเปนอยูถ ่ ก ู สุขอนามัยมากขึน การจัดทําโครงการของคณะกรรมการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัย (HDB) จึงเริม จากโครงการทีอยูอ ่ าศัยขนาดเล็กเพือให้เกิดความรอบคอบในการดําเนินการ มีระบบและกระบวนการทํางานทีถูกต้อง
แฟลตในยุคแรก ๆ เน้นการสร้างทีอยูส ่ าํ หรับครอบครัวทีสะอาด ถูกสุขอนามัย มี 2 ขนาด คือ ทีอยู่ 1 ห้อง มีขนาด 35 ตารางเมตร ทีอยู่ 2 ห้อง มีขนาด 45 ตารางเมตร โดยระยะแรกโครงการทีอยูอ ่ าศัยจะได้รบ ั การจัดสรรและสนับสนุนค่าเช่าโดยรัฐบาล
ช่วงป พ.ศ. 2513 - 2522 พัฒนาโครงการทีอยูอ ่ าศัยโดยคํานึงถึงสิงแวดล้อมในการอยูอ ่ าศัย หน้ า 32
ช่วงป พ.ศ. 2523 - 2532 เน้นการพัฒนาโครงการทีอยูอ ่ าศัยเพือสร้างความหลากหลายและส่งเสริมเอกลักษณ์ของท้องถินมากขึน
ช่วงป พ.ศ. 2533 - 2542 มีโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ใหม่ทดแทนโครงการเดิมและปรับปรุงให้อาคารมีสภาพดีขน ึ
ช่วงป พ.ศ. 2543 - 2552 ใช้นวัตกรรมอาคารและการปรับปรุงฟนฟู โครงการเดิมให้มช ี วี ต ิ ชีวามากขึน หลังจากป พ.ศ. 2553 เปนต้นมา พัฒนานวัตกรรมอาคารรูปแบบใหม่อยูเ่ สมอ และมีหลายโครงการทีอยูร่ ะหว่างดําเนินการ หน้ า 33
HOW DID SINGAPORE OVERCOME HOUSING CHALENGES? เหตุใดสิงคโปร์จง ึ ประสบความสําเร็จในการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัยสําหรับประชาชน ? 1. มีหน่วยงานกลางในการดําเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัย (HDB) ได้ก่อตังขึนเมือป พ.ศ. 2503 เพือรับผิดชอบงานทังหมดตังแต่ การวางแผนโครงการ การพัฒนาโครงการให้เปนรูปธรรม การก่อสร้างอาคาร การจัดสรรทีอยูอ ่ าศัยและการ บริหารจัดการ รวมถึงการดูแลโครงสร้างพืนฐานระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และประสานงานกับหน่วยงาน อืน ๆ ของรัฐบาลทีเกียวข้อง
2. โครงการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัยมีความชัดเจนในการดําเนินงาน กําหนดระยะเวลาในการดําเนินโครงการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัยแต่ละโครงการให้ก่อสร้างแล้วเสร็จภายใน 5 ป เพือการวางแผนพัฒนาเมืองและการจัดสรรทรัพยากรและงบประมาณ
3. ทรัพยากร การเข้าถึงแหล่งเงินทุนและทีดินในการพัฒนาโครงการทีอยูอ ่ าศัย โดยได้รบ ั การสนันสนุนจากกฎหมาย
4. การให้สท ิ ธิในการเปนเจ้าของทีอยูอ ่ าศัย เน้นการเปนเจ้าของทีอยูอ ่ าศัยให้กับประชาชน
หน้ า 34
หน้าทีของคณะกรรมการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัย (HDB) ในการบริหารจัดการวงจรชีวต ิ ของโครงการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัย วางแผนและพัฒนาโครงการทีอยูอ ่ าศัยสําหรับประชาชน โดยมีแผนการก่อสร้างโครงการให้แล้วเสร็จภายใน 5 ป ผนวกเข้ากับการวางแผนพัฒนาเมืองระยะยาว ออกแบบอาคารพักอาศัยและโครงสร้างพืนฐาน รวมแปลงทีดินให้เปนผืนใหญ่ ย้ายชุมชนแออัดออกจากพืนทีโครงการ พัฒนานโยบายสําหรับการจัดสรรและการบริหารจัดการทีอยูอ ่ าศัย พืนทีพาณิชยกรรม และอุ ตสาหกรรม จัดสรรหน่วยพักอาศัยให้แก่ประชาชนและบริหารจัดการโครงการ บริหารจัดการขอบเขตพืนทีโครงการ กฎหมายทีสนับสนุนโครงการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัย 1. พระราชบัญญัติการเคหะและการพัฒนา พ.ศ. 2503 นํามาใช้แทน Singapore Improvement Trust (SIT) ในยุคอาณานิคมอังกฤษและจัดตังคณะกรรมการ พัฒนาทีอยูอ ่ าศัย (HDB) นโยบายการรวมกลุ่มชาติพน ั ธุน ์ ํามาใช้ในป พ.ศ. 2532 เพือให้มก ี ารผสมผสานของกลุ่มเชือชาติทีสมดุล 2. พระราชบัญญัติการจัดหาทีดิน พ.ศ. 2510 ให้อํานาจแก่รฐั บาลในการจัดหาทีดินเพือสร้างทีอยูอ ่ าศัยแก่ประชาชน 3. พระราชบัญญัติเทศบาลเมือง พ.ศ. 1988 ให้อํานาจแก่ผแ ู้ ทนราษฎรและประชาชนในพืนทีในการจัดการอสังหาริมทรัพย์ในการดูแลของตน ต่อมามีการแก้ไขพระราชบัญญัตินีเพือให้การดําเนินงานของสภาเมืองมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึน รวมทังเพิมความรับผิดชอบในการทํางาน ปรับปรุงการบริหาร การจัดการทางการเงินและเพิมการกํากับดูแล ของรัฐบาล หน้ า 35
กรอบแนวคิด การสร้างเมืองอัจฉริยะของ HDB
"เมืองน่าอยู่ - มีประสิทธิภาพ - ยังยืน - ปลอดภัย"
SMART CAR PARK วิเคราะห์ขอ ้ มูลเพือควบคุมความต้องการใช้ทีจอดรถ
SMART LIGHTING จัดการระดับแสงสว่างตามสัญจรของคน
SMART ENERGY MANAGEMENT ใช้ระบบ AI เพือเพิมประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และส่งเสริมการอนุรก ั ษ์พลังงาน
SMART WASTE COLLECTION
ขนส่งขยะครัวเรือนโดยใช้ระบบนิวเมติก (Pneumatic System) เพือเพิมระดับสุขอนามัย
หน้ า 36
TREELODGE @ PUNGGUL ชีวติ ในวิถีธรรมชาติ (Eco - Living) โครงการทรีลอดจ์ พังกุลเปนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของ HDB ตังอยูใ่ นเขตอุ ตสาหกรรมดิจท ิ ัลแห่งใหม่ ของสิงคโปร์โดยมีการออกแบบทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม โครงการก่อสร้างแล้วเสร็จเมือป พ.ศ. 2553 มีคลองพังกุล ทีขุดขึนใหม่ให้เปนเส้นทางสัญจรทางนําและพืนทีพักผ่อนหย่อนใจ
1. GREENING เน้นสีเขียวของพืชพันธ์ุ มีระเบียงปลูกต้นไม้และ ทีจอดรถอยูข ่ า้ งใต้ สวนชุมชน ระเบียงบ้านสีเขียว และจัดภูมท ิ ัศน์บริเวณล็อบบีก่อนขึนลิฟท์ หลังคาสีเขียวและเปลือกอาคารสีเขียวในบางช่วง เสาทีออกแบบไว้
4. ENERGY EFFICIENCY แสงเซ็นเซอร์ตรวจจับการเคลือนไหวทีประหยัดพลังงาน ลิฟต์ใช้พลังงานน้อยลง 10% ผนังเย็นใช้แสงธรรมชาติ สูงสุด มีระบบไฟฟาโซลาร์เซลล์บนชันดาดฟาทุกชัน
5. WATER CONSERVATION มีจุดจัดเก็บนําฝน และอุ ปกรณ์ครัวเรือนทีใช้นําน้อยลง
2. CLEAN COMMUTING มีทีจอดรถจักรยานทุกกลุ่มอาคาร สถานีรถไฟฟา LRT / MRT อยูใ่ กล้ในระยะเดินถึงได้อย่างสะดวก
3. WASTE MANAGEMENT มีรางเปนท่อส่งขยะรีไซเคิล การก่อสร้างใช้วส ั ดุ ทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม ใช้สท ี าอาคารทีทําความสะอาด ได้เอง อุ ปกรณ์ในสนามเด็กเล่นใช้วส ั ดุรไี ซเคิล
หน้ า 37
HDB BIOPHILIC TOWN FRAMEWORK
โครงการ PUNGGOL NORTHSHORE
HDB ใช้ขอ ้ มูลแบบเรียลไทม์เพือใช้ในการออกแบบพืนที ให้คนมีการเชือมต่อกันทางสังคม เพิมพืนทีสวนรองรับ นําฝน (Raingarden) สําหรับรองรับปริมาณนําในช่วงที เกิดพายุและส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทัง มีการใช้เซ็นเซอร์เพือคาดการณ์ชว่ งเวลาทีต้องทําการบํารุง รักษา
หน้ า 38
HDB BIOPHILIC TOWN FRAMEWORK
โครงการ TENGAH NEW TOWN
สร้างความรูส ้ ก ึ ของการเปนสถานทีเฉพาะสําหรับ ผูอ ้ ยูอ ่ าศัยทีคํานึงถึงคุณภาพชีวต ิ ทีดีและความ สวยงามของชีวต ิ โดยมีธรรมชาติเปนศูนย์กลาง ผสมผสมเข้ากับพืนทีเพือการพักผ่อนหย่อนใจ ออกกําลังกายด้วยการเดิน การปนจักรยาน การทํา สวนผักผลไม้ในชุมชน และการทํากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันทีทําให้เกิดความผูกพันธ์ทางสังคมมากขึน
หน้ า 39
SINGAPORE WATER MANAGEMENT การบริหารจัดการนําในสิงคโปร์
ปญหาเรืองนําของสิงคโปร์ในอดีต การกักเก็บนําไม่เพียงพอ มีการสร้างอ่างเก็บนําเพียง 3 แห่ง ในช่วงยุคอาณานิคม
การขาดแคลนนําสําหรับอุ ปโภค บริโภค
มีสข ุ อนามัยทีไม่เหมาะสม
ปราศจากสุขภาวะในพืนที
มลพิษทางนํา
นําท่วมกระจายเปนวงกว้างในหลายพืนที หน้ า 40
สถานการณ์นาในปจจุ ํ บน ั ของสิงคโปร์
ทุกคนสามารถดืมนําจากก๊อกนําได้ ประชากรทังหมดสามารถเข้าถึงสุขาภิบาลทีทันสมัย นําท่วมไม่ใช่ปญหาร้ายแรงอีกต่อไป แม่นําและทางนําได้รบ ั การทําความสะอาด
แหล่งนําหลัก 4 แห่ง 1. แหล่งกักเก็บนําผิวดินในท้องถิน เปนแหล่งนําหลักทีนํามาใช้ทํานําประปา หลังจากป พ.ศ. 2554 แหล่งนําบนผิวดินของสิงคโปร์เพิมขึนจาก 50% ของพืนที เปน 2 ใน 3 ของพืนทีประเทศ
2. นําเข้านําจากต่างประเทศ สิงคโปร์นําเข้านําจากรัฐยะโฮร์ ประเทศมาเลเซียภายใต้ขอ ้ ตกลงนําป ค.ศ. 1962 ซึงทําให้สามารถนํานําจากแม่นํายะโฮร์มาใช้ได้ 250 ล้านแกลลอน จนถึงป ค.ศ. 2061
3. รีไซเคิลนําระบบ NEWater NEWater เปนนํารีไซเคิลคุณภาพสูงทีผลิตจากนําใช้แล้วทีผ่านกระบวนการบําบัด ทําให้นําบริสท ุ ธิโดยใช้เทคโนโลยีเมมเบรนขันสูงและการฆ่าเชือโรคด้วยอัลตร้าไวโอเลต จึงสะอาดและปลอดภัยในการดืม 4. กลันนําทะเล สิงคโปร์มโี รงงานกลันนําทะเล 3 แห่ง โดยมีกําลังการผลิตรวมกัน 130 ล้านแกลลอน ทีสามารถตอบสนองความต้องการนําในปจจุบน ั ของสิงคโปร์ได้ถึง 30%
หน้ า 41
CLOSED WATER LOOP
วงจรนํา วิธก ี ารจัดการนําแบบองค์รวมจําแนกได้เปน 3 กลยุทธ์หลัก ได้แก่ 1. รวบรวมนําทุกหยด 2. นํานํากลับมาใช้ใหม่อย่างไม่มท ี ีสินสุด 3. แยกเกลือออกจากนําทะเล
แผนทีแสดงตําแหน่งอ่างเก็บนําในสิงคโปร์ นําฝนทีไหลผ่านแม่นํา ลําธาร ลําคลอง และท่อระบายนําจะถูกกักเก็บไว้ในอ่างเก็บนํา 17 แห่ง มีระบบท่อสําหรับแยกนําฝนและนําใช้แล้ว
หน้ า 42
แนวทางระบบการจัดการนํา การพัฒนา เศรษฐกิจ
เพิมความเต็มใจทีจะรับผิดชอบต่อสังคม ในการรักษาความสะอาดของนํา การพัฒนารอบด้าน ของสิงคโปร์
การพัฒนา สังคม
กลยุทธ์จด ั การนํา ทีมีประสิทธิภาพ
การพัฒนาเศรษฐกิจเพือหาแหล่งทุน ในการสร้างโครงสร้างพืนฐานด้านนํา
การศึกษา
ทรัพยากรนํา ทียังยืน
การควบคุม มลพิษทางนํา
เพิมความเข้าใจเกียวกับการอนุรก ั ษ์นํา และการยอมรับเทคโนโลยีทีนํามาใช้ ราคาค่านํา
ปองกันแหล่งนําเพือทําให้ นําเหมาะสําหรับใช้ดืมได้
สะท้อนมูลค่าความขาดแคลนของนํา
โครงการ ABC WATERS PROGRAMME โครงการ ABC Waters Programme เปนโครงการจัดการนําในฐานะทรัพย์สน ิ ทางสิงแวดล้อมทีช่วยปรับปรุง คุณภาพภูมท ิ ัศน์เมืองและลดความหนาแน่นของสิงคโปร์ ทําให้นํามีความใกล้ชด ้ นมากขึนและส่งเสริมให้ ิ กับผูค ชุมชนเปนผูม ้ ส ี ว่ นร่วมในการจัดการนําของประเทศ แนวความคิดโครงการมีดังนี ฺ
A - Active B - Beautiful C - Clean
ทําให้สายนําเปนพืนทีสันทนาการแห่งใหม่ทีใช้งานได้อย่างมีชวี ต ิ ชีวา ผสมผสานสายนําให้มค ี วามสวยงามเข้ากับภูมท ิ ัศน์ของเมือง ปรับปรุงคุณภาพนําให้สะอาด
ภาพตัวอย่างโครงการปรับปรุงพืนทีริมแม่นํา Kallang River ให้เปนสวนสาธารณะ Bishan-Ang Mo Kio Park หน้ า 43
OVERVIEW OF URBAN PLANNING & DEVELOPMENT IN JAPAN
ภาพรวมการวางผังและพัฒนาเมืองในประเทศญีปุน
ประเทศญีปุนตังอยูใ่ นภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกในมหาสมุทรแปซิฟก มีภม ู ภ ิ าคทังหมด 8 ภูมภ ิ าค จํานวน 47 จังหวัด โดยจัดโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดินออกเปน 2 ส่วน คือ การบริหารราชการส่วนกลางและส่วนท้องถิน รูปแบบการปกครองส่วนท้องถินแบ่งออกเปน 2 ประเภท คือ 1. รูปแบบทัวไป กฎหมายปกครองตนเองส่วนท้องถิน จัดระดับชันการปกครองท้องถินของญีปุน ออกเปน 2 ชัน (Two-tier system) ได้แก่ ระดับบน (Upper Tier) ประกอบด้วย 47 จังหวัด และระดับล่าง (Lower Tier) ประกอบด้วย 1,718 เทศบาล 2. รูปแบบพิเศษมี 3 รูปแบบ คือ (1) กรุงโตเกียวในฐานะเมืองหลวงของประเทศ ได้จด ั ตังหน่วยการปกครองส่วนท้องถินเปนเขตพิเศษ (Special Ward) จํานวน 23 แห่ง (2) เขตทรัพย์สน ิ (Property Ward) จัดตังขึนเพือดูแลทรัพย์สน ิ ร่วมทีเกิดจากการรวมตัวกันขององค์กรปกครองท้องถิน หลายแห่ง (3) บรรษัทร่วมพัฒนาท้องถิน (Joint Local Development Corporation) จัดตังขึนจากความร่วมมือขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิน ตังแต่ 2 แห่งขึนไปเพือดําเนินการตามแผนพัฒนาเมือง เช่น การจัดการขยะ การปองกันอัคคีภย ั ทังนี หน่วยงานเทศบาลเปนรัฐบาลส่วนท้องถินทีรับผิดชอบดูแลสาธารณูปโภคและสาธารณูปการขันพืนฐานของประชาชน ส่วนจังหวัดมีหน้าทีให้คําปรึกษาและคําแนะนําแก่เทศบาลจากมุมมองเชิงยุทธศาสตร์ระดับภูมภ ิ าคในประเด็นต่าง ๆ หน้ า 44
1. ประวัติศาสตร์การพัฒนาเมืองและระบบการวางผังเมืองของญีปุน 1.1 ยุคเอโดะ (ก่อนการฟนฟู พระราชอํานาจสมัยเมจิ ในป ค.ศ. 1868) เริมต้นในป ค.ศ. 1603 หลังจากโชกุนโทกูงาวะ อิเอยาซุยา้ ยเมืองหลวงของญีปุนจากเมืองเกียวโตมาทีเมืองเอโดะ (ปจจุบน ั คือกรุงโตเกียว) อิเอยาซุได้สงการให้ ั มก ี ารบูรณะโครงสร้างทางวิศวกรรมของปราสาทเอโดะ พร้อมทัง ให้มก ี ารก่อสร้างคลองรอบปราสาท ปรับปรุงระบบคมนาคมทางถนนโดยมีสะพานนิฮงบาชิเปนจุดเริมต้นของ ทางหลวงสายหลัก 5 สายทีเชือมต่อเมืองเอโดะไปยังเมืองเกียวโตและเมืองอืน ๆ ของประเทศ ทําให้เมืองเอโดะ มีความเจริญรุง่ เรืองเปนอย่างมากจากการเปนศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของญีปุน ด้วยขนาด ประชากรจํานวน 1 ล้านคน ในช่วงกลางศตวรรษที 18 เมืองเอโดะกลายเปนเมืองทีมีขนาดใหญ่ทีสุดแห่งหนึง ของโลกเทียบเท่ากรุงลอนดอนในยุคนัน
ภาพโครงการฟนฟู พนที ื รอบสะพานนิฮงบาชิให้กลายเปนเขตพืนทีเศรษฐกิจริมนําภายหลังดําเนินการรือถอน โครงสร้างทางด่วนออก โดยคาดว่าจะดําเนินการแล้วเสร็จในป ค.ศ. 2035 - 2040 หน้ า 45
1.2 กฎหมายผังเมืองในญีปุนพัฒนาขึนจากการศึกษาต้นแบบการวางและจัดทํา ผังเมืองจากต่างประเทศ เช่น สหราชอาณาจักร - ผังเมืองรวม (Master Plan) และผังเมืองเฉพาะ (Local Plan) - การออกใบอนุญาตในการวางผังพัฒนาพืนที (Planning Permission) - แนวคิดอุ ทยานนคร (Garden City) - ผังเกรเทอร์ลอนดอน (Greater London Plan) และผังแนวกันชนสีเขียว (London's Green Belt) - การพัฒนาเมืองใหม่ (New Town Development) และแนวคิดอืน ๆ
ภาพเมืองอุ ทยานนครแห่งแรกของโลก Letchworth Garden City, Hertfordshire สหราชอาณาจักร
ภาพผังเกรเทอร์ลอนดอน (Greater London Plan) และผังแนวกันชนสีเขียว (London's Green Belt)
ภาพตัวอย่างการพัฒนาเมืองใหม่ของเมือง Milton Keynes ทีได้รบ ั การอนุมต ั ิให้เริมก่อสร้างในป ค.ศ. 1967 หน้ า 46
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี - ผังภาค (Regional Plan) - F-Plan, B-Plan ฯลฯ สหรัฐอเมริกา - ผังการใช้ประโยชน์ทีดิน (Zoning) - การพัฒนาพืนทีละแวกบ้าน (Neighborhood Unit) - รูปแบบการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัยแบบ Radburn System และอืน ๆ
ผังเมืองรวมฉบับแรกของสหรัฐอเมริกาเกิดขึนทีเมืองซินซินเนติ รัฐโอไฮโอ ในป ค.ศ. 1925
ผังแสดงแนวคิดการพัฒนาพืนทีละแวกบ้าน (Neighborhood Unit)
รูปแบบการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัยแบบ Radburn System PAGE 1 หน้ า 47
1.3 กฎหมายผังเมืองฉบับแรกในญีปุน เมือป ค.ศ. 1872 หลังการเกิดไฟไหม้ครังใหญ่ในย่านกินซ่า (พืนที ประมาณ 95 เฮกเตอร์) รัฐบาลเมจิได้ออกแถลงการณ์เพือสร้างเมือง ทีทนไฟ อาคารใหม่ทสร้ ี างขึนในยุคนันจึงสร้างจากอิฐตามรูปแบบ สถาปตยกรรมตะวันตก ในป ค.ศ. 1888 มีการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาผังเมือง กรุงโตเกียว (Tokyo City Planning Ordinance) ซึงถือเปน จุดเริมต้นความพยายามของญีปุนทีจะสร้างชาติสมัยใหม่ เปนการ ปูทางในการวางแผนระยะยาว 30 ป โดยโครงการพัฒนาถนน ทางรถไฟ ระบบระบายนํา และโครงสร้างพืนฐานอืน ๆ ได้ดําเนินการ ตามผังเรือยมา แต่ประสบปญหาเรืองงบประมาณทําให้โครงการ ปรับปรุงโครงสร้างพืนฐานในเขตเมืองล่าช้า ในป ค.ศ. 1919 กรมการผังเมืองได้กอ ่ ตังขึนภายใต้สง ั กัดกระทรวง มหาดไทย มีการประกาศใช้พระราชบัญญัตก ิ ารผังเมือง (City Planning Act) แทนพระราชกฤษฎีกาผังเมืองกรุงโตเกียว โดยออกกฎระเบียบและให้เมืองต่าง ๆ นําเทคนิคการวางผังเมือง สมัยใหม่ไปใช้ เช่น ขอบเขตพืนทีในการวางผังเมือง การแบ่งพืนที การประโยชน์ทดิ ี น การจัดรูปทีดิน และการกําหนดแนวอาคาร นอกจากนี ยังกําหนดให้มก ี ารแบ่งพืนทีใช้งานออกเปน 3 ประเภท ได้แก่ เขตทีอยูอ ่ าศัย เขตพาณิชยกรรม และเขตอุตสาหกรรม
ภาพผังเมืองกรุงโตเกียว (Tokyo City Planning Ordinance)
ภาพกรุงโตเกียวก่อนเกิดแผ่นดินไหวครังใหญ่คันโต หน้ า 48
1.4 การฟนตัวหลังการเกิดแผ่นดินไหวครังใหญ่คันโตทีกรุงโตเกียว ค.ศ. 1923 ในป ค.ศ.1923 เกิดแผ่นดินไหวครังใหญ่คน ั โตทีกรุงโตเกียว มีผเู้ สียชีวต ิ และบาดเจ็บจํานวนรวม 1.9 ล้านคน อาคารบ้านเรือนในพืนทีเมืองจํานวน 44% พังเสียหายตามแรงสันสะเทือนจึงจําเปนต้องมีโครงการวางผัง ฟนฟูเมืองในปถัดมาเพือก่อสร้างอาคารและระบบสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการขึนใหม่ตามผังโครงการก่อสร้างหลังเกิดแผ่นดินไหว (Earthquake reconstruction project in planning map) ครอบคลุม พืนทีประมาณ 3,600 เฮกตาร์ ใช้ระยะเวลาก่อสร้างจนแล้วเสร็จ 7 ป จากป ค.ศ. 2467 - ค.ศ. 2473 โดยใช้วธ ิ ก ี ารจัดรูปทีดินในกรุงโตเกียว จํานวนพืนที 66 โครงการ 3,117 เฮกตาร์ ต่อมาในป ค.ศ. 1935 จํานวนประชากรของญีปุนได้เพิมจํานวนเปน 6.36 ล้านคน เทียบเท่าประชากรของกรุงนิวยอร์กและกรุงลอนดอน ในช่วงเวลาเดียวกัน
ผังโครงการก่อสร้างหลังเกิด แผ่นดินไหว
ภาพกรุงโตเกียวหลังการเกิดแผ่นดินไหว ครังใหญ่คน ั โต (Great Kanto Earthquake)
ผังโครงการจัดรูปทีดินในกรุงโตเกียว
ผังแม่นํา ลําคลอง
เดือนกันยายน ค.ศ. 1925 เริมการก่อสร้างเส้นทางรถไฟใต้ดน ิ สายแรกระหว่างอาซากุสะและอุเอโนะ ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร และเปดให้บริการสําหรับประชาชนในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1927
ป ค.ศ. 1931 สนามบินโตเกียวทีฮาเนดะทําการก่อสร้างแล้วเสร็จ
ป ค.ศ. 1941 ท่าเรือโตเกียวเปดใช้งาน หน้ า 49
1.5 การฟนตัวหลังสินสุดสงครามโลกครังที 2 เดือนสิงหาคม ป ค.ศ. 1945 สงครามโลกครังทีสองสินสุดลง ด้วยการยอมจํานนของญีปุนต่อสหรัฐอเมริกา สงครามครังนัน ได้สร้างความเสียหายอย่างหนักต่ออาคารส่วนใหญ่ของญีปุน ซึงทําด้วยไม้ พืนทีในกรุงโตเกียวจํานวน 160 ตารางกิโลเมตรถูกเผา ทําลาย ทําให้พนที ื เมืองกลายเปนซากปรักหักพัง จํานวนประชากร ทังประเทศทีรอดชีวต ิ จากสงครามเหลือเพียง 3.49 ล้านคน เดือนกันยายน ค.ศ. 1946 มีกฎหมายผังเมืองพิเศษเพือการบูรณะ ความเสียหายจากสงคราม เดือนมิถน ุ ายน ค.ศ. 1950 กฎหมายว่าด้วยการก่อสร้างเมืองหลวง ถูกตราขึนสําหรับการสร้างเมืองหลวงกรุงโตเกียวขึนมาใหม่ภายใต้ โครงการระดับชาติแต่ดําเนินการได้ยากเนืองจากพืนทีเมืองบางส่วน ได้ขยายตัวไปยังชานเมืองก่อนสงครามแล้ว เดือนเมษายน ค.ศ. 1956 พระราชบัญญัตพ ิ ฒ ั นาเขตเมืองหลวง แห่งชาติเกิดขึนเพือให้มก ี ารพัฒนาข้ามภูมภ ิ าค โดยเฉพาะอย่างยิง ในเมืองใหญ่ศน ู ย์กลางของแต่ละภูมภ ิ าค
พระราชบัญญัติการผังเมือง ค.ศ. 1950 (City Planning Act 1950) แบ่งพืนทีใช้งานของเมืองออกเปน 4 ประเภท
เขตทีอยูอ ่ าศัย เขตพาณิชยกรรม
(จากเดิมมี 3 ประเภท) ตามทีกําหนด
เขตกึงอุตสาหกรรม
ในกฎหมายมาตรฐานอาคารฉบับใหม่
เขตอุตสาหกรรม
หน้ า 50
1.6 การพัฒนาเมืองหลังสินสุดสงครามโลกครังที 2 ในช่วงปลายป ค.ศ. 1950 - 1960 การพัฒนาเมืองของประเทศญีปุนเพือสร้างชาติขนมาใหม่ ึ มง ุ่ เน้นไปทีการสร้างต้นทุน ทางสังคมเชิงบวกให้มค ี วามแข็งแกร่ง โดยการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งทางถนน ทางรถไฟ ท่าเรือ ระบบการประปา ระบบระบายนําเสีย และโครงสร้างพืนฐานอืน ๆ ทีจําเปน ตลอดจนการพัฒนาทีดินในเขตทีอยูอ ่ าศัย นิคมอุตสาหกรรม และพืนทีการใช้ประโยชน์ทดิ ี นอืนๆ ให้มม ี ล ู ค่าสูงขึน นโยบายหลักในการพัฒนาเมือง 2 ประการ ได้แก่ 1) พัฒนาโครงสร้างการวางแผนพัฒนาเมืองโดยใช้นโยบายสังการจากบนลงล่าง (Top-down planning policy) เพือนํานโยบายเศรษฐกิจและแผนการพัฒนาเมืองระดับชาติสรู่ ะดับท้องถิน 2) พัฒนาเครืองมือและระบบสนับสนุนทีจะให้การดําเนินการตามนโยบายและแผนการพัฒนาเมืองมีความเปนไปได้ ในการปฏิบต ั อ ิ ย่างเปนรูปธรรม เช่น ระบบกฎหมาย การจัดตังองค์กรขึนมาใหม่ การจัดสรรงบประมาณและ แหล่งเงินทุนทีใช้ในการพัฒนาเมือง เปนต้น
1.7 แผนพัฒนาประเทศแบบครบวงจร กฎหมายการพัฒนาประเทศในภาพรวม ป ค.ศ. 1950 กําหนดให้มแ ี ผนการพัฒนาเมือง 4 ระดับ ได้แก่ 1) ระดับชาติ 2) ระดับจังหวัด 3) ระดับภูมภ ิ าค และ 4) ระดับพืนทีเฉพาะ โดยแผนพัฒนาประเทศฉบับแรกได้ประกาศใช้ในป ค.ศ. 1962 มีวต ั ถุประสงค์เพือให้เกิดความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านต่าง ๆ และการสงวนรักษาทีดินของ ประเทศเชือมโยงกันระหว่างภูมภ ิ าคต่าง ๆ ทัง 8 ภูมภ ิ าค ในทางปฏิบต ั ิยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองทีเรียกว่า "ยุทธศาสตร์เสาหลักการเติบโต (Growth Pole Strategy)" ได้ถก ู นํามาใช้เปนแนวทางเพือให้บรรลุผลการพัฒนา ตามความคาดการณ์การพัฒนาเมืองศูนย์กลาง เช่น เมืองศูนย์กลางอุ ตสาหกรรมในภูมภ ิ าคสําคัญ ๆ ทัวประเทศ องค์ประกอบสําคัญในการวางผังเมืองต้องเกือกูลกันทัง 3 อย่าง คือ (1) จัดตังกฎหมายสําหรับโครงการพัฒนาเมืองทีเอือให้รฐั บาลท้องถิน กฎหมาย และองค์กรภาครัฐมีอํานาจตามกฎหมายในการพัฒนา เช่น กฎหมาย การจัดรูปทีดิน การพัฒนานิคมอุ ตสาหกรรม และการปรับปรุงเขต ทีอยูอ ่ าศัย (2) มีหน่วยงานหลักของรัฐทีรับผิดชอบดําเนินโครงการพัฒนาเมือง เช่น Japan Housing Corporation รับผิดชอบการพัฒนาทีดิน และสร้างทีอยูอ ่ าศัยให้แก่ประชาชน งบประมาณ องค์กร Japan Highway Public Corporation เก็บเงินรายได้ จากการพัฒนาทางด่วนทัวประเทศ Metropolitan Expressway Public Corporation เก็บเงินรายได้จากการก่อสร้างทางด่วนในภูมภ ิ าคโตเกียว (3) ระบบภาษีและแหล่งเงินทุนทีมีเสถียรภาพจะช่วยให้การดําเนินงานต่อเนืองไม่หยุดชะงัก การเก็บภาษีนํามันเชือเพลิงของยานยนต์เพือเปนทุนในการพัฒนาถนน รายได้จากภาษีการวางผังเมืองใช้เปนเงินทุนสําหรับโครงการวางผังเมือง โครงการจัดรูปทีดิน และอืน ๆ การจัดตังระบบสินเชือเพือการพัฒนาเมืองเพือให้ก้ย ู ม ื เงินในการดําเนินโครงการ หน้ า 51
2. การวางผังเมืองในประเทศญีปุน 2.1 ผลกระทบจากต้นทุนทางสังคมเชิงลบทีพอกพู น แม้วา่ หลังสินสุดสงครามโลกครังที 2 ประเทศญีปุนจะกลายเปนหนึงในประเทศมหาอํานาจทีมีความมังคังจาก การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว แต่ในขณะเดียวกันญีปุนก็ประสบปญหาและผลกระทบจากต้นทุน ทางสังคมเชิงลบทีพอกพู นเนืองจากการพัฒนาอุ ตสาหกรรมในภูมภ ิ าคต่าง ๆ ทําให้ประชากรเมืองมีจาํ นวนมาก และมีความหนาแน่นสูง และดังนี 1) เมืองใหญ่มก ี ารขยายตัวแบบไร้ทิศทาง (Urban Sprawl) ไปยังเขตชานเมือง เช่น โครงการพัฒนาขนาดเล็กทีรุกลําเข้าไปในพืนทีเกษตรกรรมในขณะทีเมืองยังไม่มก ี ารพัฒนาโครงสร้าง พืนฐานทีเพียงพอรองรับ เช่น ระบบโครงสร้างถนน ระบบการระบายนํา 2) ความแออัดของอาคารสูงและสิงก่อสร้างในย่านใจกลางเมืองทําให้เกิดความเปราะบางหากเกิดภัยพิบต ั ิ ในพืนทีทีมีอาคารเก่าทําจากไม้ซงก่ ึ อสร้างติดกันอย่างแออัดโดยทียังไม่มก ี ารพัฒนาถนน สวนสาธารณะ หรือสาธารณูปโภคและสาธารณูปการทีเพียงพอ 3) เกิดการทําลายสิงแวดล้อมทางธรรมชาติและพืนทีเกษตรกรรมในเขตชานเมือง 4) เกิดมลภาวะต่อสิงแวดล้อม 5) มีการเคลือนไหวของคนในชุมชนต่างๆ ทีได้รบ ั ผลกระทบทางลบจากการพัฒนา เช่น การต่อต้านจากชุมชนเมือเกิดสิงแวดล้อมเปนพิษและมีการทําลายทรัพยากรทางธรรมชาติ การต่อต้านการพัฒนาโครงการเชิงพาณิชย์ขนาดใหญ่ในระดับภูมภ ิ าค การต่อต้านมลพิษจากการใช้ถนน การเคลือนไหวเพือขอรับสิทธิในการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพิมขึน นอกจากนี ยังมีกระแสการเคลือนไหว เพือเรียกร้องให้มก ี ารปองกันภัยพิบต ั ิ การพัฒนาสวนสาธารณะ และการก่อสร้างสิงอํานวยความสะดวก อืน ๆ เพือสาธารณประโยชน์เพิมขึน
หน้ า 52
2.2 พระราชบัญญัติการผังเมือง ค.ศ. 1968 (City Planning Act) หลักการวางผังเมือง ธํารงไว้ซงวิ ึ ถีชวี ต ิ คนเมืองทีมีสข ุ ภาพดี มีวฒ ั นธรรม และมีกิจกรรมในเมืองทีเปนประโยชน์ พร้อมทัง รักษาความสมดุลกับอุ ตสาหกรรมการเกษตร อุ ตสาหกรรมปาไม้ และอุ ตสาหกรรมการประมง มีการใช้ทีดินทีเหมาะสมภายใต้กฎหมายและระเบียบทีกําหนด ขอบเขตความรับผิดชอบ รัฐบาลและหน่วยงานราชการส่วนท้องถินต้องใช้ความพยายามอย่างเต็มกําลังความสามารถเพือดําเนินการ ปรับปรุง พัฒนา และวางแผนต่าง ๆ สําหรับเมือง ประชาชนต้องให้ความร่วมมือกับมาตรการของรัฐบาลและหน่วยงานราชการส่วนท้องถินเพือให้บรรลุวต ั ถุประสงค์ ในการพัฒนาสภาพแวดล้อมในเมืองให้ดข ี น ึ รัฐบาลและหน่วยงานราชการส่วนท้องถินต้องเผยแพร่ความรูแ ้ ละให้ขอ ้ มูลเกียวกับการวางผังเมือง แก่ประชาชน
2.3 กรอบโครงสร้างการวางผังเมือง การแบ่งเขตทีดิน การใช้ประโยชน์ทดิ ี น
แบ่งตามนโนบายการพัฒนาเมือง แบ่งตามการใช้ประโยชน์ทดิ ี น
พืนทีวางผังเมือง
การจราจร แผนแม่บทการวางผังเมือง
เรืองทีระบุไว้
สิงอํานวยความสะดวก
สวนสาธารณะและพืนทีสีเขียว
ในผังเมือง
ในเมือง
สาธารณูปโภค สาธารณูปการ และระบบบําบัด
แผนแม่บท
โครงการจัดรูปทีดิน
การพัฒนาเทศบาล
โครงการพัฒนาเมือง
โครงการอืน ๆ
ระบบการอนุญาต ให้พฒ ั นา
โครงการพัฒนาพืนทีอุตสาหกรรม
การวางแผนพืนที แผนพัฒนาพืนที
แผนพัฒนาตําบล / หมูบ ่ า้ นในชนบท
แผนพัฒนาพืนทีริมถนน
แผนการปองกันภัยพิบต ั ิ หน้ า 53
2.4 แผนแม่บทพืนทีวางผังเมือง (City Planning Area Master Plan) แผนแม่บทพืนทีวางผังเมืองในประเทศญีปุนมีชอเรี ื ยกอย่างเปนทางการว่า “นโยบายเพือการปรับปรุง พัฒนา และสงวนรักษา พืนทีวางผังเมือง” เพือใช้เปนแนวทางสําหรับกําหนดการใช้ประโยชน์ทดิ ี นแต่ละประเภทในอนาคต กําหนดสัดส่วนของการใช้ ประโยชน์ทดิ ี น กําหนดแผนการก่อสร้างสิงอํานวยความสะดวก สาธารณูปโภคและสาธารณูปการภายในพืนทีเมือง และกําหนด พืนทีสําหรับโครงการพัฒนาเมืองต่าง ๆ โดยทัวไปแผนแม่บทพืนทีวางผังเมืองดังกล่าวจัดทําขึนตามวิสย ั ทัศน์การพัฒนาเมือง ในอนาคตระยะ 20 ป ในขณะทีผังเมืองเฉพาะพืนทีจัดทําขึนเพือรองรับวิสย ั ทัศน์การพัฒนาเมืองในอนาคตระยะ 10 ป การแบ่งเขตทีดินตามนโยบายการขยายตัวของเมือง มีรายละเอียดดังนี (1) ระบบทีใช้แบ่งพืนทีวางผังเมืองจําแนกเปน 2 พืนที คือ พืนทีส่งเสริมการขยายตัวของเมือง และพืนทีควบคุม มิให้มก ี ารขยายตัวของเมือง (2) วัตถุประสงค์ในการกําหนดการแบ่งเขตทีดินมีจด ุ มุง่ หมายเพือปองกันมิให้มก ี ารใช้ประโยชน์ทดิ ี นตามอําเภอใจ และส่งเสริมให้เกิดการวางผังเมืองตามแผนการพัฒนา (3) พืนทีทีจะต้องมีการแบ่งเขตทีดิน (Zoning) ได้แก่ พืนทีเมืองในมหานครทีสําคัญ เช่น เขตเมืองหลวงของประเทศญีปุนวัดจุดศูนย์กลางจากสถานีรถไฟกรุงโตเกียวออกมาเปนระยะรัศมี 40 กิโลเมตร ในภูมภ ิ าคชูเกียววัดจุดศูนย์กลางจากสถานีรถไฟเมืองนาโกย่าออกมาเปนระยะรัศมี 40 กิโลเมตร ในภูมภ ิ าคเคฮันชินวัดจุด ศูนย์กลางจากสถานีรถไฟเมืองโอซาก้าออกมาเปนระยะรัศมี 50 กิโลเมตร ทังนี การแบ่งเขตทีดินขึนอยูก ่ บ ั นโยบายของแต่ละจังหวัดซึงพิจารณาจากสภาพท้องถินทีอาจมีความแตกต่างกัน
การใช้ประโยชน์ทดิ ี นของพืนทีส่งเสริมการขยายตัวของเมือง จําแนกออกเปน 12 ประเภท การจําแนกประเภท ของพืนที พืนทีวางผังเมือง
ไม่มก ี ารจําแนก ประเภทของพืนที
พืนทีส่งเสริม การขยายตัวของเมือง พืนทีควบคุมมิให้มี
หมายถึง พืนทีทีมีการก่อสร้างอาคารแล้วหรือ เปนพืนทีทีวางแผนไว้สาํ หรับรองรับการขยายตัว ของเมืองอย่างเปนระบบในอนาคต หมายถึง พืนทีทีควรมีการควบคุมการขยายตัว
การขยายตัวของเมือง ของเมือง
พืนทีควบคุมมิให้มี การขยายตัวของเมือง
พืนทีส่งเสริม การขยายตัวของเมือง หน้ า 54
ี น แนวคิดระบบการวางแผนการใช้ประโยชน์ทดิ ผังการพัฒนาพืนทีเฉพาะ โซนอืน ๆ และ พืนทีเฉพาะในย่านต่าง ๆ
โซนอืน ๆ และ พืนทีเฉพาะในย่านต่าง ๆ โซนการใช้ประโยชน์ทดิ ี น แต่ละประเภท
โซนการใช้ประโยชน์ทดิ ี น แต่ละประเภท
พืนทีควบคุมมิให้มี การขยายตัวของเมือง พืนทีส่งเสริมการขยายตัวของเมือง
พืนทีกึงวางผังเมืองแล้ว
พืนทีวางผังเมือง
พืนทีทีมีการวางผังเมืองเต็มรูปแบบ
พืนทีกึงวางผังเมืองแล้ว
2.5 การควบคุมการใช้ประโยชน์ทีดิน (Land Use Control) การแบ่งเขตทีดิน (Zoning) เปนเทคนิคทีใช้ในการจํากัดรูปแบบการใช้ประโยชน์ทดิ ี นและใช้ในการจูงใจให้มก ี ารใช้ประโยชน์ทดิ ี น
ให้บรรลุวส ิ ย ั ทัศน์การพัฒนาเมืองเพือคงสภาพของเนือเมืองเดิม ส่งเสริมการสนองประโยชน์ตามศักยภาพของพืนที และ รักษาสภาพแวดล้อมทีดีภายในพืนทีเมือง ในประเทศญีปุน การแบ่งเขตทีดินซึงใช้กบ ั พืนทีทีต้องการวางผังเมืองประกอบด้วย 2 ระบบ ดังนี 1) การแบ่งเขตทีดินตามนโยบายการพัฒนาเมือง (Area Division Zoning) จะจําแนกเปน 2 พืนที คือ พืนทีส่งเสริมการ
ขยายตัวของเมือง และพืนทีควบคุมมิให้มก ี ารขยายตัวของเมือง 2) การแบ่งเขตทีดินตามการใช้ประโยชน์ทดิ ี น (Land Use Zoning) จะแบ่งพืนทีวางผังเมืองโดยคํานึงถึงวัตถุประสงค์ของ การใช้ประโยชน์ทดิ ี น ข้อห้ามหรือข้อจํากัดในการใช้ประโยชน์ทดิ ี น รูปทรงของอาคาร และปจจัยอืน ๆ ทีเกียวข้อง การใช้ประโยชน์ทดิ ี นของพืนทีส่งเสริมการขยายตัวของเมือง จําแนกออกเปน 12 ประเภท โดยแต่ละพืนทีมีขอ ้ กําหนด อัตราส่วนพืนทีอาคารรวมต่อพืนทีดิน (Floor Area Ratio: FAR) อัตราส่วนพืนทีครอบคลุมอาคารต่อพืนทีดิน (Building Coverage Ratio : BCR) ความสูง ระยะถอยร่น (Setback) ฯลฯ ข้อกําหนดต่าง ๆ ดังกล่าวจะควบคุมให้เจ้าของทีดินต้อง ปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายมาตรฐานอาคารและข้อกําหนดรูปแบบอาคารทีต้องมีความสอดคล้องกันในพืนที การคํานวณอัตราส่วนพืนทีอาคารรวมต่อพืนทีดิน (Floor Area Ratio: FAR) FAR (%) = พืนทีอาคารรวมทุกชัน (B+C) x 100 พืนทีแปลงทีดิน (A) การคํานวณอัตราส่วนพืนทีครอบคลุมอาคารต่อพืนทีดิน (Building Coverage Ratio : BCR) BCR (%) = พืนทีอาคาร (B) x 100 พืนทีแปลงทีดิน (A)
ข้อกําหนดระนาบเอียงควบคุม ความสูงอาคารย่านทีพักอาศัย
ข้อกําหนดระนาบเอียงควบคุม ความสูงอาคารในย่านอืน ๆ หน้ า 55
ี น 12 ประเภท การควบคุมความหนาแน่นของการใช้ประโยชน์ทดิ ย่านทีอยูอ ่ าศัยแนวราบประเภทที 1
ย่านกึงทีอยูอ ่ าศัย
ย่านทีอยูอ ่ าศัยแนวราบประเภทที 2
ย่านพาณิชยกรรมชุมชน
ย่านทีอยูอ ่ าศัยระดับปานกลางและสูงประเภทที 1
ย่านพาณิชยกรรม
ย่านทีอยูอ ่ าศัยระดับปานกลางและสูงประเภทที 2
ย่านกึงอุตสาหกรรม
ย่านทีอยูอ ่ าศัยประเภทที 1
ย่านอุตสาหกรรม
ย่านทีอยูอ ่ าศัยประเภทที 2
ย่านเฉพาะอุตสาหกรรม
ี น ประเภทการใช้ประโยชน์ทดิ
ย่านทีอยูอ ่ าศัยแนวราบประเภทที 1
FAR สูงสุด
BCR สูงสุด
ย่านทีอยูอ ่ าศัยแนวราบประเภทที 2 ย่านทีอยูอ ่ าศัยระดับปานกลางและสูงประเภทที 1 ย่านทีอยูอ ่ าศัยระดับปานกลางและสูงประเภทที 2 ย่านทีอยูอ ่ าศัยประเภทที 1 ย่านทีอยูอ ่ าศัยประเภทที 2 ย่านกึงทีอยูอ ่ าศัย ย่านพาณิชยกรรมชุมชน ย่านพาณิชยกรรม ย่านกึงอุตสาหกรรม ย่านอุตสาหกรรม ย่านเฉพาะอุตสาหกรรม หน้ า 56
ี น 12 ประเภท การควบคุมกิจกรรมการใช้ประโยชน์ทดิ ย่านทีอยูอ ่ าศัยแนวราบประเภทที 1 (Category I Exclusively Low -Story Residential District)
ย่านนีกําหนดไว้สาํ หรับอาคารพักอาศัยแนวราบ อาคารทีได้รบ ั อนุญาตให้กอ ่ สร้าง ได้แก่ อาคารทีอยูอ ่ าศัย ซึงใช้เปนร้านค้า สํานักงานขนาดเล็ก หรืออาคารโรงเรียน ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น ย่านทีอยูอ ่ าศัยแนวราบประเภทที 2 (Category II Exclusively Low - Story Residential District)
ย่านนีกําหนดไว้สาํ หรับเปนย่านทีอยูอ ่ าศัยหนาแน่นตํา เช่นเดียวกับย่านทีอยูอ ่ าศัยแนวราบประเภทที 1 แต่ อนุญาตให้มพ ี นที ื พาณิชยกรรมมากขึน ได้แก่ ร้านค้า และสํานักงานขนาดเล็ก พืนทีไม่เกิน 150 ตารางเมตร
ย่านทีอยูอ ่ าศัยระดับปานกลางและสูงประเภทที 1 (Category I Exclusively Medium-High Residential District)
ย่านนีกําหนดไว้สาํ หรับเปนย่านทีอยูอ ่ าศัย อาคารมีความสูง ปานกลางถึงมาก และอนุญาตให้มโี รงพยาบาล มหาวิทยาลัย ร้านค้าและสํานักงาน พืนทีไม่เกิน 500 ตารางเมตร ย่านทีอยูอ ่ าศัยระดับปานกลางและสูงประเภทที 2 (Category II Exclusively Medium-High Residential District)
ย่านนีกําหนดไว้สาํ หรับเปนย่านทีอยูอ ่ าศัย อาคารมีความสูง ปานกลางถึงมาก และอนุญาตให้มโี รงพยาบาล มหาวิทยาลัย ร้านค้าและสํานักงาน พืนทีไม่เกิน 1,500 ตารางเมตร เพืออํานวยความสะดวกให้กบ ั คนในชุมชนท้องถิน ย่านกึงทีอยูอ ่ าศัย (Quasi-Residential District)
ย่านทีอยูอ ่ าศัยประเภทที 1 (Category I Residential District)
ย่านนีกําหนดไว้สาํ หรับเปนย่านทีอยูอ ่ าศัยหนาแน่นสูง ทีมีการรักษาสิงแวดล้อม อาคารทีได้รบ ั อนุญาตให้ ก่อสร้าง ได้แก่ ร้านค้า สํานักงาน และโรงแรม พืนที ไม่เกิน 3,000 ตารางเมตร
ย่านนีกําหนดไว้สาํ หรับเปนย่านทีอยูอ ่ าศัยหนาแน่นสูงทีมี การรักษาสิงแวดล้อมในการอยูอ ่ าศัยให้กลมกลืนกับสิงอํานวย ความสะดวกสําหรับรถยนต์ตามแนวริมถนน เช่น ทีจอดรถ ย่านทีอยูอ ่ าศัย แนวราบประเภทที 2 ย่านทีอยูอ ่ าศัย แนวราบประเภทที 1
ย่านทีอยูอ ่ าศัยประเภทที 2 (Category II Residential District) ย่านกึง ทีอยูอ ่ าศัย
ย่านนีกําหนดไว้สาํ หรับเปนย่านทีอยูอ ่ าศัยหนาแน่นสูง ทีมีการรักษาสิงแวดล้อม อาคารทีได้รบ ั อนุญาตให้กอ ่ สร้าง ได้แก่ ร้านค้า สํานักงาน โรงแรม และร้านคาราโอเกะ
ย่านทีอยูอ ่ าศัย ระดับปานกลาง และสูงประเภทที 1
ย่านทีอยูอ ่ าศัย ระดับปานกลาง และสูงประเภทที 2 ย่านทีอยูอ ่ าศัย ประเภทที 1 หน้ า 57
ย่านพาณิชยกรรมชุมชน (Neighborhood Commercial District)
ย่านนีกําหนดไว้สาํ หรับเปนย่านพาณิชยกรรมทีเน้น กิจกรรมค้าขายและบริการภายในชุมชน อาคารทีได้รบ ั อนุญาตให้กอ ่ สร้าง ได้แก่ อาคารทีพักอาศัย ร้านค้า และโรงงานขนาดเล็ก ย่านพาณิชยกรรม (Commercial District)
ย่านนีกําหนดไว้สาํ หรับเปนย่านพาณิชยกรรม อาคาร ทีได้รบ ั อนุญาตให้กอ ่ สร้าง ได้แก่ ธนาคาร ร้านอาหาร โรงภาพยนตร์ ห้างสรรพสินค้า อาคารทีพักอาศัย และ โรงงานขนาดเล็ก ย่าน อุตสาหกรรม
ย่านกึง อุตสาหกรรม
ย่านอุตสาหกรรม เฉพาะ
ย่านพาณิชยกรรม ชุมชน
ย่าน พาณิชยกรรม
ย่านกึงอุตสาหกรรม (Quasi - Industrial District)
ย่านนีกําหนดไว้สาํ หรับเปนย่านโรงงานอุตสาหกรรมเบาและ ศูนย์บริการต่าง ๆ อาคารทีได้รบ ั อนุญาตให้กอ ่ สร้าง ได้แก่ โรงงานเกือบทุกประเภท ยกเว้นโรงงานทีสร้างมลภาวะและ เกิดผลกระทบต่อสิงแวดล้อมอย่างมาก ย่านอุตสาหกรรม Industrial District)
ย่านนีกําหนดไว้สาํ หรับเปนย่านโรงงานอุตสาหกรรม อาคารทีได้ รับอนุญาตให้กอ ่ สร้าง ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรมทุกชนิด อาคารทีพักอาศัย และร้านค้า แต่ไม่อนุญาตให้สร้างโรงเรียน โรงพยาบาล และโรงแรม ย่านเฉพาะอุตสาหกรรม (Exclusively Industrial District)
ย่านนีกําหนดไว้สาํ หรับเปนย่านโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ อาคารทีได้รบ ั อนุญาตให้กอ ่ สร้าง ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม ทุกชนิด แต่ไม่อนุญาตให้สร้างทีอยูอ ่ าศัย ร้านค้า โรงเรียน โรงพยาบาล และโรงแรม หน้ า 58
ผังการพัฒนาพืนทีเฉพาะ (District Plan) เนืองจากแต่ละท้องถินมีลก ั ษณะเฉพาะ หน่วยงานเทศบาลของท้องถินสามารถจัดทําผังการพัฒนาพืนทีเฉพาะของตนได้ เพือฉายภาพอนาคตของพืนทีตามวิสย ั ทัศน์ทหน่ ี วยงานเทศบาลและประชาชนได้รว่ มกันกําหนดขึนโดยมีรายละเอียด ระเบียบข้อบังคับทีเกียวข้องทีต้องปฏิบต ั ต ิ าม เช่น สถานทีตังโครงการ การก่อสร้าง รูปแบบอาคาร ฯลฯ รายละเอียดผังการพัฒนาพืนทีเฉพาะมีองค์ประกอบดังนี 1. แสดงทีตังของสถานทีสาธารณะ เช่น ถนนในชุมชน สวนสาธารณะขนาดเล็ก พืนทีเปดโล่ง ทางเท้า ฯลฯ 2. กฎหมายควบคุมอาคาร กฎ ระเบียบ และข้อกําหนดต่าง ๆ ทีเกียวข้อง เช่น ข้อกําหนดการใช้ประโยชน์ทดิ ี น อัตราส่วนพืนที อาคารรวมต่อพืนทีดิน (Floor Area Ratio: FAR) อัตราส่วนพืนทีครอบคลุมอาคารต่อพืนทีดิน (Building Coverage Ratio : BCR) ความสูง ระยะถอยร่น (Setback) ขนาดพืนทีอาคารรวมทังหมด การออกแบบอาคาร การปองกันความเสียง ในกรณีเกิดภัยพิบต ั ิ อัตราส่วนพืนทีสีเขียว ฯลฯ 3. การอนุรก ั ษ์พนที ื สีเขียวในชุมชน ควบคุมความสูงอาคาร
ไม่อนุญาตให้กอ ่ สร้าง อาคารทีมีความสูงน้อย
ต้นไม้ใหญ่ทต้ ี องอนุรก ั ษ์ กําหนดให้กอ ่ สร้าง ห้างสรรพสินค้าหรือ ร้านค้าทีตังในระดับเดียว กับผิวถนน
ร่วมกันลงมติเรืองตําแหน่ง และความกว้างของถนน พืนทีนีเปนเขตทีอยูอ ่ าศัย โรงงานอุตสาหกรรม ควรย้ายออก
หลีกเลียงการก่อสร้าง อาคารใหม่บนพืนทีทีเสนอ ให้เปนถนนหรือสวนสาธารณะ ควรตังอาคารตามแนวระยะ ถอยร่นทีกําหนดเพือให้มี ทางเดินเท้ากว้างขึน
กําหนดอัตราส่วนพืนทีสีเขียว ต่อพืนทีก่อสร้างโครงการ ควรมีแนวพุม ่ ไม้แทนกําแพง ไม่อนุญาตให้กอ ่ สร้างอาคารสูง
ไม่ควรแบ่งทีดินเปนแปลงย่อย สําหรับการพัฒนาทีจะเกิดขึนใหม่ และผังอาคารทีจะก่อสร้างไม่ควร ลํามาอยูบ ่ นถนน
รูปแบบของผังการพัฒนาพืนทีเฉพาะ 1. ผังการพัฒนาพืนทีเฉพาะตามวัตถุประสงค์การใช้ประโยชน์ทดิ ี น เช่น เขตส่งเสริมโครงการปรับปรุงฟนฟูเมือง เขตส่งเสริมการพัฒนาร้านค้าขนาดใหญ่ เขตส่งเสริมการพัฒนาสิงอํานวยความสะดวกสาธารณะ เขตส่งเสริม การใช้ประโยชน์ทดิ ี นอย่างมีประสิทธิภาพ เขตส่งเสริมการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัยในเมือง เขตส่งเสริมการรักษารูปแบบอาคาร ให้มค ี วามคล้ายคลึงกัน 2. ผังพืนทีเขตปองกันภัยพิบต ั ิ จัดทําขึนเพือส่งเสริมการพัฒนาถนน สวนสาธารณะ และโครงสร้างอาคารทีทนไฟ เพือปองกันภัยพิบต ั ิ 3. ผังพืนทีเขตริมถนน เพือปองกันเสียงรบกวนและการก่อสร้างอาคารสูงตามแนวถนนสายหลัก 4. ผังพืนทีเขตชนบท เพือสร้างสภาพแวดล้อมทีอยูอ ่ าศัยทีดีสอดคล้องกับข้อกําหนดการประกอบเกษตรกรรม หน้ า 59
3. แนวทางการพัฒนาเมืองในประเทศญีปุน 3.1 โครงการพัฒนาเมืองใหม่ (New Town Development) จากการทีมีประชากรจากเมืองเล็กหรือชนบทนิยมย้ายเข้ามาอยูอ ่ าศัยและทํางานในใจกลางเมืองใหญ่ ๆ มากขึน เปนผลในประชากรในเมืองใหญ่หลายเมืองเพิมจํานวนมากขึนอย่างรวดเร็วตังแต่ ค.ศ. 1960 ซึงเปนช่วงเวลา ทีเศรษฐกิจของญีปุนเติบโตสูง จนเกิดปญหาการขาดแคลนทีอยูอ ่ าศัย ปญหาการจราจร ปญหาสิงแวดล้อม ฯลฯ และทําให้พนที ื เมืองมีการขยายตัวออกไปสูช ่ านเมืองเรือย ๆ ในป ค.ศ. 1970 องค์กรพัฒนาและฟนฟู เมือง (Urban Renaissance Agency: UR) จึงได้รเิ ริมโครงการพัฒนา เมืองใหม่ขนาดใหญ่ในเขตชานเมืองตามแนวการพัฒนาเส้นทางรถไฟ โดยมีวต ั ถุประสงค์หลัก 2 ประการ ได้แก่ 1) เพือเพิมความมีชวี ต ิ ชีวาของเมืองด้วยการปรับปรุงฟนฟู พนที ื และการก่อสร้างอาคารทีอยูอ ่ าศัยขนาดใหญ่ 2) เพือปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการอยูอ ่ าศัยให้ดีขน ึ รวมทังสร้างพลังให้กับคนในชุมชนโดยการสนับสนุน การก่อสร้างอาคารทีอยูอ ่ าศัยใหม่ หรือการปรับปรุงโครงสร้างอาคารเดิมทีมีอายุอาคารเก่าแก่ให้กลับมา มีสภาพดีและใช้งานได้ ตัวอย่างเช่น รัฐบาลกรุงโตเกียวสนับสนุนงบประมาณบางส่วนในการออกแบบโครงการและค่าก่อสร้างอาคาร คอนโดมิเนียม ให้แนวทางในการปรับปรุงฟนฟู อาคารพักอาศัย และให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิคแก่หน่วยงาน ปกครองส่วนท้องถินเพือให้การจัดทําแผนการพัฒนาเมืองใหม่ดําเนินการได้แล้วเสร็จ
หน้ า 60
3.2 การพัฒนาพืนทีรอบสถานีขนส่งมวลชน (Transit Oriented Development: TOD) แนวคิดการพัฒนาพืนทีรอบสถานีขนส่งมวลชน (TOD) เปนการพัฒนาพืนที แบบผสมผสาน มีสงอํ ิ านวยความสะดวกและพืนทีเปดโล่งรอบสถานีระบบขนส่ง สาธารณะในรัศมี 600 - 800 เมตร ใช้ระยะเวลาในการเดินเข้าถึง 10 นาที 5 มิติการพัฒนาพืนทีรอบสถานีขนส่งมวลชน (TOD) ได้แก่ (1) Density: การใช้ประโยชน์ทีดินรอบสถานีมค ี วามหนาแน่นในสูง (2) Diversity: มีการใช้ประโยชนน์ทีดินแบบผสมผสานอย่างหลากหลาย (3) Design: การออกแบบพืนทีให้มค ี วามสะดวกต่อการเดินและเปนมิตรกับจักรยาน (4) Destination Accessibility: การเข้าถึงจุดหมายปลายทางได้อย่างสะดวก (5) Distance to Transit: มีระยะในการเดินทางทีสันทีสุดจากทีทํางานหรือทีบ้าน
ตัวอย่างการพัฒนาพืนทีรอบสถานีขนส่งมวลชน (TOD) : สถานีรถไฟชินจูกุ กรุงโตเกียว หน้ า 61
3.3 โครงการจัดรูปทีดิน (Land Readjustment Projects) โครงการจัดรูปทีดิน คือ โครงการพัฒนาทีดินหลายแปลงโดยการวางผังจัดรูปร่างของแปลงทีดินใหม่เพือให้มก ี ารใช้ ประโยชน์ทดิ ี นทีมีความเหมาะสมมากยิงขึนและสอดคล้องกับโครงการวางผังพัฒนาเมือง โดยมีวต ั ถุประสงค์ดง ั นี 1) เพือก่อสร้างปรับปรุงสิงอํานวยความสะดวกสาธารณะ เช่น ถนน สวนสาธารณะ ฯลฯ 2) เพือส่งเสริมการใช้ทดิ ี นสําหรับการจัดทําโครงการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัยตามทีกําหนดในพระราชบัญญัตก ิ ารจัดรูปทีดิน ก่อนการจัดรูปทีดิน
ทีดินแปลง A ก่อนเข้าร่วมโครงการจัดรูปทีดิน A, A' หมายถึง แปลงทีดิน H, H' หมายถึง ราคาทีดิน
A' แปลงทีดินใหม่หลังจัดรูปทีดิน แปลงทีดินเล็กลงเพราะมีสว่ นทีมอบให้โครงการฯ ราคาทีดินสูงขึนเพราะมีการพัฒนาสิงอํานวยความสะดวก
ทีดินส่วนทีมอบ ให้แก่โครงการ
นํามาสร้างประโยชน์สาํ หรับสาธารณะ เช่น ถนน สวนสาธารณะ
ค่าใช้จา่ ยโครงการจัดรูปทีดิน ค่ารือถอนอาคารเดิมและค่าชดเชย ค่าก่อสร้างถนน สวนสาธารณะ ฯลฯ ค่าสํารวจและออกแบบโครงการ ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร และอืน ๆ
หลังการจัดรูปทีดิน
ทีดินสํารอง ทรัพยากรของโครงการจัดรูปทีดิน เงินทุนจากรายได้ในการขายทีดินสํารอง งบประมาณจากเทศบาล ทุนสนับสนุนโครงการจากรัฐบาล รายได้จากการเก็บเงินค่าส่วนกลาง และอืน ๆ หน้ า 62
ตัวอย่างโครงการจัดรูปทีดินเพือการพัฒนาพืนทีเกษตรกรรม เมืองโทโกยามะ จังหวัดไอจิ ดําเนินการ ค.ศ. 1994 - 2000
ตัวอย่างโครงการจัดรูปทีดินเพือปองกันการขยายตัวของเมืองทีไม่ได้วางแผนไว้ลว่ งหน้า เมืองโอบุ ฮันทซึกิ จังหวัดไอจิ ดําเนินการ ค.ศ. 1994 - 2000
ตัวอย่างโครงการจัดรูปทีดินเพือฟนฟูเมืองหลังการเกิดแผ่นดินไหวครังใหญ่ฮน ั ชิน-อาวาจิเมือเดือนมกราคม ป ค.ศ. 1995 และเพือปองกันการเกิดภัยพิบต ั บ ิ ริเวณพืนทีสถานีรถไฟรอคโคะมิชิ จังหวัดโกเบ ดําเนินการ ค.ศ. 1995 - 2007 หน้ า 63
3.4 โครงการปรับปรุงฟนฟู เมือง (Urban Renaissance Projects) จากนโยบายระดับชาติในการพัฒนาเมืองของประเทศญีปุนเพือสร้างเมืองทีมีความยังยืน มีฟงก์ชนเมื ั องทีหลากหลาย มีเสน่หน ์ า่ สนใจ เพิมขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ รองรับสังคมผูส ้ ง ู อายุ และมีความสามารถในการ จัดการภัยพิบต ั ิ นโยบายเมืองกระชับ การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งทีมีประสิทธิภาพ การส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของ ภาคเอกชน และการบรรเทาผลกระทบสิงแวดล้อม ในป ค.ศ. 2002 จึงมีกฎหมายมาตรการพิเศษสําหรับการฟนฟูเมือง (Urban Renaissance Special Measures Law 2002) เพือกําหนดพืนทีพิเศษทีพร้อมสําหรับการฟนฟูเมือง โดยผูท ้ ี ต้องการดําเนินโครงการฟนฟูเมืองในเขตพืนทีพิเศษเพือการฟนฟูเมืองโดยเร่งด่วนสามารถเสนอการวางผังเมือง ในพืนทีนันซึงประกอบด้วย ตําแหน่งทีตังโครงการ การใช้ประโยชน์ทดิ ี นตามทีกําหนดในผังเมืองรวม อัตราส่วนพืนที อาคารรวมต่อพืนทีดิน (FAR) อัตราส่วนพืนทีครอบคลุมอาคารต่อพืนทีดิน (BCR) ขนาดพืนทีอาคารทีต้องการก่อสร้าง ความสูง ระยะถอยร่น (Setback) ฯลฯ ต่อหน่วยงานทีมีอํานาจตัดสินใจในการวางผังเมืองซึงจะใช้เวลาพิจารณาภายใน 6 เดือน เพือแจ้งให้ทราบว่ามีการอนุมต ั ใิ ห้ดําเนินการโครงการฟนฟูเมืองในเขตเพืนทีพิเศษนันหรือไม่
แผนทีแสดงตําแหน่งเมืองทีอนุญาตให้มี เขตพืนทีพิเศษเพือการฟนฟูเมือง
หน้ า 64
เขตพืนทีฟนฟู เมืองทีต้องดําเนินการโดยเร่งด่วนของกรุงโตเกียว
Shinjuku
Akihabara
Shibuya
Tokyo Waterfront
Tamachi
Hibiya
Oosaki
Tokyo International Airport (Haneda)
Compact City + Network แนวคิดเมืองกระชับและเครือข่าย เมืองกระชับ +
เครือข่าย
เพิมความหนาแน่นของ
สร้างโครงข่ายระบบ
ประชากรโดยการดึงดูด
ขนส่งมวลชนทีเชือม
คนเข้ามาในพืนที และมี
ประสานกับ
ฟงก์ชนการให้ บริการแก่ ั
การพัฒนาเมือง
ดึงดูดฟงก์ชนหลั ก ั ของเมือง (การแพทย์ และสวัสดิการต่าง ๆ)
เปนย่านทีอยูอ ่ าศัยทีอยูใ่ กล้ ระบบขนส่งสาธารณะ
พัฒนาคุณภาพระบบขนส่ง สาธารณะให้เชือมต่อกับ การเดินได้อย่างสะดวก จัดระบบขนส่งสาธารณะ ให้เชือมต่อกันเปนเครือข่าย ในย่านการเดิน เปนย่านทีอยูอ ่ าศัยทีอยูใ่ กล้ ระบบขนส่งสาธารณะ
ประชาชนทีช่วยให้คน พัฒนาจุดพักคอย
ใช้ชวี ต ิ อย่างสะดวกสบาย
พัฒนาสิงแวดล้อม ทีเหมาะกับการเดินและ การปนจักรยาน
รักษาความยังยืน
สร้างระบบขนส่งมวลชน
แผนการจัดรูปทีดิน
ของสิงแวดล้อมเมือง
ทีมีความมันคง
แผนฟนฟูระบบ ขนส่งมวลชนในพืนที
แนะนําให้ใช้บริการแท็กซี ร่วมกันโดยแชร์คา่ โดยสาร
ประสาน ความร่วมมือ
พัฒนา ให้ครบวงจร หน้ า 65
SMART CITY แนวคิดเมืองอัจฉริยะ
Transportation & Mobility การจราจรมีความคล่องตัว ประชาชนทุกคนสามารถเดินทางได้ อย่างสะดวกด้วยระบบขนส่งสาธารณะ
Harmony with Nature กลมกลืนกับธรรมชาติ พืนทีเมืองมีความกลมกลืน กับผืนนําและพืนทีสีเขียว
Energy Saving ประหยัดพลังงาน
เมืองอัจฉริยะ คือ เมืองหรือเขตพืนทีทีมีความยังยืน โดยการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารหรือ เทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการบริหารจัดการกับความ ท้าทายต่าง ๆ ทีเกิดขึนในพืนทีเมือง ไม่วา่ จะเปนการ นํามาใช้ในการวางผังเมือง การพัฒนาเมือง การบริหาร จัดการและการดําเนินงานทุกด้านเพือเพิมประสิทธิภาพ เช่น ด้านสิงแวดล้อม พลังงาน การคมนาคมขนส่ง สุขภาพ และการให้บริการทางการแพทย์และสาธารณะสุข เปนต้น
สร้างอาคารประหยัดพลังงานและ ใช้พลังงานหมุนเวียน เช่น พลังลม พลังแสงอาิทย์ ฯลฯ
Safety & Security ความปลอดภัย พัฒนาเมืองและชุมชนทีมีความ สามารถในการฟนตัวจากภัยพิบต ั ิ มีแหล่งกําเนิดพลังงานไฟฟาใช้ในยาม ฉุกเฉิน แหล่งเก็บอาหารสํารอง เส้นทางอพยพ ฯลฯ
Resource Recycling หมุนเวียนการใช้ทรัพยากร มีแหล่งกักเก็บนําฝน การบําบัดนําเสีย และใช้หลักการ 3R - Reduce Reuse Recycle เปนต้น หน้ า 66
ก้าวเข้าสูก ่ ารเปนเมืองอัจฉริยะ อนาคตของ พลเมืองดิจท ิ ัล ข้ามพ้นข้อจํากัดของระยะทางและ เวลา ต้องการมีเวลามากขึนในการทํา กิจกรรมทีมีคณ ุ ค่า ความสมดุลระหว่างสไตล์การทํางาน วิถีชวี ต ิ การสัญจร ช๊อปปง สุขภาพ หน้าทีการงาน ให้ความช่วยเหลือแก่ สังคม และศึกษาเพิมเติมในสิงทีสนใจ
อนาคตของผูบ ้ ริหาร และผูจ ้ ด ั การเมือง การทํางานและการบริหารจัดการ มีภาพลักษณ์ใหม่ของการทํางาน ทีรวดเร็ว ตอบสนองเหตุการณ์ได้ทัน ต่อ ความเปลียนแปลง มีโครงสร้างกระบวนการทํางานทีชัดเจน ทังการวางแผนงาน การพัฒนาโครงการ การบริหารจัดการ ระบบปฏิบต ั ิการ ฯลฯ มีพลวัตรข้อมูลทีทันเหตุการณ์ มีวส ิ ย ั ทัศน์ทีลึกขึนสามารถเจาะลึก รายละเอียดเฉพาะเรืองได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันที มีการกําหนดนโยบาย ทีมีฐานข้อมูลรองรับเชิงประจักษ์ และ ดําเนินการแก้ไขปญหาของเมืองร่วมกัน กับทุกหน่วยงาน ทีเกียวข้อง
ภาพฉายเมืองอัจฉริยะ ในอนาคต เปลียนโฟกัสจากการให้ความสําคัญกับ เทคโนโลยีมาเปนการให้ความสําคัญกับ ความท้าทายใหม่ ๆ ทีจะเกิดขึนกับเมือง เปลียนจากการเพิมประสิทธิภาพเฉพาะเรือง/ เฉพาะบุคคลเปนเพิมประสิทธิภาพให้แก่ ทังองค์กรในทุกด้าน เปลียนการทํางานจากภาครัฐเปนตัวนํานโยบาย เปนการสร้างความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ทังในระดับนโยบายและระดับปฏิบต ั ิการ ผสานนโยบายเมืองกระชับกับการติดตาม และประเมินผลความเปลียนแปลงของเมือง ว่าทันต่อความต้องการของประชาชนหรือไม่
เทคโนโลยีใหม่ ๆ ทีนํามาใช้ ในการพัฒนาเมือง (1) เครือข่ายการสือสารและเทคโนโลยีการตรวจจับ เช่น ข้อมูลมือถือ, เซ็นเซอร์, Wi-Fi, 5G ฯลฯ (2) เทคโนโลยีทีใช้ในการทํานายทิศทางการเปลียนแปลงของเมืองและการวิเคราะห์ขอ ้ มูลจากแพลตฟอร์มข้อมูล (Data Platform) หรือ วิเคราะห์โดยปญญาประดิษฐ์ (AI) เปนต้น (3) เทคโนโลยีการแสดงข้อมูลด้วยภาพ เช่น โมเดลเมือง 3 มิติ ข้อมูลแผนที BIM/CIM หรือ VR (4) การนําเทคโนโลยีจากข้อ (1) - (3) มาผสานการใช้งาน เช่น รถยนต์ไร้คนขับ โดรน ข้อมูล GPS ฯลฯ หน้ า 67
URBAN DESIGN AND COMMUNITY INVOLVEMENT IN SMART CITIES KA S H I W A - N O - H A C A MP U S T O W N - T O W N P L A N N I N G B A S E D O N T H E P U B L I C - P RI V A T E - A C A D E MI C P A RT N E RS H I P
การออกแบบชุ ม ชนเมื อ งและการมี ส่ ว นร่ ว มของชุ ม ชนในเรื องเมื อ งอั จ ฉริ ย ะ: กรณี เ มื อ งมหาวิ ท ยาลั ย คาชิ ว ะโนฮา การวางผั ง เมื อ งจากการมี ส่ ว นร่ ว มของ ภาครั ฐ ภาคเอกชน และสถาบั น การศึ ก ษา
ศูนย์กลางรองของเมือง คาชิวะโนฮาและสถานีรถไฟ คาชิวะโนฮะแคมปส
ศูนย์กลางเมือง คาชิวะโนฮาและ สถานีรถไฟคาชิวะ
ศาลาว่าการเมือง หลังเดิม
หน้ า 68
เมืองคาชิวะ
จังหวัดอิราบากิ
สถานีรถไฟคาชิวะโนฮาแคมปส
จังหวัดชิบะ แผนการพัฒนาเมืองระดับภูมภ ิ าค ฉบับที 5 ค.ศ. 1999
จังหวัดไซตามะ
สถานีรถไฟ คาชิวะ ทานากะ
กรุงโตเกียว
เส้นทางรถไฟสายด่วน Tsukuba Express Line (TX) เปดให้บริการในป ค.ศ. 2005 มีผใู้ ช้บริการจํานวน 354,000 คนต่อวัน
สถานีรถไฟคาชิวะโนฮา แคมปส พืนทีเมืองคาชิวะโนฮา
ความเปนมา ของการพัฒนาเมืองคาชิวะโนฮา ในป ค.ศ. 2001 เมืองคาชิวะได้เริมโครงการจัดรูปทีดิน
กรุงโตเกียว จังหวัดไซตามะ
ซึงมีพนฐานมาจากโครงการวางผั ื งเมืองตามแผน การพัฒนาเมืองระดับภูมภ ิ าค ฉบับที 5 ค.ศ. 1999 ต่อมาในป ค.ศ. 2005 เส้นทางรถไฟสายด่วน Tsukuba Express Line (TX) ได้เปดให้บริการจึงมีการสร้าง
จังหวัดชิบะ พืนทีคาชิวะโนฮา
สถานีรถไฟคาชิวะโนฮาแคมปส และในป ค.ศ. 2008 จังหวัดชิบะ เมืองคาชิวะ มหาวิทยาลัยโตเกียว และ มหาวิทยาลัยชิบะได้ประกาศเจตจํานงค์ความร่วมมือ
จังหวัดอิราบากิ
ในการสร้างเมืองมหาวิทยาลัยนานาชาติคาชิวะโนฮา โดยมุง ่ ให้เปนเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ทีมีความ ทันสมัยสําหรับคนรุน ่ ใหม่ หน้ า 69
พืนทีคาชิวะโนฮาแคมปสขณะดําเนินการตามแผนโครงการจัดรูปทีดินในป ค.ศ. 2004
เมืองมหาวิทยาลัยนานาชาติคาชิวะโนฮา ในป ค.ศ. 2015 ภายหลังการก่อสร้างตามโครงการจัดรูปทีดิน หน้ า 70
URBAN DESIGN CENTER KASHIWA-NO-HA(UDCK) ศูนย์ออกแบบเมืองอัจฉริยะคาชิวะโนฮา กลุ่มคณะทํางาน ภาครัฐ Kashiwa City The Kashiwa Chamber of Commerce & Industry Regional Council of Tanaka area
กลุ่มความร่วมมือ Kashiwa City Development & Promoting Foundation Chiba Prefecture Wacoal Art Center / SPIRAL Urban Design Institute Co., Ltd. UG Toshi-Kenshiku Co., Ltd. NPO Support Center Chiba Japan Life Design System PRAP Japan Inc. YRP Ubiquitous Networking Laboratory FUJISAKI OFFICE CO., LTD.
ภาคเอกชน Mitsui Fudosan Co., Ltd. TSUKUBA EXPRESS (Metropolitan Intercity Railway Company) สถาบันการศึกษา The University of Tokyo Chiba University
COLLABORATION PLATFORM เวทีความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา
ศูนย์ออกแบบเมืองอัจฉริยะคาชิวะโนฮาก่อตังขึนเมือเดือน พฤศจิกายน ค.ศ. 2006 สําหรับเปนหน่วยงานทีทํางานร่วมกัน ระหว่างภาครัฐ เอกชน และนักวิชาการ มีการแบ่งต้นทุนสําหรับ เปนค่าใช้จา่ ยในการจัดกิจกรรม กําลังคน และการดําเนินงาน ต่าง ๆ เพือให้มก ี ารพูดคุย อภิปราย ปรึกษาหารือในการพัฒนา เมืองคาชิวะโนฮาทุกด้านได้อย่างอิสระ ไม่จาํ กัดกรอบควาามคิด ในเชิงปฏิบต ั ิ แต่ละโครงการมีการบริหารจัดการโดยผูเ้ ชียวชาญ การพัฒนาชุมชนโดยทํางานร่วมกันอย่างใกล้ชด ้ ฏิบต ั ง ิ าน ิ กับผูป ทีมีความรูค ้ วามสามารถหลายด้านทําให้งานทุกอย่างสําเร็จลุลว่ ง ตรงตามเปาหมายและระยะเวลาทีกําหนด ต่อมาได้แปรรูปเปน นิตบ ิ ค ุ คลเพือเพิมเนืองานโครงการด้านฟนฟูเมืองและปรับปรุง ภูมท ิ ศ ั น์ หน้ า 71
ภารกิจของศูนย์ออกแบบเมืองต้นแบบอัจฉริยะคาชิวะโนฮา
เปนศูนกลางกิจกรรม ข้อมูลข่าวสาร และไอเดียใหม่ ๆ เพือสร้างแบรนด์โครงการให้เปนทีรูจ้ ก ั และเกิดการพัฒนาทียังยืน
1. เวทีความร่วมมือ
ตัวอย่างโครงการส่งเสริมความร่วมมือ การทดลองทางสังคมในการใช้เทคโนโลยีการจัดระบบ รถขนส่งสาธารณะตามปริมาณความต้องการของผูใ้ ช้ ในแต่ละช่วงเวลา
ผูม ้ ส ี ว่ นได้เสียในเครือข่าย ส่งเสริมการทํางานร่วมกัน การแบ่งปนข้อมูล บ่มเพาะและสร้างสรรค์ไอเดีย ส่งเสริมการทดลองทางสังคม
2. สะสมคลังสมอง
จัดประชุมผูเ้ ชียวชาญด้านการออกแบบชุมชนเมือง
เสนอนโยบายและแผน ปรับปรุงวิธก ี ารดําเนินการ วิเคราะห์ปญหา สร้างหลักการและแนวทางในการออกแบบ ทํางานเชิงรุก
3. มีชอ ่ งทางสือสารประชาสัมพันธ์
สร้างชุมชนของคนรุน ่ ใหม่
จัดกิจกรรมงานอีเว้นท์และนิทรรศการ ใช้สอสิ ื งพิมพ์ ออกแบบเว็บไซต์ทีน่าสนใจ โฆษณาและประชาสัมพันธ์ขา่ วสาร
แนวคิดการแก้ไขปญหาสังคมทีเมืองคาชิวะโนฮาต้องเตรียมการรับมือ
ทิศทางแนวโน้มการเปลียนแปลงของเมืองคาชิวะโนฮา คือ การเปนทีตังของเมืองมหาวิทยาลัยทีมีสถาบันการศึกษาระดับ ต่าง ๆ และสถาบันวิจย ั ชันนํามากขึนในอนาคต เปนแหล่งท่องเทียวแห่งใหม่และเหมาะสมต่อการลงทุนในกิจการของ ภาครัฐเพือการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ เปนแหล่งรวมธุรกิจ และมีกจ ิ กรรมการมีสว่ นร่วมทางสังคมให้กบ ั กลุม ่ ประชาชน ในเมืองทีมีความหลากหลายและมีความแตกต่างกันของช่วงวัย
สังคมคาร์บอนตํา
สังคมผู้สง ู อายุ
ภาวะโลกร้อน การสงวนรักษาทรัพยากร และอนุรก ั ษ์พลังงาน
ขาดแคลนบุคลากรทาง การแพทย์ ค่ารักษาพยาบาลสูง
เมืองทีมีความยังยืน ด้านสิงแวดล้อม
เมืองสุขภาพและมีชวี ต ิ ทียืนยาว
ใช้พลังงานธรรมชาติ 100% มีการใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพและคุ้มค่าโดย การมีสว่ นร่วมของคนพืนที
การมีสว่ นร่วมทางสังคมอย่าง แข็งขันของผูส ้ ง ู อายุ สภาพแวดล้อมเอือต่อการใช้ ICT ใน ทุกที สังคมทีทุกคนสามารถเพลิดเพลิน กับการใช้ชวี ต ิ ทีสดใสและเปนอิสระ
สังคมอัตราการเกิดตํา ความมีชวี ต ิ ชีวาของเมืองในภูมภ ิ าค ต่าง ๆ ลดลง เศรษฐกิจคงทีไม่เติบโต
เมืองอุ ตสาหกรรมใหม่ มีบรรยายกาศทีเปนสากลในการ สร้างอุ ตสาหกรรมใหม่อย่างแข็งขัน ใช้พลังด้านเทคโนโลยีของญีปุนและ หล่อเลียงธุรกิจในภูมภ ิ าค
หน้ า 72
ภาพแผนผังเครือข่ายพลังงานอัจฉริยะทีสร้างขึนเพือดูแลพืนทีรอบสถานีรถไฟฟาคาชิวะโนฮาแคมปส
เครือข่ายพลังงานอัจฉริยะ
เมืองทีมีความยังยืนด้านสิงแวดล้อม ใช้ระบบบริหารจัดการพลังงานในพืนที (Area Energy Management System: AEMS)
ตรวจสอบอุ ปสงค์และอุ ปทานพลังงานในพืนทีแบบเรียลไทม์ ผังโครงข่ายพลังงาน (Power grid) ควบคุมโดยโครงข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร (ICT Network) แหล่งกําเนิดและเก็บกักพลังงานตังอยูใ่ นพืนทีเพือการบริหารจัดการพลังงานทียังยืนด้วยตนเอง
หน้ า 73
เมืองสุขภาพและมีชวี ต ิ ทียืนยาว แนวคิดในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านสุขภาพ
สนับสนุนการปรับปรุงสุขภาพ ของประชาชนโดยความสมัครใจ
ศูนย์การปรับปรุงสุขภาพ ทีเชือมโยงกับชุมชน
ป ค.ศ. 2012 - 2013 กระทรวงกิจการ ภายในและการสือสารให้ความเห็นชอบ การทดลองโครงการเมืองสุขภาพ อัจฉริยะคาชิวาโนฮา
ห้องวิจย ั และทดลองด้านสุขภาพ ASHITA
เก็บข้อมูลทีเชือมโยงกัน
การปรับปรุงสุขภาพ
ฐานข้อมูลสุขภาพ
การปองกันโรค
การศึกษาทันตกรรมเด็ก
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพปากและฟน
ทีบ้าน
ระบบการวิเคราะห์ขอ ้ มูลสุขภาพ
ความถีของการออกกําลังกาย ค่าพลังงาน
การให้คําปรึกษาทางโภชนาการ การตรวจสุขภาพเบืองต้น
ทีใช้ในการทํากิจกรรมต่าง ๆ กิจวัตรประจําวัน นําหนัก เปอร์เซ็นต์ไขมันในร่างกาย
การให้คําปรึกษาด้านสุขภาพ
เมตาบอลิซม ึ ค่ามวลกาย (BMI) จํานวนแคลลอรีทีเผาผลาญ การนอนหลับ
จัดโครงการมีสว่ นร่วมทางสังคม
จํานวนนับก้าวการเดินในแต่ละวัน
ี งกระฉับกระเฉง ให้แก่ผส ู้ ง ู อายุทยั
ประมวลภาพรวมของสุขภาพ
เวทีการมีสว่ นร่วมทางสังคม
ให้คําปรึกษาเพือการปรับปรุงสุขภาพ
ส่งเสริมความร่วมมือทางสังคม
พยาบาลดูแลด้านสาธารณะสุข / ผูส ้ อนการเดิน /
ผูใ้ ห้ความช่วยเหลือด้านสุขภาพ
นักโภชนาการ / ผูใ้ ห้คําแนะนําในการนอนหลับ
ให้การบริการทุกด้านตลอด 24 ชัวโมง
วางแผน
365 วัน ต่อป ศูนย์บริการด้านสุขภาพครบวงจร บริการดูแล
บริการ
บริการ
สุขภาพ
พยาบาล
ฟนฟูสข ุ ภาพ
ทีบ้าน
ทีบ้าน
ทีบ้าน
หน่วยให้บริการ ทางการแพทย์ ในพืนที
หน้ า 74
เมืองอุ ตสาหกรรมใหม่ เมืองมหาวิทยาลัยคาชิวะโนฮามีทีตังอยูบ ่ นเส้นทางสายเทคโนโลยีทีลําสมัยของประเทศ เมืองมหาวิทยาลัยคาชิวะโนฮาอยูห ่ า่ งจากใจกลางกรุงโตเกียว ประมาณ 30 กิโลเมตร หากเดินทางจากสนามบินนานาชาตินาริตะ โดยรถยนต์จะใช้เวลาประมาณ 1 ชัวโมง หากเดินทางโดยรถไฟสายด่วน Tsukuba Express Line (TX) จากสถานีอากิฮาบาร่า ใช้เวลา 1 ชัวโมง และหากเดินทางจากเมืองคาชิวะไปยังเมืองทซึคบ ุ ะจะใช้เวลาไม่เกิน 30 นาที ซึงบนเส้นทางรถไฟ Tsukuba Express Line (TX) นียังเปนทีตังของศูนย์วจิ ย ั แห่งชาติ R&D จํานวน 20 แห่ง ศูนย์วจิ ย ั ของบริษท ั เอกชนขนาดใหญ่จาํ นวน มากกว่า 70 แห่ง และยังมีมหาวิทยาลัยชันนําของประเทศอยูใ่ นพืนทีนีอีก 3 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยโตเกียว (วิทยาเขตคาชิวะ) มหาวิทยาลัยชิบะ และ Tokyo University of Science (วิทยาเขตโนดะ)
หน้ า 75
การพัฒนาเมืองและทีอยูอ ่ าศัย:
ประสบการณ์ของ องค์กรพัฒนาและฟนฟู เมือง URBAN AND HOUSING DEVELOPMENTS:
EXPERIENCES OF URBAN RENAISSANCE AGENCY จากสถานการณ์ขาดแคลนทีอยูอ ่ าศัย เปนจํานวน 4,200,000 หลังคาเรือน ภายหลังสินสุดสงครามโลกครังที 2 ในเดือนสิงหาคม ป ค.ศ. 1945
ยุค 1950s ส่งเสริมการใช้ชวี ต ิ ในบ้านรูปแบบใหม่ ได้มก ี ารก่อตังหน่วยงาน Japan Housing Corporation ในป ค.ศ. 1955 เพือแก้ปญหาการขาดแคลนทีอยูอ ่ าศัยหลังสงครามโลก ครังที 2 เดิมรูปแบบบ้านทัวไปของชาวญีปุนทีรับประทานอาหารและทีนอน จะอยูใ่ นห้องเดียวกัน อาคารทําจากไม้เปนบ้านเดียวหรือเรือนแถว ติดกัน แต่รูปแบบทีอยูอ ่ าศัยใหม่จะเปนอาคารคอนกรีตสูงหลายชัน แยกห้องรับประทานอาหารและห้องนอนจากกันเพือให้เกิดไลฟสไตล์ สมัยใหม่ในญีปุนทีเรียกว่าสไตล์ดีเค (Dining Kitchen Style : DK) หรือดันชิ (Danchi) หน้ า 76
ยุค 1960s ผลิตหน่วยพักอาศัยจํานวนมาก เพือแก้ไขปญหาความหนาแน่นของประชากรทีนิยมเข้ามาทํางาน และอาศัยอยูใ่ นพืนทีเมืองเนืองจากเศรษฐกิจของญีปุนเติบโต อย่างรวดเร็ว จึงมีการก่อสร้างกลุ่มอาคารพักอาศัยแนวตัง ขนาดใหญ่ในพืนทีเมืองและพืนทีชานเมืองเปนจํานวนมากถึง 60,000 หน่วยพักอาศัยต่อป
ยุค 1970s พัฒนาเมืองใหม่ขนาดใหญ่ ในเขตชานเมือง องค์กรพัฒนาและฟนฟู เมืองมีบทบาทสําคัญต่อการพัฒนา ชุมชนในญีปุนในแง่การมีสว่ นร่วมตังแต่การกําหนดแผนแม่บท การจัดหาทีดิน การออกแบบอาคารพักอาศัยและสิงแวดล้อม ไปจนถึงการดําเนินการก่อสร้างให้แล้วเสร็จตามแผนแม่บท โครงการ
ยุค 1980s พัฒนาพืนทีรอบสถานีขนส่งมวลชน (Transit Oriented Development: TOD)
หลังจากแก้ไขปญหาการขาดแคลนทีอยูอ ่ าศัยได้ ตอนนีก็มาถึง ยุคของ "คุณภาพเหนือปริมาณ" โดยเปลียนจากการพัฒนาทีอยู่ อาศัยมาเปนการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนและพืนทีรอบสถานี ขนส่งมวลชนนัน ๆ ให้มส ี งอํ ิ านวยความสะดวกสาธารณะพร้อม กับออกแบบปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้มค ี วามสวยงาม น่าอยู่ มากขึน
Creation of attractive and integral multifunctional cities ยุค 1990s สร้างเมืองทีมีฟงก์ชนหลากหลาย ั และมีเสน่หน ์ ่าสนใจ เพือลดจํานวนความหนาแน่นของประชากรและภาคอุ ตสหกรรม ในพืนทีเมือง องค์กรพัฒนาและฟนฟู เมืองเปลียนเปาหมายมาที การสร้างเมืองหลายศูนย์กลางเพือทําให้เกิดการกระจายตัวของ ประชากร รวมถึงการปรับปรุงโครงสร้างพืนฐานทีมีอายุการใช้งาน นานและการปองกันภัยพิบต ั ิให้มากขึนหลังจากเหตุการณ์ แผ่นดินไหวครังใหญ่ฮันชิน-อาวาจิทีเกิดขึนในเมืองโกเบเมือเดือน มกราคม ป ค.ศ. 1995
หน้ า 77
ยุค 2000s ทําการปรับปรุงหน่วยพักอาศัยเดิม เพือรองรับสังคมผูส ้ ง ู อายุและ อัตราการเกิดของประชากรทีสดลง นอกจากการสร้างอาคารพักอาศัยใหม่ทดแทนอาคารเดิมและ การปรับปรุงทีอยูอ ่ าศัยทีสร้างขึนในป ค.ศ. 1950 - 1960 แล้ว องค์กรพัฒนาและฟนฟู เมืองได้เข้ามาสร้างสภาพแวดล้อมในการ อยูอ ่ าศัยทีดีขนเพื ึ อรองรับสังคมผูส ้ ง ู อายุและอัตราการเกิดของ ประชากรทีลดลง โดยมีเปาหมายเพือการพัฒนาชุมชนทีทุกคน ตังแต่เด็กไปจนถึงผูส ้ ง ู อายุสามารถอยูร่ ว่ มกันได้อย่างสบายใจ
ยุค 2010s พัฒนาเมืองใหม่ขนาดใหญ่ ในเขตชานเมือง องค์กรพัฒนาและฟนฟู เมืองมีบทบาทสําคัญต่อการพัฒนา ชุมชนในญีปุนในแง่การมีสว่ นร่วมตังแต่การกําหนดรายละเอียด ในแผนแม่บท การจัดหาทีดิน การออกแบบอาคารพักอาศัยและ สิงแวดล้อม ไปจนถึงการดําเนินการก่อสร้างให้แล้วเสร็จ ตามแผนแม่บทโครงการ
Smart Cities for Achieving SDGs
แนวคิดเมืองอัจริยะเพือบรรลุเปาหมายเพือการพัฒนาทียังยืน
เมืองยืดหยุน ่ สามารถรับมือกับ ภัยพิบต ั ิและฟนตัว ได้อย่างรวดเร็ว
สังคมทีมีความ กลมเกลียว ทํางาน ร่วมกัน ผสานความ ทันสมัยให้เข้ากับ วัฒนธรรมประเพณี ทีดีงาม
การคมนาคม ขนส่งสะดวก คล่องตัว และ มีประสิทธิภาพ
เมืองของทุกคน เมืองสีเขียว เมืองสร้างสรรค์ รองรั บประชากร ลดคาร์บอนด้วย เปยมนวัตกรรม เทคโนโลยีทีลําสมัย สูงวัยทีเพิมขึน ส่งเสริมให้เกิด อย่ า งรวดเร็ ว และ แรงบันดาลใจเพือเปน ของญีปุน มีอายุยน ื ยาว ผูป ้ ระกอบการ รุน ่ ใหม่
หน้ า 78
ประวัติการก่อตังองค์กรพัฒนาและฟนฟู เมือง (Urban Renaissance Agency: UR)
ค.ศ. 1955
ค.ศ. 1975
Japan Housing Corporation
Land Development Corporation
ค.ศ. 1981
ค.ศ. 1999
Housing and Urban Development Corporation
Urban Development Corporation
ค.ศ. 2004
Urban Renaissance Agency
Regional City Development Department Japan Regional Development Corporation Other Departments สภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศญีปุนในระยะป ค.ศ. 1960 - 2010
ช่วงเศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว
ช่วงเศรษฐกิจเติบโตคงที
เมืองขยายตัวอย่างรวดเร็ว การจราจรติดขัด หนาแน่น เกิดปญหาสิงแวดล้อม เช่น มลพิษทางอากาศ นําเสีย ขยะเพิมจํานวนสูง
ช่วงเศรษฐกิจอิมตัว
อัตราการเกิดลดลงและ มีประชากรผูส ้ ง ู อายุเพิมขึน จํานวนประชากรลดลง จําเปนต้องปองกันภัยพิบต ั ิ และบรรเทาสถานการณ์
Urban Development and Historical Background in Japan หน้ า 79
ช่วงเศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว (ค.ศ. 1960 - 1980) องออกจาก 1. เกิดการกระจายฟงก์ชนของเมื ั จุดศูนย์กลางของมหานครโตเกียว (Decentralization of Urban Functions) 2. จัดให้มท ี ีอยูอ ่ าศัยรองรับการเพิมจํานวนของ ประชากร (Provision of a large amount of residence) โดยมีนโยบายด้านทีอยูอ ่ าศัย 3 ข้อ ได้แก่ (1) จัดตังหน่วยงาน Housing Loan Corporation ในป ค.ศ. 1950 เพือให้เงินกู้ (ปจจุบน ั คือหน่วยงาน Japan Housing Finance Agency) (2) มีกฎหมายรองรับการพัฒนาทีอยูอ ่ าศัย สําหรับให้ประชาชนเช่าในป ค.ศ. 1951 (Publicly-Operated Housing Act) (3) ก่อตังหน่วยงาน Japan Housing Corporation ปจจุบน ั คือ องค์กรพัฒนา และฟนฟู เมือง (Urban Renaissance Agency: UR)
ยุค ค.ศ. 1950s หลังสินสุดสงครามโลกครังที 2 ประชาชนเข้ามาอยูอ ่ าศัยใน ศูนย์กลางมหานครโตเกียว เปนจํานวนมาก
ยุค ค.ศ. 1960s - 1970s ยุค ค.ศ. 1980s - 1990s ย้ายโรงงานอุ ตสาหกรรม กําหนดโครงสร้างของเมือง มหาวิทยาลัย และเมืองใหม่ไปยัง ให้เปนเมืองหลายศูนย์กลาง พืนทีชานเมือง
3. พัฒนากฎหมายเพือรองรับการพัฒนาเมืองให้เกิดผล เปนรูปธรรม เช่น กฎหมายการจัดรูปทีดิน
ช่วงเศรษฐกิจเติบโตคงที (ค.ศ. 1980 - 2000) 4. พัฒนาคุณภาพทีอยูอ ่ าศัยทังภายในอาคารและ สิงแวดล้อมภายนอกอาคาร
5. เพิมประสิทธิภาพของระบบคมนาคมขนส่ง ให้มท ี างเลือกทีหลากหลายเพิมมากขึน
6. พัฒนาพืนทีบราวน์ฟลด์ทีเคยเปนทีตังของ โรงงานอุ ตสาหรกรรมหรืออาคารทีเลิกกิจการไปแล้ว ซึงอาจมีการปนเปอนมลพิษและถูกทิงร้างนานนับ สิบป ตัวอย่างเช่น โครงการปรับปรุงฟนฟู ท่าเรือเก่า ฮารุมิ อ่าวโตเกียว 7. อนุรก ั ษ์ทรัพยากรทางธรรมชาติให้มก ี ารใช้ประโยชน์ อย่างคุ้มค่าตามหลักการ 3R (Reduce - Reuse - Recycle)
หน้ า 80
ช่วงเศรษฐกิจอิมตัว (ค.ศ. 2000 เปนต้นมา) 8. พัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เช่น เมืองวิทยาลัยคาชิวะโนฮา
9. ส่งเสริมให้เกิดเมืองกระชับและโครงสร้างเมืองทีเดินทาง เชือมต่อกันได้ง่ายด้วยระบบคมนาคมขนส่งสาธารณะ
10. ปรับปรุงซ่อมแซมโครงสร้างอาคารทีอยูอ ่ าศัยหลังเก่า และทําการตกแต่งห้องพักทีมีสภาพทรุดโทรมให้กลับมา มีสภาพทีดี มีความสวยงาม เหมาะสมต่อการใช้งานและ วิถีชวี ต ิ คนยุคใหม่ 11. ปรับปรุงภูมท ิ ัศน์เมืองให้มค ี วามสวยงาม น่าอยู่ และ ปลอดภัย
UR ACHIEVEMENTS
ผลงานความสําเร็จขององค์กรพัฒนาและฟนฟู เมือง
เมืองใหม่ จํานวน 292 โครงการ พืนที 44,000 เฮกตาร์ โครงการทีอยูอ ่ าศัยสําหรับประชาชน จํานวน 1,580,000 หน่วย และทีพักอาศัยให้เช่า ทีหน่วยงานเปนผูบ ้ ริหารจัดการอยูใ่ นขณะนี จํานวน 730,000 หน่วย โครงการปรับปรุงฟนฟู เมือง จํานวน 253 โครงการ (ส่วนใหญ่เปนโครงการพัฒนาพืนทีรอบสถานีขนส่งมวลชน หรือ TOD)
หน้ า 81
การจัดทําโครงการปรับปรุงฟนฟูเมืองขององค์กรพัฒนาและฟนฟูเมือง ขันตอน
ขันตอน
ขันตอน
ขันตอน
การออกแบบแนวคิด
การวางแผน
นําแผนสูก ่ ารปฏิบต ั ิ
การเปดโครงการ
บ่อยครังทีโครงการต่าง ๆ มักถูกวิพากษ์วจ ิ ารณ์จากหน่วยงานท้องถินและองค์กรภาคธุรกิจ ทีจะเข้าร่วมดําเนินการว่าเต็มไปด้วยความเสียง ตัวอย่างเช่น ต้องมีการปรับเปลียนงานเพือ ตอบสนองต่อข้อเรียกร้องของ ผูม ้ ส ี ว่ นเกียวข้องโดยตรง และ ผูม ้ ส ี ว่ นได้สว่ นเสียภาคส่วนต่าง ๆ
ระยะเวลาดําเนินโครงการ
ต้องการผูด ้ ําเนินโครงการ
อาจมีการยืดเยือออกไป
ทีมีประสบการณ์ มีความรู ้
มากกว่าแผนงานทีกําหนด
และความเชียวชาญเฉพาะด้าน
องค์กรพัฒนาและฟนฟู เมือง ต้องเข้าไปมีบทบาท
เพือดึงทรัพยากรและ ความเชียวชาญของภาคเอกชน
สนับสนุนการดําเนินงาน ของหน่วยงานท้องถิน
ตัวอย่างโครงการปรับปรุงฟนฟู เมือง Shinonome Canal Court เปลียนพืนทีโกดังท่าเรือเปนอาคารพักอาศัยคุณภาพดี
WHAT UR CAN DO IN YOUR COUNTRY? องค์กรพัฒนาและฟนฟูเมืองสามารถให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศต่าง ๆ ได้ดง ั นี ภาคีความร่วมมือ / ลูกค้า รัฐบาล หน่วยงานท้องถิน องค์กรของรัฐ
งานสํารวจ พัฒนาแผนต่าง ๆ แผนแม่บทการพัฒนาเมือง แผนแม่บทการพัฒนาพืนที ผังพัฒนาเฉพาะย่าน แผนการพัฒนาระยะต่าง ๆ ฯลฯ การประสานงานระหว่างคูค ่ า้ และนักลงทุนชาวญีปุน / คูค ่ า้ ทางธุรกิจ ให้ขอ ้ มูลทีเปนประโยชน์ ฯลฯ
บริษท ั เอกชน เช่น บริษท ั พัฒนาด้านต่าง ๆ บริษท ั ก่อสร้าง โรงงานผลิต
ให้บริการคําปรึกษา รับฝกงาน ส่งวิศวกร ฯลฯ สามารถให้ความรูแ้ ละความเชียวชาญ จากประสบการณ์ดา้ นการพัฒนาเมือง และทีอยูอ ่ าศัยของประเทศญีปุน
องค์กรพัฒนาและฟนฟูเมือง
เปนทีปรึกษาของ รัฐบาล / หน่วยงาน ในสังกัดรัฐ
เปนผูป ้ ระสานงาน
บริษท ั เอกชน (นักลงทุน)
เปนทีปรึกษาด้าน วิชาการและผูช ้ ว่ ย ทางเทคนิค หน้ า 82
BUSINESS FIELDS OF
URBAN RENAISSANCE AGENCY (UR)
ภารกิจขององค์กรพัฒนาและฟนฟู เมือง (UR)
1.
ดําเนินงานด้านการปรับปรุงฟนฟู เมืองร่วมกับภาคธุรกิจและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน โดยจัดทําวิสย ั ทัศน์ วางแผน และแก้ไขข้อจํากัดต่าง ๆ ร่วมกัน และเปดโอกาสให้ทก ุ ฝาย เข้าร่วมโครงการในฐานะหุน ้ ส่วน
2. 3. 4.
พัฒนาเมืองใหม่ในย่านชานเมืองให้ประชาชนมีชวี ต ิ ทีปลอดภัย สะดวกสบาย มันคง เปนมิตรกับสิงแวดล้อม และรองรับ ประชากรผูส ้ ง ู อายุและอัตราการเกิดทีลดลง รวมทังสร้างสรรค์ สิงแวดล้อมของชานเมืองให้มเี สน่หน ์ ่าดึงดูดให้เข้ามาอยูอ ่ าศัย บริหารจัดการบ้านเช่าภายในโครงการทีอยูอ ่ าศัยทีองค์กร พัฒนาและฟนฟู เมือง (UR) เปนเจ้าของ จํานวน 740,000 หน่วยพักอาศัย โดยส่งเสริมการอยูอ ่ าศัยในย่านใจกลางเมือง การจัดหาบ้านเช่าทีปลอดภัยสําหรับผูส ้ ง ู อายุ และการปรับปรุง สภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเลียงดูเด็ก ปรับปรุงฟนฟู พนที ื หลังเกิดภัยพิบต ั ิทางธรรมชาติ เสริมความแข็งแรงของโครงสร้างอาคารให้มนคง ั และส่งเสริมพืนทีเมืองให้มค ี วามสามารถในการฟนตัว เพือรองรับยามเกิดภัยพิบต ั ิ หน้ า 83
TAMA NEWTOWN การประสานงาน โครงการ
ระบบนิเวศ
การหาทีดิน การพัฒนาระบบ เพือทําโครงการ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ
ทามะนิวทาวน์เปนโครงการพัฒนาเมืองใหม่ทีใหญ่ทีสุดแห่งหนึง ในประเทศญีปุน มีทีตังอยูห ่ า่ งจากกรุงโตเกียว 20-30 กิโลเมตรเนือที ประมาณ 2,900 เฮกตาร์ เริมก่อสร้างในป ค.ศ. 1965 เปาหมายโครงการ 1. เพือสร้างทีอยูอ ่ าศัยคุณภาพดีในเมืองใหม่ทีได้รบ ั การออกแบบ วางผังเปนอย่างดี 2. เพือแก้ปญหาการขาดแคลนทีอยูอ ่ าศัย 3. เพือแก้ปญหาการขยายตัวของเมืองซึงเปนปญหาร้ายแรงของ กรุงโตเกียว เนืองจากกรุงโตเกียวมีความหนาแน่นของประชากร และกิจการอุ ตสาหกรรมในเมืองมากเกินไปในช่วงระยะเวลา ทีประเทศญีปุนมีการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงในยุคอุ ตสาหกรรม ปจจุบน ั เมืองใหม่ทามะนิวทาวน์ได้เติบโตขึนเปนเมืองทีมีประชากร ประมาณ 220,000 คน จํานวน 90,000 ครัวเรือน
หน้ า 84
TAMADAIRA-NO-MORI การประสานงาน โครงการ
ระบบนิเวศ
การหาทีดิน เพือทําโครงการ
การพัฒนาระบบสาธารณูปโภค การบริหารจัดการพืนที/ สาธารณูปการ การสนับสนุนของชุมชน
ในป ค.ศ. 1958 โครงการทามาไดระ-โนะ-โมริ เมืองโอซาก้า เปนอีกหนึงโครงการ พัฒนาทีอยูอ ่ าศัยขนาดใหญ่ขององค์กรพัฒนาและฟนฟู เมือง (UR) เพือรองรับ ประชากรจํานวน 2,792 ครัวเรือน ต่อมาอาคารมีสภาพเก่าทรุดโทรมไม่ตอบรับ กับยุคสมัยทีมีหลายรุน ่ อยูร่ วมกัน จึงได้ทําการฟนฟู พนที ื โดยการก่อสร้างอาคาร ใหม่แนวตังในป ค.ศ. 1997 เพือให้มส ี งอํ ิ านวยความสะดวกสําหรับผูส ้ ง ู อายุและ เด็ก ตลอดจนมีอาคารพาณิชย์ในโครงการเพิมขึน เพิมพืนทีสีเขียวและสร้าง บรรยากาศความน่าอยู่ ส่งเสริมปฏิสม ั พันธ์ระหว่างคนต่างวัยต่างเจเนอเรชัน ตลอดจนรักษาความเปนชุมชนดังเดิมของผูท ้ ีเคยอยูอ ่ าศัยในโครงการเดิม มาก่อนและผูอ ้ ยูอ ่ าศัยในละแวกใกล้เคียง
แปลงผักให้เช่า
พืนทีสังสรรค์สาํ หรับคนทุกวัย
บ้านสําหรับกลุ่มผูส ้ ง ู อายุ หน้ า 85
UMEKITA โครงการปรับปรุงฟนฟู เมืองย่านอุ เมะคิตะ เมืองโอซาก้า มีวต ั ถุประสงค์ เพือพัฒนาพืนทีสถานีขนถ่ายสินค้าขนาด 24 เฮกตาร์ หน้าสถานีรถไฟ โอซาก้าซึงเปนสถานีรถไฟปลายทางทีใหญ่ทีสุดของญีปุนในภาค ตะวันตก มีผใู้ ช้บริการระบบขนส่งมวลชนทีสถานีโอซาก้าเปนจํานวน 2.5 ล้านคนต่อวัน ให้เปนพืนทีเมืองแห่งความคิดสร้างสรรค์ทางปญญา และเพิมขีดความสามารถในการแข่งขันกับสากลประเทศในระดับสูง ผ่านการวางผังเมืองทีมาจากการระดมความคิดเห็นของผูเ้ ชียวชาญ ในภาคอุ ตสาหกรรม ภาครัฐบาล และนักวิชาการจากสถาบันการศึกษา ในฐานะผูป ้ ระสานงานโครงการฯ องค์กรพัฒนาและฟนฟู เมือง (UR) จะเปนผูใ้ ห้ความช่วยเหลือในการรวบรวมแผนพัฒนาพืนฐานด้านต่าง ๆ ระดมพลังจากนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพือสร้างสิงทีเรียกว่า “ทุนแห่งความรู”้ ซึงเปนฐานรากของความคิดสร้างสรรค์ทางปญญา นอกจากนียังมีการวางแผนปองกันภัยพิบต ั ิ การบริการจัดการเมือง และบังคับใช้กฎหมายการจัดรูปทีดินเพือให้โครงการประสบความสําเร็จ อย่างเปนรูปธรรม
หน้ า 86
MINATO MIRAI 21 การประสานงาน โครงการ
การปองกัน ภัยพิบต ั ิ
การหาทีดิน การพัฒนาระบบ เพือทําโครงการ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ
จากช่วงระยะเวลาทีประเทศญีปุนมีการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงในยุค อุ ตสาหกรรม ฟงก์ชนเมื องโยโกฮาม่าถูกแบ่งออกเปนสองส่วน คือ ั พืนทีท่าเรือและอู ่ต่อเรือ เพือแก้ไขปญหาการใช้พนที ื ไม่สมประโยชน์ จึงเกิดโครงการมินาโตะ มิไร 21 เมืองโยโกฮาม่า จังหวัดคานางาวะ เพือให้เปนการพัฒนาเมืองในพืนทีริมนํา ขนาดพืนทีรวม 186 เฮกตาร์ โดยมีการรือถอนอาคารเก่าออกทังหมดและใช้วธ ิ ก ี ารจัดรูปทีดิน เพือสร้างชุมชนใหม่ทีมีความทันสมัย มีความเปนสากล มีสงอํ ิ านวย ความสะดวกทุกอย่างในพืนที การวางผังโครงการจัดรูปทีดินในพืนทีมินาโตะ มิไร 21 เปนการร่วมกัน พัฒนาเมืองระหว่างองค์กรพัฒนาและฟนฟู เมือง (UR) หน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรต่าง ๆ อาทิ การสร้างทางรถไฟสายใหม่ การออกกฎในการออกแบบสถาปตยกรรมเพือให้เส้นขอบฟา (Skyline) ของเมืองทังเมืองมีความกลมกลืนสอดคล้องกัน การออกแบบแสงสว่าง (Lighting Design) เพือให้เกิดทัศนียภาพ สวยงามทีเกิดจากแสงไฟของเมืองในยามคําคืนซึงจะมีสว่ นช่วย เพิมมูลค่าของพืนทีเมืองให้น่ามาเยือน น่าทํางาน น่าอยูอ ่ าศัย รวมทัง มีการเพิมประสิทธิภาพการปองกันภัยพิบต ั ิ
หน้ า 87
โครงการความร่วมมือกับ ภาคเอกชนในการปรับปรุง ฟนฟูอาคารเก่าให้เช่า
MUJI × URBAN COMPLEX RENOVATION PROJECT อาคารทีอยูอ ่ าศัยขององค์กรพัฒนาและฟนฟู เมือง (UR) ทีได้สร้างขึน ในยุคแรก ๆ เริมมีสภาพอาคารเก่าทรุดโทรม หน่วยงานจึงมีโครงการ ความร่วมมือกับบริษัท Muji ในการปรับปรุงฟนฟู อาคารเก่าให้เช่า โดยองค์กรพัฒนาและฟนฟู เมืองมอบหมายให้บริษัท Muji ตกแต่ง ภายในห้องเช่าใหม่ให้มค ี วามสวยงามน่าอยูม ่ ากขึน เนืองจากบริษัท Muji เปนร้านจําหน่ายอุ ปกรณ์เครืองใช้ในบ้านทุกชนิดทีมีรูปโฉม เรียบง่ายแต่ทันสมัย เหมาะสมกับการใช้งานห้องพักทีมีพนที ื จํากัด ทังนี ผูท ้ ีมีความประสงค์เช่าห้องในโครงการนี สามารถเลือกตามความ ประสงค์ได้ทางเว็บไซต์ https://www.ur-net.go.jp/chintai/muji
หน้ า 88
โครงการความร่วมมือกับ ภาคเอกชนในการปรับปรุง ฟนฟูอาคารเก่าให้เช่า
LET'S LIVE IN IKEA AND UR โครงการความร่วมมือกับบริษัท IKEA ภายใต้ชอ ื "มาอยูก ่ ับอิเกียและยูอาร์กันเถอะ (Let's live in Ikea and UR)" มีแนวคิดมาจากการอยูอ ่ าศัยทียังยืน เพือให้ผเู้ ช่าห้องพักสามารถ อยูอ ่ าศัยในห้องทีได้รบ ั การปรับปรุงให้มค ี วามสวยงามทันสมัยและ ใช้วส ั ดุทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม ทังนี ผูท ้ ีมีความประสงค์เช่าห้อง ในโครงการนี สามารถเลือกตามความประสงค์ได้ทางเว็บไซต์ https://www.ur-net. go.jp/chintai/ur_ikea
ภาพห้องเช่าในโครงการ Toyoaken Housing Complex จังหวัดไอจิ ขนาด 39.64 ตารางเมตร ค่าเช่า 44,300 เยน/เดือน
หน้ า 89
โครงการความร่วมมือกับ ผูเ้ ช่าในการปรับปรุง ฟนฟูหอ ้ งพักอาศัยของตน
DANSHI × DIY UR PROJECT องค์กรพัฒนาและฟนฟู เมือง (UR) อนุญาตให้ผเู้ ช่าสามารถดําเนินการ ปรับปรุงห้องพักด้วยตนเอง โดยมีขนตอน ั ดังนี 1) ผูเ้ ช่าเลือกห้องพักได้ทางเว็บไซต์หรือสํานักงานขายในจังหวัดนัน ๆ https://www.ur-net.go.jp/chintai/diy/diy-list 2) หากตรวจสอบห้องพักในโครงการ UR แล้วพึงพอใจอาจไม่จาํ เปน ต้องทําการตกแต่งเพิมเติม 3) หลังจากทําสัญญาเช่าแล้วผูเ้ ช่าสามารถเข้าอยูไ่ ด้เลยและทําการ ตกแต่ง DIY ในภายหลังระหว่างอยูอ ่ าศัย หรือทําการ DIY ให้เสร็จ ก่อนย้ายเข้า สัญญาเช่ามีระยะเวลา 1 ป 3 เดือนขึนไป 4) ก่อนดําเนินการ DIY ใด ๆ ผูเ้ ช่าต้องแจ้งนิติบุคคลเพือขออนุญาต แผนก่อสร้างปรับปรุงก่อน โดย 3 เดือนแรกผูเ้ ช่าไม่ต้องจ่าย ค่าเช่าเพราะถือว่าอยูใ่ นช่วงดําเนินการ 5) เมือทําการ DIY แล้วเสร็จ ผูเ้ ช่าอาจตกแต่งห้องเพิมได้ในภายหลัง
ตัวอย่างการ DIY ห้องเช่าโครงการ Chishima Housing Complex จังหวัดโอโซก้า หน้ า 90
Public Transportation Network and Urban Development in Japan โครงข่ายการคมนาคมขนส่งสาธารณะกับการพัฒนาเมือง ในประเทศญีปุน
มหานครในญีปุนทีมีระบบ รถไฟฟาใต้ดน ิ และการขนส่ง ทางราง
1. บูรณาการระหว่างการพัฒนาเมืองและการขนส่งในประเทศญีปุน 1.1 โครงสร้างเมืองและระบบคมนาคมขนส่งสาธารณะ เมืองใหญ่หลายเมืองในประเทศญีปุนมีการขยายตัวของพืนทีเมืองอย่างรวดเร็วเนืองจากการเติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศในป ค.ศ. 1960 - 1980 เปนผลให้จาํ นวนประชากรในเมืองทีเพิมขึนอย่างต่อเนือง ประกอบกับเมือง ในประเทศญีปุนมีขนาดของเมืองทีมีความหลากหลาย เช่น มหานคร เมืองหลักแกนกลางระดับภูมภ ิ าค และเมืองรอง อืน ๆ ทําให้ตอ ้ งมีระบบคมนาคมขนส่งสาธารณะรองรับการสัญจรของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิงมหานครส่วนใหญ่ ทีมีประชากรมากกว่า 1 ล้านคน เช่น กรุงโตเกียว โอซาก้า นาโกย่า จะมีระบบการคมนาคมขนส่งทางราง หน้ า 91
โครงสร้างเมืองและระบบขนส่งสาธารณะ
บทบาทของระบบขนส่งสาธารณะมีความแตกต่างกันตามขนาดและโครงสร้างของเมือง ในภาพแสดงรูปแบบโครงข่ายขนส่งสาธารณะในมหานคร มหานครโตเกียว ประชากรจํานวน 36.9 ล้านคน มหานครโอซาก้า ประชากรจํานวน 19.3 ล้านคน มหานครนาโกย่า ประชากรจํานวน 9.1 ล้านคน A หมายถึง โครงข่ายระบบคมนาคมขนส่ง MRT B หมายถึง เส้นทางโดยสารเชือมต่อ (feeder services) กับโครงข่ายระบบคมนาคมขนส่ง MRT C หมายถึง เส้นทางโดยสาร (Access Services) เพือเข้าถึง บริการสาธารณะขนาดใหญ่ เช่น สนามบิน D หมายถึง เส้นทางโดยสารแบบวงรอบในพืนทีโครงการพัฒนาเมือง ขนาดใหญ่ เช่น โครงการเมืองใหม่ พืนทีศูนย์กลางเมือง แห่งใหม่ E หมายถึง การปรับปรุงเส้นทางโดยสารเพือให้มจี ด ุ พักคอย ภายในศูนย์กลางเมือง
1.2 การพัฒนาระบบรางในพืนทีเมืองและการพัฒนาพืนทีรอบสถานีขนส่งมวลชน (Transit Oriented Development: TOD) ประเทศญีปุนมีการวางแนวทางการพัฒนาแบบองค์รวมและมีความยังยืนตามรูปแบบการพัฒนาพืนทีรอบสถานี ขนส่งมวลชน (TOD) ในขณะทีการพัฒนาพืนทีรอบสถานีขนส่งมวลชน (TOD) มีจด ุ ประสงค์หลักอยูท ่ การส่ ี งเสริมการใช้บริการระบบขนส่ง สาธารณะ การบูรณาการระหว่างการพัฒนาเมืองและการขนส่งก็มง ุ่ เปาไปทีการสร้างเมืองทียังยืนด้วย โดยทําให้เกิด การใช้ประโยชน์สง ู สุดจากโครงข่ายการคมนาคมขนส่ง
เปาหมาย วัตถุประสงค์ และประโยชน์ของการพัฒนาแบบบูรณาการ Transit Oriented Development: TOD การพัฒนาระบบขนส่ง ปรับปรุงความสามารถ ในการรองรับปริมาณ ผูโ้ ดยสารและการเชือมต่อ การสัญจรรูปแบบอืน ๆ
เพิมจํานวนผูโ้ ดยสาร และรายได้ มีการดําเนินงานและ การบํารุงรักษาที ต่อเนืองและยังยืน ปรับปรุงคุณภาพ โครงข่ายคมนาคมขนส่ง
การพัฒนาเมือง สะดวก ปลอดภัย ง่ายต่อการเข้าถึง และมีความคล่องตัว
ระบบรถไฟฟา ขนส่งมวลชน + สิงอํานวยสะดวก ในการเชือมต่อ การเดินทาง
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเมือง และการบริหาร จัดการ
วัตถุประสงค์ของ TOD ส่งเสริมการใช้บริการระบบขนส่งสาธารณะ
วัตถุประสงค์การบูรณาการระหว่างการพัฒนาเมืองและการขนส่ง สร้างเมืองทียังยืน
ส่งเสริมประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลจากการใช้ ประโยชน์ทดิ ี นและการ บริหารจัดการ
มูลค่าทีดินสูงขึน กระตุน ้ การลงทุนจาก ภาคเอกชน ปรับปรุงด้านสังคมและ สิงแวดล้อมผ่าน โครงการพัฒนาเมือง
หน้ า 92
ทําไมจึงต้องมีการบูรณาการระหว่างการพัฒนาเมืองและการขนส่ง? และอะไรคือประโยชน์ของการพัฒนาพืนทีรอบสถานีขนส่งมวลชน (TOD)? การบูรณาการระหว่างการคมนาคมขนส่งและการพัฒนาเมืองในระดับต่าง ๆ จะทําให้เกิดประโยชน์สง ู สุดต่อโครงสร้างพืนฐาน ทังในด้านคมนาคมขนส่ง ด้านสังคม ด้านสิงแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจ
ประโยชน์ดา้ นคมนาคมขนส่ง
ประโยชน์ดา้ นสังคม
ประโยชน์ดา้ นสิงแวดล้อม
ประโยชน์ดา้ นเศรษฐกิจ
เพิมการเข้าถึงงานและสิงอํานวย
ฟนฟูพนที ื ในย่านละแวกบ้าน
ลดมลพิษทางอากาศและการปล่อย
คนสามารถรวมตัวกันและ
ความสะดวกโดยทัวถึงทังเมือง
ส่งเสริมความเท่าเทียมทาง
ก๊าซเรือนกระจก โดยลดการพึงพา
ติดต่อเข้าถึงกันได้งา่ ย
ปรับปรุงการเข้าถึงตัวเลือกในการ
สังคมผ่านการสร้างทีอยูอ ่ าศัย
รถยนต์และการขยายตัวของเมือง
ส่งเสริมความสามารถในการ
เดินทางโดยมีระบบการคมนาคม
ทีมีหลากหลายเพือครัวเรือนทีมี
ลดการใช้พลังงาน
ปรับตัวตามภาวะเศรษฐกิจ
ขนส่งสาธารณะราคาประหยัด
รายได้แตกต่างกันและมีทตั ี ง
การอนุรก ั ษ์พนที ื สีเขียวและพืนที
กระตุน ้ เศรษฐกิจท้องถิน
(จุดเชือมต่อการเดินทาง / พืนทีใน
ใกล้ระบบขนส่งสาธารณะ
ธรรมชาติ
เพิมมูลค่าทรัพย์สน ิ ทีดินตาม
เมืองทีเดินได้สะดวก / โครงสร้าง
ลดระยะทางในการเดินทาง
เส้นทางการพัฒนาเพือช่วย
พืนฐานสําหรับการใช้จก ั รยาน)
ปรับปรุงสุขภาพและเพิมกิจกรรม
สนับสนุนเงินลงทุนโครงสร้าง
ลดการพึงพารถยนต์สว่ นตัว
การออกกําลังกายผ่านการ
พืนฐานทีจําเปนเพิมมากขึน
สร้างสรรค์พนที ื ในละแวกบ้าน
ลดต้นทุนการคมนาคมขนส่ง
ทีเดินได้อย่างสะดวก
ทีตังโครงการพัฒนาพืนทีรอบสถานีขนส่งมวลชน (TOD) ในกรุงโตเกียว
หน้ า 93
การพัฒนาเมืองตามแนวเส้นทางรถไฟสายด่วน (Tsukuba Express Town) เส้นทางรถไฟสายด่วน Tsukuba Express Line (TX) เริมต้น ก่อสร้างในป ค.ศ. 1994 และเปดให้บริการในป ค.ศ. 2005 มีสถานี 20 สถานี ในจํานวนนีได้ให้กําเนิดโครงการพัฒนาเมืองใน 18 เมือง กระจายตามแนวเส้นทางรถไฟในกรุงโตเกียว จังหวัดไซตามะ จังหวัดชิบะ และจังหวัดอิบารากิ รวมพืนที 3,266 เฮกตาร์ โดยมี องค์กรพัฒนาและฟนฟูเมือง (Urban Renaissance Agency: UR) ร่วมดําเนินการกับบริษท ั รถไฟ รัฐบาลท้องถิน ภาคเอกชน และ ประชาชนในพืนที เพือให้ประชาชนเดินทางเข้าถึงกรุงโตเกียว และเมืองอืน ๆ ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เกิดการพัฒนาพืนทีรอบ สถานีขนส่งมวลชน (TOD) ทีมีสงอํ ิ านวยความสะดวก ร้านค้า อาคารพาณิชย์ อาคารสํานักงานอยูห ่ น้าสถานี เส้นทางรถไฟสายด่วน Tsukuba Express Line (TX) ระยะทาง 58.3 กิโลเมตร จํานวน 20 สถานี ความเร็วสูงสุด 130 กิโลเมตร/ชัวโมง ความเร็วเฉลีย 77 กิโลเมตร/ชัวโมง ความถี 16 ขบวนในช่วงเวลาเร่งด่วน ค่าก่อสร้าง 8.2 พันล้านดอลล่าห์สหรัฐ ระยะเวลาการก่อสร้าง ค.ศ. 1994 - 2005 เปดให้บริการเดือนสิงหาคม 2005
กฎหมายจัดรูปทีดินได้นํามาใช้เพือบูรณาการ โครงการพัฒนาเมืองระหว่างทีดินตามแนว เส้นทางรถไฟและทีอยูอ ่ าศัย ขันตอนที 1 เวนคืนทีดินเพือสร้างทางรถไฟ ขันตอนที 2 จัดรูปแปลงทีดินใหม่ ทางรถไฟ พืนทีโครงการพัฒนาเมือง เวนคืนทีดินแปลง ทีต้องการ
ทางรถไฟ จัดรูปทีดิน ในพืนที โครงการ
ขันตอนที 3 ก่อสร้างทางรถไฟและ เมืองใหม่ตามโครงการ สถานีรถไฟ
อาคารสร้างใหม่ สวนสาธารณะ ก่อสร้าง ทีอยูอ ่ าศัย หน้ า 94
ตัวอย่างโครงการพัฒนาเมืองตามแนวเส้นทางรถไฟสายด่วน (Tsukuba Express Town): เมืองมหาวิทยาลัยคาชิวะโนฮา
พืนทีรอบสถานีคาชิวะโนฮาแคมปส
พืนทีโครงกาารพัฒนาเมือง 273 เฮกตาร์ เปาหมายรองรับประชากร 26,000 คน สร้างชุมชนขึนมาใหม่จากพืนทีว่าง ชุมชนทีเพียบพร้อมไปด้วยองค์ความรูแ้ ละ เทคโนโลยีททั ี นสมัย สร้างวิถช ี วี ต ิ ใหม่ให้เปนการทดลองทางสังคม ด้วยการมีสว่ นร่วมของผูอ ้ ยูอ ่ าศัยทุกกลุม ่
พืนทีโครงการในป ค.ศ. 2004 ก่อนการสร้างเส้นทาง รถไฟสายด่วน Tsukuba Express Line (TX)
พืนทีหลังดําเนินโครงการพัฒนาเมือง ในป ค.ศ. 2016
หน้ า 95
ประเด็นสําคัญในการวางแผนการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งในเมืองทียังยืน 1. ระบบโดยสารด้วยรถไฟฟาในเมืองจําเปนต้องตอบสนองความต้องการในอนาคตและการใช้ประโยชน์ทดิ ี น ดังนัน การปรับปรุงแผนแม่บทโครงการพัฒนาเมืองให้ทน ั ต่อการเปลียนแปลงของพืนทีและการนําไปสูก ่ ารปฏิบต ั ใิ ห้บรรลุผล เปนสิงจําเปนอย่างยิง 2. พิจารณาจังหวะทีเหมาะสมต่อการลงทุนก่อสร้างเส้นทางรถไฟในเขตเมือง 3. การก่อสร้างโครงข่ายเส้นทางรถไฟตามลําดับชันเปนสิงจําเปน สําหรับเมืองใหญ่เช่นเดียวกับโครงข่ายถนน ทีมีถนนสายหลัก ถนนสายรอง ถนนย่อย ตรอก ซอย เปนต้น 4. ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาพืนทีรอบสถานีขนส่งมวลชน (Transit Oriented Development: TOD) 5. กําหนดนโยบายการใช้รถยนต์และการใช้ถนนทีเกียวข้องกับเส้นทางรถไฟในเขตเมือง เช่น การใช้พนที ื ลานหน้าสถานีรถไฟ กฎระเบียบการอนุญาตให้จอดรถ ภาษีนํามัน ภาษีรถยนต์ ภาษีคา่ ผ่านทาง ฯลฯ 6. เปดโอกาสให้ผล ู้ งทุนก่อสร้างเส้นทางรถไฟและผูป ้ ระกอบการสามารถทํากําไรได้เพือเปนแรงจูงใจในการสร้างนวัตกรรม การให้บริการและการดําเนินงานทีตอบสนองความต้องการใช้งานของประชาชน ลําดับชันของโครงข่าย การขนส่งสาธารณะในกรุงโตเกียว
การสร้างโครงข่ายการขนส่งสาธารณะในเมืองใหม่ โครงข่ายการขนส่งสาธารณะ ในเมืองใหม่
สร้างระบบขนส่งมวลชนหลายชัน ไปพร้อม ๆ กับการพัฒนาพืนทีรอบ สถานีขนส่งมวลชน (TOD) ทีเชือมต่อ ภายในเมืองและเชือมต่อกับเมืองอืน ในภูมภ ิ าค
ระยะเริมต้น : โครงข่ายเส้นทางรถโดยสารสายด่วน
ระยะเริมต้นของการพัฒนาเมืองใหม่ จะขึนอยูก ่ บ ั การมีโครงข่ายเส้นทางรถ โดยสารทีเชือมต่อกับพืนทีเมืองเดิม
ภายหลังก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟา MRT : โครงข่ายเส้นทางระบบคมนาคมขนส่ง สาธารณะสายรองทีสนับสนุนการใช้ MRT
เพือเปนส่วนเสริมให้แก่เส้นทางรถไฟฟา MRT และทําให้โครงข่ายการขนส่งสาธารณะมีความ ครอบคลุมมากยิงขึน ควรมีโครงข่ายการ สัญจรระบบรองเพิมในรูปแบบรถโดยสารด่วน พิเศษ (Bus Rapid Transit หรือ BRT) และมี ปายรถเมล์หา่ งกันประมาณ 1.0 - 1.5 กิโลเมตร หน้ า 96
2. ประสบการณ์ของประเทศญีปุนในการวางแผนการขนส่งสําหรับเมืองอัจฉริยะ 2.1 การมีสว่ นร่วมของ JICA ในโครงการปรับปรุงระบบรถโดยสารประจําทางให้ทน ั สมัย กรณีศึกษาในเวียดนาม กรอบการดําเนินโครงการ 1. ชือโครงการ : โครงการส่งเสริมศักยภาพการบริหารจัดการระบบคมนาคมขนส่งสาธารณะจังหวัดบินห์เดือง ( Project for Enhancing Management Capacity of Transport System focused on Public Transport in Binh Duong Province) 2. เปาหมาย: ส่งเสริมการใช้งานระบบขนส่งมวลชน 3. วัตถุประสงค์: เพิมศักยภาพของหน่วยงานในการพัฒนานโยบายและการดําเนินการพัฒนาระบบขนส่งมวลชน 4. ระยะเวลาดําเนินโครงการ: เดือนเมษายน 2005 - เดือนกุมภาพันธ์ 2018 5. ผลลัพธ์ทต้ ี องการ: (1) เตรียมแผนการปรับปรุงระบบรถโดยสารสาธารณะ (2) ตรวจสอบคุณภาพการให้บริการรถโดยสารประจําทางและดําเนินโครงการนําร่อง (3) จัดเส้นทางรถโดยสารสาธารณะเพือให้บริการตามแผนงานโครงการโดยดําเนินการร่วมกับองค์กรและ ชุมชนทีเกียวข้อง การถ่ายทอดเทคโนโลยีและความรูด ้ า้ นระบบคมนาคมขนส่งของประเทศญีปุน จัดกิจกรรมและโครงการนําร่องต่าง ๆ เพือดําเนินการร่วมกับบริษท ั Becamex Tokyu Bus Co., Ltd. ประเทศญีปุน ซึงมีแนวทางการจัดระบบรถโดยสารประจําทางทีดีทสุ ี ด นําแนวทางการจัดระบบรถโดยสารประจําทางข้างต้นไปใช้กบ ั เส้นทางเดินรถโดยสารประจําทางและพืนทีอืน ๆ ในจังหวัดบินห์เดือง เพือให้พนที ื เมืองมีระบบขนส่งสาธารณะทีครอบคลุม เพิมศักยภาพของบริษท ั คูค ่ า้ ในท้องถินในการพัฒนานโยบาย การดําเนินการ และพัฒนาระบบขนส่งมวลชน ให้มป ี ระสิทธิภาพมากยิงขึนผ่านการดําเนินโครงการนําร่องและโครงการฝกอบรม ขอบเขตงานโครงการ
Becamex Tokyu Becamex Tokyu Bus
เทคโนโลยีและองค์ความรู ้ ของญีปุน
ระบุปญหาการขนส่งสาธารณะ ในจังหวัดบินห์เดือง
ดําเนินโครงการนําร่องต่าง ๆ
การวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ และตรวจสอบมาตรการ
การสร้างขีดความสามารถ กลยุทธ์การ ส่งเสริมและการปรับปรุงหน่วยงาน
การจัดทําแผนและยุทธศาสตร์ใน อนาคตสําหรับการขนส่งสาธารณะ
เผยแพร่แนวทางปฏิบต ั ท ิ ดี ี ทสุ ี ดไปยังพืนทีอืนๆ และเส้นทางเดินรถ “เมืองสิงแวดล้อมและการคมนาคมสาธารณะ
หน้ า 97
โครงการนําร่องการดําเนินงานรถโดยสารสาธารณะ จากผลการสํารวจการจราจรทีมีอยูเ่ ดิมและการหารือ กับกระทรวงคมนาคมทําให้ตอ ้ งมีการตรวจสอบ โครงข่ายรถโดยสารชัตเทิลบัส (Shuttle bus) และ รถโดยสารจากจุดเชือมต่อ (Feeder) เสนอเส้นทางใหม่ (สายสีแดง) ตามผลการสํารวจ พฤติกรรมการเดินทาง เสนอเส้นทางใหม่ (สายสีแดงและสีชมพู) ตามผล การสํารวจปริมาณผูโ้ ดยสารในนิคมอุตสาหกรรม
ยกระดับการให้บริการรถโดยสารสาธารณะ เครือข่ายรถโดยสารสาธารณะใน Binh Duong New City ขยายเปน 6 เส้นทางตังแต่วน ั ที 6 มีนาคม ค.ศ. 2016
หน้ า 98
การบริหารจัดการความคล่องตัว (Mobility Management) แนวคิดการบริหารจัดการความคล่องตัว (Mobility Management) คือ การสร้างแรงจูงใจให้แก่ประชาชนในการเปลียน มาใช้ระบบขนส่งสาธาธารณะโดยการให้ขอ ้ มูลข่าวสารและแรงจูงใจต่าง ๆ เมือก่อน
ปจจุบน ั การบริหารจัดการความคล่องตัว แผนการเดินทาง แผนทีรถไฟฟา ข้อมูลข่าวสาร ตารางเวลาเดินรถ คนสามารถเลือกหน่วยการสัญจร ทีสมเหตุสมผลกับความต้องการใช้งาน
คนจะใช้รถส่วนตัวเท่านัน ผูใ้ ช้สามารถวางแผนการเดินทาง โดยใช้ขอ ้ มูลข่าวสารเหล่านี
การสัญจรทางถนน
เปลียนจากการใช้รถมอเตอร์ไซค์มาใช้ระบบขนส่งสาธารณะ
การสัญจรระบบขนส่งสาธารณะ
ให้ความมันใจในระบบขนส่งสาธาธารณะทีเชือถือได้
แก้ไขปญหาการจราจรติดขัดจากการลดจํานวน ผูข ้ บ ั ขีรถมอเตอร์ไซค์
ยกระดับการให้บริการ ี มีการพั ฒนาทียังยืนของธุรกิจขนส่งสาธารณะ
แก้ไขปญหาสิงแวดล้อม
แนวความคิดในการจัดเตรียมข้อมูลสําหรับการบริหารจัดการความคล่องตัว ต้องปองกันตัวเองจากแสงแดดและมลภาวะ การจราจรติดขัด ไปไหนก็ยาก...
ชีวต ิ แบบ เดิม ใช้รถมอเตอร์ไซค์
มีผลเสียต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ และอาจเกิดอุบต ั เิ หตุททํ ี าให้บาดเจ็บรุนแรง
ชีวต ิ แบบใหม่ ใช้ระบบขนส่ง สาธารณะ
สุขภาพดี
ปลอดภัย
มีเวลาว่าง
ประหยัดเวลา
มีเวลาว่างมากขึนขณะสัญจรด้วยระบบขนส่งสาธารณะ
ปกปองสิงแวดล้อม
หน้ า 99
ผลลัพธ์ของโครงการ JICA ในเวียดนาม ผลลัพธ์ที 1 แผนการปรับปรุงระบบรถโดยสารสาธารณะ แผนการปรับปรุงระบบรถโดยสารสาธารณะถูกจัดทําขึน โดยกระทรวงคมนาคมได้สง ่ แผนดังกล่าวไปยังบริษท ั ขนส่ง จังหวัดบินห์เดือง และโน้มน้าวให้บริษท ั ขนส่งอนุมต ั แ ิ ผนฯ ซึงหมายถึงการประกันเงินอุดหนุนสําหรับธุรกิจรถโดยสาร สาธารณะและการมีสว่ นร่วมในการบรรลุเปาหมายโดยรวมของโครงการ ผลลัพธ์ที 2 ยกระดับคุณภาพบริการรถโดยสารประจําทาง โครงการนําร่องต่าง ๆ ได้ดําเนินการในช่วงระยะเวลาทีกําหนดไว้ในโครงการ โดยบริการรถโดยสารประจําทางสําหรับผูใ้ ช้ ได้รบ ั การปรับปรุงและมีจาํ นวนผูใ้ ช้รถโดยสารประจําทางเพิมขึน ผลลัพธ์ที 3 การบริหารจัดการความคล่องตัว โครงการนําร่องต่าง ๆ สําหรับการบริหารจัดการความคล่องตัวได้ดําเนินการในช่วงระยะเวลาทีกําหนดไว้ในโครงการ และมีจาํ นวนผูใ้ ช้รถโดยสารประจําทางเพิมขึน งบประมาณสําหรับการดําเนินโครงการให้มค ี วามต่อเนืองจากผลลัพธ์ที 2 และผลลัพธ์ที 3 ถูกกันไว้เพือเปนส่วนหนึงของ เงินอุดหนุนโครงการในระยะต่อไป
2.2 เมืองอัจฉริยะโยโกฮาม่ากับการสัญจรอย่างปลอดภัยและยังยืน ให้บริการคมนาคมขนส่งสาธารณะในรูปแบบต่างๆ ผ่านช่องแพลตฟอร์มดิจท ิ ล ั ทีทําให้ผใู้ ช้สามารถวางแผนการเดินทาง จองตัว และชําระค่าบริการขนส่งสาธารณะด้วยแอพพลิเคชัน My route (https://www.youtube.com/watch?v=1PHPDbsC9rY&t=118s)
หน้ า 100
ถนนทีเมืองโยโกฮาม่ามุง ่ สูเ่ มืองแห่งอนาคต ตามเปาหมายการพัฒนาทียังยืน
The Road that City of Yokohama has taken toward the SDGs Future City
SDGs FUTURE CITY วิสย ั ทัศน์การนําเปาหมายการพัฒนาทียังยืนไปสูก ่ ารปฏิบต ั ข ิ องญีปุน เปนประเทศผูบ ้ ก ุ เบิกสําหรับการสร้างอนาคตทียังยืนและยืดหยุน ่ โดยไม่มใี ครถูกทิงไว้ขา้ งหลังและมีการปรับปรุงด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิงแวดล้อมแบบบูรณาการ
เมืองแห่งอนาคต ตามเปาหมาย การพัฒนาทียังยืน เมืองในอนาคต ด้านสิงแวดล้อม
ดําเนินการตามเปาหมาย การพัฒนาทียังยืน ส่งเสริม Paris Agreement ความร่วมมือกับนานาประเทศ เมืองสีเขียว สังคมทีมีผส ู้ ง ู อายุจาํ นวนมาก การฟนตัวจากภัยพิบต ั ต ิ า่ ง ๆ
เมืองต้นแบบด้านสิงแวดล้อม เวทีความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน เพือก้าวไปสูเ่ ปาหมายความยังยืนในพืนที
สังคมคาร์บอนตําและ ลดก๊าซเรือนกระจก ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน
หลักการปฏิบต ั :ิ (1) ความเปนสากล (2) ความครอบคลุม (3) การมีสว่ นร่วม (4) คุณธรรมและจริยธรรม (5) ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ
หน้ า 101
เมืองต้นแบบด้านสิงแวดล้อมในญีปุน
วิสย ั ทัศน์ของเมืองโยโกฮาม่าในอนาคต ศูนย์รวมวัฒนธรรม ศิลปะ อุตสาหกรรม กิจกรรมทางธุรกิจ และชุมชน
โครงสร้างพืนฐานทางสังคม รักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เครือข่ายพลังงาน ระบบประปาและบําบัดนําเสีย นํา พืนทีสีเขียว อากาศ ดิน ฯลฯ การกําจัดขยะของเสีย การดูแลสุขภาพ สวัสดิการ การดูแลเด็กและผูส ้ ง ู อายุ
หน้ า 102
ศูนย์การออกแบบตามเปาหมายการพัฒนาทียังยืนเมืองโยโกฮาม่า (Yokohama SDGs Design Center) เปนหน่วยงานทีตังขึนมาเพือแก้ปญหาด้านสิงแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมร่วมกันเพือให้บรรลุเปาหมายการพัฒนาทียังยืน โดยความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และประชาชน ภาคประชาชน
สถาบันการศึกษา
สถาบันการเงิน
ภาคธุรกิจ
องค์กรชุมชน
ี ว่ นได้สว่ นเสีย ้ ส ระบุความต้องการและต้นทุนของผูม
ด้านการตลาด - รวบรวมต้นทุนและความ ต้องการของแต่ละฝาย ่ ารดําเนินงาน - จับคูก
นวัตกรรม
การประสานความร่วมมือ - ให้คําปรึกษาและสนับสนุน เพือบรรลุเปาหมาย SDGs - ความร่วมมือและสนับสนุน
- นําข้อเสนอแนะทีได้มาจัด
การส่งเสริม - เผยแพร่ผลงานของ
ทําโครงการและทดลอง
โครงการสร้างนวัตกรรม
ั ิ ทําจริงให้เกิดผลทางปฏิบต
ผ่านสือต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์
การจัดโครงการสาธิตเชิง
นิตยสาร โซเชียลมีเดีย
ทดลองและกิจกรรมอืน ๆ
อีเมล ฯลฯ
- จัดการ อบรม สัมมนาและ
- จัดฟอรัมเสวนา
จัดการบรรยายในทีต่าง ๆ
ทุกฝายดําเนินโครงการร่วมกันในการแก้ปญหาสิงแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมแบบบูรณาการ ิ าค เช่น ความพยายามแก้ปญหาระดับภูมภ ่ าศัยในเขตชานเมือง พืนทีอยูอ
สังคม เศรษฐกิจ
ั ภาวะโลกร้อน ้ บ ความพยายามในการต่อสูก
ความพยายามในการฟนฟูเศรษฐกิจและ สร้างความเจริญรุง่ เรือง
สิงแวดล้อม
การสร้าง "แบบจําลองมหานครโยโกฮาม่า" เพือให้บรรลุการแก้ปญหาแบบบูรณาการทังสามด้าน เมืองทีสร้างคุณค่าและความเจริญรุง่ เรืองใหม่ ๆ อย่างต่อเนือง ผ่านเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และศิลปะ โดยมีจด ุ เน้นทีสําคัญ คือ สิงแวดล้อม
มีสว่ นร่วมในความสําเร็จตามเปาหมายการพัฒนาทียังยืน
หน้ า 103
การดําเนินงานของศูนย์การออกแบบตามเปาหมายการพัฒนาทียังยืนเมืองโยโกฮาม่า (Yokohama SDGs Design Center) ศูนย์การออกแบบตามเปาหมายการพัฒนาทียังยืนเมืองโยโกฮาม่า (Yokohama SDGs Design Center) มีผป ู้ ระกอบการ ภาคธุรกิจเปนผูด ้ ําเนินการหลักโดยความร่วมมือจากสํานักงานใหญ่ดา้ นนโยบายการเปลียนแปลงสภาพภูมอ ิ ากาศ เมืองโยโกฮาม่า (Climate Change Policy Headquarters of Yokohama City)
ตัวอย่างโครงการของศูนย์การออกแบบตามเปาหมายการพัฒนาทียังยืนเมืองโยโกฮาม่า โครงการที 1 โครงการหลอดไม้เมืองโยโกฮาม่า โครงการนีเกิดขึนเพือสร้างจิตสํานึกในการบรรเทาปญหาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชันบรรยากาศ ปญหาขยะพลาสติกในทะเล การอนุรก ั ษ์ปาไม้ และปญหาสิงแวดล้อมอืน ๆ รวมทังเพือเปนการส่งเสริมการผลิตและการบริโภคในท้องถินของตนเองโดย ความร่วมมือจากภาคีความร่วมมือ ดังนี ศูนย์การออกแบบตามเปาหมายการพัฒนาทียังยืนเมืองโยโกฮาม่า (Yokohama SDGs Design Center) ทําหน้าทีวางแผน ประเมินผลการดําเนินงาน และประชาสัมพันธ์โครงการ สํานักงานบริหารจัดการปาและทรัพยากรนํา การประปา (สาขา Doshi-mura, Minamitsuru-gun เมืองยามานาชิ) ทําหน้าที จัดหาไม้เปนวัตถุดบ ิ บริษท ั Kitatsuru Forest Association (สาขา Uenohara-shi เมืองยามานาชิ) นําไม้เข้าโรงงานเพือเฉือนเปนแผ่นบาง ๆ บริษท ั NISSO PURE Corporation (สาขา Kohoku-ku เมืองโยโกฮาม่า) ทําหน้าทีผลิตหลอดไม้ บริษท ั AQURAHOME CO., LTD. (สาขา Shinjuku-ku กรุงโตเกียว) ทําหน้าทีวางแผนการผลิตและการประดิษฐ์หลอดไม้ การกํากับดูแล และการควบคุมคุณภาพของหลอดไม้
PAGE 25 หน้ า 104
โครงการที 2 โครงการทดลองจัดรถรับส่งให้แก่ประชาชนทีมีบา้ นในโครงการทีอยูอ ่ าศัยวาคาบาได เขตอาซาฮี โครงการทีอยูอ ่ าศัยวาคาบาได เขตอาซาฮี เปนโครงการทีอยูอ ่ าศัยขนาดใหญ่ ก่อสร้างเมือป ค.ศ. 1979 มีจาํ นวน 6,700 ครัวเรือน จํานวนประชากรทีอยูใ่ นโครงการ จํานวน 14,000 คน พืนทีโครงการ 90 เฮกตาร์ เพือให้ประชาชนทุกรุน ่ ทุกวัย เดินทางไปไหนมาไหนได้อย่างสะดวกสบายมากขึน โดยเฉพาะอย่างยิงครอบครัวผูส ้ ง ู อายุและครอบครัวทีมีเด็กเล็กทีมีตาราง การใช้ชวี ต ิ แตกต่างจากประชากรกลุม ่ อืน ๆ จึงได้เกิดโครงการทดลองจัดรถรับส่งให้แก่ประชาชนทีอยูใ่ นโครงการนีตามความ ต้องการและตามเวลาทีแต่ละคนสะดวกโดยจองการใช้รถผ่านแอพพลิเคชัน MONET On Demand Reservations
โครงการที 3 โครงการ "ห้องเรียนใต้นํา" เปนกิจกรรมการเรียนรูว้ ช ิ าการศึกษาทางทะเลสําหรับนักเรียนชันประถมศึกษาในท้องถินเพือให้มค ี วามรูแ้ ละความเข้าใจเกียว กับสภาพแวดล้อมทางทะเลและปญหาขยะพลาสติกในทะเลทีมีผลกระทบต่อพืช แนวปะการัง และสิงมีชวี ต ิ ในทะเล โดยเชือมโยง ท้องทะลในมหาสมุทรกับห้องเรียนผ่านการถ่ายทอดวิดโี อสด
หน้ า 105
โครงการที 4 การจัดนิทรรศการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ Yokohama SDGs Idea Exhibition สมาชิกของศูนย์การออกแบบตามเปาหมายการพัฒนาทียังยืนเมืองโยโกฮาม่า (Yokohama SDGs Design Center) เช่น ผูป ้ ระกอบการภาคธุรกิจและประชาชน สามารถเสนอโครงร่างโครงการนวัตกรรมทีมีแนวคิดตรงกับเปาหมายการพัฒนาทียังยืน ของเมืองโยโกฮาม่าเพือขอรับการสนับสนุนจากศูนย์การออกแบบตามเปาหมายการพัฒนาทียังยืนเมืองโยโกฮาม่า โดยศูนย์การออกแบบฯ จะพิจารณาให้การสนับสนุนจํานวน 15 โครงการ เพือให้นําโครงการไปสูก ่ ารปฏิบต ั อ ิ ย่างเปนรูปธรรม เช่น บริษท ั NIX, INC. เสนอโครงการคืนชีวต ิ ให้กบ ั แหล่งนําเมืองโยโกฮาม่า องค์กรไม่แสวงกําไร Umi no Mori Yama no Mori Office เสนอโครงการจัดกิจกรรมสําหรับเด็กในการลดไมโครพลาสติก บริษท ั growth company + เสนอให้จด ั ทําเสือยืดสําหรับทุกคนทีเข้าร่วมกิจกรรม Yokohama SDGs
โครงการที 5 โครงการ Environmental Picture Diary Children's Summit 2019 เปนโครงการความร่วมมือระหว่าง Yokohama City Resource Recycling Business Cooperative และศูนย์การออกแบบ ตามเปาหมายการพัฒนาทียังยืนเมืองโยโกฮาม่า (Yokohama SDGs Design Center) โดยตัวแทนเยาวชนจาก 8 เมือง ทัวประเทศ ได้แก่ 1) เมืองชิโมกาวะ จังหวัดฮอกไกโด 2) เมืองฮิกาชิมต ั สึชม ุ ม ิ ะ จังหวัดมิยากิ 3) เมืองมินามิโซมะ จังหวัดฟุกช ิ า่ 4) เมืองคะชิวะ จังหวัดชิบะ 5) เมืองโยโกฮาม่า จังหวัดคานากาวะ 6) จังหวัดยามากุจิ 7) จังหวัดโคจิ และ 8) เมืองนาฮะ จังหวัด โอกินาว่า โดยเยาวชนแต่ละเมืองจะจัดทําบันทึกภาพสิงแวดล้อมเมืองซึงเปนวิสย ั ทัศน์การพัฒนาเมืองในอนาคตทีพวกเขา ต้องการและนํามาหารือร่วมกัน เยาวชนทีเคยเข้าร่วมโครงการนีกล่าวว่า "เปนสิงทีดีทสามารถแสดงความคิ ี ดเห็นของเราได้" "เราต้องร่วมกันคิดให้มากขึนกว่านีหากต้องการให้เมืองเปนมิตรกับสิงแวดล้อม" และ "นีเปนโอกาสทีดีมากในการสร้าง สิงแวดล้อมทียังยืน"
หน้ า 106
โครงการที 6 กิจการร่วมค้าทีคํานึงถึงสิงแวดล้อมของศูนย์ออกแบบฯ เพือทําการค้นหา เผยแพร่แนวคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการทีจะช่วยลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จงึ เกิดการ รวมตัวของสมาชิกศูนย์การออกแบบตามเปาหมายการพัฒนาทียังยืนเมืองโยโกฮาม่า (Yokohama SDGs Design Center) จัดตังเปนกิจการร่วมค้าทีคํานึงถึงสิงแวดล้อมของศูนย์ออกแบบฯ โดยขณะนีมีสมาชิกเข้าร่วมจํานวน 46 หน่วยงาน ตัวอย่าง การดําเนินงานของกิจการร่วมค้าทีคํานึงถึงสิงแวดล้อมของศูนย์ออกแบบฯ ได้แก่ กาารจัดตังคณะทํางานเพือร่วมกัน หาแนวทางพัฒนาผลิตภัณฑ์ทช่ ี วยลดและกําจัดขยะพลาสติกในห่วงโซ่การผลิต
หน้ า 107