การจัดการขยะในต่างประเทศ กรณีศึกษาประเทศญี่ปุ่นและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

Page 1

WASTE MANAGEMENT การจัดการขยะในต่างประเทศ กรณีศึกษาประเทศญีปุนและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

วันเรารวี ธนกัญญา



คํานํา ท่านผูอ ้ ่านเคยมีความสงสัยหรือไม่วา่ เมืองในต่างประเทศทีมีสงแวดล้ ิ อมสะอาด สบายตา อากาศบริสท ุ ธิเพียงพอทีผูค ้ นสามารถสูดหายใจได้อย่างเต็มปอด ด้วยความรูส ้ ก ึ สดชืนนัน ดําเนินการจัดการขยะของเสียทีมีหลากหลายประเภท ได้อย่างไร คําตอบทีผูเ้ ขียนสามารถสรุปความได้จากกรณีศึกษาในประเทศญีปุน และสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี คือ การสร้างสังคมตามหลักเศรษฐกิจ หมุนเวียน (Circular Economy) โดยเน้นหลักการ 3R (Reduce, Reuse, Recycle) ทีทําให้มก ี ารใช้ทรัพยากรอย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยทุกภาคส่วน ทีเกียวข้องมีบทบาทสําคัญในการร่วมดําเนินการตามหน้าทีความรับผิดชอบ ของตนเองอย่างเต็มกําลังความสามารถตามทีกฎหมายระบุ รวมทัง การตระหนักถึงความสําคัญของการมีคณ ุ ภาพชีวต ิ ทีดีเพือให้ชวี ต ิ ทียืนยาว มีความสุข จึงต้องร่วมด้วยช่วยกันทําให้ดิน นํา อากาศ สภาพแวดล้อมอืน ๆ และระบบนิเวศทุกพืนทีสะอาดสดใส น่าอยู่ ปลอดภัย คงความอุ ดมสมบูรณ์ ผูเ้ ขียนจึงได้ทําการศึกษาประวัติความเปนมาในการบริหารจัดการขยะของเสีย ทังสองประเทศเพือนําไปประกอบการจัดทํารายงานผลงานรุน ่ (Class Project) เรือง “แนวทางบริหารจัดการขยะชุมชนมุง ่ สูส ่ ง ั คมปลอดภัย กรณีศึกษา เขตหนองแขม” ซึงเปนส่วนหนึงของการฝกอบรมหลักสูตรนักบริหารมหานคร ระดับต้น (บนต.) รุน ่ ที 39 จัดโดยสถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยหวังว่าจะเปนประโยชน์ต่อทุกท่านทีมีความ สนใจในการร่วมกันขับเคลือนให้เกิดสังคมน่าอยูใ่ นส่วนทีเราทุกคนสามารถทําได้ วันเรารวี ธนกัญญา นักผังเมืองชํานาญการ กลุ่มงานประเมินผลและมาตรฐานทางผังเมือง ส่วนผังเมืองรวม สํานักงานวางผังเมือง สํานักการวางผังและพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร 19 สิงหาคม 2564


CONTENTS การจัดตังสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียนของประเทศญีปุน เรือง

หน้า

1. มาตรการทางกฎหมายของประเทศญีปุน

1.1 พระราชบัญญัติสง ่ เสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ พ.ศ. 2534 1.2 พระราชบัญญัติรไี ซเคิลบรรจุภัณฑ์และหีบห่อ พ.ศ. 2538 1.3 พระราชบัญญัติรไี ซเคิลเครืองใช้ในบ้าน พ.ศ. 2541

1.4 พระราชบัญญัติพนฐานการจั ื ดตังสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียน พ.ศ. 2543 1.5 พระราชบัญญัติรไี ซเคิลวัสดุก่อสร้าง พ.ศ. 2543 1.6 พระราชบัญญัติรไี ซเคิลอาหารเหลือ พ.ศ. 2543 1.7 พระราชบัญญัติการจัดซือจัดจ้างสีเขียว พ.ศ. 2543 1.8 พระราชบัญญัติรไี ซเคิลรถยนต์ พ.ศ. 2545 1.9 พระราชบัญญัติรไี ซเคิลเครืองใช้ในบ้านขนาดเล็ก พ.ศ. 2555

8 10 11 12 13 14 16 18 19

2. มาตรการอืน ๆ เพือแก้ไขปญหาขยะของเสียในประเทศญีปุน

2.1 มาตรการส่งเสริมความเข้าใจระหว่างผูบ ้ ริโภค 2.1.1 การดําเนินการของรัฐบาลในการส่งเสริมการลดขยะของเสียในการประชุมระดับชาติ

และยุทธศาสตร์การลดขยะของเสียในภาพรวม 2.1.2 การดําเนินการของรัฐบาลท้องถินในการจัดทําโครงการเพิมจิตสํานึกในการลดขยะ 2.1.3 การดําเนินการของรัฐบาลท้องถินในการจัดทําโครงการรีไซเคิลโดยชุมชนในพืนที 2.2 มาตรการคัดแยกขยะรีไซเคิล 2.2.1 ส่งเสริมการจัดเก็บขยะรีไซเคิลทีคัดแยกแล้วด้วยการรวมกลุ่มเก็บขยะ 2.2.2 ส่งเสริมการจัดเก็บขยะรีไซเคิลทีคัดแยกแล้วด้วยความร่วมมือของประชาชนในพืนที 2.3 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการขยะและการส่งเสริมหลักการ 3R 2.3.1 เดือนแห่งการส่งเสริมหลักการ 3R 2.3.2 การจัดงานประชุมส่งเสริมหลักการ 3R แห่งชาติ 2.3.3 รางวัลจากรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสิงแวดล้อมสําหรับการมีสว่ นร่วม ในการสร้างสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียน 2.3.4 การรณรงค์การจับจ่ายซือของทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อม 2.3.5 ระบบผูเ้ ชียวชาญในการช่วยโปรโมตหลักการ 3R (3R Promotion Meister) 2.3.6 เครืองหมาย R และเครืองหมาย 3R 2.3.7 การพัฒนาเมืองเชิงนิเวศ (Eco-Town) 2.4 ตัวอย่างกิจกรรมส่งเสริมหลักการ 3R ของหน่วยงานภาครัฐ 2.5 กิจกรรมส่งเสริมหลักการ 3R โดยภาคธุรกิจ บริษัท Coca-Cola Bottlers Japan

20 21 22 23 24 25 25 25 25 26 26 26 28 29


CONTENTS การจัดการขยะในสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เรือง

หน้า

1. แนวโน้มและเปาหมายการดําเนินการด้านการจัดการขยะของเสียในเยอรมนี

33

2. นโยบาย ยุทธศาสตร์ กฎหมายและข้อบังคับการจัดการขยะของเสียในเยอรมนี 2.1 นโยบายและยุทธศาตร์การจัดการขยะของเยอรมนี

36

2.2 การบริหารจัดการขยะในเยอรมนีตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน 2.2.1 การกําหนดความรับผิดชอบของผูผ ้ ลิต (Product Responsibility Scheme: PRS) 2.2.2 การกําหนดความรับผิดชอบของผูผ ้ ลิตเพิมขึนในการจัดการซากผลิตภัณฑ์ (Extended Producer Responsibility :EPR) 2.2.3 ระบบเก็บขยะแบบคู่ของเยอรมนี (Duales System Deutschland Ltd. :DSD) และการพิมพ์โลโก้จุดสีเขียว (Green Dot หรือ Grüne Punkt) บนสินค้า 2.2.4 การจ่ายค่ากําจัดขยะตามปริมาณทีเกิดขึนจริง (Pay As-You-Throw: PAYT) 2.2.5 การให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ (Public-Private Partnerships: PPP) 2.3 กฎหมายและระเบียบข้อบังคับการบริหารจัดการขยะของเสียในเยอรมนี 2.3.1 ระเบียบข้อบังคับการบริหารจัดการขยะของเสียของสหภาพยุโรป 2.3.2 รัฐบัญญัติเศรษฐกิจหมุนเวียน พ.ศ. 2555 2.3.3 รัฐกฤษฎีกาบัญชีจาํ แนกประเภทของเสีย พ.ศ. 2544 2.3.4 รัฐกฤษฎีกาของเสียชีวภาพ พ.ศ. 2556 2.3.5 ปุย 2.3.6 ของเสียจากสัตว์ 2.3.7 ของเสียจากบรรจุภัณฑ์และหีบห่อ 2.3.8 ของเสียอิเล็กทรอนิกส์ 2.3.9 การนําขยะไปฝงกลบ 2.3.10 การประกันคุณภาพปุยหมักและกากทีเหลือจากการหมัก 2.3.11 การปล่อยมลพิษ 2.3.12 การขนส่งของเสียออกนอกประเทศ 2.3.13 กฎหมายอืน ๆ

38 39 40 41 42 43 45 46 46 47 48 49 52 53 54 54 55 56



การจัดตังสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียนของประเทศญีปุน ปญหาขยะทีเกิดขึนในประเทศญีปุนนับเปนปญหาสําคัญอย่างหนึงทีรัฐบาลญีปุนได้รว่ มทํางานกับหน่วยงาน ปกครองส่วนท้องถิน ภาคธุรกิจ และภาคประชาชนเสมอมาเพือส่งเสริมให้เกิดการจัดการขยะอย่างเหมาะสม มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่ามากทีสุด ตอบรับกับวิถีชวี ต ิ คนทุกยุคทังในด้านสาธารณสุข การปองกันมลพิษ การรักษาสิงแวดล้อม และการจัดตังสังคมทีมีการหมุนเวียนในการใช้วส ั ดุ โดยการออกกฎหมายและปรับปรุงมาตรการต่าง ๆ ให้มค ี วามทันสมัยอยูเ่ สมอ

1. มาตรการทางกฎหมายของประเทศญีปุน ช่วงหลังสงครามโลกครังที 2 จนถึงป พ.ศ. 2493 ญีปุนต้องเผชิญกับความจําเปนในการจัดการกับขยะในเมือง ซึงเพิมขึนรวดเร็วอย่างต่อเนืองอันเปนผลมาจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจและความหนาแน่นของประชากร ทีอยูอ ่ าศัยในพืนทีเมือง ในขณะนัน ขยะถูกทิงลงแม่นําและมหาสมุทรหรือถูกนํามากองรวมกัน ในทีโล่งทําให้เกิดปญหาด้านสาธารณสุขตามมา เช่น การแพร่กระจายของโรคติดเชือ โรคระบาดจากแมลงวัน และยุง เปนต้น นอกจากนี การจัดการขยะยังถูกกําหนดให้เปนภาระหน้าทีของหน่วยงานเทศบาลเพียงฝายเดียว โดยไม่มรี ะบบทีทําให้เกิดความร่วมมือในการบริหารจัดการขยะทังในหน่วยงานรัฐบาลระดับชาติและระดับจังหวัด หรือความร่วมมือจากประชาชนผูอ ้ ยูอ ่ าศัย เปนผลให้หน่วยงานเทศบาลอยูใ่ นภาวะชะงักงันไม่สามารถรับมือ กับปญหาขยะของเสียจํานวนมากจึงเกิดการเรียกร้องให้มก ี ารปฏิรูปในการบริหารจัดการขยะ รัฐบาลญีปุนจึงได้ ตราพระราชบัญญัติการทําความสะอาดสาธารณะ พ.ศ. 2497 กําหนดภาระหน้าทีของรัฐบาลระดับชาติและระดับ จังหวัดในการให้การสนับสนุนทางการเงินและเทคโนโลยีแก่หน่วยงานเทศบาล และระบุภาระหน้าทีของประชาชน ผูอ ้ ยูอ ่ าศัยในการให้ความร่วมมือกับเทศบาลในการรวบรวมและกําจัดขยะ

หน้า 1


ในป พ.ศ. 2503 – 2522 ปญหามลพิษและปญหาจากปริมาณขยะอุ ตสาหกรรมได้ทวีความรุนแรงขึน รัฐบาลญีปุนตราพระราชบัญญัติมาตรการฉุกเฉินเกียวกับการพัฒนาสาธารณูปการด้านสิงแวดล้อมทีอยูอ ่ าศัย พ.ศ. 2506 กําหนดนโยบายและแผนห้าปสําหรับสร้างโรงเผาขยะในเมืองต่าง ๆ และสร้างระบบการจัดเก็บขยะ ด้วยความร่วมมือของรัฐบาลท้องถินและบริษัทเอกชนเพือให้การจัดเก็บและขนส่งขยะมีประสิทธิภาพเพิมมากขึน ในขณะเดียวกัน ผลจากการเพิมขึนของรายได้ของประชาชนทีเกิดจากการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว พฤติกรรมการบริโภคจึงเปลียนไปอย่างมากจนทําให้ประชาชนเกิดความนิยมในการมีเครืองใช้ไฟฟา สิงอํานวย ความสะดวก และของใช้ต่าง ๆ ในบ้านอย่างแพร่หลาย ประกอบกับการเติบโตของธุรกิจประเภทซูเปอร์มาร์เก็ต และร้านสะดวกซือในญีปุนเปนจํานวนมากเปนผลให้ขยะในเมืองมีความหลากหลายประเภทและมีปริมาณ เพิมขึนอย่างรวดเร็ว เพือกําหนดความรับผิดชอบและมาตรฐานสําหรับการจัดการขยะของเสียทังหมดรัฐบาล ญีปุนจึงได้แก้ไขพระราชบัญญัติการทําความสะอาดสาธารณะพ.ศ. 2497 ใหม่เปนพระราชบัญญัติการจัดการ

ของเสีย พ.ศ. 2513 และพระราชบัญญัติการจัดการของเสีย ฉบับแก้ไข พ.ศ. 2519 แยกขยะเปน 2 ประเภท คือ ขยะอุ ตสาหกรรมและขยะเทศบาล เพือคุ้มครองสิงแวดล้อมทีอยูอ ่ าศัยของประชาชนรวมถึง การควบคุมมลพิษตามวัตถุประสงค์ของกฎหมาย โดยกําหนดความรับผิดชอบของผูป ้ ระกอบการทีก่อให้เกิดขยะ อุ ตสาหกรรมให้เปนผูจ ้ ด ั การขยะของเสียจากอุ ตสาหกรรมการผลิตจากเดิมทีกําหนดให้มเี ฉพาะความ รับผิดชอบของหน่วยงานเทศบาลในการจัดการของเสียในเขตเทศบาลทีรับผิดชอบ

ทีมา: ภาพโรงงานอุ ตสาหกรรมเมืองมินามาตะ จาก https://www.japantimes.co.jp/news/2020/10/24/national/socialissues/minamata-disease-victims-closure/ ภาพชาวญีปุนในยุคป ค.ศ.1960s จาก https://www.gettyimages.ae/photos/japan-1960?phrase=japan%201960 &sort=mostpopular

หน้า 2


ถึงแม้วา่ ประเทศญีปุนจะมีความก้าวหน้าเปนอย่างมากในการจัดการปญหาขยะอย่างเหมาะสม แต่ยง ั คงมีปญหา อืน ๆ ทีไม่ได้รบ ั การแก้ไข เช่น การจัดการขยะอันตราย การคัดแยกขยะตามชนิดและประเภท การจัดการ กับบรรจุภัณฑ์และหีบห่อเหลือใช้ รวมถึงการเพิมขึนอย่างต่อเนืองของการทําให้เกิดขยะในแต่ละวันและ การขาดแคลนหลุมฝงกลบ รัฐบาลญีปุนจึงได้เปลียนจุดเน้นของนโยบายเปนการลดการสร้างขยะจาก แหล่งกําเนิดเพือให้มแ ี นวทางการแก้ไขปญหาดังกล่าวอย่างครอบคลุมและสร้างสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียน ตังแต่ป พ.ศ. 2533 เปนต้นมา

แนวคิดการจัดตังสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียนของประเทศญีปุน

ทีมา: History and Current State of Waste Management in Japan. กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุน. 2557. สืบค้นจาก ttps://www.env.go.jp/en/recycle/smcs/attach/hcswm.pdf

หน้า 3


การปรับปรุงมาตรการจัดการขยะของเสียเพือสร้างกฎกติกาทีเปนธรรม 1. ส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอย

รัฐบาล

เพิมความรับผิดชอบของผูท ้ ีทําให้เกิดขยะของเสีย

สร้างประสิทธิภาพ ในการขจัดการทิงขยะ ทีผิดกฎหมาย การจัดตังสายด่วน (Call center) เพือให้ ประชาชนโทรศัพท์แจ้ง หากพบเห็นการทิงขยะ ทีผิดกฎหมาย มีระบบติดตามการ บริหารจัดการขยะโดย ใช้ชป ิ IC และ GPS

กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ส่งเสริมหลักการ 3R

ผู้ทีทําให้เกิดขยะอุ ตสาหกรรม

สิงจู งใจ การจัดตังระบบการให้รางวัล เช่น รางวัลรายงานสิงแวดล้อมดีเด่น ส่งเสริมการจัดซือสีเขียว มีบทลงโทษทีเข้มงวดมากขึน

ตรวจสอบใบแสดงรายการ ขยะของเสียเพือยืนยันว่ามีการ บริหารจัดการทีเปนมิตร ต่อสิงแวดล้อม

กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ส่งเสริมให้มบ ี ริษัทจัดการขยะทีมี ประสิทธิภาพสูง

บริษัทบริหารจัดการ ขยะอุ ตสาหกรรม

สิงจู งใจ กําหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือก บริษัทจัดการขยะทีมีประสิทธิภาพสูงและเผยแพร่หลักเกณฑ์ต่อสาธารณะ ให้การสนับสนุนเปนพิเศษในการส่งเสริมการรีไซเคิล

รัฐบาล

2. ส่งเสริมมาตรการต่อต้านการเคลือนย้ายขยะของเสียข้ามแดนอย่างผิดกฎหมาย

แบ่งปนข้อมูลผ่านการ

ประชุมระหว่างกระทรวง ทีเกียวข้อง

เผยแพร่มาตรการโดยจัดประชุมชีแจง ต่อภาคธุรกิจ ตรวจสอบพืนที ทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ และ ดําเนินการตามบทลงโทษทางปกครอง

ระบุเส้นทางการขนส่งและแนวทางปฏิบต ั ิการ บําบัดของเสียให้แก่ประเทศผูน ้ าํ เข้าผ่านการ ปรึกษาหารือก่อนการส่งออกของเสีย

ภาคธุรกิจทีเกียวข้อง ผูท ้ ีทําให้เกิดขยะ ผูท ้ ําการขนส่ง ผูใ้ ห้บริการจัดการขยะ ผูค ้ ้า ตัวแทนศุลกากร ฯลฯ

มาตรการชายแดนทีร่วม ดําเนินการกับศุลกากร

ต่างประเทศ

แจ้งเตือนและตอบสนองต่อการเคลือนย้ายของเสียข้ามพรมแดน ภายใต้อนุสญ ั ญาบาเซิล อนุญาตและยืนยันการนําเข้าและส่งออกของเสียตามกฎหมายว่าด้วย การจัดการของเสีย แลกเปลียนข้อมูลการเคลือนย้ายขยะของเสียข้ามแดนอย่างผิดกฎหมาย เจรจานโยบายส่งเสริมการใช้วส ั ดุหมุนเวียนทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม ในทวีปเอเชีย

ทีมา: Japan's Experience in Promotion of the 3Rs for the Establishment of a Sound Material-Cycle Society. กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุน. สืบค้นจาก https://www.env.go.jp/recycle/3r/en/approach/02.pdf

หน้า 4


แผนผังแสดงระบบกฎหมายในประเทศญีปุนสําหรับสร้างสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียน

พระราชบัญญัติสงแวดล้ ิ อมพืนฐาน ประกาศใช้เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2536

แผนงานด้านสิงแวดล้อมพืนฐาน ประกาศใช้เดือนธันวาคม พ.ศ. 2537 แก้ไขเดือนมิถน ุ ายน พ.ศ. 2555

พระราชบัญญัติพนฐานการจั ื ดตังสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียน ประกาศใช้เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2543 แผนงานพืนฐานในการจัดตังสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียน ประกาศใช้เดือนมีนาคม พ.ศ. 2546 และแก้ไข พ.ศ. 2556 (จัดการขยะของเสียอย่างเหมาะสม)

(ส่งเสริมการรีไซเคิล)

พระราชบัญญัติการจัดการขยะของเสีย ประกาศใช้เดือนธันวาคม พ.ศ. 2513

พระราชบัญญัติสง ่ เสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ประกาศใช้เดือนเมษายน พ.ศ. 2534

(1) ควบคุมการเกิดขยะ

รีไซเคิล (1R) -----› ลด ใช้ซาํ รีไซเคิล (3R)

(2) จัดการขยะของเสียอย่างเหมาะสม (รวมถึงการรีไซเคิล)

(1) รีไซเคิลทรัพยากรทีสามารถใช้ซาได้ ํ

(3) ออกกฎระเบียบในการจัดสร้างสาธารณูปการ

(2) พัฒนาโครงสร้างการนําขยะไปรีไซเคิลและวัสดุรไี ซเคิล

ในการจัดการขยะของเสีย

(3) ติดฉลากเพือจัดเก็บขยะทีได้รบ ั การคัดแยกแล้ว

(4) ออกกฎระเบียบสําหรับผูป ้ ระกอบการจัดการของเสีย (5) กําหนดมาตรฐานการจัดการขยะ ฯลฯ

(4) ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลพลอยได้จากขยะรีไซเคิล อย่างมีประสิทธิภาพ

ระเบียบปฏิบต ั ิสาํ หรับผลิตภัณฑ์ทีมีลักษณะเฉพาะ พรบ. รีไซเคิล บรรจุ ภัณฑ์ และหีบห่อ ประกาศใช้ มิ.ย. 2538 ขวดแก้ว ขวดพลาสติก บรรจุภัณฑ์/หีบห่อที ทํามาจากกระดาษและ พลาสติก

พรบ. รีไซเคิล เครืองใช้ ในบ้าน

พรบ. รีไซเคิล อาหารเหลือ

พรบ. รีไซเคิลวัสดุ ก่อสร้าง

พรบ. รีไซเคิล รถยนต์

พ.ค. 2541

พ.ค. 2543

พ.ค. 2543

ก.ค. 2545

ส.ค. 2555

อาหารเหลือ

ไม้ คอนกรีต และ แอสฟลต์

รถยนต์

เครืองใช้ไฟฟา ขนาดเล็ก ฯลฯ

เครืองปรับอากาศ ตู้เย็น ทีวี เครืองซักผ้า เครืองอบผ้า เครืองทําความเย็น

พรบ. รีไซเคิล เครืองใช้ในบ้าน ขนาดเล็ก

พระราชบัญญัติการจัดซือจัดจ้างสีเขียว ประกาศใช้เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2543

ทีมา: History and Current State of Waste Management in Japan. กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุน. 2557. สืบค้นจาก ttps://www.env.go.jp/en/recycle/smcs/attach/hcswm.pdf

หน้า 5


การจําแนกประเภทขยะของเสีย ตังแต่ชว่ งทีเศรษฐกิจในประเทศญีปุนมีการเติบโตอย่างรวดเร็วจนเปนผลให้มป ี ริมาณขยะของเสียทีเกิดจาก

กิจกรรมการผลิตของภาคอุ ตสาหกรรมเพิมขึนเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิงขยะของเสียทีกําจัดได้ยาก จนทําให้การจัดการขยะของเสียให้เปนไปตามพระราชบัญญัติการทําความสะอาดสาธารณะ พ.ศ. 2497 เปนเรืองทีทําได้ยาก โดยในระหว่างป พ.ศ. 2497 - พ.ศ. 2513 ความรับผิดชอบในการจัดการขยะมูลฝอย จะถูกกําหนดให้เปนหน้าทีของเขตเทศบาลเพียงฝายเดียวจนกระทังพระราชบัญญัติการจัดการของเสีย ได้ประกาศใช้ในป พ.ศ. 2513 ระบุขยะ 20 ประเภท ทีเกิดจากภาคการผลิตว่าเปน “ขยะอุ ตสาหกรรม” และ กําหนดความรับผิดชอบในการจัดการกากอุ ตสาหกรรมให้กับผูป ้ ระกอบการทีก่อให้เกิดขยะของเสียดังกล่าว ตามหลักการผูก ้ ่อมลพิษเปนผูจ ้ า่ ย (Polluter Pays Principle) และได้สร้างระบบสําหรับเขตเทศบาลให้ยง ั คงมี ความรับผิดชอบเหมือนเดิมในการจัดการขยะของเสียจากครัวเรือนโดยเรียกว่า "ขยะเทศบาล" สําหรับการจัดการขยะอันตรายอย่างเหมาะสม พระราชบัญญัติการจัดการของเสียได้กําหนดคุณลักษณะ ของเสียทีมีลักษณะพิเศษทีอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสุขภาพของมนุษย์หรือสิงแวดล้อมทีอยูอ ่ าศัย เช่น วัตถุระเบิด สารพิษ และสารติดเชือ ให้เปนของเสียทีอยูภ ่ ายใต้การควบคุมการบริหารจัดการขยะอันตราย ตามทีกฎหมายกําหนดไว้ (การกําจัดขยะเทศบาลเปนความรับผิดชอบของเขตเทศบาล)

แผนภาพแสดงประเภทของเสียทีมีการจัดการ แตกต่างกันตามหน้าทีและความผิดชอบ ของแต่ละภาคส่วน

ขยะจากครัวเรือน

ขยะ ขยะเทศบาล นําเสีย

ขยะจากผูป ้ ระกอบการ

ขยะเทศบาล (ขยะทีติดไฟได้ ขยะทีไม่ติดไฟ ฯลฯ)

ขยะขนาดใหญ่

ขยะควบคุมพิเศษ *

ขยะของเสีย

ขยะอุ ตสาหกรรม

ขยะ 20 ประเภททีเกิดจากภาคการผลิต ** ขยะอุ ตสาหกรรมควบคุมพิเศษ ***

(การกําจัดขยะอุ ตสาหกรรมเปนความรับผิดชอบของผูป ้ ระกอบการ) หมายเหตุ: * ขยะควบคุมพิเศษ หมายถึง ขยะของเสียทีอาจเปนอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์และสิงแวดล้อม หรือ เปนสารก่อระเบิด เปนพิษ หรือติดเชือได้ ** ขยะ 20 ประเภททีเกิดจากภาคการผลิต ได้แก่ ขีเถ้า กากตะกอน จารบี กรด ด่าง เศษพลาสติก เศษกระดาษ เศษไม้ เศษไฟเบอร์ ซากพืชซากสัตว์ มูลสัตว์ เศษยาง เศษโลหะ เศษแก้ว เศษคอนกรีต เศษเซรามิก ตะกรัน ฝุน ขยะของเสีย นําเข้าจากต่างประเทศ วัสดุทีนํามาใช้บาํ บัดของเสียอุ ตสาหกรรมข้างต้น *** ขยะอุ ตสาหกรรมควบคุมพิเศษ หมายถึง ขยะของเสียทีอาจเปนอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์และสิงแวดล้อม หรือเปนสารก่อระเบิด เปนพิษ หรือติดเชือได้ ทีมา: History and Current State of Waste Management in Japan. กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุน. 2557. สืบค้นจาก ttps://www.env.go.jp/en/recycle/smcs/attach/hcswm.pdf

หน้า 6


หน้าทีและความรับผิดชอบของภาคส่วนทีเกียวข้องในการบริหารจัดการขยะ

การสร้างสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียนจําเปนอย่างยิงทีทุกภาคส่วนทีเกียวข้องทังหน่วยงานรัฐบาลระดับชาติ และระดับท้องถิน (จังหวัดและเทศบาล) ผูป ้ ระกอบธุรกิจ และผูบ ้ ริโภค จะต้องตระหนักถึงบทบาทของตนตามที ระบุไว้ในกฎหมาย ดังนัน ทุกหน่วยงานและทุกภาคส่วนจะต้องปฏิบต ั ิหน้าทีของตนเองตามความรับผิดชอบ ทีกําหนดในการบริหารจัดการขยะของเสียและทํางานร่วมกันอย่างเต็มกําลังความสามารถเพือให้สามารถสร้าง ระบบการบริหารจัดการขยะของเสียทีเหมาะสม มีประสิทธิภาพ และดําเนินการอย่างต่อเนืองดังแผนภาพ

การดําเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดการของเสียระหว่างหน่วยงานรัฐบาลระดับชาติและระดับท้องถินกับผูป ้ ระกอบการ สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาสถานทีบริหารจัดการขยะ

ผูท ้ ีทําให้เกิดขยะ

เทศบาล

- ออกคําสังทางปกครอง ฯลฯ

จ้างหน่วยงาน ภายนอกดําเนินการ

บริษัททีมี - จัดทําแผนการจัดการ - จัดทําแผนการจัดการ ใบอนุญาต ขยะ ขยะเทศบาล ให้เปนผู้ - อนุญาตให้ติดตัง - บริหารจัดการ จั ดการขยะ อุ ปกรณ์และสิงอํานวย ขยะเทศบาล ฯลฯ ความสะดวก ในการจัดการขยะ ขยะอุ ตสาหกรรม - อนุญาตให้ดําเนินการ จัดการกากอุ ตสาหกรรม ให้คําแนะนํา เปนทีปรึกษา และออกคําสังทางปกครอง ออกใบอนุญาต และกํากับดูแล

การจัดซือจัดจ้าง - พัฒนาเทคโนโลยี เก็บรวบรวมข้อมูล ฯลฯ

จังหวัด

เปนทีปรึกษา

- กําหนดนโยบาย พืนฐาน - กําหนดมาตรฐาน การจัดการของเสีย - กําหนดมาตรฐาน สิงอํานวยความ สะดวก - กําหนดมาตรฐาน

เปนทีปรึกษา

รัฐบาล

ขยะเทศบาล

บริษัททีมี ออกใบอนุญาต ใบอนุญาต ให้เปน และกํากับดูแล ผู้จด ั การขยะ

จ้างหน่วยงาน ภายนอกให้ ดําเนินการ

การเพิมประสิทธิภาพการจัดเก็บขยะและการขนส่งด้วยเทคโนโลยี การขยายตัวของพืนทีเมืองมีผลทําให้ขอบเขตการจัดเก็บขยะกว้างขึนด้วย

ครัวเรือน ผู้ประกอบการ - จัดการขยะอย่างเหมาะสม - ร่วมมือกับเทศบาล - ควบคุมการทําให้เกิดขยะ ลดขยะ ฯลฯ

ผูป ้ ระกอบการทีทําให้เกิด ขยะรับผิดชอบจัดการ ขยะอุ ตสาหกรรม - จัดการขยะอย่างเหมาะสม ด้วยตนเอง - รีไซเคิลขยะ / ลดขยะ - ปฏิบต ั ิตามมาตรฐาน การจัดการขยะ - แจ้งรายการขยะ - จัดทําแผนลดขยะโดย ผูป ้ ระกอบการทีสร้างขยะ ของเสียปริมาณมาก

เพือให้มค ี วามเปนไปได้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดเก็บขยะและการขนส่ง เมืองควรมีการจัดตัง สถานีขนถ่ายขยะของเสียทีเปนสถานียอ ่ ยซึงสามารถช่วยถ่ายโอนขยะของเสียหลังการเก็บขนจากรถบรรทุกขยะ ขนาดเล็กหรือขนาดกลางไปยังรถบรรทุกขยะขนาดใหญ่ได้ วิธก ี ารนีจะช่วยลดต้นทุนค่าใช้จา่ ยในการดําเนินการ กําจัดขยะในภาพรวม ขณะทียังคงสามารถรักษาคุณภาพการให้บริการแก่ประชาชนผูอ ้ ยูอ ่ าศัยในแต่ละพืนทีได้ เครน

อาคารบริหารจัดการขยะ

ขยะมูลฝอย ทีติดไฟได้

อุ ปกรณ์บด อุ ปกรณ์เก็บฝุนและดับกลิน

อุ ปกรณ์ชงนํ ั าหนัก อุ ปกรณ์ชงนํ ั าหนัก

นําเข้า

ถังรับ อุ ปกรณ์ปอนขยะ

เครืองอัด

อุ ปกรณ์ขนย้าย ตู้คอนเทนเนอร์

ทีมา: Solid Waste Management and Recycling Technology of Japan. กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุน, 2555. สืบค้นจาก https://www.env.go.jp/en/recycle/smcs/attach/swmrt.pdf

หน้า 7


1.1 พระราชบัญญัติสง ่ เสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ พ.ศ. 2534 เนืองจากประเทศญีปุนเปนประเทศทีมีทรัพยากรจํากัดจึงเกิดปญหาการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ

อย่างต่อเนืองทําให้จาํ เปนต้องมีการเปลียนแปลงจากระบบสังคมบริโภคนิยมทีมีการผลิตจํานวนมาก การบริโภคจํานวนมาก และการทิงขยะของเสียจํานวนมากมาสูส ่ ง ั คมทีมีการใช้ทรัพยากรหมุนเวียน ด้วยเหตุนี พระราชบัญญัติสง ่ เสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้ประกาศใช้ในป พ.ศ. 2534 โดยกําหนดให้ อุ ตสาหกรรม 10 ประเภท และผลิตภัณฑ์ 69 รายการจะต้องนํามาตรการส่งเสริมหลักการ 3R มาใช้ ในการผลิตและการออกแบบผลิตภัณฑ์ซงต้ ึ องมีการติดฉลากแยกประเภทเพือการคัดแยกขยะซึงมีผลทําให้ การเก็บขยะและการรีไซเคิลเปนระบบและสะดวกต่อผูป ้ ระกอบธุรกิจรีไซเคิล ดังนี ี ารอนุรก (1) อุ ตสาหกรรมทีกําหนดให้มก ั ษ์ทรัพยากร เปาหมาย: อุ ตสาหกรรม 5 ประเภท รวมถึงโรงงานกระดาษและโรงงานเหล็ก วัตถุประสงค์: ลดวัตถุดบ ิ ทีเหลือจากการผลิตและส่งเสริมการรีไซเคิล ี ารนํากลับมาใช้ใหม่ (2) อุ ตสาหกรรมทีกําหนดให้มก เปาหมาย: อุ ตสาหกรรม 5 ประเภท รวมถึงโรงงานกระดาษและบรรจุภัณฑ์จากแก้ว วัตถุประสงค์: รีไซเคิลวัตถุดบ ิ ทีเหลือจากการผลิตและนํากลับมาใช้ใหม่บางส่วน

(3) วัตถุดิบทีเหลือจากการผลิต เปาหมาย: ขีเถ้าจากถ่านหินในอุ ตสาหกรรมไฟฟา ดิน บล็อกคอนกรีต ไม้ ฯลฯ ในอุ ตสาหกรรมก่อสร้าง วัตถุประสงค์: นําวัตถุดบ ิ ทีเหลือจากการผลิตมาใช้ใหม่โดยผูป ้ ระกอบการทีเกียวข้อง ี ารอนุรก (4) ผลิตภัณฑ์ทีกําหนดให้มก ั ษ์ทรัพยากร เปาหมาย: ผลิตภัณฑ์ 19 รายการ รวมถึงรถยนต์ เครืองใช้ในบ้าน และคอมพิวเตอร์

วัตถุประสงค์: รีไซเคิลวัตถุดบ ิ ทีเหลือจากการผลิตและนํากลับมาใช้ใหม่บางส่วน ี ารนํากลับมาใช้ใหม่ (5) ผลิตภัณฑ์ทีกําหนดให้มก เปาหมาย: ผลิตภัณฑ์ 50 รายการ รวมถึงรถยนต์ เครืองใช้ในบ้าน และคอมพิวเตอร์ วัตถุประสงค์: ส่งเสริมให้มก ี ารออกแบบผลิตภัณฑ์ทีง่ายต่อการรีไซเคิล ี ารติดฉลากแยกประเภทเพือการคัดแยกขยะ (6) ผลิตภัณฑ์ทีกําหนดให้มก

เปาหมาย: ผลิตภัณฑ์ 7 รายการ รวมถึง กระปองเหล็ก กระปองอลูมเิ นียม ขวดพลาสติก และ แบตเตอรีขนาดเล็กทีชาร์ตใหม่ได้ วัตถุประสงค์: แยกฉลากขยะแต่ละประเภทเพือง่ายต่อการคัดแยก ี ารรีไซเคิล (7) ผลิตภัณฑ์ทีกําหนดให้มก เปาหมาย: คอมพิวเตอร์และแบตเตอรีขนาดเล็กทีชาร์ตใหม่ได้

วัตถุประสงค์: เก็บรวบรวมและรีไซเคิลโดยผูป ้ ระกอบธุรกิจรีไซเคิล

สัญลักษณ์ฉลากขยะแต่ละประเภททีติดบนผลิตภัณฑ์เพือให้ง่ายต่อการคัดแยกและนําไปทิง ทีมาภาพ: http://www.all-recycling-facts.com/recycling-pictures.html https://livejapan.com/en/in-tokyo/in-pref-tokyo/in-shibuya/article-a0002380/

หน้า 8


ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ทีทําจากเม็ดพลาสติกรีไซเคิล

นําส่งเม็ดพลาสติกไป โรงงานผลิตสิงทอ

ขนส่งสินค้า

ลูกค้า

หรือโรงงานอืน ๆ

ขวดเปล่าเก็บขนโดยเทศบาล

โรงงานผลิตเครืองดืมบรรจุขวด โรงงานรีไซเคิล บริษัทเก็บขนขยะ นําส่งขวดเปล่า

ขนส่งสินค้า

ร้านอาหาร / ตู้จาํ หน่ายอัตโนมัติ โรงงานผลิตบรรจุภัณฑ์

นําส่งเม็ดพลาสติก

เทคโนโลยีการรีไซเคิลขวดพลาสติก PET คุณภาพสูง และผลิตภัณฑ์ทีทําจากเม็ดพลาสติกรีไซเคิล ภายใต้นโยบายตามหลักการ 3R - ลดขยะ (Reduce) ใช้ซาํ (Reuse) และรีไซเคิล (Recycle) ในประเทศญีปุน ได้กําหนดให้คัดแยกขยะประเภทขวดพลาสติก ถาดอาหาร หรือกระปองพลาสติกจากขยะประเภทอืนสําหรับใช้ เปนทรัพยากรในกระบวนการรีไซเคิลเพือผลิตเม็ดพลาสติกคุณภาพสูงทีสามารถใช้ผลิตสิงต่าง ๆ ได้อีกครัง ซึงหลังจากมีการจัดเก็บขยะจากขวดพลาสติกแล้ว จะมีการนําขวดไปทําความสะอาด แยกฝาขวดและฉลาก ออกก่อนนําไปบดอัดรวมกันก่อนทีจะส่งต่อไปยังโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิลและนําไปสร้างผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย

ทีมา: https://www.businessinsider.com/companies-using-recycled-plastic-in-products#guppyfriend-13 https://www.suntory.com/csr/activity/environment/reduce/resources/collection/ PET recycling in Japan สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=9Xl_TcxtYJc

หน้า 9


1.2 พระราชบัญญัติรไี ซเคิลบรรจุ ภัณฑ์และหีบห่อ พ.ศ. 2538 ขยะจากบรรจุภัณฑ์และหีบห่อเพิมขึนอย่างรวดเร็วอย่างต่อเนืองคิดเปน 60% ของขยะในครัวเรือนในแง่ปริมาณ และคิดเปน 30% ของนําหนักขยะทังหมด แม้วา่ จะมีความเปนไปได้ ในการใช้เทคโนโลยีมารีไซเคิลบรรจุภัณฑ์ และหีบห่อ แต่ขยะดังกล่าวแทบจะไม่เคยถูกนํารีไซเคิล ดังนัน เพือลดการสร้างขยะจากบรรจุภัณฑ์และหีบห่อ และเพือลดปริมาณขยะทังหมดให้นอ ้ ยทีสุดโดยการส่งเสริมการรีไซเคิลจึงจําเปนต้องพัฒนาระบบใหม่ทีให้ ผูบ ้ ริโภคและผูผ ้ ลิตเข้ามามีบทบาทในการแก้ไขสถานการณ์ รัฐบาลญีปุนได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติรไี ซเคิล บรรจุภัณฑ์และหีบห่อในป พ.ศ. 2538

กระปองเหล็ก กระปองอลูมเิ นียม ขวดแก้ว กระดาษแข็ง กล่องกระดาษ ขวดพลาสติก

เปาหมาย

บรรจุภัณฑ์และหีบห่อทีทําจากกระดาษ บรรจุภัณฑ์และหีบห่อทีทําจากพลาสติก

พระราชบัญญัติรไี ซเคิลบรรจุภัณฑ์และหีบห่อ พ.ศ. 2538 ระบุบทบาทและความรับผิดชอบของผูบ ้ ริโภค เทศบาล และผูป ้ ระกอบการ (รวมถึงผูผ ้ ลิตบรรจุภัณฑ์และผูป ้ ระกอบการทีจําหน่ายสินค้าทีใส่ไว้ในบรรจุภัณฑ์

และหีบห่อ) โดยผูบ ้ ริโภคมีหน้าทีในการคัดแยกขยะประเภทบรรจุภัณฑ์และหีบห่อ เทศบาลมีหน้าทีในการจัดเก็บ ขยะในเขตพืนทีรับผิดชอบ และผูป ้ ระกอบการมีหน้าทีในการรีไซเคิลบรรจุภัณฑ์และหีบห่อ เนือหาสําคัญใน พระราชบัญญัติรไี ซเคิลบรรจุภัณฑ์และหีบห่อคือการนําแนวคิดความรับผิดชอบของผูผ ้ ลิตแบบขยาย (Extended Producer Responsibility: EPR) มาใช้เปนครังแรกในประเทศญีปุนเพือกําหนดความรับผิดชอบ ทังด้านการดําเนินการอย่างเปนรูปธรรมและด้านการเงินให้เปนภาระแก่ผป ู้ ระกอบการโดยตรง วงจรการรีไซเคิลบรรจุ ภัณฑ์และหีบห่อทีทุกภาคส่วนในญีปุนต้องร่วมกันดําเนินการตามกฎหมาย ผูป ้ ระกอบการ (โรงงานอาหาร)

ผูบ ้ ริโภค คัดแยกขยะตาม เครืองหมายทีระบุ บนผลิตภัณฑ์

จําหน่ายผลิตภัณฑ์

ผูป ้ ระกอบการ (โรงงานผลิตบรรจุ ภัณฑ์พลาสติก)

นําส่งบรรจุ ภัณฑ์พลาสติก

ชําระค่ารีไซเคิล (ปฏิบต ั ิตามกฎหมาย)

นิติบุคคลทีได้รบ ั มอบหมายจาก สมาคมรีไซเคิลบรรจุ ภัณฑ์และหีบห่อแห่งประเทศญีปุน

รวบรวมบรรจุ ภัณฑ์และ หีบห่อทีคัดแยกแล้ว

ทําสัญญาจ้าง

เทศบาล

ชําระค่ารีไซเคิล (ปฏิบต ั ิตามกฎหมาย)

ผูป ้ ระกอบการรีไซเคิล นําขยะรีไซเคิลไปยัง สถานทีจัดเก็บ ประมูลเพือ เข้าดําเนินการ

ชําระค่าดําเนินการรีไซเคิล ให้แก่หน่วยงานภายนอก โรงงานรีไซเคิล และจําหน่าย โรงงานผลิตสินค้า ทีใช้บรรจุ ภัณฑ์ ทีผลิตจากวัสดุรไี ซเคิล

ผูป ้ ระกอบการรีไซเคิล

ทีมา: History and Current State of Waste Management in Japan. กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุน. 2557. สืบค้นจาก ttps://www.env.go.jp/en/recycle/smcs/attach/hcswm.pdf

หน้า 10


1.3 พระราชบัญญัติรไี ซเคิลเครืองใช้ในบ้าน พ.ศ. 2541 เปาหมาย

เครืองปรับอากาศ โทรทัศน์ (หลอดรังสีแคโทด จอ LCD และพลาสม่าทีว)ี ตู้เย็นและตู้แช่แข็ง เครืองซักผ้าและเครืองอบผ้า

นับตังแต่ชว่ งทีเศรษฐกิจมีการเติบโตอย่างรวดเร็ว เครืองใช้ในบ้าน เช่น โทรทัศน์ ตู้เย็น เครืองปรับอากาศ และ เครืองซักผ้า ถูกนํามาใช้กันอย่างแพร่หลายในฐานะของใช้ในครัวเรือนทีจําเปนของคนญีปุน เครืองใช้ภายในบ้าน ดังกล่าวเมือหมดอายุการใช้งานจะถูกกําจัดเปนขยะขนาดใหญ่ แต่มก ั เกิดปญหาในการจัดการเนืองจากขนาด และนําหนักของเครืองใช้ในบ้าน และถึงแม้วา่ เครืองใช้ในบ้าน จะยังคงมีทรัพยากรทีมีประโยชน์มากมายที สามารถนําไปใช้ต่อได้ เช่น เหล็ก อลูมเิ นียม และแก้ว แต่หลังจากทีเครืองใช้ในบ้านถูกนําไปทิง ส่วนใหญ่จะนําจัดการต่อด้วยการฝงกลบ นอกจากนี ประชาชนยังมีความกังวลเกียวกับการสูญเสียชันโอโซน โดยสาร CFCs และมลภาวะต่อสิงแวดล้อมจากโลหะหนักและสารอันตรายอืน ๆ ทีมีอยูใ่ นเครืองใช้ภายในบ้านที

ใช้แล้วทิง ด้วยเหตุนี พระราชบัญญัติรไี ซเคิลเครืองใช้ในบ้านได้ประกาศใช้ในป พ.ศ. 2541 เพือสร้างระบบ รีไซเคิลใหม่กําหนดภาระให้กับผูผ ้ ลิตเครืองใช้ในบ้านและผูค ้ ้าปลีก โดยแยกขยะเครืองใช้ในบ้านเปน 4 ประเภท ได้แก่ 1) เครืองปรับอากาศ 2) โทรทัศน์ (หลอดรังสีแคโทด จอ LCD และ พลาสม่าทีว)ี 3) ตู้เย็นและตู้แช่แข็ง และ 4) เครืองซักผ้าและเครืองอบผ้า ทีผูบ ้ ริโภคต้องส่งมอบให้กับโรงงานผูผ ้ ลิตเพือนําไปรีไซเคิล โดยผูบ ้ ริโภค ในฐานะผูก ้ ําเนิดขยะของเสียจะต้องชําระค่าธรรมเนียมในการเก็บขยะ การขนส่ง และการรีไซเคิลเมือนําเครืองใช้ ภายในบ้านของตนไปทิงให้กับร้านค้าปลีกดําเนินการต่อ วงจรค่าใช้จา่ ยในการรีไซเคิลเครืองใช้ในบ้าน

นําส่งค่ารีไซเคิล

นําส่งขยะ

สถานทีรับขยะ เครืองใช้ไฟฟาในบ้าน

จ่ายค่า รีไซเคิล

ศูนย์รไี ซเคิล

ร้านค้าปลีกออกใบเสร็จ การชําระ

ขอรายการเครืองใช้ในบ้าน และรายการขนส่ง

้ ลิต ฯลฯ โรงงานผูผ

ผูป ้ ระกอบการรับขยะ

ร้านค้าปลีก (ตัวแทนจําหน่ายเครืองใช้ในบ้าน)

ผูก ้ ําเนิดขยะของเสีย (ผูบ ้ ริโภคและผูป ้ ระกอบการ)

ผูบ ้ ริโภคจ่ายค่ารีไซเคิล ค่าเก็บขยะและค่าขนส่ง

สมาคมสําหรับ ศูนย์ออกใบเสร็จ ขยะรีไซเคิลเครืองใช้ ไฟฟาในบ้าน

นําจ่ายใบเสร็จรีไซเคิล

ทีมา: History and Current State of Waste Management in Japan. กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุน. 2557. สืบค้นจาก ttps://www.env.go.jp/en/recycle/smcs/attach/hcswm.pdf

หน้า 11


1.4 พระราชบัญญัติพนฐานการจั ื ดตังสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียน พ.ศ. 2543 พระราชบัญญัติพนฐานการจั ื ดตังสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียน พ.ศ. 2543 มีวต ั ถุประสงค์ ดังนี

1) เปลียนแปลงระบบเศรษฐกิจปจจุบน ั ทีมีการผลิตจํานวนมาก การบริโภคจํานวนมาก และการทิงขยะ เปนจํานวนมากซึงเปนปญหาทีร้ายแรงในท้ายทีสุดจะทําให้ญปุ ี นขาดแคลนสถานทีกําจัดขยะขันสุดท้าย 2) ส่งเสริมการจัดตังสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียนโดยนําหลักการ 3R (ลด ใช้ซาํ และรีไซเคิล) มาใช้ 3) มีการจัดการขยะของเสียอย่างเหมาะสม วิสย ั ทัศน์ในการจัดตังสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียน คือ ลดการนําทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์และ ลดผลกระทบด้านสิงแวดล้อม โดยพระราชบัญญัติพนฐานการจั ื ดตังสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียนได้กําหนด ลําดับความสําคัญในการจัดการวัสดุรไี ซเคิลทีสามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้ บทบาทของทุกภาคส่วนทัง หน่วยงานรัฐบาลระดับชาติและระดับท้องถิน ผูป ้ ระกอบธุรกิจ และผูบ ้ ริโภค รวมถึงกําหนดหลักการพืนฐานว่า วัสดุรไี ซเคิลทีสามารถนํากลับมาใช้ใหม่จะต้องได้รบ ั การบริหารจัดการตามลําดับ ดังนี (1) ลดปริมาณขยะจาก แหล่งกําเนิด (2) การนํากลับมาใช้ใหม่ (3) การรีไซเคิล (4) การเผาขยะและนําพลังงานความร้อนมาใช้ และ (5) การกําจัดขยะทีเหมาะสม นอกจากการกําหนดบทบาทหน้าทีของหน่วยงานต่าง ๆ กฎหมายฉบับนีได้แยกความรับผิดชอบทีแตกต่างกัน ของผูท ้ ีทําให้เกิดขยะในการบริหารจัดการขยะของเสียและการรีไซเคิลทังความรับผิดชอบของผูบ ้ ริโภคและ ความรับผิดชอบของผูป ้ ระกอบการทุกภาคส่วน เช่น โรงงานผูผ ้ ลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ การออกแบบสินค้า และผลิตภัณฑ์ ไปจนถึงการจัดการสินค้าและผลิตภัณฑ์ทีผ่านมือผูบ ้ ริโภคแล้ว

แผนภาพวิสย ั ทัศน์การสร้างสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียนประเทศญีปุน ทีมา: History and Current State of Waste Management in Japan. กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุน. 2557. สืบค้นจาก ttps://www.env.go.jp/en/recycle/smcs/attach/hcswm.pdf

หน้า 12


1.5 พระราชบัญญัติรไี ซเคิลวัสดุก่อสร้าง พ.ศ. 2543 วัสดุก่อสร้างทีระบุในพระราชบัญญัติรไี ซเคิลวัสดุก่อสร้าง ได้แก่ (1) คอนกรีต (2) วัสดุก่อสร้างทีทําจากคอนกรีตและเหล็ก (3) ไม้ และ (4) ยางมะตอยและคอนกรีต

เปาหมาย

ขยะทีเกิดจากการก่อสร้างในประเทศญีปุน เช่น บล็อกคอนกรีต บล็อกแอสฟลต์คอนกรีต ไม้ และวัสดุอืน ๆ

คิดเปนประมาณ 20% ของขยะอุ ตสาหกรรมทังหมด (ข้อมูลปงบประมาณ 2538) และประมาณ 70% ของ ขยะทีกําจัดอย่างผิดกฎหมาย (ข้อมูลปงบประมาณ 2542) นอกจากนี เนืองจากมีจาํ นวนอาคารทีสร้างขึน ในก่อนป พ.ศ. 2503 ทีจําเปนต้องได้รบ ั การรือถอนหรือปรับปรุงอาคารใหม่มากขึนเรือย ๆ รวมทังอุ ตสาหกรรม การก่อสร้างของญีปุนประสบปญหาร้ายแรงในการขาดแคลนหลุมฝงกลบและการกําจัดของเสียทีเกิดจาก การก่อสร้างไม่เหมาะสม ทําให้มข ี ยะจากการก่อสร้างเพิมขึน เพือให้มก ี ารใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ พระราชบัญญัติรไี ซเคิลวัสดุก่อสร้าง จึงได้ประกาศใช้ในป พ.ศ. 2543 เพือส่งเสริมการรีไซเคิลและการนําขยะ จากการก่อสร้างมาใช้ซาํ โดยกําหนดให้ผรู้ บ ั เหมาทีดําเนินการรือถอนอาคารทีทําด้วยวัสดุก่อสร้างทีระบุใน กฎหมายหรือสร้างอาคารใหม่แล้วมีวส ั ดุก่อสร้างเหลือจะต้องเปนผูด ้ ําเนินการการคัดแยกเศษวัสดุก่อสร้าง และนําไปใช้รไี ซเคิลด้วยวิธต ี ่ าง ๆ ลําดับการรือถอนและการรีไซเคิลวัสดุก่อสร้าง เจ้าบ้านจัดทําแผน รือถอนบ้านแบบ แยกชินส่วนและ การดําเนินงานอืน ๆ

จัดทํารายงานเสนอ

ผูว้ า่ ราชการจังหวัด

แจ้งให้แก้ไข ทําสัญญาจ้าง

อธิบายงาน

ผูร้ บ ั เหมาก่อสร้างจัดทํา เอกสารแสดงผล การรือถอนโครงสร้าง อาคาร

สง่ รา ยง าน ให เ้ จา้ บา้ น

ผูร้ บ ั เหมาก่อสร้าง

ทําสัญญาจ้าง

แจ้งงาน

แยกชินส่วนทีรือถอนและ ทํางานอืน ๆ เช่น ติดตัง ปายแจ้งพืนทีรือถอน บริหารงานก่อสร้าง ดําเนินการรีไซเคิลและอืน ๆ

สังการ / ให้ขอ ้ เสนอแนะ / คําปรึกษาเพิมเติม

ผูร้ บ ั เหมาก่อสร้าง ยืนยันการรีไซเคิล ทีเสร็จแล้ว ปฏิบต ั ิการอืน ๆ ทําสําเนาเอกสาร

ผูร้ บ ั เหมาช่วงงาน

ทีมา: History and Current State of Waste Management in Japan. กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุน. 2557. สืบค้นจาก ttps://www.env.go.jp/en/recycle/smcs/attach/hcswm.pdf

หน้า 13


1.6 พระราชบัญญัติรไี ซเคิลอาหารเหลือ พ.ศ. 2543 เปาหมาย

เศษอาหาร สารตกค้างทีกินไม่ได้ทีเกิดขึนในการผลิตและการแปรรูปอาหาร อาหารทีขายไม่ออกหรืออาหารเหลือหลังจากการจําหน่ายและการบริโภค เปนต้น

ในประเทศญีปุนมีอาหารถูกทิงเปนปริมาณมหาศาลทังในกระบวนการผลิตและการจําหน่ายเนืองจากความต้องการ ในการซืออาหารสดทีมากเกินความจําเปน ในขณะเดียวกันก็มเี ศษอาหารเหลือทิงเปนจํานวนมากหลังจาก การรับประทานโดยไม่ถก ู นําไปรีไซเคิลเปนปุยหรือใช้เปนอาหารสัตว์ จึงทําให้ในช่วงป พ.ศ. 2533 ญีปุนประสบ

ปญหาร้ายแรงเกียวกับการจัดการขยะทีความจุของหลุมฝงกลบกําลังจะถึงขีดจํากัด เพือแก้ไขสถานการณ์นี พระราชบัญญัติรไี ซเคิลอาหารเหลือได้ถก ู ประกาศใช้เมือ พ.ศ. 2543 เพือให้การใช้ทรัพยากรอาหารมีประสิทธิภาพ และลดการกําจัดขยะจากเศษอาหารเหลือทิง โดยผูป ้ ระกอบธุรกิจเกียวกับอาหารจะส่งต่อเศษอาหารไปยัง ผูป ้ ระกอบการรีไซเคิลเพือทําเปนปุยบํารุงพืชหรือทําเปนอาหารเลียงสัตว์ หลังจากนัน ผูป ้ ระกอบการใน อุ ตสาหกรรมอาหารจะนําพืชและสัตว์มาใช้ในการผลิตอาหารหมุนเวียนต่อไป ความรับผิดชอบของแต่ละฝายในการจัดการกับอาหารเหลือ

ผูผ ้ ลิตและแปรรูปอาหาร

ผูค ้ ้าส่งและ

ขายปลีกอาหาร

ร้านอาหารและ

ผูร้ บ ั จัดเลียงอาหาร

สมาชิกในครัวเรือน

ผู้ประกอบธุรกิจเกียวกับอาหาร

ผู้บริโภค

1) ลดการสร้างเศษอาหาร 2) รีไซเคิลเศษอาหาร 3) การนําความร้อนกลับมาใช้ใหม่เมือแปรรูป เศษอาหารทีไม่สามารถรีไซเคิลได้ 4) ดําเนินการตามมาตรการลดขยะจากเศษอาหาร

1) ลดการสร้างเศษอาหารโดยการไม่ซอของสดเกิ ื น ความจําเปนและปรุงอาหารให้มจ ี าํ นวนพอดี 2) อ่านวันหมดอายุก่อนซืออาหาร 3) หากทานอาหารนอกบ้าน ไม่ควรสังอาหารเกินจําเปน และควรบอกปริมาณอาหารทีต้องการหากทานน้อย หรือหากทานไม่หมดควรขอห่ออาหารทีเหลือกลับบ้าน

ทีมา: History and Current State of Waste Management in Japan. กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุน. 2557. สืบค้นจาก https://www.env.go.jp/en/recycle/smcs/attach/hcswm.pdf บทความ How to Reduce Food Waste (in Japan) สืบค้นจาก https://alicegordenker.wordpress.com/2014/01/ 21/ reduce-your-food-waste/

หน้า 14


ตัวอย่างการมีสว ่ นร่วมดําเนินการเพือลดขยะจากอาหารเหลือด้วยแอพพลิเคชัน "Tabete" การใช้แอพพลิเคชันสําหรับผู้บริโภค

ค้นหาร้านค้าจากแอพ เพือสังซือ

ชําระค่าสินค้าด้วยบัตรเครดิต

ไปทีร้านค้าตามตําแหน่ง ทีระบุในแผนที

รับสินค้าทีร้านได้เลย

การใช้แอพพลิเคชันสําหรับร้านค้า

วันนีใกล้ปดร้านแล้ว มีอาหาร ขนม ผักและผลไม้ เหลือนิดหน่อย

โพสต์ลงขายในแอพ Tabete หรือบนเว็บไซต์ได้ง่าย ๆ

เมือลูกค้าสังซือและจ่ายเงินผ่านแอพ ลูกค้ามารับอาหารทีหน้าร้าน จะมีอีเมล์หรือโทรศัพท์แจ้งมาทีร้าน

ประโยชน์จากการใช้แอพพลิเคชัน Tabete

ช่วยจํานวนลดอาหารเหลือ

และลดค่าใช้จา่ ยในการทิงขยะ

ทําให้รา้ นค้าเปนทีรูจ้ ก ั ว่า เปนมิตรต่อสิงแวดล้อม

มีลก ู ค้าใหม่ ๆ ซือของเพิมขึน

พนักงานมีความพึงพอใจ ในการทํางานมากขึน

ทีมา:

เว็บไซต์ https://tabete.me

หน้า 15


1.7 พระราชบัญญัติการจัดซือจัดจ้างสีเขียว พ.ศ. 2543 ในการสร้างสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียนสิงสําคัญเปนลําดับแรกคือการสร้างจิตสํานึกในการเลือกซือสินค้า

และผลิตภัณฑ์ทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อมและผลิตจากวัสดุรไี ซเคิล เพือให้ผลิตภัณฑ์รไี ซเคิลสามารถแข่งขันใน ตลาดสินค้าทัวไปได้ รัฐบาลญีปุนจึงได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติการจัดซือจัดจ้างสีเขียว เมือเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2543 เพือให้หน่วยงานรัฐบาลระดับชาติและระดับท้องถิน องค์กรอิสระ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน ดําเนินการจัดซือจัดจ้างสินค้าและบริการทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิงรายจ่ายของภาครัฐมี สัดส่วนมากกว่า 20% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) ทําให้มผ ี ลกระทบอย่างมากต่อตลาดสินค้า อุ ปโภคบริโภคภายในประเทศญีปุน

บทบาทของภาคส่วนต่าง ๆ ทีมีต่อการส่งเสริมพระราชบัญญัติการจัดซือจัดจ้างสีเขียว หน่วยงานภาครัฐระดับชาติ องค์กรอิสระ ฯลฯ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิน

กําหนดนโยบายพืนฐานในการส่งเสริมการจัดซือจัดจ้าง ทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อมสําหรับหน่วยงานรัฐ องค์กร อิสระ และองค์กรสาธารณะอืนๆ

กําหนดนโยบายและดําเนินการจัดซือจัดจ้าง ทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม

กระทรวง หน่วยงานราชการ องค์กรอิสระ และองค์กร สาธารณะอืน ๆ กําหนดและประกาศนโยบายประจําป ในการจัดซือจัดจ้างผลิตภัณฑ์ทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม

ผู้ประกอบการภาคธุรกิจและผู้บริโภค ซือสินค้าทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อม ให้ได้มากทีสุด

จัดซือผลิตภัณฑ์ทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อมตามนโยบาย หน่วยงานจัดทําสรุปผลการจัดซือจัดจ้างและรายงาน เสนอต่อรัฐมนตรีกระทรวงสิงแวดล้อม โครงการ "Cool Biz" ในทีทํางาน

เปดเครืองปรับอากาศทีอุ ณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส และใช้พด ั หรือพัดลมช่วยในฤดูรอ ้ น แต่งกายให้เหมาะสมกับฤดูกาลแทนการใส่สท ู ทุกวัน มาทํางานให้เช้าขึน เพือใช้แสงจากธรรมชาติ ลดการเปดหลอดไฟ และลดการทํางานล่วงเวลา ปดอุ ปกรณ์ไฟฟาเมือไม่ได้ใช้งาน ทีมา: เว็บไซต์ http://ondankataisaku.env.go.jp/coolchoice/coolbiz/office/

หน้า 16


โครงการ "Smart Move" ส่งเสริมการใช้จก ั รยานและระบบขนส่งสาธารณะ

โครงการส่งเสริมการใช้หลอดไฟ LED เพือประหยัดพลังงาน

โครงการ "Warm Biz" เพือลดการใช้พลังงานไฟฟาในฤดูหนาวช่วง Work from Home

โครงการส่งเสริมการใช้รถยนต์ประหยัดพลังงาน "Eco-car"

ทีมา: http://ondankataisaku.env.go.jp/coolchoice/smartmove/20210202.html http://ondankataisaku.env.go.jp/coolchoice/akari/archives/20190325.html http://ondankataisaku.env.go.jp/coolchoice/warmbiz/article/action_detail_20210112.html http://ondankataisaku.env.go.jp/coolchoice/ecocar/topics/topics190328.html

หน้า 17


1.8 พระราชบัญญัติรไี ซเคิลรถยนต์ พ.ศ. 2545 ส่วนประกอบของรถยนต์เก่าทีทําจากเหล็กและโลหะสามารถแยกชินส่วนมาใช้ประโยชน์ต่อได้ ดังนัน หลังจาก ป พ.ศ. 2533 ประมาณ 80% ของนําหนักวัสดุทีประกอบรถยนต์ทังหมดจึงถูกนํากลับมาใช้ใหม่ โดยส่วนทีเหลือ อีก 20% ถูกบดทําลายก่อนนําไปฝงกลบรวมกับขยะอืนๆ อย่างไรก็ตาม การขาดแคลนพืนทีฝงกลบในประเทศ ญีปุนทําให้ต้นทุนการกําจัดเพิมขึนจึงอาจมีการทิงซากเก่าของรถยนต์อย่างผิดกฎหมายและกําจัดรถยนต์ที

หมดอายุการใช้งานอย่างไม่เหมาะสม นอกจากนียังจําเปนต้องจัดการกับสาร CFCs ทีมีอยูใ่ นเครืองปรับอากาศ รถยนต์เก่า และต้องพัฒนามาตรการกําจัดถุงลมนิรภัยและชินส่วนอืน ๆ ทียากต่อการจัดการเมือทําการถอดรือ

ส่วนประกอบรถยนต์ออกแล้ว เพือรับมือกับปญหาเหล่านี พระราชบัญญัติรไี ซเคิลรถยนต์ได้ประกาศใช้ในป พ.ศ. 2545 กําหนดความรับผิดชอบของผูผ ้ ลิตรถยนต์ในการรับคืนชินส่วนรถยนต์ทีจัดการยากทีสุด จํานวน 3 รายการซึงมักถูกทิงอย่างผิดกฎหมาย ได้แก่ (1) สาร CFCs (2) ถุงลมนิรภัย และ (3) เศษซากชินส่วนรถยนต์ ทีถูกบดทําลายโดยนําไปรีไซเคิล ส่วนเจ้าของรถยนต์จะเปนผูจ ้ า่ ยค่าธรรมเนียมการรีไซเคิลครอบคลุมค่าใช้จา่ ย ทีจําเปนในการกําจัดรถยนต์ทีหมดอายุการใช้งาน วงจรการรีไซเคิลรถยนต์และการส่งต่อชินส่วนรถยนต์

บริษัทจัดการกองทุน ศูนย์สง ่ เสริมการรีไซเคิลรถยนต์ญีปุน รายงานการรับชินส่วน รถยนต์ 3 รายการ

จ่ายค่ารีไซเคิล รถยนต์

จ่ายเงิน รีไซเคิลทังหมด

จุดรีไซเคิล ผูใ้ ช้รถยนต์ทังหมด จุดทําลาย CFC จุดรีไซเคิลถุงลม นิรภัยและชินส่วนอืน ชินทีถูกบดทําลาย ทีผ่านการรับรอง

เจ้าของ รถยนต์

ผูผ ้ ลิตรถยนต์ / ผูน ้ าํ เข้า / หน่วยรีไซเคิลทีกําหนด

จ่ายค่ารีไซเคิล รถยนต์

ตัวแทน จําหน่าย

ค่าดําเนินการ

ผูด ้ ําเนินการนํา สาร CFC ออก

ผูถ ้ อดแยก ชินส่วนรถยนต์

ผูบ ้ ดทําลาย ซากรถยนต์ นําส่งข้อมูล

นําส่งข้อมูล

นําส่งข้อมูล

นําส่งข้อมูล

ศูนย์ควบคุมข้อมูล ศูนย์สง ่ เสริมการรีไซเคิลรถยนต์ญีปุน ทีมา:

ส่งต่อวัสดุ

ส่งต่อข้อมูล

ส่งต่อเงินทุน

กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุน, 2557 https://www.team-bhp.com/forum/technical-stuff/193603-report-visitingcar-recycling-facility-japan-2.html

หน้า 18


1.9 พระราชบัญญัติรไี ซเคิลเครืองใช้ในบ้านขนาดเล็ก พ.ศ. 2555 เปาหมาย

ชนิดของเครืองใช้ในบ้านขนาดเล็ก หมายถึง อุ ปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และ เครืองใช้ไฟฟาอืนๆ ทีผูบ ้ ริโภคใช้ในชีวต ิ ประจําวัน

ระบบการรีไซเคิลเครืองใช้ในบ้านขนาดเล็ก (1) ผูบ ้ ริโภคในแต่ละครัวเรือนคัดแยกเครืองใช้ในบ้านขนาดเล็ก เช่น โทรศัพท์มอ ื ถือ กล้องดิจต ิ อล นา ิกา เครืองเสียง ฯลฯ ทีหมดอายุการใช้งานออกจากขยะประเภทอืนและกําจัดตามขันตอนการจัดเก็บทีเทศบาล เปนผูก ้ ําหนด ส่วนเครืองใช้ไฟฟาขนาดเล็กทีหมดอายุการใช้งานสําหรับใช้ในอุ ตสาหกรรมทีทิงรวมเปน จํานวนมากจะถูกแยกให้เปนขยะอุ ตสาหกรรมและส่งไปยังผูด ้ าํ เนินการรีไซเคิลทีผ่านการรับรอง (2) เทศบาลรวบรวมเครืองใช้ขนาดเล็กและส่งมอบให้กับผูด ้ าํ เนินการรีไซเคิลทีผ่านการรับรอง (3) ผูด ้ าํ เนินการรีไซเคิลทําการถอดรือชินส่วนของอุ ปกรณ์ ทําการคัดแยกออกเปนโลหะและพลาสติกประเภท ต่างๆ และนําส่งชินส่วนทีรีไซเคิลได้ให้กับผูป ้ ระกอบการทีเกียวข้อง ส่วนชินส่วนทีรีไซเคิลไม่ได้จะนําไปบด (4) โลหะและพลาสติกทีได้จากการคัดแยกจากเครืองใช้ขนาดเล็กทีหมดอายุจะถูกนําไปยังโรงงานรีไซเคิล เพือหลอมรวมวัสดุประเภทเดียวกันให้สามารถนําไปผลิตต่อได้ (5) วัสดุทีได้จากโรงงานรีไซเคิลจะถูกส่งต่อไปยังโรงงานผลิตเครืองใช้ไฟฟาต่าง ๆ

ระบบการรีไซเคิลเครืองใช้ในบ้านขนาดเล็ก

ร้านค้าปลีกทีให้ความร่วมมือ

หน่วยงานเทศบาล

เครืองใช้ในบ้านขนาดเล็ก

จําหน่ายแก่ครัวเรือน

เครืองใช้ในบ้านขนาดเล็ก

จัดเก็บขยะ

ผู้บริโภคในครัวเรือน

นํามารือถอดชินส่วนทีรีไซเคิลได้ คัดแยก/บด นํามาผลิตเครืองใช้ไฟฟา

หลอมรวมวัสดุ ชินส่วนทีแยกแล้ว

นําส่งโลหะ

โรงงานผลิตเครืองใช้ไฟฟา

ผู้ประกอบธุรกิจรีไซเคิล

โรงงานรีไซเคิลวัสดุ

ทีมา: History and Current State of Waste Management in Japan. กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุน. 2557. สืบค้นจาก https://www.env.go.jp/en/recycle/smcs/attach/hcswm.pdf

หน้า 19


2. มาตรการอืน ๆ เพือแก้ไขปญหาขยะของเสียในประเทศญีปุน 2.1 มาตรการส่งเสริมความเข้าใจระหว่างผูบ ้ ริโภค 2.1.1 การดําเนินการของรัฐบาลในการส่งเสริมการลดขยะของเสียในการประชุมระดับชาติและยุทธศาสตร์ การลดขยะของเสียในภาพรวม เกิดขึนเพือส่งเสริมความคิดริเริมในการลดขยะของเสียอย่างจริงจัง รัฐบาลญีปุนได้รว่ มมือกับผูบ ้ ริโภคและ

ผูป ้ ระกอบธุรกิจในจัดการประชุมระดับชาติเพือส่งเสริมการลดขยะของเสียเปนครังแรกในเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 เพือเปรียบเทียบบันทึกข้อมูลเกียวกับการลดขยะของเสีย โดยในป พ.ศ. 2536 รัฐบาลได้กําหนด ให้มส ี ป ั ดาห์สง ่ เสริมการลดขยะของเสียโดยเริมตังแต่วน ั ที 30 พฤษภาคม 2536 และรัฐบาลมีสว่ นร่วมอย่าง

แข็งขันในการพัฒนาโครงการสร้างจิตสํานึกทีหลากหลายผ่านการออกอากาศทางโทรทัศน์และการจัดกิจกรรม อืน ๆ ต่อมาในป พ.ศ. 2540 ได้เปลียนชือสัปดาห์สง ่ เสริมการลดขยะของเสียเปนสัปดาห์สง ่ เสริมการลดขยะ ของเสียและการรีไซเคิลนอกจากนี รัฐบาลได้เปดตัวยุทธศาสตร์การลดขยะของเสียในภาพรวมในป พ.ศ. 2535 เพือส่งเสริมการลดขยะของเสียและการรีไซเคิลระดับชุมชนโดยให้เงินอุ ดหนุนการเก็บขยะทีมีการคัดแยกและ การรวมตัวของประชาชนเปนกลุ่มในการร่วมกันเก็บขยะตามละแวกบ้านพักอาศัยในเขตเทศบาลของตนเอง

และให้เงินอุ ดหนุนสําหรับจุดบริการซ่อมแซมเครืองใช้ทีหมดอายุการใช้งานและเงินอุ ดหนุนในการจัดลานแสดง ผลิตภัณฑ์รไี ซเคิล นอกจากนี รัฐบาลยังให้การยกย่องแก่เทศบาลทีการดําเนินการมีความก้าวหน้าในการสร้าง การมีสว่ นร่วมในการพัฒนาระบบสังคมทีช่วยลดการสร้างขยะและทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียนในฐานะ "เมืองรีไซเคิลสะอาด"

หน้า 20


2.1.2 การดําเนินการของรัฐบาลท้องถินในการจัดทําโครงการเพิมจิตสํานึกในการลดขยะ ระหว่างทีมีการแก้ไขพระราชบัญญัติการจัดการขยะของเสีย ในป พ.ศ. 2534 รัฐบาลท้องถินได้เปดตัวโครงการ เชิงรุกเพือส่งเสริมการรีไซเคิลขยะโดยร่วมมือกับประชาชนผูอ ้ ยูอ ่ าศัยในพืนทีและผูป ้ ระกอบการภาคเอกชน ซึงรัฐบาลกรุงโตเกียวได้เริมการรณรงค์เรือง “TOKYO SLIM” ในเดือนมิถน ุ ายน พ.ศ. 2532 เพือให้ประชาชน ผูอ ้ ยูอ ่ าศัยมีความเข้าใจมากขึนถึงปญหาขยะทีทวีความรุนแรงขึนเรือย ๆ และเพือสนับสนุนการมีสว่ นร่วมอย่าง แข็งขันของประชาชนในกิจกรรมการลดขยะและการรีไซเคิล การรณรงค์ “TOKYO SLIM” เริมต้นด้วยการติดโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ทีสถานีรถไฟฟาสถานีหลัก และมีการ จัดงานเสวนา ออกบูธรณรงค์ประชาสัมพันธ์ทัวโตเกียว ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2533 ได้มก ี ารจัดงาน "TOKYO

SLIM IN DOME" ขึนทีสนามกีฬาโตเกียวโดมเพือสร้างจุดเด่นของการรณรงค์ มีผเู้ ข้าชมงานมากกว่า 50,000 คน และด้วยการสนับสนุนจากสือมวลชน การรณรงค์นได้ ี รบ ั การเผยแพร่เแนวคิดเรืองการรีไซเคิลขยายออกไป เปนวงกว้างไม่เพียงแต่การสร้างความเข้าใจให้กับผูท ้ ีเข้าร่วมในงานนีเท่านัน แต่ยง ั รวมถึงประชาชนผูอ ้ ยูอ ่ าศัย ในโตเกียวด้วย ในปพ.ศ. 2534 เพือให้การรณรงค์การรีไซเคิลมีความต่อเนืองจากกิจกรรม “TOKYO SLIM” รัฐบาลมหานครโตเกียวได้เริมจัดการประชุมประจําปในหัวข้อ “Tokyo Waste Meeting” มีผป ู้ ระกอบการ ภาคเอกชนและกลุ่มผูบ ้ ริโภคเข้าร่วมเปนจํานวนหลายหมืนคนในแต่ละป

ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2534 ได้มก ี ารจัดตังสภาจัดการขยะกรุงโตเกียวขึนเพือส่งเสริมการลดขยะและการ รีไซเคิล ตลอดจนสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างประชาชนผูอ ้ ยูอ ่ าศัย ผูป ้ ระกอบธุรกิจ และองค์กรของรัฐ คณะกรรมการสภาจัดการขยะกรุงโตเกียวซึงประกอบด้วย ผูแ ้ ทนชุมชน 11 คน ผูแ ้ ทนจากภาคธุรกิจ 24 คน

และผูแ ้ ทนจากหน่วยงานราชการ 7 คน ได้รว่ มกันจัดทําแผนปฏิบต ั ิการลดขยะและพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ รวมถึง การจัดลานตลาดนัดรีไซเคิลบาซาร์และกิจกรรมรณรงค์การใช้ถง ุ ใส่ของส่วนตัวด้วยสโลแกน “ช้อปปงด้วยถุง ของคุณเอง” โดยมีวต ั ถุประสงค์เพือช่วยให้การปฏิบต ั ิ 3R หยังรากลึกในวิถีชวี ต ิ ประจําวันของชาวโตเกียว

หน้า 21


ตลาดนัดรีไซเคิลบาซาร์

TOKYO SLIM IN DOME

Tokyo Waste Meeting

2.1.3 การดําเนินการของรัฐบาลท้องถินในการจัดทําโครงการรีไซเคิลโดยชุมชนในพืนที เปนส่วนหนึงของความพยายามในการปลุกจิตสํานึกและสร้างความตระหนักในการรีไซเคิลของประชาชน ผูอ ้ ยูอ ่ าศัย เทศบาลหลายแห่งได้จด ั ตังศูนย์รไี ซเคิลและลานรีไซเคิลในชุมชนท้องถินแต่ละแห่งเพือเปนจุด ซ่อมแซม จัดแสดง และนําเสนอผลิตภัณฑ์หมดอายุการใช้งานทีสามารถนํามารีไซเคิลได้ ซึงรวมถึงขยะ ขนาดใหญ่ และให้ขอ ้ มูลเกียวกับการแลกเปลียนผลิตภัณฑ์ทีหมดอายุการใช้งานอีกด้วย

ห้องโถงจัดแสดงนิทรรศการของ

ตะกร้ารีไซเคิลสําหรับรับเสือผ้าเก่าที

Nakano Environment and

Nakano Environment and

Recycling Plaza

Recycling Plaza

Machida Recycling Culture Center

2.2 มาตรการคัดแยกขยะรีไซเคิล ช่วงปลายทศวรรษ 1970 การคัดแยกขยะรีไซเคิลเริมต้นขึนในเมืองนุมะซุและเมืองฮิโรชิมา่ ตามด้วยเขตเทศบาล ทัวประเทศญีปุนในช่วงปลายทศวรรษ 1980 มาตรการนีช่วยปรับปรุงคุณภาพ ของขยะรีไซเคิลทีรวบรวมได้ รวมถึงช่วยลดต้นทุนการคัดแยก ดังนัน การคัดแยกขยะของเสียทีแหล่งกําเนิดจึงเปนวิธท ี ีมีประสิทธิภาพ มากทีสุดในการส่งเสริมการรีไซเคิล และการคัดแยกขยะรีไซเคิลมีความก้าวหน้ามากขึนตังแต่ชว่ งทศวรรษ 1990s โดยอาศัยวิธก ี ารรีไซเคิลทีหลากหลาย

ทีมา: https://linkandlearn.se/onewebmedia/160913_MoE%20Sound%20Material%20Cycle.pdf https://blog.gaijinpot.com/trash-talk-a-guide-to-garbage-disposal-in-japan/ หน้า 22


2.2.1 ส่งเสริมการจัดเก็บขยะรีไซเคิลทีคัดแยกแล้วด้วยการรวมกลุ่มเก็บขยะ กลุ่มทีร่วมกันเก็บขยะเปนกลุ่มทีจัดตังขึนโดยความสมัครใจของคนในแต่ละชุมชน สมาชิกในกลุ่มประกอบด้วย

คนในชุมชน สมาคมในพืนที หน่วยงานเขต และอาสาสมัคร โดยร่วมกันแยกประเภทขยะรีไซเคิลทีนํามาทิง เช่น ขวดเปล่า กระปองเปล่า กระดาษใช้แล้ว และกระดาษแข็ง โดยมีการนัดหมายสถานทีและวันเวลาสําหรับคนใน ชุมชนนําขยะรีไซเคิลมาให้คัดแยก หลังจากนันมีการส่งนําขยะรีไซเคิลไปยังหน่วยดําเนินการจัดสรรขยะรีไซเคิล ให้เปนทรัพยากรทีนํากลับมาใช้ใหม่ได้ การรวมกลุ่มเก็บขยะเปนการช่วยลดต้นทุนการเก็บขยะสําหรับรัฐบาลท้องถินและผูป ้ ระกอบการเก็บขยะเปน ธุรกิจให้สามารถจัดเก็บขยะตามปริมาณทีกําหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเปนประโยชน์กับประชาชนผูอ ้ ยู่ อาศัย เช่น ช่วยให้สามารถคัดแยกขยะรีไซเคิลทีบ้านได้ตามวันและเวลาทีกําหนด และสร้างโอกาสในการสือสาร ปฏิสม ั พันธ์กับเพือนบ้าน นอกจากนี รัฐบาลท้องถินหลายแห่งได้สร้างระบบให้แรงจูงใจโดยให้เงินอุ ดหนุนแก่ องค์กรชุมชนท้องถินทีร่วมดําเนินการในกลุ่มเก็บขยะ ออกใบรับรองการประเมินผล ให้แก่ผป ู้ ระกอบการ

นําส่งของเสีย

สร้างจิตสํานึก

รัฐบาลท้องถิน

จัดเก็บขยะของเสีย

หน่วยจัดเก็บขยะ

สมาคมทีจัดตังขึนโดยสมาชิกในชุมชน

ลดขยะ

ขอเงินอุ ดหนุน ให้ดาํ เนินการ

ให้เงินอุ ดหนุนเพือดําเนินการ

รีไซเคิล ขอเงินอุ ดหนุนให้ดาํ เนินการ

ให้เงินอุ ดหนุนเพือดําเนินการ

ทีมา: กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุน, 2557 บทความเรือง "Clean up the environment" สืบค้นจาก https://www.omx.co.jp/en/csr/cat/30 หน้า 23


2.2.2 ส่งเสริมการจัดเก็บขยะรีไซเคิลทีคัดแยกแล้วด้วยความร่วมมือของประชาชนในพืนที รัฐบาลท้องถินได้จด ั ทําใบปลิวและคู่มอ ื ทีอธิบายวิธก ี ารคัดแยกและการวางขยะจากครัวเรือนสําหรับให้หน่วยงาน ท้องถินจัดเก็บโดยใช้ภาษาทีเข้าใจง่ายและมีภาพประกอบเพือนําไปแจกจ่ายให้กับประชาชนผูอ ้ ยูอ ่ าศัยเพือ ส่งเสริมความเข้าใจในการคัดแยกขยะ นอกจากนี เจ้าหน้าทีของรัฐบาลท้องถินได้จด ั ให้มก ี ารบรรยายสัน ๆ สําหรับผูอ ้ ยูอ ่ าศัยเพืออธิบายวิธก ี ารคัดแยกขยะ เหตุผลความจําเปนในการคัดแยกขยะและกฎหมายเกียวกับ การรีไซเคิล พร้อมทังสาธิตการใช้ภาชนะพลาสติกและบรรจุภัณฑ์เพือตอบสนองความต้องการใช้งานให้กับ ประชาชนผูอ ้ ยูอ ่ าศัยแต่ละราย นอกจากนี รัฐบาลท้องถินยังได้จด ั ทําแผ่นพับเปนภาษาต่าง ๆ สําหรับผูท ้ ีไม่ใช่ คนญีปุนด้วยเช่นกัน ตัวอย่าง คู่มอ ื การทิงขยะในครัวเรือนเมืองไอคาวะ (ภาษาไทย) จากเว็บไซต์ http:// www.town.aikawa.kanagawa.jp/ikkrwebBrowse/material/files/group/15/guide2812_Thai.pdf

ภาพ Kamikatsu Zero Waste Center ในเมืองคามิคัตสึ หนึงในต้นแบบเมืองไร้ขยะของประเทศญีปุน ทีมา: https://www.japan.go.jp/kizuna/2021/04/zero-waste_world.html https://www.nippon.com/en/guide-to-japan/gu900038/

หน้า 24


2.3 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการขยะและการส่งเสริมหลักการ 3R นอกเหนือจากการบังคับใช้กฎหมายแล้ว รัฐบาลญีปุนยังได้กําหนดมาตรการเพือให้เกิดสังคมทีมีการใช้วส ั ดุ หมุนเวียนโดยจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพือส่งเสริมความเข้าใจให้แก่ประชาชนและสร้างความร่วมมือระหว่าง ภาคส่วนต่าง ๆ ดังนี 2.3.1 เดือนแห่งการส่งเสริมหลักการ 3R รัฐบาลญีปุนกําหนดให้เดือนตุลาคมเปนเดือนแห่งการส่งเสริมหลักการ 3R (ลด ใช้ซาํ และรีไซเคิล) เพือเพิม ความเข้าใจและความร่วมมือของผูบ ้ ริโภคและผูป ้ ระกอบการเกียวกับโครงการส่งเสริมหลักการ 3R ในระหว่าง เดือนแห่งการส่งเสริมหลักการ 3R ของทุกป มีการจัดโปรแกรมและกิจกรรมต่างๆ มากมายโดยหน่วยงาน ของรัฐ รัฐบาลท้องถิน และผูม ้ ส ี ว่ นได้สว่ นเสียอืนๆ เพือให้เกิดสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียน 2.3.2 การจัดงานประชุมส่งเสริมหลักการ 3R แห่งชาติ การประชุมส่งเสริมหลักการ 3R แห่งชาติได้จด ั ขึนทุกปเริมตังแต่ป พ.ศ. 2549 โดยกระทรวงสิงแวดล้อม ร่วมกับ ฟอรัมส่งเสริมหลักการ 3R (3R Promotion Forum)* และรัฐบาลท้องถินเพือเปดโอกาสให้ ผูบ ้ ริโภค ผูป ้ ระกอบการ และเจ้าหน้าทีของรัฐมารวมตัวกันเพือเปรียบเทียบบันทึกข้อมูลในส่วนทีเกียวกับ การจัดตังสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียนและเพือให้ผเู้ ข้าร่วมงานแต่ละคนทบทวนวิถีชวี ต ิ ของตน ก่อนหน้า การจัดงานประชุมส่งเสริมหลักการ 3R แห่งชาติ ได้มก ี ารจัดการประชุมระดับชาติในหัวข้อ “การส่งเสริมการลด ขยะของเสีย” เปนประจําทุกปตังแต่ พ.ศ. 2535 * ฟอรัมส่งเสริมหลักการ 3R ก่อตังขึนในป พ.ศ. 2549 สมาชิกประกอบด้วยบริษัทเอกชน สถาบันวิจย ั องค์กร ธุรกิจ องค์กรไม่แสวงหาผลกําไร (NPO) และองค์กรนอกภาครัฐ (NGO) เพือร่วมกันจัดโครงการรณรงค์สร้าง จิตสํานึกหลักการ 3R ทีหลากหลายรูปแบบ 2.3.3 รางวัลจากรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสิงแวดล้อมสําหรับการมีสว ่ นร่วมในการสร้างสังคม ทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียน

เริมต้นขึนในป พ.ศ. 2549 โดยมีวต ั ถุประสงค์เพือเปนเกียรติแก่บุคคล บริษัท องค์กรและชุมชนทีได้มผ ี ลงาน โดดเด่นผ่านการบุกเบิกหรือริเริมเชิงนวัตกรรมในการจัดตังสังคมทีมีการใช้วส ั ดุหมุนเวียนพิธม ี อบรางวัล จัดขึนเปนประจําทุกปในงานประชุมส่งเสริมหลักการ 3R แห่งชาติ

2.3.4 การรณรงค์การจับจ่ายซือของทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อม (ตังแต่ป 2543) จัดขึนในเดือนตุลาคมซึงเปนเดือนแห่งการส่งเสริมหลักการ 3R กระทรวงสิงแวดล้อม ฟอรัมส่งเสริม หลักการ 3R และกระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และอุ ตสาหกรรมทํางานร่วมกันเพือดําเนินกิจกรรมรณรงค์ การจับจ่ายซือของทีเปนมิตรกับสิงแวดล้อมโดยมีภาคีสว่ นร่วม ได้แก่ จังหวัด เทศบาล สมาคมธุรกิจโลจิสติกส์ และองค์กรผูบ ้ ริโภค เพือแสดงให้ผบ ู้ ริโภค ผูจ ้ ด ั จําหน่าย และผูค ้ ้าปลีกเห็นถึงความจําเปนทีผูบ ้ ริโภคควรมี พฤติกรรมทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม เช่น การใช้กระเปาส่วนตัวในการซือของ ให้ความร่วมมือในการลดการห่อ สินค้าลงในบรรจุภัณฑ์หลายชัน และการซือผลิตภัณฑ์ทีผลิตออกมาให้เปนมิตรต่อสิงแวดล้อม

หน้า 25


2.3.5 ระบบผูเ้ ชียวชาญในการช่วยโปรโมตหลักการ 3R (3R Promotion Meister) เพือสร้างความตระหนักของผูบ ้ ริโภคและทําให้เห็นถึงความจําเปนในการลดภาชนะและบรรจุภัณฑ์ รวมถึงถุง พลาสติกทีได้รบ ั จากร้านค้า พระราชบัญญัติรไี ซเคิลภาชนะและบรรจุภัณฑ์กําหนดให้รฐั มนตรีวา่ การกระทรวง สิงแวดล้อมมีความรับผิดชอบในการแต่งตังผูเ้ ชียวชาญในการช่วยโปรโมตหลักการ 3R (3R Promotion Meister) ผูเ้ ชียวชาญทีได้รบ ั การแต่งตังจะเปนผูใ้ ห้ขอ ้ มูลแก่ประชาชนเกียวกับการกําจัดภาชนะและบรรจุ ภัณฑ์ทีไม่ใช้แล้ว รณรงค์ให้ประชาชนเห็นความสําคัญของการลดภาชนะและบรรจุภัณฑ์ รวมทังเปนทีปรึกษา และให้คําแนะนําแก่ผบ ู้ ริโภค 2.3.6 เครืองหมาย R และเครืองหมาย 3R ในป พ.ศ. 2538 เพือส่งเสริมการใช้กระดาษรีไซเคิลและสร้างความตระหนักรูข้ องประชาชน สภาส่งเสริมการ ลดขยะของเสียแห่งชาติซงเปนผู ึ บ ้ ุกเบิกฟอรัมส่งเสริมหลักการ 3R ได้สร้างเครืองหมาย R เปนโลโก้เพือ แสดงเปอร์เซ็นต์ของเยือกระดาษรีไซเคิลนํามาผลิตกระดาษใหม่ การนํากระดาษใช้แล้วมาผลิตเปนกระดาษใหม่ จะช่วยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เครืองหมาย 3R ได้รบ ั การออกแบบโดยสภาส่งเสริมหลักการ 3R โดยมีวต ั ถุประสงค์เพือให้กิจกรรม 3R เปนที รูจ้ ก ั กันดีโดยการสร้างโลโก้ทีเข้าใจง่าย และเพือส่งเสริมการมีสว่ นร่วมและความร่วมมือของทุกภาคส่วนให้มาก ทีสุด ทุกคนและทุกองค์กรสามารถนําเครืองหมาย 3R ไปใช้ได้โดยไม่มข ี อ ้ จํากัด เช่น ใช้ในกิจกรรมส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ หรือบนกล่องบรรจุภัณฑ์

โลโก้ R และ 3R โดยสภาส่งเสริมการลดขยะของเสียแห่งชาติ โลโก้ 3R โดยกระทรวงสิงแวดล้อม 2.3.7 การพัฒนาเมืองเชิงนิเวศ (Eco-Town) กระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และอุ ตสาหกรรม และ

กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุนร่วมกันกําหนด โครงการพัฒนาเมืองเชิงนิเวศ จํานวน 26 แห่ง ทัวประเทศ เพือเปนศูนย์กลางการหมุนเวียนวัสดุ

ในภูมภ ิ าคของตน ซึงหน่วยงานรัฐบาลท้องถินเปน ผูว้ างแผนการพัฒนาเมืองเชิงนิเวศของตนทีคํานึงถึง สิงแวดล้อมขันสูงโดยจะได้รบ ั ความร่วมมือจากภาค ประชาชนและอุ ตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ

ทีมา: กระทรวงสิงแวดล้อม ประเทศญีปุน, 2557 https://www.meti.go.jp/policy/recycle/main/3r_policy/policy/pdf/ecotown/ecotown_casebook/english.pdf

หน้า 26


ตัวอย่างการพัฒนาเมืองเชิงนิเวศ (Eco-Town) โครงการ SMA×ECO TOWN Harumidai จังหวัดโอซาก้า ทีมา: https://www.daiwahouse.com/English/about/community/case/harumidai/

หน้า 27


2.4 ตัวอย่างกิจกรรมส่งเสริมหลักการ 3R ของหน่วยงานภาครัฐ กิจกรรมการแข่งขันการเก็บขยะในชุมชน (Spo-Gomi Contest) เริมในป พ.ศ. 2551 รัฐบาลญีปุนได้จด ั

ให้มก ี ิจกรรมการแข่งขันการเก็บขยะในชุมชนในช่วงสุดสัปดาห์หรือวันหยุดประจําชาติ รวมแล้วไม่นอ ้ ยกว่า 100 ครัง/ป โดยผูแ ้ ข่งขันแต่ละทีมมีสมาชิกจํานวนอย่างน้อย 3-5 คนร่วมกันเก็บขยะให้ได้มากทีสุดในพืนที ทีกําหนดและภายในระยะเวลาทีกําหนด ตามหลักนําใจนักกีฬา ผูเ้ ข้าร่วมต้องเคารพผูเ้ ล่นในทีมอืน กฎกติกา และผูต ้ ัดสิน มีการตังกฎความปลอดภัย รวมทังห้ามเก็บขยะจากเลนถนนทีมีรถวิงและรางรถไฟ หรือเข้าไปเก็บขยะในบ้านของผูอ ้ ืน ฯลฯ ผูเ้ ข้าร่วม กิจกรรมสามารถสวมใส่เสือผ้าได้หลากหลายตามความชอบแต่สงที ิ ต้องมีเหมือนกันคือถุงมือถักจากด้ายฝาย หนาสีขาวทนทานทีทําให้ผเู้ ข้าร่วมสามารถหยิบขยะได้โดยไม่รส ู้ ก ึ รังเกียจ หลังจากนัน สมาชิกในทีมต้องร่วมกัน คัดแยกขยะออกเปนแต่ละประเภทและชังนําหนักขยะทีเก็บได้ ทีมทีชนะจะได้รบ ั เกียรติบต ั รหรือถ้วยรางวัล บางรายการอาจมีรางวัลเพิมทีได้รบ ั บริจาคจากผูส ้ นับสนุน

กิจกรรมการแข่งขันเก็บขยะทีจัดขึนในเขตมินาโตะของกรุงโตเกียวเมือวันที 13 ตุลาคม 2561 มีผเู้ ข้าร่วม 63 คน ใน 14 ทีม และสามารถรวบรวมขยะได้จาํ นวนรวม 135.25 กิโลกรัม

ทีมา:

https://web-japan.org/trends/11_culture/pop181202.html

หน้า 28


2.5 กิจกรรมส่งเสริมหลักการ 3R โดยภาคธุรกิจ บริษัท Coca-Cola Bottlers Japan

บริษัท Universal Studios Japan ร่วมกับ บริษัท Coca-Cola Bottlers Japan Inc. และ บริษัท Coca-Cola (Japan) Co. Ltd. ได้รว่ มกันจัดกิจกรรมส่งเสริม 3R ในงาน "Universal Studios Japan x Coca-Cola Study Recycling Together" ภายใต้หวั ข้อ "เราจะใช้ขวด PET อย่างไรให้ดีทีสุดในยุคปจจุบน ั " โดยกล่าวถึง การนําขวด PET มารีไซเคิลเปนผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ ซึงบริษัทได้แสดงตัวอย่างถุงใส่ของทีทํามาจากขวด PET ของ Coca-Cola พร้อมทังนําเสนอความสําคัญของการแยกขยะและเก็บขวด PET ทีสะอาดอย่างเหมาะสม และกระบวนการรีไซเคิลทีผูเ้ ข้าชมได้รบ ั สาระบันเทิงผ่านเพลงและการเต้นรํา

บริษัท Coca-Cola Bottlers Japan Inc. ได้ติดตังตู้จาํ หน่ายเครืองดืมอัตโนมัติทีรูปลักษณ์ภายนอกได้มี การออกแบบสือถึงการส่งเสริมการนําขวด PET มารีไซเคิล ณ ทีจอดรถพิพธ ิ ภัณฑ์สต ั ว์นําชิโกกุเปนครัง แรก เมือวันที 1 มิถน ุ ายน 2563 เพือเพิมความตระหนักในปญหาสิงแวดล้อมและเปนแรงบันดาลใจให้ผม ู้ า เยียมชมพิพธ ิ ภัณฑ์สต ั ว์นําดําเนินการปกปองสิงแวดล้อม

ในป พ.ศ. 2561 บริษัท Coca-Cola Bottlers Japan Inc. ได้ออกแบบขวดนําดืม "I LOHAS Tennensui Label-less" ทีไม่มฉ ี ลากเพือนําขวด PET ทีถูกทิงมารีไซเคิลเปนเม็ดพลาสติกเพือผลิตขวด PET ใหม่ได้ โดยบริษัทตังเปาหมายว่าในป ค.ศ. 2030 จะสามารถนําขวด PET มารีไซเคิลใหม่ได้ 100% เพือไปสู่ เปาหมายโลกทีปราศจากขยะ ทีมา: https://en.ccbji.co.jp/event/information069/

หน้า 29


การจัดการขยะในสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เยอรมนีถือเปนประเทศแนวหน้าในการจัดการขยะในทวีปยุโรปเนืองจากเปนประเทศทีมีอัตราส่วนการรีไซเคิลสูง มีระบบการกําจัดขยะโดยนํามาเปลียนให้เปนพลังงานทีมีประสิทธิภาพ มีวธ ิ ก ี ารทางชีวภาพขันสูงทีนํามาใช้ในการ จัดการขยะอินทรียอ ์ ย่างแพร่หลาย อีกทังยังการแยกขยะทีต้นทางทีทําได้เปนอย่างดี เมือเปรียบเทียบเปน ร้อยละจะเห็นได้วา่ ตัวเลข GDP ของประเทศเพิมสูงขึนอย่างต่อเนืองตังแต่ป พ.ศ. 2543 – 2558 (ยกเว้นป พ.ศ. 2552 ที GDP ลดลงเนืองจากวิกฤตการเงิน) ปริมาณขยะสุทธิทีผลิตได้ลดลงในป พ.ศ. 2543 – 2552 กลับมีปริมาณขยะสุทธิเพิมขึนอีกตังแต่ป พ.ศ. 2555 เปนต้นมา และเมือเปรียบเทียบกับประเทศอืน ๆ ในทวีป ยุโรปและทัวโลก ในป พ.ศ. 2560 ประชาชนชาวเยอรมนีผลิตขยะเปนจํานวนถึง 633 กิโลกรัม/คน/ป ในขณะที ชาวยุโรปส่วนใหญ่ผลิตขยะจํานวน 486 กิโลกรัม/คน/ป เยอรมนีจง ึ ยังต้องดําเนินการลดขยะต่อไป

หน้า 30


ร้อยละตัวเลข GDP เมือเปรียบเทียบกับปริมาณขยะสุทธิทีผลิตในป พ.ศ. 2543 – 2558

ทีมา: Deutsche Gesellschaft für Internationale Zusammenarbeit (GIZ) GmbH, 2019.

หน้า 31


จากข้อมูลของกรมสถิติสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตังแต่ป พ.ศ. 2553 แสดงอัตราการนําขยะของเสียแปลง เปนพลังงานใหม่ การรีไซเคิล และการใช้ซาที ํ สูงขึนเมือเปรียบเทียบกับปริมาณขยะทีลดลงทังประเทศในภาพรวม นอกจากนี เยอรมนียง ั สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ 56 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า/ป (tCO2e) ตังแต่ป พ.ศ. 2533 จากมาตรการห้ามกําจัดขยะอินทรียท ์ ียังไม่ผา่ นการบําบัด มาตรการรีไซเคิล และมาตรการ เก็บเกียวพลังงาน (Energy Harvesting) ดังนัน จึงถือได้วา่ การกําจัดขยะและการบําบัดของเสียในเยอรมนี สามารถทําได้ดี ในป พ.ศ. 2561 อัตราการฟนตัวด้านสิงแวดล้อมเพิมขึนเปน 81% ในขณะที อัตราการรีไซเคิล อยูท ่ ี 69% โดยในป พ.ศ. 2558 เยอรมนีมพ ี นที ื ถมขยะจํานวน 1,143 แห่ง โรงเผาขยะจํานวน 76 แห่ง และ หน่วยจัดการขยะของเสียจํานวน 2,171 แห่ง การเปรียบเทียบอัตราการนําของเสียแปลงเปนพลังงานทีสูงขึนและอัตราการทิงขยะของเสียลดลง

ทีมา: Deutsche Gesellschaft für Internationale Zusammenarbeit (GIZ) GmbH, 2019.

หน้า 32


1. แนวโน้มและเปาหมายการดําเนินการด้านการจัดการขยะของเสีย ในเยอรมนี เปาหมายการจัดการขยะของเยอรมนีดาํ เนินการตามกรอบเศรษฐกิจหมุนเวียนโดยเน้นไปทีการรีไซเคิล การใช้ซาํ และการลดขยะ ตลอดจนมุง ่ เน้นการลดมลภาวะต่อสิงแวดล้อมด้วยการบริหารจัดการขยะของเสีย ในรัฐบัญญัติเศรษฐกิจหมุนเวียน (ฉบับแก้ไขในป พ.ศ. 2555) กําหนดให้การฟนตัวด้านสิงแวดล้อมเปนสิงที ทุกภาคส่วนต้องร่วมดําเนินการตังแต่ป พ.ศ. 2563 เปนต้นไป และตังเปาหมายให้ใช้มาตรการการใช้ซาและ ํ การรีไซเคิลให้ได้อย่างน้อย 65% ของวิธก ี ารจัดการขยะ สิงสําคัญอย่างหนึงในนโยบายจัดการขยะของเสียคือการลดขยะพลาสติกโดยเฉพาะอย่างยิงพลาสติก ทีใช้ครังเดียว ในป พ.ศ. 2561 รัฐมนตรีกระทรวงสิงแวดล้อม (Ms. Svenja Schulze) ได้นาํ เสนอ 5 มาตรการลดขยะพลาสติกซึงมีทังมาตรการทางกฎหมายทีมีผลบังคับใช้และมาตรการทีให้ประชาชน เข้าร่วมด้วยความสมัครใจผ่านการรณรงค์ “สังคมทีไม่มก ี ารทิงขยะพลาสติก” และใช้สโลแกนว่า “ยิงน้อยยิงดี” ดังนี

หน้า 33


วัตถุดิบทีใช้ในการผลิต

รีไซเคิล (RECYCLE) หรือ นําไปใช้ผลิตพลังงาน (ENERGY RECOVERY) โดยผูเ้ ปนแหล่งกําเนิดของเสีย

หลัก เศรษฐกิจ หมุนเวียน CIRCULAR ECONOMY

ผูบ ้ ริโภค & ผูป ้ ระกอบการ: คัดแยกขยะ บริษัท: เก็บขนและนําไปกําจัด

ออกแบบผลิตภัณฑ์ ผลิตโดยใช้วต ั ถุดิบ หรือ ผลิตโดยใช้วส ั ดุรไี ซเคิล จําหน่าย บริโภค ลด (REDUCE) หรือใช้ซาํ (REUSE)

มาตรการที 1 ลดบรรจุ ภัณฑ์และหีบห่อพลาสติกทีไม่จาํ เปน โดยรัฐบาลกลางเยอรมนีสนับสนุนการห้าม ไม่ให้ทิงผลิตภัณฑ์พลาสติก ซึงในระดับชาติจะมีการเจรจากับผูค ้ ้าให้เข้าร่วมดําเนินการ โดยสมัครใจในการลดจํานวนถุงพลาสติกและลดปริมาณบรรจุภัณฑ์พลาสติก

มาตรการที 2 การออกแบบบรรจุ ภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม รัฐบาลจะพิจารณาลดภาษี ให้กับจากบริษัทหรือผูค ้ ้าทีใช้บรรจุภัณฑ์ทีสามารถรีไซเคิลได้ง่ายหรือเปนบรรจุภัณฑ์ทีผลิตจาก วัสดุรไี ซเคิล และกระทรวงสิงแวดล้อมจะกําหนดให้มรี ะบบการออกแบบผลิตภัณฑ์ทีเปนมิตร ต่อสิงแวดล้อมเทียบเคียงกับมาตรฐานการออกแบบผลิตภัณฑ์ทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม ของทวีปยุโรป

หน้า 34


มาตรการที 3 ปรับปรุงการรีไซเคิล ตังแต่ป พ.ศ. 2562 อัตราการรีไซเคิลบรรจุภัณฑ์พลาสติกได้เพิมขึน เปน 58.5% จากเดิมทีมีการรีไซเคิลเพียง 36% โดยตังเปาหมายในป พ.ศ. 2565 การรีไซเคิล บรรจุภัณฑ์พลาสติกจะเพิมเปน 63% และกระทรวงสิงแวดล้อมเริมแผนการรีไซเคิลเพือให้มี การใช้วส ั ดุรไี ซเคิลเพิมมากขึน มาตรการที 4 ปรับปรุงการแยกขยะชีวภาพให้เข้มงวดขึนด้วยการรณรงค์ “ถังขยะชีวภาพเยอรมนี” กระทรวงสิงแวดล้อมจะสนับสนุนชุมชนท้องถินในการให้คําปรึกษาการจัดการขยะของเสีย เพือส่งเสริมการคัดแยกขยะของเสียจากแหล่งกําเนิดให้มค ี ณ ุ ภาพสูงเพือปองกันไม่ให้ ขยะพลาสติกถูกทิงรวมในถังขยะชีวภาพและเพือปองกันไม่ให้ขยะชีวภาพถูกทิงรวมไปกับ

ขยะทัวไป ซึงในปจจุบน ั ขยะชีวภาพจํานวน 50% ได้ถก ู ทิงในถังขยะทัวไปปนกับถุงพลาสติก แก้ว และวัสดุอืน ๆ ในทางกลับกันเมือถังขยะชีวภาพมีขยะชนิดอืนปนทําให้การจัดการต่อยากขึนและ มีประสิทธิภาพลดลง

มาตรการที 5 การมีสว ่ นร่วมระหว่างประเทศในการต่อต้านการทิงขยะลงทะเลและการใช้พลาสติก อย่างยังยืน เพือลดการสร้างมลพิษจากพลาสติกให้แก่สงแวดล้ ิ อมทางทะเล ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2562 กระทรวงสิงแวดล้อมได้ประกาศการห้ามใช้ถง ุ พลาสติกทัวประเทศโดยเริมในป

พ.ศ. 2563 เนืองจากในปจจุบน ั ชาวเยอรมันใช้ถง ุ พลาสติกเปนจํานวน 20 ถุง/คน/ป (ประชากรเยอรมนีป พ.ศ. 2563 มีจาํ นวน 84 ล้านคน คิดเปนการใช้ถง ุ พลาสติกจํานวน 1,680 ล้านถุง/ป) นอกจากนี การจัดการ ขยะยังเปนองค์ประกอบสําคัญอย่างหนึงในแผนยุทธศาสตร์ชาติเพือปกปองสภาพภูมอ ิ ากาศ (German Climate Protection Program 2030) เพือลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากขยะของเสียให้ได้ 5 ล้านตัน

คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า/ป (tCO2e) ในป พ.ศ. 2573 หรือลดลงให้ได้ 50% จากการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกในป พ.ศ. 2559 ซึงหากทําได้เยอรมนีจะสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากขยะของเสีย ได้ถึง 87% เมือเทียบกับตัวเลขในป พ.ศ. 2533

หน้า 35


2. นโยบาย ยุทธศาสตร์ กฎหมายและข้อบังคับการจัดการขยะของเสีย ในเยอรมนี 2.1 นโยบายและยุทธศาตร์การจัดการขยะของเยอรมนี อยูบ ่ นหลักการพืนฐานในการจัดการขยะ 5 ประการ ดังนี

ประการที 1 หลักการปองกันไม่ให้เกิดขยะเปนการจัดลําดับความสําคัญในการจัดการขยะ เริมจากปองกันการเกิดขยะจากแหล่งกําเนิด การใช้ซาํ การรีไซเคิล การฟนคืนของ สิงแวดล้อม และการกําจัดขยะปลายทาง ประการที 2 หลักการผูก ้ ่อให้เกิดขยะเปนผูจ ้ า่ ย (Polluter-Pays Principle) ผูท ้ ําให้เกิดขยะจะต้องเปนผูจ ้ า่ ยค่าดําเนินการจัดการขยะเพือให้มเี งินทุนดําเนินการและ

เปนการสร้างแรงจูงใจให้เปลียนแปลงพฤติกรรมไปสูพ ่ ฤติกรรมทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม

ประการที 3 หลักการปองกันไว้ก่อน รัฐบาลมีหน้าทีในการแทรกแซงมิให้เกิดการทําลายสิงแวดล้อมหรือทําลายสุขภาพของ เพือนมนุษย์

ประการที 4 หลักการลดระยะทาง ขยะควรถูกจัดการหรือกําจัดในสถานทีทีใกล้ทีสุดกับแหล่งกําเนิดขยะเพือหลีกเลียงการขนส่ง

ขยะโดยไม่จาํ เปน อีกทังลดการเกิดมลภาวะต่อสิงแวดล้อมและความเสียงต่าง ๆ ทีอาจเกิดขึน

ประการที 5 หลักการย่อย มีการประเมินผลว่าใครสามารถจัดการขยะได้ดท ี ีสุด มีการคิดต้นทุนกําไรและประสิทธิภาพ โดยคํานวณจากระยะทางจากแหล่งกําเนิดขยะและสถานทีจัดการขยะ

หน้า 36


สิงทีต้องทําเปนลําดับแรก

ปองกันไม่ให้เกิดขยะ ใช้ซาํ รีไซเคิล นํากลับมาสร้าง พลังงาน กําจัด ขยะ

สิงทีต้องทําท้ายสุด

หลักการบริหารจัดการขยะอย่างยังยืนของเยอรมนี

หลักการลดระยะทาง ขยะควรถูกจัดการในสถานทีทีใกล้ทีสุด กับแหล่งกําเนิดขยะ เพือหลีกเลียง การขนส่งขยะ ลดการเกิดมลภาวะต่อ สิงแวดล้อม และความเสียงต่าง ๆ หากจํานวนขยะมีปริมาณมากเกินไป อาจต้องขนส่งขยะไปประเทศอืน

หลักการปองกันไม่ให้เกิดขยะ รัฐมีหน้าทีเข้าแทรกแซงเพือมิให้ มีอันตรายทีเกิดขึนจากการทิงขยะ เช่น รัฐสามารถใช้งบประมาณหรือ เปลียนแปลงโครงสร้างการบริหาร

จัดการขยะเพือให้การบริหารจัดการ ขยะมีประสิทธิภาพสูงขึน

หลักการผูก ้ ่อให้เกิดขยะเปนผูจ ้ า่ ย ผูท ้ ําให้เกิดขยะหรือเจ้าของกิจการจะต้อง เปนผูร้ บ ั ผิดชอบและจ่ายค่าดําเนินการ จัดการขยะ หลักการนีเปนการสร้าง แรงจูงใจให้เปลียนแปลงพฤติกรรม

หลักการย่อยอืน ๆ

การจัดการขยะดําเนินการในระดับ ไปสูพ ่ ฤติกรรมทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม ทีเหมาะสมทีสุดทังภาคเอกชนหรือภาครัฐ และทําให้รฐั มีงบประมาณจัดการขยะ ในระดับชาติหรือระดับท้องถิน การลดต้นทุน เพิมผลกําไรและ ประสิทธิภาพมาจากการลดระยะทาง ระหว่างแหล่งกําเนิดขยะและ หน่วยจัดการขยะ

หลักการพืนฐาน ในการจัดการขยะ

ทีมา: Deutsche Gesellschaft für Internationale Zusammenarbeit (GIZ) GmbH, 2019.

หน้า 37


2.2 การบริหารจัดการขยะในเยอรมนีตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน “เศรษฐกิจหมุนเวียน” เปนสิงสําคัญสูงสุดสําหรับนโยบายด้านสิงแวดล้อมของเยอรมนี ตามยุทธศาสตร์การ บริหารจัดการขยะของประเทศ โดยใช้กลไกทางการตลาดเปนเครืองมือทางนโยบายและส่งเสริมความคิดริเริม ในการบริหารจัดการขยะเพือปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรและลดผลกระทบเชิงลบระหว่างการกําจัด ขยะของเสีย ดังนี

2.2.1 การกําหนดความรับผิดชอบของผูผ ้ ลิต (Product Responsibility Scheme: PRS) ตังอยูบ ่ นแนวคิดทีว่าการปองกันไม่ให้เกิดขยะของเสียจะสามารถทําได้ดท ี ีสุด หากผูผ ้ ลิตต้องเปนผูร้ บ ั ผิดชอบ ต่อปริมาณของเสียทีเกิดขึนทังระหว่างการผลิตและหลังจากการใช้งานแล้ว ดังนัน ผูผ ้ ลิตสินค้าจึงต้อง ออกแบบผลิตภัณฑ์ของตนเพือลดปริมาณของเสียทีจะเกิดขึน รวมถึงต้องพิจารณาขันตอนการจัดการขยะ

ทีเกิดขึน หลังการใช้งานและรับประกันว่าผลิตภัณฑ์นนสามารถนํ ั ากลับมาใช้ใหม่หรือรีไซเคิลได้ หรือสามารถ กําจัดได้ ในกระบวนการทีเปนมิตรต่อสิงแวดล้อม กฎหมายพืนฐานในการกําหนดความรับผิดชอบของผูผ ้ ลิต ได้แก่ พระราชบัญญัติเศรษฐกิจหมุนเวียน

(KrWG) และพระราชบัญญัติกําหนดอํานาจในการควบคุมสังปรับของรัฐบาลกลาง (BlmSchG) ซึงผูผ ้ ลิต ต้องมีความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ใช้แล้ว ยานพาหนะทีหมดอายุการใช้งาน ขยะเครืองใช้ ไฟฟาและอุ ปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ แบตเตอรี และนํามันเสีย

หน้า 38


2.2.2 การกําหนดความรับผิดชอบของผูผ ้ ลิตเพิมขึนในการจัดการซากผลิตภัณฑ์ (Extended Producer Responsibility :EPR) เปนกฎหมายทีเพิมขึนจากการกําหนดความรับผิดชอบของผูผ ้ ลิต (PRS) เปนการเน้นยําความรับผิดชอบของ ผูผ ้ ลิตและผูน ้ าํ เข้าสินค้าทีมีผลกระทบต่อสิงแวดล้อมตลอดวงจรการผลิตทังหมด ตังแต่การเลือกวัสดุทีใช้ใน การผลิต ผลกระทบจากกระบวนการผลิต ผลทีเกิดขึนหลังจากการใช้ผลิตภัณฑ์ของผูบ ้ ริโภค และการจัดการ หรือการกําจัดซากผลิตภัณฑ์ทีใช้แล้ว ภายใต้กฎหมาย EPR ผูผ ้ ลิตจะช่วยสนับสนุนหรือเปนผูจ ้ า่ ยค่าใช้จา่ ยในการเก็บขยะ การขนส่งขยะ การรีไซเคิล การจัดการหรือการกําจัดซากผลิตภัณฑ์ของตนทีผ่านการใช้งานแล้ว ความรับผิดชอบของผูผ ้ ลิตในรูปแบบ

ของการซือคืน การใช้ซาํ หรือการรีไซเคิล เปนการเปดโอกาสให้ผผ ู้ ลิตและผูน ้ าํ เข้าสินค้าสามารถเลือกได้วา่ จะใช้ วิธด ี าํ เนินการใดและทําให้ผผ ู้ ลิตเข้าถึงวัสดุรไี ซเคิลทีจะนําไปสูก ่ ระบวนการผลิตอีกครัง โดยกลุ่มประเทศสมาชิก 31 ประเทศในองค์การเพือความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) ได้นาํ กฎหมายนีไปบังคับใช้ในการจัดการซากผลิตภัณฑ์และ ของเสียอืน ๆ ทีเกิดขึนจากกระบวนการผลิต

ี ว บทบาทของผู้มส ่ นเกียวข้องภายในกระบวนการหมุนเวียนผลิตภัณฑ์และการจัดการของเสีย โรงงานผลิต

ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์

วัสดุสาํ หรับผลิตใหม่

โรงงานรีไซเคิลหรือ แปลงเปนพลังงาน

บรรจุในหีบห่อ

ร้านค้าปลีก

ทีมา: www.expra.eu/en/about/overview

ผูบ ้ ริโภค

บริษัทจัดการของเสีย ทีได้รบ ั อนุญาตให้ดําเนินการ เก็บรวบรวมและคัดแยกขยะ

หน้า 39


2.2.3 ระบบเก็บขยะแบบคู่ของเยอรมนี (Duales System Deutschland Ltd. :DSD) และการพิมพ์โลโก้จุดสีเขียว (Green Dot หรือ Grüne Punkt) บนสินค้า

เปนผลสืบเนืองมาจากรัฐกฤษฎีกาบรรจุภัณฑ์ พ.ศ. 2534 ซึงกําหนดให้การจัดเก็บขยะสามารถดําเนินการได้ โดยหน่วยงานภาครัฐ และ/หรือบริษัทเอกชนทีได้รบ ั อนุญาตซึงบริษัทรับจัดการขยะจะได้รบ ั เงินจากโรงงานผลิต สินค้าเพือเปนผูแ ้ ทนให้ดาํ เนินการบริหารจัดการขยะทีมีโลโก้นตั ี งแต่การเก็บขยะ การคัดแยกขยะ และการรีไซเคิล บรรจุภัณฑ์ทีถูกทิง เมือผูบ ้ ริโภคเห็นโลโก้จุดสีเขียวนีจะทําให้ทราบว่าผูผ ้ ลิตสินค้าให้การสนับสนุนการบริหาร จัดการขยะครบวงจรแต่ไม่ได้หมายความว่าสินค้านันผลิตจากวัสดุรไี ซเคิล

ความรับผิดชอบของผู้ผลิตในการจัดการซากผลิตภัณฑ์ (EPR) ในระบบเก็บขยะแบบคู่ และภาพโลโก้จุดสีเขียว (Green Dot หรือ Grüne Punkt) บนสินค้า

นํายาล้างจาน

โรงงานผลิต และ ตัวแทนจําหน่าย

พอื บเ แบ ้อม อก ดล รอ ว กา สงิ แ

เข า้ ร ว่ ม ใน ระ บบ

กา รส อื ส าร

ผูบ ้ ริโภค

ขวดนํายาล้างจาน

การคัดแยก

ร กา สงั

ขอ้ กํา หน จดั ด ทํา เอ กส าร

ทําให้เปนเม็ดรีไซเคิล

ส่งต่อบรรจุภัณฑ์ทีใช้แล้ว

การจัดเก็บขยะ

ทีมา: Deutsche Gesellschaft für Internationale Zusammenarbeit (GIZ) GmbH, 2019.

หน้า 40


2.2.4 การจ่ายค่ากําจัดขยะตามปริมาณทีเกิดขึนจริง (Pay As-You-Throw: PAYT) เปนเครืองมือทางเศรษฐกิจสําหรับการจัดการขยะซึงประยุกต์จากหลักการผูก ้ ่อมลพิษเปนผูจ ้ า่ ย (Polluter

Pays Principle) โดยเรียกเก็บเงินจากประชาชนตามปริมาณขยะทีครัวเรือนสร้างขึน รูปแบบของการจ่ายค่า กําจัดขยะตามปริมาณทีเกิดขึนจริง ได้แก่ ค่าใช้จา่ ยตามขนาดขยะ ค่าใช้จา่ ยตามจํานวนถุงขยะทีครัวเรือน นําออกมาวางให้จด ั เก็บ ค่าใช้จา่ ยตามนําหนักขยะ ค่าใช้จา่ ยตามจํานวนความถีทีรถขยะมาเก็บขน แต่ละเมือง ในเยอรมนีอาจมีค่าธรรมเนียมการเก็บขยะแตกต่างกันแต่สว่ นใหญ่ครัวเรือนทีมีการคัดแยกขยะก่อนทิง จะจ่ายค่ากําจัดขยะน้อยกว่าการทิงขยะรวมกันโดยไม่คัดแยก

การแยกขยะครัวเรือนของเทศบาลกรุงเบอร์ลิน เยอรมนี

วัสดุทีรีไซเคิลได้ บรรจุภัณฑ์และสิงอืน ทีทําจาก: พลาสติก - บรรจุภัณฑ์ใส่อาหาร - ขวดพลาสติก - ถุงพลาสติก - แก้วพลาสติก - ของใช้อืน ๆ ทีทําจาก พลาสติก โลหะ - กระปองเครืองดืม ฝาขวด - แผ่นฟอยล์ ถาดอลูมเิ นียม - กระทะ มีด เครืองใช้ ครัวเรือน วัสดุผสม - บรรจุภัณฑ์ใส่เครืองดืม - ขวด/กระปองกาแฟ

แก้ว - ขวดแก้ว เช่น ขวดเครืองดืม ขวดนําส้มสายชู และ ขวดนํามัน - เหยือกแก้ว โถแก้ว เช่น โถแยม โถใส่ผก ั ดอง

กระดาษ/กระดาษลัง

ขยะอินทรีย์

- กระดาษหนังสือพิมพ์ นิตยสาร โบรชัวร์ แคตตาล็อก หนังสือ สมุดจด กระดาษขาว - บรรจุภัณฑ์ทีทําจาก กระดาษ เช่น ถุงนําตาล ถุงแปง - กล่องหรือลังใส่สน ิ ค้า

- เปลือกผลไม้และ เนือผลไม้ - เมล็ดกาแฟบดและ กระดาษกรอง - ใบชาและถุงชา - เปลือกไข่ - อาหารเหลือ - ดอกไม้ - ของเสียจากสวน เช่น หญ้า กิงไม้ ใบไม้ - กระดาษทีใช้หอ ่ อาหาร เช่น กระดาษซับนํามัน กระดาษหนังสือพิมพ์

ให้แยกทิงขวดแก้วใส ขวดสี กระจกส่อง แก้วนําและจานชามทีทํา จากแก้วออกจากกัน

ห้ามนําไปทิงรวมกับ อุ ปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หลอดไฟประหยัดพลังงาน แบตเตอรี สิงทอ กล่องไม้

ให้หอ ่ ขยะอินทรียด ์ ว้ ย กระดาษหนังสือพิมพ์ หรือกระดาษทีใช้ในครัว และห้ามใส่ขยะอินทรีย์ ในถุงพลาสติก

ของเสียครัวเรือน - ผลิตภัณฑ์สาํ หรับ สุขอนามัย - ผ้าอนามัย ผ้าอ้อม - จาน - ถุงเก็บฝุน - กระดาษทีสกปรกแล้ว หรือกระดาษเคลือบ - ของเสียจากสัตว์ - เศษวอลล์เปเปอร์ - กระดาษฟอยล์ทีสกปรก - สีทาบ้านทีแห้งแล้ว - ไม้กวาด แปรงปดฝุน - ขีเถ้า เถ้าบุหรี - แผ่นกระจกและ บานหน้าต่าง - ภาพถ่าย ห้ามวางขยะจากการ ก่อสร้างหรือสารมลพิษ ในถังขยะหรือข้างถังขยะ

ทีมา: www.archer-relocation.com/how-to-recycle-in-germany

หน้า 41


2.2.5 การให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ (Public-Private Partnerships: PPP) เปนการลงนามในสัญญาระยะยาวระหว่างหุน ้ ส่วนสองฝายคือภาครัฐและบริษัทเอกชนในการให้บริการจัดการ ขยะและการสร้างโครงสร้างพืนฐานเนืองจากหากภาครัฐเปนผูด ้ าํ เนินการเพียงฝายเดียวจะใช้เงินลงทุนและ มีค่าใช้จา่ ยสูง ในขณะทีหากให้เอกชนเปนผูด ้ าํ เนินการจะช่วยลดขันตอนในการบริหารจัดการและเอกชนสามารถ ทํากําไรจากการร่วมลงทุนนีได้ เช่น การคัดแยกขยะ โรงงานรีไซเคิล โรงงานบําบัดขยะทางชีวภาพ และโรงงาน ผลิตความร้อนจากขยะ เปนต้น โดยบริษัทเอกชนจะเปนผูล ้ งทุนในการก่อสร้างโรงขยะและการดําเนินการ ซึงบริษัทเอกชนจะได้รบ ั ค่าธรรมเนียมในการจัดการขยะทีภาครัฐเรียกเก็บจากประชาชนและผูท ้ ําให้เกิดขยะหรือ บริษัทเอกชนอาจเปนผูจ ้ ด ั เก็บค่าธรรมเนียมด้วยตนเอง ประเด็นทีควรพิจารณาในการอนุญาตให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ คือ (1) การสร้างข้อตกลงระหว่างภาครัฐและเอกชนให้เกิดแรงจูงใจมากพอสําหรับภาคเอกชนในการดําเนินการ อย่างต่อเนืองและรักษาคุณภาพของสถานทีจัดการขยะ (2) ความโปร่งใสและความยุติธรรมระหว่างหุน ้ ส่วนสองฝายและการแข่งขันทางการตลาดเพือลดต้นทุน (3) การมีแหล่งเงินทุนให้เอกชนสามารถดําเนินการได้อย่างต่อเนือง

ในเยอรมนี การร่วมลงทุนจากภาคเอกชนในการบริหารจัดการขยะมีความสําคัญมากขึนเรือย ๆ จากการปฏิรป ู นโยบายและการกําหนดความรับผิดชอบของผูผ ้ ลิตเพิมขึนในการจัดการซากผลิตภัณฑ์ (Extended Producer Responsibility: EPR) ซึงทําให้เกิดการจ้างพนักงานมากกว่า 250,000 คน และมีมูลค่าการซือขายประจําป ประมาณ 5 หมืนล้านยูโร หรือประมาณ 1.91 ล้านล้านบาท (อัตราแลกเปลียนธนาคารแห่งประเทศไทย ณ วันที 13 มิถน ุ ายน 2564: 1 ยูโร เท่ากับ 38.27 บาท) ทีมาภาพ: https://www.worldbiogasassociation.org/biogas-in-germany-maintaining-momentum/

หน้า 42


2.3 กฎหมายและระเบียบข้อบังคับการบริหารจัดการขยะของเสียในเยอรมนี 2.3.1 ระเบียบข้อบังคับการบริหารจัดการขยะของเสียของสหภาพยุโรป สหภาพยุโรปได้ออกระเบียบข้อบังคับสําหรับประเทศสมาชิก 28 ประเทศ ซึงรวมสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีดว้ ย โดย Waste Framework Directive (75/442/EEC) ได้กําหนดคํานิยามของเสีย (waste) ไว้วา่ “สสารหรือวัตถุใดๆ ทีผูค ้ รอบครองกําจัดหรือมีความจําเปนทีจะกําจัด” ซึงจําแนกออกเปน 3 ประเภทตามแหล่งกําเนิด คือ 1) ของเสียชุมชน 2) ของเสียอุ ตสาหกรรม 3) ของเสียจากการเกษตร และยังสามารถจําแนกตามความอันตรายของของเสีย 2 ประเภท คือ ของเสียอันตราย (hazardous waste) และของเสียทีไม่อันตราย (non-hazardous waste) ปจจุบน ั ระเบียบข้อบังคับ EU Waste Framework Directive (2008/98/EC) ถูกใช้เปนกรอบข้อบังคับกลาง สําหรับประเทศสมาชิกเพือกําหนดรายละเอียดการจัดการของเสียในด้านต่าง ๆ ประเด็นสําคัญของระเบียบ ข้อบังคับฉบับนี ได้แก่

1) การกําหนดลําดับชันของเสียตังแต่การปองกันไม่ให้เกิดขยะของเสีย (prevention) การนํากลับมาใช้ใหม่ (reuse) การรีไซเคิล (recycle) และการนํากลับมาใช้ใหม่เพือวัตถุประสงค์อืน เช่น การผลิตพลังงานจากขยะ (recovery) และการกําจัด (disposal) 2) หลักการผูก ้ ่อมลพิษเปนผูจ ้ า่ ย (Polluter Pays Principle) กําหนดให้ผก ู้ ่อให้เกิดขยะของเสียจะต้องจ่ายค่าดําเนินการทีเกิดขึนในการบริหารจัดการขยะ 3) หลักการกําหนดความรับผิดชอบผูผ ้ ลิตเพิมขึนในการจัดการซากผลิตภัณฑ์ (Extended Producer Responsibility: EPR) เปนข้อบังคับให้โรงงานผูผ ้ ลิต ผูจ ้ าํ หน่ายสินค้า และผูน ้ าํ เข้าสินค้าจะต้อง รับคืนและกําจัดผลิตภัณฑ์ ทีผ่านการใช้งานแล้ว 4) แยกความแตกต่างระหว่างขยะของเสียและผลทีตามมาจากการเกิดของเสีย 5) การจัดการของเสียต้องดําเนินการโดยไม่มผ ี ลกระทบต่อนํา อากาศ ดิน พืช หรือสัตว์ และไม่ก่อให้เกิด ความรําคาญจากเสียง กลิน หรือเปนอันตรายต่อพืนทีชนบทและสถานทีเฉพาะแห่ง 6) ผูใ้ ห้กําเนิดของเสียและผูท ้ ีมีของเสียจะต้องดําเนินการจัดการของเสียด้วยตนเองหรือส่งต่อให้กับ ผูป ้ ระกอบการทีได้รบ ั อนุญาตอย่างเปนทางการและได้รบ ั การตรวจสอบตามระยะทีกําหนด

7) หน่วยงานทีรับผิดชอบระดับชาติจะต้องจัดทําแผนการจัดการของเสียและโครงการปองกันไม่ให้เกิดของเสีย 8) ข้อกําหนดทีมีเงือนไขพิเศษจะใช้กับของเสียอันตราย นํามันเสีย และขยะชีวภาพ

หน้า 43


รัฐบัญญัติ ของเสียจากสัตว์ พ.ศ. 2547

รัฐบัญญัติปุย พ.ศ. 2552

รัฐบัญญัติ (TierNebG) (DüMG ) คุ้มครองผลกระทบ จากการปล่อยมลพิษ รัฐกฤษฎีกา รัฐบัญญัติอุปกรณ์ไฟฟา พ.ศ. 2545 หลุมฝงกลบ และอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2552 (BlmSchG) พ.ศ. 2548 รัฐกฤษฎีกาบัญชี จําแนกประเภท ของเสีย พ.ศ. 2544

(ElektroG )

(DepV )

(AVV)

รัฐกฤษฎีกาบรรจุ ภัณฑ์ พ.ศ. 2534

รัฐบัญญัติ เศรษฐกิจหมุนเวียน พ.ศ. 2555

(KrWG)

รัฐกฤษฎีกา ของเสียชีวภาพ พ.ศ. 2556

(BioAbfV)

รัฐบัญญัติ บรรจุ ภัณฑ์ พ.ศ. 2562

(VerpackG)

(VerpackV)

รัฐบัญญัติ การกําจัดของเสีย พ.ศ. 2515

(AbfG)

กฎหมายทีเกียวข้องกับ การจัดการขยะของเสียในเยอรมนี หน้า 44


2.3.2 รัฐบัญญัติเศรษฐกิจหมุนเวียน พ.ศ. 2555 รัฐบัญญัติเศรษฐกิจหมุนเวียนของเยอรมนีทําหน้าทีเปนกฎหมายหลักของรัฐบาลกลาง (Circular Economy Act หรือ KrWG 2012) ใช้ควบคุมการจัดการของเสียในเยอรมนี โดยปรับปรุงขึนจากพระราชบัญญัติ เศรษฐกิจหมุนเวียนและการจัดการของเสีย พ.ศ 2539 (KrW-/AbfG 1996) เพือปฏิบต ั ิตามกฎหมายร่วม ของประเทศสมาชิกในสหภาพยุโรป EU Waste Framework Directive (Directive 2008/98/EC) และ เพือกําหนดความรับผิดชอบของผูผ ้ ลิต โดยให้โรงงานผูผ ้ ลิตมีการออกแบบและผลิตสินค้าทีช่วยหลีกเลียง มิให้เกิดของเสียและทําให้สน ิ ค้าทีผ่านการใช้งานจากผูบ ้ ริโภคเข้าสูก ่ ระบวนการรีไซเคิลอย่างราบรืน ทังนี ความรับผิดชอบของผูผ ้ ลิตมีทังส่วนทีต้องดําเนินการตามกฎหมายและส่วนทีดําเนินการเองโดยความสมัครใจ ของผูผ ้ ลิตและผูจ ้ ด ั จําหน่าย ของเสียทีกําหนดในรัฐบัญญัติเศรษฐกิจหมุนเวียน จําแนกเปน 2 ประเภท ดังนี (1) ของเสียทีสามารถนําไปรีไซเคิลหรือนําไปใช้ผลิตพลังงานเปนความรับผิดชอบของเจ้าของขยะของเสีย หรือผูเ้ ปนแหล่งกําเนิดของเสีย (2) ของเสียทีนําไปกําจัดเปนความรับผิดชอบของผูป ้ ระกอบการกําจัดขยะ นอกจากนี เพือส่งเสริมการรีไซเคิล พระราชบัญญัติเศรษฐกิจหมุนเวียนกําหนดให้เทศบาลทังหมดในเยอรมนี ต้องดําเนินการคัดแยกขยะและจัดเก็บตามประเภท เช่น ขยะชีวภาพ กระดาษ โลหะ พลาสติก และแก้ว รายละเอียดข้อกําหนดของขยะแต่ละประเภทมีระบุไว้ในกฎหมายจําเพาะ เช่น กฎหมายเกียวกับขยะชีวภาพ กฎหมายการฝงกลบ รัฐบัญญัติบรรจุภัณฑ์ ฯลฯ

หลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)

วัตถุดิบ

ทีมา: https://images.app.goo.gl/zsT4yCX6tTPGCwTn7

พลาสติก

โลหะ

สารเคมี

วัสดุรไี ซเคิล

การผลิต ส่วนประกอบย่อย ส่วนประกอบ การผลิต

พลาสติก โลหะ แก้ว ฯลฯ

การบําบัด ของเสีย ฝงกลบ

การออกแบบ และการผลิต ใช้ซาํ

เผา

ออกแบบ ผลิต

รีไซเคิล

การซือและใช้ ภาครัฐ ซ่อมแซม

การจําหน่าย และขายปลีก

ภาคธุรกิจ

ครัวเรือน

ร้านค้า

ขนส่ง

หน้า 45


2.3.3 รัฐกฤษฎีกาบัญชีจาํ แนกประเภทของเสีย พ.ศ. 2544 รัฐกฤษฎีกาบัญชีจาํ แนกประเภทของเสีย (Waste Catalogue Ordinance หรือ AVV 2001) ประกาศใช้ เมือวันที 10 ธันวาคม พ.ศ. 2544 เพือดําเนินการตามข้อกําหนดของสหภาพยุโรป European Waste Catalogue (EWC) ในการจําแนกประเภทของเสียทีจําเปนต้องติดตามตรวจสอบหรือไม่จาํ เปนต้องตรวจสอบ พร้อมทังกําหนดคุณลักษณะประเภทของเสียอันตราย 232 ชนิด ทีต้องปฏิบต ั ิตามแนวทางในการจัดการ ของเสียเพือให้ผผ ู้ ลิตหรือเจ้าของของเสียรับผิดชอบในการดําเนินการตามกฎหมาย 2.3.4 รัฐกฤษฎีกาของเสียชีวภาพ พ.ศ. 2556 รัฐกฤษฎีกาของเสียชีวภาพเปนกฎหมายทีสืบเนืองจากรัฐบัญญัติเศรษฐกิจหมุนเวียนของเยอรมนีเพือควบคุม การรีไซเคิลและการนํากลับมาใช้ใหม่ของขยะอินทรียท ์ ีผ่านกระบวนการบําบัดแล้ว เช่น การทําปุยหมัก การย่อย สลาย และขยะอินทรียส ์ ดทีใช้ประโยชน์บนทีดินเพือวัตถุประสงค์ในการจัดสวนและการทําเกษตรกรรม โดยระบุ หน้าทีความรับผิดชอบของทุกฝายทีเกียวข้องทังในการผลิต การรวบรวม การขนส่ง การบําบัด และการใช้ ของเสียชีวภาพ รัฐกฤษฎีกาของเสียชีวภาพประกอบด้วยข้อมูลและข้อกําหนดเกียวกับวัสดุทีนํามาใช้ดาํ เนินการ กระบวนการ คุณภาพ โรคและความปลอดภัยของพืช ข้อจํากัดของสารปนเปอน ปริมาณโลหะหนักและสาร แปลกปลอมในผลิตภัณฑ์ทีใช้ในการบําบัดของเสียชีวภาพ และข้อกําหนดเงือนไขการใช้งานของเสียชีวภาพ

ถังรีไซเคิลอัตโนมัติเพือทําเปนปุย ผลิตโดย บริษัท KALEA GmbH เยอรมนี

ทีมา: https://www.indiegogo.com/projects/kalea-turn-kitchen-waste-into-compost-in-only-48h#/

การผลิตก๊าซชีวภาพเพือใช้เปนเชือเพลิงรถยนต์จากเศษอาหาร

ทีมา: www.dw.com/en/fill-the-tank-with-biogas-from-food-waste/a-15847820

หน้า 46


2.3.5 ปุย (1) ระเบียบข้อบังคับสหภาพยุโรปว่าด้วยปุย (EU Fertilizer Regulation 2003/2003/ EC) ให้คําจํากัดความ ปุย หมายถึง วัสดุทีทําหน้าทีหลักในการให้สารอาหารแก่พช ื ทีต้องควบคุมทังกระบวนการผลิต องค์ประกอบปุย วัสดุทีได้รบ ั อนุญาตให้ใส่ ปริมาณ ประสิทธิภาพของสารอาหาร จํากัดปริมาณสารทีไม่ พึงประสงค์ รวมถึงข้อกําหนดเกียวกับบรรจุภัณฑ์ทีระบุชนิดสารประกอบบนฉลาก ปจจุบน ั สหภาพยุโรปกําลัง ดําเนินการปรับปรุงระเบียบฉบับนี โดยจะเพิมการส่งเสริมการใช้ปุยอินทรียแ ์ ละปุยทีทําจากของเสียอืน ๆ ทีได้ การรับรองมาตรฐานความปลอดภัยและการปกปองสิงแวดล้อมในระดับสูงเพือบรรลุวต ั ถุประสงค์เศรษฐกิจ หมุนเวียน (2) รัฐบัญญัติปุย พ.ศ. 2552 (Fertilizer Act หรือ DE DüMG 2009) ปรับปรุงจากรัฐบัญญัติปุย พ.ศ. 2520 (DE DüngMG 1977) เพือใช้ควบคุมทังการวางจําหน่ายปุยในตลาด และกระบวนการใส่ปุย โดยเปาหมายสําคัญของการใช้ปุยคือการสร้างความอุ ดมสมบูรณ์ของดิน

(3) รัฐกฤษฎีกาปุย พ.ศ. 2555 (Düngeverordnung: DüMV 2012) เปนกฎหมายทีสืบเนืองจากรัฐบัญญัติปุย พ.ศ. 2552 เพือควบคุมการใช้ปุย สารเติมแต่งทีใช้ในการปรับปรุงดิน และสารเร่งพืชโตโดยระบุค่าความคลาดเคลือนขันตําทียอมรับได้หากมีสารปนเปอนในส่วนประกอบของปุย เช่น โลหะหนัก และควบคุมการติดฉลากปุย

ุ ครองดิน พ.ศ. 2542 (Federal Soil Protection Act หรือ DE BBodSchG 1999) และ (4) รัฐบัญญัติค้ม รัฐกฤษฎีกาคุ้มครองดิน พ.ศ. 2542 (Federal SoilProtection Ordinance หรือ DE BBodSchV 1999) เปนกฎหมายเกียวกับการปกปองคุ้มครองดินเพือให้บรรลุเปาหมายในการรักษาความยังยืนหรือฟนฟู การทํางาน ของดินให้มป ี ระสิทธิภาพดีขน ึ ผลสืบเนืองจากกฎหมายทังสอบฉบับนีทําให้มรี ฐั กฤษฎีกาของเสียชีวภาพ พ.ศ. 2556

หน้า 47


2.3.6 ของเสียจากสัตว์ (1) ระเบียบข้อบังคับสหภาพยุโรปว่าด้วยของเสียจากสัตว์ พ.ศ. 2552 (EU Animal By-Products Regulation: 1069/2009/EC) เปนข้อกําหนดเฉพาะของเสียจากสัตว์ทีได้รบ ั อนุญาตให้ปอนเข้าไปในโรงหมักปุยและโรงเทคโนโลยีการ ย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Digestion Facilities) ประกอบการใช้ระเบียบข้อบังคับ สหภาพยุโรปว่าด้วยปุย (EU Fertilizer Regulation 2003/2003/ EC) เพือนําผลผลิตทีได้ไปใช้ประโยชน์ ด้านการเกษตร

(2) รัฐบัญญัติของเสียจากสัตว์ พ.ศ. 2547 (Animal By-Products Disposal Act หรือ DE TierNebG 2004) และ

รัฐกฤษฎีกาของเสียจากสัตว์ พ.ศ. 2549 (Animal By-Products Disposal Ordinance หรือ DE TierNebV 2006) เปนกฎหมายทีเยอรมนีใช้เสริมการบังคับใช้ระเบียบข้อบังคับสหภาพยุโรปว่าด้วยปุย รัฐกฤษฎีกาของเสีย

จากสัตว์จาํ แนกของเสียจากสัตว์เปน 3 ประเภทตามระดับความเสียงทีเปนอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ และสัตว์ซงมี ึ วธ ิ ก ี ารกําจัดทีแตกต่างกัน เช่น ใช้เปนอาหารสัตว์ นําไปทําปุยหมัก บําบัดแบบไม่ใช้ออกซิเจน หรือนําไปเผา เปนต้น

หน้า 48


2.3.7 ของเสียจากบรรจุ ภัณฑ์และหีบห่อ (1) ระเบียบข้อบังคับสหภาพยุโรปว่าด้วยของเสียจากบรรจุ ภัณฑ์และหีบห่อ พ.ศ. 2537 และฉบับแก้ไข

พ.ศ. 2561 (European Directive on Packaging and Packaging Waste: PPWD 94/62/EC) มีเปาหมายเพือปองกันไม่ให้มข ี องเสียจากบรรจุภัณฑ์ตังแต่แรกและเพือนําของเสียจากบรรจุภัณฑ์ที หลีกเลียงไม่ได้กลับมาใช้ใหม่ซงจะช่ ึ วยลดจํานวนของเสียจากบรรจุภัณฑ์ทีต้องนําไปกําจัดในขันตอนสุดท้าย

(2) ระเบียบข้อบังคับสหภาพยุโรปว่าด้วยการลดการใช้ถง ุ พลาสติกนําหนักเบา (European Directive on Reducing the Consumption of Lightweight Plastic Carrier Bags 2015/720) กําหนดให้ลดการใช้ถง ุ พลาสติกให้เหลือไม่เกิน 90 หน่วยต่อคนต่อปภายในป พ.ศ. 2562 และ ลดการใช้ถง ุ พลาสติกให้เหลือไม่เกิน 40 หน่วยต่อคนต่อปภายในป พ.ศ. 2568 (3) รัฐบัญญัติบรรจุ ภัณฑ์ พ.ศ. 2562 (Packaging Act หรือ VerpackG) ประกาศใช้เมือวันที 1 มกราคม พ.ศ. 2562 แทนรัฐกฤษฎีกาบรรจุภัณฑ์ พ.ศ. 2541 โดยมีผลบังคับให้ ผูผ ้ ลิต ผูน ้ าํ เข้า ผูจ ้ ด ั จําหน่าย และผูค ้ ้าปลีกออนไลน์ทก ุ รายทีนําสินค้ามาจําหน่ายให้กับผูบ ้ ริโภคเข้าร่วมระบบ เก็บขยะแบบคู่ของเยอรมนี (Duales System Deutschland Ltd. :DSD) เพือนําบรรจุภัณฑ์ทีผ่านการ บริโภคกลับมาใช้ใหม่ นําไปรีไซเคิล หรือเข้าสูก ่ ระบวนการกําจัดอย่างมีประสิทธิภาพ ซึงรัฐบาลเยอรมนี ตังเปาหมายการรีไซเคิลบรรจุภัณฑ์ต่างๆ ให้ได้ 63% ภายในป พ.ศ. 2565 (จากปจจุบน ั 36%) โดยวัสดุ ทีนําไปรีไซเคิล 90% จะมาจากโลหะ แก้ว กระดาษ และกระดาษแข็ง

ใบรับรองด้านสิงแวดล้อม

ฉลากออนไลน์

โลโก้ GRÜNE PUNKT สําหรับติดบนผลิตภัณฑ์

ระบบการแจ้งเตือนข้อปฏิบต ั ิ และวันครบกําหนดชําระ ทีมา: https://www.gruener-punkt.de/en

หน้า 49


การเปลียนแปลงกฎหมายทีสําคัญทีระบุไว้ในรัฐบัญญัติบรรจุภัณฑ์ พ.ศ. 2562 ได้แก่ - การจัดตังหน่วยงานระดับชาติแบบรวมศูนย์ทีชือ “Central Point”โดยผูผ ้ ลิตและสมาคมผูค ้ ้าทีเกียวข้อง มีหน้าทีรับผิดชอบในการกํากับดูแลการลงทะเบียนบรรจุภัณฑ์ บริหารจัดการข้อมูล และดําเนินการเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารเพือให้เกิดความโปร่งใสอย่างสมบูรณ์ - ข้อกําหนดใหม่ในการลงทะเบียนผลิตภัณฑ์กําหนดให้ผผ ู้ ลิตทุกรายต้องลงทะเบียนสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ ในฐานข้อมูลของหน่วยงาน “Central Point” ก่อนนําผลิตภัณฑ์ออกสูต ่ ลาด ผลิตภัณฑ์ทีไม่ได้ลงทะเบียน จะไม่สามารถนําไปจัดจําหน่ายได้ - ข้อกําหนดใหม่กําหนดให้ผผ ู้ ลิตทุกรายทีอยูภ ่ ายใต้กฎหมาย VerpackG มีหน้าทีต้องรายงานปริมาณและ ชนิดวัสดุของบรรจุภัณฑ์ทีวางจําหน่ายในตลาดไปยังหน่วยงาน “Central Point” และรายงานข้อมูลคู่ค้า ของตนทีเข้าร่วมระบบเก็บขยะแบบคู่ของเยอรมนี (Duales System Deutschland Ltd.: DSD) - การละเมิดรัฐบัญญัติบรรจุภัณฑ์ พ.ศ. 2562 กําหนดค่าปรับสูงสุด 200,000 ยูโร หรือ 7,654,000 บาท (อัตราแลกเปลียนธนาคารแห่งประเทศไทย ณ วันที 13 มิถน ุ ายน 2564: 1 ยูโร เท่ากับ 38.27 บาท) วัสดุสอดไส้ บับเบิลกันกระแทก กระดาษทิชชู ่ เบาะลม วัสดุรองพืน แผ่นโพลีสไตรีน

กระดาษลัง

เชือก/สายรัด เทปกาว

วัสดุทีใช้ในหีบห่อทีผูค ้ ้าต้องนํากลับไปดําเนินการรีไซเคิลหรือนําไปกําจัด ทีมา: https://getbyrd.com/en/blog/german-packaging-law-ecommerce

หน้า 50


สําหรับผูบ ้ ริโภคเมือซือผลิตภัณฑ์ทีกฎหมายกําหนดให้ผผ ู้ ลิต ผูน ้ ําเข้า ผูจ ้ ด ั จําหน่ายและผูค ้ ้าปลีกออนไลน์ เข้าร่วมระบบเก็บขยะแบบคู่ของเยอรมนี (Duales System Deutschland Ltd. :DSD) ต้องรับคืนไปรีไซเคิล หรือกําจัด ได้แก่ ขวดเบียร์ ขวดเครืองดืมทีเปนขวดแก้วหรือขวดพลาสติก กระปองอลูมเิ นียม ขวดนําทีเปน ขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ขวดโยเกิรต ์ ยีห้อ “Landliebe” และบรรจุภัณฑ์ทีมีโลโก้ “Mehrweg” ผูบ ้ ริโภค จะต้องจ่ายเงินมัดจํา (Pfand) สําหรับขวดหรือกระปองนัน ๆ ให้กับร้านค้า เมือผูบ ้ ริโภคนําขวดเปล่าไปคืนที จุดรับ เช่น ซูเปอร์มาร์เก็ต ร้านขายของชํา ร้านขายสุรา หรือตู้รบ ั อัตโนมัติ ผูบ ้ ริโภคจะได้รบ ั เงินมัดจําคืนหรือ สามารถนําบรรจุภัณฑ์ไปบริจาคให้กับองค์กรการกุศล

บรรจุภัณฑ์ทีนําไปใช้ซาได้ ํ หลายครังและมีสองโลโก้นี จะได้รบ ั คืน 8 – 15 เซ็นต์

บรรจุภัณฑ์ใช้ได้ครังเดียวและมีสองโลโก้นจะได้ ี รบ ั คืน 25 เซ็นต์

ทีมา: https://allaboutberlin.com/guides/pfand-bottles

ตู้รบ ั อัตโนมัติทีรับคืนบรรจุภัณฑ์ในเยอรมนี

หน้า 51


2.3.8 ของเสียอิเล็กทรอนิกส์ (1) ระเบียบข้อบังคับสหภาพยุโรปว่าด้วยของเสียอันตราย (European Directive on Restriction of Hazardous Substances หรือ RoHS 2 Directive 2011/95/EC) จํากัดการใช้สารอันตรายบางอย่างในการผลิตอุ ปกรณ์ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์ (2) ระเบียบข้อบังคับสหภาพยุโรปว่าด้วยของเสียอุ ปกรณ์ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์ (European Directive on Waste Electrical and Electronic Equipment หรือ WEEE Directive 2012/19/EU) กําหนดเปาหมายในการเก็บรวบรวม การรีไซเคิล และการนําไปแปลงเปนพลังงานจาก ผลิตภัณฑ์ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์ทก ุ ประเภททีวางขายในตลาด (3) ระเบียบข้อบังคับสหภาพยุโรปว่าด้วยแบตเตอรีและถังสะสมพลังงาน

(European Directive on Batteries and Accumulators หรือ Directive 2013/56/EU) มีจุดมุง ่ หมาย เพือปรับปรุง การจัดการของเสียและประสิทธิภาพด้านสิงแวดล้อมของแบตเตอรีและถังสะสมพลังงาน โดยกําหนดเกณฑ์การรวบรวม การรีไซเคิล การนําไปแปลงเปนพลังงาน และการกําจัดแบตเตอรีและ ถังสะสมพลังงาน และการตังค่าขีดจํากัดสําหรับสารอันตรายบางชนิด โดยเฉพาะสารปรอทและแคดเมียม ทีห้ามแบตเตอรีหรือถังสะสมพลังงานมีปรอทมากกว่า 0.0005% และแคดเมียม 0.002% ต่อนําหนัก

(4) รัฐบัญญัติอุปกรณ์ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2548 (Electrical and Electronic Equipment Act หรือ ElektroG) ระบุให้ผผ ู้ ลิต ผูน ้ าํ เข้า และผูจ ้ ด ั จําหน่าย รับผิดชอบนําอุ ปกรณ์ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์ทีหมดสภาพกลับและกําจัดทิง ส่วนผูบ ้ ริโภคสามารถส่งคืน อุ ปกรณ์ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์ไว้ทีจุดรวบรวมใกล้บา้ นโดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย

ทีมา: https://www.alamy.com/search.html?qt=electronic%20recycling%20company%20germany&imgt=0

หน้า 52


หลุมฝงกลบเมืองฮัมบูรก ์ เยอรมนี

2.3.9 การนําขยะไปฝงกลบ (1) ระเบียบข้อบังคับสหภาพยุโรปว่าด้วยหลุมฝงกลบ พ.ศ. 2542 (European Directive on Landfill หรือ Directive 1999/31/EC) ใช้ควบคุมการจัดการหลุมฝงกลบ ขยะในสหภาพยุโรป 3 ประเภท ได้แก่ หลุมฝงกลบสําหรับของเสียอันตราย หลุมฝงกลบสําหรับของเสีย ทีไม่เปนอันตราย และหลุมฝงกลบสําหรับของเสียทีไม่ยอ ่ ยสลาย และระบุประเภทของขยะทีถูกห้ามไม่ให้ทิง ในหลุมฝงกลบ ซึงต้องนํากลับมาใช้ใหม่ รีไซเคิล หรือกําจัดด้วยวิธอ ี ืน เช่น ของเสียทีเปนของเหลว ของเสียทีติดไฟได้ ของเสียติดเชือจากโรงพยาบาลและคลินก ิ ยางรถยนต์ใช้แล้ว ฯลฯ

การฝงกลบมีมาตรฐาน ดังนี - ของเสียต้องได้รบ ั การบําบัดก่อนนําไปฝงกลบ - ของเสียอันตรายตามคําจํากัดความต้องถูกนําไปกําจัดทีหลุมฝงกลบขยะอันตรายเท่านัน - หลุมฝงกลบสําหรับของเสียทีไม่เปนอันตรายให้ใช้สาํ หรับของเสียเทศบาลและของเสียทีไม่เปนอันตราย - หลุมฝงกลบสําหรับของเสียทีไม่ยอ ่ ยสลายใช้สาํ หรับของเสียทีไม่ยอ ่ ยสลายเท่านัน วัตถุประสงค์หลักของระเบียบข้อบังคับนี ได้แก่

1) เพือปองกันหรือลดผลกระทบทางลบต่อสิงแวดล้อมให้มากทีสุด โดยเฉพาะอย่างยิงมลภาวะทีเกิดกับนํา ผิวดิน นําใต้ดน ิ ดิน อากาศ และสิงแวดล้อมโลก รวมถึงผลกระทบจากภาวะเรือนกระจกทีมีผลเสีย ต่อสุขภาพของมนุษย์ 2) เพือปองกันการปล่อยก๊าซมีเทนจากหลุมฝงกลบและช่วยลดความร้อนของชันบรรยากาศของโลก

(2) รัฐกฤษฎีกาหลุมฝงกลบ พ.ศ. 2552 (Landfill Ordinance หรือ DE DepV 2009) กําหนดระเบียบ ในการออกแบบ ก่อสร้าง ดําเนินงาน บํารุงรักษา และรือถอนหลุมฝงกลบ ซึงหลุมฝงกลบจําแนกเปน 5 ประเภท ขึนอยูก ่ ับความอันตรายของขยะของเสียทีนํามาฝงกลบ ดังนี - หลุมฝงกลบประเภทศูนย์ เปนหลุมฝงกลบเหนือพืนดินสําหรับของเสียทีไม่ยอ ่ ยสลาย - หลุมฝงกลบประเภททีหนึงและประเภททีสอง เปนหลุมฝงกลบสําหรับของเสียทีไม่เปนอันตราย และรวมถึงของเสียครัวเรือนและของเสียอุ ตสาหกรรมทีบําบัดแล้วโดยการเผา - หลุมฝงกลบประเภททีสาม เปนหลุมฝงกลบเหนือพืนดินสําหรับของเสียอันตราย - หลุมฝงกลบประเภททีสี เปนหลุมฝงกลบใต้ดน ิ สําหรับของเสียอันตราย

หน้า 53


2.3.10 การประกันคุณภาพปุยหมักและกากทีเหลือจากการหมัก (1) การประกันคุณภาพปุยหมักและกากทีเหลือจากการหมักของสหภาพยุโรป (European Quality Assurance Scheme (QAS) for Compost and Digestate 2010) ใช้ในการประกัน คุณภาพการทําปุยหมักและการบําบัดของเสียแบบไม่ใช้ออกซิเจนเพือเพิมการนําของเสียไปรีไซเคิลและ ลดปริมาณของเสียชีวภาพย่อยสลายได้ทีจะถูกนําไปยังหลุมฝงกลบ รวมถึงมีการให้รางวัลแก่องค์กรทีมี ความสามารถในการควบคุมคุณภาพของปุยหมักและและกากทีเหลือจากการหมัก (2) การประกันคุณภาพปุยหมักและกากทีเหลือจากการหมักของเยอรมนี (Quality Assurance System (QAS) for Compost & Digestate from Bio-waste 1989) เริมดําเนินการในป พ.ศ. 2532 เพือประกันคุณภาพของปุยหมักและกากทีเหลือจากการหมัก รวมทัง เพือให้มก ี ารปฏิบต ั ิตามมาตรฐานและกฎหมายทีเกียวข้อง ระบบนีประกอบด้วย 2 หน่วยงาน คือ - The German Institute for Quality Assurance and Certification (RAL) ทําหน้าทีพัฒนามาตรฐาน การประกันคุณภาพปุยหมักและกากทีเหลือจากการหมัก

- Bundes gütegemeinschaft Kompost e.V. (BGK) ทําหน้าทีนํามาตรฐานประกันคุณภาพปุยหมักและกาก ทีเหลือจากการหมักไปใช้รบ ั รองตามข้อกําหนดด้านคุณภาพ แต่งตังทีปรึกษาด้านคุณภาพ ดูแลการทํางานของ ผูป ้ ระกอบการโรงงาน และมอบรางวัลฉลากคุณภาพ RAL โดยปุยหมักและกากทีเหลือจากการหมักทีผ่าน มาตรฐานจะต้องไม่เปนอันตราย มีประโยชน์ มีรป ู ลักษณ์ทีดีนา่ เชือถือ และเปนทีต้องการของตลาด

2.3.11 การปล่อยมลพิษ (1) ระเบียบข้อบังคับสหภาพยุโรปว่าด้วยการปล่อยมลพิษทางอุ ตสาหกรรม พ.ศ. 2553 (Industrial Emissions Directive หรือ Directive 2010/75/EU) ใช้ควบคุมและลดการปล่อยมลพิษ จากการผลิตของภาคอุ ตสาหกรรมโดยใช้แนวทางบูรณาการระหว่างการนําเทคโนโลยีทีดีทีสุดทีมีอยูม ่ าใช้ (Best Available Technology: BAT) และหลักการผูก ้ ่อให้เกิดขยะเปนผูจ ้ า่ ย (Polluter-Pays Principle) ซึงโรงเผาขยะและหลุมฝงกลบต้องดําเนินการตามระเบียบนีด้วย ุ ครองผลกระทบจากการปล่อยมลพิษ พ.ศ. 2545 (2) รัฐบัญญัติค้ม

(Federal Emission Protection Act หรือ DE BlmSchG 2002) กําหนดความคุ้มครองให้แก่สงแวดล้ ิ อม ประชาชน สัตว์ พืช ดิน นํา บรรยากาศ และมรดกทางวัฒนธรรมทีได้รบ ั ผลกระทบจากการปล่อยมลพิษและ การจัดการของเสีย (โดยเฉพาะอย่างยิงโรงเผาขยะ) โดยใช้หลักการปองกันไว้ก่อนและหลักการผูก ้ ่อให้เกิด ขยะเปนผูจ ้ า่ ย (Polluter-Pays Principle)

โรงงานผลิตรถยนต์ Audi ทีเมือง Neckarsulm แคว้นบาวาเรีย เยอรมนี ทีมา: https://www.audi-mediacenter.com/en/audi-at-the-neckarsulm-site-5557

หน้า 54


2.3.12 การขนส่งของเสียออกนอกประเทศ (1) ข้อกําหนดของสหภาพยุโรปว่าด้วยการขนส่งของเสีย พ.ศ. 2549 (EU Regulation on the Shipment of Waste 1013/2006/EC) กฎหมายนีสร้างขึนจากอนุสญ ั ญา บาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลือนย้ายข้ามแดนของเสียอันตรายและการกําจัดเพือกําหนดเงือนไข ของเสียทีสามารถขนส่งได้ระหว่างประเทศในสหภาพยุโรป รวมทังกําหนดขันตอนและการควบคุม ซึงขึนอยูก ่ ับแหล่งกําเนิดของเสีย ประเภทของของเสีย เส้นทาง ปลายทางการขนส่ง และลักษณะ การบําบัดทีจะนําไปใช้กับของเสียทีประเทศปลายทาง

(2) รัฐบัญญัติการขนส่งของเสีย พ.ศ. 2550 (Waste Shipment Act หรือ AbfVerbrG 2007) และ

รัฐกฤษฎีกาค่าธรรมเนียมการขนส่งของเสีย (Waste Shipment Fees Ordinance หรือ AbfVerbrBußV)) รัฐบาลเยอรมนีได้นาํ ข้อกําหนดของสหภาพยุโรปว่าด้วยการขนส่งของเสีย พ.ศ. 2549 มาออกกฎหมายรัฐบัญญัติการขนส่งของเสีย พ.ศ. 2550 และออกรัฐกฤษฎีกาค่าธรรมเนียมการขนส่ง ของเสียเพือให้แต่ละรัฐกําหนดค่าใช้จา่ ยในการนําเข้าและส่งออกของเสีย

หน้า 55


2.3.13 กฎหมายอืน ๆ (1) รัฐกฤษฎีกาว่าด้วยเจ้าหน้าทีจัดการของเสีย (Ordinance on Waste Management Officers หรือ DE AbfBeauftrV 2016) กําหนดให้บริษัทต่าง ๆ แต่งตังเจ้าหน้าทีจัดการของเสียเพือทําหน้าทีเปนทีปรึกษาในเรืองเศรษฐกิจหมุนเวียน โดยเฉพาะอย่างยิง การปองกันไม่ให้เกิดขยะทีต้นทาง การรีไซเคิล และการกําจัดของเสีย และเจ้าหน้าทีจัดการของเสียต้อง เข้ารับการฝกอบรมอย่างน้อยทุกสองป (2) รัฐกฤษฎีกาว่าด้วยบริษัทกําจัดของเสีย องค์กรตรวจสอบด้านเทคนิค และชุมชนการจัดการของเสีย (Ordinance on Waste Disposal Companies, Technical Monitoring Organizations and Waste Management Communities หรือ EfbV 2017) ทําหน้าทีควบคุมบริษัทกําจัดของเสียและหน่วยงานรัฐ ทีดําเนินการรวบรวม ขนส่ง จัดเก็บ บําบัด รีไซเคิล กําจัดของเสีย หรือนําไปขาย ต้องดําเนินการตามทีระบุ ในกฎหมาย

(3) รัฐกฤษฎีกาว่าด้วยด้วยของเสียเชิงพาณิชย์ พ.ศ. 2546

(Commercial Waste Ordinance หรือ GewAbfV 2003) กํากับการบริหารจัดการของเสียเทศบาล ทีเกิดจากกิจกรรมด้านพาณิชยกรรม โดยผูป ้ ระกอบธุรกิจจะต้องดําเนินการคัดแยกของเสียทีแหล่งกําเนิด เพือให้มก ี ารนําไปรีไซเคิลให้ได้มากทีสุด 5 ประเภท ได้แก่ กระดาษ แก้ว พลาสติก โลหะ และขยะชีวภาพ นอกจากนี รัฐกฤษฎีกาว่าด้วยของเสียเชิงพาณิชย์ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ได้เพิมของเสียอีก 2 ประเภท ทีผูป ้ ระกอบการต้องคัดแยก ได้แก่ ไม้และสิงทอ

หน้า 56


TOGETHER WE CAN MAKE DIFFERENCES.

Thank you for caring and saving our planet earth.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.