หมู่บ้านป่าเหลื่อม

Page 1

ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านป่าเหลื่อม ตาบลดอนช้าง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น



โอทอปนวัตวิถี ชุมชนท่องเที่ยว บ้านป่าเหลื่อม หมู่ 2 ตาบลดอนช้าง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น


“เสียง...นกกาเจื้อยแจ้วแว่วหวาน เพลงรักชาวโนนจาน แบ่งบานนวลทองส่องฟ้ า

ลมเฉียดผิวพื้นแอ่งแสงระยิบตา ปลาน้อยแหวกว่ายธารา สาดซาคลืน่ ซัดหาดทราย ต่างยินดี ทีม่ บี ุญได้พบกัน ร่วมเกีย่ วสัญญาสัมพันธ์

รักมัน่

สองเราไม่คลาย”

“เรือลาน้อย ล่องลอยพาเทีย่ วสุขใจ เทีย่ วแก่งแดนทองวิไล สุขใจไหนเลยจะบาน เพลิน...เทีย่ วชมโนนจานไม้ดอก เทีย่ วโนนหมาจอก

สุขสันต์ “

หยอกเอินแสนเพลิน


“ตะวันบ่ายคล ้อย ล่องลอยลับทิวไม้นัน่ เหมือนเตือนว่าต้องจากกัน อย่าจาบัลพีเ่ อ๋ยน้องตรม

โบกมือลา...สัญญาจาไว้คนดี จากกันทีโ่ นนข ้าวจี ่ อย่ามีใจเลือ่ นแปรผัน อย่าลืมคารักเก่าทีเ่ คยเว้ากัน วันชื้นคืนเคยสุขสันต์ โนนจาน

มนต์รกั แห่งใจ”

เพลงประจำหมู่บ ้ำนบ้ำนป่ ำเหลือ่ ม : มนต์รกั โนนจำน


ประวัติความเป็นมาและภูมิหลังของชุมชน

บ้านป่าเหลื่อมหมู่ที่ 2 ตาบลดอนช้าง อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ก่อตั้ง เมื่อปีพุทธศักราช 2465 โดยแยกออกจากบ้านดอนช้าง หมู่ที่ 1 ต่อมาปีพุทธศักราช 2483 ได้มีการตั้ง ที่พักสงฆ์ขึ้น โดยการนาของ พ่อบุญสาย พ่อสอน พ่อสี พ่อโม พ่อพรมมา พ่อผง พ่อคาดี พ่อช่วย พ่อมี และชาวบ้าน โดยใช้ที่ดินที่รกร้าง ว่างเปล่าไม่มีผู้จับจองเป็นที่พักสงฆ์ และนิมนต์ พระเกียง ประทุมรัตน์ มาจา พรรษา ต่อมา พ่อมี พ่อสอน และพ่อผง ได้บริจาคที่ดิน 9 ไร่ 2 งาน 1 ศอกให้สร้าง วัดสายราษฏร์บารุงขึ้น โดยนิมนต์พระเอี้ยม มาเป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ก่อตั้งบ้านป่า เหลื่อมจนถึงปัจจุบันผู้ใหญ่บ้าน ๙ คน ดังนี้

ผู้ใหญ่บ้านตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

๑. นายบัว ๒. นายบุญสาย ๓. นายเขียว ๔. นายซึ้ม ๕. นายวิบูลย์ ๖. นายนายนิพนธ์ ๗. นายแทน ๘. นายองอาจ ๙. นายอุทัย

คนตรง นามเหล่า วงษ์ธรรม คนตรง ธูปทิศศาล โคจวงจันทร์ ผุยพัฒน์ เพียวัน ผุยพัฒน์

1

ผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน


งานแข่งเรือออกพรรษา สวยงามตาโนนจาน

การประมงแก่งนา้ ต้อน เกษตรกรพัฒนา

ภูมปิ ญั ญาเลิศล ้า ถิน่ นาอนุรกั ษ์ควายไทย

” ลักษณะภูมิประเทศ

บ้านป่าเหลื่อม หมู่ที่ 2 ตาบลดอนช้าง อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่นเป็นที่ราบลุ่มใกล้แก่งน้าต้อนมี 3 ฤดู คือ ฤดู ร้อน ฤดูฝนและฤดูหนาว ฤดูร้อนอากาศร้อนจัด ฤดูฝนบางปี เกิดน้าล้นน้าไหลหลากจากแก่งน้าต้อนทาให้น้าทะลักเข้าท่วม ที่ทาการเกษตรของประชาชน

2


อาณาเขตติดต่อของบ้านป่าเหลื่อม

ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดต่อกับแก่งน้าต้อนตาบลเมืองเก่า บริเวณบ้านสะอาด อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ติดต่อกับบ้านดอนหญ้านาง ตาบลดอนช้างอาเภอเมือง ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ติดต่อกับบ้านป่าสังข์ ตาบลดอนช้างอาเภอเมืองขอนแก่น จังหวังขอนแก่น ติดต่อกับบ้านดอนช้าง ตาบลดอนช้างอาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ระบบสาธารณูปโภค

ด้านที่ 1 การคมนาคมขนส่ง มีรถโดยสารประจาทางสายบ้านโต้น และใช้ รถจักรยานยนต์หรือรถยนต์ส่วนตัวในการเดินทางสัญจรไปมาถนนลาดยาง ตลอดสาย มีระยะห่างจากตัวอาเภอเมืองขอนแก่น ประมาณ 21-22 กิโลเมตร ด้านที่ 2 ระบบน้าอุปโภคบริโภคชุมชนบ้านป่าเหลื่อมมีบ่อน้าตื้น จานวน 20 บ่อ แหล่งน้าธรรมชาติในหมู่บ้าน มี 1 แห่ง คือแก่งน้าต้อน มีระบบ ประปาหมู่บ้าน2แห่ง ประชากร

จานวนประชากรรวมทั้งสิ้น 498 คน แยกเป็นเพศชายจานวน 247 คน และเป็นเพศหญิงจานวน 251 จานวนผู้สูงอายุ 91 คน จานวนครัวเรือน ทั้งสิ้น 146 ครัวเรือน

3


การบริการ/การปกครอง ภายในชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อบต. กรรมการหมู่บ้าน

แบ่งการปกครองออกเป็น 5 คุ้ม ได้แก่ 1.คุ้มตะวันลับฟ้า 2.คุ้มร่วมรักสามัคคี 3.คุ้มไผ่สีทอง 4.คุ้มประชารวมใจ 5.คุ้มแสงอรุณ

นายละเอียด สิงห์แก้ว นายชัยณรงค์ ไทยสงค์ นางเกสร แซ่เตียว นายอุทัยผุยพัฒน์ นายจักรี วรรณศรี 4

หัวหน้าคุ้ม หัวหน้าคุ้ม หัวหน้าคุ้ม หัวหน้าคุ้ม หัวหน้าคุ้ม

นายอุทัย ผุยพัฒน์ นายจักรี วรรณศรี นางชัยณรงค์ ไทยสงค์ นายคะนอง นามเหล่า นายธนพล โสสุน นายละเอียด สิงแก้ว นายบรรดิษฐ์ ลีปาน นายบุญเลี้ยง กองหาโคตร นายบัวเรียน สีเมืองเฮา นายทวี จันทร์เพ้ง นายกาย สิงห์แก้ว นายหมอน พองแก้ว นายเภา กลีบฉวี นายสมบูรณ์ พงษ์ซอ่ื นายคาหมุน โพธิ์ดก


กลุ่มอาชีพ กองทุน และกลุ่มต่าง ๆ ของชุมชน

1.กลุ่มอนุรักษ์กระบือไทย มีสมาชิก 62 คน 2.กลุ่มผู้เลี้ยงวัวขุน มีสมาชิก 32 คน

3.กลุ่มกองทุนเงินล้าน มีสมาชิก 186 คน 4.กลุ่มสตรีกลุ่มออมทรัพย์ มีสมาชิก 82 คน

5.กลุ่มประมง มีสมาชิก 31 คน

6.กลุ่มทอเสื่อ มีสมาชิก 27 คน

กลุ่มอาชีพ ต่างๆของชุมชน

7.กลุ่มผู้เลี้ยงไก่ชนพื้นบ้าน มีสมาชิก 16 คน

8.กลุ่มพืชผักสวนครัว มีสมาชิก 18 คน

5


อาชีพหลักของคนใน หมู่บ้าน คือ การทานา ทาไร่อ้อย ทาไร่มัน สาปะหลัง มีบางส่วน ไปทางานรับจ้างใน เมือง นอกจากนี้ ชาวบ้านป่าเหลื่อม ยัง มีอาชีพเสริม การเลี้ยง เป็ด การทอเสื่อ การ ประมงในแก่งน้าต้อน รายได้เฉลี่ยครัวเรือน ต่อปี 302,304.79 บาทรายได้บุคคลต่อปี 88,627.51 บาท 6


วิถชี วี ติ ของ ชุมชน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี บ้านป่าเหลื่อมมีลักษณะสังคม เป็นสังคมระบบเครือญาติ มี ความเอื้ออาทรต่อกัน โดยยัง คงไว้ซึ่งลักษณะสังคมแบบ พึ่งพิง มีความรักใคร่ผูกพันกัน รู้จักช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ชาวบ้านนับถือศาสนาพุทธทั้ง หมู่บ้าน มีวัดสายราษฏร์บารุง เป็นสถานที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของ ชาวบ้าน มีประเพณีบุญเผวส บุญออกพรรษา บุญสงกรานต์ งานวันออกพรรษาจะมี ประเพณีแข่งเรือเป็นงาน ประจาปี และมีศาลปู่ตา คือตา ปู่แสนอาด ตั้งอยู่ริมสระน้าวัด สายราษฎร์บารุงซึ่งเป็นที่ยึด เหนี่ยวในด้านขวัญและกาลังใจ ของคนในหมู่บ้าน

7


สถานทีศ่ ูนย์กลางทาง ศาสนายึดเหนี่ยวจิตใจของคน ในชุมชน คือ วัดราษฏร์บารุง วัดประจาหมู่บ้าน ซึ่งเกิดจาก การร่วมมือร่วมใจของชาวบ้าน ที่ชาวกันสร้างขึ้นจากน้าจิต น้าใจที่ละเล็กละน้อย มี พระพุทธรูปยึดเหนี่ยวจิตใจ ชาวบ้านคือ พระพุทธชินราช สลักจากหิน

อีกหนึ่งวิถีชีวิตของชาวบ้านป่าเหลื่อมคือการหาปลา อัน เนื่องมาจากภายในชุมชนบ้านป่าเหลือมนี้มีทรัพยากรทางน้าที่อุดม สมบูรณ์มากคือ “แก่งน้าต้อน” ดังนั้นอีกหนึ่งวิถีชีวิตของชาวบ้านที่ สามารถนาไปสู่การสร้างรายได้ของชุมชนนั้นคือ การหาปลาในแก่ง

วิถีชีวิตใน ช่วงเช้า นอกเหนือไปจากการ ตักบาตรแล้ว ชาวบ้านป่าเหลื่อมได้ มีการปล่อยฝูง กระบือ (ควาย) เพื่อ ไปหากินบริเวณริม แก่งน้าต้อน เนื่องจากว่าบ้านป่า เหลื่อมนั้นเป็นหนึ่ง ในหมู่บ้านที่ยังคง อนุรักษ์โค-กระบือ ไทย 8


ปราชญ์ชาวบ้าน

ไผผูเ้ ฮียนฮ ่าฮู ้ วิชาปราชญ์ทางใด ก็ให้มใี จ จด เผิง่ วิชาทีต่ นฮู ้

1.นายประจิตร ลีปาน 2.นายเกียง ประทุมรัตน์ 3.นายจันทร์ วรรณศรี 4.นางสี นันท์ดี

ปราชญ์ชาวบ้านทาไถ-คาดด้วยไม้ ปราชญ์ชาวบ้านด้านสานกล่องข้าว,กระด้งไม้ไผ่ ปราชญ์ชาวบ้านด้านการทาปลาร้า,ปลาส้ม,ปลาแดดเดียว ปราชญ์ชาวบ้านทาเครื่องบายศรีสู่ขวัญ


ภูมิ ปัญญา ท้องถิ่น การอนุรักษ์การใช้ความไทยไถนา

การทากระด้งจากไม้ไผ่ท้องถิ่น การทอเสือกก

เครื่องบายศรีสู่ขวัญ

การทาปลาแดดเดียว

การทาปลาส้ม


บ้านป่ าเหลือ่ ม TRAVAL ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี

CONTACR US FOR TRAVEL PROGRAM


นังเรื ่ อล่องแก่งนา้ ต้อน เล่นหาดโนนจาน ชมทะเลบัวหลวงและบัวแดง

หนองน้ากว้างใหญ่สุดลูกหูลูกตากว่า 6,500 ไร่ ณ แก่งน้าต้อน บ้านป่า เหลื่อม ในฤดูร้อนจะมีกิจกรรมเล่น น้าริมหาดโนนจาน หรือล่องแก่งชม บรรยากาศธรรมชาติของแก่งน้าต้อน ซึ่งชาวบ้านได้เตรียมเรือท้องแบนไว้ บริการ สาหรับฤดูฝน สามารถนั่งเรือ ชมวิถีชีวิตชาวประมง การจับปลา และสัตว์น้าอื่นๆ ทั้งนี้ไฮไลท์ของแก่ง น้าต้อนอยู่ในฤดูหนาว ที่นักท่องเที่ยว สามารถนั่งเรือชมความสวยงามของ ดอกบัวหลวงสีชมพูที่ชูช่อรับแสงแดด สามารถเข้าใกล้ทุ่งดอกบัวหลวงอย่าง ใกล้ชิด รับลมเย็นๆ และสดชื่นไปกับ ภาพสวยงามที่อยู่ตรงหน้า

นั่งรถอีแต๊นไปชมแก่งน้าต้อน

นักท่องเที่ยว chekin ที่ Land Mark ท่าเรือแก่งน้าต้อน

ผู้ดูแลท่าเรือ : จ่าสิบเอก นพดล คนตรง

นักท่องเที่ยวสวมเสื้อชูชีพเพื่อความปลอดภัย

12


ชมดอนสงวน ป่าชุมชนหนองนก เอี้ยง สวนสมุนไพรของหมู่บ้าน: โดยรถการเกษตร อาทิ รถพวง สามล้อ รถอีแต๋น และรถอีแต็ก ไว้บริการนักท่องเที่ยว ซึ่งเป็น พื้นที่ป่าชุมชนของบ้านป่าเหลื่อม ครอบคลุมพื้นที่กว่า 160 ไร่ มี ต้นไม้เบญจพรรณนานาชนิด ที่ ล้วนมีประโยชน์ต่อชาวบ้านใน ชุมชนและมีสรรพคุณทางยา อาทิ ต้นมะเหลื่อม ซึ่งเป็นต้นไม้ ที่มาของชื่อหมู่บ้าน ที่เป็นไม้ยืน ต้นขนาดใหญ่ สูงถึง 15-25 เมตร มีสรรพคุณทั้งต้น

เทีย่ วชมป่ าชุมชน อันอุดมสมบูรณ์ โดยลาต้มสามารถนามาน้าอาบ เพื่อบารุงร่างกายให้มีกาลัง แข็งแรง ส่วนผล ช่วยให้แก้ไอ และขับเสมหะ นอกจากนี้ผัก พื้นบ้านที่เป็นสมุนไพรและเป็น แหล่งอาหารสาคัญ อาทิ เห็ด ดอกกระเจียว หน่อไม้ ใบหญ้า นาง เป็นต้น

13


กู่แก้วบ้านหัวสระ เยี่ยมชมโบราณสถานกู่แก้ว บ้านหัวสระ ศาสนสถาน ประกอบด้วยปราสาทเป็นรูป สี่เหลี่ยม สร้างขึ้นราวพุทธ ศตวรรษที่ 18

14


ชาวบ้านยิ้มแย้มต้อนรับนักท่องเที่ยว

เรียนรู ภ้ มู ปิ ญั ญาชาวบ้าน และชมสินค้าของหมูบ่ า้ น

ชาวบ้านให้การต้อนรับนักท่องเที่ยวด้วยเอกลักษณ์ของชาวอีสานคือการผูกผ้าขาวม้า

หลังจาก นั้นได้ทาการเสริฟ Welcome Drink ที่ทาจากตะไคร้และอัญชัน เพื่อให้ความสดชื่นแก่นักท่องเที่ยวก่อนที่ จะเลือกชมสินค้าของหมู่บ้านและเรียนรู้ภูมิปัญญาของบ้านป่าเหลื่อม เป็นกิจกรรมต่อไป

15


การเรียนรู ภ้ ูมปิ ญั ญาชาวบ้าน กระบวนการผลิตปลาส้ม และปลาแดดเดียว ที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย ไร้สารเคมี ซึ่งปลาส้มคือสินค้า สร้างรายได้ของชุมชน ที่ได้จากแก่งน้าต้อน

16


เรียนรู ก้ ระบวนการในการทอเสือ่ กก สอบถาม พูดคุยความรู้กับปราชญ์ชาวบ้าน ด้านการทอเสื่อกก นอกจากนี้ แล้วนักท่องเที่ยวยังได้ มีส่วนร่วมในการทอ เสื่อด้วยตนเอง

17


นักท่องเที่ยวทั้งไทยและต่างชาติได้มีโอกาสทดลองการทา เสื่อกกด้วยตนเอง ทาให้เกิดความตื่นเต้นในการท่องเที่ยว และสัมผัสประสบการณ์ใหม่ๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้องถิ่นบ้านป่า เหลี่ยมมีอยู่ 18


เรียนรู ก้ ระบวนการในฐาน สานตะกร้าพลาสติก และกระด้งไม้ไผ่

19


บริการทีพ่ กั โฮมสเตย์ มีความสะอาดและความปลอดภัย มีทั้งแบบแยกอยู่เพื่อความสะดวกและแบบอยูก่ ับ ครอบครัวชาวบ้านทีจ่ ะมอบความสุขให้ตลอดการอยู่อาศัย

20


รับประทาน เมนูเด็ด อำหำรประจำถิน่ ตำมฤดูกำล

อาหารพื้นถิ่น เมนูเฉพาะของบ้านป่าเหลื่อม มีวัตถุดิบหลักมาจากแก่งน้า ต้อน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการนาสัตว์น้ามาแปรรูปอาหารที่หลากหลาย ทั้ง ปลาแดดเดียวทอด ปลาส้มทอด ลาบปลาตอง ก้อยกุ้ง ก้อยหอยเชอรี่ ตลอดจนนาสายบัวมาทาอาหารรสแซ่บ อย่างแกงส้มสายบัว ทานคู่กับ น้าพริกและผักสดจากแปลงผักสวนครัวของคนในชุมชน

21


ชมการแสดงฟ้ อนราจากชาวบ้าน และน้องๆเยาวชน นักท่องเทีย่ วมีส่วนร่วมกับ ชำวบ้ำนร่วมฟ้ อนด้วยกัน อย่ำงสนุกสนำน

22


ชมการอนุรกั ษ์และการสาธิต การไถนาโดยใช้ควาย และนักท่องเทีย่ วได้มโี อกำส ถ่ำยรูปเป็ นทีร่ ะลึก


กลุ่มอนุรักษ์กระบือไทยเริ่มก่อตั้งเมื่อปี ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มอาจารย์มหาวิทยาลัยและ กรมปสุสัตว์ ช่วยส่งเสริมให้เกษตรเลี้ยงกระบือ ให้เลี้ยงและทาการเลี้ยงอนุรักษ์และขยายพันธ์ นอกจากจะอนุรักษ์แล้ว มูลของกระบือยังช่วยให้เกษตรกรนามาเป็นปุ๋ยชีวภาพ ทดแทนการใช้ ปุ๋ยเคมี และยังเป็นรายได้ให้ชาวบ้านได้นามาขายอีกด้วย

24


กราบสักการะพระพุทธชินราชศักดิส์ ทิ ธิ ์ สลักจากหินทีว่ ดั ราษฏร์บารุ ง และร่วมสนทนาธรรม ฟังประวัติของวัดราษฏร์บารุง กับเจ้าอาวาส

25


การเดินทางท่องเทีย่ วในหมู่บ ้าน โดยรถการเกษตร อาทิ รถพวงสามล้อ รถอีแต๋น และรถอีแต็ก ไว้บริการนักท่องเที่ยว 26


เชื่อมโยงจุดท่องเที่ยว

ณ วัดหนองแวง พระอำรำมหลวง


วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) ตั้งอยู่ที่ถนนกลางเมือง ริมบึงแก่น นคร อาเภอเมือง ภายในวัดหนอง แวงเมืองเก่าซึ่งเป็นพระอาราม หลวง มีพระมหาธาตุแก่นนคร หรือ พระธาตุเก้าชั้นฐานสี่เหลี่ยม กว้างด้านละ 50 เมตร เรือนยอด ทรงเจดีย์จาลองแบบจากพระธาตุ พนม จัดสร้างขึ้นเนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง ครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี และ มหามังคลานุสรณ์ 200 ปี เมือง ขอนแก่น ความสูงขององค์พระ ธาตุฯ 80 เมตร มีพระจุลธาตุ 4 องค์ ตั้งอยู่ 4 มุมและมีกาแพงแก้ว พญานาค 7 เศียรล้อมรอบ เป็น ศิลปะสมัยทวาราวดี ผสมผสาน ศิลปะอินโดจีน ซึ่งเป็นลักษณะ แบบชาวอีสานปากแห


เชื่อมโยงจุดท่องเที่ยว

ณ วัดไชยศรี


วัดไชยศรี

“ฮูปแต้ม”

เป็นวัดเก่าแก่ที่มีโบสถ์หรือสิม ที่มีอายุกว่าร้อยปีเศษ เดิมมุงหลังคาด้วยแผ่นไม้ ซึ่งมีเอกลักษณ์คือ หลังคามีปีกยื่นทั้งสอง ข้างแบบสถาปัตยกรรมอีสานดั้งเดิม ต่อมาในปี พ.ศ. 2525 หลังคา ทรุดโทรมจึงมีการรื้อและทาหลังคาขึ้นใหม่ เป็นแบบสถาปัตยกรรม รัตนโกสินทร์ ซึ่งเป็นที่นิยมในสมัยนั้น ส่วนฝาผนังทัง้ ด้านในและด้าน นอกยังคงมีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์ โดยเฉพาะจิตรกรรมฝาผนัง หรือ “ฮูปแต้ม” ที่ยังคงมีความเด่นชัด

หรือจิตรกรรมฝาผนังของวัดไชยศรี (ด้านในโบสถ์) เป็น การเขียนภาพอดีตพระพุทธเจ้า เรื่องพระเวสสันดรชาดก สินไซ (สังข์ศิลป์ ชัย) ภาพเทพ บุคคลและสัตว์ต่างๆ ซึ่งด้านในห้ามสุภาพสตรีเข้า ส่วนผนัง ด้านนอกเป็นการเขียนภาพนรกเจ็ดขุม เรื่องพระเวสสันดรชาดก สินไซ และ ภาพทหารยืนเฝ้าประตู ถึงแม้เวลาจะผ่านมากว่าร้อยปีแล้วก็ตาม และแม้จะ มีบางส่วนเลือนหายไปตามกาลเวลาบ้าง แต่ถือว่าฮูปแต้มของที่นี่ยังคงมี ความชัดเจนและสวยงามอยู่มาก

30


เชื่อมโยงจุดท่องเที่ยว

ณ หมูบ่ ำ้ นเต่ำ ตาบลสวนหม่อน อาเภอมัญจาคีรี ใช้ เวลาเดินทางประมาณ 45 นาที ตามเส้นทาง หมายเลข 2062

เชื่อมโยงจุดท่องเที่ยว

ณ อุทยำนกล ้วยไม้ป่ำช้ำงกระ

31

วัดป่ามัญจาคีรี อาเภอ มัญจาคีรี ใช้เวลาเดินทาง ประมาณ 50 นาที ตาม เส้นทางหมายเลข 2062


ชมสิมอีสาน วัดสนวน วารีพัฒนาราม อาเภอ บ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น ใช้เวลาเดินทางประมาณ 45 นาที โดยใช้เส้นทาง หลักสายมิตรภาพ (ทาง หลวงหมายเลข 2)

เชื่อมโยงจุดท่องเทีย่ ว

ณ สิมอีสำน วัดสนวนวำรีพฒั นำรำม เชื่อมโยงจุดท่องเที่ยว

ณ ศำลำไหมไทย วิทยำลัยกำรอำชีพ อาเภอชนบท ใช้เวลาเดินทางประมาณ 50 นาที โดย ใช้เส้นทางหลักสายมิตรภาพ (ทางหลวงหมายเลข 2)

32


กำรพัฒนำสินค้ำ OTOP และช่องทำงกำรจัดจำหน่ำย Online

33


ที่รองแก้วน้า ได้รับการแปรรูปจากต้นกก ซึ่งเป็นพืชทีเ่ กิดขึ้นเองตาม ธรรมชิริมแก่งน้าต้อนบริเวณหมูบ่ ้าน ทาให้ชาวบ้านเกิดนามาใช้ ประโยชน์โดยการทาต้นกกมาทอเป็นเสื่อกก และได้มีการต่อยอด ผลิตภัณฑื รังสรรค์สินค้าใหม่ๆ อาทิ ที่รองจาน ที่รองแก้ว เป็นต้น

กระเป๋าถือผลิตจากต้นกก ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติในแก่งน้าต้อน ผลิตจากเส้นกก ที่มีระยะเวลาเติบโตที่พอดีจึงจะมีความแข็งแรง เหนียวทนทาน เช่น ถ้าต้นกกมีอายุมากก็จะทาให้มีสีสันไม่สวยงาม หรือถ้าต้นกกมีอายุน้อยเกินไปก็จะทาให้เส้นกกที่สอยแก้วไม่เหนียว ขาดง่าย ดังนั้น กกที่พอเหมาะกับการนามาใช้งานคือต้องมีสีน้าตาล อ่อนๆใช้งานได้ดีแข็งแรงทนทาน ดาเนินการจักสานขึ้นรูปตามแบบที่ ต้องการ มีรูปแบบและขนาดที่หลากหลาย จาหน่ายในราคา ใบตั้งแต่ 200 – 400 บาท

ผ้าขาวม้า เป็นผ้าสารพัดประโยชน์ที่คนไทยใช้มาแต่โบราณ ส่วนใหญ่ผู้ใช้จะเป็นเพศชาย สามารถใช้นุ่งอาบน้า เช็ดตัว ผ้าขาวม้ามีลักษณะเป็นผ้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ลายตารางหมาก รุก สีและลวดลายของผ้าขาวม้าจะแตกต่างกันไป

ปลาส้มและปลาแดเดียว ผลิตได้จากปลาที่หาได้จากแก่งน้า ต้อน ซึ่งมีพื้นที่แก่งกว้างกว่า 6,500 ไร่ ชาวบ้านหาปลาได้ทุก วันตลอดปี ปลาที่หาได้ เนื้อปลาจึงมีความสด เนื้อปลาจะแน่น ไม่เละ และอุดมไปด้วยโปรตีนที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย สามารถ นามาสร้างสรรค์เมนูอร่อยๆ ได้มากมาย ไม่ว่าจะนามาทาแบบ ต้ม ผัด แกง หรือทอด ก็ได้ ชาวบ้านจึงนามาประกอบอาหาร และแปรรูปอาหารเป็นปลาส้ม และปลาแดดเดียว เป็น ผลิตภัณฑ์ OTOPเด่นและเมนูเด็ดของบ้านป่าเหลื่อม โดย รสชาติปลาส้มและปลาแดดเดียวจึงมีความอร่อยไม่เหมือนใคร ปลาส้มราคาจาหน่ายกิโลกรัมละ 150 บาท 34


กำรประชำสัมพันธ์สนิ ค้ำและบริกำร ผ่ำนช่องทำง Social Media

SACN QR CODE เพื่อเยี่ยมชม Facebook Fan Page

33


34


โปรแกรมท่องเทีย่ ว One day trip 08.30 น. นั่งเรือล่องแก่งน้าต้อน เล่นหาดโนนจาน ชมทะเลบัวหลวง หนองน้ากว้างใหญ่สุดลูกหูลูกตากว่า 6,500 ไร่ ณ แก่งน้าต้อน บ้านป่าเหลื่อม ในฤดูร้อนจะมี กิจกรรมเล่นน้าริมหาดโนนจาน หรือล่องแก่งชมบรรยากาศธรรมชาติของแก่งน้าต้อน สามารถ นั่งเรือชมวิถีชีวิต ทั้งนี้ไฮไลท์ของแก่งน้าต้อนอยู่ในฤดูหนาว ที่นักท่องเที่ยวสามารถนั่งเรือชม ความสวยงามของดอกบัวหลวงสีชมพูที่ชูช่อรับแสงแดด สามารถเข้าใกล้ทุ่งดอกบัวหลวงอย่าง ใกล้ชิด รับลมเย็นๆ และสดชื่นไปกับภาพสวยงามที่อยู่ตรงหน้า

10.00 น. เรียนรู้วิธีการทอเสื่อกกและชมผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกบ้านป่าเหลื่อม 11.00 น. ชมดอนสงวน ป่าชุมชนหนองนกเอียง สวนสมุนไพรของหมู่บ้าน โดยรถ การเกษตร อาทิ รถพวงสามล้อ รถอีแต๋น และรถอีแต็ก ไว้บริการนักท่องเที่ยว ซึ่งเป็นพื้นที่ป่า ชุมชนของบ้านป่าเหลื่อม ครอบคลุมพื้นที่กว่า 160 ไร่ มีต้นไม้เบญจพรรณนานาชนิด ที่ล้วนมี ประโยชน์ต่อชาวบ้านในชุมชนและมีสรรพคุณทางยา อาทิ ต้นมะเหลื่อม ซึ่งเป็นต้นไม้ที่มาของ ชื่อหมู่บ้าน 12.00 น. รับประทานอาหารกลางวันเมนูเด็ด อาหารประจาถิ่นตามฤดูกาล 13.00 น. เรียนรู้กระบวนการผลิตปลาส้มและปลาแดดเดียว เลือกซื้อผลิตภัณฑ์ OTOP ของ ฝากของที่ระลึกของชุมชน 14.00 น. เยี่ยมชมโบราณสถานกู่แก้วบ้านหัวสระ ศาสนสถานประกอบด้วยปราสาทเป็นรูป สี่เหลี่ยม สร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18

15.00 น. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

35


โปรแกรมท่องเทีย่ ว 2 days 1 night

วันที่ 1 09.00 น. เรียนรู้วิถีชีวิตชุมชนบ้านป่าเหลื่อม จากฐานเรียนรู้ ทั้ง 5 ฐานเรียนรู้ ได้แก่ ฐานเรียนรู้วิธีการทอเสื่อกก และ วิธีการผลิตกระเป๋าจากต้นกก ฐานเรียนรู้การทากระด้งไม้ไผ่ ฐานเรียนรู้การทาตะกร้าสานพลาสติก ฐานเรียนรู้การทา ปลาส้ม การทาปลาแดดเดียว และฐานเรียนรู้การทากล้วยฉาบ 12.00 น. รับประทานอาหารกลางวันเมนูเด็ด อาหารประจาถิ่นตามฤดูกาล อาหารพื้นถิ่น เมนูเฉพาะของบ้านป่า เหลื่อม มีวัตถุดิบหลักมาจากแก่งน้าต้อน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการนาสัตว์น้ามาแปรรูปอาหารที่ 13.00 น. ชมดอนสงวน ป่าชุมชนหนองนกเอี้ยง สวนสมุนไพรของหมู่บ้าน โดยรถการเกษตร อาทิ รถพวงสามล้อ รถอี แต๋น และรถอีแต็ก ไว้บริการนักท่องเที่ยว ซึ่งเป็นพื้นที่ป่าชุมชนของบ้านป่าเหลื่อม ครอบคลุมพื้นที่กว่า 160 ไร่ มี ต้นไม้เบญจพรรณนานาชนิด 15.00 น. เข้าที่พักโฮมเตย์ ที่มีความสะอาดและความปลอดภัย มีทั้งแบบแยกอยู่เพื่อความสะดวก และแบบอยู่กับ ครอบครัวชาวบ้าน ที่จะมอบความสุขให้ตลอดการอยู่อาศัย 18.00 น. ร่วมรับประทานอาหารเย็นและร่วมรับชมกิจกรรมการแสดงการต้อนรับจากใจชาวบ้านป่าเหลื่อม กับการ แสดงต้อนรับของนักเรียนในชุมชน พร้อมฟังบทเพลงแห่งบ้านป่าเหลื่อม

วันที่ 2 06.00 น. ร่วมใส่บาตรและอีกหนึ่งไฮไลท์สาคัญ ที่สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิต “คนกับควาย” ซึ่งในช่วงเช้าชาวบ้านจะปล่อย กระบือและโค ออกจากคอกเพื่อไปหากินริมแก่งน้าต้อน โดยมีฝูงควายกว่า 50 ตัวเดินอย่างเป็นระเบียบไปตามทางลง แก่งน้าต้อน 07.00 น. รับประทานอาหารเช้า 07.30 น. ล่องแก่งน้าต้อน เล่นหาดโนนจาน ชมทะเลบัวหลวง: หนองน้ากว้างใหญ่สุดลูกหูลูกตากว่า 6,500 ไร่ ณ แก่ง น้าต้อน บ้านป่าเหลื่อม ในฤดูร้อนจะมีกิจกรรมเล่นน้าริมหาด หรือ ล่องแก่งชมบรรยากาศธรรมชาติของแก่งน้าต้อน ซึ่ง ชาวบ้านได้เตรียมเรือท้องแบนไว้บริการ สาหรับฤดูฝน สามารถนั่งเรือชมวิถีชีวิตชาวประมง การจับปลา และสัตว์น้า อื่นๆ ทั้งนี้ไฮไลท์ของแก่งน้าต้อนอยู่ในฤดูหนาว ที่นักท่องเที่ยวสามารถนั่งเรือชมความสวยงามของดอกบัวหลวงสีชมพู ที่ชูช่อรับแสงแดด สามารถเข้าใกล้ทุ่งดอกบัวหลวงอย่างใกล้ชิด รับลมเย็นๆ 09.00 น. เยี่ยมชมโบราณสถานกู่แก้วบ้านหัวสระ ศาสนสถานประกอบด้วยปราสาทเป็นรูปสี่เหลี่ยม สร้างขึ้นราวพุทธ ศตวรรษที่ 18 และเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

36


วิธกี ำรเดินทำงมำบ้ำนป่ ำเหลือ่ ม โดยรถยนต์ส่วนตัว: เส้นทางที่ 1 จากศาลากลางจังหวัดขอนแก่น ไปตามถนนมะลิวัลย์ มุ่งหน้าสู่ตาบลบ้านทุ่มแล้ว เลี้ยวขวาไปบ้านเหล่านางามตามถนนหมายเลข 2131 เลี้ยวซ้ายผ่านบ้านหว้า บ้านเหล่าโพนทอง บ้านดอนช้าง ไป จนถึงบ้านป่าเหลื่อม หมู่ที่ 2 ตาบลดอนช้าง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น รวมระยะทาง 26 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทาง ประมาณ 30 นาที โดยรถยนต์ส่วนตัว: เส้นทางที่ 2 จากศาลากลางจังหวัดขอนแก่น ไปตามถนนมิตรภาพ มุ่งหน้าสู่ตาบลท่าพระ เลี้ยว ขวาสีแยกบ้านหนองบัวดีหมี ไปตามถนนท่าพระ-แก่งฟ้า ผ่านบ้านหนองโพธิ์ เลี้ยวขวาไปตามถนนป่าบุ-เหล่านาดี ผ่าน บ้านหนองฮี และบ้านป่าสังข์ ไปจนถึงบ้านป่าเหลื่อม หมู่ที่ 2 ตาบลดอนช้าง อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น รวมระยะทาง 27.0 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 35 นาที โดยรถยนต์ส่วนตัว: เส้นทางที่ 3 จากกรุงเทพมหานคร ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ถึง จังหวัดสระบุรี แล้วตรงไปตามถนนสระบุรี-ลานารายณ์ แยกขวาเข้าเส้นทางม่วงค่อม-ด่านขุนทด ผ่านจังหวัดชัยภูมิ มุ่ง หน้าสู่จังหวัดขอนแก่น โดยผ่านอาเภอโคกโพธิ์ชัย อาเภอมัญจาคีรี อาเภอพระยืน เมื่อถึงบ้านเหล่านางาม ตาบลบ้านหว้า อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น แล้วจึงเลี้ยวขวาเพื่อไปต่อตามเส้นทางที่ 1 รวมระยะทาง 448 กิโลเมตร ใช้เวลา เดินทางประมาณ 7 ชั่วโมง

37


โดยรถยนต์ส่วนตัว: เส้นทางที่ 4 จากกรุงเทพมหานคร ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ถึง จังหวัดสระบุรี ตรงหลักกิโลเมตรที่ 107 แยกขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ผ่านจังหวัดนครราชสีมา ขับ ตรงไปเรื่อยๆ จนถึงตาบลท่าพระ อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น แล้วจึงเลี้ยวซ้ายเพื่อไปต่อตามเส้นทางที่ 2 รวม ระยะทาง 449 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 6 ชั่วโมง โดยรถประจ้าทาง: จากกรุงเทพมหานคร ขึ้นรถโดยสารที่สถานีขนส่งสายตะวันออกเฉียงเหนือ ถนนกาแพงเพชร 2 มีรถโดยสารธรรมดา รถปรับอากาศ และรถนอนพิเศษชนิด 24 ที่นั่ง วิ่งบริการทุกวัน สอบถามตารางเดินรถได้ที่ Call Center 1490 เรียก บขส. หรือ www.transport.co.th ใช้เวลาเดินทางประมาณ 7 ชั่วโมง โดยรถไฟ: จากกรุงเทพมหานคร ขึ้นรถไฟที่สถานีรถไฟหัวลาโพง ถึง สถานีรถไฟขอนแก่น ใช้เวลาเดินทาง ประมาณ 12 ชั่วโมง โดยเครื่องบิน: จากกรุงเทพมหานคร ใช้บริการเที่ยวบิน กรุงเทพฯ-ขอนแก่น ของสายการบินต่างๆ ได้ทุกวัน ใช้ เวลาเดินทาง 50 นาที แล้วจึงเลี้ยวขวาเพื่อไปต่อตามเส้นทางที่ 1 รวมระยะทาง 448 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 7 ชั่วโมง

38


สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเมืองขอนแก่น

ผูป้ ระสำนงำน ชุมชนท่องเทีย่ ว OTOP นวัตวิถี นำยอุทยั ผุยพัฒน์ (ประธำนคณะกรรมกำรท่องเทีย่ วบ้ำนป่ ำเหลือ่ ม) ติดต่อ : 087 – 4314830


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.