กรมพัฒนาชุมชน อาเภอชนบท
ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านหัวฝาย ตาบลปอแดง อาเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น
ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านหัวฝาย ตาบลตาบลปอแดง อาเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น
บ้านหัวฝาย
หมู่ที่ 2 อยู่ในเขต การปกครองของตาบลปอแดง อาเภอ ชนบทจังหวัดขอนแก่น มีระยะทาง ห่างจากอาเภอไปทางทิศใต้ ประมาณ 21 กิโลเมตร ตามเส้นทางหลวงสาย อาเภอชนบท – อาเภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น
1
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหัวฝาย บ้านหัวฝาย
หมู่ที่ 2 ตาบลปอแดง อาเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น เป็นหมู่บ้านที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ ลักษณะปกครองท้องที่ พระพุทธศักราช 2457 ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2445 โดยมีนายเลี้ยง จะเรียมพันธ์ , นายบุญมา ประชากูล, นายบุญเพ็ง ประชากูล ,นายพุฒ จันทรเสรี, นายมี วิสุวงษ์, และนายฟาน โคตรแปรวมทั้งหมด 6 ครอบครัว ได้พากันอพยพมาจากบ้านปอแดง หมู่ที่ 1 โดย ได้ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณฝายน้าล้น เพื่อความสะดวกในการ ทานาและประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร
ต่อมาจึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “ บ้านหัวฝาย ” เพื่อให้สอดคล้องและเหมาะสมตามสภาพภูมิ ประเทศของหมู่บ้านที่ตั้งอยู่ เนื่องจาก สภาพแวดล้อมของหมู่บ้านเป็นที่ราบลุ่ม มี แหล่งน้าตามธรรมชาติไหลผ่าน มีความอุดม สมบูรณ์ จึงได้มีราษฎรอพยพเพิ่มมาเรื่อย ๆ จนถึงปัจจุบัน และเป็นหมู่บ้านที่มีประชากร/ ครัวเรือน มากกว่าทุกหมู่บ้านในตาบลปอแดง คือ 227 ครัวเรือน
ผู้ใหญ่บ้าน 1. นายบัวหล่อ บัวโฮม 2. นายพิมพ์ จันทาทุม 3. นายพุฒ ดีแป้น 4. นายสุข คุณภู่ 5. นายเจิม ประชากูล 6. นายศรี สุภา 7. นายเสวียน โคตรแป 8. นายสายันห์ ประชากูล 9. นายวรวุฒิ คุ้มบุ่งค้า
ข้อมูลประชากร เมื่อ เมื่อ เมื่อ เมื่อ เมื่อ เมื่อ เมื่อ เมื่อ เมื่อ
พ.ศ. 2455- 2470 พ.ศ. 2470- 2486 พ.ศ. 2486- 2497 พ.ศ. 2497- 2516 พ.ศ. 2516- 2521 พ.ศ. 2521- 2534 พ.ศ. 2534- 2543 พ.ศ. 2543- 2547 พ.ศ. 2547- ปัจจุบัน
ชาย 502 คน หญิง 491 คน รวมทั้งสิ้น 993 คน จานวนครัวเรือน 227 ครัวเรือน
“หมู่บ้านตักศิลา
อารยะธรรมหม่อนไหม ภูมป ิ ัญญาสมุนไพร ผ้าไหมโอทอปลาค่า ศูนย์การเรียน เพียรศึกษา พัฒนาแหล่งเรียนรู้ เยี่ยมชุมชนน่าอยู่ ดูผักปลอดสารพิษ เศรษฐกิจพอเพียง”
สภาพทางภูมิศาสตร์ บ้านหัวฝาย หมู่ที่ 2 อยู่ในเขต การปกครองของตาบลปอแดง อาเภอชนบทจังหวัดขอนแก่น มีระยะทางห่างจากอาเภอไป ทางทิศใต้ ประมาณ 21 กิโลเมตร ตามเส้นทางหลวงสาย อาเภอชนบท – อาเภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น
ในหมู่บ้านแบ่งการปกครอง ออกเป็นคุ้มต่าง ๆ ทั้งหมด 6 คุ้ม ในแต่ละคุ้มมีหัวหน้าคุ้มทา การดูแลปกครอง ประสานงาน กับผู้ใหญ่บ้านและ คณะกรรมการหมู่บ้าน ดังนี้
1) 2) 3) 4) 5) 6)
คุ้มโสภารัก คุ้มรุ่งอรุณ บานชื่น คุ้มสามัคคีพัฒนา คุ้มสตรีพัฒนา คุ้มตะวันลับฟ้า คุ้มอุดมพัฒนา
อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก
ติดต่อกับบ้านปอแดง ติดต่อกับบ้านโนนสะอาด ติดต่อกับบ้านหนองแวงน้อย ติดต่อกับอาเภอแวงใหญ่
การคมนาคม บ้านหัวฝาย ตั้งอยู่ห่างจากอาเภอชนบทไปทาง ทิศใต้ของอาเภอชนบท ตามถนนทางหลวง สายชนบท-แวงใหญ่ โดยแยกเข้าหมู่บ้านจาก ถนนสายดังกล่าว ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ 17 (จากหน้าเทศบาลตาบลแวงใหญ่ไปประมาณ 400 เมตร) ถึงทางแยกซ้ายมือผ่านหน้าที่ว่า การอาเภอแวงใหญ่ถึงหมู่บ้านเป็นระยะทาง 3 กิโลเมตร และห่างจากองค์การบริหารส่วน ตาบลปอแดง ประมาณ 1 กิโลเมตร มีถนน หลักในหมู่บ้านเป็นถนนคอนกรีต จานวน 5 สาย สภาพใช้งานได้ดี การคมนาคมภายใน หมู่บ้านสามารถเดินทางได้สะดวก ซึ่งการ เดินทางในหมู่บ้านส่วนใหญ่จะใช้ รถจักรยานยนต์ และรถยนต์ส่วนบุคคล
คณะกรรมการหมู่บ้าน
การประกอบอาชีพ
1. นายวรวุฒิ คุ้มบุ่งค้า 2. นายอุระ เกษร 3. นางจอมศรี นิลสูงเนิน 4. นางอุลัยวัน แปลยาว 5. นายจาเริญ ไชยมาลา 6. นายทองใบ คุณภู่ 7. นางสมเกียรติ พิมพ์แดง 8. นายสมบก ประชากูล 9. นางมนตรี คุณภู่ 10. นายวิรัตน์ ไชยมาลา 11. นายวุฒิชัย รูปสูง 12. นางรุ่งฤดี นามสอน 13. นางบุญสิน ราษฎร์เจริญ 14. นายสุริยา หนูตา 15.นางลานดอน ไชยมาลา
อาชีพของประชากรส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพ ทางการเกษตร เนื่องจาก สภาพทางภูมิประเทศ เป็นที่ราบลุ่ม มีห้วย/ ฝายน้าล้น ไหลผ่าน เหมาะสมกับอาชีพ ทางการเกษตร อีกทั้ง ประชาชนส่วนใหญ่เป็น ชาวนาและอีกส่วนหนึ่ง จะทาสวนหม่อนหลังฤดู การเก็บเกี่ยว
ประธาน รองประธาน กรรมการ/เลขานุการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
อาชีพหลักได้แก่ทานา/ทาไร่ จานวน 227 ครัวเรือน อาชีพรองได้แก่ปลูกหม่อนเลี้ยง ไหม จานวน 205 ครัวเรือน รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน 580,878 บาท/ปี รายได้เฉลี่ยต่อคน 132,788 บาท/ปี
บ้านหัวฝายเป็นหมู่บ้าน เป้าหมายการพัฒนาเป็นชุมชน ท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ที่มีความ พร้อมในด้านศักยภาพของชุมชน ทั้งจานวนนักท่องเที่ยว ต้นทุนทาง ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้าน ศิลปะและวัฒนธรรม มีความ เชื่อมโยงของแหล่งท่องเที่ยว โดยมี กลุ่มอาชีพ/กลุ่ม OTOP ที่สามารถ พัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ได้
และเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ สร้างรายได้เพิ่มให้ชุมชน นาเสน่ห์ ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และความคิดสร้างสรรค์มาแปลงเป็นรายได้ ทาให้รายได้กระจายอยู่ภายในชุมชน สร้างชุมชนเข้มแข็ง ทุกคน พร้อมเป็นเจ้าบ้าน ทาให้ลูกหลานไม่ต้องออกไปหารายได้จากภายนอกชุมชน
วิสัยทัศน์ บ้านหัวฝาย “เป็นชุมชน แห่งการเรียนรู้ มุ่งสู่เส้นทาง สายไหม น้อมนากายใจ ด้วยหลัก”
ชาวชนบทมีการประกอบอาชีพ “ยามว่างจากนา
ผู้หญิงทอผ้า ผู้ชายจักสาน”
เกษตรกรรมเป็นหลัก ทุกครัวเรือนจะมีที่ดินทานา ทาไร่ ทาสวน เลี้ยงสัตว์ นอกจากอาชีพทานาแล้ว ก็มีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ปลูกฝ้าย เพื่อนาเส้น ไหมและฝ้ายมาทอเป็นผืนผ้า ดังคากล่าวที่ว่า “ยามว่างจากนา ผู้หญิงทอผ้า ผู้ชายจักสาน” ใน อดีตที่ผ่านมา การทอผ้าถือเป็นหน้าที่สาคัญของ ผู้หญิงชาวอีสาน เพราะจะต้องทอผ้าเพื่อใช้เป็น เครื่องนุ่งห่มในชีวิตประจาวัน ผู้หญิงอีสานต้อง เรียนรู้และฝึกหัดการทอผ้ามาตั้งแต่เด็ก จน กลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต ดังคาผญาที่สอน สตรีชาวอีสานว่า “ทอหูกบ่เป็นแจ ทอแพรบ่
เป็นฝาต้อน เลีย้ งม่อนบ่ฮู้โตลุกโตนอน อย่าฟ้าววอนเอาผัว” การทอผ้าเพื่อใช้ใน ครอบครัวจึงเป็นสิ่งสาคัญที่ผู้หญิงอีสานจะต้อง เรียนรู้และฝึกหัด โดยเริ่มจากผู้เป็นแม่ได้ถ่ายทอด ความรู้และเทคนิควิธีการทอผ้าให้ลูกหลาน สืบ ทอดกันมาไม่ขาดสาย ผ้าไหมที่ทอได้ นิยมสวมใส่ ไปทาบุญที่วัด หรือในงานพิธีและงานมงคลต่างๆ รวมทั้งเก็บไว้เป็นมรดกให้ลูกหลาน อาเภอชนบท
เริ่มมีการทอผ้ามาตั้งแต่เมื่อไร ไม่ สามารถสืบประวัติได้ แต่มีหลักฐาน สาคัญคือ ผ้าไหมมัดหมี่หน้านาง หรือผ้าปูม อายุ กว่า 220 ปี ที่เจ้า เมืองชนบทคนแรกได้รับ พระราชทานจากพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 โดยทายาทของเจ้าเมืองเป็นผู้เก็บ รักษาไว้ ซึ่งต่อมา คนชนบทได้นามา เป็นต้นแบบในการทอผ้าไหมมัดหมี่ หน้านาง ที่มีชื่อเสียงและเป็น เอกลักษณ์อย่างหนึ่งของผ้าไหม ชนบทในปัจจุบัน จึงสันนิษฐานว่า การทอผ้าของอาเภอชนบทน่าจะมี มาไม่ต่ากว่า 100 ปี หรืออาจจะมี มาตั้งแต่เริ่มตั้งเมืองชนบท คือ ประมาณ 200 กว่าปีที่แล้ว
สร้างประสบการท่องเที่ยวใหม่
เรียนรู้การทอผ้าไหมมัดหมี่แบบดั้งเดิม กลุ่มสตรีสหกรณ์บ้านหัวฝาย เริ่มต้นกลุ่มขึ้นเมื่อปี 2540 มี สมาชิกเริ่มแรก 23 คน เงินทุน แรกเริ่ม 9,000 บาท ปัจจุบันมี สมาชิก 26 คน มีเงินทุน หมุนเวียน 540,000 บาท สมาชิกมีรายได้เดือนละ 8,00015,000 บาท มีผลิตภัณฑ์คือผ้า ไหมมัดหมี่ผ้าไหมพื้นเรียบได้รับ การคัดสรรเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ระดับ 5 ดาว
นักเล่าเรื่อง แม่บุญสิน ราษฎร์เจริญ
“ไหมมัดหมี่”
แม่บุญสิน
เป็นผู้ก่อตั้งกลุ่ม สตรีสหกรณ์บ้านหัวฝาย ซึ่ง เอกลักษณ์ของกลุ่มคือการอนุรักษ์ การทอผ้าไหมมัดหมี่แบบดังเดิมให้ ยังคงอยู่ นอกจากการอนุลักษณ์ การทอผ้าแบบดั้งเดิมแล้ว ทาง กลุ่มสตรีฯยังมีการย้อมสีเส้นไหม จากธรรมชาติ ทางกลุ่มสตรีฯ ยังมี ศูนย์เรียนรู้ปลูกหม่อน เลี้ยงไหม ตลอดจนเรียนรู้กระบวนการผลิต ผ้าไหมให้นักท่องเที่ยวได้เยี่ยมชม
สร้างประสบการท่องเที่ยวใหม่
จากภูมิปัญญาดั้งเดิม สู่ นวัตกรรม นอกจากการ อนุรักษ์ผ้าไหมมัดหมี่ แบบดั้งเติมแล้ว ชาวบ้านหัวฝายยังมี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้า ไหมให้ไปได้ไกลมาก ยิ่งขึ้น โดยมีการร่วมมือ ระหว่างชาวบ้านและ สถานศึกษาเข้ามาร่วม พัฒนาสินค้า จนเกิด เป็นเอกลักษณ์ใหม่ของ ชาวบ้านหัวฝาย คือ
“ผ้าไหมแต้มหมี่”
กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหัวฝาย
กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหัวฝาย ประธาน คือ นางสุภาณี ภู่ แล่นกี่ และมีนาง อุลัยวัลย์ ประชากูล เป็นเหรัญญิกกลุ่มจัดตั้ง กลุ่มมาตั้งแต่ปี 2527 สมาชิก 40 คนเงินทุนแรกเริ่ม 4,000 บาท ปัจจุบันมีสมาชิก 80 คนเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่ม 492,000 บาท (ธกส.) มีผลิตภัณฑ์คือผ้าไหมมัดหมี่ผ้าไหมแต้มหมี่ ผ้าไหมพื้น เรียบเป็นการพัฒนาภูมิปัญญาการทอผ้าซึ่งสืบทอดต่อมาจาก บรรพบุรษุ และในชุมชนมีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเป็นจานวน มาก สมาชิกมีรายได้ เฉลี่ยเดือนละ 10,000 - 15,000 บาท โดย ได้สมัครเข้าร่วมการคัดสรรผลิตภัณฑ์ OTOP และได้รับการคัด สรรเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ระดับ 5 ดาว
นักเล่าเรื่อง แม่สุภาณี ภู่แล่นกี่
“การพัฒนา สินค้าจากผ้าไหมชนบท ไปสู่นิตยสารระดับโลก” “ไหมแต้มมี่”
มีการ พัฒนาต่อยอดลายผ้าไหมให้ มีความน่าสนใจและเป็น สากลมากขึ้น ถูกพัฒนาโดน เหล่าดีไซน์เนอร์ชื่อดัง อาจารย์ ธีระ ฉันทสวัสดิ์ ผสานกับความรู้ดั้งเดิมของ ชาวบ้านหัวฝาย รังสรรค์ ออกมาเป็นลวดลายผ้าลาย ใหม่ที่สวยงาม แต่ยังคง เอกลักษณ์ความเป็น ไหม แต้มหมี่ บ้านหัวฝาย
กลุ่มสมุนไพร กลุ่มสมุนไพร ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2550 มีสมาชิก 26 คน ตั้งอยู่ บ้านเลขที่ 90 หมู่ที่ 2 ต.ปอแดง เงินทุนเริ่มแรก 12,000 บาท มี นายจาเริญ ไชยมาลา เป็น ประธานกลุ่ม และเป็นผู้ปรุง สมุนไพรตามสูตรของบรรพบุรุษที่ สืบทอดมา
นักเล่าเรื่อง พ่อจาเริญ ไชยมาลา
ภายในกลุ่มมีการปลูกสมุนไพร ให้กับครัวเรือน ปรุงยาแคปซูล ทาลูกประคบ ไว้จาหน่ายให้กับ นักท่องเที่ยว ซึ่งกลุ่มสมุนไพรได้ เปิดเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับ ผู้สนใจ และมีการนวดแผน โบราณ และสปาไว้คอยบริการ ภายในกลุ่มด้วย
ลูกประคบสมุนไพร จากกลุ่มสมุนไพรในหมู่บ้านหัวฝาย ประโยชน์และสรรพคุณของลูกประคบสมุนไพร มีมากมาย มหาศาล อีกทั้งยังเป็นที่ยอมรับของการแพทย์แผนไทยหรือ แม้แต่การแพทย์อายุรเวทในปัจจุบัน ว่าเป็นวิธีรักษาโรควิธี หนึ่ง และมีประสิทธิภาพในการบาบัดรักษา โดยเฉพาะการ ช่วยลดความเครียด กาจัดความอ่อนเพลีย สร้างความสดใสให่ แก่อารมณ์และความรู้สึก ช่วยคลายความเนื้อ คลายเส้นเอ็น เส้นสายในผู้ป่วยให้ผ่อนคลายลง ไม่ตึงเครียดและอึดอัด
กลุ่มทาขนมไทย กลุ่มทาขนมไทยเป็นกลุ่มที่เกิดจากการอบรม โครงการสร้างสัมมาชีพชุมชน ปี 2560 เกิดจาก ความต้องการของครัวเรือน คือการฝึกอาชีพทา ขนมไทย เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิก
นักเล่าเรื่อง นางทองใบ เทพจัง
กลุ่มแปรรูปวัสดุจาก เศษผ้า(ทาไม้ถูพื้น) เป็นกลุ่มที่ก่อตั้งเมื่อปี 2561 เกิดจากความ ต้องการของครัวเรือน คือ การทาไม้ถูพื้นจากเศษ ผ้า เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับสมาชิก นักท่องเที่ยว สามารถเข้ามาชม และเรียนรู้การแปรรูปเศษผ้าให้ เกิดเป็นสิ่งที่ใช้สอยประโยชน์ได้ และนอกจากนี้ยัง สร้างรายได้ให้ชาวบ้านได้อีกด้วย
กลุ่มแปรรูปปลาร้าสับ จัดตั้งขึ้นเมื่อปี 2561 สมาชิก 10 คน เงินทุน ของกลุ่ม 10,000 บาท
ปลาร้าสับหรือแจ่วบอง
ปลาร้าสับนอกจากจะเป็น
(น้าพริกปลาร้าทรงเครื่อง) เป็นการแปลรูปอาหารอย่าง ชาญฉลาดของชาวอีสาน โดย การนาปลาร้า มาสับละเอียด ให้เข้ากันกับสมุนไพรที่มีอยู่ แล้วในชุมชน เพื่อเพิ่มรสชาติ ให้มีความเข้มข้นมากยิ่งขึ้น
ภูมิปัญญาของชาวอีสาน ดั้งเดิมแล้ว ยังเป็นอาชีพที่ สามารถสร้างรายได้ให้ ชาวบ้านได้อีกด้วย นักท่องเที่ยวที่สนใจสามารถ ซื้อเป็นของฝากติดไม้ติดมือ กลับบ้านได้อีกด้วย
นักเล่าเรื่อง นางเหล่า เทพเรียน
ด้านศาสนา วัฒนธรรมและประเพณี
วัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของหมู่บ้าน ร่วมกับการทากิจกรรมร่วมกันของ ชุมชนมีจานวน 2 วัด คือวัดป่ากับ วัดบ้านโดยวัดที่อยู่ในหมู่บ้านจะ ตั้งอยู่ศูนย์กลางของหมู่บ้านมีการ ทานุบารุงอย่างต่อเนื่องมีเจ้าอาวาส วัดเป็นพระนักพัฒนาท่านหนึ่งเป็น ทีเ่ ลื่อมใสศรัทธาของชาวบ้านใน บริเวณนี้ สาหรับวัดป่ามีที่ตั้งอยู่ นอกหมู่บ้านบริเวณป่าสาธารณะ ก่อนทางเข้าหมู่บ้านในด้านทิศ ตะวันตกของชุมชน เป็นวัดที่ร่มรื่น รักษาป่าไม้ของชุมชนได้ดี ทาให้ หมู่บ้านยังคงมีป่าป่าชุมชนเหลือซึ่ง วัดนี้ยังต้องการงบประมาณในการ ทานุบารุงวัดอีกพอสมควรจึงจะ เสร็จสมบูรณ์ดี
คณะกรรมการหมู่บ้านได้ให้การ สนับสนุนช่วยเหลือกิจกรรม เกี่ยวกับพุทธศาสนา โดยเป็นแกน นาในการนาชาวบ้านร่วมในการจัด งานเทศกาลเกี่ยวกับวันสาคัญทาง พุทธศาสนา ช่วยทานุบารุงวัดวา อารามทั้งสองแห่ง ตลอดจนอานวย ความสะดวกให้กับพระภิกษุสงฆ์ที่ จาวัดในหมู่บ้าน อาทิการติดต่อ ราชการต่าง ๆ เป็นต้น ทั้งนี้ หมู่บ้านหัวฝายเป็น หมู่บ้าน
รักษาศีลห้า
ประชาชนจะเข้า วัดรักษาศีลทุกวันพระ
ด้านศาสนา
ประเพณีฮีตสิบสอง คณะกรรมการหมู่บ้านจะให้การสนับสนุนประเพณี ฮีตสิบสอง เพื่อรักษาไว้ซึ่ง ขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนประชาสัมพันธ์ให้ลูกหลานรุ่นหลังได้รับรู้ และสืบ ทอดต่อไป หมู่บ้านมีการจัดพิธีบายศรีสู่ขวัญให้แก่นักท่องเที่ยวผู้มาเยือนและสามารถ เรียนรู้ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามภายในหมู่บ้าน ทีป่ ฏิบัติสืบทอดกันมาแต่โบราณ คือ ประเพณีฮีตสิบสอง
“เดือนอ้ายประเพณีปีใหม่ เดือนยี่ประเพณีบุญเข้ากรรม เดือนสามประเพณีบุญข้าวจี่ เดือนสี่ประเพณีบุญผะเหวด เดือนห้าประเพณีสงกรานต์ เดือนหกประเพณีบุญบั้งไฟ,บุญเลี้ยงปู่ตา เดือนเจ็ดประเพณีเบิกฟ้า เดือนแปดประเพณีเข้าพรรษา เดือนเก้าประเพณีข้าวประดับดิน เดือนสิบบุญข้าวสาก เดือนสิบเอ็ดประเพณีออกพรรษา เดือนสิบสองประเพณีลอยกระทง”