รัฐบาลทักษิณกับความพยายามสร้างภาวะการครองอำนาจนำ

Page 1

ั รัฐบาลทักษิณกบความพยายามสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา

นายวัชรพล พุทธรักษา

่ วิทยานิพนธ์น+ ีเป็ นสวนหนึ % งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริ ญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี การศึกษา 2549 ลิขสิ ทธิ/ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


THE THAKSIN GOVERNMENT'S ATTEMPTS TO BUILD HEGEMONY

Mr.Watcharabon Buddharaksa

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Arts Program in Government Department of Government Faculty of Political Science Chulalongkorn University Academic Year 2006 Copyright of Chulalongkorn University


หัวข้ อวิทยานิพนธ์ โดย สาขาวิชา อาจารย์ที%ปรึกษา

รัฐบาลทักษิณกับความพยายามสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา นายวัชรพล พุทธรักษา การปกครอง ศาสตราจารย์ ดร.อนุสรณ์ ลิ%มมณี

คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนุมตั ใิ ห้ นบั วิทยานิพนธ์ฉบับนี -เป็ นส่วนหนึง% ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ………………………………………….. คณบดีคณะรัฐศาสตร์ (ศาสตราจารย์ ดร.จรัส สุวรรณมาลา) คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ …………………………………………… ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย์สชุ าย ตรี รัตน์) …………………………………………... อาจารย์ที%ปรึกษา (ศาสตราจารย์ ดร.อนุสรณ์ ลิ%มมณี) …………………………………………… กรรมการ (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์สิริพรรณ นกสวน)


กิตติกรรมประกาศ ่ ่ ขอบพระคุณคุณพอ่ คุณแม่ และครอบครัว ผูใ้ ห้โอกาส และการสนับสนุ นอยางไมเคยมี ่ ข้อแม้สาํ หรับทุกสิ$ งทุกอยาง ศ.ดร.อนุสรณ์ ลิ$มมณี อาจารย์ที$ปรึ กษาวิทยานิพนธ์ ที$กรุ ณาให้คาํ ปรึ กษา และข้อชี/ แนะใน การเขียนวิทยานิ พนธ์ฉบับนี/ รศ.สุ ชาย ตรี รัตน์ และผศ.สิ ริพรรณ นกสวน ประธานและกรรมการ ่ ่ ว้ ิจยั สอบวิทยานิพนธ์ ที$กรุ ณาสละเวลาเพื$ออานงานวิ จยั และให้คาํ แนะนําที$เป็ นประโยชน์ย$ิงตอผู และขอขอบคุณอาจารย์พิชญ์ พงษ์สวัสดิ4 ที$เป็ นแรงบันดาลใจให้ผวู ้ ิจยั เลือกทําวิจยั ในหัวข้อนี/ แรง ่ ่ ่ ่ บันดาลใจดังกลาวมาจากการอานงานของอาจารย์ พิชญ์ จากแหลงตางๆ ่ รศ.ธวัช ทันโตภาส และผศ.นิภา ไชยเศวต แหงสาขาวิ ชารัฐศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี ที$ประสิ ทธิ ประศาสน์วิชาให้แกผู่ ว้ ิจยั ่ ยง$ิ รวมถึงคําแนะนําและกาลั ํ งใจที$หวังดีต่อศิษย์เสมอมา ในระดับปริ ญญาตรี เป็ นอยางดี ่ อาจารย์พรรณี สุ ขโสภี ครู ผเู ้ ปรี ยบเสมือนญาติผใู ้ หญของผู ว้ ิจยั สําหรับคําแนะนําในการ เลื อ กทางเดิ น ของชี วิ ต และอาจารย์ ช าญณวุ ฒิ ไชยรั ก ษา แหง่ สาขาวิ ช ารั ฐ ศาสตร์ แ ละ รัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คุณอนงค์นาถ คําศิริ และครอบครัว สําหรับสิ$ งที$ดีที$มีแกผู่ ว้ จิ ยั ตลอดมา โรงเรี ยนเบญจมราชรังสฤษฎิ4 ฉะเชิงเทรา สถานที$สร้างผูว้ ิจยั ให้มีความพร้อมในการเผชิ ญ ั ่ ่ นม.6/7 รุ่ น 107 ทุกคนที$มีส่ วนตอการให้ ่ ํ งใจตอ่ผูว้ ิจยั ในทางใด กบโลกกว้ าง รวมถึงเพื$อนรวมรุ กาลั ทางหนึ$ง ่ ่ น ปริ ญญาโท คุ ณ ศรั ณ ย์ จิ ร ะพงษ์ สุ วรรณ ญาเรศ อั ค รพั ฒ นานุ กู ล เพื$ อ นรวมรุ เทวพงษ์ พวงเพชร วารุ ณี ณ นคร และกนกพร หิ นเธาว์ ที$ได้ร่ วมกนั เรี ยนรู ้ ถกเถี ยง แลกเปลี$ ยน ํ งใจกนมาตลอดระยะเวลา ั ความคิด ความรู ้ และให้กาลั 3 ปี และท้ายสุ ดวิทยานิพนธ์ฉบับนี/ได้รับการสนับสนุนในด้านเงินทุนจากสถาบันพระปกเกล้า และบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ั นายวัชรพล พุทธรักษา : รัฐบาลทักษิณกบความพยายามสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา. (THE THAKSIN GOVERNMENT'S ATTEMPTS TO BUILD HEGEMONY) อ. ที7ปรึ กษา : ศาสตราจารย์ ดร.อนุสรณ์ ลิ7มมณี , 151 หน้า.

ั วิทยานิพนธ์เรื7 อง “รัฐบาลทักษิณกบความพยายามสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา” ฉบับนีG มีคาํ ถามหลักในการวิจยั วา่ 1. เราสามารถอธิบายการดําเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของ ่ และ 2. การดําเนินการ รัฐบาลทักษิณ ด้วยกรอบแนวความคิดเรื7 องการครองอํานาจนําได้อยางไร สร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณประสบความสําเร็ จหรื อไม่ เพราะเหตุใด โดยมี ่ สมมุติฐานวา่ รัฐบาลทักษิณสร้างภาวะการครองอํานาจนําที7สมบูรณ์ไมสํ่ าเร็ จ เพราะไมสามารถ ่ ่ ยึดกุมพืGนที7ประชาสังคมได้อยางสมบู รณ์ แตสามารถยึ ดกุมพืGนที7สังคมการเมืองและกลไกทางการ เมืองอื7นๆได้ ่ ฐ บาลทัก ษิ ณ นัG น ไมสามารถสร้ ่ ่ ผลการวิจ ยั พบวารั า งภาวะการครองอํา นาจนํา อยาง ิ G นได้ทG งั นีG เพราะวารั ่ ฐบาลทักษิณนัG นไมสามารถดํ ่ สมบูรณ์ ให้เกดขึ าเนิ นการยึดกุมพืG นที7ประชา ่ ั ค้ นในสังคมจํานวน สังคมได้อยางสมบู รณ์แม้กลไกนโยบายจะสร้ างความนิ ยมชมชอบให้กบผู ่ ฐบาลทักษิณจะสามารถยึดกุมพืGนที7สังคมการเมืองได้กตาม ็ หนึ7ง และแม้วารั

ภาควิชา การปกครอง สาขาวิชา การปกครอง ปี การศึกษา 2549

ลายมือชื7อนิสิต......................................................... ลายมือชื7ออาจารย์ที7ปรึ กษา........................................


# # 4781144824 : MAJOR GOVERNMENT KEY WORD: THAKSIN GOVERNMENT / HEGEMONY / GRAMSCI / WAR OF POSITION / HISTORIC BLOC WATCHARABON BUDDHARAKSA : THE THAKSIN GOVERNMENT'S ATTEMPTS TO BUILD HEGEMONY. THESIS ADVISOR : PROFESSOR DR.ANUSORN LIMMANEE, 151 pp.

To answer whether the Thaksin government’s attempt to build hegemony over Thai society is successful or not and why, this thesis hypothesizes that although the regime can take over the political society, it cannot take complete control of the civil society. It is found in this empirical study that the government’s attempt is evidently unsuccessful, as it has faced a number of counter hegemonic groups in the Thai civil society.

Department Government Field of study Government Academic year 2006

Student’s signature…………………………….. Advisor’s signature……………………………..


สารบัญ หน้า ่ บทคัดยอภาษาไทย ...................................................................................................................ง ่ บทคัดยอภาษาอั งกฤษ ..............................................................................................................จ ิ กรรมประกาศ .................................................................................................................. ฉ กตติ สารบัญ.................................................................................................................................... ช บทที" 1 บทนํา ...........................................................................................................................1 1.1 ที"มาของประเด็นปั ญหาในการศึกษา..............................................................................1 ี" ั ฐบาลทักษิณ ..............................6 1.2 ความสําคัญของปั ญหา: ทบทวนวรรณกรรมเกยวกบรั 1.2.1 แงมุ่ มของประเด็นปั ญหาที"ศึกษา.......................................................................6 1.2.2 แงมุ่ มของการเลือกใช้กรอบแนวคิดและทฤษฎี ...............................................17 1.3 วัตถุประสงค์ของการวิจยั .............................................................................................19 1.4 คําถามหลักของการวิจยั ...............................................................................................19 1.5 สมมุติฐาน....................................................................................................................19 1.6 ระเบียบวิธีวจิ ยั .............................................................................................................19 1.7 ขอบเขตของการศึกษา .................................................................................................20 ่ 1.8 ประโยชน์ที"คาดวาจะได้ รับ ..........................................................................................20 1.9 นิยามศัพท์เฉพาะ..........................................................................................................21 บทที" 2 กรอบความคิดในการอธิบายปรากฏการณ์: แนวคิดการครองอํานาจนํา ของ อันโตนิโอ กรัมชี ............................................................................................................22 2.1 อันโตนิโอ กรัมชี (Antonio Gramsci): สังเขปชีวประวัติ .............................................22 2.2 กรอบความคิดในการอธิบายปรากฏการณ์: แนวคิดการครองอํานาจนํา (Hegemony) 25 2.2.1 การครองอํานาจนํา: นิยาม ความหมาย............................................................25 2.2.2 โครงสร้างของการครองอํานาจนํา: แนวความคิดองค์ประกอบของการครอง อํานาจนํา ...........................................................................................................................30


หน้า 2.3 การครองอํานาจนําในฐานะที"เป็ นกรอบในการอธิบายปรากฏการณ์ ...........................41 ่ ว ...............................................................43 บทที" 3 รัฐบาลทักษิณ: ความเป็ นมา และการกอตั ่ วของพรรคไทยรักไทย ........................................................43 3.1 ความเป็ นมาและการกอตั ่ าวงการการเมือง ..46 3.1.1 ปูมหลังของพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร: ความเป็ นมากอนเข้ 3.1.2 ปูมหลังของพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร: เข้าสู่ วงการการเมือง...........................49 ่ Uงพรรคไทยรักไทย....................................................................................50 3.1.3 กอตั ่ วของรัฐบาลทักษิณ ..............................................................53 3.2 ความเป็ นมาและการกอตั 3.2.1 ชัยชนะในการเลือกตัU ง 6 มกราคม 2544 ..........................................................53 ั 3.2.2 รัฐบาลทักษิณกบความพยายามสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา ........................58 3.3 สรุ ป .............................................................................................................................60 ั บทที" 4 รัฐบาลทักษิณกบการดํ าเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนํา: การใช้กลไกการครอง อํานาจนํา ................................................................................................................................61 4.1 กรอบความคิดในการอธิบายการดําเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนํา .................61 4.2 รู ปแบบในการอธิบายกระบวนการสร้างภาวะการครองอํานาจนํา...............................62 4.3 การดําเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ..................................62 4.3.1 แนวความคิดกลไกหลักของการสร้างภาวะการครองอํานาจนํา ......................66 ่ "รัฐบาลทักษิณได้นาํ มาใช้ในการดําเนินการสร้างภาวะการครอง 4.3.2 กลไกตางๆที อํานาจนํา............................................................................................................................67 4.3.3 การทําสงครามยึดพืUนที"ทางความคิดด้วยกลไกการครองอํานาจนํา .................69 กลไกการครองอํานาจนํา ..................................................................................70 ก. กลไกนโยบาย....................................................................................70 1) นโยบายนํามาใช้ในการเลือกตัU งปี 2544.....................................70 ํ ่ 2) การกาหนดนโยบายในชวงของการครองอํ านาจ .......................72 - นโยบายเชิงเศรษฐกจิ ........................................................72 - นโยบายเชิงสังคม .............................................................76


หน้า 3) กลไกนโยบายที"ใช้หาเสี ยงเพื"อกลับสู่ อาํ นาจในปี 2548.............81 ข. การจัดการภาพลักษณ์ของผูน้ าํ ..........................................................84 1) มีวสิ ัยทัศน์กว้างไกล..................................................................84 ่ เรี ยบงาย ่ และเป็ นกนเอง ั ...............................87 2) มีตวั ตนเข้าถึงงาย 3) มีภาวะผูน้ าํ สู ง ............................................................................92 4) เพื"อเบี"ยงเบนประเด็นความสนใจจากสังคม...............................93 ั บทที" 5 รัฐบาลทักษิณกบการดํ าเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนํา: การใช้กลไกรัฐ .......61 กลไกรัฐ/กลไกอํานาจรัฐ ....................................................................................................97 5.1 การเพิม" จํานวนที"นง"ั ในสภาผูแ้ ทนราษฎรเพื"อเลี"ยงการตรวจสอบ ................................98 ่ ่ 5.2 ใช้ความเข้มแข็งให้เป็ นประโยชน์ในการผานรางกฎหมาย ........................................101 ั านาจรัฐตางๆ ่ ....................................................104 5.3 การแทรกแซงองค์กรที"สัมพันธ์กบอํ 1) องค์กรอิสระตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ 2540 ................104 2) การแทรกแซงสื" อมวลชน ........................................................108 3) ระบบราชการ และกองทัพ ......................................................111 5.4 สรุ ป ...........................................................................................................................113 ่ ครองอํานาจนํา ...........................................................................114 บทที" 6 การโต้ตอบตอการ ่ 6.1 การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนํารู ปแบบในการอธิบายและแนวความคิด ...............114 6.1.1 รู ปแบบในการอธิบาย....................................................................................114 ่ 6.1.2 แนวความคิดการโต้ตอบตอการครองอํ านาจนํา (Counter Hegemony).........115 ่ ่ .......................................................116 6.2 การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําโดยกลุ่มตางๆ 6.2.1 กลุ่มปัญญาชน/นักวิชาการ ............................................................................116 6.2.2 สื" อมวลชน.....................................................................................................120 6.2.3 กลุ่มการเมืองภาคประชาชน ..........................................................................122 6.2.4 กลุ่มการเมืองอื"นๆ .........................................................................................128 6.3 สรุ ป ...........................................................................................................................130


หน้า บทที" 7 สรุ ปผลการวิจยั และข้อเสนอแนะ ...........................................................................131 7.1 สรุ ปผลการวิจยั ..........................................................................................................131 7.2 ข้อเสนอแนะ..............................................................................................................137 รายการอ้างอิง...……………………………………………………………………………139 ประวัติผเู ้ ขียนวิทยานิพนธ์…………………………………………………………………151


สารบัญตาราง หน้า ่ "รัฐบาลทักษิณได้นาํ มาใช้ในการดําเนินการสร้างภาวะครอง ตารางที" 1 แสดงกลไกตางๆที อํานาจนํา............................................................................................................................68 ตารางที" 2 แสดงเกณฑ์ในการจัดสรรงบประมาณของโครงการ SML ...............................80


สารบัญรปภาพ ู หน้า ่ ั ่ นกนเอง ั .88 ภาพที" 1 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ขณะรับประทานอาหารรวมกบชาวบ้ านอยางเป็ ่ U ากบประชาชนอยางใกล้ ั ่ ่ ภาพที" 2 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เลนนํ ชิดชวงเทศกาลสงกรานต์ ..88 ั ่ ่ ภาพที" 3 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร กบความ เรี ยบงายในชวงออกทั วร์นกขมิUน .......................90 ่ ภาพที" 4 ดูสภาพปัญหาในพืUนที"อยางใกล้ ชิด ......................................................................90 ั ั ภาพที" 5 ให้ความเป็ นกนเองกบประชาชน .........................................................................91 ่ ภาพที" 6 แสดงความเห็นใจตอชาวบ้ านผูป้ ระสบปัญหา .....................................................91 ภาพที" 7 ขณะลงพืUนที"โชว์การแกปั้ ญหาความยากจน ที"จงั หวัดร้อยเอ็ด .............................92


สารบัญแผนภาพ หน้า แผนภาพที" 1 แสดงการดําเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ .........42


บทที 1 บทนํา 1.1 ทีม าของประเด็นปัญหาในการศึกษา สังคมการเมืองไทยภายหลังการปฏิรูปการเมืองนับจากการประกาศใช้รัฐธรรมนูญที#ได้ชื#อ ่ น “รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน”1 นับตั. งแตปี่ 2540 เป็ นต้นมานั. น นับได้วามี ่ การเปลี#ยนแปลง วาเป็ ิ . นในหลากหลายแงมุ่ มด้วยกนั เชน่ มีการได้มาซึ# งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบ ทางการเมืองเกดขึ ้ หนึ#งเขตหนึ#งผูแ้ ทน มีสมาชิกวุฒิสภาที#มาจากการเลือกตั.งโดยตรงจากประชาชนเป็ นครั. งแรก มีการ ํ ด ขึ. น ขององค์ก รตามเจตนารมณ์ ข องรั ฐ ธรรมนู ญ หรื อ องค์ก รอิ ส ระเกดขึ ิ . น หลายองค์ก ร กาเนิ ่ น เชน่ ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนู ญ คณะกรรมการการเลื อกตั. ง คณะกรรมการตรวจเงิ นแผนดิ ั ่ คณะกรรมการป้ องกนและปราบปรามการทุ จริ ตแหงชาติ เป็ นต้น ทั. งนี. โดยมีจุดมุ่งหมายให้องค์กร ่ . ได้ทาํ หน้าที#ในการเป็ นองค์กรตรวจสอบเพื#อทําหน้าที#ในการตรวจสอบ และถวงดุ ่ ล อิสระเหลานี ิ ่ และเป็ น การบริ หารงาน และการใช้อาํ นาจบริ หารของฝ่ ายบริ หาร เพื#อให้เกดการเมื องที#โปรงใส ธรรม2 ่ นภาวะการเมืองนิ# ง และมีรัฐบาลที#มี นอกจากนี. สภาพการณ์ทางการเมืองไทยที#เรี ยกได้วาเป็ 3 ็ นอีกแงมุ่ มหนึ# งที#มีการเปลี#ยนแปลงไปจาก ่ นั. นกเป็ เสถี ยรภาพในการบริ หารงานเป็ นอยางมาก 4 ิ 2540 อยางมาก ่ สภาพการณ์ทางการเมืองยุคหลังวิกฤติเศรษฐกจปี รัฐบาลทักษิณ หรื อรัฐบาลภายใต้การนําของพรรคไทยรักไทย ได้รับชัยชนะในการเลือกตั. ง ่ ่ ทัว# ไปเมื#อวันที# 4 มกราคม 2544 อยางถลมทลาย มีผแู ้ ทนในสภาผูแ้ ทนราษฎรถึง 248 เสี ยง5 ซึ# ง ่ ตอมาภายหลั งจากที#ได้มีการยุบรวมพรรคการเมืองอื#น ได้แกพ่ รรคเสรี ธรรม พรรคความหวังใหม่ ั ั ่ ฐบาล เชน่ พรรคชาติพฒั นา พรรคถิ# นไทย เข้ากบพรรคไทยรั กไทย และเมื#อรวมกบพรรครวมรั ็ า ให้รัฐบาลทัก ษิณ นั. นมี เสี ย งในสภารวมกนมากกวา ั ่ 300 เสี ยงเลยที เดี ย ว6 พรรคชาติ ไ ทย กทํ นอกเหนือจากการที#รัฐบาลมีเสี ยงสนับสนุ นข้างมากในสภาผูแ้ ทนราษฎรแล้ว การมีภาวะ 1

่ ฐธรรมนูญ, ประชาชนได้อะไรจาก (ราง ่ ) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจั ่ สภารางรั กรไทย, (กรุ งเทพฯ: คณะกรรมาธิการ ่ ฐธรรมนูญ, 2540), หน้า 1-16. ประชาสัมพันธ์ สภารางรั 2 ลิขิต ธีรเวคิน, วิวฒั นาการการเมืองการปกครองไทย, พิมพ์ครั. งที# 9 (กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2546), หน้า 296-302. 3 ั ประเวศ วะสี , “รัฐบาลทักษิณกบความรั บผิดชอบทางประวัติศาสตร์,” ใน รู ้ทนั ทักษิณ, เจิมศักดิN ปิ# นทอง, บรรณาธิการ (กรุ งเทพฯ: ฃอคิดด้วยฅน, 2547), หน้า 187. 4 ลิขิต ธีรเวคิน, วิวฒั นาการการเมืองการปกครองไทย, หน้า 313-320. 5 ดู คู่มือเลือกตั. ง 48 อนาคตประเทศไทย, (กรุ งเทพฯ: มติชน, 2548), หน้า 32. 6 เรื# องเดียวกนั, หน้า 32.


2

ผูน้ าํ ที#เข้มแข็งของนายกรัฐมนตรี อันเป็ นผลมาจากบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฉบับ 25407 กอปรกบั การมีทีมงานเบื. องหลังของพรรคไทยรักไทยที#เข้มแข็งที#คอยทําหน้าที#ในการวิจยั และออกแบบ ่ 8, การประยุกต์ใช้กลยุทธ์เชิงการตลาด (marketing) เข้ากบการ ั ข้อเสนอ/ทางเลือกของนโยบายตางๆ ่ #นาํ โดยพรรคประชาธิ ปัตย์ ่ นําเสนอนโยบายตางๆของรั ฐบาล9 และกระแสเบื#อ การเมืองแบบเกาที ่ ่ ่ และต้องการค้นหาทางเลือกใหมทางการเมื องกล้็ วนสงผลตอการมี อาํ นาจที#เข้มแข็งของรัฐบาลด้วย ่ ั เชนกน รัฐบาลทักษิณในสมัยแรกของการบริ หารงานนั. น (พ.ศ.2544-2548) อาศัยความเข้มแข็งของ หัวหน้าพรรค รวมถึ งกลุ่มทุ นที#อยู่เบื. องหลัง และสภาพการณ์ ทางการเมืองที#เอื. ออํานวย ทําการ ่ ่ ่ ฉับไว และกล้าที#จะตัดสิ นใจในการดําเนินการในเรื# องตางๆอยาง ่ ่ บริ หารประเทศอยางคลองแคลว ่ รวดเร็ ว รัฐบาลทักษิณจึงได้รับคะแนนนิยมทางการเมืองจากประชาชนในสังคมในระดับสู งในชวง ่ นชวง ่ “ขาขึ. น” ของรัฐบาลทักษิณกวาได้ ็ ่ 10 ต้นของการบริ หารงาน (2544-2546) ซึ# งอาจเรี ยกได้วาเป็ นอกจากภาวะผูน้ าํ ของนายกรัฐมนตรี ในลักษณะของการเป็ นผูน้ าํ ที#กล้าคิด กล้านําเสนอสิ# งใหม่ ่ ่ งพอใจแล้ว การนําเสนอทางเลือกเชิ ง และกล้าตัดสิ นใจจะเป็ นสิ# งที#ประชาชนชาวไทยสวนใหญพึ ่ ่ ่ การนําเสนอ “เมนู นโยบายสาธารณะผานการจั ดการทางการตลาดอยางยอดเยี #ยม หรื อที#เรี ยกได้วามี นโยบาย”11 ที#มีลกั ษณะแบบประชานิยมให้ประชาชนได้เลือกบริ โภค ได้ตามความต้องการนั. น อาทิ ั ขภาพถ้วนหน้า หรื อที#เรี ยกวา่ “30 รักษาทุกโรค” โครงการหนึ#งตําบลหนึ# ง เชน่ โครงการประกนสุ ผลิตภัณฑ์ ธนาคารคนจน โครงการพักชําระหนี. เกษตรกร โครงการบ้านเอื. ออาทร และโครงการเอื. อ ่ องรัฐบาล เพื#อเอาชนะ ความยากจน อาทรอื#นๆ12 เป็ นต้น รวมไปถึงการประกาศสงคราม 3 อยางข ็ นปั จจัยสําคัญเชนกน ่ ั ที#ช่ วยสงเสริ ่ มให้รัฐบาลทักษิณในชวง ่ “ขา การทุจริ ต และยาเสพติด13 กเป็ ่ และมีคะแนนนิยมอยูใ่ นระดับที#สูงมาก14 ขึ. น” ได้รับเสี ยงตอบรับ และการยอมรับในแงบวก

7

เกษียร เตชะพีระ, “ระบอบทักษิณ”, ใน ฟ้ าเดียวกนั 2 (มกราคม-มีนาคม 2547), หน้า38. ่ #มีคุณคาคื ่ อเป้ าหมายของนโยบายทักษิโณมิคส์,” ใน เนชัน# สุด สิ นีพร มฤคพิทกั ษ์, “พันศักดิN วิญญรัตน์ ความแตกตางที สัปดาห์ 644 (4 ตุลาคม 2547), หน้า 82-85. 9 นิชาภา ศิริวฒั น์, Branding ไทยรักไทย, (กรุ งเทพฯ: Higher Press, 2546), หน้า 75-112. 10 ่ #มา: ดู สวนดุสิตโพล “นายกฯทักษิณ”/”พรรคไทยรักไทย”ในสายตาประชาชน [Online]. แหลงที http://dusitpoll.dusit.ac.th/2546/2546_425.html [2 พฤษภาคม 2549] 11 รังสรรค์ ธนะพรพันธ์, จาก Thaksinomics สู่ทกั ษิณาธิปไตยภาค 1-2, (กรุ งเทพฯ: Openbooks, 2548), หน้า 21-26. 12 ดู http://www.thairakthai.or.th/trtp/detail/4_repair.asp [2 ตุลาคม 2549] 13 ่ ดู คํากลาวของน ายกฯทักษิณฯในการประชุมชี. แจงนโยบายของรัฐบาลแกผู่ บ้ ริ หารระดับสูง วันที# 5 มีนาคม 2544 ่ #มา: http://www.thaigov.go.th/speech/thaksin/sp05mar44.htm. [Online]. แหลงที 14 ั ดู สวนดุสิตโพล “เปรี ยบเทียบนโยบายพรรคไทยรักไทยกบพรรคประชาธิ ปัตย์ในสายตาประชาชน [Online]. ่ #มา: http://dusitpoll.dusit.ac.th/2546/2546_446.html [5 พฤษภาคม 2549] และ “การเมือง เศรษฐกจิ สังคมวันนี. เมื#อ แหลงที ั ที#ผานมา ่ [Online]. แหลงที ่ #มา: http://dusitpoll.dusit.ac.th/2546/2546_456.html [5 พฤษภาคม 2549] เปรี ยบเทียบกบปี 8


3

่ 2 ปี แรก สภาวการณ์ทางการเมืองแบบ “ขาขึ. น” ของรัฐบาลทักษิณนั. นดํารงอยูไ่ ด้ในชวง ่ . น แตในชวงครึ ่ ่ # งหลังของการบริ หารงานในสมัยแรกของ ของการบริ หารงาน (2544-2546) เทานั 15 รัฐบาลทักษิณนั. น ได้เริ# มที#จะถูกท้าทาย ความสามารถในการบริ หารประเทศจากปั ญหาที#รุมเร้าการ ่ บริ หารงานอยางหนั ก อาทิเชน่ ปั ญหาการปกปิ ดข้อมูลเรื# องไข้หวัดนก16 ปั ญหาเรื# องการคอร์ รัปชัน ี# ั การแปรรู ป ่ ฐบาล กบธุ ั รกจเอกชนบางกลุ ิ ่ม17 ปั ญหาเกยวกบ และผลประโยชน์ทบั ซ้อนระหวางรั ่ ดการ และควบคุ ม ปั ญหาความรุ นแรงในสามจัง หวัด รั ฐวิส าหกจิ 18 ตลอดจน การไมสามารถจั ่ . จึง ทํา ให้เป็ นที# วิพ ากษ์ วิจารณ์ ก นในสั ั ชายแดนภาคใต้ไ ด้เป็ นต้น กรณี ปั ญหาที# รุมเร้ า เชนนี ง คม ่ นชวงเวลาขาลง ่ โดยทัว# ไปวาเป็ ของรัฐบาลทักษิณ ่ ่ แตภายใต้ สภาวการณ์แบบขาลงที#รัฐบาลทักษิณได้เผชิญหน้าในชวงปลายปี 2546 จนถึงต้น ่ ปี 2548 รัฐบาลทักษิณกลับสามารถเอาตัวรอดจากสถานการณ์ที#กดดันรอบด้าน และสามารถผาน ่ พ้นการบริ หารงานในสมัยแรกไปได้ ตามคํากลาวของนายกรั ฐมนตรี ที#เคยประกาศไว้ว่า รัฐบาล ทักษิณจะเป็ นรัฐบาลที#มาจากการเลือกตั. งเป็ นรัฐบาลแรกที#บริ หารประเทศได้ครบเทอม 4 ปี 19 ่ ่ ชัยชนะจากการเลือกตั. งทัว# ไปในเดือนกุมภาพันธ์ 2548 อยางถลมทลายอี กครั. งของพรรค ่ ฐบาลทักษิณนั. นสามารถเอาตัวรอดจากชวงที ่ #ประสบปั ญหาขาลง ไทยรักไทยนั. นเป็ นบทพิสูจน์วารั ่ ่ นอกจากนี. จาํ นวนผูแ้ ทนราษฎรที# ในชวงปลายสมั ยแรกของการบริ หารประเทศมาได้เป็ นอยางดี ได้รับเลือกตั. งของพรรคไทยรักไทยนั. นยังเพิ#มขึ. นจนมีผแู ้ ทนถึง 377 เสี ยงจนทําให้รัฐบาลทักษิณใน สมัย ที# ส องนี. ส ามารถบริ หารประเทศได้ ด้ ว ยการเป็ นรั ฐ บาลพรรคเดี ย ว เป็ นครั. ง แรกใน ประวัติศาสตร์ ่ ตลอดชวงระยะเวลา 4 ปี แรกของการบริ หารประเทศของรัฐบาลทักษิณจนถึงการได้รับชัย ่ ฐบาลทักษิณนั. นได้มีความ ชนะในการเลือกตั. งทัว# ไปเมื#อวันที# 6 กุมภาพันธ์ 2548 นั. น จะพบวารั พยายามที#จะสร้างภาวะการครองอํานาจนํา20อยูต่ ลอดเวลา ซึ#งเป็ นการสร้างภาวะการครองอํานาจนํา ทั. งในทางการเมือง และในทางสังคมหรื อความรู ้สึกนึกคิดของผูค้ นอีกด้วย 15

่ ิ . นจากกลุ่มตางๆทั ่ . งกลุ่มการเมืองฝ่ ายตรงข้าม การท้าทาย และการโต้ตอบตอการใช้ อาํ นาจของรัฐบาลทักษิณเกดขึ ่ การท้าทาย และการโต้ตอบตอการใช้ ่ รวมถึงกลุ่มพลังทางสังคมที#ออกมาเรี ยกร้องในประเด็นปัญหาตางๆ อาํ นาจของรัฐบาลทักษิณ ั ่ การเผยแพรความรู ่ ่ ได้แสดงออกในหลายทางด้วยกนอาทิ การเดินขบวนเรี ยกร้องของกลุ่มพลังทางสังคมตางๆ ้ ความคิดผานการผลิ ต ่ หนังสื อเพือ# วิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลทักษิณ เป็ นต้น รายละเอียดในประเด็นนี. โปรดดูใน บทที# 5 การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําของ รัฐบาลทักษิณ 16 ่ ั กองบรรณาธิการ, “วัคซีนไกในครั วโรค,” ใน a day weekly 18 (17-23 กนยายน 2547), หน้า 14-15. 17 ี ตั. งกจวานิ ิ ชย์, “คอรัปชัน# นโยบาย,” ใน รู ้ทนั ทักษิณ, เจิมศักดิN ปิ# นทอง, บรรณาธิการ (กรุ งเทพฯ: ฃอคิด สมเกยรติ ด้วยฅน, 2547), หน้า 61-66. 18 ่ 2547, ยิง# กวาโหมโรง ่ ดู เนชัน# สุดสัปดาห์ฉบับรวมเลมปี ต้องดูทวิภพ กฟผ, [CD-ROM], (กรุ งเทพฯ: เนชัน# สุดสัปดาห์) 19 ่ 2547, ไทยรักไทยในปี ที# 6 : พรรคแหงคํ ่ ามัน# สัญญา, [CD-ROM] ดู เนชัน# สุดสัปดาห์ฉบับรวมเลมปี 20 หมายถึง สภาพการณ์ทางสังคม-การเมืองที#อาํ นาจนําของรัฐบาลทักษิณมีอยูใ่ นระดับสูงดังเห็นได้จาก ภาวะการครอง ่ ่ ดเสร็ จ, การเข้าไปมีบทบาทนํา และแทรกแซงในการดําเนินงาน อํานาจนําในทางการเมือง เชนการยึ ดกุมสภาผูแ้ ทนราษฎรได้อยางเบ็


4

ิ . นโดยการดําเนินการ การพยายามสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณนั. นเกดขึ ่ ่ อาทิ การใช้กลไกเชิ งอํานาจรัฐ เชน่ ความสามารถในการควบคุ มผูแ้ ทนในสภา ผานกลไกตางๆ ผูแ้ ทนราษฎร รวมไปถึงวุฒิสมาชิกจํานวนหนึ#ง และกลไกอิสระตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญได้ ในระดับหนึ#ง, การใช้อาํ นาจรัฐแทรกแซงสื# อมวลชน เป็ นต้น หรื อความพยายามในการครองอํานาจ ่ ่ ่ านาจรัฐ เชน่ การกาหนดนโยบายในลั ํ นําผานกลไกอื #นๆที#ไมใชอํ กษณะประชานิ ยม, การจัดการ ภาพลักษณ์ผนู ้ าํ รัฐบาลให้เป็ นที#ถูกใจชนชั. นผูถ้ ูกปกครอง หรื อชาวบ้านทัว# ไป เป็ นต้น ่ ภาวะที#รัฐบาลทักษิณสามารถครองอํานาจนําทั. งในทางการเมือง และในทางสังคม ได้อยาง ่ ่ 2544-2546 ซึ# งอาจเรี ยกได้วาเป็ ่ นชวงเวลาขาขึ ่ สู งสุ ด คือชวงระหวางปี . นของการบริ หาร ปกครอง ่ # มต้นการดําเนินงานของรัฐบาลใหมที่ #จดั ได้ว่าเป็ นความหวังใหมของ ่ ประเทศ เนื# องจากเป็ นชวงเริ สังคมในขณะนั. น ิ ่ 2 ปี แรกของการ ภาวะการครองอํานาจนําสู งสุ ด21ที#รัฐบาลทักษิณเคยสร้างให้เกดในชวง ่ ิ . นอีกเลย เนื#องจากมีการท้าทาย และการโต้ตอบตอการครองอํ ่ บริ หารประเทศนั. น ไมเคยเกดขึ านาจ ่ ่ #อง เชน่ ปั ญหาเรื# องการปกปิ ดข้อมูลไข้หวัดนก ปั ญหาเรื# องความ นําของรัฐบาลทักษิณอยูอ่ ยางตอเนื ้ ญหาความรุ นแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้นบั ตั. งแตเหตุ ่ การณ์การปล้นปื น ล้มเหลวในการแกไขปั ่ #งการแปร วันที# 4 มกราคม 2547 เป็ นต้นมา ปั ญหาเรื# องการแปรรู ปรัฐวิสาหกจิ โดยเฉพาะอยางยิ ่ รู ปการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) เป็ นต้น การท้าทายภาวะการครองอํานาจนําของ รัฐบาลทักษิณกรณี ต่างๆ ล้วนมีผลทําให้ภาวะในการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณนั. นลดตํ#าล ่ 2 ปี แรกอยางมาก ่ จากภาวะสู งสุ ดในชวง ่ การท้าทายและโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําของรัฐบาลทักษิณนั. นได้เพิ#มระดับของความ ่ ่ รุ นแรง และความไมพอใจของผู ท้ ี#ถูกครอบงํากมี็ สูงขึ. นอยางมาก ทั. งนี. เนื#องมาจากการท้าทายหลักๆ ่ วขึ. นของ ่ ที#สาํ คัญอาทิเชน่ ปั ญหาเรื# องพระราชอํานาจ และการลวงละเมิ ดพระราชอํานาจ22 การกอตั ่ การคุกคาม แทรกแซง และควบคุมการดําเนินงาน และเสรี ภาพของ ของวุฒิสภา ตลอดจนองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญตางๆ ่ สื# อมวลชน เป็ นต้น สวนการครองอํ านาจนําในทางสังคม หรื อในทางวิถีชีวิตของผูค้ น เชน่ การได้รับคะแนนนิยมจากผูค้ นในสังคม ่ อันเนื#องมาจากความชื#นชมในลักษณะเฉพาะตัวของผูน้ าํ รัฐบาล ในระดับสูง ดังเห็นได้จากโพล และผลการสํารวจความคิดเห็น ตางๆ เป็ นต้น 21 ่ ่ ่ . นไมเคยเกดขึ ่ ิ . นภายใต้ยคุ ของรัฐบาลทักษิณ ดังเห็นได้จาก ไมใชการครองอํ านาจนําสมบูรณ์ เนื#องจากภาวะดังกลาวนั ่ ั การลมสลายของรั ฐบาลทักษิณในปี 2549 แตคํ่ าวา่ “ภาวะการครองอํานาจนําสู งสุด” ในที#น. ีหมายถึง ภาวะที#ใกล้เคียงกบภาวะการ ่ ครองอํานาจนําที#สมบูรณ์มากที#สุด ดังเห็นได้จากสภาวการณ์ที#กลุ่มพลังตางๆในสั งคมยังคงยอมรับอํานาจ และความชอบธรรมของ รัฐบาลทักษิณอยูช่ ว#ั ระยะเวลาหนึ#ง และยังไมมี่ การออกมาโต้ตอบ หรื อท้าทายอํานาจของรัฐบาลทักษิณมากนัก 22 ่ ดู ข้อถกเถียงเรื# องพระราชอํานาจระหวางงานของ ประมวล รุ จนเสรี , พระราชอํานาจ, (กรุ งเทพฯ: สุเมธ รุ จนเสรี , ่ #มา: 2548); และงานของ สมศักดิN เจียมธีรสกุล, บทวิจารณ์หนังสื อเรื# อง “พระราชอํานาจ,”[Online]. แหลงที http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document9554.html [28 กุมภาพันธ์ 2549]; กบั ธงชัย วินิจจะกูล, วาทกรรมพระราช ่ #มา: อํานาจหรื อประชาธิปไตยแบบคิดสั. น, [Online] แปลโดย ไอดา อรุ ณวงษ์. แหลงที http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document9555.html [26 กุมภาพันธ์ 2549]


5

“ปรากฏการณ์สนธิ ” จากรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร และมาถึงจุดแตกหักที#ทาํ ให้ภาวะการ ่ . นเชิ งกคื็ อ การขายหุ ้นในเครื อชิ นคอร์ ป ครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณได้ถูกทําลายลงอยางสิ 23 ่ ให้แกกองทุ นเทมาเส็ก ของประเทศสิ งคโปร์ ่ ความไมพอใจของผู ถ้ ูกครอบงําได้ถูกแสดงออกในหลากหลายรู ปแบบ อาทิการออกมา ่ 24 ถึงภาวะการหมดความชอบธรรมในการบริ หารประเทศ แถลงการณ์ของอาจารย์มหาวิทยาลัยตางๆ ่ พร้อมทั. งเรี ยกร้องให้นายกรัฐมนตรี ลาออกจากตําแหนง่ การแถลงการณ์ขององค์กรพัฒนา อีกตอไป ่ ่ อตางๆ ่ เป็ นจํานวนมาก25 ตลอดจนการชุ มนุ มประท้วงครั. ง เอกชน ตลอดจนเครื อขายความรวมมื ่ ่ ใหญโดยการนํ าของนายสนธิ ลิ.มทองกุล เมื#อวันที# 4 กุมภาพันธ์ 2549 และการชุ มนุ มใหญภายใต้ การนําที#เปลี#ยนเป็ นพันธมิตรประชาธิปไตยเพื#อประชาชน เมื#อวันที# 11 กุมภาพันธ์ 2549 ่ 2544ภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณมีภาวะการครองอํานาจนําสู งสุ ดในชวงปี ิ ่ 2546 แตนั่ บจากต้นปี 2547 เป็ นต้นมา ได้เริ# มเกดภาวะการท้ าทายและโต้ตอบตอการครองอํ านาจนํา ของรัฐบาลทักษิณในหลายๆกรณี แตรั่ ฐบาลทักษิณกยั็ งคงครองภาวะอํานาจนําเหนื อสังคม การ ่ ครองอํานาจตอไป ่ จนกระทัง# ภาวะการท้าทายการครอง เมืองไทยได้อยู่ในระดับที#ยงั มัน# คงตอการ ็ ่ อํานาจนําของรัฐบาลทักษิณได้ดาํ เนินมาสู่ จุดสู งสุ ด รัฐบาลทักษิณกไมสามารถรั กษาภาวะการครอง ่ อํานาจนําเหนือสังคม การเมืองไทยได้อีกตอไปจนต้ องตัดสิ นใจหาทางออกจากปั ญหา ด้วยการยุบ สภาในที#สุด เมื#อวันที# 24 กุมภาพันธ์ 2549 ่ ในมุมมองของผูว้ ิจยั สิ# งที#น่าสนใจกคื็ อ ปั ญหาการเมืองไทยรวมสมั ยในยุคสมัยของรัฐบาล ่ ั ผูว้ ิจยั จึงมีความ ทักษิณนั. นเป็ นปั ญหาที#น่ าสนใจ เพราะเป็ นเรื# องใกล้ตวั ที#สังคมต้องเผชิ ญรวมกน ี# ั ฐบาลทักษิณในแงมุ่ มของ สนใจที#จะทําการศึกษาวิจยั เพื#อสร้างชุ ดของคําอธิ บายปั ญหาเกยวกบรั การสร้างภาวะการครองอํานาจนํา และการถูกท้าทายการครองอํานาจนําจากผูถ้ ูกครอบงํา หรื อผูถ้ ูก ่ โดยอาศัยกรอบแนวความคิดเรื# องการครองอํานาจนํา (Hegemony) ของอันโตนิ ปกครองกลุ่มตางๆ โอ กรัมชี (Antonio Gramsci) เป็ นกรอบในการอธิบายปัญหาในการวิจยั ่ นหลักนั. นเป็ นเพราะความสนใจที#จะศึกษา ซึ# งสาเหตุที#ผวู ้ ิจยั ได้เลือกใช้แนวคิดดังกลาวเป็ ่ วของผูว้ ิจยั และผูว้ ิจยั พบวากรอบแนวคิ ่ ่ # อนํามาใช้อธิ บายปั ญหาเกยวกบ ี# ั โดยสวนตั ดดังกลาวเมื ็ นการเปิ ดพื.นที#ในทางวิชาการรัฐศาสตร์ให้กว้างขวางมากขึ. นไปจากเดิมอีกด้วย รัฐบาลทักษิณกจะเป็ ่ งในสวนของความสํ ่ ่ โดยจะได้กลาวถึ าคัญของการศึกษาตอไป

23

ดู ม้านอกและเด็กนอกกรอบ (นามปากกา), 25 คําถาม เบื. องหลังดีลเทคโอเวอร์ชินคอร์ป, (กรุ งเทพฯ:Openbooks,

2549) 24

่ # อมวลชน โดยมีคณาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ เป็ นคณะแรกๆที#ได้ออกมาเรี ยกร้องผานสื ่ ดู รวมแถลงการณ์ของคณาจารย์ และองค์กรเอกชนตางๆได้ ที# http://files.thaiday.com/download/pdf/book.pdf [22 มีนาคม 2549] 25


6

ี# ั ฐบาลทักษิณดังกลาวจึ ่ งนําไปสู่ คําถามหลัก ใน ความสนใจของผูว้ จิ ยั ที#มีต่อปัญหาเกยวกบรั ่ การวิจยั ดังตอไปนี . คือ 1. เราสามารถอธิ บายการดําเนิ นการสร้ างภาวะการครองอํานาจนําของ รัฐบาลทักษิณ ด้วยกรอบแนวความคิดเรื# องการครองอํานาจนําได้อย่างไร และ 2. การดําเนินการ สร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณประสบความสําเร็ จหรื อไม่ เพราะเหตุใด 1.2 ความสํ าคัญของปัญหา: ทบทวนวรรณกรรมเกีย วกับรัฐบาลทักษิณ ่ ่ ในสวนตอจากนี . จะเป็ นการนําเสนอถึงความสําคัญของการศึกษา เรื# อง “รัฐบาลทักษิณกบั ความพยายามสร้างภาวะการครองอํานาจนํา” ซึ งความสํ าคัญของการศึกษา วิจยั ในประเด็นปั ญหา ่ . อาจกลาวได้ ่ ดัง กลาวนี ว่าเป็ นการศึ ก ษาเพื# อเปิ ดพื. น ที# ท างวิช าการรั ฐ ศาสตร์ ใ นด้า นการศึ ก ษา การเมืองการปกครองไทยให้กว้างขวางออกไปจากเดิม การวิจยั ในเรื# องนี. มีความสําคัญใน 2 แงมุ่ ม คือ 1) ในแงมุ่ มของประเด็นปัญหาที#ศึกษา และ 2) ในแงมุ่ มของกรอบแนวคิดและทฤษฎีที#เลือกใช้ 1.2.1 ในแง่ มุมของประเด็นปัญหาทีศ ึกษา ี# ั ฐบาลทักษิณในชวงเวลาที ่ การศึกษาเกยวกบรั #ผ่านมาได้มีผลงานออกสู่ สังคมเป็ นจํานวน ี# ั ฐบาลทักษิณออกเป็ น 3 กลุ่มใหญด้่ วยกนั มาก ในที#น. ี ผวู ้ ิจยั สามารถจําแนกงานที#ศึกษาเกยวกบรั ่ ่ ชาการ กลุ่มที#สอง เป็ นงานศึกษาแบบกงวิ # ึ ชาการ และกลุ่มสุ ดท้าย ได้แก่ กลุ่มแรก งานที#ไมใชงานวิ เป็ นงานศึกษาเชิงวิชาการ กล่มุ แรก งานทีไ ม่ ใช่ งานวิชาการ ่ มีระเบียบวิธีในการศึกษาที#ชดั เจน โดยสวนใหญแล้ ่ ่ ว งานศึกษาในกลุ่มนี. เป็ นผลงานที#ไมได้ ่ การอ้างอิงกรอบแนวความคิดเชิงทฤษฎี และมีลกั ษณะของการค้นคว้าอ้างอิงน้อย หรื อไมมี่ จะไมใช้ ่ ่ งานประเภทนี. ส่ วนใหญเป็ ่ นลักษณะของหนังสื อเลม่ ซึ# ง การค้นคว้าอ้างอิงในเชิงวิชาการแตอยางใด ั อ งานศึ ก ษาเกยวกบรั ี# ั ฐ บาลทัก ษิ ณ ในเชิ ง สามารถจํา แนกได้เ ป็ น 4 ลัก ษณะใหญด้่ ว ยกนคื ่ อัตชี วประวัติของผูน้ าํ งานศึกษาในเชิ งรวบรวมผลงาน/เหตุการณ์สําคัญในชวงสมั ยแรกของการ บริ หารประเทศ งานศึกษาในเชิงรวบรวมความคิด/สุ นทรพจน์/ปฐากถา และคําคม ของผูน้ าํ รัฐบาล และสุ ดท้ายคือ งานศึกษาในเชิงวิพากษ์ วิจารณ์ รัฐบาลทักษิณ


7

ี# ั ฐบาลทักษิณในเชิงอัตชีวประวัติของผูน้ าํ a) งานศึกษาเกยวกบรั ่ งานศึกษาในลักษณะนี. จะทําการศึกษาโดยมุ่งเน้นหนวยในการศึ กษาคือ ตัวผูน้ าํ หรื อตัว ่ #จะศึกษาถึงรัฐบาลทักษิณในลักษณะภาพรวมที#เป็ น ของนายกรัฐมนตรี ทกั ษิณ เป็ นหลัก มากกวาที สถาบัน ่ ่ # งานศึกษาเชิ งอัตชี วประวัติของนายกฯทักษิณในระยะแรกนั. นเป็ นการศึกษาตั. งแตกอนที ่ ่ นายกฯทักษิณจะเริ# มเข้าสู่ วงการเมือง จนถึงชวงของระยะแรกของชี วิตทางการเมือง ได้แกงานของ สรกล อดุลยานนท์26 เรื# อง “ทักษิณ ชิ นวัตร อัศวินคลื นลูกที สาม” และ รุ จน์ มัณฑิรา27เรื อง “ทักษิณ ชิ นวัตร นักบริ หารสมองกล” งานทั. งสองชิ. นนี. นาํ เสนออัตชีวประวัติของนายทักษิณ ชิ นวัตร และ ิ ่ ความสําเร็ จของตระกูลชิ นวัตรในการดําเนิ นธุ รกจการสื # อสาร และโทรคมนาคมในชวงทศวรรษ 2530 เป็ นต้นมา ่ . งพรรคไทยรักไทยในระยะเริ# มแรก กได้ ่ ่ #นายกฯทักษิณได้เริ# มกอตั ็ มี ในระยะตอมาเป็ นชวงที งานของ วัลยา28เรื# อง “ทักษิณ ชิ นวัตร ตาดูดาวเท้ าติดดิน” และ อธิ วฒั น์ ทรัพย์ไพฑูรย์ และคณะ29 เรื# อง “เส้ นทางชี วิต พ.ต.ท.ทักษิ ณ ชิ นวัตร” ได้ออกสู่ สาธารณะ ซึ# งได้นาํ เสนอถึงประวัติชีวิตของ นายกฯทักษิณตั. งแตชี่ วิตในวัยเยาว์ ประวัติการศึกษา การมีคู่ครอง การทําธุ รกจิ เรื# อยมาจนกระทัง# การเป็ นหัวหน้าพรรคพลังธรรม จนถึงการกอ่ตั. งพรรคไทยรักไทยในปี 2541 งานเชิงอัตชีวประวัตินายกฯทักษิณ ภายหลังจากที#ได้เข้าสู่ อาํ นาจในการบริ หารประเทศ ใน ปี 2544 แล้วกมี็ งานของ วีรพล จ้อยทองมูล และคณะ30เรื# อง “ประวัติ/สุ นทรพจน์ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิ น วัตร นายกรั ฐมนตรี คนที 23” และ ไพโรจน์ อยูม่ ณเฑียร และรุ จน์ มัณฑิรา31เรื# อง “ทักษิณ ชิ นวัตร ่ ่ นายกรั ฐมนตรี คนที 23” งานทั. ง 2 ชิ. นนี. มีลกั ษณะที#ไมแตกตางไปจากงานของวั ลยา มากนัก ี# ั เพียงแตมี่ การให้รายละเอียดเกยวกบการได้ รับชัยชนะในการเลือกตั.งทัว# ไปของพรรคไทยรักไทยใน ปี 2544 เพิม# มากขึ. น ่ b) งานศึ ก ษาในเชิ ง รวบรวมผลงาน/เหตุ ก ารณ์ สํา คัญในชวงสมั ย แรกของการบริ หาร ประเทศ ่ งานศึ ก ษาในลัก ษณะนี. เ น้น ความสํา คัญของรั ฐบาลทัก ษิ ณ ในภาพรวมมากกวาการให้ ่ ความสํา คัญ ที# ต ัว ของนายกฯทัก ษิ ณ ดัง เชนงานในลั ก ษณะข้า งต้น งานในลัก ษณะนี. จ ะทํา การ

26

สรกล อดุลยานนท์, ทักษิณชินวัตร อัศวินคลื#นลูกที#สาม, (กรุ งเทพฯ: มติชน, 2536) รุ จน์ มัณฑิรา, ทักษิณ ชินวัตร นักบริ หารสมองกล, (กรุ งเทพฯ: นํ. าฝน, 2538) 28 วัลยา (นามปากกา), ทักษิณ ชินวัตร ตาดูดาว เท้าติดดิน, (กรุ งเทพฯ: มติชน, 2542) 29 อธิวฒั น์ ทรัพย์ไพฑูรย์ และคณะ, เส้นทางชีวิต พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, (กรุ งเทพฯ: เยียร์บคุ๊ ส์ พับลิเชอร์, 2543) 30 วีรพล จ้อยทองมูล และคณะ, ประวัติ/สุนทรพจน์ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, (กรุ งเทพฯ: ลุ่มนํ. าเจ้าพระยา, 2544) 31 ไพโรจน์ อยูม่ ณเฑียร และรุ จน์ มัณฑิรา, ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี คนที# 23, (กรุ งเทพฯ: นํ. าฝน, 2544) 27


8

รวบรวม และบันทึกผลงาน ความสําเร็ จของนโยบาย และการบริ หารงานในสมัยแรกของรัฐบาล ทักษิณ เป็ นหลัก ่ ่ ตัวอยางงานในลั กษณะนี. เชนงานของ กาญจน์มุนี ศรี วิศาลภาพ และณรงค์ชยั ปั ญญานนท ชัย32เรื# อง “ทักษิ ณ บนบัลลังก์ นายกรั ฐมนตรี ” งานชิ.นนี. ได้ทาํ การบันทึก และรวบรวมเหตุการณ์ที# ่ สําคัญในชวงแรกของรั ฐบาลทักษิณในสมัยแรก อาทิ การจัดตั. งรัฐบาล การควบรวมพรรคการเมือง อื#นๆ การประกาศปลดหนี. IMF การซื. อที มฟุ ตบอล และรวบรวมผลงานของรัฐบาลโดยเฉพาะ ่ เชน ่ การกระตุ ้นเศรษฐกจรากหญ้ ิ ั ขภาพถ้วนหน้า นโยบายประชานิ ย มชุ ดตางๆ า การประกนสุ ่ ่ เป็ นต้น ผูว้ าราชการจั งหวัดแบบบูรณาการ และโครงการเอื.ออาทรประเภทตางๆ ่ ยวกนนี ั . เชน่ งานของ พิจิตรา33เรื# อง “คิ ดอย่ างทักษิณ ชิ นวัตร” งานศึกษาในลักษณะเชนเดี ่ เชน่ แนวคิ ด ซึ# งได้ทาํ การบันทึก และรวบรวมแนวคิดของรั ฐบาลทักษิณ ที#สําคัญในแงมุ่ มตางๆ ี# ั ้ ญหาความยากจนโดยการกระตุน้ เศรษฐกจในระดั ิ เกยวกบการแกไขปั บรากหญ้า แนวคิดของรัฐบาล ่ ้ ญหาสังคม ยาเสพติด คอรัปชัน# เป็ นต้น ที#มีต่อการปฏิรูปการศึกษา แนวคิดตอการแกไขปั 34 งานของ กวี วงศ์พุฒ เรื# อง “วิเคราะห์ นโยบายของรั ฐบาล พ.ต.ท.ดร.ทักษิ ณ ชิ นวัตร กับ ็ นงานอีกชิ.นที#ทาํ การรวบรวมนโยบายที#สาํ คัญของรัฐบาลทักษิณ ทั. งนโยบาย นายชวน หลีกภัย” กเป็ เศรษฐกจิ การพาณิ ชย์ นโยบายสังคม การศึกษา วิทยาศาสตร์ เป็ นต้น โดยนําเอานโยบายของรัฐบาล ่ ่ าง นายชวน หลีกภัย มาเป็ นตัวเปรี ยบเทียบความแตกตางของทั . งสองรัฐบาล โดยที#ผเู ้ ขียนนั. นคอนข้ จะสนับสนุนแนวนโยบายของรัฐบาลทักษิณอยูไ่ มน้่ อย ่ . น. ันเป็ นเพียงการบันทึก และรวบรวมข้อมูลจาก ภาพรวมของงานศึกษาในลักษณะเชนนี ่ ่ ่ . น แตไมมี ่ ่ ล ัก ษณะของการวิเคราะห์ หรื อวิพ ากษ์ จุ ดเดน่ จุ ดด้อ ย หรื อทํา การ แหลงตางๆเทานั ี# ั ่ ่ ่ ประเมินผลเกยวกบความสํ าเร็ จ-ล้มเหลวของนโยบายตางๆแตอยางใด c) งานศึกษาในเชิงรวบรวมความคิด/สุ นทรพจน์/ปฐากถา และคําคม ของผูน้ าํ รัฐบาล งานศึกษาในลักษณะนี. มกั จะให้ความสําคัญที#ตวั ของนายกฯทักษิณเป็ นหลัก โดยมีลกั ษณะ ็ เป็ นงานที#ทาํ การเกบรวบรวมแนวคิ ด และสุ นทรพจน์ของนายกฯทักษิณเป็ นหลัก ่ ตัวอยางงานชิ .นหนึ# ง คืองานของ จิรวัฒน์ รจนาวรรณ35เรื# อง “มองอย่ างผู้นาํ เอเชี ย ทักษิ ณ ็ ี# ั ชิ นวัตร” ซึ# งเป็ นงานศึกษาโดยการเกบรวบรวมแนวคิ ดของนายกฯทักษิณเกยวกบภาพรวมการ ่ บริ หารประเทศ อาทิ ทิศทางประเทศไทย และยุทธศาสตร์ ชาติไทยในการพัฒนาทามกลางกระแส 32

์ กาญจน์มุนี ศรี วิศาลภาพ และณรงค์ชยั ปัญญานนทชัย, ทักษิณบนบัลลังกนายกรั ฐมนตรี , (กรุ งเทพฯ: ดอกหญ้า2545,

2546) 33

่ กษิณ ชินวัตร, (กรุ งเทพฯ: ฐานมีเดีย เน็ตเวิร์ค, 2546) พิจิตรา (นามปากกา), คิดอยางทั ั กวี วงศ์พฒ ุ , วิเคราะห์นโยบายของรัฐบาล พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร กบนายชวน หลีกภัย, (เชียงใหม่: The Knowledge Center, 2544) 35 ่ น้ าํ เอเชีย ทักษิณ ชินวัตร, (กรุ งเทพฯ: วรรณสาส์น, 2547) จิรวัฒน์ รจนาวรรณ, มองอยางผู 34


9

ี# ั ้ ญหาความรุ นแรงในหมู่ โลกาภิวตั น์, แนวคิดเกยวกบการเป็ นรัฐบาลอิเล็กทรอนิ กส์ , การแกไขปั ํ น ผูใ้ หญบ้่ านในการบริ หารยุคใหม่ เป็ นต้น นักเรี ยนอาชีวะ, ทิศทางการทํางานของกานั ั . นอกเหนื อไปจากงานของ จิรวัฒน์ แล้วกยั็ ง มี งานในเชิ งการ งานในลัก ษณะเดี ย วกนนี ่ รวบรวมแนวคิดในเชิงธรรมะ และการดําเนินตามหลักพุทธรรมของนายกฯทักษิณ เชนงานของ ฮ. นิกฮูก. ี36เรื# อง “ธรรมะของทักษิณ” และงานของ อรุ ณ เวชสุ วรรณ37เรื# อง “พุทธทาสในทางการเมือง ั อ เป็ นการรวบรวมแนวคิดใน ของพ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชิ นวัตร” งานทั. งสองชิ. นมีลกั ษณะคล้ายกนคื ่ เชิงธรรมะ ตามหลักพุทธศาสนาของนายกฯทักษิณในชวงสมั ยแรกของการบริ หารประเทศ ่ ั งานในลักษณะนี. อีกชนิดหนึ# งที#มีการศึกษากนมากได้ แกงานในลั กษณะของการรวบรวม ่ ่ ต่างที#ต่างเวลาออกไป อาทิ สุ นทรพจน์, ปาฐกาถา ตลอดจนคําคมตางๆที #นายกฯทักษิณได้กลาวไว้ งานของ คมเดือน เจิดจรัสฟ้ า38เรื# อง “คําคม ความคิ ด ทักษิ ณ ชิ นวัตร” ซึ# งเป็ นการรวบรวมคําคม ่ ยวกนกบงานของ ั ั ของนายกฯทักษิณจากหลายๆที#หลายๆโอกาส เชนเดี สันติ อรุ ณวิจิตร39เรื# อง “พูด ่ แบบนายกทักษิ ณ” ที#รวบรวมจากคํากลาวของ นายกฯทักษิณจากรายการวิทยุ นายกทักษิณคุยกบั ประชาชนเป็ นหลัก นอกจากนี. ก็ยังมีงานของ ปราณ พิสิฐเศรษฐการ40เรื# อง “ทักษิ โณมิกส์ และ CEO ประเทศ ่ ไทย”, “ทักษิ ณกับนโยบายสั งคม” และ “ทักษิณบนเวที เอเชี ยและโลก” งานทั. ง 3 เลมของปราณ ่ ่ ่ นั. นเป็ นการรวบรวมสุ นทรพจน์ของนายกฯทักษิณจากโอกาสตางๆให้ เข้าเป็ นหมวดหมู่ เชนในเลม ี# ั แรกนั. นจะเป็ นการจัดรวบรวมสุ นทรพจน์เกยวกบแนวคิ ดด้า นการบริ หารงานแบบ CEO ของ ิ ่ ่ #สองกได้ ็ รวบรวมเกยวกบ ี# ั นายกฯทักษิณ และแนวทางเศรษฐกจแบบทวิ ลกั ษณ์เป็ นต้น สวนในเลมที ้ ญหาความยากจน, การศึก ษา, การปราบปราม เรื# องนโยบายสังคมของรัฐบาล อาทิ การแกไขปั ่ ่ ดท้ายจะเป็ นการรวบรวมสุ นทรพจน์ในสวนของงานที ่ ยาเสพติด และผูม้ ีอิทธิพล เป็ นต้น สวนเลมสุ # ี# ั ่ ข้องเกยวกบความสั มพันธ์ของรัฐบาลทักษิณตอนานาชาติ เชน่ สุ นทรพจน์ในการประชุมเอเปก เป็ น ต้น ่ และสุ ดท้ายของงานในลักษณะนี. เป็ นงานบันทึก ถอดความคํากลาวของนายกฯทั กษิณจาก ั รายการนายกทักษิณคุ ยกบประชาชนทุ กเช้าวันเสาร์ ซึ# งจัดทําโดย สํานักโฆษก สํานักเลขาธิ การ นายกรัฐมนตรี (2544-2547) ซึ# งขณะนี. ได้ทาํ การรวบรวมไว้ต. งั แตปี่ 2544- 2547 เป็ นจํานวน 6 เลม่

36

ฮ.นิกฮูก. ี (นามปากกา), ธรรมะของทักษิณ ชินวัตร, (กรุ งเทพฯ: สยามอินเตอร์บคุ๊ ส์, 2544) อรุ ณ เวชสุวรรณ, พุทธทาสในทางการเมืองของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิน ชินวัตร, (กรุ งเทพฯ: อรุ ณวิทยา, 2547) 38 คมเดือน เจิดจรัสฟ้ า, คําคม ความคิด ทักษิณ ชินวัตร, (กรุ งเทพฯ: แสงดาว, 2546) 39 สันติ อรุ ณวิจิตร, พูดแบบนายกทักษิณ, (กรุ งเทพฯ: วรรณสาส์น, 2547) 40 ปราณ พิสิฐเศรษฐการ, ทักษิณบนเวทีเอเชียและโลก : รวมสุนทรพจน์สาํ คัญของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, ทักษิณกบั นโยบายสังคม : รวมสุนทรพจน์สาํ คัญของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, ทักษิโณมิกส์และ CEO ประเทศไทย : รวมสุนทรพจน์สาํ คัญของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, (กรุ งเทพฯ: มติชน, 2547) 37


10

ด้วยกนั41 นอกจากนี. งานของ สุ ภวรรณ รจนาปกรณ์42เรื# อง “คมความคิ ด ทักษิณ ชิ นวัตร เล่ ม 1-3” ก็ ่ เป็ นงานอีกชิ.นหนึ#งที#ได้ทาํ การถอดความจากคํากลาวของนายกฯทั กษิณ จากรายการนายกทักษิณคุย ั ่ ั ซึ# งงานของสุ ภวรรณ ทั. ง 3 เลมนั ่ . นเป็ นการรวบรวมการถอดความตลอดทั. งปี กบประชาชนเชนกน 2546 d) งานในเชิงวิพากษ์ วิจารณ์ ี# ั ฐบาลทักษิณในแบบที#ไมใชงานวิ ่ ่ ชาการอีกลักษณะหนึ#ง และเป็ นงานที#มีเป็ น งานเกยวกบรั ่ ย วกบงานในลั ั ่ จํา นวนมากเชนเดี ก ษณะรวบรวมสุ นทรพจน์ ดัง ที# ก ลาวไปแล้ วกคื็ อ งานในเชิ ง ่ วิพากษ์ วิจารณ์การทํางานของรัฐบาลซึ# งปรากฏขึ. นเป็ นจํานวนมากนับตั. งแตปี่ 2547 หรื อชวงปลาย สมัยแรกของรัฐบาลทักษิณเป็ นต้นมา ่ ่ ตัวอยางงานประเภทนี ประสงค์ สุ่ นสิ ริ43เรื# อง “รู้ ทันกังฉิ น: ชาดกฉ้ อฉล นิทาน . เชนงานของ คนโกง พงศาวดารกิ น เมื อ ง” ประเวศน์ มหารั ต น์ ส กุ ล 44เรื# อง “ใครจะรู้ ทั น ทั ก ษิ ณ ” สุ นัน ท์ ศรี จนั ทรา45เรื# อง “ขาลง ทักษิณ” ตรี พล เจาะจิตต์46เรื# อง “1 ปี รั ฐบาลทักษิณ คิ ดใหม่ ทําใหม่ ” และ ส.ศิวรักษ์47เรื# อง “ขจัดทักษิณ : ธนาธิ ปไตย” เป็ นต้น ่ # สํา คัญ ในงานลัก ษณะนี. ก็ คื อ มี จุ ด มุ่ ง หมายเพื# อ การวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ ก าร ลัก ษณะรวมที บริ หารงานของรัฐบาลทักษิณโดยแท้ และมีจุดยืนที#ค่อนข้างชัดเจนที#จะนําเสนอในด้านที#ไมดี่ หรื อ ่ .น ด้านที#เป็ นปัญหาของรัฐบาลเทานั ี# ั ่ ่ ชาการทั. ง 4 โดยสรุ ปเกยวกบงานศึ กษารัฐบาลทักษิณในกลุ่มแรก คืองานศึกษาที#ไมใชงานวิ ่ ่ วจะเป็ นงานที#มีลกั ษณะของการรวบรวม ลักษณะใหญดั่ งที#ได้อธิ บายไปแล้วนั. น โดยสวนใหญแล้ ่ ่ ่ . น ไมได้ ่ มีการอาศัยกรอบแนวคิดเชิ งทฤษฎีเป็ นกรอบในการ และบันทึกข้อมูลจากแหลงตางๆเทานั ่ ่ ่ ็ วิเคราะห์เหตุการณ์ หรื อวิพากษ์แตอยางใด นอกจากนี. ในแงของระเบี ยบวิธีในการเกบรวบรวม ็ ่ ดเจนอีกด้วย ข้อมูลนั. นกไมชั

41

ั สํานักโฆษก สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี , นายกฯทักษิณคุยกบประชาชน (เลม่1-6), (กรุ งเทพฯ: สหมิตรพริ. นติง. ,

2545-2547) 42

สุภวรรณ รจนาปกรณ์, คมความคิดทักษิณ ชินวัตร เลม่ 1-3, (กรุ งเทพฯ: วรรณสาส์น, 2546) ั น : ชาดกฉ้อฉล นิทานคนโกง พงศาวดารกนเมื ิ อง, (กรุ งเทพฯ: ฃอคิดด้วยฅน, 2547) ประสงค์ สุ่ นศิริ, รู ้ทนั กงฉิ 44 ประเวศน์ มหารัตน์สกุล, ใครจะรู ้ทนั ทักษิณ, (กรุ งเทพฯ: ส.เอเชียเพรส, 2548) 45 สุนนั ท์ ศรี จนั ทรา, ขาลง “ทักษิณ”, (กรุ งเทพฯ: เนชัน# บุค๊ ส์, 2547) 46 ั ตรี พล เจาะจิตต์, 1 ปี รัฐบาลทักษิณคิดใหม่ ทําใหม่ : คํามัน# สัญญา 15 ประการกบประชาชน , (กรุ งเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิง#, 43

2545) 47

ส.ศิวรักษ์, ขจัดทักษิณ : ธนาธิปไตย, (กรุ งเทพฯ: เคล็ดไทย, 2548)


11

กล่มุ ทีส อง เป็ นงานศึกษาแบบกึง วิชาการ ่ งานศึ ก ษาในลัก ษณะนี. ม กั มี จุดเน้นที# หนวยในการศึ ก ษาคื อ รั ฐบาลทัก ษิ ณ ในภาพรวม ่ ่ ่ มากกวาจะเป็ นการเน้นที#ตวั บุคคลเชนงานเชิ งอัตชี วประวัติ หรื อรวบรวมสุ นทรพจน์ดงั ที#กลาว มาแล้วข้างต้น # ึ ชาการนั. นมักจะเป็ นการศึกษา หรื อจัดทําโดยนักวิชาการ แตลั่ กษณะ งานศึกษาในเชิงกงวิ ่ ่ ่ การอ้างอิงเชิ งวิชาการ หรื อไมมี่ ระเบียบวิธีในการเกบ็ ของการนําเสนองานนั. นสวนใหญจะไมมี ่ ข้อมูลที#ชดั เจน แตงานในลั กษณะนี. มกั เป็ นการแสดงความคิดเห็น หรื อวิพากษ์ วิจารณ์โดยอิงความรู ้ ่ ่ ความถนัดแทรกอยูใ่ นเนื. อหาของงานด้วย ทางทฤษฎี ที#ผเู ้ ขียนแตละทานมี ่ ท. งั ชนิดที#เป็ นหนังสื อเลม่ และที#เป็ นบทความ เราจะพบงานในลักษณะดังกลาวได้ a) หนังสื อเลม่ # ึ ชาการที#ถือได้วาเป็ ่ นผูบ้ ุกเบิก หรื อจุดกระแสให้เกดหนั ิ งสื อประเภท งานในลักษณะกงวิ วิพากษ์ วิจารณ์รัฐบาลทักษิณตามมาเป็ นจํานวนมากคืองานที# เจิมศักดิN ปิ# นทอง48ได้เป็ นบรรณาธิ การ หนังสื อชุ ด “รู้ ทันทักษิณ เล่ ม1-3” และ “แปลงทักษิ ณเป็ นทุน” ซึ# งเป็ นการรวบรวมบทความของ ่ นักวิชาการที#มีชื#อเสี ยงเป็ นจํานวนมาก ทั. งนี. บางบทความนั. นเป็ นการถอดคําบทสัมภาษณ์ แตในบาง ็ ่ งในสวนของงานเชิ ่ ่ บทความกสามารถจั ดเป็ นงานวิชาการได้ซ# ึงจะได้กลาวถึ งวิชาการตอไป ั # งเป็ นการรวมบทความ และบทสัมภาษณ์ ของนักวิชาการที#มี งานในลักษณะคล้ายๆกนซึ ่ ย วกนั กคื็ อ งานบร รณาธิ ก ารของ ภิ ญ โญ ไตรสุ ริ ย ธรรมา 49เรื# อง “พิ ษ ทั ก ษิ ณ ชื# อ เสี ย งเชนเดี ผลกระทบเศรษฐกิ จ การเมื อง และสั งคมภายใต้ ระบอบทักษิ ณ” และ จุรีรัตน์ แสนใจรักษ์50เรื# อง “ชําแหละทักษิโณมิกส์ ” และงานของ รังสรรค์ ธนะพรพันธ์51เรื# อง “จาก Thaksinomics สู่ ทักษิณา ่ ่ ธิ ปไตย เล่ ม1และ2” ซึ#งเป็ นงานรวบรวมบทความของผูเ้ ขียนเองจากแหลงตางๆเข้ าเป็ นหมวดหมู่ท. งั ่ ่ น และเศรษฐกจิ โดยที#รังสรรค์ การวิพากษ์รัฐบาลทักษิณในแงการเมื อง, การบริ หารราชการแผนดิ ่ น ได้ใช้กรอบแนวคิดเชิงเศรษฐศาสตร์ กระแสหลัก เป็ นหลักในการวิเคราะห์รัฐบาลทักษิณอยางเห็ ได้ชดั ั อ เพื#อวิพากษ์ วิจารณ์ การทํางาน งานในประเภทนี. มีทิศทางของเนื. อหาไปในทางเดียวกนคื ิ . น และอาจจะเกดขึ ิ . นตอสภาพเศรษฐกจ ่ ิ สังคม ของรัฐบาลทักษิณ และวิเคราะห์ถึงผลกระทบที#เกดขึ ่ และการเมืองไทย แตลั่ กษณะของการนําเสนอนั. นจะแตกตางจากงานประเภทวิ พากษ์วิจารณ์ แต่ 48

เจิมศักดิN ปิ# นทอง, บรรณาธิการ, รู ้ทนั ทักษิณ1-3, แปลงทักษิณเป็ นทุน, (กรุ งเทพฯ: ฃอคิดด้วยฅน 2547) ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา, บรรณาธิการ, พิษทักษิณ : ผลกระทบเศรษฐกจิ การเมือง และสังคมภายใต้ระบอบทักษิณ, (กรุ งเทพฯ: Openbooks, 2547) 50 จุรีรัตน์ แสนใจรักษ์, ชําแหละทักษิโณมิกส์, (กรุ งเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์, 2547) 51 รังสรรค์ ธนะพรพันธ์, จาก Thaksinomics สู่ทกั ษิณาธิ ปไตยภาค 1-2, (กรุ งเทพฯ: Openbooks, 2548) 49


12

่ ่ ชาการดังเชนในกลุ ่ ่มแรกเพราะงานประเภทนี. โดยสวนใหญจะเป็ ่ ่ นการวิพากษ์ วิจารณ์ ไมใชงานวิ ่ ่ างมีเหตุผล และยอมรับได้ ตางจากงานในกลุ ่ ่มแรกซึ# งมักจะ และวิเคราะห์เหตุการณ์ อยางคอนข้ ่ นการวิจารณ์ตามอารมณ์ของผูเ้ ขียนเป็ นสวนใหญ ่ ่ พบวาเป็ b) บทความ ี# ั ฐบาลทักษิณในเชิงกงวิ # ึ ชาการในลักษณะของบทความนั. น มักเป็ นการ งานศึกษาเกยวกบรั นําเสนอโดยนักวิชาการที#มีชื#อเสี ยง ซึ#งงานในลักษณะนี. แม้บางชิ.นจะไมมี่ การอ้างอิงเอกสารวิชาการ ่ ่ แตทั่ . งนี. ในหลายๆบทความนั. นจะได้สอดแทรกความรู ้เชิงทฤษฎีไว้อยางงายๆทดแทน งานลักษณะ ่ ่ ่ หนัง สื อพิม พ์, นิ ตยสารวิเคราะห์ ข่าวราย นี. ม กั จะมี ก ารเผยแพรผานทางสื # อในบางประเภทเชน สัปดาห์ และทางเว็บไซต์ เป็ นต้น ่ ่ บทความที#โดดเดนมากชิ ฐบาลทักษิณ ได้แก่ .นหนึ#งที#เริ# มนําเสนอในชวงกระแสขาลงของรั บทความของ ธี รยุทธ บุญมี52เรื# อง “บทวิเคราะห์ การเมืองระบอบทักษิณ (ไทยรั กไทย)” ซึ# งในงาน ่ กระทําการอยางไรไว้ ่ ชิ.นนี. นอกจากการวิพากษ์รัฐบาลทักษิณวาได้ ตอ่การเมืองไทยบ้างแล้ว ยังได้ทาํ ิ #อาจเกดขึ ิ . นใน การคาดการณ์แนวโน้มของการเมืองไทย พรรคการเมืองไทย และปั ญหาเศรษฐกจที อนาคตไว้อีกด้วย นอกเหนื อจากงานของธี รยุทธแล้ว บทความของเกษียร เตชะพีระ และรังสรรค์ ธนะพร ็ ศึ ก ษาถึ ง รั ฐบาลทัก ษิ ณ ไว้เ ชนกน ่ ั อาทิ เ ชนบทความของเกษี ่ พัน ธ์ จํา นวนหนึ# งกได้ ย ร 53เรื อง “รั ฐธรรมนูญใหม่ กับปรากฏการณ์ ไทยรั กไทย”, “ระบอบทักษิ ณกับวัฒนธรรมการเมืองปฏิ ปักษ์ ่ ปฏิ รูป” และ “เศรษฐกิจ-การเมืองในระบอบทักษิณ” สวนของรั งสรรค์54อาทิ เรื# อง“ทักษิ โณมิกส์ เศรษฐศาสตร์ แบบทักษิณ” และ “Mc Journalism ภายใต้ ระบบทักษิณาธิ ปไตย” เป็ นต้น นอกจากนี. ่ #นที#ได้ศึกษาถึงรัฐบาลทักษิณที#เผยแพรทางนิ ่ บทความของนักวิชาการทานอื ตยสารสุ ดสัปดาห์ก็ยังมี ี พงษ์ไพบูลย์ ในเนชัน# สุ ดสัปดาห์ เป็ นต้น อาทิ นคริ นทร์ เมฆไตรรัตน์ และสมเกยรติ ั โดยสรุ ปเกยี#วกบงานในลั กษณะนี. มักจะเป็ นการนําเสนอในรู ปแบบของบทความ หนังสื อ ่ ่ รวมบทความ ทั. งการเผยแพรผานหนั งสื อพิมพ์ นิ ตยสารวิเคราะห์ข่าวสุ ดสัปดาห์ต่างๆ หรื อทาง 52

่ #มา: ธีรยุทธ บุญมี, บทวิเคราะห์การเมืองระบอบทักษิณ(ไทยรักไทย), [Online] แหลงที http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document9789.html [16 ตุลาคม 2548] 53 ั ฒนธรรมการเมืองปฏิปักษ์ปฏิรูป, [Online] แหลงที ่ #มา: เกษียร เตชะพีระ, ระบอบทักษิณกบวั ่ ั http://www.midnightuniv.org/midfrontpage/newpage58.html [16 ตุลาคม 2548] ;รัฐธรรมนูญใหมกบปรากฏการณ์ ไทยรักไทย ่ #มา: http://www.midnightuniv.org/midarticle/newpage56.html [16 ตุลาคม 2548] และ เศรษฐกจิ-การเมืองใน [Online]. แหลงที ่ #มา: http://www.midnightuniv.org/midarticle/newpage46.html [16 ตุลาคม 2548] ระบอบทักษิณ[Online]. แหลงที 54 ่ #มา: รังสรรค์ ธนะพรพันธ์, ทักษิโณมิกส์ เศรษฐศาสตร์แบบทักษิณ, [Online] แหลงที http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document9720.html [16 ตุลาคม 2548] และ Mc Journalism ภายใต้ระบบทักษิณาธิป ่ #มา: http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document9639.html [16 ตุลาคม 2548] ไตย, [Online] แหลงที


13

่ ็ กจะมี เว็บไซต์โดยนักวิชาการที#มีชื#อเสี ยง ซึ# งงานจํานวนมากแม้ไมมี่ การอ้างอิงเชิ งวิชาการ แตกมั การสอดแทรกความรู ้เชิงทฤษฎีเอาไว้ในงานบางชิ.นด้วย กล่มุ สดท้ ุ าย งานศึกษาเชิงวิชาการ ่ งานศึ กษาในกลุ่ มนี. ใ ห้ค วามสํา คัญอยางมากในการใช้ ระเบีย บวิธีใ นการศึ กษาประเด็น ่ ดเจน เป็ นขั. นตอน มีการใช้กรอบความคิดเชิงทฤษฎีที#น่าเชื#อถือเป็ นกรอบในการศึกษา ปัญหาอยางชั ่ นระเบียบ ลักษณะของงานในกลุ่ มนี. จึงมักจะพบใน และมีการค้นคว้า อ้างอิงเชิ งวิชาการอยางเป็ รู ปแบบของบทความทางวิชาการ รายงานการวิจยั และวิทยานิ พนธ์ เป็ นหลัก ดังนั. นงานศึกษาใน ่ #อถือมากที#สุดหากเปรี ยบกบงานอี ั ่ กลุ่มนี. จึงมีความนาเชื ก 2 กลุ่มข้างต้นดังที#กลาวมาแล้ ว a) บทความวิชาการ ี# ั ฐบาลทักษิณในลักษณะของบทความวิชาการนั. นได้มีการทําการศึกษา งานวิชาการเกยวกบรั ่ ั ไว้จาํ นวนหนึ#งในหลากหลายแงมุ่ ม และใช้กรอบทฤษฎีที#แตกตางกนออกไป อาทิงานที#มุ่งวิพากษ์ ี# ั ิ รัฐบาลทักษิณเกยวกบการนํ านโยบายเศรษฐกจแบบประชานิ ยมมาใช้เพื#อหวังผลในทางการเมือง ่ . มี อาทิ งานของ Pasuk และเพื#อประโยชน์ของเครื อญาติ และบริ วารใกล้ชิด งานในลักษณะเชนนี Phongpaichit and Chris Baker55เรื# อง “Thailand’s Thaksin: New Populism or Old Cronyism?” ่ และ “Pluto-Populism in Thailand: Business Remaking Politics” สวนงานที #วพิ ากษ์การนํานโยบาย ่ เกดผลโดยตรงตอการเพิ ิ ่ ประชานิ ยมมาใช้ของรัฐบาลทักษิณนั. น กอให้ #มพูนความเข้มแข็งให้กบั พรรคไทยรักไทย และรัฐบาลทักษิณ อาทิ งานของ ฐปนรรต พรหมอินทร์ 56เรื# อง “นโยบายประชา นิ ยม การสร้ างรั ฐบาลพรรคเดี ยวที เข้ มแข็ง” และ งานของ ธโสธร ตูท้ องคํา57เรื# อง “ประชานิ ยม (Populism) กับรั ฐบาล พ.ต.ททักษิณ ชิ นวัตร และพรรคไทยรั กไทย” ่ ี# ั ฐบาลทักษิณในแงมุ่ ม นอกจากนี. ตวั อยางบทความวิ ชาการอีกชิ.นที#ได้ทาํ การศึกษาเกยวกบรั ิ ของการประเมินแนวทางในการดําเนิ นนโยบายเศรษฐกจแบบทวิ วิถี (Dual Tracks) ของรัฐบาล ่ ทักษิณ ได้แกงานของ อภิชาต สถิตนิรามัย และดวงมณี เลาวกุล58เรื# อง “ยุทธศาสตร์ การพัฒนาทวิ ่ ิ ่ . ถือวา่ วิถี: ความสําเร็ จ และความล้ มเหลว” ที#มองวาในระยะสั . นนั. นมาตรการทางเศรษฐกจเชนนี 55

Pasuk Phongpaichit and Chris Baker, Pluto-Populism in Thailand: Business Remaking Politics และ Thailand’s Thaksin: New Populism or Old Cronyism?, (Bangkok: Chulalongkorn University, 2001) 56 ฐปนรรต พรหมอินทร์, “นโยบายประชานิยม การสร้างรัฐบาลพรรคเดียวที#เข้มแข็ง,” ใน 21 ปี รัฐศาสตร์ มสธ. รวม บทความวิชาการรัฐศาสตร์, (กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546) 57 ั ฐบาลพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรคไทยรักไทย,” ใน รัฐสภาสาร ธโสธร ตูท้ องคํา, “ประชานิยม (Populism) กบรั 51 ( มิถุนายน 2546), หน้า69-93. 58 อภิชาต สถิตนิรามัย และดวงมณี เลาวกุล, “ยุทธศาสตร์การพัฒนาทวิวิถี: ความสําเร็ จ และความล้มเหลว,” ใน October No.5, ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา, บรรณาธิการ (กรุ งเทพฯ: Openbooks, 2548), หน้า 377-435.


14

่ ่ ่ . ให้ผลที#ไมยั่ ง# ยืน ประสบผลสําเร็ จในแงของการกระตุ น้ เศรษฐกจิ แตในระยะยาวนั . นมาตรการเชนนี ่ เกดความเสี ิ ่ ิ และกอให้ # ยงตอระบบเศรษฐกจไทยในระยะยาว อีกด้วย b) หนังสื อเลม่ ่ #มีลกั ษณะเป็ นงานวิชาการที#ศึกษาเกยวกบรั ี# ั ฐบาลทักษิณนั. นมีปรากฏออกมา หนังสื อเลมที ่ ่ ไมมากนั ก ตัวอยางงานที #สําคัญเชน่ งานของ Pasuk Phongpaichit and Chris Baker59เรื# อง “Thaksin The Business of Politics in Thailand” และ Duncan McCargo and Ukrist Pathmanand60เรื# อง “The ั อ นําเสนอถึงปูมหลังความเป็ นมา Thaksinization of Thailand” ในทั. ง 2 ชิ.นนี. จะเริ# มต้นคล้ายๆกนคื ิ ของนายกฯทักษิณ รวมไปถึงธุ รกจของตระกู ลชิ นวัตร และเครื อญาติ บริ วารด้วย และขณะที#งาน ่ ่ ิ ของ Phongpaichit and Baker มุ่งเน้นวิพากษ์นโยบายเศรษฐกจแบบทั กษิโณมิกส์ และการกอราง ่ สร้างการเมืองในแบบฉบับของตัวเองขึ. นมา แตในงานของ McCargo and Pathmanand นั. นได้ ี# ั เพิ#ม เติ ม มิ ติเกยวกบการจั ดการในทางการทหาร และความสามารถในการจัดการ และเลื อกใช้ สื# อมวลชนให้เป็ นประโยชน์ต่อรัฐบาลอีกด้วย ่ างต้น ตัวอยางงานวิ ่ นอกจากงาน 2 ชิ.นดังกลาวข้ ชาการอีกชิ.นหนึ# งที#น่าสนใจคืองานของ ี# ฐบาลทักษิณในแงของการ ่ นิชาภา ศิริวฒั น์61เรื# อง “Branding ไทยรั กไทย” ซึ# งได้ทาํ การศึกษาเกยวรั ใช้แนวคิดและกลยุทธ์ทางการตลาด (Marketing) มาใช้ในการสร้างแบรนด์ “พรรคไทยรักไทย” ให้ ่ ค้ นทัว# ไป ดูดี และคุน้ หู คุน้ ตาตอผู c) รายงานการวิจยั /วิทยานิพนธ์ ี# ั ฐบาลทักษิณ และพรรคไทยรักไทย รายงานการวิจยั /วิทยานิพนธ์ที#ได้ทาํ การศึกษาเกยวกบรั ่ ั นั. นได้มีการทําการศึกษาไปบ้างแล้วจํานวนหนึ#ง ในแงมุ่ มที#แตกตางกนไปตามความสนใจของผู ว้ จิ ยั ่ # ่ งในที#น. ี เป็ นการศึกษาเกยวกบพรรคไทยรั ี# ั ่ ในแงมุ่ มแรกที#จะกลาวถึ กไทยในชวงเวลากอนที 62 จะได้เข้ามาบริ หารประเทศในปี 2544 นัน# คืองานของ พจน์ เลิศพรเจริ ญ เรื# อง “การเลือกสรรและ จัดลําดับผู้สมัค รรั บเลื อกตัcงสมาชิ กสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชี รายชื อของพรรคการเมื องไทย: ศึ ก ษากรณี พ รรคประชาธิ ปั ต ย์ พรรคไทยรั ก ไทย พรรคชาติ พั ฒนา พรรคชาติ ไ ทย และพรรค ความหวัง ใหม่ ” ในงานวิจยั ชิ. นนี. ไ ด้มุ่ ง เน้นการศึ ก ษาในแงมุ่ ม ของการเลื อกสรร และจัดลํา ดับ 59

Pasuk Phongpaichit and Chris Baker, Thaksin The Business of Politics in Thailand, (Chiangmai: Silkworm Books,

2004) 60

Duncan McCargo and Ukrist Pathmanand, The Thaksinization of Thailand, (Copenhagen: NIAS Press, 2005) นิชาภา ศิริวฒั น์, Branding ไทยรักไทย, (2546) 62 พจน์ เลิศพรเจริ ญ, การเลือกสรรและจัดลําดับผูส้ มัครรับเลือกตั. งสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรแบบบัญชีรายชื#อของพรรค การเมืองไทย : ศึกษากรณี พรรคประชาธิปัตย์ พรรคไทยรักไทย พรรคชาติพฒั นา พรรคชาติไทย และพรรคความหวังใหม่, วิทยานิ พนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (2544) 61


15

ผูส้ มัครส.ส. แบบบัญชีรายชื#อ ในการเลือกตั. งทัว# ไปในวันที# 6 มกราคม 2544 โดยมีคาํ ถามหลักของ ่ ่ การวิจยั วา่ การเลือกสรร และจัดลําดับผูส้ มัครส.ส.ของแตละพรรคนั มีความ . นมีลกั ษณะอยางไร ่ ั ่ ั กพรรค และอํานาจในการตัดสิ นใจสุ ดท้ายนั. น เหมือน หรื อแตกตางกนอยางไรโดยเปรี ยบเทียบกบทุ ่ อยู่ที#ใ คร และสุ ดท้ายกคื็ อการเลื อกสรร และจัดสําดับ ผูส้ มัค รของแตละพรรคนั . นสอดคล้องกบั ่ เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญหรื อไม่ อยางไร ่ ี# ั ในสวนของกรอบแนวคิ ด/ทฤษฎีที#ใช้เป็ นกรอบนําในการวิเคราะห์ได้แก่ แนวคิดเกยวกบ การเลื อกสรรทางการเมือง แนวคิดคณาธิ ปไตยในพรรคการเมือง และแนวคิดเรื# องชนชั. นนําผูม้ ี อํานาจในการตัดสิ นใจภายในพรรคการเมือง ี# ั จะเห็ นได้ว่าในการศึกษาของพจน์ ชิ. นนี. ได้มุ่ งเน้นการศึกษาเกยวกบพรรคการเมื อง ใน แงมุ่ มของการเลือกสรรและจัดลําดับผูส้ มัครส.ส.บัญชีรายชื#อเป็ นหลัก โดยที#พรรคไทยรักไทยนั. น ่ ่ .น เป็ นเพียงสวนหนึ # งของกรณี ที#เขาได้เลือกมาศึกษาเทานั ี# ั ฐบาลทักษิณ ในแงของพรรคไทยรั ่ งานวิจยั เกยวกบรั กไทยอีกชิ.นหนึ# งนั. น เป็ นการมุ่งเน้น ่ ศึกษาในแงมุ่ มของการยุบรวมพรรคการเมืองเป็ นหลัก ได้แกงานของ ภูริวรรธก์ ใจสําราญ63เรื# อง “การรวมพรรคการเมือง: ศึ กษากรณี การรวมพรรคไทยรั กไทยกับพรรคความหวังใหม่ ” โดยได้ ่ ทําการศึกษาวาอะไรเป็ นสาเหตุหลักของการตัดสิ นใจรวมพรรค และกระบวนการในการรวมพรรค ่ นอกจากนี. ยงั ศึกษาวาการรวมพรรคได้ ่ ่ ยรภาพของรัฐบาลทักษิณหรื อไม่ นั. นเป็ นเชนไร ส่ งผลตอเสถี ่ อยางไร ี# ั ฐบาลทักษิณที#น่าสนใจอีกเรื# องหนึ#งนัน# กคื็ อ การศึกษาใน แงมุ่ มอื#นๆของการวิจยั เกยวกบรั ่ แงมุ่ มของ บทบาทในการแทรกแซงสื# อมวลชนของรัฐบาล ดังเชนงานของ นิธินาฏ ราชนิยม64เรื# อง “การแทรกแซงสื อมวลชนของรั ฐบาลทักษิ ณ การปฏิ บัติที สวนทางกับหลักธรรมภิ บาล” คําถาม ั กธรรมาภิ หลักของการศึกษาชิ.นนี. คือ บทบาทในการแทรกแซงสื# อของรัฐบาลทักษิณนั. นขัดกบหลั ่ ่ บาลหรื อไมอยางไร โดยเลือกใช้กรอบแนวคิดประชาธิ ปไตย, แนวคิดเรื# องธรรมาภิบาล หรื อการ ั จัดการปกครองที#ดี ประกอบกบทฤษฎี การสื# อสารมวลชน เป็ นหลักในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ ี# ั ฐบาลทักษิ ณ ในแงมุ่ ม สุ ดท้า ยในที# น. ี เป็ นการศึก ษาโดยเน้นหนวยใน ่ งานวิจยั เกยวกบรั ่ การศึ ก ษาเป็ นตัว ผู ้นํา รั ฐ บาล หรื อ นายกฯทัก ษิ ณ ได้แ กงานของ สราริ น สุ ธี ส ร 65เรื# อ ง “การ 63

ั ภูริวรรธก์ ใจสําราญ, การรวมพรรคการเมือง : ศึกษากรณี การรวมพรรคไทยรักไทยกบพรรคความหวั งใหม,่ วิทยานิ พนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (2546) 64 ั กธรรมาภิบาล, เอกสารวิจยั นิธินาฏ ราชนิยม, การแทรกแซงสื# อมวลชนของรัฐบาลทักษิณ การปฏิบตั ิที#สวนทางกบหลั หลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (2547) 65 ่ ปแบบผูน้ าํ และพฤติกรรมการตัดสิ นใจของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ระหวางปี ่ สราริ น สุธีสร, การเปรี ยบเทียบระหวางรู พุทธศักราช 2544 – 2546, เอกสารวิจยั หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (2547)


16

เปรี ยบเทียบระหว่ างรู ปแบบผู้นาํ และพฤติกรรมการตัดสิ นใจของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตร ระหว่ างปี ี# ั น้ าํ ทั. งผูน้ าํ ทางธุ รกจิ และผูน้ าํ ทางการ พุทธศักราช 2544-2546” ในงานชิ. นนี. ใช้แนวคิดเกยวกบผู เมือง และทฤษฎีว่าด้วยการตัดสิ นใจ มาเป็ นแนวทางหลักในการศึกษารู ปแบบการตัดสิ นใจของ ่ นายกฯทักษิณในชวงขอบเขตเวลาที #ได้กาํ หนดเอาไว้ ่ งนี. ได้ทาํ การศึกษารัฐบาลทักษิณ/พรรคไทยรักไทย ในแงมุ่ ม หรื อ งานวิจยั ที#ได้นาํ มากลาวถึ ่ ั ่ คคลของผูว้ ิจยั รวมไปถึงกรอบแนวคิด และทฤษฎีที# จุดเน้นที#แตกตางกนไปตามความสนใจสวนบุ ็ ่ ั ่ # งตามความสนใจของผูว้ ิจยั แตอี่ กแง่ ใช้ในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์น. นั กแตกตางกนไปในแงหนึ ็ นได้ชดั วาแตกตางกนไปตามลั ่ ่ ั ่ หนึ#งกเห็ กษณะของศาสตร์ ที#ผวู ้ ิจยั แตละคนได้ ศึกษา และคุน้ เคยอีก ด้วย งานศึกษาในกลุ่มสุ ดท้ายนี. เป็ นงานวิชาการที#มีการอาศัยแนวคิดเชิงทฤษฎีเป็ นกรอบ หรื อ ่ นอกจากนี. ความนาเชื ่ # อถือของผลการศึกษา แนวทางในการวิเคราะห์รัฐบาลทักษิณในแงมุ่ มตางๆ ่ อยู่สูงกวางานในสองกลุ ่ ่มแรก ทั. งนี. เพราะงานในกลุ่มวิชาการนี. มีการใช้ระเบียบวิธีใน นั. นยอมมี การศึกษาที#น่าเชื#อถือ และมีการอ้างอิง ค้นคว้าในทางวิชาการที#น่าเชื#อถือได้อีกด้วย ่ ี# ั ดังที#ได้กลาวมาข้ างต้นนี. เป็ นการชี. ให้เห็นถึงความสําคัญของการศึกษาในประเด็นเกยวกบ ่ ี# ั ฐบาลทักษิณนั. นสามารถทําการศึกษาได้ใน รัฐบาลทักษิณ เนื#องจากเราจะพบวาการศึ กษาเกยวกบรั ่ ่ หลากหลายแงมุ่ ม ด้วยเหตุน. ี งานวิจยั ชิ. นนี. จึงมีค่าควรแกการศึ กษาเพราะมีความสําคัญในแงของ ่ ประเด็นปัญหาที#ศึกษานั. นมีความแตกตางออกไปจากงานศึ กษาที#มีอยูเ่ ดิม ทั. งนี. เนื#องจากในงานวิจยั ชิ.นนี. ผวู ้ จิ ยั ต้องการศึกษารัฐบาลทักษิณจากแงมุ่ มของการสร้างภาวะการครองอํานาจนํา โดยมุ่งเน้น ่ ี# ั กลไก ศึกษาโดยมีหนวยในการวิ เคราะห์คือ รัฐบาลทักษิณ และมุ่งศึกษาเพื#อสร้างคําอธิ บายเกยวกบ ของการพยายามสร้ า งภาวะการครองอํา นาจนํา ของรั ฐ บาลทัก ษิ ณ ไปจนถึ ง ผลลัพ ธ์ ข องการ ดําเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ ่ ว ผูว้ จิ ยั มองวาประเด็ ่ นอกจากเหตุผลดังกลาวแล้ นที#ผวู ้ จิ ยั เลือกศึกษานั. นเป็ นประเด็นปั ญหา ํ ที#มีความเป็ นไปได้ในการศึกษา เนื#องจากผูว้ จิ ยั ได้เลือกกาหนดขอบเขตในด้ านเวลาคือ ศึกษาเฉพาะ ่ . น ในแงนี่ . เหตุการณ์ได้จบสิ. นลง สมัยรัฐบาลทักษิณสมัยแรกจนกระทัง# ถึงการตัดสิ นใจยุบสภาเทานั ่ ี# ั ฐบาลทักษิณจึง มี แล้วไมสามารถเปลี # ยนแปลงได้อีก ดังนั. นการสร้ างชุ ดของคําอธิ บายเกยวกบรั ่ และควรที#จะได้รับการศึกษา และทําการวิจยั อยางจริ ่ งจังมากขึ. นอีก คุณคาพอ ่ ่ ในสวนตอจากนี . จะเป็ นการชี. ใ ห้เห็ นถึ ง ความสํา คัญของงานวิจยั ชิ. นนี. ใ นแงมุ่ มของการ ่ เลื อกใช้ก รอบแนวคิ ดและทฤษฎี ซึ# ง ผูว้ ิจยั จะได้ช. ี ใ ห้เห็ นวากรอบแนวคิ ด ทฤษฎี ที# ผูว้ ิจ ัย จะได้ ่ ่ เลือกใช้เป็ นหลักในการอธิ บายนั. นจะมีความใหมตอการนํ ามาใช้ศึกษาประเด็นปั ญหาเรื# องรัฐบาล ่ ทักษิณอยางไร


17

1.2.2 ในแง่ มุมของการเลือกใช้ กรอบแนวคิดและทฤษฎี ั งานวิจยั เรื# อง รัฐบาลทักษิณกบความพยายามสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา ชิ. นนี. เลือกใช้ แนวคิดเรื# อง การครองอํานาจนํา ของอันโตนิ โอ กรัมชี (Antonio Gramsci) เป็ นกรอบในการมอง ่ งมีแนวคิดที#จัดเป็ นสวนประกอบของแนวคิ ่ และวิเคราะห์ปรากฏการณ์ แนวคิดดังกลาวยั ดเรื# องการ ่ ่ ่ ครองอํา นาจนํา อี ก ได้แ ก่ 1) แนวความคิ ด เรื# อ งโครงสร้ า งสวนลางและโครงสร้ า งสวนบน ั ่มประวัติศาสตร์ (Historic Bloc) 2) แนวความคิดเรื# องประชาสังคม (Super/Base Structure) กบกลุ ั และสังคมการเมือง(Civil and Political Society) กบความ ยินยอมพร้อมใจ และการใช้อาํ นาจบังคับ (Consent and Coercion) 3) สงครามขับเคลื#อน และสงครามจุดยืน (War of Movement and War of Position) และ 4) กลไกการครองอํานาจนํา และกลไกการใช้อาํ นาจรัฐ(Hegemonic Apparatuses ่ and State Apparatuses) และ 5) การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนํา (Counter Hegemony) ี# ั ่ . นจะได้กลาวถึ ่ งในสวนของแนวคิ ่ ซึ#งรายละเอียดเกยวกบแนวคิ ดตางๆนั ด และทฤษฎีต่อไป ่ ความสําคัญของงานวิจยั ชิ.นนี. ในแงของการเลื อกใช้กรอบแนวคิด และทฤษฎีน. นั กคื็ อ จาก ั . ยงั ไมพบวาได้ ่ ่ มีการ การศึกษางานวิจยั ที#มีการเลื อกใช้กรอบแนวคิด และทฤษฎี ที#ใกล้เคียงกนนี ่ ี# ั เลื อกใช้กรอบแนวคิ ดดังกลาวมาเป็ นกรอบแนวคิดหลักในการศึกษาในประเด็นปั ญหาเกยวกบ ่ ่ รัฐบาลทักษิณ แตอยางใด งานวิจยั ของ ชนิดา ชิตบัณฑิตย์เรื# อง “โครงการอันเนื องมาจากพระราชดําริ : การสถาปนา พระราชอํา นาจนํา ” เป็ นงานวิจยั ชิ. นหนึ# ง ที# ได้เ ลื อกใช้ก รอบแนวคิ ดเรื# องการใช้ “อํา นาจนํา ”66 ่ ั (Hegemony) เป็ นกรอบแนวคิดหลักในการศึกษา โดยเลือกใช้แนวคิดประกอบ หรื อแนวคิดรวมกบ แนวคิดเรื# องการใช้อาํ นาจนําคือ แนวคิดเรื# องกลุ่มทางประวัติศาสตร์ และบทบาทของปั ญญาชน เป็ นหลัก งานของชนิ ดา ได้เลื อกใช้กรอบแนวคิดเรื# องการใช้อาํ นาจนํามาเป็ นกรอบในการศึกษา ่ กระบวนการสถาปนาพระราชอํานาจนําในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ผานการดํ าเนิน “โครงการ อันเนื#องมาจากพระราชดําริ ” ในบริ บทเชิงประวัติศาสตร์ การเมือง เศรษฐกจิ และอุดมการณ์ โดยมี ขอบเขตของการศึกษานับจากปี 2494 จนถึงปี 2546 ้ ี 67เรื# อง “และแล้ วความเคลื อนไหว นอกจากงานของชนิดา แล้ว งานของ ประจักษ์ กองกรติ ก็ปรากฏ การเมืองวัฒนธรรมของนักศึกษาและปั ญญาชนก่ อน 14 ตุลาฯ” ซึ# งเป็ นงานที#ปรับปรุ งมา จากวิทยานิ พนธ์ของประจักษ์เองเรื# อง “ก่ อนจะถึ ง 14 ตุลาฯ: ความเคลื อนไหวทางการเมื อง 66

ชนิดา ชิตบัณฑิตย์, โครงการอันเนื#องมาจากพระราชดําริ : การสถาปนาพระราชอํานาจนํา, วิทยานิพนธ์สงั คมวิทยา และมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, (2547) 67 ่ 14 ตุลาฯ, ้ ี , และแล้วความเคลื#อนไหวกปรากฏ ็ ประจักษ์ กองกรติ การเมืองวัฒนธรรมของนักศึกษาและปัญญาชนกอน (กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548)


18

็ น วัฒนธรรมของนัก ศึ ก ษาและปั ญญาชนภายใต้ ระบอบเผด็จการทหาร (พ.ศ. 2506-2516)” กเป็ งานวิจยั อีกชิ.นที#อาศัยแนวคิดเรื# อง “การครองอํานาจนํา” (Hegemony) เป็ นหนึ#งในแนวคิดหลักของ งานวิจยั งานของประจักษ์อาศัยแนวคิดเรื# องการครองอํานาจนํา ภายใต้กรอบของแนวทางการศึกษา ่ เชิงการเมืองวัฒนธรรม (Cultural Politics) โดยอาศัยแนวคิด และแนวทางการศึกษาดังกลาวมาใช้ ่ ง การนําทางวาทกรรมเพื#อชวงชิ ่ ง การสร้ างความหมายของกลุ่ ม ศึก ษาการเคลื# อนไหวเพื#อชวงชิ ่ 68 ทั. งปัญญาชน รัฐบาลเผด็จการทหาร เป็ นต้น ตางๆ จะเห็นได้ว่างานวิจยั ที#เลือกใช้กรอบแนวคิดเรื# อง การใช้อาํ นาจนํา ในงานของชนิ ดา และ ่ การครองอํานาจนํา ในงานของประจักษ์ นั. นยังไมมี่ การนํากรอบแนวคิดดังกลาวมาใช้ เป็ นแนวคิด หลักในการศึกษากรณี รัฐบาลทักษิณ โดยที#งานของชนิดา นั. นได้ให้ความสนใจในการศึกษาไปกบั ่ ประเด็นการใช้อาํ นาจนํา ของโครงการอันเนื# องมาจากพระราชดําริ สวนงานของประจั กษ์น. ันก็ ่ ้เพื#อแยงชิ ่ งการครองอํานาจของกลุ่มตางๆในสั ่ ่ 1 เลือกใช้เพื#อศึกษาความเคลื#อนไหว ตอสู งคมในชวง ่ ิ การณ์ 14 ตุลาฯ เป็ นหลัก ทศวรรษ กอนเกดเหตุ ่ ั ด้วยเหตุ ผ ลดัง กลาวงานวิ จยั เรื# อง รั ฐบาลทัก ษิ ณ กบความพยายามสร้ า งภาวะการครอง ่ อํานาจนํา ชิ.นนี. จึงมีความสําคัญในแงมุ่ มของการเลือกใช้กรอบแนวคิดและทฤษฎี ในแงของการที #มี ่​่ ี# ั รัฐบาลทักษิณนัน# เอง ความใหมตอการนํ ามาใช้ศึกษากรณี ปัญหาเกยวกบ ี# ั ่ . ในแงมุ่ มของประเด็น โดยสรุ ปเกยวกบความสํ าคัญของการศึกษาวิจยั ในเรื# องดังกลาวนี ่ ี# ั ฐบาลทักษิณ ในแงมุ่ มของการศึกษา ปั ญหาที#ศึกษานั. นมีความสําคัญในแงของการศึ กษาเกยวกบรั เพื#ออธิ บายถึงการดําเนินการในการสร้างภาวะการครองอํานาจนํา, การทํางานของกลไกการครอง อํานาจนํา และผลลัพธ์ของความพยายามสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ ซึ# งยังไมมี่ ่ สวนความสํ ี# ั ฐบาลทักษิณได้ศึกษาในแงมุ่ มดังกลาวนี ่ . มากอน ่ ่ งานศึกษาเกยวกบรั าคัญในแงของการ ่ เลือกใช้กรอบแนวคิดและทฤษฎีน. นั งานศึกษากอนหน้ างานวิจยั ชิ.นนี. ที#มีการเลือกใช้กรอบแนวคิด ั . น มีจุดมุ่งหมายของการนํากรอบแนวคิดไปใช้ที#แตกตางกน ่ ั งานวิจยั ในลักษณะที#ใกล้เคียงกนนั ่ กอนหน้ านี. ยงั ไมมี่ งานที#ใช้กรอบแนวคิดเรื# องการครองอํานาจนํามาใช้ศึกษาในแงมุ่ มของรัฐบาล ่ ่ ทักษิณแตอยางใด

68

เรื# องเดียวกนั, หน้า 32-38.


19

1.3 วัตถประสงค์ ของการวิจัย ุ 1. เพื#อศึกษา และทําความเข้าใจแนวคิดการครองอํานาจนํา (Hegemony) ของอันโตนิโอ กรัมชี (Antonio Gramsci) 2. สามารถประยุ ก ต์ใ ช้แ นวความคิ ด เรื# อ งการครองอํา นาจนํา มาใช้ใ นการอธิ บ าย ปรากฏการณ์ทางการเมืองไทยปัจจุบนั (ภายใต้การครองอํานาจของรัฐบาลทักษิณ) ได้ 3. เพื#อเป็ นการเพิม# ทางเลือกในการอธิบายปรากฏการณ์ทางการเมือง และเป็ นการเปิ ดพื.นที# ในทางวิชาการให้มีความหลากหลายมากขึ. นจากงานวิชาการที#มีอยูเ่ ดิม 1.4 คําถามหลักของการวิจัย 1. เราสามารถอธิ บายการดําเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ ด้วย ่ กรอบแนวความคิดเรื# องการครองอํานาจนําได้อยางไร 2. การดําเนิ นการสร้ างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณประสบความสําเร็ จ หรื อไม่ เพราะเหตุใด 1.5 สมมติุ ฐาน ่ รัฐบาลทักษิณสร้างภาวะการครองอํานาจนําที#สมบูรณ์ ไมสํ่ าเร็ จ เพราะไมสามาร ถยึดกุม ่ ่ พื.นที#ประชาสังคมได้อยางสมบู รณ์ แตสามารถยึ ดกุมพื. นที#สังคมการเมือง และกลไกทางการเมือง อื#นๆได้ 1.6 ระเบียบวิธีวจิ ัย ั การศึ กษาวิจยั เรื# อง “รั ฐบาลทัก ษิ ณ กบความพยามสร้ า งภาวะการครองอํา นาจนํา ” เป็ น การศึกษาวิเคราะห์เชิงการตีความ และนําเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลในลักษณะของการพรรณนา ็ อมูลจากการวิเคราะห์ (Descriptive) เป็ นหลัก โดยเลือกใช้วิธีการศึกษาและเครื# องมือในการเกบข้ ่ นการศึกษาใน 2 สวนด้ ่ วยกนได้ ั แก่ เอกสาร (Documentary Research) เป็ นหลัก โดยแบงเป็ 1. ศึกษาเพื#อสร้าง “กรอบแนวคิด/ทฤษฎี การครองอํานาจนํา (Hegemony)” เพื#อใช้เป็ น กรอบในการวิเคราะห์ความพยามสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ ซึ# ง ็ อมูล โดยการศึ ก ษาจากเอกสาร ตํา ราวิช าการ ในขั. นตอนนี. ผูว้ ิจยั เลื อกใช้ก ารเกบข้ ี# องเป็ นหลัก บทความวิชาการที#เกยวข้


20

่ 2. ศึกษาปรากฏการณ์ หรื อศึกษากรณี ปัญหา ซึ# งมีหนวยในการศึ กษาคือ “รัฐบาลทักษิณ” ่ . เป็ นการศึกษาค้นคว้าข้อมูล เพื#อสร้างคําอธิ บายการทํางานของรัฐบาลทักษิณ ในสวนนี ่ ตามกรอบแนวคิดที#ได้สร้างขึ. นในสวนแรก เพื#อนําไปสู่ การตอบคําถามหลักของการ วิจยั ในท้ายที#สุด ็ อมูลโดยเกบข้ ็ อมูลจากการศึกษา การศึกษาในขั. นตอนที# 2 นี. เลือกใช้เครื# องมือในการเกบข้ และตีความจากเอกสารเป็ นหลัก โดยจําแนกได้เป็ น 2.1เอกสารชั. นต้น (Primary Documents) เช่น ข้อมูลการแถลงผลงานของรัฐบาล เอกสาร ี# ั ครงการ และนโยบายตางๆของรั ่ ่ เกยวกบโ ฐ บาล มติ ค ณะรั ฐ มนตรี คํา กลาวของ นายกรัฐมนตรี ในกรณี ต่างๆ เป็ นต้น 2.2เอกสารชั. นรอง (Secondary Documents) เชน่ ข้อมูลจากหนังสื อพิมพ์ นิตยสารการเมือง ี# อง ตลอดจน รายสัป ดาห์ หนัง สื อเลม่ วารสาร บทความ งานวิจยั วิท ยานิ พ นธ์ ที# เกยวข้ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และเว็ปไซต์ต่างๆ 1.7 ขอบเขตของการศึกษา ่ งานวิจยั ชิ. นนี. เป็ นการศึ กษาที#มุ่ งเน้นในการสร้ างคํา อธิ บ ายโดยมีหนวยในการศึ กษาคื อ รัฐบาลทักษิณ ภายใต้ช่ วงระยะเวลาของการครองอํานาจในการบริ หาร ปกครองประเทศนับตั. งแต่ สมัยแรกในปี พ.ศ. 2544- 2548 โดยสิ. นสุ ดขอบเขตของการศึกษาเมื#อรัฐบาลทักษิณได้มีการยุบสภา เมื#อวันที# 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 1.8 ประโยชน์ ทคี าดว่าจะได้ รับ ี# ั 1. มีความรู ้ ความเข้าใจเกยวกบแนวความคิ ดการครองอํานาจนําของกรัมชี 2. ผลการศึกษาที#ได้รับเป็ นการเพิ#มทางเลือก หรื อขยายขอบเขตในการอธิ บายรัฐบาล ทักษิณในแงมุ่ มเชิงวิชาการที#กว้างไปจากการศึกษาอื#นๆได้มากขึ. น ี# ั ฐบาลทักษิณ รวมไปถึงผูท้ ี#สนใจ 3. เป็ นประโยชน์ต่อผูส้ นใจศึกษาแงมุ่ มเกยวกบรั ี# ั ศึกษาแนวคิด/ทฤษฎีเกยวกบการครอง อํานาจนําของกรัมชีดว้ ย


21

1.9 นิยามศัพท์เฉพาะ รัฐบาลทักษิณ หมายถึง รัฐบาลไทยภายใต้การบริ หารงานของพรรคไทยรักไทย และนายกรัฐมนตรี ทกั ษิณ ชินวัตร ในสมัยแรกของการบริ หารประเทศ (พ.ศ. 2544-2548) จนถึงการยุบสภาในสมัยที#สองของ การบริ หารประเทศ เมื#อวันที# 24 กุมภาพันธ์ 2549 ภาวะการครองอํานาจนํา หมายถึง สภาพการณ์ทางสังคม-การเมืองที#อาํ นาจนําของรัฐบาลทักษิณมีอยูใ่ นระดับสู งดัง ่ ่ เห็ นได้จาก ภาวะการครองอํา นาจนําในทางการเมื อง เชนการยึ ดกุม สภาผูแ้ ทนราษฎรได้อยาง เบ็ดเสร็ จ, การเข้าไปมีบทบาทนํา และแทรกแซงในการดําเนิ นงานของวุฒิสภา ตลอดจนองค์กร ่ การคุกคาม แทรกแซง และควบคุมการดําเนิ นงาน และเสรี ภาพของ อิสระตามรัฐธรรมนู ญตางๆ ่ สื# อมวลชน เป็ นต้น สวนการครองอํ านาจนําในทางสังคม หรื อในทางวิถีชีวิตของผูค้ น เชน่ การ ได้รับคะแนนนิยมจากผูค้ นในสังคมในระดับสู ง ดังเห็นได้จากโพล และผลการสํารวจความคิดเห็น ่ อันเนื#องมาจากความชื#นชมในลักษณะเฉพาะตัวของผูน้ าํ รัฐบาล เป็ นต้น ตางๆ


บทที 2 กรอบความคิดในการอธิบายปรากฏการณ์ : แนวคิดการครองอํานาจนํา ของอันโตนิโอ กรัมชี บทที สองนี' จะเป็ นการนําเสนอถึงกรอบความคิดหลักที ผวู ้ ิจยั สังเคราะห์ข' ึนเพื อใช้เป็ นหลัก ในการอธิ บายปรากฏการณ์ (Theoretical Framework) ซึ งจะใช้เป็ นกรอบหลักในการมอง รวมถึง ่ วแปรตางๆอี ่ กด้วย เป็ นกรอบในการอธิบายความสัมพันธ์ระหวางตั ่ ง ความเป็ นมาของอัน โตนิ โ อ กรั ม ชี โดยนํา เสนอถึ ง บทนี' จ ะเริ ม ต้น ด้ว ยการกลาวถึ ่ ่ ชีวประวัติโดยสังเขป และสวนตอจากนั ' นจะเป็ นการนําเสนอบทสังเคราะห์การสร้างกรอบความคิด ในการอธิ บายของผูว้ ิจยั นั นคือกรอบแนวคิดเรื องการครองอํานาจนํา (Hegemony) รวมถึ งการ ่ อธิบายแนวความคิดที เป็ นองค์ประกอบที สําคัญตอการเข้ าใจแนวคิดเรื องการครองอํานาจนํา ได้แก่ ่ ่ ่ ั ่ม 1) แนวความคิดเรื องโครงสร้างสวนลางและโครงสร้ างสวนบน (Super/Base Structure) กบกลุ ประวัติศาสตร์ (Historic Bloc) 2) แนวความคิดเรื องประชาสังคม และสังคมการเมือง(Civil and ั Political Society) กบความยิ นยอมพร้อมใจ และการใช้อาํ นาจบังคับ (Consent and Coercion) 3) สงครามขับเคลื อน และสงครามยึดพื'นที ทางความคิด (War of Movement and War of Position) 4) กลไกการครองอํา นาจนํา และกลไกการใช้อ าํ นาจรั ฐ (Hegemonic Apparatuses and State ่ Apparatuses) และ 5) การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนํา (Counter Hegemony) ่ การนําเสนอแนวคิดตางๆที ใช้สร้างเป็ นกรอบความคิดในการอธิ บายในงานวิจยั บทนี' เป็ น การตี ค วามจากงานวิช าการจากเอกสารวิ ช าการลํา ดับ รอง และภายหลัง จากที ไ ด้นํา เสนอถึ ง ่ ่ ่ อมโยงแนวคิดตางๆเพื ่ สาระสําคัญของแนวคิดตางๆแล้ วจะได้กลาวอยางเชื อใช้เป็ นกรอบในการ อธิบายปรากฏการณ์ต่อไป 2.1 อันโตนิโอ กรัมชี (Antonio Gramsci): สั งเขปชีวประวัติ ่ 1 ซึ งสามารถ ชี วประวัติโดยสัง เขปของกรั ม ชี ใ นที น' ี เป็ นการเรี ย บเรี ย งจากงานชิ' นตางๆ ่ วิต ที สํา คัญ ของกรั ม ชี ไ ด้เ ป็ น ชวงแรกคื ่ ่ ่ จํา แนกชวงชี อ ชวงแรกของชี วิตที ซ าร์ ดิ เ นี ย ชวงของ 1

สรุ ปและเรี ยบเรี ยงจาก จิอูเซ็ปเป้ ฟิ โอรี , ชีวิตของอันโตนิโอกรัมชี, แปลโดย นฤมล นครชัย และประทีป นครชัย (กรุ งเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2526); Anne Showstack Sassoon, “Gramsci’s Life,” in Approaches to Gramsci, ed. Anne Showstack Sassoon (London: Writers and Readers, 1982), pp.150-158.; Paul Ransome, Antonio Gramsci A New Introduction, (London: Harvester Wheatsheaf, 1992), pp. xii-xvi.; David Miller. Ed, The Blackwell Encyclopedia of Political Thought, (Oxford: Basil Blackwell, 1987), pp. 179-180.; Robert Andi. Ed, The Cambridge Dictionary of Philosophy, 2nd ed (Cambridge: Cambridge


23

่ และเริ มมีบทบาทในการเคลื อนไหวทางการเมืองที ตูริน ถัดจากนั' นจึงเป็ นชวงสมั ่ การศึกษาตอที ย ่ ่ ่ งวาระสุ ดท้ายของชีวิตของกรัมชี ของการปกครองแบบฟาสซิ สต์ และชวงเวลาสํ าคัญอีกชวงกอนถึ นัน คือ ช่วงชีวติ ในคุก ซาร์ ดิเนีย (Sardinia) 1891-1911 ิ อวันที 22 มกราคม 1891 ที อันโตนิโอ กรัมชี นักมาร์ กซิ สต์ชาวอิตาเลียนผูม้ ีชื อเสี ยง เกดเมื ่ ่ เมือง Ales เกาะซาร์ดิเนีย ซึ งเป็ นพื'นที ยากจน และประชาชนสวนใหญประกอบอาชี พเกษตรกรรม ่ ั ฐบาล และ พอของอั นโตนิ โอ กรัมชี หาเลี' ยงครอบครัวด้วยการทํางานเป็ นเสมียนให้กบรั ่ ่ ่ ่ ตอมาต้ องถูกจับในข้อหาฉ้อราษฎร์ บงั หลวง สงผลให้ แมของอั นโตนิ โอ ต้องประสบปั ญหาอยาง ่ ดผ้า มากในการเลี' ยงดู อันโตนิโอ และพี นอ้ งรวมอีก 6 คน โดยการหาเลี' ยงชีพด้วยการเป็ นชางตั ในวัยเด็กขณะที เขามีวยั เพียง 4 ปี เขาได้พลัดตกจากอ้อมแขนของพี เลี' ยง อุบตั ิเหตุในครั' ง ่ ่ ่ ่ ่ และมี นั' นสงผลสงผลเสี ย ตอกระดู กสันหลังของเขา ซึ ง สงผลให้ เขาต้องกลายเป็ นคนหลัง คอม ่​่ ปัญหาทางสุ ขภาพที ไมคอยแข็ งแรงนับแตนั่ ' นเป็ นต้นมา ่ องจากสถานะทางเศรษฐกจของครอบครั ิ ั าให้ กรัมชีเป็ นเด็กที เรี ยนได้ดี แตเนื วที มีขอ้ จํากดทํ ่ ่ ่ งระดับมหาวิทยาลัยได้ ดังนั' นหากเขาต้องการเข้าเรี ยนตอ่ ครอบครัวไมสามารถสงเขาให้ เรี ยนตอถึ ็ ในระดับสู งเขาจะต้องสอบชิ งทุนการศึกษาให้ได้ ซึ งเขากสามารถทํ าได้สําเร็ จเมื อสามารถสอบชิ ง ่ มหาวิทยาลัยตูริน ณ เมืองตูริน เมืองที มีความเจริ ญทางอุตสาหกรรม ทุนทัว ประเทศได้ไปศึกษาตอที ่ ั ซาร์ดิเนียแหลงกาเนิ ่ ํ ดของเขา เป็ นอยางมากผิ ดกบที ตริู น (Turin) 1911-1920 กรั ม ชี เ ริ มศึ ก ษาที ม หาวิ ท ยาลัย ตู ริ นในปี 1911 และได้ ศึ ก ษาทางด้ า นภาษาศาสตร์ ี ั ขภาพ ทําให้กรัมชีไมสํ่ าเร็ จการศึกษาดังที ได้ต' งั ใจไว้ (Linguistics) แตทั่ 'งนี' เนื องจากปัญหาเกยวกบสุ ่ ั ในปี 1913 กรัมชี ได้เข้ารวมกบพรรคสั งคมนิ ยมอิตาลี (Italian Socialist Party หรื อ PSI) ั งสื อพิมพ์ของพรรค ตั' งแตนั่ ' นมา ตอมาในปี ่ และได้เริ มมีบทบาทในการเริ มงานเขียนให้กบหนั 1916 ็ เริ มทํางานด้วยการยึดอาชีพนักหนังสื อพิมพ์ และเขียนให้กบั Il Grido del Popolo และ เขากได้ Avanti! University Press, 1999), pp. 353-354.;Joel Krieger. Ed, The Oxford Companion to Politics of the World, 2nd ed (New York: Oxford University Press, 2001), pp.330-331.; Iain McLean and Alistair McMillan, Oxford Concise Dictionary of Politics, 2nd ed (New York: Oxford University Press, 2003), pp.226-228. และ David Robertson, The Routledge Dictionary of Politics, 3rd ed (London: Routledge, 2004), pp.212-213.


24

ิ ' นในปี 1917 คือ ได้เกดการปฏิ ิ เหตุการณ์สําคัญที เกดขึ วตั ิในรัสเซี ย โดยพรรคบอลเชวิก ั ' น กรัมชีได้รับเลือกให้ดาํ รงตําแหนงเลขาธิ ่ ภายใต้การนําของเลนิน ขณะที ในปี เดียวกนนั การให้กบั PSI สาขาตูรินด้วย ิ ' น ในชวงชี ่ วิต ที ตู ริ น ของกรั ม ชี ไ ด้แ ก่ ก ารที เบนิ โ ต เหตุ ก ารณ์ สํา คัญ นอกจากนี' ที เ กดขึ มุสโสลินี ได้ก่อตั' งพรรค Fasci Italiani di Combattimento ขึ' นที มิลาน ในปี 1919 และในปี เดียวกนั ได้มีการจัดการประชุ มคอมมิวนิ สต์สากล (Comintern) หรื อสากลที สามขึ' นเป็ นครั' งแรกที กรุ ง มอสโก สมัยฟาสซิสต์ และพรรคคอมมิวนิสต์ อติ าลี (Fascism and the PCI) 1921-1926 ่ ่ ชีวิตในชวงเวลาตอมาของกรั มชีเป็ นยุคสมัยฟาสซิ สต์เรื องอํานาจ โดยที ในปี 1921 พรรค ่ ' ง ขึ' น ไลเลี ่ ย กนกบการเกดขึ ั ั ิ ' นของ พรรคฟาสซิ ส ต์แหงชาติ ่ คอมมิ ว นิ ส ต์อิต าลี (PCI) ได้ถู ก กอตั (National Fascist Party) ่ ตอมาในปี 1922 กรัมชีได้รับเลือกจากคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์อิตาลีให้เป็ น ตัวแทนไปในการประชุมผูบ้ ริ หารคอมมิวนิสต์สากล (สากลที สาม) หรื อComintern ที มอสโก และที ั ่ คือ Julia Schucht ขณะที ในปี เดียวกนนั ั ' นพรรค นัน ทําให้เขาได้พบกบภรรยาของเขาในเวลาตอมา ฟาสซิสต์ได้ขยายอํานาจยึดกรุ งโรม และมุสโสลินีก็ได้ข' ึนเป็ นนายกรัฐมนตรี ในปี นี' หลังจากที ได้เป็ นตัวแทนไปประชุ มคอมมิวนิสต์สากลที กรุ งมอสโกในปี 1922 อีกสองปี ่ ตอมาคื อในปี 1924 กรัมชีได้เดินทางไปยังกรุ งเวียนนาเพื อรักษาอาการเจ็บป่ วยของเขา และในปี นี' ่ ต่อมาในปี 1925 ภรรยา และลูกได้ ํ ด กอนที เองที ลูกชายคนแรกของเขา “เดลิโอ” (Delio) ได้ถือกาเนิ ั มชีที กรุ งโรม ย้ายมาอยูก่ บกรั ชีวติ ในคกุ (Prison) 1926-1937 ่ วิตที สําคัญที สุดของกรัมชีคือชวงชี ่ วิตของการเป็ นนักโทษการเมือง สมัยฟาสซิ สต์น' ี ชวงชี เอง ทั' งนี' ในปี 1926 กรัมชีและครอบครัวได้อพยพลี' ภยั การเมืองจากการคุกคามของฝ่ ายฟาสซิ สต์ไป ่ มชี ได้กลับไปยังกรุ งโรมอีกครั' งเพื อ เนื องจากการที เขามอง ยังชายแดนสวิตเซอร์ แลนด์แล้ว แตกรั ิ ่ ่ กจับเนื องจากเขาได้รับสิ ทธิ คุม้ กนเนื ั องจากการเป็ น โลกในแงดี่ เกนไปเพราะเขาเชื อมัน วาเขาจะไมถู ่ มชีก็ถูกจับโดยฝ่ ายฟาสซิ สต์ เมื อวันที 8 พฤศจิกายน 1926 และถูก สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร แตกรั ่ งคุกตางๆ ่ และไมได้ ่ รับอิสรภาพอีกเลยจนวาระสุ ดท้ายของชีวติ สงไปยั ั กรัมชีถูกจับกุมนี' เองลูกชายคนที สองของเขา “จูเลียโน” (Giuliano) ได้ถือกาเนิ ํ ด ปี เดียวกบที โดยที กรัมชีจะไมมี่ โอกาสได้เจอลูกชายคนที สองของเขาเลย


25

่ ั ก 5 วัน กรัมชีใช้ชีวิตในเรื อนจํา ตอมาในปี 1928 เขาถูกพิพากษาจําคุก 20 ปี 4 เดือน กบอี หลายที จนกระทัง ปี 1933 เขาจึงได้ยา้ ยออกไปรักษาตัวที คลินิกเล็กๆในเมืองฟอร์ เมีย เนื องจาก ่ ่ ี สุ ดท้ายของชีวิตไปกบการรั ั อาการป่ วย และสุ ขภาพทรุ ดโทรมอยา่งหนัก เขาใช้เวลาชวงไมกปี กษา อาการป่ วยที คลินิกอีกหลายแหง่ จนกระทัง วาระสุ ดท้ายของชีวิตเขาได้มาถึงเมื อวันที 27 เมษายน 1937 รวมอายุได้ 47 ปี ดังที ได้นาํ เสนอไปข้างต้นเป็ นสังเขปชีวประวัติของอันโตนิโอ กรัมชี เพื อเป็ นการนําเสนอ ่ มชีมีพ'ืนเพชีวติ มีที มาและสถานภาพทางสังคมเชนไร ่ ซึ งถือวาเป็ ่ นสิ งสําคัญ ให้เห็นในเบื'องต้นวากรั ่ และชวยในการทํ าความเข้าใจแนวความคิดของกรัมชีได้ต่อไป ่ ่ สวนตอจากนี ' จะเป็ นการนําเสนอ กรอบแนวคิดการครองอํานาจนํา เพื อใช้เป็ นกรอบในการ อธิบายปรากฏการณ์ในงานวิจยั ชิ'นนี' โดยจะเริ มต้นที การนําเสนอถึงนิยาม ความหมายของการครอง ่ แล้วจึงสังเคราะห์ให้เห็ นวา่ แนวคิดดังกลาวนั ่ ' นประกอบด้วยแนวคิดอื นๆที เป็ น อํานาจนํากอน ่ ่ ' นในสวนถั ่ ดไป องค์ประกอบอยางไรบ้ าง และนําเสนอถึงแนวคิดองค์ประกอบเหลานั 2.2 กรอบความคิดในการอธิบายปรากฏการณ์: แนวคิดการครองอํานาจนํา (Hegemony) 2.2.1 การครองอํานาจนํา: นิยาม ความหมาย คําวา่ “Hegemony” หรื อที ในงานวิจยั นี' ใช้คาํ วา่ “การครองอํานาจนํา”2 เป็ นคําที มีที มาจาก ภาษากรี ก ที วา่ “Hegemon”3 ที มีความหมายถึง การนํา (leading) การมีอาํ นาจเหนือผูอ้ ื น (prominent power) และมักจะมุ่งใช้ในความหมายของการครองอํานาจนําทางการเมือง (political dominance) ่ ่ เป็ นสวนใหญ ่ งในงานเขียนของ อันโตนิโอ กรัมชี แนวความคิดเรื องการครองอํานาจนํา4นั' น ได้ถูกกลาวถึ (Antonio Gramsci) ในสมุดบันทึกจากคุก (Prison Notebooks) ผลงานชิ'นสําคัญของกรัมชีน' ีเขียน 2

่ ั มีการใช้คาํ ในภาษาไทยแทนความหมายของคําวา่ “Hegemony” แตกตางกนออกไป อาทิ “การครองความคิดจิตใจ” “การใช้อาํ นาจนํา” “การครองความเป็ นเจ้า” และ “การครองความเป็ นใหญ่” เป็ นต้น ในงานวิจยั ชิ'นนี' ผวู ้ ิจยั เลือกใช้คาํ วา่ “การครอง ั าวา่ “ภาวะการครองอํานาจนํา” เพราะเป็ นคําที ผวู ้ ิจยั มองวาเหมาะสมกบการนํ ่ ั อํานาจนํา” ควบคู่กบคํ ามาใช้เป็ นกรอบในการอธิบาย ่ ' นได้สื อถึง สภาวะที สงั คมการเมืองไทยได้ประสบมาชวงปี ่ 2544-2548 ที มีรัฐบาล รัฐบาลทักษิณมากที สุด เนื องจากคําดังกลาวนั ่ ทักษิณเป็ นตัวแสดงนํา โดยมีบทบาทนําในสังคมไทยหลายๆด้านทั' งด้าน การเมือง เศรษฐกจิ และสังคม ได้เป็ นอยางดี 3 David Macey, The Penguin Dictionary of Critical Theory, (London: Penguin Books, 2000), p.176. และ Iain McLean and Alistair McMillan, Oxford Concise Dictionary of Politics, 2nd ed, p.239. 4 ่ คําวา่การครองอํานาจนํา หรื อ hegemony นั' นถูกนํามาใช้แตแรกเริ มโดยเปลคานอฟ (Plekhanov) และนักมาร์กซิสต์ ่ คริ สตวรรษที 1880 โดยที เลนิน (Lenin) ได้นาํ แนวคิดนี' มาใช้ในลักษณะของการเป็ นกลยุทธ์/กลวิธีในการปฏิวตั ิ โดย รัสเซียในชวง ่ อ หรื อเป็ นพันธมิตรกบชนชั ั ่ ง ชนชั' นชาวนาเพื อเพื อสร้างภาวะการนํา มุ่งให้ชนชั' นแรงงานแสวงหาความรวมมื ' นอื น โดยเฉพาะอยางยิ ่ ิ ' น ความสําคัญของกรัมชีคือ เขาเป็ นผูน้ าํ แนวคิด hegemony มาเพิม เติมรายละเอียด แหงชาติ (National leadership) ให้เกดขึ ่ ลกั ษณะของการเป็ น “ปรัชญา” มากขึ' นกวา่การเป็ นแค่ “กลยุทธ์” ในการปฏิวตั ิ โดยกรัมชีได้ (elaborated) ทําให้แนวคิดดังกลาวมี


26

่ เขาถูกจําคุกระหวางปี ่ 1926-1935 แม้เขาจะต้องเผชิญกบปั ั ญหาเรื องสุ ขภาพ และสภาพ ขึ'นระหวางที ่ ็ งสามารถเขียนงานออกมาได้ถึงกวา่ 2,848 หน้าจาก ความเป็ นอยูท่ ี ยากลําบากในเรื อนจํา แตเขากยั ่ วยกนั สมุดบันทึกจํานวน 33 เลมด้ ่ นระบบ และมี งานเขียนของเขามีลกั ษณะกระจัดกระจายมิได้รวบรวมเป็ นหมวดหมู่อยางเป็ ่ วยเรื องประวัติศาสตร์ อิตาลี วา่ ประเด็นกว้างขวางครอบคลุมในหลายเรื องด้วยกนั เชน่ ประเด็นวาด้ ่ วยทฤษฎีและแนวความคิดในทางการเมือง ความคิดเกยวกบรั ี ั ฐ สังคม ด้วยการศึกษา ปัญญาชน วาด้ ํ การใช้อาํ นาจ รวมถึงเรื องการครองอํานาจนํา เป็ นต้น อีกทั' งการใช้ภาษากมี็ ลกั ษณะกากวม ซึ งยาก 5 ่ ่ ตอการตี ความ เพื อให้จดหมายและข้อเขียนของเขาสามารถผานการควบคุ มจากคุกได้นน ั เอง งานเขี ย นของกรั ม ชี เ ป็ นการสะท้อ นมุ ม มองของเขาที มี ต่ อสภาพการณ์ ท างการเมื อ ง ่ งในเรื องแนวคิดการครองอํานาจนํา ที เป็ นกรอบ เศรษฐกจิ และสังคมในสมัยนั' น โดยเฉพาะอยางยิ แนวความคิดหลักในการอธิบายปรากฏการณ์ในงานวิจยั ชิ'นนี' น' นั เป็ นการสะท้อนความคิดของเขาที 6 ิ ํ มีต่อแนวความคิดมาร์กซิสต์แบบดั' งเดิมที เชื อใน “หลักเศรษฐกจกาหนด ” (Economism) “หลักการ 7 ่ จจัยในเรื องเศรษฐกจนั ิ ' นเป็ นอิสระ ํ ่ กาหนดนิ ยมอยางกลไก ” (Mechanical determinism) ที มองวาปั ่ งปั จจัยในเชิ งเจตจํานงของมนุ ษย์ และเป็ นตัวกาหนดความเป็ ํ จากปั จจัยอื นโดยเฉพาะอยางยิ นไป ่ นด้วยกบแนวคิ ั หรื อพัฒนาการของสังคมโดยอัตโนมัติ ดังนั' นตามความคิดของกรัมชีเขาจึงไมเห็ ด ํ ิ ่ นกลไก ของพวกมาร์กซิสต์แบบดั' งเดิมพวกหนึ งที เชื อในหลักการกาหนดนิ ยมโดยเศรษฐกจอยางเป็ ่ ่ ในมุมมองของกรัม ชี น' ันมองวาโครงสร้ างสวนบนอั นประกอบไปด้วยพื' นที ของระบบกฎหมาย ็ นสวนสํ ่ าคัญตอการกาหนดความเป็ ่ ํ ่ ฒนาการ ความเชื อ ศีลธรรม ปั ญญา นั' นกเป็ นไป หรื อมีผลตอพั ของสังคมได้8

่ ั งทางสังคมตางๆ ่ รวมถึงการอธิบายวิธีการในการได้มาซึ งอํานาจรัฐ และ เพิม เติมมิติของความสัมพันธ์เชิงอํานาจระหวางชนชั ' นกบพลั ่ กด้วย ดูเพิ มเติมใน Roger Simon, Gramsci’s Political Thought An Introduction, (London: การได้รับการยอมรับจากชนชั' นตางๆอี Lawrence and Wishart, 1982), pp.17,18,21-23. 5 ดูเพิ มเติมใน Quintin Hoare and Geoffrey Nowell Smith, Selections from the Prison Notebooks of Antonio Gramsci, (New York: International Publishers, 1971) 6 ิ ํ ่ ถูกนํามาใช้โดยตัวของคาร์ล มาร์กซ์เอง แตผู่ ท้ ี นาํ คํานี' มาใช้เป็ นครั' งแรกๆคือ คําวา่ “หลักเศรษฐกจกาหนด ” นี' ไมได้ ่ เลนิน ซึ งเป็ นการนํามาใช้ในเชิงกลยุทธ์ของการปฏิวตั ิมากกวาจะเป็ นการให้ความหมายในเชิงปรัชญา 7 ํ ่ คําวา่ กาหนดนิ ยม (Determinism) นี' เป็ นคําที ใช้สื อความหมายแงลบในทางสั งคมศาสตร์ เป็ นการอธิบายความสัมพันธ์ ํ ่ ่ ี ั านิยาม เชิงเหตุผลในลักษณะที มีการกาหนดผล หรื อมีคาํ อธิบายตอปรากฏการณ์ น' นั ๆลวงหน้ าตายตัวอยูแ่ ล้ว ดูเพิ มเติมเกยวกบคํ ํ ํ “กาหนดนิ ยม/นิยตั ินิยม” ได้ใน เอก ตั' งทรัพย์วฒั นา, “determinism นิยตั ินิยม กาหนดนิ ยม,” ใน คําและความคิดในรัฐศาสตร์ร่ วมสมัย ,เอก ตั' งทรัพย์วฒั นา และสิ ริพรรณ นกสวน, บรรณาธิการ (กรุ งเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546), หน้า 95. 8 ดู Rupert Woodfin and Oscar Zarate, Introducing Marxism, (London: Icon Books, 2004), pp. 118-127.; David Forgacs, A Gramsci Reader Selected Writings 1916-1935, (London: Lawrence and Wishart, 1988), p.422.; Anne Showstack Sassoon, Approaches to Gramsci, p.13. และ Roger Simon, Gramsci’s Political Thought An Introduction, pp. 9-20.


27

่ ่ ิ ํ ทั' งนี' การกลาววาแนวความคิ ดมาร์ กซิ สต์เป็ นความคิดแบบเศรษฐกจกาหนด (Economic ่ ่ ' นเป็ นการกลาวหาแนวคิ ่ Determinism/Economism) โดยนักวิชาการสวนใหญนั ดมาร์ กซิ สต์ที เกนิ ิ ในความเป็ นจริ งแล้วนักคิดมาร์ กซิ สต์ที เชื อในหลักเศรษฐกจกาหนดนั ิ ํ เลย และเหมารวมเกนไป 'น ่ ' น เชน่ เคาท์สก' ี 9 และเบอร์ นสไตน์10 นักคิดพวกนี' เชื อวาเศรษฐกจนั ่ ิ ' นจะ เป็ นเพียงบางพวกเทานั ่ นคอยไป ่ ่ ่ กษณะของการ พัฒนาไปเองโดยอัตโนมัติ โดยมีลกั ษณะคอยเป็ (Gradualism) ไมใชลั ปฏิวตั ิ ่ อาทิ เลนิน เหมา เจ๋ อ ตุง เช กูวารา และฟิ เดล คาสโตร นั' นไมได้ ่ แตนั่ กมาร์ กซิ สต์อีกสวน ิ ํ ่ ' พยายามที จะปฏิวตั ิเปลี ยนแปลงทางการเมือง เหตุผล เป็ นพวกเศรษฐกจกาหนด เพราะเขาเหลานี ็ อให้เกดการเปลี ิ หนึ งของการพยายามเปลี ยนแปลงทางการเมือง กเพื ยนแปลงทางเศรษฐกจิ ทั' งนี' ก็ เพราะความเข้าใจในเรื องของวัตถุ นิยมวิภาษวิธี (Dialectical Materialism) ที จิตกมี็ พลังในการ ็ ่าวไว้ชดั เจนวา่ “จิ ตสํานึ กของมนุษย์ นั+นไม่ เพี ยงแต่ เปลี ยนแปลงวัตถุได้ดว้ ย ทั' งนี' เลนิ นเองกเคยกล สะท้ อนภาพของโลกในทางวัตถุเท่ านั+นแต่ ยังสามารถสรรสร้ างสรรพสิ< งได้ อีกด้ วย”11 ซึ งอาจสรุ ป ่ ภาษวิธีในบริ บทนี' อาจเข้าใจได้ว่าเป็ น Creative Reflection12 (การสะท้อนภาพปั ญหาโดย ได้วาวิ 9

่ ' งพรรคสังคมนิยม เคาท์สก' ี (Karl Johann Kautsky) นักสังคมนิยมชาวเยอรมัน (1854-1938) ซึ งเป็ นหนึ งในผูร้ ่ วมกอตั ่ ้ทางการเมืองโดยสันติวิธี และตอต้ ่ าน ประชาธิปไตยอิสระ เขานิยมแนวความคิดของมาร์กซ์และเองเกลส์ แตเ่ลือกแนวทางการตอสู ิ ํ ่ แนวทางการปฏิวตั ิรุนแรงของเลนินและ ทรอตสก' ี เพราะเขาเป็ นพวกเศรษฐกจกาหนด (Economism) ที เชื อวาในระบบทุ นนิยมนั' นมี ็ องลมสลายลงด้ ่ ความขัดแย้งในตัวของมันเอง ดังนั' นจึงไมจํ่ าเป็ นจะต้องปฏิวตั ิเพราะระบบทุนนิยมนั' นในที สุดแล้วกจะต้ วยตัวของมัน ่ ่ นกลไก ดู สุรพงษ์ ชัยนาม, “ทฤษฎีการปฏิวตั ิสงั คม,” ใน เอกสารการสอนชุด เองอยูแ่ ล้ว จึงปลอยให้ สงั คมเปลี ยนแปลงไปเองอยางเป็ ่ 8-15 (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิ ราช, 2548), หน้า 563 และ ดูเพิ มเติมเกี ยวกบผลงานของ ั วิชาปรัชญาการเมือง หนวยที เขาในhttp://en.wikipedia.org/wiki/Karl_Kautsky [6 เมษายน 2550] 10 ่ กคิดที มีความคิดสุดขั' วกวาเคาท์ ่ สวนนั สกกคื ' ี ็ อ เบอร์นสไตน์ (Edward Bernstein) ซึ งจัดเป็ นนักคิดคนสําคัญของแนวคิด ่ สังคมนิยมประชาธิปไตยของพรรคสังคมนิยมประชาธิปไตย หรื อ SPD ของเยอรมันในชวงปลายของศตวรรษที 19 ั ั เบอร์นสไตน์น' นั ได้รับอิทธิพลทางความคิดมาจากแนวคิดสังคมนิ ยมเฟเบียน ซึ งเป็ นแนวคิดสังคมนิ ยมที สวนทางกนกบ ่ ' น เชิ ง กลาวคื ่ อ แนวคิดดังกลาวนั ่ ' นเน้นที การปฏิ รูป ไมใชการปฏิ ่ ่ ่ ใ ห้ความสําคัญกบการสร้ ั แนวคิดมาร์ ก ซิ สต์อยางสิ วตั ิ ไมได้ าง ่ นความสําคัญของชนชั' นกลางอยางมาก ่ ่ ้ทางชนชั' นผานการ ่ มวลชนกรรมาชีพในการขับเคลื อน แตเน้ และแนวคิดนี' ไมนิ่ ยมการตอสู ่ ิ ' นด้วยตัวของมันเองอยูแ่ ล้ว สําหรับเบอร์นสไตน์น' นั ถูกจัดเป็ นนักคิดของ ปฏิวตั ิที รุนแรง เพราะเขาเชื อวาการเปลี ยนแปลงนั' นจะเกดขึ ่ อการปฏิเสธความคิดแบบมาร์ กซิ สต์ที ให้ความสําคัญกบการตอสู ั ่ ้เพื อปลดแอกตนเองของชนชั' น พวกลัทธิแก้ (Revisionism) กลาวคื กรรมาชีพนัน เอง ่ ่ สงั คมนิยมในแบบของเขาซึ งให้ความสําคัญกบการประนี ั เบอร์นสไตน์น' นั มองวาหนทางในการไปสู ประนอมปรองดอง ั ่ ั ่ ้กนระหวางชนชั ั ่ ่ ่ กนระหวางชนชั กซ์ เพราะเขามองวาหนทาง ' นกรรมาชีพกบชนชั ' นนายทุน แทนที การตอสู ' นนั' นดีกวาหนทางของมาร์ ่ ้แบบมาร์กซ์น' นั จะพบอุปสรรคนานา และลงท้ายด้วยความล้มเหลวในที สุด โปรดดูเพิ มเติมใน ฮาล เดรเปอร์, สองวิญญาณ การตอสู ่ ิ กติ​ิ เรี ยงลาภ และจิระยุทธ คงหิ' น [Online]. แหลงที ่ มา: ของสังคมนิยม, แปลโดย เกงกจ http://www.marxists.org/thai/archive/draper/two-souls.htm [6 พฤษภาคม 2550]; http://en.wikipedia.org/wiki/Eduard_Bernstein [6 เมษายน 2550] และ David Mclellan, Marxism after Marx, (New York: Harper and Row, 1979), pp. 20-38. 11 ดูเพิ มเติมใน David Mclellan, Marxism after Marx, p. 108. 12 ่ คําวา่ Creative Reflection นี' เป็ นคําของ รศ.สุชาย ตรี รัตน์ แหงภาควิ ชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ผูว้ ิจยั ขอขอบพระคุณ รศ.สุชาย ไว้ ณ ที น' ีดว้ ย


28

่ ่ นยันได้ว่ามาร์ กซ์น' นั ไมได้ ่ เป็ นผูท้ ี สร้างสรรวิธีเพื อแกปั้ ญหาด้วย) นอกจากนี' ตวั อยางงานที กลาวยื ิ ํ ่ เชื อในเศรษฐกจกาหนดอยางกลไก สามารถดูเพิ มเติมได้ในงานของ Richard W. Miller13 เป็ นต้น ั อ ง “อุ ด มการณ์ ” ความคิ ด เรื อ งการครองอํา นาจนํา ของกรั ม ชี ไ ด้ใ ห้ ค วามสํ า คัญ กบเรื ่ งในการใช้เป็ นแนวทางในการทําความเข้าใจเกยวกบแนวคิ ี ั (Ideology) โดยเฉพาะอยางยิ ดเรื องของ ่ ่ และสังคมสวนบน ่ “โครงสร้ า งสังคมสวนลาง ” (Base/Super Structure) โดยที กรัม ชี ได้เน้นให้ ั ่ ่ สําคัญระหวาง ่ ความสําคัญกบบทบาทของโครงสร้ างสวนบน และได้ช' ี ให้เห็นถึงความแตกตางที ่ “สังคมสองแบบ” ภายในโครงสร้างสวนบน วา่ ประกอบไปด้วย สังคมแรก คือ “รัฐ/สังคมการเมือง” ่ (Political Society) ซึ งได้แ กรั่ ฐ และองค์ก รการใช้อ ํา นาจตางๆรั ฐ และอี ก สั ง คมหนึ ง คื อ ่ เป็ นเอกชน หรื อสวนอื ่ นๆที เป็ นองค์กรนอก “ประชาสังคม”14 (Civil Society) ซึ งได้แก่ สวนที อํานาจรัฐ ่ กรัมชี อธิ บายวาขณะที สังคมการเมือง ดําเนิ นการสร้ าง และสื บทอด “อํานาจครอบงํา” (Domination)โดยชนชั' น ปกครอง ผู ้ยึ ด กุ ม อํา นาจรั ฐ และมี อ ํา นาจในการบัง คับ ใช้ ก ฎหมาย ่ (Legislation) และมี อ าํ นาจบัง คับ รองรั บ (Coercion) อยู่ด้ว ยแตในประชาสั ง คมนั' น จะมี ก าร ่ ดําเนินการเพื อสร้าง และสื บทอด/รักษา การครองอํานาจนํา โดยอาศัยวิธีการที แตกตางไปจากสั งคม ิ ' นในหมู่ประชาชน โดยที ประชาชนไม่ การเมือง โดยใช้วิธีการสร้าง ความยินยอมพร้อมใจให้เกดขึ ่ นการบังคับ หรื อ เป็ น “การยินยอมพร้อมใจโดยธรรมชาติ”15 (Spontaneously Consensus) รู ้สึกวาเป็ ่ ในประชาสังคมนี' การใช้อํานาจ เพื อครอบงํากลุ่มบุคคล หรื อชนชั' นอื นนั' นจะแตกตางจากสั งคม ่ กาลั ํ ง หรื อความรุ นแรง แตจะ ่ การเมือง นัน คือ ในประชาสังคมจะเป็ นการใช้อาํ นาจนํา โดยไมใช้ เป็ นการครองอํานาจนําในเชิ งพื' นที (Realm) หรื อความคิด ในการผลิ ตทางเศรษฐกจิ และการ ่ ่ ในแงนี่ ' โลกทัศน์ของผูค้ นในประชาสังคมจะ ดํารงชีวติ โดยผานทางเครื องมือ หรื อกลไกชนิดตางๆ ถู ก “ครองอํา นาจนํา ” ทางความคิ ด ความเชื อ ทัศ นคติ โ ดยกลุ่ ม ผูป้ กครอง และโลกทัศ น์ ที ถู ก ่ ครอบงํา จะกลายไปเป็ น “วัฒนธรรมรวมของผู ค้ น” (Popular Culture) และแทรกซึ มไปทัว ทั' ง ประชาสังคม ิ ' นอยางสมบู ่ ่ ถ้ากลุ่มผูป้ กครอง การสร้างภาวะการครองอํานาจนํานี' จะเกดขึ รณ์แบบไมได้ ่ ยงอํานาจรัฐ แตเพี ่ ยงอยางเดี ่ ยว โดยปราศจากการครอง หรื อชนชั' นปกครองจะมุง่ หวังยึดครองแตเพี ่ ่ ด้วยเหตุน' ี “กลุ่มผูด้ าํ เนิ นการ อํานาจนําเหนือระบบความคิด หรื ออุดมการณ์ เหนือสังคมสวนใหญ ่ และ สร้างภาวะครองอํานาจนํา” (Hegemon) 16 นั' นจะต้องพยายาม (Attempt) ที จะสร้างแนวรวม 13

Richard W. Miller, Analyzing Marx Morality, Power and History, (New Jersey: Princeton University Press, 1984),

14

David Macey, The Penguin Dictionary of Critical Theory, pp.176-177. Anne Showstack Sassoon, “A Gramsci Dictionary,” in Approaches to Gramsci, ed. Anne Showstack Sassoon,

pp. 9, 227. 15

pp.13-14. 16

ในงานวิจยั นี' หมายถึงรัฐบาลทักษิณ


29

่ รวมถึงกลุ่ม แปรสภาพ (Transform) อุดมการณ์ของพันธมิตร (Alliance) จากกลุ่ม หรื อชนชั' นตางๆ ั ได้ การสร้างแนวรวมพั ่ นธมิตรระหวางกลุ ่ ่มพลัง หรื อชน ที เป็ นอริ (Rival) ให้เป็ นหนึ งเดียวกนให้ 17 ่ ' เรี ยกวา่ การสร้างกลุ่ม “กลุ่มประวัติศาสตร์ ” (Historical Bloc) ให้เกดขึ ิ ' น ทั' งนี' เพื อเป็ น ชั' นตางๆนี ่ ค้ รองอํานาจนํากบผู ั ถ้ ูกนําให้เกดขึ ิ ' นโดยที ความรู ้สึก (Feelings) การสร้างความเป็ นเอกภาพระหวางผู ของประชาชนผูถ้ ูกนํา/ถูกปกครองนั' นถูกครอบครองความคิดโดยสมบูรณ์ตามความต้องการของ ชนชั' น หรื อกลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนํา แนวความคิ ด เรื อง การครองอํา นาจนํา นี' น อกจากจะมี ก ารนํา มาใช้ โ ดยกรั ม ชี และ ่ มีการนําไปใช้ใน นักวิชาการสายมาร์ กซิ สต์ใหม่ (Neo-Marxism) 18 ที ศึกษากรัมชี19แล้วยังพบวาได้ อีกแขนงหนึ งของการศึกษาทางรัฐศาสตร์ นัน คือมีการนําแนวคิดเรื องการครองอํานาจนําไปใช้ใน ่ บริ บทการเมืองระหวางประเทศ ด้วยนัน เอง ่ การครองอํานาจนําในแงมุ่ มของการศึกษาทางความสัมพันธ์ระหวางประเทศ นั' นได้ถูก ํ ่ นํามาใช้เป็ นกรอบความคิดในการวิเคราะห์การกาหนดนโยบายตางประเทศ และการดําเนิ นการ ่ อาทิ ด้า นเ ศรษฐกจิ การค้า การลงทุ น ระหวางประเทศ ่ ทางการทูต ทั' ง ในด้า นตางๆ ตลอดจน ่ ่ งบทบาทของ การทหาร ของประเทศมหาอํานาจที มีต่อตัวแสดงตางๆในเวที โลก โดยเฉพาะอยางยิ ้ ่ การ สหรัฐอเมริ กาในเวทีการเมืองโลกโดยเฉพาะในยุคสมัยหลังสงครามเย็นที สหรัฐอเมริ กา กาวสู เป็ นขั'วอํานาจเดียวหลัก เพียงขั' วเดียว20 ดังนั' นความหมายโดยสรปุของคําวา่ “การครองอํานาจนํา” (Hegemony) ที ใช้ในงานวิจยั ชิ'น นี' คือ การใช้อาํ นาจของกลุ่ม/ชนชั' นใดๆ เพื อสร้ างภาวะการครอบครองความคิด และมีอาํ นาจนํา ่ ' นปราศจากการใช้ความรุ นแรง หรื อ เหนือกลุ่ม/ชนชั' นอื นๆในสังคม โดยที การใช้อาํ นาจดังกลาวนั ่ นการใช้อาํ นาจผานทางกลไกชนิ ่ ่ เพื อครอบครองความคิด การบังคับในเชิ งกายภาพ แตเป็ ดตางๆ ่ เกดขึ ิ ิ ' นซึ ง ความยินยอมพร้ อมใจ และได้รับ การ โน้ม น้า ว และทํา ให้เกดการยอมรั บ เพื อ กอให้ ่ โดยที ผคู ้ นในกลุ่ ม/ชนชั' นที ถูกกระทํานั' นไม่ สนับสนุ นจากกลุ่ มพลังทางสังคมและชนชั' นตางๆ ่ ่ ทราบ หรื อไมสามารถต ระหนักได้วาตนได้ ถูกครอบครองความคิดไปแล้ว

17

Roger Simon, Gramsci’s Political Thought An Introduction, pp. 26-27; 32. เป็ นการจําแนกตามแนวของ Michael Haralambos, Martin Holborn and Robin Heald, Sociology Themes and Perspectives, (London: HarperCollins, 2004), pp.559-561. และ Ken Newton and Jan W. Van Deth, Foundations of Comparative Politics, (Cambridge: Cambridge University Press, 2005), p. 257. 19 นักวิชาการที ได้รับอิทธิพลจากแนวความคิดมาร์กซิสต์ในแบบของกรัมชีที มีชื อเสี ยงอาทิ Louis Althusser, Ernesto Laclau, Chantal Mouffe, Paulo Freire, Edward Said, Noam Chomsky, Judith Butler, Alain de Benoist, Cornel West เป็ นต้น ดูเพิ มเติมได้ใน Antonio Gramsci, http://en.wikipedia.org/wiki/Gramsci 20 Iain McLean and Alistair McMillan, Oxford Concise Dictionary of Politics, 2nd ed, p.240. และ David Robertson, The Routledge Dictionary of Politics, 3rd ed, pp. 222-223. 18


30

ิ ' นในทางปฏิ บตั ิ น' ันต้องอาศัย การดํา เนิ นการเพื อสร้ า งภาวะการครองอํานาจนํา ให้เกดขึ ่ ่ หรื อสิ งใดๆกตามที ็ กลไกตางๆเพื อปฏิบตั ิการ เชน่ การใช้สื อ และสถาบันตาง สามารถนํามาใช้เพื อ ่ ' จะถูกกลุ่ม/ชนชั' นที ตอ้ งการครอง โน้มน้าว ชักจูง และครอบงําทางความคิดได้ ทั' งนี' กลไกตางๆนี ั ั อํานาจนํา นํามาใช้ในพื'นที ทางสังคมที เรี ยกวา่ ประชาสังคม ควบคู่กนไปกบการใช้ อาํ นาจบังคับใน ่ ดเสร็ จ สังคมการเมืองเพื อให้สามารถสร้างภาวะการครองอํานาจนําได้อยางเบ็ จากความหมายที ดงั ที ได้นาํ เสนอข้างต้น สามารถสังเคราะห์แนวคิดที จดั เป็ นองค์ประกอบ ั แก่ 1) แนวความคิดเรื องโครงสร้างสวนลาง ่ ่ หลักของการครองอํานาจนําได้ 5 ประการด้วยกนได้ ่ ั ่ ม ประวัติศ าสตร์ (Historic Bloc) 2) และโครงสร้ า งสวนบน (Super/Base Structure) กบกลุ ั แนวความคิดเรื องประชาสังคม และสังคมการเมือง (Civil and Political Society) กบความยิ นยอม พร้อมใจ และการใช้อาํ นาจบังคับ (Consent and Coercion ) 3) แนวความคิดเรื องสงครามขับเคลื อน และสงครามยึดพื'นที ทางความคิด (War of Movement and War of Position) 4) กลไกการครอง อํานาจนํา และกลไกการใช้อาํ นาจรัฐ(Hegemonic Apparatuses and State Apparatuses) และ 5) การ ่ ่ ่ โต้ตอบตอการครองอํ านาจนํา (Counter Hegemony)ซึ งจะได้ทาํ การอธิบายในสวนตอไป 2.2.2 โครงสร้ างของการครองอํานาจนํา: แนวความคิดองค์ ประกอบ ของการครองอํานาจนํา โครงสร้างของแนวคิดเรื องการครองอํานาจนํา (Hegemony) นั' นผูว้ ิจยั สามารถสังเคราะห์ ่ แนวความคิ ดองค์ประกอบซึ ง สําคัญตอการทํ า ความเข้าใจ “กระบวนการ” สร้ า งภาวะการครอง ั แก่ 1) แนวความคิดเรื องโครงสร้ างสวนลางและ ่ ่ อํานาจนํา ทั' งหมด ได้เป็ น 5 หัวข้อด้วยกนได้ ่ ั ่มประวัติศาสตร์ (Historic Bloc) 2) แนวความคิด โครงสร้างสวนบน (Super/Base Structure) กบกลุ ั เรื องประชาสังคม และสังคมการเมือง(Civil and Political Society) กบความยิ นยอมพร้อมใจ และ การใช้อาํ นาจบังคับ (Consent and Coercion) 3) สงครามขับเคลื อน และสงครามจุดยืน (War of Movement and War of Position) 4) กลไกการครองอํานาจนํา และกลไกการใช้อาํ นาจรัฐ ่ (Hegemonic Apparatuses and State Apparatuses) และ 5) การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนํา (Counter Hegemony) ตามลําดับ


31

1) แนวความคิดเรื องโครงสร้ างส่ วนล่าง และโครงสร้ างส่ วนบน (Super/Base Structure) กับกล่มุ ประวัติศาสตร์ (Historic Bloc) ่ สํ า นัก คิ ด มาร์ ก ซิ ส ต์มี แ กนความคิ ด หลัก ที สํ า คัญ ได้แ ก่ 21 หลัก การวัต ถุ นิ ย มวิ ภ าษวิ ธี ิ ํ (Dialectical Materialism) หลักเศรษฐกจกาหนด (Economic Determinism) และมุมมองด้านสังคม ่ งหลักการวิภาษวิธี (Dialectic) นั' นเป็ นหลักการที มาร์ กซ์เองได้รับ ชนชั' น (Social Class) เมื อกลาวถึ 22 ่ ็ อิทธิ พลมาจากเฮเกล โดยมีแนวคิดหลักว่า ในสภาวะหนึ ง หรื อชวงเวลาหนึ งของสังคมใดๆกตาม สิ งที เป็ นอยู่ในขณะนั' นเราเรี ยกวา่ “ข้อเสนอ/บทเสนอ” (Thesis) เมื อบทเสนอดํารงอยู่ต่อไปใน ิ งอื น หรื อข้อเสนออื นขึ' นมาโต้แย้งข้อเสนอ/บทเสนอเกา่ ซึ งเรี ยกวา่ “ข้อ ระยะเวลาหนึ ง จะเกดสิ แย้ง/บทแย้ง” (Anti thesis) จากการโต้แย้งของบทแย้งจะนําไปสู่ การผสานหลักการ และเหตุผลที ลง ตัวและนําไปสู่ “ข้อสรุ ป/บทสรุ ป” (Synthesis) ในที สุด และข้อสรุ ป/บทสรุ ปที ดาํ รงอยู่น' ี จะกลับ ็ สถานะเป็ น ไปสู่ กระบวนการแรกของวงจร “วิภาษวิธี” นั นคือ บทสรุ ป/ข้อสรุ ปหนึ งๆนั' นกจะมี ั อโต้แย้ง และหาจุดลงตัว ผสาน “ข้อเสนอ/บทเสนอ” ไป และวนเวียนเป็ นวัฏจักรเมื อต้องเผชิญกบข้ ่ ' เรื อยไป เป็ นข้อสรุ ป เชนนี ่ ' เ ป็ นหลั ก การที ใ ช้ อ ธิ บ ายสรรพสิ งโดยยึ ด หลัก “การ หลัก การวิ ภ าษวิ ธี ดัง กลาวนี ่ กสิ งล้วนเปลี ยนแปลง และมีพฒั นาการอยูต่ ลอดเวลา เปลี ยนแปลง” ซึ งหมายความวาทุ ิ ํ หลัก การอี ก ประการหนึ งของสํ า นัก คิ ด แนวมาร์ ก ซิ ส ต์ 23 คื อ หลัก เศรษฐกจกาหนด (Economic Determinism/Economism) แนวคิดนี' ต' งั อยูบ่ นฐานของการมองโครงสร้างสังคม (Social ่ ่ วยกนั คือโครงสร้างสวนบน ่ Structure) โดยแบงออกเป็ น 2 สวนด้ (Super Structure) และโครงสร้าง ่ ่ (Sub Structure) โดยที โครงสร้างสวนบนนั ่ สวนลาง ' นได้แก่ ปรัชญา ระบบกฎหมาย สถาบันทาง ่ ่ ่ นั' นประกอบไปด้วย 1) พลังใน การเมือง ระบบการศึกษา ศาสนา เป็ นต้น สวนโครงสร้ างสวนลาง ่ อาทิ เครื องจักร การผลิต (Productive Force) ซึ งมีที มาจากพลังแรงงาน และปั จจัยการผลิตตางๆ โรงงาน เป็ นต้น และ 2)ความสัมพันธ์ทางการผลิต (Relation of Production) หมายถึง ความสัมพันธ์

21

Michael G. Roskin et. al., Political Science : An introduction, 6th ed. (New Jersey : Prentice Hall, 1997), pp.23-25. 22 ่ สําหรับปรัชญาวิภาษวิธี (Dialectic) สําหรับเฮเกลนั' นเป็ น “จิตนิยมวิภาษวิธี” (Dialectical Idealism) ซึ งถือวาความคิ ด หรื อจิตนั' นเป็ นจุดเริ มต้นของสิ งทั' งปวง และเป้ าหมายอยูท่ ี การรู ้แจ้งเห็นจริ งทางความคิด แตสํ่ าหรับมาร์กซ์น' นั ปรัชญา “วิภาษวิธี” ่ ่ าคัญของธรรมชาติน' นั เป็ นจุดเริ มต้น ของเขามีลกั ษณะของปรัชญาวัตถุนิยม (Materialism) ที ถือวาธรรมชาติ และมนุษย์ซ ึงเป็ นสวนสํ ่ หยุดนิ งเพียงการรู ้แจ้งเห็นจริ งทางความคิดเทานั ่ ' น แตต้่ องนําเอาความรู ้น' นั ไปปฏิบตั ิจึงจะบรรลุถึง ของทุกสิ ง และเป้ าหมายไมได้ หลักการของปรัชญาได้ ดังนั' นวิภาษวิธีในแบบของมาร์กซ์จึงเป็ น “วัตถุนิยมวิภาษวิธี” (Dialectical Materialism) ่ เป็ นคําที ถูกใช้โดยตัวของมาร์กซ์เองแตเป็ ่ นคําของเปลคานอฟ ดู สุรพงษ์ ชัยนาม, ทั' งนี' คาํ วา่ “วัตถุนิยมวิภาษวิธี” นั' นไมได้ ่ 8-15, หน้า 506-510. “ทฤษฎีการปฏิวตั ิสงั คม,” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาปรัชญาการเมือง หนวยที 23 ั จจัยในเรื องเศรษฐกจในสั ิ ในที น' ีหมายถึงแนวคิดมาร์กซิสต์แบบดั' งเดิม (Classical Marxism) ที ให้ความสําคัญกบปั งคม ่ ่ ป็ นหลัก เชน่ เคาท์สก' ี โปรดดูเชิงอรรถที 8 สวนลางเ


32

่ ระหวางชนชั ' นปกครองผูส้ ามารถครอบครองพลังในการผลิ ต ที มีต่อชนชั' นอื นๆ ความสัมพันธ์ ่ ' มีหลายลักษณะ เชน่ ความสัมพันธ์ระหวางผู ่ ป้ ระกอบการ กบแรงงานเป็ ั เชนนี นต้น ิ ํ หลักสําคัญของแนวคิดเรื องหลักเศรษฐกจกาหนดของสํ านักมาร์ กซิ สต์แบบดั' งเดิ มกคื็ อ ่ ็ ํ การมองวาในการเปลี ยนแปลง วิวฒั นาการหรื อพัฒนาการของสังคมใดๆกตามจะถู กกาหนดโดย ่ ่ ” และการเปลี ยนแปลงในโครงสร้างสวนลางจะเป็ ่ ่ ํ “โครงสร้างสวนลาง นตัวกาหนดทิ ศทางของการ ่ ่ ป็ นการให้ค วามสํา คัญกบประเด็ ั เปลี ย นแปลงในโครงสร้ า งสวนบน นั นหมายความวาเ นเรื อ ง ่ เศรษฐกจิ หรื อการผลิ ตเป็ นหลัก ในการเปลี ย นแปลงสัง คม หรื ออาจกลาวได้ ว่าถ้า ชนชั' นใดจะ ็ องยึดโครงสร้างสวนลางให้ ่ ่ ได้นน ั เอง สามารถปกครองชนชั' นอื นได้ กจะต้ หลักการสําคัญอีกประการของแนวคิดแบบมาร์กซิ สต์ คือ มุมมองด้านสังคมชนชั' น (Social ่ องชนชั' นทางสัง คมนี' เป็ นเรื องที มีค วามสําคัญยิ งตาม ี ั องนี' Roskin24 เห็ นวาเรื Class) เกยวกบเรื ่ งคมทุกสังคมนั' นได้ถูกแบงเป็ ่ น 2 ชนชั' น ชนชั' นหนึ ง แนวคิดแบบมาร์กซิสต์ โดยมาร์กซ์มองวาในสั คือชนชั' นขนาดเล็กของคนจํานวนน้อยที เป็ นเจ้าของปั จจัยในการผลิต และอีกชนชั' นหนึ ง คือชนชั' น ่ ่ ่ ต้องทํางานเพื อชนชั' นขนาดเล็ก สังคมแตละสั ่ งคมได้ดาํ เนินไป ขนาดใหญของประชากรสวนใหญที ภายใต้การบงการของชนชั' นที เหนือกวา่ ซึ งเป็ นชนชั' นผูจ้ ดั ตั' งกฎหมาย ศิลปะ และการออกแบบโดย มีความต้องการรักษาไว้ซ ึงอํานาจของชนชั' นของตน แนวคิ ด เรื องชนชั' น ในสั ง คมนี' ม าร์ ก ซ์ แ ละเองเกล เพื อ นของเขาได้อ ธิ บ ายไว้ใ น “The ่ ้ Communist Manifesto”25 โดยได้อธิ บายวา่ ตลอดเวลาในประวัติศาสตร์ น' นั เป็ นเรื องของการตอสู ่ ระหวางชนชั ' นเรื อยมา โดยชนชั' นหนึ งกดขี รีดนาทาเร้ นอีก ชนชั' นหนึ ง โดยสาเหตุ ที ช นชั' นหนึ ง ็ องจากเรื องทางเศรษฐกจนั ิ นเอง ชนชั' นใดเป็ นผูค้ วบคุ ม สามารถขูดรี ดอีกชนชั' นหนึ ง ได้น' ันกเนื ็ นชนชั' นที มีอาํ นาจในสังคม ปัจจัยการผลิตชนชั' นนั' นกจะเป็ ิ ํ แนวคิดเรื องหลักการวัตถุนิยมวิภาษวิธี หลักเศรษฐกจกาหนด และชนชั' นทางสังคมดังที ได้ ่ นี' ได้ถูกนํามาใช้ในการอธิ บายการเปลี ยนแปลงของประวัติศาสตร์ โดยสํานักคิดมาร์ กซิ สต์ กลาวไป ่ ' ไ ด้ต' ัง อยู่บ นพื' น ฐานเรื อ ง “เศรษฐกจิ ”หรื อ โครงสร้ า ง แบบดั' ง เดิ ม ซึ ง ในการอธิ บ ายดัง กลาวนี ่ ่ เป็ นหลัก โดยความขัดแย้งระหวางชนชั ่ ิ ' นเพราะปั ญหาเรื องเศรษฐกจิ สวนลาง ' นในสังคมนั' นได้เกดขึ ิ เป็ นหลัก อันทําให้เกดการปฏิ วตั ิ/ตอ่สู ้เพื อล้มล้างชนชั' นที เอาเปรี ยบ และเปลี ยนแปลงรู ปแบบสังคม ไปนับจากสังคมดั' งเดิม ไปจนถึงสังคมสุ ดท้ายคือสังคมคอมมิวนิสต์ ซึ งเป็ นสังคมที ไมมี่ ชนชั' น ไมมี่ ิ กตอไป ่ 26 แนวคิด/แนวการศึกษาแบบมาร์ กซิ สต์ การเอาเปรี ยบกนั และไมมี่ ปัญหาในทางเศรษฐกจอี 24

Michael G. Roskin et. al., Political Science : An introduction, 6th ed. p.24. 25 ั อ้างถึงใน โกวิท วงศ์สุรวัฒน์, พื'นฐานรัฐศาสตร์กบการเมื องในศตวรรษที 21, (กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , 2546), หน้า 60; อานนท์ อาภาภิรม, รัฐศาสตร์เบื'องต้น, (กรุ งเทพฯ: โอเดียนสโตร์ , 2528) หน้า 109.; David Macey, The Penguin Dictionary of Critical Theory, pp. 183,242 และ ใจ อึ งภากรณ์ และคณะ, อะไรนะลัทธิมาร์กซ์เลม่ 2, (กรุ งเทพฯ : ชมรมหนังสื อ ประชาธิปไตยแรงงาน, 2545) หน้า 9-51. 26 Michael G. Roskin et. al., Political Science : An introduction, p.107.


33

ั เป็ นแนวคิดที ให้ความสําคัญในเรื องเศรษฐกจิ และเป็ นการมองหรื อให้ความสนใจกบเหตุ การณ์ ่ อให้ความสนใจในเรื องของการทํามาหากนิ การดิ'นรนเพื อมีกิน แบบวัตถุนิยม (Materialism) กลาวคื ่ ก อยางกคื ่ ็ อ วัต ถุ นิย มนั' น เป็ นการมองวาสิ ่ ง ของ วัตถุ ต่ างๆ เป็ น เพื อ ดํา รงชี วิตอยู่ หรื อกลาวอี ํ ตัวกาหนดควา มคิด และมีอิทธิพลเหนือการเมือง ศาสนา วัฒนธรรม และทุกสิ งในสังคม27 การนําปรัชญาวัตถุนิยมวิภาษวิธีมาใช้อธิ บายการเปลี ยนแปลงของสังคม28นี' เรี ยกวา่ “วัตถุ ่ นิยมประวัติศาสตร์ ” (Historical Materialism)29 ซึ งเป็ นการมองวาประวั ติศาสตร์ น' นั ถูกสร้างโดย ่ ยธรรมชาติหรื อโดยประสงค์ของพระผูเ้ ป็ นเจ้าแตอยางใด ่ ่ 30 มนุษย์เอง มิใชโด ่ งหลักการสําคัญ หรื อแนวคิดหลักของสํานักคิดแบบมาร์ กซิ สต์ ดังที อธิ บาย การที ได้กลาวถึ ่ ั มาข้างต้นนี' เพื อเป็ นการชี' ให้เห็นวา่ แนวความคิดแบบมาร์ กซิ สต์น' นั ให้ความสําคัญอยางมากกบ ่ ่ ” ซึ งถือได้วาเป็ ่ นหัวใจหลักในการผลักดันให้เกดการเปลี ิ “โครงสร้างสวนลาง ยนแปลงของสังคม ทั' งหมด ดังนั' นความสําคัญของกรัมชี ก็คือ เขาเป็ นนักคิดมาร์ กซิ สต์คนแรกๆที ให้ความสําคัญกบั ่ ่ โครงสร้ า งสวนบน (Super-Structure) ซึ งตางออกไปจากแนวคิ ด ของนั ก มาร์ ก ซิ ส ต์ ด' ัง เดิ ม ั ่ ่ ํ างสวนลางในฐานะที เป็ นโครงสร้างหลักในการกาหนด บางจําพวก31 ที ให้ความสําคัญกบโครงสร้ ่ ่ ่ โครงสร้ า งสวนบนดั ง ที ไ ด้ก ลาวไปแล้ ว และอาจกลาวได้ ว่ า เขาเองเป็ นคนที ก ลับ มาเน้ น ยํ'า ่ ้ เ ชิ ง อุ ด มการณ์ ข อง (Re-emphasis) ในมิ ติ ท างด้า นการเมื อ ง และความสํ า คัญ ของการตอสู แนวความคิดมาร์กซิสต์ในกระบวนการเปลี ยนแปลงสังคมสู่ สังคมนิยม32

27

ั โกวิท วงศ์สุรวัฒน์, พื'นฐานรัฐศาสตร์ กบการเมื องในศตวรรษที 21, หน้า 59. ่ ตถะของชีวิตมนุษย์ (Matter) นั' นมีความสําคัญเหนือจิตสํานึก (Consciousness) และสภาพการณ์ ด้วยการมองวาสารั ่​่ ในทางวัตถุ (Material) ไมวาจะเป็ นเรื องของการผลิต การบริ โภค การดํารงอยู่ ฯลฯ นั' นมีเหนือเรื องของสติปัญญา ความรู ้ ่ ิ อโต้แย้ง (Antithesis) ซึ งจะเป็ นการนําไปสู่ (Intellectual) ปรัชญาวัตถุนิยมวิภาษวิธีมองวาความขั ดแย้งในเรื องทางวัตถุ ทําให้เกดข้ ่ ข้อสรุ ป/บทสรุ ป (Synthesis) ใหมของความขั ดแย้งครั' งนั' นๆ ในการอธิบายการเปลี ยนแปลงของสังคมด้วยปรัชญาวัตถุนิยมวิภาษวิธี ่ ิ จึงเป็ นการมองที ความขัดแย้งในทางวัตถุต' งั แตสั่ งคมบุพกาล สงผลให้ เกดการเปลี ยนแปลงสู่ สงั คมศักดินา สังคมทุนนิยม และสังคม คอมมิวนิสต์ในที สุด ดูเพิ มเติมใน David Macey, The Penguin Dictionary of Critical Theory, pp.97-98. 29 บุญศักดิ แสงระวี, สัจธรรมของมนุษยชาติ วัตถุนิยมประวัติศาสตร์ , (กรุ งเทพฯ: ชมรมศึกษาวิทยาศาสตร์สงั คม, 2544), หน้า 9. 30 ริ อุส, มาร์กซ์ฉบับการ์ตูน, (กรุ งเทพฯ: สุชนการพิมพ์, ม.ป.ป.), หน้า 124-136. 31 กรัมชีเป็ นคนที พยายามเน้นถึงมุมมองในเชิงอุดมการณ์ และทําให้พวกนักมาร์กซิสต์จาํ นวนหนึ งที หยิบเอาความคิดของ ่ โดยเฉพาะนักมาร์กซิสต์ด' งั เดิมในชวงของสากลที ่ ่ 1889-1916 มาร์กซ์ไปใช้เพียงบางสวน สอง (Second International) ในชวงปี ่ จริ งแล้วมาร์กซ์เองกไมได้ ็ ่ พดู ถึงแตเพี ่ ยงปั จจัยเรื องเศรษฐกจอยาง ิ ่ เชน่ เคาท์สก' ี เปลคานอฟ และฮิลเฟลดิง' เป็ นต้น ได้ทบทวนวาที ่ ' น แตในงานเขี ่ ็ พดู ในเรื องของอุดมการณ์ไว้เชนกน ่ ั เชน่ ในเค้าโครงเศรษฐกจและปรั ิ เดียวเทานั ยนของมาร์กซ์เองกได้ ชญา (Economic ่ ั and Philosophical Manuscript) ซึ งเขียนขึ' นในปี 1844 และในอุดมการณ์เยอรมัน (German Ideology) ซึ งเขาเขียนรวมกบเองเกลส์ ในปี 1845 เป็ นต้น 32 David Mclellan, Marxism after Marx, p. 175. 28


34

่ สําหรับกรัมชี โครงสร้ างสวนบนนั ' นเป็ นโครงสร้ างสังคมที มีความสําคัญ และสามารถ ิ ่ ่ ง คมในสวนรวมได้ ่ ่ ย วกนกบโครงสร้ ั ั ผลัก ดันให้เกดการเปลี ย นแปลง หรื อสงผลตอสั เชนเดี าง 33 ่ ่ หรื อโครงสร้างทางเศรษฐกจิ โครงสร้างสวนบนนี ่ ่ เรี ยกวา่ “สังคม สวนลาง ' ประกอบด้วยสวนที การเมือง” และ “ประชาสังคม” ซึ งเป็ นโครงสร้างของระบบความคิด ความเชื อ อุดมการณ์ กฎหมาย ่ ่ วัฒนธรรม และอื นๆที ไมใชโครงสร้ างทางเศรษฐกจิ ่ ่ งในพื'นที ประชาสังคม พื'นที ในโครงสร้างสวนบนตามแนวคิ ดของกรัมชี โดยเฉพาะอยางยิ นั' นเป็ นพื'นที ของการสร้างความยินยอม และสามัญสํานึก(Common Sense) หรื อมีมุมมอง/โลกทัศน์ ่ ตอปรากฏการณ์ ตามที ถูกชนชั' นปกครอง หรื อกลุ่มผูพ้ ยายามสร้างภาวะการครองอํานาจนําพยายาม สร้างไปในทิศทางเดียวกนั ิ ดังนั' นการผลักดันให้เกดการเปลี ยนแปลงจากทิศทางของโครงสร้างสว่ นบนนี' จึงเป็ นสิ งที ้ ่ ่ ่ ' นซึ ง เป็ นการเปิ ดพื' นที กาวไปไกลกวาการมองเพี ยงแคความสั มพันธ์ และพลัง ในการผลิ ตเทานั มุมมองในการอธิบายปรากฏการณ์ให้กว้างขวางออกไป ิ ่ ่ และโครงสร้างทางอุดมการณ์ ส่ วนบนนั' นตางก ่ ็ ภายใต้โครงสร้ างทางเศรษฐกจสวนลาง ่ ั ่ ั ประกอบไปด้วยกลุ่ มทางสังคมกลุ่ มตางๆที มีค วามสัมพันธ์ต่ อกนแตกตางกนไปอาทิ กลุ่ ม ที อยู่ ่ ่ ' นกมี็ ความสัมพันธ์ในการผลิต และการบริ โภคในทางเศรษฐกจตอกน ิ ่ ั สวน ่ ภายในสังคมสวนลางนั ่ ็ ค วามสัม พัน ธ์ ก ันในเชิ ง กลุ่ ม ที อ ยู่ใ นโครงสร้ า งสัง คมสวนบนในพื ' น ที ป ระชาสั ง คมนั' น กจะมี อุ ดมการณ์ ระบบความคิ ด และความเชื อ ขณะที ภายในพื' นที สัง คมการเมื องนั' นความสัม พัน ธ์ ่ ่มกจะเป็ ็ นความสัมพันธ์ในเชิงอํานาจ และการใช้อาํ นาจบังคับตอกน ่ ั ระหวางกลุ กรัมชีได้เสนอแนวคิดเรื อง กลุ่มประวัติศาสตร์ (Historic Bloc)34 ซึ งเป็ นแนวคิดที ใช้อธิ บาย ิ ํ ความสัมพันธ์เชิงอํานาจในสังคม เพื อใช้แทนแนวคิดเศรษฐกจกาหนดแบบกลไกของสํ านักคิดแบบ ่ นการอธิบายเกยวกบความสั ี ั มพันธ์ทางสังคม (Social Relation) มาร์กซิสต์ด' งั เดิม35แนวคิดดังกลาวเป็ ่ ่ ่ ระหวางชนชั อยูภ่ ายในโครงสร้างของสังคม โดยอธิ บายวาในสั งคมทุนนิยม ' นและกลุ่มพลังตางๆที ิ นั' น ชนชั' นนายทุน (Bourgeoisie) จะพยายามครองอํานาจนําให้เกดในพื ' นที ของความสัมพันธ์ใน ่ ยงพื'นที เดียวนั' น จะไมเกด ่ ิ การผลิต (Sphere of Production) ซึ งการครองอํานาจนําในพื'นที น' ีแตเพี การครองอํานาจนําที สมบูรณ์ (Absolute) ดังจะเห็นได้ว่ามีการพยายามท้าทายชนชั' นนายทุนจาก กลุ่มชนชั' นแรงงาน เชน่ จากสหภาพแรงงานอยูเ่ นืองๆ การสร้างภาวะการครองอํานาจนําที สมบูรณ์ ิ ' นจึงเป็ นการสร้างแนวรวมพั ่ นธมิตร (Alliance) ระหวางกลุ ่ ่มพลัง หรื อชนชั' นตางๆ ่ เหนื อ ให้เกดขึ ิ ่ 'น พื'นที ทางสังคมที กว้างกวา่ มิติเชิงเศรษฐกจเทานั

33

ั ่ วยการครองความเป็ นใหญ,่ ” ใน ปาจารยสาร 8 (6, 2525), หน้า 70-79. สุรพงษ์ ชัยนาม, “อันโตนิโยกรัมชีกบทฤษฎี วาด้ Roger Simon, Gramsci’s Political Thought An Introduction, p. 26. 35 Anne Showstack Sassoon, “A Gramsci Dictionary,” in Approaches to Gramsci, ed. Anne Showstack Sassoon, p.14. 34


35

่ ่ ดเจนระหวางพื ่ 'นที ภายใต้โครงสร้างสังคมสวนล ่ ่างที เป็ นความสัมพันธ์ การแบงแยกอยางชั ั ่ เชิงการผลิต กบโครงสร้ างสังคมสวนบนที เป็ น ความสัมพันธ์เชิงอุดมการณ์ และอํานาจนั' นโดยให้ ั ิ และโลกแบบวัตถุนิยมแตเพี ่ ยงอยางเดี ่ ยวนั' นจึงไม่เป็ นการเพียงพอสําหรับ ความสําคัญกบเศรษฐกจ ่ ่มตางๆในสั ่ ่ จจัยในเชิงวัตถุ การอธิบายความสัมพันธ์ระหวางกลุ งคมที มีความสลับซับซ้อนมากกวาปั เนื องจากในสังคมนั' นยังมีพ'ืนที ของการเมือง อุดมการณ์ และความคิดจิตใจอยูด่ ว้ ย36 ดังนั' นความคิดเรื องกลุ่มประวัติศาสตร์ สําหรับกรัมชีจึงถูกนํามาใช้เพื ออธิ บายถึงการสร้าง ่ ่ สวนแรกคื ่ ภาวะการครองอํานาจอยางสมบู รณ์ดว้ ยการยึดครองโครงสร้างทางสังคมทั'งสองสวน อ ่ ่ (Sub structure) ที ให้ความสําคัญกบปรั ั ชญาวัตถุนิยม โดยเฉพาะใน การยึดครองโครงสร้างสวนลาง ่ ่ เรื องเศรษฐกจิ เป็ นหลั ก ขณะที โ ครงสร้ า งสั ง คมอี ก สวนหนึ งคื อ โครงสร้ า งสวนบน (Super structure) ที เป็ นพื' นที ของปั จจัยในเชิ งอุดมการณ์ ความคิด ความเชื อ ตลอดจนวัฒนธรรม หากสามารถผนวกการครองอํานาจนําเหนือความสัมพันธ์ทางสังคมในพื'นที ท' งั สองของโครงสร้าง ่ ่ ิ ' น ซึ งเป็ นการ สังคมใดๆในชวงระยะเวลา หนึ งๆได้น' นั เรี ยกวาการสร้ างกลุ่มประวัติศาสตร์ ให้เกดขึ ่ สร้างภาวะการครองอํานาจนําได้อยางสมบู รณ์ให้เกิดขึ' นเหนือสังคมนั' นๆนัน เอง ่ ตัวอยางของกรณี การพยายามสร้ างกลุ่ มประวัติศาสตร์ ที พอสังเกตเห็ นได้ในสังคมการ ่ เมืองไทยรวมสมั ยโดยเฉพาะในยุคของรัฐบาลทักษิณ คือความพยายามในการให้ผลประโยชน์ใน ิ เป็ นรู ปธรรมผานทางนโยบายประชานิ ่ ่ งเป็ นการยึดกุมพื'นที โครงสร้าง เชิงเศรษฐกจที ยมชนิดตางๆซึ ่ ่ ขณะเดียวกนในโครงสร้ ั ่ ็ งมีมิติที กว้างไปกวาผลประโยชน์ ่ สังคมสวนลาง างสังคมสวนบนกยั ทาง 37 ่ ่ เศรษฐกจิ ดังเห็นได้ว่ามีการสร้างพันธมิตร ระหวา่งชนชั' น และกลุ่มตางๆในสั งคมไทยระหวาง ็ นตัวแทนของกลุ่มทุนสื อสารโทรคมนาคมขนาดใหญ่ กบกลุ ั ่ม รัฐบาลทักษิณซึ งในอีกด้านหนึ งกเป็ ทุนขนาดใหญ่อื นๆ อาทิ กลุ่มทุนอุตสาหกรรมของนายสุ ริยะ จึงรุ่ งเรื องกจิ เป็ นต้น รวมถึงการเป็ น ั ่มคนเดือนตุลา ซึ งเปรี ยบได้กบการสร้ ั ่ ั พันธมิตรกบกลุ างพันธมิตรระหวางชนชั ' นนายทุนกบชนชั 'น ่ านวนมาก อาทิ การดึงนายภูมิธรรม เวชยชัย มาเข้ารวมมี ่ กลางที ได้รับการยอมรับจากชนชั' นลางจํ ั ่มองค์กร บทบาทภายในพรรคไทยรักไทย เป็ นต้น อีกทั' งยังได้มีการพยายามที จะเป็ นพันธมิตรกบกลุ ่ ' งพรรคไทยรักไทยอีกด้วย38 พัฒนาเอกชนในระยะแรกของการกอตั

36

Ibid. ่ อ ให้ความชวยเหลื ่ ่ ั ่​่ ่ ออยาง ่ หมายความถึงการรวมมื อเพือบรรลุ วตั ถุประสงค์บางประการรวมกนไมวาจะเป็ นการรวมมื ํ ่ หรื อการรวมมื ่ อ เป็ นทางการที มีขอ้ ตกลง/ข้อกาหนดที ชดั เจน เชน่ การเข้าเป็ นสมาชิกพรรคไทยรักไทยของตัวแทนจากกลุ่มทุนตางๆ ่ ่ นทางการ กลาวคื ่ อมีลกั ษณะเฉพาะกจิ เชนการเข้ ่ ่ ่ อยางไมเป็ าไปมีความสัมพันธ์ที ดีกบั กลุ่มองค์กรพัฒนาเอกชนตางๆในชวงแรกของ การตั' งพรรคไทยรักไทย เพื อสร้างการสนับสนุนจากชาวบ้านในชนบท เป็ นต้น 38 ่ ว ดูรายละเอียดเพิ มเติมในบทที 3 พรรคไทยรักไทยและรัฐบาลทักษิณ: ความเป็ นมาและการกอตั 37


36

2) แนวความคิดเรื องประชาสั งคม และสั งคมการเมือง (Civil and Political Society) กับ ความยินยอมพร้ อมใจ และการใช้ อาํ นาจบังคับ (Consent and Coercion) สังคมการเมือง และประชาสัง คม39 ตามแนวความคิดของกรัมชี น' ี จดั เป็ นพื' นที หนึ งของ ่ โครงสร้างสังคมสวนบน ซึ งเป็ นพื'นที ของความสัมพันธ์ในเชิงระบบความคิด ความเชื อ อุดมการณ์ ่ ่ มสัมพันธ์ทางการผลิตหรื อโครงสร้ างทางเศรษฐกจใน ิ กฎหมาย ศิลปะ วัฒนธรรม ซึ งไมใชควา ่ ่ สังคมสวนลาง แนวความคิดเรื องประชาสังคม (Civil Society) นี' กรัมชีได้นาํ มาจากความคิดของเฮเกล40 ่ ลกั ษณะของความสัมพันธ์ และความ (Hegel) ซึ งตามแนวคิดของเฮเกลนั' นมองประชาสังคมวามี ่ อของเอกชนในลักษณะตางๆ ่ เชน่ ในเชิ งธุ รกจการค้ ิ รวมมื า (Commercial) ในเชิ งของการรวมตัว ่ ๆ รวมทั' งสมาคมการค้า (Trade association) เป็ นต้น ขณะที กรัมชี ได้นาํ แนวคิดของ เป็ นสมาคมตาง ่ ่ เฮเกลมาปรับใช้ โดยมองวาประชาสั งคมนั' นมีลกั ษณะ ของการเป็ นโครงสร้ างสังคมสวนบนที มี ่ ความสําคัญในเชิงอุดมการณ์ หรื อระบบความคิด ความเชื อ ผานทางตั วการที เป็ นสถาบัน และกลไก ่ ่ ่ ความคิด ความเชื อชุ ดตางๆให้ ่ ่ การครองอํานาจนําตางๆเพื อสร้าง และสื บทอด/สงตอ แพรกระจาย ทัว ไปในสังคม ่ ่ ดความคิด ความเชื อ สถาบันในพื' นที ประชาสังคม ซึ งทําหน้าที ในการสร้ าง และสงตอชุ ่ ตามที กลุ่ม/ชนชั' นผูพ้ ยายามสร้างภาวะการครองอํานาจนําต้องการนั' น ประกอบไปด้วยสถาบันตางๆ ่ ในสังคมที เป็ นแหลงรวมของความสั มพันธ์ ของผูค้ น ได้แก่ สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา และสื อมวลชน เป็ นต้น ่ สถาบันดังกลาวจะทํ าหน้าที ในการสร้าง ชุดอุดมการณ์หนึ งๆขึ' นมา ตามความต้องการของ ่ กลุ่ ม/ชนชั' นที พยายามสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา และทําหน้าที ส่ งตอ่ สื บทอด แพรกระจาย ่ วยในขณะเดียวกนั อุดมการณ์ดงั กลาวด้ ่ ่ ดมการณ์ดงั กลาวของสถาบั ่ ่ การทําหน้าที เพื อสร้างและสงตออุ นตางๆในประชาสั งคมนั' น ่ สาํ คัญคือ ปราศจากการใช้อาํ นาจบังคับ (Coercion) และการใช้กาลั ํ งบังคับในเชิง จะมีลกั ษณะเดนที ่ นการใช้อาํ นาจในลักษณะของการชักจูง โน้มนํา หรื อกลอมเกลาความรู ่ กายภาพ หากแตเป็ ้ ความคิด ่ เกดซึ ่ เกดิ ิ งความยินยอมพร้อมใจ (Consent) ของคนในสังคม และกอให้ ของผูค้ นเป็ นหลัก เพื อกอให้ ั โลกทัศน์ที เป็ นแบบเดียวกนตามความต้ องการของกลุ่ม/ชนชั'นผูพ้ ยายามสร้างภาวะการครองอํานาจ นํา 39

Roger Simon, Gramsci’s Political Thought An Introduction, p.67-79. และ Anne Showstack Sassoon, “A Gramsci Dictionary,” in Approaches to Gramsci, ed. Anne Showstack Sassoon, p.12. 40 Joseph V. Femia, Gramsci’s Political Thought Hegemony, Consciousness, and the Revolutionary Process, (Oxford: Clarendon Press, 1987), p. 26.


37

่ สังคมการเมือง (Political Society) นั' น มีลกั ษณะที แตกตางไปจากประชาสั ่ สวน งคม ่ อ ในขณะที ความสัมพันธ์ของผูค้ นผานสถาบั ่ ่ กลาวคื นตางๆในประชาสั งคมนั' นเป็ นลักษณะของการ ่ ปราศจากอํานาจบังคับ แตความสั มพันธ์ของผูค้ นในสังคมการเมืองนั' นจะเป็ นลักษณะของการใช้ ่ ํ งของกองทัพ การบังคับใช้ อํานาจบังคับ ผานทางกลไกการใช้ อาํ นาจบังคับต่างๆ อาทิ การใช้กาลั ่ ดังนั' นสถาบันหลักในสังคมการเมืองนี' จึงประกอบไปด้วย สถาบันศาล กองทัพ กฎหมายฉบับตางๆ ตํารวจ รัฐบาล เป็ นต้น ่ การทําหน้าที ของสถาบันตางๆในสั งคมการเมืองนั' นอาศัยการใช้อาํ นาจบังคับ (Coercion) เป็ นหลักเพื อให้ได้มาซึ งการครอบงํา (Dominant) ตามความต้องการของกลุ่ม/ชนชั' นผูพ้ ยายามสร้าง ภาวะการครองอํา นาจนํา เหนื อชนชั' นอื นๆในสัง คม ซึ ง ตามแนวความคิดของกรั ม ชี น' ันการใช้ อํานาจครอบงําด้วยการใช้อาํ นาจบังคับในพื'นที สังคมการเมืองนั' นสามารถกระทําเพื อหวังผลสําเร็ จ ่ ่ ่ ยงอยางเดี ่ ยวนั' นจะทํา ในระยะสั' นได้สาํ เร็ จอยางรวดเร็ ว แตในระยะยาวนั ' นการใช้อาํ นาจบังคับแตเพี ให้กลุ่ม/ชนชั' นปกครองนั' นมีอาํ นาจเหนือชนชั' นอื นได้ไมยั่ ง ยืน ดังนั' นกรัมชีจึงได้เสนอวา่ กลุ่ม/ชนชั' นปกครอง ผูต้ อ้ งการสร้างภาวะการครองอํานาจนําให้ ิ ' นได้อยางสมบู ่ เกดขึ รณ์ เหนื อสังคมใดๆนั' นจะต้องพยายามยึดกุมพื' นที เหนื อ “ประชาสังคม” ให้ ่ วยการใช้กลไกการครองอํานาจนําตางๆ ่ เพื อสร้างความยินยอมพร้อมใจ (Consent) ให้ สําเร็ จกอนด้ ิ ' นในสังคม ซึ งแม้จะต้องใช้เวลานานกวาการใช้ ่ ํ งบังคับแตกจํ ่ ็ าเป็ นต้องยึด เกดขึ อาํ นาจ หรื อกาลั ่ ั ประชาสังคมให้ได้ สวนการใช้ อาํ นาจบังคับนั' นให้มีการใช้ควบคูก่ นไปตามสมควร 3) สงครามขับเคลือ น และสงครามยึดพืนY ที ทางความคิด (War of Movement and War of Position) ิ ' นนั' น กรัมชี ได้เปรี ยบดังเชน่ ในการดําเนิ นการเพื อสร้างภาวะการครองอํานาจนําให้เกดขึ การทําสงคราม แนวคิดเรื องสงครามขับเคลื อน (War of Movement) และสงครามยึดพื'นที ทาง ความคิด(War of Position)41 จึงได้ถูกนํามาใช้โดยอธิบายวา่ การทําสงครามขับเคลื อนนั' นเป็ นการทํา สงครามในทางยุทธวิธีทางการทหาร การที จะสามารถเอาชนะฝ่ ายศัตรู หรื อฝ่ ายตรงข้ามได้น' ัน จะต้องทํา การบุ ก เพื อยึด ครองปั จจัย สํา คัญของฝ่ ายตรงข้า มให้ไ ด้ อาทิ การยึดเมื องหลวง หรื อ ่ ิ ' นเหนือชนชั' น สถานที สาํ คัญเป็ นต้น แตในการดํ าเนินการเพื อสร้างภาวะการครองอํานาจนําให้เกดขึ ่ ้เพื อยึดกุม “พื'นที อื นๆนั' น ชนชั' นผูพ้ ยายามสร้างภาวะการครองอํานาจนํานั' นจะต้องดําเนินการตอสู เชิงอุดมการณ์ ความคิด ความเชื อ” ของผูค้ นใน “ประชาสังคม” ให้ได้

41

Roger Simon, Gramsci’s Political Thought an Introduction, pp.27-28; 74-79.


38

่ ง หรื อยึดกุมความคิด ความเชื อของคนในพื'นที ประชาสังคมนี' กรัมชี การดําเนิ นการชวงชิ เรี ยกวา่ เป็ น “การทําสงครามยึดพื'นที ทางความคิด” ถ้าสามารถเอาชนะสงครามนี' เหนือพื'นที ประชา ็ าเร็ จได้อยางสมบู ่ สังคมได้สาํ เร็ จ การสร้างภาวะการครองอํานาจนํากจะสํ รณ์ และยัง ยืนสื บไป 4) กลไกการครองอํานาจนํา และกลไกการใช้ อํา นาจรั ฐ (Hegemonic Apparatuses and State Apparatuses) แนวคิดเรื องกลไกการครองอํานาจนํา และกลไกการใช้อาํ นาจรัฐ หรื อกลไกรัฐ นับได้วา่ มี ่ ง ตอกระบวนการสร้ ่ ิ ' นตามเป้ าหมายของกลุ่ม/ ความสําคัญอยางยิ างภาวะการครองอํานาจนําให้เกดขึ ชนชั' นผูพ้ ยายามสร้างภาวะการครองอํานาจนํา แนวคิ ด เรื องกลไกการครองอํา นาจนํา นั' น เปรี ย บได้ก ับการทํา หน้า ที เป็ นสื อกลางเพื อ ่ ถายทอดอุ ดมการณ์ หรื อระบบความคิด ความรู ้ ความเชื อ ค่านิ ยม ชุ ดหนึ งๆ ตามที กลุ่มผูพ้ ยายาม ่ เหนื อพื' นที ประชา สร้างภาวะการครองอํานาจนําต้องการ เพื อสื อไปถึงประชาชนในชนชั' นตางๆ ิ ่ สังคม เพื อให้เกดความรู ้สึกรวมในการเห็ นพ้องและยินยอมที จะปฏิบตั ิตาม (Consent) ความต้องการ ของชนชั' นผูถ้ ่ายทอดอุดมการณ์ นอกจากนี' กลไกการครองอํานาจนํายังทําหน้าที รวมไปถึงการสร้างจิตสํานึก (Conscious) ่ ่ จาก ให้ชนชั' นผูถ้ ูกครอบงํามีความรู ้สึกวาผลประโยชน์ ของชนชั' นตนนั' นได้รับการสนับสนุนอยางดี ชนชั' นปกครอง หรื อชนชั' นผูพ้ ยายามครองอํานาจนํา โดยที ชนชั' นผูถ้ ูก ครอบงํา ไมรู่ ้ สึก หรื อไม่ ่ ' นของตนนั' นถูกเอาเปรี ยบ หรื อขูดรี ดอยางไร ่ สามารถสํานึกได้วาชนชั ่ ็ ที ท าํ หน้า ที ใ นการถายทอด ่ กลไกการครองอํา นาจนํา นี' กลาวได้ ว่าเป็ นสิ ง ใดกได้ หรื อ ่ ่ ดความคิด42 จากด้านของผูพ้ ยายามสร้างภาวะการครองอํานาจนําไปยังผูค้ นในสังคม ไมว่า่ สงผานชุ จะเป็ น พรรคการเมื อง ปั ญญาชน นโยบายของพรรคการเมื อง/รั ฐบาล สื อมวลชนทุ ก ประเภท สถาบันการศึกษา สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา การสร้างภาพ/การจัดการภาพลักษณ์ของฝ่ ายผู ้ พยายามสร้างภาวะการครองอํานาจนํา เป็ นต้น ่ ขณะที กลไกการใช้อาํ นาจรัฐนั' น จะถูกใช้เหนือพื'นที สังคมการเมือง โดยแตกตางจากกลไก ่ เป็ นกลไกที ใช้สื อสารเพื อสร้างชุดของอุดมการณ์ตามที การครองอํานาจนําตรงที กลไกรัฐนั' นไมได้ ่ ชนชั' นผูพ้ ยายามครองอํานาจนําต้องการ แตกลไกรั ฐนั' นเป็ นกลไกที ใช้อาํ นาจบังคับ เพื อบังคับให้ ่ ่ บ ัติต ามความต้อ งการของชนชั' นปกครองหรื อ ผู ้ ประชาชนของชนชั' นตางๆปฏิ บ ัติ หรื อไมปฏิ ่ พยายามสร้างการครองอํานาจนําโดยที ทุกคนในสังคมนั' นไมสามารถหลี กเลี ยงได้ 42

่ วนัส ปิ ยะกุลชัยเดช, “จากอุดมการณ์ที ถูกวิพากษ์สู่การครองความเป็ นใหญ:่ การครองความเป็ นใหญแบบกรั มชี ” ใน รัฐศาสตร์สาร, ธเนศ วงศ์ยานนาวา, บรรณาธิการ (กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550), หน้า 100-112.


39

็ กลไกการใช้อาํ นาจรัฐจึงได้แก่ สิ งใดๆกตามที รัฐ หรื อผูค้ รองอํานาจนําสามารถนํามาใช้ ่ เหนื อผูค้ นในสังคมทุกชนชั' นเพื อให้บรรลุจุดมุ่งหมายตางๆตามต้ องการ กลไกลักษณะนี' จะอาศัย ํ งของกองทัพ และตํารวจ เป็ นต้น อํานาจในการบังคับ เชน่ กฎหมาย การใช้อาํ นาจศาล การใช้กาลั 5) การโต้ ตอบต่ อการครองอํานาจนํา (Counter Hegemony) ่ ร ณ์ กลาวคื ่ อ ไมสามารถสร้ ่ การดํา เนิ น การสร้ า งภาวะการครองอํา นาจนํา ที ไ มสมบู าง ภาวะการครองอํานาจนําเหนื อพื' นที ประชาสังคม หรื อสังคมการเมืองได้เลย หรื อสามารถสร้ า ง ภาวะการครองอํานาจนําได้ในระดับหนึ ง ด้วยการครองพื'นที ทางสังคมพื' นที ใดพื' นที หนึ งได้ หรื อ ั ่ สามารถสร้างภาวะครองอํานาจนําได้ใกล้เคียงกบการครองอํ านาจนําสมบูรณ์ในชวงระยะเวลาหนึ ง ่ อเวลาผานไปได้ ่ ิ ปัจจัยตางๆที ่ แตเมื เกดเหตุ บน ั ทอนความชอบธรรม และลดทอนความรู ้สึกยินยอม ่ ่ พร้ อมใจของชนชั' นผูถู้ ก ครอบงํา ที มี ต่ อชนชั' น /กลุ่ ม ผูค้ รองอํา นาจนํา ทํา ให้ใ นชวงเวลาตอมา ่ ่มผูด้ าํ เนินการสร้าง ภาวะการครองอํานาจนํานั' นถูกลดทอนลงไป กรณี ท' งั หมดนั' นหมายความวากลุ ่ ่ ภาวะครองอํานาจนํานั' นไมสามารถสร้ างภาวะการครองอํานาจนําได้อยางสมบู รณ์ การครองอํานาจนําสมบูรณ์ที กลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนําสามารถเอาชนะ สงครามยึดพื' นที ทางความคิดได้ดว้ ยการยึดครองเหนื อพื' นที ประชาสังคม และสังคมการเมืองนั' น ่ ่ ิ ่ ผูค้ นในสังคมจะดําเนิ นชีวิตอยางปกติ โดยไมเกดการความสงสั ย หรื อตั' งคําถามตอการดํ าเนินการ ่ ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนํา และไมม่ ีการดําเนินการใดๆเพื อแสดงความคิด ตางๆของกลุ ่ ที ขดั แย้งตอความคิ ดหลัก หรื ออุดมการณ์ตามที กลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนําต้องการ ั ากลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนําสร้างภาวะการครองอํานาจนํา ในทางกลับกนถ้ ่ สมบูรณ์ ไมสํ่ า เร็ จ ผูค้ นในสัง คมสวนหนึ ง ที ตระหนัก รู ้ ไ ด้ว่าตน หรื อชนชั' น/กลุ่ ม ของตนได้ถู ก ดําเนินการครองอํานาจนําเพื อผลประโยชน์ของกลุ่ม/ชนชั' นผูค้ รองอํานาจนํา กลุ่มคนที ตระหนักรู ้น' ี ่ จะได้แสดงออก หรื อเผยให้เห็นถึงการดําเนินการใดๆเพื อเป็ น “การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนํา” ่ ของชนชั' นผูค้ รองอํานาจนํา ทั' งนี' การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําของกลุ่มคน/ชนชั' นอื นในสังคม ่ านาจของตนนั' นถูกท้าทาย หรื อ อาจเป็ นไปเพียงเพื อแสดงให้ผคู ้ รองอํานาจนําได้เห็น และรับรู ้วาอํ ่ ่ มกลุ่มผูด้ าํ เนินการครองอํานาจเกา่ และนําไปสู่ การ แม้การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนํา เพื อโคนล้ ้ ่ ็ นได้43 กาวไปเป็ นกลุ่มผูด้ าํ เนินการครองอํานาจนํากลุ่มใหมกเป็

43

Barry Burke, Antonio Gramsci and informal education [Online]. Available from: http://www.infed.org/thinkers/etgram.htm [7 มีนาคม 2550]


40

่ ่ ่ ตัวอยางของกรณี การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําที เห็นได้ชดั คือ44 การโต้ตอบตอการ ่ บโลก ผานการดํ ่ ่ ครองอํานาจนําของระบบเสรี นิยมใหมระดั าเนินการของสถาบันระหวางประเทศ เชน่ ธนาคารโลก (World Bank) หรื อองค์กรการค้าโลก (World Trade Organization; WTO) โดย ่ เห็นได้จากการแสดงออกถึงการโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําจากการระดมพลการเคลื อนไหวครั' ง ่ อวันที 30 กนยายน ั ใหญเมื ปี 1999 โดยผูป้ ระท้วงได้ทาํ การขัดขวางการประชุมผูแ้ ทน WTO ที จดั ่ ขึ' นที เมือง ซี แอทเทิล สหรัฐอเมริ กา โดยการประท้วงในครั' งนี' ได้มีผเู ้ ข้ารวมเป็ นจํานวนมากโดยมี ่ ระยะเวลาการประท้วงไปจนถึงวันที 3 ธันวาคม 1999 สงผลให้ การประชุมองค์กรการค้าโลกในครั' ง 45 นั' นต้องยกเลิกไป ่ ่ กรณี ตวั อยางของการโต้ ตอบตอการครองอํ านาจนําอีกกรณี หนึ งคือ การเคลื อนไหวหนึ งที ั ี ั ่ ้เรี ยกร้องเพื อตอต้ ่ านกบกระแส ั เริ มเป็ นที รู้จกั และเป็ นที รับรู ้กนในสั งคมมากขึ' นเกยวกบการตอสู ่ องมาเป็ น โลกาภิวตั น์นน ั กคื็ อ “เวทีสมัชชาสังคมโลก” (World Social Forum; WSF) ที จดั ขึ' นตอเนื เวลากวา่ 6 ปี แล้วนัน เอง ํ ดขึ' นอันเนื องมาจากการรวมตัวกนของขบวนการเคลื ั WSF นั' นถือกาเนิ อนไหวทางสังคม หลายๆฝ่ ายที ได้รับความเดือดร้อน/ได้รับผลกระทบจาก กระแสโลกาภิวตั น์/ทุนนิยมเสรี /เสรี นิยม ่ ก่อให้เกดปั ิ ญหาในประเทศโลกที สาม/ประเทศ ่ ั ทั' งนี' เพราะโลกาภิวตั น์/เสรี นิยมใหมได้ ใหม่ รวมกน ่ ั ว โลก คือต้องเผชิ ญกบอํ ั านาจรวมศูนย์ที เข้มแข็งของรัฐ และทุนจาก โลกใต้ ที มีลกั ษณะรวมกนทั ่ ' น ทั' งนี' บรรษัทข้ามชาติขนาดใหญ่ ที เข้าไปกอบโกยทรัพยากร/ผลประโยชน์จากประเทศเหลานั ิ ิ ต้นเหตุมาจากนโยบายเศรษฐกจแบบเสรี นิยม/ทุนนิยม ที พยายามสร้างให้ระบบเศรษฐกจเสรี การค้า ่ ่ การลงทุน ที เสรี ภายใต้การชวยเหลื อ/เอื'อประโยชน์ประเทศโลกที หนึ ง จากองค์กรระหวางประเทศ ที สาํ คัญ เชน่ WTO, IMF, WORLD BANK, ADB เป็ นต้น ดังนั' นผูท้ ี ได้รับความเดือดร้อน/ได้รับผลกระทบจาก กระแสโลกาภิวตั น์/ทุนนิ ยมเสรี /เสรี ่ ั อแสดงออกถึงการตอต้ ่ าน โลกาภิวตั น์เสรี นิยมใหม่ จึงได้มีการพยายามแสวงหาหนทางรวมกนเพื ่ ั านโลกาภิวตั น์กระแสหลัก และเป็ น นิยมใหม่ ในการสร้างเวทีสมัชชาสังคมโลกขึ' นมา เพื อรวมกนต้ ่ ่ ่ ่ ' น แต่ WSF นั' นจะเป็ นที เปิ ดที หลายๆฝ่ ายได้ร่ วมกนคิ ั ดถึงการ พื'นที ที ไมใชแคการประท้ วงเทานั ่ ่ ยมกนได้ ั อีกด้วย46 สร้าง โลกอีกใบ (Another World) ที เอื'อประโยชน์ต่อคนทุกคนอยางเทาเที

44

Andrew Deak, The Condition of Hegemony and the Possibility of Resistance [Online]. Available from: http://www.undercurrentjournal.ca/2005II3%20-%20deak.pdf [7 มีนาคม 2550] 45 http://encyclopedia.thefreedictionary.com/antiglobalization [5 กุมภาพันธ์ 2550] 46 กนกรัตน์ เลิศชูสกุล, “เหลียวหลังแลหน้าเวทีสงั คมโลก”, ใน ฟ้ าเดียวกนั 1 (เมษายน-มิถุนายน 2546), หน้า 109-122. ่ และ ปิ ยะมิตร ลีลาธรรม, “วิวาทะแหงอนาคต : ข้อถกเถียงของขบวนการเคลื อนไหวทางสังคมในสมัชชาสังคมโลก 2547”, ใน ฟ้ า เดียวกนั 2 (เมษายน-มิถุนายน 2547), หน้า 137-148.


41

2.3 การครองอํานาจนําในฐานะทีเ ป็ นกรอบในการอธิบายปรากฏการณ์ ่ ดท้ายของบทนี' เป็ นการนําเสนอกรอบในการอธิ บายปรากฏการณ์ ซึ งเป็ นเนื' อหาใน สวนสุ บทถัดไปของงานวิจยั โดยนํากรอบแนวความคิดเรื องการครองอํานาจนํา และแนวคิดองค์ประกอบ ดังที ได้นาํ เสนอไปข้างต้นมาเป็ นกรอบในการอธิบาย กรอบในการอธิ บายการดําเนิ นการสร้ างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณนั' น ่ อ รัฐบาลทักษิณ ในฐานะ “กลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะ เริ มต้นดังที แสดงใน แผนภาพที 1 กลาวคื ครองอํานาจนํา” (Hegemon) นั' นจะต้องเริ มดําเนินการปฏิบตั ิเพื อสร้างภาวะการครองอํานาจนําให้ ิ ' นอยางสมบู ่ เกดขึ รณ์โดยการดําเนิ นการยึดกุมพื' นที ทางความคิดโดย “การทําสงครามยึดพื' นที ทาง ความคิด” (War of Position) ่ ' น จะต้ อ งอาศัย “กลไกการครองอํา นาจนํา ” การดํา เนิ น การทํา สงครามดั ง กลาวนั ่ (Hegemonic Apparatuses) เป็ นเครื องมือในการถายทอดความคิ ด ความรู ้ ความเชื อ จากมุมของ ่ รัฐบาลทักษิณไปยังประชาชน ชนชั' นตางๆโดยปราศจากการใช้ อํานาจบังคับ เพื อสร้างความรู ้สึก ิ ' นเหนือพื'นที ใน “โครงสร้างสังคมสวนบน ่ เห็นพ้อง (Consent) ให้เกดขึ ” (Super Structure) ที เรี ยกวา่ “ประชาสังคม” (Civil Society) ซึ งเป็ นพื'นที ที ความสัมพันธ์ทางสังคมนั' นมีลกั ษณะเชิงอุดมการณ์ ่ จะเป็ นความสัมพันธ์ทางการผลิตดังเชน่ “โครงสร้างสวนลาง ่ ่ ” (Sub Structure) มากกวาที ขณะที มีการดําเนินการใช้กลไกการครองอํานาจนําเพื อสร้างภาวะการครองอํานาจนําเหนือ ็ มีการดําเนิ นการอีกทางหนึ งเพื อเป็ นการสร้างภาวะการ พื'นที ประชาสังคมนั' น รัฐบาลทักษิณกได้ ิ ' นอยางสมบู ่ ่ ครองอํานาจนําให้เกดขึ รณ์ ด้วยการดําเนิ นการยึดกุมพื'นที ในโครงสร้างสังคมสวนบน ่ อีกสวนหนึ งที เรี ยกวา่ “สังคมการเมือง” (Political Society) โดยการใช้กลไกรัฐ อันได้แก่ กฎหมาย การใช้อ าํ นาจศาล การใช้ก ําลัง ของกองทัพ และตํา รวจ ฯลฯ เป็ นกลไกหลัก ในการ “บัง คับ ” ่ (Coercion) เหนือผูค้ นตางชนชั ' น ให้ดาํ เนินกิจกรรมไปตามทิศทางที ตอ้ งการ ิ ' นเมื อ กลุ่ มผูด้ าํ เนิ นการสร้ างภาวะครอง ภาวะการครองอํา นาจนําที สมบูรณ์ น' ันจะเกดขึ ่ ดเสร็ จเหนื อพื'นที ประชาสังคมและพื' นที สังคม อํานาจนําสามารถยึดกุมพื' นที ทางสังคมได้อยางเบ็ ่ ' นจะดํารงอยูไ่ ด้ในชวงระยะเวลาหนึ ่ การเมือง ซึ งภาวะดังกลาวนั งและจะลดระดับการครองอํานาจ นําลงไป จนกระทัง สลายตัวลงไป เมื อภาวะการครองอํานาจนํานั' นได้ถูก กลุ่ม/ชนชั' นอื นๆในสังคม ่ ลุกขึ' นมาท้าทาย และโต้ตอบตอการครองอํ านาจนํานั' นๆ (Counter Hegemony) ด้วยการพยายาม ่ ้ และพยายามแทนที การครองอํานาจนําของรัฐบาล สร้างภาวะการครองอํานาจนําชุดใหมขึ่ ' นมาตอสู ่ ทักษิณตอไป


42

ทํา “สงครามยึดพืนY ที ทางความคิด” (War of Position) ด้วย “กลไกรัฐ” (State Apparatuses) - การเพิม จํานวนที นง ั ในสภา

ด้วย “กลไกการครองอํานาจนํา” (Hegemonic Apparatuses) - กลไกนโยบาย

-

ผูแ้ ทนราษฎรเพื อเลี ยงการ ตรวจสอบ

การจัดการภาพลักษณ์ -

ของผูน้ าํ

ใช้ความเข้มแข็งให้เป็ นประโยชน์ ่ ่ ในการผานรางกฎหมาย

-

การแทรกแซงองค์กรที สมั พันธ์ ั านาจรัฐตางๆ ่ กบอํ

กลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนํา (Hegemon) คือ “รัฐบาลทักษิณ” เหนือ “พืนY ที ประชาสังคม” (Civil Society) ด้วยการสร้างความสัมพันธ์เชิงอํานาจที ่ ่ งคับ แตเป็ ่ นการสร้างความ ไมใชการบั ยินยอมพร้อมใจ (Consent), ความเห็นพ้อง (Consensus) หรื อ การยอมรับโดยดุษฎี

เหนือ “พืนY ที สังคมการเมือง”

่ โต้ตอบตอการครองอํ านาจนํา

(Political Society) ด้วยการสร้างความสัมพันธ์เชิง อํานาจที มีสภาพบังคับ หรื อข้อง ี ั เกยวกบการใช้ อาํ นาจรัฐ และ กฎหมาย

ภาวะการครองอํานาจนําที ไม่สมบูรณ์ จะเกดิ การ “โต้ ตอบต่ อการครองอํานาจนํา” (Counter

Hegemony) ตอ่กลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะ ครองอํานาจนําเดิม โดยกลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้าง ภาวะครองอํานาจนํากลุ่มใหม่

“ภาวะการครองอํานาจนําสมบรณ์ ู ” (Complete Hegemony) กลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนําสามารถยึดกุมพื'นที ทางสังคมได้ท' งั พื'นที ประชา ่ ั นการยึดกุมโครงสร้างสังคมสวนบนได้ ่ สังคม และพื'นที สงั คมการเมืองเทากบเป็ สาํ เร็ จ เมื อ ั ่ ่ อาทิ การให้ผลประโยชน์ในทางเศรษฐกจิ การ ผนวกกบการควบคุ มโครงสร้างสวนลาง ิ ่ ่ ควบคุมการผลิตทางเศรษฐกจตางๆได้ จะเรี ยกได้วาสามารถสร้ างกลุ่มประวัติศาสตร์ ิ ' นได้ เทา่ กบเป็ ั นการสร้างภาวะการครองอํานาจนําสมบูรณ์ข' ึนได้ (Historic Bloc) ให้เกดขึ

แผนภาพที1 : แสดงการดําเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ


บทที 3 พรรคไทยรักไทย และรัฐบาลทักษิณ: ความเป็ นมา และการก่ อตัว บทที 3 นี# มีจุดมุ่งหมายหลักในการนําเสนอถึงปูมหลังความเป็ นมาของพรรคไทยรักไทย ี ั และรั ฐบาลทัก ษิณ เพื อเป็ นการทําความเข้า ใจบริ บทเกยวกบความเป็ นมาของรั ฐบาลทัก ษิณใน ่ เพื อประโยชน์ในการทําความเข้าใจบทวิเคราะห์การพยายามสร้างภาวะการครอง ภาพรวมเสี ยกอน ่ อํานาจนํา รวมถึงการใช้กลไกตางๆเพื อสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณซึ งจะได้ นําเสนอในบทถัดไป ั อ ประการแรก พรรคไทย ดังนั# นในบทนี# จึงได้นาํ เสนอด้วยคําถามหลัก 2 ประการด้วยกนคื ่ และมีใครหรื อกลุ่มการเมืองใดเป็ นตัวแสดงหลัก รักไทย และรัฐบาลทักษิณ มีความเป็ นมาอยางไร ่ และอีกประการหนึ ง พรรคไทยรักไทย และรัฐบาลทักษิณ มีลกั ษณะเดน่/จุดเดน่ อยางไร การนํา เสนอในบทนี# เ ป็ นลัก ษณะของการพรรณนาเพื อ อธิ บ าย และตอบคํา ถามหลัก ่ างต้นเพื อเป็ นการปูพ#ืน และงายตอการเข้ ่ ่ ดังกลาวข้ าใจบทวิเคราะห์รัฐบาลทักษิณด้วยกรอบทฤษฎี ่ การครองอํานาจนําในบทตอๆไป โดยจะเริ มต้นการนําเสนอด้วยหัวข้อที 3.1 ความเป็ นมาและการ ่ วของพรรคไทยรักไทย ตอด้ ่ วของรัฐบาลทักษิณ ตามลําดับ ่ วย 3.2 ความเป็ นมาและการกอตั กอตั 3.1 ความเป็ นมาและการก่อตัวของพรรคไทยรักไทย ่ นทางการ (ยื นจดทะเบียน ตอนายทะเบี ่ พรรคไทยรักไทยได้ก่อตั# งอยางเป็ ยน สํานักงาน คณะกรรมการการเลือกตั# ง เมื อวันที 14 กรกฎาคม 2541ซึ งจัดได้ว่าเป็ นพรรคการเมืองแรก1ที ได้ จัดตั# งขึ# นภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบนั (พ.ศ. 2540) ่ วขึ# นมาของพรรคไทยรักไทยนั# นเกิดขึ# นในชวงที ่ ประเทศไทยกาลั ํ งประสบปั ญหา การกอตั ิ กฤติเศรษฐกจครั ิ # งใหญในปี ่ 2540 ซึ งหากเรา และเริ มหาทางฟื# นฟูตวั เองขึ# นมาภายหลังจากการเกดวิ ่ ิ # นของพรรคไทยรักไทยนั# นมีความเป็ นมาจากปั จจัยหลัก 2 ประการ พิจารณาดูจะพบวาการเกดขึ ั แก่ ปัจจัยแรก บริ บทเชิงโครงสร้างทางเศรษฐกจิ การเมือง และสังคมไทยในขณะนั# น ซึ ง ด้วยกนได้ ิ ่ กบสั ั งคม และปั จจัยที สอง เอื#ออํานวยให้เกดพรรคไทยรั กไทยขึ# นมา เพื อนําเสนอทางเลือกใหมๆให้ ความต้องการที จะหวนคืนวงการเมืองของพ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตร เพื อให้สามารถผลักดันนโยบาย ่ ่ ่ ากการไปเข้ารวมกบพรรคการเมื ่ ั และการออกกฎหมายตางๆได้ อยางสะดวก ตางจ องอื น หรื อเป็ น ่ ฐบาล พรรครวมรั 1

่ มา: http://www.thairakthai.or.th [1 เมษายน 2549] ดู พรรคไทยรักไทย [Online]. แหลงที


44

ปั จ จัยแรก บริ บทเชิ ง โครงสร้ างทางเศรษฐกจิ การเมื อง และสัง คมไทยในขณะนั# น ซึ ง ิ ่ กบสั ั งคม เอื#ออํานวยให้เกดพรรคไทยรั กไทยขึ# นมา เพื อนําเสนอทางเลือกใหมๆให้ ิ # งใหญในปี ่ 2540 นั# นเกดขึ ิ # นจากหลายสาเหตุดว้ ยกนั2 ทั# งต้ นเหตในเชิ วิกฤติเศรษฐกจครั ุ ง ิ ิ ผิดพลาด โดยไมคํ่ านึงถึงผลกระทบ โครงสร้ างที เกดจากการบริ หาร และดําเนินนโยบายเศรษฐกจที ่ ่ ่งพัฒนาเศรษฐกจแบบอุ ิ จากมาตรการที ใช้อยางรอบด้ าน นับตั# งแตการมุ ตสาหกรรมภายหลังจากการ ิ นต้นมาในชวงทศวรรษ ่ ิ เริ มใช้แผนพัฒนาเศรษฐกจเป็ 2500 และเริ มพัฒนาเศรษฐกจในอั ตราเรง่ ่ ยรัฐบาลพล.อ.ชาติชาย ชุ ณหะวัณ ที ดาํ เนิ นนโยบายเปลี ยนสนามรบเป็ นสนามการค้า นับตั# งแตสมั ิ ่ ภาวะเศรษฐกจในสมั ิ ซึ งนับเป็ นจุดเริ มต้นที สําคัญของสภาวะเศรษฐกจแบบฟองสบู ยรัฐบาลพล.อ. ่ ง ในด้า นการผลิ ต การสง่ ออก และการลงทุ น โดยตรงจาก ชาติ ช ายนั# น มี ก ารขยายตัว อยางสู ่ ่ ามาของเงิ นทุนเพื อลงทุนในธุ รกจิ ตางประเทศ (Foreign Direct Investment) มีการไหลบาเข้ ่ โ้ ดยสถาบันการเงินอยางไมระมั ่ ่ ดระวัง มีการบริ โภคสิ นค้าฟุ่ มเฟื อย อสังหาริ มทรัพย์ มีการปลอยกู 3 ่ เป็ นอยางมาก ่ ดระวังในการดําเนิ นนโยบายทางเศรษฐกจยั ิ งคงตอเนื ่ องมา โครงสร้ างของความไมระมั จนถึงสมัยรัฐบาลนายอานันท์ ปัณยารชุน ที ได้มีการเปิ ดเสรี ในด้านอุตสาหกรรม เชน่ อุตสาหกรรม ่ องมาจนถึงสมัยรัฐบาลนายชวน หลีกภัยสมัยแรก ด้วยการเปิ ดเสรี ทางการ รถยนต์ เป็ นต้น และตอเนื เงินขึ# นดังที เรี ยกวา่ “กรุ งเทพวิเทศธนกจิ” (Bangkok International Banking Facilities; BIBF) โดย ั ่ ่ ได้ยกเลิกการจํากดการนํ าเงินตราเข้าออก โดยคาดหวังวาการเปิ ดเสรี ทางการเงินดังกลาวจะนํ าไปสู่ ่ การไหลเข้าของการลงทุนจากตางชาติ และประเทศไทยอาจกลายเป็ นศูนย์กลางทางการเงิ นของ 4 ภูมิภาคได้ ิ ่เติบโตถึงขีดสุ ด ภาพลวงตาที เคยเกดขึ ิ # นวาประเทศไทยอยู ่ เมื อเศรษฐกจฟองสบู ใ่ นสถานะ ิ ิ ดี มีการขยายตัวทางเศรษฐกจสู ิ งตอเนื ่ อง กเริ็ มหายไป5 และภาพเศรษฐกจไทยที ทางเศรษฐกจที 2

่ กลาวถึ ่ งข้อถกเถียงในเรื องมุมมองและแนวความคิดเกยวกบปั ี ั ญหาเรื องสาเหตุของวิกฤติเศรษฐกจอยาง ิ ่ ในที น# ีไมได้ ่ ่ ดประสงค์หลักของการนําเสนอในงานวิจยั ชิ#นนี# โปรดดูเพิ มเติมใน วอลเดน เบลโล และคณะ, ละเอียดเนื องจากไมใชจุ โศกนาฏกรรมสยาม: การพัฒนาและการแตกสลายของสังคมไทยสมัยใหม่, แปลโดย สุรนุช ธงศิลา, พิมพ์ครั# งที 5 (กรุ งเทพฯ: มูลนิธิ ิ โกมลคีมทอง, 2545) และ เอก ตั# งทรัพย์วฒั นา, “Asian economic crisis วิกฤตการณ์เศรษฐกจเอเชี ย,” ใน คําและความคิดใน รัฐศาสตร์ร่ วมสมัย, เอก ตั#งทรัพย์วฒั นา และสิ ริพรรณ นกสวน, บรรณาธิการ (กรุ งเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546), หน้า 1119. 3 ิ สมชาย ภคภาสน์วิวฒั น์, การพัฒนาเศรษฐกจและการเมื องไทย, พิมพ์ครั# งที 6 (กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2547), หน้า 96-109. 4 ลิขิต ธีรเวคิน, “อมาตยาธิปไตย-ประชาธิปไตยครึ งใบ-การปฏิรูปการเมือง-การเมืองปัจจุบนั ,” ใน รัฐศาสตร์สาร 24, ฉบับพิเศษ (พฤศจิกายน 2546), หน้า42-51. 5 ิ ่ ่ ข้อมูลจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจและสั งคมแหงชาติ หรื อสภาพัฒน์ ชี# ให้เห็นวาในปี 2533-2538 นั# นประเทศไทยมีอตั ราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเบื# องต้นหรื อ GDP อยูใ่ นระดับสูงคือ ร้อยละ 11.2, 8.6, 8.1, ่ 2533-2538 ตามลําดับ และเมื อเริ มเกดวิ ิ กฤติเศรษฐกจขึ ิ # นตั#งแตปี่ 2539 กทํ็ าให้ GDP ลดลงเหลือเพียงร้อย 8.4, 9.0 และ8.9 ระหวางปี


45

่ 2538 เป็ นต้นมาในสมัยรัฐบาลนายบรรหาร ศิลป แท้จริ งกเริ็ มที จะปรากฏให้เห็นชัดขึ# นในชวงปี ิ ญหาเงิ นเฟ้ อ การขยายตัวของการขาดดุ ลบัญชี เดิ นสะพัด ปั ญหาการไหลออกของ อาชาซึ งเกดปั ่ เงินทุนตางประเทศเนื องจากการขาดความเชื อมัน ของนักลงทุน ปั ญหาการตกตํ าของตลาดหุ น้ แล ่ ่ เกดรายได้ ิ ่ ปัญหาหนี# เสี ย หรื อหนี# ที ไมกอให้ (Non Performing Loans; NPLs) ที เพิ มขึ# นอยางมาก อัน ่ อ้ ยา่ งไมระมั ่ ดระวังของสถาบันการเงิน และผูก้ ูท้ ี กูเ้ งินระยะสั# นไปลงทุนเพื อ เนื องมาจากการปลอยกู ํ ั งหาริ มทรัพย์ที เฟื องฟูอยางมากในชวงเศรษฐกจฟองสบู ่ ่ ิ ่ หวังกาไรในตลาดหุ น้ และลงทุนกบอสั ต้ นเหตสํุ าคัญอีกประการหนึ ง คือการตัดสิ นใจดําเนินมาตรการที ผิดพลาดของธนาคารแหง่ ่ ประเทศไทย เนื องจากการโจมตีค่าเงินบาทของกองทุนการเงิน (Hedge Fund) ของตางชาติ โดยการ ํ ่ ่ นบาทจะต้อง ใช้เงิ นบาทซื# อดอลลาร์ จาํ นวนมาก เพื อทํากาไรเนื องจากคาดการณ์ ไว้แล้ววาคาเงิ ลอยตัวในที สุด ่ ่ ปรับเปลี ยนอัตราแลกเปลี ยนเงินบาท ธนาคารแหงประเทศไทยดํ าเนินการผิดพลาดที ไมได้ ั าวะทางเศรษฐกจที ิ แ ท้จ ริ ง ในชวงเศรษฐกจฟองสบู ่ ิ ่ แตยั่ ง คงไว้ซ ึ งอัต รา ให้ ส อดคล้อ งกบภ ่ แลกเปลี ยนแบบคงที และเมื อถูกโจมตีค่าเงิ นบาท ธนาคารแหงประเทศไทยกลั บเลือกที จะสู ้กบั ่ กองทุนการเงินตางชาติ ดว้ ยการซื# อดอลลาร์ ล่วงหน้า (Swap) ซึ งมาตรการนี# ใช้ได้ผลในระยะแรก 6 ่ # น ผลสุ ดท้ายเมื อถูกโจมตีหนักขึ# น ผลสุ ดท้ายกต้็ องประกาศให้เงิ นบาทลอยตัว เมื อวันที 2 เทานั กรกฎาคม 2540 ั กฤติเศรษฐกจฟองสบู ิ ่แตกครั# งใหญ่ ต้องตกอยูใ่ นสภาวะ ประเทศไทยภายหลังประสบกบวิ ่ ง ภาวะเศรษฐกจถดถอย ิ ่ ที ไมมั่ น คงอยางยิ มีอตั ราการวางงานในระดั บสู ง, สถาบันการเงินล้มละลาย ่ ่ ่ ่ และต้องปิ ดตัวไปถึง 56 แหง่ การสงออกชะงั กงัน การลงทุนจากตางประเทศชะลอตั ว สงผลตอ ่ ภาวะความเป็ นอยูข่ องประชาชนอยางมาก ็ นภาวะที สังคมขาดความเชื อมัน ตอนั ่ กการเมืองอยางมาก ่ ขณะที ภาวะการเมืองนั# นกเป็ ดัง เห็นได้จากการที พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธที ทนแรงกดดันจากสังคมไม่ไหวจนต้องลาออกจากตําแหนง่ ่ องมาจนถึงรัฐบาลนายชวน หลี กภัยในสมัยที สองที เข้ามาบริ หารประเทศตอจากรั ่ ไป ตอเนื ฐบาล ่ ่ งคมได้เนื องจากการแกไขปั ้ ญหาเศรษฐกจที ิ ยงั ไม่ พล.อ.ชวลิต กยั็ งไมอาจสร้ างความเชื อมัน ตอสั ั อนไขในการกูเ้ งินจากกองทุนการเงินระหวาง ่ เห็นผลชัดเจน อีกทั# งการที นาํ ประเทศไปผูกพันกบเงื ่ ประเทศ (IMF) ยัง สร้ า งความไมพอใจให้ ก ับประชาชนจํา นวนมากอี กด้วย ดังเห็ นได้จากการ ้ ่ ผานมา ่ เรี ยกร้องให้แกไขกฎหมายขายชาติ 11 ฉบับในชวงที

่ มา: ละ 5.9, -1.7, -10.2 ในปี 2539 ถึงปี 2541 ตามลําดับ [Online]. แหลงที http://www.nesdb.go.th/econSocial/macro/mahapak_eco.htm [1 เมษายน 2549] 6 ลิขิต ธีรเวคิน, “อมาตยาธิปไตย-ประชาธิปไตยครึ งใบ-การปฏิรูปการเมือง-การเมืองปัจจุบนั ,” ใน รัฐศาสตร์สาร 24: 5051.


46

่ เมื อรัฐบาลนายชวน หลีกภัยตัดสิ นใจยุบสภากอนครบอายุ สภาเพื อให้มีการเลือกทัว ไปครั# ง ใหม่ ซึ งนับเป็ นการเลือกตั# งสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรครั# งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ด้วยนั# น ภาพรวมของสภาวะสังคมไทยในขณะนั# น กคื็ อ ความต้องการทางเลือกใหม่ ที มีความสามารถเข้ามา ้ ญหาเศรษฐกจของชาติ ิ ่ แกไขปั ได้ และที สําคัญต้องเป็ นรัฐบาลที มีความแตกตางจากรั ฐบาลเดิมๆที ่ า มีความโปรงใส ่ และพร้อมจะนําพาประเทศไทยให้พน้ จากวิกฤติได้อีกด้วย ผานม ดังนั# นจึงสรุ ปได้วา่ ปัจจัยประการแรก คือ บริ บทเชิงโครงสร้างทางเศรษฐกจิ การเมือง และ ิ # งใหญในปี ่ 2540 แม้จะไมใชปั ่ ่ จจัยโดยตรงที ทาํ ให้พรรค สังคมไทยภายหลังวิกฤติเศรษฐกจครั ิ # นก็ตาม แตกเป็ ่ ็ นปั จจัยเสริ มที เอื# ออํานวยอยางยิ ่ งให้พรรคไทยรักไทยที เป็ นพรรค ไทยรักไทยเกดขึ ่ การเมื องใหมมี่ ความโดดเดน่ และได้รับ ความสนใจ ตลอดจนความไว้วางใจอยางมากเมื อการ ่ นที 6 มกราคม 2544 มาถึง เลือกตั#งทัว ไปครั# งใหมในวั ปั จ จั ย ที ส อง ความต้องการที จะหวนคื นวงการเมื อ งของพ.ต.ท.ทัก ษิ ณ ชิ นวัตรเพื อให้ ่ ่ ่ ่ ั สามารถผลักดันนโยบาย และการออกกฎหมายตางๆได้ อยางสะดวก ตางจากการไปเข้ ารวมกบ ่ ฐบาล พรรคการเมืองอื น หรื อเป็ นพรรครวมรั ่ ในขั# นต้นจะได้เรี ยบเรี ยงความเป็ นมาของพ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชิ นวัตรเสี ยกอนเพื อให้ทราบ ่ ่ ่ ธีคิด และวิธีการในการมองโลกของเขาใน วาเขาได้ มีปูมหลัง และมีประสบการณ์ ที จะสงผลตอวิ ่ ่ เวลาตอมาได้ อยางไร 3.1.1 ปมหลั ู งของพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร: ความเป็ นมาก่อนเข้ าวงการการเมือง ิ ่มผูป้ ระสบความสําเร็ จในทางธุรกจเป็ ิ นอยางสู ่ งจาก พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร นักธุรกจหนุ ิ ่ ิ กจการด้ านการสื อสาร โทรคมนาคม และการให้บริ การโทรศัพท์เคลื อนที เป็ นชาวเชียงใหมเกดใน ิ ่ อาทิเชน่ ครอบครัวชนชั# นกลางที ประกอบอาชีพค้าขาย ทํานาสวนผสม และทํากจการอี กหลายอยาง ิ ่ิ เป็ นเสมียนธนาคาร ทํากจการเดิ นรถเมล์ หรื อแม้แตกจการโรงหนั ง ร้านผ้าไหม เป็ นต้น7 เมื อมีอายุ ่ โรงเรี ยนเตรี ยมทหาร และเข้าเรี ยนตอที ่ โรงเรี ยนนายร้อย ได้ 17 ปี ทักษิณ ชินวัตรได้เข้าศึกษาตอที ่ คะแนนเป็ นที หนึ งของรุ่ นทําให้เขาได้รับทุนไปศึกษา ตํารวจ และด้วยความที เป็ นคนที เรี ยนเกงได้ ่ ญญาโทที สหรัฐอเมริ กา หลังจากที เรี ยนจบปริ ญญาโทได้กลับมาเป็ นอาจารย์ที โรงเรี ยนนาย ตอปริ ่ ร้ อ ยตํา รวจระยะหนึ ง และได้ย า้ ยไปชวยราชการสํ า นัก นายกรั ฐ มนตรี ใ นยุค ของ ม .ร.ว.เสนี ย ์

7

ไพโรจน์ อยูม่ ณเฑียร และรุ จน์ มัณฑิรา, ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี คนที 23, พิมพ์ครั# งที 7 (กรุ งเทพฯ: นํ# าฝน, 2544), หน้า 16. และวีรพล จ้อยทองมูล และคณะ, ประวัติ/สุนทรพจน์ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, (กรุ งเทพฯ: ลุ่มนํ# าเจ้าพระยา, 2544), หน้า 12-13.


47

่ ายไปเป็ นรองสารวัตรปราบปราม สน.พระราชวัง แล้วจึงลาไปศึกษาตอปริ ่ ญญาเอก ปราโมช กอนย้ ที ประเทศสหรัฐอเมริ กาเมื อปี 25228 ภายหลังจากสําเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาเอกจากสหรัฐอเมริ กา ดร.ทักษิณ ชิ นวัตร ได้ ่ กลับมารับราชการตํารวจเป็ นหัวหน้าแผนก 6 (แผนกแผน) กองวิจยั และวางแผน และชวยราชการ ่ เป็ นรองผูอ้ าํ นวยการศูนย์ประมวลขาวสาร กรมตํารวจ เนื องจากได้เคยศึกษาวิชาคอมพิวเตอร์ มาบ้าง เมื อสมัยเรี ยนที ต่างประเทศ และเขียนวิทยานิ พนธ์ปริ ญญาเอกเรื องการใช้คอมพิวเตอร์ ในการจับ ผูร้ ้าย9 ่ ง หลัง จากได้มี โอกาส เมื อสั ง สมประสบการณ์ ใ นชี วิตราชการตํา รวจโดยเฉพาะอยางยิ ่ ทํางานที ศูนย์ประมวลขาวสารทํ าให้เขาได้คลุกคลีและเพิ มพูนความรู ้ดา้ นคอมพิวเตอร์ มากยิ งขึ# น10 ่ ิ ี ั ทําให้เขาได้เล็งเห็นชองทางในการทํ าธุ รกจเกยวกบคอมพิ วเตอร์ นบั จากนั# น และได้เริ มต้นนับหนึ ง ิ านนี# เมื อปี 2526 โดยตัดสิ นใจตั# งห้างหุ ้นสวนจํ ่ ากดั ไอซี เอสไอ ขึ# นมาเพื อเป็ นผูข้ าย ทางธุ รกจด้ ่ ิ นตัวแทน ให้บริ การ และบํารุ งรักษาเครื องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญของไอบี เอ็ม การดําเนินธุ รกจเป็ ิ ขาย และให้เชา่ ให้บริ การเครื องคอมพิวเตอร์ น# ี เริ มต้นได้ด้วยดี และนําไปสู่ การขยายกจการขึ # นมา ั ่ 11 เป็ นบริ ษทั ชินวัตร คอมพิวเตอร์จาํ กดในเวลาตอมา ิ ี ั ิ มเติบโตขึ# น พ.ต.ท. หลังจากที ได้ดาํ เนินธุรกจเกยวกบคอมพิ วเตอร์ มาระยะหนึ งเมื อธุ รกจเริ ่ นเพราะอึดอัด ทักษิณ จึงได้ตดั สิ นใจลาออกจากราชการตํารวจในปี 2530 ทั# งนี# เขาได้ให้เหตุผลวาเป็ ่ ั และไมพอใจ กบระบบราชการที ล่ าช้า และมากขั# น ตอน นอกจากนั# น ยัง มี ก ารเมื อ งภายในหมู่ ั าครหานิ นทาที อาจเกดขึ ิ # นจากคู่แขงในการ ่ ข้าราชการตํารวจด้วยกนั และเพื อเป็ นการป้ องกนคํ ิ ิ ประมูลงาน และเหตุผ ลสําคัญคือ เพราะสงสารภรรยาที ต้องแบกรับภาระทางธุ รกจมากเกนไป ่ ่ # ทาํ ให้เขาตัดสิ นใจลาออกจากราชการตํารวจในที สุด12 เหตุผลตางๆเหลานี ิ มตัว พ.ต.ท.ทักษิณ มีบริ ษทั 6 หลังจากที ตดั สิ นใจลาออกจากการเป็ นตํารวจมาทําธุ รกจเต็ ่ ได้เริ มดําเนินการไปบ้างแล้วตั# งแตกอนลาออกจากราชการให้ ่​่ แหงที ตอ้ งบริ หารจัดการคือ 1. บริ ษทั ไอซีเอสซี 2. บริ ษทั อินเตอร์ เนชันแนลบรอดคาสติ#ง 3. บริ ษทั ชินวัตร เทเลคอมมิวนิเคชัน 4. บริ ษทั ชินวัตรคอมพิวเตอร์ เซอร์ วิส-แอนด์อินเวสตท์เม้นท์ 5. บริ ษทั ดิจิตอลเพจจิ#ง และ 6. บริ ษทั แอด วานซ์ อินโฟ เซอร์วสิ 13 8

วีรพล จ้อยทองมูล และคณะ, ประวัติ/สุนทรพจน์ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, หน้า 17-18. ไพโรจน์ อยูม่ ณเฑียร และรุ จน์ มัณฑิรา, ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี คนที 23, หน้า 50 -51. 10 วีรพล จ้อยทองมูล และคณะ, ประวัติ/สุนทรพจน์ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, หน้า 18. 11 ์ กาญจน์มุนี ศรี วิศาลภาพ และณรงค์ชยั ปัญญานนทชัย, ทักษิณบนบัลลังกนายกรั ฐมนตรี , (กรุ งเทพฯ: ดอกหญ้า, 2545), หน้า 10-11. 12 ไพโรจน์ อยูม่ ณเฑียร และรุ จน์ มัณฑิรา, ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี คนที 23, หน้า 62. และ กาญจน์มุนี ศรี วิศาล ์ ภาพ และณรงค์ชยั ปัญญานนทชัย, ทักษิณบนบัลลังกนายกรั ฐมนตรี , (กรุ งเทพฯ: ดอกหญ้า, 2545), หน้า 8. 13 เรื องเดียวกนั, หน้า 63-64. 9


48

ิ ิ ี ั ิ กจการของพ .ต.ท.ทักษิณเริ มเบนเข็มจากธุรกจเกยวกบคอมพิ วเตอร์ มาสู่ ธุรกจโทร คมนาคม ในปี 2532 เมื อเขาได้รับอนุมตั ิให้ทาํ โครงการเคเบิลทีวี โดยรัฐมนตรี ประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ใน สมัยนั# น คือ ร.ต.อ.เฉลิม อยูบ่ าํ รุ ง หัวหน้าพรรคมวลชน และในปี 2533 ความพยายามและการลงทุน ของพ.ต.ท.ทักษิณ เริ มงอกเงยขึ# นเมื อเขาได้รับสัมปทานให้บริ การวิทยุติดตามตัวซึ งกลายเป็ น “โฟน ั ษทั แอดวานซ์ อินโฟ เซอร์ วิส ที เดิ มทําธุ รกจให้ ิ เชาคอมพิ ่ ลิ# งค์” และในปี เดี ยวกนบริ วเตอร์ และ ั ็ อุปกรณ์ ประมวลผลให้ก บกรมตํ า รวจกประมู ล ได้สัมปทานโทรศัพ ท์เคลื อนที ระบบ 900 จาก ่ ่ องค์การโทรศัพ ท์แหงประเทศไทย ได้รับการผูก ขาดจําหนายโทรศั พ ท์มื อถื อหนึ ง ปี และยัง ได้ ่ ่ สัมปทานสร้างเครื อขายโทรศั พท์ไร้สายคลื น 900 อีกหนึ งขายโดยได้ รับสัมปทาน 20 ปี 14 ี ั จากความสํา เร็ จของบริ ษ ทั ในเครื อของพ.ต.ท.ทัก ษิ ณ จากการได้รับ สัม ปทานเกยวกบ ิ โทรศัพ ท์เ คลื อ นที ไ ด้นํา ไปสู่ ก ารขยายการลงทุ นไปยัง ธุ รกจโทรคมนาคมอื นๆอี ก อาทิ ได้รั บ สัมปทานดําเนิ นโครงการดาวเทียมเพื อการสื อสาร “ไทยคม” ในนามบริ ษทั ชิ นวัตร แซทเทิลไลท์ ิ บริ การด้านโทรคมนาคม เชนบริ ่ ษทั ชิ นวัตร ดาต้าคอม บริ ษทั ชิ นวัตร เซอร์ วิส เพิ มกลุ่มธุ รกจให้ ิ า นการสื อสาร โทรคมนาคมในตางประเทศ ่ เพจจิ# ง กลุ่ มธุ รกจด้ เชน่ บริ ษ ทั แคมโบเดี ย ชิ นวัตร ั ชา) บริ ษทั ลาวชิ นวัตรเทเลคอม (ดําเนินงานในลาว) บริ ษทั อิสลาคอม (ดําเนินงานในประเทศกมพู ั ่มธุรกจอื ิ นๆ อาทิ กลุ่มธุ รกจคอมพิ ิ มิวนิเคชัน ฯลฯ ขณะเดียวกนกลุ วเตอร์ การให้บริ การเคเบิลทีวี ก็ ่ ่ มแข็ง15 ยังดําเนินงานตอไปได้ อยางเข้ ิ การที เขาสามารถเอาตัวรอดจากความล้มเหลวในบางธุ รกจและประสบความสํ าเร็ จทาง 16 ิ ่ งได้น# นั เป็ นเพราะลักษณะสําคัญของของพ.ต.ท.ทักษิณเอง 3 ประการ ด้วยกนได้ ั แก่ ธุ รกจอยางสู ่ ิ ่ ขณะเดียวกนั ว กล้าทดลองลงทุนในธุ รกจใหมๆ ประการแรก เขาเป็ นคนที กล้าตัดสิ นใจอยางรวดเร็ ็ า ที จ ะปรั บ ทิ ศ ทางธุ ร กจจากการค้ ิ กกล้ า คอมพิ ว เตอร์ ม าเป็ นธุ ร กิ จ โทรคมนาคมได้ใ นจัง หวะ ั า งขวางในการสร้ า ง เหมาะสม ประการที ส อง เพราะความเป็ นนัก เจรจา ประกอบกบความกว้ ั กฝ่ ายอยางลงตั ่ พันธมิตร บริ หารสายสัมพันธ์ จนสามารถประสานได้กบทุ ว และประการสุ ดท้าย มี ั ํ ั าม วิสั ย ทัศ น์ ก้าวไกล ประเมิ น สถานการณ์ ไ ด้ถู ก ต้อ ง พร้ อ มกบกาหนดกลยุ ท ธ์ ไ ด้ต รงกบคว ิ # นในอนาคต เปลี ยนแปลงที จะเกดขึ ิ ในระยะหลัง เมื อธุ รกจในเครื อชิ นวัตรเริ ม อยู่ตวั แล้วบทบาทของพ.ต.ท.ทักษิ ณ ในการ บริ หารงานโดยตรงกเริ็ มลดน้อยลงและลอยตัวอยู่เหนือการบริ หารมากขึ# น เนื องจากเขาได้พฒั นา ่ ่ บุคลากร และสร้างทีมบริ หารในระดับตางๆให้ เข้ามารองรับงานได้อยางเหมาะสม

14

เรื องเดียวกนั, หน้า 66. ์ กาญจน์มุนี ศรี วิศาลภาพ และณรงค์ชยั ปัญญานนทชัย, ทักษิณบนบัลลังกนายกรั ฐมนตรี , หน้า 12-13. 16 เรื องเดียวกนั, หน้า 8-9. 15


49

3.1.2 ปมหลั ู งของพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร: เข้ าสู่ วงการการเมือง ิ ่ ง และมีเวลาวางจากการบริ ่ ิ หลังจากที ประสบความสําเร็ จด้านธุ รกจอยางสู หารกจการใน ้ ่ ้ าสู่ แวดวงการเมือง ซึ งเป็ น เครื อชินวัตรมากขึ# น กาวตอไปของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร คือการกาวเข้ ่ ก อีกทั# งยังได้มีโอกาสคลุกคลีจากการติดตามบิดาของเขาซึ งเป็ น สิ งที เขาชอบ และใฝ่ ฝันมาตั# งแตเด็ อดีตสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ไปประชุมพรรค และประชุ มสภาผูแ้ ทนราษฎรอยู่ เป็ นประจําอีกด้วย17 ้ กาวแรกบนเส้ น ทางการเมื อ งของ พ .ต.ท.ทั ก ษิ ณ ชิ น วัต ร คื อ การรั บ ตํา แหนง่ ่ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการตางประเทศ ในสมัยรัฐบาลชวน หลีกภัย สมัยแรก จากโควตาของ ่ ่ เป็ นสมาชิ กสภาผูแ้ ทน พรรคพลังธรรม ในสวนของพ .ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตรนั# นเป็ นคนนอกที ไมได้ ่ รับการผลักดันจากพลตรี จาํ ลอง ศรี เมือง หัวหน้าพรรคพลังธรรมขณะนั# นให้ ราษฎรอยูก่ ่อน แตได้ ่ งกลาว ่ 18 รับตําแหนงดั ่ ฐมนตรี วาการกระทรวงการตางประเทศได้ ่ ่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ดํารงตําแหนงรั เพียง 101 ่ # นเมื อรัฐบาลชวน หลีกภัยมีอนั ต้องยุบสภาและจัดให้มีการเลือกตั# งทัว ไปในปี 2538 วันเทานั ้ ่ กาวตอมาในทางการเมื องของพ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตร คือการได้ข# ึนเป็ นหัวหน้าพรรคพลัง ธรรม แทนพล.ต.จําลอง ศรี เมือง เมื อวันที 28 พฤษภาคม 253819 และตัวเขาเองได้ลงสมัครรับ ็ รับการเลื อกตั# งด้วย เลื อกตั# ง เป็ นสมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎร เขต 2 กรุ งเทพมหานคร ซึ งเขากได้ คะแนนเป็ นอันดับ 1 ในเขตเลือกตั# งนั# นด้วย ่ ภายหลังการเลือกตั# งพ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตร เข้ารับตําแหนงรองนายกรั ฐมนตรี ในฐานะ ่ ฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา รับผิดชอบงานด้านจราจรและระบบขนสงมวลชน ่ พรรครวมรั ่ ็ ั อยางไรกตามด้ วยเงื อนไขทางการเมืองที สลับซับซ้อน กอปรกบความขั ดแย้งทางการเมือง ่ ่ ฐบาลซึ งมีแนวทางการทํางานที แตกตางกน ่ ั รวมถึ งความขัดแย้งภายในของ ระหวางพรรครวมรั ่ ฐบาล พรรคพลังธรรมเอง ทําให้ในที สุด พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรจึงได้ตดั สิ นใจลาออกจากการรวมรั ่ และลาออกจากพรรคพลัง ธรรมในที สุ ด และแม้จ ะถู ก ทาบทามให้ ก ลับ มารั บ ตํา แหนงรอง ่ ็ นการ นายกรัฐมนตรี อีกครั# งในสมัยรัฐบาลพล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ในเดือนสิ งหาคม 2540 แตกเป็ ่ #น ทํางานในระยะสั# นๆเทานั ่ จากประสบการณ์ทางการเมืองโดยตรงของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรในชวงระยะเวลา 2-3 ปี ่ ารับตําแหนงรั ่ ฐมนตรี วาการกระทรงตางประเทศจนถึ ่ ่ ตั# งแตเข้ งการเป็ นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พล.อ.ชวลิ ต ยงใจยุท ธ ได้ท าํ ให้เขาสร้ า งข้อ สรุ ป แกตั่ วเขาเองได้ว่า หากต้องการที จะ ผลัก ดัน 17

เรื องเดียวกนั, หน้า 17. ไพโรจน์ อยูม่ ณเฑียร และรุ จน์ มัณฑิรา, ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี คนที 23, หน้า 112-113. 19 วีรพล จ้อยทองมูล และคณะ, ประวัติ/สุนทรพจน์ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร, หน้า 38. 18


50

่ ่ ่ นโยบายในการบริ หารประเทศ และผานรางกฎหมายตางๆได้ สะดวกตามต้องการแล้วนั# น ทางเลือก ่ ่ ่ ฐบาล หรื อเข้ารวมกบพรรคการเมื ่ ั ที เหมาะสมคงไมใชการเข้ าเป็ นพรรครวมรั องอื น ทั# งนี# เพราะการ ่ ั เข้ารวมกบพรรคการเมื องอื นนั# น เป็ นการยากที จะเข้าไปทําการปรับเปลี ยนวัฒนธรรมองค์การของ ่ ่ นของตนเอง ซึ ง สามารถสร้ า ง พรรคการเมื อ งนั# น ตางจากการตั # ง พรรคการเมื อ งขึ# น มาใหมเป็ ํ วัฒนธรรมองค์การ ตลอดจนสามารถกาหนดอุ ดมการณ์ และแนวทางในการบริ หารพรรค และ ํ กาหนดนโยบายในการหาเสี ยงได้ตามความต้องการ20 ่ ่ ด้วยเหตุดงั กลาวพรรคการเมื องใหมตามความต้ องการของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรจึงได้เริ ม ดําเนินการให้เป็ นรู ปธรรมนับจากนี# 3.1.3 ก่อตั3งพรรคไทยรักไทย หลัง จากที ส ัง สมประสบการณ์ ท างการเมื องจากการเป็ นรั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงการ ่ ่ เ ป็ น ตางประเทศในสมั ย รั ฐ บาลนายชวน หลี ก ภั ย สมั ย แรกในโควตารั ฐ มนตรี ที ไ มได้ ่ สมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎรของพรรคพลังธรรม ผานการเป็ นส.ส. และเป็ นหัวหน้าพรรคพลังธรรม และเป็ นรองนายกรัฐมนตรี ในสมัยรัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา และรัฐบาลพล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ่ .ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นั# นกเป็ ็ นนักการเมืองที มีประสบการณ์ทางการเมืองมากคนหนึ ง กจั็ ดได้วาพ พรรคไทยรักไทยเป็ นพรรคที ถูกจัดตั# งขึ# นตามความต้องการของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร แต่ ่ จะถึงการจัดตั# งอยางเป็ ่ นทางการ(จดทะเบียนตั# งพรรค)นั# น พรรคไทยรักไทยได้เกดขึ ิ # นจาก กอนที 21 ั การรวมตัวกนของตั วแสดงหลายกลุ่มด้วยกนั ซึ งอาจจัดเป็ น2 ฝ่ ายที สําคัญ ได้ดงั นี# คือ ฝ่ ายแรก กลุ่ มทุนสื อสารและทุนอุตสาหกรรม และฝ่ ายที ส อง กลุ่ มคนเดื อนตุลา นักวิชาการ และองค์ก ร พัฒนาเอกชน ฝ่ ายแรก กลุ่มทุนสื อสารและทุนอุตสาหกรรม ่ อกนกอตั ั ่ # งพรรคไทยรักไทยของพ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตร กบกลุ ั ่มทุนขนาดใหญ่ การรวมมื ่ ่ ่ อกนเพื ั อสร้างความได้เปรี ยบ และเสริ มความแข็งแกรงให้ ่ แกพรรคเหนื ตางๆนั อ # น เป็ นการรวมมื ่ ่ งในแงของการเป็ ่ พรรคการเมืองอื นๆเป็ นอยางมากโดยเฉพาะอยางยิ นทุนในการใช้รณรงค์หาเสี ยง ่ ในชวงของการเลื อกตั# ง ่ ่ # งพรรคไทยรักไทยด้วยนั# น กลุ่มแรก ได้แก่ กลุ่มทุนของนาย กลุ่มทุนใหญที่ เข้ารวมกอตั ิ ประชา มาลีนนท์ ซึ งเป็ นกลุ่มทุนที ดาํ เนินธุ รกจทางด้ านการสื อสารมวลชน โดยมีบริ ษทั บีอีซีเวิลด์ 20

ั านาจทางเศรษฐกจิ : การศึกษาเชิงเศรษฐกจการเมื ิ ี ั บูฆอรี ยีหมะ, “นโยบายหาเสี ยงแนวประชานิยมกบอํ องเกยวกบ ความสําเร็ จในการเลือกตั# งของพรรคไทยรักไทย,” วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2547, หน้า 116-117. 21 เรื องเดียวกนั, หน้า 117-142.


51

ิ ่ ิ 2 กลุ่มหลัก จํากดั มหาชน เป็ น Holding company ที เข้าไปลงทุนในกจการตางๆโดยดํ าเนินธุ รกจใน ิ ิ ดหา ผลิตรายการและ ด้วยกนั คือ 1. กลุ่มธุ รกจการออกอากาศ และสื อโฆษณา และ 2. กลุ่มธุ รกจจั ่ จัดจําหนายรายการ ิ ษทั จัสมิน กลุ่มที สอง กลุ่มทุนของนายอดิศยั โพธารามิก ซึ งเป็ นกลุ่มทุนที ดาํ เนิ นธุ รกจบริ ั อินเตอร์ เนชัน แนล จํากดั (มหาชน) และบริ ษทั ทีทีแอนด์ที จํากดมหาชน โดยที บริ ษทั จัสมินฯ นั# น ิ ่ ใน 3 ประเภทด้วยกนคื ั อ 1. ธุ รกจสั ิ มปทานในการบริ การการสื อสาร เข้าไปลงทุนในธุ รกจตางๆ ิ ่ ิ นๆ เชน่ ธุ รกจอสั ิ งหาริ มทรัพย์ ขณะที โทรคมนาคม 2. ธุรกจการจํ าหนายและบริ การ และ 3. ธุรกจอื ั ิ บริ ษทั ทีทีแอนด์ที จํากดมหาชน นั# นดําเนินธุรกจการติ ดตั#ง และให้บริ การโทรศัพท์สาธารณะในเขต ่ ่ ภูมิภาค ให้บริ การวงจรเชาแบบดิ จิตอลความเร็ วสู งเพื อเชื อมโยงระบบสื อสารข้อมูล และจําหนาย อุปกรณ์โทรศัพท์ ิ ี ั กลุ่มที สาม กลุ่มทุนของนายสุ ริยะ จึงรุ่ งเรื องกจิ ซึ งเป็ นกลุ่มทุนที ดาํ เนินธุ รกจเกยวกบการ ่ ผลิตชิ#นสวนรถยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นหลัก กลุ่มที สี กลุ่มบริ ษทั ซี พี จํากดั ของนายธนิ นทร์ เจียรวนนท์ ซึ งเป็ นกลุ่มทุนขนาดยักษ์ที ่ ่ ่ ่ รกจอุ ิ ตสาหกรรมการเกษตร ที ดาํ เนิ นการภายใต้บริ ษทั ครองสวนแบงทางการตลาดสวนใหญในธุ แมคื่ อ บริ ษทั เจริ ญโภคภัณฑ์ อาหารจํากดั มหาชน นอกจากนี# ยงั ได้มีการขยายตัวไปยังอุตสาหกรรม ิ อสารโทรคมนาคม กบบริ ั ษทั เทเลคอมเอเชีย จํากดั เป็ นต้น อื นๆอีก อาทิ ธุรกจสื ่ ่มทุนขนาดใหญดั่ งกลาวข้ ่ างต้น กลุ่มคนอีกสวนหนึ ่ นอกเหนือจากการเข้ารวมของกลุ งซึ ง ่ ั ่ ั ่ จัด ได้ว่ ามี ค วามสํ า คัญ เชนกนในการรวมกนรางแนวคิ ด นโยบาย และทํา ให้ เ ป็ นที รู้ จ ัก ตอ่ สาธารณชน ได้แก่ กลุ่มคนเดือนตุลา นักวิชาการ และองค์กรพัฒนาเอกชน ฝ่ ายทีส อง กลุ่มคนเดือนตุลา นักวิชาการ และองค์กรพัฒนาเอกชน ความสําคัญของคนในกลุ่มนี# คือ การที พรรคไทยรักไทยจะได้ประโยชน์จากความสัมพันธ์ ่ หรื อระดับรากหญ้าทัว ประเทศ และอาศัยประโยชน์จาก ของคนกลุ่มนี# ที มีต่อประชาชนในระดับลาง ่ การดึงแนวรวมการสนั บสนุนจากกลุ่มนักวิชาการ และกลุ่มคนชั# นกลางได้อีกด้วย ่ # งพรรคไทยรั กไทยที สํา คัญๆ ได้แก่ นายภมิู ธรรม ่ บุค คลที ไ ด้เข้ามี ส่ วนรวมในการกอตั เวชยชัย ซึ งเคยเป็ นผูก้ ่อตั# งโครงการอาสาสมัครเพื อสังคม (คอส.) และเป็ นแกนนําสําคัญขององค์กร ่ ่ ั พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรมากอนแล้ พัฒนา (เอ็นจีโอ) ทัว ประเทศ นอกจากนี# เขายังได้เคยรวมงานกบ ว ่ วเมื อครั# ง ที พ .ต.ท.ทัก ษิ ณ ดํา รงตํา แหนงรั ่ ฐมนตรี ว่าการกระทรวงการ ในฐานะที ป รึ กษาสวนตั ่ ตางประเทศ เมื อปี 2537 นายภูมิธรรม เวชยชัย เป็ นผูห้ นึ งที มีบทบาทสําคัญในการวางนโยบายของพรรค และทํา ่ อระหวางพรรคไทยรั ่ ั นจีโอตางๆเพื ่ การประสานความรวมมื กไทย กบเอ็ อระดมความคิดเห็นในเวที ั ่มตางๆทั ่ ว ประเทศในชวงการแนะนํ ่ สัมมนา และพบปะพูดคุยกบประชาชนกลุ าตัวของพรรคไทยรัก ไทย


52

่ คนตอมาคื อ น.พ.พรหมิน ทร์ เลิศ สริุ ย์ เดช ผูเ้ คยเป็ นหนึ ง ในแกนนํา นัก ศึ ก ษาที มี ส่ วน ่ ่ ่ ้กบั เคลื อนไหวทางการเมืองในชวงเหตุ การณ์ 6 ตุลาคม 2519 ภายหลังเหตุการณ์ได้เข้ารวมตอสู ่ พรรคคอมมิวนิสต์แหงประเทศไทยในแถบเทื อกเขาพนมดงรัก เมื อเหตุการณ์ทางการเมืองสงบได้ ่ ั ่มชินวัตร กลับมาเรี ยนตอ่ และรับรับราชการแถบภาคอีสาน จากนั# นจึงได้มีโอกาสเข้ารวมงานกบกลุ ่ จ้ ดั การอาวุโสพัฒนาธุ รกจิ บริ ษทั อินเตอร์ เนชันแนล บรอดคาสติ#ง คอร์ ในปี 2536 ในตําแหนงผู ่ ดท้า ยคือเป็ นกรรมการ ปอเรชั น จํากดั (มหาชน) หรื อ ไอบีซี ผูใ้ ห้บ ริ การเคเบิลที วี มี ตาํ แหนงสุ ่ ่ ่ ผูจ้ ดั การบริ ษทั ซี เอส.คอมมิวนิเคชัน จํากดั จากนั# นจึงได้มารวมงานสํ าคัญในการรวมรางนโยบาย ของพรรคไทยรักไทย ่ กบุคคลหนึ งที มีความสําคัญมากเชนกนคื ่ ั อ ดร.สมคิด จาตศรี สวนอี ุ พิทักษ์ อดี ตอาจารย์ ประจําคณะบริ หารธุรกจิ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ (นิดา้ ) ซึ งมีความรู ้ ความสามารถ และ ความถนัดทางด้านการตลาด ดร.สมคิดได้ใช้ความสามารถที มีอยูค่ ิดค้นเทคนิคทางการตลาดที จะทํา ิ ่ เป็ นที รู้จกั และนําไปสู่ การตัดสิ นใจเลือกใน ให้พรรคไทยรักไทยซึ งเป็ นพรรคการเมืองเกดใหมได้ วันเลือกตั# งให้ได้ ั .ต.ท.ทักษิณ เนื องจาก ดร.สมคิด จัดได้ว่าเป็ นอีกบุคคลหนึ งที มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกบพ ่ ฐมนตรี ว่าการกระทรวงการ ่ ั ่ อครั# ง ที พ .ต.ท.ทัก ษิณ ดํารงตํา แหนงรั ได้เคยรวมงานกนมาตั # ง แตเมื ่ ตางประเทศ และเป็ นรองนายกรัฐมนตรี แล้ว โดยดร.สมคิด ทําหน้าที เป็ นที ปรึ กษาให้แกพ่.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรมาตั# งแตนั่ # น ่ ่ นอกจากนี# บุคคลอีกผูห้ นึ งที มีบทบาทในการรวมรางนโยบายของพรรคไทยรั กไทยมาตั# ง เ ริ ม แ ร ก คื อ ด ร . ธี ร ภั ท ร เ ส รี รั ง ส ร ร ค์ 22 อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จํ า ส า ข า วิ ช า รั ฐ ศ า ส ต ร์ ่ มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช ดร.ธี รภัทร เป็ นนักวิชาการที พ.ต.ท.ทักษิณ ได้เชิญให้เข้ารวมใน ี ั ่ การวางแผนเกยวกบการตั # งพรรคตั# งแตต้่ น และเป็ นผูร้ ่ างข้อบังคับพรรคไทยรักไทย รางนโยบาย และเจตนารมณ์ของพรรคในยุคแรกเริ มอีกด้วย ่ # งพรรคเป็ นอยางดี ่ กอปรกบการมี ั เมื อมีการวางแผนการในการกอตั บุคคลที ช่วยงานในด้าน ่ ็ อ การจัดตั# งพรรค การวางนโยบาย และการสร้างชื อให้เป็ นที รู้จกั เพียบพร้อมดีแล้ว ขั#นตอนตอไปกคื ่ นทางการด้วยการจดทะเบียนตอ่ สํานักงานคณะกรรมการการเลือกตั# ง ซึ งในขั# นแรกของการ อยางเป็ ่ # งพรรคนั# นมีผกู ้ ่อตั# งในคราวนั# นด้วยกนั 23 คน23 ดังตอไปนี ่ จดทะเบียนกอตั # พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร, ดร.สมคิด จาตุศรี พิทกั ษ์, ร.ต.อ.ปุระชัย เปี ยมสมบูรณ์, พล.อ. ธรรมรั กษ์ อิศรางกูร ณ อยุธ ยา, ดร.สิ ริก ร (ลี นุตพงษ์)มณี รินทร์ , นายพันศักดิ| วิญญรัตน์, นาย สุ ธ รรม แสงประทุ ม , ดร.ประชา คุ ณ ะเกษม, ดร.สุ วรรณ วลัย เสถี ย ร, นายพันธ์ เลิ ศ ใบหยก, 22

่ มา: ดู เพิ มเติม “ธีรภัทร์ เสรี รังสรรค์ จากผูก้ ่อตั# ง ทรท. สู่'รัฐบาลพังแน่!” [Online]. แหลงที http://www.thaipost.net/index.asp?bk=tabloid&post_date=10/Jul/2548&news_id=109732&cat_id=220100 [2 เมษายน 2549] 23 http://www.thairakthai.or.th [2 เมษายน 2549]


53

ั ร์ ศุภมงคล, นางสาวปภัสรา ตรังคิณีนาถ, ดร.วีระชัย วีระเมธี กุล, น.พ.ประจวบ อึ# ง ดร.กนตธี ิ ลิ มสกุล, ศ.ดร.คณิ ต ณ นคร, ดร.สําราญ ภูอนันตา ภากรณ์, ดร.ธี รภัทร เสรี รังสรรค์, ดร.กตติ นนท์, รศ.วิริยะ นามศิริพงศ์พนั ธุ์, ดร.การุ ญ จันทรางศุ, นายประสิ ทธิ| มะหะหมัด, คุณภูวนิดา คุณ ผลิน และนายณรงค์ ปัทมะเสวี ็ ถือกาเนิ ํ ดขึ# นในสังคมการเมืองไทยอยางเป็ ่ นทางการเมื อวันที ในที สุดพรรคไทยรักไทยกได้ 14 กรกฎาคม 2541 เป็ นต้นมา ซึ ง ณ จุดนี# เองถือเป็ นจุดเริ มต้นของการพยายามที จะครองอํานาจรัฐ ้ ่ ให้ได้ดว้ ยการชนะเลือกตั# งตามครรลองประชาธิ ปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญใหม่ จังหวะกาวตอจากนี # ิ # นให้ได้ต่อไป ของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรคไทยรักไทย คือ จัดตั# งรัฐบาลทักษิณให้เกดขึ 3.2 ความเป็ นมาและการก่อตัวของรัฐบาลทักษิณ 3.2.1 ชัยชนะในการเลือกตั3ง 6 มกราคม 2544 ่ นทางการไปแล้ว พ.ต.ท.ทักษิณ ชิ น หลังจากที ได้ทาํ การเปิ ดตัวพรรคไทยรักไทยอยางเป็ ็ เริ มต้นกระบวนการสู่ ความสําเร็ จ คือตั# งเป้ าหมายให้ได้รับชัยชนะในการเลือกตั# งทัว ไปใน วัตร กได้ ่ # อาจจําแนกได้เป็ นหลายประการ วันที 6 มกราคม 2544 ซึ งกระบวนการสู่ ความสําเร็ จดังกลาวนี ่ ั แก่ ประการแรก ดึงอดีตส.ส.ที มีฐานเสี ยงอยูแ่ ล้วมาเข้ารวมพรรค ประการที สอง นําเสนอ ด้วยกนได้ ่ ่ ้วิก ฤติ ช าติ และนํา เสนอนโยบาย และ อีก ประการหนึ ง คื อ การจัดวาง แนวทางเรงดวนในการกู ่ ภาพลักษณ์ใหมของพรรค และตัวผูน้ าํ ่ ประการแรก ดึงอดีตส.ส.ที มีฐานเสี ยงอยูแ่ ล้วมาเข้ารวมพรร ค ่ # งพรรคไทยรักไทยนั# น พ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตรได้มุ่งหมายที จะ ในระยะแรกของการกอตั สร้างพรรคไทยรักไทยให้เป็ นพรรคการเมืองที สมบูรณ์แบบทั# งด้านการมีอุดมการณ์ในทางการเมือง ่ ที ชดั เจน และมีการบริ หารจัดการแบบมืออาชี พ เพื อให้เป็ นพรรคของมหาชน และโดยเฉพาะอยาง ่ ยิ งให้เป็ นพรรคของคนรุ่ นใหมโดยแท้ จริ ง24 ดังเห็นได้จากการดึ งบุคคลที มีความรู ้ ความสามารถ ่ ่ ดตั# ง และรางนโยบายของพรรค ่ และเป็ นบุคคลหน้าใหมทางการเมื องมารวมจั อาทิ ดร.คณิ ต ณ นคร, ร.ต.อ.ปุระชัย เปี ยมสมบูรณ์, นพ.เกษม วัฒนชัย, นพ.สุ รพงศ์ สื บวงศ์ลี ตลอดจนนักวิชาการ และ อดีตข้าราชการคุณภาพอีกจํานวนมาก ่ # งนี# พ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตร กกลั ็ บตัดสิ นใจเลือกที จะสร้างพรรคไทยรักไทยให้เติบโต แตทั ่ ทางการเมืองอยางรวดเร็ วด้วยการดึงอดีตนักการเมือง อดีตสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรที มีฐานเสี ยงดี 24

์ กาญจน์มุนี ศรี วิศาลภาพ และณรงค์ชยั ปัญญานนทชัย, ทักษิณบนบัลลังกนายกรั ฐมนตรี , หน้า 22-23. และ บท ่ มา: สัมภาษณ์ ธีรภัทร เสรี รังสรรค์ “ธีรภัทร์ เสรี รังสรรค์ จากผูก้ ่อตั# ง ทรท. สู่'รัฐบาลพังแน่!” [Online]. แหลงที http://www.thaipost.net/index.asp?bk=tabloid&post_date=10/Jul/2548&news_id=109732&cat_id=220100 [2 เมษายน 2549]


54

่ นสมาชิ กพรรคเพื อหวังผลชนะในการเลือกตั# งที จะมาถึง เนื องจากถ้าหากวาจะ ่ อยูแ่ ล้วมาเข้ารวมเป็ สร้ า งพรรคไทยรั ก ไทยให้เติ บ โตตามอุ ดมการณ์ ที อ้า งไว้ต# งั แตต้่ น และสร้ า งให้เป็ นพรรคของ ่ จริ งนั# นจะต้องอาศัยเวลา และประสบการณ์ทางการเมืองสักระยะหนึ งจึงจะมี มวลชนได้อยางแท้ ่ # ง นี# ด้วยการมี โลกทัศ น์แ บบนัก ธุ รกจิ และประสบการณ์ จากการ โอกาสทํา ตามที ต# งั ใจได้ แตทั ิ บริ หารธุ รกจของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เขาจึงเลือกที จะประสบผลสําเร็ จตามเป้ าหมายสุ ดท้าย คือ ่ # น โดยไมอาศั ่ ยวาวิ ่ ธีการที จะใช้ในไปสู่ ความสําเร็ จนั# นคือวิธีการ ได้รับชัยชนะในการเลือกตั# งเทานั ็ ยนแปลงไปนับจากนี# ใด ด้วยเหตุน# ีแนวทาง และอุดมการณ์ของพรรคไทยกเปลี ่ า ไปสู่ ชัย ชนะในการ เมื อพ.ต.ท.ทัก ษิ ณ ชิ นวัตรเลื อกที จะอาศัย ฐานเสี ย งของส.ส.เกานํ ็ เ ริ ม ดํา เนิ น การดึ ง อดี ต ส .ส. และนัก การเมื อ งเข้า สู่ พ รรคไทยรั ก ไทยทัน ที ซึ ง เลื อ กตั# ง เขากได้ ้ าสู่ พรรคไทยรักไทย คือ กลุ่มวังนํ# าเย็นซึ งนําโดยนายเสนาะ เทีย นักการเมืองกลุ่มใหญที่ สุดที กาวเข้ ั ทอง ซึ งมีส.ส.อยูใ่ นสังกดประมาณ 60-70 คน นอกจากนี# ก็มีกลุ่มของนายสมศักดิ| เทพสุ ทิน จากการอุปถัมภ์ของนายสุ ริยะ จึงรุ่ งเรื องกจิ ิ งคม มีส.ส.ในสังกดั 25-30 คน ซึ งแยกตัวมาจากพรรคกจสั ิ ซึ งสละตําแหนงหั ่ วหน้าพรรคกจสั ิ งคม และยอมแยกตัวจากพรรค กลุ่มนายสุ วทิ ย์ คุณกตติ มีสมาชิกในกลุ่มประมาณ 15 คน ่ ่ วเป็ นส.ส.ในเขตกรุ งเทพมหานครและกลุ่ม กลุ่มนางสุ ดารัตน์ เกยุราพันธ์ ซึ งสวนใหญแล้ ั ่มใดประมาณ 20 คน อดีตส.ส.ที ไมสั่ งกดกลุ ่ เหลื อนั# นเป็ นกลุ่มของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตร ซึ งมีสมาชิ กมากที สุดประกอบด้วย สวนที ่ รวมประมาณ 130 คน กลุ่มผูก้ ่อตั# งพรรค นักวิชาการ อดีตข้าราชการ ส.ส.กรุ งเทพฯ และภาคตางๆ ่ ่ ั เมื อสามารถดึงอดีตส.ส.จากพรรคการเมือง และกลุ่มการเมืองตางๆมาเข้ ารวมกบพรรคไทย ่ รักไทยได้สาํ เร็ จกจั็ ดได้วาพรรคไทยรั กไทยมีความพร้อมในระดับหนึ งแล้วที จะบรรลุเป้ าหมายที ต# งั ํ ง ทุ น ที เ ข้ม แข็ง และมี ฐ านเสี ย งเพิ ม ขึ# น อยางมาก ่ ไว้ไ ด้เ นื อ งจากมี ค วามพร้ อ มทั# ง ในเรื อ งกาลั ่ ่ ่ แกพรรคไทยรั กระบวนการตอไปที จะสร้ างจุดเดน่ หรื อสร้ างความโดดเดนให้ กไทยให้มีเหนื อ ่ พรรคการเมืองอื นๆ กคื็ อ การมีนโยบายที โดดเดนเหนื อพรรคการเมืองคู่แขง่ และเป็ นที ถูกใจของ ประชาชนทัว ไปนัน เอง ่ ่ ้วิก ฤติ ช าติ และนํา เสนอทางเลื อ กเชิ ง ประการที ส อง นํา เสนอแนวทางเรงดวนในการกู นโยบายที เป็ นรู ปธรรม ่ สุดของพรรคไทยรัก ไทยในการสร้ างจุดเดนให้ ่ พ รรคมี เหนื อ สิ งที จดั ได้ว่าเป็ นจุดเดนที พรรคการเมืองอื นกคื็ อ การนําเสนอชุดของนโยบายที ชัดเจนและเป็ นรู ปธรรม ซึ งกระบวนการใน


55

การไปสู่ เป้ าหมาย คือชัยชนะในการเลือกตั# งในวันที 6 มกราคม 2544 นั# น พรรคไทยรักไทยได้ ่ ่ ่ 25 ดังตอไปนี ประกาศวาระเรงดวน # ั ่ นเวลา 3 ปี เพื อใช้เวลาดังกลาวฟื ่ # นฟู และจัด 1. พักชําระหนี# ให้กบเกษตรกรรายยอยเป็ ่ ่ โครงสร้างการผลิต โดยรัฐบาลจะแบกรับสวนตางของดอกเบี # ย หลังจากนั# นเกษตรกร จึงจะเริ มใช้หนี# ปกติ ่ 2. จัดตั# งกองทุนหมู่บา้ น หมู่บา้ นละ 1 ล้านบาท เพื อจัดให้มีกองทุนให้ความชวยเหลื อแก่ ชุมชนและหมู่บา้ น ให้ประชาชนกูย้ มื ไปประกอบอาชีพ สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ่ ่ เกดรายได้ ิ 3. ตั# งสถาบันบริ หารสิ นทรัพย์ หรื อเอเอ็มซี เพื อซื# อหนี# เสี ยที ไมกอให้ หรื อ NPL จากธนาคารพาณิ ชย์ไปบริ หารจัดการฟื# นฟูหนี# ั ข ภาพแหงชาติ ่ ่​่ 4. ตั# ง กองทุ น ประกนสุ จัดสรรเงิ นเพื อ ให้ป ระชาชนไมวารวยหรื อจน สามารถรับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐและเอกชนในอัตราครั# งละ 30 ่ นสมทบเข้ากองทุนวันละ 3.50 บาท บาท โดยจายเงิ ิ พฒ 5. แปรรู ป รัฐวิส าหกจิ โดยการนํารั ฐวิสาหกจที ั นาเป็ นองค์กรมืออาชี พแล้วเข้าจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ่ และตั# งธนาคาร SMEs Bank เพื อสนับสนุ นการเติบโต 6. จัดตั# งกองทุนรวมทุนแหงชาติ ของผูป้ ระกอบการใหม่ ่ รกจรายยอย ้ ิ ่ 7. จัดตั# งธนาคารคนจน หรื อ People Bank เพื อสนับสนุนทุนกอนแรกแกธุ กูย้ ืมในอัตราดอกเบี# ยตํ า โดยไมต้่ องใช้หลักทรัพย์ค# าํ ประกนั แตมี่ บุคคลผูค้ # าํ ประกนั 8. จัดโครงการ “หนึ งตําบล หนึ งผลิตภัณฑ์” หรื อ OTOP (One Tambon One Product) พร้อมทั#งพัฒนาทักษะในการผลิตเพื อให้ชุมชนสามารถสร้างรายได้และพึ งตนเองได้ ้ ี ั ้ กฤติเศรษฐกจิ 11 ฉบับของรัฐบาลที แล้ว 9. แกไขปรั บปรุ งกฎหมายที เกยวกบการแกไขวิ ่ าว เป็ นต้น อาทิ กฎหมายล้มละลาย กฎหมายการประกอบอาชีพของคนตางด้ ั ่ ยบขาดกบผู ั บ้ ริ หารภาครัฐทุกระดับ 10. ประกาศสงครามกบคอร์ รัปชัน ดําเนินการอยางเฉี ่ ี องให้สามารถ ที คอร์ รัปชั น พร้ อมปรับกระบวนการยุติธรรมและหนวยงานที เกยวข้ ่ ดําเนินการเอาผิดได้อยางรวดเร็ ว เพื อให้เห็นผลทันตา สําหรับคณะรัฐมนตรี ในรัฐบาล ่ การทุจริ ตคอร์รัปชัน จะสั งปลดทันทีโดยไมต้่ องรอหลักฐาน หากพบวามี ่ ้ ขจัด ยาเสพติ ด โดยการรวมมื ่ อ กบประเทศเพื ั ่ อปราบปราม 11. ตอสู อนบ้า นเพื อรวมมื ่ ่ อง ยาเสพย์ติดบริ เวณชายแดนอยางตอเนื

25

Thai Rak Thai Party Policy (เอกสารประชาสัมพันธ์), pp.8-19.


56

่ ่ และชุ ดของนโยบายที มีความชัดเจน เป็ นรู ปธรรม และเป็ นที การนําเสนอวาระเรงดวน ่ กบพรรคไทย ั ถูกใจประชาชนโดยทัว ไป ของพรรคไทยรักไทยนี เองที เป็ นจุดสร้างความโดดเดนให้ ่ ่ ลมทลายในท้ ่ รักไทยอยางมาก และนําไปสู่ การตัดสิ นใจเลือกพรรคไทยรักไทยอยางถ ายที สุด ่ ในเวลาตอมาหลั งจากที พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรคไทยรักไทยได้รับชัยชนะจากการ ่ รวมถึงวาระเรงดวนที ่ ่ เลือกตั#งทัว ไป และจัดตั# งรัฐบาลทักษิณเข้าบริ หารประเทศแล้ว นโยบายตางๆ ็ ถูกนํามาปฏิบตั ิท# งั หมด นอกจากนั# นยังได้ต่อเติมนโยบายตางๆ ่ ได้ประกาศหาเสี ยงไว้ต# งั แตต้่ นกได้ ่ # งในแงของเนื ่ ่ อีกมากมายซึ งมีลกั ษณะโดดเดนทั # อหา และภาษาที ใช้ อาทิ โครงการเอื# ออาทรตางๆ ั ยเอื#ออาทร, คอมพิวเตอร์เอื#ออาทร, แท็กซี เอื# ออาทร และอื นๆ อาทิ โครงการบ้านเอื#ออาทร, ประกนภั ่ จํานวนมาก ซึ งเป็ นนโยบายที ได้รับการตอบรับจากประชาชนเป็ นอยางมาก นโยบายที ดึงดูดความ สนใจ นอกจากนั# นสิ งสําคัญอีกสิ งหนึ งที รัฐบาลทักษิณได้ดาํ เนิ นการตามที ประกาศไว้ก็คือ การ ั ่ ประกาศสงครามกบความยากจน , การคอร์รัปชัน และยาเสพติด26 ซึ งเป็ นที พอใจของประชาชนสวน ่ นอยางมาก ่ ใหญเป็ ่ ่ ไ ด้ โดยเฉพาะ นโยบายประชานิ ย มจํา นวนมากสามารถซื# อ ใจ ประชาชนสวนใหญไว้ ่ งหวัด ผูว้ จิ ยั มองวานโยบายประชานิ ่ ประชาชนระดับรากหญ้าในตางจั ยม ของรัฐบาลทักษิณนั# นเป็ น ิ # นเหนื อสังคมการเมืองไทย ใน กลไกหนึ งของความพยายามสร้างภาวะการครองอํานาจนําให้เกดขึ ่ พ#ืนเพื อลําดับความสําคัญของเหตุการณ์เทานั ่ # น ในสวนการอธิ ่ ที น# ีเป็ นการกลาวปู บาย และวิเคราะห์ ่ ่ การทํางานของกลไกเชิงนโยบายประชานิยมดังกลาวจะอยู ใ่ นสวนของเนื # อหาในบทถัดไป ่ ประการทีส าม คือ การจัดวางภาพลักษณ์ใหมของตั วผูน้ าํ และพรรคไทยรักไทย ่ ยสุ โขทัยเป็ นต้นมาได้ปลูกฝังวัฒนธรรมทาง ประวัติศาสตร์ ชาติไทยนับจากอดีตตั# งแตสมั 27 การเมืองแบบไพรฟ้่ า ที ประชาชนมีค วามตื นตัวทางการเมืองตํ า และมีระดับของการมีส่ วนรว่ ทางการเมื องตํ า อันเนื องมาจากประวัติศ าสตร์ก ารเมืองของไทยที เป็ นระบอบการปกครองแบ ราชาธิ ปไตย หรื อสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์ (Absolute Monarchy) ที อาํ นาจการเมือง การปกครอง ่ ยงผูเ้ ดียว สู งสุ ดอยูท่ ี พระมหากษัตริ ยแ์ ตเพี วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพรฟ้่ าได้ฝังรากลึ กในสังคมไทยเป็ นเวลาหลายร้อยปี และ ยังคงดํารงอยูแ่ ม้จะมีการเปลี ยนแปลงการปกครองเป็ นระบอบประชาธิ ปไตยในปี พ.ศ. 2475 เป็ น ่ งคงไมได้ ่ มีการพัฒนาไปสู่ วฒั นธรรมการเมือง ต้นมา แตวั่ ฒนธรรมทางการเมืองรู ปแบบดังกลาวยั ่ แบบประชาธิ ป ไตยมากนัก เนื องจากการปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยที แท้จริ ง นั# นยัง ไมเคย ิ # นในสังคมการเมืองไทยนัน เอง เกดขึ 26

่ Ibid., pp.20-40. และ ดูเพิม เติม คํากลาวของนายกรั ฐมนตรี ทกั ษิณ ชินวัตร ในการประชุมชี# แจงนโยบายของรัฐบาลแก่ ่ มา: http://www.thaigov.go.th/news/speech/thaksin/sp05mar44.htm [5 เมษายน 2549] ผูบ้ ริ หารระดับสูง [Online]. แหลงที 27 ทินพันธุ์ นาคะตะ, วิถีชีวิตไทย วัฒนธรรมทางการเมืองของคนรุ่ นใหม,่ (กรุ งเทพฯ: สหายบล็อกและการพิมพ์, 2546), หน้า 139-196.


57

่ ้เพื อ การเปลี ยนแปลงการปกครองเมื อวันที 24 มิถุนายน 2475 นั# นแม้จะมีมิติของการตอสู ่ เกดในภาพรวมก ิ ็เป็ นการเปลี ยนแปลง ความเสมอภาคและความเป็ นธรรมของคนบางกลุ่ม แตผลที ่ ย งรู ปแบบของสถาบันทางการเมืองการปกครองเทานั ่ # น แตข้่ อเท็จจริ ง ทางประวัติศาสตร์ แตเพี ภายหลังการเปลี ยนแปลงการปกครองเป็ นต้นมา สังคมไทยกลับมีการปกครองแบบอมาตยาธิ ปไตย ั ่มขุนนาง ข้าราชการเป็ นสวนใหญ ่ ่ สลับ (Bureaucratic Polity) ซึ งอํานาจในทางการเมืองตกอยูก่ บกลุ ั กบการปกครองแบบเผด็ จการอํานาจนิ ยมโดยรัฐบาลทหาร (Authoritarianism) ซึ งอํานาจในการ ั ่ #น ปกครองตกอยูก่ บคณะบุ คคลเพียงกลุ่มใดกลุ่มหนึ งเทานั ิ # นดังกลาวนั ่ # นได้เป็ นการสื บ ข้อเท็จจริ งทางประวัติศาสตร์ การเมืองการปกครองไทยที เกดขึ ่ อ สาน หรื อตอกยํ#าวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพรฟ้่ าให้ยงั คงดํารงอยูใ่ นสังคมไทยได้ต่อไป กลาวคื ่ ่ ผูค้ นจํานวนมากยังคงไมมี่ ความกระตือรื อร้น และไมอยากที จะเข้ามามีส่ วนรวมทางการเมื อง และ ั ่ #น ยึดติดกบการเป็ นไพรฟ้่ า28 (Subject) ที มีหน้าที เพียงทําตาม และเชื อฟังผูน้ าํ หรื อผูป้ กครองเทานั ่ ่ ด้วยลักษณะของวัฒนธรรมทางการเมืองในรู ปแบบดังกลาวสงผลให้ สังคมการเมืองไทย ั ญหาตางๆแทนประชาชนโดยไมต้ ่ ่ องอาศัย ยอมรับผูน้ าํ ที มีลกั ษณะเผด็จการ ผูพ้ ร้อมที จะจัดการกบปั ่ ่ ่ ่ มใจ ดังเห็นได้จากประวัติศาสตร์ การเมืองในชวง ่ การมีส่ วนรวมจากประชาชนแตอยางใดได้ อยางเต็ ิ # นมาของผูน้ าํ ลักษณะพอขุ ่ นอุปถัมภ์ แบบจอมพลสฤษดิ| ธนะรัชต์29 ปี พ.ศ. 2500 ซึ งมีการเกดขึ เป็ นต้น ่ กบฐานะการเป็ ั พ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตร เป็ นผูห้ นึ งที พยายามสร้ างความโดดเดนให้ นผูน้ าํ ่ ด ด้วยการพยายามนําเสนอภาพลักษณ์ของตนวาเป็ ่ นนักธุ รกจิ พรรคไทยรักไทยของตนเองให้เดนชั ที ประสบความสําเร็ จในด้านการบริ หาร จากประสบการณ์การบริ หารบริ ษทั ในเครื อชินวัตรจํานวน ่ มาก และเป็ นผูน้ าํ ที มีวสิ ัยทัศน์กว้างไกล มีความกล้าตัดสิ นใจ และตัดสิ นใจอยางรวดเร็ ว นอกจากนี# ่ ญหาที เกดขึ ิ # นในสังคมอยางองค์ ่ ้ ชัดเจน และ ยังมีมุมมองตอปั รวม และนําเสนอแนวทางแกไขที ่ .ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นั# นเป็ นผูท้ ี ประสบความสําเร็ จ ถูกใจประชาชน นอกจากนี# ยงั นําเสนอภาพวาพ ิ ่ ง มีฐานะทางเศรษฐกจที ิ ดีมากอยูแ่ ล้วจึงไมจํ่ าเป็ นจะต้องคอร์ รัปชันอีกหากได้เป็ น ทางธุรกจอยางสู ่ ่ ่ # ไมเคยมี ่ ผนู ้ าํ รัฐบาลในอดีตคนใดมีพร้อมเชนนี ่ # มากอน รัฐบาล ซึ งคุณลักษณะที โดดเดนเชนนี 28

่ ่ โดยเฉพาะอยางยิ ่ ง ชาวบ้านในชนบทนั# นจะมีลกั ษณะวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพรฟ้่ า แต่ แม้ประชาชนสวนใหญ ่ ่ # นทุกกลุ่ม เนื องจากในอดีตที ผานมากยั ่ ็ งพบวามี ่ ประชาชนอีกสวนหนึ ่ มิได้หมายความวาประชาชนทั งที ยงั มี # งหมดจะมีลกั ษณะเชนนั ่ ่ น ความกระตือรื อร้นตอประเด็ นปัญหาสําคัญของบ้านเมือง เชน่ บทบาทของนิ สิต นักศึกษา และประชาชนหลายๆกลุ่มในชวงต้ ่ านสงครามเวียดนาม และการตอต้ ่ านรัฐบาลเผด็จการทหาร ประชาชนสวนที ่ กระตือรื อร้นนี# เป็ นตัว พุทธศตวรรษที 2500 ในการตอต้ ่ เกดผลสะท้ ิ ่ ่ ่ ิ การณ์ 14 ตุลาคม 2516 โปรดดูเพิ มเติมใน กระทํา รวมถึงกอให้ อนที สาํ คัญตางๆโดยเฉพาะในชวงกอนเกดเหตุ ่ 14 ตุลาฯ, (กรุ งเทพฯ: ้ ี , และแล้วความเคลื อนไหวกปรากฏ ็ ประจักษ์ กองกรติ การเมืองวัฒนธรรมของนักศึกษาและปัญญาชนกอน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548) 29 ่ นอุปถัมภ์แบบเผด็จการ, แปลโดย พรรณี ฉัตรพลรักษ์ และคณะ, พิมพ์ ดูเพิ มเติม ทักษ์ เฉลิมเตียรณ, การเมืองระบบพอขุ ครั# งที 2 (กรุ งเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์)


58

ทั#งนี# ภายหลังจากที พรรคไทยรักไทยได้รับชัยชนะในการเลือกตั# งทัว ไปในปี 2544 และเข้า ั # นเป็ นต้นมา พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร กยิ็ งแสดงให้เห็น บริ หารประเทศในเดือนกุมภาพันธ์ ปี เดียวกนนั ่ ่ ่ ดยิ งขึ# น อาทิ การดําเนินการบริ หารประเทศไทย ถึงความโดดเดนในฐานะผู น้ าํ ของตนเองอยางเดนชั แบบบรรษัท โดยใช้ระบบ CEO (Chief Executive Officer) เป็ นหลักในการบริ หารและได้นาํ มาใช้ ั ว้ าราชการจั ่ ่ CEO) เป็ นต้น หรื อ การแสดงให้เห็นถึงความรวดเร็ ว กบผู งหวัดแบบบูรณาการ (ผูว้ าฯ ั ชา เมื อต้นปี 2546 เป็ นต้น และกล้าตัดสิ นใจในกรณี เผาสถานทูตไทยในประเทศกมพู นอกจากการจัดการภาพลักษณ์ของตัวผูน้ าํ หรื อตัวของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรเองให้มีความ ่ โดดเดนในฐานะที เป็ นนักบริ หารที มีฝีมือ ประสบความสําเร็ จในอาชีพ และเป็ นคนใจซื อมือสะอาด ั ็ นสิ งที สําคัญ ซึ งพรรคไทยรัก แล้วนั# น การจัดภาพลักษณ์ให้กบภาพรวมของพรรคไทยรั กไทยกเป็ ็ นาํ เสนอภาพลักษณ์ที โดดเดนของตนเชนกน ่ ่ ั อาทิเชน่ การเสนอแนวนโยบาย “คิดใหม่ ไทยเองกได้ ่ ทําใหม่ เพื อไทยทุกคน” ซึ งแสดงนัยยะถึงการเลนการเมื องแบบใหม่ที ต่างไปจากการเมืองในแบบ ่ รรคไทยรัก ฉบับเดิม โดยคิดใหม่ คือการแสดงให้เห็นถึงมุมมองที มีต่อการมองการเมืองไทยวาพ ไทยนั# นจะเป็ นพรรคการเมืองพันธุ์ใหมที่ นาํ ปั ญหามาเป็ นตัวตั# งและมุ่ง “ทําใหม่” คือการมุ่งเน้น ่ งจัง และเป็ นระบบโดยอาศัยการจัดการแบบมืออาชีพ เพื อ “ไทยทุกคน” เป็ นการ แกปั้ ญหาอยางจริ ่ ่ แสดงนัย ยะวาพรรคไทยรั ก ไทยนั# นเสนอภาพวาตนเป็ นพรรคของมวลชน ซึ ง เป็ นตัวแทนข อง ่ ่ ยมกนนั ั น เอง ประชาชนทุกระดับชั# นอยางเทาเที ่ เกดขึ ิ # นของตัวผูน้ าํ และพรรคไทยรักไทย การพยายามที จะทําการจัดวางภาพลักษณ์ใหมให้ ่ ดังกลาวมานี # เอง เป็ นอีกกระบวนการหนึ งที ช่ วยเป็ นแรงเสริ มให้ชื อพรรคไทยรักไทย และพ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรนั# นเป็ นที คุน้ หู และถูกใจประชาชนจํานวนมาก จนนําไปสู่ ชยั ชนะในการเลือกตั# งเมื อ ่ วของรัฐบาลทักษิณ วันที 6 มกราคม 2544 ได้ในที สุด ณ จุดนี# เองคือความเป็ นมาของการกอตั รัฐบาลเสี ยงข้างมาก และมีเสถียรภาพในการบริ หารประเทศมากที สุดในประวัติศาสตร์ 3.2.2 รัฐบาลทักษิณกับความพยายามสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา ่ ่ ภายหลังจากที ได้รับชัยชนะในการเลือกตั# งทัว ไปอยางถลมทลายเมื อวันที 6 มกราคม 2544 ่ ั พรรคไทยรักไทยได้เสี ยงมากถึง 248 เสี ยง จึงได้เป็ นแกนนําจัดตั# งรัฐบาลโดยรวมกบพรรคชาติ ไทย ่ จะมีการ และพรรคเสรี ธรรมจัดตั# งเป็ นรัฐบาลผสมจึงกลายเป็ นรัฐบาลที มีเสี ยงถึง 303 เสี ยง (กอนที ั ยุบรวมพรรคกบพรรคความหวั ง ใหม่ และพรรคชาติพ ฒ ั นา ) รัฐบาลทักษิณ จึงได้เริ ม เข้าบริ หาร ่ นทางการเมื อวันที 9 กุมภาพันธ์ 2544 เป็ นต้นมา ประเทศอยางเป็ รัฐบาลทักษิณได้เริ มดําเนิ นการบริ หารประเทศตามแนวนโยบายที ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา ่ ่ รวดเร็ ว และกล้าตัดสิ นใจของนายกรัฐมนตรี ทกั ษิณ ชิ น ด้วยรู ปแบบการบริ หารงานที คลองแคลว วัตร และภาพลักษณ์ที ดูเป็ นนักบริ หารผูเ้ สี ยสละตัวเองเข้ามารับภาระบริ หารประเทศ ทําให้ความ


59

่ ฐบาลทัก ษิ ณ นายกฯทักษิ ณ และพรรคไทยรั ก ไทยคอนข้ ่ า งดี โดยเฉพาะอยางยิ ่ ง ตาม นิ ย มตอรั ่ งหวัด ตางจั ตลอดระยะเวลา 5 ปี 30 ของการครองอํานาจในการบริ หารประเทศ รัฐบาลทักษิณได้มีความ ิ # นเหนื อสังคมและการเมืองไทยในหลายด้าน พยายามที จะสร้างภาวะการครองอํานาจนําให้เกดขึ ั แก่ ประการแรก ความพยายามที จะสร้างภาวะการครองอํานาจนําเหนือกระบวนการทาง ด้วยกนได้ ั านาจของฝ่ ายบริ หาร การเมืองแบบรัฐสภา ดังเห็นได้จากความพยายามสร้างความเข้มแข็งให้กบอํ ่ คื อ พรรคความเสรี ธ รรม พรรคความหวัง ใหม่ และ โดยวิธี ก ารยุบ รวมพรรคการเมื อ งตางๆ ั พรรคชาติพฒั นาเข้ากบพรรคไทยรั กไทย ด้วยจํานวนเสี ยงผูแ้ ทนในสภาที เบ็ดเสร็ จ และเป็ นขั# ว ่ # จึงทําให้รัฐบาลทักษิณสร้างภาวะการครองอํานาจนําให้เกดขึ ิ # นเหนือ อํานาจเดี ยวแบบเด็ดขาดเชนนี ่ วางใจนายกรัฐมนตรี และการอภิปรายและถอดถอน กระบวนการรัฐสภา เชน่ การอภิปรายไมไว้ รัฐมนตรี เป็ นรายบุคคลได้ ิ # นเหนือสังคมไทย อีกประการหนึ ง คือความพยายามสร้างภาวะการครองอํานาจนําให้เกดขึ ดังเห็ นได้จากความพยายามนํา เสนอทางเลื อกเชิ ง นโยบายแบบประชานิ ยมจํา นวนมาก ที ถู กใจ ่ ่ ่ ประชาชนสวนใหญในชนบทเป็ นอยางมาก และสร้างรู ปแบบการอุปถัมภ์แบบใหมขึ่ # นมา โดยการ ่ ่ ตัดทอนขั# นตอนสวนของการอุ ป ถัม ภ์แบบเดิ ม ในระดับ ท้องถิ น มาสู่ ก ารอุป ถัม ภ์แบบใหมโดย รัฐบาลทักษิณ และโดยนายกฯที ชื อทักษิณ ชิ นวัตร เพื อสร้างกระแสนิยม และความรัก ความชอบ ิ # นเหนือสังคมไทย และนอกจากการนําเสนอทางเลือกเชิ งนโยบายที โดดเดน่ และแตกตาง ่ ให้เกดขึ จากรัฐบาลอื นๆในอดีตแล้ว การจัดวางภาพลักษณ์ของตัวผูน้ าํ รัฐบาล หรื อนายกฯทักษิณ อาทิ การ ั ็ น จัดให้มีรายการนายกฯทักษิณคุยกบประชาชน การจัดทัวร์ นกขมิ#น คาราวานแกจ้ น ฯลฯ นั# นกเป็ ิ # นเหนือสังคมไทย กลไกที สาํ คัญอันหนึ งในการสร้างภาวะการครองอํานาจนําให้เกดขึ ี ั ทั# งนี# บทวิเคราะห์เกยวกบความพยายามสร้ างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณวา่ ่ เกดผลอยางไรตอสั ่ ผานทางกลไกใด ่ ิ ่ ่ งคม และการเมืองไทยนั# น มีการดําเนินการอยางไร และกอให้ จะได้นาํ เสนอในสองบทถัดจากนี# ต่อไป

30

่ 2544 จนถึงการประกาศยุบสภาโดยรัฐบาลทักษิณในตอนต้นปี 2549 ระหวางปี


60

3.3 สรปุ การนํา เสนอในบทนี# เ ป็ นการนํา ไปสู่ ก ารตอบคํา ถามหลัก ดัง ที ไ ด้ต# ัง ไว้ต# ัง แตต้่ น ดัง นี# ่ วจากปั จจัยหลักที ประการแรก คือ พรรคไทยรักไทย และรัฐบาลทักษิณมีความเป็ นมา และเริ มกอตั ่ สําคัญคือ ความต้องการที จะกลับมาเลนการเมื องอีกครั# ง ของพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชิ นวัตร ผูก้ ่ อตั# ง ่ ่ พรรคไทยรั ก ไทย ซึ งการตั# ง พรรคการเมื อ งใหมจะเป็ นการงายในการผลั ก ดัน ความคิ ด และ ่ ่ ่ ่ อุดมการณ์ รวมถึ งแนวนโยบายตางๆได้ ตางจากการเข้ ารวมเป็ นสมาชิ กพรรคการเมืองอื น สวน ปั จจัยที เสมือนเป็ นปั จจัยเสริ มที เอื# ออํานวยให้พรรคไทยรักไทย และรัฐบาลทักษิณมีความโดดเดน่ และเป็ นที สนใจของประชาชนคือ ปั จจัยเชิ งโครงสร้ างทางเศรษฐกจิ และการเมืองไทยภายหลัง ิ # งใหญในปี ่ 2540 และเป็ นชวงของการแสวงหาทางเลื ่ วิกฤติเศรษฐกจครั อกจากการเมืองแบบใหม่ ภายหลังการปฏิรูปการเมืองหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ฉบับประชาชน ปี 2540 ่ ่ บดันให้พรรคไทยรักไทย และโดยเฉพาะตัวพ.ต.ท.ทักษิณ ชิ น ปั จจัยเสริ มดังกลาวชวยขั ่ วัตร เองมีความโดดเดน่ ภายใต้แนวคิด “คิดใหม่ ทําใหม่” เป็ นอยางมาก และนําไปสู่ การตัดสิ นใจ ่ ่ เลือกพรรคไทยอยางถลมทลายในการเลื อกตั# งปี 2544 ในที สุด ่ อีกประการหนึ ง สิ งที เป็ นจุดเดนของพรรคไทยรั กไทย และรัฐบาลทักษิณ ที ช่ วยให้พรรค ่ ฐบาลทักษิณเป็ นอยางยิ ่ ง ไทยรักไทยได้รับชัยชนะในการเลือกตั# ง และเป็ นสิ งที สร้างความนิยมตอรั ่ ่ นอกจากนี# คือ การนําเสนอนโยบายที ชัดเจน เป็ นรู ปธรรม และเป็ นที ถูกใจประชาชนสวนใหญ ความรวดเร็ ว และกล้า ตัดสิ นใจ และสไตล์ก ารบริ ห ารประเทศแบบบริ ษ ทั เอกชนที เน้นความ ่ วของตัวนายกรัฐมนตรี ก็เป็ นจุดเดนสํ ่ าคัญที แตกตางจากรั ่ ่ # นเชิ ง คลองตั ฐบาลอื นๆในอดี ตอยางสิ ่ ญหาของ และนอกจากนั# น การจัดวางภาพลัก ษณ์ ใ ห้ก ับตัวผูน้ ํา ให้ดู มี ค วามใกล้ชิ ด และใสใจปั ็ นอีกจุดหนึ งที มีความโดดเดนอยางมากของรั ่ ่ ประชาชนเองกเป็ ฐบาลทักษิณอีกด้วย


บทที 4 รัฐบาลทักษิณกับการดําเนินการสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา : การใช้ กลไกการครองอํานาจนํา บทนี จะเป็ นการอธิบายการดําเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณด้วย กรอบแนวความคิดเรื$ องการครองอํานาจนํา โดยมีคําถามหลัก คือ เราสามารถอธิ บายการดําเนินการ สร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ ด้วยกรอบแนวความคิดเรื$ องการครองอํานาจนําได้ ่ อยางไร ่ ่ น 2 บทด้วยกนคื ั อ บทที$ 4 จะได้ การนําเสนอเพื$อตอบคําถามหลักดังกลาวได้ แบงเป็ ่ นําเสนอเพื$อสร้างคําอธิบายการดําเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณผานทาง กลไกการครองอํานาจนํา และในบทถัดไปจะได้นาํ เสนอคําอธิ บายการสร้างภาวะการครองอํานาจ ่ ่ นําผานทางกลไกรั ฐตอไป 4.1 กรอบความคิดในการอธิบายการดําเนินการสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา การอธิ บายการดําเนิ นการในการสร้างภาวะการครองอํานาจนําให้เกดิขึ นเหนือสังคมการ เมื องไทยของรั ฐบาลทัก ษิ ณ ในบทนี เชื$ อมโยงกบั แผนภาพที$ 11 โดยเริ$ มที$ ก ารมองวา่ “รั ฐบาล ทักษิณ” ในฐานะที$เป็ น “กลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนํา” (Hegemon) นั นได้ดาํ เนินการ ั ค้ นในสังคม เพื$อสร้าง “กลุ่มประวัติศาสตร์ ” ให้เกดขึ ิ น สร้าง “สงครามยึดพื นที$ทางความคิด” กบผู ่ จะดําเนิ นการ เหนื อพื นที$ทางสังคมทั งหมด โดยที$การทําสงครามยึดพื นที$ทางความคิดดังกลาวนี ่ งที$ก่อให้เกดการยอมรั ิ โดยอาศัย “กลไก” ตางๆทั บโดยดุษฎี และที$บงั คับด้วยอํานาจรัฐ การทํา สงครามยึดพื น ที$ ท างความคิ ดนี ถ้า กลุ่ ม ผูด้ ํา เนิ น การสร้ า งภาวะครองอํา นาจนํา ่ อสามารถสร้างภาวะการครองอํานาจนําขึ นได้สําเร็ จ ขณะเดียวกนถ้ ั าไม่ สามารถทําได้สาํ เร็ จ กลาวคื ่ รณ์ โดยจะเกดิ สามารถเอาชนะสงครามยึดพื นที$ทางความคิดได้ ภาวะการครองอํานาจนําจะไมสมบู ่ ่ ปั ญหาตางๆตามมา และจะเกดิ “การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนํา” (Counter Hegemony) ขึ นจาก กลุ่ม หรื อชนชั นผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนํากลุ่มใหมๆ่ ขึ นเสมอ

1

ดู แผนภาพที$ 1 แสดงกระบวนการสร้างภาวะการครองอํานาจนํา ในบทที$ 2


62

4.2 รปแบบในการอธิ บายกระบวนการสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา ู รู ปแบบในการอธิ บายการดําเนิ นการสร้างภาวะครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณจะแบง่ ่ วยกนได้ ั แก่ I) “รัฐบาลทักษิณ” ในฐานะที$เป็ น ลําดับของการอธิ บายปรากฏการณ์เป็ น 4 สวนด้ “กลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนํา” (Hegemon) นั นได้ดาํ เนินการสร้าง “สงครามยึดพื นที$ ั ค้ นในสังคม II) เพื$อสร้าง “กลุ่มประวัติศาสตร์ ” ให้เกดขึ ิ นเหนือพื นที$ทางสังคม ทางความคิด” กบผู ่ จะดําเนินการโดยอาศัย “กลไก” ตางๆ ่ ทั งหมด III) การทําสงครามยึดพื นที$ทางความคิดดังกลาวนี ิ ่ ทั งที$ก่อให้เกดการยอมรั บโดยดุ ษฎี และที$บงั คับด้วยอํานาจรัฐ และ IV) ถ้าไมสามารถเอาชนะ ่ รณ์ และจะเกดิ “การโต้ตอบตอ่ สงครามยึดพื นที$ทางความคิดได้ ภาวะการครองอํานาจนําจะไมสมบู การครองอํานาจนํา” (Counter Hegemony) ขึ นจากกลุ่ม หรื อชนชั นผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครอง อํานาจนํากลุ่มใหมๆ่ ขึ นเสมอ ในบทที$ 4 นี จะเป็ นการนําเสนอการดําเนิ นการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาล ่ $ I., II., และ III., โดยเน้นความสําคัญในสวนที ่ $ III. เป็ นหลัก สวนการอธิ ่ ทักษิณ ในสวนที บายใน ่ $ IV. นั นจะได้นาํ เสนอในบทที$ 5 ตอไป ่ สวนที 4.3 การดําเนินการสร้ างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ I. “รั ฐ บาลทั ก ษิ ณ ” ในฐานะที เ ป็ น “กลุ่ ม ผู้ด ํา เนิ น การสร้ างภาวะครองอํา นาจนํา ” (Hegemon) นั.นได้ ดาํ เนินการสร้ าง “สงครามยึดพืน. ที ทางความคิด” กับผู้คนในสังคม รัฐบาลทักษิณ ในฐานะที$ถูกมองเป็ น “กลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนํา” ภายใต้ กรอบแนวคิดในงานวิจยั ชิ นนี นั นได้มีการแสดงออกให้เห็ นถึ งการดําเนิ นการที$จะยึดกุมอํานาจ ่ ดเสร็ จสมบูรณ์ ทั งในด้านการเมือง ธุ รกจิ และชีวิตจิตใจของ เหนือสังคมการเมืองไทยให้ได้อยางเบ็ ิ น ผูค้ นในสังคม ซึ$ งการดําเนินการในการสร้าง “ภาวะการครองอํานาจนํา" (Hegemony) ให้เกดขึ เหนื อสังคมการเมืองไทยของรัฐบาลทักษิณนั น ตามกรอบแนวคิดของกรัมชีแล้วนั นเปรี ยบได้กบั “การทําสงคราม” ดังเห็นได้จากแนวความคิดเรื$ องสงครามขับเคลื$อน (War of Movement) และ สงครามยึดพืน. ที ทางความคิด (War of Position)2 โดยเขาได้อธิ บายวา่ การทําสงครามขับเคลื$อนนั นเป็ นการทําสงครามในทางยุทธวิธีทาง การทหาร การที$จะสามารถเอาชนะฝ่ ายศัตรู หรื อฝ่ ายตรงข้ามได้น นั จะต้องทําการบุกเพื$อยึดครอง ปั จจัยสําคัญของฝ่ ายตรงข้ามให้ได้ อาทิ การยึดเมืองหลวง หรื อสถานที$สําคัญเป็ นต้น แต่ในการ ิ นเหนือชนชั นอื$นๆ หรื อกลุ่มอื$นๆในสังคมนั น ดําเนินการเพื$อสร้างภาวะการครองอํานาจนําให้เกดขึ 2

Roger Simon, Gramsci’s Political Thought An Introduction, (London: Lawrence and Wishart, 1982), pp.27-28, 74-79.


63

่ ้เพื$อ ชนชั นหรื อกลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะสร้างภาวะการครองอํานาจนํานั นจะต้องดําเนินการตอสู ยึดกุม “พื นที$เชิงอุดมการณ์ ความคิด ความเชื$อ” ของผูค้ นเหนือพื นที$ “ประชาสังคม” ให้สาํ เร็ จ ่ ง หรื อยึดกุมความคิด ความเชื$อของคนเหนือพื นที$ประชาสังคมนี กรัม การดําเนินการชวงชิ ชีเรี ยกวา่ เป็ น “สงครามยึดพืน. ที ทางความคิด” ถ้าสามารถเอาชนะสงครามนี เหนือพื นที$ประชาสังคม ็ าเร็ จได้อยาง ่ สมบูรณ์ และมีความยัง$ ยืน ได้สาํ เร็ จ การสร้างภาวะการครองอํานาจนํากจะสํ ่ เมื$อเปรี ยบการดําเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนําเหนือทุกภาคสวนของสั งคมเป็ นได้ ่ ็ อ การทํารู ้จกั เป้ าหมายของสงครามวาเป็ ่ นใคร หรื อเป็ นพื นที$ใด ซึ$ งจาก ดัง$ สงครามขั นตอนตอไปกคื แนวคิดเรื$ องสงครามยึดพืน. ที ทางความคิ ด ของกรัมชี ได้ให้แนวคิดวา่ เป้ าหมายของการทําสงคราม ยึดพื นที$ทางความคิดนี คือ พื นที$ที$เรี ยกวา่ “ประชาสังคม” ซึ$ งเป็ นพื นที$หลักที$มีความสําคัญสู งสุ ด ่ นที$รองที$มีความสําคัญในระยะสั นมากกวาได้ ่ แกพื่ นที$ที$เรี ยกวา่ “สังคมการเมือง” ขณะที$ใน สวนพื ระยะยาวนั นพื นที$สังคมการเมืองจะมีความสําคัญน้อยกวา่ พื นที$ประชาสังคม การดําเนินการยึดกุม ให้ได้เหนือพื นที$ท งั สองเรี ยกวา่ “การสร้างกลุ่มประวัติศาสตร์” II. เพื อสร้ าง “กลุ่มประวัติศาสตร์ ” ให้ เกิดขึน. เหนือพืน. ที ทางสังคมทั.งหมด เนื$ องจากในงานวิจยั ชิ นนี เลือกใช้กรอบแนวความคิดเรื$ องการครองอํานาจนําของ กรัมชี ่ ความสําคัญตอ่ “โครงสร้างสังคม เป็ นกรอบความคิดหลักในการอธิบาย ซึ$งแนวความคิดดังกลาวให้ ่ ั สวนบน ”3 เป็ นหลักทั งนี เพราะเขาเป็ นนักมาร์ กซิ สต์คนแรกๆที$ใ ห้ค วามสําคัญกบโครงสร้ าง ่ ่ สวนบน (Super-Structure) ซึ$ งตางออกไปจากแนวคิ ดแบบมาร์ กซิ สต์ด งั เดิ มที$ใ ห้ความสําคัญกบั ่ ่ ํ โครงสร้ า งสวนลางในฐานะที $ เ ป็ นโครงสร้ า งหลัก ในการกาหนดความเป็ นไปของโครงสร้ า ง ่ สวนบน ดังนั นในงานวิจยั นี จึงเป็ นการอธิ บายการดําเนิ นการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของ ่ ่ รัฐบาลทักษิณจากมุมมองของการให้ความสําคัญตอโครงสร้ างสังคมสวนบนเป็ นหลัก ่ สําหรับกรัมชีน นั โครงสร้างสวนบนนั นเป็ นโครงสร้างสังคมที$มีความสําคัญ และสามารถ ิ ่ ่ ง คมในสวนรวมได้ ่ ่ ย วกนกบโครงสร้ ั ั ผลัก ดันให้เกดการเปลี $ ย นแปลง หรื อสงผลตอสั เชนเดี าง ่ ่ หรื อโครงสร้างทางเศรษฐกจิ 4 โครงสร้างสวนบนนี ่ ่ $เรี ยกวา่ “สังคม สวนลาง ประกอบด้วยสวนที การเมือง” และ “ประชาสังคม” ซึ$งเป็ นโครงสร้างของระบบความคิด ความเชื$อ อุดมการณ์ กฎหมาย ่ ่ วัฒนธรรม และอื$นๆที$ไมใชโครงสร้ างทางเศรษฐกจิ สัง คมการเมื อง และประชาสัง คม 5ตามแนวความคิ ดของกรั ม ชี น ี จดั เป็ นพื นที$ หนึ$ ง ของ ่ โครงสร้างสังคมสวนบน ซึ$งเป็ นพื นที$ของความสัมพันธ์ในเชิงระบบความคิด ความเชื$อ อุดมการณ์ 3

ดู รายละเอียดใน บทที$ 2 ั ่ วยการครองความเป็ นใหญ,่ ” ใน ปาจารยสาร 8 (6, 2525), หน้า 70-79. สุรพงษ์ ชัยนาม, “อันโตนิโยกรัมชีกบทฤษฎี วาด้ 5 Ibid., 67-79. และ Anne Showstack Sassoon, “A Gramsci Dictionary,” in Approaches to Gramsci, ed. Anne Showstack Sassoon, p.12. 4


64

่ ่ ิ กฎหมาย ศิลปะ วัฒนธรรม ซึ$ งไมใชความสั มพันธ์ทางการผลิตหรื อโครงสร้ างทางเศรษฐกจใน ่ ่ สังคมสวนลาง แนวความคิดเรื$ องประชาสังคม (Civil Society) นี กรัมชีได้นาํ มาจากความคิดของเฮเกล6 ่ ลกั ษณะ ของความสัมพันธ์ และความ (Hegel) ซึ$ งตามแนวคิดของเฮเกลนั น มอง ประชาสังคมวามี ่ อของเอกชนในลักษณะตางๆ ่ เชน่ ในเชิงธุ รกจการค้ ิ ่ อ รวมมื า (Commercial) ในเชิงของความรวมมื ของเอกชน (Corporation) และสมาคมการค้า (Trade association) เป็ นต้น ขณะที$กรัมชี ได้นาํ ่ แนวคิดของเฮเกลมาปรับใช้ โดยมองวาประชาสั งคมนั นมีลกั ษณะ ของการเป็ นโครงสร้างสังคม ่ ่ สวนบนที $ มี ค วามสํา คัญในเชิ ง อุ ดมการณ์ หรื อระบบความคิ ด ความเชื$ อ ผานทางตั ว การที$ เป็ น ่ ่ ่ ความคิด ความเชื$ อชุ ด สถาบัน และกลไกการครองอํานาจนําตางๆเพื $อสร้าง และสื บทอด/สงตอ ่ ่ ตางๆให้ แพรกระจายทั ว$ ไปในสังคม ่ ่ ดความคิด ความเชื$ อ สถาบันในพื นที$ประชาสังคม ซึ$ งทําหน้าที$ในการสร้ าง และสงตอชุ ตามที$กลุ่ม/ชนชั นผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะสร้างภาวะการครองอํานาจนําต้องการนั น ประกอบไปด้วย ่ ่ สถาบันตางๆในสั งคมที$เป็ นแหลงรวมของความสั มพันธ์ของผูค้ น ได้แก่ สถาบันครอบครัว สถาบัน ศาสนา สถาบันการศึกษา สื$ อมวลชน เป็ นต้น ่ จะทําหน้าที$ในการสร้าง ชุดอุดมการณ์หนึ$งๆขึ นมา ตามความต้องการของ สถาบันดังกลาว ่ กลุ่ ม/ชนชั นที$พยายามสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา และทําหน้าที$ส่ งตอ่ สื บทอด แพรกระจาย ่ วยในขณะเดียวกนั อุดมการณ์ดงั กลาวด้ ่ ่ ดมการณ์ดงั กลาวของสถาบั ่ ่ การทําหน้าที$เพื$อสร้างและสงตออุ นตางๆในประชาสั งคมนั น ่ $สาํ คัญคือ ปราศจากการใช้อาํ นาจบังคับ (Coercion) และการใช้กาลั ํ งบังคับในเชิง จะมีลกั ษณะเดนที ่ นการใช้อาํ นาจในลักษณะของการชักจูง โน้มนํา หรื อกลอมเกลาความรู ่ กายภาพ หากแตเป็ ้ ความคิด ่ เกดซึ ่ เกดิ ิ $ งความยินยอมพร้อมใจ (Consent) ของคนในสังคม และกอให้ ของผูค้ นเป็ นหลัก เพื$อกอให้ ั โลกทัศน์ที$เป็ นแบบเดี ยวกนตามความต้ องการของกลุ่ ม/ชนชั นผูด้ าํ เนิ นการสร้างภาวะการครอง อํานาจนํา ่ สังคมการเมือง (Political Society) นั น มีลกั ษณะที$แตกตางไปจากประชาสั ่ สวน งคม ่ อ ในขณะที$ความสัมพันธ์ของผูค้ นผานสถาบั ่ ่ กลาวคื นตางๆในประชาสั งคมนั นเป็ นลักษณะของการ ่ ปราศจากอํานาจบังคับ แตความสั มพันธ์ของผูค้ นในสังคมการเมืองนั นจะเป็ นลักษณะของการใช้ ่ ่ อาทิ การใช้กาลั ํ งของกองทัพ การบังคับใช้ อํานาจบังคับ ผานทางกลไกการใช้ อาํ นาจบังคับตางๆ ่ ดังนั นสถาบันหลักในสังคมการเมืองนี จึงประกอบไปด้วย สถาบันศาล กองทัพ กฎหมายฉบับตางๆ ตํารวจ รัฐบาล หรื อ องค์กรที$ใช้อาํ นาจรัฐอื$นๆ เป็ นต้น ่ การทําหน้าที$ของสถาบันตางๆในสั งคมการเมืองนั นอาศัยการใช้อาํ นาจบังคับ (Coercion) 6

Joseph V. Femia, Gramsci’s Political Thought Hegemony, Consciousness, and the Revolutionary Process, (Oxford: Clarendon Press, 1987), p. 26.


65

เป็ นหลักเพื$อให้ได้มาซึ$ งการครอบงํา (Dominant) ตามความต้องการของกลุ่ม/ชนชั นผูด้ าํ เนิ นการ สร้างภาวะการครองอํานาจนํา เหนือชนชั นอื$นๆในสังคม ซึ$ งตามแนวความคิดของกรัมชีน นั การใช้ อํานาจครอบงําด้วยการใช้อาํ นาจบังคับในพื นที$สังคมการเมืองนั นสามารถกระทําเพื$อหวังผลสําเร็ จ ่ ่ ่ ยงอยางเดี ่ ยวนั นจะทํา ในระยะสั นได้สาํ เร็ จอยางรวดเร็ ว แตในระยะยาวนั นการใช้อาํ นาจบังคับแตเพี ให้กลุ่ม/ชนชั นปกครองนั นมีอาํ นาจเหนือชนชั นอื$นได้ไมยั่ ง$ ยืน ดังนั นกรัมชีจึงได้เสนอวา่ กลุ่ม/ชนชั นปกครอง ผูต้ อ้ งการสร้างภาวะการครองอํานาจนําให้ ิ นได้อยางสมบู ่ เกดขึ รณ์ เหนื อสังคมใดๆนั นจะต้องพยายามยึดกุมพื นที$เหนื อ “ประชาสังคม” ให้ ่ วยการใช้กลไกการครองอํานาจนําตางๆ ่ เพื$อสร้างความยินยอมพร้อมใจ (Consent) ให้ สําเร็ จกอนด้ ิ นในสังคม ซึ$ งแม้จะต้องใช้เวลานานกวาการใช้ ่ ํ งบังคับแตกจํ ่ ็ าเป็ นต้องยึด เกดขึ อาํ นาจ หรื อกาลั ่ ั ประชาสังคมให้ได้ สวนการใช้ อาํ นาจบังคับนั นให้มีการใช้ควบคูก่ นไปตามสมควร ี$ ั กรัมชี ได้เสนอแนวคิดเรื$ อง กลุ่ มประวัติศาสตร์ (Historic Bloc)7 เพื$ออธิ บายเกยวกบ ่ ความสัมพันธ์ทางสังคม (Social Relation) ของกลุ่มตางๆที $อยูภ่ ายในโครงสร้างของสังคม โดย ่ อธิ บายวาในสั งคมทุนนิยมนั น ชนชั นนายทุน (Bourgeoisie) นั นจะพยายามครองอํานาจนําให้เกดิ ในพื นที$ของความสัมพันธ์ในการผลิต (Sphere of Production) ซึ$ งการครองอํานาจนําในพื นที$น ีแต่ ่ ิ ่ การพยายาม เพียงพื นที$เดียวนั น จะไมเกดการครองอํ านาจนําที$สมบูรณ์ (Absolute) ดังจะเห็นได้วามี ท้าทายชนชั นนายทุนจากกลุ่มชนชั นแรงงาน เชน่ จากสหภาพแรงงานอยูเ่ นืองๆ การสร้างภาวะการ ิ นจึงเป็ นการสร้างแนวรวมพั ่ นธมิตร (Alliance) ระหวางกลุ ่ ่มพลัง ครองอํานาจนําที$สมบูรณ์ให้เกดขึ ่ ่ ติเชิงเศรษฐกจเทานั ิ ่ น หรื อชนชั นตางๆเหนื อพื นที$ทางสังคมที$กว้างกวามิ ่ ่ ดเจนระหวางพื ่ นที$ภายใต้โครงสร้างสังคมสวนลางที ่ ่ $เป็ นความสัมพันธ์ การแบงแยกอยางชั ั ่ เชิงการผลิต กบโครงสร้ างสังคมสวนบนที $เป็ น ความสัมพันธ์เชิงอุดมการณ์ และอํานาจนั นโดยให้ ั ิ และโลกแบบวัตถุนิยมแตเพี ่ ยงอยางเดี ่ ยวนั นจึงไม่เป็ นการเพียงพอสําหรับ ความสําคัญกบเศรษฐกจ ่ ่มตางๆในสั ่ ่ จจัยในเชิงวัตถุ การอธิบายความสัมพันธ์ระหวางกลุ งคมที$มีความสลับซับซ้อนมากกวาปั 8 เนื$องจากในสังคมนั นยังมีพ ืนที$ของการเมือง อุดมการณ์ และความคิดจิตใจอยูด่ ว้ ย ดังนั นความคิดเรื$ องกลุ่มประวัติศาสตร์ สําหรับกรัมชีจึงถูกนํามาใช้เพื$ออธิ บายถึงการสร้าง ่ ่ สวนแรกคื ่ ภาวะการครองอํานาจอยางสมบู รณ์ดว้ ยการยึดครองโครงสร้างทางสังคมทั งสองสวน อ ่ ่ (Sub structure) ที$ให้ความสําคัญกับปรัชญาวัตถุนิยม โดยเฉพาะใน การยึดครองโครงสร้างสวนลาง ่ ่ เรื$ องเศรษฐกจิ เป็ นหลั ก ขณะที$ โ ครงสร้ า งสั ง คมอี ก สวนหนึ $ งคื อ โครงสร้ า งสวนบน (Super structure) ที$เป็ นพื นที$ของปั จจัยในเชิ งอุดมการณ์ ความคิด ความเชื$ อ ตลอดจนวัฒนธรรม หากสามารถผนวกการครองอํานาจนําเหนือความสัมพันธ์ทางสังคมในพื นที$ท งั สองของโครงสร้าง 7 8

Roger Simon, Gramsci’s Political Thought An Introduction, (London: Lawrence and Wishart, 1982), p. 26. Anne Showstack Sassoon, “A Gramsci Dictionary,” in Approaches to Gramsci, ed. Anne Showstack Sassoon, p.14.


66

่ ่ ิ น ซึ$ งเป็ นการ สังคมใดๆในชวงระยะเวลา หนึ$ งๆได้น นั เรี ยกวาการสร้ างกลุ่มประวัติศาสตร์ ให้เกดขึ ่ ิ นเหนือสังคมนั นๆนัน$ เอง สร้างภาวะการครองอํานาจนําได้อยางสมบู รณ์ให้เกดขึ ่ ่ ่ ่ ในสวนตอจากนี จะเป็ นการอธิ บายวา่ “รัฐบาลทักษิณ” ได้ใช้ “กลไก” ตางๆอยางไรในการ ดํา เนิ นการสร้ างภาวะครองอํานาจนํา ด้วยการสร้ า งกลุ่ มประวัติศ าสตร์ เหนื อโครงสร้ า งสัง คม ่ สวนบนทั งสองพื นที$ III. การทําสงครามยึดพืน. ที ทางความคิ ดดังกล่ าวนี . จะดําเนินการโดยอาศัย “กลไก” ต่ างๆ ทั.งที ก่อให้ เกิดการยอมรั บโดยดุษฎี และที บงั คับด้ วยอํานาจรั ฐ ในการทํา สงครามยึด พื นที$ ท างความคิ ด เพื$อสร้ า งกลุ่ ม ประวัติศ าสตร์ โ ดยการยึดพื น ที$ ่ ยวกบั ประชาสังคม และสังคมการเมืองนั นจะต้องอาศัย “เครื$ องมือ” หรื อ “กลไก” เป็ นอาวุธ เชนเดี การใช้อ าวุธ ยุท โธปกรณ์ ท างการทหาร เพื$อทํา สงครามขับ เคลื$ อน หรื อสงครามทางการทหาร ็ ยกลไกหลายประการ เป็ นเครื$ องมือในการยึดกุมจิตใจผูค้ นเหนือพื นที$ประชา รัฐบาลทักษิณเองกอาศั ั ็ ดกุมกลไกรัฐควบคู่กนไปอี ั สังคม ขณะเดียวกนกยึ กด้วย ่ ่ ี$ ั สวนตอจากนี $นาํ มาใช้ครองอํานาจนําของ จะได้นาํ เสนอถึงแนวคิดหลักเกยวกบกลไกที รัฐบาลทักษิณ 4.3.1 แนวความคิดกลไกหลักของการสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา ่ ” ของรัฐบาลทักษิณ เป็ นกลไกการครอง การจําแนกวา่ “สิ$ งใด” หรื อ “การกระทําเชนไร อํานาจนํา หรื อกลไกรัฐตามกรอบแนวคิดของกรัมชีน นั จะเริ$ มที$การพิจารณาแนวคิดเรื$ องกลไกทั ง ่ นลําดับแรก แล้วจึงจําแนกได้วา่ กลไกแตละชนิ ่ สองกอนเป็ ดประกอบด้วยอะไรบ้าง ่ แนวคิดเรื$ องกลไกการครองอํานาจนํา และกลไกการใช้อาํ นาจรัฐ หรื อกลไกรัฐ นับได้วามี ่ ง$ ตอกระบวนการสร้ ่ ิ นตามเป้ าหมายของกลุ่ม/ ความสําคัญอยางยิ างภาวะการครองอํานาจนําให้เกดขึ ชนชั นผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนํา ั แนวคิดเรื$ อง “กลไกการครองอํานาจนํา” นั น เปรี ยบได้กบการทํ าหน้าที$เป็ นสื$ อกลางเพื$อ ่ ่ ยม ชุดหนึ$งๆ ตามที$กลุ่มผูด้ าํ เนินการ ถายทอดอุ ดมการณ์ หรื อระบบความคิด ความรู ้ ความเชื$อ คานิ ่ เหนื อ “พื นที$ประชา สร้ า งภาวะครองอํา นาจนํา ต้องการ เพื$อสื$ อไปถึ งประชาชนในชนชั นตางๆ ิ ่ สังคม” เพื$อให้เกดความรู ้ สึก รวมในการเห็ นพ้องและยินยอมที$จะปฏิ บ ตั ิตาม (Consent) ความ ต้องการของชนชั นผูถ้ ่ายทอดอุดมการณ์ นอกจากนี กลไกการครองอํานาจนํายังทําหน้าที$รวมไปถึงการสร้างจิตสํานึก (Conscious) ่ ่ จาก ให้ชนชั นผูถ้ ูกครอบงํามีความรู ้สึกวาผลประโยชน์ ของชนชั นตนนั นได้รับการสนับสนุนอยางดี


67

ชนชั นปกครอง หรื อชนชั นผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนํา โดยที$ชนชั นผูถ้ ูกครอบงําไมรู่ ้สึก ่ ่ นของตนนั นถูกเอาเปรี ยบ หรื อขูดรี ดอยางไร ่ หรื อไมสามารถตระหนั กรู ้ได้วาชนชั ่ ว่าจะเป็ นสิ$ งใดกได้ ็ ที$ทาํ หน้าที$ในการถายทอด ่ กลไกการครองอํานาจนํานี กลาวได้ หรื อ ่ ่ ดความคิด9 จากด้านของกลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนําไปยังผูค้ นในสังคม ไม่ สงผานชุ ่ วาจะเป็ น พรรคการเมือง ปั ญญาชน นโยบายของพรรคการเมือง/รัฐบาล สื$ อมวลชนทุกประเภท สถาบันการศึกษา สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา การสร้างภาพ/การจัดการภาพลักษณ์ของฝ่ าย ผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะสร้างภาวะการครองอํานาจนํา เป็ นต้น ่ ขณะที$ “กลไกการใช้อาํ นาจรัฐ” นั น จะถูกใช้เหนือ “พื นที$สังคมการเมือง” โดยแตกตางจาก ่ เป็ นกลไกที$ใช้สื$อสารเพื$อสร้างชุดของอุดมการณ์ กลไกการครองอํานาจนําตรงที$ กลไกรัฐนั นไมได้ ่ ตามที$ชนชั นผูด้ าํ เนิ นการสร้างภาวะครองอํานาจนําต้องการ แตกลไกรั ฐนั นเป็ นกลไกที$ใช้อาํ นาจ ่ ่ บตั ิตามความต้องการของชนชั น บังคับ เพื$อบังคับให้ประชาชนของชนชั นตางๆปฏิ บตั ิ หรื อไมปฏิ ่ ปกครองหรื อผูด้ าํ เนินการสร้างการครองอํานาจนําโดยที$ทุกคนในสังคมนั นไมสามารถหลี กเลี$ยงได้ ็ กลไกการใช้อาํ นาจรัฐจึงได้แก่ สิ$ งใดๆกตามที $รัฐ หรื อผูค้ รองอํานาจนําสามารถนํามาใช้ ่ เหนื อผูค้ นในสังคมทุกชนชั นเพื$อให้บรรลุจุดมุ่งหมายตางๆตามต้ องการ กลไกลักษณะนี จะอาศัย ํ งของกองทัพ และตํารวจ เป็ นต้น อํานาจในการบังคับ เชน่ กฎหมาย การใช้อาํ นาจศาล การใช้กาลั ่ างต้น ผูวิ้ จยั จึงได้ จากแนวความคิดเรื$ องกลไกการครองอํานาจนํา และกลไกรัฐดังกลาวข้ ่ จําแนกกลไกตางๆที $รัฐบาลทักษิณได้นํามาใช้เป็ นเครื$ องมือหลักในการทําสงครามยึดพื นที$ทาง ่ ความคิด ตามมุมมองของผูว้ จิ ยั ได้ดงั ตอไปนี 4.3.2 กลไกต่ างๆทีร ัฐบาลทักษิณได้ นํามาใช้ ในการดําเนินการสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา ่ เพียงเป็ นการจําแนกกลไกการครองอํานาจนํา และกลไกรัฐที$รัฐบาล การนําเสนอในสวนนี ่ กลไกหลักอะไรบ้างที$ถูกนํามาใช้ ทักษิณได้นาํ มาใช้สร้างภาวะการครองอํานาจนําวามี

9

่ วนัส ปิ ยะกุลชัยเดช, “จากอุดมการณ์ที$ถูกวิพากษ์สู่การครองความเป็ นใหญ่: การครองความเป็ นใหญแบบกรั มชี$” ใน รัฐศาสตร์สาร, ธเนศ วงศ์ยานนาวา, บรรณาธิการ (กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550), หน้า 100-112.


68

กลไกการครองอํานาจนํา

กลไกรัฐ

1. กลไกนโยบาย - นโยบายเชิงเศรษฐกิจ - โครงการพักชําระหนี เกษตรกร 3 ปี และ การลดภาระหนี - โครงการหนึ$งตําบลหนึ$ งผลิตภัณฑ์ OTOP และธนาคารคนจน - ธนาคารประชาชน/ธนาคาร SMEs - จัดตั งกองทุนหมู่บา้ น หมู่บา้ นละ 1 ล้าน - นโยบายแปลงสิ นทรัพย์เป็ นทุน - นโยบายเชิงสั งคม ั ข ภาพถ้ว นหน้า “30 - โครงการประกนสุ รักษาทุกโรค” - โครงการบ้า น/คอมพิ ว เตอร์ / แท็ ก ซี$ เ อื อ อาทร และโครงการเอื ออาทรอื$นๆ ่ - การประกาศสงคราม 3 อยางของรั ฐบาล เพื$อเอาชนะ ความยากจน การทุจริ ต และ ยาเสพติดปราบปรามผูม้ ีอิทธิ พล - จัดระเบียบสังคม ้ ญ หาสั ง คมและความ - นโยบายแกไขปั ยากจนเชิงบูรณาการ (ลงทะเบียนคนจน) - นโยบายเหนือเมฆ SML - ปฏิรูปการศึกษา หนึ$งอําเภอ หนึ$ งโรงเรี ยน ในฝัน - Etc 2. การจัดการภาพลักษณ์ ของผ้ ูนํา (Leader’s image) - มีวสิ ั ยทัศน์ กว้ างไกล - แนวคิ ด แบบคิ ด ใหม่ ทํา ใหม่ / การเมื อ ง แบบสร้างสรรค์ - การบริ หารแบบบูรณาการ ่ ํ - คืนหนี IMF กอนกาหนด - APEC การประชุมสุ ดยอดผูน้ าํ กลุ่มความ

1. การเพิ มจํานวนที นั งในสภาผ้ ู แทนราษฎรเพื อ เลีย งการตรวจสอบ ่ ฐบาล - การดึงพรรคการเมืองอื$นมาเข้ารวมรั - การยุบรวมพรรค 2. ใช้ ความเข้ มแข็งให้ เป็ นประโยชน์ ในการผ่ านร่ าง กฎหมาย ่ ด ตรากฎหมายปฏิ รู ประบบ - การเรงรั ราชการ - แ ล ะ ก า ร ต ร า พ ร ะ ร า ช ก ํ า ห น ด ภ า ษี ิ สรรพสามิตกจการโทรคมนาคม

3. การแทรกแซงองค์ ก รที สัมพันธ์ กับอํานาจรั ฐ ต่ างๆ - อ ง ค์ ก ร อิ ส ร ะ ต า ม เ จ ต น า ร ม ณ์ ข อ ง รัฐธรรมนูญ 2540 - สื$ อมวลชน - ระบบราชการ และกองทัพ


69

-

่ อ ทางเศรษฐกจแหงภาคพื ิ ่ รวมมื น เอเชี ย แปซิ ฟิก 21 เขตเศรษฐกจิ รวมพลเต้นแอโรบิก มี ตั ว ตนเข้ าถึ ง ง่ า ย เรี ย บง่ า ย และเป็ น กันเอง ิ าวกบคนจน ั ภาพลักษณ์ติดดิน กนข้ ครม.สัญจร/ทัวร์นกขมิน /คํ$าไหนนอนนัน$ ้ คาราวานแกจน อาจสามารถโมเดล มีภาวะผ้ นู ําสงู ั ชา เผาสถานฑูตไทยในกมพู การจัดการโรคซาร์ส และไข้หวัดนก เพื อ เบี ย งเบนประเด็ น ความสนใจจาก สั งคม ใ ห้ ลู ก ส า ว ค น เ ล็ ก ทํ า ง า น พิ เ ศ ษ ที$ McDonalds ซื อสโมสรฟุตบอล ่ พับนกกระดาษ ปลอยภาคใต้ ิ ่ กนไกโชว์

่ ตารางที$ 1: แสดงกลไกตางๆที $รัฐบาลทักษิณได้นํามาใช้ในการดําเนิ นการสร้างภาวะการ ครองอํานาจนํา 4.3.3 การทําสงครามยึดพืนG ทีท างความคิดด้ วยกลไกการครองอํานาจนํา ผูว้ จิ ยั ได้จาํ แนกการอธิ บายการดําเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ ่ ผานทางกลไก การครองอํานาจนําออกเป็ น 2 กลไกหลักด้วยกนัได้แก่ 1. กลไกนโยบาย และ 2. กล การจัดการภาพลักษณ์ของผูน้ าํ


70

กลไกการครองอํานาจนํา กลไกการครองอํานาจนําที$รัฐบาลทักษิณได้นาํ มาใช้เป็ นกลไกหลักในการทําสงครามยึด ั แก่ 1. นโยบายที$มีลกั ษณะประชา พื นที$ทางความคิดนั นจําแนกได้เป็ น 2 ประเภทหลักด้วยกนได้ นิยมที$สาํ คัญ และ 2. การจัดการภาพลักษณ์ของผูน้ าํ ก. กลไกนโยบาย 1) นโยบายที นํามาใช้ ในการเลือกตัGงปี 2544 รัฐบาลทักษิณได้นาํ กลไกประเภทแรก คือ นโยบายที$นาํ มาใช้ในการเลือกตั งปี 2544 มาเริ$ ม ่​่ ่ ่ นทางการ นัน$ คือชวงของการหาเสี ่ ่ ใช้ต งั แตชวงกอนการครองอํ านาจรัฐอยางเป็ ยงเลือกตั ง ในชวงปี ่ 2543 กอนกา รเลือกตั งทัว$ ไปวันที$ 6 มกราคม 2544 ซึ$ งกลไกแรกสุ ดที$พรรคไทยรักไทยได้นาํ มาใช้ ่ ่ /วาระแหงชาติ ่ ”10 ซึ$ งมี ได้แก่ การประกาศแนวนโยบายของพรรคที$เรี ยกวา่ “ประกาศวาระเรงดวน ่ แนวทางดังตอไปนี ั ่ นเวลา 3 ปี เพื$อใช้เวลาดังกลาวฟื ่ นฟู และจัด 1. พักชําระหนี ให้กบเกษตรกรรายยอยเป็ ่ ่ โครงสร้างการผลิต โดยรัฐบาลจะแบกรับสวนตางของดอกเบี ย หลังจากนั นเกษตรกร จึงจะเริ$ มใช้หนี ปกติ ่ 2. จัดตั งกองทุนหมู่บา้ น หมู่บา้ นละ 1 ล้านบาท เพื$อจัดให้มีกองทุนให้ความชวยเหลื อแก่ ชุมชนและหมู่บา้ น ให้ประชาชนกูย้ มื ไปประกอบอาชีพ สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ่ ่ เกดรายได้ ิ 3. ตั งสถาบันบริ หารสิ นทรัพย์ หรื อเอเอ็มซี เพื$อซื อหนี เสี ยที$ไมกอให้ หรื อ NPL จากธนาคารพาณิ ชย์ไปบริ หารจัดการฟื นฟูหนี ั ข ภาพแหงชาติ ่ ่​่ 4. ตั ง กองทุ น ประกนสุ จัดสรรเงิ นเพื$อ ให้ป ระชาชนไมวารวยหรื อจน สามารถรับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐและเอกชนในอัตราครั งละ 30 ่ นสมทบเข้ากองทุนวันละ 3.50 บาท บาท โดยจายเงิ ิ $พฒ 5. แปรรู ป รัฐวิส าหกจิ โดยการนํารั ฐวิสาหกจที ั นาเป็ นองค์กรมืออาชี พแล้วเข้าจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ่ และตั งธนาคาร SMEs Bank เพื$อสนับสนุ นการเติบโต 6. จัดตั งกองทุนรวมทุนแหงชาติ ของผูป้ ระกอบการใหม่

10

Thai Rak Thai Party Policy (เอกสารประชาสัมพันธ์), pp.8-19.


71

่ รกจรายยอย ้ ิ ่ 7. จัดตั งธนาคารคนจน หรื อ People Bank เพื$อสนับสนุนทุนกอนแรกแกธุ กูย้ ืมในอัตราดอกเบี ยตํ$า โดยไมต้่ องใช้หลักทรัพย์ค าํ ประกนั แตมี่ บุคคลผูค้ าํ ประกนั 8. จัดโครงการ “หนึ$งตําบล หนึ$ งผลิตภัณฑ์” หรื อ OTOP (One Tambon One Product) พร้อมทั งพัฒนาทักษะในการผลิตเพื$อให้ชุมชนสามารถสร้างรายได้และพึ$งตนเองได้ ้ ี$ ั ้ กฤติเศรษฐกจิ 11 ฉบับของรัฐบาลที$แล้ว 9. แกไขปรั บปรุ งกฎหมายที$เกยวกบการแกไขวิ ่ าว เป็ นต้น อาทิ กฎหมายล้มละลาย กฎหมายการประกอบอาชีพของคนตางด้ ั ่ ยบขาดกบผู ั บ้ ริ หารภาครัฐทุกระดับ 10. ประกาศสงครามกบคอร์ รัปชัน ดําเนินการอยางเฉี ่ ี$ องให้สามารถ ที$คอร์ รัปชั$น พร้ อมปรับกระบวนการยุติธรรมและหนวยงานที $เกยวข้ ่ ดําเนินการเอาผิดได้อยางรวดเร็ ว เพื$อให้เห็นผลทันตา สําหรับคณะรัฐมนตรี ในรัฐบาล ่ การทุจริ ตคอร์รัปชัน จะสั$งปลดทันทีโดยไมต้่ องรอหลักฐาน หากพบวามี ่ ้ ขจัด ยาเสพติ ด โดยการรวมมื ่ อ กบประเทศเพื ั ่ อปราบปราม 11. ตอสู $ อนบ้า นเพื$ อรวมมื ่ ่ $อง ยาเสพย์ติดบริ เวณชายแดนอยางตอเนื ่ ่ /วาระแหงชาติ ่ กลไก “วาระเรงดวน ” นี เ ป็ นอาวุธ สํ า คัญ ในการสร้ า งคะแนนนิ ย มตอ่ ่ ประชาชนคนไทยดังเห็นได้จากการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนโดยสวนดุสิตโพล11 กอนการ ่ ่ ่ ง ร้อยละ 42.76 ให้ความนิ ยมชมชอบ เลือกตั งทัว$ ไปเป็ นเวลา 2 เดือน พบวาประชาช นสวนใหญถึ ่ น พรรคไทยรักไทยเป็ นอันดับหนึ$ง โดยที$พรรคประชาธิปัตย์ได้รับคะแนนนิยมร้อยละ 34.02 เทานั ่ ่ /วาระแหงชาติ ่ หลัง จากที$ ไ ด้ใ ช้ก ลไก “วาระเรงดวน ” เป็ นอาวุธ แรกในการเตรี ย มทํา สงครามยึดพื นที$ทางความคิดแล้ว พรรคไทยรักไทยยังอาศัยกลไกการครองอํานาจนําประเภทอื$นๆ ั ่ งในหัวข้อถัดไป ควบคูไ่ ปกบกลไกเชิ งนโยบายด้วย ซึ$งจะได้กลาวถึ ั จจัย จากการใช้กลไกเชิ งนโยบายควบคู่ไปกลไกการครองอํานาจนําชนิ ดอื$น กอปรกบปั เสริ มหลายประการ เชน่ กระแสการเบื$อการเมืองแบบเกา่ นักการเมืองหน้าเดิ ม หรื อการต้องการ ่ ่ ่ ่ ลองทางเลือกใหมของประชาชน สงผลให้ พรรคไทยรักไทยได้รับชัยชนะอยางถลมทลาย หลังจากที$ได้รับชัยชนะในการเลือกตั งทัว$ ไป พรรคไทยรักไทยในฐานะแกนนําเสี ยงข้าง ็ ให้กาเนิ ํ ด “รัฐบาลทักษิณ” ขึ นโดยมี พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร เป็ นนายกรัฐมนตรี คนที$ 23 มากกได้ ของประเทศไทย พร้อมกบัมีฝ่ายบริ หารประกอบด้วยรัฐมนตรี รวม 36 คน ่ นทางการนับตั งแตที่ $ได้แถลงนโยบายตอ่ รัฐบาลทักษิณได้เริ$ มต้นบริ หารประเทศอยางเป็ ่ ่ สภาผูแ้ ทนราษฎรเมื$อวันที$ 26 กุมภาพันธ์ 2544 โดยได้เริ$ มนํานโยบายตางๆที $ได้หาเสี ยงไว้ในชวง ่ ํ กอนการเลื อกตั งมากาหนดเป็ นนโยบาย และเริ$ มนําไปปฏิบตั ิ 11

่ ดู สวนดุสิตโพล “ความนิยม ตอ่ "พรรคการเมือง" และ "หัวหน้าพรรคการเมือง" ของผูม้ ีสิทธิ เลือกตั งทัว$ ประเทศกอน ่ $มา: http://dusitpoll.dusit.ac.th/2543/2543_077.html [15 มกราคม 2550] “ยุบสภา” [Online]. แหลงที


72

ตลอดระยะเวลา 4 ปี แรกของการครองอํานาจของรัฐบาลทักษิณ ในฐานะที$ถูกมองเป็ น “กลุ่ มผูด้ าํ เนิ นการสร้างภาวะครองอํานาจนํา” ภายใต้กรอบแนวคิดในงานวิจยั ชิ นนี นั นได้มีการ ่ ดเสร็ จ แสดงออกให้เห็นถึงการดําเนิ นการที$จะยึดกุมอํานาจเหนือสังคมการเมืองไทยให้ได้อยางเบ็ ่ ่ สมบูรณ์ ทั งในด้านการเมือง ธุ รกจิ และชี วิตจิตใจของผูค้ นในสังคมผานทางกลไกนโยบายตางๆ โดยผูว้ จิ ยั สามารถจําแนกได้เป็ น 2 ประเภทหลักคือ นโยบายเชิงเศรษฐกจิ และนโยบายเชิงสังคม 2) การกําหนดนโยบายในช่ วงของการครองอํานาจ - นโยบายเชิงเศรษฐกิจ ่ ิ ่ $ ภ าวะ สภาวะเศรษฐกจไทยกอนการเข้ า ค รองอํา นาจของรั ฐ บาลทัก ษิ ณ นั น เป็ นชวงที ิ งใหญในปี ่ 2540 ดังนั นประเด็นปั ญหา ิ $งจะเริ$ มฟื นตัว12 จากวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกจครั เศรษฐกจเพิ ิ งเป็ นประเด็นเรงดวนที ่ ่ $รัฐบาลทักษิณถูกตั งความหวังไว้จากประชาชนสวนใหญเป็ ่ ่ น เศรษฐกจจึ ่ ง อยางสู ิ นปัจจัยสําคัญอันดับแรกตอการดํ ่ ปัจจัยเรื$ องเศรษฐกจเป็ ารงชีพของประชาชนทุกคน ดังนั น ิ ความคาดหวังที$มีต่อการจัดการปั ญหาเศรษฐกจของรั ฐบาลทุกรัฐบาลจึงมีอยูใ่ นระดับสู ง และเป็ น ่ ่ หรื อไม่ รัฐบาลนั นจะต้องมี ปั จจัยชี วดั ได้ว่ารัฐบาลชุ ดนั นๆจะสามารถครองใจผูค้ นสวนใหญได้ ั ญหาทางเศรษฐกจอยางยิ ิ ่ ง$ ความสามารถในการจัดการกบปั ่ กลไกการครองอํานาจนําที$เป็ นนโยบายเชิงเศรษฐกจิ จึงเป็ นกลไกหลักที$มีความสําคัญอยาง ่ ั ค้ นสวนใหญ ่ ่ ด้วยเหตุน ีรัฐบาลทักษิณจึงได้มีการนําเสนอ และ ยิง$ ตอการสร้ างความพึงพอใจให้กบผู ิ บังคับใช้นโยบายเศรษฐกจในแบบฉบั บของตนเอง ที$ถูกขนานภายหลังวา่ “ทักษิโณมิกส์ ”13 หลาย นโยบายด้วยกนั ิ นโยบายเศรษฐกจแบบฉบั บ ของรั ฐบาลทัก ษิ ณ ในยุค แรกของการครองอํา นาจนั นเป็ น ิ ่ขนาน (Dual Track Policy) ในด้านหนึ$งคือมุ่งที$การกระตุน้ ลักษณะของการกระตุน้ เศรษฐกจแบบคู ิ ่ าใช้จ่ายเพราะความไมมั่ น$ ใจในระบบเศรษฐกจิ เศรษฐกจภายในที $ฝืดเคืองเพราะประชาชนยังไมกล้ ่ มการลงทุนของ ในด้านนี รัฐบาลทักษิณจึงเน้นการกระตุน้ การบริ โภคของประชาชน และสงเสริ 12

ิ กฤติเศรษฐกจมี ิ อตั รารายได้ประชากรเฉลี$ยตอหั ่ วอยูท่ ี$ 51,360 ขณะที$ในปี 2544 มีอตั รา ในปี 2540 ซึ$งเป็ นปี ที$เกดวิ ่ วอยูท่ ี$ 53,982 บาท และปี 2540 มีผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติเป็ นจํานวน 4,732,610 ล้านบาท ขณะที$ปี รายได้ประชากรเฉลี$ยตอหั 2544 นั นมีผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติเป็ นจํานวน 5,133,502 ล้านบาท ที$มา: รายได้ประชาชาติของประเทศไทย ฉบับพ.ศ. 2547 ่ $มา: http://www.nesdb.go.th/econSocial/macro/NAD/2_ni/ni_1997-2004/NI_1993-%202004.zip [16 มกราคม [Online]. แหลงที 2550] 13 Pasuk Phongpaichit and Chris Baker, Thaksin The Business of Politics in Thailand, (Chiangmai: Silkworm Books, 2004), pp.99-133.


73

่ งขนาดเล็ก และขนาดกลาง เพื$อให้เกดการหมุ ิ ่ ผูป้ ระกอบการรายยอยทั นเวียนของเงิน สงผลให้ เกดิ ่ สอยมากขึ นจนนําไปสู่ การหมุนเวียนของ การจ้างงานเพิ$มขึ น มีการบริ โภคมากขึ น และจับจายใช้ ิ นตัว กระแสเงิน ทําให้ระบบเศรษฐกจฟื ิ ่ ข นานนั น จะเน้ น ที$ ก ารลงทุ น ขณะที$ อี ก ด้า นหนึ$ งของแนวนโยบายเศรษฐกจแบบคู ่ ่ ั ่ ภาคอุตสาหกรรม และการสงออกขนาดใหญกบตางชาติ เป็ นหลัก และดําเนิ นแนวทางการบริ หาร ิ ่ ่ ดังเห็ นได้จากการทําข้อตกล งการค้าเสรี แบบทวิภาคี เศรษฐกจแบบเสรี นิย มใหมในเวลาตอมา ั (Free Trade Agreement; FTA) กบหลายๆประเทศ เชน่ จีน ออสเตรเลีย นิวซี แลนด์ สหรัฐอเมริ กา ิ $ สํ า คัญ เชน ่ การแปรรู ปการปิ โตรเลี ย มแหงประเทศไทย ่ และการแปรรู ปรั ฐ วิ ส าหกจที ่ การสื$ อสารแหงประเทศไทย ฯลฯ และความพยายามที$จะแปรรู ปการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิต (กฟผ.) เป็ นต้น ิ ด้านการกระตุ ้นเศรษฐกจภายในนั น รัฐบาลทักษิณ เลื อกใช้กลไกเพื$อครองใจผูค้ นด้วย นโยบาย โครงการพักชําระหนี เกษตรกร 3 ปี และการลดภาระหนี จัดตั งกองทุนหมู่บา้ น หมู่บา้ นละ 1 ล้าน ธนาคารคนจน/ธนาคารประชาชน ธนาคาร SMEs นโยบายแปลงสิ นทรัพย์เป็ นทุน โครงการ หนึ$งตําบลหนึ$งผลิตภัณฑ์ OTOP โครงการพักชําระหนีเ. กษตรกร 3 ปี และการลดภาระหนี . เป็ นนโยบายที$รัฐบาลทักษิณได้ นํา มาใช้เ ป็ นกลไกแรกๆในการครองใจเกษตรกรซึ$ งเป็ นฐานเสี ย งสํา คัญ ในชนบท 14 โดยได้ ่ ดําเนิ นการผานธนาคารเพื $อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธกส.) โดยให้เกษตรกรสามารถ ่ ยดอกเบี ย หรื อเลื อกลดภาระหนี โดยที$ในชวงพั ่ กชําระหนี น ัน เลื อกที$จะชําระหนี 3 ปี โดยไมเสี 15 ่ รัฐบาลได้เข้าไปชวยเกษตรกรในการปรั บโครงสร้างหนี และฟื นฟูอาชีพ นอกจากการพักชําระหนี เกษตรกรเป็ นเวลา 3 ปี แล้ว อีกกลไกหนึ$งที$ซ ื อใจเกษตรกรได้ก็คือ ่ นการลดภาระหนี ให้กบเกษตรกรด้ ั การลดภาระหนีใ. ห้ แก่ เกษตรกรรายย่ อย มาตรการดังกลาวเป็ วย ่ ่ $เป็ นสมาชิก ธกส. ที$มีหนี ไม่ วิธีการตางๆได้ แก่ การลดภาระดอกเบี ยลงร้อยละ 3 ให้แกเกษตรกรที ่ าระหนี คืนแก่ ธกส. ทําให้มีทุน เกนิ 100,000 บาท เพื$อเป็ นการจูงใจให้เกษตรกรที$มีคา้ งชําระสงชํ 16 หมุนเวียนเพื$อชว่ยเหลือสมาชิกเพิ$มขึ น ่ นอกวิธีการลดดอกเบี ยลง ยังใช้วิธีการอื$นเพื$อชวยให้ เกษตรกรสามารถชําระหนี ได้ด้วย ่ ิ นที$ 31 มีนาคม 2555 วิธีการปรับโครงสร้างหนี ใหม่ ขยายระยะเวลาการชําระเงินต้นออกไปไมเกนวั ั โดยไมคิ่ ดดอกเบี ย และรัฐบาลยังได้ร่ วมมือกบสถาบั นการเงินซึ$ งเป็ นเจ้าหนี ของเกษตรกรที$เป็ น

14

่ $งในพื นที$ภาคอีสานซึ$ งเป็ นพื นที$ที$รัฐบาลทักษิณมีสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรจํานวนมาก ถึง 129 เสี ยง โดยเฉพาะอยางยิ ่ ฐบาล และพรรคการเมืองที$ยบุ รวมพรรคเข้ากบพรรคไทยรั ั จากทั งหมด 138 เสี ยง (รวมเสี ยงจากพรรครวมรั กไทยแล้ว) ดู คู่มือ เลือกตั ง 48 อนาคตประเทศไทย, (กรุ งเทพฯ: มติชน, 2548), หน้า 75. 15 ่ ฐ, 4 ปี ซอม ่ คณะกรรมการจัดทํารายงานแสดงผลการดําเนินการของคณะรัฐมนตรี ตามแนวนโยบายพื นฐานแหงรั ประเทศไทย เพื$อคนไทย โดยรัฐบาลพันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร (ปี 2544-2548), (มปท.: มปพ., มปป.), หน้า 14-15. 16 เรื$ องเดียวกนั, หน้า 15-16.


74

ั สมาชิก กองทุนฟื . นฟูและพัฒนาเกษตรกร เพื$อชะลอการดําเนินคดีหรื อการบังคับคดีกบสมาชิ กเป็ น ่ การชัว$ คราวจนกวาการเจรจาปรั บโครงสร้างหนี จะเสร็ จ17 ่ นโยบายพักชําระหนี และลดภาระหนี ให้แกเกษตรกรเป็ นกลไกแรกๆที$ผวู ้ ิจยั มองวา่ รัฐบาล ่ ทักษิณได้นาํ มาใช้เพื$อครองใจกลุ่มเกษตรกรกอนเป็ นอันดับแรก ในลําดับถัดมาจึงเริ$ มที$จะใช้กลไก เชิงนโยบายที$มุ่งครองใจผูค้ นในภาคการผลิตอื$นๆมากขึ นโดยเฉพาะในภาคการค้าและบริ การ ด้วย ํ ่ นทุนเพื$อเพิ$มรายได้”18 ซึ$ งดําเนิ นการผานทางนโยบายตางๆ ่ ่ การกาหนดนโยบาย “จัดหาแหลงเงิ ได้แก่ การจัดตั ง กองทุ นหมู่ บ ้า น หมู่ บา้ นละ 1 ล้า น จัดตั ง ธนาคารคนจน/ธนาคารประชาชน ธนาคาร SMEs และนโยบายแปลงสิ นทรัพย์เป็ นทุน กองทุนหมู่บ้าน เป็ นกองทุนที$ รัฐบาลทักษิณ ได้ให้เหตุผลถึ งการจัดตั งวา่ เป็ นกองทุนที$ ่ มกระบวนการพึ$งพาตนเองของหมู่บา้ น และชุมชนเมืองในด้านการเรี ยนรู ้ การ จัดตั งขึ นเพื$อสงเสริ สร้างและการพัฒนาความคิดริ เริ$ ม รวมถึงการแกปั้ ญหาด้านเศรษฐกจิ และสังคม ด้วยการจัดระบบ บริ หารเงินทุนหมุนเวียนในหมู่บา้ นด้วยตนเอง ด้วยวงเงินหมู่บา้ นละ 1 ล้านบาท ั ่ กองทุนหมุนเวี ยนสําหรั บเมื องและ นโยบายกองทุนหมู่บา้ นนี ในตอนต้นนั นเรี ยกกนวา ั ่บา้ นตางๆจํ ่ านวนเกอบ ื 7,000 หมู่บา้ นนี อาจเรี ยกได้อีก ชนบท จํานวนเงินที$ 1 ล้านบาทที$ให้กบหมู ่ นโครงการให้กูแ้ บบหมุนเวียน โครงการนี มีลกั ษณะเฉพาะไปที$การตั งเป้ าหมายไปที$การ ชื$อวาเป็ ิ $อยู่ในชนบท โดยที$ผูน้ ําหมู่บา้ น และธนาคารจะเป็ นผูพ้ ิจารณาโครงการและ กระตุน้ เศรษฐกจที จัดสรรเงินกูท้ ี$คิดดอกเบี ย 4% ขณะที$ถา้ กูย้ ืมเงินจากธนาคารพาณิ ชย์ปกติในด้านการเกษตรจะคิด ั ั ดอกเบี ยอัตรา 5-8% และให้สมาชิ กหมู่บา้ นเป็ นผูค้ าํ ประกนกนเอง วัตถุประสงค์ของนโยบายนี คื ่ ่ ิ ิ ่างๆที$สมาชิ กคิดทํากนขึ ั นมา เพื$อเป็ นการเพิ$มผลิ ตภาพ และมูลคาสวนเพิ $มที$จะเกดจากกจกรรมต ่ งธุรกจรายยอยกได้ ิ ่ ็ 19 เงินทุนจํานวนนี อาจกูโ้ ดยบุคคล ครัวเรื อน หรื อกลุ่มเพื$อการกอตั ่ ธนาคารประชาชน นั นเป็ นแหลงเงิ ่ นทุนอีกแหลงหนึ ่ $ งที$รัฐบาลทักษิณจัดให้มีข ึนเพื$อ สวน ่ ดแคลนเงินทุนสามารถกูเ้ งิน สร้างโอกาสให้ประชาชนที$มีรายได้นอ้ ยที$ตอ้ งการประกอบอิสระแตขา 20 ่ รกจขนาดกลางและขนาดยอมมี ิ ่ บทบาท ได้แทนการพึ$งพาเงินกูน้ อกระบบ รัฐบาลทักษิณถือวาธุ ่ รกจระดั ิ ่ สําคัญมาก เพราะวาธุ บนี มีสัดสวนประมาณ 40-50%ของผลผลิ ตทั งหมดภายในประเทศ ่ 38% ของมูลคาการสงออก ่ ่ (GDP) เป็ นสัดสวน และ 69%21 ของแรงงานทั งหมดในประเทศ การที$ 17

เรื$ องเดียวกนั, หน้า 16. เรื$ องเดียวกนั, หน้า 17. 19 ิ อง, จุไรรัตน์ แสน ณัฐเชษฐ์ พูลเจริ ญ, “วิวฒั นาการและชะตากรรมของทักษิโณมิกส์” ใน ทางออกไทยยุคทักษิณกนเมื ใจรักษ์, บรรณาธิการ (กรุ งเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์, 2548), หน้า 94-95. 20 ่ ฐ, 4 ปี ซอม ่ คณะกรรมการจัดทํารายงานแสดงผลการดําเนินการของคณะรัฐมนตรี ตามแนวนโยบายพื นฐานแหงรั ประเทศไทย เพื$อคนไทย โดยรัฐบาลพันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร (ปี 2544-2548), หน้า 17. 21 ิ อง, จุไร ข้อมูลจาก ณัฐเชษฐ์ พูลเจริ ญ, “วิวฒั นาการและชะตากรรมของทักษิโณมิกส์” ใน ทางออกไทยยุคทักษิณกนเมื รัตน์ แสนใจรักษ์, บรรณาธิการ (กรุ งเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์, 2548), หน้า 94-95. 18


75

ั รกจกลุ ิ ่มนี เพราะมองวามี ่ ศกั ยภาพที$จะปรับเปลี$ยนตามการ รัฐบาลทักษิณเลือกให้ความสําคัญกบธุ เปลี$ยนแปลงของสถานการณ์ต่างๆได้ง่าย และรวดเร็ ว และมีศกั ยภาพพอในการสร้างนวัตกรรมการ ผลิตได้ดว้ ย ่ ยวกนกบอี ั ั กกลไกหนึ$ งคือ นโยบายการแปลงสิ นทรั พย์ เป็ นทุน ซึ$ งชวยให้ ่ เชนเดี เกษตรกร ่ นได้โดยการนําสิ นทรัพย์อนั ได้แกสิ่ ทธิ ในการครอบครองที$ดินทํากนไปใช้ ิ สามารถเข้าถึงแหลงทุ ั นกูไ้ ด้22 เป็ นหลักทรัพย์ค าํ ประกนเงิ นโยบายการแปลงสิ น ทรั พ ย์เ ป็ นทุ น นั น เป็ นนโยบายที$ พ ยายามนิ ย ามและจัด ชั น ของ ่ $ อใช้เ ป็ นเอกสารแสดงสิ ท ธิ ตาม กฎหมายและใช้เป็ นหลัก ประกนเงิ ั นกู้ไ ด้ ทรั พ ย์สิ นเสี ย ใหมเพื ่ พ ย์สิ น ตางๆไมวาจะเป็ ่ ่ ่ นโยบายนี มี แ นวคิ ด หลัก วาทรั นกรรมสิ ท ธิ ที$ ดิ น ทรั พ ย์สิ น ทางปั ญ ญา ั ทรัพย์สินที$เป็ นเครื$ องจักร ฯลฯ สามารถนํามาทําให้ถูกกฎหมายเพื$อใช้เป็ นหลักประกนในการเข้ าถึง ่ นได้ ซึ$งนาจะเหมาะสมกบผู ่ ั ม้ ีรายได้นอยโดยตรง แหลงทุ ้ แนวคิ ด เรื$ องการแปลงสิ น ทรั พ ย์เ ป็ นทุ น นั น นํา มาจากนัก เศรษฐศาสตร์ ช าวเปรู ชื$ อ ่ ่ ่ Hernando De Soto ซึ$งเขาเป็ นผูค้ น้ พบวาประชาชนสวนใหญในประเทศด้ อยพัฒนานั นถือทรัพย์สิน ่ เชนกรรมสิ ่ ในรู ปแบบที$ใช้ประโยชน์อะไรไมได้ ทธิ และแผงลอยที$ไมมี่ หลักฐานแสดงความเป็ น ่ ั ่ น ได้ ทํา ให้ เจ้า ของตามกฎหมาย และไมอาจจะใช้ เ พื$ อ เป็ นหลัก ประกนในการเข้ า ถึ ง แหลงทุ ่ ั อ้ ื$นได้23 กรรมสิ ทธิ ที$มีน นั ไมอาจเปลี $ยนเป็ นทุน หรื อซื อขายกบผู ิ กนโยบายหนึ$งที$มีความสําคัญตอการทํ ่ กลไกเชิงนโยบายเศรษฐกจอี าสงครามยึดพื นที$ทาง ความคิดกคื็ อ โครงการหนึ งตําบลหนึ งผลิตภัณฑ์ (One Tambon One Product :OTOP) หรื อโอทอป ซึ$ ง รั ฐบาลทัก ษิ ณได้ใ ห้เหตุผ ลถึ งการจัดให้มี โครงการหนึ$ งตํา บลหนึ$ งผลิ ตภัณ ฑ์น ี ข ึ นมาวา่ 24 1) ่ มชนได้ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ$นมาใช้ในการพัฒนาสิ นค้าโดยรัฐพร้อมที$จะเข้าชวยเหลื ่ เพื$อให้แตละชุ อ ในด้านความรู ้สมัยใหม่ และการบริ หารจัดการเพื$อเชื$อมโยงสิ นค้าจากชุมชนสู่ ตลาดทั งในประเทศ ่ ่ ่ วาเป็ ่ นการเชื$ อมโยงราก และตางประเทศด้ วยระบบร้านค้าเครื อขายและอิ นเตอร์ เน็ต หรื อกลาวได้ ั โลกเข้าด้วยกนั และ2) เพื$อสงเสริ ่ มและสนับสนุ นกระบวนการพัฒนาท้องถิ$น สร้าง หญ้ากบเวที ่ ชุมชนให้เข้มแข็ง พึ$งตนเองได้ให้ประชาชนมีส่ วนรวมในการสร้ างรายได้ดว้ ยการนําทรัพยากร ภูมิ ่ ่ $ม เป็ นที$ ปั ญญาในท้องถิ$ นมาพัฒนาเป็ นผลิ ตภัณฑ์และบริ การที$มีคุณภาพ มีจุดเดนและมู ลคาเพิ ่ ต้องการของตลาด ทั งในและตางประเทศ

22

่ ฐ, 4 ปี ซอม ่ คณะกรรมการจัดทํารายงานแสดงผลการดําเนินการของคณะรัฐมนตรี ตามแนวนโยบายพื นฐานแหงรั ประเทศไทย เพื$อคนไทย โดยรัฐบาลพันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร (ปี 2544-2548), หน้า 18-19. 23 ิ อง, จุไรรัตน์ แสน ณัฐเชษฐ์ พูลเจริ ญ, “วิวฒั นาการและชะตากรรมของทักษิโณมิกส์” ใน ทางออกไทยยุคทักษิณกนเมื ใจรักษ์, บรรณาธิการ (กรุ งเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์, 2548), หน้า 97. 24 http://www.thaitambon.com/OTOP/Info/Info1A.htm [2 กุมภาพันธ์ 2550]


76

เป้ าหมายของโครงการหนึ$ งตําบลหนึ$ งผลิตภัณฑ์น ี ก็คือ 1) มุ่งสร้ างงาน สร้ างรายได้ แก่ ่ ม ชุมชน 2) สร้างความเข้มแข็งแกชุ่ มชน ให้สามารถคิดเอง ทําเอง ในการพัฒนาท้องถิ$น 3) สงเสริ 25 ่ มการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ภูมิปัญญาท้องถิ$น และ 4) สงเสริ - นโยบายเชิงสั งคม ่ ิ ว ผูว้ ิจยั มองวานโยบายเชิ ่ นอกจากการให้ความสําคัญตอนโยบายเศรษฐกจแล้ งสังคมนั นก็ ่ กนั เป็ นกลไกเชิงนโยบายหนึ$งที$มีความสําคัญในการเป็ นอาวุธที$ใช้เพื$อครองใจผูค้ นได้ไมแพ้ นโยบายเชิงสังคมที$รัฐบาลทักษิณนํามาใช้เป็ นอาวุธในสงครามยึดพื นที$ทางความในสมัย แรกของการครองอํานาจนั น เริ$ มต้นที$การให้ความสําคัญกบั โครงการ 30 บาทรั กษาทุกโรค26 ซึ$ ง เป็ นโครงการที$รัฐบาลได้นาํ มาปฏิบตั ิตามแนว นโยบายสร้ างหลักประกันสุ ขภาพถ้ วนหน้ า เพื$อลด ่ ่ จ่ายเพียงครั งละ 30 บาท และ รายจายโดยรวมของประชาชนในการดู แลรักษาสุ ขภาพ โดยเสี ยคาใช้ ่ ว$ ถึง และเทาเที ่ ยมกนั 27 สร้างโอกาสในการเข้าถึงบริ การสาธารณสุ ขที$ได้มาตรฐานอยางทั นโยบายเชิงสังคมในด้านอื$นที$รัฐบาลทักษิณได้นาํ มาใช้เป็ นกลไกหลักในการทําสงคราม ยึดพื นที$ทางความคิดเพื$อสร้ างภาวะการครองอํานาจนําเหนื อพื นที$ประชาสังคมคือ การประกาศ ่ ้เพื$อเอาชนะ ความยากจน แนวนโยบายการ ทําสงคราม 3 อย่ าง ของรัฐบาลทักษิณ ได้แก่ การตอสู ยาเสพติด และการทุจริ ต ่ ่ น คือ การต่ อสู้ เพื อเอาชนะความยากจน ซึ$ ง การทําสงครามอยางแรกจากทั งหมด 3 อยางนั ั ิ ่ ได้แก่ โครงการพักชําระหนี เกษตรกร 3 ปี ได้มีการดําเนินการควบคู่ไปกบนโยบายเศรษฐกจตางๆ และการลดภาระหนี จัดตั งกองทุนหมู่บา้ น หมู่บา้ นละ 1 ล้าน ธนาคารคนจน/ธนาคารประชาชน ธนาคาร SMEs นโยบายแปลงสิ นทรัพย์เป็ นทุน และโครงการหนึ$งตําบลหนึ$งผลิตภัณฑ์ OTOP ่ ิ ว นอกเหนือไปจากการดําเนินการเพื$อเอาชนะความยากจนผานกลไกนโยบายเศรษฐกจแล้ ั ่ รัฐบาลทักษิณยังได้ทาํ สงครามยึดพื นที$ทางความคิดกบประชาชนอยางรอบด้ านด้วยการใช้กลไก ั นโยบายเชิงสังคมควบคู่กนไปด้ วย นโยบายเชิงสังคมของรัฐบาลทักษิณที$มุ่งเอาชนะความยากจน ได้แก่ นโยบายแก้ ไขปั ญหา สั งคมและความยากจนเชิ งบูรณาการ หรื อการจัดให้มี การลงทะเบี ยนคนจน ซึ$ งเป้ าหมายหลักของ

25

เรื$ องเดียวกนั. โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรคนี เป็ นนโยบายที$ประชาชนชื$นชอบมากที$สุดเป็ นอันดับสองรองจากนโยบายจัดระเบียบ ่ ่ $ มา : สังคมในชวงระยะแรกในการครองอํ านาจของรัฐบาลทักษิณ ดู สวนดุสิตโพล “1 ปี "รัฐบาลทักษิณ" [Online]. แหลงที http://dusitpoll.dusit.ac.th/2545/2545_018.html [15 มกราคม 2550] 27 ่ ฐ, 4 ปี ซอม ่ คณะกรรมการจัดทํารายงานแสดงผลการดําเนินการของคณะรัฐมนตรี ตามแนวนโยบายพื นฐานแหงรั ประเทศไทย เพื$อคนไทย โดยรัฐบาลพันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร (ปี 2544-2548), หน้า 29. 26


77

นโยบายนี ก็คือ การขจัดความยากจนให้หมดสิ นไปจากประเทศไทยภายในปี 2551 โดยการมุ่งเพิ$ม 28 ่ ่ จ่าย และขยายโอกาสให้แกประชาชน รายได้ ลดคาใช้ ่ ตถุ ประสงค์ของ “การจดทะเบียน/ลงทะเบีย น” เพื$อแกไขปั ้ ญหาสัง คมและความ สวนวั ้ ยากจนนั น คือ เป็ นการรวบรวมข้อมูลความเดือดร้อนของประชาชนเพื$อให้รัฐบาลใช้ในการแกไข ปั ญหาทั งในระดับปั จเจกบุคคล และระดับภาพรวม นอกจากนี ยงั เป็ นการเปิ ดโอกาสให้ประชาชน ่ ่ ได้มี ส่ วนรวมในการชี เคราะห์ ตรวจสอบข้อมู ล ป ระเด็น ปั ญหา และเข้า มามี ส่ วนรวมในการวิ ่ ้ ญหา ภายใต้ความรวมมื ่ อ ชวยเหลื ่ ่ ออาทรของทุกภาค ตลอดจนรวมวางแผนเพื $อแกไขปั อ อยางเอื ่ สวนในสั งคม เพื$อเป้ าหมายให้ประชาชนคนไทยมีคุณภาพชีวติ ที$ดี มีศกั ดิ ศรี ของความเป็ นมนุษย์29 ั แก่ กลุ่มเป้ าหมายของนโยบายนี ประกอบไปด้วยผูป้ ระสบปัญหาใน 7 เรื$ องด้วยกนได้ ็ อมูลจากหัวหน้าครัวเรื อน 1) ปัญหาที$ดินทํากนิ ให้จดทะเบียนเป็ นรายครัวเรื อน โดยเกบข้ หรื อผูแ้ ทนคนใดคนหนึ$งที$ได้รับมอบหมาย ่ ่ ให้จดทะเบียนเป็ นรายบุคคล 2) ปัญหาคนเรรอน 3) ปัญหาผูป้ ระกอบอาชีพผิดกฎหมาย ให้จดทะเบียนเป็ นรายบุคคล ่ 4) การให้ค วามชวยเหลื อ นัก เรี ย น/นัก ศึ ก ษา ให้มี ร ายได้จากอาชี พ ที$ เหมาะสมให้จ ด ทะเบียนเป็ นรายบุคคล โดยกระทรวงศึกษาธิการรับผิดชอบดําเนินการในปัญหานี 5) ปัญหาการถูกหลอกลวง ให้จดทะเบียนเป็ นรายบุคคล 6) ปัญหาหนี สินภาคประชาชน ให้จดทะเบียนเป็ นรายบุคคล 7) ปัญหาที$อยูอ่ าศัยของคนจน ให้จดทะเบียนเป็ นรายบุคคล ้ ญหาสังคมและความยากจนเชิงบูรณาการด้วยการลงทะเบียน/จดทะเบียน นโยบายแกไขปั ่ คนจนนี มีประชาชนเข้ารวมลงทะเบี ยนแจ้งปัญหาของตนกวา่ 8 ล้านคน รวมประเด็นปั ญหามากกวา่ 12 ล้านปัญหาด้วยกนั30 ่ $สามารถครองใจผูค้ น การทําสงครามเพื อเอาชนะยาเสพติ ด เป็ นหนึ$งในสงคราม 3 อยางที ่ ั โดยที$รัฐบาลทักษิณได้ประกาศทําสงครามกบยาเสพติ ั ได้เชนกน ดเมื$อวันที$ 1 กุมภาพันธ์ 2546 ่ เนื$องมาจากการแพรระบาดของยาเสพติ ดกระจายอยูท่ ุกจังหวัดของประเทศไทย ด้วยเหตุน ี รัฐบาล ทักษิณจึงมีมาตรการในการจัดการขั นเด็ดขาดด้วยแนวคิดที$วา่ “ผูค้ า้ ต้องได้รับการลงโทษ ผูเ้ สพยา

28

้ ญหาสังคมและความยากจนเชิงบูรณาการ. 2546. กรุ งเทพฯ : แนวทางการจดทะเบียนเพื$อแกไขปั กระทรวงมหาดไทย. 29 แนวทางการจัดเวทีประชาคมเพื$อตรวจสอบยืนยันความถูกต้องของข้อมูลผูจ้ ดทะเบียนปัญหาสังคมและความยากจน เชิงบูรณาการ. 2547. กรุ งเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย. 30 ั ข้อมูลจากกระทรวงการคลัง ณ วันที$ 15 กนยายน 2547 อ้างถึงใน คณะกรรมการจัดทํารายงานแสดงผลการดําเนินการ ่ ฐ, 4 ปี ซอมประเทศไทย ่ ของคณะรัฐมนตรี ตามแนวนโยบายพื นฐานแหงรั เพื$อคนไทย โดยรัฐบาลพันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร (ปี 2544-2548), หน้า 28.


78

่ ี$ อน กพบวาการแพร ็ ่ ่ ต้องได้รับการรักษา”31 ซึ$ งนับจากที$ได้ดาํ เนิ นการด้วยระยะเวลาเพียงไมกเดื ระบาดของยาเสพติดได้ลดระดับความรุ นแรงลง โดยได้มีการจับกุมผูค้ า้ ผูผ้ ลิต และผูเ้ สพมากกวา่ 5 แสนคดี32 ่ กนคื ั อ นโยบายจัดระเบียบสั งคม33 นโยบายเชิงสังคมถัดมาที$สําคัญและครองใจผูค้ นไมแพ้ ่ นของการครองอํานาจ ซึ$งนโยบายการจัดระเบียบสังคมของรัฐบาลทักษิณนั นได้ถูกนํามาใช้ในชวงต้ ่ อมี การให้ความสําคัญมากในชวงปี ่ แรกของการบริ หารประเทศ (พ.ศ. 2544) โดยการ กลาวคื ั รั บ ผิ ด ชอบของร.ต.อ.ปุ ร ะชัย เปี$ ยมสมบู ร ณ์ ในฐานะ ประธานคณะกรรมการป้ องกนและ ่ ฐมนตรี วาการกระทรวงมหาดไทยในขณะนั ่ ปราบปรามยาเสพติด และดํารงตําแหนงรั น ่ นโยบายจัด ระเบี ย บสั ง คมนั น เป็ นแผนยอยในยุ ท ธศาสตร์ เพื$ อ ประกาศสงครามกบั ่ นที$ 10-11 ยาเสพติดของรัฐบาล โดยมีที$มาจากการประชุ มเชิ งปฏิบตั ิการ (Work Shop) ระหวางวั ํ มีนาคม 2544 ณ จังหวัดเชียงราย โดยได้กาหนดอํ านาจหน้าที$ที$ตอ้ งดําเนินงาน 4 เรื$ องคือ ้ 1. แกกฎหมายเดิ ม 2. ออกกฎหมายใหม่ 3. สร้างเอกภาพในกระบวนการยุติธรรม ี$ ั งคม ซึ$งตอมาได้ ่ 4. ดําเนินการเกยวกบสั ขยายความออกเป็ นนโยบายจัดระเบียบสังคม ่ ่ 1 ใน 4 ข้อยุทธศาสตร์ การประกาศ ดังนั น นโยบายจัดระเบียบสังคมจึงเป็ นสวนยอย ั สงครามกบยาเสพติ ดของรัฐบาล ที$นอกจากจะตัดเส้นทางลําเลียงยาเสพติดทั งในประเทศและตาม ่ หรื อตลาดจําหนายยาเสพติ ่ แนวชายแดนแล้ว ยังมุ่งเป้ าหมายทําลายจุดปลอย ด 3 พื นที$สําคัญ คือ โรงงาน โรงเรี ยน และสถานบริ การ ซึ$งอยูใ่ นความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย ่ ป้ ระกอบการสถานบริ ก ารทั ง นี เ พราะ นโยบายจัดระเบี ย บสัง คมได้ส่ งผลกระทบตอผู ระเบียบข้นตอนในการขออนุ ญาตเปิ ดสถานบริ การเข้มงวดมากขึ น มีการควบคุมเรื$ องเวลาเปิ ด-ปิ ด ่ ่ ด และมี ก ารเข้า ตรวจค้น จากเจ้า หน้ า ที$ ของกระทรวงมหาดไทยอยู่ เ ป็ นประจํา อยางเครงครั ่ นอกจากนี ยงั มี การควบคุ มสถานที$ (Zoning) ในการเปิ ดสถานบริ การอีกด้วย แตขณะเดี ยวกนั ่ จากประชาชนในสังคม34 โดยเฉพาะ นโยบายจัดระเบียบสังคมนี กลับได้รับการสนับสนุนเป็ นอยางดี ่ ง$ กลุ่มผูป้ กครองที$เป็ นหวงบุ ่ ตรหลานของตนนัน$ เอง อยางยิ

31

เรื$ องเดียวกนั, หน้า 30. เรื$ องเดียวกนั. 33 ดู http://www.mahadthai.com/html/zoning_detail01.html [22 มกราคม 2550] และ http://www.mahadthai.com/html/planzoning.html [22 มกราคม 2550] 34 ่ อยละ 54.24 นั นเห็นด้วยกบการจั ั ั ความสนับสนุนด้วย ขณะที$ ดังเห็นได้จากประชาชนกวาร้ ดระเบียบสังคมพร้อมกบให้ ่ ยว ร้อยละ 32.56 ในปี 2544 ดู สวนดุสิตโพล "ภาพรวมการจัดระเบียบสังคม" ในสายตา "ประชาชน" [Online]. เห็นด้วยเพียงอยางเดี ่ $มา: http://dusitpoll.dusit.ac.th/2544/2544_096.html [22 มกราคม 2550] แหลงที 32


79

็ นนโยบายเชิงสังคมอีกชนิดหนึ$งที$ครองใจประชาชนคนไทย โครงการเอื .ออาทรต่ างๆ กเป็ ่ โดยเฉพาะคนจนเป็ นอยางมาก รัฐบาลทักษิณได้ดาํ เนินนโยบายเอื ออาทรในหลายโครงการด้วยกนั ้ ญหาขาดแคลนที$อยู่อาศัยของประชาชนซึ$ งมี โดยมีจุดเริ$ มจากโครงการ บ้ านเอื .ออาทร เพื$อแกไขปั ื 2 ล้านคนที$ไมมี่ บา้ นอาศัยอยูเ่ ป็ นของตนเอง จึงได้จดั ให้มีการสร้างบ้านที$ราคาถูกให้ จํานวนเกอบ ประชาชนที$ มี รายได้น้อยได้มี โอกาสมี บ ้า นเป็ นของตนเองได้ นอกจากนี รัฐบาลทัก ษิ ณ ดํา เนิ น ั ั นโยบาย บ้ านมั นคง ควบคู่กนไปกบโครงการบ้ านเอื ออาทรด้วย โดยที$โครงการบ้านมัน$ คงนั นเป็ น ่ โครงการพัฒนาที$อยู่อาศัยให้แกคนจนในชุ มชนแออัดทัว$ ประเทศ เพื$อแกปั้ ญหาความไมมั่ น$ คงใน เรื$ องที$อยูอ่ าศัย เพื$อสร้างชุมชนที$มน$ั คง โดยเน้นให้คนจนมีส่ วนสําคัญในการพัฒนาที$อยู่อาศัยของ ตนเอง35 ่ ็ ใช้กลไกนโยบาย จนกระทัง$ ชวงปลายของการครองอํ านาจนําในสมัยแรกรัฐบาลทักษิณกได้ ่ งพื นที$ทางความคิดเหนือผูค้ นในประชาสังคมกลับมา หลังจากที$ตอ้ งประสบกบภาวะขาลง ั เพื$อแยงชิ ่ ่ 2547 เนื$องจากเป็ นชวงปลายของการครองอํ ่ ชวงแรกในชวงปี านาจ และใกล้ถึงการเลือกตั งทัว$ ไป ทุก ขณะรั ฐบาลทัก ษิณ จึ ง ได้ผ ลักดัน นโยบาย SML “ลดอํา นาจรั ฐ เพิ มอํา นาจประชาชน” หรื อ โครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน ออกมาเพื$อดึงคะแนนนิยมกลับมาจากผูค้ นในสังคม ํ ่ 36 1) เพื$อพัฒนา นโยบาย SML นี รัฐบาลทักษิณได้ให้เหตุผลถึงการกาหนดนโยบายวา ศักยภาพของประชาชน ให้มีความพร้อมในกระบวนการสร้างสรรค์ความคิดและนําไปสู่ แนวทาง ่ คุณภาพมัน$ คงและยัง$ ยืน 2) เพื$อเป็ นเครื$ องมือซึ$ งทํา ปฏิบตั ิในด้านการดํารงชีวิตและมีอาชีพ อยางมี ให้เห็นทิศทางและความต้องการที$แท้จริ งของประชาชน (Demand) 3) เป็ นรู ปแบบในการพัฒนา ่ ทรัพยากรบุคคลในภาคประชาชนจากการมีส่ วนรวมในกระบวนการ เพื$อการดํารงชี พและการมี ่ อาชีพของประชาชนโดยสวนรวม และ 4) เป็ นการเตรี ยมความพร้อมของประชาชนในหมู่บา้ น เกดิ ่ องถิ$น การสร้างผูน้ าํ ในท้องถิ$นที$มาจากภาคประชาชนโดยแท้จริ ง เพื$อการพัฒนาการปกครองสวนท้ ่ ่ ม เป้ าหมาย หรื อประชาชนที$ รับ และการกระจายอํา นาจที$ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพในอนาคต สวนกลุ ่ ประโยชน์น นั ถูกจําแนกตามจํานวนประชากรของชุมชนดังตอไปนี

35

่ ฐ, 4 ปี ซอม ่ คณะกรรมการจัดทํารายงานแสดงผลการดําเนินการของคณะรัฐมนตรี ตามแนวนโยบายพื นฐานแหงรั ประเทศไทย เพื$อคนไทย โดยรัฐบาลพันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร (ปี 2544-2548), หน้า 41. 36 http://www.rmutl.ac.th/sml/th3/sml-history.php [15 มกราคม 2550]


80

่ บ่ า้ นออกเป็ น 3 ขนาด ตามขนาดของพื นที$และประชากร ได้แก่ นโยบาย SML แบงหมู

จํานวนหลังคาเรือน

จํานวนประชากร

งบประมาณทีไ ด้ รับการ จัดสรร

หมู่บา้ นขนาดเล็ก (Small)

่ ิ 500 ประชากรไมเกน คน

่ 200,000 บาทตอปี

หมู่บา้ นขนาดกลาง (Medium)

ประชากร 501-1,000 คน

่ 250,000 บาทตอปี

หมู่บา้ นขนาดใหญ่ (Large)

่ ประชากรเกนิ 1,000 คน 300,000 บาทตอปี

ตารางที$ 2: แสดงเกณฑ์ในการจัดสรรงบประมาณของโครงการ SML ่ างต้นซึ$ งผูว้ ิจยั มองวาเป็ ่ นกลไกเชิงนโยบายหลัก นอกเหนือจากนโยบายเชิงสังคมดังกลาวข้ ที$มีความสําคัญต่อการทําสงครามยึดพื นที$ทางความคิดเพื$อสร้างภาวะการครองอํานาจนําแล้ว กยั็ งมี ่ มีฐานะเป็ นกลไกหลักกตาม ็ ได้แก่ นโยบาย นโยบายเชิ งสังคมอื$นๆอีกที$มีความสําคัญแม้จะไมได้ ั ้ ญหา ปราบปรามผูม้ ีอิทธิพลและอาวุธสงคราม การป้ องกนและปราบปรามการค้ ามนุษย์ และแกไขปั ่ แรงงาน นโยบายลดอุบตั ิเหตุในชวงเทศกาลสํ าคัญ โครงการเมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand), ั ย อุ บ ัติ เ หตุ เ อื อ อาทร , โครงการอาหารปลอดภัย โครงการนํ า ประปาดื $ม ได้ โครงการประกนภั โครงการจักรยานยืมเรี ยน โครงการหนึ$งอําเภอหนึ$งทุนการศึกษา โครงการหนึ$งอําเภอหนึ$งโรงเรี ยน ในฝัน ฯลฯ ่ จากการดําเนินการทําสงครามยึดพื นที$ทางความคิดเพื$อสร้างภาวะการครองอํานาจนํา ผาน ่ งที$กลาวมา ่ ทางกลไกนโยบายตางๆดั รัฐบาลทักษิณสามารถครองใจผูค้ นได้ในระดับหนึ$งดังเห็นได้ ่ $ งที$วา่ จากคะแนนนิยม และความพึงพอใจจากประชาชน37และความคิดเห็นของผูค้ นสวนหนึ

37

ดังเห็นได้จากความเชื$อมัน$ ที$ประชาชนมีต่อรัฐบาลทักษิณในภาพรวม ปี 2545 ซึ$งรัฐบาลบริ หารประเทศครบ 1 ปี นั น ่ ประชาชนให้คะแนนรัฐบาลทักษิณเฉลี$ย 6.87 จาก 10 คะแนน สวนในปี 2546 ประชาชนกวา่ร้อยละ 65.98 ยังให้ความเชื$อมัน$ ตอ่ ่ ่ รัฐบาล ขณะที$ความเชื$อมัน$ ในปี 2547 ซึ$งเป็ นปี สุดท้ายของการครองอํานาจในสมัยแรกนั น ถึงแม้วาคะแนนนิ ยมจะลดลงจากปี กอน ่ ่ อยละ 58.61 กยั็ งคงให้ความเชื$อมัน$ ตอรั ่ ฐบาลทักษิณ ดู สวนดุสิตโพล “1 ปี "รัฐบาลทักษิณ" [Online]. หน้านั น แตประชาชนกวาร้ ่ $มา: http://dusitpoll.dusit.ac.th/2545/2545_018.html [22 มกราคม 2550]; “ความมัน$ ใจของประชาชน ตอรั ่ ฐบาลและฝ่ ายค้าน แหลงที ่ $มา: http://dusitpoll.dusit.ac.th/2546/2546_001.html [22 มกราคม 2550] และ “ความมัน$ ใจของ ในปี 2546” [Online]. แหลงที ่ $มา: http://dusitpoll.dusit.ac.th/2547/2547_001.html [22 ประชาชน ตอ่ “รัฐบาล” และ “ฝ่ ายค้าน” ในปี 2547 [Online]. แหลงที มกราคม 2550]


81

“นับว่ าท่ านนายกฯทักษิ ณเป็ นอัศวินม้ าขาวเข้ ามาบริ หารประเทศ ในช่ วงภาวะวิกฤติ ประเทศไทยเกื อบล้ มละลายแต่ ก็สามารถแก้ ไข ปั ญ หาได้ ใ นระดั บ หนึ ง ในหลาย ๆเรื อง เช่ นยาเสพติ ด การจั ด ระเบียบสังคม เยาวชนส่ วนใหญ่ ดีขึน. ขอชื นชม”38 “ชื นชมในความคิ ด แนวคิ ด ได้ อ่านหนังสื อท่ านหลายเล่ ม เช่ น ตาดูดาวท้ าวติ ดดิ น คิ ดอย่ างทักษิ ณ บทความต่ างๆ ตลอด สรุ ปว่ า ท่ านเก่ งจริ ง ทั.งความคิ ด และผลงานก็อยู่ในขั.น ยอมรั บได้ ดีมากใน บางเรื อง เช่ น การปราบยาเสพติ ดซึ งเมื อก่ อนผม และครอบครั ว ท้ อแท้ แล้ วว่ าต่ อไปเราจะอยู่กันอย่ างไร เมื อยาเสพติ ดเต็มบ้ านเต็ม เมืองอย่ างนี . แต่ ท่านทําได้ ขอให้ กาํ ลังใจท่ านครั บ”39 ่ ่ จะเห็ น ได้ว่ า กลไกการครองอํา นาจนํา นั น สงผลตอความคิ ด จิ ต ใจของผู ้ค นในสั ง คม ่ $งนโยบายเชิ งสังคมในการทําสงครามกบยาเสพติ ั โดยเฉพาะอยางยิ ดนั นสามารถครองใจผูค้ นใน ่ นการเพิ$มคะแนนนิยมทางการเมืองให้กบรั ั ฐบาล สังคมได้ค่อนข้างดี การดําเนินนโยบายดังกลาวเป็ ทักษิณได้อีกมาก 3) กลไกนโยบายทีใ ช้ หาเสี ยงเพือ กลับสู่ อาํ นาจในปี 2548 ํ เมื$อรัฐบาลทักษิณบริ หารประเทศจนครบวาระ 4 ปี แรก กถึ็ งกาหนดที $จะต้องมีการเลือกตั ง ทัว$ ไป ซึ$ งมีข ึนในวันที$ 6 กุมภาพันธ์ 2548 รัฐบาลทักษิณหลังจากที$ได้นาํ กลไกหลักเชิงนโยบายใน ่ ่ ง ในการเลื อกตั งทัว$ ไปในปี 2544 ทํา ให้ใ นการ ด้านตางๆมาใช้ และประสบความสํา เร็ จอยางสู ่ $ยนไปจากเดิม เลือกตั งในปี 2548 นั น แนวนโยบายของรัฐบาลทักษิณ/พรรคไทยรักไทย จึงไมเปลี ่ 4 ปี สร้าง”40 เป็ นกลไกหลักในการยึดกุมพื นที$ โดยมีการใช้กลไกนโยบาย ที$เรี ยกวา่ “4 ปี ซอม ประชาสังคมเพื$อให้ได้รับคะแนนเสี ยงจากประชาชนให้มากที$สุด เพื$อกลับไปครองอํานาจอีกครั ง เป็ นสมัยที$สอง

38

่ $มา: ที$มา เว็บไซต์รู้ไปโม้ด โดยน้าชาติ ประชาชื$น [Online]. แหลงที http://www.matichon.co.th/youth/youth.php?tagsub=031106&tag950=03you30280547&show=1 [3 พฤษภาคม 2550] 39 เรื$ องเดียวกนั. 40 นโยบายที$ใช้ในการหาเสี ยงเลือกตั งในเดือนกุมภาพันธ์ 2548 นั นได้เริ$ มนําเสนอครั งแรก เมื$อวันที$ 17 ตุลาคม 2547 ภายใต้ชื$อ “คิกออฟ แคมเปญ” มุ่งสู่ เป้ าหมายชัยชนะในการเลือกตั ง 400 เสี ยง


82

่ 4 ปี สร้าง”41 นั นเป็ นกลไกหลักในการยึดพื นที$ทาง กลไกเชิงนโยบายที$เรี ยกวา่ “4 ปี ซอม ความคิดเหนื อพื นที$ ประชาสังคม โดยทําหน้าที$เป็ นกลไกหลักในการครองใจผูค้ น เพื$อให้เลื อก ่ รัฐบาลทักษิณกลับเข้าสู่ อาํ นาจอีกครั งหนึ$ ง โดยมีการนําเสนอโครงการตางๆที $ใช้สําหรับการหา ่ เสี ยงดังตอไปนี ้ ที$จะออกเดินทางสํารวจทุกหลังคาเรื อน - ตั งคาราวานแกจน ่ กาไรเป็ ํ - โครงการเอสพีวี เกษตรกรกูส้ ร้างอาชีพ ใช้หนี คืนด้วยผลผลิต แตได้ นเงิน - แปลงกองทุนหมู่บา้ นที$มีความพร้อมให้เป็ นธนาคารหมู่บา้ น - จัดสรรวัว 2 ล้านตัวกระจายสู่ เกษตรกรที$อยากจะเลี ยงทัว$ ประเทศ ่ กที$เกดใหมทุ ิ ่ กคน และจัดให้มีคู่มือ - ตั งคาราวานเสริ มสร้างเด็ก จะมีการแจกของขวัญแกเด็ ่ ิ พัฒนาเด็กเล็กตั งแตแรกเกด - จัดสรรโครงการประปาหมู่บา้ นให้ทุกหมู่บา้ นและทุกหลังคาต้องมีไฟฟ้ า - ประชาชนต้องมีบา้ นเป็ นของตนเอง - จัดสรรงบ เอส เอ็ม แอล ให้ทุกหมู่บา้ น ่ ็ า 1,260 ลูกบาศกเมตร ์ ให้เกษตรกรจายเพี ่ ยงบอละ ่ 2,500 บาท - ขุดบอเกบนํ ่ ่ ่ - ลูกหลานไทยเรี ยนไมต้่ องจายจนถึ งมหาวิทยาลัย จบแล้วคอยผอนใช้ เมื$อมีงานทํา - ติดคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตทุกโรงเรี ยนทัว$ ประเทศ - ขยายโรงเรี ยน โรงพยาบาล และดูแลสิ$ งแวดล้อม - จัดสรรงบ 1 ล้านล้านบาทสร้างรถไฟฟ้ าสําหรับกรุ งเทพฯและปริ มณฑล ระยะทาง 291 ิ กโลเมตร ่ ่ ่ ่ - ลดภาษีให้ลูกที$เลี ยงพอแมรวมทั งพอตาแมยาย ่ มชนใหมของวั ่ ยรุ่ น - สร้างอุทยานการเรี ยนรู ้ให้เป็ นแหลงชุ ั ่ ่ ดยั ง - ทําสงครามกบยาเสพติ ดอยางไมหยุ ั ขภาพให้ทุกคน จาก "30 บาท รักษาทุกโรค" สู่ นอกจากนี ยงั มีการนําเสนอการสร้างหลักประกนสุ ่ ่ ่ "30 บาท ชวยคนไทยหางไกลโรค "42 โดยให้บริ การเพิ$มเติมดังตอไปนี ่ น (Sealant) นักเรี ยนชั นประถมศึกษาปี ที$ 1 ทัว$ ประเทศ - บริ การเคลือบหลุมรองฟั ั ญหาความ - ตรวจ คัดกรองโรคขาดไทรอยด์ฮอร์โมนในเด็กแรกเกดิ เพื$อป้ องกนปั 41

http://www.thairakthai.or.th/trtp/detail/4_repair.asp [2 ตุลาคม 2549]; http://www.thairakthai.or.th/trtp/detail/4_build.asp [2 ตุลาคม 2549] ; ณัฐเชษฐ์ พูลเจริ ญ, “วิวฒั นาการและชะตากรรมของทักษิโณ ิ อง, จุไรรัตน์ แสนใจรักษ์, บรรณาธิการ (กรุ งเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์, 2548), หน้า 99. และ มิกส์” ใน ทางออกไทยยุคทักษิณกนเมื นันทนา นันทวโรภาส, ชนะเลือกตั งด้วยพลังการตลาด, (กรุ งเทพฯ: ขอคิดด้วยคน, 2549), หน้า 63. 42 http://www.thairakthai.or.th/trtp/campaign/index_30Baht.asp [2 ตุลาคม 2549]


83

-

่ บกพรองทางสมอง ตรวจสุ ขภาพพนักงานขับรถสาธารณะ เชน่ รถขสมก. รถบขส. และแท็กซี$ ตรวจสุ ขภาพแกข้่ าราชการ และคนงาน ตรวจมะเร็ งปากมดลูกให้หญิงอายุ 35-60 ปี ั ตรวจหาความเสี ยงเพื$อป้ องกนโรคหั วใจ เส้นเลือดสมอง และโรคไต ่ ตรวจสุ ขภาพชองปาก และทําฟันปลอมให้ผสู ้ ู งอายุ ตรวจสุ ขภาพและความพิการ เพื$อขึ นทะเบียนผูพ้ ิการรายใหม่ ่ บริ การอื$นๆ เชนตรวจพั ฒนาเด็กเล็ก ให้วคั ซีนครบชุด คัดกรองโรคทาลัสซีเมีย ่ ่ วางแผนครอบครัว และให้คาํ ปรึ กษากอนแตงงาน ให้ยาต้านไวรัสเอดส์จากแมสู่ ่ ลูก เป็ นต้น

จะเห็นได้กลไกเชิงนโยบายที$รัฐบาลทักษิณนํามาใช้เพื$อหาเสี ยงในการเลือกตั งปี 2548 นั น ิ เชนเดิ ่ ม เพียงแตมี่ การเพิ$มเติมโครงการบางอยาง ่ ยังคงรักษาแนวทางของนโยบายเชิ งเศรษฐกจไว้ ่ น แตในการเลื ่ เทานั อกตั งครั งนี รัฐบาลทักษิณได้หนั มาเพิ$มนํ าหนกั ความสําคัญของนโยบายเชิงสังค ่ นโยบาย 30 บาท มากขึ น และปรับปรุ งนโยบายเชิงสังคมที$เป็ นกลไกที$สามารถครองใจผูค้ นอยาง รักษาทุกโรคให้รองรับการบริ การที$เพิ$มขึ นอีกด้วย ่ ่ สุ ดท้ายของการครองอํานาจ ทามกลางปั ญหานานัปการที$รัฐบาลทักษิณต้องเผชิญในชวงปี ในสมัยแรก แตด้่ วยกลไกเชิ งนโยบายที$มีพลัง และกลไกการจัดการภาพลักษณ์ ของผูน้ าํ ที$ได้ผล ั ่ มแข็งเพียงพอของพรรคการเมืองคู่แขง่ 43ทําให้ (จะได้นาํ เสนอในหัวข้อถัดไป) กอปรกบความไมเข้ ่ นสมัยที$สองด้วยชัยชนะในการเลือกตั งทัว$ ไปวันที$ 6 กุมภาพันธ์ รัฐบาลทักษิณได้ครองอํานาจตอเป็ ่ ่ ทลาย ด้วยจํานวนเสี ยงส.ส.ถึง 377 เสี ยง สงผลให้ ่ 2548 อยางถลม รัฐบาลทักษิณในสมัยที$สองนั น เป็ นรัฐบาลพรรคเดียวเป็ นครั งแรกในประวัติศาสตร์

43

่ นผูน้ าํ พรรคการเมืองที$ไมมี่ หมายความถึงพรรคประชาธิปัตย์ภายใต้การนําของนายบัญญัติ บรรทัดฐานที$ถูกมองวาเป็ ่ ั .ต.ท.ทักษิณ รวมถึงนายอภิสิทธิ เวชชาชีวะ วาที ่ $หวั หน้าพรรคประชาธิปัตย์ ผลงาน และไมมี่ ความโดดเดนพอที $จะเปรี ยบเทียบกบพ ่ ่ ่ น นอกจากนี แนวนโยบายที$ได้เริ$ มนําเสนอตอสั ่ งคมในชวง ่ คนใหมในขณะนั $ องการวิพากษ์ วิจารณ์เทานั น กมี็ ความโดดเดนเฉพาะเรื ่ นการเสนอนโยบายที$ขดั แย้งในตัวเอง ปลายปี 2547 ภายใต้แนวคิด “ถึงเวลา...ทวงคืนประเทศไทย” นั น เมื$อพิจารณาแล้วจะพบวาเป็ ่ อ ในด้านหนึ$งนั นพรรคประชาธิปัตย์เสนอวาจะไมสร้ ่ ่ างปั ญหาให้ประเทศ 6 ประการคือ 1. ไมเป็ ่ นเผด็จการรวบ อยูใ่ นที กลาวคื ่ ฐวิสาหกจิ 4. ไมมอมเมาประชาชน ่ อํานาจ 2. ไมมี่ ผลประโยชน์ทบั ซ้อนและไมค่ อรัปชัน$ เชิงนโยบาย 3.ไมขายรั 5. ปฏิรูปสื$ อเสรี และ ่ กด้านหนึ$งนั นนโยบายของพรรคประชาธิปัตย์ก็ไมได้ ่ มีความแตกตางไปจากนโยบายประชานิ ่ 6. ไมปิ่ ดหูปิดตาประชาชน แตในอี ยม ่ ของไทยรักไทย เชน่ ให้มีการรักษาพยาบาลฟรี และอีกหลายโครงการที$มีลกษณะ ั “สัญญาวาจะให้ ” โปรดดู กองบรรณาธิการ ่ ่ , (กรุ งเทพฯ: ประชาชาติธุรกจิ, 2549), หน้า 196-197. และ “ดูนโยบาย ประชาชาติธุรกจิ, 3 ทศวรรษประเทศไทยยุคทุนนิยมไลลา ประชาธิปัตย์ ความหวังอยูท่ ี$ไหน”, ใน A day weekly, ปี ที$ 1 ฉบับที$ 32 (24-30 ธันวาคม 2547), หน้า 15.


84

่ กลไกหลักอีกอันหนึ$ งที$มีความสําคัญตอการยึ ดกุมพื นที$ทางความคิดของประชาชนกคื็ อ ่ กลไกการจัดการภาพลักษณ์ของผูน้ าํ ซึ$งมีผลตอการทํ าให้ประชาชนรับรู ้ เข้าใจ ตลอดจนมีความคิด ทัศนคติต่อรัฐบาลได้ตามที$รัฐบาลทักษิณต้องการ ข. การจัดการภาพลักษณ์ของผ้นู ํา กลไกการครองอํานาจนําอีกกลไกหนึ$ งซึ$ งเป็ นกลไกหลักที$รัฐบาลทักษิณได้นาํ มาใช้เป็ น ั ั อาวุธ ในการทําสงครามยึดพื นที$ ท างความคิดควบคู่ กนไปกบกลไกเชิ ง นโยบายตา่ งๆ กคื็ อ การ จัดการภาพลักษณ์ ของผู้นาํ ซึ$งกคื็ อ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรนัน$ เอง ่ นการพยายามสร้าง หรื อจัดให้ การจัดการภาพลักษณ์ของพ.ต.ท.ทักษิณ นั น ผูว้ ิจยั มองวาเป็ ่ น้ าํ ของรัฐบาลทักษิณ คือพ.ต.ท.ทักษิณ ชิ น มีข ึนมาเพื$อครอบงําความคิดจิตใจผูค้ นเพื$อให้มองวาผู ่ เรี ยบงาย ่ และเป็ นกนเอง ั วัตรนั น 1) มีวิสัยทัศน์กว้างไกล 2) มีตวั ตนเข้าถึงงาย 3) มีภาวะผูน้ าํ สู ง และ 4) เพื$อเบี$ยงเบนประเด็นความสนใจจากสังคม 1) มีวสิ ัยทัศน์กว้างไกล การจัดการภาพลักษณ์ ของพ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตร ในยุคเริ$ มแรกนับจากที$ได้ประกาศตั ง ่ .ต.ท.ทักษิณ นั นเป็ นนักบริ หารที$ พรรคไทยรักไทย กคื็อ การสร้างภาพลักษณ์ให้ผคู ้ นยอมรับวาพ ิ ่มผูป้ ระสบความสําเร็ จในทางธุ รกจิ ประสบความสําเร็ จ เป็ นผูม้ ีวสิ ัยทัศน์กว้างไกล เป็ นนักธุ รกจหนุ ่ งจากกจการด้ ิ เป็ นอยางสู านการสื$ อสาร โทรคมนาคม และการให้บริ การโทรศัพท์เคลื$อนที$44 ่ ่ “ผมรวยแล้ ว ไม่ โกง ขอมาอาสารั บใช้ ประเทศชาติ” ซึ$ งเป็ น พ.ต.ท.ทักษิณ ได้เคยกลาววา ่ การนํา เสนอภาพลัก ษณ์ ข องความเป็ นผู ้นํา ที$ แ ตกตางออกไปจากผู ้นํา คนอื$ น ที$ ผ่ านมาใน ประวัติศาสตร์การเมืองไทยที$มกั จะมีที$มา และมีภาพลักษณ์ของการเป็ นข้าราชการทหาร ข้าราชการ พลเรื อน และนักกฎหมาย เป็ นหลัก แตพ่.ต.ท.ทักษิณ นั นกลับนําเสนอภาพของการเป็ นนักบริ หาร/ ิ $ ประสบความสําเร็ จ และประกาศตนชัดเจนวาต้ ่ องการเข้า สู่ อาํ นาจทางการเมื องเพื$อ นักธุ รกจที ิ ่ งแล้ว ทํางานรับใช้ประเทศชาติ หลังจากที$ประสบความสําเร็ จในด้านธุรกจอยางสู ่ ่ ภายหลังการได้รับชัยชนะในการเลือกตั งทัว$ ไปวันที$ 6 มกราคม 2544 อยางถลมทลาย ซึ$ ง ้ ญหาตางๆที ่ การจัดการภาพลักษณ์ของการเป็ นนักบริ หารที$มุ่งมัน$ เข้ามาแกไขปั $รุมเร้าสังคมไทยอยู่ ั ในเวลานั น ควบคู่ไปกบการนํ าเสนอแนวคิดของพรรคไทยรักไทยที$วา่ “คิ ดใหม่ ทําใหม่ เพื อไทย

44

ดูรายละเอียดในบทที$ 3


85

่ ดของนโยบายที$ถูกใจผูค้ นสวนใหญจนนํ ่ ่ าไปสู่ ชยั ชนะ ทั.งชาติ ” นั นกมี็ ส่ วนสําคัญไมน้่ อยไปกวาชุ ่ ในการเลือกตั งดังกลาว ่ ็ เริ$ มใช้กลไกการ เมื$อเข้าสู่ ตาํ แหนงนายกรั ฐมนตรี ในสมัยแรก พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร กได้ ั ั จัดการภาพลักษณ์ ควบคู่กนไปกบการใช้ กลไกเชิ งนโยบายโดยในระยะเริ$ มต้นของการบริ หารนั น ิ การสร้างภาพลักษณ์เพื$อให้เกดการยอมรั บภาพการมีวิสัยทัศน์ของ พ.ต.ท.ทักษิณ กคื็ อ “การเล่ น ่ การเมืองแบบใหม่ /การเมืองแบบสร้ างสรรค์ ”ที$ต่างไปจากการเมืองเรื$ องการตอรองผลประโยชน์ ่ ่ ่ ดังที$เป็ นมาเชนในอดี ต โดยมุ่งเน้นการแกปั้ ญหาตางๆตามที $ได้ให้สัญญาประชาคมไว้ในชวงของ ่ ่ ่ ่ ่มการเมืองตางๆ ่ การหาเสี ยงเลือกตั ง มากกวาการเลนการเมื องเพื$อตอรองผลประโยชน์ ระหวางกลุ ในยุคนี รัฐบาลทักษิณได้นาํ แนวความคิด “การบริ หารแบบบูรณาการ” มาใช้ในการบริ หาร ่ ํ ควบคู่ไปกบั “การประชุ มเชิ งปฏิบตั ิการ” หรื อที$เรี ยกวาการทํ า Workshop เพื$อกาหนดแนวทางใน ่ การบริ หารจัดการตอกรณี ปัญหาต่างๆจํานวนมาก ซึ$ งเป็ นมิติทางการบริ หารราชการแบบใหมที่ $ไม่ ่ ซึ$ งการจัดการภาพลักษณ์เพื$อสร้างภาพ เคยมีรัฐบาลใดเคยใช้วธิ ีการในการบริ หารลักษณะนี มากอน ่ ดาํ เนิ นการให้เป็ นรู ปธรรมผานนโยบาย ่ การมีวิสัยทัศน์ของพ.ต.ท.ทักษิณ ด้วยแนวคิดดังกลาวได้ ่ เชน่ ผูว้ าราชการจั ่ ่ CEO) การแกไขปั ้ ญหาสังคมและความยากจน ตางๆ งหวัดแบบบูรณาการ (ผูว้ าฯ เชิงบูรณาการ เป็ นต้น ่ สวนการจั ดการภาพลักษณ์เพื$อสร้างภาพการมีวิสัยทัศน์กรณี อื$นๆที$สําคัญในยุคแรกของ การครองอํา นาจของรั ฐ บาลทัก ษิ ณ ได้ แ ก่ “การคื น หนี . ก องทุ น การเงิ น ระหว่ างประเทศ (International Monetary Fund; IMF) ก่ อนกําหนด” เมื$อวันที$ 31 กรกฎาคม 2546 ซึ$ งการคืนหนี ่ ํ ่ เพราะ ทาง IMF กอนกาหนดนี สร้ างภาพการเป็ นผูม้ ีวิสัยทัศน์ของพ.ต.ท.ทักษิณ ได้เป็ นอยางดี ํ ่ เป็ นผลให้สถานะทางการเงินการ รัฐบาลทักษิณได้ให้เหตุผลข้อดีของการชําระหนี ก่อนกาหนดวา ่ คลังของประเทศไทยในวันนี มีความแข็งแกรง่ เงินทุนสํารองระหวางประเทศกลั บมาอยู่ที$ระดับ 43,000 ล้านดอลลาร์ สหรัฐ หนี ต่างประเทศลดลง ความเชื$อมัน$ ของผูบ้ ริ โภคเพิ$มสู งขึ น สถาบันจัด ิ ่ ิ อันดับเศรษฐกจตางประเทศที $สําคัญจํานวนมากได้ปรับเพิ$มอันดับความเชื$ อมัน$ เศรษฐกจไทยใน ิ ระดับที$ดีข ึนจนเป็ นที$ยอมรับในนานาประเทศวา่ ในภูมิภาคเอเชี ยขณะนั นเศรษฐกจไทยมี ความ 45 ่ ่ ่ น ซึ$ งจากกรณี การชําระหนี IMF กอน แข็งแกรงและมี อตั ราการเติบโตเป็ นที$ 2 รองจากจีนเทานั ํ ั .ต.ท.ทักษิณ และรัฐบาลทักษิณเพิ$มขึ นอีก กาหนดนี ยงั เป็ นการเสริ มสร้ างภาพลักษณ์ ที$ดีให้กบพ ด้วย46 45

่ ฐ รัฐบาล สํานักเลขาธิการสํานักนายกรัฐมนตรี , สรุ ปผลการดําเนินการของคณะรัฐมนตรี ตามแนวนโยบายพื นฐานแหงรั พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปี ที$สาม (วันที$ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ ถึงวันที$ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗), (กรุ งเทพฯ: สํานักเลขาธิการ สํานักนายกรัฐมนตรี , 2547), หน้า 54-55. 46 ่ อยละ 73.75 เห็นด้วยกบการชํ ั ํ ั ฐบาลได้กวา่ ประชาชนกวาร้ าระหนี ก่อนกาหนดของรั ฐบาล และเพิ$มคะแนนนิยมให้กบรั ่ ํ ่ คืน IMF กอนกาหนด ่ $มา: ร้อยละ 67.44 ดู สวนดุสิตโพล “การจายหนี ในสายตาประชาชน” [Online]. แหลงที http://dusitpoll.dusit.ac.th/2546/2546_003.html [15 กุมภาพันธ์ 2550]


86

กรณี การ “เป็ นเจ้ าภาพจัดประชุมยอดผู้นาํ กลุ่มความร่ วมมือทางเศรษฐกิจแห่ งภาคพืน. เอเชี ย ็ นกรณี สําคัญที$ช่ วยเสริ มสร้างภาพลักษณ์การมีวิสัยทัศน์ให้กบพ ั .ต.ท. แปซิ ฟิก หรื อ APEC” กเป็ ่ ่ ทักษิณ และรัฐบาลทักษิณในชวงเวลาขาขึ เนื$องจากการจัดการประชุม APEC ในครั ง นได้อยางมาก ่ นี เรี ยกได้วา่ ประสบความสําเร็ จอยางมาก เพราะมีผนู ้ าํ ชาติมหาอํานาจ เชน่ สหรัฐอเมริ กา จีน รัสเซี ย ่ ่ อมเพรี ยง และภายหลังการประชุมไมนานสหรั ่ ั เข้ารวมการประชุ มอยางพร้ ฐฯถึงกบยกให้ ประเทศ ไทยเป็ นพันธมิตรนอกนาโต้เลยทีเดียว รัฐบาลได้ให้เหตุผลข้อดีถึงการที$ประเทศไทยได้เป็ นเจ้าภาพวา่ทําให้ประเทศไทยได้รับการ ่ ่ ่ ่ ชื$นชมวาสามารถจั ดการประชุมได้อยางสมบู รณ์ในทุก ๆ ด้านจนกลายเป็ นมาตรฐานใหมแหงการ ่ ได้สร้างความมัน$ ใจแก่ จัดประชุ มนานาชาติ ซึ$ งผลจากการจัดประชุ มสุ ดยอดผูน้ าํ เอเปกดังกลาว 47 ่ กยภาพของไทยในทุก ๆ ด้าน ซึ$ งสงผลดี ่ ่ นานาประเทศตอศั ต่อการพัฒนาประเทศอยางมาก ั ่ ขณะเดียวกนการเป็ นเจ้าภาพการประชุ ม APEC นี ก็ชวยเสริ มสร้างภาพลักษณ์ และคะแนนนิ ยม ให้แกรั่ ฐบาลทักษิณเพิ$มขึ นอีกด้วย48 นอกเหนื อจากการสร้างภาพให้ผคู ้ นทัว$ ไปมองวา่ พ.ต.ท.ทักษิณ นั นมีวิสัยทัศน์กว้างไกล ในทางเศรษฐกจิ และการเมืองแล้ว รัฐบาลทักษิณยังได้นาํ กลไกการจัดการภาพลักษณ์มาใช้ในการ ํ สร้ างภาพกรณี การมีวิสัยทัศน์ในเรื$ องสุ ขภาพของประชาชนอีกด้วย โดยเห็ นได้จากการกาหนด ํ งกายของ นโยบายโครงการเมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand) ขึ นมาเพื$อสนับสนุนการออกกาลั คนไทย เพื$อให้มีสุขภาพแข็งแรง การจัดการภาพลักษณ์ในกรณี น ีเห็นได้จากการที$พ.ต.ท.ทักษิณ ได้ ่ เข้ารวมการเต้ นแอโรบิก ด้วยตนเองเลยทีเดียว49 ่ .ต.ท. กลไกการจัดการภาพลักษณ์ เพื$อพยายามครองความคิ ดให้ผูค้ นในสังคมมองวาพ ่ ผลในระดับหนึ$งดัง ทักษิณ ชินวัตรเป็ นผูท้ ี$มีวสิ ัยทัศน์กว้างไกล เป็ นนักบริ หารมืออาชีพนั นถือวาได้ ่ สะท้อนให้เห็นจากความคิดเห็นของผูค้ นสวนหนึ $ งที$วา่ “นายกทั ก ษิ ณ เป็ นนายกฯที เ ก่ ง ที สุ ด ตั. ง แต่ ดิ ฉั น รู้ จั ก คํา ว่ า นายกรั ฐมนตรี มา เรื องว่ าจะเป็ นคนดี หรื อเลว ดิ ฉันไม่ ทราบเพราะ ไม่ ได้ ร้ ู จักมักคุ้นขนาดที จะบอกได้ ว่าตัวตนที แท้ จริ งของท่ านเป็ น 47

่ ฐ รัฐบาล สํานักเลขาธิการสํานักนายกรัฐมนตรี , สรุ ปผลการดําเนินการของคณะรัฐมนตรี ตามแนวนโยบายพื นฐานแหงรั พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปี ที$สาม (วันที$ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ ถึงวันที$ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗), หน้า 53. 48 ่ ่ ่ อยละ 84.72 มองวาการเป็ ่ ่ ม้ คา่ เพราะเป็ นการสร้างแสดงศักยภาพ และ ประชาชนสวนใหญกวาร้ นเจ้าภาพครั งนี ถือวาคุ ่ ประชาสัมพันธ์ประเทศไทย และได้ให้คะแนนความพอใจตอการทํ างานของรัฐบาลเฉลี$ยสูงถึง 8.57 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน ดู ่ $มา: สวนดุสิตโพล “การประเมินผลการประชุม APEC ในสายตา “ประชาชน” [Online]. แหลงที http://dusitpoll.dusit.ac.th/2546/2546_495.html [15กุมภาพันธ์ 2550] 49 ่ ฐ, 4 ปี ซอม ่ คณะกรรมการจัดทํารายงานแสดงผลการดําเนินการของคณะรัฐมนตรี ตามแนวนโยบายพื นฐานแหงรั ประเทศไทย เพื$อคนไทย โดยรัฐบาลพันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร (ปี 2544-2548), หน้า 33-34.


87

อย่ างไร บอกได้ แค่ ว่าท่ านเป็ นนายกฯนักพัฒนาตัวจริ ง เก่ งทั.งด้ าน ธุรกิจการค้ า การบริ หารงาน และเงิน บริ หารแผ่ นดินให้ คนพ้ นจาก ความลําบากยากจน ช่ วยเหลือคนจนให้ ได้ รับสิ ทธิ เท่ าเที ยมคนมีเงิน ในเรื องงานบริ การพื น. ฐาน และอื นอี กมาก ไม่ อยาก เสี ยคนเก่ งๆ แบบนีไ. ป”50 “ท่ านได้ เป็ นผู้บุกเบิ กการเมื องแนวใหม่ ของไทย คิ ดใหม่ ทําใหม่ คิ ดเร็ ว ทําเร็ วซึ งไม่ เคยมีนายกท่ าน ใดทํามาก่ อน ทันต่ อเหตุการณ์ ซึ ง ผลงานสมารถสั ม ผั ส ได้ และเป็ นที ย อมรั บ ทั. ง ใน และนอก ประเทศ ภาพการเมืองโดยรวมจึงเป็ นแนวรุ กมากกว่ ารั บ และจะเป็ น แบบอย่ างการบริ หารแนวใหม่ ให้ กับนักการเมืองไทยได้ เอาอย่ าง”51 การครองความคิดให้ผคู ้ นเชื$ อมัน$ ในความสามารถทางด้านการบริ หารของผูน้ าํ รัฐบาลนั น ่ ่ เกดผลดี ิ ยอมกอให้ ต่อเสถียรภาพ และความมัน$ คงในการครองอํานาจของรัฐบาลทักษิณ เนื$ องจาก ิ ่ $จะคอยติดตามการบริ หารงานของรัฐบาลอยาง ่ ประชาชนจะเกดความมั น$ ใจ และละเลยความใสใจที ่ $งตอตั ่ วพ.ต.ท.ทักษิณ ใกล้ชิดไป ทั งนี เพราะได้ยกความเชื$อมัน$ ให้แกรั่ ฐบาลทักษิณโดยเฉพาะอยางยิ ่ นเชิง ทําหน้าที$แทนอยางสิ ่ เรี ยบงาย ่ และเป็ นกนเอง ั 2) มีตวั ตนเข้าถึงงาย นอกจากกลไกการจัดการภาพลักษณ์ของผูน้ าํ รัฐบาลทักษิณจะทําหน้าที$ในการสร้างภาพ ่ .ต.ท.ทักษิณ เป็ นผูม้ ีวิสัยทัศน์ที$กว้างไกลแล้ว หน้าที$ประการตอมาของ ่ เหนือการรับรู ้ของผูค้ นวาพ ่ .ต.ท.ทักษิณนั น กลไกนี คือการสร้างภาพเพื$อครองใจผูค้ นโดยทําให้ผคู ้ นในสังคมเข้าใจ และเชื$อวาพ ่ แม้จะเป็ นผูป้ ระสบความสําเร็ จทางธุ รกจอยางล้ ิ ่ นเหลือ แตกเป็ ่ ็ นคน เป็ นผูท้ ี$มีตวั ตนเป็ นคนเรี ยบงาย ี ั และประการสําคัญคือ เป็ นผูท้ ี$สามารถเข้าถึง ที$มีลกั ษณะติดดิน ไมรั่ งเกยจคนจน มีความเป็ นกนเอง ตัวได้ง่าย ซึ$ งเป็ นการสร้างความหมายได้ว่ารัฐบาลทักษิณนั นเป็ นรัฐบาลที$ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย ่ สามารถแกปั้ ญหาตางๆให้ ประชาชนได้ตามที$ประชาชนต้องการ ดังเชน่ ภาพที$ 1 ที$แสดงให้เห็นถึง ั ่ ั ชชาคนจน ในชวงแรกๆที ่ ความเป็ นกนเอง และไมถื่ อตัวที$จะรับประทานอาหารรวมกบสมั $เข้ารับ ่ ตําแหนงนายกรั ฐมนตรี 50

่ $มา: ที$มา เว็บไซต์รู้ไปโม้ด โดยน้าชาติ ประชาชื$น [Online]. แหลงที http://www.matichon.co.th/youth/youth.php?tagsub=031106&tag950=03you30280547&show=1 [3 พฤษภาคม 2550] 51 เรื$ องเดียวกนั.


88

่ ั ่ นกนเอง ั 52 ภาพที$ 1: พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ขณะรับประทานอาหารรวมกบชาวบ้ านอยางเป็ ่ ่ .ต.ท.ทักษิณ สวนภาพที $ 2 นั นเป็ นการจัดการภาพลักษณ์ที$สร้างภาพให้ผคู ้ นทัว$ ไปเชื$อวาพ ั ั ่ ่ าในชว่ นั นเป็ นผูน้ าํ ที$ใกล้ชิด และเป็ นกนเองกบประชาชนอยางมาก ด้วยการนําเสนอภาพการเลนนํ ั ่ ั เทศกาลสงกรานต์ร่ วมกบประชาชนทั ว$ ไปอยางใกล้ ชิด และเป็ นกนเอง

53 ่ ากบประชาชนอยางใกล้ ั ่ ่ ภาพที$ 2: พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เลนนํ ชิดชวงเทศกาลสงกรานต์ กลไกการจัดการภาพลักษณ์ประการสุ ดท้ายที$ทาํ หน้าที$ในการสร้างภาพลักษณ์การมีตวั ตน ่ เรี ยบงาย ่ และเป็ นกนเองของพ ั เข้า ถึ งงาย .ต.ท.ทักษิ ณ คือ ทัวร์ นกขมิ น. โดยที$ รัฐบาลทักษิ ณได้ ดําเนิ นการใช้กลไกการจัดการภาพลักษณ์ กรณี ทวั ร์ นกขมิ น และการประชุ มคณะรัฐมนตรี สัญจร

52 53

ที$มา: ตาดูดาว เท้าสะดุดดิน, (กรุ งเทพฯ: คมชัดลึกฉบับพิเศษ, 2549), หน้า 27. เรื$ องเดียวกนั, หน้า 21.


89

ควบคูไ่ ปกบั การใช้กลไกการครองอํานาจนําอื$นๆ ซึ$ งการทัวร์ นกขมิ นนั น รัฐบาลทักษิณนั นได้ริเริ$ ม จัดให้มี ข ึนเป็ นครั ง แรกในปี 2547 โดยมีแนวคิ ดหลักของการทัวร์ ว่า “คํา ไหน นอนนั$น” และ ตั งเป้ าหมายที$จะจัดทัวร์นกขมิ นเพื$อไปรับฟังปัญหาจากชาวบ้านให้ครบทั ง 76 จังหวัด สาระสําคัญของการทัวร์ นกขมิ นประการหนึ$ งซึ$ งทําให้สามารถครองใจผูค้ นโดยเฉพาะ ่ $งชาวบ้านในชนบทได้54กคื็ อ การสัญญาวาจะดํ ่ าเนิ นการจัดการกบกรณี ั อยางยิ ปัญหาในทุกพื นที$ที$ ่ ่ วจะเป็ นโครงการในการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ควบคู่ไป ได้ไปทัวร์ นกขมิ น ซึ$ งสวนใหญแล้ ั ่ เชน่ โครงการหนึ$งตําบล หนึ$งผลิตภัณฑ์ กบการติ ดตามการดําเนินโครงการตามแนวนโยบายตางๆ ่ นเพื$อใช้ในโครงการตางๆอยางงายๆ ่ ่ ่ 55 เป็ นต้น โครงการ SML รวมถึงการหวานเงิ นอกเหนือจากสาระสําคัญของการทัวร์ นกขมิ นในเชิ งผลประโยชน์ที$รัฐบาลทักษิณสัญญา ่ ั วาจะให้ กบชาวบ้ าน สาระสําคัญอีกประการหนึ$งของทัวร์นกขมิ นนี ก็คือ การเป็ นกลไกสําคัญในการ ั ่ ไม่ ตอกยํ าการจัดสร้างภาพลักษณ์ของพ.ต.ท.ทักษิณ ให้เป็ นผูท้ ี$มีความเป็ นกนเอง และเข้าถึงงาย ี รังเกยจคนจน ดังแสดงในภาพที$ 3-ภาพที$ 6 ่ .ต.ท.ทักษิณนั นเป็ นผูท้ ี$มีความ ภาพที$ 3 นั นเป็ นการจัดการภาพลักษณ์ที$เห็นได้ชดั เจนวาพ ่ สามารถพักอยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมเชนเดี ่ ยวกนกบชาวบ้ ั ั เรี ยบงาย านได้ ซึ$ งเป็ นภาพลักษณ์ ที$ ่ น้ าํ ของตนนั นไมได้ ่ เป็ นผูท้ ี$แตกตางจากชาวบ้ ่ ่ ่ ชาวบ้านชื$นชอบ เพราะคิดวาผู านแตอยางใด เป็ นการ ั เกดขึ ิ นเหนือความรู ้สึกของชาวบ้าน สร้างความรู ้สึกเป็ นพวกเดียวกนให้

54

่ ่ ่ อยละ 57.64 ชื$นชอบการลงพื นที$ในลักษณะนี เพราะมองวารั ่ ฐบาลจะได้รับรู ้ถึงปัญหา เพราะประชาชนสวนใหญกวาร้ ่ ้ ญหาได้ตรงจุด และเป็ นการสร้างความมัน$ ใจให้กบประชาชนวารั ั ่ ฐบาลจะทําให้แต่ ตางๆจากชาวบ้ านได้โดยตรงและสามารถแกไขปั ่ ? กบนโยบาย ั ละพื นที$มีการพัฒนาที$ดีข ึน โดยที$ประชาชนได้รับผลประโยชน์โดยตรง ดู สวนดุสิตโพล “ประชาชนคิดอยางไร “คํ$า ่ $มา: http://dusitpoll.dusit.ac.th/2547/2547_116.html [20 กุมภาพันธ์ 2550] ไหนนอนนัน$” ของนายกฯทักษิณ” [Online]. แหลงที 55 ่ นที$ 17-22 กรกฎาคม 2547 กมี็ การอนุมตั ิงบประมาณ เฉพาะการทัวร์นกขมิ นในเขตภาคกลางและภาคเหนือ ระหวางวั ไปกวา่ 6.47 พันล้านบาทแล้ว ดู “นกขมิ นแม้ว แจกเงิน 6.47 พันล้าน”, ใน A day weekly, ปี ที$ 1 ฉบับที$ 10 (23-29 กรกฎาคม 2547), หน้า 13.


90

ั ่ ่ ภาพที$ 3: พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรกบความเรี ยบงายในชวงออกทั วร์นกขมิ น

่ ภาพที$ 4: ดูสภาพปัญหาในพื นที$อยางใกล้ ชิด56

56

เรื$ องเดียวกนั, หน้า 28.


91

57 ั ั ภาพที$ 5: ให้ความเป็ นกนเองกบประชาชน

่ ภาพที$ 6: แสดงความเห็นใจตอชาวบ้ านผูป้ ระสบปัญหา58 ่ สวนภาพที $ 4-ภาพที$ 6 นั นเป็ นการนําเสนอให้เห็นว่าในการทัวร์ นกขมิ น และการออกไป จัดการประชุ มคณะรัฐมนตรี นอกสถานที$น นั เป็ นโอกาสสําคัญในการสร้างเสริ มภาพลักษณ์ความ เป็ นคนที$ เ ข้า ถึ ง ได้ง่ ายของพ .ต.ท.ทัก ษิ ณ ดัง เห็ น ได้จ ากการเป็ นคนที$ ไ มถื่ อตัว สามารถนั$ง รถ ั แทรกเตอร์ เพื$อไปดูง านในพื นที$ได้ และมีค วามเป็ นกนเอง และเห็ นอกเห็ นใจเด็ก เยาวชน และ ผูส้ ู งอายุอยูเ่ สมอ 57 58

เรื$ องเดียวกนั, หน้า 25. เรื$ องเดียวกนั.


92

่ ยวกบการลงพื ั ่ เชนเดี ลทีวี ที$ถูก นที$เพื$อแสดงการแกปั้ ญหาความยากจนถายทอดสดทางเคเบิ ้ ” ที$อาํ เภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ดังภาพที$ 7 ซึ$ งรัฐบาลทักษิณเรี ยก เรี ยกวา่ “เรี ยลิต ีโชว์ แกจน วิธีก ารแกปั้ ญหาความยากจนนี ว่า “อาจสามารถโมเดล” และให้เหตุผ ลถึ ง การจัดมี อาจสามารถ ่ $อเป็ นการถายทอดวิ ่ โมเดลขึ นมาวาเพื ธีการ และกระบวนการในการแกปั้ ญหาความยากจนของ ั ว้ ่าราชการจังหวัดซี อีโอได้ศึกษาและนํารู ปแบบของอาจสามารถโมเดลไป รัฐบาลทักษิณให้กบผู ปรับใช้เพื$อแกปั้ ญหาความยากจนในพื นที$อื$นๆได้ต่อไป

ภาพที$ 7: ขณะลงพื นที$โชว์การแกปั้ ญหาความยากจน ที$อาํ เภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด59 3) มีภาวะผูน้ าํ สู ง กลไกการจัดการภาพลักษณ์ในประเด็นที$สามนี เป็ นอีกกลไกหนึ$งที$มีความสําคัญในการยึด กุมพื นที$ทางความคิดของผูค้ นในสังคม เนื$องจากกลไกนี ได้ทาํ การเสนอภาพของการมีภาวะผูน้ าํ สู ง ั ่ ่ สามารถจัดการกบกรณี ปัญหาตางๆได้ อยางรวดเร็ ว และมีประสิ ทธิ ภาพของพ.ต.ท.ทักษิณ ดังเห็น ได้จากกรณี ปัญหาที$สาํ คัญ คือ กรณี เผาสถานทูตไทยในกัมพูชา ในปี 2546 อันเนื$องมาจากกรณี การ ่ ั ชาที$เข้าใจวาดาราสาวของไทยคนหนึ ่ ่ ั ชา60 ไมพอใจของชาวกมพู $ งได้พูดจาในเชิงดูหมิ$นตอชาวกมพู ่ ิ ั ชา และสถานการณ์ได้บานปลาย สงผลให้ เกดการประท้ วงขึ นที$สถานทูตไทยประจําประเทศกมพู ิ ่ ไปจนเกดการเผาสถานทู ตไทยในเวลาตอมา ่ ิ พ.ต.ท.ทักษิณได้ใช้สถานการณ์ให้เกดประโยชน์ แกตนและรั ฐบาลด้วยการใช้กลไกการ จัดการภาพลักษณ์ แสดงภาวะผูน้ าํ ด้วยการให้เครื$ องบินของกองทัพอากาศ เดินทางไปรับชาวไทยที$ 59 60

ที$มา: http://uncyclopedia.org/wiki/Thaksin_Shinawatra [2 มีนาคม 2550] ่ กบ-กมพู ั ชา”, มติชน 23 ธันวาคม 2546, หน้า 24. “ปรากฏการณ์แหงปี


93

ั ชา เพื$อเดิ นทางกลับประเทศไทยอยางรวดเร็ ่ ทํางาน และอาศัยอยู่ที$ประเทศกมพู ว เป็ นการแสดง 61 ่ ภาวะผูน้ าํ ที$ได้รับความนิยมจากประชาชนเป็ นอยางมาก กรณี ปั ญหาอี กกรณี หนึ$ ง ที$ได้แสดงภาพการมี ภาวะผูน้ าํ ของพ.ต.ท.ทักษิ ณ คื อ กรณี การ ั ญหาโรคซาร์ ส ในปี 2546 ซึ$ งสถานการณ์โรคซาร์ ส ณ เวลานั นเป็ นปั ญหาที$ค่อนข้าง จัดการกบปั ่ ่ มีผเู ้ สี ยชีวิตจากโรค รุ นแรง มีผตู ้ ิดโรคนี และเสี ยชีวิตในตางประเทศ (ในเอเชีย) อีกทั งยังมีข่าววาได้ นี ในประเทศไทยด้วย ทําให้รัฐบาลทักษิณได้แสดงภาวะผูน้ าํ อีกครั งโดยการจัดให้ประเทศไทยเป็ น ็ ่ เจ้าภาพจัดการประชุ มประเทศกลุ่ มเสี$ ยงของโรคซาร์ ส จากนั นกประกาศวาประเทศไทยนั นเป็ น ่ น ประเทศที$ปลอดโรคซาร์ ส 100 เปอร์ เซ็นต์ หากมีผใู ้ ดมาติดโรคนี ที$เมืองไทยทางรัฐบาลจะจายเงิ ให้ 2 ล้านบาท 4) เพื$อเบี$ยงเบนประเด็นความสนใจจากสังคม กลไกการจัดการภาพลัก ษณ์ ป ระเด็นสุ ดท้า ยคื อ การสร้ า งภาพในบางกรณี เพื$อเป็ นการ เบี$ยงเบน หรื อ เลี$ยงความสนใจจากสื$ อมวลชนจากประเด็นปั ญหาที$รัฐบาลทักษิณได้เผชิ ญอยู่ใน ขณะนั นให้หนั เหความสนใจไปยังประเด็นอื$นที$ถูกสร้างขึ นมาแทนที$62 ่ ฐบาลทักษิณได้อาศัยกลไกการ กรณี ปัญหาที$สาํ คัญซึ$งเป็ นประเด็นที$มองได้ค่อนข้างชัดวารั จัดการภาพลักษณ์ สร้ างภาพขึ นมาเพื$อเบี$ยงเบนความสนใจในประเด็นที$ตอ้ งการนั น ได้แก่ กรณี มอบตัว เครื$ องบิ นให้เ ยาวชนจาก 3 จัง หวัด ชายแดนภาคใต้ข ึ น มาเที$ ย วกรุ ง เทพเนื$ อ งในวัน เด็ ก ่ ิ ่ แหงชาติ ปี 2547 กรณี พ .ต.ท.ทัก ษิ ณ คณะรั ฐ มนตรี และบุ ค คลที$ มี ชื$ อ เสี ย งกนไกโชว์ กรณี ่ ่ “ลูกนายกฯ น.สแพทองธาร ทํางานหารายได้พิเศษที$ร้านแม็คโดนัลด์, กรณี พ.ต.ท.ทักษิณ กลาววา ี ั ก” และกรณี พ.ต.ท.ทักษิณยกมือไหว้สื$อมวลชนทั งนํ าต มันเป็ นลูกโจรที$ไหน ถึงได้รังเกยจกนนั ่ งวอนให้เลิกเสนอขาวของแพ ่ ่ อหุ ้นสโมสรฟุตบอลลิเวอร์ พูล พร้อมกลาววิ ทองธาร กรณี เสนอขาวซื และกรณี เสนอนโยบายเหนือเมฆ “SML” กรณี แรกคือ การมอบตัfวเครื องบิ นให้ เยาวชนจาก 3 จัง หวัดชายแดนภาคใต้ ขึน. มาเที ย ว กรุ ง เทพเนื องในวัน เด็ก แห่ งชาติ ปี 2547 นั น เป็ นการเลื อ กใช้ก ลไกการจัดการภาพลัก ษณ์ เ พื$ อ ่ เบี$ ยงเบนความสนใจจากสื$ อมวลชนจากประเด็นสถานการณ์ ค วามไมสงบในพื นที$ 3 จังหวัด

61

ั ญหาการเผาสถานทูตไทยนี ได้สร้างความเชื$อมัน$ ตอรั ่ ฐบาลทักษิณ เพิ$มขึ นถึงร้อยละ 62.23 ขณะที$ กรณี การจัดการกบปั ่ วพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เพิ$มขึ นถึงร้อยละ 70.82 ดู สวนดุสิตโพล “ความมัน$ ใจในการแกไขปั ้ ญหาของ “รัฐบาล” มีความมัน$ ใจตอตั ่ $มา: http://dusitpoll.dusit.ac.th/2546/2546_032.html [2 มีนาคม 2550] กรณี : เขมรเผาสถานฑูตไทย” [Online]. แหลงที 62 ํ ่ ่ างขาวกแทรกแซงขาว ่ ็ ่ ”, ใน ปิ ดหู ปิ ดตา ดู จรรยา เจริ ญอภิวนั ท์ และคณะ, “การกาหนดวาระขาวสารของรั ฐบาล: ไมสร้ ปิ ดปาก, อุบลรัตน์ ศิริยวุ ศักดิ , บรรณาธิ การ (กรุ งเทพฯ: คบไฟ, 2548), หน้า 159-183.


94

่ ่ งคยุทธ ชายแดนภาคใต้ในชวงแรกๆ คือเหตุการณ์วางเพลิงเผาโรงเรี ยน และการปล้นปื นจากคายอิ บริ หาร กรณี พ.ต.ท.ทักษิณ คณะรั ฐมนตรี และบุคคลที มีชื อเสี ยงกินไก่ โชว์ นี เป็ นกลไกการสร้าง ่ านการณ์โรคไข้หวัดนกในประเทศไทยนั นไมนาเป็ ่ ่ นหวง ่ และประชาชนสามารถ ภาพชวนเชื$อวาสถ ่ อยางปลอดภั ่ ที$จะรับประทานไกได้ ย โดยไมติ่ ดเชื อไข้หวัดนก และเบี$ยงเบนประเด็นคําถามที$สังคม ่ ใดรัฐบาลจึงต้องทําการปกปิ ดข้อมูลเรื$ องไข้หวัดนก โดยที$รัฐบาลทักษิณได้จดั ได้ต งั ข้อสงสัยวาเหตุ ่ ปลอดภัย 100%” ขึ นที$ท ้องสนามหลวง โดยมีพ .ต.ท.ทักษิ ณ พร้ อมด้วย “มหกรรมกิ นไกไทย ่ สื$อมวลชน ่ บประทานอาหารที$ปรุ งจากไกโชว์ คณะรัฐมนตรี และบุคคลที$มีชื$อเสี ยงมารวมรั ่ $อ กรณี นางสาว แพทองธาร ทํางานหารายได้ พิเศษที ร้านแม็คโดนัลด์ นี เป็ นการสร้างขาวเพื เบี$ยงเบนความสนใจของสังคม จากประเด็นปั ญหาเรื$ องการรั$ วของข้อสอบเอ็นทรานซ์ ครั งที$ 2 ประจํา ปี 2547 และกรณี ที$คณะนิ เทศศาสตร์ ภาคภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ปรับ ่ ่ เกณฑ์การรับผูส้ มัครจนทําให้นางสาวแพทองธาร ผานการคั ดเลือกได้ ซึ$งจากกรณี ปัญหาดังกลาวได้ ิ ่ ส่ วนเกยวข้ ี$ องด้วย ทําให้รัฐบาลทักษิณต้อง เกดกระแสโจมตี พ.ต.ท.ทักษิณ และรัฐบาลทักษิณวามี ่ $นขึ นมาเพื$อดึงความสนใจจากสื$ อมวลชน และสังคมออกจากปั ญหาดังกลาวด้ ่ วยการให้ สร้างขาวอื นางสาวแพทองธาร บุตรสาวของพ.ต.ท.ทักษิณ ไปทํางานพิเศษที$ร้านแม็คโดนัลด์ เป็ นระยะเวลา สั นๆ ่ สื บเนื$ องจากปั ญหาการถูกสังคมโจมตี และตั งคําถามในเรื$ องความโปรงใสของการสอบ ่ ขอ้ กงขา ั พ.ต.ท. เอ็นทรานซ์ และการสอบเข้าคณะนิ เทศศาสตร์ ของนางสาวแพทองธาร อยางมี ทักษิณ จึงได้ใช้กลไกการสร้างภาพเพื$อลดกระแสการโจมตีลงด้วยการ ยกมือไหว้สื$อมวลชนทั ง ่ งวอนให้สื$อเลิกเสนอขาวของแพทองธารด้ ่ นํ าตา พร้อมทั งกลาววิ วย ่ 2547 นั นดําเนิ นมาอยางตอเนื ่ ่ $ องนับตั งแตกรณี ่ กระแสการโจมตีรัฐบาลทักษิณในชวงปี ่ ่ นปี ตอเนื ่ $ องกบปั ั ญหาการแพรระบาดของไข้ ่ ความไมสงบในพื หวัดนก แต่ นที$ ภาคใต้ใ นชวงต้ ่ ่ รัฐบาลทักษิณกลับเลือกที$จะปกปิ ดขอมูลตอสาธารณชน กรณี ขอ้ สอบเอ็นทรานซ์ร$ัว จนถึงชวงการ ่ วางใจรัฐมนตรี เป็ นรายบุคคลในปี 2547 ซึ$ งเป็ นกรณี ตวั อยางที ่ $ชดั เจน และได้ผลที$สุด อภิปรายไมไว้ ของการเลื อกใช้ก ลไกการจัดการภาพลัก ษณ์ นั$นคื อ กรณี ก ารเสนอข่ า วซื . อหุ้ นสโมสรฟุ ตบอล ลิ เวอร์ พูล ซึ$ งเป็ นการเลือกใช้กลไกเพื$อเบี$ยงเบนจากความสนใจของสื$ อมวลชน และสังคมไปได้ ่ ่ ่ วางใจรัฐมนตรี ในครั งนั นไมได้ ่ รับ อยางประสบผลสํ าเร็ จสู งสุ ด จนสงผลให้ การเปิ ดอภิปรายไมไว้ ่ $ควร เนื$องจากพื นที$ข่าวสารสาธารณะถูกแยงชิ ่ งไปด้วยกรณี การ ความสนใจจากสื$ อมวลชนมากเทาที ่ เสนอขาวสนใจซื อหุน้ สโมสรลิเวอร์พลู กรณี การนําเสนอนโยบาย SML ด้วยการชูแนวคิด “ลดอํานาจรัฐ เพิ$มอํานาจประชาชน” ่ ดนโยบายนี ข ึนได้ขณะที$ ่ น “นโยบายเหนือเมฆ” เพราะวาคิ และพ.ต.ท.ทักษิณ ได้ให้สัมภาษณ์วาเป็ ่ เดินทางอยู่บนเครื$ องบินขณะที$พ.ต.ท.ทักษิณเดินทางไปประชุ ม ณ ตางประเทศ ซึ$ งนโยบายเหนื อ


95

่ งพื นที$สื$อมวลชนไปจากประเด็นปั ญหา เมฆ หรื อ SML นี สามารถเบี$ยงเบนความสนใจ และแยงชิ ่ ่ ่ เรื$ อง การแพรระบาดของไข้ หวัดนกรอบสองในชวงปลายปี 2547 ได้อยางประสบผลสํ าเร็ จ ่ ดท้ายในประเด็นนี คือ กรณี การจัด มหกรรมเหลียวหลัง กลไกการจัดการภาพลักษณ์อยางสุ ่ นที$ 6-10 พฤศจิกายน 2547 ซึ$ งเป็ นการจัดงานเพื$อแสดง แลหน้ า จากรากหญ้ าสู่ รากแก้ ว ระหวางวั ่​่ ผลงานของรัฐบาลตลอด 4 ปี โดยนอกจากนี ยงั มีกิจกรรมมากมายในงานนี ไมวาจะเป็ นการจัดการ แสดงสิ นค้าหนึ$ งตําบล หนึ$ งผลิตภัณฑ์ การจัดสัมมนา และเสวนาที$เรี ยกวา่ “เวทีประชาชน” การ ่ ็ อ การลด แลก แจก ออกร้านค้า ร้านอาหาร และสิ$ งสําคัญที$ดึงดูดให้ประชาชนไปงานนี อยางมากกคื ่ มที$ ตัวอยางเชน ่ ่ การชิงรางวัลลุน้ สิ ทธิ การได้เป็ นเจ้าของบ้านเอื ออาทรวันละ 100 ยูนิต แถมอยางเต็ รับแบบบ้านฟรี เปิ ดลงทะเบียนอาชี วศึกษา ด้วยแนวคิดอยากเรี ยนต้องได้เรี ยน สามารถรับแวน่ ่ สายตาได้ฟรี สํา หรับ ผูม้ ีปั ญหาทางสายตา เปิ ดลงทะเบี ยนรวมเป็ นหนึ$ งในโครงการโค 1 ล้า น ครอบครัว ฯลฯ63 ความสําคัญของกลไกการจัดการภาพลักษณ์กรณี การจัดมหกรรมเหลียวหลัง แลหน้าฯ นี ่ ขึ นมากคื็ อ ชวยในการลดกระแสการโจมตี จากสื$ อมวล และนักวิชาการจากกรณี ปัญหาที$อาํ เภอตาก ั ่ ใบ จังหวดนราธิ วาส เมื$อวันที 25 ตุลาคม 2547 ซึ$ งปั ญหาในการจัดการกบกรณี ความไมสงบใน ภาคใต้ข องรั ฐ บาลทัก ษิ ณ นั น เป็ นประเด็ น สํา คัญ ที$ บ น$ั ทอนคะแนนนิ ย มของรั ฐบาลทัก ษิ ณ อยู่ ่ งความสนใจจากสื$ อมวลชนได้ระยะ ตลอดเวลา การจัดมหกรรมเหลียวหลังแลหน้าฯนี เป็ นการชวงชิ ่ หนึ$งอยางประสบผลสํ าเร็ จ 4.4 สรปุ ดังที$ได้นาํ เสนอถึงกลไกการครองอํานาจนําหลัก 2 ประการคือ กลไกนโยบาย และการ จัดการภาพลักษณ์ของผูน้ าํ นั นเป็ นการนําเสนอถึงการทําสงครามยึดพื นที$ทางความคิดเหนือพื นที$ ่ ั ฐด้วยวิธีการสร้างให้เกดการ ิ ประชาสังคมซึ$ งเป็ นพื นที$ของความสัมพันธ์ระหวางประชาชนกบรั ํ ง หรื อการบังคับโดยอํานาจรัฐผานกลไกทาง ่ ยอมรับ การยินยอมพร้อมใจโดยปราศจากการใช้กาลั กฎหมาย ่ การดําเนิ นการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณผานทางกลไกการครอง อํานาจนําด้วยกลไกหลักทั งสองประการนั นประสบผลสําเร็ จในระดับหนึ$งดังเห็นได้จากผลสํารวจ

63

“นําเที$ยว เหลียวหลังแลหน้าฯ ชมการตลาดแบบประชานิยม”, ใน A day weekly, ปี ที$ 1 ฉบับที$ 26 (12-18 พฤศจิกายน 2547), หน้า 14-15.


96

่ ความคิดเห็นในเชิงบวกของผูค้ นที$มีต่อรัฐบาลทักษิณ64 รวมถึงการได้รับคะแนน คะแนนนิยมตางๆ ่ ่ เสี ยงอยางถลมทลายในการเลื อกตั งทัว$ ไปในเดือนกุมภาพันธ์ 2548 ในบทถัดไปจะเป็ นการนําเสนอถึ ง การทํา สงครามยึดพื นที$ ทางความคิ ดเหนื อพื นที$ ทาง สังคมอีกพื นที$หนึ$ งคือ พื นที$สังคมการเมือง ซึ$ งเป็ นพื นที$ของความสัมพันธ์เชิ งอํานาจ และมุ่งใช้ ่ อํานาจรัฐเพื$อควบคุม หรื อมีอาํ นาจเหนือกลุ่มตางๆในสั งคม การดําเนินการครองอํานาจเหนือสังคม ่ ทาง กลไกรัฐ/กลไกอํานาจรัฐ การเมืองนี ดาํ เนินการผาน

64

แม้กระทัง$ รัฐบาลทักษิณได้ถูกรัฐประหารโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย ์ ่ ่ 6 เดือนแล้ว (ขณะที$ผวู ้ ิจยั เขียนวิจยั เลมนี ่ ) กยั็ งมีกลุ่มคนจํานวนหนึ$งที$ยงั คงรักและ ทรงเป็ นประมุข (คปค.) เป็ นเวลาผานไปนานกวา ่ $งตอตั ่ วของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรเองอยู่ ดังเห็นได้จากการเกดขึ ิ นของการรวมตัวใน นิยมชมชอบรัฐบาลทักษิณ โดยเฉพาะอยางยิ ่ กทางกระทรวงเทคโนโลยีและสารสนเทศตามปิ ดเว็บไซต์อยูเ่ นืองๆ กยั็ งคงมีการเปิ ด พื นที$อินเตอร์เน็ตเป็ นจํานวนมาก แม้วาจะถู ่ ตลอดเวลาเชนกน ่ ั เว็บไซต์ที$ตกเป็ นขาวมากที ่ ่ $มา: http://www.hiเว็บไซต์ใหมได้ $สุดคือเว็บไซต์ไฮ-ทักษิณ[Online]. แหลงที ่ อความ แลกเปลี$ยนความเห็นกนของผู ั thaksin.org/home.php [4 พฤษภาคม 2550] ซึ$งมีการสงข้ ท้ ี$สนับสนุนพ.ต.ท.ทักษิณ รวมทั งยังมี ่ ่ $องอีกด้วยด้วย นอกเหนือจากเว็บไซต์ การนําเสนอข้อมูลในลักษณะของการลดทอนความชอบธรรมของรัฐบาลคมช.อยางตอเนื ่ ็ งมีเว็บไซต์ของกลุ่มคนรักทักษิณอยูอ่ ีก เชน่ เว็บไซต์รวมพลคนรักทักษิณ ชินวัตร [Online]. แหลงที ่ $มา: ดังกลาวกยั ่ ผเู ้ ข้ามาลงชื$อสนับสนุนพ.ต.ท.ทักษิณ http://members.thai.net/aradin23/tuksin/ [4 พฤษภาคม 2550] เป็ นต้น ในเว็บไซต์ดงั กลาวมี เป็ นจํานวนนับพันคนเลยทีเดียว


บทที 5 รัฐบาลทักษิณกับการดําเนินการสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา: การใช้ กลไกรัฐ ่ บทที ผานมาได้ เริ มการอธิ บายการดําเนิ นสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ โดยมีรูปแบบในการอธิบายดังนี) คือ I) “รัฐบาลทักษิณ” ในฐานะที เป็ น “กลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะ ั ค้ นใน ครองอํานาจนํา” (Hegemon) นั) นได้ดาํ เนิ นการสร้ าง “สงครามยึดพื) นที ทางความคิด” กบผู ิ ) นเหนื อพื) นที ทางสังคมทั) งหมด III) การทํา สังคม II) เพื อสร้าง “กลุ่มประวัติศาสตร์ ” ให้เกดขึ ่ ) จะดําเนินการโดยอาศัย “กลไก” ตางๆทั ่ ิ สงครามยึดพื) นที ทางความคิดดังกลาวนี ) งที ก่อให้เกดการ ่ ยอมรับโดยดุษฎี และที บงั คับด้วยอํานาจรัฐ และ IV) ถ้าไมสามารถเอาชนะสงครามยึ ดพื)นที ทาง ่ รณ์ และจะเกดิ “การโต้ตอบตอการครองอํ ่ ความคิดได้ ภาวะการครองอํานาจนําจะไมสมบู านาจนํา” (Counter Hegemony) ขึ) นจากกลุ่ม หรื อชนชั) นผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนํากลุ่มใหมๆ่ ขึ) น เสมอ ่ การนําเสนอในบทนี) และบทที ผานมานั ) นเป็ นขั) นตอนของการอธิ บายในขั) นตอนที III. คือ ่ การอาศัยกลไกตางๆเป็ นเครื องมือในการยึดครองพื)นที ทางสังคมทั) งพื)นที ประชาสังคม และสังคม ่ การเมือง ในบทนี) จะได้นาํ เสนอในสวนของการใช้ กลไกรัฐเพื อเป็ นการเสริ มสร้ างให้การสร้ า ง ิ ) นได้ สวนการอธิ ่ ่ ดท้ายเกยวก ี ่ บายในสวนสุ ภาวะการครองอํานาจนําอยางสมบู รณ์น) นั สามารถเกดขึ ั ่ กบการโต้ ตอบตอการครองอํ านาจนํานั) นจะได้นาํ เสนอในบทถัดไป กลไกรัฐ/กลไกอํานาจรัฐ การทําสงครามยึดพื) นที ทางความคิดเหนื อพื) นที สังคมการเมืองเพื อสร้ างภาวะการครอง ิ ) นนั) นดําเนิ นการผาน ่ กลไกการครองอํานาจนํา โดยมีกลไกหลักคือ กลไกเชิ ง อํานาจนําให้เกดขึ นโยบาย และกลไกการจัดการภาพลักษณ์ กลไกการครองอํานาจนํานั) นเป็ นกลไกที มีประสิ ทธิ ภาพ ในการสร้างภาวะการครองอํานาจนํา เหนื อความรู ้ สึก และการรับรู ้ ของผูค้ นในสังคม แต่ในการ ่ ดําเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนําเหนือสังคมทั) งหมดอยางสมบู รณ์แบบนั) น ยังมีพ)ืนที สังคม การเมืองอีกพื)นที หนึ งที มีความสําคัญ และเป็ นพื)นที ซ ึ งกลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนํา ่ ่ นได้ชดั ตางจากพื ่ สามารถเอาชนะฝ่ ายตรงข้าม หรื อคู่แขงของตนอยางเห็ )นที ประชาสังคม การดําเนิ นการทําสงครามยึดพื) นที ทางความคิดเพื อสร้ างภาวะการครองอํานาจนําเหนื อ ่ กลไกรั ฐ/กลไกอํานาจรั ฐ ซึ งกระบวนการใช้กลไกรัฐเพื อ พื)นที สังคมการเมืองนี) ดําเนิ นการผาน ่ สร้างภาวะการครองอํานาจนําเหนื อสังคมการเมืองนี) สามารถกระทําได้ในระยะเวลาที ส) ันกวาการ


98

ั ใช้กลไกการครองอํานาจนํา ขณะเดี ยวกนความยั ง ยืนของการครองอํา นาจนํา เหนื อพื) นที สัง คม ่ การเมืองนั) นจะตางไปจากการครองอํ านาจนําเหนือพื)นที ประชาสังคม1 การดําเนินการใช้กลไกรัฐเพื อสร้างภาวะการครองอํานาจนําเหนือพื)นที สังคมการเมืองนั) น ่ วยกนได้ ั แก่ 1) การเพิ มจํานวนที น ัง ในสภาผูแ้ ทนราษฎรเพื อเลี ยงการ จําแนกได้เป็ น 3 สวนด้ ่ ่ ตรวจสอบ 2) ใช้ความเข้มแข็งให้เป็ นประโยชน์ในการผานรางกฎหมาย และ 3) การแทรกแซง ั านาจรัฐตางๆ ่ องค์กรที สัมพันธ์กบอํ 5.1 การเพิม จํานวนทีน ั งในสภาผ้แู ทนราษฎรเพือ เลีย งการตรวจสอบ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 มีบทบัญญัติที เอื) อในการสร้างความเข้มแข็งให้แกฝ่​่ ายบริ หาร โดย ํ ่ วางใจนายกรัฐมนตรี น) นั จะต้องใช้เสี ยงจากสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร กาหนดให้ การอภิปรายไมไว้ (ส.ส.) เป็ นจํานวนไมน้่ อยกวา่ 2 ใน 5 ของส.ส.ทั) งหมดในสภาผูแ้ ทนราษฎร จึงจะสามารถทําการ ่ ใจนายกรัฐมนตรี ได้2 เปิ ดอภิปรายไมไว้ การทําหน้าที ของฝ่ ายบริ หารที มีการตรวจสอบจากฝ่ ายนิ ติบญ ั ญัติได้ยากนั) นในด้านหนึ ง ่ ่ องและมีเสถียรภาพ โดยไมต้่ อง เป็ นการเปิ ดโอกาสให้ฝ่ายบริ หารสามารถทําหน้าที ได้อยางตอเนื ั ่ วางใจที อาจมีผลตอสถานภาพของรั ่ ่ ) งนัก ขณะเดียวกนั เผชิญกบการเปิ ดอภิปรายไมไว้ ฐบาลบอยครั การสร้างเงื อนไขให้ฝ่ายนิติบญั ญัติสามารถตรวจสอบการทํางานของฝ่ ายบริ หารได้ยากนั) นกมี็ ผลทํา ่ ่ ่ ่ ให้รัฐบาลกระทําการตางๆอยางไมเกรงกลั วตอกระบวนการตรวจสอบ กลไกรั ฐ ประการแรกที รัฐบาลทักษิณได้นาํ มาใช้เนื องจากอาศัยบทบัญญัติที เอื) อประโยชน์ ในการสร้างความเข้มแข็งแกรั่ ฐบาลทักษิณเอง คือ “การเพิ มจํานวนที นั งในสภาผู้แทนราษฎร” เพื อ เป็ นการสร้างอํานาจรัฐในระบบรัฐสภาให้มีความเข้มแข็งมากขึ) น ซึ งจะนําไปสู่ ประโยชน์อื นๆที จะ ่ งตอไป ่ ได้กลาวถึ การเพิ มจํานวนที นง ั ในสภาผูแ้ ทนราษฎรในยุคการครองอํานาจของรัฐบาลทักษิณนั) นมี 2 ั แก่ วิธีแรก การดึงพรรคการเมืองอื นมาเข้ารวมรั ่ ฐบาล และวิธีที สอง การยุบ วิธีการหลักด้วยกนได้ รวมพรรค

1

ี ั ดูรายละเอียดเกยวกบกรอบแนวคิ ดในการอธิบายสําหรับงานวิจยั นี) ใน บทที 2 ่ ํ ่ การขอเปิ ดอภิปรายไมไว้ ่ วางใจนายกรัฐมนตรี จะ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจั กรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 185 กาหนดวา ่ ่ อยกวา่ 2 ใน 5 ของจํานวนสมาชิกสภาผูแ้ ทน กระทําได้ตอ้ งมีสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรเข้าชื อเสนอญัตติขอเปิ ดอภิปรายดังกลาวไมน้ ่ มีอยู่ โดยต้องมีการเสนอชื อผูส้ มควรดํารงตําแหนงนายกรั ่ ่ ราษฎรเทาที ฐมนตรี คนตอไปมาด้ วยและหากเป็ นการยืน ถอดถอน ่ าที ต้องยืน ถอดถอนตอคณะกรรมการป้ ่ ั นายกรัฐมนตรี กรณี มีพฤติการณ์ร าํ รวยผิดปกติส่ อไปในทางทุจริ ตตอหน้ องกนและปราบปรา ่ ดว้ ย เงื อนไขเหลานี ่ ) ทาํ ให้การขอเปิ ดอภิปรายไมไว้ ่ วางใจนายกรัฐมนตรี ทาํ ได้ยาก การทุจริ ตแหงชาติ 2


99

่ ฐบาล วิธีแรก การดึงพรรคการเมืองอื นมาเข้ารวมรั ่ การครองอํานาจในสมัยแรกของรัฐบาลทักษิณนั) นใช้วิธีการดึงพรรคการเมืองได้แกพรรค ่ ฐบาล วิธีการแรกนี) เป็ นวิธีการปกติสําหรับ ความหวังใหม่ และพรรคชาติไทย มาเข้าเป็ นพรรครวมรั ่ มีเสี ยงข้างมากอยางเด็ ่ ดขาด การเมืองในระบบรัฐสภาของไทยที พรรคแกนนําจัดตั) งรัฐบาลนั) นไมได้ ่ ฐบาลเพื อจัดตั) ง พอที จะจัดตั) งรัฐบาลพรรคเดียว จึงต้องดึงพรรคการเมืองอื นมาเข้าเป็ นพรรครวมรั รัฐบาลผสมขึ) น พรรคชาติไทย ภายใต้การนําของนายบรรหาร ศิลปะอาชา นั) นได้ที นง ั ส.ส.จากการเลือกตั) ง ั .ส.ของพรรคความหวังใหมจํ่ านวน 36 คน เป็ น 6 มกราคม 2544 เป็ นจํานวน 41 ที นง ั เมื อรวมกบส ่ ฐบาลกทํ็ าให้รัฐบาลทักษิณมีเสี ยงในสภาผูแ้ ทนราษฎรเป็ นจํานวนถึง 325 เสี ยง ซึ งแม้วา่ พรรครวมรั ิ ึ งซึ งถือวาปลอดภั ่ ่ ่ ่ และเพียงพอ จะมีเสี ยงในสภาเกนกงหนึ ยตอการลงมติ เพื อผา่ นรางกฎหมายตางๆ ่ ั ่ วางใจ แตรั่ ฐบาลทัก ษิ ณ ยัง คง ตอการสร้ า งการคุ ้ม กนนายกรั ฐมนตรี จากการเปิ ดอภิ ป รายไมไว้ ต้องการสร้างความเข้มแข็งให้เพิ มขึ) นอีกด้วยการยุบรวมพรรคการเมืองขนาดกลาง และขนาดเล็กมา ่ ั ่ เข้ารวมกบพรรคไทยรั กไทยในเวลาตอมา ่ ผูว้ ิจยั มองวาตามกรอบแนวคิ ดการครองอํานาจนํานั) น ในกรณี น) ีรัฐบาลทักษิณสามารถทํา ่ นการเบ็ดเสร็ จ เพราะถ้าส.ส.ของพรรครวมรั ่ ฐบาล การยึดพื) นที สังคมการเมืองได้แล้ว แตยั่ งไมเป็ ั การลงมติในกรณี ต่างๆ โดยเฉพาะการออกเสี ยงเพื อเปิ ดอภิปรายไมไว้ ่ วางใจ สามารถรวมตัวกนได้ ็ ิ ) น ได้ ดัง นั) น รั ฐ บาลทัก ษิ ณ จึ ง ต้อ งอาศัย วิ ธี ที ส องในการเพิ ม นายกรั ฐ มนตรี กสามารถเกดขึ ั ่ ประสิ ทธิภาพให้กบกลไกการเพิ มจํานวนที นง ั ในสภาผูแ้ ทนราษฎรของตนตอไป วิธีที สอง การยุบรวมพรรค ่ ิ ) น ใน วิ ธี ก ารเพิ ม ที น ั ง ในสภาผู ้แ ทนราษฎรวิ ธี ที ส องนั) น เป็ นวิ ธี ก ารที ไ มเคยเกดขึ ประวัติศาสตร์ การเมืองไทย รัฐบาลทักษิณเลือกที จะใช้วิธีในการเพิ มจํานวนส.ส. เพื อเป็ นการเพิ ม ่ คะแนนเสี ยงในสภาอยางรวดเร็ ว ตามความต้องการด้วยการให้พรรคการเมืองอื นทําการยุบพรรค ่ ่ ) เ ป็ นการเลี ย งข้อ กาหนดใน ํ และเข้า มารวมเป็ นสวนหนึ งของพรรคไทยรั ก ไทย วิ ธี ก ารเชนนี ํ ั รัฐธรรมนูญ 2540 ประการหนึ งที กาหนด ให้ผสู ้ มัครส.ส.ต้องสังกดพรรคการเมื องพรรคใดพรรค ่ ั ่ อยกวา่ 90 วันจนถึงวันเลือกตั) ง3 วิธีการยุบรวมพรรค หนึ งเพียงพรรคเดียวเป็ นเวลาติดตอกนไมน้

3

่ ํ ่ คคลผูม้ ีสิทธิสมัครรับเลือกตั) งเป็ น รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจั กรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 107 (4) กาหนดวาบุ ่ ยง พรรค สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร จะต้องมีคุณสมบัติประการหนึ งคือ จะต้องเป็ นสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ งแตเพี ่ ั ่ อยกวา่ เกาสิ ้ บวัน เดียวนับถึงวันสมัครรับเลือกตั) งเป็ นเวลาติดตอกนไมน้


100

ํ สามารถเลี ยงข้อกาหนดนี ) ทําให้พรรคไทยรักไทยไมจํ่ าเป็ นต้องดึงตัว หรื อซื) อตัวส.ส.จากพรรคอื น ่ ่ ั ฐบาลทักษิณได้อยางรวดเร็ ่ มากอนหน้ าการเลือกตั) ง แตสามาร ถนําส.ส.มาเพิ มคะแนนเสี ยงให้กบรั ว ั พรรคการเมืองแรกที ได้ประกาศยุบรวมพรรคเข้ากบพรรคไทยรั กไทยคือ พรรคเสรี ธรรม ที มีส.ส. 14 ที นง ั มีนายประจวบ ไชยสาส์ น เป็ นหัวหน้าพรรค ได้ประกาศยุบพรรคเพื อไปรวมกบั ่ นทางการในการประชุมพรรคเมื อวันที 25 มิถุนายน 25444 พรรคไทยรักไทย อยางเป็ ความหวังใหม่ ที มีส.ส. 36 ที นง ั และมีพล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เป็ นหัวหน้าพรรค เป็ นพรรค ั การเมืองถัดมาที ประกาศยุบรวมกบพรรคไทยรั กไทย โดยมีมติพรรคให้มีการยุบพรรคไปรวมกบั ่ พรรคไทยรักไทย เมื อวันที 24 มกราคม 2545 โดยที พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ได้นง ั ตําแหนงประธาน ที ปรึ กษาพรรคไทยรักไทยด้วย5 และนอกจากนั) นยังมีส.ส.จากพรรคถิ นไทยที ถูกยุบพรรคไปอีก 1 ่ ั คนที ยา้ ยมาเข้ารวมกบพรรคไทยรั กไทย ั พรรคการเมืองอีกพรรคหนึ งที ได้ยบุ รวมเข้ากบพรรคชาติ ไทยคือ พรรคชาติพฒั นา ที มีส.ส. ่ ่ ฐบาล 29 ที นง ั ซึ งแม้ในชวงแรกของรั ฐบาลทักษิณนั) น พรรคชาติพฒั นาจะได้เข้าเป็ นพรรครวมรั ่ ็ ถูกถอดออกจากการเป็ นพรรครวมรั ่ ฐบาลไป ทักษิณ อยูก่ ่อนแล้วเมื อวันที 5 มีนาคม 2545 แตกได้ ่ พรรคชาติพฒั นาจะถูกถอดออกจากพรรครวมรั ่ ฐบาลนั) น ได้ เมื อวันที 8 พฤศจิกายน 25466 ซึ งกอนที ่ ่ มีข่าวลื อมากอนแล้ ววานายกรั ฐมนตรี จะทําการถอดพรรคชาติพฒั นาออกไปทั) งนี) อาจเป็ นเพราะ ั พรรคชาติ พ ัฒ นานั) น ปฏิ เ สธที จ ะทํา การยุ บ รวมพรรคเข้า กบพรรคไทยรั ก ไทย โดยหั ว หน้ า ่ องการที จะรักษาคํามัน สัญญาที ตนมีต่อผู ้ พรรคชาติพฒั นา นายสุ วจั น์ ลิปตพัลลพ นั) นให้เหตุผลวาต้ 7 ่ ) งพรรคชาติพฒั นา พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวันเอาไว้ กอตั ่ นเดือนสิ งหาคม 2547 ในงานเปิ ดอนุ สาวรี ย ์ พล.อ.ชาติชาย ชุ ณหะวัณ ที จนกระทัง ชวงต้ จังหวัดนครราชสี มา พ.ต.ท.ทักษิณได้ไปเป็ นประธาน และมีการประกาศทาบทามพรรคชาติพฒั นา ั ่ น ให้ยุบไปรวมกบพรรคไทยรั กไทยอีกครั) ง และหลังจากงานพิธีกรรมที จงั หวัดนครราชสี มาผานพ้ ็ มี ก ารประชุ ม วิส ามัญสมาชิ ก พรรคชาติ พ ฒ ่ ไปแล้ว พรรคชาติ พ ฒ ั นากได้ ั นาในชวงปลายเดื อน ่ ดเจนถึงการประกาศยุบรวมพรรคชาติพฒั นาเข้ากบพรรคไทยรั ั สิ งหาคม อันนําไปสู่ ขอ้ สรุ ปอยางชั ก ่ นทางการเมื อวันที 1 กนยายน ั 2547 ในที สุด ไทย8 และได้ทาํ การประกาศยุบพรรคอยางเป็ ั ภายหลังการยุบรวมพรรคเสรี ธรรม พรรคความหวังใหม่ และพรรคชาติพฒั นาเข้ากบพรรค ็ ่ ไทยรักไทย กสงผลให้ รัฐบาลทักษิณมีจาํ นวนเสี ยงในสภาผูแ้ ทนราษฎรเพิ มขึ) นถึง 79 เสี ยง และเมื อ 4

คู่มือเลือกตั) ง 48 อนาคตประเทศไทย, (กรุ งเทพฯ: มติชน, 2548), หน้า 38. เรื องเดียวกนั. 6 http://www.chartpattana.or.th/home/portfolio.php [20 มีนาคม 2550] 7 ่ ่ สุวจั น์-บรรหารยังไมจนตรอก ผนึก สนัน โคนไทยรั กไทย, สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 26(21-27 พฤศจิกายน 2546), 17. 8 http://www.manager.co.th/asp-bin/mgrView.aspx?NewsID=9470000046095 [20 มีนาคม 2550] และ ยุบชาติพฒั นา ั รวมไทยรักไทย, เนชัน สุดสัปดาห์. 640(6 กนยายน 2547), 5. 5


101

ั านวนเสี ยงจากพรรครวมรั ่ ฐบาลคือ พรรคชาติไทย พรรคถิ นไทย และพรรคกจสั ิ งคม กจะ ็ รวมกบจํ ทําให้รัฐบาลทักษิณในสมัยแรกของการครองอํานาจมีจาํ นวนเสี ยงในสภาถึ ง 372 เสี ยง ซึ งเป็ น ่ ั ่ พรรคฝ่ ายค้านเปิ ดอภิปรายไมไว้ ่ วางใจนายกรัฐมนตรี ได้ จํานวนเสี ยงที มากพอตอการป้ องกนไมให้ ่ ่ วางใจรัฐมนตรี เป็ นรายบุคคลได้ แตสามารถเปิ ดอภิปรายไมไว้ รัฐบาลทักษิณในฐานะฝ่ ายบริ หารในระบบประชาธิ ปไตยแบบรัฐสภาของไทย สามารถยึด ่ ่ างเบ็ดเสร็ จด้วยการใช้กลไกการ กุมพื)นที สังคมการเมือง หรื อสามารถยึดกุมอํานาจรัฐได้อยางคอนข้ เพิ มจํานวนที นง ั ในสภาผูแ้ ทนราษฎร และจากการครองอํานาจเหนื อสภาผูแ้ ทนราษฎรนี) เป็ นการ ลดทอนความสําคัญ และประสิ ทธิ ภาพของ กระบวนการตรวจสอบ โดยพรรคการเมืองฝ่ ายค้านใน ่ ระบบรัฐสภาลงไปอยางมาก ดังเห็ นได้ว่าตลอด 5 ปี ของการครองอํานาจนั) นพรรคฝ่ ายค้านไม่ ่ วางใจนายกรัฐมนตรี ได้ แตยั่ งคงเปิ ดอภิปรายไมไว้ ่ วางใจรัฐมนตรี เป็ น สามารถเปิ ดอภิปรายไมไว้ ่ ็ ็ า ให้ไ มสามาร ่ รายบุ ค คลได้ อยางไรกตามด้ ว ยคะแนนเสี ย งในสภาที ท่ วมท้น กทํ ถทํา อะไรตอ่ รัฐมนตรี ที ถูกอภิปรายได้อยูด่ ี นอกจากนั) นยังเป็ นการเปิ ดโอกาสให้รัฐบาลทักษิณนําความเข้มแข็ง ของตนไปใช้เพื อประโยชน์ต่อการสร้างภาวะการครองอํานาจนําเหนื อสังคมการเมืองไทยในด้าน อื นได้ต่อไป 5.2 ใช้ ความเข้ มแข็งให้ เป็ นประโยชน์ ในการผ่านร่ างกฎหมาย ่ รัฐบาลทักษิณเมื อสามารถยึดครองพื) นที สังคมการเมืองในสวนของสภาผู แ้ ทนราษฎรได้ ่ ่ างเบ็ดเสร็ จแล้ว กสามารถอาศั ็ อยางคอนข้ ยความเข้มแข็งของตนในจุดนี) เพื อสร้างภาวะการครอง ่ นๆ ได้แก่ ระบบกฎหมาย ซึ งจะได้กลาวถึ ่ งในหัวข้อนี) อํานาจนําเหนือพื)นที สังคมการเมืองในสวนอื ่ งในหัวข้อถัดไป และ องค์ กรอํานาจรั ฐต่ างๆ จะได้กลาวถึ รัฐบาลทักษิณ อาศัยความเข้มแข็งจากจํานวนที นง ั ในสภาผูแ้ ทนราษฎร ที มีอยูถ่ ึง 372 เสี ยง ่ มาใช้เป็ นกลไกในการครองอํานาจนําเหนือพื)นที สังคมการเมืองในสวนของ “ระบบกฎหมาย” ถ้า ่ อสามารถมีอาํ นาจนําเหนือกระบวนการกาหนด ํ รัฐบาลทักษิณสามารถยึดกุม ระบบกฎหมาย กลาวคื กฎหมายได้ ทั) งกฎหมายที มาจากฝ่ ายนิติบญั ญัติ และกฎหมายที มาจากฝ่ ายบริ หาร หรื อจากรัฐบาล ็ ํ ็ ตามความ ทักษิณเองได้ กสามารถกาหนดให้ กฎหมายที ออกมานั) นเป็ นคุ ณหรื อโทษแกผู่ ใ้ ดกได้ ต้องการของรัฐบาลทักษิณ กรณี การยึดครองพื)นที สังคมการเมืองในส่ วนของระบบกฎหมายที สาํ คัญของรัฐบาลทักษิณ ่ ดตรากฎหมายปฏิรูประบบราชการ และการตราพระราชกาหนดภาษี ํ เชน่ กรณี การเรงรั สรรพสามิต ิ กจการโทรคมนาคม ิ ) นในชวงปี ่ 2545 เมื อรัฐบาล กรณี การเร่ งรั ดตรากฎหมายปฏิ รูประบบราชการ นั) นเกดขึ ่ ่ น และรางพระราชบั ่ ทักษิณได้เสนอรางพระราชบั ญญัติระเบียบบริ หารราชการแผนดิ ญญัติปรับปรุ ง


102

่ อนกนยายน ั กระทรวง ทบวง กรม เข้าสู่ การพิจารณาของสภาผูแ้ ทนราษฎรในชวงเดื 2545 ซึ งกรณี ่ ฐบาลทักษิณได้อาศัยความเข้มแข็งจากเสี ยงจํานวนมากในสภา กคื็ อกรณี ปั ญหาที ทาํ ให้มองได้วารั ่ ่ ่ ่ ที ผ่านการพิจารณาแกไข ้ ปั ญหาที วาในระหวางกระบวนการพิ จารณารางพระราชบั ญญัติดงั กลาว เพิ มเติมจากวุฒิสภาแล้ว และรอการพิจารณาของสภาผูแ้ ทนราษฎรเพื อทูลเกล้าฯพระบาทสมเด็จ พระเจ้า อยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิ ไ ธยเพื อ ประกาศใช้ต่ อไปนั) น รั ฐ บาลทัก ษิ ณ ได้ป ระกาศตอ่ ่ ิ ) นภายในวันที 1 ตุลาคม 2545 อยาง ่ สาธารณชนไปแล้ววาการปฏิ รูประบบราชการจะต้องเกดขึ 9 ่ ่ น ด้ ว ยเพราะมองวาจะเป็ ่ ่ ด ให้ ต รา แนนอน ซึ งทํา ให้ ส .ส.พรรคฝ่ ายค้า นไมเห็ นการเรงรั ่ เกดิ ่ ่ ํ พระราชบัญญัติอยางไมรอบคอบเพื อให้ทนั ตามกาหนดที รัฐบาลทักษิณต้องการ ซึ งอาจจะกอให้ ่ ่ ่ ปั ญหาข้อบกพรองตางๆได้ จึงเสนอให้สภาผูแ้ ทนราษฎรได้ทาํ การพิจารณารางพร ะราชบัญญัติ ่ แตทั่ ) งนี) ส.ส.ฝ่ ายรัฐบาลไมเห็ ่ ่ ่ นด้วยและมองวาฝ่ ่ ายค้านต้องการที จะ ดังกลาวอยางรอบคอบเสี ยกอน ่ ่ รัฐบาลดําเนินการปฏิรูประบบราชการได้ทนั ตามกาหนด ํ ถวงเวลาไมให้ ด้วยเหตุน) ีเองรัฐบาลทักษิณจึงอาศัยความเข้มแข็งของตนจากจํานวนเสี ยงข้างมากที มีอยูใ่ ห้ ่​่ ้ มเติมอยางรวดเร็ ่ ความเห็นชอบแกรางพระราชบั ญญัติท) งั สองฉบับที วุฒิสภาได้แกไขเพิ ว ดังปรากฏ ่ ่ ่ ่ ) น ก็ ขาววาสภาผู แ้ ทนราษฎรใช้เวลาในการพิจารณารางพระราชบั ญญัติท) งั สองเพียงราว 5 นาทีเทานั ่ ได้รับการแกไขเพิ ้ มเติมจากวุฒิสภา โดยไมใสใจคํ ่ ่ าทัดทานของส.ส.ฝ่ าย ให้ความเห็นชอบตามรางที ่ ่ และที สุดแล้วรางพระราชบั ่ ็ ่ ค้านแตอยางใด ญญัติท) งั สองกผานสภาออกมาบั งคับใช้ได้ทนั เวลาตามที รัฐบาลทักษิณได้ประกาศไว้ก่อนหน้านั) นแล้ว ่ ่ นอกจากจะใช้ความเข้มแข็งของตนในการผานรางกฎหมายในสภาผู แ้ ทนราษฎรแล้ว การ ็ นกรณี สําคัญที รัฐบาลทักษิณนํามาใช้เป็ นกลไกในการครอง ออกกฎหมายโดยฝ่ ายบริ หารเองกเป็ ่ ํ อํานาจนําเหนือสังคมการเมือง แม้วาการตราพระราชกาหนดนั ) นจะเป็ นอํานาจตามรัฐธรรมนูญ10ที ่ ่ ซึ งไมได้ ่ มีที มาจากสภา ให้อาํ นาจฝ่ ายบริ หารสามารถออกกฎหมายได้ในกรณี ฉุกเฉินจําเป็ น เรงดวน ผูแ้ ทนราษฎร แตทั่ ) งนี) กฎหมายที ออกโดยฝ่ ายบริ หาร คือรัฐบาลทักษิณนั) นกยั็ งจําเป็ นต้องอาศัยความ ํ เข้มแข็งของรัฐบาลเป็ นฐานอยู่ เพราะเมื อประกาศใช้พระราชกาหนดใดไปแล้ ว ในทางทฤษฎีคือให้ ํ ่ นําพระราชกาหนดเข้ าสู่ การพิจารณาของสภาผูแ้ ทนราษฎรทันทีที เปิ ดสมัยประชุม เพื อลงมติวาพระ ํ ราชกาหนดนั ) นจะยังคงเป็ นกฎหมายใช้ได้ต่อไปโดยเปลี ยนสถานะเป็ นพระราชบัญญัติ หรื อจะตก ็ ดังนั) นการมีเสี ยงข้างมากในสภาคอยให้การหนุ นหลังอยู่จึงมัน ใจได้ว่ากฎหมายนั) นจะ ไปกตาม ได้รับการรับรองโดยสภาในที สุด 9

่ ่ ปี 2545”, มติชน 31 ธันวาคม 2545, หน้า 3. “10 ขาวเดน รัฐธรรมนูญ 2540 มาตรา 218 มีสาระสําคัญวา่ ในกรณี เพื อประโยชน์ในอันที จะรักษาความปลอดภัย ของประเทศความ ิ ปลอดภัยสาธารณะ ความมัน คงในทางเศรษฐกจของ ประเทศ หรื อป้ องปัดภัยพิบตั ิสาธารณะ พระมหากษัตริ ยจ์ ะทรงตรา พระราช ํ ่ ํ ่ นกรณี กาหนดให้ ใช้บงั คับดังเชนพระราชบั ญญัติก็ได้ และการตราพระราชกาหนดให้ กระทําได้เฉพาะเมื อ คณะรัฐมนตรี เห็นวาเป็ ่ นมิอาจ จะหลีกเลี ยงได้ ฉุกเฉิ นที มีความจําเป็ นรี บดวนอั 10


103

่ ่ นปี 2546 รัฐบาลทักษิณได้เผยถึงวาระในการแปรสัญญากจการ ิ ชวงปลายปี 2545 ตอต้ ่ โทรคมนาคม โดยรัฐมนตรี วาการกระทรวงเทคโน โลยีและสารสนเทศ (กระทรวงไอซี ที) ได้แถลง นโยบายด้านโทรคมนาคมขึ) นเมื อวันที 25 ธันวาคม 2545 ใจความวา่ “กรอบการแปรสั ญ ญาฯของรั ฐบาล จะทํา การแปลงส่ วนแบ่ งรายได้ ส่ วนหนึ ง ที บริ ษั ท เอกชนร่ วมการงานต้ อ งจ่ า ยให้ แก่ หน่ ว ยงานรั ฐคู่ สั ญญา เป็ นภาษี ส รรพสามิ ตจ่ า ยให้ แก่ กระทรวงการคลัง ทั5งนี 5 เพื อเป็ นการสร้ างความเสมอภาคระหว่ างผู้ประกอบการ โดยไม่ มีผลกระทบ ต่ อผู้บริ โภค และรั ฐจะยังได้ ผลประโยชน์ ไม่ น้อยกว่ าเดิมตามสัญญา”11 ่ วันที 21 มกราคม 2546 รัฐบาลทักษิณได้ออก พระราชกําหนด ภายหลังจากนั) นไมนาน แก้ ไขเพิ มเติมพระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 (ฉบับที 4) พ.ศ. 2546 อนุมตั ิให้ ็ ิ ่ ิ อยละ 50 ด้วยเหตุผลของการหารายได้ จัดเกบภาษี สรรพสามิตกจการโทรคมนาคมในอั ตราไมเกนร้ ํ ให้แกรั่ ฐ โดยกระทรวงการคลังกาหนดอั ตราภาษีที เหมาะสมได้แกร้่ อยละ 2 จากรายรับจากการ ่ ให้บริ การโทรศัพท์พ)ืนฐาน และร้อยละ 10 จากบริ การโทรศัพท์เคลื อนที นอกจากนี) รัฐมนตรี วาการ ่ ่ กระทรวงไอซี ทียงั ได้ช) ี แจงตอคณะกรรมาธิ การการมีส่ วนรวมของประชาชน วุฒิสภาไว้วา่ ภาษี ่ สรรพสามิตที จ่ายให้แกกระทรวงการคลั ง บริ ษทั เอกชนสามารถคู่สัญญาเดิมสามารถนําไปหักออก ่ ่ ่ ่ จากสวนแบงรายได้ ที ตอ้ งจายตามสั ญญารวมการกา รงาน ดังนั) นบริ ษทั เอกชนคู่สัญญาจึงมีภาระเทา่ ํ เดิมตามที กาหนดไว้ ในสัญญา ํ ิ กรณี การออกพระราชกาหนดนี พากษ์วิจารณ์ตามมาในหลายประเด็น ) ได้ก่อให้เกดกระแสวิ ํ ่ ่ ซึ งไมใชประเด็ ่ ่ ด้วยกนั เชน่ การออกพระราชกาหนดนั น ) นจะต้องเป็ นสถานการณ์ฉุกเฉิ นเรงดวน ็ ิ รโทรคมนาคม พระราชกาหนดดั ํ ่ ่ ช่ วยให้เป็ นการเพิ ม การเกบภาษี สรรพสามิตกจกา งกลาวไมได้ ่ ่ รายได้แกรั่ ฐ เพราะบริ ษทั เอกชนคู่สัญญาสามารถหักออกจากสวนแบงรายได้ ที ตอ้ งให้รัฐอยู่แล้ว ่ ) นเป็ นการเสริ มสร้ างความเข้มแข็ง ข้อวิพากษ์วิจารณ์ที สําคัญที สุดคือ การออกกฎหมายดังกลาวนั ่ ่มทุนที สัมพันธ์กบรั ั ฐบาลที เป็ นคู่คา้ กบรั ั ฐ เพราะพระราชกาหนดดั ํ ่ ) นจะเป็ นการ ให้แกกลุ งกลาวนั ่ ป้ ระกอบการรายใหม่ ซึ งเป็ นการกดกนผู ี ั ท้ ี จะเข้าสู่ ตลาดไปในตัว เป็ นการสงผลดี ่ กระทบตอผู ต่อ ิ ่มทุนเดิมที มีสัญญาอยูแ่ ล้ว และยังเป็ นกลุ่มทุนที มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกบั ธุรกจิ หรื อกจการของกลุ รัฐบาลอีกด้วย12

11

สุเมธ วงษ์พาณิ ชเลิศ, “อนาคตสื อสาร-สารสนเทศไทยในยุคผูน้ าํ ดิจิตอล: คิดใหม่ ทําใหม?่ ,” ใน รู ้ทนั ทักษิณ, เจิมศักดิo ปิ นทอง, บรรณาธิการ (กรุ งเทพฯ: ขอคิดด้วยคน, 2547), หน้า 77. 12 เชน่ กลุ่มบมจ.เทเลคอมเอเชีย (TA) และ AIS เป็ นต้น


104

5.3 การแทรกแซงองค์ กรทีส ั มพันธ์ กบั อํานาจรัฐต่ างๆ นอกเหนื อ จากการใช้ค วามเข้ม แข็ ง ของตนไปใช้ใ นการครองอํา นาจนํา เหนื อ ระบบ ่ กฎหมาย รัฐบาลทักษิณยังได้ทาํ การครอบครองพื)นที สังคมการเมือง ในสวนของ องค์ กรที สัมพันธ์ ่ กับอํานาจรั ฐ ตางๆเพื อเป็ นการเสริ มสร้างภาวะการครองอํานาจนําให้สมบูรณ์สูงสุ ดอีกด้วย ่ ภายใต้ 5 ปี แหงการครองอํ านาจของรัฐบาลทักษิณได้มีเหตุการณ์หลายกรณี ที แม้จะไมมี่ ่ ็ นที น่าสังเกตวารั ่ ฐบาลทักษิณได้เข้าไปมีบทบาทแทรกแซงองค์กรที หลักฐานในเชิงประจักษ์ แตกเป็ ั านาจรัฐเพื อประโยชน์ในการใช้องค์กรต่างๆนั) นเป็ นกลไกในการสร้างภาวะการครอง สัมพันธ์กบอํ อํานาจนําเหนือสังคมการเมืองได้ในที สุด ั านาจรัฐในที น) ี หมายถึง องค์กร หรื อหนวยงานที ่ องค์กรที สัมพันธ์กบอํ มีหน้าที หรื อภารกจิ ี ั ่ งในความหมายของการทําหน้าที ใน ข้องเกยวกบการใช้ อาํ นาจของรัฐ และรัฐบาล โดยเฉพาะอยางยิ ่ เป็ น 3 ประเภท การ ตรวจสอบการใช้ อาํ นาจรั ฐ ในงานวิจยั ชิ)นนี) จาํ แนกองค์กรในลักษณะดังกลาวได้ ั แก่ 1) องค์กรอิสระตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ 2540 2) สื อมวลชน และ 3) ระบบ ด้วยกนได้ ราชการ และกองทัพ 1) องค์กรอิสระตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ 2540 การทํางานขององค์กรอิสระ ตามรัฐธรรมนูญ 2540 ในระยะเริ มแรกนั) นเป็ นการทํางานที ่ างเป็ นอิสระ และทําหน้าที ได้เป็ นที น่ าพอใจ ตัวอยางเชน ่ ่ กรณี ที คณะกรรมการป้ องกนและ ั คอนข้ ่ ปราบปรามการทุ จ ริ ต แหงชาติ (ป.ป.ช.) ได้ท าํ หน้า ที รั บ เรื อ งร้ อ งเรี ย นกรณี พ ล.ต.สนั น ขจร ่ ประศาสน์ เลขาธิ การพรรคประชาธิ ปัตย์ในสมัยรัฐบาลนายชวน หลี กภัย วาปกปิ ดการแจ้งบัญชี ่ .ต.สนัน มีความผิด จึงนําเรื องสงศาลรั ่ ทรัพย์สินและหนี) สิน ซึ งป.ป.ช.มีมติวาพล ฐธรรมนูญ และใน ่ ่ .ต.สนั น มีความผิดจริ ง ต้องเว้นวรรคทาง เวลาตอมาศาลรั ฐธรรมนู ญได้วินิจฉัย และตัดสิ นวาพล การเมืองเป็ นเวลา 5 ปี นอกจากนี) การทํางานของคณะกรรมการการเลื อกตั) ง (กกต.) ชุ ดแรกที ได้ทาํ การจัดการ เลือกตั)งครั) งแรกคือ การเลือกตั) งสมาชิกวุฒิสภา ในปี 2543 และสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร ในปี 2544 ั ส้ มัครเลือกตั) งที กระทําผิดตอการเลื ่ ่ มงวด กเป็ ็ น โดยมีการให้ใบเหลื อง ใบแดง กบผู อกตั) งอยางเข้ กรณี ที ท าํ ให้นัก การเมื องเริ ม ตระหนัก ถึ ง อํา นาจขององค์ก รอิ ส ระ และทํา ให้ป ระชาชนรู ้ สึ ก มี ่ ลรัฐบาล ความหวังถึงการกลัน กรองบุคคลเข้าสู่ ระบบการเมือง และการตรวจสอบถวงดุ ็ เกดข้ ิ อเคลือบแคลงตอความเป็ ่ แตทั่ ) งนี) สังคมกได้ นอิสระ และมาตรฐานในการตัดสิ นของ ่ ่ ปกปิ ดบัญ ชี องค์ก รอิ ส ระ โดยเริ ม จากกรณี ซุ ก หุ ้นของพ .ต.ท.ทัก ษิ ณ ชิ น วัตร ที ถู ก กลาวหาวา ่ ทรัพย์สินและหนี) สิน โดยการถายโอนหุ น้ ไปยังคนรับใช้ รวมถึงคนขัยรถเป็ นผูถ้ ือหุน้ แทน


105

่ .ต.ท.ทักษิ ณมี ความผิด จึ งได้ส่ งเรื องให้ศาล กรณี ซุก หุ ้นนี) ป.ป.ช.มี มติ 8 ตอ่ 1 วาพ ่ เหตุการณ์ดงั กลาวเกดขึ ่ ิ ) นในชวงเวลาขาขึ ่ ่ อเป็ นชวงแรกในการ ่ รัฐธรรมนูญพิจารณาตอไป ) น กลาวคื ิ ครองอํานาจของรัฐบาลทักษิณ ทําให้เกดกระแสกดดั นจากสังคมให้ศาลรัฐธรรมนู ญพิจารณาวา่ พ.ต.ท.ทัก ษิ ณ ไมผิ่ ด เพราะประชาชนอยากให้พ .ต.ท.ทัก ษิ ณ บริ ห ารประเทศ ซึ งในที สุ ด ศาล ็ ่ รัฐธรรมนูญกลงมติ ดว้ ยคะแนน 8 ตอ่ 7 ให้พ.ต.ท.ทักษิณ พ้นผิดไปด้วยเหตุผล “บกพรองโดย ็ ิ าถามถึงความเป็ นอิสระเรื อยมา สุ จริ ต” นับจากกรณี น) ีการทํางานขององค์กรอิสระกเกดคํ การพยายามครองอํา นาจนํา เหนื อพื) นที สัง คมการเมื องโดยการใช้ก ลไกการแทรกแซง ่ ว่าได้มี “การแทรกแซง” ตั) งแตกระบวนการสรรหาเลยที ่ องค์กรอิสระ นั) นอาจกลาวได้ เดียว ทั) งนี) ํ เพราะรัฐธรรมนู ญได้กาหนดไว้ ให้มีว่า ให้มีคณะกรรมการสรรหา ซึ งประกอบด้วยตัวแทนจาก พรรคการเมืองที อยูใ่ นสภาผูแ้ ทนราษฎรตัวแทนจากนักวิชาการ และตัวแทนจากองค์กรอิสระอื นๆ ่ ่ พรรคการเมืองก็ ดังนั) นเมื อมีการเริ มต้นกระบวนการสรรหาผูด้ าํ รงตําแหนงในองค์ กรอิสระตางๆ ่ สงคนของตนเข้ าไปเป็ นตัวแทนในคณะกรรมการสรรหา และเริ มล็อบบี) ให้คนของพรรคตนเองได้ เข้าสู่ ตาํ แหนง่ สาเหตุที ตอ้ งเข้าแทรกแซงตั) งแตขั่ ) นตอนของกระบวนการสรรหากรรมการสรรหา เพราะ ่ ฐธรรมนูญระบุว่าผูท้ ี จะผานการสรรหาต้ ่ จะเห็นได้วารั องได้รับเสี ยงเห็นชอบจากกรรมการสรรหา ไมน้่ อยกวา่ 3 ใน 4 เมื อพิจารณาดูคณะกรรมการสรรหากกต.จากจํานวนทั) งหมด 10 คน จะมี ตัวแทนพรรคการเมืองอยู่ 4 คน คณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ จากจํานวนทั) งหมด 13 คนจะมีตวั แทนพรรคการเมือง 4 คน หรื อคณะกรรมการสรรหาป.ป.ช.จํานวน 13 คนจะมี ่ ตัวแทนจากพรรคการเมือง 4 คน ดังนั) นถ้าจะผานเกณฑ์ 3 ใน 4 ในชั) นของกรรมการสรรหากกต. ่ จะต้องได้เสี ยง 8 เสี ยง ขณะที ถา้ จะผานเกณฑ์ ของกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และ ป.ป.ช.จะต้องได้เสี ยง 10 เสี ยง ่ เมื อพิจารณาถึงจํานวนพรรคการเมืองในชวงแรกๆของการครองอํ านาจของรัฐบาลทักษิณ จะมีพรรคการเมือง 7 พรรค เป็ นพรรคฝ่ ายรัฐบาล 4 พรรค เป็ นฝ่ ายค้าน 3 พรรค ขณะที รัฐธรรมนูญ ํ ่ พรรคการเมืองที มีสมาชิ กอยู่ในสภาเลือกกนเองให้ ั ่ การณ์ ที ได้กาหนดวาให้ เหลื อ 4 คน แตเหตุ ิ ) นคือ ตัวแทนทั) ง 4 คนเป็ นสายของพรรคไทยรักไทยทั) งหมด ดังนั) นเมื อคณะกรรมการสรรหา เกดขึ ั ) งหมด การบล็อกโหวต และล็อบบี) คณะกรรมการ จากตัวแทนพรรคการเมือง 4 คนเป็ นฝ่ ายเดียวกนทั ็ ่ นเรื องที ยากจนเกนไป ิ 13 สรรหาที เหลือกไมเป็ ั ) นพรรคการเมืองกต้็ องไปล็อบบี) สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.)อีกทางหนึ งด้วย14 ในขณะเดียวกนนั ่ ค คลที ไ ด้รั บ การสรรหาจากคณะกรรมการสรรหานั) น จะต้องสงให้ ่ ก บวุ ั ฒิส ภา ทั) ง นี) เ พราะวาบุ ่ พิจารณา นอกจากนี) ย งั เป็ นที เชื อได้ว่าวุฒิส ภาจํา นวนหนึ ง จะต้องให้ค วามชวยเหลื อตามความ 13 14

กองบรรณาธิการมติชน, ทักษิณอัศวินผูฆ้ ่าตัวเอง, (กรุ งเทพฯ: มติชน, 2549), หน้า 95. เรื องเดียวกนั, หน้า 93.


106

ต้องการของพรรคการเมื องที มี ส ายสัม พันธ์ ก ัน เนื องจากที ม าของส .ว. นั) นมาจากการเลื อกตั) ง โดยตรงจากประชาชน แตห้่ ามมิให้ผสู ้ มัครส.ว.หาเสี ยง ดังนั) นสิ งที ผสู ้ มัคร ส.ว.ทําได้ในทางลับกคื็ อ อาศัยฐานเสี ยงจากบรรดานักการเมืองในพื)นที หรื อส.ส. ให้ช่วยหาเสี ยงให้15 ดังนั) นด้วยสายสัมพันธ์ ่ ) จึงมีความเป็ นไปได้อยางสู ่ งที พรรคการเมืองจะโน้มน้าวใจให้ส.ว.โหวตเลือกบุคคลที จะมา เชนนี เป็ นองค์กรอิสระตามความต้องการของพรรคการเมือง ่ ผานมาซึ ่ กรณี สาํ คัญตางๆที งสามารถมองได้วา่ เป็ นการแทรกแซงองค์กรอิสระโดยรัฐบาล ทักษิณ/พรรคไทยรักไทย เชน่ กรณี การสรรหาคณะกรรมการเลือกตั) ง (กกต.) ภายหลังกกต.ชุดแรก สิ) นสุ ดวาระลง ซึ งแสดงให้เห็ นหลังจากที พล.อ.ศิรินทร์ ธู ปกลํ า อดีตประธานกกต.ต้องพ้นจาก ่ ่ เหตุการณ์ ที มองได้ว่าเป็ นการแทรกแซงจาก ตําแหนงไปเนื องจากกระบวนการสรรหาบกพรอง รัฐบาลทักษิณกคื็ อ การผลักดันให้พล.ต.ท.วาสนา เพิ มลาภ อดีตเลขาธิ การสํานักงานคณะกรรมการ ั ่ ่ ่ ่ .ต.ท. ป้ องกนและปราบปรามการฟอกเงิ น (ปปง.) ได้เข้า สู่ ตาํ แหนงทามกลางกระแสขาววาพล ั วาสนา นั) นเป็ นบุคคลที มี สายสัมพันธ์กบพรรคไทยรั กไทยหลังจากนั) นการทํางานของกกต.ที มี ่ ่ พล.ต.ท.วาสนา เป็ นประธานกถู็ กสังคมตั) งคําถามถึงมาตรฐานในการดําเนิ นงาน และแม้วาจะไมมี ่ ่ นอิสระ หรื อมีการเมืองแทรกแซงจริ งหรื อไม่ แต่ หลักฐานชัดเจนวากกต .ทํางานตามหน้าที อยางเป็ ความเชื อมัน ที ประชาชนมีต่อการทํางานของกกต.นั) นถูกลดทอนลงไปเยอะ16 นอกจากกรณี ของกกต. แล้วองค์กรอิสระอื นๆกล้็ วนถูกสังคมตั) งคําถามถึงความเป็ นกลาง ่​่ ั ่ ทางการเมือง ไมวาจะเป็ นคณะกรรมการป้ องกนและปราบปรามการทุ จริ ตแหงชาติ (ป.ป.ช.) ชุดที มี ่ นป.ป.ช.ที ถูกเลือกสรรมาจากฝ่ ายการเมือง ตุลาการศาล พล.ต.อ.วุฑฒิชยั ศรี รัตนวุฑฒิ กถู็ กมองวาเป็ รัฐธรรมนูญชุดที มีนายกมล ทองธรรมชาติ เป็ นประธานกถู็ กมองวา่ มีการวางตัวของฝ่ ายการเมือง เข้าไปอยูภ่ ายในแล้ว ่ ่ ฐบาลทักษิณได้แทรกแซงการทํางานขององค์กร กรณี ตวั อยางกรณี หนึ งที ทาํ ให้มองได้วารั อิ ส ระคื อ กรณี ก ารสอบสวนอดี ต อธิ บ ดี ก รมประชาสั ม พัน ธ์ ซึ งถู ก ป.ป.ช.สอบสวนกรณี ที ถู ก ่ ่ พฤติกรรมทุจริ ตประพฤติมิชอบในการจัดประมูลซื) อคอมพิวเตอร์ ของทางราชการ กลาวหาวามี ้ อความพิจารณาผลการประกวดราคาจากเดิมที เสนอ มูลคา่ 12 ล้านบาท ด้วยการเปลี ยนแปลงแกไขข้ ่ ให้ยกเลิกการประกวดราคา เป็ นเสนอให้เชาคอมพิ วเตอร์ และอุปกรณ์แทน ่ ) ป.ป.ช.ได้ลงมติช) ีมูลความผิดวาการกระทํ ่ ่ นการกระทําความผิด กรณี ดงั กลาวนี าดังกลาวเป็ ่ าที ราชการ และประพฤติชว ั อยางร้ ่ ายแรง เป็ นความผิดทางวินยั อยางร้ ่ ายแรง เป็ น ฐานทุจริ ตตอหน้ ่ บดีท่านนี) ออกจากราชการ เหตุให้ผบู ้ งั คับบัญชาคือ ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี มีคาํ สั งลงโทษไลอธิ ่ วยการป้ องกนและปราบปรามการทุ ั ่ เมื อราวกลางปี 2544 ตามกฎหมายวาด้ จริ ตแหงชาติ

15 16

เรื องเดียวกนั. เรื องเดียวกนั, หน้า 94.


107

่ แต่กรณี ปัญหากคื็ อตอมาในปี 2545 พ.ต.ท.ทักษิณได้อา้ งวา่ คณะกรรมการข้าราชการ พลเรื อนซึ งมีตนเป็ นประธานนั) นได้รับอุทธรณ์การลงโทษจากอดีตอธิ บดีผนู ้ ) ี และอาศัยอํานาจตาม พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรื อน พ.ศ. 2535 ลงความเห็นวา่ การกระทําของอดีตอธิ บดี ่ ) เป็ นความผิดเพียงเล็กน้อย และเป็ นไปเพื อรักษาประโยชน์ของทางราชการ ดังนั) นจึงเห็นวา่ ทานนี ิ ่ โทษที ท างราชการได้ล งไปนั) นรุ น แรงเกนไป และได้เสนอให้ย กเลิ ก คํา สั ง ลงโทษไลออกจาก ราชการเปลี ยนมาเป็ นโทษภาคทัณฑ์ แล้วให้เข้ารับราชการใหม่ ่ ็ ่ ่ ลรัฐธรรมนูญให้วินิจฉัยวารั ่ ฐบาลมี อยางไรกตามในเวลาตอมาป .ป.ช.ได้ยื นคําร้องตอศา อํานาจกลับคําวินิจฉัยชี) มูลความผิดของป.ป.ช.หรื อไม่ และท้ายที สุดสําหรับกรณี ก็คือ รัฐบาลต้อง ่ ) งอดีตอธิบดีผนู ้ ) ีเข้ารับราชการ และให้เป็ นไปตามคําวินิจฉัยของป.ป.ช.ใน ระงับการดําเนินการแตงตั ที สุด ่ นเหตุที ทาํ ให้มองได้วา่ รัฐบาลทักษิณนั) นมีพฤติการณ์ไปในทางแทรกแซง กรณี ดงั กลาวเป็ ่ นการทําไปเพื อชวยเหลื ่ ขอบเขตอํานาจขององค์กรอิสระ และสังคมยังเชื อวาเป็ อพวกพ้อง เพราะ อดีตอธิ บดีผนู ้ ) ี เป็ นผูส้ ังให้ถอดรายการ “บันทึกสถานการณ์” ของกรมประชาสัมพันธ์17 ซึ งวิจารณ์ ่ การทํางานของรัฐบาล ทําให้ผมู ้ ีอาํ นาจในรัฐบาลไมพอใจนั น เอง นอกจากนี) กรณี สําคัญอีกกรณี หนึ งที สังคมตั) งคําถามถึงการแทรกแซงจากฝ่ ายการเมืองคือ ่ ว้ ่าการสํานักงานตรวจเงินแผนดิ ่ น (สตง.) ของคุ ณหญิงจารุ วรรณ เมณฑกา กรณี กรณี ตาํ แหนงผู ิ ) น เมื อ ส .ว. เข้า ชื อ กนขอให้ ั ปั ญหานี) เกดขึ ศ าลรั ฐธรรมนู ญมี ก ารตรวจสอบกระบวนการแต่ง ตั) ง ่ ั ก ฎหมาย คุ ณหญิง จารุ วรรณ เป็ นผูว้ ่าการสตง. เนื องจากขั) นตอนในการเสนอชื อนั) นไมตรงกบที ํ ่ อแทนที คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิ ่ น (คตง.) จะเสนอชื อผูท้ ี ได้รับการคัดเลือกให้ กาหนด กลาวคื วุฒิสภารับรอง กลับเป็ นการเสนอชื อให้วุฒิสภาเลือก และสิ งสําคัญคือ ผลการพิจารณาของศาล รัฐธรรมนู ญได้ดาํ เนิ นการเสร็ จสิ) นไปภายหลังที คุณหญิงจารุ วรรณได้รับพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ่ ) งให้เป็ นผูว้ าการสตง ่ ่ ณหญิงจารุ วรรณได้เป็ น แตงตั .แล้ว ด้วยเหตุน) ี เมื อศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาคุ ่ ่ ิ )น ผูว้ าการสตง .โดยไมชอบตามขั ) นตอนของกฎหมาย กรณี ปัญหาจึงเกดขึ ่ หลังจากนั)นคตง.ได้ทาํ การพิจารณาเลื อกผูว้ ่าการสตง .คนใหมโดยเสนอชื อ นายวิสุท ธิo ่ ่ วุฒิสภารับรอง โดยวุฒิสภาที มนตริ วตั อดีตรองปลัดกระทรวงการคลังเป็ นผูว้ าการสตง .คนใหมให้ มีนายสุ ชน ชาลี เครื อเป็ นประธานวุฒิสภาได้นาํ ชื อนายวิสุท ธิo ข) ึนโปรดเกล้าฯเมื อเดื อนสิ งหาคม ่ ่ ่ 2548 แต่เรื องกเงี็ ยบไป ไมมี่ การโปรดเกล้าฯให้นายวิสุทธิo เป็ นผูว้ าการสตง .แตอยางใด ในที สุดแล้ว ่ งกลาว ่ และประธานวุฒิสภากทํ ็ าเรื อง นาย วิสุทธิo ได้ทาํ เรื องขอถอนชื อตัวเองออกจากตําแหนงดั โปรดเกล้าฯนายวิสุทธิo กลับคืน

17

ิ ศกั ดิo ปรกติ, “7 ปมปริ ศนาในยุคทักษิณายุวตั ร,” ใน รู ้ทนั ทักษิณ, เจิมศักดิo ปิ นทอง, บรรณาธิการ (กรุ งเทพฯ: ขอคิด กตติ ด้วยคน, 2547), หน้า 104.


108

่ เป็ นปั ญหาที เกยวข้ ี องกบรั ั ฐบาลทักษิณ กรณี ปัญหาเรื องผูว้ ่าการสตง.นั) นที จริ งแล้วไมได้ ่ ฐบาลทัก ษิณ อาจเข้า ไปมีส่ วนแทรกแซงในกรณี น) ี น) ันเป็ น โดยตรง แตสิ่ งที ทาํ ให้สัง คมมองวารั ั อทําหนังสื อถึงนายโภคิน พลกุล ประธานรัฐสภาใน เพราะกรณี ที ส.ส.พรรคฝ่ ายค้านได้เข้าชื อกนเพื ่ องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยมติของวุฒิสภาวามติ ่ ที วุฒิสภาให้การเห็นชอบให้ ขณะนั) นเพื อสงเรื นายวิสุทธิo เป็ นผูว้ ่าการสตง.นั) นเป็ นมติที ถูกต้องหรื อไม่ และคุ ณหญิงจารุ วรรณยังคงเป็ นผูว้ ่าการ ่ ่ ่ าขายกฎหมาย ่ สตง.อยูห่ รื อไม่ แตนายโภคิ นกลับปฏิเสธ โดยระบุวาไมเข้ ่ ตอมาเมื อมีส.ส.ไทยรักไทยเข้าชื อกนั 60 คนเพื อให้นายสุ ชน ชาลีเครื อ ประธานวุฒิสภา ็ แสดงอาการไมพอใจอยาง ่ ่ ทบทวนการนําชื อนายวิสุทธิo ข) ึนทูลเกล้าฯ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตร กได้ ่ ่ ) นจะถูกเช็ค รุ นแรงตอการเคลื อนไหวของส.ส.ทั) ง 60 คน และได้ส ังให้ถอนชื อออกโดยเร็ ว มิเชนนั บิลทางการเมือง ่ ่ นการดําเนิ นการในการ กรณี การแทรกแซงการทํางานขององค์กรอิสระตางๆดั งกลาวเป็ ่ ฐบาลทักษิณนั) นใช้กลไกการแทรกแซงองค์กรอิสระมาดําเนินการเพื อยึดพื)นที นําเสนอให้เห็นวารั ่ สังคมการเมืองในสวนองค์ กรที ใช้อาํ นาจรัฐ เพื อลดทอนประสิ ทธิ ภาพในการทําหน้าที ตรวจสอบ ่ ลการทํางานของรัฐบาลทักษิณขององค์กรเหลานี ่ ) ลงไป เพื อสร้างภาวะการครองอํานาจนํา ถวงดุ ิ ) นนัน เอง สมบูรณ์แบบให้เกดขึ 2) การแทรกแซงสื อมวลชน ั การแทรกแซงองค์กรอิสระเปรี ยบได้กบการเป็ นกลไกหนึ งสําหรับการครองอํานาจเหนื อ ่ ็ นกลไกหนึ ง ที พื) นที สังคมการเมื องที สําคัญของรับ บาลทักษิ ณ แตการแทรกแซงสื อมวลชนกเป็ ่ ั เพราะการแทรกแซง หรื อ ควบคุ ม สํา คัญ สํ า หรั บ การสร้ า งภาวะการครองอํา นาจนํา เชนกน ็ นการลดทอนการติดตามตรวจสอบการ สื อมวลชนได้ตามความประสงค์แล้ว ในด้านหนึ งกจะเป็ ็ ํ ่ ทํางานของรัฐบาลลงไป ขณะที อีกด้านหนึ งกจะสามารถกาหนดทิ ศทางการรายงานข้อมูลขาวสาร ให้ประชาชนได้รับทราบได้ตามความต้องการ ั ปแบบในการแทรกแซงสื อนั) น ดร.สมเกยรติ ี ตั) งกจวาณิ ิ เกี ยวกบรู ชย์ ผูอ้ าํ นวยการวิจยั ด้าน ิ คสารสนเทศ สถาบันวิจยั เพื อการพัฒนาประเทศไทย ได้เสนอรู ปแบบการแทรกแซงสื อ เศรษฐกจยุ ในยุครัฐบาลทักษิณไว้ 10 ประการด้วยกนั18 ได้แก่ ี ั 1. ใช้สื อของรัฐโฆษณาประชาสัมพันธ์รัฐบาลฝ่ ายเดียว และกดกนคนที เห็นขัดแย้ง ่ ่ 2. แทรกแซงสื อที ไ ด้รับสัมปทานจากรัฐด้วยการกดดันเพื อตอรองเรื องการตอใบอนุ ญาต (หรื อยกเลิกรายการ) 18

อ้างถึงใน เกรี ยงศักดิo เจริ ญวงศ์ศกั ดิo, ค้านระบอบทักษิณ, (กรุ งเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย, 2549), หน้า 13-14.


109

ั ภาพ 3. ใช้กฎหมายการพิมพ์บีบรัดจํากดเสรี ่ นด้วยกบตน ั 4. ใช้กฎหมายอื นๆ เชน่ ใช้กฎหมายฟอกเงินจัดการสื อที ไมเห็ 5. ใช้อาํ นาจรัฐขัดขวางการขยายตัวของกลุ่มธุ รกจิ และสื อที มีความคิดเห็นตรงข้ามรัฐบาล เชน่ วิทยุชุมชนและสื อขนาดเล็ก ่ 6. แทรกแซงบุคลากรผูป้ ฏิ บตั ิง านสื อ เชน่ ในปี 2544 แทรกแซงการทํางานของฝ่ ายขาว สถานี โทรทัศน์ไอทีวีจนนําไปสู่ กรณี กบฏไอทีวี ซึ งพนักงาน 23 คนถูกปลดเมื อวันเดือน กุมภาพันธ์ 254419 ่ 7. การเข้าไปเป็ นเจ้าของสื อเสี ยเอง เชน่ เข้าไปถือหุ ้นใหญในไอที วี เกนิ 50% ซึ งสามารถ ่ นําเสนอขาวในมุ มมองที ตนเองต้องการได้ ่ ิ เจ้า ของสื อมี ส่ วนเกยวข้ ี องอยู่ด้วย และกดกนธุ ี ั รกจอื ิ นที เป็ น 8. ให้ค วามชวยเหลื อธุ รกจที ั ฐบาลเพื อกดดันให้ร่ วมเป็ นพันธมิตรกบรั ั ฐบาล ปรปักษ์ทางการเมืองกบรั ิ 9. ใช้พนั ธมิตรทางการเมือง และธุรกจของตนฟ้ องร้องสื อแทนนักการเมือง เชน่ กรณี การฟ้ อง แกนนําคณะกรรมการรณรงค์ปฏิรูปสื อ (คปส.) ซึ งถือเป็ นการคุกคามเสรี ภาพจากรัฐ ่ ดเงินในการลงโฆษณา ทําให้หนังสื อพิมพ์ไมกล้ ่ าเขียนโจมตีรัฐบาล 10. แทรกแซงสื อผานเม็ ี ตั) งกจวาณิ ิ ั รู ปแบบการแทรกแซงสื อมวลชนของสมเกยรติ ชย์ นั) นสอดคล้องกบแนวคิ ดของ ่ ฐบาลทักษิณนั) นมีวธิ ีการแทรกแซงสื ออยู่ 6 ประการด้วยกนคื ั อ 20 ไชยา ยิม) วิไล ที สรุ ปวารั 1. การแทรกแซงชนิดผูกไมตรี ึ งสรรค์ 2. จัดให้มีการเสวนากงสั 3. การจัดกลุ่มสื อมวลชนในระดับบรรณาธิการเป็ นการเฉพาะในการสังสรรค์ 4. การเอื)ออํานวยประโยชน์ต่อสื อ 5. การแทรกแซงโดยการใช้อาํ นาจของตนเองและรัฐเข้าไปหยุดหรื อระงับ ถอดถอนรายการ 6. การเข้าไปพยายามครอบงํา ชักใยและเลยไปถึงคุกคามสิ ทธิและเสรี ภาพของวงการสื อ ่ ธีการที มีสําคัญ สําหรับกรณี การแทรกแซงสื อมวลชนของรัฐบาลทักษิณนั) น ผูว้ ิจยั มองวาวิ ่ ็ อ กรณี รูปแบบในการแทรกแซงสื อ ซึ งเป็ นวิธีการแทรกแซงสื อที ต่างไปจากรัฐบาลอื นที ผานมากคื ี และข้อที 5,6 ของไชยา นัน กคื็ อ การเข้าไปมีบทบาทถึงระดับการถือครองหุ ้น ข้อที 7 ของสมเกยรติ ่ ของหนวยงานสื อ

19

ดูเพิ มเติมใน “4 ปี กบฏไอทีวี ถึงเวลาพิพากษา”, ใน A day weekly, ปี ที 1 ฉบับที 43 (10-16 มีนาคม 2548), หน้า 49-

53. 20

ไชยา ยิม) วิไล อ้างถึงใน นิธินาฏ ราชนิยม อ้างถึงใน นิธินาฏ ราชนิยม, การแทรกแซงสื อมวลชนของรัฐบาลทักษิณ การ ั กธรรมาภิบาล, เอกสารวิจยั หลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะ ปฏิบตั ิที สวนทางกบหลั รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (2547), หน้า 52-57.


110

การถือครองหุ ้นสถานี โทรทัศน์ไอทีวี ของกลุ่ มชิ นคอร์ ปในปี 2544 เป็ นต้นเหตุของผล ิ ) นไมวาจะเป็ ่​่ ่ กแทรกแซง มีการเปลี ยนผูด้ าํ เนิ นรายการ หลายประการที เกดขึ น การนําเสนอขาวถู ่ อาจจะสงผลตอภาพลั ่ ่ ปลดพนักงานไอทีวี การติติงการนําเสนอขาวที กษณ์ของรัฐบาลได้ เชน่ กรณี ่ ที พ.ต.ท.ทักษิณ ได้วจิ ารณ์การทําหน้าที ของสถานีโทรทัศน์ไอทีวี ในชวงรายการ ITV Hot News ซึ ง ทางรายการได้เสนอถึงมาตรการประหยัดพลังงาน 5 ประการ โดยที รายการได้สัมภาษณ์เจ้าของ ิ กจการสถานี บริ การนํ) ามัน และพนักงานบริ การ แสดงความเห็นถึงการปิ ดสถานีบริ การนํ) ามันในช่ ิ ่ าเขารวมมื ่ อกบั รัฐบาล แตเจ้ ่ าของกจการอื ิ ่ 24.00-5.00 น. โดยเจ้าของกจการได้ บอกวาถ้ นไมให้ ่ อ แตเปิ ่ ดกจการตามปกติ ิ ิ ่ นธรรม ภายหลังรายการพ.ต.ท.ทักษิณ ได้ ความรวมมื ก็จะเกดความไมเป็ ่ ิ ่ ่ อ ให้สัมภาษณ์ตาํ หนิการนําเสนอของรายการนี) วาจะเกดผลเสี ย ในแงที่ วาสถานี ไอทีวีน) นั ควรรวมมื ั ฐบาลโดยไมควรสั ่ ่ กบรั มภาษณ์บุคคลที มีความคิดเห็นแตกตางจากรั ฐบาล21 ่ ชดั เจนในการพยายามเข้าแทรกแซงสื อในกรณี ตางๆกคื ่ ็ อ การเข้าไปซื) อ นอกจากนี) ตวั อยางที ั ่มเนชัน ซึ ง หุ ้นเครื อ Nation ของเครื อญาตินายกรัฐมนตรี โดยได้มีการดําเนิ นการเพื อจัดการกบกลุ ็ มักจะวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลทักษิณอยูเ่ สมอ ในหลายกรณี เชน่ การถอดรายการ “เกบตกจากเนชั น ” ่ ่ ่ ่ ่ กบสถานี ั ในสถานีวทิ ยุคลื น 90.5 ด้วยข้อหาวาไมจายคาเชาให้ ขณะที เครื อเนชัน ได้ออกแถลงการณ์ ่ ่ มีสาเหตุจากการที ได้มีโทรศัพท์แจ้งจากบริ ษทั สมาร์ มบอมบ์ซ ึ ง ชี) แจงการถูกถอดรายการดังกลาววา ่ เป็ นผูร้ ับ สัม ปทานคลื น 90.5 วาทาง “ผูใ้ หญ่” ของกรมการพลัง งานทหาร ผูเ้ ป็ นเจ้า ของคลื น ั านักงานปลัดกระทรวงกลาโหมนั) นต้องการปรับผังคลื นนี) ใหมโดยไมให้ ่ ่ มีทีมงานเนชัน อ ซึ งสังกดสํ ่ ซึ งการแจ้งครั) งนี) เป็ นไปอยางเรงดวน ่ ่ ่ โดยไมเปิ ่ ดโอกาสให้ทางเนชัน ได้ช) ีแจงใดๆ ยูใ่ นผังอีกตอไป อีกด้วย22 ่ UBC 8 ของนายสุ ทธิ ชยั หยุน่ กถู็ กเลนงานด้ ่ ่ าผิด นอกจากนี) รายการในชอง วยข้อหาวาทํ ่ ง สัญญา โดยที พล.อ.ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา รัฐมนตรี ประจําสํานักนายกรัฐมนตรี กลาวถึ ่ ่ เป็ นการแทรกแซงสื อ แตเป็ ่ นเพราะ การยกเลิกรายการวิเคราะห์การเมืองของเครื อเนชั นวาไมได้ เครื อเนชัน ได้ทาํ ผิดสัญญาด้วยการมีโฆษณาแฝง อีก กรณี หนึ ง ที แสดงให้เห็ นถึ งการแทรกแซงสื อของรั ฐบาลทัก ษิณ กคื็ อการจัดการกบั ั ฐบาลทักษิณอยูเ่ สมอนั) น รายการของนายเจิมศักดิo ปิ นทอง ซึ งมีความเคลื อนไหวในทางตรงข้ามกบรั ่ 11 และกรณี ต่อมา ถูกถอดรายการออกจากการปรับผังรายการของสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 และชอง ่ 9 และ ชอง ่ 11 ได้อา้ งกฎกระทรวงในการเลนงานนายเจิ ่ ่ คือทางชอง มศักดิo โดยอ้างวานายเจิ มศักดิo ่ ็ ส ังให้รายการ ไมมี่ ใบอนุ ญาตผูป้ ระกาศ ในเวลาตอมาผู อ้ าํ นวยการสถานี โทรทัศน์ช่ อง 11 กได้ ่ เหรี ย ญสองด้า น และตามหาแกนธรรมของบริ ษ ทั วอชด็อก ซึ ง เป็ นบริ ษ ทั ของนายเจิ ม ศัก ดิo ให้ 21

บุญเลิศ ช้างใหญ่ อ้างถึงใน เรื องเดียวกนั , หน้า 53-54. ์ กาญจน์มุนี ศรี วิศาลภาพ และณรงค์ชยั ปัญญานนทชัย, ทักษิณบนบัลลังกนายกรั ฐมนตรี , (กรุ งเทพฯ: ดอกหญ้า2545, 2546), หน้า 101-104. 22


111

เปลี ย นแปลงผูด้ ํา เนิ นรายการจากนายเจิ ม ศัก ดิo ใ ห้เป็ นคนอื น แทนทัน ที และจากคํา สั ง นี) ท าํ ให้ ่ ่ 23 นายเจิมศักดิo ไมสามารถเป็ นพิธีกรตอได้ นอกเหนื อจากการแทรกแซง และคุ กคามการทํางานของสื อภายในประเทศแล้ว รัฐบาล ่ ่ ตยสารฟาร์ ทักษิณยังได้ดาํ เนินการควบคุมสื อตางประเท ศในบางกรณี อีกด้วย เชน่ กรณี ที ผสู ้ ื อขาวนิ อีสเทิร์น อีโคโนมิก รี วิว (Far Eastern Economic Review) ได้ตีพิมพ์บทความที มีเนื) อหาวิจารณ์ ่ น แรงถึ ง การบริ หารประเทศด้ว ยอํา นาจเบ็ดเสร็ จ และพาดพิง ถึ ง สถาบัน พ.ต.ท.ทัก ษิ ณ อยางรุ ่ ได้มีคาํ สั งเกบหนั ็ งสื อฉบับดังกลาว ่ และ พระมหากษัตริ ยด์ ว้ ย ทําให้ต่อมาสํานักงานตํารวจแหงชาติ ั ส้ ื อขาวผู ่ เ้ ขียนบทความในข้อหาหมิ นพระบรมเดชานุภาพ นอกจากนี) ผสู ้ ื อขาว ่ ดําเนินคดีอาญากบผู ของฟาร์อีสเทิร์น อีโคโนมิก รี ววิ อีกจํานวนหนึ งยังได้ถูกขึ) นบัญชีดาํ ห้ามเดินทางเข้าประเทศไทยอีก ด้วย ่ ตยสารฟาร์อีสเทิร์น อีโคโนมิก รี วิว แล้วในเวลาตอมาก ่ ็ นอกจากกรณี การสั งห้ามจําหนายนิ ิ ั กกบกรณี ั ่ ่ เกดกรณี ปัญหาคล้ายกนอี ของนิตยสารดิ อีโคโนมิสต์ (The Economist) ที ถูกกลาวหาวามี ่ เนื) อหาในเชิงหมิ นสถาบันพระมหากษัตริ ยท์ ี รุนแรงกวากรณี ฟาร์อีสเทิร์น อีโคโนมิก รี วิว เสี ยอีก ทํา ่ ็ ส ังห้ามจําหนายดิ ่ อีโคโนมิสต์ฉบับดังกลาวในที ่ ให้ในเวลาตอมาทางตํ ารวจสันติบาลกได้ สุด24 ่ ยวกบการแทรกแซง ั การพยายามแทรกแซงสื อนั) น เป็ นการใช้กลไกรัฐกลไกหนึ งเชนเดี องค์กรอิสระ เพื อนําไปสู่ เป้ าหมายประการเดียวกนั คือการสร้างภาวะการครองอํานาจนําที สมบูรณ์ ิ ) นเหนือพื)นที สังคมการเมือง เพื อประโยชน์ต่อรัฐบาลทักษิณเอง ให้เกดขึ 3) ระบบราชการ และกองทัพ ระบบราชการเป็ นองค์กรที มีความสําคัญในการนํานโยบายของรัฐบาลไปปฏิบตั ิ และระบบ ่ มิภาค และท้องถิ นยังมีโอกาสในการใกล้ชิดประชาชน ถ้ายึดกุมระบบราชการได้ ราชการในสวนภู ็ ฐานเสี ยงตา่ งจังหวัดไปด้วย กจะได้ ่ รัฐบาลทักษิณนํานโยบายผูว้ าราชการจั งหวัดแบบบูรณาการ (ผูว้ า่CEO) มาใช้เมื อปี 2544 ่ ่ โดยมุง่ เน้นให้ผวู ้ าราชการจั งหวัดสามารถบริ หารจังหวัดได้อยางรอบด้ าน และริ เริ มโครงการในการ ่ คล้ายกบผู ั บ้ ริ หารของบริ ษทั เอกชน พ.ต.ท.ทักษิณได้เปรี ยบตนเอง บริ หารจังหวัดในแบบใหมๆได้ ็ เป็ นผูบ้ ริ หารสู งสุ ดของประเทศ ดังนั) นผูว้ า่ CEO กจะเปรี ยบเหมือนตัวแทนในการดําเนิ นนโยบาย ของรัฐบาลในระดับภูมิภาคนัน เอง

23 24

เรื องเดียวกนั, หน้า 105-107. เรื องเดียวกนั, หน้า 89-98.


112

นอกเหนือจากการดําเนินการยึดกุมข้าราชการในระดับภูมิภาค แล้วรัฐบาลทักษิณกยั็ งให้ ั ความสําคัญกบการให้ การสนับสนุนนักการเมืองในระดับท้องถิ น25 ในนามของพรรคไทยรักไทยอีก ่ ่ 2544-2547 ที มีผลตอ่ ด้วย ทั) งนี) อาจเป็ นเพราะกระแสการเมืองชวงขาขึ ) นของรัฐบาลทักษิณในชวงปี ทิศทางการเมืองในระดับท้องถิ นทัว ประเทศด้วย ดังเห็นได้จากกรณี เชน่ การเลือกตั) งนายกองค์การ ่ งหวัด (อบจ.) โดยตรงทัว ประเทศในปี 2547 นั) น นักการเมืองท้องถิ นผูล้ งสมัครใน บริ หารสวนจั ่ ่ ตําแหนงนายกอบจ .นั) นจะอิง กระแสการเมืองระดับ ชาติด้วยการประกาศวาตนสนั บสนุ นพรรค ่ ดเจนด้วย การเมืองใดอยางชั ่ า ราชการในระดับ ภู มิ ภ าคทั) ง ผูว้ ่าราชการจัง หวัด นายอํา เภอ การเข้า ไปมี อิท ธิ พ ลตอข้ ี ั ่ ่ การ ปลัดอํา เภอเกยวกบการดํ า เนิ น นโยบายของรั ฐ และการมี อิท ธิ พ ลตอการเมื องท้องถิ นเชน ่ ็ นที เชื อ ได้ว่าจะสามารถสงผล ่ หรื อ มี เลื อกตั) ง นายกอบจ . แม้ไ มมี่ ห ลัก ฐานเชิ ง ประจัก ษ์แตกเป็ ่ ่ อิทธิ พลตอการสนั บ สนุ นรัฐบาลทักษิณ และพรรคไทยรัก ไทยของประชาชนในชนบทได้อยาง ่ แนนอน นอกเหนื อจากการเข้าไปมีอิทธิ พลต่อระบบราชการพลเรื อนที เป็ นกลไกในการขับเคลื อน ่ ่ นโยบายตางๆแล้ ว รัฐบาลทักษิณยังได้เข้าไปมีบทบาทตอกองทั พ และตํารวจอีกด้วย เนื องจากการ ็ ่ ํ ง และอาวุธ เพื อ กระทํา ควบคุ ม กลไกรั ฐ ชนิ ด นี) ไ ด้ กจะเป็ นการปลอดภัย ตอการรวบรวมกาลั รัฐประหารของกลุ่มทหาร หรื อกลุ่มการเมืองอื นๆได้ ่ ่ สวนประเด็ นการมีบทบาทตอกองทั พของรัฐบาลทักษิณนั) นดังเห็นได้จากกรณี แรกคือกรณี ่ ่ นโรงเรี ยนเตรี ยมทหารรุ่ น 10 รุ่ นเดียวกบพ ั .ต.ท.ทักษิณ กองทัพ ซึ งเห็นได้ชดั จากการที เพื อนรวมรุ ่ ) งให้คุมกาลั ํ งสําคัญแทบทั) งสิ) น26 เชน่ ในสวนของกองทั ่ นั) นได้รับการแตงตั พบกนั) นมี พล.อ.พรชัย ่ นดา แมทั่ พภาคที 1 พล.ต.พฤณฑ์ สุ วรรณฑัต ผูบ้ ญั ชาการ กรานเลิศ ผช.ผบ.ทบ. พล.ท.อนุพงษ์ เผาจิ กองพลที 1 รักษาพระองค์ (ผบ.พล.1 รอ.) พล.ต.ศานิต พรหมาศ ผูบ้ ญั ชาการกองพลทหารม้าที 2 รักษาพระองค์ (ผบ.พล.ม.2 รอ.) พล.ต.เรื องศักดิo ทองดี ผูบ้ ญ ั ชาการกองพลทหารปื นใหญ่ต่อสู ้ อากาศยาน (ผบ.พล.ปตอ.) พล.ต.ดุลกฤต รักเผา่ ผูบ้ ญั ชาการกองพลพัฒนาที 1 (ผบ.พล.พัฒนาที 1) ่ ญชาการนาวิกโยธิ น (ผบ.นย.) กองทัพเรื อมี พล.ร.ท.สี วิชัย ศิริสาลี ผูบ้ ญ ั ชาการหนวยบั ่ ้ อ ากาศยานและรั ก ษาฝั ง (ผบ.สอ./รฝ.) สวน ่ พล.ร.ต.ชัย วัฒ น์ เอี ย มสุ น ทร ผูบ้ ัญ ชาการตอสู ํ งทหารราบ อย. กองทัพอากาศมี พล.อ.ท.สุ เมธ โพธิo มณี ผูบ้ ญั ชาการอากาศโยธิ น (ผบ.อย.) คุมกาลั และคอมมานโด ่ ่ าคัญ เชน่ พล.ต.ต.สุ รสิ ทธิo สังขพงษ์ อดีตผู ้ ในสวนของข้ าราชการตํารวจที ดาํ รงตําแหนงสํ บังคับการกองปราบปราม ซึ งเป็ นนักเรี ยนนายร้อยตํารวจ (นรต.) รุ่ น 26 รุ่ นเดียวกบั พ.ต.ท.ทักษิณ 25

่ ่ งหวัดทัว ประเทศในปี 2547 เป็ นต้น เชนการเลื อกตั)งนายกองค์การบริ หารสวนจั ่ ด ณ เดือนมีนาคม 2549 ตามขอบเขตของการวิจยั ที สิ) นสุดการศึกษาที การยุบสภา เดือนกุมภาพันธ์ 2549 เป็ นข้อมูลลาสุ ่ ่ คคลอาจไมตรงกบข้ ่ ั อมูล ณ ปัจจุบนั ยศ และตําแหนงของแตละบุ 26


113

่ อ้ าํ นวยการสํานักงานสลากกนแบงรั ิ ่ ฐบาล ซึ งเป็ นหนวยงานสํ ่ ได้ดาํ รงตําแหนงผู าคัญที หารายได้ ิ ่ นอกงบประมาณมาใช้จ่ายในกจกรรมตางๆของรั ฐบาลทักษิณ พล.ต.ต.จุมพล มัน หมาย ผูอ้ าํ นวยการ ่ ่ สํานักงานขาวกรองแหงชาติ พล.ต.อ.ชิ ดชัย วรรณสถิต รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ว่าการ กระทรวงยุติธรรม พล.ต.อ.วุฑฒิชยั ศรี รัตนวุฑฒิ ประธานป.ป.ช.ชุดที มีปัญหาการขึ) นเงินเดือนให้ ตัวเอง27 พล.ต.อ.วาสนา เพิ ม ลาภ ประธานกกต. พล.ต.ต.เอกชัย วารุ ณ ประภา เลขาธิ ก ารกกต. พล.ต.ต.พีระพันธุ์ เปรมภูติ เลขาธิ การปปง. พล.ต.อ.สมบัติ อมรวิวฒั น์ อธิ บดี กรมสอบสวนคดี พิเศษ หรื อดีเอสไอ เป็ นต้น ่ าแหนงสํ ่ าคัญในกองทัพ และตํารวจนั) นล้วนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกบพ ั .ต.ท. จะเห็นได้วาตํ ่ ทักษิณทั) งสิ) น จึงอาจกลาวได้ ว่ารัฐบาลทักษิณสามารถครอบงําเหนื อกองทัพ และตํารวจซึ งเป็ น ่ กลไกสําคัญในการครองอํานาจนําเหนื อพื) นที สังคมการเมืองได้สําเร็ จในชวงเวลาของการครอง ่ อํานาจกอนการยุ บสภาในเดือนกุมภาพันธ์ 2549 5.4 สรปุ บทที 4 และบทที 5 เป็ นการสร้างคําอธิ บายการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาล ทักษิณ โดยเริ มต้นที รัฐบาลทักษิณในฐานะที เป็ น “กลุ่มผูด้ าํ เนิ นการสร้ างภาวะครองอํานาจนํา” ั ค้ นในสังคมตลอดระยะเวลา 5 (Hegemon)ได้ดาํ เนินการสร้าง “สงครามยึดพื)นที ทางความคิด” กบผู ิ ) นเหนือพื)นที ทางสังคมทั) งหมด โดย ปี ของการครองอํานาจเพื อสร้าง “กลุ่มประวัติศาสตร์ ” ให้เกดขึ ่ การให้ผลประโยชน์ที เป็ นรู ปธรรมจากนโยบายที มีลกั ษณะประชานิ ยมตางๆในโครงสร้ างสังคม ่ ่ ขณะเดียวกนในโครงสร้ ั ่ สวนลาง างสวนบน ได้แก่ พื)นที ประชาสังคม และพื)นที สังคมการเมืองนั) น ่ ิ ได้ดาํ เนิ นการทําสงครามยึดพื) นที ทางความคิดโดยอาศัย “กลไก” ตางๆทั บ ) งที ก่อให้เกดการยอมรั ่ เกดการยอมรั ่ ิ โดยดุ ษฎี และที บงั คับด้วยอํานาจรัฐ ดังปรากฏให้เห็ นวากลไกที ใช้เพื อกอให้ บจาก ผูค้ นในสังคมคือ “กลไกการครองอํานาจนํา” ประกอบไปด้วยกลไกหลักคือ กลไกนโยบาย และการ ่ จัดการภาพลักษณ์ของผูน้ าํ สวนกลไกที สร้างการยอมรับด้วยลักษณะของการบังคับ คือ “กลไกรัฐ” อันประกอบไปด้วย การเพิ มจํานวนที นง ั ในสภาผูแ้ ทนราษฎรเพื อเลี ยงการตรวจสอบ การใช้ความ ่ ่ ั านาจรัฐ เข้มแข็งให้เป็ นประโยชน์ในการผานรางกฎหมายและการแทรกแซงองค์ กรที สัมพันธ์กบอํ ่ ตางๆ

27

“ป.ป.ช. ขอขึ) นเงินเดือน”, ใน A day weekly, ปี ที 1 ฉบับที 20 (1-7 ตุลาคม 2547), หน้า 11.


บทที 6 การโต้ ตอบต่ อการครองอํานาจนํา ่ บทที 6 นี! จะเป็ นการนําเสนอถึ ง การโต้ตอบตอการครองอํ า นาจนํา ของรั ฐบาลทักษิ ณ ภายหลังจากที รัฐบาลทักษิณได้ทาํ สงครามยึดพื!นที ทางความคิดเหนื อพื!นที ประชาสังคม และพื!นที ่ ่ ระหวางปี ่ 2544-2549 โดยมีคาํ ถามหลัก คือ การดําเนินการ สังคมการเมืองผานทางกลไกชนิ ดตางๆ สร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณประสบความสําเร็ จหรื อไม่ เพราะเหตุใด การอธิบายในบทนี! เริ มจากคําตอบที มีอยูแ่ ล้ว เนื องจากขอบเขตการศึกษาของงานวิจยั ชิ!นนี! ั ยงขับไลที่ เกิดขึ! นในสังคม จึงเป็ น สิ! นสุ ดลงที การตัดสิ นใจยุบสภาของรัฐบาลทักษิณ พร้อมกบเสี ่ ่ คําตอบเชิ งประจักษ์ว่ารั ฐบาลทักษิณ ไมสามารถสร้ างภาวะการครองอํานาจนําอยางสมบู รณ์ ใ ห้ ิ ! นได้ เพราะไมสามารถยึ ่ ่ เกดขึ ดกุมพื! นที ป ระชาสัง คมได้อยางสมบู รณ์ แม้ว่ารัฐบาลทักษิ ณจะ สามารถยึดกุมพื!นที สังคมการเมืองได้ก็ตาม ่ ฐบาลทักษิณยึดกุมพื! นที ประชาสังคมได้ไมสมบู ่ รณ์ นั! นเห็นได้ กรณี ที สะท้อนให้เห็นวารั ิ ิ ! นของการโต้ตอบตอการครองอํ ่ ่ จึง จากเกดการเผยตั วให้เห็น และการเกดขึ านาจนําของกลุ่มตางๆ ่ นํา ไปสู่ ข ้อ สรุ ป วา่ การดํา เนิ น การสร้ า งภาวะครองอํา นาจนํา ของรั ฐบาลทัก ษิ ณ นั! น ไมประสบ ่ รณ์ จึงสรุ ปได้วาการดํ ่ ความสําเร็ จ เพราะการครองอํานาจนํานี! ไมสมบู าเนินการสร้างภาวะการครอง อํานาจนําของรัฐบาลทักษิณในระยะ 5 ปี ของการครองอํานาจนั! น เป็ นเพียง “ความพยายามสร้าง ่ !น ภาวะการครองอํานาจนํา” เทานั ่ ่ ่ การนําเสนอในสวนตอจากนี านาจ ! จึงเป็ นการเสนอกรณี ต่างๆของการโต้ตอบตอการครองอํ ่ เพื อสนับสนุ นวา่ รัฐบาลทักษิณนั! นไมประสบความสํ ่ นําโดยกลุ่มตางๆ าเร็ จในการสร้างภาวะการ ่ ครองอํานาจนําอยางสมบู รณ์ 6.1 การโต้ ตอบต่ อการครองอํานาจนํา (Counter Hegemony) รปแบบในการอธิ บายและ ู แนวความคิด 6.1.1 รปแบบในการอธิ บาย ู ่ การอธิ บ ายการโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําในบทนี! เป็ นการอธิ บ ายตามรู ป แบบการ อธิบายข้อ IV.1 ที วา่ ถ้ าไม่ สามารถเอาชนะสงครามยึดพืน ที ทางความคิดได้ ภาวะการครองอํานาจนํา 1

ดู บทที 4 หัวข้อที 4.2 รู ปแบบในการอธิบายกระบวนการสร้างภาวะการครองอํานาจนํา


115

จะไม่ สมบูรณ์ และจะเกิด “การโต้ ตอบต่ อการครองอํานาจนํา” (Counter Hegemony) ขึน จากกลุ่ม หรื อชนชั นผู้พยายามครองอํานาจนํากลุ่มใหม่ ๆ ขึน เสมอ 6.1.2 แนวความคิดการโต้ ตอบต่ อการครองอํานาจนํา (Counter Hegemony) ่ ร ณ์ กลาวคื ่ อ ไมสามารถสร้ ่ การดํา เนิ น การสร้ า งภาวะการครองอํา นาจนํา ที ไ มสมบู าง ภาวะการครองอํานาจนําเหนื อพื! นที ประชาสังคม หรื อสังคมการเมืองได้เลย หรื อสามารถสร้ า ง ภาวะการครองอํานาจนําได้ในระดับหนึ ง ด้วยการครองพื!นที ทางสังคมพื! นที ใดพื!นที หนึ งได้ หรื อ ั ่ สามารถสร้างภาวะครองอํานาจนําได้ใกล้เคียงกบการครองอํ านาจนําสมบูรณ์ในชวงระยะเวลาหนึ ง ่ อเวลาผานไปได้ ่ ิ ปัจจัยตางๆที ่ แตเมื เกดเหตุ บน ั ทอนความชอบธรรม และลดทอนความรู ้สึกยินยอม ่ ่ พร้ อมใจของชนชั! นผูถ้ ู ก ครอบงํา ที มี ต่ อชนชั! น /กลุ่ ม ผูค้ รองอํา นาจนํา ทํา ให้ในชวงเวลาตอมา ่ ่มผูด้ าํ เนินการสร้าง ภาวะการครองอํานาจนํานั! นถูกลดทอนลงไป กรณี ท! งั หมดนั! นหมายความวากลุ ่ ่ ภาวะครองอํานาจนํานั! นไมสามารถสร้ างภาวะการครองอํานาจนําได้อยางสมบู รณ์ การครองอํานาจนําสมบูรณ์ที กลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนําสามารถเอาชนะ สงครามยึดพื! นที ทางความคิดได้ดว้ ยการยึดครองเหนื อพื! นที ประชาสังคม และสังคมการเมืองนั! น ่ ่ ิ ่ ผูค้ นในสังคมจะดําเนิ นชีวิตอยางปกติ โดยไมเกดการความสงสั ย หรื อตั! งคําถามตอการดํ าเนินการ ่ ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนํา และไมมี่ การดําเนินการใดๆเพื อแสดงความคิด ตางๆของกลุ ่ มคิดหลัก หรื ออุดมการณ์ตามที กลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนําต้องการ ที ขดั แย้งตอควา ั ากลุ่มผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะครองอํานาจนําสร้างภาวะการครองอํานาจนํา ในทางกลับกนถ้ ่ สมบูรณ์ ไมสํ่ า เร็ จ ผูค้ นในสัง คมสวนหนึ ง ที ตระหนัก รู ้ ไ ด้ว่าตน หรื อชนชั! น/กลุ่ ม ของตนได้ถู ก ดําเนินการครองอํานาจนําเพื อผลประโยชน์ของกลุ่ม/ชนชั! นผูค้ รองอํานาจนํา กลุ่มคนที ตระหนักรู ้น! ี ่ จะได้แสดงออก หรื อเผยให้เห็นถึงการดําเนินการใดๆเพื อเป็ น “การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนํา” ่ ของชนชั! นผูค้ รองอํานาจนํา ทั! งนี! การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําของกลุ่มคน/ชนชั! นอื นในสังคม ่ านาจของตนนั! นถูกท้าทาย หรื อ อาจเป็ นไปเพียงเพื อแสดงให้ผคู ้ รองอํานาจนําได้เห็น และรับรู ้วาอํ ่ ่ มกลุ่มผูด้ าํ เนินการครองอํานาจเกา่ และนําไปสู่ การ แม้การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนํา เพื อโคนล้ ้ ่ ็ นได้2 กาวไปเป็ นกลุ่มผูด้ าํ เนินการครองอํานาจนํากลุ่มใหมกเป็

Barry Burke, Antonio Gramsci and informal education [Online]. Available from: http://www.infed.org/thinkers/etgram.htm [7 มีนาคม 2550] 2


116

6.2 การโต้ ตอบต่ อการครองอํานาจนําโดยกล่มุต่ างๆ ่ ่ รัฐบาลทักษิณแม้วาจะได้ รับคะแนนนิยมจากผลสํารวจตางๆอยู ใ่ นระดับดี เป็ นที นิยมของ ผูค้ นจํานวนหนึ ง และได้รับคะแนนเสี ยงจากการเลือกตั! งทัว ไปในปี 2544 ด้วยคะแนนเสี ยงกวา่ 11 ล้านเสี ยง และกวา่ 19 ล้านเสี ยงจากการกลับเข้าสู่ อาํ นาจเป็ นสมัยที 2 ในการเลือกตั! งทัว ไปปี 2548 ่ ่ ! นไมได้ ่ เป็ นสิ งบงชี ่ ! วารั ่ ฐบาลทักษิณสามารถครองอํานาจ แตความนิ ยม และคะแนนเสี ยงดังกลาวนั ่ นําเหนือสังคมการเมืองไทยได้อยางสมบู รณ์แล้ว ่ า หรั บ พื! น ที สั ง คมการเมื อ ง อัน เป็ นพื! น ที ข อง จากการศึ ก ษาทํา ให้ ผู ้วิ จ ัย มองวาสํ ี ั ขอบเขตของอํานาจรัฐนั! นรัฐบาลทักษิณสามารถยุดกุม ความสัมพันธ์เชิ งอํานาจ และข้องเกยวกบ พื!นที น! ีได้สําเร็ จดังเห็นได้จากการมีเสี ยงข้างมากในสภาผูแ้ ทนราษฎรที มากพอจะสามารถป้ องกนั การตรวจสอบการบริ หารด้วยกระบวนการรัฐสภาได้ และสามารถใช้ค วามเข้มแข็งของรัฐบาล ่ ่ ํ กระทําการตางๆในพื นการกาหนดกฎหมายได้ ตามต้องการ !นที อาํ นาจรัฐได้ตามต้องการไมว่ าจะเป็ ํ ํ ด้วยการกาหนดเป็ นพระราชกาหนด , การเข้าไปแทรกแซงกระบวนการตรวจสอบจากสื อ และ ่ รวมไปถึ ง การเข้า ไปมี บ ทบาทนํา ในกองทัพ และตํา รวจในชวงเวลาที ่ องค์ก รอิ ส ระตางๆ เป็ น ขอบเขตของงานวิจยั นี! ดว้ ย ั !นที ประชาสังคมซึ งเป็ นพื!นที ที มีความสัมพันธ์เชิงอํานาจคนละแบบกบพื ั !นที สังคม ผิดกบพื การเมื อง ในพื! นที น! ี เป็ นพื! นที ข องภาคเอกชน ภาคประชาชน ที แม้ว่ารัฐบาลทัก ษิ ณจะได้มี ก าร ่ ิ ! นอยางสมบู ่ ่​่ ดําเนินการใช้ “กลไก” ตางๆเพื อสร้างภาวะการครองอํานาจนําให้เกดขึ รณ์ ไมวาจะเป็ น ่ การนํานโยบายตางๆทั ! งในเชิ งเศรษฐกจิ และสังคม และการจัดการภาพลักษณ์ของผูน้ าํ ให้เป็ นที ่ ่ อาจอนุ ม านได้ว่าประสบ ถูก ใจของผูค้ น แตการดํ า เนิ นการด้วยกลไกการครองอํา นาจนํา ตางๆ ่ ! น แตไมสามารถยึ ่ ่ ่ ผลสําเร็ จเพียงระดับหนึ งเทานั ดกุมพื!นที ประชาสังคมอยางสมบู รณ์ได้ ิ ! นและการดําเนินการเพื อเป็ นการโต้ตอบตอการครองอํ ่ ดังเห็นได้จากการเผยตัว เกดขึ านาจ ่ นําของรัฐบาลทักษิณของกลุ่ มตางๆ ซึ งสามารถจําแนกได้เป็ น 4 กลุ่ มคือ 1. กลุ่มปั ญญาชน/ นักวิชาการ 2. สื อมวลชน 3. กลุ่มการเมืองภาคประชาชน และ 4. กลุ่มการเมืองอื นๆ 6.2.1 ปัญญาชน/นักวิชาการ กลุ่มปั ญญาชน/นักวิชาการเป็ นกลุ่มในสังคมกลุ่ มแรกๆที ได้เผยตัวให้เห็นถึงการออกมา ่ ่ โต้ตอบตอการครองอํ านาจนําของรัฐบาลทักษิณ ซึ งการออกมาโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําของ ่ มีเป้ าหมายเพื อการกาวไปสู ้ ่ การเป็ นกลุ่มผูด้ าํ เนิ นการสร้างการ กลุ่มปั ญญาชน/นักวิชาการนี! ไมได้ ่ ่ ่ ่ นการโต้ตอบตอการครองอํ ่ ครองอํานาจนํากลุ่ มใหมแตอยางใด แตเป็ านาจนําในบริ บทของการ ่ งคมเป็ นหลัก กระตุน้ และนําเสนอข้อคิดของกลุ่มตนตอสั


117

นัก วิช าการคนแรกๆที มี ออกมาแสดงบทบาทในการแถลงความคิ ด เห็ น หรื อ ปาฐกถา ี ั ฐบาลทักษิณอยางสมํ ่ าเสมอจนถูกพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรเรี ยกวาเป็ ่ น “พวกขาประจํา” คือ เกยวกบรั ่ ธี ร ยุ ท ธ บุ ญ มี ดัง เห็ น ได้จ ากการดํา เนิ น การโต้ต อบตอการครองอํ า นาจนํา ของธี ร ยุท ธ บุ ญ มี ่ ดังตอไปนี ! ่ การออกมาเผยตัว และดํา เนิ นการโต้ตอบตอการครองอํ า นาจนําด้วยการให้ค วามรู ้ แ ก่ ประชาชนครั! งแรกๆของธี รยุทธคือ การแสดงปาฐกถาเรื อง “Road Map ประเทศไทย” ในงานรําลึก 30 ปี 14 ตุลา เมื อวันที 5 ตุลาคม 2546 ณ สถาบันปรี ดี พนมยงค์ ซึ งการออกมาแสดงปาฐกาถาใน ่ อในด้านหนึ งแม้ธีรยุทธ จะ ครั! งนี! น! นั ยังเป็ นการวิพากษ์วจิ ารณ์ในลักษณะที เป็ นกลางอยูม่ าก กลาวคื ่ 2-3 ปี แรกของรัฐบาลทักษิณวาเป็ ่ นการทําให้กลุ่ม ได้วิพากษ์การบริ หารงานแบบบูรณาการในชวง ่ พลัง ตางๆในสั ง คมหมดความหมาย หรื อ ลดควา มสํา คัญ ไปอยู่ภายใต้ก ลุ่ ม ทุ น ของรั ฐ บาล แต่ ั ็ งมองวาพ ่ .ต.ท.ทักษิณ นั! นมีขอ้ ดีอยูด่ ว้ ย เชน่ มีความรู ้หลายด้าน, กล้าเผชิ ญปั ญหา, ขณะเดียวกนกยั มีความคิดริ เริ ม และกล้าใช้อาํ นาจ เป็ นต้น3 ่ การออกมาแถลงความเห็นตอการเมื องยุคพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรในลําดับถัดมาคือ เมื อวันที ้ ่ การเมืองระบอบเผด็จการพรรคเดียวของ 27 กรกฎาคม 2547 ภายใต้หวั ข้อ “4 ปี ระบอบทักษิณ กาวสู ไทยรักไทย มุ่ง ยึดสัมปทานประเทศ” ซึ งมี ประเด็นสํา คัญคือ ที ผ่านมาระบอบทัก ษิณทําให้การ ิ ฐธรรมนู ญ 2540 ล้ม เหลว และยังมุ่งปรั บเปลี ย นโครงสร้ า งทาง ปฏิ รูป การเมื องหลัง การเกดรั ั ! อินเตอร์ ทําการดัดแปลงตัดแตงโครงสร้ ่ การเมือง โดยการผนวกท้องถิ นเข้า กบยี างทางการเมือง ่ ใ ช้อาํ นาจผานระบบราชการและกลุ ่ ่ม ใหม่ เป็ นการเมื องแบบจี เอ็ม โอ ทํา ให้นัก การเมื อ งเกาที อิทธิพลท้องถิ นตกยุคและสู ญพันธุ์ ่ กลุ่มทุนใหญของไทยรั กไทยเป็ นทุนอภิสิทธิk หรื อทุนกาฝากรัฐ ที เติบโตจากการผูกขาด ่ ่ น ขณะเดี ยวกนกสงเสริ ั ็ ่ ม ทรัพยากรรั ฐหรื อการเอื! อประโยชน์จากนโยบายรัฐมากกวาการแขงขั ่ หรื อประชามาร์ เกตติ ็ !ง ทําให้ประชาชนละเลยคุณคาด้ ่ านศีลธรรม นับ นโยบายประชานิยมแกนแท้ ถือบริ โภคนิยม และใช้จ่ายขาดประสิ ทธิภาพ ไร้คุณภาพเป็ นการอุปถัมภ์เชิงนโยบาย โดยการใช้เงิน ่ ่ ! จะนําไปสู่ ระบอบเผด็จการพรรคเดียว สวนรวมเพื อเรี ยกคะแนนเสี ยงจากชาวบ้าน การอุปถัมภ์เชนนี ่ ทั!งยังวาการคอรั ปชัน ในยุคนี! มีคุณภาพสู งขึ! นเป็ นเบญจคอรัปชัน คือ 1. การคอรัปชัน เชิงนโยบาย 2. ่ ่ การคอรัปชัน บูรณาการ 3. การคอรัปชัน แบบผลประโยชน์ทบั ซ้อน 4. การคอรัปชัน เชิ งชองวาง ่ งคมไทยกบระบบโลก ั ระหวางสั และ 5. การคอรัปชั นทางศีลธรรม นอกจากนี! ยงั มีแนวโน้มวา่

3

47-69.

ธีรยุทธ บุญมี, Road Map ประเทศไทย บทบาทคุณูปการของการเมืองภาคประชาชน, (กรุ งเทพฯ: สายธาร, 2547), หน้า


118

่ ่ รัฐบาลทักษิณจะขอเปลี ยนสัญญาบริ หารประเทศ 4 ปี เป็ นสัมปทานประเทศ 30 ปี โดยจะเพิ มคาเชา ่ ่ ่ และจายโบนั สอยางงามแกประชาชนทุ ก 4 ปี 4 ภายหลัง การแถลงการณ์ ค รั! งแรกถื อ ได้ว่า ธี ร ยุ ท ธมี ส่ วนพอสมควรในการสร้ า งการ ิ ! นในสังคมถึงการถูกครอบงําโดยรัฐบาลทักษิณ และเขาได้ออกมาโต้ตอบตอการ ่ ตระหนักรู ้ให้เกดขึ ่ ครองอํานาจนําอีกครั! งด้วยการกลาวบรรยายพิ เศษเรื อง “ยุทธศาสตร์ สันติภาพประเทศไทย ปี 2548” ั ญหาความรุ นแรงใน ซึ งสาระสําคัญของการบรรยายในครั! งนี! มุง่ ประเด็นวิจารณ์เรื องการจัดการกบปั ่ ้ ญหาต้องเริ มต้นที การสร้างทัศนคติที เป็ นเอกภาพ ภาคใต้ ของรัฐบาลทักษิณ และเสนอวาการแกปั ่ อกนไมแบงแยกซ้ ั ่ ่ ทุกฝ่ ายต้องรวมมื าย-ขวา ต้องมีบุคคล และกลไกที ชาวบ้านไว้ใจ เข้าถึงได้ง่าย นอกจากนี! ยงั ฝากให้นายกฯทักษิณเลิกมองปั ญหาแบบมิติเดี ยว ให้หันมามองรอบด้านเชื อมโยง, ่ ! มีความอดทนอดกลั! น ไมควรหลุ ่ มองให้พน้ จากกรอบชาตินิยม, ควรมีวุฒิภาวะมากกวานี ดคําพูดที 5 ่ ไมสมควรออกมา ่ การดําเนิ นการโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําโดยธี รยุทธในครั! งถัดมา เว้นระยะจากครั! ง ่ ่ กอนไมนานนั ก โดยเขาได้แถลงผลงานวิช าการการศึ ก ษาการเปลี ย นแปลงสัง คม วัฒ นธรรม การเมือง ครั! งที 2 ของไทยหลังการเลือกตั! ง 2548 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2548 มีสาระสําคัญวา่ ยุค ทักษิณนั! นเป็ นจุดเปลี ยนของประวัติศาสตร์ ที สร้างความเปลี ยนแปลงโครงสร้างสังคม เศรษฐกจิ และการเมือง โดยอํานาจนําทางความคิดอยูใ่ นมือเทคโนแครตรุ่ นใหม่ ขณะที ทางการเมืองกลุ่มนํา ิ ่ นใหมกาวเข้ ่ ้ ามามีอาํ นาจแทน สวนอํ ่ านาจทางเศรษฐกจตระกู ิ ิ ่ ทางธุรกจรุ ลนําทางธุ รกจเกาสลายตั ว คนรุ่ นใหมยุ่ คคลื นลูกที สามกุมอํานาจแทน และเข้าผูกขาดหรื อกุมอํานาจสัมปทานทรัพยากรรัฐ และการคอรั ปชั นในยุครัฐบาลทัก ษิณนั! นมีลกั ษณะกว้า งพัฒนาการตัวเองได้ไว สร้ างภูมิคุม้ กนั ่ สุด จึงเกดการคอรั ิ ่ ! นโดยมีลกั ษณะบูรณาการ6 ตัวเองได้เกงที ปชัน ใหมๆขึ ่ ่ งเดือนธีรยุทธกได้ ็ ออกมามีบทบาทในการโต้ตอบตอการครองอํ ่ ในชวงระยะเวลาไมถึ านาจ นําของรัฐบาลทักษิณอีกครั! ง ด้วยการแสดงปาฐกถาเรื อง “ประเทศไทยภายใต้ระบบซูเปอร์ การเมือง ่ เป็ นซูเปอร์ ลม้ เหลว โดยมีสาระสําคัญวา่ ตนเชื อวารั ่ ฐบาล ซูเปอร์ นายกฯ ซูเปอร์ พรรค ระวังอยาให้ ่ ิ 12 ปี เนื องจากปัญหาสารพัดวังภายในพรรค และสภาพเศรษฐกจิ ทักษิณนั! นคงเป็ นรัฐบาลได้ไมเกน ่ ่ ่ .ต.ท.ทักษิณ ที ได้รับผลกระทบจากสภาวะเงินเฟ้ อ และราคานํ! ามัน โดยกลาววาในขณะนี ! ดูคล้ายวาพ ่ ิ มีอาํ นาจสมบูรณ์ซ ึ งเป็ นภาพลวงตา เพราะเชื อวาจะเกดขาลงในปี นี! และอาจตามมาด้วยเศรษฐกจิ ้ ่ ่ านาจ ทําให้ ตกตํ าซึ งต้องแกไขให้ ได้ และในชวงปลายทั กษิณ 2 จะเริ มมีการพูดถึ งการสื บตออํ 4

“เสื! อกกัq -ขาประจํา วิพากษ์ ทรท.”, ใน A day weekly, ปัที 1 ฉบับที 11 (30 กรกฎาคม – 5 สิ งหาคม 2547), หน้า 12. และ ่ มา: ดู คําแถลงฉบับเต็มได้ที ธีรยุทธ บุญมี, บทวิเคราะห์การเมืองระบอบทักษิณ(ไทยรักไทย), [Online] แหลงที http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document9789.html [16 ตุลาคม 2548] 5 “โรดแมพ ประเทศไทยสันติสุข”, ใน A day weekly, ปัที 1 ฉบับที 29 (3-9 ธันวาคม 2547), หน้า 14-15. 6 “ธีรยุทธ ขาประจําเสื! อกกัq ”, ใน A day weekly, ปี ที 1 ฉบับที 42 (3-9 มีนาคม 2548), หน้า 12.


119

่ ่ สิ งที จะล้มรัฐบาลทักษิณได้ การเมืองภายในพรรคไทยรักไทยเข้มข้นขึ! น และท้ายสุ ดเขาได้กลาววา ่ ! น7 คือ กรณี การคอรัปชัน ที โยงถึงตัวพ.ต.ท.ทักษิณได้เทานั ่ การออกมามีบทบาทในการแถลงการณ์ เผยแพรผลการศึ กษา และการปาฐกถาของธี รยุทธ ่ บุญมีน! ันเป็ นการโต้ตอบตอการครองอํ า นาจนําในระดับปั จเจก ด้วยตัวของธี รยุทธเองเป็ นหลัก ่ นอกจากการออกมาโต้ตอบฯในระดับปั จเจกแล้ว ยังมีการเผยตัวให้เห็นถึงการโต้ตอบตอการครอง ่ ในชวงปี ่ 2547อํานาจนําในระดับกลุ่มอีกด้วย ดังเห็นได้จากการมี เวที สัมมนาทางวิชาการ ตางๆ ่ 2548 ซึ งเป็ นชวงปลายของการครองอํ านาจนําในสมัยแรกของรัฐบาลทักษิณ ่ ่ 30 คน เพื อ วงสัมมนาวิชาการที สําคัญวงหนึ งคือ การรวมพลนักวิชาการที เชี ยงใหมกวา สัมมนาในหัวข้อ “ระบอบทักษิณ ความเป็ นมา และความเป็ นไปในอนาคต” ซึ งจัดโดยวารสารฟ้ า ั ่ นที 10-11 มกราคม 2547 โดยมีนกั วิชาการที มีชื อเสี ยงเข้ารวมการสั ่ เดียวกนระหวางวั มมนาครั! งนี! อาทิ นิธิ เอียวศรี วงศ์, อัมมาร สยามวาลา, ผาสุ ก พงษ์ไพจิตร, คริ ส เบเกอร์ , ชัยวัฒน์ สถาอานันท์, เกษียร เตชะพีระ, ฉันทนา บรรพศิริโชติ, แล ดิลกวิทยรัตน์, ประภาส ปิ นตบแตง่ , พิชญ์ พงษ์สวัสดิk ฯลฯ ซึ งประเด็นหลักสําหรับการสัมมนาครั! งนี! คือ การแลกเปลี ยนในประเด็นเรื องวิธีการที ใช้ทาํ ความเข้าใจระบอบทักษิณ, การทํางานและความขัดแย้งภายในตัวเองของระบบนี!, เงื อนไขเบื! องหลัง ิ ! นของรัฐบาลทักษิณ, การเปลี ยนแปลงของรัฐและระบบทุนนิยมไทยในยุครัฐบาลทักษิณ การเกดขึ จนกระทัง อนาคตของระบอบทักษิณและสังคมการเมืองไทย8 ั นการแสดงให้เ ห็ นวานั ่ ก วิช าการตางกเริ ่ ็ ม ที จ ะมี วงสั ม มนาของวารสารฟ้ าเดี ย วกนเป็ ี ั ฐบาลทักษิณให้กบสั ั งคม แตทั่ ! งนี! วง บทบาทมากขึ! นในการนําเสนอความรู ้ และข้อเท็จจริ งเกยวกบรั ั ็ นเพีย งหนึ งในการสัมมนา หรื ออภิ ปรายอีก จํานวนมากที ไ ด้เกดขึ ิ !น สัม มนาของฟ้ าเดี ย วกนกเป็ ่ ในชวงปลายสมั ยแรกของการครองอํานาจของรัฐบาลทักษิณ ่ การจัดวงอภิปรายยอยๆ ่ จํานวนมาก เชน่ วงอภิปรายหัวข้อ “ผลประโยชน์ทบั ดังเห็นได้วามี ่ ซ้อน...หยุดกอนประเทศไทย ” โดย ศ.ดร. ผาสุ ก พงษ์ไพจิตร9, การสัมมนาทางวิชาการเรื อง “นอก ่ กหนังสื อพิมพ์แหงประเทศ ่ กรอบประชานิยม” โดย ดร.อัมมาร สยามวาลา จัดโดยสมาคมนักขาวนั ่ ไทย สาระสําคัญคือ การเตือนวากระแสประชานิ ยมของนักการเมืองไทยจะนําไปสู่ วิกฤติเศรษฐกจิ ่ ยว และการที รัฐบาลผลักดันให้ รอบใหม่ เพราะเป็ นการใช้เงินเพื อหวังผลทางการเมืองเพียงอยางเดี ิ ! นมีความเสี ยงสู ง และมีโอกาสสําเร็ จตํ า10 ประชาชนรากหญ้าเป็ นเจ้าของธุรกจนั

7

“เด็กวัดธีรยุทธ มาอีกแล้ว”, ใน A day weekly, ปี ที 1 ฉบับที 45 (24-30 มีนาคม 2548), หน้า 12. ั บ “ระบอบทักษิณ” ใน ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 2 ฉบับที 1 (มกราคม-มีนาคม 2547). ดูฟ้าเดียวกนฉบั 9 ่ ั “ผลประโยชน์ทบั ซ้อน...หยุดกอนประเทศไทย ”, ใน A day weekly, ปี ที 1 ฉบับที 19 (24-30 กนยายน 2547), หน้า 168

17. 10

“อัมมารวิจารณ์ทกั ษิณ”, ใน A day weekly, ปี ที 1 ฉบับที 27 (19-25 พฤศจิกายน 2547), หน้า 10.


120

การปาฐกถาวิชาการเรื อง “Thaksinomics ภายใต้ทกั ษิณาธิ ปไตย” ของ ศ.รังสรรค์ ธนะพร พันธุ์ ในเดื อนมกราคม 2548 มีสาระสําคัญโดยสรุ ป คือ การปกครองในแบบของทักษิณ หรื อ ทักษิณาธิปไตยนั! น เป็ นระบบที อยูภ่ ายใต้อาํ นาจของพ.ต.ท.ทักษิณ และบริ หารงานโดยทักษิณ เพื อ ็ อง ทักษิณ โดยมีความพยายามที จะครอบงําตลาดพรรคการเมือง ซึ งพรรคการเมืองขนาดเล็กกจะต้ ิ ปิ ดตัวลง และจะเกดการผู กขาดด้านการเมืองโดยพรรคไทยรักไทย นอกจากนี! รัฐบาลทักษิณยังได้ ิ ่ เข้าครอบงําวุฒิสภาโดยใช้วิธีการเกอหนุ กจํานวนมาก และยังพยายามเข้า !ื นทางเศรษฐกจตอสมาชิ ่ องถิ นอีกด้วย นอกจากนี! ยงั ระบุวารั ่ ฐบาลทักษิณนั! นใช้นโยบายใน ครอบงําองค์กรปกครองสวนท้ ลักษณะการตลาดเพื อแสวงหาคะแนนนิยม และเพื อประโยชน์ส่ วนบุคคล ขณะที นโยบายด้านการ ึ คลังนั! น รัฐบาลทักษิณได้ดาํ เนินนโยบายกงการคลั ง11ด้วยการระดมทรัพยากรจากสถาบันการเงิน ่ ่ ของรัฐไปใช้จายในโครงการตางๆมากมาย ซึ งเป็ นการสร้างความเสี ยงทางการคลังเพราะไมมี่ กลไก การตรวจสอบ และคานอํานาจ12 เป็ นต้น นอกจากการแถลงการณ์ การแสดงปาฐกถา และการจัดสัมมนาวิชาการในเวทีต่างๆแล้ว ่ การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําของรัฐบาลทักษิณโดยกลุ่มปั ญญาชน/นักวิชาการอีกลักษณะหนึ ง ิ ! นกคื็ อ การผลิตหนังสื อในเชิงวิพากษ์วิจารณ์ ที กระตุน้ กระแสตื นตัว “รู ้ทนั ” รัฐบาลทักษิณให้เกดขึ รัฐบาลทักษิณออกมาเป็ นจํานวนมาก13 6.2.2 สื อมวลชน ่ การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําของรัฐบาลทักษิณโดยสื อมวลชนนั! น มีบทบาทไมชั่ ดเจน ่ นั ก ในชวงแรก มี เ พี ย งสื อจากเนชั น และไทยโพสต์ ที วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ รั ฐ บาลทัก ษิ ณ อยา่ ง ่ อมวลชนจากคายอื ่ นนั! นไมมี่ ลกั ษณะเชนเนชั ่ ตรงไปตรงมาอยูต่ ลอด สวนสื น และไทยโพสต์มากนัก ่ อบางสวนที ่ ทาํ หน้าที วิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลอยางตรงไปตรงมากมั ่ ็ กจะถูกควบคุม หรื อ เพราะวาสื ่ จนกระทัง เกดิ ปรากฏการณ์ สนธิ 14 จากรายการเมืองไทยรายสัปดาห์ แทรกแซงด้วยวิธีการตางๆ ่ เห็นได้ชดั เจนมากขึ! นถึงการโต้ตอบตอการครองอํ ่ สัญจรขึ! น จึงเป็ นตัวอยางที านาจนําของรัฐบาล 11

ิ ิ ริเริ มโดยรัฐบาลแตไมได้ ่ ่ รายงานอยูใ่ นงบประมาณประจําปี ที สาํ คัญคือ หมายถึง กจกรรมเพื ออัดฉี ดระบบเศรษฐกจที ิ ิ การใช้เงินจากสถาบันการเงินเฉพาะกจของภาครั ฐเพื อสนองรับนโยบายกระตุน้ เศรษฐกจของรั ฐบาล สถาบันการเงินภาครัฐเชน่ ธนาคารออมสิ น ธนาคารกรุ งไทย ธนาคารเพื อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็ นต้น ดูเพิ มเติมใน ผาสุก พงษ์ไพจิตร, “นโยบาย ั ึ เอื!ออาทรกบมาตรการกงการคลั ง”, ใน ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 2 ฉบับที 1 (มกราคม-มีนาคม 2547), หน้า 109-110. 12 ั กษิณ 4 ปี ข้างหน้า”, ใน A day weekly, ปี ที 1 ฉบับที 36 (21-27 มกราคม 2548), หน้า 10. “รังสรรค์กบทั 13 ่ “ทบทวนวรรณกรรมเกยวกบรั ี ั ฐบาลทักษิณ” ในบทที 1 บทนํา หน้า 9-14. ดูรายละเอียดได้ในสวน 14 เป็ นคําของ บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา นักวิชาการด้านสื อสารมวลชน อ้างถึงใน สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี, “ระบอบทักษิณ ่ ารรัฐประหาร ๑๙ กนยา ่ ั ” [Online]. แหลงที ่ มา : ปรากฏการณ์สนธิ ในการเมืองไทยรวมสมั ย บทวิเคราะห์พนั ธมิตรฯ กอนก http://www.midnightuniv.org/midnight2544/0009999755.html [23 มีนาคม 2550]


121

่ ่ ทักษิณโดยสื อมวลชน15 ปรากฏการณ์สนธิ น! ี เป็ นบทบาทการโต้ตอบโดยสื อในชวงแรก แตระยะ ่ อกนระหวางสื ั ่ อ และกลุ่มการเมืองภาคประชาชนตางๆ ่ หลังจะเป็ นการรวมมื ั สิ งที เรี ยกวา่ "ปรากฎการณ์สนธิ " นั! นเริ มขึ! นในเดือนกนยายน 2548 เมื อนายสนธิ ลิ!มทอง ่ กุลเริ มออกมาแสดงบทบาทในการโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําของรัฐบาลทักษิณด้วยการ เปิ ด ่ ่ โปงความฉ้อฉลของ พ.ต.ท.ทักษิณ โดยพยายามหาแนวรวมสนั บสนุ นการโต้ตอบตอการครอง ่ อํานาจนําด้วยการหยิบยกประเด็นที เป็ นจุดออนไห วของสังคมไทยคือประเด็นเรื อง ชาติ, ศาสนา และพระมหากษัตริ ย16์ เชน่ ประเด็นเรื องการที พ.ต.ท.ทักษิณจัดงานทําบุญประเทศในวัดพระแกว้, ่ ประเด็ น เรื องการลวงละเมิ ด พระราชอํา นาจ และการขอถวายคื น พระราชอํา นาจ เพื อ ขอ นายก รั ฐมนตรี พ ระ ราชทาน เป็ นต้ น มาเป็ นประ เด็ น หลั ก ใ นก ารดํ า เนิ นราย การที ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และที สวนลุมพินีในเวลาตอมา ่ กอนการเคลื อนไหวด้วยการเดิ นขบวนนั! นรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร ของนาย ่ ิ ! นกบผู ั ช้ มรายการ ด้วยการพยายามใช้จุดเดน่ สนธิ ลิ!มทองกุลได้พยายามสร้างความรู ้สึกรวมให้ เกดขึ ่ ! อเหลืองมาฟังรายการ เพราะสี เหลืองนั! นหมายถึงสี ประจําพระองค์ของ เชิงสัญลักษณ์ เชน่ การใสเสื ่ นการ "สู ้เพื อในหลวง" เป็ นต้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั , การชูแนวคิดหลักวาเป็ ่ ภายหลังการจัดรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรได้ระยะหนึ ง เมื อความรู ้ สึกรวมของ ็ จดั ชุมนุมใหญครั ่ ! งแรกขึ! นเมื อวันที 4 กุมภาพันธ์ 2549 ผูค้ นที ติดตามนายสนธิ เริ มมีมากขึ! น เขากได้ ณ ลานพระบรมรู ปทรงม้า โดยได้มีการเดินทางไปยืน ฎีกาที สาํ นักราชเลขาธิการ และไปยื นจดหมาย ่ ่ ให้พล.อ.เปรม ติณสู ลานนท์ดว้ ย แตภายหลั งการชุมนุมใหญวั่ นที 4 กุมภาพันธ์ ซึ งถือได้วาประสบ ่ ่ ดแจ้งถึงการเกดขึ ิ ! นของกลุ่มโต้ตอบตอการครองอํ ่ ความสําเร็ จในแงของกา รประกาศตัวอยางชั านาจ ่ ่ ่ นําของรัฐบาลทักษิณที มีความสําคัญตอการให้ ความสนใจ แตการตอบรั บจากผูใ้ หญในกองทั พนั! น ยังคงไมมี่ การเคลื อนไหวมากนัก17 ่ ่ ทิศทางตอไปของการโต้ ตอบตอการครองอํ านาจนําของรัฐบาลทักษิณที นาํ โดยสื อมวลชน ่ อยา่งนายสนธิ ลิ!มทองกุลคือ การขยายแนวรวมในการดํ าเนินการโต้ตอบให้กว้างขวาง และเข้มแข็ง มากขึ! นจึงได้เกดิ พันธมิ ตรประชาชนเพื อประชาธิ ปไตยขึ น มา องค์ประกอบของพันธมิตรฯนั! น ่ ล ผูเ้ ป็ น ประกอบด้วย คณะกรรมการรณรงค์เพื อประชาธิ ปไตย หรื อ ครป.ซึ งนําโดย พิทยา วองกุ ประธาน และสุ ริยะใส กตะศิลา เลขาธิ การแล้ว ยังมีองค์กรสื อมวลชนของสนธิ กลุ่มองค์กรพัฒนา เอกชนที สนใจปัญหาเฉพาะด้าน เชน่ กลุ่ม FTA Watch, กลุ่มองค์กรคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค, องค์กรสตรี , 15

่ มุ่งความสนใจไปยังประเด็นสาเหตุที แท้จริ งของการออกมาเคลื อนไหวของนายสนธิ ลิ!มทองกุล ดู มูลเหตุ ในที น! ีไมได้ ่ มา: แท้จริ งของการออกมาเคลื อนไหวของสนธิ ลิ!มทองกุลได้ในงานของ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี [Online]. แหลงที http://www.midnightuniv.org/midnight2544/0009999755.html [23 มีนาคม 2550] 16 เรื องเดียวกนั. 17 เรื องเดียวกนั.


122

องค์กรแรงงานจากรัฐวิสาหกจิ, องค์กรครู , แพทย์, นักศึกษา, และที สําคัญคือ กองทัพธรรมมูลนิธิ ของพลตรี จาํ ลอง ศรี เมือง อดีตผูน้ าํ การเคลื อนไหวในเดือนพฤษภาคม 253518 พันธมิตรประชาชนเพื อประชาธิ ปไตยได้ร่ วมชุ มนุ มใหญอี่ กครั! งในวันที 11 กุมภาพันธ์ ่ องทุกคืนที บริ เวณสนามหลวง และได้นดั ชุ มนุมครั! งใหญในวั ่ นที 26 2549 และมีการชุ มนุ มตอเนื ่ ่ ่ ก ครั! ง ที ผ่านมา เนื อ งจาก กุ ม ภาพัน ธ์ 2549 ซึ งคาดวาจะเป็ นการชุ ม นุ ม ที มี ผู ้เ ข้า รวมมากกวาทุ ่ ายของคนในสังคมระหวางกลุ ่ ่มผูส้ นับสนุ น สถานการณ์ทางการเมืองที เริ มตึงเครี ยดจากการแบงฝ่ ็ และผูต้ ่ อต้า นพ .ต.ท.ทัก ษิ ณ ชิ น วัตร ซึ ง ในที สุ ดรั ฐบาลทัก ษิ ณ โดยพ.ต.ท.ทัก ษิ ณ ชิ นวัตรกได้ ่ ่ ตัดสิ นใจยุบสภาในที สุดเมื อวันที 24 กุมภาพันธ์ 2549 กอนการนั ดชุ มนุมครั! งใหญของพั นธมิตร ่ ! น ด้วยข้ออ้างวาเพื ่ อไมให้ ่ เกดความแตกแยกภายใน ิ ประชาชนเพื อประชาธิ ปไตยเพียง 2 วันเทานั ่ เป็ นอยู19่ สังคมมากไปกวาที 6.2.3 กล่มุ การเมืองภาคประชาชน ่ การโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําของรัฐบาลทักษิณโดยกลุ่มการเมืองภาคประชาชนนั! น ่ ่ พ ลัง มากนัก เพราะถู ก รั ฐ บาลทัก ษิ ณ ครองอํา นาจนํา เหนื อ การเมื อ งภาค แม้จ ะถู ก มองวาไมมี ั อเรี ยกร้อง หรื อกรณี ปัญหา ประชาชนด้วยการเสนอนโยบายแบบขายตรง และมีวิธีการจัดการกบข้ 20 ่ ่ ั อสร้างความเข้มแข็งของ งดูจะเฉื อยชาตอการรวมตั วกนเพื แบบใหม่ ที ทาํ ให้ภาคประชาชนสวนหนึ ตนเองไป ่ แม้วาการเมื องภาคประชาชนในรู ปแบบของการเมืองบนท้องถนนจะมีจาํ นวนลดลงไปจาก ่ ่ ฐบาลกอนหน้ ่ ็ ่ หมายความวาในชวงการครองอํ ่ ่ ชวงรั านี! แตกไมได้ านาจนําของรัฐบาลทักษิณนั! น ่ ่ การเมืองภาคประชาชนในลักษณะ การเมืองภาคประชาชนจะไมมี่ พ!ืนที ให้แสดงบทบาทแตอยางใด ่ ของการรวมกลุ่มโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําจากนโยบาย และการบริ หารงานของรัฐบาลทักษิณ ยังพอมีที ทางให้ได้เปิ ดเผยตัวตน และแสดงข้อเรี ยกร้องของตนได้ โดยผูว้ ิจยั จําแนกประเด็นที ทาํ ให้ ่ ่ กลุ่มการเมืองภาคประชาชนตางๆได้ ออกมาโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําของรัฐบาลทักษิณเป็ น 4 ั อ 1) ประเด็นโต้ตอบเรื องการแปรรู ปรัฐวิสาหกจิ 2) ประเด็นโต้ตอบเรื องการทํา ประเด็นด้วยกนคื ข้อตกลงเขตการค้าเสรี และ 3) ประเด็นโต้ตอบอื นๆ 18

เรื องเดียวกนั. ่ แตประเด็ นหลักของการยุบสภาตามที สงั คมเข้าใจกคื็ อ เป็ นการหลีกเลี ยงการถูกตรวจสอบในเรื องการขายหุ ้นในเครื อ ่ ข้อกงขาถึ ั งความโปรงใสให้ ่ ั ษทั เทมาเซกโฮลดิ!ง ของสิ งคโปร์นน ั เอง ชินคอร์ปอยางมี กบบริ 20 ่ ้ ญหาสังคม และความยากจนเชิงบูรณาการ และการจัดให้ประชาชน เชนการให้ คนจนมาลงทะเบียนตามนโยบายแกไขปั ่ ่ นี! ผวู้ ิจยั มองวาเป็ ่ นการลดทอน ร้องทุกข์ แจ้งปัญหามายังนายกรัฐมนตรี โดยตรงด้วยการเปิ ดตูไ้ ปรษณี ยข์ ! ึนมา ซึ งวิธีการตางๆเหลา ั ้ ญหาของภาคประชาชนลงไป และสร้างนิสยั ให้ประชาชนขอความชวยเหลื ่ โอกาสในการรวมกลุ่มกนแกปั อจากผูม้ ีอาํ นาจโดยตรง โดย ซึ งเป็ นการสร้างระบบอุปถัมภ์แบบใหมขึ่ ! นมา 19


123

1) ประเด็นโต้ตอบเรื องการแปรรู ปรัฐวิสาหกจิ ่ ิ การโต้ตอบตอแนวนโยบายการแปรรู ปรัฐวิสาหกจของรั ฐบาลทักษิณได้มีการดําเนิ นการ ่ ่ ตอเนื ่ องนับจากชวงปลายปี ่ อยาง 2546 จนกระทัง กอนการยุ บสภาในปี 2549 การดําเนินการของกลุ่ม ่ ิ ่มตางๆกยั ่ ็ งคงมีอยู่ โต้ตอบตอประเด็ นการแปรรู ปรัฐวิสาหกจกลุ ่ ระยะแรกของการเผยตัว ให้ เ ห็ น ถึ ง การออกมาโต้ต อบตอแนวนโยบายการแปรรู ป ิ รัฐวิสาหกจของรั ฐบาลทักษิณ เริ มตั! งแตวั่ นที 8 กรกฎาคม 2546 โดยมีตวั แทนสหภาพแรงงาน ่ านไฟฟ้ าและประปา ประกอบด้วย การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแหงประเทศไทย ่ รัฐวิสาหกจิ 5 แหงด้ การ ่ มิ ภาค การประปานครหลวง และการประปาสวนภู ่ มิภาค ได้ ไฟฟ้ านครหลวง การไฟฟ้ าสวนภู ชุมนุมที ลานพระบรมรู ปทรงม้า เพื อคัดค้านการแปรรู ปและการกระจายหุน้ รัฐวิสาหกจิ21 ิ ่ ั บริ เวณ 29 กรกฎาคม 2546 สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกจประมาณ 1,000 คนชุมนุมรวมกนที ลานนํ! าพุขา้ งทําเนียบรัฐบาลเพื อคัดค้านการแปรรู ปรัฐวิสาหกจิ และให้รัฐบาลยกเลิกกฎหมาย 11 ฉบับ22 ิ มพันธ์ ชมรมรวมใจไทยกู ่ 30 มกราคม 2547 สมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกจสั ช้ าติ นักศึกษา ั ลานพระบรมรู ปทรงม้ากวา่ 2,000 คน เพื อคัดค้านกฎหมาย 11 ฉบับ และ ประชาชน รวมตัวกนที การแปรรู ปรัฐวิสาหกจิ23 17 กุมภาพันธ์ 2547 องค์กรประชาชน 9 องค์กรประกอบด้วย สหพันธ์องค์กรผูบ้ ริ โภค, ่ เครื อขายสลั ม 4 ภาค, มูลนิธิฟ!ื นฟูชีวิตและธรรมชาติ, กองทุนสัตว์ป่าโลก สํานักงานประเทศไทย, กลุ่ ม ศึ ก ษาพลัง งานทางเลื อ กเพื อ อนาคต , กลุ่ ม ศึ ก ษาและรณรงค์ ม ลภาวะอุ ต สาหกรรม , คณะกรรมการรณรงค์เพื อประชาธิ ปไตย และสถาบันวิจยั ระบบสุ ขภาพแผนงานวิจยั และพัฒนา นโยบายสาธารณเพื อสุ ขภาพ ได้เข้ายืน หนังสื อถึงนายกรัฐมนตรี ที ทาํ เนียบรัฐบาลเรี ยกร้องให้ระงับ ่ การแปรรู ปการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแหงประเทศไทย หรื อกฟผ.24 ่ ่ 2 มีนาคม 2547 สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย (สนนท.), เครื อขายสลั ม 4 ภาค, ั อนุ สาวรี ยป์ ระชาธิ ปไตยและ สมัชชาคนจน, สหพันธ์ผูบ้ ริ โภค ประมาณ 300 คน รวมตัวกนที เดินขบวนไปยังทําเนียบรัฐบาล เพื อคัดค้านการแปรรู ปรัฐวิสาหกจิ และเรี ยกร้องให้จดั ทําประชามติ ่ ่ ่ เพื อให้ประชาชนทั! งประเทศได้มีส่ วนรวมในการตั ดสิ นใจตอนโยบายสาธารณะที จะสงผลกระทบ 25 ่ ตอประชาชน 21

ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 1 ฉบับที 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2546), หน้า 24. เรื องเดียวกนั, หน้า 26. 23 ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 2 ฉบับที 2 (เมษายน-มิถุนายน), หน้า 16. 24 เรื องเดียวกนั, หน้า 18. 25 เรื องเดียวกนั, หน้า 19. 22


124

ิ ่ ่ 50,000 คนรวมตัวกนที ั ลานพระบรม 9 มีนาคม 2547 สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกจตางๆกวา รู ป ทรงม้า และเคลื อ นขบวนไปที ท าํ เนี ย บรั ฐ บาลฝั ง ถนนราชดํา เนิ น นอก เพื อ ขอเข้า เจรจากบั นายกรัฐมนตรี ให้ยุติการแปรรู ปรัฐวิสาหกจิ กฟผ. โดยได้ส่ งตัวแทน 13 คนเข้าไปเจรจาเพื อหาข้อ 26 ่ ่ ่ ยุติ แตนายกรั ฐมนตรี ไมยอมออกมารวมเจรจา 31 มีนาคม 2547 พนักงานรัฐวิสาหกจิ 5 องค์กรประกอบด้วย การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแหง่ ่ มิภาค (กฟภ.), การประปานคร ประเทศไทย(กฟผ.), การไฟฟ้ านครหลวง (กฟน.), การไฟฟ้ าสวนภู ่ มิภาค (กปภ.) ประมาณ 2,000 คนเดินทางไปชุมนุมหน้าตลาด หลวง (กปน.) และการประปาสวนภู ่ ่ นด้วยกบก ั ารแปรรู ปรั ฐวิส าหกจใน ิ หลัก ทรั พ ย์แหงประเทศไทย เพื อประกาศเจตนารมณ์ ไ มเห็ ิ กจการไฟฟ้ า และนํ! าประปาเพื อนําหุน้ เข้าตลาดหลักทรัพย์27 ิ านไฟฟ้ า และประปา 5 องค์กร รวมใจกนลา ่ ั 28-30 เมษายน 2547 พนักงานรัฐวิสาหกจด้ ิ หยุดงานหรื อ “ลาเพื อชาติ” เพื อชุมนุมคัดค้านการแปรรู ปรัฐวิสาหกจในพื !นที ทาํ งานของตนเอง เพื อ เป็ นการกดดันให้รัฐบาลดําเนิ นการตามข้อตกลงที บอร์ ดกฟผ.รับปากไว้ว่าจะยุติการแปรรู ปตาม ่ พระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกจิ 2542 แล้วรอรางพระราชบั ญญัติ ปรับปรุ งและพัฒนารัฐวิสาหกจิ ่ มาใช้แทน28 แหงชาติ 5 กรกฎาคม 2547 สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกจิ กฟผ. กวา่ 1,000 คนชุมนุมที สํานักงานใหญ่ บางกรวยพร้อมขึ! นเวทีปราศรัยประณามผูอ้ าํ นวยการสํานักงานพัฒนารัฐวิสาหกจิ กระทนวงการ ่ ารัฐวิสาหกจทั ิ ! งไฟฟ้ าและประปาเข้ากระจายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์ใน คลังที ออกมาให้ข่าววาจะนํ 29 เดือนตุลาคม 2547 ิ มพันธ์ (สรส.) ได้จดั อภิปราย “สรส.พบ 10 มกราคม 2548 สมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกจสั ่ ฐวิสาหกจิ ” ณ ห้องราชา โรงแรมรัตนโกสิ นทร์ พรรคการเมือง” เพื อขอทราบนโยบาย “ขายไมขายรั โดยมีตวั แทนจากพรรคการเมืองทั! งพรรคประชาธิ ปัตย์ ชาติไทย และมหาชน ยกเว้นพรรคไทยรัก ่ ! แจงตอพนั ่ กงานรัฐวิสาหกจที ิ เข้ารวมประชุ ่ ไทย เข้ารวมชี มกวา่ 600 คน โดยพรรคการเมืองที เข้า 30 ่ ่ ฐวิสาหกจิ รว่มในงานนี! แถลงวาจะไมขายรั ่ 15 มีนาคม 2548 เครื อขายปกป้ องไฟฟ้ าประปาเพื อชาติและประชาชนนําโดย นายศิริชยั ไม้ ่ งาม ประธานสหภาพแรงงานรั ฐวิส าหกจิ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ตแหงประเทศไทย (สร.กฟผ.) ยื น ่ ิ ิ หนังสื อตอคณะกรรมาธิ การวิสามัญศึกษาและรับฟั งแนวทางการปฏิ รูปรัฐวิสาหกจกจการไฟฟ้ า ของประเทศ วุฒิสภา เรี ยกร้องให้ตรวจสอบกรณี ฝ่ายบริ หารได้ละเมิดสิ ทธิ เสรี ภาพของพนักงาน 26

เรื องเดียวกนั, หน้า 20. เรื องเดียวกนั, หน้า 22. 28 ั ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 2 ฉบับที 3 (กรกฎาคม-กนยายน 2547), หน้า 22. 29 ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 2 ฉบับที 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2547), หน้า 28. 30 ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 3 ฉบับที 2 (เมษายน-มิถุนายน 2548), หน้า 34. 27


125

และสหภาพฯตามรัฐธรรมนูญ โดยห้ามและปิ ดกน ! ั การชุมนุมของพนักงาน และให้ดาํ เนินการตาม ่ สุ นทรพจน์ของนายกรัฐมนตรี ที จะทําให้ประชามติในเรื องที มีความสําคัญ เนื องจากเห็นวาการแปร 31 ิ ่ ความสําคัญตอประเทศชาติ ่ รู ปกจการไฟฟ้ า และประปาถือวามี ิ มพันธ์ประมาณ 100 คน ยื นหนังสื อที 25 เมษายน 2548 สมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกจสั ่ ทําเนี ยบรัฐบาล เพื อให้เลื อนแผนการจดทะเบียนแปลงสภาพการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) เป็ นบริ ษทั ในวันที 1 พฤษภาคม 2548 ออกไป เพื อให้มีการทําประชามติตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 21432 10 พฤษภาคม 2548 คณะรัฐมนตรี รัฐบาลทักษิณ อนุมตั ิให้แปลงทุนของกฟผ.เป็ นหุ ้น และ จัดตั! งบริ ษทั กฟผ.จํากดั (มหาชน) โดยมีทุนจดทะเบียนจํานวน 60,000 ล้านบาท ประกอบด้วยหุ ้น จํานวน 6,000 ล้านหุน้ ราคาหุน้ ละ 10 บาท33 ั ิ 20 กนยายน 2548 สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกจหลายองค์ กรและกลุ่มพันธมิตรประมาณ ิ 1,000 คนชุมนุมที อนุสาวรี ยป์ ระชาธิ ปไตยเนื องในวันรัฐวิสาหกจไทย จากนั! นได้เดินเท้าไปยังลาน ิ กองค์กร เนื องจากมองวา่ พระบรมรู ปทรงม้า และตั! งเวทีปราศรัยคัดค้านการแปรรู ปรัฐวิสาหกจทุ ิ ่ จริ ง แตต้่ องการแปรรู ปรัฐวิสาหกจเพื ิ อสร้าง รัฐบาลไมมี่ ความจริ งใจที จะพัฒนารัฐวิสาหกจอยางแท้ ่ ! น34 ความคึกคักให้ตลาดหลักทรัพย์เทานั ่ ่ จะเห็นได้วาการโต้ ตอบของกลุ่มโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําในประเด็นเรื องการแปรรู ป ิ ! นได้มีการดําเนินการอยางตอเนื ่ ่ อง อันเป็ นการแสดงออกให้เห็นวาแม้ ่ รัฐบาลทักษิณจะ รัฐวิสาหกจนั ่ แตกไมได้ ่ ็ ่ เป็ นการ ได้รับความนิ ยม และมีการตอบรับที ดีจากประชาชนจากกลไกนโยบายตางๆ ่ ิ !น ครองอํานาจนําเหนือพื!นที ประชาสังคมอยางสมบู รณ์เพราะแนวนโยบายการแปรรู ปรัฐวิสาหกจนั ิ ่ ดเจน และตอเนื ่ อง เชนเดี ่ ยวกนกบกา ั ั รออกมาโต้ตอบตอการครองอํ ่ เกดการโต้ ตอบอยางชั านาจนํา ในประเด็นเรื องการทําข้อตกลงเขตการค้าเสรี หรื อเอฟทีเอ 2) ประเด็นโต้ตอบเรื องการทําข้อตกลงเขตการค้าเสรี ่ ่ ั ่ ประเด็นการโต้ตอบตอการทํ าเอฟทีเอระหวางไทยกบประเทศตางๆนั ! นกลุ่มผูต้ ่อต้านตอ่ ่ การครองอํานาจนําในประเด็นเอฟทีเอนี! เริ มที จะเผยตัวในชวงแรก เมื อวันที 28 มิถุนายน 2547 ดัง เห็ นได้จากการที ก ลุ่ ม ศึก ษาข้อตกลงเขตการค้า เสรี ภาคประชาชน นํา โดยจอน อึq ง ภากรณ์ ส .ว. ่ ั กรุ งเทพมหานคร รวมกบประชาชนประมาณ 300 คน ได้มาชุมนุมที ทาํ เนียบรัฐบาล เพื อคัดค้านการ 31

เรื องเดียวกนั, หน้า 44. ั ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 3 ฉบับที 3 (กรกฎาคม-กนยายน 2548), หน้า 34. 33 เรื องเดียวกนั, หน้า 36. 34 ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 3 ฉบับที 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2548), หน้า 29. 32


126

่ ั ่ ั ลงนามข้อตกลงการค้าเสรี ของรัฐบาล (ระหวางไทยกบออส เตรเลีย ซึ งได้มีการลงนามระหวางกนที กรุ งแคนเบอรา ประเทศออสเตรเลีย ในที สุดเมื อวันที 5 กรกฎาคม 2547) โดยที แกนนํากลุ่มได้ทาํ หนัง สื อแถลงการณ์ ระบุ ว่าการดํา เนิ นการทํา เอฟที เอของรั ฐบาลมี ผ ลประโยชน์ท บั ซ้อน และ ่ ประชาชนจํานวนมากที ได้รับผลกระทบไมมี่ สวนรวมตั ่ ่ ดสิ นใจ และรัฐบาล ปราศจากความโปรงใส ่ บกระบวนการรัฐสภา35 ไมยอมรั ่ การดําเนินการในลําดับถัดไป เชน่ เครื อขายองค์ กรพัฒนาเอกชนกวา่ 100 องค์กรได้ชุมนุม ่ านการเจรจาเอฟทีเอระหวางไทยกบสหรั ่ ั ่ นเดือนปลายเดือนมีนาคม 2548 เพื อตอต้ ฐอเมริ กาในชวงต้ ่ โดยมีประเด็นหลักที มุ่งให้พิจาณาคือ ประเด็นเรื องสิ ทธิ บตั รยา และประเด็นเรื องเหล็กระหวางไทย ั ปุ่นที ไมต้่ องการให้ญี ปุ่นเข้ามาทุ่มตลาด เพราะอาจสงผลถึ ่ กบญี งการล้มละลายของผูผ้ ลิตเหล็กใน ประเทศไทยได้36 ่ 4-8 เมษายน 2548 ประเทศไทยเป็ นเจ้าภาพจัดการประชุมเจรจาจัดทําเขตการค้าเสรี ระหวาง ั ไทยกบสหรั ฐฯครั! งที 3 ที โรงแรมรอยัลคลิฟฟ์ เมืองพัทยา และวันที 5 เมษายน กลุ่ม FTA watch ่ นธมิตร ได้แก่ เครื อขายผู ่ ต้ ิดเชื! อเอชไอวี เครื อขายสลั ่ ่ และเครื อขายพั ม 4 ภาค เครื อขายเกษตรกรรม ่ บ้ ริ โภค และนักศึกษากวา่ 1,500 คนได้รวมตัวกนั ทางเลือก สหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ เครื อขายผู ่ ่ ที บริ เวณวัดใหมหาดกระทิ งทองพัทยา และเคลื อนขบวนไปยังสถานที ประชุม โดยมีการแหโลงศพ และข้อความประจานการเจรจาเอฟทีเอในครั! งนี! ดว้ ย37 ่ ิ 13 ธันวาคม 2548 เครื อขายภาคประชาชนและพนั กงานรั ฐวิสาหกจในนามองค์ การ ั หน้าทําเนียบรัฐบาล เพื อยื นหนังสื อ พันธมิตรคัดค้านการขายสมบัติชาติกวา่ 500 คนรวมตัวกนที คัดค้านองค์การการค้าโลก (WTO) และเรี ยกร้องให้รัฐบาลนําเรื องเข้าสู่ การพิจารณาของรัฐสภา ั !น และจัดทําประชามติหากจะมีการอนุมตั ิหรื อทําข้อตกลงใดๆในเวที WTO ที ฮ่องกง พร้อมกนนั ่ นด้วยกบนโยบายแปร ั องค์การพันธมิตรฯยังได้มอบรายชื อของประชาชน 100,000 คนที ลงชื อไมเห็ รู ปรัฐวิสาหกจิ โดยเฉพาะการนํากฟผ.เข้าตลาดหลักทรัพย์38 ่ 9-11 มกราคม 2549 เครื อขายองค์ กรประชาชนต้านการเปิ กการค้าเสรี และแปรรู ปประเทศ ่ านวนกวา่ 10,000 คนได้รวมตัวกนบริ ั เวณหน้าสถานีรถไฟ จังหวัดเชียงใหม่ ไทยจาก 11 เครื อขายจํ เพื อเดินรณรงค์คดั ค้านการเจรจาเอฟทีเอไทย-สหรัฐฯที จดั การเจรจาขึ! นที โรงแรมอิมพีเรี ยลแมปิ่ ง ่ นที 9-13 มกราคมโดยในวันที 10 ตัวแทนผูช้ ุมนุม และโรงแรมเชอราตัน จังหวัดเชียงใหม่ ระหวางวั

35

“กระแสต้าน FTA”, ใน A day weekly, ปี ที 1 ฉบับที 7 (2-8 กรกฎาคม 2547), หน้า 13. ่ “เอฟทีเอ ความคืบหน้าทามกลางเสี ยงค้าน”, ใน A day weekly, ปี ที 1 ฉบับที 47 (7-13 เมษายน 2548), หน้า 12. 37 ั ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 3 ฉบับที 3 (กรกฎาคม-กนยายน 2548), หน้า 32. 38 ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 4 ฉบับที 1 (มกราคม-มีนาคม 2549), หน้า 43. 36


127

ิ ั าหน้าที ตาํ รวจเป็ นระยะ และในวันที 11 จึง พยายามเข้าไปในบริ เวณโรงแรมจนเกดการปะทะกบเจ้ ยอมสลายการชุมนุมลง39 ่ ั จะเห็นได้วาแนวนโยบายแบบเสรี นิยมใหมที่ มุ่งให้ความสําคัญกบการแปรรู ปรัฐวิสาหกจิ ่ เป็ นนโยบายที ช่ วยให้รัฐบาลทักษิณสร้ างภาวะการครอง และการเปิ ดเสรี ทางการค้านั! นจะไมได้ ่ ่ ่ ่ อํานาจนําอยางสมบู รณ์ได้แตอยางใด ดังเห็นได้จากการออกมาดําเนินการโต้ตอบตอแนวนโยบ าย ่ ่ างขวาง ตางๆอยางกว้ 3) ประเด็นโต้ตอบอื นๆ นอกเหนื อจากประเด็นการโต้ตอบเรื องการแปรรู ปรัฐวิสาหกจิ และการค้าเสรี แล้ว การ ่ ่ ดําเนินการของกลุ่มโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําในสวนของการเมื องภาคประชาชนกยั็ งมีประเด็น ่ ั เชน่ กรณี ปัญหาเรื องพืชจีเอ็มโอ, ปัญหาเรื องที อยูอ่ าศัย เป็ นต้น อื นๆที มีความสําคัญเชนกน ่ าชุ มชนภาคเหนื อและแนวรวมเกษตรกรภาคเหนื ่ 25 กุมภาพันธ์ 2545 เครื อขายป่ อ ยื น ่ นด้วยที รัฐบาลจะลงนามข้อตกลงกบสหรั ั จดหมายเปิ ดผนึ กเรื อง “ไมเห็ ฐฯจัดตั! งกองทุนป่ าชุ มชน ั ่ เขตร้อนภายในวันที 1 มีนาคม 2545 เพื อแลกกบการผอนปรนหนี ! สิน 400 ล้านบาท40 ่ ๊ 28 สิ งหาคม 2545 องค์กรพันธมิตรทัว ประเทศออกแถงการณ์สนับสนุนการคัดค้านทอกาซ ่ ่ ไทย-มาเลเซี ยของชาวอําเภอจะนะ ณ ลานหอยเสี ยบ จังหวัดสงขลา ด้วยเหตุผลที วาประชาชนไมมี 41 ่ ่ ่ งคม สวนรวมในโครงการ ไมมี่ การเปิ ดเผยข้อมูลที เพียงพอ และไมชี่ ! แจงข้อมูลของโครงการตอสั ่ ๊ 24 พฤศจิกายน 2545 นักวิชาการทัว ประเทศ 1,384 คน ออกแถลงการณ์คดั ค้านทอกาซ ่ อเท็จจริ งของโครงการนี! คือมีกระบวนการตัดสิ นใจไมชอบด้ ่ ไทย-มาเลเซี ย โดยเผยวาข้ วยกฎหมาย ๊ ิ ิ ่ งแวดล้อม42 มีกาซเกนความจํ าเป็ น ไมมี่ ความคุม้ ทุน และเกดผลกระทบตอสิ 13 สิ งหาคม 2546 คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 22 คนลงชื อคัดค้าน ํ ้ มเติมประมวลกฎหมายอาญาพ.ศ. 2546 และพระราชกาหนดแกไข ํ ้ การตราพระราชกาหนดแกไขเพิ ั ่ ่ เพิ มเติมพระราชบัญญัติป้องกนและปราบปรามการฟอกเงิ น พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2546 โดยไมผาน กระบวนการรัฐสภา ซึ งเป็ นการละเมิดอํานาจนิติบญั ญัติ ั ่ 23 กนยายน 2546 กลุ่มคนไร้บา้ น สมาชิ กเครื อขายสลั ม 4 ภาค ยื นหนังสื อถึงประธาน ้ ญหาคนไร้บา้ นของรัฐบาลทักษิณ เนื องจากมาตรการของ วุฒิสภาเพื อให้ตรวจสอบมาตรการแกไขปั ่ รัฐบาลขาดการจําแนกลักษณะกลุ่ มและปั ญหาอยางละเอี ยดรอบคอบ และคนไร้บา้ นที ประกอบ 39

ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 4 ฉบับที 2 (เมษายน-มิถุนายน 2549), หน้า 43. ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 1 ฉบับที 1 (มกราคม-เมษายน 2546), หน้า 25. 41 เรื องเดียวกนั, หน้า 31. 42 เรื องเดียวกนั, หน้า 33. 40


128

่ ่ ที อยูอ่ าศัยสมควรได้รับการดูแลจากรัฐบาลเพื อเปิ ดโอกาสให้สามารถมีคุณภาพ อาชีพสุ จริ ต แตไมมี ่ จจุบนั 43 ชีวติ ที ดีกวาปั ่ 5 มีนาคม 2546 เครื อขายเกษตรกรรมทางเลื อก 4 ภาค และองค์กรพันธมิตร ยื นหนังสื อที ่ จนกวาจะ ่ ทําเนียบรัฐบาล เพื อคัดค้านการพยายามผลักดันให้มีการทดลองพืชจีเอ็มโอในระดับไรนา ่ วยความปลอดภัยทางชีวภาพ44 มีการออกกฎหมายวาด้ ่ บ้ ริ โภค เครื อขายเกษตรกร ่ ่ 24 สิ งหาคม 2547 เครื อขายผู องค์กรพัฒนาเอกชน เครื อขาย นัก วิ ช าการ และผู ้ป ระกอบการ ชุ ม นุ ม ประท้ว งที ท ํา เนี ย บรั ฐ บาลเพื อ ให้ ท บทวนมติ ข อง ่ คณะกรรมการนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ ที เห็นชอบให้มีการทดลองและปลูกพืชจีเอ็มโอ ่ ตลอดจนอนุ ญาตให้มีการนําพืชและสัตว์จีเอ็มโอจากตางประเทศเข้ ่ ในไรนา ามาในประเทศไทย ได้45 ่ 31 สิ งหาคม 2547 กลุ่มเครื อขายเกษตรกรรมทางเลื อก 4 ภาค พร้อมด้วยกลุ่มสหพันธ์ องค์การผูบ้ ริ โภค และชมรมผูป้ ระกอบการเกษตรอินทรี ยช์ ุ มนุ มหน้าทําเนี ยบรัฐบาล เรี ยกร้องให้ ่ 46 รัฐบาลยุติการออกมติคณะรัฐมนตรี อนุญาตให้ทดลองปลูกพืชจีเอ็มโอในระดับไรนา ่ ว ประเทศประมาณ 15-17 มีนาคม 2548 สมัชชาคนจนจาก 207 กรณี ปัญหาจาก 7 เครื อขายทั ้ ญหาจากรัฐบาลเนื องจากระยะเวลา 700 คน เดินทางมาชุมนุมที หน้ารัฐสภา เพื อติดตามการแกไขปั ่ ้ ญหาตางๆยั ่ งไมมี่ ความคืบหน้าแตอยางใด ่ ่ 47 4 ปี ที ผานมา การแกไขปั ่ ดังที นาํ เสนอไปนี! เป็ นสวนหนึ งของความเคลื อนไหวจากกลุ่มการเมืองภาคประชาชน ที ได้ ่ แสดงบทบาทในการเป็ นกลุ่ ม โต้ตอบตอการครองอํ า นาจนํา ของรั ฐบาลทัก ษิ ณ ในประเด็นเชิ ง ่ ซึ งในงานชิ! นนี! จะไม่กลาวถึ ่ งประเด็นวาผลของการออกมาโต้ ่ นโยบายตางๆ ตอบด้วยการคัดค้าน ่ ่ ตถุประสงค์ ชุ มนุ มประท้วง ยื นหนังสื อคําร้อง ฯลฯ นั! นจะประสบผลสําเร็ จหรื อไม่ เพราะไมใชวั ของงานวิจยั นี! 6.2.4 กล่มุ การเมืองอื น ่ นอกเหนื อจากการโต้ตอบตอการครองอํ า นาจนําของรัฐบาลทักษิณโดยกลุ่มปั ญญาชน/ ็ มี ก าร นัก วิช าการ, สื อ มวลชน และกลุ่ ม การเมื อ งภาคประชาชนแล้ว กลุ่ ม การเมื อ งอื น ๆ กได้

43

ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 1 ฉบับที 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2546), หน้า 32. ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 1 ฉบับที 2 (เมษายน-มิถุนายน 2546), หน้า 32. 45 ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 2 ฉบับที 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2547), หน้า 32. 46 เรื องเดียวกนั, หน้า 33. 47 ฟ้ าเดียวกนั, ปี ที 3 ฉบับที 2 (เมษายน-มิถุนายน 2548), หน้า 44. 44


129

่ ่ ั เชน ่ การพยายามเสนอตัว เป็ นพรรค ดํา เนิ น การโต้ตอบตอการครองอํ า นาจนํา อยู่ด้วยเชนกน ่ ทางเลือกที สาม และการออกมาโต้ตอบด้วยตัวเองอยางกรณี เอกยุทธ อัญชัญบุตร เป็ นต้น ่ ศทางการ ประเด็นการพยายามเสนอตัวเป็ นพรรคทางเลือกที สามนั! น เป็ นการโต้ตอบตอทิ บริ หารประเทศของรัฐบาลทักษิณที ทาํ ให้การเมืองมีลกั ษณะแบบสองขั! วชัดเจนมากขึ! น จากการ ่ ควบรวมพรรคการเมืองขนาดกลาง และขนาดเล็กไปเป็ นสวนหนึ งของพรรคไทยรักไทย ทําให้ ่ 4 ปี แรกของการครองอํานาจโดยรัฐบาลทักษิณนั! น ดูเหมือนมีแคสองขั ่ ทิศทางทางการเมืองในชวง !ว ่ ่ ่ !น คือถ้าไมใชพรรคไทยรั กไทย กต้็ องเป็ นพรรคประชาธิปัตย์เทานั ่ ! จึ ง ทํา ให้ เ กดการเผยตั ิ ทิ ศ ทางทางการเมื อ งเชนนี ว ขึ! น มาของกลุ่ ม การเมื อ งอื น ๆ นอกเหนือจากสองพรรคการเมืองใหญที่ ตอ้ งการมีที ยืนในทางการเมืองดังเชน่ พรรคมหาชน เป็ น ต้น ่ พรรคมหาชนนั! นแม้จะได้ประกาศวาตนจะเป็ นพรรคทางเลือกที สาม แตทั่ ! งนี! พรรคมหาชน ่ ที มี ดร.เอนก เหลาธรรมทั ศน์ เป็ นหัวหน้าพรรค มีพล.ต.สนัน ขจรประศาสน์ เป็ นที ปรึ กษา อรรค ่ อดีตปลัดกระทรวงการทองเที ่ ยวและกฬา ี เป็ น พล สรสุ ชาติ เป็ นรองหัวหน้าพรรค จเด็จ อินสวาง เลขาธิ การพรรค นั! นกลับถูกมองวา่ เป็ นพรรคการเมืองของคนไร้ที ยืนในบริ บทการเมืองปั จจุบนั ่ ่ วัฒนา อัศวเหม, พล.อ.อ.สมบุญ ระหงส์ ่ ! น ดังเห็นได้จากการไปดึงตัวนักการเมืองรุ่ นเกาอยาง เทานั ่ ่ นการพยายามดิ!นรนของกลุ่มทุนท้องถิ นที ไมมี่ ที ทาง มารวมพรรคด้ วย นอกจากนี! ยงั ถูกมองวาเป็ ่ ่ จริ ง48 ภายใต้การครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณมากกวาจะเป็ นพรรคทางเลือกอยางแท้ นอกจากพรรคมหาชนแล้ว กยั็ งมีความพยายามจากกลุ่มอื นๆที จะจัดตั! งพรรคทางเลือกที ่ ั เชนจากฝ่ ่ สามเชนกน ายของนัก วิช าการ โดยนายบรรเจิ ด สิ ง คะเนติ อาจารย์ค ณะนิ ติ ศ าสตร์ ่ ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กลาววาจะให้ มีชื อพรรควา่ “พรรคทางเลือกที 3” (Third Alternative Party) โดยที แนวทางของพรรคนี! ได้ยึดตามแนวทางการปฏิ รูปการเมืองครั! งที 2 ของ ดร.อมร ้ ฐธรรมนูญมาตรา 313 เพื อกาหนดให้ ํ ่ ฐธรรมนูญ จันทรสมบูรณ์ ที เสนอให้แกไขรั มีองค์กรยกรางรั ขึ! นมาใหม่ และพรรคทางเลือกที 3 นี! จะมีนกั วิชาการด้านกฎหมาย จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มา ่ ่ ่ ! นไมวาจะแกไขรั ่​่ ้ ฐธรรมนูญได้หรื อไมกตาม ่ ็ 49 เข้ารวมสวนหนึ งด้วย และจะอยูแ่ ค่ 5 ปี เทานั ั ฐบาลทักษิณนั! นมี กรณี การโต้ตอบในระดับปั จเจกบุคคลเพื อสร้างความสั นคลอนให้กบรั ่ ่ กรณี นายเอกยุทธอัญชัญบุตร ประธานบริ หารเครื อโอเรี ยลเต็ล มาร์ ท กรุ๊ ป ซึ งในอดีต ตัวอยางเชน ในปี 2527 ด้วยวัยเพียง 25 ปี เขาเป็ นเจ้าของแชร์ชาร์ เตอร์ บริ หารเงินไมตํ่ ากวา่ 8,000 ล้านบาท และ ่ มีกิจการมากมาย ได้ประกาศวาจะให้ การสนับสนุนพรรคประชาธิปัตย์ดว้ ยเงิน 1 พันล้านบาท เพื อสู ้

48

“พรรคมหาชน คนไมมี่ ที ยนื การดิ!นรนของทุนท้องถิ น”, ใน A day weekly, ปี ที 1 ฉบับที 8 (9-15 กรกฎาคม 2547),

49

“มาอีกแล้วพรรคทางเลือกที 3”, ใน A day weekly, ปี ที 1 ฉบับที 12 (6-12 สิ งหาคม 2547), หน้า 12.

หน้า 12.


130

ั ั ศึกเลือกตั!งกบพรรคไทยรั กไทยในปี 2548 โดยแลกกบการยกเลิ กการแปรรู ป รัฐวิสาหกจิ และการ ้ แกไขกฎหมาย 11 ฉบับ50 ความเคลื อนไหวของเอกยุทธ อัญชัญบุตร อีกกรณี หนึ งภายหลังการเปิ ดตัว และประกาศวา่ ่ คคลใกล้ชิดพ.ต.ท.ทักษิณได้ทาํ การปั น จะสนับสนุนพรรคประชาธิปัตย์คือ การออกมาให้ขอ้ มูลวาบุ ํ ั กทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตอ้ งเรี ยกตัวนายเอกยุทธ ไป หุน้ สคิบซี 1 ทําให้คณะกรรมการกากบหลั ่ 51 การออกมามีบทบาทของนายเอกยุทธ นี! สามารถปลุกกระแสไมเอา ่ ให้ขอ้ มูล เพื อตรวจสอบตอไป ทักษิณให้ขยายวงกว้างออกไปได้ 6.3 สรปุ บทนี! เป็ นการนําเสนอเพื อเป็ นการสร้ างนํ! าหนักให้กบั ข้อสรุ ปที วา่ รัฐบาลทักษิณนั!นไม ่ ิ ! นได้ ทั! งนี! เพราะวารั ่ ฐบาลทักษิณนั! นไม่ สามารถสร้างภาวะการครองอํานาจนําอยางสมบู รณ์ให้เกดขึ ่ สามารถดําเนิ นการยึดกุมพื! นที ประชาสังคมได้อยางสมบู รณ์แม้กลไกนโยบายจะสร้างความนิ ยม ั ค้ นในสังคมสวนหนึ ่ ่ ฐบาลทักษิณจะสามารถยึดกุมพื!นที สังคมการเมือง ชมชอบให้กบผู ง และแม้วารั ได้ก็ตาม ่ ฐบาลทักษิณยึดกุมพื! นที ประชาสังคมได้ไมสมบู ่ รณ์ นั! นเห็ นได้จาก กรณี ที สนับสนุ นวารั ิ ! น และการดําเนิ นการ ของการโต้ตอบตอการครองอํ ่ การเผยตัวให้เห็น การเกดขึ านาจนําของกลุ่ม ่ คือ กลุ่มปั ญญาชน/นักวิชาการ, สื อมวลชน, กลุ่มการเมืองภาคประชาชน และกลุ่มการเมือง ตางๆ อื น ด้วยเหตุน! ี จึงสรุ ปได้ว่าการดําเนิ นการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณใน ่ !น ระยะ 5 ปี ของการครองอํานาจนั! น เป็ นเพียง “ความพยายามสร้างภาวะการครองอํานาจนํา” เทานั

50 51

“เอกยุทธ รี เทิร์นสู ้ศึกไทยรักไทย”, ใน A day weekly, ปี ที 1 ฉบับที 14 (20-26 สิ งหาคม 2547), หน้า 10. ็ ่ ็ ํ ”, ใน A day weekly, ปี ที 1 ฉบับที 18 (17-23 กนยายน ั “สคิบซี 1 กแคเกงกาไร 2547), หน้า 13.


บทที 7 บทสรปุ และข้ อเสนอแนะ 7.1 สรปผลการวิ จัย ุ ั การวิ จ ัย เรื อ ง “รั ฐ บาลทัก ษิ ณ กบความพย ายามสร้ า งภาวะการครองอํา นาจนํา ” นี! มี วัตถุประสงค์ในการวิจยั 3 ประการได้แก่ 1. เพื อศึกษา และทําความเข้าใจแนวคิดการครองอํานาจนํา (Hegemony) ของอันโตนิโอ กรัมชี (Antonio Gramsci) 2. สามารถประยุ ก ต์ใ ช้แ นวความคิ ด เรื อ งการครองอํา นาจนํา มาใช้ใ นการอธิ บ าย ปรากฏการณ์ทางการเมืองไทยปัจจุบนั (ภายใต้การครองอํานาจของรัฐบาลทักษิณ) ได้ 3. เพื อเป็ นการเพิ มทางเลือกในการอธิบายปรากฏการณ์ทางการเมือง และเป็ นการเปิ ดพื!นที

ในทางวิชาการให้มีความหลากหลายมากขึ! นจากงานวิชาการที มีอยูเ่ ดิม งานวิจยั ฉบับนี! ได้บรรลุวตั ถุประสงค์ของการวิจยั ทั! ง 3 ประการ คือ ประการแรก นั! น ได้ ทําการศึกษาเพื อทําความเข้าใจแนวคิดการครองอํานาจนําของอันโตนิโอ กรัมชี ดังที ได้นาํ เสนอไว้ ่ ในสวนของกรอบแนวความคิ ดในการอธิบายปรากฏการณ์ในบทที 2 ประการที สอง ผูว้ ิจยั ได้ประยุกต์แนวความคิดการครองอํานาจนําที ได้ศึกษามาใช้ในการ ่ อธิ บายปรากฏการณ์ทางการเมืองไทย โดยมีหนวยในการศึ กษาคือ รัฐบาลทักษิณ ดังที ได้นาํ เสนอ ในบทที 4 การดําเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ ็ นการเพิ มทางเลือกในการอธิ บาย และประการสุ ดท้าย เมื องานวิจยั ฉบับนี! สําเร็ จลงกจะเป็ ่ การเมืองการปกครองไทยรวมสมั ยให้มีความหลากหลายมากขึ! น งานวิจยั นี! มีคาํ ถามหลักในการวิจยั 2 ข้อได้แก่ 1. เราสามารถอธิ บายการดําเนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ ด้วย ่ กรอบแนวความคิดเรื องการครองอํานาจนําได้อยางไร 2. การดําเนิ นการสร้ างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณประสบความสําเร็ จ หรื อไม่ เพราะเหตุใด ่ ! นคือ “รั ฐบาลทักษิณสร้ างภาวะการครอง ผูว้ ิจยั ได้ต! งั สมมุติฐานไว้เพียงประการเดียวเทานั อํานาจนําที สมบูรณ์ ไม่ สาํ เร็ จ เพราะไม่ สามารถยึดกุมพืน) ที ประชาสังคมได้ อย่ างสมบูรณ์ แต่ สามารถ ยึดกุมพืน) ที สังคมการเมือง และกลไกทางการเมืองอื นๆได้ ” ซึ งเป็ นสมมุติฐานที สร้างขึ! นเพื อรองรับ ่ าถามหลักในข้อที 1 นั! นผูว้ ิจยั ไมได้ ่ ต! งั สมมุติฐานไว้รองรับ คําถามหลักในการวิจยั ข้อที 2 สวนคํ


132

เนื องจากจุดมุ่งหมายของการตอบคําถามหลักข้อนี! น! ันมีลกั ษณะของการตอบคําถาม อย่ างไร ซึ ง ่ ่ าถามหลักข้อนี! ได้ ผูว้ จิ ยั ไมสามารถสร้ างสมมุติฐานเพื อรองรับตอคํ จากการศึกษาผูว้ ิจยั สามารถตอบคําถามหลักของการวิจยั ข้อแรกได้วา่ เราสามารถอธิ บาย การดําเนิ นการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณได้ดว้ ยการเริ มต้นการอธิ บายด้วย ่ การมองรัฐบาลทักษิณซึ งเป็ นหนวยในการวิ เคราะห์ในฐานะที เป็ น “กลุ่มผูด้ าํ เนิ นการสร้างภาวะ ั ค้ นใน ครองอํานาจนํา” (Hegemon) วา่ได้มีการดําเนินการทํา “สงครามยึดพื!นที ทางความคิด” กบผู สังคมตลอดระยะเวลา 5 ปี ของการครองอํานาจ การทําสงครามยึดพื!นที ทางความคิดเป็ นวิธีการใน การได้มาซึ งภาวะการครองอํานาจนําที สมบูรณ์ เป็ นการสร้าง “กลุ่ มประวัติศาสตร์ ” ตามแนวคิด ิ ! นเหนือโครงสร้างทางสังคมทั! งสองสวน ่ ได้แก่ โครงสร้างสวนลาง ่ ่ (Base/Subของกรัมชีให้เกดขึ ่ ่ ่ ! นเป็ นพื!นที ของ structure) และโครงสร้างสวนบน (Super-structure) สําหรับโครงสร้างสวนลางนั ่ ่ ! นให้ ความสัมพันธ์ทางการผลิต และพลังทางการผลิต ในพื!นที ทางสังคมของโครงสร้างสวนลางนั ั ่ งในเรื องเศรษฐกจิ การผลิต ชีวิต ความเป็ นอยู่ เป็ น ความสําคัญกบภาวะทางวั ตถุ โดยเฉพาะอยางยิ ต้น ่ ่ นั! นรัฐบาลทักษิณเองก็ได้ให้ความสําคัญดังจะเห็นได้จากการให้ หรื อ โครงสร้างสวนลาง ิ ่ ่ นกู้ การเสนอให้ซ ึงผลประโยชน์ทางเศรษฐกจแกประชาชนทั ! งโดยทางตรงเชน่ การให้เข้าถึงแหลงเงิ ได้โดยตรงจากนโยบายกองทุนหมู่บา้ น, การแปลงสิ นทรัพย์เป็ นทุน เป็ นต้น และโดยทางอ้อม เชน่ ั การพยายามผลักดันการเจรจาข้อตกลงเขตการค้าเสรี (Free Trade Agreement; FTA) กบประเทศ ่ ซึ ง เป็ นการเอื! อประโยชน์ใ ห้ก ับกลุ่ ม ทุ น ธุ รกจขนาดใหญตางๆ ิ ่ ่ แตพยายามเสนอวาสั ่ ่ ง คม ตาง ่ องจากจุดมุ่งหมายของงานวิจยั ชิ!นนี! น! นั โดยรวมจะได้ประโยชน์จากการค้าเสรี ไปด้วย เป็ นต้น แตเนื ต้องการเสนอทางเลื อกในการอธิ บ ายรั ฐบาลทัก ษิ ณ ด้วยกรอบแนวคิดการครองอํา นาจนําของ ่ ั ่ อันโตนิ โอ กรัมชี ซึ งแนวคิดของเขานั! นให้ความสําคัญอยางมากกบโครงสร้ างสวนบน ในฐานะที

ํ ่ ย วกนกบ ั ั เป็ นโครงสร้ า งที ส ามารถกาหนดความเป็ นไป หรื อ วิว ฒ ั นาการของสั ง คมได้เ ชนเดี ่ ่ ดังนั! นในงานชิ!นนี! จึงให้ความสําคัญกบการอธิ ั โครงสร้างสวนลาง บายบทบาทการดําเนินการเพื อ ่ นเทานั ่ !น ครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ เหนือพื!นที ทางสังคมในโครงสร้างสวนบ ่ ่ วยกนั โครงสร้างสวนบนสํ าหรับกรัมชีน! นั ประกอบด้วยพื!นที ทางสังคมทั! งหมดสองสวนด้ ได้แก่ พื! นที ป ระชาสัง คม และพื! น ที สัง คมการเมื อ ง ในพื! น ที ป ระชาสัง คมนั! นเป็ นพื! น ที ข อง ความสัมพันธ์ในสังคมทัว ไปที มีความสัมพันธ์เชิ งอํานาจในแบบที ไมมี่ ลกั ษณะบังคับและความ ่ นพื! นที ของการรวมมื ่ อ การสร้างการยอมรับ และความเห็นพ้องต้องกนั เป็ นต้น สวน ่ รุ นแรง แตเป็ ในพื!นที สังคมการเมืองนั! นจะเป็ นพื!นที ของความสัมพันธ์เชิงอํานาจที มีลกั ษณะบังคับ และเป็ นพื!นที

ี นกบการใช้ ั ที มีความเกยวพั อาํ นาจรัฐอยูต่ ลอดเวลา ิ ! นดังกลาวนี ่ ! การทําสงครามเพื อยึดพื! นที ทางความคิดเพื อสร้างกลุ่มประวัติศาสตร์ ให้เกดขึ ่ เป็ นเครื องมือในการยึดกุมพื!นที ทางสังคมทั! งสองโดยกลไกที

จะดําเนินการโดยอาศัย “กลไก” ตางๆ


133

กลุ่มผูด้ าํ เนิ นการครองอํานาจนํา หรื อรัฐบาลทักษิณได้นาํ มาใช้น! นั จะประกอบไปด้วยกลไกสอง ่ เกดการยอมรั ิ ่ วยกนั สวนแรก ่ คือกลไกที ทาํ หน้าที ในการกอให้ บจากผูค้ นในสังคม และทําให้ สวนด้ ิ ่ หนึ ง เกดความยิ นยอมพร้อมใจกนั โดยดุษฎีเรี ยกวา่ “กลไกการครองอํานาจนํา” ขณะที กลไกอีกสวน ่ นทางการ เชน่ การใช้ นั! นเป็ นกลไกที มีลกั ษณะของการใช้อาํ นาจบังคับ มีการใช้อาํ นาจรัฐอยางเป็ ํ งของกองทัพ เป็ นต้น กลไกดังกลาวนี ่ ! เรี ยกวา่ “กลไกรัฐ/กลไกการใช้อาํ นาจ กฎหมาย การใช้กาลั รัฐ” กลไกการครองอํานาจนํานั! นประกอบไปด้วยกลไกหลักคือ กลไกนโยบาย และกลไกการ จัดการภาพลักษณ์ของผูน้ าํ รัฐบาลทักษิณในฐานะที เป็ นผูด้ าํ เนินการสร้างภาวะการครองอํานาจนํา ได้ใช้กลไกนโยบาย และกลไกการจัดการภาพลักษณ์ เป็ นเครื องมือในการทําสงครามยึดพื!นที ทาง ่ ความคิดเหนือโครงสร้างสังคมส่ วนบนในสวนของพื !นที ประชาสังคม ตลอดระยะเวลา 5 ปี ของการ ครองอํานาจ กลไกนโยบายนั! น จํา แนกได้เป็ นสองลัก ษณะที สํา คัญคื อ นโยบายเชิ ง เศรษฐกจิ และ ่ นโยบายเชิงสังคม ในสวนของนโยบายเชิ งเศรษฐกจิ ที สาํ คัญได้แก่ โครงการพักชําระหนี! เกษตรกร 3 ปี และการลดภาระหนี! โครงการหนึ งตําบลหนึ งผลิตภัณฑ์ หรื อ OTOP ธนาคารคนจน ธนาคาร ประชาชน/ธนาคารSMEs การจัดตั! งกองทุนหมู่บา้ น หมู่บา้ นละ 1 ล้าน และนโยบายแปลงสิ นทรัพย์ ั ขภาพถ้วนหน้า “30 เป็ นทุน เป็ นต้น ขณะที นโยบายเชิ งสังคมที สําคัญได้แก่ โครงการประกนสุ รั ก ษาทุ ก โรค” โครงการบ้า น/คอมพิ ว เตอร์ / แท็ ก ซี เ อื! อ อาทร และโครงการเอื! อ อาทรอื น ๆ ่ องรั ฐบาลเพื อเอาชนะ ความยากจน การทุ จริ ต และยาเสพติ ด การประกาศสงคราม 3 อยางข ้ ญหาสังคมและความยากจนเชิ ง การปราบปรามผูม้ ีอิทธิ พล การจัดระเบียบสังคม นโยบายแกไขปั บูรณาการ (ลงทะเบียนคนจน) นโยบายเหนื อเมฆ SML และปฏิรูปการศึกษา หนึ งอําเภอ หนึ ง โรงเรี ยนในฝัน เป็ นต้น ่ สวนการจั ดการภาพลัก ษณ์ ข องผูน้ ํา นั! น เป็ นกลไกที ถู กนํา มาใช้เพื อยึดครองพื! นที ท าง ่ อเป็ นการทําให้ผคู ้ นทัว ไปมีมุมมอง หรื อมีโลกทัศน์ที มีต่อรัฐบาล ความคิดของผูค้ นในสังคม กลาวคื ่ งตอตั ่ วของผูน้ าํ รัฐบาลคือ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ตามที รัฐบาลทักษิณนั! น ทักษิณโดยเฉพาะอยางยิ ่ ่ นผูม้ ี ต้องการ กลไกดัง กลาวได้ ดาํ เนิ นการใช้เพื อสร้ างให้ป ระชาชนนั! นมองรัฐบาลทักษิ ณวาเป็ ่ เข้าถึงงายและเป็ ่ ั วิสัยทัศน์ที กว้างไกล เป็ นผูท้ ี มีตวั ตนเรี ยบงาย นกนเอง และเป็ นผูม้ ีภาวะผูน้ าํ สู ง นอกจากนี! กลไกการจัดการภาพลักษณ์ของผูน้ าํ ยังถูกนํามาใช้เป็ นเครื องมือในการบรรเทากระแส ่ ๆได้ดว้ ยการเบี ยงเบนประเด็นความสนใจจากสังคมอีกด้วย กดดัน/โจมตีรัฐบาลจากกรณี ปัญหาตาง กลไกการจัดการภาพลักษณ์ ที สําคัญที ถูกนํามาใช้ อาทิเชน่ การสร้างภาพลักษณ์ ของการเป็ นนัก บริ หาร การเป็ นเจ้าภาพประชุ ม APEC เพื อแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการจัดงาน และการ ่ ่ ฐบาลทักษิณสามารถชําระหนี! กองทุน ได้รับการยอมรับจากตางชาติ การให้ขอ้ มูลกบั ประชาชนวารั


134

่ ํ การเงินระหวางประเทศได้ ก่อนกาหนด รวมถึงการเดินสายพบปะประชาชนในพื!นที ดว้ ยการจัดทัวร์ นกขมิ!น เป็ นต้น ั ั รัฐบาลทักษิณได้ดาํ เนินการใช้กลไกนโยบาย และการจัดการภาพลักษณ์ ขณะเดียวกนกบที ็ าการใช้กลไกรัฐเป็ นเครื องมือในการ เหนือพื!นที ประชาสังคม ในสังคมการเมืองรัฐบาลทักษิณกทํ เสริ มสร้างความเข้มแข็งแกรั่ ฐบาล รวมไปถึงการสร้างการยอมรับจากสังคมด้วยลักษณะของการ บังคับ คือ “กลไกรัฐ” อันประกอบไปด้วย การเพิ มจํานวนที นง ั ในสภาผูแ้ ทนราษฎรเพื อเลี ยงการ ่ ่ ตรวจสอบ การใช้ความเข้มแข็งให้เป็ นประโยชน์ในการผานรางกฎหมายและการแทรกแซงองค์ กร ั านาจรัฐตางๆ ่ ได้แก่ การแทรกแซงการทํางานขององค์กรอิสระตามเจตนารมณ์ของ ที สัมพันธ์กบอํ ่ การแทรกแซงสื อมวลชน และการเข้าไปมีบทบาทเหนื อระบบ รัฐธรรมนูญ 2540 องค์กรตางๆ ราชการและกองทัพ เป็ นต้น ั ั รั ฐบาลทัก ษิ ณ ได้ดาํ เนิ น การใช้ก ลไกการครองอํา นาจนํา ควบคู่ก นไปกบกลไกรั ฐ เป็ น เครื องมือในการทําสงครามยึดพื! นที ทางความคิด เพื อเป็ นการสร้างความเข้มแข็งให้แกรั่ ฐบาลเอง ่ ั ่ ่ งคม การครอง และสร้างการยอมรับ รวมถึงสร้างความรู ้สึกเห็นพ้องรวมกนของผู ค้ นสวนใหญในสั ิ ! นได้เมื อรัฐบาลทักษิณสามารถสร้างกลุ่มประวัติศาสตร์ หรื อสามารถยึด อํานาจนําที สมบูรณ์จะเกดขึ ่ ่ ่ ครองสังคมเหนือโครงสร้างสังคมทั! งสวนลางและสวนบนขึ ! นมาได้สาํ เร็ จ ่ ่ คําอธิ บายดังที ได้กลาวมาข้ างต้นนี! เป็ นการตอบคําถามข้อแรกของงานวิจยั ชิ! นนี! สวนการ ตอบคําถามข้อที สองของงานวิจยั ที ว่า การดําเนิ นการสร้ างภาวะการครองอํานาจนํา ของรั ฐบาล ่ งตอจากนี ่ ทักษิณประสบความสําเร็ จหรื อไม่ เพราะเหตุใด นั! นจะได้กลาวถึ ! การตอบคําถามหลักของการวิจยั ข้อที สอง จากการศึกษาเพื อสร้างคําอธิ บายการดําเนินการ สร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณตามคําถามหลักข้อแรกนั! นนําไปสู่ การตอบคําถาม หลักข้อที สองได้วา่ รั ฐบาลทักษิณนั)นไม่ สามารถสร้ างภาวะการครองอํานาจนําอย่ างสมบูรณ์ ให้ เกิดขึน) ได้ ทั)งนี ) เพราะว่ ารั ฐบาลทักษิณนั)นไม่ สามารถดําเนินการยึดกุมพืน) ที ประชาสั งคมได้ อย่ างสมบูรณ์ แม้ กลไก นโยบายจะสามารถสร้ างการยอมรั บ และครองใจผู้คนในสั งคมได้ ในระดับหนึ ง และแม้ ว่ารั ฐบาล ทักษิ ณจะสามารถยึ ดกุมพื )นที สังคมการเมื องได้ ก็ตาม ทําให้ รัฐบาลทักษิ ณไม่ สามารถสร้ างกลุ่ม ประวัติศาสตร์ ได้ สําเร็ จ เป็ นผลให้ ภาวะการครองอํานาจนําที สมบูรณ์ ไม่ เกิ ดขึ น) ในช่ วงเวลาการ ครองอํานาจของรั ฐบาลทักษิณ ่ ฐบาลทักษิณนั! นสามารถครองอํานาจนําเหนือพื!นที ประชาสังคมได้ในระดับ ผูว้ ิจยั มองวารั ่ หนึ ง และกลไกการครองอํานาจนํา ได้แกกลไกนโยบาย และกลไกการจัดการภาพลักษณ์ของผูน้ าํ ่ ! ได้ว่ากลไกดังกลาวนี ่ ! สัมฤทธิk ผลได้แก่ ประการแรก นั! นมีความหมายอยู่บา้ ง โดยสิ งที เป็ นข้อบงชี ่ การได้รับความนิ ยมชมชอบจากสังคมในระดับสู งดังเห็นได้จากผลการสํารวจความคิดเห็นตางๆ


135

่ ่ ดังที ได้นาํ เสนอไว้ในบทที 4 ประการที สอง การได้รับชัยชนะในการเลือกตั! งอยางถลมทลายในการ ่ ! ที สําคัญนั! นปรากฏขึ! น เลือกตั! งทัว ไปหลังรัฐบาลหมดวาระในปี 2548 และประการสุ ดท้ าย สิ งบงชี ั ภายหลังจากการสิ! นสุ ดการครองอํานาจของรัฐบาลทักษิณภายหลังการรัฐประหาร 19 กนยายน ่ ่ 2549 เป็ นระยะเวลากวา่ 6 เดือน ดังเห็นได้จากกระแสสังคมสวนหนึ

งที ปรากฏเป็ นขาวตามสื

อชนิด ่ ที ประกาศสนับสนุ นพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และประกาศจุดยืนเพื อประณามการรัฐประหาร ตางๆ ของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข (คปค.) ่ ่ ่ ! นเป็ นกระแสที เกดขึ ิ ! นมาจากผูค้ นสวนใหญใน ่ ่ ซึ งแม้ไมอาจประเมิ นได้แนชั่ ดวากระแสดั งกลาวนั ่ ่ นการออกมาประกาศจุดยืนด้วยใจรักตอรั ่ ฐบาลทักษิณอยาง ่ สังคมหรื อไม่ หรื อแม้แตประเมิ นวาเป็ ่ ็ ่ งมีกลุ่มคนจํานวนหนึ งในสังคมที ยงั คงรัก และพร้อมให้ แท้จริ งหรื อไม่ แตกสามารถอธิ บายได้วายั ่ การสนับสนุ นพ.ต.ท.ทักษิณ และพรรคไทยรักไทยอยู่ แม้ว่าพ.ต.ท.ทักษิณ และอดีตผูเ้ ข้ารวมใน ั อกลาวหาเรื ่ ่ ็ รัฐบาลทักษิณจะต้องเผชิญกบข้

องการทุจริ ตอยางหนั กกตาม ่ ฐบาลทักษิณ กบรั ั ฐบาลเฉพาะกจของ ิ นอกจากนี! สังคมยังเกดิ การเปรี ยบเที ยบ ระหวางรั พล.อ.สุ ร ยุ ท ธ์ จุ ล านนท์ ในแงมุ่ ม ของการมี ภ าวะผู ้นํา ในการตัด สิ น ใจที เ ด็ ด ขาด รวมไปถึ ง ั ญหาในเชิ งเศรษฐกจที ิ รวดเร็ วของรัฐบาลทักษิณอีก ความสามารถในการบริ หาร และจัดการกบปั ่ ็ ่ ฐบาลทักษิณนั! นยังคงครองใจผูค้ นในสังคมสว่ นหนึ ง ด้วย ซึ งจากกระแสขาวกสามารถมองได้ วารั ่ เอาไว้ได้เป็ นอยางดี ่ กรณี ที ส นับ สนุ นข้อสรุ ป วารั ่ ฐบาลทัก ษิ ณสามารถยึดกุม พื! นที ป ระชาสั ง คมได้ไ ม่ สวน ิ ! น และการดําเนินการของการโต้ตอบตอการ ่ สมบูรณ์ นั! นจะเห็นได้จากการเผยตัวให้เห็น การเกดขึ ่ ๆ จากชนชั! นที ต่างกนในสั ั ครองอํานาจนําของกลุ่ มพลังตาง งคม คือ กลุ่มปั ญญาชน/นักวิชาการ สื อมวลชน กลุ่มการเมืองภาคประชาชน และกลุ่มการเมืองอื นๆ ่ ่ ่ การดําเนิ นการโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําของกลุ่มพลังตางๆจากชนชั ! นตางๆนั ! นเป็ น ่ ! งกลไกการครองอํานาจนํา และกลไกรัฐนั! นไม่ การแสดงให้เห็นวา่ การดําเนินการใช้กลไกตางๆทั สมบูรณ์แบบ เพราะยังมีผคู ้ นอีกจํานวนในสังคมที ตระหนักรู ้ได้ถึงการถูกครอบครองความคิดโดย ่ งเป็ นการทําให้รัฐบาลทักษิณรู ้ได้วาในพื ่ รัฐบาลทักษิณ การออกมาแสดงพลังด้วยวิธีการตางๆจึ !นที

ประชาสังคมนั! นยังสร้างการยอมรับโดยดุษฎีจากประชาชนไมสํ่ าเร็ จ ่ ทั! งนี! ภายใต้ขอบเขตของการวิจยั ของงานวิจยั ชิ!นนี! น! นอยู ั ใ่ นชวงระยะเวลาที

รัฐบาลทักษิณ ่ น ครองอํานาจครั! งแรกในปี 2544 จนกระทัง การยุบสภาในเดือนกุมภาพันธ์ 2549 ซึ งผูว้ ิจยั มองวาเป็ ่ นทางการของรัฐบาลทักษิณ แตเหตุ ่ การณ์ทางการเมืองภายหลัง การสิ! นสุ ดการครองอํานาจอยางเป็ ่ าคัญที ทําให้การครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณ การยุบสภานั! นกมี็ ความสําคัญเพราะเป็ นสวนสํ ่ ! นเชิง นั! นสิ! นสุ ดลงอยางสิ ิ ภายหลังการยุบ สภาในเดื อนกุม ภาพันธ์ไ ด้เกดเหตุ การณ์ สํา คัญทางการเมืองไทยหลาย ิ ่ ิ เหตุการณ์ดว้ ยกนั เชน่ เกดการเลื อกตั! งทัว ไปที มีปัญหา นับตั! งแตเกดการบอยคอตการเลื อกตั! งของ


136

่ ั อปฏิ รูป พรรคการเมืองฝ่ ายค้า นด้วยเหตุ ผลที พ รรคไทยรั กไทยปฏิ เสธการทําปฏิ ญญารวมกนเพื การเมืองหลังการเลือกตั! ง ด้วยเหตุน! ีการเลือกตั! งทัว ไปเมื อวันที 2 เมษายน 2549 จึงเป็ นการแสดง ั งการออกเสี ยงไมเลื ่ อกผูใ้ ดเทานั ่ ! น และในเวลา เสี ยงสนับสนุ นรัฐบาลทักษิณ/ไทยรักไทย กบพลั ่ ่ ารเลือกตั! งในครั! งนั! นเป็ นการเลือกตั! งที ไม่บริ สุทธิk ยุติธรรมเนื องจากการ ตอมาด้ วยข้อเรี ยกร้องวาก ่ ่ ่ หันคูหาเลือกตั! งออกด้านนอก สงผลให้ การวินิจฉัยโดยฝ่ ายตุลาการในเวลาตอมาปรากฏออกมาวา การเลือกตั! งในวันที 2 เมษายน 2549 นั! นเป็ นโมฆะ รัฐบาลทักษิณซึ งเป็ นรัฐบาลรักษาการในขณะนั! นนําโดยพ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตร รักษาการ ่ ่ นตอไป ่ ่ ่ า น และ ในตํา แหนงนายกรั ฐ มนตรี ไ ด้เ ข้า บริ หารราชการแผนดิ ทามกลางกระแสตอต้ ่ เรี ยกร้ องให้พ.ต.ท.ทักษิณ เว้นวรรคทางการเมือง สภาวะทางสังคมขณะนั! นกลาวได้ ว่าในพื! นที

่ ประชาสังคมขณะนั! นมีความเคลื อนไหว และแสดงพลังของกลุ่มโต้ตอบตอการค รองอํานาจนําของ ิ ่ ่ อง ขณะเดียวกนั รัฐบาลทักษิณในระดับสู งมาก เกดการชุ มนุ มเพื อขับไลพ่ .ต.ท.ทักษิณอยางตอเนื พื!นที สังคมการเมืองก็เริ มมีการเคลื อนไหว ดังจะเห็ นได้ว่าเริ มมีข่าวลื อ และสื อมวลชนเริ มหยิบ ่ ประเด็นเรื องการรัฐประหารมาพูดถึ งกนัมากขึ! น แตทางกองทั พกยั็ งคงไมมี่ ความเคลื อนไหวให้ สังคมทราบมากนัก ่ ่ ั ด้วยเหตุที พ!ืนที ประชาสังคม และสังคมการเมืองนั! นเป็ นพื!นที ในโครงสร้างสวนบนรวมกน ่ ! นเป็ นพื!นที ของความสัมพันธ์ทางสังคม เปรี ยบได้กบการ ั ตามแนวคิดของกรัมชี และพื!นที ดงั กลาวนั ่ มีการแบงแยกก ่ ่ ดขาด ชัดเจน ผูค้ นในบริ บทพื! นที ประชาสังคม เป็ นพื! นที เสมือนที ไมได้ นั อยางเด็ ่ องมีปฏิสัมพันธ์เชื อมโยงกนกบพื ั ั !นที สังคมการเมืองในทางใดกทางหนึ ็ ่ ยวกนกบกลุ ั ั ่ ม/ ยอมต้

ง เชนเดี ่ กองทัพ นั! นกยอมต้ ็ ่ องมี ค วามเชื อมโยง และทับ ซ้อนกบั สถาบันสํา คัญในสัง คมการเมื อง เชน ่ ่ ่ ยวกนั ความสัมพันธ์ในพื!นที ประชาสังคมอยางแยกไมออกเชนเดี ่ ด้วยเหตุน! ีเมื อสถานการณ์การแสดงพลังของกลุ่มโต้ตอบตอการครองอํ านาจนําเริ มสุ กงอม ่ ายระหวางกลุ ่ ่มผูส้ นับสนุ นกบกลุ ั ่มผูต้ ่อต้านรัฐบาลทักษิณ ่ ! ว/แบงฝ่ ได้ที และสังคมเริ มมีการแบงขั ่ นแรงขึ! นเรื อยๆ สงผลสะเทื ่ อยางรุ อนถึงการเคลื อนไหวของสถาบันในสังคมการเมือง ทําให้กองทัพ ่ ฐประหารยึด อํา นาจจากรั ฐบาลทัก ษิ ณ ในที สุ ด เมื อ วัน ที 19 จึ ง ออกมาเคลื อนไหวด้ว ยการกอรั ั ่ กนยายน 2549 ในนามคณะรัฐประหารที ชื อวาคณะปฏิ รูปการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข (คปค.) การถูกรัฐประหารในครั!งนี! จึงเป็ นการสิ! นสุ ดการครอง ่ จริ ง อํานาจของรัฐบาลทักษิณอยางแท้ ด้วยเหตุน! ี จึงสรุ ปได้ว่าการดําเนิ นการสร้างภาวะการครองอํานาจนําของรัฐบาลทักษิณใน ่ !น ระยะ 5 ปี ของการครองอํานาจนั! น เป็ นเพียง “ความพยายามสร้างภาวะการครองอํานาจนํา” เทานั คําตอบของคําถามหลักข้อที สองนี! เป็ นการพิสูจน์วา่สมมุติฐานของการวิจยั นั! นถูกต้อง


137

7.2 ข้ อเสนอแนะ การศึกษาเพื อสร้างคําอธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองไทยในกรณี ต่างๆ นั! นสามารถเลือก ่ ที จะทําการศึกษาได้ด้วยแนวทาง วิธีการ และใช้กรอบแนวคิดในการอธิ บายได้อยางหลาก หลาย ั ่ กรณี ที ศึกษา วิธีการ รู ปแบบ ระดับของการศึกษา กบแนวคิ ั ขึ! นอยูก่ บความเหมาะสมระหวาง ดหลัก ที เลือกมาเป็ นกรอบในการอธิบาย แนวคิดการครองอํา นาจนํา (Hegemony) ของกรัม ชี น! ันเป็ นอีกแนวคิดหนึ ง ที ส ามารถ ่ นํามาใช้เป็ นเครื องมือในการวิเคราะห์ ทําความเข้าใจ ตลอดจนสร้างคําอธิ บายตอปรากฏการณ์ ทาง ่ ได้ การเมืองในเรื องตางๆ ข้อเสนอแนะจากการทําวิจยั ในครั! งนี! ก็คือ แนวความคิดการครองอํานาจนํานั! นมีแนวคิดที

่ นแนวคิดองค์ประกอบอีกหลายแนวคิดด้วยกนั ได้แก่ 1) แนวความคิดเรื องโครงสร้าง จัดได้วาเป็ ่ ่ ่ ั ่มประวัติศาสตร์ (Historic Bloc) 2) สวนลางและโครงสร้ างสวนบน (Super/Base Structure) กบกลุ ั แนวความคิดเรื องประชาสังคม และสังคมการเมือง(Civil and Political Society) กบความยิ นยอม พร้อมใจ และการใช้อาํ นาจบังคับ (Consent and Coercion) 3) สงครามขับเคลื อน และสงครามยึด พื!นที ทางความคิด (War of Movement and War of Position) 4) กลไกการครองอํานาจนํา และกลไก ่ การใช้อาํ นาจรัฐ (Hegemonic Apparatuses and State Apparatuses) และ 5) การโต้ตอบตอการครอง อํานาจนํา (Counter Hegemony) ่ ่ ! สามารถนํามาศึกษาและพัฒนาเป็ นกรอบความคิดในการ แนวคิดองค์ประกอบตางๆเหลานี ี ั วิจยั เกยวกบการศึ กษาปรากฏการณ์ทางการเมืองได้ในหลากหลายแงมุ่ มด้วยกนัได้แก่ ประการแรก เลือกแนวคิดองค์ประกอบแนวคิดใดแนวคิดหนึ งเพื อศึกษาเจาะลึกในเชิ งทฤษฎี เชน่ ทําการศึกษา ่ ่ ่ ั ่ ความสัมพันธ์ระหวางโครงสร้ างสังคมสวนลางกบโครงสร้ างสวนบน ศึกษาเรื องการทําสงครามยึด พื!นที ทางความคิดเป็ นต้น นอกจากนี! การศึกษาในเชิ งทฤษฎี อาจทําการศึกษาในเชิ งเปรี ยบเทียบ ่ ั ก คิ ดยุค หลัง กรั มชี เพื อชี! ใ ห้เห็ นถึ ง ข้อแตกตาง ่ และข้อด้อยของ ระหวางแนวคิ ดของกรั ม ชี กบนั ั แนวคิดกรัมชี ได้ เชน่ การศึกษากลไกเชิงอุดมการณ์ของกรัมชีเปรี ยบเทียบกบกลไกเชิ งอุดมการณ์ ของหลุยส์ อัลธูแซร์ (Louis Altuser) เป็ นต้น อี ก ประการหนึ ง คื อ การพัฒ นาแนวคิ ด เรื องการครองอํา นาจนํา และ/หรื อแนวคิ ด ่ องค์ประกอบตางๆมาเป็ นกรอบ (Framework) ในการอธิ บายปรากฏการณ์ทางการเมืองอื นๆ เชน่ ่ การนําไปใช้เพื ออธิบายการสร้างอํานาจนําของรัฐบาลตางประเทศ หรื อรัฐบาลไทยชุดอื นๆ รวมไป ่ ที ไมจํ่ าเป็ นต้องเป็ นรัฐบาลเสมอไปกได้ ็ นอกจากนี! กรอบ ถึงการใช้อาํ นาจของกลุ่ ม/ชนชั! นตางๆ ่ งสามารถนําไปใช้ศึกษาในบริ บทเชิงประวัติศาสตร์ การเมืองได้อีกด้วย เชน่ แนวความคิดดังกลาวยั การนําเอาแนวความคิดเรื องการครองอํานาจนํา และแนวคิดองค์ประกอบไปใช้ศึกษาความสัมพันธ์


138

่ ่มพลังตางๆในสั ่ เชิงอํานาจระหวางกลุ งคม เชน่ กรณี เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 หรื อ 6 ตุลาคม 2519 ็ กสามารถทํ าได้ ่ อจํากดของการ ั ทั! งนี! จากการศึกษาพบวาข้ เลือกใช้แนวคิดการครองอํานาจนําและแนวคิด องค์ประกอบมาเป็ นกรอบในการอธิ บายปรากฏการณ์น! นั มีอยูบ่ างประการด้วยกนั คือ ประการแรก ่ ั ! นที โครงสร้ า งสวนบนที ่ ั จจัย เชิ ง แนวความคิ ดดัง กลาวให้ ความสํา คัญกบพื

ให้ค วามสํา คัญกบปั ่ ยม รวมไปถึงบรรทัดฐานของสังคม ซึ งในการศึกษาเพื อ อุดมการณ์ ระบบความคิด ความเชื อ คานิ พิสูจน์ในเรื องระบบความคิด ความเชื อของผูค้ นนั! นเป็ นสิ งที พิสูจน์ได้ยาก การศึกษาในลักษณะนี! จึง อาจถู ก โจมตี จากนัก วิช าการที ยึดมัน ในวิธี ก ารศึ ก ษาแบบปฏิ ฐานนิ ย ม ที มุ่ งเน้นการพิสู จน์ด้วย ่ นรู ปธรรมกเป็ ็ นได้ หลักฐาน และวิธีการที พิสูจน์ได้อยางเป็ ่ อีกประการหนึ ง บริ บทความคิดของกรัมชี น! ันเป็ นบริ บทของประวัติศาสตร์ อิตาลีในชวง ต้นศตวรรษที 20 ดังนั! นในการนําแนวคิดของกรัมชี มาปรับใช้เพื ออธิ บายในบริ บทของสังคมอื น ่ เชนการนํ ามาใช้อธิบายในสังคมไทยนั! นจึงควรต้องระมัดระวัง เนื องจากการนําแนวคิดของกรัมชีมา ่ ่ ่ อถือของผลงานนั! นๆได้ ใช้โดยไมคํ่ านึงถึงบริ บทของสังคมไทยเลย นั! นอาจสงผลตอความนาเชื


รายการอ้างอิง ภาษาไทย กนกรัตน์ เลิศชูสกุล. 2546. เหลียวหลังแลหน้าเวทีสังคมโลก. ฟ้ าเดียวกนั 1 (เมษายน-มิถุนายน), หน้า 109-122. ่ ั 2547) : 14-15. กองบรรณาธิการ. 2547. วัคซีนไกในครั วโรค. a day weekly 18 (17-23 กนยายน กองบรรณาธิการมติชน. 2549. ทักษิณอัศวินผูฆ้ ่าตัวเอง. กรุ งเทพฯ: มติชน. ่ ่ . กรุ งเทพฯ: กองบรรณาธิการประชาชาติธุรกจิ. 2549. 3 ทศวรรษประเทศไทยยุคทุนนิยมไลลา ประชาชาติธุรกจิ. ั กวี วงศ์พุฒ. 2544. วิเคราะห์นโยบายของรัฐบาล พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร กบนายชวน หลีกภัย. เชียงใหม่: The Knowledge Center. กระแสต้าน FTA, ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 7 (2-8 กรกฎาคม 2547), หน้า 13. ์ กาญจน์มุนี ศรี วศิ าลภาพ และณรงค์ชยั ปัญญานนทชัย. 2546. ทักษิณบนบัลลังกนายกรั ฐมนตรี . กรุ งเทพฯ: ดอกหญ้า 2545. ิ ศกั ดิY ปรกติ. 2547. 7 ปมปริ ศนาในยุคทักษิณายุวตั ร. ใน เจิมศักดิY ปิU นทอง( บรรณาธิการ) กตติ ,รู ้ทนั ทักษิณ, หน้า 104. กรุ งเทพฯ: ขอคิดด้วยคน. เกรี ยงศักดิY เจริ ญวงศ์ศกั ดิY . 2549. ค้านระบอบทักษิณ. กรุ งเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย. เกษียร เตชะพีระ. 2547. ระบอบทักษิณ. ฟ้ าเดียวกนั 2 (มกราคม-มีนาคม): 38. ่ U ม า: ั ฒนธรรมการเมืองปฏิปักษ์ปฏิรูป[Online].แหลงที เกษียร เตชะพีระ. 2546. ระบอบทักษิณกบวั http://www.midnightuniv.org/midfrontpage/newpage58.html [16 ตุลาคม 2548] ่ ั ่ U ม า: ไทยรักไทย[Online]. แหลงที เกษียร เตชะพีระ . 2546. รัฐธรรมนูญใหมกบปรากฏการณ์ http://www.midnightuniv.org/midarticle/newpage56.html [16 ตุลาคม 2548] ่ U ม า: เกษียร เตชะพีระ . 2546. เศรษฐกจิ-การเมืองในระบอบทักษิณ[Online]. แหลงที http://www.midnightuniv.org/midarticle/newpage46.html [16 ตุลาคม 2548] ั โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. 2546. พืgนฐานรัฐศาสตร์กบการเมื องในศตวรรษทีU 21. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กระแสต้าน FTA, ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 7 (2-8 กรกฎาคม 2547), หน้า 13. ่ U ม า: ข้อมูลโครงการหนึUงตําบลหนึUงผลิตภัณฑ์ [Online]. แหลงที http://www.thaitambon.com/OTOP/Info/Info1A.htm [2 กุมภาพันธ์ 2550] คมเดือน เจิดจรัสฟ้ า. 2546. คําคม ความคิด ทักษิณ ชินวัตร. กรุ งเทพฯ: แสงดาว.


140

คณะกรรมการจัดทํารายงานแสดงผลการดําเนินการของคณะรัฐมนตรี ตามแนวนโยบายพืgนฐานแหง่ ่ รัฐ. มปป. 4 ปี ซอมประเทศไทย เพืUอคนไทย โดยรัฐบาลพันตํารวจโททักษิณ ชินวัตร (ปี 2544-2548). มปท.: มปพ. ่ คํากลาวของนายกรั ฐมนตรี ทกั ษิณ ชินวัตร ในการประชุมชีg แจงนโยบายของรัฐบาลแกผู่ บ้ ริ หาร ่ U มา : ระดับสู ง[Online]. แหลงที http://www.thaigov.go.th/news/speech/thaksin/sp05mar44.htm [5 เมษายน 2549] คู่มือเลือกตัg ง 48 อนาคตประเทศไทย. 2548. กรุ งเทพฯ: มติชน. ิ ่ U ม า: โครงการพัฒนาหมู่บา้ น/ชุมชนตามแนวปรัชญาเศรษฐกจพอเพี ยง [Online]. แหลงที http://www.rmutl.ac.th/sml/th3/sml-history.php [15 มกราคม 2550] ํ ่ ่ างขาวก ่ ็ จรรยา เจริ ญอภิวนั ท์ และคณะ. 2548. การกาหนดวาระขาวสารของรั ฐบาล: ไมสร้ ่ ใน อุบลรัตน์ ศิริยวุ ศักดิY (บรรณาธิการ) ,ปิ ดหู ปิ ดตา ปิ ดปาก, หน้า 159แทรกแซงขาว 183. กรุ งเทพฯ: คบไฟ. ่ น้ าํ เอเชีย ทักษิณ ชินวัตร. กรุ งเทพฯ: วรรณสาส์น. จิรวัฒน์ รจนาวรรณ. 2547. มองอยางผู จิอูเซ็ปเป ฟิ โอรี . 2526. ชีวติ ของอันโตนิโอ กรัมชี. แปลโดย นฤมล-ประทีป นครชัย. กรุ งเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง. จุรีรัตน์ แสนใจรักษ์. 2547. ชําแหละทักษิโณมิกส์. กรุ งเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์. ั ญหาของปั ญญาชน. เจอโรม คาราเบล. 2525. ความขัดแย้งของการปฏวัติ อันโตนิโย กรัมชีกบปั แปลโดย สมบัติ พิศสะอาด. กรุ งเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง. เจิมศักดิY ปิU นทอง (บรรณาธิการ). 2547. รุ ้ทนั ทักษิณ. กรุ งเทพฯ: ฃอคิดด้วยฅน. เจิมศักดิY ปิU นทอง (บรรณาธิการ). 2547. รุ ้ทนั ทักษิณ 2. กรุ งเทพฯ: ฃอคิดด้วยฅน. เจิมศักดิY ปิU นทอง (บรรณาธิการ) . 2547. รุ ้ทนั ทักษิณ 3 : Minority Reports รวมพลคนใจถึง. กรุ งเทพฯ: ฃอคิดด้วยฅน. ใจ อึuงภากรณ์ และคณะ. 2545. อะไรนะลัทธิมาร์คซ์เลม่ 2. กรุ งเทพฯ: ชมรมหนังสื อ ประชาธิปไตยแรงงาน. ชนิดา ชิตบัณฑิตย์. 2547. โครงการอันเนืUองมาจากพระราชดําริ : การสถาปนาพระราชอํานาจนํา. วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา) คณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ชัยอนันต์ สมุทวณิ ช. 2530. รัฐ. กรุ งเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ฐปนรรต พรหมอินทร์. 2546. นโยบายประชานิยม การสร้างรัฐบาลพรรคเดียวทีUเข้มแข็ง. 21 ปี รัฐศาสตร์ มสธ. รวมบทความวิชาการรัฐศาสตร์. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช.


141

ณัฐเชษฐ์ พูลเจริ ญ. 2548. วิวฒั นาการและชะตากรรมของทักษิโณมิกส์. ใน จุไรรัตน์ แสนใจรักษ์ ิ อง, หน้า 94-95. กรุ งเทพฯ: สถาบันวิถี (บรรณาธิการ),ทางออกไทยยุคทักษิณกนเมื ทรรศน์. ดูนโยบายประชาธิปัตย์ ความหวังอยูท่ ีUไหน, ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 32 (24-30 ธันวาคม 2547), หน้า 15. เด็กวัดธีรยุทธ มาอีกแล้ว, ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 45 (24-30 มีนาคม 2548), หน้า 12. ตาดูดาว เท้าสะดุดดิน. 2549. กรุ งเทพฯ: คมชัดลึกฉบับพิเศษ. ั . ตรี พล เจาะจิตต์. 2545. 1 ปี รัฐบาลทักษิณคิดใหม่ ทําใหม่ : คํามันU สัญญา 15 ประการกบประชาชน กรุ งเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิงU. ่ นอุปถัมภ์แบบเผด็จการ, แปลโดย พรรณี ฉัตรพล ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. 2547. การเมืองระบบพอขุ รักษ์ และคณะ. พิมพ์ครัg งทีU 2. กรุ งเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์. ทินพันธุ์ นาคะตะ. 2546. วิถีชีวติ ไทย วัฒนธรรมทางการเมืองของคนรุ่ นใหม.่ กรุ งเทพฯ: สหาย บล็อกและการพิมพ์. ธงชัย วินิจจะกูล. 2548. วาทกรรมพระราชอํานาจหรื อประชาธิปไตยแบบคิดสัg น[Online] แปลโดย ่ U ม า: ไอดา อรุ ณวงษ์. แหลงที http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document9555.html [26 กุมภาพันธ์ 2549] ั ฐบาลพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรคไทย ธโสธร ตูท้ องคํา. 2546. ประชานิยม (Populism) กบรั รักไทย. รัฐสภาสาร 51 ( มิถุนายน 2546) : 69-93. ่ U ม า: ธีรภัทร์ เสรี รังสรรค์ จากผูก้ ่อตัg งทรท.สู่ 'รัฐบาลพังแน่![Online]. แหลงที http://www.thaipost.net/index.asp?bk=tabloid&post_date=10/Jul/2548&news_id=109 732&cat_id=220100 [2 เมษายน 2549] ธีรยุทธ ขาประจําเสืg อกกัu , ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 42 (3-9 มีนาคม 2548), หน้า 12. ่ U ม า: ธีรยุทธ บุญมี. 2547. บทวิเคราะห์การเมืองระบอบทักษิณ(ไทยรักไทย)[Online]. แหลงที http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document9789.html [16 ตุลาคม 2548] ธีรยุทธ บุญมี. 2547. Road Map ประเทศไทย บทบาทคุณูปการของการเมืองภาคประชาชน. กรุ งเทพฯ: สายธาร. นกขมิgนแม้ว แจกเงิน 6.47 พันล้าน, ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 10 (23-29 กรกฎาคม 2547), หน้า 13. นันทนา นันทวโรภาส. 2549. ชนะเลือกตัg งด้วยพลังการตลาด. กรุ งเทพฯ: ขอคิดด้วยคน.


142

นําเทีUยว เหลียวหลังแลหน้าฯ ชมการตลาดแบบประชานิยม, ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 26 (12-18 พฤศจิกายน 2547), หน้า 14-15. นิชาภา ศิริวฒั น์. 2546. Branding ไทยรักไทย. กรุ งเทพฯ: Higher Press. ั ก นิธินาฏ ราชนิยม. 2547. การแทรกแซงสืU อมวลชนของรัฐบาลทักษิณ การปฏิบตั ิทีUสวนทางกบหลั ธรรมาภิบาล. เอกสารวิจยั หลักสู ตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชารัฐ ประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ่ 2547. 2548. ไทยรักไทยในปี ทีU 6 : พรรคแหงคํ ่ ามันU สัญญา[CDเนชันU สุ ดสัปดาห์ฉบับรวมเลมปี ROM]. กรุ งเทพฯ: เนชันU สุ ดสัปดาห์. ่ 2547. 2548. ยิงU กวาโหมโรง ่ เนชันU สุ ดสัปดาห์ฉบับรวมเลมปี ต้องดูทวิภพ กฟผ[CD-ROM]. กรุ งเทพฯ: เนชันU สุ ดสัปดาห์. ้ ญหาสังคมและความยากจนเชิงบูรณาการ. 2546. กรุ งเทพฯ : แนวทางการจดทะเบียนเพืUอแกไขปั กระทรวงมหาดไทย. แนวทางการจัดเวทีประชาคมเพืUอตรวจสอบยืนยันความถูกต้องของข้อมูลผูจ้ ดทะเบียนปั ญหาสังคม และความยากจนเชิงบูรณาการ. 2547. กรุ งเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย. บุญศักดิY แสงระวี. 2544. สัจธรรมของมนุษยชาติ วัตถุนิยมประวัติศาสตร์ . กรุ งเทพฯ: ชมรมศึกษา วิทยาศาสตร์สังคม. ั านาจทางเศรษฐกจิ : การศึกษาเชิง บูฆอรี ยีหมะ. 2547. นโยบายหาเสี ยงแนวประชานิยมกบอํ ิ ีU ั เศรษฐกจการเมื องเกยวกบความสํ าเร็ จในการเลือกตัg งของพรรคไทยรักไทย. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ป.ป.ช. ขอขึg นเงินเดือน, ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 20 (1-7 ตุลาคม 2547), หน้า 11. ้ ี . 2548. และแล้วความเคลืUอนไหวกปรากฏ ็ ประจักษ์ กองกรติ การเมืองวัฒนธรรมของนักศึกษาและ ่ 14 ตุลาฯ. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปัญญาชนกอน ประมวล รุ จนเสรี . 2548. พระราชอํานาจ. กรุ งเทพฯ: สุ เมธ รุ จนเสรี . ประเวศน์ มหารัตน์สกุล. 2548. ใครจะรู ้ทนั ทักษิณ. กรุ งเทพฯ: ส.เอเชียเพรส. ั ประเวศ วะสี . 2547. รัฐบาลทักษิณกบความรั บผิดชอบทางประวัติศาสตร์ . ใน เจิมศักดิY ปิU นทอง (บรรณาธิการ), รุ ้ทนั ทักษิณ, หน้า 187. กรุ งเทพฯ: ฃอคิดด้วยฅน. ั น : ชาดกฉ้อฉล นิทานคนโกง พงศาวดารกนเมื ิ อง. กรุ งเทพฯ: ประสงค์ สุ่ นศิริ. 2547. รุ ้ทนั กงฉิ ฃอคิดด้วยฅน. ่ กบ-กมพู ั ชา, มติชน 23 ธันวาคม 2546, หน้า 24. ปรากฏการณ์แหงปี ั ปราณ พิสิฐเศรษฐการ. 2547. ทักษิณกบนโยบายสั งคม : รวมสุ นทรพจน์สาํ คัญของพ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร. กรุ งเทพฯ: มติชน.


143

ปราณ พิสิฐเศรษฐการ. 2547. ทักษิณบนเวทีเอเชียและโลก : รวมสุ นทรพจน์สาํ คัญของพ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร. กรุ งเทพฯ: มติชน. ปราณ พิสิฐเศรษฐการ. 2547. ทักษิโณมิกส์และ CEO ประเทศไทย : รวมสุ นทรพจน์สําคัญของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร. กรุ งเทพฯ: มติชน. ่ ปิ ยะมิตร ลีลาธรรม. วิวาทะแหงอนาคต : ข้อถกเถียงของขบวนการเคลืUอนไหวทางสังคมในสมัชชา สังคมโลก 2547. ฟ้ าเดียวกนั 2 (เมษายน-มิถุนายน 2547), หน้า 137-148. ่ ั ผลประโยชน์ทบั ซ้อน...หยุดกอนประเทศไทย , ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 19 (24-30 กนยายน 2547), หน้า 16-17. ั Uึ ผาสุ ก พงษ์ไพจิตร, “นโยบายเอืgออาทรกบมาตรการ กงการคลั ง”, ใน ฟ้ าเดียวกนั, ปี ทีU 2 ฉบับทีU 1 (มกราคม-มีนาคม 2547), หน้า 109-110. ่ Uมา: http://www.manager.co.th/aspผูจ้ ดั การออนไลน์[Online]. แหลงที bin/mgrView.aspx?NewsID=9470000046095 [20 มีนาคม 2550] พจน์ เลิศพรเจริ ญ. 2544. การเลือกสรรและจัดลําดับผูส้ มัครรับเลือกตัg งสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร แบบบัญชีรายชืUอของพรรคการเมืองไทย : ศึกษากรณี พรรคประชาธิปัตย์ พรรคไทยรัก ไทย พรรคชาติพฒั นา พรรคชาติไทย และพรรคความหวังใหม่. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ่ Uมา: http://www.chartpattana.or.th/home/portfolio.php พรรคชาติพฒั นา [Online]. แหลงที [20 มีนาคม 2550] ่ ่ U ม า: พรรคไทยรักไทย 4 ปี ซอมหายนะจากวิ กฤติ [Online]. แหลงที http://www.thairakthai.or.th/trtp/detail/4_repair.asp [17 ตุลาคม 2548] ่ Uมา: http://www.thairakthai.or.th [1 เมษายน 2549] พรรคไทยรักไทย [Online]. แหลงที ่ งU ยืน[Online]. แหลงที ่ U ม า: พรรคไทยรักไทย 4 ปี สร้างชาติให้แข็งแกรงยั http://www.thairakthai.or.th/trtp/detail/4_build.asp [17 ตุลาคม 2548] ั ขภาพให้กบทุ ั กคน [Online]. แหลงที ่ U ม า: พรรคไทยรักไทยสร้างหลักประกนสุ http://www.thairakthai.or.th/trtp/campaign/index_30Baht.asp [17 ตุลาคม 2548] พรรคมหาชน คนไมมี่ ทีUยนื การดิgนรนของทุนท้องถิUน, ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 8 (9-15 กรกฎาคม 2547), หน้า 12. ่ กษิณ ชินวัตร. กรุ งเทพฯ: ฐานมีเดีย เน็ตเวิร์ค. พิจิตรา (นามปากกา). 2546. คิดอยางทั พิชญ์ พงษ์สวัสดิY. 2547. ทักษิณนิยม...(อีกที). ใน ภิญโญ ไตรสุ ริยธรรมา (บรรณาธิการ), พิษ ทักษิณ, หน้า 178-202. กรุ งเทพฯ: Openbooks.


144

ไพโรจน์ อยูม่ ณเฑียร และรุ จน์ มัณฑิรา. 2544. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี คนทีU 23. กรุ งเทพฯ: นํg าฝน. ฟ้ าเดียวกนั, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 1 (มกราคม-เมษายน 2546) ฟ้ าเดียวกนั, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 2 (เมษายน-มิถุนายน 2546) ฟ้ าเดียวกนั, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2546) ฟ้ าเดียวกนั, ปี ทีU 2 ฉบับทีU 1 (มกราคม-เมษายน 2547) ฟ้ าเดียวกนั, ปี ทีU 2 ฉบับทีU 2 (เมษายน-มิถุนายน 2547) ั 2547) ฟ้ าเดียวกนั, ปี ทีU 2 ฉบับทีU 3 (กรกฎาคม-กนยายน ฟ้ าเดียวกนั, ปี ทีU 2 ฉบับทีU 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2547) ฟ้ าเดียวกนั, ปี ทีU 3 ฉบับทีU 2 (เมษายน-มิถุนายน 2548) ั ฟ้ าเดียวกนั, ปี ทีU 3 ฉบับทีU 3 (กรกฎาคม-กนยายน 2548) ฟ้ าเดียวกนั, ปี ทีU 3 ฉบับทีU 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2548) ฟ้ าเดียวกนั, ปี ทีU 4 ฉบับทีU 1 (มกราคม-มีนาคม 2549) ฟ้ าเดียวกนั, ปี ทีU 4 ฉบับทีU 2 (เมษายน-มิถุนายน 2549) ภิญโญ ไตรสุ ริยธรรมา (บรรณาธิการ). 2547. พิษทักษิณ : ผลกระทบเศรษฐกจิ การเมือง และ สังคมภายใต้ระบอบทักษิณ. กรุ งเทพฯ: Openbooks. ภูริวรรธก์ ใจสําราญ. 2546. การรวมพรรคการเมือง : ศึกษากรณี การรวมพรรคไทยรักไทยกบั พรรคความหวังใหม่. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ภาค วิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มาอีกแล้วพรรคทางเลือกทีU 3, ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 12 (6-12 สิ งหาคม 2547), หน้า 12. ม้านอกและเด็กนอกกรอบ (นามปากกา). 2549. 25 คําถาม เบืgองหลังดีลเทคโอเวอร์ชินคอร์ป. กรุ งเทพฯ: Openbooks. ั 2547), 5. ยุบชาติพฒั นารวมไทยรักไทย, เนชันU สุ ดสัปดาห์. 640(6 กนยายน ่ Uมา: http://files.thaiday.com/download/pdf/book.pdf รวมแถลงการณ์ตา้ นทักษิณ [Online]. แหลงที [26 กุมภาพันธ์ 2549] ั กษิณ 4 ปี ข้างหน้า, ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 36 (21-27 มกราคม 2548), หน้า รังสรรค์กบทั 10. รังสรรค์ ธนะพรพันธ์. 2548. จาก Thaksinomics สู่ ทกั ษิณาธิปไตยภาค 1-2. กรุ งเทพฯ: Openbooks. รังสรรค์ ธนะพรพันธ์. 2548. จาก Thaksinomics สู่ ทกั ษิณาธิปไตยภาค 3. กรุ งเทพฯ: Openbooks.


145

่ U ม า: รังสรรค์ ธนะพรพันธ์. 2547. ทักษิโณมิกส์ เศรษฐศาสตร์ แบบทักษิณ[Online]. แหลงที http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document9720.html [16 ตุลาคม 2548] ่ U ม า: รังสรรค์ ธนะพรพันธ์. 2547. Mc Journalism ภายใต้ระบบทักษิณาธิปไตย[Online]. แหลงที http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document9639.html [16 ตุลาคม 2548] ่ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจั กรไทย พ.ศ. 2540. ่ U มา : รายได้ประชาชาติของประเทศไทย ฉบับพ.ศ. 2547[Online]. แหลงที http://www.nesdb.go.th/econSocial/macro/NAD/2_ni/ni_1997-2004/NI_1993%202004.zip [16 มกราคม 2550] ริ อุส. ม.ป.ป. มาร์กซ์ฉบับการ์ตูน. กรุ งเทพฯ: สุ ชนการพิมพ์. รุ จน์ มัณฑิรา. 2538. ทักษิณ ชินวัตร นักบริ หารสมองกล. กรุ งเทพฯ: นํg าฝน. โรดแมพ ประเทศไทยสันติสุข, ใน A day weekly, ปัทีU 1 ฉบับทีU 29 (3-9 ธันวาคม 2547), หน้า 14-15. ลิขิต ธีรเวคิน. 2546. วิวฒั นาการการเมืองการปกครองไทย. พิมพ์ครัg งทีU 9. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . ลิขิต ธีรเวคิน. 2546. อมาตยาธิปไตย-ประชาธิปไตยครึU งใบ-การปฏิรูปการเมือง-การเมืองปัจจุบนั . ใน ธเนศ วงศ์ยานนาวา (บรรณาธิการ), รัฐศาสตร์สาร, หน้า42-51. วอลเดน เบลโล และคณะ. 2545. โศกนาฏกรรมสยาม: การพัฒนาและการแตกสลายของสังคมไทย สมัยใหม่. แปลโดย สุ รนุช ธงศิลา. พิมพ์ครัg งทีU 5. กรุ งเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง. วนัส ปิ ยะกุลชัยเดช. 2550. จากอุดมการณ์ทีUถูกวิพากษ์สู่การครองความเป็ นใหญ่: การครองความ ่ เป็ นใหญแบบกรั มชีU. ใน ธเนศ วงศ์ยานนาวา (บรรณาธิการ), รัฐศาสตร์สาร, หน้า 100112. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วัลยา (นามปากกา). 2542. ทักษิณ ชินวัตร ตาดูดาว เท้าติดดิน. กรุ งเทพฯ: มติชน. วีรพล จ้อยทองมูล และคณะ. 2544. ประวัติ/สุ นทรพจน์ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร. กรุ งเทพฯ: ลุ่มนํg าเจ้าพระยา. ส.ศิวรักษ์. 2548. ขจัดทักษิณ : ธนาธิปไตย. กรุ งเทพฯ: เคล็ดไทย. ี ตัg งกจวานิ ิ ชย์. 2547. คอรัปชันU นโยบาย. ในเจิมศักดิY ปิU นทอง (บรรณาธิการ), รู ้ทนั สมเกยรติ ทักษิณ, หน้า 61-66. กรุ งเทพฯ: ฃอคิดด้วยฅน. ิ สมชาย ภคภาสน์ววิ ฒั น์. 2547. การพัฒนาเศรษฐกจและการเมื องไทย. พิมพ์ครัg งทีU 6. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ่ U ม า: สมศักดิY เจียมธีรสกุล. 2548. บทวิจารณ์หนังสื อเรืU อง “พระราชอํานาจ”[Online]. แหลงที http://www.midnightuniv.org/midnight2545/document9554.html [28 กุมภาพันธ์ 2549] สรกล อดุลยานนท์. 2536. ทักษิณชินวัตร อัศวินคลืUนลูกทีUสาม. กรุ งเทพฯ: มติชน.


146

่ ฐธรรมนูญ. 2540. ประชาชนได้อะไรจาก (ราง ่ ) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจั ่ สภารางรั กรไทย. ่ ฐธรรมนูญ. กรุ งเทพฯ: คณะกรรมาธิการประชาสัมพันธ์ สภารางรั ่ ปแบบผูน้ าํ และพฤติกรรมการตัดสิ นใจของพ.ต.ท. สราริ น สุ ธีสร. 2547. การเปรี ยบเทียบระหวางรู ่ พุทธศักราช 2544 – 2546. เอกสารวิจยั หลักสู ตร ทักษิณ ชินวัตร ระหวางปี รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ่ ํ ่ g คืน IMF กอนกาหนด สวนดุสิตโพล. 2546. การจายหนี ในสายตาประชาชน[Online]. กรุ งเทพฯ: ่ U มา : มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. แหลงที http://dusitpoll.dusit.ac.th/2546/2546_003.html [15 กุมภาพันธ์ 2550] สวนดุสิตโพล. 2546. การประเมินผลการประชุม APEC ในสายตา “ประชาชน” [Online]. ่ U มา : กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. แหลงที ั ทีUผานมา ่ [Online]. สวนดุสิตโพล. 2546. การเมือง เศรษฐกจิ สังคมวันนีg เมืUอเปรี ยบเทียบกบปี ่ U มา : กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. แหลงที http://dusitpoll.dusit.ac.th/2546/2546_456.html [15 ตุลาคม 2548] สวนดุสิตโพล. 2543. ความนิยม ตอ่ "พรรคการเมือง" และ "หัวหน้าพรรคการเมือง" ของผูม้ ีสิทธิY ่ “ยุบสภา” [Online]. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. เลือกตัgงทัวU ประเทศกอน ่ Uมา: http://dusitpoll.dusit.ac.th/2543/2543_077.html [15 มกราคม 2550] แหลงที ่ ฐบาลและฝ่ ายค้านในปี 2546[Online]. สวนดุสิตโพล. 2546. ความมันU ใจของประชาชน ตอรั ่ U มา : กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. แหลงที http://dusitpoll.dusit.ac.th/2546/2546_001.html [22 มกราคม 2550] สวนดุสิตโพล. 2547. ความมันU ใจของประชาชน ตอ่ “รัฐบาล” และ “ฝ่ ายค้าน” ในปี 2547[Online]. ่ U มา : กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. แหลงที http://dusitpoll.dusit.ac.th/2547/2547_001.html [22 มกราคม 2550] ้ ญหาของ “รัฐบาล” กรณี : เขมรเผาสถานฑูตไทย สวนดุสิตโพล. 2546. ความมันU ใจในการแกไขปั ่ U ม า: [Online]. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. แหลงที http://dusitpoll.dusit.ac.th/2546/2546_032.html [2 มีนาคม 2550] สวนดุสิตโพล. 2546. นายกฯทักษิณ”/”พรรคไทยรักไทย”ในสายตาประชาชน[Online]. ่ U มา : กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. แหลงที http://dusitpoll.dusit.ac.th/2546/2546_425.html [15 ตุลาคม 2548] ่ ? กบนโยบาย ั สวนดุสิตโพล. 2547. ประชาชนคิดอยางไร “คํUาไหนนอนนันU” ของนายกฯทักษิณ ่ U ม า: [Online]. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. แหลงที http://dusitpoll.dusit.ac.th/2547/2547_116.html [20 กุมภาพันธ์ 2550]


147

ั สวนดุสิตโพล. 2546. เปรี ยบเทียบนโยบายพรรคไทยรักไทยกบพรรคประชาธิ ปัตย์ในสายตา ่ U ม า: ประชาชน[Online]. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. แหลงที http://dusitpoll.dusit.ac.th/2546/2546_446.htm [15 ตุลาคม 2548] สวนดุสิตโพล. 2544. ภาพรวมการจัดระเบียบสังคม" ในสายตา "ประชาชน"[Online]. กรุ งเทพฯ: ่ U มา : มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. แหลงที http://dusitpoll.dusit.ac.th/2544/2544_096.html [22 มกราคม 2550] สวนดุสิตโพล. 2545. 1 ปี "รัฐบาลทักษิณ"[Online]. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต. ่ Uมา: http://dusitpoll.dusit.ac.th/2545/2545_018.html [15 มกราคม 2550] แหลงที สันติ อรุ ณวิจิตร. 2547. พูดแบบนายกทักษิณ. กรุ งเทพฯ: วรรณสาส์น. ิ ่ ่ U ม า: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจและสั งคมแหงชาติ [Online]. แหลงที http://www.nesdb.go.th/econSocial/macro/mahapak_eco.htm [1 เมษายน 2549] ั สํานักโฆษก สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี . 2546. นายกฯทักษิณคุยกบประชาชน (เลม่2). กรุ งเทพฯ: ไอเดีย สแควร์. ั สํานักโฆษก สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี . 2546. นายกฯทักษิณคุยกบประชาชน (เลม่3). กรุ งเทพฯ: เอ.พี.กราฟิ คดีไซน์และการพิมพ์. ั สํานักโฆษก สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี . 2546. นายกฯทักษิณคุยกบประชาชน (เลม่4). กรุ งเทพฯ: สหมิตรพริg นติงg . ั สํานักโฆษก สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี . 2547. นายกฯทักษิณคุยกบประชาชน (เลม่5). กรุ งเทพฯ: ชวนพิมพ์. ั สํานักโฆษก สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี . 2547. นายกฯทักษิณคุยกบประชาชน (เลม่6). กรุ งเทพฯ: ไอเดีย สแควร์. สํานักเลขาธิการสํานักนายกรัฐมนตรี . 2547. สรุ ปผลการดําเนินการของคณะรัฐมนตรี ตาม ่ ฐ รัฐบาล พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปี ทีUสาม (วันทีU ๒๖ แนวนโยบายพืgนฐานแหงรั กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ ถึงวันทีU ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗). กรุ งเทพฯ: สํานักเลขาธิการ สํานักนายกรัฐมนตรี . ่ Uมา: สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย[Online]. แหลงที http://www.mahadthai.com/html/zoning_detail01.html [22 มกราคม 2550] ่ Uมา: สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย[Online]. แหลงที http://www.mahadthai.com/html/planzoning.html[22 มกราคม 2550] ่ Uมีคุณคาคื ่ อเป้ าหมายของนโยบาย สิ นีพร มฤคพิทกั ษ์. 2547. พันศักดิY วิญญรัตน์ ความแตกตางที ทักษิโณมิคส์. เนชันU สุ ดสัปดาห์ 644 (4 ตุลาคม 2547) : 82-85. สุ นนั ท์ ศรี จนั ทรา. 2547. ขาลง “ทักษิณ”. กรุ งเทพฯ: เนชันU บุค๊ ส์.


148

่ สุ ภลักษณ์ กาญจนขุนดี, “ระบอบทักษิณ ปรากฏการณ์สนธิ ในการเมืองไทยรวมสมั ย บทวิเคราะห์ ่ ั ”, พันธมิตรฯ กอนการรั ฐประหาร ๑๙ กนยา http://www.midnightuniv.org/midnight2544/0009999755.html สุ ภวรรณ รจนาปกรณ์. 2546. คมความคิดทักษิณ ชินวัตร เลม่ 1. กรุ งเทพฯ: วรรณสาส์น. สุ ภวรรณ รจนาปกรณ์. 2546. คมความคิดทักษิณ ชินวัตร เลม่ 2. กรุ งเทพฯ: วรรณสาส์น. สุ ภวรรณ รจนาปกรณ์. 2546. คมความคิดทักษิณ ชินวัตร เลม่ 3. กรุ งเทพฯ: วรรณสาส์น. สุ เมธ วงษ์พาณิ ชเลิศ. 2547. อนาคตสืU อสาร-สารสนเทศไทยในยุคผูน้ าํ ดิจิตอล: คิดใหม่ ทําใหม?่ . ใน เจิมศักดิY ปิU นทอง (บรรณาธิการ) ,รู ้ทนั ทักษิณ, หน้า 77. กรุ งเทพฯ: ขอคิดด้วยคน. ั ่ วยการครองความเป็ นใหญ.่ ปาจารยสาร 8 สุ รพงษ์ ชัยนาม. 2525. อันโตนิโยกรัมชีกบทฤษฎี วาด้ (6) : 70-79. สุ รพงษ์ ชัยนาม. 2548. “ทฤษฎีการปฏิวตั ิสังคม” ใน เอกสารการสอนชุดวิชาปรัชญาการเมือง. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช. ่ ่ สุ วจั น์-บรรหารยังไมจนตรอก ผนึก สนันU โคนไทยรั กไทย, สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, 26(21-27 พฤศจิกายน 2546), 17. ั สํานักโฆษก สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี . 2545. นายกฯทักษิณคุยกบประชาชน (เลม่1). กรุ งเทพฯ: สหมิตรพริg นติงg . ็ ่ ็ ํ , ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 18 (17-23 กนยายน ั สคิบซี 1 กแคเกงกาไร 2547), หน้า 13. เสืg อกกัu -ขาประจํา วิพากษ์ ทรท., ใน A day weekly, ปัทีU 1 ฉบับทีU 11 (30 กรกฎาคม – 5 สิ งหาคม 2547), หน้า 12. อธิวฒั น์ ทรัพย์ไพฑูรย์ และคณะ. 2543. เส้นทางชีวติ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร. กรุ งเทพฯ: เยียร์บุค๊ ส์ พับลิเชอร์. อภิชาต สถิตนิรามัย และดวงมณี เลาวกุล. 2548. ยุทธศาสตร์การพัฒนาทวิวถิ ี: ความสําเร็ จ และ ความล้มเหลว. ใน ภิญโญ ไตรสุ ริยธรรมา (บรรณาธิการ), October No.5, หน้า 377435. กรุ งเทพฯ: Openbooks. อรุ ณ เวชสุ วรรณ. 2547. พุทธทาสในทางการเมืองของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิน ชินวัตร. กรุ งเทพฯ: อรุ ณวิทยา. อัมมารวิจารณ์ทกั ษิณ, ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 27 (19-25 พฤศจิกายน 2547), หน้า 10. อานนท์ อาภาภิรม. 2528. รัฐศาสตร์เบืg องต้น. กรุ งเทพฯ: โอเดียนสโตร์. ิ เอก ตัg งทรัพย์วฒั นา. 2546. Asian economic crisis วิกฤตการณ์เศรษฐกจเอเชี ย. ใน เอก ตัg งทรัพย์ วัฒนา และสิ ริพรรณ นกสวน (บรรณาธิการ) ,คําและความคิดในรัฐศาสตร์ ร่ วมสมัย, หน้า 11-19. กรุ งเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


149

เอกยุทธ รี เทิร์นสู ้ศึกไทยรักไทย, ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 14 (20-26 สิ งหาคม 2547), หน้า 10. ่ เอฟทีเอ ความคืบหน้าทามกลางเสี ยงค้าน, ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 47 (7-13 เมษายน 2548) ฮ.นิกฮูกg ี (นามปากกา). 2544. ธรรมะของทักษิณ ชินวัตร. กรุ งเทพฯ: สยามอินเตอร์บุ๊คส์. ่ ิ กติ​ิ เรี ยงลาภ และจิระยุทธ คงหิgน ฮาล เดรเปอร์. สองวิญญาณของสังคมนิยม. แปลโดย เกงกจ ่ Uมา: http://www.marxists.org/thai/archive/draper/two-souls.htm [Online]. แหลงที [6 พฤษภาคม 2550] 4 ปี กบฏไอทีวี ถึงเวลาพิพากษา, ใน A day weekly, ปี ทีU 1 ฉบับทีU 43 (10-16 มีนาคม 2548), หน้า 49-53. ่ ่ ปี 2545, มติชน 31 ธันวาคม 2545, หน้า 3. 10 ขาวเดน ภาษาอังกฤษ Anne Showstack Sassoon. 1982. Approaches to Gramsci. London: Writers and Readers. Andrew Deak, The Condition of Hegemony and the Possibility of Resistance, http://www.undercurrentjournal.ca/2005II3%20-%20deak.pdf ่ U มา : Anti-globalization[Online]. แหลงที http://encyclopedia.thefreedictionary.com/antiglobalization [5 กุมภาพันธ์ 2550] Barry Burke, Antonio Gramsci and informal education, http://www.infed.org/thinkers/etgram.htm David Macey. 2000. The Penguin Dictionary of Critical Theory. London: Penguin Books. David Mclellan. 1979. Marxism after Marx. New York: Harper and Row. David Miller. Ed. 1987. The Blackwell Encyclopedia of Political Thought. Oxford: Basil Blackwell. David Robertson. 2004. The Routledge Dictionary of Politics. 3rd ed. London: Routledge. Duncan McCargo and Ukrist Pathmanand. 2005. The Thaksinization of Thailand. Copenhagen: NIAS Press. ่ Uมา: http://en.wikipedia.org/wiki/Eduard_Bernstein [6 เมษายน Eduard Bernstein[Online]. แหลงที 2550] Iain McLean and Alistair McMillan. 2003. Oxford Concise Dictionary of Politics, 2nd ed. New York: Oxford University Press.


150

Joel Krieger. Ed. 2001. The Oxford Companion to Politics of the World, 2nd ed. New York: Oxford University Press. John Girling. 1984. Thailand in Gramscian Perspective. Pacific Affiars. 57: 385-403. Joseph V. Femia. 1987. Gramsci’s Political Thought Hegemony, Consciousness, and the Revolutionary Process. Oxford: Clarendon Press. ่ Uมา: http://en.wikipedia.org/wiki/Karl_Kautsky [6 เมษายน 2550] Karl Kautsky[Online]. แหลงที Ken Newton and Jan W. Van Deth. 2005. Foundations of Comparative Politics. Cambridge: Cambridge University Press. Michael G. Roskin et. al. 1997. Political Science : An introduction. 6th ed. New Jersey : Prentice Hall. Michael Haralambos, Martin Holborn and Robin Heald. 2004. Sociology Themes and Perspectives. London: HarperCollins. Pasuk Phongpaichit and Chris Baker. 2001. Pluto-Populism in Thailand: Business Remaking Politics. Bangkok: Chulalongkorn University. Pasuk Phongpaichit and Chris Baker. 2001. Thailand’s Thaksin: New Populism or Old Cronyism?. Bangkok: Chulalongkorn University. Pasuk Phongpaichit and Chris Baker. 2004. Thaksin The Business of Politics in Thailand. Chiangmai: Silkworm Books. Paul Ransome. 1992. Antonio Gramsci A New Introduction. London: Harvester Wheatsheaf Quintin Hoare and Geoffrey Nowell Smith. 1971. Selections from the Prison Notebooks of Antonio Gramsci. New York: International Publishers. Richard W. Miller. 1984. Analyzing Marx Morality, Power and History. New Jersey: Princeton University Press. Robert Andi. Ed. 1999. The Cambridge Dictionary of Philosophy. 2nd ed. Cambridge: Cambridge University Press. Roger Simon. 1982. Gramsci’s Political Thought An Introduction. London: Lawrence and Wishart. Thai Rak Thai Party Policy (เอกสารประชาสัมพันธ์), pp.8-19. ่ Uมา: http://uncyclopedia.org/wiki/Thaksin_Shinawatra Thaksin Shinnawatra [Online]. แหลงที [2 มีนาคม 2550]


151

ประวัติผ้เู ขียนวิทยานิพนธ์ ิ นที 7 ตุลาคม 2525 ที จงั หวัดฉะเชิ งเทรา สําเร็ จการศึกษา นายวัชรพล พุทธรักษา เกดวั ี นิยมอันดับหนึ ง จากคณะมนุ ษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์ ) เกยรติ ่ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี ปี การศึกษา 2546 และเข้าศึกษาตอในหลั กสู ตร รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การปกครอง) คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื อปี การศึกษา 2547 ได้รับทุนรางวัลเรี ยนดี คณะมนุ ษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิท ยาเขตปั ต ตานี ปี การศึ ก ษา 2545 และได้รั บ ทุ น โครงการผลิ ตและพัฒ นาอาจารย์ (UDC) ั จากสํา นัก งานคณะกรรมการการอุ ดมศึ ก ษา สัง กดภาควิ ช ารั ฐศาสตร์ และรั ฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เมื อปี การศึกษา 2547


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.