ADDIE A2DDIE Instructional Models

Page 1

จาก ADDIE สู A2DDIE(M) : Avatar in A2DDIE(M) Wichit Chawaha A Doctor Candidate in Educational Technology. Faculty of Education, Naresuan University

ดวยความเจริญกาวหนาอยางรวดเร็วของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร ระบบสารสนเทศและการสื่อสาร ทําใหสภาพแวดลอมทางการเรียนรูมีการเปลี่ยนแปลงตามไปดวย นับตั้งแตมีการนําสื่อการเรียนการสอน มาใช โดยในยุ ค แรกๆ ที่ มี ก ารใช สื่ อ การเรี ย นการสอน ครู ผู ส อนก็ อ าจจะใช แ ค กระดานดํ า แผ น ใส กับเครื่องฉายภาพขามศีรษะ ก็อาจเพียงพอ ตอมาเมื่อเริ่มมีเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตเขามา ก็อาจจะใช e‐Book, CAI, WBI, e‐Learning, U‐Learning, Hybrid Learning, Blended Learning และ เปนตน เพื่อเขามาชวยสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน ทั้งนี้จําเปนตองคํานึงถึงผูเกี่ยวของ

Avatar

ทุ ก ส ว น เ ช น ทั้ ง ค รู ผู ส อ น ผู เ รี ย น ร ว ม ถึ ง ส ภ า พ แ ว ด ล อ ม ท า ง ก า ร เ รี ย น รู ซึ่ ง ใ น ป จ จุ บั น ก็ไดเปลี่ยนแปลงไปเปนสภาพแวดลอมทางการเรียนรูแบบเสมือน (Virtual

Learning Environment)

โดยองคการและสถานศึกษาก็ตองมีการปรับเปลี่ยนใหเขากับบริบท (Context) ของตนเอง ผูที่มีบทบาทตอในการออกแบบสําหรับการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา แนนอนจะตองเกี่ยวของกับ นักออกแบบสื่อการศึกษา (Instructional Designers : IDs) ในแวดวงวิชาชีพนักออกแบบสื่อการศึกษา (นัก IDs)

สิ่งที่นัก IDs จะตองนําทฤษฎีและหลักการทางดานการออกแบบสื่อการเรียนการสอน มาปรับใช

โดยอาศัยแนวคิดจาก ตัวแบบ (Models) ซึ่งก็มีอยูมากมายและหลากหลาย สวนมากปรับจากตัวแบบ ดั้งเดิม (Generic Model) และเปนตัวแบบที่ไดรับความนิยมอยางมาก นั่นคือ ADDIE Model (Analysis, Design, Development, Implementation, and Evaluation)

แตดวยสภาพแวดลอมการเรียนรู

ที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในปจจุบัน (รวมถึงอนาคต) การออกแบบโดยใช ADDIE เพียงอยางเดียวอาจจะ ยังไมเหมาะสมกับสภาพการณสําหรับการออกแบบการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา จึงไดมีการปรับเปลี่ยน ADDIE เพิ่ ม เติ ม จาก ADDIE เป น

A2DDIE(M)

(Assessment and Management)

โดยเพิ่มประเด็น การประเมินและการจัดการ

เขาไปดวย ( A2

: Assessment, Analysis , and M :


Management) เพราะวาตลอดการออกแบบเพื่อผลิตสื่อการเรียนการสอนนั้นจะตองมีทั้งการประเมินและ

มีการจัดการรวมอยูดวยทุกขั้นตอน

(Anne M. Blake & James L. Moseley, 2010) โดยที่นัก IDs

ทําการออกแบบบทเรียนดวย Avatar โดยใช

A2DDIE(M)

มีรายละเอียดแตละขั้นตอน ดังแสดงใน

ตาราง ขั้นตอน Analysis

Assessment

รายละเอียด คําถามสูก ารพิจารณาใช Avatar เปนกระบวนการกําหนด - ดําเนินการวิเคราะหความตองการ แนวทางวา “ทําไม” ถึงมีความ - การใช avatar ชวยใหคุณไดระบุความตองการ โดยการอํานวยความสะดวกในการกระตุน ใหกบั จําเปนตอหลักสูตร ผูเรียนและการผูกเขากับบทเรียน หรือไม? กระบวนการการระบุ ‐ กําหนดสิ่งทีต ่ องการประเมิน ‐ ผูเรียนเปนแบบ digital natives” or “digital วัตถุประสงคของหลักสูตร immigrants” ? ‐ การใช avatar ชวยสนับสนุนใหบรรลุ

Design

Development

วัตถุประสงคการสอนหรือทําใหนา รําคาญ? กระบวนการออกแบบ - ผูสอนมีความรู ทักษะ และความชํานาญใน กิจกรรมการเรียน, การประเมิน การออกแบบเนื้อหาใหเหมาะสมกับการใช avatar หรือไม? , และวิธีการนําเสนอ ‐ ถาไม ผูสอนมีการเขาถึงความชวยเหลือในการ เนื้อหาวิชาในหลักสูตร ออกแบบหรือไม? ‐ อะไรเปนตัวเลือกในการถายทอดเนื้อหาของ คุณ? ทําใหผูเรียนทัง้ หมดมีการเขาถึงเทคโนโลยี ไดอยางเหมาะสมอยางสมบูรณโดยใช Avatar หรือไม? ‐ สามารถใชกลยุทธการสอนใน avatar ที่จะ ชวยสนับสนุนไปสูผลลัพธดานพฤติกรรมที่พงึ ประสงค หรือไม? เปนกระบวนการของการผลิต ‐ ผูสอนมีความรู ทักษะ และความสามารถที่จะ สื่ อ ตามความต อ งการของ ผลิตสื่อการสอนที่เหมาะสมดวย avatar หรือไม? หลักสูตร


ขั้นตอน

รายละเอียด

Development

Implementation

เป น กระบวนการของการ ดําเนินการถายทอดเนื้อหาใน หลักสูตร

Evaluation

กระบวนการของการตัดสินใจ ที่เกีย่ วของกับความสําเร็จ เกี่ยวของ/และไมสําเร็จ ของ การสอนและจะทําอยางไรทีจ่ ะ ทําการปรับปรุงใหดีขึ้นใน อนาคต กระบวนการของการจั ด การ กระบวนการสอน

Management

คําถามสูก ารพิจารณาใช Avatar ‐ ถาไม ผูสอนมีการเขาถึงสิง่ ที่ชวยในการการ พัฒนาสื่อหรือไม? ‐ ถาเกิดความผิดพลาดดานเทคโนโลยีเกิดขึ้น มี สิ่งที่จะชวยใหทั้งผูสอนและผูเรียนเขาถึงความ ชวยเหลือไดหรือไม? หรือมีแผนสํารองสําหรับ เขาในการเรียนการสอน หรือไม? ่ ะยืดหยุน ใหสาํ หรับ ‐ avatar มีความเพียงพอทีจ ผูใชรายใหมทเี่ กิดจากการผิดพลาดของขัน้ ตอน การดําเนินการไดหรือไม? ‐ ไมมีการใช avatar ทําใหเกิดการผสานเขากับ บทเรียนและแรงกระตุนในการเรียน หรือไม? ‐ ใชเพราะ avatar ทําใหงา ยตอการบรรลุ วัตถุประสงคการสอนใชหรือไม? ‐ ผูสอนสามารถกําหนดบทบาทของ avatar ใน กระบวนการสอนที่เกิดประสิทธิภาพหรือไม? ‐ ผูสอนมีการดําเนินการสนับสนุนทางดาน เทคนิคในกระบวนการสอนหรือไม? ‐ ในการออกแบบ avatar สามารถแกไขและ ปรับปรุงจากเทคโนโลยีขั้นสูงหรือไม?

Reference Anne M. Blake & James L. Moseley. (2010). The Emerging Technology of Avatars : Some Educational Considerations. Educational Technology, 50(2). 13‐20. Ingrid J. Guerra. (2008). Key Competencies Required of Performance Improvement Professionals. <http://www3.interscience.wiley.com/journal/121461574/abstract>. Steven W. Villachica and Other. (2010). But what do they really expect? Employer perceptions of

the skills of entry‐level instructional designers. < http://www3.interscience.wiley.com/

journal/123246403/abstract >.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.