} ออกแบบเบื้องต้น {บทสรุป
006330 Basic Design
ความรู้เบื้องต้นใน
งานออกแบบ
การออกแบบ คืออะไร • การออกแบบตรงกับภาษาอังกฤษว่า “design” • ในภาษากรีก หมายถึง บทกวี (poetry) • ต้องมีการวางเค้าโครงตามจินตนาการของผู้ประพันธ์ผสมผสานกับ ความรู้สึกที่แสดงออกให้ผู้อื่นเข้าใจอย่างมีศิลปะและสุนทรียภาพ • ต่อมามีความหมายครอบคลุมถึงงานทุกชนิด ที่มีการออกแบบตามกฎเกณฑ์การจัดองค์ประกอบศิลป์เพื่อให้บรรลุถึง ความงามอันสมบูรณ์ โดยไม่คานึงถึงชนิดของงาน
• การออกแบบ หมายถึง ความคิดคานึงหรือจินตนาการเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ โดยรวมขององค์ประกอบย่อย กับโครงสร้างของแต่ละเรื่อง • โดยการสลับสับเปลี่ยนคุณสมบัติขององค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ขนาด พื้นผิว ตาแหน่ง ทิศทาง รูปร่าง รูปทรง จังหวะ เพื่อให้ได้โครงสร้างที่เหมาะสมที่สุด • การรู้จักวางแผน ก่อนการลงมือกระทา โดยสอดคล้องกับรูปแบบและวัสดุ แต่ละชนิด ตามความคิดสร้างสรรค์ที่เกิดขึน้
• การปรับปรุงผลงานที่มีอยู่แล้ว ให้เหมาะสมมีความแปลกใหม่เพิม่ มากขึ้น โดยที่จะต้องคานึงถึงความสวยงามและประโยชน์ใช้สอย
การออกแบบคืออะไร
• การออกแบบ คือ การสร้างสิ่งใหม่ • การออกแบบ คือ การปรุงแต่งของเดิม
• อิทธิพลของรูปแบบและการใช้ชีวิตที่ส่งผลต่อการออกแบบ • ตามไม่ทัน จะใช้ยังไงดี ไม่รู้เรือ่ ง ไม่เห็นงามเลย
• ความต้องการในการดารงชีวิต • ความก้าวหน้าของวัสดุอุปกรณ์ • ความคิดและการเข้าถึงความจริงในศิลปะของนักออกแบบ
จุดมุ่งหมายของการออกแบบ • การออกแบบมีจุดมุ่งหมายสาคัญ 2 ประการ • การออกแบบเพือ่ ประโยชน์ใช้สอย เป็นกระบวนการคิดในการแก้ปัญหาโดย การจัดองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสม เพือ่ สนองความต้องการด้าน กายภาพ คานึงถึงความสะดวกสบาย ความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพใน การใช้งานเป็นอย่างดี การออกแบบลักษณะนี้นักออกแบบควรคานึงถึง • ..............1.1 หน้าที่หรือประโยชน์ใช้สอย (function) ..............1.2 ความประหยัด (economy) ..............1.3 ความทนทาน (durability) ..............1.4 ความงาม (beauty) ..............1.5 โครงสร้าง (construction)
• การออกแบบเพื่อความงามและความพอใจ • เป็นการออกแบบทีน่ ิยมใช้กับศิลปกรรมหรืองานวิจิตรศิลป์ทุกแขนง • ได้แก่ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ดนตรี นาฏศิลป์ วรรณกรรม • ผลงานเหล่านี้เกิดจากการถ่ายทอด “ความงาม” • โดยใช้ความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ ผสมผสานกับความรู้ ประสบการณ์และ ความชานาญถ่ายทอดผ่านสื่อหรือวิธีการ
คุณค่าของการออกแบบ • • • • •
จากแนวคิดของ ศ.ดร.วิรณ ุ ตัง้ เจริญ การออกแบบเป็นสื่อกลาง ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์และระหว่างมนุษย์กับวัตถุ ที่มีคุณค่า 3 ประการ .............1. เพือ่ ประโยชน์ใช้สอย (ทางกายภาพ) .............2. เพือ่ คุณค่าทางความงาม ซึ่งเกี่ยวข้องกับทัศนศิลป์ .............3. เพือ่ ประโยชน์ในการติดต่อสื่อสาร (สร้างทัศนคติ)
• การออกแบบเป็นพื้นฐานงานที่มนุษย์สร้างขึ้น • การออกแบบเป็นผลของความอยากรู้อยากเห็น • การออกแบบมิใช่สิ่งที่เกินความสามารถมนุษย์
Dot and Line Basic design 006133
• • • •
จุดนั้นเป็ นทัศนธาตุท่สี ามารถสัมผัสและให้ ความรู้สกึ ได้ น้อย ด้ วยจุดเป็ นอนุภาคที่มคี วามกว้ าง ความยาว และความหนา น้ อยที่สดุ เมื่อเทียบกับ บรรดาส่วนประกอบมูลฐาน หรือทัศนธาตุอ่นื ซึ่งในทางด้ านศาสตร์อ่นื ๆ อาจจะตีค่าของจุดในทางต่าสุด โดยให้ คา นิยาม ของจุดว่า “เป็ นสิง่ ที่ ไม่มีความกว้าง ความยาว ความ หนา” • ทางทัศนศิลป์ จุด มีค่า มากมายกว่านั้น • ด้ วยในทางศิลปะนั้นเกี่ยวข้ องกับความรู้สกึ มากกว่า การตีความ เพราะ จุด ๆ หนึ่งที่ปรากฏในภาพอาจจะค่อย ๆ แปรเปลี่ยน เป็ นสิ่งต่าง ๆ ในจินตนาการก็ได้
การเกิดของจุด จุดสามารถเกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ คือ • 1. เกิดขึ้ นเองตามธรรมชาติ เช่น จุดในลายของสัตว์ เปลือกหอย ผีเสื้อ แมลง พืช เปลือกไม้ ฯลฯ • 2. เกิดจากมนุษย์สร้างขึ้ น ได้ แก่การจิ้ม กระแทก กด ด้ วยวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆเช่น ปากกา ดินสอ พู่กนั กิ่งไม้ และของปลายแหลม
Dot and Line (2) Basic design 006133
• ความหมายของเส้ น เส้ นเกิดจากการเคลื่อนที่ของจุด (Moving dot) จานวนมาก ไปใน ทิศทาง ที่กาหนด หรื อเส้ นคือทางเดินของจุดไปในทิศทางเดียวกันที่ กาหนด เส้ น เป็ นแนวเชื่อมโยงระหว่าง จุดสองจุดขึ ้นไป
• เส้ น จะมีปฏิกิริยา โต้ ตอบกับสายตาของ มนุษย์ให้ เคลื่อนที่ไป ตาม ลักษณะของเส้ น ได้ เป็ นอย่างดี เราจะเห็นเส้ นในการ เคลื่อนไหว ของ มนุษย์ เส้ นรูปทรงของสัตว์ วัตถุ และธรรมชาติ ที่แตกต่างกัน รูปลักษณะของเส้ นเหล่านี ้ไม่วา่ จะเป็ นเส้ นที่ ปรากฏ ตามสายตา (Visual Elements)หรื อเส้ นที่ที่ปรากฏในความคิด (Conceptual Elements) ก็ตาม สามารถทาให้ เกิดความรู้สกึ ต่าง ๆ เช่น ตื่นเต้ น สงบราบเรี ยบ นิ่มนวล ร่าเริง เคร่งขรึม อ่อนหวาน เป็ นต้ น เส้ น จึงเป็ นองค์ประกอบหนึง่ ที่สามารถถ่ายทอดความรู้สกึ ของ ผู้สร้ าง งาน ศิลปะ ให้ ผ้ อู ื่นได้ สมั ผัสได้ เป็ นอย่างด
• ลักษณะของเส้ น • เส้ นมีมิตเิ ดียว คือ ความยาว ไม่มีความกว้ างมีแต่ มีความหนา ที่ เรี ยกว่า เส้ นหนา เส้ นบาง เส้ นใหญ่ เส้ นเล็ก ความหนาของเส้ น จะต้ อง พิจารณาเปรี ยบเทียบกับความยาวด้ วย คือถ้ าเส้ นนันสั ้ น้ แต่มีความ หนามากจะหมดคุณลักษณะ ของความเป็ นเส้ น กลายเป็ น รูปร่าง สี่เหลี่ยมผืนผ้ าไป
• เส้ นมี ทิศทางต่างกัน เช่น แนวราบ แนวดิ่ง แนว เฉียง และมีลกั ษณะ ต่าง ๆ เช่น ตรง คด เป็ นคลื่น ก้ นหอย ชัด พร่า ประ ฯลฯ ทิศทางและลักษณะของ เส้ น ให้ ความรู้สกึ ต่อผู้สมั ผัส แตกต่างกัน ออกไป ดังต่อไปนี ้
• 1. เส้ นตรง (Staight Line) หมายถึงเส้ นตรงในทิศทางใด ทิศทาง หนึง่ ให้ ความรู้สกึ แข็ง แรง แน่นอน หยุดนิ่ง ถูกต้ อง ตรง เข้ มแข็ง ไม่ประนีประนอม รุนแรง เด็ด เดี่ยว ให้ ความรู้สกึ หยาบ และการเอาชนะ เส้ นตรงใช้ มากในทัศนศิลป์ ประเภทสถาปั ตยกรรม
• 2. เส้ นโค้ ง (Curved Line) เส้ นโค้ ง ให้ ความรู้สกึ มีการเคลื่อนไหว เส้ นโค้ ง มีหลายลักษณะ คือ เส้ น โค้ งน้ อย ๆ หรือเป็ นคลื่นน้ อย ๆ ให้ ความรู้สกึ สบาย เปลี่ยนแปลงได้ เลื่อนไหลต่อเนื่อง คลายความกระด้ าง มีความ กลมกลืน ในการเปลี่ยน ทิศทาง มีความเคลื่อนไหวช้ า ๆ สุภาพ เย้ ายวน มีความเป็ น ผู้หญิง นุ่มนวล และอิ่มเอิบ ถ้ าใช้ เส้ นแบบนี ้มากเกินไป จะให้ ความรู้สกึ กังวล เรื่ อย ๆ เฉื่อยชา ขาดจุดหมาย
• 3. เส้ นฟั นปลาหรือเส้ นซิกแซ็ก (Zigzag Line) เป็ นเส้ นคดที่หกั เห โดย กระทันหัน เปลี่ยนทิศทาง รวดเร็วมาก ทาให้ ประสาทกระตุก ให้ ความรู้สกึ รุนแรง ตื่นเต้ น สับสน วุน่ วาย ไม่แน่นอน ให้ จงั หวะ กระแทก เกร็ง ทาให้ นกึ ถึงพลังไฟฟ้า ฟ้าผ่า กิจกรรมที่ขดั แย้ ง ความรุนแรง ต่อสู้ การทาลาย และสงคราม
• เส้ นหนา (Thick) ที่ให้ ความรู้สกึ กระด้ าง ก้ าวร้ าว แข็ง มีพลัง • เส้ นบาง (Thin) ที่ให้ ความบอบบาง ละเอียด ประณีต เปราะบาง • เส้ นประ (Broken) ที่ให้ ความรู้สกึ ไม่แน่นอน ขาดเป็ นห้ วง ไม่ตอ่ เนื่อง ไม่มีพลัง
ทิศทางของเส้น 1. เส้ นแนวนอน (Horizontal Line) เป็ นเส้ นเดินทางตามแนวนอน กลมกลืนกับ แรงดึงดูด ของโลก ให้ ความรู้สกึ ในทางราบ กว้ าง พักผ่อน เงียบ เฉย สงบ นิ่ง เป็ นสัญลักษณ์ของการพักผ่อน ผ่อนคลาย ที่ให้ ความรู้สกึ เช่นนี ้มาจากท่าทางของคนนอนที่เป็ นการพักผ่อน ไป จนถึง ความสงบ ที่เหมือนกับท่านอนของคนไม่มีชีวิต
• 2. เส้ นแนวตัง้ (Vertical Line) เป็ นเส้ นที่มีลกั ษณะตรงกันข้ ามกับเส้ นนอน คือเป็ นเส้ นที่เดินทางใน แนวดิง่ ให้ ความสมดุล มัน่ คง แข็งแรง สูงสง่า พุง่ ขึ ้น จริงจัง และเงียบ ขรึม เป็ นสัญลักษณ์ของ ความถูกต้ อง ซื่อสัตย์ มีความสมบูรณ์ในตัว เป็ นผู้ดี จริงจังเคร่งขรึม สง่า ทะเยอทะยาน และรุ่งเรื อง ทังนี ้ ้มาจาก ท่าทางมนุษย์ เวลาตื่นตัวมีพลัง จะอยูใ่ นลักษณะยืนขึ ้น มากกว่าการ นอนราบ
• 3. เส้ นแนวเฉียง (Diagonal Line) เป็ นเส้ นที่อยูร่ ะหว่างเส้ นนอน กับเส้ นตัง้ ให้ ความรู้สกึ เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่สมบูรณ์ ไม่มนั่ คง ต้ องการเส้ นเฉียง อีกเส้ นหนึง่ มาช่วยให้ มี ความมัน่ คง สมดุลขึ ้น เส้ นที่เฉียงและโค้ ง ให้ ความรู้สกึ ที่ขาดระเบียบ ตามยถากรรม ให้ ความรู้สกึ พุง่ เข้ า หรื อพุง่ ออกจาก ที่วา่ ง ในงาน ออกแบบทัศนศิลป์ เส้ นเฉียง ให้ ประโยชน์ในการลดความกระด้ าง จาก การใช้ เส้ นตัง้ และเส้ นนอน
• ชนิดของเส้ น • รูปลักษณะและทิศทางของเส้ นที่มีแตกต่างกัน ออกไป มากมาย เส้ น เหล่านันมี ้ ทงั ้ เส้ นที่ปรากฏตามสายตา (Visual Elements) และ เส้ นที่ที่ปรากฏในความคิด (Conceptual Elements) เส้ นทัง้ สองชนิดนี ้จะจาแนกออกมาตามแนวทางสร้ างงาน และตามที่ปรากฎ ในงานทัศนศิลป์
• 1. เส้ นแท้ จริง (Actual Line) • หมายถึงเส้ นที่แสดงความคมชัดเข้ ม ในงานศิลปะ แม้ จะมี ความหนา บางอยูใ่ นตัว โดยแสดงบุคลิกของเส้ น ในลักษณะต่าง ๆ เช่น ตรง โค้ ง ซิกแซ็ก โค้ งไป โค้ งมา ฯลฯ หรื อประกอบกันขึ ้นเป็ นรูปร่างและรูปทรง
• 2. เส้ นโดยนัย (Implied Line) • หมายถึง เส้ นที่ไม่ปรากฏรูปเส้ นชัดเจน โดยตรง แต่เป็ นเส้ นที่เกิดจาก องค์ประกอบต่าง ๆ จัดเรี ยงตามตาแหน่ง และทิศทาง ที่ผ้ ดู สู ามารถ รับรู้ได้ โดยนัย และทราบว่าเป็ นเส้ นตรง โค้ ง หรื อ ซิกแซ็ก ซึง่ เส้ นโดยนัย นี ้ ก็จะให้ ความรู้สกึ เช่นเดียวกัน กับเส้ นแท้ จริง
• 3. เส้ นไม่ มีตวั ตน (Psychic Line) • เส้ นไม่มีตวั ตน หรื อเส้ นโดยจิต หมายถึงเส้ นที่ไม่มีลกั ษณะเส้ นที่แท้ จริง และเส้ นโดยนัย แต่เป็ นเส้ นจะปรากฏให้ สามารถรับรู้ได้ จาก องค์ประกอบ เนื ้อหา เรื่ อราว ด้ วยความรู้สกึ ว่ามีเส้ นปรากฏอยู่ แต่ความ จริงแล้ วไม่มี เส้ นในลักษณะนี ้ ต้ องอาศัยจิตนาการ ของผู้ดเู ป็ นสาคัญ
• 4. เส้ นที่เกิดจากขอบ (Line Formed by Edges) • หมายถึงเส้ นที่ไม่ใช่เกิดจาก การเขียนหรื อการลาก ขูดขีดให้ เกิดเป็ น เส้ นโดยตรง แต่เป็ นเส้ นที่เกิดจากส่วนประกอบ มูลฐานหรื อทัศนธาตุ อื่น ๆเช่น รูปร่าง รูปทรง สี หรื อน ้าหนักอ่อนแก่ ที่นามาจัดองค์ประกอบแล้ ว ส่วน ขอบที่มาชนกันเกิดเป็ นเส้ นขึ ้นมา เช่นเส้ นที่ปรากฎ ในธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้ อมรอบตัวเรา
รูปร่ างและรูปทรง 006133 Basic Design
• รูปร่าง ตามความเข้ าใจทัว่ ไป หมายถึง การล้ อมรอบ หรื อการบรรจบกัน ของเส้ น บนพื ้นที่วา่ ง • มีรูปลักษณะ แบนราบเป็ น 2 มิติ • แต่ในทางทัศนศิลป์แล้ ว รูปร่าง มีความหมายมากกว่านัน้ เพราะรูปร่าง เกิดขึ ้นจากความสัมพันธ์ ของส่วนประกอบ ขันมู ้ ลฐานของศิลปะ Element อย่างใดอย่างหนึง่ หรื อ หลาย ๆ อย่างพร้ อมกัน ซึง่ ได้ แก่ จุด เส้ น สี หรื อพื ้นผิว ฯลฯ
• รูปร่าง ไม่แสดงน ้าหนักแสงเงา ให้ เห็นเป็ น ปริมาตรหรื อมวล ดังเช่นรูปทรง • แต่ทงรู ั ้ ปร่าง และรูปทรง จะมีความสัมพันธ์กนั อย่างใกล้ ชิด • เพราะการจะกาหนดว่า สิง่ นันคื ้ อรูปร่าง หรื อรูปทรง ก็อยูท่ ี่ การพิจารณา จากองค์ประกอบอื่น ๆ ด้ วย
• รู ป (A) มี ความกว้างและความยาว เป็ น 2 มิ ติ คือรู ปร่ าง • รู ป (B) เพิ่ มความลึกเป็ น 3 มิ ติ ถ้าจะมองว่ามี ความลึก มีปริ มาตร(Valume) และมวล(Mass) ก็คือรู ปทรง แต่ถา้ จะมองว่า มิ ติที่ 3 นัน้ เป็ นมิ ติลวง (Pictorial Space) ไม่ใช่มิติจริ ง (Physical Space) เพราะปรากฏบนพืน้ ระนาบ 2 มิ ติ ก็อาจเรี ยกว่า รูปร่ าง • รู ป (C ) ถ้ามองแค่เส้นรอบนอก หรื อภาพเงา(Sillhouette) ก็คือเป็ นรู ปร่ าง • รู ป(D) เป็ นรู ปร่ างถ้าจะมองว่ามี ความเป็ นกลุ่มก้อน หรื อมวล(Mass) ก็คือรู ปทรง
• รู ปร่ างทีเ่ กิ ดจากจุด เส้น น้าหนัก
รูปร่ างธรรมชาติ (Natural Shape)
รูปร่ างเรขาคณิต (Geometric Shape)
รูปร่ างนามธรรม (Abstract Shape) • รูปร่างที่ถกู เปลี่ยนแปลง อาจเป็ นรูปร่าง ที่มาจากธรรมชาติ เรขาคณิต หรื อจากจินตนาการ ซึง่ รูปร่างลักษณะนี ้ อาจพอมองออกว่า คล้ ายกับ รูปร่างอะไร หรื อไม่สามารถระบุได้ วา่ เป็ นรูปร่างอะไร อาจเรี ยก รูปร่าง ชนิดนี ้ว่ารูปร่าง ไม่แสดงเนื ้อหาหรื อรูปร่างอิสระ ซึง่ เป็ นรูปร่าง ที่เกิดขึ ้น โดยไม่จาเป็ นต้ อง อ้ างอิงธรรมชาตหรื อเรขาคณิต
Positive - Negative Shape
• รูปทรง (Form) จะมีความสัมพันธ์ กันอย่างใกล้ ชิดกับรูปร่าง • แต่รูปทรง มีความแตกต่าง อย่างเห็น ได้ ชดั เจนที่สดุ • รูปทรงมีลกั ษณะเป็ น 3 มิติ คือ นอกจากจะมีสว่ น กว้ าง และ ส่วนยาว แล้ ว จะแสดงส่วนหนา หรื อส่วนลึกเพิ่มขึ ้น อีกมิติหนึ่ง
• การที่จะศึกษาเรื่ องรูปทรงอย่างลึกซึ ้ง ควรจะศึกษาถึงลักษณะ ที่เด่นชัด อีก ประการหนึง่ ของรูปทรงก็คอื • มวลและปริมาตร (Mass and Volume) เพราะสิง่ นี ้ เป็ นสิง่ ที่สาคัญที่ สร้ างความแตกต่างระหว่างรูปร่าง และ รูปทรง • รูปทรงจะมีมวล และปริมาตร เพราะสิง่ นี ้ ทาให้ เกิดมิติจริง (Physical Space) ที่ทาให้ วตั ถุนนมี ั ้ ความกว้ าง ยาว ลึก ทาให้ เกิดความรู้สกึ แน่นทึบ หรื อเป็ นกลุม่ เป็ นก้ อน ที่จบั ต้ องได้ วัดระยะได้
• เมื่อเราพับ หรื อขึ ้นรูปกล่องสี่เหลี่นมจตุรัส ใบหนึง่ ก็จะเกิดที่วา่ งภายใน รูปสี่เหลี่ยมนี ้ ส่วนนี ้ เรี ยกว่า ปริมาตร (Valume) และรูปทรง สี่เหลี่ยมภายนอก ที่เกิดขึ ้น ที่มีลกั ษณะทึบตันนี ้ เรี ยกว่า มวล (Mass)
• พืน้ ทีภ่ ายในของสถาปั ตยกรรมคือ ปริ มาตร (Volume) และรู ปทรงภายนอกคือ มวล (Mass)
• ในบางกรณี รูปทรง อาจหมายถึง รูป 3 มิตทิ ี่เป็ นมิติลวง (Pictoral Space) หมายถึงรูปนันมี ้ ระยะ มีความลึกมีความเป็ นมวลและ ปริมาตร เช่นเดียวกัน แต่สงิ่ ที่มองเห็นนี ้ ไม่สามารถจับต้ องได้ หรื อวัด ระยะได้ ตามความเป็ นจริง ดังตาเห็นเช่น งานจิตรกรรม ทีป่ รากฏ ใน ลักษณะ แบนราบ 2 มิติ บนพื ้นระนาบ เป็ นต้ น
• รูปที่ดแู ล้ ว สามารถ ระบุได้ วา่ เป็ นรูปอะไร หรื อเหมือนกับอะไร • การระบุวา่ เป็ น หรื อเหมือนสิ่งใดสิ่งหนึง่ นี ้ นี ้เกิดจากสัญชาติญาณ การ เรี ยนรู้ ประสบการณ์ ของมนุษย์ ซึง่ ไม่เท่ากัน ทาให้ บางรูป สามารถ เข้ าใจได้ ”ทันที” จากสัญชาติญาณ • เช่น รูปเหมือนจริง ในธรรมชาติ รูปพื ้นฐานทางเรขาคณิตบางรูป อาจ ต้ องใช้ ความรู้ ประสบการณ์ และจินตนาการเข้ าไป ร่วมพิจารณาด้ วย
• การคลีค่ ลายจากรู ปทรงทีร่ ู้จกั มาสู่รูปทรงในจิ นตนาการ ชือ่ Reclining Figure • โดย Henry Moore
ขนาดและสั ดส่ วน 006133 Basic Design
ขนาด (Size หรือ Scale) สั ดส่ วน (Proportion)
• มนุษย์ เป็ นพื ้นฐานของสัดส่วนทังมวล ้ มาตังแต่ ้ สมัยกรี ก • โดยมีคากล่าวว่า " มนุษย์ เป็ นมาตรวัดของทุกสิง่ " (Man is the Measure of all things) • ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ลีโอนาโด ดา วินซิ ได้ เขียนแผนภาพ (Diagram) มนุษย์ภายในวงกลม และสี่เหลี่ยม • ตามการศึกษา เรื่ อง สัดส่วนมนุษย์ ของ ยุคลิด (Euclid ปราชญ์ด้านคณิตศาสตร์ ในสมัย กรี ก โบราณ) • ที่มีชื่อเรี ยกว่า "The Golden Rule"
• ขนาด เป็ นส่วนย่อย (Detail) หมายถึง ขนาดความใหญ่ ความเล็ก ความกว้ าง ความยาว หรื อความลึก ของสิ่งใดสิง่ หนึง่ ซึง่ วัดได้ ตาม มาตรา ที่มนุษย์ได้ กาหนดหน่วยวัดขึ ้นมา เพื่อเป็ นมาตรฐานใช้ เรี ยกกัน • สัดส่ วน เป็ นส่วนรวม (Mass) หมายถึงความสัมพันธ์ระหว่าง สิง่ สอง สิง่ ที่มีขนาดต่างกัน เช่นการที่จะระบุวา่ ขนาดนันมี ้ ความใหญ่ เล็ก หรื อ มีความเหมาะเจาะพอดีแค่ไหนนัน้ • ต้ องนาไปเปรี ยบกับขนาดโดยส่วนรวม (Mass) ที่เรี ยกว่าสัดส่ วน (Proportion)
• ปราชญ์ในสมัยกรี กโบราณได้ ศกึ ษา ขนาดและสัดส่วน ของรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้ า ที่มีสดั สวนงดงาม ลงตัว ที่เรี ยกว่า สัดส่ วนทองคา • "The Golden Mean Rectangle" หรื อ "The Golden Rectangle" • คือสัดส่วน 1: 1. 618... และได้ ใช้ เป็ นต้ นแบบในการ ออกแบบ สถาปั ตยกรรม ในสมัยนัน้
พืน้ ผิว ผิวสัมผัส
Texture
• ศิลปิ นจะใช้ พื ้นผิว สร้ างความงาม และค่าน ้าหนัก เพื่อให้ เกิดความ ประสานกลมกลืน ความแตกต่าง และจุดเด่น เป็ นต้ น • โดยเฉพาะการออกแบบสถาปั ตยกรรม ลักษณะผิวจะมีประโยชน์ มากกว่า งานออกแบบทัศนศิลป์ ประเภทอื่น • เพราะลักษณะผิว สนองทังประโยชน์ ้ ใช้ สอย และความงาม โดย สถาปนิกจะเลือกวัสดุที่มีพื ้นผิว แตกต่างกันมาใช้ เช่น ลักษณะผิวที่ หยาบ เรี ยบ มัน จะมีคณ ุ สมบัติในการใช้ สอยแตกต่างกัน • ในการออกแบบ ศิลปะประยุกต์ เช่น การออกแบบเครื่ องใช้ ใน ชีวิตประจาวัน คุณสมบัตทิ างกายสัมผัสของลักษณะผิว ก็มี ประโยชน์ ไม่น้อยกว่าทางด้ านความงาม
• พื ้นผิว หมายถึงบริเวณผิวนอกของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฎให้ เห็น รับรู้ได้ ด้วยการ รับสัมผัสทางตาและกายสัมผัส ก่อให้ เกิดความรู้สกึ ในลักษณะต่าง ๆ • เช่น หยาบ ละเอียด มัน วาว ด้ าน และขรุขระ พื ้นผิว เป็ นส่วนประกอบ (Element) ที่สาคัญของศิลปะอันหนึง่ ที่ถกู นา มาใช้ สร้ างสรรค์ ทัศนศิลป์ • พื ้นผิวสามารถก่อให้ เกิดปฏิกิริยาทางด้ านความรู้สกึ รับรู้ได้ ด้วยการรับ สัมผัสทางตา และจับต้ องได้ ทางกาย สัมผัส
• เกิดขึน้ ตามธรรมชาติิ • ได้ แก่พื ้นผิวของสิง่ ต่าง ๆ ในธรรมชาติ และสิง่ มีชีวิต เช่น เปลือกไม้ ก้ อน กรวด ก้ อนหิน กิ่งไม้ ใบไม้ ผิวหนังสัตว์ ฯลฯ
• เกิดขึน้ โดยมนุษย์ สร้ างขึน้ • ได้ แก่ การขูด ขีด ระบาย ฯลฯ ให้ เกิดเป็ นร่องรอยพื ้นผิว ในลักษณะต่าง ๆ เช่น การเขียนเส้ นด้ วยปากกา ดินสอ การเขียนสีด้วยแปรงแห้ ง ๆ การ ใช้ ฟองน ้า แตะแต้ มสีบนกระดาษ ในงานจิตรกรรม การสร้ างพื ้นผิว หยาบ และละเอียด ในงานประติมากรรม และสถาปั ตยกรรม
• เกิดขึน้ โดยกระบวนการผลิตของเครื่องจักร • การเกิดของพื ้นผิวลักษณะนี ้ ถือว่า เกิดขึ ้นโดยมนุษย์เช่นเดียวกัน แต่ ผ่านทางเครื่ องจักร ไม่ใช่โดยน ้ามือมนุษย์โดยตรง ซึง่ ทาให้ ได้ พื ้นผิวที่ หลากหลาย และพื ้นผิวที่เกิดขึ ้นนี ้ มีทงล้ ั ้ อเลียนจากธรรมชาติ และ พื ้นผิวที่สร้ างขึ ้นมาใหม่ เพื่อประโยชน์ ทางใดทางหนึง่
ลักษณะของพืน้ ผิว • 1. พืน้ ผิวจริง (Real Textures) • หมายถึงพื ้นผิวที่สามารถจับต้ องได้ เช่น เปลือกของต้ น ไม้ ใบไม้ ก้ อน หิน ก้ อนกรวด ผลไม้ ผิวหนังคน สัตว์ ฯลฯ • พื ้นผิวลักษณะนี ้มนุษย์สามารถ สัมผัสได้ ทังทางจั ้ กษุสมั ผัส และกาย สัมผัส (Tactile Textures ) และความรู้สกึ ที่สมั ผัสได้ ก็มกั จะ ตรงกัน ทังที ้ ่ตาเห็นและการสัมผัส • พื ้นผิวจริง จะมีคณ ุ สมบัติของ ส่วนประกอบอื่น มาเกี่ยวข้ องโดยตรงก็ คือ น ้าหนัก และทิศทาง ของแสงและเงา เพราะสิ่งนี ้ จะทาให้ การ เกิด ของพื ้นผิว เด่นชัดขึ ้น
• พืน้ ผิวเทียม (Artificial Textures) • หมายถึงพื ้นผิวที่เลียนแบบพื ้นผิวจริง และเป็ นพื ้นผิวที่ รับรู้ได้ ทางจักษุ สัมผัส (Visual Textures) โดยรู้สกึ ได้ โดย ประสบการณ์ที่เคย รับรู้จากพื ้นผิวจริง เช่น มองเห็นว่า เรียบมัน หยาบ ขรุขระ ฯลฯ • แต่เมื่อสัมผัสจากทางกาย อาจจะมีลกั ษณะ คล้ อยตามกับที่ตาเห็น หรื อค้ านกับที่ตาเห็น ก็ได้
• • • •
พื ้นผิวมีความสาคัญต่องานออกแบบทัศนศิลป์ใน 2 ด้ านคือ ด้ านอารมณ์ ความรู้สกึ จากการมองเห็นหรื อทางจักษุสมั ผัส ต่อพื ้นผิวนัน้ ด้ าน ประโยชน์ใช้ สอยจากคุณสมบัติของ พื ้นผิวนันโดยตรง ้ แต่ในทาง ทัศนศิลป์ความสาคัญของพื ้นผิว ต่อความรู้สกึ ด้ านด้ านอารมณ์ จะมีความ สาคัญมากกว่า
• พืน้ ผิวละเอียดเรียบ • ลักษณะทางกายภาพ ของ พื ้นผิวแบบนี ้จะสะท้ อนแสง และถ้ ามีน ้าหนัก แสง เงาเกิดขึ ้น ก็จะเป็ นน ้าหนักแสง เงา ที่น่มุ นวล ซึง่ จะให้ ความรู้สกึ นุ่มนวล บอบบาง เบา สุภาพ และถ้ าพื ้นผิวเรี ยบ มีความมันวาว ก็จะให้ ความรู้สกึ หรูหรามีราคา
• พืน้ ผิวหยาบไม่ เรียบ ลักษณะทางกายภาพ ของ พื ้นผิวแบบนี ้จะดูดซับแสง และทาให้ น ้าหนัก ของแสง เงา ที่เกิดขึ ้น มีน ้าหนักที่รุนแรง จะให้ ความรู้สกึ เข้ มแข็ง หนัก แน่น มัน่ คง น่ากลัว กระด้ าง.
Value
• นา้ หนักอ่ อนแก่ ของแสงและเงา ที่ปรากฏบนวัตถุนนเป็ ั ้ นผลมาจาก แสงสว่าง ในธรรมชาติหรื อแสงสว่างที่มนุษย์ ประดิษฐ์ ขึ ้น • เมื่อใดที่แสง ตกกระทบวัตถุจะเกิด เป็ นบริ เวณ สว่างและบริเวณมืดโดย บริ เวณสว่าง และบริ เวณมืดจะค่อย ๆ กระจาย ค่าน ้าหนักความอ่อนแก่ได้ อย่างกลมกลืน ปรากฏเป็ น ปริ มาตรของรูปทรงของวัตถุ • เรื่ องของนา้ หนัก จึงเกี่ยวข้ อง โดยตรง กับแสงสว่ าง • ถ้ าปราศจากแสงสว่าง หรื อมีปริ มาณน้ อย รูปทรงของวัตถุก็จะพร่ามัวหรื อ มองเห็นได้ ไม่ชดั เจน • กล่าวได้ วา่ น ้าหนัก เป็ นการตอบสนองทางการเห็นจากการเกิดของแสงสว่าง และเงามืด ที่ปรากฏบนวัตถุ
ในทางทัศนศิลป์ น้ าหนักอ่อนแก่ หมายถึงความอ่อนแก่ บริ เวณเนื้อที่ ของ วัตถุที่ถูกแสงและ บริ เวณเนื้อที่ที่เป็ นเงา อาจจะมีน้ าหนักอ่อนตั้งแต่ ขาว จนถึงดา นอกจากนี้น้ าหนักแสงเงา ยังให้ผลอื่น ๆได้อีก
• สร้ างพืน้ ผิว • ค่าของแสงเงาที่ตกกระทบพื ้นผิวใด ๆ ก็จะเกิดค่าน ้าหนัก ความอ่อนแก่ ทาให้ พื ้นผิวนัน้ มีลกั ษณะต่างกันออกไป เช่น มีความเรียบ แบน มี ความกลมหรือความเป็ นเหลี่ยม นูนออกมา เป็ น 3 มิติ
• สร้ างสี • สีทกุ สี เมื่อถูกแสงเงาตกกระทบ ก็จะมีคา่ ของสี และค่าน ้าหนัก ที่แตกต่างกัน
• สร้ างความตัดกัน เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างความมืด ความสว่าง ความอ่อน ความแก่ ที่อยูใ่ นตาแหน่ง ใกล้ เคียงกัน
• ค่ านา้ หนักแสงเงา (Chiaroscuro) • เป็ นเทคนิคของการเขียนภาพ ที่กาหนด ให้ มีแสง ส่องมายังวัตถุในภาพ เกิดเป็ น ค่าน ้าหนัก ของแสงเงา เป็ นที่นิยมของศิลปิ นหลายคน เช่น Michelangelo เป็ นต้ น
• ค่ านา้ หนักแบบ 2 มิติ • หมายถึงน ้าหนักที่ปรากฏบนพื ้นผิว 2 มิติ ที่มีแค่ ความกว้ างและความ ยาว ทาให้ เกิดความแตกต่าง ของน ้าหนักในภาพ เป็ นส่วนกาหนดรูป และพื ้น และอื่น ๆ
ค่ านา้ หนักแบบ 3 มิติ
• ค่าน ้าหนักที่แสดง ความกว้ าง ความยาว และความลึก • ให้ ความเป็ น 3 มิติ แก่รูปร่างเกิดเป็ นมิติลวงเพิ่มขึ ้น • เช่น ที่ปรากฏในงานจิตรกรรม และ ภาพพิมพ์
• ค่าน ้าหนักที่ปรากฏในรูปทรง 3 มิติ เช่นในประติมากรรม สถาปั ตยกรรม ทาให้ รูปทรงนัน้ มีมวล (Mass)และปริมาตร (Value) เกิดมิติ ที่ ชัดเจน สามารถสร้ างอารมณ์ และ ความรู้สกึ ตามต้ องการ นอกจากนี ้ แสงเงาที่ปรากฏยังวัตถุ ยังสร้ างพื ้นผิวของวัตถุนนั ้ ให้ เด่นชัดขึ ้น
• มนุษย์สามารถแยกแยะค่าน ้าหนักของแสง ที่ปรากฏยังวัตถุ ได้ หลายค่าน ้าหนัก
Color 006133 Basic Design
•
เซอร์ ไอแซค นัวตัน พบว่า แสงอาทิตย์มีสี ต่าง ๆ รวมกันอยู่ เมื่อให้ แสงอาทิตย์สอ่ งผ่านแท่งแก้ ว รูปสามเหลี่ยม (Prism) แสงที่ผา่ น ออกมาอีกด้ านหนึง่ จะมี 7 สี ดังที่ เห็นในสีร้ ุงกินน ้า Red, Yellow, Orange, Green, Blue, Indego, Violet หรื อเรี ยกเป็ นชื่อย่อว่า ROY G BIV
•
สีโทนร้อน (Warm Tone) ทาให้มองดูแล้ว เหมื อนอยู่ใกล้ ใช้สีโทนเย็น (Cool Tone) ทาให้รู้สึกอยู่ไกลออกไป ทาให้เกิ ดเป็ นระยะ
• •
แม่สีลบ (Substractive Color) แม่สีของช่างเขียน (Artist Color) หรื อแม่สีวตั ถุธาตุ (Pigmentary color) ประกอบด้ วยสี 3 สี คือ สีเหลือง (Yellow) สีแดง (Red) สีน ้าเงิน (Blue) แม่สีชา่ งเขียน (Artist Color) เมื่อสีทงสามมี ั้ การผสมกันเป็ นคู่ ๆ ก็จะเกิดเป็ นสีตา่ ง ๆ และเมื่อผสมกันไปเรื่ อย ๆ ในขันสุ ้ ดท้ าย ทาให้ ไม่มี แสงสีใด สามารถสะท้ อนออกมาไดั ก็จะเป็ นความมืด หรื อสีดาอาจเรี ยกได้ วา่ เป็ นการผสมสีแบบลบ (Subtractive Mixing)
การใช้ สีเอกรงค์ (Monochromatic Colors)
•
กลมกลืน ไม่เกินสามสี จืดชืด ผสมคูต่ รงข้ าม
การใช้ สีแบบสี ใกล้ เคียง (Relate Color, Anagolous Colors)
การใช้ สีแบบวรรณะ (WarmTone / Cool Tone)
การใช้ สีส่วนรวม (Tonality)
การใช้ สีแบบค่ าของสี (Value of Color) • ค่าของสี หมายถึง ลักษณะความเข้ มหรื อความอ่อน – แก่ ของสีที่ไล่เลีย่ กัน การใช้ สีแบบค่าของสีนี ้ คือ การใช้ สแี ท้ (Hue) ผสมกับสีกลาง คือสีดา สีขาว สีเทา ทาให้ ค่าของสี (Value) นั ้นอ่อน หรือเข้ มขึ ้น
การใช้ สีแบบแตกต่ างกัน • การใช้ สีแบบแตกต่ างกันชนิดตัดกันอย่ างแท้ จริง (True Contrast)
• สีตดั กันนี ้ อาจเรี ยกอีกชื่อหนึง่ ว่า สีค่ ู (Complementary Color) เพราะนอกจาก จะมีทิศทางที่เป็ นสีคตู่ รงกันข้ ามกัน ในวงสีแล้ ว ยังมีอทิ ธิพลซึง่ กันและกัน เช่น ในเงาของสีแต่ละสี จะมีเงา ของ สีคเู่ จือปนอยู่ ทาให้ ยดึ ถือเป็ น ทฤษฎีวา่ หากต้ องการทาให้ สีใด ๆ หม่นลง หรื อเหมือนกับอยูใ่ นเงามืดแล้ ว ให้ ใช้ สีคตู่ รงกันข้ ามนี ้มาผสม จะทาให้ ผลที่ได้ เป็ นธรรมชาติ ที่ถกู ต้ อง แท้ จริง การ ใช้ สีวิธีนี ้ ทาให้ งานออกแบบนัน้ มีความโดดเด่น สะดุดตา น่าสนใจ แต่ควรมี แนวทาง การใช้ ที่ถกู ต้ อง เพราะสีคเู่ หล่านี ้ มีคา่ ของสีที่ตดั กัน อย่างรุนแรง
ในธรรมชาติได้ จัดสั ดส่ วนของสี ตัดกันอย่ างแท้ จริ ง ได้ อย่ างลงตัว
การใช้ สีแบบแตกต่ างกันชนิดสี ตรงกันข้ ามเยือ้ ง (Split Complementary Colors) • สีตรงกันข้ ามเยื ้อง (Split Complementary Colors) หมายถึงสี คูต่ รงกับข้ าม ที่อยูเ่ ยื ้องมาทางซ้ ายและทางขวาของ สีคปู่ ฏิปักษ์ เช่น สีคตู่ รงกันข้ ามเยื ้องของ สีเหลือง คือ สีมว่ งแดง และม่วงน ้าเงิน สีคตู่ รงกันข้ ามเยื ้องของ สีมว่ ง คือ สีส้มเหลือง และเขียวเหลือง
การใช้ สีแบบแตกต่ างกันชนิดสี ตัดกันโดยนา้ หนัก (Value Contrast) • สีตดั กันโดยน ้าหนัก (Value Contrast) ได้ แก่สีที่มีความแตกต่าง กัน ในเรื่ องความเข้ ม หรื อคุณค่าน ้าหนัก (Value)ของแต่ละสี ซึง่ ไม่ใช้ สีคตู่ รงข้ าม (Complementary Colors) กันในวงสี ความเข้ ม หรื อตัดกัโดยน ้าหนักนี ้ จะมีตดิ ตัวเป็ นลักษณะเฉพาะ ของแต่ละสี ซึง่ จะ เห็นได้ ชดั เจน หากปรับค่าสีเหล่านันมาเป็ ้ นค่าน ้าหนัก ขาว ดา •
การใช้ สีแบบแตกต่ างกันชนิดไตรสั มพันธ์ (Triadic Color)
การใช้ สีแบบแตกต่ างกันชนิดจตุสัมพันธ์ (Quadratic Color)
การใช้ สีแบบแตกต่ างกันชนิดสี ปรากฏเด่ นชัด (Intensity) • สีปรากฏเด่นชัด (Intensity) หมายถึง สีที่ดู แล้ ว สะดุดตาโดยมีสีอื่น เป็ น องค์ประกอบ เพื่อ เสริมให้ เกิด ความ เด่นชัดสะดุดตามากขึ ้น กว่าค่า น ้าหนักเดิม • เช่นเดียวกับ ดวงจันทร์ จะเห็นเด่นชัดในเวลา กลางคืน เพราะอยู่ ท่ามกลางท้ องฟ้า ที่มืดหรื อมี ค่าน ้าหนักที่เข้ ม
การใช้ สีแบบแตกต่ างกันชนิดกลับค่ าของสี (Discord) • การใช้ สีโดยการกลับค่าของสี คือ การใช้ สีที่มีน ้าหนักอ่อน ร่วมกับสีที่มี น ้าหนักแก่ แต่กลับน ้าหนักของสีแก่นนให้ ั ้ ออ่ นลงกว่าสีที่มี น ้าหนักอ่อน และใช้ ในปริมาณที่น้อยกว่า
ความหมาย • Exhibition • การจัดนาเอาภาพถ่าย ภาพเขียน สถิต ิ แผนภูม ิ การทดลอง การตอบปั ญหาหรือ วัสดุกราฟิ กอืน ่ ๆ มาจัดแสดงพร ้อมคา บรรยายประกอบ การอภิปรายและสาธิตใน เรือ ่ งต่างๆ ทีน ่ ่าสนใจ หรือกาลังอยูใ่ นความ สนใจของกลุม ่ เป้ าหมาย
คาใกล ้เคียง • Display = การจัดแสดง ิ ค ้าต่างๆ หรือผลิตภัณฑ์ – การจัดแสดงสงิ่ ของเครือ ่ งใช ้ สน สง่ เสริมการขาย – มักจะเกีย ่ วข ้องกับธุรกิจ – พบทัว่ ไปในห ้างร ้าน ศูนย์การค ้า
• Exposition = มหกรรม ้ – มีขนาดใหญ่กว่านิทรรศการ ใชเวลาเตรี ยมงานนาน – สว่ นใหญ่จะแสดงถึงความก ้าวหน ้าทางเทคโนโลยี ึ ษาค ้นคว ้าทางวิชาการ หรือ นวัตกรรม+สงิ่ ประดิษฐ์ การศก ใหม่ๆ
ประเภทของนิทรรศการ: แบ่งตามสถานที่ • นิทรรศการกลางแจ ้ง (Outdoor exhibition) ้ – ขนาดใหญ่ พืน ้ ทีจ ่ ัดแสดงกว ้างขวาง ใชเวลาจั ด ระยะยาว – สถานที่ – ศาลา ปะรา เต็นท์
• นิทรรศการในร่ม (Indoor exhibition) – ขนาดย่อม เป้ าหมายจานวนจากัด ระยะเวลาการจัด ั ้ กว่าแบบแรก สน ั ห ้องโถง หรือ ห ้องประชุม – สถานทีจ ่ ะอาศย
Outdoor
Indoor
ประเภทของนิทรรศการ: แบ่งตามความคงทนถาวร
• นิทรรศการถาวร (Permanent ex.) – จัดแสดงเรือ ่ งราวทีเ่ กิดขึน ้ แน่นอนแล ้ว – เป็ นเรือ ่ งทางประวัตศ ิ าสตร์ ความเป็ นมาต่างๆ ึ ษาหาความรู ้ได ้ตลอดเวลา – เข ้าศก
• นิทรรศการชวั่ คราว (Temporary ex.) – จัดแสดงเรือ ่ งทีเ่ กิดเร่งด่วน หรือความรู ้ใหม่ๆ ่ โรคต่างๆ เทคโนโลยีสมัยใหม่ เป็ นต ้น – เชน
• นิทรรศการหมุนเวียน (Traveling ex.) – หมุนเวียนไปตามพืน ้ ทีต ่ า่ งๆ ี ค่าใชจ่้ ายค่อนข ้างสูง – เสย
Permanent exhibition
Temporary exhibition
Traveling exhibition
ประเภทของนิทรรศการ: แบ่งตามจุดมุง่ หมาย
ั พันธ์ • นิทรรศการเพือ ่ ประชาสม ื่ ประชาสม ั พันธ์ไปสู่ – เป้ าหมายเพือ ่ ใชส้ อ กลุม ่ เป้ าหมาย
ึ ษา • นิทรรศการเพือ ่ การศก – จัดขึน ้ ภายในโรงเรียน มหาวิทยาลัย เพือ ่ ให ้ความรู ้ ในเรือ ่ งใดเรือ ่ งหนึง่
• นิทรรศการเพือ ่ สง่ เสริมการขาย – เพือ ่ สง่ เสริมการขายของบริษัทหรือร ้านค ้า – มักจัดในโรงแรม หรือ หอประชุม
วัตถุประสงค์ของการจัดนิทรรศการ ึ ษาด ้านต่างๆ ตามกลุม • เพือ ่ ให ้การศก ่ เป้ าหมาย • เพือ ่ เผยแพร่ขา่ วสาร ข ้อมูล • เพือ ่ กระตุ ้นให ้กลุม ่ เป้ าหมาย ร่วมมือกับ หน่วยงานหรือสถาบัน • เพือ ่ ความบันเทิง สนุกสนาน
ขัน ้ ตอนการจัดนิทรรศการ • ขัน ้ วางแผน – ตัง้ หัวเรือ ่ ง – วัตถุประสงค์
• การเตรียม – – – – – –
รวบรวมแนวคิด กาหนดสถานที่ กาหนดกิจกรรมสาหรับผู ้ชม ออกแบบ ทาแผนผัง ั ลักษณ์ท ี่ ทาตัวอักษรและสญ ต ้องการ
• การจัดทา – หาบุคลากร – หาวัสดุ อุปกรณ์
ั พันธ์ • การประชาสม – วิทยุ โทรทัศน์ แผ่นพับ โปสเตอร์
• การนาเสนอ – พิธเี ปิ ด /สาธิตและกิจกรรม ประกอบ
• การประเมินผล – สงั เกตผู ้ชม + แจกแบบสอบถาม
• การติดตาม – ทาเอกสารรายงาน
หลักการจัดแสดง • เน ้นความสาคัญของวัตถุโดยคาบรรยาย • ให ้ความรู ้เกีย ่ วกับวัตถุทจ ี่ ัดแสดงโดยคาบรรยาย ั พันธ์ของเรือ • ความสม ่ งราวจากจุดหนึง่ ไปอีกจุด หนึง่ ั ซอน ้ พิสดาร ไม่เกะกะ • จัดแบบง่ายๆ ไม่ต ้องซบ
หลักการออกแบบนิทรรศการ • ความเด่น – เน ้นเสน้ ทิศทาง รูปแบบ รูปร่าง ขนาด ส ี เพือ ่ ดึงดูดความ สนใจ
• ความสมดุล – จัดสองข ้างให ้เท่ากัน ึ – ความสมดุลทางสายตาหรือความรู ้สก
• ความต่อเนือ ่ ง – ความกลมกลืนของเสน้ รูปร่าง ทีว่ า่ ง ส ี พืน ้ ผิว ขนาดและ ทิศทาง
หลักการออกแบบนิทรรศการ (ต่อ) ั สว่ น • สด – อย่าวางสงิ่ ของจนแน่นเกินไป ทาให ้ไม่โปร่งตา • การเน ้น – เน ้นเพือ่ ให ้ผู ้ชมเข ้าใจ ทาให ้เกิดความคิด รวบยอด โดยมีการเน ้นดังนี้ ้ นน ้ าสายตาไปยังจุดทีต – เน ้นด ้วยเสน้ – ใชเส ่ ้องการ – เน ้นด ้วยส ี – ใชวั้ สดุทม ี่ ส ี เี ด่น หรือเป็ นฉากหลัง เป็ น ี เี่ รียบง่าย หรือสใี นกลุม สท ่ เดียวกัน ่ งว่าง - นาวัสดุทต – เน ้นด ้วยการใชช้ อ ี่ ้องการเน ้น ติดตัง้ ไว ้ในตาแหน่งทีเ่ ด่น
LOGO
1. ศึกษาว่ าโลโก้ คอื อะไร และ มีหน้ าทีอ่ ย่ างไร ? • สะท้ อนถึงภาพลักษณ์ในทางการตลาดของธุรกิจของคุณ (Brandยี่ห้อ) ผ่านทาง รูปร่าง ตัวอักษร สี หรื อ รูปภาพ • โลโก้ สามารถสร้ างแรงบันดาลใจ ความเชื่อ ความนิยม และการจดจา เกี่ยวกับองค์กรหรื อสินค้ า และมันคืองานของ Designer
2. ศึกษาหลักการในการออกแบบโลโก้ • • • •
โลโก้ ต้องสื่อตัวตนได้ โลโก้ ต้องเป็ นที่จดจา โลโก้ ต้องสื่อได้ แม้ ไม่ได้ ใช้ สีสนั โลโก้ ต้องสื่อได้ แม้ ขนาดเล็กๆ
3. ศึกษาจากโลโก้ ทปี่ ระสบควาสาเร็จและข้ อผิดพลาดต่ างๆ • โลโก้ : NIKE (เป็ นโลโก้ ที่คลาสสิคมากๆ) ผู้ออกแบบ : Caroline Davidson ในปี 1971 ในราคาเพียง $35 เท่านัน้ แต่เป็ นโลโก้ ที่มีพลังมาก จดจาได้ ง่าย สื่อได้ แม้ ไม่ได้ ใช้ สีสนั และสื่อได้ แม้ ขนาดเล็กๆ มันธรรมดามากๆ ดูรวดเร็ว และสื่อถึงปี กของรูปปั น้ เทพธิดาแห่งชัยชนะของกรีก
4. เริ่มต้ นกระบวนการออกแบบโลโก้ ของตัวเอง *สรุปการออกแบบให้ เข้ าใจตรงกัน * ค้ นคว้ าและรวมหัวกันออกไอเดีย * ร่างภาพโลโก้ * สร้ างต้ นแบบ * ส่งไปให้ ผ้ วู า่ จ้ างพิจารณา * ปรับปรุงจนเสร็จตามความต้ องการ * ส่งไฟล์ให้ ผ้ วู า่ จ้ างและให้ บริการหลังการขาย
“Tips from The Logo Factory Designers”
• • • • • • •
เริ่มให้ ดแี ละทาอย่ างถูกต้ อง เรียบง่ าย เป็ นดี ขนาดโลโก้ ท่ปี รับได้ ตงั ้ แต่ เล็กเท่ าขีม้ ดจนถึงเรือไททานิก ถ่ ายทอดจุดเด่ น เอกลักษณ์ หรือความเป็ นตัวตนของบริษัทให้ ชัดเจน เรื่องของความสูงและความกว้ างของโลโก้ ก็สาคัญ โลโก้ มีทงั ้ แบบรูปที่เป็ นไอคอนและแบบตัวอักษร โลโก้ คือตัวลูกค้ าด้ วยเช่ นกัน
• • • • • • •
อย่ าลืมสาระสาคัญหรือแนวคิดหลักของบริษัท โดดเด่ น สะดุดตา คาจากัดความแบบย่ อหรือสโลแกนไม่ ใช่ ส่วนหนึ่งของโลโก้ แตกต่ างสร้ างการจดจา สีของโลโก้ ก็สาคัญ ใช้ รูปแบบของโลโก้ ท่เี ข้ าใจได้ ง่าย อย่ าเปลี่ยนแปลง
• Press Kit เอกสารข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกับประเด็นที่จะ ประชาสัมพันธ์ เอกสารข่าวแจก (Press release) กาหนดการ รายชื่อสื่อมวลชนของที่ระลึก ที่แสดงความเป็ น เอกลักษณ์ขององค์กร • สาหรับมอบให้ สื่อมวลชน ผู้เข้ าร่วมกิจกรรม เช่น เสื ้อยืดปากกา • เพื่อใช้ ในการประชาสัมพันธ์องค์กรและประชาสัมพันธ์โครงการ • โดยจัดรวมใส่แฟ้ม หรื อกระเป๋ า (ขึ ้นอยูก่ บั งบประมาณทีไ่ ด้ รับ)
•
แฟ้มข้ อมูลเอกสารเพื่อการเผยแพร่
• (press kits - media information kits) • ข่าวแจก ภาพถ่าย คาปราศรัย คาบรรยายสรุป ข้ อมูล เบื ้องหลังเกี่ยวกับกิจกรรมหรื อเหตุการณ์ตา่ ง ๆ รายงาน ประจาปี • ใช้ สาหรับแจกจ่ายเนื่องในงานพิเศษหรื อวาระสาคัญต่าง ๆ เช่น การจัดประชุม การแถลงข่าว การให้ สมั ภาษณ์แก่ สื่อมวลชน หรื อในกรณีที่สื่อมวลชนขอมา