Composition design

Page 1

ART COMPOSITION BY BASIC DESIGN 2/2556



ความหมายของพืน้ ทีว่ ่ างในทางทัศนศิลป์

บริ เวณที่เป็ นความว่างไม่ใช่ส่วนที่เป็ นรู ปทรง หรื อ เนื้อหา ในการจัด องค์ประกอบใดก็ตามถ้าปล่อยให้มีพ้นื ที่วา่ งมากและให้มีรูปทรงน้อย การ จัดนั้นจะให้ความรู ้สึกอ้างว้าง โดดเดี่ยว แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าให้มี รู ปทรงมากหรื อเนื้อหามาก โดยไม่ปล่อยให้มีพ้นื ที่วา่ งเลยก็จะให้ความรู ้สึก อึดอัด คับแคบ ดังนั้นการจัดวางในอัตราส่ วนที่พอเหมาะก็จะให้ความรู ้สึกที่พอดีทา ให้ได้ภาพที่ได้สัดส่ วนงดงาม


ความหมายของบริเวณว่ าง  ชะลูด นิ่มเสมอ (2531) ได้กล่าวว่า Space หมายถึง สิ่งที่ขยายกว้างออกโดยไม่มีขอบเขต เป็ นที่ซ่ ึง สิ่ งทั้งปวงดารงอยู่ ระยะห่างระหว่างรู ปทรง ช่วงเวลา อวกาศ 

พาศนา ตัณฑลักษณ์ (2522) ได้กล่าวว่า Space หมายถึง ระยะช่องว่างโดยรอบวัตถุ เรี ยกว่า บริ เวณว่างลบ (Negative Space) และช่องว่างที่ตวั วัตถุเรี ยกว่าบริ เวณว่างบวก (Positive Space) บริ เวณว่างบวกและบริ เวณว่างลบจะต้องมีความสัมพันธ์กนั

เบรนนาร์ด (Brainard, 2522) บริ เวณว่าง คือ ระนาบของกระดาษที่ใช้ออกแบบ เราเรี ยกพื้น ระนาบของกระดาษว่างเปล่านี้วา่ บริ เวณว่าง 2 มิติหรื อที่วา่ งทางาน (working Space) และ เรี ยกบริ เวณว่างที่ลอ้ มรอบสถาปัตยกรรม ประติมากรรม ที่มีความกว้าง ความยาว และเพิ่มความลึกเป็ น 3 มิติวา่ บริ เวณว่างจริ ง (Actual Space) สรุ ปได้วา่ บริ เวณว่าง หมายถึง บริ เวณว่างที่ลอ้ มรอบรู ปทรง ระยะห่างระหว่างรู ปทรง พื้นที่ ระนาบว่างเปล่าหรื อที่วา่ งภายในรู ปทรง มีรูปลักษณะเป็ น 2 มิติและ 3 มิติ

click here


ลักษณะของบริเวณว่ าง บริ เวณว่างในงานทัศนศิลป์ เป็ นบริ เวณว่างที่ถูก ควบคุมให้ดาเนินไปตามที่ผทู้ างานต้องการ ลักษณะของ บริ เวณว่างมี 2 ลักษณะ คือ 1)

บริ เวณว่ างจริ ง (Physical Space)

2)

บริ เวณว่ างลวงตา (Illussion Space)

)


1) บริ เวณว่ างจริ ง (Physical Space)  เมื่อเราอยูบ่ นที่สูง มองไปรอบ ๆ ตัว เราจะเห็นบางสิ่ งใกล้ตวั บางสิ่ งไกลออกไป เกิดระยะทางใกล้ไกลบริ เวณว่าง ลักษณะนี้เรี ยกว่าบริ เวณว่างจริ ง (Physical Space) หรื อ บริ เวณว่าง 3 มิติ(Three Dimension Space) บริ เวณว่าง 3 มิติ คือบริ เวณว่าง ที่มีท้ งั ความกว้าง ความยาว ความลึก เป็ นบริ เวณว่างที่มีปริ มาตร (Volume) ที่สามารถสัมผัสได้ดว้ ยความเป็ นจริ ง ทางกายภาพ (Physical or Actual Space)หรื อ สามารถสัมผัสได้ท้ งั ทางกาย และทางการมองเห็น พร้อม ๆ กัน 

ในงานทัศนศิลป์ ประเภทสถาปัตยกรรม บริ เวณว่าง 3 มิติ ก็จะประกอบด้วย บริ เวณว่าง ภายนอก (Outer Space) ระหว่างตัวอาคาร กับบรรยากาศโดยรอบทั้งปวง กับบริ เวณว่างภายในอาคาร (Inner Space) ที่กาหนดโดยหลังคา ผนัง พื้น มีปริ มาตรภายใน ที่สามาถเข้าไปใช้สอยได้ ซึ่ง บริ เวณว่างทั้ง ภายนอก และภายใน ของสถาปัตยกรรม จะมีความ สัมพันธ์ กันตลอดเวลา คือเป็ นความสัมพันธ์ระหว่างมวล และ ปริ มาตร (Mass and Volume)

บริ เวณว่าง 3 มิติ ในงานทัศนศิลป์ ประเภทประติมากรรม ก็มีบริ เวณว่างทางกายภาพ (Physical or Actual Space) เช่นเดียวกับ สถาปัตยกรรม คือมีบริ เวณว่างภายนอก รอบ ๆ งาน ประติมากรรม เป็ นมิติที่สามารถสัมผัสได้ท้ งั ทางกายและทางการมองเห็น กับบริ เวณว่าภายใน ซึ่งอาจจะเป็ นที่วา่ งก ลวง หรื อทึบตันเป็ นมวล(Mass) แต่ประติมากรรม ไม่มุ่งประโยชน์ใช้สอยบริ เวณว่างภายใน เหมือนกับ สถาปัตยกรรม


2) บริเวณว่ างลวงตา (Illussion Space)

ในทางทัศนศิลป์ มีแนวทางการสร้างบริ เวณว่าง 2 มิติ ให้ดูแล้ว เป็ นบริ เวณว่าง 3 มิติ หรื อบริ เวณว่างลวงตา มีแนวทางดังต่อไปนี้  2.1. การกาหนดขนาดและตาแหน่งในแนวดิ่ง (Size & Vertical Location)
  2.2. การเหลื่อมซ้อนกัน (Overlaping)
  2.3 . การใช้ทฤษฎีทศั นียภาพเชิงเส้น (Linear Perspective) 
  2.4 . การสร้างรายละเอียดและบรรยากาศ (Detail & Atmosphere)  2.5. การใช้สีกบั บริ เวณว่าง (Color and Space)


2.1. การกาหนดขนาดและตาแหน่งในแนวดิ่ง (Size & Vertical Location) วัตถุต่าง ๆ ที่มองเห็นรอบตัวเรา จะมีขนาดเล็ก เมื่ออยูไ่ กลออกไป ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดและ ตาแหน่งในกรณี น้ ี ที่จะแสดงระยะ ความ ลึก ก็คือ ให้วตั ถุ ให้มีขนาดแตกต่างกันออกไปหลายขนาด โดยวัตถุ ที่อยู่ ใกล้ ให้มีขนาดใหญ่และอยูใ่ นตาแหน่งต่ากว่า โดยให้วตั ถุที่อยูไ่ กล มีขนาด เล็กลงเรื่ อย ๆ และมีตาแหน่ง ในแนวดิ่ง สู งกว่าวัตถุขนาดใหญ่ ที่ขา้ งหน้า ขึ้นเรื่ อย ๆ จึงจะเกิดการลวงตาว่ามีความลึก


2.2. การเหลื่อมซ้อนกัน

(Overlaping) เมื่อมองวัตถุต่าง ๆ ทีทบั ซ้อนกันโดยวัตถุที่ถกู บังจะเห็นเพียง บางส่ วนโดยมีบางส่ วนหายไป เรากลับไม่รู้สึกว่าวัตถุที่ถกู บังนั้น มีความ ไม่สมบูรณ์ ตามที่มองเห็นแต่จะรู ้สึกว่า วัตถุที่ถกู บังจะอยูไ่ กลกว่ามี ตาแหน่งในพื้นที่วา่ ง อยูห่ ลังวัตถุที่ อยูข่ า้ งหน้า วิธีการเหลื่อมซ้อนกัน ของ วัตถุน้ ี ทาให้เกิด การลวงตา ในระนาบ 2 มิติ ให้ดูมี ระยะ มีพ้นื ที่วา่ ง มี อากาศ ล้อมรอบระหว่างวัตถุเหล่านั้น


2.3 . การใช้ทฤษฎีทศั นียภาพเชิงเส้น

(Linear Perspective) ทัศนียภาพเชิงเส้น มาจากพื้นฐานที่แสดงว่าเส้นทุกเส้น จะมุ่งสู่จุด ๆ เดียว เรี ยกว่า จุดสุดสายตา (Vanishing Point) จะสังเกตเส้นลักษณะนี้ ได้จากปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นเป็ นจริ งรอบตัว เช่น ถนน ทางรถไฟ ที่ปลายของ เส้นคู่ขนาน ที่วงิ่ ไปไกลสุดสายตา จะมองเห็นค่อย ๆ เล็กตีบลง จนบรรจบเข้า หากัน เป็ นจุด เดียว ทั้ง ๆ ที่เส้นใน ความจริ ง ยังวิง่ คู่ขนานกันอยู่ จากผลที่เกิดขึ้น จึงกลายเป็ นทฤษฎี ทาง ทัศนียวิทยา ก็คือ วัตถุที่อยูใ่ กล้จะมี ขนาดใหญ่ และวัตถุที่อยูไ่ กลออกไป จะค่อย ๆ เล็กลงเป็ นสัดส่วน ตาม เส้น (Linear) ที่วิ่งมาจากจุดสุดสายตา (Vanishing Point) ซึ่งศิลปิ นได้ใช้ทฤษฎีน้ ีในการ เขียนภาพ ให้มีระยะ มีพ้ืนที่ (Space) ที่มีความเหมือนจริ งในธรรมชาติ ทัศนียภาพเชิงเส้น เริ่ มจากจากทัศนียภาพจุดเดียว (One Point Perspective) ที่ เกิดขึ้นในตอนต้นของศิลปะยุคฟื้ นฟู (Ranaisance) ในคริ สต์ศตวรรษที่ 15 ต่อมาได้พฒั นา มา เป็ นทัศนียภาพ สองจุด หรื อหลายจุด ซึ่งจะทาให้ภาพนั้นมีมิติ และความ เหมือนจริ ง มีความถูกต้อง สมบูรณ์เพิ่มขึ้น


2.4 . การสร้างรายละเอียดและบรรยากาศ (Detail & Atmosphere) การสร้างมิติลวงตาให้มีระยะ มีพ้นื ที่วา่ ง โดยใชีวธิ ีทาง ทัศนียวิทยา (Linear Perspective) ด้วยการสร้างขนาดใหญ่ เล็ก ไปจนสุ ดสายตา เพียงส่ วนเดียวนั้น จะได้ ความรู้สึกเพียง ค่าของความถูกต้อง ทางเทคนิค เท่านั้น แต่จะมีความรู้สึก แข็งกระด้าง ขาด ความมีชีวติ ชีวา ไม่เหมือนกับที่ได้รับจาก ความเป็ นจริ งในธรรมชาติ จึงได้มีการสังเกต ศึกษาบรรยากาศ ของระยะ ความใกล้ไกลในธรรมชาติ เช่น เมื่อมองบรรยากาศ จากมุมสู ง (Arial View) จะเห็นระยะ และความลึกได้ จากสี และ ค่าน้ าหนัก ที่แตกต่างและ รายละเอียดอื่น ๆ โดยวัตถุ ที่อยูไ่ กลออกไป จะมีรายละเอียด (Detail) และความคมชัด ลดลง รวมทั้งสี และน้ าหนัก มักค่อย ๆ จางลง หรื อส่ วนที่เป็ น พื้นหลัง (Background) จะมีน้ าหนักเข้มหรื ออ่อนก็ได้ แต่จะมีรายละเอียด ไม่ชดั เจน


2.5. การใช้สีกบั บริ เวณว่าง (Color and Space) สี แต่ ละสี มีค่าความสด ไม่ เท่ ากันซึ่งจะส่ งผลถึงระยะ และ ขนาด ของบริเวณว่ าง เช่ น สี วรรณะร้ อน สี สดใส จะดูเหมือน เข้ ามาใกล้ กว่าสี วรรณะเย็น


ภาพแสดง บริเวณว่ างจริงและบริเวณว่ างลวงตา ภาพซ้ ายมือบริเวณว่ างจริง และ ภาพขวามือบริเวณว่ างลวงตา


การออกแบบบริเวณว่ างในทางทัศนศิลป์ ลักษณะของบริ เวณว่างที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์ ซึ่ งศิลปิ น หรื อ นัก ออกแบบ สามารถนาไปใช้ในงานออกแบบ ทัศนศิลป์ ประเภทต่างๆให้ สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการสร้างสรรค์


ที่ว่างบวกและที่ว่างลบ (Active Space and Positive Space)  ที่วา่ งของรู ปหรื อเนื้อหาเรี ยกว่าที่วา่ งบวกหรื อที่วา่ งทางาน(Active Space)

 ที่วา่ งที่อยูร่ อบๆหรื อส่วนที่เป็ นพื้น(Ground) เรี ยกว่า ที่วา่ งลบหรื อที่วา่ งที่อยูเ่ ฉย (Passive Space)


ที่ว่างบวกและที่ว่างลบ (Active Space and Positive Space)


ทีว่ ่ างสองนัย (Ambiguos Space) หมายถึงบริ เวณว่างที่เกิดขึ้น มีความสาคัญหรื อมี ความหมายเท่า ๆ กัน จนไม่สามารถระบุได้วา่ ส่ วนใด เป็ นที่วา่ งบวก หรื อ ส่ วนใดที่วา่ ง


บริเวณว่ างปิ ด(Close

Space)

บริ เวณว่ างปิ ดหมายถึงบริ เวณว่ างบวกที่มีเส้ นรอบนอกบรรจบกัน ทา ให้ รู ปร่ างนั้นเป็ นหน่วยเฉพาะแยกจากบริ เวณว่างลบโดยสิ้ นเชิง ซึ่ งบริ เวณ ว่างแบบนี้ทาให้เกิดมีพลัง การเคลื่อนไหวทั้งผลัก และ ดึงกันตลอดวลา


บริ เวณว่างเปิ ด (Open

Space)

บริ เวณว่างเปิ ดหมายถึงบริ เวณว่างบวกที่มีเส้น รอบนอกเปิ ดออกไม่ บรรจบ กันอาจจะมีหน่วยเดียว หรื อหลายหน่วย กระจัด กระจายไปทัว่ บริ เวณว่างลบ ทา ให้พลัง ความเคลื่อนไหวเป็ นไปอย่างสบายไม่ตึงเครี ยด เหมือนกับบริ เวณว่าง แบบปิ ด



สรุ ป องค์ประกอบศิลป์ Composition หมายถึง การนาส่วนประกอบย่อยหรื อส่วนประกอบที่สาคัญทาง ทัศนศิลป์ มารวมเข้าด้วยกันโดยการจัดวางสิ่งต่างๆ นั้นให้ประสานกลมกลืนกันในงานทัศนศิลป์ โดย องค์ประกอบในงานทัศนศิลป์ ประกอบไปด้วย 1) จุด (Point) 2) เส้น (Line) 3) รู ปร่ าง-รู ปทรง (Shape-Form) 4) น้ าหนัก (Tone) 5) พื้นผิว (Texture) 6) สี (Color) 7) บริ เวณว่าง (Space)


สมาชิกในกลุ่ม  นางสาว ณัฐธิดา ศรี บุญเรื อง  นางสาว ดอนเคลีย

คร้อคเกอร์

5601102111 560110212

 นางสาวปาริ ฉตั ร ใจคา

560110223

 นางสาว เมทินี

560110229

 นางสาว วันดี

โชว์ มูดอ

560110524



การเคลือ่ นไหวทีเ่ กิดขึน้ ในงานทัศนศิลป์ ไม่วา่ จะเป็ นสาขา จิตรกรรม ประติมากรรมศิลปะ ภาพ พิมพ์ หรืองานออกแบบใด ๆ ก็ตาม เป็ นอารมณ์ความรูส้ กึ แก่ผดู้ ไู ด้โดย รับรูจ้ ากสิง่ ทีอ่ ยูน่ ิ่ง (Static)ได้ดว้ ย การเห็นหรือด้วยประสาท สัมผัสทางตา ว่าสิง่ นัน้ มีการเคลือ่ นไหว ไม่ใช่การ เคลือ่ นไหวทีเ่ กิดขึน้ จริง เพราะงานทัศนศิลป์โดยทัวไป ่ จะไม่มกี ารเคลือ่ นไหว แต่ลกั ษณะของ ทัศนธาตุ รวมทัง้ องค์ประกอบ ทางศิลปะ ทาให้รสู้ กึ ว่ามีการเคลือ่ นไหว ผ่านจักษุสมั ผัส และ ความรูส้ กึ ของการเคลือ่ นไหวนัน้ ส่วนหนึ่ง ก็เกิดจาก ประสบการจากการรับรู้ ของมนุ ษย์จาก ธรรมชาติ เช่นเดียวกัน  การเคลือ่ นไหว ทีเ่ กิดจากลักษณะของทัศนธาตุ รวมทัง้ องค์ประกอบทางศิลปะ อาจจะแบ่งออกได้ เป็ น 3 ลักษณะคือ 


เป็ นการเคลือ่ นไหวมีการผลักและต้านพร้อม ๆ กัน เหมือนเรือกาลัง โต้กบั คลืน่ ลม ในมหาสมุทร หรือคนกาลังต่อสูด้ งึ ดันกัน โดยทีย่ งั ไม่มผี ใู้ ดเพลีย่ งพล้า เป็ นการ ถ่วงดุลไม่ลม้ ไปข้างใดข้างหนึ่ง ให้ความรูส้ กึ ตึงเครียด การเคลือ่ นไหวลักษณะนี้ ให้ความรูส้ กึ เคลีอ่ นไหวทีร่ ุนแรง กดดัน แต่หยุดนิ่งอยูก่ บั ที่


เป็ นการเคลือ่ นไหวทีไ่ ม่มกี ารต้านทาน ทาให้มกี ารเคลือ่ นไหวผ่านไป ได้โดยตลอด เช่นเดียวกับการวิง่ ของรถ ทีผ่ า่ นไปอย่างรวดเร็ว การเคลือ่ นไหวลักษณะนี้ ให้ ความรูส้ กึ เคลีอ่ นไหวทีร่ วดเร็ว รุนแรง ไม่หยุดนิ่ง มีการเคลือ่ นไหวตลอดเวลา


เป็ นการเคลือ่ นไหวทีม่ พี ลังน้อย เฉื่อย ผ่อนคลาย มืลกั ษณะเป็ นการซ้า เป็ นลาดับ อย่างต่อเนื่อง เหมือนเมือ่ ทานบหรือเขือ่ นพัง ในช่วงแรกพลังน้ า จะไหลบ่าอย่าง รวดเร็วลงไปสูร่ ะดับน้ าทีต่ ่ากว่า แต่เมือ่ ระดับน้ าสองข้างอยูใ่ น ระดับทีใ่ กล้เคียงกัน แล้ว จังหวะการไหลของน้ าก็เฉื่อยลง จังหวะของคลืน่ ก็มกี ารซ้า อย่างเป็ นระเบียบ


ลักษณะของการเคลื่อนไหวของสรรพสิง่ ต่าง ๆ รอบตัวเรา มนุ ษย์ ได้สงั เกตสิง่ เหล่านัน้ และได้นามาเป็ นหลักการในการออกแบบทัศนศิลป์ ให้มคี วามรูส้ กึ เคลื่อนไหว ทัง้ ๆ ทีภ่ าพทีป่ รากฏนัน้ อยูน่ ิ่ง (Static) ซึง่ จะทาให้งานออกแบบ นัน้ มีความน่าสนใจ หรือ มีความสอดคล้อง กับจุดประสงค์ทก่ี าหนดไว้ และแต่ ละแนวทางต่อไปนี้ ก็ให้พลังของ การเคลื่อนไหวแตกต่างกันออกไป


รูปร่างมีการจัดวางตาแหน่ง หรือมีกริยาท่าทางไม่คงที่ เหมือนกาลังจะ ไปทางใดทาง หนึ่ง จะเป็ นการชีน้ าให้เรา รูส้ กึ เคลือ่ นไหวติดตามและ คาดเดา สิง่ ทีกาลังจะปรากฏ ต่อมา หรือกาลังจะเป็ นไป ความรูส้ กึ เช่นนี้ เกิดจากประสบการณ์ ทีเ่ คยเห็นกริยา อาการ เหล่านี้มาแล้ว


ในสิง่ แวดล้อมรอบตัว เมือ่ เรามองเห็นรูปร่าง หรือวัตถุใด ๆ เคลือ่ นไหว ผ่านหน้าไป อย่างรวดเร็วเราจะเห็น รูปร่างนัน้ ไม่ชดั เจน ความรูส้ กึ นี้ได้ สังสมจนเป็ ่ น ประสบการณ์ ทีบ่ ง่ บอกแทนความหมายว่า รูปร่าง ทีไ่ ม่ชดั โดยเฉพาะเส้นขอบทีพ่ ร่า มัวพุง่ เป็ นทางจะ เป็ นลักษณะ ของการเคลือ่ นไหว ในทางทัศนศิลป์ จึงได้ใช้แนวทาง ดังกล่าว เป็ นแนวทางหนึ่ง สาหรับ สร้างความ เคลือ่ นไหว


สิง่ ทีเ่ หมือนกัน ทีม่ กี ารจัดวางต่อเนื่อง ซ้อน ๆ กัน เช่น เราเห็นจากภาพบุคคล หรือ ร่างกาย ทีแ่ สดงกริยาอาการเคลือ่ นไหวเป็ นชุด ต่อเนื่องเหลือ่ มซ้อนกัน เราจะรูส้ กึ ได้ ว่ามีการเคลือ่ นไหว ตามกริยาอาการนัน้ หลักการนี้ เหมือนกับการนาแผ่นระนาบ หลาย ๆ แผ่นมาซ้อนต่อเนื่องกันไป ก็จะสร้างความรูส้ กึ เคลือ่ นไหว ต่อเนื่อง จาก ระนาบด้านหน้า (Foreground) เข้าไปยังระนาบทีอ่ ยูด่ า้ นหลังสุด และถ้าระนาบที่ เหลือ่ มซ้อนกันนัน้ มีขนาดเล็กลงเรือ่ ย ๆ ก็จะสร้างความรูส้ กึ เคลือ่ นไหว ในทางลึกที่ ชัดเจนขึน้


โดยธรรมชาติ สายตาของคนเรามักจะเคลือ่ นไหวติดตาม องค์ประกอบ ของภาพ เช่น เส้น รูปร่าง น้ าหนัก สี ทิศทาง ทีม่ บี ุคลิกลักษณะ ของการเคลือ่ นไหวเสมอ เช่น รูปร่างทีม่ ี ส่วนประกอบของเส้นโค้ง ซึง่ เส้นโค้ง เป็นเส้นที่ มีบุคลิก ของการ เคลือ่ นไหวไม่หยุดนิ่ง จะทาให้สายตาเราเคลือ่ นไหว ติดตาม เลือ่ นไหลไปตาม แนว ของ เส้นโค้งนัน้


ภาพลวงตา เช่นศิลปะแบบอ้อปอาร์ท (Op Art) เป็ นการ ลวงตา ทีเ่ กิดจากการซ้าของ เส้น รูปร่าง หรือน้ าหนัก จะทาให้สายตา มองเห็นมีการเคลือ่ นไหวเกิดขึน้ ตลอดเวลา ในภาพนัน้


การลดหลันหรื ่ อการกระจายของส่วนประกอบศิลปะ นอกจาก จะสร้างระยะ ความลึก เช่น การลดหลัน่ ของขนาด และทิศทาง ทาให้เกิดทัศนียภาพ (Linear Perspective) การลดหลันของสี ่ จากสีโทนร้อนมาโทนเย็น และจากสีเข้มมายังสีอ่อน สร้างระยะ ความลึก ของบรรยากาศ (Arial Perspective) การลดหลันยั ่ งสามารถสร้างความ สนใจ และความรูส้ กึ ของการเคลือ่ นไหวได้ เช่น การลดหลัน่ หรือการไล่น้ าหนักแก่ มายังน้ าหนักอ่อน ทาให้สายตาเคลือ่ นไหว ไล่ตามน้ าหนักนัน้ ได้


Contrast ความแตกต่าง

การขัดแย้ง การขัดกัน

ความตัดกัน


ความหมาย ความแตกต่าง หมายถึง ความไม่ลงรอยกัน เข้ากันไม่ได้ ไม่ประสาน สัมพันธ์กันขององค์ประกอบศิลป์

ความแตกต่างจะต้องมี ความประสาน สัมพันธ์กับความกลมกลืน สร้าง ความแตกต่างที่อยู่ภายในกฎเกณฑ์ของ “เอกภาพ (Unity)”


ความสาคัญของความแตกต่าง  ทาให้มวลสิ่งมีความถ่วงเท่ากัน  ใช้ ส าหรั บ ตั ด ความซ าซาก จื ด ตาของความประสานกั น ซึ่ ง เรี ย บ จนเกินไปให้เด่นยิ่งขึน  ใช้เพื่อทาสีให้ดูเป็นชีวิตจิตใจ หรือคึกคักยิ่งขึน


ประเภทของความแตกต่าง  ความแตกต่างตามธรรมชาติ  ความแตกต่างทางองค์ประกอบศิลป์


ประเภทของความแตกต่าง ความแตกต่างตามธรรมชาติ


ประเภทของความแตกต่าง ความแตกต่างทางองค์ประกอบศิลป์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

รูปร่าง รูปทรง ขนาด เส้น ทิศทาง สี ค่าความเข้ม ลักษณะผิว


ความแตกต่างของรูปร่าง


ความแตกต่างของรูปทรง


ความแตกต่างของขนาด


ความแตกต่างของเส้น


ความแตกต่างของทิศทาง


ความแตกต่างของสี


ความแตกต่างของค่าความเข้ม


ความแตกต่างของลักษณะผิว


การสร้างความแตกต่างของด้วยสี (ซ้าย) จิตรกรรมโดย Joan Miro, ชื่อ L'Espoir , 1927 (ขวา) จิตรกรรมโดย Paul Klee ชื่อ Fire in the Evening, 1929


การสร้างความแตกต่างด้วยค่าน้​้าหนักอ่อนแก่ระหว่าง รูปและพื้น (ซ้าย) ภาพจากภาพยนตร์เรื่อง The Exorsist (ขวา) จิตรกรรมโดยJohn Henry Fuseli ชื่อ The Nightmare ,1781



นางสาวพัฒน์นรี นางสาวณัฐสุดา นางสาวโยษิตา นางสาววรวรรณ นางสาวสุจิตรา

พงษ์ศิริสุนทร 520110443 แฟงฟ้อย 550110146 ศรีคา 550110154 สินปรีดี 550110157 โอวัฒนา 550110160


แหล่งอ้างอิง http://www.media.rmutt.ac.th/media/Presenter/04%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0 %B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0% B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8 %87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9 B%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3% E0%B8%A1/4U_Contrast.htm

http://www.ideazign.com/port/graphic/content0303_04.htm http://preede.wordpress.com/2011/09/18/%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84% E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0 %B8%9A%E0%B8%A8%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%9B%E0%B9%8C/ http://watkadarin.com/E(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.7contrast/contrast.htm


ความกลมกลื น ( HARMONY )


ความหมายของความกลมกลื น ในทาง ทั ศ นศิ ลป์ โดยทั่วไป หมายถึงการประสานเข้าสนิทกัน กลมกลืน ปรองดอง สามัคคี ลงรอย ในทาง ทัศนศิลป์ ความกลมกลืน หมายถึง การรวมกันของ หน่วยย่อยต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ส่วนประกอบมูล

ฐาน ของศิลปะ คือได้แก่ จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง สี พื้นผิว น้​้าหนัก อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลาย อย่าง และการจัดวางองค์ประกอบ เช่นจังหวะ ช่องว่าง ฯลฯ ท้าให้เกิดเป็นการประสานเข้า กัน ได้อย่างสนิท โดยไม่มคี วามขัดแย้ง ท้าให้ผลงานการออกแบบ ทัศนศิลป์ มีความเป็นอันหนึ่งอัน

เดียวกัน หรือความมีเอกภาพ


ประโยชน์ ข องความกลมกลื น ที่ มี ต่ อ งานศิ ล ปะ การใช้ความกลมกลืนเป็นตัวกลางหรือตัวประสาน (Transition) ท้าสิ่งที่มีความขัดแย้งกัน หรือ สิ่งที่มีความแตกต่างกัน ให้อยู่ร่วมกันได้ เช่นสีด้า กับสีขาว เป็นน้​้าหนักที่ตัดกันอย่างรุนแรง มี

ความขัดแย้ง กันอย่างสิน้ เชิง ก็ใช้น้าหนักเทา หรือ น้​้าหนักอ่อนแก่ระหว่างขาว ด้า มาเป็นตัว ประสาน ให้สีด้า และสีขาวนั้นมีความกลมกลืนกัน


การใช้ น้า หนั ก เทา (ขวา) เป็ น ตั ว ประสานให้ สี ด้า ขาว (ซ้ า ย) ลดความขัดแย้งลง

( ซ้าย )

( ขวา )


หากเพิ่มค่าน้​้าหนักตัวประสาน (สีเทา) ให้มีหลายค่า มากขึ้น ความกลมกลืนก็จะยิ่งเด่นชัดขึ้น


สีแดงและสีเขียว เป็นสีที่ตัดกันอย่างแท้จริง (True Contrast) มีความแตกต่าง กันอย่างรุนแรง (ซ้าย) หากเพิ่มน้​้าหนักสีด้า (ขวา)เข้าไปเป็นตัวประสาน ท้าให้ความรุนแรงนั้น ลดลง มีความกลมกลืนเกิดขึ้น

( ซ้าย )

( ขวา )


เส้นตั้งและเส้นนอนที่วางตั้งฉากกัน (ซ้าย) เป็นทิศทางของเส้นที่ขัดแย้งกัน อย่างรุนแรง หากเพิ่ม เส้นโค้งเข้าไปเป็นตัวประสาน (ขวา) ท้าให้ความขัดแย้ง ลดลง เกิดความกลมกลืนขึ้นมาทันที

( ซ้าย )

( ขวา )


แนวทางสร้ า งความกลมกลื น ในการออกแบบ ทั ศ นศิ ล ป์ การสร้างความกลมกลืนในงานออกแบบทัศนศิลป์ มี 2 แนวทาง คือ 1. การสร้างความกลมกลืนทางด้านโครงสร้าง 2 . การสร้างความกลมกลืนทางด้านรูปแบบและแนวคิด


การสร้ า งความกลมกลื น ทางด้ า นโครงสร้ า ง หมายถึง ความกลมกลืน ที่เกิดจากส่วนประกอบมูลฐาน และ องค์ประกอบ หรือหลักการ ทัศนศิลป์ มีแนวทางดังต่อไปนี้


ค ว า ม ก ล ม ก ลื น ด้ ว ย เ ส้ น

เส้นทีม่ ีลักษณะและทิศทางเหมือนกันย่อมกลมกลืนกัน




ค ว า ม ก ล ม ก ลื น ด้ ว ย รู ป ร่ า ง

รูปร่างที่มีลักษณะเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันย่อมกลมกลืนกัน



ค ว า ม ก ล ม ก ลื น ด้ ว ย ลั ก ษ ณ ะ ผิ ว

ลักษณะผิวทีม่ ีลักษณะเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันย่อมกลมกลืนกัน



ค ว า ม ก ล ม ก ลื น ด้ ว ย น้า ห นั ก อ่ อ น แ ก่

ค่าน้​้าหนักอ่อน แก่ หรือ น้​้าหนักของแสงเงาทีไ่ ม่ตัดกันรุนแรง บนพื้นผิวที่นิ่มนวล ให้ความรู้สึก ประสานกลมกลืนกันได้ดี


ค ว า ม ก ล ม ก ลื น ด้ ว ย จั ง ห ว ะ กั บ บ ริ เ ว ณ ว่ า ง

การเว้นระยะของบริเวณว่าง (Space) ระหว่าง รูป (Figure) และพื้น (Ground) ให้มีจังหวะเท่ากัน สม่้าเสมอ ท้าให้เกิดความกลมกลืน


ภาพนี้แม้จะมีรูปร่าง สี ที่แตกต่างกัน แต่มีความกลมกลืนเกิดขึ้นจาก การเว้นจังหวะ ช่องว่าง ของรูปและพื้น


ค ว า ม ก ล ม ก ลื น ด้ ว ย สี

สีในโทนร้อน (Warm Tone) หรือโทนเย็น (Cool Tone) โทนใดโทนหนึ่ง รวมทั้งสีที่มีน้าหนักใกล้เคียงกัน ย่อสร้างความกลมกลืนให้เกิดขึ้นได้


ค ว า ม ก ล ม ก ลื น ข อ ง สี โ ท น ร้ อ น ( WA R M T O N E )


ค ว า ม ก ล ม ก ลื น ข อ ง สี โ ท น เ ย็ น ( C O O L T O N E )


ค ว า ม ก ล ม ก ลื น ด้ ว ย ข น า ด แ ล ะ สั ด ส่ ว น สิ่งที่ปรากฏในธรรมชาติ จะมีความกลมกลืนกัน เป็นพื้นฐาน แม้จะมีรูปร่าง สีสัน ที่แตกต่างกัน ก็ตาม ธรรมชาติได้สร้างสรรค์มาอย่างกลมกลืน ลงตัว โดยเฉพาะด้านขนาดและสัดส่วน ของ

มนุษย์เรา จะมีความกลมกลืน เป็นความงามที่สมบูรณ์



การสร้ า งความกลมกลื น ทางด้ า นรู ป แบบและ แนวคิ ด หมายถึง ความกลมกลืน ที่เกิดจากเรื่องราวเนื้อหา ที่ปรากฏในงาน ออกแบบทัศนศิลป์ มี ความสัมพันธ์เป็นอันหนึง่ อันเดียวกันอย่างเด่นชัด ทั้งนี้ รวมถึงผลงาน ที่มีรูปแบบ แนวคิดที่เป็น

แบบอย่างเฉพาะของ แต่ละ บุคคล ลัทธิ เชื้อชาติ ศาสนา เป็นต้น แม้ว่าผลงานเหล่านั้น อาจจะ จะมีโครงสร้างที่ไม่กลมกลืนกันก็ตาม


ภาพจิตรกรรมลัทธิ Romanticism (ซ้าย) และลัทธิ Sur - Realism (ขวา) นอกจากจะมีความประสานกันของ น้​้าหนัก สี และทิศทางของเส้นแล้ว ยังมีความกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของแนวคิดการสร้างสรรค์ อีกด้วย



ก า ร ใ ช้ ค ว า ม ก ล ม ก ลื น เ ป็ น ตั ว ก ล า ง ห รื อ ตั ว ป ร ะ ส า น (TRANSITION) ท้า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ก ล ม ก ลื น คื อ ภ า พ ใ น ข้ อ ใ ด

1.

2.

3.

4.


ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ก ล ม ก ลื น ที่ เ ด่ น ชั ด ที่ สุ ด ใ น ภ า พ นี คื อ ค้า ต อ บ ใ น ข้ อ ใ ด

1. ความกลมกลืนด้วยรูปร่าง

2. ความกลมกลืนด้วยบริเวณว่าง

3. ความกลมกลืนด้วยเส้น

4. ความกลมกลืนด้วยน้​้าหนัก


ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ก ล ม ก ลื น ที่ เ ด่ น ชั ด ที่ สุ ด ใ น ภ า พ นี คื อ ค้า ต อ บ ใ น ข้ อ ใ ด

1. ความกลมกลืนด้วยน้​้าหนักสี

2. ความกลมกลืนด้วยสี

3. ความกลมกลืนด้วยรูปร่าง

4. ความกลมกลืนด้วยบริเวณว่าง


ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ก ล ม ก ลื น ที่ เ ด่ น ชั ด ที่ สุ ด ใ น ภ า พ นี คื อ ค้า ต อ บ ใ น ข้ อ ใ ด

1. ความกลมกลืนด้วยสี

2. ความกลมกลืนด้วยขนาด สัดส่วน

3. ความกลมกลืนด้วยรูปร่าง

4. ความกลมกลืนด้วยบริเวณว่าง


THE END


สมาชิ ก กลุ่ ม  นาย จิรายุทธ วีระฤทธิพนั ธ์ 550110386  นาย เอกพงศ์ คุม้ ทอง 560110142

 นาย จักรภัทร พร้อมญาติ 560110203  นางสาว ชุติกาญจน์ ใจยวง 560110206  นาย ธิติวฒ ุ ิ ใสส่ อง 560110216


การแปรเปลีย ่ นในทางทัศนศิ ลป์

Gradation


หมายถึง การเปลีย ่ นแปลง การกระจาย หรือการลดหลัน ่ ของส่วนประกอบ มูลฐานของทัศนศิ ลป์ ไดแก ้ ่ เส้น รูปราง รูปทรง พืน ้ ผิว ่ ขนาด น้าหนักออนแก ่ ่ สี จาก สภาพหนึ่ง ไปสู่อีกสภาพหนึ่ง


โครงสรางมู ลฐานของการแปรเปลีย ่ น ้ เกิดจากจังหวะการซา้ (Repetition)

แตการซ า้ นี้มก ี ารแปรเปลีย ่ น ่ แตกตางกั นออกไปมากมาย ่

เป็ นการคลีค ่ ลายจากสภาพหนึ่ง ไปสู่อีกสภาพหนึ่ง แตถึ ่ นก็ยงั มีเค้าเดิมอยู่ ่ งจะมีการแปรเปลีย ยังมองออกวามี ่ ลายมาจากอะไร ่ การคลีค


การแปรเปลีย ่ นยังสามารถสร้างจุดสนใจ และสรางความรู ่ นไหวได้ ้ ้สึ กของการเคลือ การแปรเปลีย ่ นเป็ นองคประกอบหนึ ่งของ ์ จังหวะ (Rythm)


5.การแปรเปลีย ่ นของทิศทาง 7.การแปรเปลีย ่ นของสี

3.การแปรเปลีย ่ นของพืน ้ ผิว 4.การแปรเปลีย ่ นของน้าหนักออน ่ แก่

8.การแปรเปลีย ่ นแบบผสม

ลักษณะของการแปรเปลีย ่ น ในงานออกแบบทัศนศิ ลป์ 2.การแปรเปลีย ่ นของรูปราง ่ 1.การแปรเปลีย ่ นของเส้น 6.การแปรเปลีย ่ นของบริเวณวางหรื อจังหวะ ่


1.1 แปรเปลีย ่ นลักษณะของเส้น จากสภาพเส้นตรงคอยๆเปลี ย ่ นเป็ น ่ โคงจนกลายเป็ นเส้นซิกแซก ้

1.การแปรเปลีย ่ นของเส้น 1.2 การแปรเปลีย ่ นลักษณะของ เส้นจากสภาพเส้นตรงคอยๆเพิ ม ่ ่ ความหนาจนกลายสภาพเป็ น รูปรางแต ยั ่ ่ งคงเวนระยะของ ้ ตาแหน่งเทาเดิ ่ ม

1.3 การแปรเปลีย ่ นลักษณะของเส้น จากสภาพเส้นตรงทีม ่ ค ี วามหนาเทา่ เดิมแตเปลี ่ นแปลงดานความยาวที ่ ่ ย ้ คอยๆเพิ ม ่ ขึน ้ ่

1.5 การแปรเปลีย ่ นลักษณะของ เส้นหยักฟันปลา

1.4 การแปรเปลีย ่ นลักษณะของ เส้นจากสภาพเส้นตรงในทิศทาง ตัง้ แตเปลี ่ นแปลงทิศทางให้ ่ ย เอนลงมา


2.การแปรเปลีย ่ นของรูปราง ่

การแปรเปลีย ่ นลักษณะของรูปรางจากสภาพวงรี คอยๆ ่ ่ เปลีย ่ นจนกลายสภาพเป็ นรูปวงกลม


3.การแปรเปลีย ่ นของพืน ้ ผิว


4.การแปรเปลีย ่ นของน้าหนักออนแก ่ ่


5.การแปรเปลีย ่ นของทิศทาง


6.การแปรเปลีย ่ นของบริเวณช่องวางหรื อจังหวะ ่ 6.1 การแปรเปลีย ่ นระยะช่องวางของเส ่ ้ นตัง้ ทีม ่ ข ี นาดเทาเดิ ่ ม แตมี ่ ระยะช่องวางแคบลง ่

6.2 การแปรเปลีย ่ นของจังหวะแบบกาวหน ้ ้า

6.3 การแปรเปลีย ่ นของจังหวะแบบถอยหลัง

6.4การแปรเปลีย ่ นของจังหวะแบบสลับ


7.การแปรเปลีย ่ นของสี การแปรเปลีย ่ นของสี โดยคาน ่ ้าหนัก


8.การแปรเปลีย ่ นแบบผสม 8.1 การแปรเปลีย ่ นของจังหวะและขนาด

8.2 การแปรเปลีย ่ นของรูปรางและขนาด ่

8.3 การแปรเปลีย ่ นของรูปราง จังหวะและ ่ ขนาด


การแปรเปลีย ่ นในธรรมชาติของกลีบดอกทีล ่ ดหลัน ่ กับเป็ นจังหวะ


การแปรเปลีย ่ นของขนาดสร้างระยะความลึก


(ประติมากรรม โดย Claes Oldenburg and Coosje van Bruggen)

















Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.