postcolonial

Page 1

เมื่อ “ขาพเจา” มองตะวันตก ดวยแนวคิดหลังอาณานิคม ความเปนอื่นและความเทาเทียม ปริวิทย ไวทยาชีวะ นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ขาพเจาเคยโยนคําถามแกใจของตัวเองวา

“...เราไมไดเปนเมืองขึ้นใคร แตทําไมเรา ตองไปตามตะวันตก อายฝรั่งแขนลายพวกนั้น...” เมื่อมองสิ่งที่อยูรอบตัวเรานั้น ตางก็ไดรับ อิทธิพลจากตะวันตกแทบทั้งสิ้น ไมวาจะเปนเทคโนโลยีตางๆ จนกลายเปนปจจัยที่ 5 ในชีวิตของ เรา เชนเครื่องสําอาง รถยนต มือถือ การแตงตัว อาหาร รสนิยมทางศิลปะ การใหคุณคาความงาม หรือแมกระทั่งระบบการศึกษาที่เราใชอยูทุกวันนี้ลวนแตเปนสิ่งที่สงออกจากวัฒนธรรมของผูมี อารยะอยางตะวันตกมาสูตะวันออกที่คอย ๆ ยองมาอยางเงียบๆ และกระโดดเขามาถึงเรือนชาน เราอยางเปดเผยชัดเจน การเขามาอยางแนบเนียนแบบนี้ เราแทบไมรูสึกตัววามันเปนวาทกรรม ตะวันตก แมกระทั่งคําวา “วาทกรรม” เราก็ยังไมรูวามันแปลวาอะไร ขาพเจาไดอานหนังสือของอาจารยธีรยุทธ บุญมี ที่วาดวยเรื่อง ความคิดหลังตะวันตก (Post Western) ซึ่งเปนสวนหนึ่งในหนังสือชุด “ความรูบูรณาการและถอดรื้อความคิดหลัง ตะวันตกนิยม” ที่ตองการวิพากษและถอดรื้อองคความรูทางประวัติศาสตร ปรัชญา และศิลปะ แบบที่ยึดติดกับอคติ “ตะวันตกนิยม” หรือ การยึดถือตะวันตกเปนศูนยกลางที่แทรกซึมอยูในทุก องคค วามรู ข าพเจาเองอาจจะใหน้ําหนักกับ หนังสื อเลมนี้มากสักหนอย เพราะความคิด หลัง ตะวันตกของอาจารยธีรยุทธ นั้นเปนแนวคิดที่ขาพเจาคิดวานาจะเปนอีกทางเลือกหนึ่งใหแกกับ โลกไดหลุดพนจากกรอบคิดตะวันตกที่เปนเพียงคําตอบเดียวที่มีอํานาจเหนือความคิดของเรา ใน บทความนี้ จะขอใชคําวา “ขาพเจา” อยางไมขัดเขิน ซึ่งอาจจะอานแลวรูสึกวาไทยเหลือเกิน แต ผูเขียนตองการเปน “ขาพเจา”อยางที่คนไทยหลาย ๆ คนใชเรียกแทนตนเอง อยางไรก็ตาม จากที่ ผูนําของลาวเคยใชคํานี้เรียกแทนตัวเอง ความนาสนใจของปรากฏการณดังกลาวไมไดอยูที่ความ สอดคลองตองกันระหวางภาษาไทยกับภาษาลาวเพียงเทานั้น เชนกันกับที่คําศัพทจํานวนมากใน ภาษาลาว ก็อาจไมไดมีความนาสนใจอยูตรงความงายและความซื่อจนสามารถเรียกเสียงหัวเราะ เฮฮาจากคนชั้นกลางกรุงเทพฯได แตสอดแทรกเรื่องราวของการตกเปนอาณานิคมของตะวันตก แมใ นชวงหลัง การปฏิวัติ ล าว รั ฐบาลของระบอบใหมจ ะประกาศหา มผูค นใช คํ า ราชาศัพท ใ น ชีวิตประจําวัน และบัญญัติภาษาปฏิวัติขึ้นมาแทนที่ แตในชวงคริสตทศวรรษ 1990 เปนตนมา

1


ผู ค นในประเทศลาวกลั บ เริ่ ม ใช ภ าษาพู ด ที่ เ ป น ภาษาปฏิ วั ติ น อ ยลง แล ว หั น มาใช ภ าษาพู ด ที่ เชื่อมโยงกับสังคมลาว สมัยที่ยังถูกปกครองโดยสถาบันกษัตริยมากขึ้น คําวา "ขาพเจา" กลับมี ความเปนมาที่ยาวนานและมีรองรอยแหงการตอสูอันสลับซับซอนซอนแฝงอยู มองตะวันตกดวยแนวคิดหลังตะวันตก หลังสมัยใหมและหลังอาณานิคม ปรัชญา Postmodern เปนการถกเถียงวาชีวิตแบบสมัยใหม ซึ่งมีปรัชญาแบบ Modern ที่ เชื่อวา การใชความรูที่เกิดจากปญญาเหตุผลเปนระบบ เปนมาตรฐานนั้นจะนําพามนุษยไปสู ความกาวหนาในทุกๆดาน ทั้งทางวัตถุ คุณธรรม การเมืองการปกครอง รวมทั้งการนําไปสูชีวิตที่มี ความสุข เปนแนวทางที่ดีที่สุดสําหรับมนุษยแลวหรือ แตทายสุดแลววิถีชีวิตแบบโมเดิรน นั้นมิได นําพามนุษยไปสูเปาหมายสูงสุดในชีวิตเชนนั้น หากไดนําพามนุษยตกสูหลุมพรางการเปนนัก บริโภคนิยม แลกมาดวยการทําลายสิ่งแวดลอมธรรมชาติ การกดขี่ขูดรีดผูอื่น และยังกอใหเกิด สงครามฆาลางมนุษยดวยกันเองซ้ําแลวซ้ําอีกเชนสงครามโลกครั้งที่1 และ 2 และสงครามอิรัก เปนตน ในชวงทายศตวรรษที่ 20 นักคิด นักวิชาการตะวันตกสวนใหญ ก็สรุปเอาวา ความคิด สมัยใหมไดหมดภาระหนาที่ทางประวัติศาสตรของมันแลว โลกไดกาวสูยุคใหมอีกยุคและวิถีชีวิต มนุษยก็จะเปลี่ยนไปเปนไมมีแบบแผนหรือพิมพเขียวสําหรับการดํารงชีวิตตามแบบโมเดิรน แต จะเปนวิถีชีวิตที่มนุษยทุกคนมีอิสระ เสรีภาพ เคารพความแตกตาง ความเทาเทียม อดกลั้นและ ชื่นชมตอความหลากหลายของชีวิตมากขึ้น ความคิดแบบ Postcolonial หรือ Post Western ก็ไดตั้งคําถามเชนเดียวกับ แนวคิด Modern วา ถาคนตะวันตกวิพากษตอสังคมวิถีชีวิตแบบโมเดิรน และประเทศตะวันตกไดนิยาม ตัวเองใหมวา เปน Postmodern ซึ่งเกิดจากสาเหตุที่ไมสามารถบอกไดวา อนาคตขางหนาจะเปน อยางไรจึงตองใชคําวา post หรือ หลัง มาใชเปนหลังสมัยใหม ดังนั้น จึงเกิดคําวา “แลวทําไม ประเทศอดี ตอาณานิ คมหรือประเทศดอยพัฒ นาตางๆ จึงตองดิ้นรนแสวงหาพิมพเขียวแบบ สมัยใหมไปดวย” ดวยความตองการที่จะมีแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเพื่อเดินรอยตาม ตะวันตก ความคิด Postcolonial และ Post Western จึงเปนสิ่งเดียวกับวาทกรรมแบบ Post development แมวาปรากฏการณอาณานิคมจะผานพนจบไปแลว อํานาจของตะวันตกที่อยูเหนือ ภูมิภาคอื่นของโลกยังคงดํารงอยู จนถึงปจจุบันนี้ แลวอํานาจที่วานี้ไมไดเล็กนอยไปกวาสมัยอาณา นิคมเลย เพียงแตวามันเปลี่ยนรูปแบบ ขาพเจาจึงเขาใจวามันนาจะเขาขายของ อํานาจเชิง สัญลักษณ ที่ไมไดสงผานดวยแสนยานุภาพทางทหาร ไมไดเอาเรือรบไปปดปากอาว ไมไดเปน แสนยานุภาพทางการเมืองหรือเศรษฐกิจ แตเปนการใชอํานาจที่ผานระบบสัญลักษณ ซึ่งการใช อํ า นาจเชิ ง สั ญ ลั ก ษณ กระทํ า ผ า นสิ่ ง ที่ เ รี ย กว า "ประดิ ษ ฐกรรมทางวั ฒ นธรรม" (Cultural artifact) ซึ่งสามารถโนมนาวจิตใจของผูที่ถูกอํานาจกระทํานั้น ใหยอมรับโดยไมฝนใจหรือไมรูสึก

2


วาถูกบังคับ ยองเขามาแบบแนบเนียน อยูทนทานและเนิ่นนานกวา อํานาจทางทหาร ที่ใชปลาย กระบอกปนไปบังคับ ซึ่งแนนอนขาพเจาคิดวา ยิ่งบังคับยิ่งมีแรงตานขืน และมีโอกาสที่ไมยอมรับ จึงเปนที่มาของการครอบงําทางความคิด ซึ่งมันมีความล้ําลึกมากกวา วัฒนธรรมเองก็เปนสวน หนึ่งในความหมายของปจเจก แตละคนนั้นมีกระบวนการ มีความคิดที่สงผานกันตลอดเวลา ระหว า งตั ว ตน การสร า งตั ว ตนของกลุ ม ตั ว เอง หากถู ก บั ง คั บ หรื อ มี อํ า นาจอื่ น มาครอบงํ า กระบวนการสร า งความหมายก็ จ ะถู ก บิ ด เบื อ นไป ต อ งยอมตามเขา ต อ งตามเขาไป ไม มี ความหมายที่เฉพาะตัวตน

การใชอํานาจบังคับทางทหารจากปลายกระบอกปนของตะวันตกในดินแดนแอฟฟริกา

ปลายศตวรรษที่ 20 มีการปฏิวัติความคิดครั้งสําคัญ ไมเพียงของศตวรรษแตเปนการ ปฏิ วั ติ ค วามคิ ด ของยุ ค สมั ย เกิ ด ขึ้ น นั้ น คื อ การเกิ ด ปรั ช ญาความคิ ด หลั ง สมั ย ใหม (Postmodern)และแนวคิดหลังอาณานิคม (Postcolonial) ประการแรก เกิดในหมูนักปรัชญา นัก สังคมวิทยาตะวันตกกอนแตก็กระจายไปทุกวงวิชาการทั่วโลก พวกเขามองเห็นวาโลกไดกาวพน ยุคสมัยใหม(modern)มาแลวทั้งทางเศรษฐกิจ การเงิน เทคโนโลยี ซึ่งจําเปนตองทบทวนระบบคิด และองคความรูแบบโมเดิรนสมัยใหม ขาพเจาคิดวามันจะเปนพื้นฐานใหกับระบบการเมือง สังคม ศิลปวัฒนธรรมแบบโมเดิรนใหมทั้งหมด ประการที่สอง เกิดในหมูนักวิชาการที่ไมใชตะวันตกแตก็ ขยายไปสูนักวิชาการตะวันตกดวยเชนเดียวกัน กระแสประการที่สองนี้มองวา แมประเทศตางๆจะ ไดเอกราชแลว แตความคิดแบบกดขี่และเหยียดพวกอาณานิคม ก็ยังถูกผลิตออกซ้ํามาทั้งจากนัก คิดตะวันตกและนักคิดในอดีตประเทศอาณานิคมอยางไมหยุดหยั้ง จึงจําเปนตองผลักดันวิชาการ ตางๆใ หหางไกลจากอคติ จึงเกิดเปนความคิดที่เรียกวา Postcolonial เนื่องจากแมวาจะไดรับ เอกราชแล ว แต ก็ ยั ง มี ค วามคิ ด ที่ เ ป น แบบอาณานิ ค ม พั ฒ นาตามแบบความทั น สมั ย (Modernization) นิ ย มชมชอบองค ค วามรู แ บบตะวั น ตกเป น ที่ ตั้ ง ในช ว งดั ง กล า ว ถื อ ว า เป น ชวงเวลาแหงการปฏิวัติแนวคิดปรัชญาครั้งสําคัญที่ปลดปลอยความเปนมนุษยที่แทจริง

3


คูตรงขามตะวันออกตะวันตก การพูดเรื่องความเปนตะวันตกตะวันออก คํา ๆ นี้เองถูกสรางขึ้นมา ถูกสรางขึ้นมาเพื่อ ทําใหมีปฏิบัติการทางสังคมที่ทําใหคนบางกลุมไดอํานาจคนบางกลุมไมไดอํานาจ ขาพเจาไม สามารถจะพูดไดวาตะวันตกเปนอยางไร ตะวันออกเปนอยางไร ทุกวันนี้เรามีวิธีคิดแบบทุนนิยม ซึ่งเปนสิ่งที่ครอบงําสังคมทั้งโลกไปหมดแลว ความเปนตะวันตกตะวันออกที่ย้ํายอกตรงนี้วา มัน ถูก สร า งขึ้น มาทํ า ให เ ป น คู ต รงกั น ข า ม คู ค วามขั ด แย ง กัน ในแบบวิ ถี ห ลายๆ อย า ง ไม ไ ด เ ป น ธรรมชาติของตะวันตกและตะวันออกดวยตัวของมันเอง หากจะเปนการสรางคูความหมายที่ ตรงกันขามกัน เพื่อที่จะชิงความไดเปรียบเสียเปรียบในความสัมพันธเชิงอํานาจที่มีตอกัน ขาพเจา มองวาการทําใหเกิดคูตรงขามกัน คือ การทําใหวิธีคิดแบบหนึ่งเหนือกวาวิธีคิดแบบหนึ่ง เปนวิธี คิดใหมในสังคมไทย ไมใชวิธีคิดแบบดั้งเดิม เปนวิธีคิดใหมที่เกิดขึ้น ความเปนตะวันตกตะวันออกถูกสรางขึ้นมาเมื่อไมนานมานี้เอง นักคิดชาวตะวันตกคน หนึ่งบอกวา ความเปนตะวันตกถูกสรางขึ้นมาโดยกลุมนักปรัชญาของประเทศอาณานิคม งาน เขียนของ Edward Said ในเรื่อง Orientalism เขาจะพูดถึงความเปนปากีสถาน แมวาเขาจะเปนผู ที่มีเชื้อสายอเมริกันปาเลสไตน เขาก็พูดถึงความเปนตะวันออกกลางนั้นวา ถูกสรางขึ้นมาเพื่อทํา ใหตะวันตกหรือพวกฝรั่งผิวขาว เพื่อลบคําวาตะวันตกออกไปกอน เพื่อที่จะสามารถเขามาดูดซับ สวนเกินทางเศรษฐกิจจากดินแดนแถบในนั้นไป ในความเปนตะวันออกนั้น ถูกสรางใหเปนภาพ ของความโงเงาในทัศนะของตะวันตก ความเปนบานปาเมืองเถื่อน ไมเหมือนผิวขาวอยางเรา เชน ในบันทึกการเดินทางของฝรั่งตะวันตก พูดวา เราไดไปคนพบ เราไปเจอ เราไปตื่นเตน มองเราไม เหมือนมนุษย โดยเฉพาะฝงแถบ Southeast Asia ความรูแบบตะวันตกตามความเห็นของ Edward Said มอง วา ความรูแบบตะวันตกมีหนาที่สรางใหคนในโลกที่สามหรือประเทศ อาณานิคม มีฐานะเปนเพียงวัตถุ (Object) แหงแรงงาน วัตถุแหง ความตองการทางเพศ วัตถุแหงการกดเหยียดเพื่อการค้ําจุนความ เปนวี รบุรุษแบบผูชายหรือจริตแบบความเป นจา ว เปนจักรวรรดิ นิ ย มของตะวั น ตก ซึ่ ง การสร า งความเหนื อ กว า ด ว ยการผลิ ต ซ้ํ า ความหมายเชนนี้ ถือเปนวิธีการที่แนบเนียน ลึกซึ้งรอบดานอยาง บูรณาการมากกวาการจะใชกําลังเขารุกรานยึดเปนอาณานิคมหรือ อาจจะกลาวไดวาเปนอาณานิคมรูปแบบใหมที่นากลัวกวาอาณานิคม แบบเดิมเสียดวยซ้ํา

Edward Said

4


สลัดกรอบที่ตะวันตกครอบงําทางความคิด ขาพเจารูสึกถึงการตีกรอบใหความคิดของตะวันตกวาไมเพียงแตเปนการสรางกรอบหรือ ตีเสนใหมองเฉพาะกรอบ เชน มองวาตองพัฒนา ตองสราง ความกาวหนาทางวัตถุ ตองเรงให เศรษฐกิจมีการขยายตัว การเปดเสรีทางการคาและการเงิน ฯลฯ แตโลกยังถูก “ครอบงําโดย ความรูหรือการศึกษา” การควบคุมความคิดของตะวันตก มีทั้งที่ละเอียดออนลึกซึ้งและที่ชัดเจน เปดเผยได การเรียนรูเทาทัน การควบคุมประเภทละเอียดออน เชน การสรางองคความรูที่ดูเปน กลาง เปนประโยชน คือตํารับวิชาการตางๆตั้งแตประวัติศาสตร วิทยาศาสตร แพทยศาสตร ศิลปะ วรรณกรรม มนุษยศาสตร สังคมศาสตรก็แฝงดวยอคติที่เอื้อตอการครอบงําของตะวันตก จากการที่เราเชื่อมั่นวาในระบบความรูแบบตะวันตก เขาสอนใหเรียนรูอะไรก็เราก็เรียนตาม คิดวา มันเปนสิ่งที่ดีที่สุดสําหรับชีวิต นักคิดในโลกที่สามบางสวนไดคนพบถึงมายาภาพของ Modern ที่วาสังคมตะวันตก ก า วหน า ดี ง ามนั้ น นั่ น มิ ใ ช ค วามจริ ง อี ก ต อ ไป การค น พบดั ง กล า วนั้ น ได ค น พบมาเป น ระยะ เวลานานและนานกวาที่จะมีการเกิดขึ้นของการตอสูเพื่ออิสรภาพหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และ ก อ นที่ ค นตะวั น ตกเองจะมองเห็ น รากฐานที่ เ ป น จุ ด บอดของตั ว เองเนื่ อ งจากพวกเขาได รั บ ประสบการณโดยตรงจากการเอารัดเอาเปรียบความทารุณ ดูถูกเหยียดหยามของลัทธิอาณานิคม ตะวันตก เมื่อเกิดกระแสปรัชญา Postmodern ขึ้นในชวงปลายศตวรรษ ความคิด Postcolonial และ Post Western จึงมีแนวรวมเพียงพอที่จะวิพากษวิจารณจุดออนของสังคมตะวันตก โดย สังคมตะวันตกตั้งอยูบนพื้นฐานการเอารัดเอาเปรียบทางเศรษฐกิจ สภาพแวดลอมและการเปนอยู ของสังคมอื่นๆของโลก แตชีวิตวัฒนธรรมและประวัติศาสตรตะวันตกก็ตั้งอยูบนการหลงตัวเอง เหยียดสีผิวดูหมิ่นทางวัฒนธรรม ปฏิเสธ ปดกั้น หลงลืมความสําคัญและการดํารงอยูของคนอื่น วัฒนธรรมอื่นๆ ตะวันตกกําหนดกรอบวา “ความรู” ตองมาจากการวิจัยจากกระบวนการทางวิทยาศาสตร ใชตรรกะอยางชัดเจน จากการตรวจสอบประสิทธิภาพโดยผูเชี่ยวชาญตะวันตกเปนตน เชน ร็อกกี่ เฟลเลอร เคยมาใชคําปรึกษาแกรัฐบาลไทยสมัยรัชกาลที่ 6 และบอกวาแพทยแผนไทยไมอยูใน กรอบของวิทยาศาสตร ในที่สุดการแพทยแผนไทยก็ถูกปดตกไปจากการเรียนการสอน และพึ่งจะ มีการรื้อฟนไมนานมานี้เอง ความงามของศิลปวัฒนธรรมหรือความไพเราะของเสียงและดนตรีก็ เชนกัน ตองเปนเพลงคลาสิคหรือเสียงของนักรองโอเปรา ประติมากรรมตองเปนแบบกรีก ความ งามของภาพเขียนก็ตองพัฒนาการมาตามแบตะวันตกจาก Impressionism เปน Expressionism เปน Surrealism เปน Abstractionism หรือถาเปนแฟชั่นก็ตองจากมาอิตาลี ฝรั่งเศส ฯลฯ ขาพเจาคิดวาแมคุณธรรมก็ตองเปนแบบตะวันตก คือ มีความเปนปจเจกชน กลาแสดงออก กลา รั บ ผิ ด ชอบ ถื อ ตั ว เองเป น ศู น ย ก ลาง และยั ง รวมไปถึ ง ในการเรี ย นประวั ติ ศ าสตร เ กี่ ย วกั บ

5


วรรณกรรมของสหรัฐฯ อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ไดมีการแบงประวัติศาสตรออกเปนยุคอยาง ละเอียด แตพอเปนของอารยธรรมอื่น เชน จีน อินเดีย ญี่ปุน หรือแมกระทั่งของไทยเองกลับถูก แยกยอยนอยลงไป มันเกิดขึ้นโดยเราไมรูตัว ตรงนี้เปนจุดที่ทําใหเรารูจักประวัติศาสตรคนอื่น มากกวาการรูจักประวัติศาสตรของตัวเอง ซึ่งนั้นเปนการครอบงําวัฒนธรรมโดยไมรูตัวและเปน การครอบงําทางวัฒนธรรมอยางเบ็ดเสร็จไมมีการตอตาน เนื่องจากมันถูกตีตราวาเปนสิ่งที่ถูกตอง ภาพความเปนอื่นที่ถูกหยิบยื่นให แนวความคิดวาดวย “ความเปนอื่น” มีพื้นฐานมาจากวิธีคิดการแบงแยกสิ่งที่ตางๆเปนคู ตรงขามโดยเฉพาะการแบงแยกระหวางเอกลักษณ (Identity) กับ ความแตกตาง (Difference) หรือการแบงแยกตัวเรา (Self) กับ “คนอื่น” (Other) เมื่อสืบยอนกลับไปในประวัติศาสตรวิธีคิด ตะวันตก นักปรัชญาอยางเฮเกล (Hegel) เห็นวา มนุษยตระหนักถึงตนเองอยางสมบูรณได ก็ ตอเมื่อในเงื่อนไขที่เราสัมพันธกับโลกขางนอก เฮเกลไดยกตัวอยางความสัมพันธระหวางทาสกับ นายทาส ผูเปนนายจะแยกตัวเองออกจากทาส เพราะนายทางรับรูวาทางเปนผูที่อยูโลกขางนอก ตนเอง จึงไมใชตัวเขา ตามแนวคิดวิภาษวิธี เฮเกลเห็นวาจิตสํานึกของมนุษยจะมีการพัฒนาในขั้น ตอมาที่จะไปพนความคิดปฎิปกษระหวางนายกับทาส มาสูการตระหนักรูวา การเปนเจานายดํารง อยูไดเพราะมีทาสคอยทํางานรับใช และทาสก็เห็นวาชีวิตตนเองขึ้นอยูกับนายทาสเชนกัน ตางฝาย ตางเริ่มตระหนักวา การมีอยูของอีกฝายทําใหการมีอยูของตนสมบูรณขึ้น จากงานเขียน Orientalism ของ Edward Said วาทะกรรมหรือตัวบทที่สรางขึ้น สะทอน เจตนารมณทางอํานาจของตะวันตกเหนือดินแดนอื่นๆที่ไมใชตะวันตกอาศัย “อํานาจ”ของวาท กรรมนี้สรางความเปนจริงเกี่ยวกับ “คนอื่นที่ไมใชยุโรป” ความเปน Orientalism ในยุโรป คือ กระแสนิยมตะวันออก เชน การตกแตงภายในบานแบบญี่ปุนของคนอังกฤษ เอาของที่ตนไมมีมา โชว มาบริ โ ภค เพื่ อ ยกระดั บ ความเป น ตะวั น ตก ให รู สึ ก ว า ดู ดี มี ร สนิ ย มเมื่ อ เสพความเป น ตะวันออก มันจึงซอนความเปนอื่นที่หยิบยื่นใหและสรางบทบาทใหมใหตัวตนของตะวันออก ขาพเจาพยายามที่จะเสนอถึงแนวความคิดคูตรงขามนี้จะตอกย้ําวา เราจะดํารงอยูไดก็ ตอเมื่อมีสิ่งอื่น หรือ “คนอื่น” (The Other) คอยค้ําจุนการดํารงอยูของเรา เชนเราจะเปนคนที่มี ตําแหนงแห งที่สูงสงกว าคนอื่ นก็ตอเมื่อมีคนที่ต่ํากวาหรือเราสามารถจําแนกคนที่มีชีวิตปกติ ธรรมดาได ก็ตอเมื่อเราสามารถนิยามความเปนคนวิกลจริตได ในแงนี้ “คนอื่น” แมจะแตกตาง จากตัวเรา แตก็ถูกทําใหเปนสวนหนึ่งของตัวเรา เพื่อทําหนาที่ใหตัวเราสมบูรณหรือแจมชัดขึ้น คนที่ไมใชยุโรปหรือตะวันออก ก็จะถูกกําหนดหรือสรางภาพ ใหอยูในกรอบที่กําหนดไวจาก คน ผิวขาว จากแนวคิดนี้แสดงใหเห็นถึง การสรางแบบแผนวิธีคิด ที่กอใหเกิดความ “แปลกแยก” (Alienation) “ความเปนอื่น” (The Otherness) “ชายขอบ” (Marginalization) ผลิตซ้ําความรูสึกที่ ดอยกวา

6


ในความเปนอื่นนั้น จะมี 2 ลักษณะแนวคิด คือ ประการแรก แนวคิดเรื่อง “คนอื่น” ที่ กระทํากับผูคน เปนเรื่องของ “คนอื่นที่เปนพวกเดียวกับเรา” หรือเปนคนอื่นประเภท “ตางพวกใน แดนตน” และประการที่สอง แนวคิดเรื่องการสราง “ความเปนอื่น” ที่กระทํากับธรรมชาติซึ่งได ขยายความใหแนวคิดการสรางความเปนอื่นใหมีความละเอียดออนยิ่งขึ้น มิใชจํากัดกรอบอยูเพียง แคการวิเคราะหความสัมพันธระหวางมนุษยดวยกันเอง การสรางความเปนอื่นนั้นเปนเทคนิคทาง อํ า นาจประเภทหนึ่ ง ที่ อ ยู ภ ายใต วิ ธี คิ ด แบบคู ต รงข า มและชี้ ว า การครอบงํ า ธรรมชาติ ก็ คื อ กระบวนการเดียวกันกับการครองงํามนุษย โดยการเก็บกดปดกั้นในประเด็น เพศสภาพ ชนชั้น และเชื้ อ ชาติ เป น ด า นหลั ก อย า งไรก็ ต าม การสร า งความเป น อื่ น ไม ไ ด ก ระทํ า อย า งง า ยๆ ตรงไปตรงมา หากแตมีกลไกอันสลับซับซอนในการทําใหวิธีคิดคูตรงขามครอบงําในระดับวิธีคิด ขาพเจามองวา การแบงแยกระหวางตัวเรากับ “คนอื่น” จึงไมไดกระทําเพื่อใหแยกออกจากกัน อยางเด็ดขาด หากตัวเรากับ “คนอื่น” เปน “สองดานของเหรียญเดียวกัน” เชน ความเปนคนไทย จะมี ค วามหมายสมบู ร ณ เ มื่ อ ตระหนั ก รู ว า อะไรไม ใ ช ไ ทย ไม ว า เป น คนพม า ชาวเขาเป น ต น กลาวคือเราไมสามารถนิยามความเปนคนไทยได หากปราศจาก “คนอื่น” ที่แตกตางไปจากเรา เชนเดียวกับที่ฝรั่งผิวขาวกําลังมองเรา ในความเปนอื่น คุณอาจจะมองวาเรามักจะไมเรียกฝรั่งวาเปนอื่น แตจะเรียกชาติพันธุใน ไทยวาเปนอื่น เรียกคนตางจังหวัดวาเปนอื่น เรียกความเปนอื่นในตัวเราทางวัฒนธรรมที่แตกตาง จากเขา หรือแมเรียกคนที่ไมใชพวกเดียวกับเราวา “ไอนั้น อีนี่” รวมถึงความนัยที่แฝงอยูกับคําวา “ชาวเขา” ซีงถือวามิใชชาวเรา คนสวนใหญถาพูดถึงคนสวนนอยที่ไมใชพวกเรา ในเชิงเปนอื่น (The Otherness) ที่ดอยกวาเอง หรือคนสวนนอยมองตัวเองวาดอยกวาก็ได แตบางครั้งคนสวน นอยก็อาจมองวาคนสวนใหญเปนคนชายขอบก็ได ถาชองวางทางวัฒนธรรมของคนสวนนอยคิดวา ตนเองเขมแข็งกวา เชน คนจีนในเยาวราช ที่อาจมองวาคนอื่นนอกเยาวราชดอยกวาก็ได ซึ่งนั่น หมายถึงการเกิดทองถิ่นนิยม (Localism) ตามมาดวยกระบวนการเบียดขับ ดวยกลไกอํานาจที่ รุนแรงอันไดแก กฎหมาย และการเบียดขับดวยความรูชุดหนึ่ง ที่เถลิงอํานาจแหงความรูอยูนั้น ดวยการจัดวางโครงสรางตาง ๆ อันไมเปนธรรม และสิ่งที่ขาพเจามองวามันเปนจุดเดนที่สําคัญ มากของปรัชญา Post Western คือการที่มนุษยทุกกลุมมีความสามารถเชิงปรัชญา และศิลปะที่ ทัดเทียมกันและการมองวาปรัชญา ศิลปะเปนสิ่งที่เคลื่อนยาย ถายเท หยิบยืมกันมาตลอด ทั้งใน อดีตและปจจุบันภายใตกระแสโลกาภิวัตน ศิลปะจึงถูกนํามาใชเปนเครื่องมือในการตานขืนกับ อํานาจนําที่มีตอกลุมที่ถูกกดขี่เอาไว ดวยการแสดงออกในแบบตางๆ เพราะนั้นจะทําใหเราขจัด หรือลดความเปนอื่นซึ่งเปนรากฐานของปญหาที่สําคัญลงไปได เนื่องจากการลดอัตตาของตัวตน ลงไมมีการแบงแยกเขา เรา เพราะเราตางก็เปนปจจัยสําคัญของกันและกัน แตการที่จะทําใหการ ครอบงําหรือ “ตะวันตกนิยม” พรามัวลงไปไดนั้น

7


สิทธิและความเทาเทียมกัน ภายใตการครอบงํา การเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมคื อ การขยายตั ว อย า งรวดเร็ ว ของประชากรที่ ทํ า งาน อุตสาหกรรมและบริการ และประชากรเมือง การขยายตัวของการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีการ เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งเปนปรากฏการณที่เกิดทั่วโลกทั้ง ลาตินอเมริกา แอฟฟริกา อินเดีย เอเชีย จึงเปนปจจัยที่ทําใหนักศึกษาทั่วโลกมีบทบาทมากตั้งแตทศวรรษ 1960 มีการเคารพสิทธิเสรีภาพของผูหญิง เด็ก คนชราที่เพิ่มมากขึ้น ผูหญิงมีสิทธิเสรีภาพและมีสวน รวมทางการเมืองมากขึ้น แสดงใหเห็นถึงความเทาเทียมกันของมนุษยเพื่อลดชองวางทางชนชั้น สูง-ลาง ผูหญิง-ผูชาย สิทธิมนุษยชนและลดการเหยียดสี การปฏิวัติทางปรัชญาแบบ Postmodern, Post Colonial และ Post Western ตั้งแต ทศวรรษ 1980 สงผลใหมีความเคารพความแตกตางในทุกๆ ดาน ไมวาจะเปนความตางของ สถานะ ชนชั้น ชาติพันธุ เพศ วัย วัฒนธรรม ความคิดความเชื่อ กระทั่งการเคารพต อสภาพ ธรรมชาติซึ่งจะสงผลอยางใหญหลวงตอโลกในศตวรรษปจจุบันนี้ ขาพเจามองเห็ นวากระแส ความคิดแบบ Post Western หรือ Postcolonial มององคความรูเหลานั้น ตั้งแตปรัชญา จริ ย ธรรม การเมื อ ง การปกครอง วรรณกรรมคลาสสิ ค ดนตรี ส ากล ประวั ติ ศ าสตร นิ พ นธ ประวัติศาสตรศิลปะ สถาปตยกรรม ฯลฯ ทั้งหมดลวนแตเพื่อสรางภาพสรางตัวตนที่ดีงามและ ความมี เ หตุ มี ผ ลให ต ะวั น ตก แต ก ารกดขี่ แ ละเหยี ย ดเพิ ก เฉยละเลยลื ม การดํ า รงอยู ข อง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ปรั ช ญา ฯลฯ ประวั ติ ศ าสตร ข องตั ว ตนของคนอื่ น หรื อ ผู อื่ น ข า พเจ า ขอตั้ ง ขอสังเกตวา ตะวันตกไดใชความรูทางวิทยาศาสตรตาง ๆ เปนเครื่องมือในการแทรกแซงครอบงํา โลกไว สรางความไมเทาเทียมกันในฐานะที่ทุกคนเปนมนุษยเหมือนกัน ไมวาจะเปนประเทศ ตะวันตกกับประเทศตะวันออก หรือประเทศโลกที่ 1 กับประเทศโลกที่ 3 หรือประเทศพัฒนาแลว กับประเทศดอยพัฒนา การนิยามหรือการใหความหมายกับคําตาง ๆ ที่ปรากฏในพื้นที่เหลานี้ ลวนแฝงเรนดวยการดูถูก เหยียดหยาม บงบอกถึงความไมเทาเทียมกันและความแตกตางทั้ง วัฒนธรรม ความคิด รูปแบบการดําเนินชีวิต ความเจริญกาวหนาและองคความรู โดยมีตะวันตก เปนผูนํา สวนตะวันออกยอมเปนผูตามดวยความยินยอมพรอมใจ หากเราเคารพในสิ ท ธิ เ สรี ภ าพซึ่ ง กั น และกั น แล ว การครอบงํ า ก า วล้ํ า เส น แม ใ นทาง ความคิ ด ก็ จ ะไม เ กิ ด ขึ้ น โดยที่ ต ะวั น ออกเองก็ ต อ งปรั บ เปลี่ ย นความคิ ด ที่ จ ะยกย อ งความรู ตะวันตกใหเปนศูนยกลาง มากดทับความรูในฝงตน ละเลยภูมิปญญาของทองถิ่นตะวันออกไป ให เริ่มหันกลับมาใสใจรากเหงามรดกทางอารยธรรมของตนเอง อยางไมมีอคติในการแบงแยก เชน สิ่งที่เกิดขึ้นในความขัดแยงในโลกปจจุบันระหวางวัฒนธรรม ในโลกชาวตะวันตกที่นับถือคริสต และโลกมุสลิมที่นับถืออิสลาม แตก็อาจจะเปนความหวังที่เห็นไดยากยิ่ง ในเรื่องที่เล็ก ๆ ก็เปน ประเด็นสรางความขัดแยงในหนาจอโทรทัศนแทบทุกวัน การใชสื่อมาสรางความเปนศัตรูตัวใหม

8


ใหแกตะวันตก ไมวาจะเปนขาวของโลกมุสลิมในสหรัฐอเมริกา นั่นเปนเรื่องของวัฒนธรรมที่เปน เรื่ อ งของความคิ ด และการให ค วามหมาย การที่ เ ราจะหาเพี ย งจุ ด ร ว มหรื อ การผู ก ขาดทาง วัฒนธรรม ความคิด ความเชื่อ ของตะวันตกคงเปนไปไดลําบาก มิเชนนั้นแลว The Clash of Civilization อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตที่ไมไกลนี้ ยกตัวอยาง เชน ตะวันตกจะตองปรับทาทีทาง กระบวนการคิดเชิงปรัชญาและศิลปะใหมวา ตะวันตกไมไดเปนผูผูกขาดตนธารทางอารยธรรม เท า นั้ น เพราะตะวั น ตกหยิ บ ยื ม สิ่ ง เหล า นี้ ม าจากโลกมุ ส ลิ ม ไปเยอะมากแต ไ ม อ า งอิ ง ใน ประวัติศาสตรที่ถูกสรางมาเปนความรู ขาพเจามีความคิดเห็นตอการเรียนการสอนในปจจุบันวา เรารับเอาความคิดจากทางตะวันตกมาแตไมหมดทั้งวิถีคิด คือ เราลอกมาหรือมาบิดเบี้ยวเอาตอน หลัง โดยที่เราไมรูถึงภูมิหลัง เราถูกสั่งสอนดวยประวัติศาสตรแบบชาติตะวันตก ที่มีการกดเหยียด ชนชาติอื่นๆ ที่ไมใชตน เพราะเขาถือวาเขาคือตนธารทางอารยธรรม สวนเราคือปลายธารอารย ธรรมที่เหือดแหงรอการฟนฟูจากชาวตะวันตกอยางฝรั่งเขา เราถูกสรางความไมเทาเทียมมาแต ไหนแตไรในทุกสิ่งทุกอยาง ในขณะเดียวกัน ขาพเจาคิดวา มันมีการสรางความเปนตะวันตกที่เปนศัตรูขึ้นมาอยาง เขมขนมากขึ้น รวมทั้งพรอมๆ กับการสรางความเปนตะวันออก ตอกย้ําใหชัดขึ้นมาอีก เพื่อที่จะ ตอบโตกับบรรดาเจาอาณานิคมทั้งหลาย ในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีประเทศเกิดใหม ประเทศที่ตกเปนอาณานิคมเกิดใหมมากมาย กลุมประเทศเหลานี้เองตองสราง ตัวเองขึ้นมาเปนประเทศขึ้นมา แลวก็สรางตัวเองพรอมกับสรางความเปนตะวันออกขึ้นมา แลวก็ บอกวาตะวันตกเปนศัตรู ตรงนี้เพื่อจะบอกวา หากเราจะเขาใจความเปนตะวันตกตะวันออกเรา ตองเขาใจที่มันสลับซับซอน มันไมงายดวยการใชประสบการณของคนบางคนที่อยูในโลกทุนนิยม แลวมาบอกวาเปนอะไร มันเปนความสลับซับซอนที่ทําใหเกิดความยากจนขึ้นในโลกใบนี้ เกิด ความยากจนขึ้นในกลุมคนประมาณ 1 ใน 3 ของโลกที่ไมมีอาหารกิน เปนผูยากไร ซึ่งตะวันตกเอง ก็มอบตําแหนงแหงความอดอยากให โดยเฉพาะอยางยิ่งในกลุมประเทศโลกที่สาม ซึ่งในขณะที่ โลกมีการผลิตอาหารเพียงพอกับคนจํานวนมากแตพวกเขากลับถูกผลักใหเปน “ชายขอบในความ หิวโหย” มากกวาที่จะชวยเหลือดวยความจริงใจ แตการเขาไปชวยเหลือผูที่ถูกสถาปนาคําสาปใหก็ เปนการเขาไปมีอํานาจกดซ้ําเขาไปอีก เธอเดือดรอน ฉันจึงตองชวยเธอ ฉันวาอะไรเธอก็วาตาม นี่ หรือคืออิสรภาพที่ตะวันตกปลดปลอยและมอบให เปนการประกาศวาทกรรมเพื่อพัฒนา คนที่ ด อ ยกว า นั่ น เอง การสร า งความเท า เที ย มกั น ในสั ง คมโลกควรปรั บ เปลี่ ย นท า ที ข องการ ประหัตประหารกันระหวางวัฒนธรรมที่ขัดแยงทั้งโดยตรงและโดยออม เปนการหยิบยืมกันทาง อารยธรรมที่มีการผสมผสาน (Cross Culture) ทั้งระหวางตะวันตกและตะวันออกรวมทั้งภายใน ตะวันออกดวยกันเอง เพราะถาเรามองวาตะวันออกเหนือกวา การสรางความยุติธรรมก็ไมสามารถ เกิดขึ้นได ขาพเจามองวามันเปนเพียงแคการเปลี่ยนขั้วการเมืองเทานั้น ในที่สุดมันก็จะนําไปสู The Clash of Civilization ซึ่งเปนสิ่งที่ขาพเจาไมปรารถนาที่จะเห็นในลักษณะดังกลาวและ ขาพเจาเห็นวาความเปนตะวันตกและความเปนตะวันออกนั้นควรจะมองในลักษณะของ “ไมจิ้ม

9


ฟน” ที่แตละดานก็มีลักษณะเฉพาะของกันและกันไมมีนัยยะของการกดทับมากกวาการมองใน ลักษณะของ “เข็ม” ที่ทําใหผูหนึ่งเหนือกวาและอีกฝายกดทับดวยดานที่ไมแหลมคมทั้งๆที่ทั้งดาน ปลายของเข็มก็ไมสามารถใชประโยชนไดถาไมมีรูอันต่ําตอยดอยคา ทางออกของป ญ หานี้ ต ะวัน ตกเองก็ ตอ งยอมรั บ ความจริ ง สิ่งที่ เกิด ขึ้น หรือ เก า แก กว า ยอมรับคุณคาในระบบคิดของทุกอารยธรรมทั้งโลกตะวันออกและโลกมุสลิมที่ตะวันตกมองวาเปน ศัตรูที่สําคัญ ไมถือเอาเหตุผลหรือความเปนวิทยาศาสตรเขามาทําการตัดสินชี้ขาด ไมหลงตัวเอง วาเปนสิ่งที่มีอารยะและสิ่งที่ “เปนอื่น” นอกเหนือไปจากตนเอง ถือวาไมใชอารยะ ตองยอมรับ คุณคาความเปนมนุษยของโลกตะวันออกอยางเทาเทียมกันทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและ วัฒนธรรม ขาพเจาตองการใหมีการปรับทาทีหรือสารัตถะ(Essentialism) ที่เราเชื่อกันวาตะวันตก เปนศูนยกลางเทานั้น แตก็ไมไดหมายความวาจะลมความคิดตะวันตกเสีย และสถาปนาตะวันออก เสียทั้งหมด แตเราจําเปนที่จะตองมีการผสมผสานทั้งตะวันตกและตะวันออก เนื่องจากรากทาง อารยธรรมของทั้งสองมันมีลักษณะที่เหลื่อมซอนทับกันอยางแยกไมออกเพราะตางก็เปนปจจัย ของกันและกัน หลังจากมองโลกตะวันตกแลวหันกลับมามองใหใกลตัวเรา ตะวั น ตกใช อ งค ป ระกอบหลายอยา งตั้ง แต ก ารสรา งองคค วามรู คุณ คา ความหมายที่ ปรึกษาผูเชี่ยวชาญผลักดันใหมีการนําความรูความหมายแบบตะวันตกไปเปนนโยบายและการ ปฏิ บั ติ ความรู ถูกมองเปน ความจริ ง และเปนประโยชนจ ริงในชีวิต มัน กลายเปน เรื่อ งความ ถูกตองชอบธรรม เมื่อเปนสิ่งที่มีคามากก็เปนสิ่งที่คนเราปรารถนาที่จะตองแปรไปเปนนโยบาย และการปฏิบัติ ซึ่งนโยบายการพัฒนาใหทันสมัยแบบตะวันตก ซึ่งเปนการอบรมสรางคนและ สังคมใหเดินตามแบบอยางของตะวันตก ทฤษฎีของการพัฒนาดังกลาว ก็คือ ตะวันตกเหนือกวา ทุกๆสวนในโลก มนุษยในวัฒนธรรมอื่นๆตองพัฒนาเปลี่ยนแปลงเหมือนตะวันตก ในรูปแบบ ของการพัฒนาสังคม รูปแบบการจัดการการเมือง คานิยม วิถีชีวิต ความเหนือกวา ของความรู แบบตะวันตก ทําใหเรายอมรับ มันโดยไมมีการตั้งคําถามตอสิ่งที่เกิดขึ้น เชน ทําไมเราตองมี มหาวิทยาลัยที่สอนวิชาเดียวกับมหาวิทยาลัยตะวันตกทุกอยาง เปาหมายของชีวิตถูกกําหนดวา ตองเปนหมอ ทนายความ วิศวกรฯลฯ เพราะเชื่อในความจริง ความถูกตองขององคค วามรู ตะวันตก ซึ่งเปนวิธีคิดที่เกิดจากวิธีคิดแยกสวนที่ฝงรากลึกจนเราไมรูสึกตัว ผลเสียจากการที่คน ถูกสรางเหมือน เครื่องจักรหรือหุนยนตที่เปนแบบเดียวกัน หลอหลอมจากโรงงานตะวันตก ทําให คนกลายเปนเหมือนวัตถุที่เหมือนกันเพื่อแสวงหาความรูในการควบคุมโลกที่เราอยู มนุษยแตกลุมในโลกมีสิทธิที่จะเลือกอัตลักษณ (Identity) ทางการเมืองใหแกตน ประเทศ ไทยก็ต กอยู ภ ายใต ก ารครอบงํ า ของตะวัน ตกมาเป น เวลานานนับ ตั้งแตสรา งรัฐชาติ สมัย ใหม ตะวันตกบีบบังคับครอบงําประเทศไทยใหเดินเปนเสนตรงตามที่ตะวันตกเปนผูกําหนดกติกา ทั้ง

10


ทางความรู ความคิ ด ประวั ติ ศ าสตร วั ฒ นธรรม และประเทศไทยเองก็ ไ ด ส ร า งรื้ อ ฟ น สร า ง ประดิษฐภาษาไทย ประวัติศาสตรชาติไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ จากศูนยกลาง อัต ลั ก ษณ แ ห ง ชาติ ส ง ต อ ไปยั ง ท อ งถิ่ น และชาติ พั น ธุ ต า งๆให ย อมรั บ ระบบมาตรฐานเดี ย ว ซึ่ ง กระบวนการสรางอัตลักษณแหงชาตินี้ไดทําลายวัฒนธรรม ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิ ปญญาทองถิ่นตางๆ เชน การเรียนการสอนโดยโรงเรียนของรัฐผานการใชภาษาไทย ทําใหภาษา พื้นเมืองที่แทจริงไดเลือนหายไปในกลุมชาติพันธุรุนหลังหรือการใหยอมรับความเปนคนไทย ดังเชนในกรณีที่รัฐไทย พยายามเขาไปทําหนาที่กลืนกลายอัตลักษณของชาวมุสลิมภาคใตดวย วิธีการตางๆ ใหมีการเรียนการสอนแบบรัฐไทย แตดวยขอจํากัดทางศาสนาที่ตองดํารงอัตลักษณ ของตนเอาไว ทําใหพวกเขาเหลานี้ไมสามารถเขาสูสังคมหรือมีการประกอบอาชีพไดอยางคนไทย เนื่องจากรัฐไทยไมยอมรับการเรียนการสอนที่จัดแบบโรงเรียนปอเนอะ จึงทําใหกลายเปนปญหาที่ ทับถมมาเปนระยะเวลานาน ในลักษณะของ “สยามที่เปนอื่น” สําหรับพวกเขา จนนําไปสูการปะทุ เปนปญหาที่ไมสามารถแกไขไดในปจจุบัน เพราะฉะนั้นทางออกหนึ่งของรัฐคือรัฐตองมีนโยบาย “หลังไทยนิยม” (Post Thailism) คือ การรื้อฟนและเคารพในความแตกตางหลากหลายทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง พยายามสงเสริมดานบวกของความหลากหลายทางวัฒนธรรม ยอยตางๆ ในประเทศใหมีเขมแขงเพื่อตอสูกับตะวันตกนิยม ดวยการเปดใจกวาง เคารพซึ่งกัน และกัน แสวงหาชีวิตที่เปนธรรม เทาเทียมและมีความหมายรวมกัน จิตวิญญาณไทย ภูมิปญญาตะวันตกและไมใชตะวันตก การครอบงําของความคิดแบบตะวันตกเปนศูนยกลาง สําหรับขาพเจาแลว เห็นวาปจจุบัน นั้น ไมมีตัวแสดงเฉพาะความคิดแบบตะวันตกเทานั้น แตยังมีตัวแสดงอื่นๆ เชน กระแสความคิด แบบเกาหลี ญี่ปุน ผานละครที่สอดแทรกคานิยมและวัฒนธรรม ศิลปน ฯลฯ ที่เขามาในประเทศ ไทย ทําใหเกิดการชื่นชมวัฒนธรรมของประเทศอื่นในตะวันออกดวยกัน ในบางครั้งแทบจะมี ความเขาใจดีกวาวัฒนธรรมของไทยเองอีกดวย จะนับวาเปนกระแสความคิดที่มาแรงและนากลัว ไมแพตะวันตก แมในปจจุบันวัฒนธรรมถูกกําหนดหรือตีคุณคาดวยผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ เชน การรื้อฟนภูมิปญญาทองถิ่นของประเทศไทย จากโครงการของรัฐที่หยิบยืมตนแบบมาจาก ญี่ปุน คือ หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ รวมทั้งวัฒนธรรมของชนกลุมนอย กลุมชาติพันธุที่ปจจุบัน กลายเปนสินคาทางวัฒนธรรมเพื่อการทองเที่ยวในฐานะ “ผูถูกทองเที่ยว” ขาพเจาจึงตองโยน คําถามใหตัวเองอีกครั้งวา “...แลวอยางนี้มันสรางใหคนเทาเทียมกันจริงหรือ...” เรามองที่ตัวเงิน ที่เอาให ก็ไมตางอะไรกับตะวันตกทํากับเรา กับโลกที่สาม

11


ทางออกของปญหาที่เกิดขึ้นโดยมีเปาหมายในรวมกัน โดยการรักษาวัฒนธรรมความเปนไทยไวใน ขณะเดียวกันก็พรอมที่จะปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมบางอยางใหสอดคลองตามแบบตะวันตก ดังที่ ขาพเจาไดกลาวขางตนแลวเราจําเปนที่จะบูรณาการระหวางตะวันตกและตะวันออกเขาดวยกัน โดยในแงมุมทางการเมืองนั้น ประเทศในตะวันออกเกือบทุกประเทศจะมีปญหาเกี่ยวกับเรื่องการ คอรัปชั่นไมวาจะเปนจีน เกาหลีใต ญี่ปุน และไทยซึ่งดูจะหนักหนาสาหัสกวาเพื่อน ขาพเจามองวา มันเพราะรากฐานทางวัฒนธรรมของศาสนาที่คลายคลึงกัน กลาวคือ ตะวันออกใหความสําคัญกับ ศาสนาทั้งพุทธและขงจื้อสอนใหเคารพผูอาวุธโส เนนความสัมพันธในครอบครัวเครือญาติและ เกิด ระบบอุปถัมภ ซึ่งเปนระบบที่สอนใหคนไมเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเอง จํากัดความคิดของ มนุษยไมมีเหตุผล ทําใหมันกลายเปนสิ่งที่ฝงรากอยางยาวนาน ซึ่งเปนจุดออนของตะวันออกหาก เรามองตะวันตกอยางไมมีอคติแลวเราก็จะพบวาคานิยมของตะวันตกบางอยางเชน สิทธิ เสรีภาพ ความเปนเหตุเปนผล เชื่อมั่นในความสามารถของมนุษย อาจจะเปนทางออกใหกับไทยไดใน ความคิดหลังตะวันตก นอกจากตะวันออกจะตองมองจุดออนของตัวเองดวยการเติมใหแข็งแรง ดวยความคิดแบบตะวันแลว ความคิดของตะวันออกดวยกันก็สามารถสรางจุดแข็งใหกับประเทศ ไทยไดเชนกัน จะตองเริ่มสรางโดยรัฐเพราะเราตองยอมรับวาสังคมไทยรัฐอยูเหนือประชาชนซึ่ง ขาพเจาก็ไมเห็นดวยกับความคิดดังกลาว แตเราจําเปนตองพลิกวิกฤตใหเปนโอกาส โดยใชรัฐเปน เครื่องมือในการสรางอุดมการณรวมกันของชาติผูนําทางการเมือง นักการเมือง ขาราชการ จะตอง ปรับเปลี่ยนวิสัยทัศนที่จะนําพาประเทศชาติไปสูความเทาเทียม กิตติกรรมประกาศ งานเขี ย นบทความชิ้ น นี้ “ข า พเจ า ” ได รั บ แรงบั น ดาลใจจากการเรี ย นในเรื่ อ งของ การศึกษาทามกลางการเปลี่ยนแปลงของภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งมี รศ.ดร.ศิวรักษ ศิวารมย เปนผู จุดประเด็นการใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงตางๆ และเขาใจความหมายของวัฒนธรรมที่ไมใชเพียง การฟ อ นรํ า แต เ ป น การให ค วามหมาย ในการสร า งตั ว ตนและในฐานะที่ ทุ ก คนเป น Subject ความรูดานสังคมศาสตรไมควรจะแยกจากกันกับการศึกษา จากการที่ไดอานหนังสือเลมที่เขียนถึง การถอดรื้อความคิดแบบตะวันตกนิยมของอาจารยธีรยุทธ บุญมีและอีกหลายๆ ชิ้นงาน รวมถึง การไดพูดคุยกับคุณพิณสุดา วงศอนันต นักศึกษาปริญญาโท สาขาการเมืองการปกครอง จึงได ประเด็นที่พูดถึงความเปนอื่นไดชัดเจนมากขึ้น แมบทความนี้อาจจะไมสามารถเขาไปแกปญหา สังคมได แตก็เปนการแหยใหเห็นความพยายามของ “ขาพเจา” ที่จะเขาไปมองสิ่งที่เกิดขึ้นใน สังคมและเพิ่มความสงสัยใครรูในสังคมศาสตรและการศึกษาตอไป

12


บรรณานุกรม

จันทนี เจริญศรี. โพสตโมเดิรนกับสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพวิภาษา. 2544. ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย. เชิงอรรถวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพมติชน. 2546. ธเนศ อาภรณ สุ ว รรณ. กํ า เนิ ด และความเป น มาของสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน. กรุ ง เทพฯ. สํานักพิมพคบไฟ. 2549. ธเนศ อาภรณสุวรรณ. ปอกเปลือกประชาธิปไตยในอเมริกา : ตํานานเรื่องคนเราเกิดมา ไมเทาเทียมกัน. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพศยาม. 2535. ธีรยุทธ บุญมี. ถอดรื้อปรัชญาและศิลปะแบบตะวันตกเปนศูนยกลาง. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพ สายธาร. 2546 ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา. CHANGE 25 ปแหงการเปลี่ยนแปลง การเผชิญหนาและความ ทาทายของสังคมไทย. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพ OPENbooks. 2548. วัลลภา แวน วิลลเลี่ยนสวารดและคณะ. จิตสํานึกใหมแหงเอเชีย 4 ทัศนะจากคานธีใหม. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพเฟองฟา. 2547. วิทยาลัยการจัดการทางสังคม. ความรูทองถิ่น การจัดการความรูสูการจัดการทางสังคม. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพเคล็ดไทย. 2547. ศิวรักษ ศิวารมย. สังคมศาสตรการศึกษา. กรุงเทพฯ. สํานักพิมพสรางสรรค. 2551. สายชล สัตยานุรักษ. ชาตินยิ ม วัฒนธรรมและความขัดแยง. บทความแนวคิดประชุมวิชาการ ชาตินิยมกับพหุวัฒนธรรม. โครงการจัดตัง้ ศูนยภูมภิ าคดานสังคมศาสตรและการ พัฒนาอยางยั่งยืน คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 2551. สุ ภ างค จั น ทวานิ ช . ทฤษฎี สั ง คมวิ ท ยา. กรุ ง เทพฯ. สํ า นั ก พิ ม พ แ ห ง จุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย. 2552. อคิน รพีพฒ ั น. ม.ร.ว. วัฒนธรรมคือความหมาย : ทฤษฎีและวิธีการของคลิฟฟอรด เกียรซ. กรุงเทพฯ. ศูนยมานุษยวิทยาสิรนิ ธร (องคการมหาชน). 2551.

13


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.