โภชนาการสัตว์พิเศษ ในสวนสัตว์

Page 1

โภชนาการสัตว์ในสวนสัตว์ จาก Zoo Animal, The MERCK VETERINARY MANUAL 10 edition

โดย น.ส.นุตทชา ศรีสุนทร นักโภชนาการสัตว์ 3 งานโภชนาการสัตว์ ฝุายบารุงสัตว์ สวนสัตว์ดสุ ิต มิถุนายน 2554


โภชนาการ : สัตว์พิเศษและสัตว์ในสวนสัตว์ - ข้อมูลเบื้องต้น นก - ภาพรวม - นกน้า - สัตว์จาพวกไก่ฟูา - นกฮัมมิงเบิร์ด - นกเกาะคอน (นกในอันดับ passeriformes ซึ่งจาแนกโดยลักษณะของเท้า) - นกพิราบและนกเขา - นกแก้ว - นกล่าเหยื่อ - กลุ่มนกที่บินไม่ได้ - นกอื่นๆ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม - ภาพรวม - ค้างคาว - สัตว์กินเนือ้ - สัตว์กินแมลง, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ไม่มีฟัน และสัตว์เลีย้ งลูกด้วยนมสัตว์ที่กินมดและปลวก - สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเล - สัตว์ที่มีถุงหน้าท้อง - สัตว์ที่อยู่ในอันดับลิง - สัตว์ฟันแทะ - สัตว์กีบ สัตว์เลือ้ ยคลาน - ภาพรวม - กลุ่มสัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ - งู - เต่าน้า - เต่าบก - กิ้งก่า


ความรู้เบื้องต้นในงานโภชนาการของสัตว์พิเศษและสัตว์ในสวนสัตว์ เมื่อไม่นานมานีข้ ้อมูลด้านโภชนาการของสัตว์พิเศษและสัตว์ในสวนสัตว์ ทาให้เกิดความ ก้าวหน้าที่สาคัญในทศวรรษที่ผ่านมา นักโภชนาการสัตว์พิเศษในสวนสัตว์และอุตสาหกรรมอาหารได้ ทาการศึกษาถึงปัญหาและสร้างข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการทางโภชนาการที่เหมาะสม สาหรับสัตว์ หลายชนิด สัตว์ทั้งหมดต้องการสารอาหารและพลังงานในรูปแบบที่ใช้ประโยชน์ได้ สารอาหารและ พลังงานจะต้องมีความสมดุลและในรูปแบบที่ถูกต้องโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อรองรับรสชาติ ระบบย่อย อาหารและวิธีการให้อาหาร ตัวอย่างเช่น กุล่มนกแก้วขนาดใหญ่จะใช้เท้าของมันสาหรับการจับอาหาร ในขณะทีส่ ัตว์ชนิดอื่น ๆ เมื่อได้รบั อาหารจะใช้ตาแหน่งอื่น เช่น รยางค์ (หรือมันไม่ได้จัดการกับอาหาร) ถ้าอาหารผสมที่ขายตามท้องตลาดผลิตด้วยกรรมวิธีขึ้นรูปนั้นจะต้องมีลักษณะเป็นชิน้ ขนาดใหญ่พอที่ นกจะสามารถจับกินได้โดยง่าย อาหารสาหรับสัตว์พิเศษและสัตว์ในสวนสัตว์ ได้รับการพัฒนาโดย พิจารณาจากลักษณะของอาหารที่อยู่ในปุา ทางช่องปากและลักษณะทางเดินอาหาร โดยความ ต้องการสารอาหารของสัตว์ เกิดจากการกาหนดเองในห้องปฏิบัติการสัตว์และมนุษย์ งานวิจัยทาง โภชนาการบนความหลากหลายทางพันธุกรรม และจากประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ซึ่งเกณฑ์ที่ดี ที่สุดสาหรับการประเมินความเหมาะสมของอาหารคือ การเจริญเติบโต ความสาเร็จในการเจริญพันธุ์ และการมีอายุยืนยาว ความต้องการสารอาหารขั้นต่าจัดตั้งขึน้ โดยสภาวิจัยแห่งชาติ (NRC) ในห้องปฏิบัติการสัตว์และ มนุษย์สามารถกาหนดจุดเริ่มต้นที่มีประโยชน์ ใช้ตงั้ เปูาหมายของระดับสารอาหารสาหรับความ หลากหลายทางพันธุกรรม โดยสัตว์พิเศษที่มคี วามหลากหลายทางพันธุกรรมที่มคี วามคล้ายคลึงกัน อย่างใกล้ชิด อาหารถูกกาหนดให้มสี ารอาหารที่จะตอบสนองความต้องการสาหรับสัตว์ที่มกี ีบเท้า พวกมิง้ ค์ พวกสุนัขล่าเหยื่อ พวกแมว พวกลิง พวกฟันแทะคู่เดียว พวกฟันแทะสองคู่ พวกไก่ฟูา พวก นกและพวกปลา อย่างไรก็ตามความต้องการสารอาหารที่จัดตั้งขึ้นโดย NRC ควรใช้เฉพาะเป็นแนวทาง เพราะเปูาหมายของผู้ผลิตปศุสัตว์ ถือว่าการให้อาหารสัตว์จะดูผลจากการเพิ่มประสิทธิภาพคือการ ให้ผลผลิตน้านมสูงหรือดูจากเปูาหมายการผลิตไข่ ซึ่งมีความแตกต่างจากเปูาหมายของบุคลากรใน สวนสัตว์ ถึงแม้ว่าหน่วยงาน NRC จะมีความต้องการน้อยเมื่อต้องใช้กับสายพันธุ์อื่น ๆ แต่ NRC ก็ยัง สามารถใช้เป็นมาตรฐานทั่วไป ที่มปี ระโยชน์สาหรับการประเมินความเพียงพอของสารอาหารสาหรับ นกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมากที่สุด การกาหนดและการประเมินผลอาหาร สาหรับสัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์สะเทินน้าสะเทินบกถือเป็นสิ่งทีย่ ากมากเพราะไม่มีต้นแบบสัตว์ในประเทศและเนื่องจากอัตรา การเผาผลาญอาหารของสัตว์เลือดเย็นมีความผันผวนกับการเปลี่ยนแปลงในอุณหภูมิห้อง การกาหนด


ความเข้มข้นของสารอาหารทั้งชนิดและปริมาณอาหารวิธีการและความถี่ในการให้อาหาร ควรจะเลือก ตามลักษณะทางกายภาพและพฤติกรรมของแต่สายพันธุ์ อาหารทั้งหมดควรมีคุณภาพดี อาหารที่บูด มีเชือ้ ราหรืออาหารที่เก็บไว้เป็นเวลานาน (เช่น > 1 ปีสาหรับอาหารถุงปิดสนิทและ 6-12 เดือน สาหรับอาหารแช่แข็ง) ไม่ควรนามาเลี้ยงสัตว์ การทา แบบ "โรยหน้า" บนอาหารในชามทุกวันหรือวันเว้นวัน ควรทิง้ เพราะอาหารที่ไม่ได้ทานที่อยู่ด้านล่าง สามารถทาให้อาหารเสียได้ อาหารและน้าควรจะทาความสะอาดก่อนที่จะใส่อาหารหรือน้าสะอาดลง ไป สัตว์สายพันธุ์ที่ไม่ใช่ทะเลควรจะใช้น้าจืดทั้งหมด แม้ว่าโดยปกติเต่าจะอยู่ในน้าแล้วขึ้นมาปรับตัว บนทะเลทราย 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ การให้ก้อนเกลือแร่ ก้อนอิฐหรือแกนม้วน ควรให้สาหรับสัตว์ที่มกี ีบ เท้า นกและสัตว์ฟันแทะบางชนิด การให้อาหารแบบโรงอาหาร(ให้รวมกัน) นับว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดี เพราะว่าสัตว์ที่อยู่ในกรงเลีย้ งจะไม่ เลือกกินอาหารทาให้ได้รับสารอาหารที่ไม่สมดุล แต่ถ้าสัตว์ที่อยู่ในปุาจะสามารถเลือกอาหารกินเองได้ ซึ่งโดยปกติผลิตภัณฑ์ที่ขายตามท้องตลาดจะมีคุณค่าทางโภชนาการที่สมบูรณ์ หรือในส่วนผสมภายใน ไม่สามารถจัดเรียงได้ดังนั้นควรประกอบด้วยกลุ่มของอาหารที่ประกอบด้วยเนื้อสัตว์ ผลไม้และเมล็ด บ้างบางส่วน อาหารเม็ดนับว่าเป็นสิ่งสาคัญมากกับนกแก้วเนื่องจากเป็นการหลีกเลี่ยงไม่ให้มีการเลือก กินเมล็ดพันธุ์ที่ขาดแคลเซียม กล้ามเนือ้ เนื้อ ผลไม้ เมล็ดธัญพืช ซึ่งเมล็ดและแมลงส่วนใหญ่ ถือว่า เป็นแหล่งที่ไม่ดขี องแคลเซียมและการบริโภคที่มากเกินไปอาจส่งผลให้เกิดการขาดแคลเซียมได้ ดังนัน้ ในเหยื่อที่เลีย้ งด้วยอาหารเสริมแคลเซียมสามารถนาเหยื่อแมลงมาเป็นอาหาร หรือทาให้สัตว์สามารถ สร้างสมดุลแคลเซียมฟอสฟอรัสได้ และจากข้อมูลอื่นๆ แคลเซียมจะรวมทั้งเปลือกหอย กระดอง ปลาหมึกและเม็ดแคลเซียมคาร์บอเนต(ดูที่กิง้ ก่า) โรคอ้วนมักพบบ่อยกว่าการบริโภคอาหารไม่เพียงพอ สัตว์ที่มีกีบเท้า สัตว์ในอันดับลิงและ สัตว์กินเนือ้ จะมีน้าหนักเกินอย่างรวดเร็วเมื่อกินอาหารในปริมาณที่มากเกินไปแต่มีกิจกรรมที่จากัด ใน นกบางชนิด (เช่น กลุ่มนกที่บินไม่ได้ นกน้า) จะมีอัตราการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่จะทาให้เกิด ปัญหาของขาและปีก สัตว์ที่โตเต็มที่และสัตว์ที่มกี ารเจริญเติบโตควรจะชั่งน้าหนักเป็นประจาเพื่อ ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลง ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงอาหารควรพิจารณาจากความไม่สมดุลของ สารอาหาร ข้อบกพร่องหรือความเป็นพิษ ซึ่งอาหารที่ใช้เลี้ยงในปัจจุบันอันดับแรกควรใช้คอมพิวเตอร์ วิเคราะห์เพื่อประเมินความเข้มข้นของสารอาหาร เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงส่วนผสมหรือสารอาหาร จากนั้นจะสามารถทาการดูแลปัญหาสุขภาพ สาหรับสัตว์ที่ถูกกักขังควรทาประวัติการรักษาและข้อมูล การบริโภคอาหาร เพื่อเป็นประโยชน์ในการประเมินสุขภาพได้ โดยรูปแบบการดาเนินงานของแต่ละ บุคคลถือเป็นสิ่งสาคัญ(เช่น โรคหลอดเลือดแดง พบได้บ่อยในนกอ้วน)


อาหารเสริม การใช้อาหารเสริมกาลังเป็นที่นยิ มมากขึ้นในหมูผ่ ดู้ ูแลสัตว์ ในขณะที่ผู้ดูแลสัตว์และเจ้าของ สัตว์เลี้ยงจานวนมากใช้การให้อาหารที่มีโภชนาการที่สมบูรณ์โดยไม่ต้องการผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เพิ่มเติม แต่อาหารเสริมก็ยังคงต้องมีอยู่ เป็นที่น่าเสียดายที่นานๆครั้งอาหารจะถูกประเมินเพื่อเป็น การตรวจสอบว่าสารอาหารที่ได้รับ(ถ้ามี)อยู่ในสภาวะไม่สมดุล การเสริมสารอาหารบางอย่างที่มาก เกินไป (เช่น บางวิตามินละลายในไขมัน, ซีลเี นียม, ทองแดง) ถือเป็นอันตรายได้ ซึ่งอาหารหลักควร ประกอบด้วย ผลไม้และผัก อย่างไรก็ตามอาหารเสริมต่างๆจะมีความแตกต่างกันในองค์ประกอบ การวิเคราะห์องค์ประกอบในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ขายโดยทั่วไปจะพบความเข้มข้นทีแ่ ตกต่างกันของ องค์ประกอบสารอาหาร 5 องค์ประกอบ คือ แคลเซียมเป็น 6.3-32% ฟอสฟอรัส 0-20% วิตามิน เอ 222,000-6,600,000 IU/kg และวิตามินดี 636-22,000 IU/kg ปริมาณสารอาหารในปัจจุบันควร มีการกาหนดหรือการประมาณเป็นอันดับแรกเพื่อพิจารณาว่าจาเป็นต้องเสริมอาหารชนิดใด หรือถ้า เสริมควรจะเสริมสารอาหารอะไรโดยเฉพาะ หรือถ้าหากมีการขาดสารอาหารเกิดขึ้น ควรจะแนะนา อาหารเสริมเฉพาะในปริมาณทีจ่ าเป็น ดังนัน้ การไม่พิจารณาอาหารเสริมจะทาให้เกิดอาการหมด กาลังใจเพราะจะเกิดความเป็นพิษและการไม่สมดุลของสารอาหารซึง่ ทาให้เกิดผลตามมา น้า การดื่มน้าของสัตว์ควรทาการตรวจสอบเป็นประจา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสัตว์ที่มีการทางาน ของไตที่ไม่ดี ทั้งในกิง้ ก่าหรือนกที่มแี นวโน้มที่จะเป็นโรคข้อและในสัตว์ที่ตอ้ งอยู่ในอุณหภูมสิ ูงหรือ ความชื้นต่าซึ่งจะทาให้เกิดการสูญเสียน้า ดังนัน้ จึงควรทราบปริมาณของเกลือในน้าเพราะสัตว์บาง ชนิดมีความทนต่อปริมาณเกลือน้อยกว่าสัตว์ชนิดอื่น ๆ สัตว์ที่เลีย้ งด้วย อาหารแห้ง (อาหารเม็ด อาหารผสมขึน้ รูป หญ้าแห้งและอื่น ๆ) ต้องให้น้ามากขึ้นกว่าอาหารที่มนี ้าอยู่ น้าดื่มควรจะเป็นน้าสะอาด สัตว์จานวนมากในปุาได้น้าจากในอาหารทีพ่ วกมันกิน เมื่อสัตว์บางชนิดมี การบริโภคอาหารที่มีความชืน้ ต่า (อาหารเม็ด อาหารผสมขึน้ รูปและอื่น ๆ) จะเห็นได้ว่าน้าที่ได้รับ อาจจะไม่เพียงพอที่จะรักษาความชุ่มชืน้ ได้ กิ้งก่าขนาดเล็กในเขตร้อนได้รับน้าจากอาหารและจากการ หวดน้ากินหลังจากที่ฝนตก สัตว์ที่อยู่ในกรงเลี้ยงมักจะไม่ดื่มน้าจากภาชนะบรรจุ ความชื้นในอากาศ อาจเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งในการรักษาความชุ่มชืน้ ของสัตว์เลือ้ ยคลานหลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สัตว์ในเขตร้อน แต่ละวันจะมีละอองน้าอุ่นซึ่งถือว่าเป็นแหล่งน้าที่สาคัญที่ทาให้เกิดความชุ่มชืน้ สาหรับ กิ้งก่า สาหรับรอยโรคของตาในเต่าครึ่งบกครึ่งน้า (เช่น เต่ากล่อง) และเต่าบางชนิดที่อาจเป็นผลจาก สิ่งแวดล้อมที่มคี วามชืน้ ต่า (หรืออาจจะเป็นโรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน) และไม่ขาดวิตามินเอ โรคตาแดงอาจตอบสนองดีเมื่อถูกรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและให้อยู่ในที่ที่มคี วามชืน้ สูงดีกว่าการที่จะ รักษาด้วยการเสริมวิตามินเอ ประวัติการให้อาหารอาจจะสาคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีดังกล่าว เพราะเต่าที่อยู่ในกรงเลี้ยงจานวนมากกินอาหารแมวซึ่งเป็นอาหารสาเร็จรูปโดยจะมีวติ ามินเอสูง


นก การขาดธาตุอาหารในนกมักจะไม่เห็นชัดจนกระทั่งนกมีการสลัดขนหรือไม่มกี ารพยายามที่จะ ผสมพันธุ์ ปัญหาที่พบบ่อยที่สุดมักเกี่ยวข้องกับการได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอ เกิดข้อบกพร่องของ การขาดวิตามินเอ โปรตีน (โดยเฉพาะกรดอะมิโน กามะถัน) แคลเซียม สังกะสี กรดโฟลิคและวิตามิน บี 5 รวมทั้งสารอาหารอื่น ๆ สามารถก่อให้เกิดความผิดปกติและขนนกหยาบ ขาดได้ ในนกบางชนิด (เช่น นกฟลามิงโก้ นกปากห่าง นกขุนแผน นกทาเนเจอร์ นกหัวขวาน) ขึน้ อยู่กับอาหารที่มเี ม็ดสีส้ม เหลือง ซึ่งเป็นอาหารธรรมชาติสาหรับสีขน แหล่งที่มาของเม็ดสีที่เหมาะสมรวมถึงแครอท สารสกัด จากแครอท หญ้าอาฟาฟูา(alfalfa) อาหารกุ้ง กุง้ น้าเกลือและสีสังเคราะห์ เช่น สารสีแคนทาแซ นทีน แม้ว่าส่วนใหญ่นกที่อยู่ในกรงเลี้ยงจะได้รับอาหารแบบเดียวตลอดทั้งปี ซึ่งนกในปุาจานวนมาก จะได้อาหารที่แตกต่างในแต่ละฤดู โดยเป็นที่รู้กันเกี่ยวกับผลกระทบที่มกี ารเปลี่ยนแปลงของอาหาร ตามฤดูกาลในนกแปลกใหม่ ผักและผลไม้ควรได้รับการล้างสารกาจัดศัตรูพืชที่ตกค้างออก อาหาร อ่อนที่ไม่สามารถกินได้ควรจะทิง้ ทุกวันเพื่อปูองกันการปนเปื้อนเชื้อแบคทีเรีย นกไม่ได้ใช้วิตามิน D2 อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นจะใช้วิตามิน D3 โดยวิตามินดีจะถูกเพิ่มในอาหารนก เมล็ดพันธุ์ชนิดที่กิน ควรมีความสามารถในการช่วยการทางานกระเพาะอาหารของนกที่เหมาะสม รวมทั้งการเสริม แคลเซียม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระหว่างการผสมพันธุ์และฤดูวางไข่ (ดูตาราง: ความเข้มข้นของธาตุ อาหารที่แนะนาสาหรับนกแก้ว)


นกน้า นกแพนกวิน้ นกกระทุงและนกพันธุ์อื่นที่กินปลา สัตว์น้าเปลือกแข็งและปลาหมึก โดยสัตว์ที่ อยู่ในกรงเลี้ยงจะกินพวกปลาเคปลิน ปลาหมึก ปลาสเมล ปลาแฮร์ริ่ง ปลาทูและปลาไวทิง ซึ่งเป็น อาหารทั่วไป ในส่วนที่สาคัญที่สุดของการให้อาหารนกเพนกวินและนกกินปลาอื่น ๆ จะต้องเป็นปลาที่ มีคุณภาพ (ดูสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเล : บทนา) โดยนกกินปลาควรได้รับอาหารผสมซึ่ง ประกอบด้วย ปลา ≥ 2 ชนิด เพื่อให้แน่ใจว่าสารอาหารที่ได้รับมีความเหมาะสม การให้อาหารเสริม เพนกวินควรจะรวมกัน เกลือ กรดไขมันไม่อ่มิ ตัวและวิตามิน อาหารเสริมจาพวกเกลือแกลง (NaCl) มีไว้เพื่อการจัดแสดงนกน้าจืด เพื่อเป็นการช่วยรักษาระบบการทางานที่เหมาะสมของต่อมเกลือของ นก โดยนกต้องการ 0.5-1 กรัม/ตัว/วัน โดยเพียงพอสาหรับแต่ละสายพันธุ์มากที่สุด ซึ่งการให้กรด ไขมันจาเป็นที่จะใช้เป็นแหล่งเสริม พบว่ามีการแนะนาว่าควรให้อาหารเสริมแก่นกในระหว่างการ สืบพันธุ์และการเกิดใหม่ คือ ปลาสเมล 2-3 มล. ของน้ามันข้าวโพด/ตัว/วัน ส่วนในการเสริมวิตามิน บีหนึ่งและวิตามินอี (วิตามินบีหนึ่ง 25 mg และ วิตามินอี 100 IU/kg ของปลาที่เลีย้ งไว้) ถูกแนะนาให้ ใช้ในปลาแช่แข็ง อาหารเสริมวิตามิน D3 (250-500 IU/kg ของปลาที่ใช้เป็นอาหาร) อาจเป็นประโยชน์ สาหรับนกไม่ถูกแสงแดดโดยตรง การให้แคลเซียมคาร์บอเนต หรือ ไดแคลเซียมฟอสเฟต สาหรับนก ตัวเมียในช่วงการสืบพันธุ์ถือเป็นวิธีการทั่วไปเพื่อให้มั่นใจว่าจะมีการสร้างเปลือกไข่ที่ดี นกแพนกวิน และนกกระทุงควรจะเลี้ยงแบบแยกกัน เพื่อให้แน่ใจว่านกแต่ละได้รับปริมาณสารอาหารที่เหมาะสม และเพื่อตรวจสอบว่าได้รับในปริมาณเท่าใด โดยทั่วไปแล้วการกินปลา 0.5-2 กก./ตัว/วัน ขึ้นอยู่กับ สายพันธุ์ของเพนกวิน ปริมาณไขมันของปลาและการผลัดขน

สาหรับการให้อาหารนกที่กินปลาชนิดอื่น ๆ จะเสนอ (เช่น นกกาน้า นกกระสา นกนางนวล นกลูน นกเป็ดน้า นกนางแอ่น) คล้ายกับอาหารเพนกวิน สาหรับนกบางชนิดจะยอมกินอาหารนกที่ ขายตามท้องตลาด เกล็ดปลาเทราท์และ/หรือหนูในอาหารเช่นเดียวกับปลา


นกฟลามิงโก้สามารถเลี้ยงด้วยอาหารนกฟลามิงโก้ที่ขายตามท้องตลาดหรือส่วนผสมของ เกล็ดปลาเทราท์ (จานวน 4 ขนาด) อาหารเป็ด อาหารนก อาหารสุนัขแห้งและอาหารที่เป็นแหล่งที่มา ของเม็ดสี (เช่น แคนทาแซนทีน สารสกัดน้ามันแครอท) การขาดแหล่งที่มาของเม็ดสีในอาหารที่ เหมาะสมจะทาให้สีขนซีดจาง ๆ ดังนัน้ ส่วนผสมแห้งควรผสมกับน้าเพื่อขึน้ รูปอาหารให้เป็นแบบ ธรรมชาติ นกน้าส่วนใหญ่สามารถให้อาหารเป็ดหรืออาหารนกที่ขายตามท้องตลาดได้ โดยผสมพร้อมกับ ผักใบเขียวสับ ส่วนอาหารสุนัขชนิดเม็ดแห้ง (ไขมัน <10%, โดยน้าหนักแห้ง) หรืออาหารปลาเทราท์ สามารถรวมอยู่ในอาหารได้ การให้อาหารธัญพืชควรใช้โดยประมาณ (<25% ของอาหารแห้ง) แต่ไม่ ควรใช้ทดแทนอาหารเม็ดทีม่ ีคุณค่าทางโภชนาการสมบูรณ์


สัตว์จาพวกไก่ฟูา สัตว์จาพวกไก่ฟูา (เช่น ไก่ฟูา นกกระทา ไก่งวง ไก่ปุาหรือนกกระทา) มักมีอาหารขายตาม ท้องตลาด ดังนั้นควรมีทางเลือกในการใช้อาหารให้ถูกต้องตามความต้องการ เช่น ต้องการแคลเซียม เสริมในช่วงฤดูผสมพันธุ์ นอกจากนี้ยังสามารถให้ผักกาดหอมสับหรือพืชสีเขียวอื่น ๆ สัตว์กินพืช พวกไก่ปุาหรือนกที่อยู่ในกรงเลี้ยงซึ่งยากต่อการจัดการอาจต้องใช้อาหารธรรมชาติโดยเฉพาะเช่น ต้น วิลโลว์ ต้นหลิว หรือใบและตาของต้นบลูเบอร์รี่ อาหารเสริมที่มกี ารใช้อย่างประสบความสาเร็จ สาหรับสัตว์จาพวกไก่ฟูาจะต้องเป็นอาหารที่มีเส้นใยสูง (เช่น เส้นใย 10% โดยน้าหนักแห้ง) กว่า อัตราส่วนอาหารของนกและสัตว์ปีก ลูกไก่ของไก่ปุาหรือนกบางชนิดที่กาลังเจริญเติบโตพบว่ามีความต้องการใช้อาหารเสริมที่เป็น วิตามินซี ส่วนอาหารของสัตว์จาพวกไก่ฟูาอาจเสริมด้วยจิง้ หรีดและหนอนนก (เลี้ยงด้วยอาหารเสริม แคลเซียมในเหยื่อเป็นระยะเวลาหนึ่ง ก่อนที่จะนาเหยื่อไปเลี้ยงสัตว์) เพื่อให้ความหลากหลายและเพื่อ ใช้เป็นตัวกระตุ้นการให้อาหาร


นกฮัมมิงเบิร์ด นกฮัมมิงเบิร์ดที่อยู่ในกรงเลี้ยงจะได้รับน้าหวานทียม (ตาราง: อาหารนก) โดยน้าหวานเทียมจะมีพลังงานสูงมากเพื่อตอบสนองความ ต้องการของนก น้าหวานที่ขายตามท้องตลาดมักทาแบบผสมแห้งโดยจะ มีการเสริมโปรตีน วิตามินและแร่ธาตุ น้าหวานที่ขายตามท้องตลาดจะ ผสมเพียงน้าตาลและสีผสมอาหารซึ่งไม่มคี ุณค่าทางอาหารที่เพียงพอ ดังนัน้ จึงควรมีน้าหวานที่เสริมคุณค่าทางโภชนาการ โดยให้นกทุก เช้า และในตอนท้ายของแต่ละวัน น้าหวานที่ให้ตอนเช้าควรจะทิง้ เพื่อ ปูองกันการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรียและปูองกันไม่ให้เกิดการหมัก แต่ ถ้าในสภาพอากาศร้อนอาจจะต้องเปลี่ยนในตอนกลางวันแทน ในช่วง บ่ายอาจเปลี่ยนมาให้น้าผสมน้าตาลแทนเพราะมีโอกาสน้อยที่จะเกิดการเปรี้ยว ซึ่งการให้น้าหวาน สามารถให้โดยผู้ปูอนอาหารโดยใช้หลอดได้ โดยปกตินกฮัมมิงเบิร์ดที่ถูกเลี้ยงไว้ในสนามหลังบ้านจะไม่ แนะนาเรื่องการให้อาหารในกรงเลี้ยงเพราะจะมีปัญหาในการจัดการกับน้าหวานที่เกิดการอุดตันตาม ท่อและทาให้ยากต่อการทาความสะอาด ซึ่งหลอดปูอนอาหารควรมีสี (ปกติสีแดง) และจะต้องมีขนาด และรูปร่างที่เหมาะสมเพื่อรองรับการกินของนก ผูใ้ ห้อาหารควรจะทาความสะอาดทุกวันอย่างละเอียด สีของนกฮัมมิงเบิร์ดจะไม่ได้รับผลกระทบจากสารสีในอาหาร ดังนัน้ ก็ไม่จาเป็นต้องใช้น้าหวานที่มีสี แมลงวันผลไม้ก็ควรจะให้รวมอยู่ในอาหารด้วย นกเกาะคอน กลุ่มนกเกาะคอน สามารถแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่มตามลักษณะนิสัยของการกินอาหาร โดยแบ่งตามการกินแมลง การกินผลไม้ การกินน้าหวาน การกินเมล็ดและการกินทั้งพืชและสัตว์ โดยนกที่กินแมลง (เช่น นกกระจิบ นกจับแมลง นกอีเสือ) สามารถกินอาหารเสริมพวกจิ้งหรีด หนอน นก หนอนแมลงวัน แมลงวัน และ/หรือแมลงผลไม้ โดยส่วนใหญ่สัตว์ที่กินแมลงจะกินอาหารผสม (ตาราง: อาหารนก) ซึ่งเราสามารถวางแมลงลงบนอาหารเพื่อเป็นการกระตุ้นการอยากอาหารได้


นกที่กินผลไม้ (เช่น นกเบลเบิรด์ นกแวคซ์วงิ ) สามารถกินอาหารที่ผสมด้วยโปรตีน เกลือแร่ และวิตามิน (ตาราง : อาหารนก)

สัตว์ที่กินน้าหวาน (เช่น นกกินปลี นกฮันนี่ครีปเปอร์) ที่อยู่ในกรงเลี้ยงจะใช้น้าหวานเทียม (ดูนกฮัมมิงเบิร์ด และ ตารางอาหารนก) การให้อาหารส่วนใหญ่เป็นน้าหวาน แต่ก็ยังกินแมลงและ/ หรือแมลงผสม ผลไม้

สัตว์ที่กินเมล็ด (เช่น นกฟินซ์ นกกระจอก นกคาร์ดนิ ัล) สามารถกินเมล็ดพันธุ์ที่ผสมกัน ได้ (เมล็ดพันธุ์หลัก ได้แก่ เมล็ดสีเหลืองอ่อนและสีเหลือง สีขาวและสีแดง ส่วนรองลงมาจะเป็นข้าว ฟุางรวม ข้าวโอ๊ต เมล็ดปอ และเมล็ดถั่วหรือเมล็ดทานตะวัน) อีกทั้งยังสามารถกินผักใบสีเขียวที่ ละเอียด แมลง สัตว์ขนาดเล็ก ผลไม้ เนยถั่วและไข่แดง เพื่อเป็นการเสริมอาหารให้กับสัตว์ นอกเหนือจากเมล็ดพันธุ์ พวกกระดองปลาหมึก (หรือแหล่งแคลเซียมอื่น ๆ) และกรวดสามารถใช้ได้ เพื่อถือเป็นทางเลือกให้กับนกที่กินเมล็ด


สาหรับสัตว์ที่กินทั้งพืชและสัตว์ (เช่น นกอีกา นกทานาเจอร์ นกกิง้ โครง นกเอีย้ ง นกขมิ้น นกเมนาคิน นกปักษาสวรรค์) สามารถกินผลไม้ผสมกับแมลง ผักสีเขียวและไข่แดงสุก นกบางชนิด อาจพบว่ามีเหล็กสะสมในตับซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต โดยยังไม่รถู้ ึงสาเหตุที่แท้จริง แต่อาจเป็นผล มาจากการขาดทองแดงและวิตามินซีในอาหาร ในสัตว์บางชนิดในตับมีการขับธาตุเหล็กและในลาไส้จะ เกิดการดูดซึมธาตุเหล็ก ดังนัน้ จึงควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มคี วามเข้มข้นของธาตุเหล็กสูง (มี) หรือ อาหารที่มีธาตุเหล็กในเลือดสูง มักพบในอาหารพวกเนื้อแดง ซึ่งควรเลือกใช้สูตรอาหารที่ขายตาม ท้องตลาดที่มคี วามเข้มข้นของเหล็กต่า (เช่น เหล็ก < 100 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม, น้าหนักแห้ง) อาหาร เม็ดนุ่มที่ขายตามท้องตลาดเหมาะสาหรับนกเอี้ยง


ส่วนกลุ่มนกเกาะคอนบางชนิดที่กินทั้งพืชและสัตว์ (เช่น นกเดินดง นกอกเหลือง นกจาบ) ยังกินส่วนผสมของเมล็ดและเมล็ดธัญพืช

นกพิราบและนกเขา นกพิราบที่กินเมล็ดและนกเขาสามารถกินอาหารเม็ดและธัญพืชสาหรับนกพิราบที่ขายตาม ท้องตลาด (ข้าวสาลี ข้าวโพด ถั่วแคนาดา [ถั่วฟิลด์]และข้าวฟุาง) นกพิราบและนกเขาที่กินผลไม้มี ความสามารถกินชิน้ ใหญ่ (ตาราง : อาหารนก)


นกแก้ว ในสัตว์ที่กินเมล็ดขนาดใหญ่ (เช่น นกมาคอ นกแก้ว นกกระตัว้ ) โดยทั่วไปนั้นจะกินอาหาร พวกเมล็ดเป็นหลัก (เมล็ดดอกทานตะวัน เมล็ดปุาน ข้าวฟุาง เมล็ดแคนารี เมล็ดดอกคาฝอย ข้าว โอ๊ต) ถั่วลิสงขนมปังกรอบ อาหารสุนัขแห้ง ผลไม้ (แอปเปิ้ล กล้วย องุน่ ส้ม) ผัก (ผักสีเขียว แค รอท ข้าวโพด มันฝรั่งหวาน) และอาหารเสริมต่างๆ (ไข่แดงสุก วิตามิน เกลือแร่ จมูกข้าวสาลี) (ดู ตาราง : อาหารนก) แต่ละส่วนประกอบร้อยละของอาหารจะแตกต่างกันอย่างกว้างขวาง มีรายงาน ด้านอาหารพบว่าพ่อแม่พันธุ์บางตัวจะกินอาหารที่ประกอบด้วยบิสกิตเกือบทั้งหมด ขณะทีต่ ัวอื่นๆ แนะนาว่าให้กินบิสกิตของเด็กไม่เกินกว่า 10% ของอาหาร

การที่จะให้สัตว์กินอาหารแต่ละอย่างเข้าไปควรทาการตรวจสอบอย่างใกล้ชิด เนื่องจากนก จานวนมากชอบเลือกกินพวกเมล็ดพืชและถั่ว ในขณะที่จะทาให้เกิดความแตกต่างในเรื่องของระดับ ความเข้มข้นของสารอาหารของเมล็ดพืชและถั่ว โดยจะส่งผลทาให้ขาดแคลเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม สังกะสี เหล็ก ไอโอดีน ซีลเี นียม วิตามินที่ละลายในไขมันและวิตามินบีบางชนิด มีเมล็ดบาง ชนิดเท่านัน้ ที่จะให้โปรตีนเพียงพอสาหรับการเจริญเติบโต นอกจากนีเ้ มล็ดพืชและถั่วจะมีไขมันสูง ส่งผลทาให้เกิดโรคอ้วนในสัตว์หลายชนิด ถ้าจะให้เมล็ดพืชและถั่วควรให้ในปริมาณที่จากัดและไม่ควร ให้ในกรณีที่สัตว์ตัวเมียมีการผสมพันธุ์และการเจริญเติบโตของลูกไก่อยู่ เมื่อมีการให้อาหารบางอย่าง ที่ไม่เหมาะสมในปริมาณสูงอยู่ ก็ควรจะลดลงอาหารเพื่อบังคับให้กินอาหารอื่น ๆ อาหารผสมล่วงหน้า พวกวิตามินและแร่ธาตุสามารถใส่ลงในน้าดื่มและควรหั่นสับผักและผลไม้ให้เป็นชิ้นที่ง่ายพอสาหรับนก อาหารที่ขายตามท้องตลาดสาหรับนกแก้วขนาดใหญ่บางอย่างเป็นเพียงส่วนผสมของเมล็ด พันธุ์และส่วนผสมอื่น ๆ ที่ยังคงอนุญาตให้ใช้สาหรับนก และสิ่งต่างๆควรเสริมด้วย เม็ดหรือผลิตภัณฑ์ สาเร็จรูปทีผ่ สมเพิ่มคุณค่าสารอาหารให้นกกินโดยเฉพาะ ถึงแม้วา่ อาหารเม็ดหรือผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป จะให้กินได้ง่ายกว่าอาหารผสม แต่การยอมรับของนกมักจะไม่ดีในนกที่มอี ายุมาก ซึ่งมีความคุ้นเคย


กับการกินอาหารพวกเมล็ดพืชและผลไม้ ดังนัน้ จึงควรค่อยๆเปลี่ยนอาหารของนกที่มอี ายุมากให้มาใช้ อาหารที่ขายตามท้องตลาด เนื่องจากนกอายุโตเต็มวัยมีความยอมรับผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปหรือเมล็ด มากกว่า ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่านีถ้ ือว่ามีคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสม อาหารบางชนิดในตลาด สาหรับนกแก้วอาจไม่ได้ถูกกาหนดอย่างเหมาะสม ดังนัน้ จึงขอ แนะนาถึงระดับความเข้มข้นของสารอาหารเพื่อเหมาะสาหรับช่วงผสมพันธุ์และการบารุงรักษานกแก้ว ในหลายๆชนิด ดูตาราง : ความเข้มข้นของธาตุอาหารที่แนะนาสาหรับนกแก้วมากที่สุด ควรจะได้รับ อาหารที่ตรงหรือคล้ายกับระดับความเข้มข้นของสารอาหารเหล่านี้ ทาโดยมีการวิเคราะห์คานวณค่า ของสารอาหารในผลิตภัณฑ์ ดังนัน้ ควรจะตรวจสอบและเปรียบเทียบกับความเข้มข้นของสารอาหารที่ แนะนาก่อนที่จะให้กินถึงแม้ว่าจะมีผลิตภัณฑ์หลายตัวที่อยู่ในท้องตลาดที่มคี ุณค่าทางโภชนาการที่ เหมาะสม แต่พอวิเคราะห์ความเข้มข้นของสารอาหารในหลายๆผู้ผลิตชีใ้ ห้เห็นว่ายังไม่ดีพอ ซึ่งการ วิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการจะคิดเป็นช่วง โดยคิดตามน้าหนักแห้ง พบว่ามีโปรตีน 1530% แคลเซียม 0.18-1.5% ฟอสฟอรัส 0.29-1.06อัตราส่วนของแคลเซียม:ฟอสฟอรัส 0.62-1.97 โซเดียม 0.03-0.4% เหล็ก 80-4,200 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ทองแดง 8-132 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม สังกะสี 31-939 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แมงกานีส 15-1,055 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จะเห็นได้ว่าใน อาหารมี แคลเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม สังกะสี แมงกานีสต่าเป็นผลทาให้สัตว์มสี ุขภาพที่ไม่ดี และในอาหารที่มเี หล็ก ทองแดง สังกะสี หรือแมงกานีสสูงอาจเกิดพิษได้ นกแก้วขนาดเล็กที่กินเมล็ด (เช่น นกกระตัว้ นกหงส์หยก นกเลิฟเบิรด์ ) สามารถกินอาหาร ผสมที่ขายตามท้องตลาด (เมล็ดสีเหลืองอ่อน สีแดง สีเหลืองและข้าวฟุางขาว ข้าวโอ๊ต) พร้อมด้วย ผักใบเขียวขนมปังและผลไม้ นอกจากนีย้ ังมีอาหารในเชิงพาณิชย์(อาหารสาเร็จ) เม็ดขนาดเล็ก ซึ่งมี แนวโน้มว่ามีคุณค่าทางอาหารสมดุล โดยอาหารเสริมวิตามินและเกลือแร่สามารถเพิ่มในลักษณะ เดียวกับอาหารนกขนาดใหญ่ ซึ่งแตกต่างจากนกแก้ว นกโนรีและนกแก้วสีรุ้งส่วนใหญ่จะกินผลไม้ เป็นอาหารหลัก มักจะมีการใช้ผลไม้หลายๆชนิดผสมกันเพื่อเสริมให้สัตว์


กระดองปลาหมึก เปลือกหอยนางรม หรือก้อนแร่ธาตุ ถือเป็นทางเลือกสาหรับนกแก้ว โดย ปกตินกแต่ละพันธุ์จะกินอาหารวันละประมาณ 10-15% ของน้าหนักตัว จะเห็นว่านกขนาดใหญ่จะมี กินสูงกว่านกขนาดเล็ก นกล่าเหยื่อ อีแร้ง เหยี่ยวปีกแตก เหยี่ยวแมลงปอ นกอินทรีและนกฮูกสามารถเลีย้ งด้วยอาหารสัตว์ปกติ ได้ทั้งหมด รายการอาหารจะมีทั้งลูกไก่อายุ 5 สัปดาห์ นกกระทา หนูถีบจักร หนูขาวใหญ่ และ นกพิราบ เหยื่อจะมีหลากหลายชนิดขึ้นอยู่กับความต้องการของสัตว์เอง ซึ่งสัตว์จะเลือกตามลักษณะ นิสัยการกินอาหารตามธรรมชาติ

ปลาสามารถรวมอยู่ในอาหารสาหรับพวกที่กินปลา (เช่น เหยี่ยวออสเปร นกอินทรีทะเล นกอินทรี หัวล้าน) และแมลงถือเป็นแหล่งเสริมแคลเซียมสาหรับเหยี่ยวเคสเตรลและเหยี่ยวแมลงปอซึ่งเป็นเหยี่ ยมขนาดเล็ก ถ้าใช้ปลาหรือไก่แก่เป็นอาหารควรเสริมคุณค่าทางอาหารด้วยวิตามินบี 1 (30 มิลลิกรัม ต่อกิโลกรัม ในอาหารที่ใช้เลีย้ งคิดตามน้าหนักแห้ง) เพื่อให้แน่ใจว่าอาหารมีคุณค่าทางโภชนาการที่ สมบูรณ์ เหยื่อไม่ควรตายก่อนการให้อาหาร อาหารที่ขายตามท้องตลาดที่เป็นเหยื่อนกสามารถ นามาใช้ได้หลายชนิดและมักจะให้เหยื่อที่ยังมีชีวติ อยู่ อาหารที่ขายตามท้องตลาดมีหลากหลายชนิด


โดยจะมีองค์ประกอบคือ ความชื้น 55-60% และ(คิดตามน้าหนักแห้ง) โปรตีน 45-50% สารสกัด จากอีเธอร์ 18-20% เส้นใย 2.2-2.5% แคลเซียม 1-1.5% และฟอสฟอรัส 0.7-1% เนื่องจากเห็น ความสอดคล้องของอาหารกับเหยื่อเหล่านี้ ดังนัน้ ควรจะให้เหยื่อสองครัง้ ต่อสัปดาห์เพื่อช่วยปูองกัน การอุดตันของจงอยปากและปูองกันการเจริญเติบโตที่มากเกินไป นกล่าเหยื่อขนาดเล็กสามารถกินได้ มากกว่า 25% ของน้าหนักตัว/วัน ส่วนนกชนิดทีม่ ีขนาดใหญ่อาจจะกินเพียง 4% ดังนัน้ นกที่อยู่ในกรง เลี้ยงควรทาการชั่งน้าหนักเป็นประจาเพื่อตรวจสอบน้าหนักที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงและควรมีการปรับการ กินอาหารตามที่จดไว้

กลุ่มนกที่บินไม่ได้ กลุ่มนกที่บินไม่ได้ทั้งหมดเป็นนกขนาดใหญ่(นกอีมู นกแคสโซวารี นกกระจอกเทศ นกเรีย) สามารถเลีย้ งด้วยอาหารเม็ดที่ขายตามท้องตลาดของกลุ่มนกที่บินไม่ได้ อาหารที่เหมาะสาหรับการ เจริญเติบโตและการบารุง มีโปรตีน 20-24% เยื่อใย 12-19% แคลเซียม 1.2-2% ฟอสฟอรัส 0.61.1% วิตามินเอ 10,000-15,000 IU/กิโลกรัมและวิตามิน D3 1,500-2,500 IU/กิโลกรัม(คิดตาม น้าหนักแห้ง) (ดูตาราง : แนะนาสารอาหารที่มีความเข้มข้นสาหรับนกกระจอกเทศ นกเรีย นกอีมู) อาหารที่เหมาะสาหรับการผสมพันธุ์ควรมีระดับของแคลเซียมสูงขึ้น (เช่น แคลเซียม 2.8% ในเม็ดหรือ


เปลือกหอยนางรม) และยังมีการใช้ส่วนผสมของอาหารเม็ดสาหรับสัตว์ปีก อาหารเป็ด อาหารสุนัข แห้ง อาหารกระต่ายและเปลือกหอยนางรม ส่วนนกแคสโซวารีจะใช้ผักใบสีเขียว แอปเปิ้ลเพิ่มใน อาหาร กลุ่มนกที่บินไม่ได้ทยี่ ังเป็นเด็กอยู่พบความผิดปกติโดยเฉพาะอย่างยิ่งทีข่ าที่ดูเหมือนจะเกี่ยวข้อง กับคุณค่าทางโภชนาการ การลดอัตราการเจริญเติบโตโดยการลดอาหารถือเป็นการลดกระบวนการ ย่อยอาหารและเพิ่มเส้นใยเพื่อลดรอยโรยที่จะเกิดขึ้นที่ขาเหมาะสาหรับนกที่อยู่ในวัยเด็ก อาหารที่ทา จากหัวใจวัวแล้วตัดเป็นเส้นเหมือนตัวหนอน ถือเป็นสิ่งที่ถูกนามาใช้ในนกกีวี (ตาราง : อาหารนก)

นกอื่นๆ โดยส่วนใหญ่จะเป็นนกปากอ่อนที่กินผลไม้ เช่น นกเงือก นกทูแคน นกทูแคนเนตและนกทู ราโค่ (ตาราง : อาหารนก) พร้อมกับแมลง ผักใบเขียวและอาหารสุนัขแห้งหรือเหยื่อ พบว่านกทูแคนมี การเก็บธาตุเหล็กมากเกินไปในตับ ดังนัน้ จึงควรได้รับอาหารที่มีธาตุเหล็กต่าและควรหลีกเลี่ยงอาหาร ที่มธี าตุเหล็กในเลือด นอกจากนีย้ ังมีการใช้อาหารเจลาตินเสริมสาหรับนกเงือกและนกทูแคน การวาง อาหารที่เป็นโปรตีนเจลาตินต้องไม่วางเป็นลาดับ แต่ต้องระวังการกาหนดสูตรความเข้มข้นเนื่องจากใน เจลาตินจะมีกรดอะมิโนทริบโทเฟนต่า นกปากกบและนกกระเต็นจะกินหนูและเหยื่อที่เป็นอาหาร สาหรับนก



สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สารอาหารที่เหมาะสาหรับการเลีย้ งสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมต้องประกอบด้วย 1. การเลือกสูตรอาหารที่จะรองรับการเจริญเติบโตอย่างพอเพียงและไม่สง่ ผลต่อระบบ ทางเดินอาหารของสัตว์ 2. ควรให้อาหารในเวลาที่เหมาะสม ปริมาณที่พอดีและมีวธิ ีการให้อาหารที่ดี อีกทั้งยังต้องมี การปูองกันไม่ให้อาหารมากเกินไป น้อยเกินไปหรือมีการสาลักเข้าไปในปอด 3. มีการเก็บรักษาภาชนะใส่อาหารที่สะอาดและมีการฆ่าเชื้อ หากความสาเร็จถูกตัดสินจากการมีชีวติ อยู่รอดและการตาย โดยเปรียบเทียบกับการ เจริญเติบโตและสุขภาพของสัตว์ที่มแี ม่คอยเลี้ยงเองนั้น พบว่าสัตว์ที่อยู่ในกรงเลีย้ งที่ถูกเลี้ยงด้วยคนมี พัฒนาการที่ดีที่สุด โดยทั่วไปสัตว์ชนิดที่ตอ้ งเลีย้ งอย่างทะนุถนอมมากขึ้น (เช่น สัตว์ที่มีถุงหน้าท้องบาง ชนิด สัตว์ฟันแทะ กระต่าย) ประสบความสาเร็จน้อยจนกว่าจะมีระดับขั้นการดูแลที่ดขี นึ้ เมื่อใดก็ตามที่จะต้องเลี้ยงเองควรทาการศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของนมและข้อมูลการดูแล เลี้ยงดูลูกสัตว์ก่อนที่จะทาการให้นมในครั้งแรก เป็นที่น่าเสียดายที่นมนั้นมีสว่ นประกอบบางส่วนที่ไม่ เหมาะสาหรับสายพันธุ์ทุกๆสายพันธุ์ โดยปริมาณน้าตาลแลคโตสในนมจะมีความแตกต่างกันระหว่าง สายพันธุ์ที่แตกต่างกัน ในสัตว์ (เช่น แมวน้า กระต่าย) ปกติจะกินนมที่มนี ้าตาลแลคโตสต่า ในการ ผลิตนมทั่วไปพบว่าจะมีปริมาณแลคโตสน้อย และจะเกิดปัญหาในระบบทางเดินอาหารและโรค อุจจาระร่วงอย่างรุนแรงเมื่อมีการปูอนนมที่มีปริมาณแลคโตสสูง เช่น วัว ในทานองเดียวกันการเพิ่ม น้าตาลซูโครสในนมถือเป็นสิ่งที่หา้ มเพราะสัตว์แรกคลอดมีความสามารถในการผลิตเอ็นไซม์ซูเคสน้อย (เอนไซม์ที่ย่อยน้าตาลทรายหรือน้าตาลซูโครส) สัตว์หลายชนิดได้รับการยกเว้นโดยใช้นมเจือจาง หรือ ใช้นมที่ขายตามท้องตลาดที่เหมาะสาหรับลูกวัว ลูกแกะ ลูกม้า หรือนมที่ใช้ทดแทนนมกวาง (เช่น ใช้ ในสัตว์ที่มกี ีบเท้ามากที่สุด) นมที่ใช้ทดแทนนมสุนัข (เช่น สุนัข แรคคูน หมี ค้างคาว ตัวกินมด มิ้งค์ กระต่าย สัตว์ฟันแทะ) นมที่ใช้ทดแทนนมแมว (เช่น เสือ) นมสูตรทารกของมนุษย์ (เช่น สัตว์ในอันดับ ลิงมากที่สุด) และถั่วเหลืองสูตรทารกของมนุษย์โดยเฉพาะ (เช่น กระต่าย สัตว์ที่มีถุงหน้าท้องบาง ชนิด) ในบางกรณีสูตรพืน้ ฐานเหล่านีส้ ามารถถูกแก้ไขได้ดียิ่งขึน้ เพื่อความเหมาะสมกับความต้องการ ของสัตว์แต่ละชนิด อาจเติมส่วนผสม เช่น ไข่แดง เนยเหลว และเคซีนซึ่งเป็นโปรตีนที่พบในน้านม โดยผลิตภัณฑ์เสริมวิตามินและเกลือแร่อาจจะต้องมีการรับประกันผลิตภัณฑ์


สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมบางชนิด (เช่น สัตว์ที่มีกีบเท้า สัตว์ที่มถี ุงหน้าท้องบางชนิด มิง้ ค์) จะต้อง ได้รับน้านมแม่ที่หลั่งออกวันแรกๆ (มีลักษณะสีเหลืองและข้นกว่าน้านมปรกติ) ภายใน 12-48 ชั่วโมง เพื่อเกิดภูมิคมุ้ กันที่จาเป็นต่อความอยู่รอด การให้นานมเหลื ้ องร่วมกับอาหารแก่สัตว์ที่มกี ีบเท้า 23 สัปดาห์หลังคลอดจะทาให้เกิดการปูองกันโรคระบบทางเดินอาหาร ซึ่งน้านมเหลืองจากแม่โคนั้น ได้รับการพิสูจน์ว่าเหมาะสาหรับสัตว์เคี้ยวเอื้องจานวนมากและสามารถเก็บแช่แข็งได้ การศึกษาล่าสุด เกี่ยวกับซีรัมแบบปลอดเชื้อชีใ้ ห้เห็นว่า สามารถให้ซีรัมทางปากหรือใต้ผวิ หนังเพื่อทดแทนการให้น้านม เหลืองได้ สัตว์แรกเกิดจานวนมาก (เช่น สัตว์ที่มีเท้ากีบ สัตว์ฟันแทะ สัตว์กินเนือ้ ) จะต้องกระตุ้นให้ ถ่ายอุจจาระและปัสสาวะโดยการนวดเบา ๆ บริเวณทวารหนักและอวัยวะเพศ ความถี่ในการให้อาหารและปริมาณอาหารในการปูอนขึ้นอยู่กับพฤติกรรมตามธรรมชาติ ส่วนประกอบและอัตราที่ต้องการได้รับในทางปฏิบัติข้ึนกับข้อจากัดของสัตว์ กระเพาะอาหารส่วน ใหญ่มีความจุประมาณ 50 มล./กก. การที่ได้รับมากเกินไปจะทาให้กระเพาะอาหารเสียสมดุลและ นาไปสู่การขนส่งลดลงและท้องเสียได้ ตามกฎการบริโภคต่อวันไม่ควรเกิน 20% โดยน้าหนักตัว/วัน และควรจะแบ่งการปูอนออกเป็นครั้งละไม่เกิน 35-40 มล./กก. สาหรับคาแนะนาทั่วไป สัตว์แรกเกิด ควรจะได้รับอาหารทุก 2-4 ชั่วโมง เพื่อเป็นการกระตุ้นกระบวนการย่อยอาหาร (กิโลแคลอรี) ควรจะ ประมาณ 210 × น้าหนักตัว(กก.)0.75 การตรวจสุขภาพควรได้รับการตรวจอย่างใกล้ชิดและควรทาการ บันทึกน้าหนักตัวบ่อยๆ สาหรับสัตว์ขนาดเล็กๆที่ยังไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ จะต้องใช้หลอด ปูอนอาหารเพื่อให้เข้ากระเพาะอาหาร


ค้างคาว ค้างคาวที่กินแมลงโดยอาหารหลักมักจะประกอบด้วย หนอนนก อีกทั้งยังมีจงิ้ หรีด แมลงวันผลไม้ แมลงวันและแมลง อื่นๆ เพราะแมลงเป็นสัตว์ที่มแี คลเซียมต่าดังนั้นอาหารที่จะให้ ค้างคาวกินต้องอุดมไปด้วยแคลเซียมปริมาณสูง โดยปกติอาหาร สูตรหนอนนกจะประกอบด้วย แปูงข้าวสาลี 40% อาหารสุนัข แห้งหรืออาหารแมว 40% และแคลเซียมคาร์บอเนต 20% หรือ อาหารเสริมแคลเซียมและวิตามินสามารถทาเป็นผงโรยบนแมลง ก่อนให้อาหารและสามารถหยดวิตามินเพิ่มในน้าดื่ม บ่อยครั้งที่ ค้างคาวกินแมลงที่ถูกเลี้ยงอยู่ในกรงขังมักได้แมลงที่ไม่สามรารถบินได้ สาหรับค้างคาวบางชนิดด สามารถฝึกให้กินแมลงบนจานอาหารได้และพบว่าอาหารผสมต่างๆถูกนามาใช้เป็นอาหารกับสัตว์ที่กิน แมลงอย่างประสบความสาเร็จ ค้างคาวที่กินผลไม้และแมลงเป็นอาหารที่ถูกเลีย้ งอยู่ในกรงเลี้ยงจะใช้อาหารเหลวหรืออาหาร แข็ง (ดูตาราง: การเลือกใช้อาหารสาหรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) โดยอาหารเหลวสามารถใส่ในถาด พลาสติก วางอยู่ใกล้สายหรือเสาให้เหมาะสาหรับค้างคาวไปเกาะเพื่อกินอาหารได้ ถ้ามีอาหารเหลว เหลืออยู่ควรทาการเปลี่ยนทุกวัน ส่วนอาหารแข็งที่ใช้เป็นอาหารหลักคือกล้วย และอาจเพิ่มพวก มะละกอ แอปเปิ้ล ลูกแพร์ แตงโม องุ่น แครอท มันฝรั่งหวาน โดยอาจผสมรวมผลไม้ลงในอาหาร เสริมพวกนมผง โปรตีนผง น้ามันข้าวโพดและวิตามินแร่ธาตุ สาหรับอาหารกระป฻องสาหรับแมวและ สุนัข ไข่และหนอนนกสามารถนาไปปูอนรวมกับผลไม้ได้ สัตว์กินเนือ้ สวนสัตว์ส่วนใหญ่ในประเทศสหรัฐอเมริกามักจะใช้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงที่ขายอยู่ ตามท้องตลาดเหมาะสาหรับให้แมวปุา สุนัขล่าเหยื่อ มิง้ ค์ จาพวกชะมดแทนที่จะใช้อาหารตามบ้าน สาหรับปัญหาด้านโภชนาการของสัตว์กินเนื้อที่ถูกเลี้ยงในกรงขังถือว่าลดลงอย่างมาก ก่อนหน้านี้ ปัญหาที่พบมักเกิดจากเนื้อสัตว์ (เช่น การขาดแคลเซียม วิตามินเอและไอโอดีน) อาหารที่ขายตาม ท้องตลาดส่วนใหญ่ที่ใช้อยู่มักเป็นอาหารม้า นอกจากนี้ใช้อาหารของพวกเนื้อสัตว์และสัตว์ปีก โดยมี การผสมปลาปุน กากถั่วเหลือง หัวบีท ข้าวโพดและอาหารเสริมแร่ธาตุวิตามิน สาหรับอาหารแมวมักจะมีไขมัน โปรตีนและวิตามินเอสูงกว่าในอาหารสุนัข อาหารที่เหมาะ สาหรับแมวมากที่สุด คือมีโปรตีน 45-50% ไขมัน 30-35% เยื่อใย 3-4% แคลเซียม 1.2-1.5% ฟอสฟอรัส 1-1.2% และวิตามินเอ 20,000-40,000 IU/กก. (อาหารคิดตามน้าหนักแห้ง) สาหรับแมว


สายพันธุ์ตา่ งประเทศและแมวในประเทศร่างกายไม่สามารถเปลี่ยน แค โรทีนเป็นวิตามินเอ กรดอะมิโนทริปโตเฟนเป็นไนอาซินและกรดลิโนเล อิกเป็นกรดอาลาชิโนอิก อีกทั้งยังไม่สามารถสังเคราะห์กรดอะมิโนทอรีน (ในเสือดาวพบว่ามีการขาดทอรีน) และถ้าเลีย้ งด้วยอาหารที่ขาดกรดอะ มิโนอาร์จินีน จะพบว่าสัตว์มคี วามไวต่อพิษของแอมโมเนีย ดังนัน้ สารอาหารเหล่านี้ควรได้รับการพิจารณาด้านการใช้ว่าเหมาะสาหรับแมว ส่วนอาหารแช่แข็งและอาหารแมวบรรจุกระป฻องมักจะน่ากินมากกว่า อาหารเม็ดแห้ง สวนสัตว์จานวนมากชอบที่จะใช้ผลิตภัณฑ์อาหารแช่แข็ง มากกว่าอาหารกระป฻องเพราะมีราคาต่า มีปริมาณมากและง่ายต่อการ ให้ ถ้าหากไม่มีขอ้ กาหนดในด้านกระบวนการผลิตอาหารนุ่ม อาหารที่ขายในท้องตลาดก็เปรียบ เหมือนแฮมเบอร์เกอร์ ที่ทาให้เกิดการสะสมและโรคปริทันต์ตามมา แมวทั้งหมดที่เลีย้ งด้วยอาหารนุ่ม ควรได้รับกระดูกอ่อนกับเนือ้ สัตว์สัปดาห์ละสองครั้ง สาหรับอาหารม้าหรือเนือ้ ติดกระดูกจะเหมาะสม สาหรับแมวพันธุ์ใหญ่ เนือ้ ส่วนหางวัว กระดูกซี่โครงหรือสัตว์ฟันแทะทั้งหมดเหมาะสาหรับแมวพันธุ์ เล็ก หนูถีบจักร หนูขาวใหญ่และเนือ้ ไก่มักจะรวมอยู่ในอาหารของแมวขนาดเล็ก ส่วนสัตว์ฟันแทะ สัตว์ปีก แมว และเนือ้ ส่วนต่างๆ สามารถให้สัตว์กินได้เป็นครั้งคราวเพื่อกระตุ้นความอยากอาหาหรือ เพื่อเป็นการให้ยาทาสาหรับการรักษา แต่โดยทั่วไปแล้วอาหารเสริมก็ไม่มีความจาเป็นสาหรับแมวที่กิน อาหารที่ขายตามท้องตลาด สาหรับสุนัขล่าเหยื่อสามารถกินอาหารแช่แข็ง อาหาร กระป฻องหรืออาหารสุนัขแห้ง แม้ว่าโดยส่วนใหญ่อาหารของสุนัข ล่าเหยื่อจะมีน้อยกว่าอาหารแมวที่เป็นอาหารแช่แข็งและอาหาร กระป฻อง แต่มันต้องการแบบที่แห้งกว่าอาหารแมว สาหรับกระดูก ควรจะรวมอยู่ในอาหารเมื่ออาหารที่กินเป็นอาหารอ่อน ในส่วนของ สุนัขจิ้งจอกและสุนัขปุาควรจะรวมผักและผลไม้เล็กน้อยในอาหาร สัตว์พวกมิง้ ค์และชะมดจะใช้อาหารแมวแช่แข็งหรืออาหารแมวบรรจุกระป฻อง และหลายพันธุ์ จะกินผลไม้ ผักและไข่บ้างเล็กน้อย บางครัง้ จะมีหนูถีบจักร ปลาและลูกไก่ที่จะใช้เพื่อเป็นการกระตุ้น การอยากอาหาร การทากิจกรรมและเพื่อการรักษา สาหรับกระดูกซี่โครงควรจะได้รับสองครั้งต่อ สัปดาห์เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพฟัน โดยอาหารแมวแห้งสูตรทั่วไปที่ขายตามท้องตลาดและอาหาร แมวสูตรพิเศษที่ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตและการเร่งการผสมพันธุ์ อาหารกระป฻องที่เสริมให้สัตว์ กินจะไม่แนะนาให้ใช้เป็นอาหารมาตรฐานเพราะคุณค่าทางอาหารทั้งพลังงานและโปรตีน ที่กินเข้าไปไม่ เพียงพอต่อความต้องการ ดูตาราง: อาหารของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ใช้เป็นอาหารสาหรับนากน้าจืด


สัตว์จาพวกแรคคูนสามารถเลี้ยงด้วยอาหารสาหรับสุนัขพันธุ์เล็กได้ เนื่องจากอาหารแห้งของ สุนัขมีคุณภาพดีและยังประกอบไปด้วยแอปเปิ้ล กล้วย แครอท ซึ่งเป็นสิ่งทีแ่ รคคูนชอบกินและจะช่วย ลดปัญหาโรคอ้วนที่มักเกิดจากอาหารแช่แข็งหรืออาหารบรรจุกระป฻อง สาหรับหมีแพนด้าแดงหรือ แพนด้าน้อย มักจะชอบอาหารที่มีเส้นใยสูงในใบไผ่และบิสกิต

หมีกินอาหารสุนัขแช่แข็ง อาหารเม็ดแห้ง ปลาและบิสกิตสาหรับสัตว์ที่กินทั้งพืชและสัตว์ที่ ขายตามท้องตลาด โดยหมีขวั้ โลกและหมีสนี ้าตาลจะกินอาหารสุนัขแช่แข็ง 25% ปลา 25% (เช่น ปลาสเมล)อาหารสุนัขแห้ง 15 % บิสกิตสาหรับสัตว์ที่กินทั้งพืชและสัตว์ 15% ขนมปัง 10% และแอป เปิ้ล 10% สูตรอาหารที่ขายตามท้องตลาดจะเหมาะสาหรับหมีขั้วโลก


ส่วนหมีชนิดอื่นๆอาจจะเสริมด้วยปลาเล็กน้อยและเพิ่มบิสกิตสาหรับสัตว์ที่กินทั้งพืชและสัตว์ ขนมปัง และผลิตภัณฑ์อื่นๆ โดยอาจจะรวมกล้วยและผักสีเขียวในอาหารของหมีหมา หมีควาย หมีแว่น อเมริกาใต้และหมีดา การกินอาหารของหมีที่อยู่ในกรงขังจะมีความแตกต่างกันตามแต่ละฤดู โดยทั่วไป หมีจะกินสูงสุดในฤดูร้อนและต้นฤดูใบไม้ร่วง แต่จะกินน้อยที่สุดในช่วงฤดูหนาว สาหรับหมีแพนด้า ยักษ์จะเป็นสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหารดังนั้นจึงต้องใช้ในไผ่จานวนมากแล้วเสริมด้วยบิสกิตที่มเี ส้นใยสูง

สัตว์ที่กินแมลงเป็นอาหาร สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ไม่มีฟันและพวกมด หนูผีช้าง เม่นแคระ เม่นน้อยและตัวตุ่นสามารถกินอาหารแมวแช่แข็งที่เสริมด้วย หนอนนก ไส้เดือนดิน จิ้งหรีดและลูกหนู โดยอาหารพื้นฐานที่ให้ควรเสริมแร่ธาตุและวิตามิน อาหารสุนัข กระป฻อง ไข่ต้มและผักผลไม้เล็กน้อย อันตรายจากเชือ้ แบคทีเรียมีความสัมพันธ์กับวัตถุดิบอาหารที่ สัตว์กินเข้าไป อาหารที่เป็นสูตรของอาหารม้าจะถูกใช้ในสัตว์บางชนิด สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กที่ กินสัตว์และแมลง พบว่าสัตว์จะมีร่างกายที่ออ่ นแอ เกิดการติดเชื้อในกระแสเลือดและเสียชีวติ โดยมี รายงานว่ามีการติดเชือ้ Streptococcus zooepidemicus ในอาหารม้า ดังนัน้ จึงควรเลือกใช้อาหาร กระป฻องถือเป็นทางเลือกที่ปลอดภัยกว่า


สัตว์จาพวกตัวนิ่มสามารถกินอาหารแมวแช่แข็ง อาหารแมวแห้ง อาหารสุนัขกระป฻องหรือเนือ้ ที่เสริมด้วยแร่ธาตุและวิตามิน ในส่วนของนม ไข่ต้ม มันฝรั่งหวาน กล้วยและผลไม้อื่นๆ ก็สามารถให้ ได้ มีข้อแนะนาสาหรับการเสริมวิตามินเคในพวกตัวนิ่มจะช่วยปูองกันการตกเลือด โดยให้วิตามินเค (menadione sodium bisulfate) 5 มิลลิกรัม/กก. สลอธสองนิ้วจะกินผักและผลไม้ (เช่น ผักกาดหอม ผักคะน้า ผักขม ผักชีฝรั่ง ถั่วเขียว แครอท มันเทศสุก กล้วย แอปเปิ้ล) ร่วมกับอาหารแมวแช่แข็ง อาหารสุนัขแห้งบรรจุกระป฻อง และ/หรือบิสกิตของเด็ก อาหารดังกล่าวควรแขวนอยู่ในทีท่ ีส่ ัตว์ สามารถเกาะได้ในขณะที่กินอาหาร


สัตว์ในกรงขังพวกมด ตัวกินมดและตัวกินมดยักษ์ จะชอบกินอาหารกึ่งเหลวซึ่งมักจะอยู่ในที่ ของปลวก มดและอาหารธรรมชาติอ่นื ๆ อาหารที่ผลิตขึน้ โดยปกติจะมีสว่ นประกอบของนม น้า เนือ้ และ/หรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้เนือ้ สัตว์ เช่น อาหารแมวแช่แข็ง อาหารตัวมิงค์ อาหารสุนัขแห้งหรือไข่ลวกสุก โปรตีนผง อาหารเด็กและอาหารเสริมวิตามินเกลือแร่ ส่วนผสมทั้งหมดควรทาการผสมในเครื่องปั่น เพือ่ ความเป็นเนือ้ เดียวกัน ตัวกินมดยักษ์โตเต็มวัยนั้นถ้ามีการกินอาหารกึ่งเหลวอาจส่งผลให้เกิดการ ถ่ายอุจจาระเหลวได้ ในกรณีน้คี วรทาการลดปริมาณนมและน้าในสูตรลงเพื่อเป็นการปูองกันล่วงหน้า สาหรับการเสริมวิตามินเคควรเพิ่มในอาหารของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ไม่มีฟันทั้งหมด

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเล ปลาถือเป็นอาหารหลักสาหรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเลที่อยู่ในคอกกัก ยกเว้นกลุ่มพวกมา นาตีและพะยูนจะกินพืชเป็นอาหาร ดังนั้นจึงควรทาการซื้อและเก็บรักษาปลาให้ถูกต้องซึ่งถือเป็นหลัก ในการจัดการปลาให้มคี ุณภาพสูงเพื่อให้เหมาะสาหรับหารให้อาหารแมวน้าและกลุ่มโลมา วาฬ เมื่อ ได้รับปลามาแล้วควรทาการตรวจสอบคุณภาพ ดังนี้ 1. ทีก่ ล่องควรทาการตรวจสอบหาวันที่จับปลา 2. ทาการตรวจสอบลักษณะโดยรวมของปลา ซึ่งควรจะดี 3. เหงือกควรเป็นสีแดง (ถ้าเหงือกมีสีชมพูอ่อนมาก อาจทาการระบุเวลาที่ผ่านไปหลังจากที่ ถูกจับได้ ก่อนที่ปลาจะถูกแช่แข็ง) 4. ตาของปลาไม่ควรจะจม เพราะจะแสดงถึงการคายน้า 5. เนือ้ ของปลาที่ถูกละลายน้าแข็งผิวปลาควรจะเหมือนเดิม ไม่มีการเปลี่ยนสีและไม่ควรมี กลิ่นเหม็น 6. ไม่ควรมีน้าและเลือดในบ่อแช่ปลา ซึ่งอาจเกิดในกรณีปลาแช่แข็งจะมีการถูกละลายและ ถูกลดอุณหภูมกิ ารแช่แข็ง


7. ทาเลที่ใช้ในการจัดการกับปลาควรจะดี คือเลนส์บริเวณที่ทาการแช่แข็งปลาควรจะมีควัน มาก ซึ่งบ่งบอกถึงปลาที่มกี ารจัดเก็บที่ถูกต้องหรือต่ากว่า -30 องศาเซลเซียส ก่อนที่จะซือ้ (อุณหภูมิ ที่สูงขึน้ มักจะส่งผลว่าเลนส์ใส)

เพื่อเป็นการลดความเสียหายจากปฏิกิรยิ าเปอร์ออกซิเดทีฟและการทาลายสารอาหาร ดังนัน้ ปลาควรจะเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่าหรือต่ากว่า -30 องศาเซลเซียส ถ้าเป็นไปได้ปลาส่วนใหญ่ไม่ควร เก็บไว้มากกว่า 6 เดือน สาหรับระยะเวลาที่เหมาะสมที่แนะนาคือ 3-4 เดือน ซึ่งเหมาะสาหรับไขมัน ปลา เช่น ปลาแมคคาเรวแต่สาหรับปลาสเมล อาจยังอยู่ในสภาพที่ดีได้ถึง 9 เดือน โดยปกติการนาปลา มาใช้ควรจะละลายในตู้เย็นค้างคืน ถ้าเป็นไปไม่ได้ให้ละลายที่อุณหภูมิห้อง การละลายปลาในน้าอาจ ทาให้เกิดการชะล้างสารอาหารที่สาคัญ สาหรับปลาแช่แข็งในสวนสัตว์เมื่อใช้ปริมาณที่เหมาะสมจะ สามารถละลายได้โดยไม่ต้องทิง้ โดยทั่วไปสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเลควรให้กินปลาทะเล ซึ่งปลาทะเลยังมีองค์ประกอบที่ แตกต่างกันอย่างมากระหว่างชนิดและถึงแม้ว่าจะอยู่ในชนิดเดียวกันก็มีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับอายุ ฤดูและตาแหน่งที่จับปลา ปลาที่ใช้มักเป็นปลาที่อยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกและแปซิฟิก เช่น ปลา แมคคาเรวในแอตแลนติก แปซิฟิกและสเปน ปลาบลูรันเนอร์ ปลาแคปลินและปลาสเมล โดยแมวน้า จะชอบกินปลาหมึกและสิงโตทะเลจะกินหอยเป็นอาหาร ขณะนีย้ ังไม่มีผลิตภัณฑ์จากปลาที่ได้รับการ ยอมรับในกลุ่มวาฬ โลมา แต่ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวได้ถูกนามาใช้อย่างประสบความสาเร็จสาหรับแมวน้า อาหารปกติของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเล ควรประกอบด้วย ปลา ≥ 2 ชนิด เพื่อให้แน่ใจว่าได้ สารอาหารที่สมดุล ควรมีการเพิ่มวิตามินบีหนึ่ง (ที่ 25 มิลลิกรัม/กก. ปลา, ต่อวัน) ให้แก่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมใน ทะเลเพราะมีความเป็นไปได้ที่วติ ามินบีหนึ่งจะถูกทาลายโครงสร้างโดยเอ็นไซน์ thiaminases ที่พบใน ปลาหลายชนิด การเสริมวิตามินอีจะช่วยชดเชยการทาลายโครงสร้างของวิตามินอีธรรมชาติ ใน ระหว่างการเก็บรักษาปลาและช่วยปูองกันผลกระทบที่เกิดขึน้ จากกระบวนการ peroxides ของปลาที่ ถูกเก็บไว้ ผิวทีม่ ันของปลาแมคคาเรว พบว่ามีกรดไขมันไม่อ่มิ ตัวสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความไวต่อ


การทาลายโครงสร้างของวิตามินอีและทาให้ปลามีสที ี่เปลี่ยนไป วิตามินอี 100 IU/กก. ในปลาที่เลีย้ งไว้เป็นอาหารต่อวัน

ข้อแนะนาโดยทั่วไปอยากให้เสริม

การเสริมเกลือ (NaCl) ของกลุ่มแมวน้าที่อยู่ในน้าจืด แนะนาให้ใช้เกลือเพื่อปูองกันระดับ โซเดียมในเลือดต่าโดยใช้เกลือ 3 กรัม/ปลา(กก.) ถึงแม้วา่ จะมีการเสริมวิตามินซีให้กับกลุ่มของวาฬ และโลมาแต่ยังไม่มีขอ้ สรุปว่ามีประโยชน์หรือไม่ มีเพียงแต่หลักฐานที่แสดงว่าระดับของวิตามินเอในตับ ของปลาโลมาที่เลีย้ งไว้มคี ่าต่ากว่าปลาโลมาที่อยู่ในธรรมชาติ ถึงแม้ว่าคาแนะนาที่ระบุจะไม่สามารถ ทาได้กับสัตว์ทุกชนิดแต่การทาอาหารเสริมวิตามินเอให้กับวาฬและโลมาถือว่าเป็นสิ่งที่ดี การกินอาหารของสัตว์เลี้ยงลูกในทะเลแต่ละชนิดอาจมีความแตกต่างกันมาก ขึน้ อยู่กับปริมาณ ไขมันของปลา อุณหภูมนิ ้าและกิจกรรมที่สัตว์ทา การแสดงปลาโลมาปากขวดในแอตแลนติกโดยทั่วไป จะกินปลา 7-10 กก./วัน แมวน้าและสิงโตทะเลตัวเต็มวัยจะกินปลาประมาณ 5-8%ของน้าหนักตัว/วัน มานาตีที่ถูกเลี้ยงอยู่จะกินอาหารพวกผักกาดหอม ผักกาด หญ้าอัลฟาฟูาและพืชน้า(เช่น ผักตบชวา) สัตว์ที่มีถุงหน้าท้อง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มถี ุงหน้าท้องส่วนใหญ่สามารถกินอาหารแห้งบรรจุกระป฻องของสุนัขและ แมวได้และอาจเสริมด้วยไข่ลวกสุก ผักสีเขียว แครอท มันเทศ แอปเปิ้ลและกล้วย สาหรับกลุ่มไดซู ริท (เช่น หนู แมวพื้นเมือง แทสเมเนียนเดวิล) และหนูพุกสามารถกินอาหารแมวบรรจุกระป฻องหรือ อาหารแช่แข็งได้ นอกจากนี้อาหารพวกจิ้งหรีด หนอนนกและลูกหนูสามารถให้สัตว์ชนิดเล็กได้ สาหรับ สัตว์ที่มีถุงหน้าท้องขนาดใหญ่สามารถให้หนู กระดูกขาหรือกระดูกซี่โครง ส่วนตัววอมแบตและสัตว์ที่ ถุงหน้าท้องขนาดใหญ่สามารถเลี้ยงรวมกันกับอาหารเม็ดของสัตว์กินพืชและอาหารเม็ดของกระต่าย ซึ่งหนูจงิ โจ้จะกินอาหารเม็ดของหนูและอาหารเม็ดของกระต่าย นอกจากนีอ้ าจทาการเสริมพวกผักสี เขียว แครอท มันเทศ แอปเปิ้ลและกล้วยให้กับสัตว์ที่มีถุงหน้าท้องทั้งสัตว์กินพืชและสัตว์ที่กินทั้งพืช และสัตว์ได้ทุกชนิด อีกทั้งยังอาจพบปัญหาที่อาจเกิดกับฟันกรามเมื่อมีการให้หญ้าแห้งกับสัตว์ เว้นแต่ หญ้าที่ให้มีคุณภาพดี ไม่มีวัชพืชและลาต้นไม่หยาบแข็ง ปัจจุบันสามารถเลีย้ งโคอาล่าได้อย่างประสบ ความสาเร็จโดยการให้ใบของต้นยูคา


สัตว์ที่อยู่ในอันดับลิง สัตว์ที่อยู่ในอันดับลิงส่วนใหญ่จะกินอาหารที่ขายตามท้องตลาด พวกบิสกิตหรืออาหาร กระป฻องหรืออาหารลิงมาร์โมเซท (ตาราง: สารอาหารที่ต้องการของสัตว์ในอันดับลิง) อีกทั้งยังสามารถ ให้ผักสีเขียว แครอท มันเทศ แอปเปิ้ล กล้วยและส้มเพิ่มได้ ในส่วนของบิสกิตของเด็กและอาหาร กระป฻องควรประกอบด้วยปริมาณอาหารแห้ง 50% ส่วนผลไม้และอาหารสุขภาพ ≤ 25% ซึ่งอาหาร บิสกิตของเด็กจะมีโปรตีนสูง (โปรตีน 25%) ดังนัน้ ควรจะใช้เลี้ยงในกลุ่มของลิงโลกใหม่เพื่อให้แน่ใจว่า สิ่งที่ได้รับนั้นมีโปรตีนสูงตามความต้องการของมัน โปรตีนในระดับปกติหรือโปรตีนสูงในอาหารบิสกิ ตของเด็กยังสามารถใช้เลี้ยงลิงโลกเก่า โดยจะขึน้ อยู่กับส่วนประกอบในอาหารซึ่งควรจะให้พร้อมกับ ผลิตภัณฑ์ที่มเี ส้นใยสูง สาหรับลิงโลกเก่าที่มีขนาดใหญ่หลายชนิด เช่น ชะนี ลิงอุรังอุตัง ชิมแปนซี และกอริลล่า จากการศึกษาทางห้องปฏิบัติการบิสกิตของเด็กในสูตรปกติพบว่ามีระดับเส้นใยต่า มาก (5%) แต่เนื่องจากอาหารตามธรรมชาติมักจะมีระดับเส้นใยสูงมาก (> 20%) ดังนัน้ จึงควรเลือก กินอาหารที่มีเส้นใยสูง ถ้าจะทาบิสกิตเส้นใยสูงควรประกอบด้วยวัตถุดิบอาหารแห้งอย่างน้อย 50% ผักใบเขียวอย่างน้อย 40%


ผลไม้ที่ปลูกควรจะใช้เท่าที่จาเป็นสาหรับลิงไม่มีหางและลิงชนิดที่กินใบไม้ เพราะเมื่อเทียบกับผักใบ เขียวทีถ่ ูกปลูก พบว่าผลไม้จะมีระดับน้าตาลสูง มีคาร์โบไฮเดรต มีโปรตีนและแคลเซียมต่า อาหาร บิสกิตของเด็กสามารถทาให้น่ากินมากขึ้นได้โดยการแช่ในน้าหรือน้าผลไม้ ซึ่งจะมีวธิ ีการปูองกันการ เสียคุณค่าทางโภชนาการทาได้โดยการให้บิสกิตอยู่ในแผ่นฟิล์มบางๆ ในของเหลว เพื่อให้ของเหลว ล้อมรอบบิสกิต อาหารอื่นๆของสัตว์พวกลิงอาจรวมไข่ลวกสุก โยเกิรต์ และขนมปัง ในส่วนขององุน่ ลูก เกด ถั่วลิสง จิ้งหรีดและหนอนนก มักจะใช้ในการรักษาในลิงทุกชนิด ส่วนสัตว์พวกลิงขนาดเล็ก มักจะชอบกินลูกหนูตัวเล็ก อย่างไรก็ตามเชื้อไวรัสตับอักเสบที่พบในกลุ่มแทมมารีนและลิงมาร์โมเซท มีความเชื่อมโยงกับอาหารที่เป็นหนูแรกเกิดที่ติดเชือ้ ไวรัสตับอักเสบ สวนสัตว์ส่วนใหญ่ได้ยกเลิกการให้ อาหารที่เป็นหนูแรกเกิดกับลิงโลกใหม่ การให้เมล็ดดอกทานตะวัน ข้าว ข้าวโพดและมะพร้าวขูดฝอย สามารถให้ในส่วนพืน้ ที่จัดแสดงหรือเพื่อเป็นการส่งเสริมพฤติกรรมของสัตว์ ควรใช้หญ้าทาเป็นรังหรือ ทาเป็นที่ใช้ในการซุ่มจับเหยื่อ ในหลายๆสวนสัตว์จะมีลิงขนาดใหญ่ที่กินเนื้อสัตว์เป็นอาหาร แต่ก็ไม่มี หลักฐานสาคัญที่กล่าวว่าอาหารที่ได้รับมีความสมดุล เพราะมีรายงานพบว่ากอริลล่าที่อยู่ในกรงขังมี ไขมันในเลือดสูงดังนั้นอาจมีการห้ามใช้อาหารประเภทเนื้อสัตว์ ส่วนสัตว์พวกลิงควรให้อาหารอย่าง น้อยวันละสองครัง้ โดยลิงขนาดเล็กอาจได้รับประโยชน์จากการให้อาหารบ่อยมากยิ่งขึน้

การใช้วิตามิน D2 ในลิงโลกใหม่ถือว่าไม่ดี เนื่องจากสิ่งสาคัญสาหรับลิงควรได้รับวิตามิน D3 (cholecalciferol) อย่างพียงพอในอาหารถ้าสัตว์ไม่สัมผัสกับแสงแดดโดยตรงทุกวัน สัตว์อย่างลิงมาร์โม เซท มีความต้องการถึง 4 เท่าของวิตามิน D3 ของลิงโลกใหม่ชนิดอื่นๆ ดังนัน้ อาหารลิงมาร์โมเซทใน ท้องตลาดจึงควรใช้เลีย้ งเฉพาะลิงมาร์โมเซทเท่านั้นเนื่องจากอาจเกิดความเป็นพิษจากวิตามิน D ยังมี อีกหลายกรณีของลิงโลกเก่าที่ทาให้เกิดโรคกระดูกอ่อนในบางสายพันธุ์ ดังนัน้ จึงมีการปรับเปลี่ยนแถบ สี ลักษณะของส่วนจัดแสดงให้เป็นไปตามธรรมชาติภายนอก ลักษณะของส่วนแสดงภายในและการ จัดแสดง ขณะที่สว่ นใหญ่ลิงจะมีการตอบสนองความต้องการเป็นไปอย่างอิสระสาหรับวิตามินดี โดย


การสัมผัสกับรังสีอัลตราไวโอเลต B (UVB) จากแสงแดด ส่วนสัตว์ที่อยู่ในกรงขังอาจต้องใช้การ สังเคราะห์จากในแหล่งอาหาร การหย่านมทารกที่เพิ่งเกิดจะมีความเสี่ยงเนื่องจากการเปลี่ยนแปลง ของปริมาณน้านมจะมีระดับของวิตามินดีที่ต่าลงมากและอาหารเสริมหลายชนิดสาหรับลิงที่เริ่มเข้าสู่ วัยโตเต็มวัยจะไม่เสริมด้วยวิตามินนี้ แสงแดดธรรมชาติอาจจะเป็นทางออกที่ดที ี่สุดสาหรับสัตว์แรกเกิด และสัตว์อายุน้อยเพราะถือได้ว่าเป็นอาหารเสริมสาหรับสัตว์ โดยแสงแดดจะมีปฏิกิรยิ าการส่งรังสี อัลตราไวโอเลต B (UVB) แต่แสงแดดอาจมีการปิดกั้นการส่งผ่าน UVB ในลิงที่โดนแสงที่ปล่อยออกไป จะมีพลังงานในช่วง UVB สัตว์ในอันดับลิงทั้งหมดต้องการแหล่งของวิตามินซี เพราะว่าวิตามินซี (ยกเว้น รูปแบบทีม่ ี ความเสถียรมากขึ้น) ที่ถูกเพิ่มลงในบิสกิตของเด็กที่ขายตามท้องตลาดจะมีการเสื่อมสลายของวิตามินซี อย่างมีนัยสาคัญภายใน 6 เดือน แหล่งเสริมคุณค่าทางโภชนาการควรจะรวมอยู่ในอาหาร (เช่น ผักใบ เขียว ส้ม วิตามินรวม น้าผลไม้หรือผงน้าผลไม้ที่เพิ่มวิตามินซี) สัตว์ในวงศ์ค่างถือเป็นสิ่งที่ท้าทายที่สุดในการให้อาหารกับสัตว์ที่อยู่ในกรงขัง เนื่องจากใน กระเพาะอาหารจะเกิดการหมักในช่วงแรกคล้ายกับในสัตว์เคี้ยวเอื้องที่มกี ระเพาะอาหารซับซ้อน ในปุา ทั่วไป ใบไม้ถือเป็นส่วนสาคัญในอาหารของค่างที่สุด (ข้อยกเว้น ลิงโคโลบัสแดง ถือเป็นสัตว์ที่กิน ผลไม้เป็นอาหาร) ดังนัน้ อาหารในธรรมชาติมักจะมีเส้นใยสูงและ สัตว์ที่ใช้เวลามากในการหากิน การให้อาหารที่มีความหลากหลาย ทั้งบิสกิตและผลไม้กับลิงที่อยู่ในกรงขัง จะทาให้มีการกินอาหาร อย่างรวดเร็วซึ่งจะมีความแตกต่างจากลิงที่พบโดยทั่วไปในปุา และ อาจเป็นส่วนหนึ่งที่จะทาให้เกิดปัญหาในระบบทางเดินอาหารบ่อย ขึน้ นอกจากนีย้ ังหลักฐานบางอย่างแสดงให้เห็นว่า ลิงโคโลบัส แดง มีเปอร์เซ็นต์สูงที่จะไวต่อ โปรตีนในแปูง(gluten) สาหรับ ผลิตภัณฑ์ในท้องตลาดที่ไม่มีโปรตีนในแปูงนั้นจะต้องทาเป็นบิสกิตของเด็กที่มปี ริมาณเส้นใยสูง (เส้นใย 25%) ซึ่งเป็นสูตรที่ได้รับการพัฒนาสาหรับการให้อาหารลิงที่อยู่ในกรงขัง อาหารจะประกอบด้วย บิสกิต 50% เส้นใย 40% ผักสีเขียวสดและผลไม้ 10% ซึ่งถือว่ามีความเหมาะสาหรับลิงมากที่สุด ใน ส่วนของหญ้าอัลฟาฟูาเม็ดหรือหญ้าอัลฟาฟูาแห้งคุณภาพดีสามารถให้เป็นทางเลือกหนึ่งได้ ถ้าไม่สามารถใช้บิสกิตเส้นใยสูงได้ ควรให้สัตว์ได้เล็มผักสดและ/หรือผักใบเขียวที่มเี ส้นใยสูง เช่น ในผักคะน้า ผักกาด บรอคโคลี่ คื่นฉ่าย ผักขม ถั่วเขียว ผักกาดหอมและผักกาดแก้ว ควรมี ปริมาณประมาณ 50% ของอาหารแห้ง และควรมีบิสกิตของเด็กสูตรปกติและอาหารกระป฻อง ประมาณ 25% ถ้าหากสัตว์มคี วามไวต่อโปรตีนในแปูงจะทาให้เกิดโรคผนังลาไส้เกิดความผิดปกติ


โดยต้องสงสัยว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีข้าวสาลี บาร์เลย์ ข้าวไรน์ หรือข้าวโอ๊ต อยู่หรือไม่ถ้ามีควรเอา ออกจากรายการอาหาร อาหารควรค่อยๆมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสาหรับลิงเพื่อให้กระเพาะ อาหารที่มีเชือ้ จุลินทรีย์ท้องถิ่นเกิดการเรียนรู้ สัตว์ฟันแทะ สัตว์กลุ่มหนูและสัตว์กลุ่มกระต่ายมักจะใช้อาหารสัตว์ฟันแทะที่มีฟันหน้าคู่เดียวหรืออาหารเม็ด กระต่าย ซึ่งสัตว์พวกกระต่าย กระต่ายปุา ปิกะ หนูภูเขาและกระรอกหมามักจะให้อาหารเม็ด กระต่าย หญ้าอัลฟาฟุาหรือหญ้าแห้งและผักหญ้า สาหรับสัตว์วงศ์กระรอกโดยส่วนใหญ่สามารถให้ อาหารหนูและเมล็ดทานตะวัน ข้าวฟุาง ข้าวโพดและข้าวโอ๊ต ซึ่งกระรอกดินสามารถให้ผักใบเขียว แครอทและแอปเปิ้ล

โดยส่วนใหญ่ หนูมูรดิ ี แฮมสเตอร์ โกเฟอร์ กระรอกจิ๋ว และหนูเจอร์บัวจะกินอาหารหนูสาหรับพันธุ์ เล็ก อาหารหนู เมล็ด เมล็ดพืชผสม ผักใบเขียว แครอทและแอปเปิ้ล หญ้าแห้งควรให้กับหนูนาและ หนูเลมมิ่ง หนูนาที่อยู่ในกรงขังจะยากต่อการจัดการเว้นแต่จะมีการใช้อาหารเม็ดของกระต่ายที่มเี ส้น ใยสูง หนูมัสก์แรต หนูอะโกทิสและหนูยักษ์คาปิบาร่ามักจะกินอาหารหนู อาหารกระต่ายและหญ้า


แห้งอัลฟาฟุา แครอท แอปเปิ้ลและขนมปัง ตัวบีเวอร์สามารถกินอาหารของกระต่าย อาหารของ สัตว์กินพืชขนาดใหญ่และอาหารสุนัข รวมทั้งอาจเพิ่มต้นวิลโลว์ ต้นปฺอบล่า ต้นแอสเพน ต้นเอล เดอร์ หนูตะเภาสามารถกินอาหารเม็ดของหนูตะเภาที่ขายตามท้องตลาดและอาจเสริมด้วยผักใบเขียว และแครอท ถึงแม้ว่าหนูตะเภาและหนูแกสบีเ้ ป็นเพียงสัตว์กลุ่มหนูเท่านั้นแต่สัตว์ก็ควรได้รับวิตามินซี ซึ่งสัตว์ในกลุ่มกระต่ายก็ควรได้รับประโยชน์จากวิตามินซีเช่นกัน


สัตว์ที่มกี ีบเท้า หญ้าแห้งถือเป็นกลุ่มอาหารที่เหมาะกับสัตว์ที่มีกีบเท้าที่อยู่ในคอกกักที่สุด โดยหญ้าถือเป็นสิ่ง ที่ควรให้สัตว์กินเป็นอาหารมากที่สุด ตามกฎทั่วไปมักจะใช้ หญ้าแห้งที่ได้จากต้นถั่วเขียว เช่น หญ้าอัลฟาฟุา (เช่น ยีราฟ กวาง ละมั่ง บอนโกะ กวางดุยเกอร์ สมเสร็จ) ในขณะที่หญ้าที่มี คุณภาพดีถือว่าเป็นที่น่าพอใจสาหรับสัตว์ที่กินหญ้าจานวนมาก (เช่น ม้าลาย ช้าง กระทิง ควาย วัว วิลเดอบีสต์ อูฐ) โดยพืชตระกูลถั่วมักจะมีไนโตรเจนและแคลเซียมสูง ถ้าพืชมีคุณภาพดีจะทาให้สัตว์ มีการย่อยหญ้าที่ดี สาหรับพืชใบแห้งและใบเขียวมักจะมีเชือ้ รา สิ่งสกปรก วัชพืชและสิ่งแปลกปลอม อื่น ๆ และไม่ควรให้หญ้าที่แก่เกินไป สาหรับการวิเคราะห์หญ้าแห้งถือเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างมาก ที่จะใช้สาหรับการประเมินคุณภาพและการออกแบบรูปแบบการให้อาหารที่เหมาะสม


นอกจากหญ้าแห้ง อาหารเม็ดที่มโี ปรตีน เกลือแร่และวิตามินในปริมาณที่เพียงพอที่จะ ตอบสนองความต้องการของสัตว์เหล่านีท้ ั้งสัตว์ที่มีในประเทศและสัตว์ชนิดที่อยู่ในปุา (เช่น กวางไวท์ เทลเดียร์)บ่อยครั้งที่สัตว์อยู่เป็นกลุ่มจะได้รับอาหารมากกว่าสัตว์ที่อยู่ตัว เดียว ดังนัน้ จะใช้อาหารเม็ดทีใ่ ช้พลังงานในการย่อยไม่สูงมาก (ประมาณ 3 kcal DE/กรัม คิดตามน้าหนักแห้ง) และที่มเี ส้นใยทีเ่ พียงพอ เพือ่ ช่วย การทางานในกระเพาะที่มกี ารหมักหรือลาไส้ใหญ่ คาแนะนานีจ้ ะช่วยลด ผลเสีย (เช่น การเกิดภาวะความเป็นกรดมากเกินไปที่กระเพาะหมัก อาการจุกเสียด โรคอ้วน) ที่เกิดจากการกินมากเกินไป สวนสัตว์บางแห่ง มักจะให้อาหารเม็ด 2 แบบ คือ อาหารที่มีเส้นใยสาหรับสัตว์แทะเล็ม หรือสัตว์ที่กินอาหารหนัก และอาหารที่มีเส้นใยต่ากับสัตว์ที่กินอาหาร ตามหน้าดิน สวนสัตว์ทั่วๆไปจะใช้อาหารเม็ดแบบเดียวที่เหมาะสาหรับ สัตว์แทะเล็มทุกชนิด ในกรณีหลังพบว่าชนิดที่กินหญ้าอัดเม็ดแห้งเป็นระยะเวลานานและปริมาณร้อย ละของอาหารเม็ดทีก่ ินเข้าไปควรทาการปรับเปลี่ยนให้เหมาะกับสัตว์ที่มีความแตกต่างกันกับสัตว์ที่แทะ เล็มและที่กินตามพืน้ ดิน ดูตาราง: การเลี้ยงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมโดยใช้อาหารเม็ด ซึ่งอาหารอัดเม็ด ควรมีขนาด 3/16 นิว้ จะเหมาะกับสัตว์ที่มีกีบเท้าคู่มากที่สุดในขณะที่อาหารเม็ดหรือก้อนขนาด ½ นิว้ (ประมาณ 13 มม.) จะช่วยลดของเสียเมื่อนาไปให้กับแรดขนาดใหญ่และสัตว์ที่มีกีบเท้าย่อย สาหรับ ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ที่ขายตามท้องตลาดยังไม่แนะนาสาหรับสัตว์ในสวนสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหาร เพราะสัตว์จะมีระดับของทองแดงสูงและระดับของวิตามินอีที่จาเป็นต่ากว่า เช่นเดียวกับปศุสตั ว์ไม่ควร เลี้ยงสัตว์โดยใช้อาหารของสัตว์กินพืชในสวนสัตว์เพราะระดับวิตามินอีจะต่ามาก และผลิตภัณฑ์บาง ชนิดอาจมีไนโตรเจนที่ไม่ใช้โปรตีน (เช่น ยูเรีย) ที่ไม่สามารถทนต่อการหมักส่วนบนได้ (เช่น ม้า) ดังนัน้ ผลิตภัณฑ์ที่มขี ายตามท้องตลาดสาหรับสัตว์กินทั้งพืชและสัตว์จะต้องมีคุณสมบัติที่เหมาะสาหรับ สมเสร็จและสามารถใช้อาหารเม็ดหมูให้กับหมูปุาได้


โดยทั่วไปสัตว์ที่มีกีบเท้าขนาดใหญ่ (> 250 กก.) จะกิน 1.5-2% ของน้าหนักตัวคิดตามน้าหนัก แห้ง ต่อวัน ส่วนในสัตว์ขนาดเล็ก (<250 กิโลกรัม) จะกิน 24% ดังนัน้ ในการให้อาหารเม็ดที่ 25-50% คิดตามน้าหนักแห้งและหญ้า แห้งที่มคี ุณภาพดีจะเหมาะกับทุกชนิดมากที่สุด ถ้าหญ้าแห้งมีคุณภาพ ลดลงหรือมี ความเปราะบางมากขึ้นควรทาการเพิ่มปริมาณของ อาหารเม็ด การให้หญ้าแห้งควรให้บนรางมากกว่าที่จะวางหญ้าบน พืน้ ดิน (ข้อยกเว้น ช้าง) โดยแขวนหญ้าให้สูงในระดับสายตาของสัตว์พวก ยีราฟและกวางเจเรนุค สาหรับอาหารเม็ดอาจให้ในรางอาหารที่ถูกปก คลุมหรือถาดอาหารที่เป็นยาง โดยปกติการให้อาหารเม็ดในสัตว์ที่มเี ขต พืน้ ที่เป็นของตัวเองนั้นจะต้องทาการสังเกตสัตว์อย่างใกล้ชิดและหา บริเวณที่ให้อาหารกับสัตว์เพื่อให้สัตว์ง่ายต่อการเข้าถึง โดยต้องมีอย่างน้อย 2 ที่ เพื่อเป็นการแยก ออกจากกัน กรณีนีจ้ ะใช้เพื่อปูองการขัดแย้งกันของสัตว์และเพื่อให้มั่นใจว่าสัตว์ทุกตัวได้กินอาหาร อย่างสมดุล น้าที่ให้ควรมีตลอด นอกเหนือจากนี้ควรจะมีหญ้าแห้ง อาหารเม็ด ผลไม้และผัก ให้สาหรับ สัตว์เท้ากีบ ในสัตว์หลายๆพันธุ์รายการอาหารดังกล่าวอาจไม่จาเป็น ยกเว้นบางครัง้ จะใช้อาหารเพื่อ ช่วยในการรักษา ในสัตว์บางชนิดที่ยังคงต้องกินผลไม้เป็นประจาและในสัตว์ที่อยู่ในปุาที่มคี วามอุดม สมบูรณ์ โดยจะขอแนะนาให้กินทั้งผลไม้และผัก (ประมาณ 0.5 กก./100 กก.น้าหนักตัว) ในอาหาร สาหรับสัตว์ เช่น โอกาปิ กวางดุยเกอร์ กวางดิกดิก ละมั่งและสมเสร็จ จะเป็นอาหารที่สดหรือแช่ แข็งให้เลือกให้เหมาะสมเพื่อช่วยลดความเบื่อของสาหรับสัตว์ที่มีกีบเท้าย่อยและสัตว์ที่มกี ีบเท้า จาก รายงานล่าสุดมีหลักฐานที่แสดงว่าควรทาการปรับปรุงระบบของกระเพาะรูเมน


สัตว์เลื้อยคลาน สารอาหารถือเป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับการเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานเช่นเดียวกัน อีกทั้งยังรวมถึง แสงแดด อุณหภูมิ ความชืน้ พืน้ ที่และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเลี้ยง สิ่งต่างๆเหล่านี้ สามารถมีผลต่อ พฤติกรรมการกินอาหารจนกระทั่งถึงปริมาณสารอาหารที่ได้รับเข้าไป การไล่ระดับอุณหภูมแิ ละ ความชื้นภายในกรงสัตว์เลื้อยคลานเพื่อทาให้สัตว์รู้วา่ บริเวณใดเป็นพืน้ ที่อุ่น แห้ง เย็นหรือชืน้ ดังนัน้ จึงควรเลือกสถานที่วางถาดอาหารอย่างเหมาะสม โดยวางทั้งในที่อุ่น ที่มีรังสีอัลตราไวโอเลตและ จานวนของถาดอาหารควรมีเพียงพอต่อสัตว์ในกรง อีกทั้งการวางถาดอาหารควรวางในระดับสายตา ของผู้กินเพื่อลดปัญหาและอุปสรรคต่างๆ เหยื่อที่สัตว์กิน เช่น กระต่าย หนูถีบจักรหรือหนูขาวใหญ่ ควรจะให้แบบตายแล้วเพื่อเป็นการ ปูองกันการบาดเจ็บของสัตว์เลือ้ ยคลาน อย่างไรก็ตามสัตว์เลื้อยคลานโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ยังไม่ได้อยู่ ในกรงขังต้องการสิ่งกระตุ้นจากเหยื่อที่ยังมีชีวติ อยู่ ดังนัน้ จึงควรศึกษาความเป็นไปได้ของการเกิดโรค หรือพยาธิสภาพที่ผ่านจากเหยื่อมายังสัตว์ เหยื่อชนิดที่มีกระดูกสันหลังควรที่จะกินอาหารมีทีค่ ุณค่า ทางโภชนาการสมบูรณ์เหมาะสม (เช่น อาหารหนูเล็ก อาหารกระต่าย อาหารหนูใหญ่ ฯลฯ) โดย หลักการแล้วปริมาณสารอาหารที่เหยื่อได้รับจะขึ้นอยู่กับอาหารที่กินเข้าไป (เช่น หนูทีก่ ระตุ้นการเลี้ยง ด้วยอาหารที่ไม่มีวติ ามินเอ จะส่งผลให้การกักเก็บวิตามินที่ตับลดลง) นอกจากนี้หากใช้หนูที่ถูกแช่ แข็งหรือมีการให้หนูเป็นประจาสาหรับใช้เป็นอาหารสัตว์เลือ้ ยคลานชนิดที่กินเนือ้ ควรจะจัดการ เกี่ยวกับการเก็บรักษาโดยใช้ช่องแช่แข็ง (เช่น การเก็บรักษา ≤ 6 เดือน ควรเก็บในถุงพลาสติกหนา เพื่อชะลอการเสื่อมสภาพ) วิธีการละลายที่ลดการสูญเสียน้าซึ่งถือเป็นสิ่งสาคัญ เพราะ สัตว์เลือ้ ยคลานที่กินเนื้อหลายชนิดมักจะพึ่งพาอาหารจากเหยื่อ ไม่ว่าจะเป็นสารอาหารแต่รวมถึงน้า ด้วย ดังนั้นสภาพที่ชุ่มชืน้ ของเหยื่อจึงถือว่ามีความสาคัญมาก การใช้ความเชี่ยวชาญในการเลือกอาหารให้เหมาะกับลักษณะนิสัยการกินอาหารของสัตว์ในปุา นั้นถือเป็นสิง่ สาคัญ โดยต้องเลือกอาหารทีม่ ีความเหมาะสมและมีระดับสารอาหารที่มากพอ วิธีการ ทั่วไปที่ใช้กับสัตว์คือ สัตว์จะได้รับเหยื่อต่างชนิดกัน ≥ 2 ชนิด เพราะจะเกิดความแตกต่างของปริมาณ สารอาหารทีอ่ ยู่ในสัตว์ที่มกี ระดูกสันหลังและสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง การลดการพึ่งพาอาหารหรือ เหยื่อเพียงชนิดเดียวถือเป็นสิ่งที่ยากเนื่องจากเหยื่อบางอย่างมักจะออกเป็นช่วง แต่สาหรับการใช้เหยื่อ เพียงชนิดเดียวจะเห็นได้ในงูและอาจจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ อาหารที่ขายตามท้องตลาดสาหรับสัตว์เลือ้ ยคลานพบว่ามีตัวเลขที่เพิ่มขึ้นในช่วงปีที่ผา่ นมา ผลิตภัณฑ์ จะมีทั้ง สัตว์เลือ้ ยคลานทีก่ ินเนือ้ กินพืชและกินทั้งพืชและสัตว์ ตอนนี้มอี ยู่ในประเทศ สหรัฐอเมริกาที่มีผลิตภัณฑ์ในรูปแบบแช่แข็ง แช่แข็งแห้ง กระป฻อง อาหารผสมสาเร็จและรูปแบบเม็ด


การที่จะทาให้เกิดการยอมรับทีด่ ีข้ึนอาจจะเสนอให้กับสัตว์เลือ้ ยคลานที่ยังเล็กอยู่ สูตรทีเ่ หมาะสมที่ ควรทาการผลิตเป็นอาหารสาหรับสัตว์เลือ้ ยคลานอาจทาเป็นอาหารสดหรือเหยื่อสด อย่างไรก็ตามก็ ยังมีวัตถุดิบอาหารบางชนิดที่นามาผลิตอย่างไม่มเี หตุผลและควรทาการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับคุณค่าทาง โภชนาการที่สัตว์จะได้รับจากอาหาร เมื่อเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ที่ขายตามท้องตลาดแล้ว ผูซ้ ือ้ ควร จะต้องติดต่อกับผู้ผลิตเพื่อให้ได้ขอ้ มูลเกี่ยวกับสูตรที่ใช้ในการผลิตและความเข้มข้นของสารอาหาร แต่ เป็นที่น่าเสียดายทีม่ กี ารวิจัยเกี่ยวกับความต้องการสารอาหารของสัตว์เลื้อยคลานน้อยและสิทธิที่จะทา การเรียกร้องต่อผลิตภัณฑ์เป็นไปได้ยาก เนื่องจากยังไม่มีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์สนับสนุน ดู ตาราง: การแนะนาความเข้มข้นธาตุอาหารสาหรับสัตว์เลื้อยคลาน โรคปากอักเสบหรือปากเปื่อย (Ulcerative stomatitis) เกิดได้ในสัตว์เลือ้ ยคลานหลายชนิดเนื่องจากเกิดปัญหา การสังเคราะห์วิตามินซี มีรายงานว่าโรคปากอักเสบหรือปาก เปื่อยสามารถพบได้ในงูและกิ้งก่าแต่ยังไม่มีหลักฐานที่สนับสนุนว่า เกิดจากการขาดวิตามินซี มีการศึกษาในงูการ์เตอร์ (Thamnophis SP) โดยให้งูกินอาหารเสริมวิตามินซี ทาการเก็บเนือ้ เยื่อและทา ให้ตัวงูอยู่คงที่ พบว่าตัวมีการสังเคราะห์ลดลง

โรคข้ออักเสบ (Gout) ถึงแม้วา่ ในสัตว์เลื้อยคลานส่วนใหญ่จะมีการขับไนโตรเจนในรูปของกรดยูริค แต่ถ้า สัตว์เลือ้ ยคลานที่อยู่ในน้าจะขับไนโตรเจนส่วนเกินในรูปของยูเรียหรือแอมโมเนีย สัดส่วนที่สัมพันธ์กัน ของของเสียและไนโตรเจนต่างๆ จะขึน้ อยู่กับจานวนและองค์ประกอบของอาหาร ความถี่ของการให้ อาหารและสภาพความชุ่มชื้น การตกตะกอนของผลึกเกลือยูเรตที่มมี ากเกินไปใน ข้อต่อ ไตหรืออวัยวะ อื่นๆ (เกาต์) สามารถพบได้ทั่วไปในสัตว์เลือ้ ยคลานที่อยู่ในคอกกัก ในส่วนของสาเหตุของโรคข้อ อักเสบยังมีขอ้ สรุปที่ไม่ชัดเจน แต่คาดว่าจะเกิดจากอาหารที่มโี ปรตีนสูงส่งผลให้เกิดโรคข้ออักเสบใน สัตว์เลือ้ ยคลาน และยังมีโรคการทางานของไตบกพร่องและการเสียน้า มักจะเกิดจากโปรตีนใน อาหารมีสภาพที่ไม่ดี(กรดอะมิโนไม่สมดุลย์) หรือเมื่อเนือ้ เยื่อสามารถเผาผลาญอาหารเพื่อได้พลังงาน จะเพิ่มการขับกรดยูริค ในขณะที่โรคข้ออักเสบในสัตว์เลือ้ ยคลานบางชนิดพบความเกี่ยวข้องเกี่ยวกับ ระดับการหมุนเวียนทีเ่ พิ่มขึ้นตอนหลังอาหารและมีการหมุนเวียนกรดยูริคเพิ่มขึน้ ชั่วคราว ดังนัน้ จึงต้อง มั่นใจว่าเราได้ให้สภาพความชุ่มชืน้ ในสัตว์อ่อนแอเพียงพอ ซึ่งอาจจะช่วยปูองกันการเกิดกรดยูริคในข้อ ต่อและอวัยวะ อีกทั้งยังควบคุมอาหารในสัตว์เลือ้ ยคลานกินเนือ้ ให้มีโปรตีนต่า เพราะสัตว์สามารถ ปรับตัวเพื่อกินเหยื่อที่โปรตีนสูง


สัตว์ทีม่ ีกระดูกสันหลังส่วนใหญ่สามารถดูดซึมวิตามินดีจากอาหารหรือการสังเคราะห์ได้จาก ผิวหนัง โดยใช้พลังงาน 7-dehydrocholesterol จากรังสีอลุ ตราไวโอเลต(UV) แสงที่มคี วามยาวคลื่น (290-315 nm) จะเกิดปฏิกิรยิ ากับอุณหภูมิ ดังนัน้ จึงจาเป็นต้องใช้วติ ามินดีในอาหารช่วยในการ สังเคราะห์ เพื่อช่วยสัตว์ในกรณีที่ไม่เพียงพอเนื่องจากสัตว์จะมีการปรับตัวเองเมื่อไม่ได้สัมผัสกับรังสี อุลตราไวโอเลตในช่วงความยาวคลื่นที่เหมาะสม ในสัตว์หลายชนิดที่อยู่ในคอกกักมักพบโรคกระดูก อ่อนที่พบในเด็ก(rickets)หรือโรคกระดูกอ่อนที่พบในวัยโตเต็มวัย(osteomalacia) ส่วนการพัฒนาการ ปูองกันรักษาโรคสามารถทาได้ในโรคเกี่ยวกับ กระดูกหัก เนือ้ เยื่อเกี่ยวพัน ภาวะแทรกซ้อนของไต และเกิดการหดเกร็งของกล้ามเนือ้ (tetany) การสังเกตุสัตว์เลือ้ ยคลานปุวยมักแสดงอาการว่าความง่วง ไม่อยากอาหารและไม่เคลื่อนย้าย การวินจิ ฉัยระดับความเข้มข้นของแคลเซียมในเซรั่มอาจไม่มี ประโยชน์ ดังนัน้ การเสริมอาหารแบบฉีดทั้งแคลเซียมและวิตามินดีถือเป็นการบรรเทาอาการระยะ สั้น แต่การให้สัตว์ได้สัมผัสหรือไม่ได้สัมผัสกับรังสีอุลตราไวโอเลตถือเป็นปัจจัยที่สาคัญ สาหรับการ วินจิ ฉัยโรคสามารถทาได้โดยผ่าเอาเนื้อเยื่อเกี่ยวพันมาฉายรังสีหรือผ่าซาก วิตามินดีและรังสีอุลตราไวโอเลต กรีนอีกัวน่ามักจะพบปัญหาของการแพร่กระจายการสะสม ของหินปูนซึ่งเป็นผลมาจากพิษของ วิตามินดี ในสัตว์อีกัวน่ามักพบ สองพยาธิสภาพอย่างคือกระดูกหักและมีระดับปฏิกิรยิ าการ สังเคราะห์วิตามินดี(25-hydroxycholecalciferol) ที่ต่ามากหรือไม่ สามารถสังเคราะห์ได้เลย และยังมีการสะสมของหินปูนบริเวณ เนือ้ เยื่อเกี่ยวพัน ในตอนนีย้ ังไม่เข้าใจถึงสาเหตุของการแพร่กระจาย ของหินปูน การขาดวิตามินดีและการเกิดพิษของวิตามินดีภายใน สัตว์ แหล่งอาหารที่มวี ิตามินดีอาจจะไม่เพียงพอในการปูองกันโรคกระดูกอ่อนที่พบในเด็ก(rickets) หรือโรคกระดูกอ่อนที่พบในวัยโตเต็มวัย(osteomalacia) ในอาหารจะมีวติ ามินดี3 3,000 IU/kg ซึ่งไม่สามารถปูองกันในเรื่องของกระดูกหักและโรคกระดูกบางในกรีนอีกัวน่าได้ การให้หลอดรังสีอุล ตราไวโอเลตแขวนไว้ประมาณ 12-18 นิว้ เหนือตัวกิง้ ก่า ประมาณ12 ชั่วโมง/วัน พบว่ากิ้งก่าได้รับ ผลกระทบน้อย อาจเป็นเพราะกิ้งก่าบางตัวมองหาจุดที่อบอุ่นเพื่อเพิ่มอุณหภูมิของร่างกายจาก ตาแหน่งของหลอด โดยมักจะติดสิ่งเรืองแสงเพื่อให้มั่นใจว่าเมื่อเปิดแสงยูวีแล้วสัตว์ได้รับอย่างเพียงพอ การที่สัตว์สัมผัสกับแสงแดดธรรมชาติที่ไม่มีการกรองในช่วงฤดูร้อนและการใช้หลอดยูวีในช่วงที่เหลือ ของปีจะช่วยลดความเสี่ยงของโรคกระดูกที่เกิดจากการดูดซึมของแคลเซียมไม่เพียงพอ (เนื่องจากขาด วิตามินดี)


กิ้งก่าบางชนิดไม่สามารถดูดซึมวิตามิน D3 ในอาหารอย่างเพียงพอ แต่เหตุผลยังไม่เป็นที่ทราบ กันอย่างแน่ชัด สาหรับลิงโลกใหม่นีเ้ ชื่อได้ว่าจะมีความต้องการวิตามินดีในอาหารสูงเป็นพิเศษ ซึ่ง อาจจะเกี่ยวข้องกับการที่สัตว์มจี านวนตัวรับวิตามินดีในเนือ้ เยื่อต่ากว่าลิงโลกเก่า ความแตกต่างด้าน การเผาผลาญอาหารถือว่ามีความคล้ายคลึงกันในกิง้ ก่า แต่ยังไม่มีข้อมูลสนับสนุนสาหรับกิ้งก่าบาง ชนิดที่ตอ้ งตากแดด หลอดยูวีมขี ายในร้านสัตว์เลีย้ ง แต่ก็มีการเรียกร้องว่าหลอดที่ขายตามท้องตลาด ไม่น่าเชื่อถือ ดังนั้นจึงควรมีผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเนื่องจากจะมีหลอดยูวีที่ไม่มีคุณสมบัติที่ดพี อ สัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ ทั้งอัลลิเกเตอร์ จระเข้ที่เลีย้ งไว้สามารถให้อาหารพวก สัตว์ฟันแทะ สัตว์ปีก ปลาและอาหารทั่วๆไป โดยจะขอแนะนา อาหารที่มีความแตกต่างกัน อาหารหลักควรประกอบด้วย ปลา ต่างชนิดกัน ≥ 3 ชนิด และควรจะเสริมปลาด้วยวิตามินบี หนึ่ง 25-30 mg และวิตามินอี 100 IU/กิโลกรัม สัญญาณของ สัตว์ที่จะบ่งบอกถึงการขาดวิตามินอี (เช่น ไขมันอักเสบ(steatitis)) พบรายงานการขาดวิตามินอีในสัตว์เลือ้ ยคลานขนาดใหญ่ที่กินปลา เป็นอาหาร ผลเนื่องจากการเสริมวิตามินอีไม่เพียงพอ ถึงแม้ว่าจะ ได้รบั รายงานแล้ว แต่อัลลิเกเตอร์สามารถย่อยคาร์โบไฮเดรตบางชนิดได้ แต่การคาร์โบไฮเดรตใน อาหารทั้งหมดไม่ควรเกิน 20% สาหรับอาหารที่ขายตามท้องตลาดที่ใช้กับอัลลิเกเตอร์ในฟาร์มเลี้ยง บางส่วนมีการลดต้นทุนโดยการปรับเปลี่ยนคุณค่าทางโภชนาการ ดังนั้นจึงไม่ควรนามาใช้ในสวนสัตว์ งู งูจะกินสัตว์ที่ถือเป็นเหยื่อทั้งที่มีกระดูกสันหลังหรือไม่มีกระดูกสันหลังเหยื่อ งูบางชนิดจะกินไข่ งูในกลุ่มของงูเหลือม กลุ่มงูหลาม กลุ่มงูกะปะ งูเขียว กลุ่มงูสามเหลี่ยม กลุ่มเขี้ยวพิษ กลุ่มงูเห่า มักจะกินอาหารพวกหนูตัวเล็ก ลูกไก่ หนูแฮมสเตอร์ หนูขาวใหญ่ หนูตะเภา ไก่ เป็ดและกระต่าย การใช้เหยื่อที่ถูกแช่แข็งมาทาการละลายแล้วใช้ในสวนสัตว์ แต่ขอแนะนาว่าเหยื่อไม่ควรได้รับความเย็น ถึงแม้วา่ จะนาเหยื่อมาละลายในเครื่องทาความเย็นก็ตาม หลังจากที่เหยื่อถูกละลายการที่จะให้อาหาร สัตว์ควรให้ในขณะที่เหยื่ออยู่ในระดับอุณหภูมิห้องหรือไม่ก็อยู่ในระดับที่อนุ่ สัตว์บางชนิด (เช่น งู จงอาง งูจมูกหมู งูการ์เตอร์) สามารถให้อาหารสาหรับสัตว์เลือดเย็นอื่นๆได้ บางชนิดสามารถกิน เหยื่อที่เป็นสัตว์เลือดอุน่ ได้และราคาไม่แพง


งูตอ้ งการกลิ่นของอาหารชนิดใหม่ๆ โดยอาหารถือเป็นสิ่งที่ดึงดูดใจให้งูเกิดการเลื้อยแนบไป กับอาหาร สาหรับงูอาโนล์ งูสงิ สีเหลือง ลักษณะการกินอาหารพวกกบและปลาสเมลจะเป็นไปตาม ธรรมชาติเมื่อสัตว์ไม่ยอมรับเหยื่อที่เป็นสัตว์เลือดอุน่ โดยปกติขนาดของเหยื่อจะเป็นสัดส่วนกับขนาด งูและเหยื่อไม่ควรมีขนาดใหญ่กว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของหัวงู งูที่ได้กินเหยือ่ เป็นประจาสามารถ เลี้ยงแยกกันได้เพื่อลดปัญหาการกัดกัน สาหรับการลดปัญหาในการสารอกอาหาร ควรทาการงด อาหารงูเป็นระยะเวลา 3 วัน หลังการให้อาหาร งูส่วนใหญ่ควรจะได้รับอาหารทุก 1-2 สัปดาห์ แต่ ในบางตัวที่มขี นาดใหญ่แต่กิจกรรมของงูนอ้ ยอาจทาการให้อาหารงูทุก 6 สัปดาห์ การให้อาหารงูควร ให้เท่าที่จาเป็น เนื่องจากจะทาให้สามารถควบคุมสัตว์ได้โดยอาจใช้ไข่ขาวเป็นตัวหล่อลื่นเพื่อให้เหยื่อ ลงไปในคอ การให้อาหารด้วยท่อจะทาให้เหยื่อลงไปถึงส่วนล่าง (ผสมให้เป็นเนือ้ เดียวกัน)


เต่าน้า เต่าน้าจืดจานวนมากที่หากินในปุามักจะกินสัตว์เป็น อาหารหลัก แต่ก็มีบางส่วนที่กินพืช ในเต่าบางชนิดอาจจะเป็น สัตว์ที่กินเนือ้ ในวัยเด็กและมีการเปลี่ยนไปเป็นสัตว์กินทั้งพืชและ สัตว์เมื่อเข้าสู่วัยโตเต็มที่ เต่าน้าส่วนใหญ่ไม่ได้กินเนือ้ อย่างเดียวใน บางครัง้ จะมีการกินพืชบ้าง พบว่ามีผู้ผลิตจานวนมากที่ขาย อาหารเต่าน้า แต่ก็ต้องเลือกใช้เนื่องจากจะมีความแตกต่างกัน ทางด้านปริมาณของสารอาหาร ผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่นั้นมักทาการ ผลิตในรูปแบบของอาหารผสมสาเร็จรูป(extruded) หรืออาหารเม็ด โดยทั่วไปจะมีโปรตีน 30-50% อาหารดังกล่าวอาจมีความเหมาะสมสาหรับเต่าที่กินเนื้อและเต่าที่กินทั้งพืชและสัตว์ ผลิตภัณฑ์ ส่วนมากเหมาะสาหรับเต่าที่กินทั้งพืชและสัตว์เพราะได้รับประโยชน์จากการเพิ่มผักหรือผลไม้ ตัวอย่างอาหาร สาหรับเต่าที่กินเนื้อและเต่าที่กินทั้งพืชและสัตว์ ประกอบด้วย น้า(272กรัม) เจลาติน(ไม่หวานหรือแห้ง 34 กรัม) น้ามันข้าวโพด(11 กรัม) ผักโขม(23 กรัม) มันฝรั่งสุกหวาน (23 กรัม) Vionate® (วิตามินและแร่ธาตุเสริม 5 กรัม) เกล็ดปลาเทราท์ (50 กรัม) วิตามินอี 50 IU/ กรัม (1 กรัม) เมื่อทาการวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ(ตามน้าหนักแห้ง) พบว่า มีโปรตีน 47% ไขมัน 14% แคลเซียม1.5% ฟอสฟอรัส 0.55% วิตามินเอ 10,000 IU/กิโลกรัม วิตามินD3 1,000 IU/ กิโลกรัม วิตามินอี279 IU/กิโลกรัม และวิตามินซี 280 มิลลิกรัม/กิโลกรัม


เต่าบก เต่าบกถือว่าเป็นสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหาร ซึ่งเหมือนกับพวกกิ้งก่า(ดูด้านล่าง) ที่เป็นลักษณะ เช่นนีเ้ นื่องจากการกินพืชจะทาให้เต่าสามารถรักษาสรีรวิทยาในระบบทางเดินอาหาร พืชใช้เป็นแหล่ง สารอาหารสาคัญสาหรับเต่า โดยจะเกิดการหมักของจุลินทรีย์จาก เส้นใยพืช ในขณะที่เต่าขนาดเล็กที่กินอาหารเม็ดเป็นอาหารก็ยัง สามารถกินพืชที่มเี ส้นใยได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยควรจะกิน บ่อยกว่าในเต่าขนาดใหญ่ เต่าขนาดเล็กและขนาดใหญ่จะกินอาหาร ได้ทั้งแบบอาหารผสมสาเร็จรูป(extruded) หรืออาหารเม็ด หรือ อาหารหยาบ โดยเต่าที่มขี นาดใหญ่ เช่น เต่าอัลดาบรา เต่ากาลา ปากอส สามารถกินหญ้าอัลฟาฟูาแห้งและอาหารเม็ดสูตรสาหรับ เต่าปุาที่กินพืชเป็นอาหาร อาหารผสมที่เกิดจากผักทั้งบล็อคโคลี่ ถั่วเขียว ผักใบเขียว (เช่น ผักกาดขาวหรือผักกาดหอมใบเขียว) ผักคะน้าและแครอทหั่นฝอยอาจใช้เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารได้ เต่าน้าที่กินผักผสมไม่จาเป็นต้องเสริมวิตามินและแร่ธาตุเพิ่มเติม เนื่องจากผักที่ระบุข้างต้นมีคุณค่าทางอาหารทั้งโปรตีน แคลเซียม ที่เพียงพอ แต่การปลูกผลไม้โดยทั่วไปพบว่ายังขาดโปรตีน แคลเซียมและสารอาหารบางอย่าง ดังนัน้ จึงมีนักสัตว์เลือ้ ยคลาน และสัตว์สะเทินน้าสะเทินบกเสนอที่จะให้ใช้เปลือกหอยนางรมและต้นถั่ว อันเนื่องมาจากการสังเกตว่า สัตว์มกี ารกินอย่างอิสระ ความผิดปกติในหอยซึ่งเป็นอาหารที่มโี ปรตีนสูงที่เต่ากินเป็นผลทาให้เกิด การเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตามยังขาดหลักฐานทางวิทยาศาสตร์เพื่อสนับสนุน อาหารของ เต่าทีอ่ ยู่ในปุา มักจะมีโปรตีน > 15% (คิดตามน้าหนักแห้ง) มันจะกินพืชเป็นอาหาร เพราะถือว่าใน ขั้นตอนการเป็นเมล็ดพันธุ์นั้นเป็นแหล่งที่มโี ปรตีนสูง


กิ้งก่า สาหรับรูปแบบในการให้อาหารของกิง้ ก่าถือว่ามีความหลากหลายมาก กิ้งก่าชนิดที่กินแมลง เป็นอาหาร (เช่น ตุ๊กแกเสือดาว จิ้งแหลนหางแส้ จิ้งจก กิ้งก่า)

กลุ่มที่กินสัตว์เป็นอาหาร (เช่น สัตว์ในกลุ่มตัวเหีย้ กิล่ามอนสเตอร์ กิ้งก่าเม็กซิกัน)

กลุ่มที่กินทั้งพืชและสัตว์ (เช่น อีกัวน่า แย้) หรือกลุ่มที่กินพืชเป็นอาหาร (เช่น อีกัวน่า จิ้งเหลน) ซึ่ง กิ้งก่าที่อยู่ในกรงขังชนิดที่กินแมลงเป็นอาหารมักจะกินหนอนนกหรือจิ้งหรีด เพราะว่าเหยื่อเหล่านีม้ ี ระดับความเข้มข้นของแคลเซียม โดยแมลงส่วนใหญ่จะมีอัตราส่วนแคลเซียมต่อฟอสฟอรัสต่ามาก (แคลเซียม 0.03-0.3% ฟอสฟอรัส 0.8-0.9%) ดังนั้นจะต้องทาให้แมลงมีค่าแคลเซียมกับฟอสฟอรัส ทีผ่ กผันกันก่อนที่จะนาเหยื่อมาให้กิ้งก่ากิน อาหารควรจะมีแคลเซียม 8% ทาได้โดยการเติมแคลเซียม


คาร์บอเนตในอาหารที่ใช้เลี้ยงจิ้งหรีดหรือหนอนนก 2-3 วันก่อนทีจ่ ะใช้แมลงเป็นอาหารสาหรับ กิ้งก่า แต่อาหารนี้ไม่ควรใช้อย่างต่อเนื่องกับกลุ่มของจิ้งหรีด หลังการให้อาหารที่มแี คลเซียมสูง 2 วัน พบว่าระบบทางเดินอาหารของแมลงจะเต็มไปด้วยแคลเซียม โดยความเข้มข้นแคลเซียมในตัวแมลงจะมี ประมาณ 0.8-0.9% จึงเป็นผลที่ทาให้อัตราส่วนของแคลเซียมต่อฟอสฟอรัสมีประมาณ 1.2 : 1 อาหารแคลเซียมสูงพบว่าเป็นที่น่าพอใจสาหรับใช้เลีย้ งจิ้งหรีด ราคาไม่แพง สามารถทาได้โดยใช้ ข้าวสาลี 29% ข้าวโพด 10% อาหารแมวหรืออาหารสุนัขแห้ง 40% และเปลือกหอยนางรมหรือ แคลเซียมคาร์บอเนต 21% (ดูที่ ค้างคาว อาหารจากหนอนนก) กิ้งก่าขนาดใหญ่ที่กินแมลงเป็น อาหาร อาจให้กินลูกหนู ไส้เดือนดิน ในส่วนของกิ้งก่าทีก่ ินเนือ้ อาจให้ลูกหนูถีบจักร ลูกหนูขาว หนู ถีบจักรโตเต็มวัย หนูขาวโตเต็มวัย ไก่และไข่ การเลือกขนาดของเหยื่อควรจะเหมาะสมกับชนิดของ กิ้งก่า ในอาหารของกิง้ ก่าที่กินทั้งพืชและสัตว์มักจะมีทั้งแมลง เหยื่อที่มกี ระดูกสันหลังและผสมกับผัก สับ (ดูที่ เต่า ผักผสม) กิ้งก่าส่วนใหญ่ควรจะได้รับอาหารทุกวัน (วัยเด็กและสัตว์ขนาดเล็ก) หรืออย่าง น้อยทุกวันๆ ส่วนกิ้งก่าขนาดใหญ่ควรจะได้รับอาหาร 1-2 ครั้ง/สัปดาห์

กิ้งก่าทีก่ ินพืชเป็นอาหารสามารถปรับตัวให้เกิดการหมักเส้นใยพืชบริเวณทางเดินอาหาร ส่วนท้าย โดยจุลินทรีย์ในลาไส้ใหญ่ส่วนต้นบริเวณนี้เท่านั้นที่สามารถย่อยเส้นใยพืชได้ กิ้งก่าที่กินพืช เป็นอาหารเช่นเดียวกับเต่าควรจะเลี้ยงด้วยพืชเพื่อที่จะมั่นใจได้ว่าจะไม่กระทบต่อระบบการทางานของ ทางเดินอาหาร ดังนัน้ จึงไม่แนะนาการใช้แมลง สัตว์ที่มกี ระดูกสันหลังหรือผลไม้เพราะอาหารเหล่านี้ มีเส้นใยต่าไม่เหมาะสมสาหรับสัตว์กินพืช อาหารสาหรับกิง้ ก่าที่ขายตามท้องตลาดควรเลือกใช้ในสูตร สาหรับสัตว์กินพืชหรือผสมผัก (ดูที่ เต่าน้า)


ตาราง อาหารนก น้​้าหวาน ตอนเช้า โปรตีนผง-ถั่วเหลือง 25 g อาหารเสริมโปรตีน-เคซีน 10 g มัลติวติ ามิน 2.4 mL แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินดี 3 6.5 g สารสีแคนทาแซนทีน 0.5 g น้าตาล 400 g น้า 1,920 mL น้าหวานที่เหลือควรทาการทิง้ แล้วเปลี่ยนใหม่ทุกวัน สารสีแคนทาแซนทีนถือเป็นทางเลือกหนึ่ง แต่ไม่จาเป็นสาหรับนกที่ไม่จะใช้ตัวคาโรทีนอยด์สาหรับการ เพิ่มสีขน (เช่น นกฮัมมิงเบิร์ด) น้​้าหวาน ตอนเย็น น้าตาล 400 g มัลติวติ ามิน 2.4 mL น้า 1,440 mL สัตว์ท่กี ินแมลง อาหารสุนัข 23% กระดูก นึ่ง 5% อาหารเม็ด ปลาเทราท์ 4% อาหารเสริมโปรตีน-เคซีน 2% อาหารเม็ด นกขุนทอง 8% “Super Caradee” 6% อาหารเหยื่อนกแช่แข็ง 52% อาหารที่เป็นเหยื่อนกแช่แข็ง ควรนามาละลายแล้วทาการบดให้ละเอียด ผสมส่วนผสมให้มลี ักษณะนุ่ม แล้วทาการเก็บรักษาด้วยการแช่เย็นหรือแช่แข็ง


ส้าหรับสัตว์ขนาดเล็กที่กินผลไม้

g/kg of diet แอปเปิ้ล 470 องุน่ 110 กล้วย(ปอกเปลือก) 100 ลูกเกด 70 มะเขือเทศ 50 มะละกอ 50 บลูเบอร์รี่ 50 อาหารผสมสาหรับสัตว์กินผลไม้ (ดูด้านล่าง) 100 แอปเปิ้ลและองุ่น ควรทาการผสมในเครื่องผสมอาหาร(จนกระทั่งอาหารมีลักษณะเป็นชิน้ เล็กๆ แต่ไม่ เละ) แล้วทาการกรองผ่านตะแกรง ในส่วนของมะเขือเทศ มะละกอและกล้วยควรทาการผสมใน เครื่องผสมอาหาร โดยอาหารควรมีลักษณะเป็นชิน้ เล็กๆ แต่ไม่เละ ส่วนผสมทั้งหมดควรทาการผสม อย่างทั่วถึง การผสมอาหารแต่ละครั้งเก็บไว้ได้ 3 วัน เมื่อทาการวิเคราะห์ข้อมูล(ตามน้าหนักแห้ง) วัตถุดิบแห้ง 24% โปรตีน 26% ไขมัน 4% เยื่อใย 3.6% เถ้า 7.7% แคลเซียม 1.49% ฟอสฟอรัส 0.76% ส้าหรับสัตว์ขนาดใหญ่ท่กี ินผลไม้

g/kg of diet แอปเปิ้ล 480 กล้วย(ปอกเปลือก) 200 องุน่ 100 ลูกเกด (ไม่มเี มล็ด) 50 บลูเบอร์รี่ 50 อาหารผสมสาหรับสัตว์กินผลไม้ (ดูด้านล่าง) 120 แอปเปิ้ลและกล้วยควรจะสับเป็นชิน้ กว้างขนาด 15 มม. แล้วทาการผสมกับส่วนผสมทั้งหมด ให้มี ลักษณะเหมือนซอสแอปเปิ้ล เมื่อทาการวิเคราะห์ข้อมูล(ตามน้าหนักแห้ง) วัตถุดิบแห้ง 31% โปรตีน 24% ไขมัน 3.7% เยื่อใย 2.6% เถ้า 7.2% แคลเซียม 1.4% ฟอสฟอรัส 0.71%


อาหารผสมส้าหรับสัตว์กินผลไม้ แปูงข้าวโพด (โปรตีน 60%) แคลเซียมคาร์ซิเนต โปรตีนถั่วเหลืองข้น (โปรตีน 70%) ไดแคลเซียมฟอสเฟต น้ามันข้าวโพด ยีสต์ (แห้ง) แคลเซียมคาร์บอเนต เกลือเสริมไอโอดีน (NaCl) แอล-ไลซีน โมโนไฮโดรคลอไรด์ ดีแอล-เมททิโอนีน วิตามินพรีมิกซ์สาหรับสัตว์กินผลไม้ แร่ธาตุพรีมกิ ซ์สาหรับสัตว์กินผลไม้

g/kg of base mix 359 280 100 75 50 45 38 13 5.5 4.5 16 14

กลุ่มนกแก้วขนาดใหญ่ เมล็ดพืชและเมล็ดถั่ว ผลไม้ ผักใบเขียว ผักสีเหลือง บิสกิต หรือ อาหารสุนัขแห้ง กระดองปลาหมึกหรือแร่ธาตุก้อน

20% 25% 15% 25% 15% free-choice นกกีวี (ส้าหรับ สัตว์โตเต็มไว)

ข้าวโอ๊ต 20 g น้า 160 mL น้ามันพืช 2.5 mL จมูกข้าวสาลี 2g วิตามิน-แร่ธาตุพรีมกิ ซ์ 2g เนือ้ ควรทาการตัดไขมันส่วนเกินทิง้ ก่อนที่จะแร่ออกเป็นชิน้ บางๆ ให้มลี ักษณะคล้ายกับหนอน สาหรับ ข้าวโอ๊ตควรทาให้สุกในน้า แล้วจึงทาการผสมส่วนผสมทั้งหมดให้มีลักษณะคล้ายโจ๊ก โดยทาการให้ อาหารในถาดก้นตื้น นอกจากนี้อาจให้ไส้เดือนดินเสริมได้


ตาราง แนะน้าสารอาหารที่มคี วามเข้มข้นส้าหรับกลุ่มนกแก้ว สารอาหาร โปรตีน อาร์จินีน ไอโซลูซีน ไรซีน เมทาโอนีน เมทาโอนีน + คริสติอีน ทรีโอนีน ทริปโตเฟน ลิโนเลอิก เอสิค แคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม โซเดียม คลอรีน แมกนีเซียม แมงกานีส สังกะสี เหล็ก ทองแดง ไอโอดีน ซีลเี นียม วิตามินเค วิตามินบีสอง พาโทเทนิค เอสิค วิตามินบีสาม วิตามินบีสบิ สอง โคลีน ไบโอติน

ความเข้มข้น 20-24% 1.3% 1.1% 1.2% 0.5% 0.9% 0.95% 0.24% 2.0% 1.1% 0.8% 0.7% 0.2% 0.2% 0.15% 65 ppm 120 ppm 150 ppm 20 ppm 1 ppm 0.3 ppm 4 ppm 6 ppm 20 ppm 55 ppm 0.025 ppm 1,700 ppm 0.3 ppm


สารอาหาร โฟแลคซิน วิตามินบีหนึ่ง วิตามินบีหก วิตามินเอ โคลลิคลอซิเฟอรอล (วิตามินดีสาม) วิตามินอี

ความเข้มข้น 0.9 ppm 6 ppm 6 ppm 8,000-10,000 IU/kg 2,000 IU/kg 250 IU/kg


ตาราง แนะน้าสารอาหารที่มคี วามเข้มข้นส้าหรับนกกระจอกเทศ นกเรีย นกอีมู สารอาหาร โปรตีน อาร์จินีน ไรซีน เมทาโอนีน เมทาโอนีน + คริสติอีน ทริปโตเฟน ลิโนเลอิก เอสิค แคลเซียม ฟอสฟอรัส(ทั้งหมด) ฟอสฟอรัส(ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้) โพแทสเซียม โซเดียม แมกนีเซียม แมงกานีส สังกะสี เหล็ก ทองแดง ไอโอดีน ซีลเี นียม วิตามินเค วิตามินบีสอง พาโทเทนิค เอสิค วิตามินบีสาม วิตามินบีสบิ สอง โคลีน ไบโอติน โฟแลคซิน วิตามินบีหนึ่ง

ความเข้มข้น 20-24% 1.3% 1.2% 0.35% 0.7% 0.3% 1.0% 1.6% 1.0% 0.8% 1.1% 0.2% 0.2% 70 ppm 120 ppm 150 ppm 20 ppm 1 ppm 0.3 ppm 4 ppm 9 ppm 30 ppm 70 ppm 0.03 ppm 1,600 ppm 0.3 ppm 1 ppm 7 ppm


สารอาหาร วิตามินบีหก วิตามินเอ โคลลิคลอซิเฟอรอล (วิตามินดีสาม) วิตามินอี วิตามินเค(คล้ายกับ มีนาไดโอน)

ความเข้มข้น 5 ppm 8,000 IU/kg 1,600 IU/kg 250 IU/kg 4 ppm


ตาราง การเลือกใช้อาหารส้าหรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อาหารส้าหรับนากน้​้าจืด

Percent (%) อาหารม้า 38 เนือ้ 20 อาหารแมว 13 หัวบีท 2.9 “Coat Mirra” 1.9 แคลเซียมคาร์บอเนต 0.8 ไขมันสัตว์ปีก 4.9 น้า 16.9 แลคโตส 0.04 โยเกิรต์ 0.72 วิตามิน เกลือแร่ 0.84 ส่วนผสมทั้งหมดควรจะรวมกันในเครื่องผสมขนาดใหญ่ แล้วทาการแบ่งออกมาใช้ทุกวีน ทาการเก็บ รักษาโดยการแช่แข็ง แลคโตสที่มแี ลคโตบาซิลัสสามารถใส่ลงในโยเกิรต์ เพื่อช่วยรักษาความสดใหม่ ถือได้ว่าแลคโตสและโยเกิรต์ เป็นทางเลือกหนึ่ง

อาหารเหลวส้าหรับค้างคาว

Percent (%)

ส่วนผสมแห้ง ธัญพืชผสมสาหรับเด็ก 20.7 จมูกข้าวสาลี 4 นมผงไม่มีไขมัน 9 แคลเซียมคาร์ซิเนต 15.8 น้าตาล 45.5 อาหารเสริมโปรตีน-เคซีน 3 วิตามิน เกลือแร่ 2 ส่วนผสมแห้ง (100 กรัม) ควรจะนามาผสมกับน้าลูกพีชกระป฻อง (540 มิลลิลิตร) น้า (260 มิลลิลิตร) และน้ามันข้าวโพด (6 มิลลิลิตร) แล้วทาการให้โดยใส่ในกล้วย


อาหารเม็ดส้าหรับสัตว์กินพืชขนาดใหญ่

Percent (%) ข้าวสาลี 30 หญ้าอัลฟาฟูาแห้ง (ผ่านการถนอมอาหารด้วยการตากแดด) (โปรตีน 16%) 22 เมล็ดข้าวโพดบด 19.1 กากถั่วเหลืองโดยไม่เอาเปลือก (โปรตีน 48%) 11.4 หญ้าอัลฟาฟูา (เอาน้าออก) (โปรตีน 17% ) 10 อ้อย กากน้าตาล 5 น้ามันถั่วเหลือง 1 เสริม ฟอสฟอรัส 0.8 เกลือแกง 0.5 แร่ธาตุพรีมกิ ซ์ 0.1 วิตามินพรีมิกซ์ 0.1 เมื่อทาการวิเคราะห์ข้อมูล(ตามน้าหนักแห้ง) วัตถุดิบแห้ง 89% โปรตีน 19% ไขมัน 4.3% กรดเส้นใย 16% เยื่อใย 12% แคลเซียม 0.75% ฟอสฟอรัส 0.7%


ตาราง สารอาหารทีต่ ้องการของสัตว์ในอันดับลิง สารอาหาร โปรตีนรวม กรดไขมันที่จาเป็นΩ - 3 กรดไขมันที่จาเป็นΩ - 6 เส้นใยธรรมชาติ กรดเส้นใย แคลเซียม ฟอสฟอรัสรวม Nonphytate phosphorus แมกนีเซียม โพแทสเซียม โซเดียม คลอไรด์ เหล็ก ทองแดง แมงกานีส สังกะสี ไอโอดีน ซีลเี นียม โครเมียม (Trivalent chromium) วิตามินเอ วิตามินดีสาม วิตามินอี วิตามินเค วิตามินบีหนึ่ง วิตามินบีสอง พาโทเทนิค เอสิค วิตามินบีสาม วิตามินบีหก

ความเข้มข้น 15-22% 0.5% 2% 10-30% 5-15% 0.8% 0.6% 0.4% 0.08% 0.4% 0.2% 0.2% 100 mg/kg 20 mg/kg 20 mg/kg 100 mg/kg 0.35 mg/kg 0.3 mg/kg 0.2 mg/kg 8,000 IU/kg 2,500 IU/kg 100 mg/kg 0.5 mg/kg 3.0 mg/kg 4.0 mg/kg 12.0 mg/kg 25.0 mg/kg 4.0 mg/kg


สารอาหาร ไบโอติน โฟเลคซิน วิตามินบีสบิ สอง วิตามินซี โคลีน

ความเข้มข้น 0.2 mg/kg 4.0 mg/kg 0.03 mg/kg 200 mg/kg 750 mg/kg


ตาราง แนะน้าสารอาหารส้าหรับสัตว์เลื้อยคลาน สารอาหาร โปรตีนรวม อาร์จินีน ไอโซลูซีน ไรซีน เมทาโอนีน เมทาโอนีน + คริสติอีน ทรีโอนีน ทริปโตเฟน ลิโนเลอิก เอสิค แคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม โซเดียม แมกนีเซียม แมงกานีส สังกะสี เหล็ก ทองแดง ไอโอดีน ซีลเี นียม วิตามินบีสอง พาโทเทนิค เอสิค วิตามินบีสาม วิตามินบีสบิ สอง โคลีน ไบโอติน โฟแลคซิน

ความเข้มข้น สัตว์เลื้อยคลานที่กินสัตว์ สัตว์เลื้อยคลานที่กินพืชและสัตว์ 30-50% 20-25% 1.0% 1.8% 0.5% 1.3% 0.8% 1.5% 0.4% 0.4% 0.75% 0.75% 0.7% 1.0% 0.15% 0.3% 1.0% 1.0% 0.8-1.1% 1.0-1.5% 0.5-0.9% 0.6-0.9% 0.4-0.6% 0.4-0.6% 0.2% 0.2% 0.04% 0.2% 5 ppm 150 ppm 50 ppm 130 ppm 60-80 ppm 200 ppm 5-8 ppm 15 ppm 0.3-0.6 ppm 0.4 ppm 0.3 ppm 0.3 ppm 2-4 ppm 8 ppm 10 ppm 60 ppm 10-40 ppm 100 ppm 0.020 ppm 0.025 ppm 1,250-2,400 ppm 3,500 ppm 70-100 ppb 400 ppb 200-800 ppb 6,000 ppb


สารอาหาร วิตามินบีหนึ่ง วิตามินบีหก วิตามินเอ โคลลิคลอซิเฟอรอล (วิตามินดีสาม) วิตามินอี

ความเข้มข้น สัตว์เลื้อยคลานที่กินสัตว์ สัตว์เลื้อยคลานที่กินพืชและสัตว์ 1-5 ppm 5 ppm 1-4 ppm 10 ppm 5,000-10,000 IU/kg 15,000 IU/kg 500-1,000 IU/kg 500-1,000 IU/kg 150 IU/kg

150 IU/kg


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.