จากสำนักพิมพ ตอน การคากับนิเวศ ไดรบั การตีพมิ พครัง้ แรกเมือ่ ป ค.ศ ๑๙๙๓ นัน้ มันกลายเปนดาวจรัส แสงทีถ่ กู กลาวขานถึงในชัว่ ขามคืน เหตุเพราะหนังสือเลมนีถ้ กู คว่ำบาตรจากสำนักพิมพ ยักษใหญทั่วอเมริกา บทความตางๆ ที่เขียนถึงก็พลอยถูกฌาปณกิจไปดวย แตผูเขียน พอล ฮอวเกน กลับมองปรากฏการณนดี้ ว ยทาทีปกติ เขาบอกวา การปฏิเสธเรือ่ งเชนนี้ ไมไดเปนเรือ่ งสวนตัว แตเปนสัญชาตญาณการปฏิเสธเรือ่ งราวเกีย่ วกับสิง่ แวดลอมทีด่ ำรง อยูใ นโลกธุรกิจนัน่ เอง และ การคากับนิเวศ ก็ประกาศออกมาอยางชัดเจนวา “ธุรกิจกำลัง ทำลายโลกอยางทีไ่ มมใี ครทำไดยงิ่ กวา” (หนา ๑๘-๑๙) นีอ่ าจเปนอีกหนึง่ ปจจัยขางเคียงที่ สงผลใหงานเขียนเลมนีก้ ลายเปนหนังสือขายดีไปทัว่ โลกมาจนถึงทุกวันนี้ ดวยความทีฮ่ อวเกนสวมหมวกหลายใบ ทัง้ ในบทบาทนักธุรกิจ ทีป่ รึกษาองคกรและ บรรษัท นักอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม นักรณรงคขบั เคลือ่ นเพือ่ ความเปนธรรมทีม่ ปี ระสบการณ การทำงานเชิงรุกมาอยางยาวนาน กอปรกับการมีทศั นะทีเ่ ปดกวาง มองทุกอยางไปขาง หนา ทำใหปญ หาทีเ่ ขาขุดคุย เจาะทะลวงใหเราเห็นทีม่ าทีไ่ ปอยางโจงแจงนัน้ ตามมาดวย ขอเสนอแนะและทางออกทีเ่ ปนรูปธรรมเสมอ ใน การคากับนิเวศ ก็เชนกัน ฮอวเกนตัง้ ขอสังเกตวาการพัฒนาของโลกธุรกิจมักใหความสำคัญกับการสรางผลกำไร ไมไดใหความ สำคัญกับกระบวนการของธรรมชาติ การทำธุรกิจและการคาจึงขาดหลักการทางนิเวศวิทยา เปนเหตุใหสงิ่ ทีด่ ที างธุรกิจกลายเปนสิง่ ทีเ่ ลวรายสำหรับธรรมชาติไปอยางนาเศรา (หนา ๙๔) กระนั้น ผูเขียนไมไดมองสภาพเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอมที่กำลังเสื่อมถอยอยูใน ปจจุบันนี้ดวยทาทีกนดา ตัดพอ หากพยายามจี้ไปที่ตนเหตุอยางตรงไปตรงมา นั่นคือ ศักยภาพทางชีวภาพของระบบนิเวศในทุกชีวมณฑลกำลังถูกมนุษยรุกล้ำทำลายอยาง ตอเนือ่ งและอยางถึงทีส่ ดุ ทัง้ ในแมนำ้ มหาสมุทร ผืนปา ทัง้ บนดิน ใตพภิ พ และในหวง อากาศ ระบบสิง่ มีชวี ติ กำลังลดปริมาณลงเรือ่ ยๆ ทัง้ หมดนีล้ ว นมาจากการพยายามสราง ระบบเศรษฐกิจทีข่ าดความรับผิดชอบ และเปนทีม่ าของปญหาเรือ้ รังในปจจุบนั หากเรา ยังดันทุรงั ขยายการเติบโตในเสนทางนีต้ อ ไป นอกจากจะไมเกิดมรรคผลใดๆ ทัง้ ตอธุรกิจ และสังคมโดยรวมแลว ยังลากอนาคตของโลกไปสูห ายนะเร็วขึน้ แตฮอวเกนไมวายมองโลกในแงดี ปญหาทีเ่ ราเผชิญอยูน แี้ มจะรุนแรงกวาทีห่ ลาย คนคิด แตมที างออกแฝงฝงอยูใ นทุกปญหาเชนกัน ขึน้ กับวาเราจะมองมันอยางซือ่ สัตย และรอบดานแคไหน เขาชวนเชิญใหเรา “จินตนาการ” พรอมบรรยายใหเห็นวา “ธุรกิจ สามารถเดินไปในทิศทางทีฟ่ น ฟูสงั คมและสิง่ แวดลอมไดอยางไร”
I
จากสำนักพิมพ 7
และนีน่ า จะเปนนิมติ หมายทีด่ ี ทีผ่ ขู บั เคลือ่ นในภาคธุรกิจจะลุกขึน้ มาถามตัวเองวา จะประกอบธุรกิจอยางมีเกียรติไดอยางไรในโลกตอจากนี้ ฮอวเกนเชื่อวา เราสามารถ สรางสรรคธรุ กิจทีท่ ำกำไรไดโดยไมทำลายโลกรอบตัว เขาไดยกตัวอยางใหเห็นอยางเปน รูปธรรมผานแนวทางการบริหารงานของ เรย แอนเดอรสัน ซีอีโอผูกอตั้งอินเตอรเฟส บริษทั ชัน้ นำดานพรมปูพนื้ แบบโมดูลาร แอนเดอรสนั ไดรบั แรงบันดาลใจจากหนังสือเลมนี้ และนำมันไปใชเปนหลักการในการรางสาสนดานสิง่ แวดลอมใหกบั พนักงาน เขาวางหมุด หมายใหอนิ เตอรเฟสเปนบรรษัททีด่ ำเนินงานอยางใหความเคารพตอความยัง่ ยืน เปาหมาย สูงสุดคือ ใหมขี องเสียเปนศูนย จำนวนคารบอนเปนศูนย และการปลอยกาซเรือนกระจก เปนศูนย และแอนเดอรสนั ก็ทำใหวงการธุรกิจทัว่ โลกไดประจักษวา เสนทางนีท้ ำไดจริง หากเปาหมายเชนนีเ้ ปนเพียงปณิธานทีเ่ ลือ่ นลอย การสรางสังคมแหงความยัง่ ยืน ยอมเปนจริงไปไมได และสิง่ ทีจ่ ะนำไปสูส งั คมทีย่ งั่ ยืนก็คอื การรวมสรางระบบธุรกิจและ การผลิตที่การกระทำทุกการกระทำ มีความยั่งยืนและเปนไปในแนวทางเพื่อการฟนฟู อยางแทจริง (หนา ๑๔) ดวยการชวยกันออกแบบระบบธุรกิจเสียใหม ใหเปนระบบที่ให เกียรติ ใหคุณคากับทุกชีวิต ระบบที่ใชธรรมชาติเปนเครื่องนำทาง ชวยกันคิดวาเราจะ ใชสอยธรรมชาติอยางมีมนุษยธรรมไดอยางไร จะออกแบบธุรกิจและการตลาดอยางไรให สอดคลองกับแนวทางเศรษฐกิจแบบฟน ฟู (restorative economy) เศรษฐกิจทีว่ างอยูบ น ฐานของความออนนอมถอมตน ฮอวเกนยืนยันใหเราเบาใจวา ระบบนีไ้ มไดทำใหความ สะดวกสบายในชีวติ ประจำวันของเราหดหายไป หากแตชว ยใหความตองการของเราจะยิง่ ลดนอยลง เมือ่ ระบบถูกออกแบบมาอยางดี อาทิ การผลักดันใหมกี ารเก็บภาษีสงิ่ แวดลอม ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ การหันกลับมาสูก ารเกษตรทีย่ งั่ ยืนและสอดคลองกับสภาพทางชีวภาพ การเปลี่ยนจากการใชพลังงานฟอสซิลมาใชพลังงานจากแหลงพลังงานถาวร นั่นก็คือ พลังงานลม ความรอนจากใตดนิ และแสงอาทิตย เปนตน การเติบโตทางเศรษฐกิจนัน้ สัมพันธโดยตรงกับการสรางสรรคนวัตกรรมตางๆ เชน การเพิม่ ภาษีสงิ่ แวดลอมไมไดไปปดกัน้ การขยายตัวหรือลดทอนการเติบโตทางเศรษฐกิจ แตจะชวยกระตุน เราใหเราคิดคนนวัตกรรมใหมๆ ทีส่ ามารถลดการใชพลังงานไดอยางมี ประสิทธิภาพมากขึน้ ฮอวเกนตัง้ โจทยใหเราชวยกันขบคิดทิง้ ทายวา เราจะออกแบบโลก ใหมอยางไร หากคำวา “การคา” และ “การฟน ฟู” มีความหมายเดียวกัน ไมวา เราจะชอบ หรือไมกต็ าม แตชะตากรรมของมนุษยเชือ่ มโยงสัมพันธกบั สิง่ มีชวี ติ อืน่ อยางเลีย่ งไมพน ถึงเวลาแลวทีเ่ ราจะตองสรางจินตนาการรวมกันถึงโลกทีท่ กุ ชีวติ กระทำตอกันอยางเคารพ เกือ้ กูล สำนักพิมพขอขอบคุณกรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอมทีร่ ว มสนับสนุนการจัดพิมพ และขอบคุณ คุณเพ็ญนภา หงษทอง ผูแ ปล และอาจารยสดใส ขันติวรพงศ บรรณาธิการ ตนฉบับทีช่ ว ยกันสรางสรรคงานชิน้ นีอ้ อกมาอยางมีคณุ ภาพ
I
8 การคากับนิเวศ