หั ว ใจอั น ประเสริ ฐ เปลี่ ย นโลกได้ จ ากภายใน
THE HEART IS NOBLE Changing the World from the Inside Out
องค์กรรมาปะที่ ๑๗ เขียน นัยนา นาควัชระ แปล พจนา จันทรสันติ บรรณาธิการ
หมวดสังคม หัวใจอันประเสริฐ: เปลีย่ นโลกได้จากภายใน The Heart Is Noble: Changing the World from the Inside Out
Copyright©2013 by Ogyen Trinley Dorje Thai language translation copyright©2015 by Suan Nguen Mee Ma Co., Ltd. This edition published by arrangement with Shamblala South Asia Edition, Horticultural Hall, 300 Massachusetts Avenue, Boston, Massachusetts 02115 USA. www.shambhala.com , through Tuttle-Mori Agency Co., Ltd. All rights reserved.
ลิขสิทธิ์ © ส�ำนักพิมพ์สวนเงินมีมา, ๒๕๕๘ เขียน องค์กรรมาปะที่ ๑๗ ออกเยน ทรินเลย์ ดอร์เจ แปล นัยนา นาควัชระ บรรณาธิการ พจนา จันทรสันติ รูปเล่ม สุชาดา เสโส ออกแบบปก น�ำ้ ส้ม สุภานันท์ พิสจู น์อกั ษร พิมพุทธ
ข้อมูลทางบรรณานุกรม องค์กรรมาปะที่ 17 (Ogyen Trinley Dorje). หัวใจอันประเสริฐ: เปลีย่ นโลกได้จากภายใน = The Heart Is Noble.-- กรุงเทพฯ : สวนเงินมีมา , 2558. 248 หน้า. 1. สังคมศาสตร์. 2. มนุษยศาสตร์. 3. ศาสนา. I. นัยนา นาควัชระ, ผูเ้ แปล. II. ชือ่ เรือ่ ง. 300 ISBN 978-616-7368-61-0
ISBN 978-616-7368-61-0 พิมพ์ครัง้ ที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๘ บรรณาธิการทีป่ รึกษา บรรณาธิการ ฝ่ายสือ่ สารประชาสัมพันธ์ ฝ่ายขาย จัดพิมพ์ อีเมล เว็บไซต์ เฟซบุก๊ โรงพิมพ์ จัดจ�ำหน่าย ราคา
วัลลภา แวนวิลเลียนส์วาร์ด, ฮันส์ แวนวิลเลียนส์วาร์ด วรนุช ชูเรืองสุข พิชนันญ์ พุม่ สวัสดิ์ สมภพ บุญชุม บริษทั สวนเงินมีมา จ�ำกัด ๗๗, ๗๙ ถนนเฟือ่ งนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๖๒๒-๒๔๙๕-๖, ๐-๒๖๒๒-๐๙๕๕, ๐-๒๖๒๒-๐๙๖๖ โทรสาร ๐-๒๖๒๒-๓๒๒๘ publishers@suan-spirit.com www.suan-spirit.com www.facebook.com/suan2001 หจก. ภาพพิมพ์ โทรศัพท์ ๐-๒๔๓๓-๐๐๒๖-๗ สายส่งศึกษิต บริษทั เคล็ดไทย จ�ำกัด โทศัพท์ ๐-๒๒๒๕-๙๕๓๖-๙ ๒๗๐ บาท
ค�ำนิยมโดยองค์ทะไลลามะ
ข้าพเจ้ามีความยินดีอย่างยิง่ ทีจ่ ะแนะน�ำหนังสือเล่มใหม่เล่มนี ้ ซึง่ รจนาโดย องค์กรรมาปะที ่ ๑๗ ออกเยน ทรินเลย์ ดอร์เจ ชายหนุม่ ผูท้ รงภูมแิ ละเปีย่ ม ด้วยวิรยิ ะอุตสาหะประกอบกรณียกิจในฐานะทีเ่ ป็นผูน้ ำ� ของสายธรรมกาจูปะ แห่งพุทธศาสนาสายธิเบต ทุกวันนีข้ า้ พเจ้าขีดเส้นแบ่งอย่างชัดเจนระหว่างคนทีอ่ ยูใ่ นวัยหกสิบ หรือเจ็ดสิบเยีย่ งตัวข้าพเจ้า ซึง่ เป็นคนของศตวรรษที ่ ๒๐ ทีไ่ ด้ผา่ นพ้นไปแล้ว กับคนทีเ่ ป็นหนุม่ สาววัยยีส่ บิ และสามสิบ พวกเขาเหล่านีจ้ ะเป็นผูส้ ร้างสรรค์ ศตวรรษที่ ๒๑ มนุษยชาติได้เจริญรุดหน้าไปไกลในช่วงศตวรรษที่ ๒๐ ไม่วา่ จะเป็นในด้านการแพทย์ การคมนาคม การสือ่ สาร แต่ถงึ กระนัน้ ก็เป็น ช่วงเวลาที่มีความขัดแย้งและการนองเลือดซึ่งเราไม่ปรารถนาที่จะประสบ พบเห็นอีก ถ้าหากจะให้ทศวรรษหน้าเกิดความเปลีย่ นแปลงอย่างเห็นได้ชดั คนหนุม่ สาวในปัจจุบนั จะต้องรูจ้ กั หาวิธที จี่ ะรักษาสันติภาพในโลก ทัง้ นีก้ ด็ ว้ ย การสร้างความสงบสุขจากภายในจิตใจของตน และไม่วา่ จะเกิดปัญหาใดขึน้ ก็จำ� ต้องแก้ปญ ั หาเหล่านัน้ ด้วยการเจรจาหารือกัน ข้าพเจ้ารู้สึกมีความหวังเมื่อได้ทราบว่าหนังสือเล่มนี้มีที่มาจากการ พบปะพูดคุยระหว่างองค์กรรมาปะกับนักศึกษามหาวิทยาลัยชาวอเมริกนั ซึง่ เป็นคนหนุม่ สาวผูก้ อปรด้วยสติปญ ั ญา การพบปะครัง้ นีม้ ไิ ด้เป็นไปในรูปของ การน�ำเสนอทัศนะทางพุทธศาสนา แต่ผลลัพธ์ทไี่ ด้คอื ตัวอย่างทีแ่ สดงให้เห็น ว่าแนวคิดแบบพุทธสามารถให้ขอ้ คิดทีเ่ ป็นประโยชน์ในการสนทนากับคนร่วม ค�ำนิยมโดยองค์ทะไลลามะ 5
สมัย องค์กรรมาปะได้พร�ำ่ อธิบายว่าเราสามารถเข้าถึงคุณสมบัตพิ นื้ ฐานที่ ดีงามซึง่ เรามีอยูแ่ ล้วในตน—ซึง่ หมายถึงการเข้าถึง หัวใจอันประเสริฐ ดังชือ่ หนังสือ—เพือ่ ทีจ่ ะก่อเกิดแรงจูงใจและการกระท�ำทีเ่ ป็นกุศล สิง่ ส�ำคัญก็คอื เราจะต้องไม่เพียงแค่มคี วามปรารถนาดีเท่านัน้ แต่จะต้องลงมือกระท�ำอย่าง จริงจัง ไม่วา่ ในเรือ่ งของการรับมือกับอารมณ์ การพัฒนาจิตใจ หรือการปกป้อง ธรรมชาติสงิ่ แวดล้อม ข้าพเจ้าเชือ่ มัน่ ว่าหากผูอ้ า่ นใส่ใจกับสิง่ ทีก่ ล่าวไว้ในหนังสือเล่มนี ้ และ น�ำไปทดลองปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจ�ำวัน ไม่เพียงแต่รสู้ กึ เป็นสุขขึน้ เท่านัน้ แต่ยงั จะช่วยให้โลกแห่งศตวรรษที ่ ๒๑ นีส้ งบสุขและมีสนั ติมากขึน้ ด้วย
เท็นซิน เกียตโส ทะไลลามะที ่ ๑๔ ๓ ตุลาคม ค.ศ.๒๐๑๒
6 หัวใจอันประเสริฐ
สารบัญ ค�ำนิยมโดยองค์ทะไลลามะ จากส�ำนักพิมพ์ ค�ำน�ำโดยบรรณาธิการ บทน�ำโดยบรรณาธิการ
๕ ๗ ๑๐ ๑๗
บทที่ ๑ บทที่ ๒ บทที่ ๓ บทที่ ๔ บทที่ ๕ บทที่ ๖ บทที่ ๗ บทที่ ๘ บทที่ ๙ บทที่ ๑๐ บทที่ ๑๑ บทที่ ๑๒
๒๓ ๒๗ ๔๓ ๖๗
สิง่ ทีเ่ รามีเหมือนกัน ชีวติ ทีม่ คี วามหมาย: ไม่วา่ อะไรก็เกิดขึน้ ได้ ความสัมพันธ์ทดี่ :ี วิธปี ฏิบตั ติ อ่ ผูอ้ นื่ อัตลักษณ์ทางเพศ: เป็นเรือ่ งของจิตทัง้ สิน้ บริโภคนิยมและความโลภ: ความรูจ้ กั พอคือทรัพย์อนั ประเสริฐสุด การท�ำเพือ่ สังคม: ใส่ใจอาทรทุกๆ คน การพิทกั ษ์สงิ่ แวดล้อม: ปลูกฝังความรูส้ กึ ทีม่ ตี อ่ โลกเสียใหม่ ความมัน่ คงทางอาหาร: ยุตคิ วามหิวโหยและการท�ำร้ายกันและกัน การแก้ปญ ั หาความขัดแย้ง: ความโกรธคือตัวปัญหา วิถธี รรม: ผสานชีวติ และธรรมะเข้าด้วยกัน ความกรุณาทีย่ ง่ั ยืน: จงอยูอ่ ย่างกล้าหาญและเป็นสุข น�ำค�ำสอนไปปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจ�ำวัน
ค�ำขอบคุณของบรรณาธิการ ประวัตอิ งค์กรรมาปะ ออกเยน ทรินเลย์ ดอร์เจ ประวัตบิ รรณาธิการและผูแ้ ปลฉบับภาษาอังกฤษ
๘๓ ๑๐๕ ๑๒๓ ๑๔๕ ๑๖๙ ๑๙๑ ๒๑๑ ๒๒๙ ๒๔๑ ๒๔๓ ๒๔๗
๑ สิ่งที่เรามีเหมือนกัน
ในตัวเราทุกคนมีใจอันประเสริฐ ใจดวงนี้เป็นบ่อเกิดของ ความปรารถนาดีทเี่ รามีให้กบั ตนเองและผูอ้ นื่ มันท�ำให้เรากล้า ท�ำในสิ่งที่ตั้งใจไว้ แต่บางครั้งจิตใจที่ดีงามอาจถูกความคิด สัพเพเหระหรืออารมณ์สบั สนต่างๆ มาบดบัง แต่อย่างไรก็ดี ใจอันประเสริฐนีก้ ย็ งั อยูใ่ นตัวเราทุกคนไม่เปลีย่ นแปลง และ พร้อมทีจ่ ะเปิดออกให้กบั โลก ภารกิจของเรา—ซึง่ ก็คอื ภารกิจ ของหนังสือเล่มนี้—คือการรับรู้ว่าเรามีหัวใจอันประเสริฐอยู ่ ในตัวและเรียนรู้ที่จะเข้าถึงมัน เพื่อใช้มันเป็นฐานให้กับการ กระท�ำและความรูส้ กึ หากขจัดสิง่ ปิดกัน้ ออกไปได้อย่างหมดจด ใจดวงนีจ้ ะเปลีย่ นแปลงโลกได้ แม้ขา้ พเจ้าจะเป็นภิกษุในพุทธศาสนา แต่หนังสือเล่มนี้ มิได้เป็นเรือ่ งเกีย่ วกับทฤษฎีหรือหลักปฏิบตั ทิ างพุทธ ทว่าเป็น เรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์ของเราในฐานะมนุษย์ สิ่งที่เรา ทุกคนมีเหมือนกันก็คอื ความห่วงใยในชีวติ และโลก ด้วยเหตุนี้ เราจึงอาจเป็นเพือ่ นกันได้ วิชาทีข่ า้ พเจ้าศึกษามาโดยตรงคือ พุทธปรัชญาและศาสนา เพราะฉะนัน้ ข้าพเจ้าอาจใช้ศพั ท์ทาง พุทธศาสนาบ้างเป็นครัง้ คราว แต่นนั่ เป็นเพียงข้าพเจ้าเห็นว่า 24 หัวใจอันประเสริฐ
หัวข้อธรรมเหล่านั้นมีประโยชน์กับชีวิตของตน และก็หวังว่ามันจะท�ำให้ พวกเราเกิดมุมมองใหม่ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์เช่นกัน ขออย่าได้ถอื ว่าค�ำพูดของ ข้าพเจ้าเป็นตัวแทนของค�ำสอนทีม่ อี ยูใ่ นพระสูตร เพราะอันทีจ่ ริงแล้วข้าพเจ้า จะพูดจากประสบการณ์ตรงของตนเอง ขณะนีข้ า้ พเจ้าอายุยสี่ บิ ห้าปี นับตัง้ แต่ทถี่ กู ค้นพบว่าเป็นองค์กรรมาปะ ที ่ ๑๗ สมัยทีย่ งั เด็กมาก ข้าพเจ้าก็ระลึกอยูเ่ สมอว่าตนคือผูส้ บื ทอดสายธรรม ขององค์กรรมาปะทั้งสิบหกในอดีตที่ด�ำเนินมายาวนานเก้าร้อยปีแล้ว แต่ กระนัน้ ข้าพเจ้ากลับมองว่าตนเองเป็นมนุษย์ปถุ ชุ น ไม่ใช่ “องค์กรรมาปะ” ทว่าเป็นเพียงมนุษย์คนหนึง่ ทีม่ ภี าระหน้าทีแ่ ละมีโอกาสบางอย่าง ข้าพเจ้า อาจมีบทบาททีพ่ เิ ศษไม่เหมือนใครเพราะได้รบั ฉายาและต�ำแหน่ง “กรรมาปะ” แต่เราทุกคนต่างก็มหี น้าทีท่ โี่ ลกมอบหมายให้รบั ผิดชอบเช่นกัน ถึงแม้จะได้รบั การฝึกฝนรอบด้านเพือ่ ทีจ่ ะปฏิบตั ภิ ารกิจในฐานะองค์ กรรมาปะ แต่ข้าพเจ้ากลับได้เรียนรู้ธรรมะเบื้องต้นจากพ่อแม่ ซึ่งก็คงเป็น เช่นเดียวกันส�ำหรับใครหลายๆ คน แม้แม่ของข้าพเจ้าจะอ่านหนังสือไม่ออก แต่ท่านก็เป็นคนจริงใจ อ่อนโยนและน่ารัก พ่อแม่คืออาจารย์ทางธรรม คนแรกของข้าพเจ้า พ่อแม่เป็นผูใ้ ห้กำ� เนิดและเลีย้ งดูเรา ไม่วา่ เราจะมาจาก แห่งหนใด เราย่อมต้องมีคนดูแลเวลาทีย่ งั เล็กอยู— ่ ไม่วา่ จะเป็นพ่อแม่หรือ ผูป้ กครอง นีเ่ ป็นประสบการณ์ทที่ กุ คนมีเหมือนๆ กัน พวกเราล้วนอาศัยอยูบ่ นโลกเดียวกัน เราอยูด่ ว้ ยกันบนโลกนีม้ าตัง้ แต่ เกิด เพียงแค่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อน เป็นเรื่องดีที่จะได้พบปะกันผ่านทาง หนังสือเล่มนี ้ แต่มนั ไม่จำ� เป็นต้องเป็นไปเพือ่ จุดมุง่ หมายใดๆ ทงั้ สิน้ ในหนังสือ เล่มนี ้ ข้าพเจ้าจะเล่าให้ฟงั ถึงสิง่ ทีอ่ ยากจะให้เกิดขึน้ กับโลก และหากเราพบ ว่าประสบการณ์และความปรารถนาของเราตรงกันในหลายๆ ด้าน เท่านัน้ ก็ เพียงพอแล้ว ทีผ่ า่ นมาในชีวติ เราคงเคยพบกับความเปลีย่ นแปลงมาแล้วมากมาย มีความเจริญทางวัตถุเกิดขึ้นทุกแห่งหนไม่ว่าจะมองไปทางไหน เราเห็น ตัวเองเติบโตอย่างรวดเร็วจากวัยเด็ก และแม้เมือ่ โตเป็นผูใ้ หญ่แล้ว พัฒนา- สิง่ ทีเ่ รามีเหมือนกัน 25
การนีก้ ย็ งั คงด�ำเนินอยู ่ พัฒนาการทางกายดังกล่าวควรจะเป็นไปพร้อมๆ กับ พัฒนาการทางจิต ในขณะทีร่ า่ งกายภายนอกเจริญขึน้ เราก็ควรสนใจทีจ่ ะ พัฒนาปัญญาภายในและความสามารถทีจ่ ะแยกแยะว่าอะไรเป็นคุณอะไรเป็น โทษไปพร้อมๆ กัน วัยดรุณของเราเติบใหญ่ขึ้นฉันใด จิตและใจก็สามารถ ผลิบานอยู่ภายในได้ดุจกัน เราสามารถเปลี่ยนโลกให้สดใสได้ด้วยความ มีชวี ติ ชีวาแห่งวัยดรุณ และเมือ่ เติบใหญ่ขนึ้ เราก็สามารถท�ำคุณประโยชน์ให้ แก่โลกได้ดว้ ยปัญญาทีผ่ า่ นการบ่มเพาะมาแล้วอย่างดี ขณะทีช่ วี ติ ด�ำเนินไป เราอาจเรียนรูอ้ ะไรๆ ได้มากมายจากกันและกัน ข้าพเจ้ารูส้ กึ ซาบซึง้ ในความปรารถนาดีทแี่ สนจริงใจของผูค้ นมากมายทีไ่ ด้พบ เจอและก็ได้เรียนรูจ้ ากพวกเขา ข้าพเจ้าตัง้ ความหวังไว้หลายอย่างเกีย่ วกับโลก แต่กพ็ ยายามไม่คาด หวังอะไรทัง้ สิน้ ไม่วา่ จะท�ำได้ดงั ทีห่ วังไว้หรือไม่กต็ าม ข้าพเจ้าอยากให้ความ ปรารถนาเหล่านี้เป็นเครื่องหล่อหลอมและชี้น�ำว่าตนควรท�ำอะไรบ้างใน โลกนี ้ การมุง่ แต่จะเห็นผลลัพธ์อาจท�ำให้เรายึดติดกับเป้าหมายมากเกินไป ความฝันไม่จำ� เป็นต้องกลายเป็นจริงเสมอไปถึงจะท�ำให้มคี วามสุขได้ การ บ�ำรุงเลีย้ งความหวังก็เป็นสิง่ ทีม่ คี วามหมายและมีคณ ุ ค่าในตัวมันเองเช่นกัน มันมีคา่ ควรแก่การมานะบากบัน่ ไม่วา่ ผลจะออกมาเป็นเช่นไร หากไม่ยดึ ติด กับผล เราจะมีความกล้าทีจ่ ะท�ำอะไรๆ เพือ่ โลกและจะพบความสูงส่งทีด่ ำ� รง อยูใ่ นใจดวงนี้ ที่ผ่านมาจนถึงทุกวันนี้ เราใช้ชีวิตร่วมกันบนโลกโดยที่ไม่ตระหนัก ความจริงข้อนีเ้ ลย บัดนีเ้ ราสามารถใฝ่ฝนั ร่วมกันเพือ่ บ้านหลังนี ้ เราอาจหวัง ร่วมกันเพือ่ ตนเองและเพือ่ ผูอ้ นื่ เราไม่ตอ้ งการอะไรทีย่ งุ่ ยากซับซ้อนไปกว่านี้ การได้แลกเปลีย่ นประสบการณ์และเล่าสูก่ นั ฟังว่าแต่ละคนมีความปรารถนา เยีย่ งไรอาจช่วยให้เราใกล้ชดิ กันได้ในฐานะเพือ่ นมนุษย์ เพียงเท่านีก้ ม็ คี วาม สุขได้
26 หัวใจอันประเสริฐ
๒ ชีวิตที่มีความหมาย ไ ม่ ว่ า อ ะ ไ ร ก็ เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้
เมือ่ เราวาดฝันว่าชีวติ นีจ้ ะเป็นอะไรได้บา้ ง เราควรรูว้ า่ อะไรๆ ก็เกิดขึน้ ได้เสมอ เราอาจมองไม่เห็น หรือไม่ได้รบั รูม้ นั เสมอไป แต่ไม่มแี ม้ชวั่ ครูเ่ ดียวทีเ่ ราไม่มศี กั ยภาพทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงเหตุ ปัจจัย ชีวติ ของเราเปลีย่ นแปลงได้อย่างไร้ขดี จ�ำกัด อันทีจ่ ริง แล้ว ความเปลีย่ นแปลงนีเ่ องคือคุณสมบัตทิ จี่ รี งั ทีส่ ดุ ของชีวติ ตัวเราที่เป็นอยู่ขณะนี้จะกลายเป็นคนละคนในอีกสิบปี ห้าปี หรือแม้แต่หนึง่ ปีขา้ งหน้า สถานการณ์รอบตัวแปรเปลีย่ นอยู่ ตลอดเวลา และท่าทีที่เราตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง เหล่านัน้ ก็มสี ว่ นหล่อหลอมตัวเราเช่นกัน เราไม่เพียงมีอสิ รภาพ เต็มทีท่ จี่ ะหล่อหลอมตนเองตลอดเวลาเท่านัน้ แต่สงิ่ ทีเ่ ราท�ำ ยังมีสว่ นหล่อหลอมโลกรอบตัวด้วย ค�ำถามก็คอื เมือ่ ชีวติ มีความเป็นไปได้อย่างไร้ขดี จ�ำกัด เช่นนี ้ แล้วเราควรจะมีทา่ ทีอย่างไร? เราจะท�ำอย่างไรชีวติ จึง จะมีความหมายภายใต้สภาวะแวดล้อมทีแ่ ปรเปลีย่ นดังทีเ่ ห็นๆ กันอยู?่ พุทธศาสนาให้ความส�ำคัญอย่างมากกับค�ำถามเหล่านี้ และอธิบายว่าชีวติ เต็มไปด้วยความเป็นไปได้โดยใช้ “หลักแห่ง 28 หัวใจอันประเสริฐ
การอิงอาศัย” และแนวคิดเรือ่ ง “ความว่าง” เป็นพืน้ ฐาน เมือ่ แรกทีเ่ ราได้ยนิ ค�ำว่า “ความว่าง” เราอาจคิดว่ามันหมายถึงความไม่มีอะไรเลย หรือเป็น สุญญากาศ แต่อนั ทีจ่ ริงแล้วค�ำว่า “ความว่าง” ในทีน่ คี้ วรเป็นเครือ่ งเตือนใจ ให้รู้ว่าไม่มีอะไรเลยที่อยู่อย่างเป็นสุญญากาศ ทุกสิ่งอยู่ภายใต้บริบทที่ม ี สภาพการณ์ซบั ซ้อนมากมายมาประกอบกัน และตัวมันเองก็แปรเปลีย่ นอยู่ ไม่รจู้ บ ค�ำว่า “ว่างเปล่า” หมายความว่ามันไม่ได้อยูอ่ ย่างเป็นอิสระจากบริบท ทีแ่ ปรเปลีย่ นเหล่านัน้ และด้วยเหตุทที่ กุ ๆ สิง่ และทุกๆ คนล้วน “ว่างเปล่า” เช่นนี ้ ทุกสิง่ จึงสามารถปรับตัวได้ไม่รจู้ บ โดยพืน้ ฐานแล้ว ทุกคนสามารถ ยืดหยุน่ ปรับตัวให้เข้ากับอะไรก็ได้และสามารถเป็นอะไรก็ได้ทงั้ สิน้ ด้วยเหตุน ี้ เราจึงไม่ควรเข้าใจผิดว่าความว่างคือความเปล่าไร้ ตรงกันข้าม ความว่างเต็มไปด้วยความเป็นไปได้ หากเข้าใจมันอย่างถูกต้อง ความว่างจะ ท�ำให้เรามองโลกในแง่ดมี ากกว่าทีจ่ ะมองในแง่รา้ ย เพราะมันจะคอยเตือนใจ ถึงความเป็นไปได้อนั ไร้ขอบเขตในการใช้ชวี ติ หรือในสิง่ ทีเ่ ราอาจจะเป็น หลักการอิงอาศัยและแนวคิดเรื่องความว่างแสดงให้เห็นว่าไม่มีจุด เริม่ ต้นทีต่ ายตัว เราสามารถเริม่ ต้นได้จากจุดทีไ่ ม่มอี ะไรเลย ไม่วา่ เราจะมี อะไรหรืออยูต่ รงไหน เราก็สามารถเริม่ ต้นได้ทจี่ ดุ นัน้ หลายคนคิดว่าตนยัง ไม่มปี จั จัยในการท�ำความฝันให้เป็นจริง รูส้ กึ ว่ายังไม่มอี ำ� นาจพอ หรือมีเงิน ไม่มากพอ แต่พวกเขาควรรูว้ า่ ไม่วา่ จุดไหนๆ กเ็ ป็นจุดเริม่ ต้นได้ทงั้ สิน้ ความ ว่างจะท�ำให้เรามองเห็นความเป็นจริงในข้อนี ้ เราสามารถเริม่ ได้จากศูนย์ อันทีจ่ ริงแล้ว เราอาจเปรียบความว่างได้กบั แนวคิดและบทบาทของ ค่าศูนย์ ค่าศูนย์อาจดูเหมือนความไม่มอี ะไร แต่เราทุกคนรูด้ วี า่ ทุกอย่างเริม่ ต้นจากศูนย์ หากไม่มศี นู ย์ คอมพิวเตอร์ของเราจะล่ม หากไม่มศี นู ย์ เราจะ ไม่สามารถนับจากหนึ่งถึงอนันต์ได้ ในท�ำนองเดียวกัน ไม่ว่าอะไรๆ ก็อาจ ปรากฏขึน้ จากความว่างได้ทงั้ สิน้ สิง่ ต่างๆ บังเกิดขึน้ ได้กเ็ พราะไม่มวี ถิ อี นั ตายตัวมาคอยก�ำหนด ทัง้ หมด ขึน้ อยูก่ บั เหตุและปัจจัยทีม่ าบรรจบกัน แต่ขอ้ เท็จจริงทีว่ า่ อะไรๆ กเ็ ป็นไปได้ นัน้ มิได้หมายความว่าชีวติ ปราศจากแบบแผนหรือเป็นไปตามยถากรรม เรา ชีวติ ทีม่ คี วามหมาย 29
สามารถท�ำสิง่ ใดๆ ให้บงั เกิดขึน้ ทว่าจะต้องสร้างเหตุปจั จัยทีเ่ หมาะสมขึน้ มา ตรงจุดนีเ้ องทีแ่ นวคิดเรือ่ ง “ความว่าง” กับ “ความสัมพันธ์ระหว่างสรรพสิง่ ” มาบรรจบกัน ทุกคน ทุกสภาพการณ์ และทุกสิง่ ล้วนต้องพึง่ พาอาศัยผูอ้ นื่ หรือสิง่ อืน่ ทั้งสิ้น และนี่คือเงื่อนไขส�ำคัญของชีวิต ยกตัวอย่างเช่น เรามีชีวิตอยู่รอด มาได้จนถึงบัดนีเ้ พราะเราอยูภ่ ายใต้เหตุปจั จัยทีเ่ หมาะสม เรามีชวี ติ อยูไ่ ด้ก็ เพราะทีผ่ า่ นมาเรากินอาหารมาแล้วนับมือ้ ไม่ถว้ น เป็นเพราะพระอาทิตย์ ส่องแสงลงมายังผืนโลกและเมฆน�ำฝนมาตก พืชผลจึงเจริญงอกงาม มีคน คอยดูแลเก็บเกีย่ วพืชผลเหล่านัน้ มีคนน�ำมันไปส่งทีต่ ลาด แล้วมีคนน�ำมัน มาปรุงเป็นอาหารให้เรารับประทาน ทุกครัง้ ทีเ่ กิดกระบวนการนี ้ ชีวติ ทีต่ อ้ ง อิงอาศัยกันจึงเชือ่ มร้อยเราเข้ากับผูค้ นมากขึน้ เรือ่ ยๆ และต้องมีแสงอาทิตย์ และหยาดฝนเข้ามาเกีย่ วข้องมากขึน้ ทุกที ถึงที่สุดแล้ว ก็ไม่มีสิ่งใดและไม่มีใครเลยที่เราไม่ได้เกี่ยวข้องด้วย พระพุทธองค์ทรงบัญญัตคิ ำ� ว่า “การอิงอาศัย” ขึน้ เพือ่ อธิบายความสัมพันธ์ อันล�ำ้ ลึกนี ้ การอิงอาศัยคือธรรมชาติของความเป็นจริง มันคือธรรมชาติของ ชีวติ มนุษย์ ของทุกสิง่ และของทุกสถานการณ์ เราทุกคนล้วนเกีย่ วข้องกัน และทุกคนท�ำหน้าทีเ่ ป็นเหตุปจั จัยให้กนั และกัน ท่ามกลางเหตุปจั จัยทีม่ ผี ลต่อเรานัน้ อันทีจ่ ริงแล้ว สิง่ ทีเ่ ราเลือกและ แนวทางทีเ่ ราเดินเป็นหนึง่ ในเหตุปจั จัยทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ทีม่ ผี ลต่อสิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ หากการกระท�ำของเราเป็นไปอย่างสร้างสรรค์ สิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ก็จะเป็นประโยชน์ แต่หากท�ำในสิง่ ทีไ่ ม่สร้างสรรค์ ผลทีอ่ อกมาก็จะเป็นโทษและเป็นภัย ไม่วา่ อะไรๆ ก็เกิดขึน้ ได้ทงั้ สิน้ และทุกๆ สิง่ ทีเ่ ราท�ำก็มคี วามส�ำคัญเช่นกัน เพราะ การกระท�ำของเราอาจส่งผลกระทบถึงสิง่ อืน่ ๆ ทีอ่ ยูไ่ กลพ้นตัวออกไป ด้วย เหตุน ี้ การมีชวี ติ อยูใ่ นโลกทีต่ อ้ งอิงอาศัยกันจึงมีนยั ยะส�ำคัญมาก เพราะการ กระท�ำของเราย่อมส่งผลกระทบถึงผูอ้ นื่ ดังนัน้ ทุกคนจึงต้องมีความรับผิด ชอบร่วมกัน
30 หัวใจอันประเสริฐ
การอยูก่ บั ความเป็นจริง
ข้าพเจ้าทราบดีว่าความเห็นของข้าพเจ้าอาจฟังดูเป็นนามธรรม แต่แนวคิด เรือ่ งความว่างและกฎแห่งการอิงอาศัยไม่ได้เป็นเรือ่ งนามธรรมเลย มันเป็น รูปธรรมอย่างยิ่ง และเกี่ยวข้องโดยตรงถ้าเราอยากจะใช้ชีวิตอย่างมีความ หมาย เราจะเห็นการท�ำงานของกฎแห่งการอิงอาศัยเมือ่ เราดูวา่ ทีผ่ า่ นมาเรา อยู่รอดมาได้อย่างไร ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นกับชีวิตของเราเป็นไปได้ด้วยน�้ำพัก น�ำ้ แรงของเราเพียงคนเดียวหรือเปล่า? เราผลิตทุกสิง่ ทุกอย่างได้ดว้ ยตนเอง หรือไม่? หรือว่ามีผอู้ นื่ ท�ำให้? เมือ่ เราใคร่ครวญค�ำถามเหล่านีก้ จ็ ะเห็นได้ ทันทีวา่ เรามีชวี ติ อยูไ่ ด้เพราะผูอ้ นื่ ทัง้ สิน้ เสือ้ ผ้าทีเ่ ราสวมใส่กด็ ี อาหารทีเ่ รา รับประทานก็ด ี ล้วนมาจากทีอ่ นื่ ลองคิดถึงหนังสือทีเ่ ราอ่าน รถยนต์ทเี่ รา ขับ ภาพยนตร์ทเี่ ราชม และเครือ่ งไม้เครือ่ งมือทีเ่ ราใช้ ไม่มแี ม้แต่คนเดียวที่ สามารถผลิตสิง่ เหล่านีไ้ ด้ดว้ ยตนเอง ทุกคนล้วนต้องพึง่ พาปัจจัยจากภายนอก รวมถึงอากาศทีห่ ายใจด้วย การทีเ่ รายังคงมีชวี ติ อยูไ่ ด้ในโลกก็เพราะผูอ้ นื่ ทัง้ สิน้ การอิงอาศัยกันหมายความว่าเรามีปฏิสัมพันธ์กับโลกรอบตัวอย่าง ต่อเนือ่ ง ปฏิสมั พันธ์ดงั กล่าวด�ำเนินไปทัง้ สองทาง มันเป็นการแลกเปลีย่ นที่ ได้ประโยชน์ดว้ ยกันทัง้ สองฝ่าย เราเป็นทัง้ ผูร้ บั และผูใ้ ห้ เรามีชวี ติ อยูบ่ นโลก ใบนี้ได้เพราะปัจจัยหลายๆ อย่าง และตัวเราเองก็ส่งผลกระทบถึงสิ่งอื่นๆ เช่นกัน ไม่วา่ ผูค้ น ชุมชน หรือแม้แต่โลกใบนี้ ในช่วงศตวรรษทีผ่ า่ นมา มนุษย์ได้พฒ ั นาขีดความสามารถไปถึงจุดที่ อันตรายอย่างยิง่ เราได้สร้างเครือ่ งยนต์กลไกอันทรงพลัง ด้วยวิทยาการที่ มีอยูใ่ นขณะนี ้ เราสามารถโค่นต้นไม้ทกุ ต้นบนโลกให้ราบลงได้ แต่หากท�ำ เช่นนัน้ ก็อย่าหวังว่าจะด�ำเนินชีวติ ต่อไปได้เหมือนเช่นเคย เว้นเสียแต่วา่ จะ อยูก่ นั อย่างไม่มตี น้ ไม้ ด้วยเหตุทโี่ ดยพืน้ ฐานแล้วเราต้องอยูอ่ ย่างอิงอาศัยกัน เพราะฉะนัน้ อีกไม่นานก็จะต้องรับผลของการกระท�ำเหล่านัน้ หากไม่มตี น้ ไม้ ก็จะไม่มอี อกซิเจนในบรรยากาศทีจ่ ะรักษาชีวติ มนุษย์เอาไว้ ชีวติ ทีม่ คี วามหมาย 31
เราอาจสงสัยว่าเรือ่ งนีเ้ กีย่ วข้องอย่างไรกับการตัดสินใจและแนวทาง การใช้ชวี ติ นีเ่ ป็นเรือ่ งง่ายมาก ทุกคนจะต้องใคร่ครวญหลักแห่งการอิงอาศัย ให้รอบคอบ เพราะมันมีอทิ ธิพลต่อชีวติ โดยตรง การจะมีชวี ติ ทีเ่ ป็นสุขได้ เรา จะต้องใส่ใจอย่างจริงจังว่าความสุขทีแ่ ท้จริงนัน้ มาจากไหน สิง่ แวดล้อมและผูค้ นทีอ่ ยูภ่ ายใต้สงิ่ แวดล้อมเดียวกันคือปัจจัยทีท่ ำ� ให้ เรามีชวี ติ อยูไ่ ด้และอยูด่ มี สี ขุ การจะมีความสุขได้นนั้ เราต้องเคารพและใส่ใจ ในความสุขของผู้อื่น ยกตัวอย่างเรื่องง่ายๆ เช่น หากเราปฏิบัติต่อคนที่ทำ� อาหารให้เรากินเป็นอย่างดีและคอยใส่ใจทุกข์-สุขของเขา ก็เชือ่ ได้วา่ เขาจะ ใส่ใจท�ำอาหารอร่อยๆ ทีม่ คี ณ ุ ค่าให้เรา เมือ่ เราเคารพและใส่ใจกับความเป็นอยูข่ องผูอ้ นื่ ตัวเราเองก็จะอยูด่ ี มีสขุ ไปด้วย จะเห็นได้วา่ ในแวดวงธุรกิจนัน้ หากลูกค้ามีกำ� ลังทรัพย์มากขึน้ ธุรกิจก็จะเจริญรุง่ เรือง หากเราอยากอยูด่ มี สี ขุ ทัง้ ในส่วนตัวและในฐานะที่ เป็นส่วนหนึง่ ของชุมชน ล�ำพังแค่รบั รูว้ า่ โลกนีจ้ ะต้องพึง่ พาอาศัยกันเท่านัน้ ยังไม่พอ เราจะต้องทบทวนด้วยว่ากฎแห่งการอิงอาศัยมีนัยส�ำคัญอย่างไร และอะไรเป็นปัจจัยทีจ่ ะท�ำให้เรามีสภาพความเป็นอยูท่ ดี่ ี เราได้ออกซิเจน อาหาร และข้าวของต่างๆ มาจากไหน? สิ่งเหล่านี้มีที่มาอย่างไร? ที่มา เหล่านีย้ งั่ ยืนหรือไม่?
ต้องเข้าใจความจริง
การมองสิง่ ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ กับเราจากมุมมองทีว่ า่ ทุกสิง่ ล้วนว่างเปล่าและต้อง อิงอาศัยกัน อาจท�ำให้เราเข้าใจชีวติ แตกต่างไปจากเดิมมาก ข้าพเจ้าหวังว่า การเปลีย่ นแปลงในครัง้ นีจ้ ะก่อเกิดประโยชน์ทเี่ ป็นรูปธรรม หากเราเข้าใจ พลังทีข่ บั เคลือ่ นชีวติ เสียใหม่ นีจ่ ะเป็นก้าวแรกทีจ่ ะท�ำให้เรามองชีวติ ในแง่ดี จุดประสงค์ทขี่ า้ พเจ้ายกประเด็นนีข้ นึ้ มา มิใช่ตอ้ งการเอาความเป็นจริง มาขูใ่ ห้กลัว ข้าพเจ้าเคยสังเกตว่าบางคนรูส้ กึ อึดอัดเวลามีใครมาพูดว่าความ เปลีย่ นแปลงคือคุณสมบัตพิ นื้ ฐานของชีวติ หรือบอกว่าไม่มอี ะไรทีค่ งอยูช่ วั่ นิจนิรนั ดร์ แต่ความไม่เทีย่ งก็เป็นเพียงความเป็นจริงพืน้ ฐานของชีวติ ในตัว 32 หัวใจอันประเสริฐ
มันเองไม่ได้เป็นสิง่ ดีหรือไม่ด ี จึงไม่มปี ระโยชน์ทจี่ ะปฏิเสธมัน อันทีจ่ ริงแล้ว หากเราเผชิญหน้ากับความไม่เที่ยงอย่างชาญฉลาด เราก็จะมองความจริง ข้อนีด้ ว้ ยท่าทีทสี่ ร้างสรรค์มากขึน้ หากท�ำได้ เราจะไม่เครียดเวลาทีเ่ กิดการ เปลีย่ นแปลงอย่างไม่คาดฝัน และจะปรับตัวได้สบายไม่วา่ จะเกิดอะไรขึน้ เรา จะรับมือกับสัจธรรมแห่งความเปลีย่ นแปลงได้อย่างแยบคาย การพึ่งพาอาศัยก็เป็นไปในลักษณะเดียวกัน หากเข้าใจชีวิตจาก มุมมองเยีย่ งนี ้ เราจะมองความเป็นจริงด้วยท่าทีทสี่ ร้างสรรค์ยงิ่ ขึน้ แต่การ รับรูว้ า่ เราต้องอิงอาศัยผูอ้ นื่ ก็ไม่ได้หมายความว่าเราจะรูส้ กึ สบายใจกับเรือ่ งนี้ เสมอไป ในตอนแรกบางคนอาจรูส้ กึ อึดอัดเมือ่ คิดว่าตนต้องพึง่ ผูอ้ นื่ และอาจ คิดว่าตนก�ำลังอับจนหนทางหรือติดกับ คล้ายๆ กับต้องพึง่ คนอืน่ ชัว่ กาล แต่ การทีต่ อ้ งอิงอาศัยผูอ้ นื่ นัน้ ใช่วา่ จะต้องรูส้ กึ ราวกับว่าตนก�ำลังจมปลักท�ำงาน ให้เจ้านายซึง่ เราไม่ได้เลือก แต่กต็ อ้ งฝืนทนไม่วา่ จะชอบหรือไม่กต็ าม การ คิดเช่นนีไ้ ม่เกิดประโยชน์ เราไม่ควรลังเลหรือรูส้ กึ ว่าถูกกดดันด้วยความจริง ทีว่ า่ เราต้องพึง่ พาผูอ้ นื่ ทัศนคติเช่นนีจ้ ะท�ำให้เราไม่มคี วามพึงพอใจและไม่มี ความสุขในชีวติ ความรูส้ กึ เยีย่ งนีจ้ ะไม่ชว่ ยให้เรามีความสัมพันธ์ทดี่ ไี ด้ การต้องพึง่ พาอาศัยกันคือความเป็นจริงของชีวติ ไม่วา่ เราจะยอมรับ มันหรือไม่ การจะมีชวี ติ อยูก่ บั ความจริงข้อนีไ้ ด้อย่างสร้างสรรค์ ทางทีด่ เี รา ควรยอมรับและใช้ชวี ติ อยูก่ บั มันอย่างเต็มอกเต็มใจโดยไม่ขดั ขืน ณ จุดนีเ้ อง ทีค่ วามรักความกรุณาจะเกิดขึน้ ความรักจะน�ำพาเราเข้าไปเชือ่ มร้อยกับผูอ้ นื่ และเต็มใจใช้ชวี ติ ทีต่ อ้ งสัมพันธ์และอิงอาศัยผูอ้ นื่ ความรักจะหลอมละลาย เกราะก�ำบังที่เราสร้างขึ้นและช่วยขจัดความทุกข์ที่เกิดจากความโดดเดี่ยว มิตรภาพและความรักทีอ่ บอุน่ จะช่วยให้เรายอมรับได้งา่ ยขึน้ ว่าความสุขของ เรามีความเกีย่ วข้องอย่างลึกซึง้ กับผูอ้ นื่ ยิง่ เรารักผูอ้ นื่ ได้มากขึน้ เท่าใด เราก็ จะยิง่ มีความสุขและอิม่ ใจกับสายใยแห่งการพึง่ พาอาศัยกันซึง่ เป็นธรรมชาติ ของชีวติ
ชีวติ ทีม่ คี วามหมาย 33