ว่าด้วยความสร้างสรรค์ On Creativity
David Bohm
1
ว่าด้วยความสร้างสรรค์ ในมุมมองของข้าพเจ้า ความสร้างสรรค์คือบางสิ่งซึ่งเป็นไปไม่ ได้ทจี่ ะให้นยิ ามด้วยถ้อยค�ำ แล้วเราจะพูดถึงมันได้อย่างไรกันเล่า ถ้อยค�ำ สามารถบ่งบอกหรือชีถ้ งึ บางสิง่ ในความคิดของผูอ้ า่ นซึง่ อาจคล้ายคลึงกับ สิ่งที่อยู่ในความคิดของผู้เขียนได้ ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงอยากบอกต่อผู้อ่าน ว่าความสร้างสรรค์หมายความว่าอย่างไรส�ำหรับตัวข้าพเจ้า หากคุณอ่าน ด้วยจิตวิญญาณเยีย่ งนี้ คุณจะเห็นได้วา่ แนวคิดของข้าพเจ้าฟังดูมเี หตุผล หรือไม่ และมากน้อยเพียงใด ข้าพเจ้าเป็นนักวิทยาศาสตร์ ดังนั้นข้าพเจ้าจะพยายามเริ่มต้น จากสาขานี้แล้วขยายไปยังสาขาอื่น ค�ำถามพื้นฐานที่ข้าพเจ้าอยากจะ พิจารณาก็คือ เหตุใดนักวิทยาศาสตร์ ในหลายๆ กรณี จึงสนใจในงาน ของตนอย่างลึกซึ้ง เพียงเพราะมันเป็นประโยชน์เท่านั้นหรือ จ�ำเป็นยิ่งที่ จะต้องสนทนากับนักวิทยาศาสตร์ประเภทนั้น เพื่อค้นหาว่าความเป็นไป ได้ในเชิงประโยชน์นิยมของงานนั้น เป็นเพียงความสนใจอันดับรองของ พวกเขาเท่านั้น ยังมีสิ่งอื่นที่เป็นความส�ำคัญแรกอยู่ แต่มันคืออะไรเล่า ว่าด้วยความสร้างสรรค์
45
เป็นไปได้ไหมว่า นักวิทยาศาสตร์ปรารถนาอย่างยิง่ ทีจ่ ะค้นพบกฎ ของธรรมชาติ เพื่อที่เขาจะสามารถ ท�ำนาย ปรากฏการณ์ธรรมชาติได้ เพือ่ ให้มนุษย์สามารถเข้าร่วมกับกระบวนการธรรมชาติได้อย่างชาญฉลาด เพือ่ ให้เกิดผลตามทีต่ อ้ งการ แน่นอนว่า การท�ำนายและเข้าร่วมอย่างชาญ ฉลาดเช่นนั้นบางครั้งก็น่าสนใจมาก แต่นี่ก็เป็นเพียงสิ่งซึ่งอยู่ในบริบท ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ถูกก�ำหนดโดยสิ่งอื่นซึ่งส�ำคัญยิ่งกว่า ตัวอย่างเช่นเป้าหมายร่วมทีม่ คี วามส�ำคัญอย่างยิง่ ยวด อย่างไรก็ตาม หากกล่าวโดยทัว่ ไป แล้ว แทบจะไม่มีเป้าหมายร่วมที่ว่าเลย และในหลายกรณี เนื้อหาของสิ่ง ทีน่ กั วิทยาศาสตร์ผวู้ จิ ยั ท�ำนายนัน้ โดยตัวของมันเองแล้วแทบจะเป็นเรือ่ ง สัพเพเหระด้วยซ�้ำ (เช่นเส้นทางที่แม่นย�ำของอนุภาค จ�ำนวนที่แน่นอน ของเครือ่ งมือซึง่ ใช้บนั ทึกปรากฏการณ์บางอย่าง และอะไรท�ำนองนี)้ เว้น แต่จะมีบางสิง่ ทีท่ ำ� ให้มนั มีความหมาย กิจกรรมพวกนีอ้ าจกลายเป็นเรือ่ ง เล็กน้อย หรือแม้กระทั่งเป็นเรื่องเด็กเล่นไปด้วยซ�้ำ หรือเป็นเพราะนักวิทยาศาสตร์ชอบเล่นไขปริศนา เขาต้องการจะ ได้รับ “ความเบิกบานใจ” จากการต้องเผชิญความท้าทายในการอธิบาย กระบวนการธรรมชาติ ด้วยการแสดงให้เห็นว่ามันท�ำงานอย่างไรกระนั้น หรือ แน่นอน นักวิทยาศาสตร์มักพบว่าแง่มุมของการงานนี้เป็นเรื่องน่า เบิกบาน แต่กระนั้น ความเบิกบานเช่นนี้ก็เป็นเพียงผลพลอยได้ของบาง สิ่งซึ่งอยู่ลึกลงไปกว่านั้นอีก ที่จริงแล้ว หากนักวิทยาศาสตร์ท�ำงานเพียง เพือ่ ความเบิกบานใจเช่นนัน้ และท�ำต่อไปนานทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะท�ำได้ กิจกรรม ของเขาจะไม่เพียงแต่ไร้ความหมายและไร้สาระเท่านัน้ แต่ยงั ขัดแย้งกับสิง่ ที่จ�ำเป็นต้องใช้เพื่อด�ำเนินงานวิจัยต่อไปอย่างมีประสิทธิผลด้วย เพราะ การตระหนักว่าความคิดของใครคนหนึง่ ผิดพลาดหรือเดินไปผิดทาง (ซึง่ เป็นสิ่งส�ำคัญต่อความก้าวหน้าอย่างแท้จริง) มักก่อให้เกิดความรู้สึกผิด ว่าด้วยความสร้างสรรค์
46
หวังและล้มเหลวอย่างยิ่ง เพื่อหลีกเลี่ยงสิ่งนี้ นักวิทยาศาสตร์มีเป้าหมาย แรกคือความเบิกบานจึงมักมองข้ามจุดอ่อนในงานของตน (ซึง่ จริงๆ แล้ว น่าเศร้าที่มักเกิดขึ้นบ่อยจนน่าประหลาดใจ) ดังนั้นจึงดูเหมือนว่า ค�ำตอบต่อค�ำถามที่ว่าท�ำไมนักวิทยาศาสตร์ จึงสนใจอย่างลึกซึ้งในงานของตน จึงไม่อาจค้นพบได้ในระดับที่ผิวเผิน นักวิทยาศาสตร์ก�ำลังแสวงหาบางสิ่งซึ่งส�ำคัญต่อพวกเขายิ่งกว่าความ เบิกบานใจ แง่มุมหนึ่งที่อาจเป็นไปได้ของ “บางสิ่ง” นั้นอาจถูกบ่งชี้โดย ข้อสังเกตที่ว่า การแสวงหานั้นมีเป้าหมายสูงสุดอยู่ที่การค้นพบสิ่งใหม่ที่ ไม่เคยล่วงรู้มาก่อน แต่แน่นอนว่า ย่อมไม่ใช่ประสบการณ์ใหม่ของการ ท�ำงานกับสิ่งที่แตกต่างออกไปหรือนอกเหนือจากสิ่งปกติธรรมดาที่นัก วิทยาศาสตร์ต้องการ ซึ่งถ้าเป็นเช่นนั้นก็คงจะเป็นแค่ “ความเบิกบาน ใจ” ทีม่ ากกว่าเดิมเล็กน้อยเท่านัน้ ทว่าสิง่ ทีน่ กั วิทยาศาสตร์แสวงหาอย่าง แท้จริงคือการเรียนรู้สิ่งใหม่ซึ่งมีความสลักส�ำคัญในระดับพื้นฐาน เป็น ระเบียบของธรรมชาติทเี่ ต็มไปด้วยกฎเกณฑ์ซงึ่ ยังไม่เป็นทีล่ ว่ งรู้ ซึง่ แสดง ให้เห็นถึงเอกภาพในขอบข่ายอันกว้างใหญ่ไพศาลของปรากฏการณ์ ดังนัน้ เขาจึงปรารถนาจะค้นพบถึงความเป็นหนึง่ และเอกภาพหรือสัมบูรณภาพ บางอย่างในความเป็นจริงที่เขามีชีวิตอยู่ ซึ่งก่อให้เกิดการสอดประสาน กลมกลืนอันเต็มไปด้วยความงดงาม โดยนัยนี้เอง โดยพื้นฐานแล้วนัก วิทยาศาสตร์จึงอาจไม่แตกต่างไปจากศิลปิน สถาปนิก ประพันธกร ฯลฯ ผู้ต่างต้องการสร้างสรรค์สิ่งเช่นนี้ในงานของตน แน่นอนว่า นักวิทยาศาสตร์มักเน้นแง่มุมของการค้นพบความเป็น หนึ่งและเอกภาพในธรรมชาติ ด้วยเหตุนี้เอง ข้อเท็จจริงที่ว่างานของเขา ย่อมถือเป็นความสร้างสรรค์จงึ มักถูกมองข้าม แต่เพือ่ จะค้นพบความเป็น หนึ่งและเอกภาพ นักวิทยาศาสตร์จ�ำต้องสร้างสรรค์โครงสร้างความคิด ว่าด้วยความสร้างสรรค์
47
ขึ้นมาใหม่หมด เป็นโครงสร้างความคิดที่จ�ำเป็นต่อการแสดงความสอด ประสานและความงามทีพ่ บได้ในธรรมชาติ เช่นเดียวกัน เขาจ�ำต้องสร้าง เครื่องมืออันละเอียดอ่อนซึ่งช่วยในการรับรู้และเพื่อให้สามารถทดสอบ แนวคิดใหม่ว่าเป็นจริงหรือผิดพลาด และเผยถึงข้อเท็จจริงประการใหม่ ที่คาดไม่ถึง ดังนั้นเราจึงได้เห็นว่าศิลปิน ประพันธกร สถาปนิก และนัก วิทยาศาสตร์ ล้วนรูส้ กึ ถึงความจ�ำเป็นพืน้ ฐานในการค้นหาและสร้างสรรค์ สิ่งใหม่บางอย่างที่เป็นองค์รวมและเบ็ดเสร็จ ซึ่งสอดประสานกลมกลืน และงดงาม มีไม่กคี่ นมีโอกาสลองท�ำสิง่ นี้ และยิง่ น้อยเข้าไปอีกทีไ่ ด้ลงมือ ท�ำจริงๆ ทว่าลึกๆ แล้วก็เป็นไปได้ว่ามีผู้คนมากมายในทุกสาขาอาชีพต่าง ก็กำ� ลังแสวงหา พวกเขาพยายามหนีออกจากกิจวัตรประจ�ำวันอันซ�ำ้ ซาก โดยอาศัยความบันเทิงเริงใจ ความตื่นเต้น การกระตุ้นเร้า การเปลี่ยน อาชีพ และอืน่ ๆ ทุกอย่าง พวกเขาลองท�ำสิง่ เหล่านีอ้ ย่างไร้ผลเพือ่ ชดเชย ความเหนื่อยหน่าย คับแคบ และลักษณะแบบกลไกในชีวิตของตน ถ้าเช่นนัน้ ความสร้างสรรค์คอื บางสิง่ ซึง่ เหมาะสมกับคนทีม่ คี วาม สามารถพิเศษเพียงหยิบมือเดียว ผู้ก้าวถึงระดับที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า “อัจฉริยะ” เท่านั้นหรือ แน่นอนว่านี่ไม่ใช่เรื่องของความสามารถพิเศษ ทั้งหมด เพราะมีผู้มีความสามารถระดับสูงมากมายที่ยังคงไม่โดดเด่น ดังนัน้ คงจะต้องมีนกั วิทยาศาสตร์ทเี่ ก่งคณิตศาสตร์และรูเ้ รือ่ งฟิสกิ ส์มาก กว่าไอน์สไตน์อยูม่ ากมาย ทว่าความแตกต่างก็คอื ไอน์สไตน์มคี ณ ุ สมบัติ เฉพาะบางอย่างในเรื่องความคิดริเริ่ม ว่าด้วยความสร้างสรรค์
48
แต่อะไรคือคุณสมบัติของความคิดริเริ่มเล่า เป็นเรื่องยากที่จะให้ นิยามหรือเจาะจงลงไป ที่จริงแล้ว การให้นิยามความคิดริเริ่มเองก็เป็น สิ่งที่ขัดแย้งอยู่ในตัวเอง เพราะไม่ว่าจะเป็นการกระท�ำใดๆ ที่สามารถให้ นิยามได้แบบนั้น ก็หาใช่สิ่งซึ่งเป็นความคิดริเริ่มไม่ ดังนั้นบางทีจึงดีที่สุด ที่จะบอกใบ้อย่างอ้อมๆ แทนที่จะพยายามยืนยันว่ามันคือสิ่งใด สิ่งจ�ำเป็นอย่างหนึ่งของความคิดริเริ่มนั้น ที่แน่ๆ คือเราจะต้อง ไม่มีแนวโน้มที่จะน�ำแนวคิดเดิมที่มีอยู่มาก�ำหนดข้อเท็จจริงทีต่ นพบพาน แต่เขาจะต้องสามารถเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ แม้นจี่ ะหมายถึงแนวคิดและความรูท้ ี่ เขาคุ้นเคยและหวงแหนจะต้องล้มครืนลงก็ตาม ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยอาการดังนี้คือหลักการทั่วไปของ มนุษยชาติทั้งมวล ด้วยเหตุนี้จึงเป็นทีร่ ู้กนั ว่าเด็กเรียนรู้ทจี่ ะเดิน พูด และ รูจ้ กั ทีท่ างของตนในโลก เพียงด้วยการลองท�ำบางสิง่ และดูวา่ เกิดอะไรขึน้ จากนัน้ ก็ปรับเปลีย่ นสิง่ ทีเ่ ขาท�ำ (หรือคิด) ให้สอดคล้องกับสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ จริง ด้วยวิธีนี้ เขาจึงใช้ช่วงขวบปีแรกๆ ด้วยวิถีที่สร้างสรรค์อย่างมหัศจรรย์ ค้นพบสิ่งต่างๆ ที่ใหม่เอี่ยมต่อเขา สิ่งนี้ท�ำให้ผู้คนมองวัยเด็กว่าเป็น สรวงสวรรค์ที่ดับสูญ แต่เมื่อเด็กโตขึ้น การเรียนรู้กลับมีความหมายแคบ ลง ในโรงเรียน เขาเรียนรู้ด้วยการท�ำซ�้ำเพื่อสั่งสมความรู้พร้อมกับท�ำให้ ครูพอใจและผ่านการสอบ ในการท�ำงาน เขาเรียนรู้แบบเดียวกัน เพื่อหา เลีย้ งชีพและเพือ่ เป้าหมายอืน่ ๆ ทีใ่ ห้ประโยชน์ดว้ ย แต่มใิ ช่เพือ่ ความรักที่ จะได้เรียนรู้ ดังนั้นความสามารถของเขาในการมองเห็นและริเริ่มสิ่งใหม่ จึงค่อยๆ ตายจากไป เมื่อไม่มีสิ่งนี้ก็สิ้นไร้ซึ่งพื้นฐานที่สิ่งใดจะเติบโตได้ ความส�ำคัญของการเรียนรู้แบบนี้ในทุกช่วงระยะของชีวิตเป็นสิ่ง ส�ำคัญเกินกว่าจะกล่าวเกินจริงได้ รวมถึงความส�ำคัญของการจัดล�ำดับ ว่าด้วยความสร้างสรรค์
49
ให้ปฏิบัติการเพื่อการเรียนรู้นั้นมาก่อนเนื้อหาจ�ำเพาะเจาะจงที่ต้องเรียน ด้วย เพราะตัวการเรียนรู้นั้นคือแก่นแท้ของสัมผัสรับรู้ที่แท้จริง ในแง่ที่ว่า หากปราศจากสิง่ นี้ เราย่อมไม่สามารถมองเห็นว่า อะไรคือข้อเท็จจริงและ อะไรไม่ใช่ ในสถานการณ์ใหม่ๆ แน่นอน มีการรับรู้ชนิดที่ซ�้ำซากและเป็นกลไกที่ท�ำให้เราติดเป็น นิสัยอยู่ด้วยในยามที่ต้องจัดการกับสิ่งที่เคยคุ้น โดยทั่วไปแล้วเรามักเป็น แบบนี้ (ตัวอย่างเช่น มีคนไม่กคี่ นทีเ่ คยสังเกตสังกาเลยพ้นไปจากลักษณะ ทีโ่ ดดเด่นคุน้ ตาของเพือ่ นฝูง หรือของสถานทีท่ ตี่ นอาศัยอยู่ และอืน่ ๆ) แต่ การรับรู้อันถ่องแท้ที่สามารถมองเห็นสิ่งใหม่และไม่เคยคุ้นนั้นต้องอาศัย ความใส่ใจ ตื่นตัว ตระหนัก และละเอียดอ่อน ด้วยจิตใจเยี่ยงนี้ เท่ากับ เราได้ “ท�ำ” บางสิ่งบางอย่าง (บางทีอาจเป็นแค่เคลื่อนไหวร่างกายหรือ หยิบจับวัตถุ) แล้วเราก็จะสังเกตเห็นความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เกิดขึ้น จริงกับสิ่งที่ด่วนสรุปมาจากความรู้ก่อนหน้า จากความแตกต่างนี้ เราจะ ถูกชักจูงไปสูก่ ารรับรูใ้ หม่หรือความคิดใหม่ทเี่ ป็นต้นตอของความแตกต่าง นั้น และกระบวนการนี้สามารถด�ำเนินต่อไปไม่สิ้นสุดโดยไม่มีจุดเริ่มหรือ จุดจบ ไม่ว่าในสาขาวิชาใดก็ตาม สิง่ หนึง่ ซึง่ กีดกันเราจากการให้คณ ุ ค่าความหมายเป็นอันดับแรกกับ สิ่งใหม่และแตกต่าง นั่นคือเรากลัวว่าจะท�ำสิ่งผิดพลาด จากช่วงต้นของ วัยเด็ก เราจะถูกสอนให้รักษาภาพลักษณ์ของ “ตัวตน” หรือ “อัตตา” ให้ สมบูรณ์แบบที่สุด ความผิดพลาดแต่ละอย่างดูจะเปิดเผยถึงข้อด้อยของ คนคนนัน้ ดังนัน้ จึงไม่เป็นทีย่ อมรับอย่างเต็มทีจ่ ากคนอืน่ นัน่ เป็นเรือ่ งแย่ มาก เพราะเช่นที่ทราบกันอยู่ว่า การเรียนรู้ทั้งหมดเกี่ยวข้องกับการลอง ท�ำบางสิง่ แล้วดูวา่ จะเกิดอะไรขึน้ หากไม่ลองท�ำอะไรเลยจนกระทัง่ แน่ใจ ว่าเขาจะไม่ท�ำผิดพลาดในทุกๆ สิ่ง เขาก็จะไม่มีวันเรียนรู้สิ่งใหม่ได้เลย ว่าด้วยความสร้างสรรค์
50
และนี่คือภาวะซึ่งคนส่วนใหญ่เป็นกันอยู่ไม่มากก็น้อย ความกลัวที่จะผิด พลาดเช่นนีไ้ ด้ถกู ผนวกเข้าไปในความเคยชินของการรับรูแ้ บบกลไกในแง่ ของความคิดที่มีอยู่เดิมและจะเรียนรู้เพียงเพื่อเป้าหมายที่เป็นประโยชน์ เฉพาะทางเท่านั้น สิ่งเหล่านี้ท�ำให้เกิดผู้คนที่ไม่อาจรับรู้เข้าใจในสิ่งใหม่ ได้ เป็นผู้คนดาษดื่นสามัญยิ่งกว่าจะเป็นผู้ที่มีความเป็นตัวของตัวเอง ดังนัน้ จึงเห็นได้ชดั ว่าความสามารถในการเรียนรูส้ งิ่ ใหม่มพี นื้ ฐาน อยู่บนสภาวะทั่วไปของจิตมนุษย์ มันไม่ได้ขึ้นอยู่กับความสามารถพิเศษ ทั้งไม่ได้อยู่ในสาขาเฉพาะทางบางอย่างเช่นวิทยาศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี หรือสถาปัตย์ แต่เมือ่ มันท�ำงาน จะมีความจดจ่ออย่างยิง่ ในสิง่ ทีเ่ ราก�ำลัง ท�ำอยู่ ตัวอย่างเช่น ให้นึกถึงความสนใจชนิดที่เด็กเล็กๆ แสดงออกเมื่อ เขาเรียนรูท้ จี่ ะเดิน หากคุณเฝ้ามอง คุณจะเห็นว่าเขาทุม่ เทตัวตนทัง้ ปวงลง ไปกับมัน มีเพียงความสนใจชนิดที่ทุ่มลงไปทั้งหัวใจเท่านั้นที่จะมอบพลัง ที่จ�ำเป็นต่อการเห็นสิ่งที่ใหม่และแตกต่างให้กับจิตใจของเรา โดยเฉพาะ เมื่อความแตกต่างนั้นดูเหมือนจะคุกคามสิ่งที่คุ้นเคย ทรงค่า มั่นคง หรือ ไม่ก็เป็นสิ่งที่เรารักและหวงแหน เห็นได้ชัดว่านักวิทยาศาสตร์และศิลปินที่ยิ่งใหญ่ทั้งปวงมีความ รู้สึกดังนั้นกับงานของพวกเขา แต่ไม่ว่าจะเป็นสาขาอาชีพใด โดยหลัก การแล้ว ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงชีวิตด้วยวิธีนี้ได้ ในที่นี้ ข้าพเจ้าก�ำลังนึก ถึงแอนน์ ซัลลิแวน ผู้เป็นครูของเฮเลน เคลเลอร์ เมื่อเธอเริ่มสอนเด็กผู้นี้ ซึ่งตาบอดและหูหนวกตั้งแต่ยังเล็ก (ดังนั้นจึงไม่สามารถพูดได้ด้วย) เธอ รูว้ า่ เธอต้องปฏิบตั กิ บั ศิษย์ดว้ ยความรักอย่างเต็มเปีย่ ม อย่างไรก็ตาม เมือ่ เธอได้เห็น “นักเรียน” ของเธอเป็นครัง้ แรก เธอก็ได้พบกับ “สัตว์ปา่ ” ซึง่ ดู เหมือนไม่อาจเข้าใกล้ได้เลย หากเธอมองสิ่งต่างๆ ด้วยมโนทัศน์ที่ทึกทัก ไปล่วงหน้า เธอคงเลิกสอนในทันที แต่เธอท�ำงานกับเด็กคนนีอ้ ย่างดีทสี่ ดุ ว่าด้วยความสร้างสรรค์
51
เท่าที่จะท�ำได้ ด้วยพลังทั้งหมดที่เธอมี ด้วยการสังเกตอย่างละเอียดอ่อน ทีส่ ดุ “พยายามหยัง่ ถึง” ดวงจิตทีไ่ ม่อาจล่วงรูไ้ ด้ของเด็ก และในท้ายทีส่ ดุ ก็ได้เรียนรู้ที่จะสื่อสารกับเธอ ก้าวส�ำคัญในทีน่ คี้ อื การสอนให้เด็กก่อเกิดมโนทัศน์ (ซึง่ เธอไม่เคย เรียนรู้มาก่อน เพราะเธอไม่สามารถสื่อสารกับคนอื่นๆ อย่างเป็นเรื่อง เป็นราว) สิง่ นีส้ ำ� เร็จลงด้วยการให้เธอได้สมั ผัสกับน�ำ้ ในรูปแบบและบริบท ที่แตกต่างหลากหลาย โดยแต่ละครั้งจะเขียนค�ำว่า “น�้ำ” ลงบนฝ่ามือ ของเธอ เป็นเวลานานทีเดียวที่เด็กไม่รู้ว่านั่นคืออะไร แต่ทันใดนั้นเธอก็ ตระหนักว่าประสบการณ์อันแตกต่างหลากหลายทั้งหมดอ้างอิงถึงสาร ชนิดหนึ่งในหลากหลายรูปแบบ ซึ่งมีสัญลักษณ์แทนค่าด้วยค�ำว่า “น�้ำ” ที่ขีดเขียนลงบนฝ่ามือของเธอ สิ่งนี้ก่อให้เกิดการปฏิวัติอันแสนอัศจรรย์ ในความคิดจิตใจทั้งหมดของเธอ ความลึกและขอบข่ายของสิ่งที่เราค้น พบนั้นยากจะชื่นชมเห็นค่าได้ หากปราศจากประสบการณ์ตรงว่าการมี ชีวติ โดยปราศจากมโนทัศน์นามธรรมนัน้ หมายความเช่นไร ผลก็คือ จาก เด็กที่ไร้ความสามารถในการสื่อสารหรือแม้กระทั่งคิด บัดนี้เธอได้เป็น มนุษย์ปกติมากขึ้น ดังนั้น การค้นพบของแอนน์ ซัลลิแวน จึงเป็นความ สร้างสรรค์อนั พิเศษสุด ในการช่วยเปลีย่ นชีวติ ไม่เพียงของเฮเลน เคลเลอร์ เท่านั้น แต่ยังรวมถึงผู้คนอีกมากมายในสภาพการณ์แบบเดียวกันด้วย ตัวอย่างนี้สมควรพิจารณาเป็นพิเศษ เพราะมันแสดงให้เห็นอย่าง เด่นชัดว่า ผู้ปกครองและครูส่วนใหญ่ปราศจากความเข้าใจและความคิด สร้างสรรค์มากเพียงใด มีน้อยมากที่รักเด็กๆ มากพอจะเฝ้าสังเกตและ ละเอียดอ่อนต่อ ข้อเท็จจริง ทีว่ า่ ในความเป็นจริงนัน้ เด็กๆ แตกต่างจาก สิง่ ทีผ่ คู้ นคาดหวังให้พวกเขาเป็นแค่ไหน และความเข้าใจถึงความแตกต่าง นี้จะเป็นกุญแจสู่การเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญยิ่ง เช่นเดียวกับสิ่งที่แอนน์ ว่าด้วยความสร้างสรรค์
52
ซัลลิแวน ได้ริเริ่มกับเฮเลน เคลเลอร์ โอกาสเยี่ยงนี้ได้บังเกิดขึ้นในหลายสาขา ซึ่งในตอนแรกอาจดู ไม่ค่อยมีคุณค่า โดยเฉพาะเมื่อสังคม (อย่างน้อยก็ในตอนแรกๆ) มิได้ ตระหนักว่าสิ่งเหล่านี้เปี่ยมด้วยศักยภาพของความสร้างสรรค์ ที่จริง แล้ว การริเริ่มที่แท้จริงและความสร้างสรรค์นั้นบ่งเป็นนัยว่าเราไม่จ�ำเป็น ต้องท�ำงานด้วยวิธีนี้เฉพาะในสาขาของตนเท่านั้น แต่จะต้องพร้อมในทุก กรณี ทีจ่ ะค้นหาว่ามีความแตกต่างในระดับพืน้ ฐานหรือไม่ ระหว่างตัวข้อ เท็จจริงกับความคิดของตัวเองทีม่ อี ยูก่ อ่ นหน้า ซึง่ จะช่วยให้เกิดความเป็น ไปได้ในการท�ำงานที่ริเริ่มและสร้างสรรค์ เมือ่ ได้เห็นแล้วว่า ในแทบทุกสาขาอาชีพล้วนเป็นไปได้ทจี่ ะมีความ สร้างสรรค์บางอย่างเกิดขึ้น และความสร้างสรรค์นั้นย่อมเกิดขึ้นจากการ รับรู้อันละเอียดอ่อนถึงสิ่งที่ใหม่และแตกต่างไปจากสิ่งที่อิงอยู่กับความรู้ เก่า จากนี้ไปเราจะลงสู่รายละเอียดว่าแท้จริงแล้วมันเป็นเช่นไร พูดอีก อย่างหนึ่งก็คือ คนที่มีความริเริ่มสร้างสรรค์นั้นท�ำอะไรแตกต่างไปจาก ผู้คนทั่วไปบ้าง เราจะเริ่มเห็นความหมายของค�ำถามได้เมื่อเริ่มถามเสียก่อนว่า “อะไรคือคุณลักษณะของผลของการกระท�ำเชิงสร้างสรรค์ เช่นทฤษฎีทาง วิทยาศาสตร์ งานศิลปะ อาคาร เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูและให้การศึกษา อย่างเหมาะสม และอื่นๆ ในที่นี้ เราต้องแยกแยะระหว่างการกระท�ำที่ เกิดจากการหยัง่ รูอ้ นั ลึกซึง้ ทีเ่ กิดขึน้ ได้เป็นครัง้ คราว กับการค้นพบสิง่ ใหม่ ทีส่ ร้างสรรค์จริงๆ ในแบบหลังนี้ ผมเสนอว่ามีการรับรูถ้ งึ ระเบียบพืน้ ฐาน ใหม่ซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญมากทั้งในด้านกว้างและด้านลึก ระเบียบใหม่นี้ ใน ท้ายที่สุดจะน�ำไปสู่ความสร้างสรรค์โครงสร้างใหม่ๆ ซึ่งมีคุณสมบัติของ ว่าด้วยความสร้างสรรค์
53
ความกลมกลืนและเป็นองค์รวม ดังนั้นจึงให้ความรู้สึกงดงาม อย่างไรก็ดี เพื่อจะเข้าใจความหมายของสิ่งนี้ แรกสุดเราต้อง ท�ำความเข้าใจความหมายของค�ำว่า “ระเบียบ” “โครงสร้าง” “ความ กลมกลืน” และ “องค์รวม” เสียก่อน เรามาเริม่ กันทีค่ ำ� ว่าระเบียบ ในตอน นี้ เป็นทีเ่ ชือ่ กันว่า ค�ำอย่าง “ระเบียบ” และ “ไร้ระเบียบ” ถือเป็นการตัดสิน เชิงอัตวิสัย ซึ่งขึ้นอยู่กับรสนิยมเฉพาะตัว อคติ และความเห็นของผู้คนที่ แตกต่างกันไป ข้าพเจ้าใคร่เสนอไว้ในที่นี้ว่า ระเบียบไม่ได้เป็นคุณสมบัติ เชิงอัตวิสยั ล้วนๆ ทว่าตรงกันข้าม การตัดสินทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งนีส้ ามารถ มีความเป็นภววิสัยโดยพื้นฐานได้มากพอๆ กันกับการตัดสินเรื่องอื่นๆ เช่น เรื่องระยะทาง เวลา มวล หรืออะไรท�ำนองนี้ ดังนั้น ดังที่ข้าพเจ้าจะ พยายามอธิบายให้ปรากฏในรายละเอียดมากขึน้ การตัดสินเช่นนีจ้ งึ ขึน้ อยู่ กับการจ�ำแนกแยกแยะในการรับรู้ถึงความแตกต่างที่เหมือน และ ความ เหมือนทีแ่ ตกต่าง ซึง่ สามารถให้นยิ ามและสือ่ สารได้ ดังทีส่ ามารถกระท�ำ ได้กับคุณสมบัติอื่นๆ ซึ่งอาจรับรู้ได้ ว่าสามารถที่จะบอกเล่าแบบภววิสัย ตัวอย่างเช่น ลองพิจารณาเส้นโค้งทางเรขาคณิต ซึ่งด้วยวิธีการ บางอย่าง มันคือชุดของจุดที่เรียงกันอย่างเป็นระเบียบ เพื่อจะแสดงถึง ระเบียบนีใ้ ห้สอื่ สารได้อย่างเทีย่ งตรงและเป็นทีท่ ดสอบรับรูไ้ ด้ เราสามารถ มองเส้นโค้งโดยประมาณว่าเป็นชุดของเส้นทีม่ คี วามยาวเท่ากัน ดังนัน้ เส้น เหล่านี้จึงเหมือนกันในเรื่องความยาว แต่แตกต่างในเรื่องทิศทาง แต่การ ด�ำรงอยูข่ องเส้นโค้งปกติ (แทนทีจ่ ะเป็นจุดทีเ่ รียงกันตามอ�ำเภอใจ) เห็นได้ ชัดว่าย่อมขึน้ อยูก่ บั ความเหมือนของความแตกต่าง แน่นอน สิง่ เหล่านีอ้ าจ เห็นได้ทนั ทีดว้ ยตา แม้โดยทัว่ ไปภาษาสามัญของเราจะหยาบและอนาถา เกินจะอนุญาตให้เราสื่อสารได้อย่างถูกต้องถึงสิ่งที่ดวงตามองเห็นก็ตาม
ว่าด้วยความสร้างสรรค์
54
เพียงเพราะผูค้ นพบว่าตนไม่สามารถสือ่ สารถึงการรับรูอ้ ย่างแท้จริง ของตนในคุณลักษณะของระเบียบนั้นๆ พวกเขาจึงมักอนุมานเอาว่าการ รับรู้เหล่านั้นเป็นเรื่องส่วนตัวและเป็นอัตวิสัยล้วนๆ แน่นอน เราจ�ำเป็น ต้องหลีกเลี่ยงแนวโน้มที่จะตกอยู่ในความสับสน ด้วยการพัฒนาภาษาที่ สามารถบรรยายถึงคุณลักษณะของระเบียบได้อย่างเหมาะสม ก้าวแรก ของการท�ำเช่นนี้ ขอให้เราเริ่มด้วยการพิจารณาตัวอย่างง่ายๆ สองสาม ตัวอย่างว่าด้วยระเบียบและเส้นโค้งกันก่อน ถึงตรงนี้ เส้นโค้งที่เรียบง่ายที่สุดก็คือเส้นตรง มันคือส่วนต่างๆ ที่แตกต่างกันเพียงเพราะวางอยู่คนละต�ำแหน่ง แต่พุ่งไปในทางเดียวกัน แต่ถ้าเป็นวงกลม ส่วนต่างๆ ที่เรียงต่อกันจะพุ่งไปสองด้าน ทว่ามุม ระหว่างแต่ละส่วนนั้นเท่ากัน ดังนั้นความแตกต่างจึงเหมือนกัน อย่างไร ก็ตาม ความเหมือนที่นิยามวงกลมนั้นแตกต่างจากความเหมือนที่นิยาม เส้นตรง ซึง่ ก็คอื ความแตกต่างพืน้ ฐานระหว่างเส้นโค้งสองเส้นด้วย ต่อไป ให้พจิ ารณาเส้นเกลียว เส้นเกลียวเกิดขึน้ ได้เมือ่ ส่วนทีเ่ ชือ่ มต่อกันสองส่วน แยกจากกันไปคนละระนาบ ท�ำให้เส้นโค้งเกิดเป็นสามมิติ ความเหมือน ของความแตกต่างนี้น�ำไปสู่เส้นเกลียวธรรมดา เห็นได้ชดั ว่าเป็นไปได้ทจี่ ะสร้างความแตกต่างให้มรี ะเบียบสูงขึน้ ไป กว่านี้ ความเหมือนนั้นสร้างระเบียบของเส้นโค้งขึ้นชุดหนึ่งที่ซับซ้อนขึ้น มากขึ้นเรื่อยๆ ตรงนี้เป็นเรื่องส�ำคัญที่พึงสังเกตว่า “ความซับซ้อน” ของ เส้นโค้งนั้น จริงๆ แล้วเป็นคุณสมบัติเชิงภววิสัยทีน่ ิยามได้โดยใช้ระเบียบ ของมัน ดังนัน้ เส้นตรงทีถ่ กู ก�ำหนดไว้ตงั้ แต่ขนั้ ตอนแรกจึงถือเป็นเส้นโค้ง ทีม่ รี ะเบียบปฐมภูมิ ส่วนวงกลมเป็นระเบียบทุตยิ ภูมทิ กี่ ำ� หนดขึน้ จากสาม ขัน้ ตอนแรก เราอาจจินตนาการถึงเส้นโค้งทีต่ อ้ งใช้ขนั้ ตอนต่างๆ มากขึน้ เรื่อยๆ เพื่อนิยามตัวมันเอง ท้ายที่สุด เราอาจได้เส้นโค้งที่ต้องใช้ขั้นตอน ว่าด้วยความสร้างสรรค์
55
การสร้างไม่สิ้นสุด ซึ่งเรียกว่า “เส้นโค้งที่มีระเบียบเป็นอนันต์” ตัวอย่าง ของเส้นโค้งที่มีระเบียบเป็นอนันต์ได้แก่เส้นทางอันซับซ้อนของอนุภาค ระดับอะตอมในก๊าซที่มีการเคลื่อนที่อย่าง “อลหม่าน” หรืออนุภาคควัน ขนาดเล็กในการเคลื่อนที่แบบบราวเนียน ถึงตรงนี้ เป็นทีก่ ล่าวกันทัว่ ไปว่า อนุภาคประเภททีก่ ล่าวไว้ขา้ งต้น นี้เคลื่อนที่ในภาวะที่เรียกว่า “ไร้ระเบียบ” แต่ในมุมมองของข้าพเจ้า ไม่มี อะไรที่ “ไร้ระเบียบ” หากค�ำนี้จะใช้เพื่อบ่งชี้ถึงการสิ้นไร้ซึ่งระเบียบชนิด ใดๆ ก็ตาม เพราะเมือ่ ใดก็ตามทีบ่ างสิง่ เกิดขึน้ มันจะเกิดขึน้ ด้วยระเบียบ บางอย่าง ซึง่ โดยหลักการแล้วจะสามารถกล่าวถึงได้ดว้ ยศัพท์ทเ่ี หมาะสม ด้วยเหตุนี้ ระเบียบการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์จึงเป็นระเบียบง่ายๆ ที่ ก�ำหนดให้เกิดขึ้นได้ตั้งแต่ขั้นตอนแรก (และโดยแรงที่ดาวเคราะห์ต้อง ประสบในยามโคจร) ในอีกด้านหนึง่ ระเบียบของการเคลือ่ นทีแ่ บบบราวเนียนดังทีเ่ คยถูกมองว่าเป็นระเบียบทีเ่ ป็นอนันต์นนั้ ในแง่ทสี่ ามารถกล่าว ถึงได้เพียงว่าเป็นชุดอันไม่จ�ำกัดของความแตกต่างที่เหมือนกันเท่านั้น อย่างไรก็ตาม การเคลื่อนที่ดังกล่าวนี้มีความสม�่ำเสมอทางสถิติหรือ สมมาตรซึง่ ไม่ได้ขนึ้ อยูก่ บั รายละเอียดทีถ่ กู ต้องแม่นย�ำของเส้นทางโคจรที่ เป็นวงโค้ง ตัวอย่างเช่น ในระยะยาวและโดยเฉลีย่ อนุภาคจะใช้เวลาเกือบ เท่ากันในการเดินทางไปในหน่วยปริมาตรใดๆ ของพื้นที่ว่าง และหากมี อนุภาคเช่นนีอ้ ยูม่ าก มันจะกระจายตัวเกือบจะเป็นแบบแผนอยูใ่ นภาชนะ ในช่วงเวลาใดๆ ก็ตาม เห็นได้ชดั เจนว่า ลักษณะของระเบียบทีเ่ ป็นอนันต์ ของการเคลื่อนที่แบบบราวเนียนนั้นสามารถทดสอบ สื่อสาร และเป็น ข้อเท็จจริงพอๆ กับลักษณะของระเบียบที่วัตถุตกสู่พื้นหรือดาวเคราะห์ เคลื่อนที่ผ่านอวกาศ ไม่มีอะไรเป็นผลของการตัดสินแบบอัตวิสัยล้วนๆ จนสามารถก่อให้เกิดลักษณะที่ “เป็นระเบียบ” หรือ “ไร้ระเบียบ” ได้ ว่าด้วยความสร้างสรรค์
56
ที่จริง ดังที่ได้เห็นมาแล้ว สิ่งที่ปกติเรียกกันว่า “ไร้ระเบียบ” นั้น แทบจะเป็นค�ำเรียกที่ไม่เหมาะสม เพราะจริงๆ แล้วสิ่งนั้นกลับมีระเบียบ ชนิดที่ซับซ้อนจนยากที่จะกล่าวถึงรายละเอียดทั้งหมดได้ ดังนั้น ภาระ หน้าที่ที่แท้จริงของเราจึงไม่ใช่การตัดสินว่าบางสิ่งนั้นมีระเบียบหรือไร้ ระเบียบ แต่ทุกสิ่งล้วนมีระเบียบ และเพราะความไร้ระเบียบในแง่ของ การขาดระเบียบในทุกรูปแบบนั้นเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ แต่สิ่งที่เราพึงท�ำ จริงๆ ก็คือการสังเกตและบรรยายถึงลักษณะของระเบียบที่แต่ละสิ่งเป็น อยู่จริงๆ มากกว่า ค�ำว่า “ไร้ระเบียบ” จึงไม่มีเป้าหมายที่เป็นประโยชน์ ใดๆ และทีจ่ ริงแล้วมักเป็นทีม่ าของความสับสน สิง่ ทีจ่ ะน�ำมาก�ำจัดความ สับสนนีค้ อื การใช้ภาษาทีส่ ำ� แดงออกในรูปของความแตกต่างทีเ่ หมือนกัน หรือความเหมือนทีแ่ ตกต่างกัน ซึง่ จะช่วยให้เรากล่าวถึงระเบียบทีแ่ ท้จริง ของแต่ละสิ่งได้อย่างมีหลักการ ไม่ว่ามันจะเป็นอะไร (เหมือนกับที่ภาษา ที่แสดงออกในรูปหน่วยของความยาวท�ำให้เราสามารถบอกถึงระยะห่าง ที่แท้จริงของสิ่งต่างๆ จากกันและกัน) ถึงตรงนี้ให้เรามาพูดกันถึงความหมายของค�ำว่า “โครงสร้าง” ข้าพเจ้าใคร่เสนอว่า โครงสร้างโดยพืน้ ฐานแล้วคือล�ำดับชัน้ ของระเบียบใน ระดับต่างๆ ตัวอย่างเช่น ให้ลองพิจารณาดูบ้าน สิ่งที่เหมือนกันโดยพื้น ฐานคือก้อนอิฐ แต่ความต่างอยู่ที่ต�ำแหน่งและทิศทาง เมื่อสิ่งเหล่านี้ถูก น�ำมาจัดระเบียบด้วยความแตกต่างที่เหมือนกันชุดหนึ่ง มันก็ก่อเกิดเป็น ผนังขึ้นมา ถึงตรงนี้ ผนังก็คือสิ่งที่มีระเบียบขั้นสูงกว่า ผนังต่างๆ เมื่อน�ำ มาจัดเรียงกันด้วยความเหมือนทีเ่ หมาะสมด้านต�ำแหน่งและทิศทาง ก็กอ่ เกิดเป็นห้องขึ้นมา เช่นกัน ระเบียบของห้องต่างๆ ก็ก่อให้เกิดเป็นบ้าน บ้านท�ำให้เกิดถนน ถนนท�ำให้เกิดเมือง เป็นดังนี้เรื่อยไป หลักการของโครงสร้างในฐานะล�ำดับชัน้ ของระเบียบนัน้ เห็นได้ชดั ว่าด้วยความสร้างสรรค์
57
ว่าเป็นเรือ่ งสากล ดังนัน้ อนุภาคอิเล็กตรอนและนิวเคลียสจึงมีระเบียบใน แบบหนึ่งซึ่งก่อให้เกิดเป็นอะตอมขึ้นมา ส่วนอะตอมนั้นมีการจัดระเบียบ ได้หลายทาง ก่อให้เกิดเป็นสสารในระดับกล้องจุลทรรศน์ ไม่ว่าจะเป็น ของเหลว ของแข็ง หรือก๊าซ เป็นผลึกหรือไม่เป็นผลึก และอืน่ ๆ หลักการ นี้ด�ำเนินไปจนเกิดเป็นดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ กาแล็กซี่ กาแล็กซี่แห่ง กาแล็กซี่ ด�ำเนินไปอย่างมีเหตุผลตราบเท่าทีม่ นุษย์สามารถหยัง่ ถึงได้ดว้ ย เครือ่ งมือทางวิทยาศาสตร์ เช่นเดียวกัน โมเลกุลของโปรตีนก็เรียงล�ำดับใน แบบหนึง่ ก่อให้เกิดเป็นเซลล์ทมี่ ชี วี ติ เซลล์เรียงล�ำดับในแบบหนึง่ ก่อให้เกิด อวัยวะ อวัยวะเรียงล�ำดับจนก่อให้เกิดเป็นสิ่งมีชีวิต ซึ่งก็มีระเบียบก่อให้ เกิดเป็นชุมชนของสิง่ มีชวี ติ ขึน้ จนกระทัง่ เราครอบคลุมชีวมณฑลทัง้ หมด บนโลก และที่สุดอาจขยายตัวออกไปยังดาวเคราะห์อื่น จากข้อความข้างบน เห็นได้ชัดว่ากระบวนการวิวัฒนาการของ ธรรมชาติ (ซึง่ รวมถึงพัฒนาการของมนุษย์และการรับรูใ้ นทางสติปญ ั ญา) อย่างน้อยทีส่ ดุ ก็มศี กั ยภาพของระเบียบทีเ่ ป็นอนันต์ ในแง่ทวี่ า่ มันไม่ได้ถกู ก�ำหนดอย่างสิ้นเชิงโดยระเบียบเพียงบางส่วนของตัวมันเอง เมื่อเป็นเช่น นี้ มันจึงเหมือนเส้นโค้งแบบสุ่มในการเคลื่อนที่แบบบราวเนียน อย่างไร ก็ตาม มันแตกต่างจากการเคลื่อนที่แบบบราวเนียนเพราะไม่มีแนวโน้ม จะเข้าสู่ภาวะสมมาตรหรือภาวะปกติเชิงสถิติอย่างสมบูรณ์ แต่ดังที่เห็น แต่ละระเบียบสามารถกลายเป็นฐานให้กับระเบียบใหม่ที่สูงขึ้น จึงก่อให้ เกิดล�ำดับชั้นซึ่งวิวัฒน์อย่างต่อเนื่อง น�ำไปสู่โครงสร้างใหม่ๆ ที่โดยทั่วไป สามารถสั่งการธรรมชาติท่ีเรียบง่ายกว่า (เช่นที่ระบบประสาทสามารถ สั่งกลไกการเคลื่อนไหวของเซลล์กล้ามเนื้อ) ดังนั้น จึงสามารถมองได้ ว่าธรรมชาติเป็นกระบวนการสร้างสรรค์ ซึ่งไม่เพียงก่อก�ำเนิดโครงสร้าง ใหม่ๆ แต่ยังมีระเบียบใหม่ของโครงสร้างผุดบังเกิดขึ้นด้วยเสมอ (แม้ ว่าด้วยความสร้างสรรค์
58
กระบวนการนี้จะใช้เวลายาวนานมากตามมาตรฐานของเราก็ตาม) หลักการพื้นฐานในพัฒนาการของโครงสร้างทั้งหมด (ไม่ว่าที่เป็น ธรรมชาติหรือทีม่ นุษย์สร้างขึน้ ) เห็นได้ชดั ว่าระเบียบแต่ละประเภทนัน้ เป็น เพียงสมมาตรประเภทที่เป็นค่าประมาณการและค่าจ�ำกัดเท่านั้น ความ ชะงักงันหรือการเปลี่ยนแปลงในสมมาตรของระเบียบหนึ่ง จะกลายเป็น รากฐานให้กับระเบียบในอีกระดับหนึ่ง และเป็นดังนี้ต่อไปในระดับที่สูง ขึ้น ความถูกต้องอันเป็นสากลของหลักการนี้ย่อมบ่งเป็นนัยว่า ไม่เพียง ล�ำดับชั้นของระเบียบอันกลมกลืนกันนั้นจะมีความเป็นไปได้ที่จะเติบโต ไม่สิ้นสุดและน�ำไปสู่วิวัฒนาการขององค์รวมอันเป็นหนึ่งเดียวในขอบ เขตหนึ่งๆ เท่านั้น แต่ยังอาจน�ำไปสู่ความเป็นไปได้ที่จะก่อความขัดแย้ง หรือการปะทะระหว่างระเบียบที่แตกต่างได้ด้วย ซึ่งจะก่อให้เกิดองค์รวม ที่ปราศจากความกลมกลืนและไม่เป็นหนึ่งเดียว ทว่าเป็นกระบวนการ ท�ำลายและท�ำให้ระเบียบบางส่วนเสื่อมถอยลง เช่นเดียวกับแนวคิดเรื่องระเบียบ มีความเชื่อกันโดยทั่วไปว่า การ แยกแยะระหว่างความขัดแย้งและความกลมกลืนเป็นเรื่องส่วนตัวและ เป็นการตัดสินเชิงอัตวิสัยล้วนๆ แต่กระนั้น เราสามารถเห็นได้ว่านี่ไม่ใช่ อัตวิสัยทั้งหมด หากเราลองสังเกตว่า ความขัดแย้งคือกระบวนการซึ่ง ระเบียบของส่วนต่างๆ ไม่ได้ท�ำงานร่วมกันอย่างสอดประสาน ดังที่ ระเบียบแต่ละส่วนย่อยควรจะเข้ากันได้กับระเบียบอื่นๆ ซึ่งที่จริงแล้วใน หลายกรณี ก็ถึงขั้นจ�ำเป็นต่อการด�ำรงอยู่เสียด้วยซ�้ำ ตัวอย่างพื้นฐานที่สุดของความขัดแย้งหรือการปะทะนั้นเห็นได้ จากสี่แยกของถนน ปกติแล้ว หน้าที่ของสัญญาณไฟจราจรคือช่วยรักษา ระเบียบของการจราจรจากถนนสองเส้นให้สอดคล้องกลมกลืนกัน เมื่อ ว่าด้วยความสร้างสรรค์
59
สัญญาณไม่ได้ท�ำงานอย่างถูกต้อง ความสอดคล้องก็หายไป รถจะชน กันตรงสี่แยก ท�ำลายทั้งตัวรถเองและคนขับ หรือตัวอย่างที่ละเอียดขึ้น อีกตัวอย่างหนึ่ง ให้ลองดูหน้าที่ของอวัยวะเกี่ยวกับการย่อย เมื่อคนคน หนึง่ ป่วย มันจะไม่สามารถท�ำตามระเบียบการท�ำงานปกติและเหมาะสม ซึง่ จ�ำเป็นต่อสุขภาพของชีวติ ได้ หรืออีกตัวอย่างหนึง่ เราลองคิดถึงมะเร็ง ระเบียบของการเติบโตอย่างไม่จ�ำกัดนั้นเห็นได้ชัดว่าเป็นการปะทะกับ กระบวนการของร่างกาย ในกรณีทั้งหมดนี้ แน่นอนว่าสิ่งที่เราต้องรับมือ ด้วยไม่ใช่ความไร้ระเบียบหรือไม่มรี ะเบียบ แต่กลับเป็นระเบียบทีก่ ำ� หนดมา ดีแล้วแต่ทำ� หน้าทีผ่ ดิ ในแง่ทวี่ า่ มันไม่ได้นำ� ไปสูค่ วามสอดคล้องกลมกลืน ขององค์รวม แต่กลับเกิดการปะทะและขัดแย้งกับระเบียบย่อยอื่นๆ เมื่อได้เห็นแล้วว่า การรับรู้เรื่องความสอดคล้องและองค์รวมนั้น ไม่จำ� เป็นต้องเป็นการตัดสินแบบส่วนตัวล้วนๆ ถึงตอนนีเ้ ราจะเกิดความ เข้าใจอย่างใหม่ถงึ ข้อเท็จจริงทีน่ กั วิทยาศาสตร์ผยู้ งิ่ ใหญ่ทงั้ หมด (โดยไม่มี ข้อยกเว้น) เห็นในกระบวนการเชิงโครงสร้างของธรรมชาติ ว่าเต็มไปด้วย ความสอดคล้องกลมกลืนของระเบียบแห่งความงามอย่างไม่อาจพรรณนา ได้ อย่างน้อยที่สุดก็ดูเหมือนการรับรู้นี้จะเป็นจริงเท่ากับสิ่งที่น�ำไปสู่การ นิยามทฤษฎีและสูตรจนก่อให้เกิดการค�ำนวณลักษณะของสสารต่างๆ ใน รายละเอียดได้อย่างถูกต้องแม่นย�ำ อันที่จริงแล้ว ทฤษฎีวิทยาศาสตร์อัน ยิง่ ใหญ่ทกุ ทฤษฎีลว้ นก่อตัง้ ขึน้ บนการรับรูถ้ งึ ลักษณะพืน้ ฐานโดยทัว่ ไปของ ความสอดคล้องในระเบียบแห่งธรรมชาติทงั้ สิน้ การรับรูเ้ ช่นนี้ เมือ่ อธิบาย อย่างเป็นระบบและเป็นทางการแล้ว จะถูกเรียกว่า “กฎของธรรมชาติ” อย่ า งไรก็ ต าม การแสดงลั ก ษณะพื้ น ฐานแห่ ง ระเบี ย บของ กระบวนการธรรมชาติในรูปของกฎอันเป็นสากลนั้น แท้จริงแล้วคือการ ยืนยันว่าอะไรคือความแตกต่างพื้นฐานที่เกี่ยวเนื่องกับกระบวนการโดย ว่าด้วยความสร้างสรรค์
60
รวมทั้งหมด และอะไรคือความเหมือนที่สอดคล้องในความแตกต่าง เหล่านั้น ดังนั้น นิวตันจึงอนุมานถึงความแตกต่างที่สัมพันธ์กัน ว่าอยู่ใน ต�ำแหน่งและความเร็วของวัตถุสสาร ณ ชัว่ ขณะเวลาทีเ่ กิดต่อเนือ่ งกัน ใน อวกาศว่างเปล่า ระยะทางระหว่างวัตถุดงั กล่าวในช่วงเวลาเดียวกันนัน้ ถูก อนุมานว่ามีปริมาณและทิศทางเหมือนกัน ดังนั้นจึงน�ำไปสู่การเคลื่อนที่ เป็นเส้นตรงด้วยความเร็วคงที่ (ซึ่งก็คือกฎของแรงเฉื่อย) ในการด�ำรงอยู่ ของสสารนัน้ มันถูกอนุมานว่า ระยะทางและทิศทางต่อเนือ่ งนัน้ แตกต่าง กัน อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างของมัน (ซึ่งเป็นตัวนิยามความเร่ง) ถูก อนุมานว่าเหมือนกันทั้งหมด ในแง่ที่ว่าแรงที่เหมือนกันจะสร้างความเร่ง ที่เหมือนกันเสมอทุกแห่งหน เมื่อกล่าวในรูปของศัพท์คณิตศาสตร์อย่าง เที่ยงตรงแล้ว สมมุติฐานเหล่านี้จึงน�ำไปสู่กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ส่วนหนึ่งในแนวคิดของนิวตันคือ ความแตกต่างพื้นฐานเรื่อง ต�ำแหน่งนัน้ ต้องคิดว่าอยูใ่ นอวกาศสัมบูรณ์และเกิดอยูใ่ นเวลาสัมบูรณ์ นัน่ คือ เขาสมมติว่าความแตกต่างของอวกาศและเวลาเป็นเรื่องที่เหมือนกัน ทั้งหมด ดังนั้น ผู้สังเกตแต่ละคนจะเห็นพ้องต้องกันในสิ่งที่อยู่ในอวกาศ ในช่วงเวลาเดียวกันและระยะทางเดียวกัน ความรู้อันสร้างสรรค์อย่าง แท้จริงของไอน์สไตน์คือการเห็นว่า ข้อเท็จจริงนี้ส�ำหรับเขา (ซึ่งเป็นการ น�ำเอาทฤษฎีทางฟิสิกส์เข้าสู่สภาวะแห่งความสับสนอย่างยิ่ง) จะเป็นที่ เข้าใจได้อย่างชัดเจน ถ้าเราสมมุตวิ า่ ผูส้ งั เกตทีเ่ ดินทางด้วยความเร็วแตก ต่างกันนั้น จริงๆ แล้วเป็นผู้สร้างให้เกิดคุณสมบัติที่พ้องพานกัน โดยอยู่ ห่างจากชุดของเหตุการณ์ที่แตกต่างกันเป็นระยะทางเท่าๆ กัน อย่างไร ก็ตาม เขายังเห็นด้วยว่า ผูส้ งั เกตทีม่ คี วามเร็วอันแตกต่างเหมือนๆ กันจะ มีความแตกต่างทีเ่ หมือนกันในวิธกี ารเลือกชุดของเหตุการณ์ซงึ่ ท�ำให้เกิด คุณสมบัติแห่งความพ้องพานและท�ำให้เกิดระยะห่างที่เท่ากัน เมื่อกล่าว ว่าด้วยความสร้างสรรค์
61
ในรูปของศัพท์คณิตศาสตร์ที่ถูกต้อง สิ่งนี้น�ำไปสู่กฎการเปลี่ยนรูปของ ลอเรนท์ซ (Lorentz-transformation laws) ซึ่งเป็นรากฐานของทฤษฎี สัมพัทธภาพในทางคณิตศาสตร์ ดังนั้น จึงชัดเจนว่า ก้าวพื้นฐานของไอน์สไตน์คือการรับรู้ถึง ชุดของความแตกต่างรากฐานอันใหม่ จากนั้นจึงเกิดความสัมพันธ์ของ ความเหมือนอันใหม่ขึ้น และดังนั้นจึงเกิดระเบียบใหม่ของอวกาศและ เวลา เพราะอวกาศและเวลาคือรากฐานของมโนทัศน์ทุกอย่างของเรา ระเบียบใหม่นี้จึงมีความส�ำคัญทั้งในด้านกว้างและลึกอย่างมาก ในแง่ ของระเบียบใหม่นี้ จึงกลายเป็นเรือ่ งปกติทจี่ ะถามค�ำถามแบบใหม่ในการ สืบค้นปรากฏการณ์ทางกายภาพ นักวิทยาศาสตร์จงึ ถูกชักน�ำไปสูแ่ นวคิด ใหม่ทงั้ หมดทีเ่ กีย่ วข้องกับคุณสมบัตทิ วั่ ไปของสสาร (ตัวอย่างเช่น การค้น พบความสัมพันธ์ของมวลและพลังงานซึง่ เป็นเรือ่ งส�ำคัญแบบก้าวกระโดด) อย่างไรก็ตาม หากเราลองใคร่ครวญดู ก็จะเข้าใจว่า นิวตันเองก็ รับรูค้ วามแตกต่างพืน้ ฐานใหม่ดว้ ยเช่นกัน เขาจึงริเริม่ ระเบียบใหม่ในทาง ฟิสิกส์อย่างสร้างสรรค์ด้วย เพื่อจะท�ำความเข้าใจในเรื่องนี้ ให้เราย้อน กลับไปหากรีกโบราณ ซึ่งถือว่าความแตกต่างรากฐานนั้นคือสิ่งที่คั่นอยู่ ระหว่างความไม่สมบูรณ์และเฉไฉของวัตถุฝ่ายโลกกับความสมบูรณ์แบบ และบริสุทธิ์ของเทหวัตถุแห่งสวรรค์ (และดังนั้นจึงเป็นผู้ที่ท�ำให้แนวคิด ว่าด้วยความแตกต่างระหว่างความไม่สมบูรณ์และความสมบูรณ์แบบ กลายเป็นแนวคิดพื้นฐานซึ่งเกี่ยวข้องกับสิ่งที่ด�ำรงอยู่ทั้งมวล) โดยมอง การเคลื่อนที่อันซับซ้อนของวัตถุฝ่ายโลกว่าเป็นธรรมชาติอันไม่สมบูรณ์ และของเทหวัตถุแห่งสวรรค์ว่าพึงแสดงให้เห็นถึงธรรมชาติอันสมบูรณ์ แบบด้วยการเคลื่อนที่เป็นวงกลม ซึ่งถือว่าเป็นรูปทรงทางเรขาคณิตที่ สมบูรณ์แบบที่สุด ว่าด้วยความสร้างสรรค์
62
ถ้าการสังเกตเผยว่าเทหวัตถุฟากฟ้านั้นจริงๆ แล้วเคลื่อนที่เป็น วงกลมอย่างสมบูรณ์ สิ่งนี้จะเป็นการค้นพบอันยิ่งใหญ่ เพราะเป็นการ ยืนยันอย่างแข็งแกร่งถึงแนวคิดเรือ่ งความแตกต่างหลักในจักรวาลระหว่าง ความสมบูรณ์แบบของเทหวัตถุฟากฟ้าและความไม่สมบูรณ์แบบของวัตถุ บนโลก แต่เมื่อการสังเกตไม่ได้เผยออกมาดังนี้ นักดาราศาสตร์ก็เริ่ม ยอมรับความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงและทฤษฎีด้วยการสร้างเอพิไซเคิล (Epicycle) ซึ่งคือการให้ทรงกลมจ�ำนวนหนึ่งโคจรอยู่ในทรงกลม ถ้าเอพิไซเคิลสองสามอันก็เพียงพอแล้ว สิ่งนี้ก็คงกลายเป็นการค้นพบ อันยิ่งใหญ่ แต่เมื่อจ�ำนวนของเอพิไซเคิลเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เราก็คงจะ เริ่มสงสัยแล้วว่า ความแตกต่างระหว่างเทหวัตถุฟากฟ้าและวัตถุบนโลก นั้นไม่ใช่เรื่องพื้นฐาน แต่ด้วยเหตุผลหลายประการ (ทั้งศาสนา การเมือง จิตวิทยา ฯลฯ) แนวคิดนีก้ ลับหาได้จริงจังอยูน่ านไม่ ทว่ากลับเกิดแนวโน้ม ที่จะสนอกสนใจในแง่มุมแบบประโยชน์นิยมของทฤษฎีเอพิไซเคิลขึ้นมา แทน (ตัวอย่างเช่น มันเป็นประโยชน์สำ� หรับโหราศาสตร์และการเดินเรือ) แม้มันจะผิดที่ไปลดคุณค่าของการค�ำนวณอันเป็นประโยชน์เช่น นั้น แต่กระนั้นเราก็ต้องติดอยู่กับความแตกต่างระหว่างค�ำถามที่ลึกซึ้ง ส�ำคัญ และน่ารับฟังที่ชาวกรีกโบราณหยิบยกขึ้นมา รวมถึงการไปเน้นที่ เป้าหมายอันค่อนข้างจ�ำกัดคับแคบและไม่สลักส�ำคัญ ดังนั้นจึงเป็นเวลา นานมากที่นกั วิทยาศาสตร์ได้สูญเสียแรงกระตุ้นในยุคแรกทีว่ ่าด้วยความ คิดริเริม่ และความสร้างสรรค์ และกลับหันไปสูท่ ศั นคติในการสัง่ สมความรู้ ทีน่ า่ จะเป็นประโยชน์ ภายในกรอบของมโนทัศน์ทถ่ี กู ก�ำหนดเอาไว้ตายตัว ในความเป็นจริงแล้ว ก่อนทีก่ ารสัง่ สมความรูเ้ ช่นทีว่ า่ จะเริม่ ประจักษ์ ถึงคุณค่าในเชิงประโยชน์นิยม ก็จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จิตวิญญาณแบบใหม่ ควรผุดขึ้นมาเพื่อตั้งค�ำถามกับข้อสมมุติฐานเรื่องความแตกต่างพื้นฐาน ว่าด้วยความสร้างสรรค์
63
ระหว่างเทหวัตถุฟากฟ้ากับวัตถุบนโลก ในงานของกาลิเลโอและนิวตัน เป็นที่ทราบกันว่ามีความแตกต่างชุดหนึ่งซึ่งสอดคล้องมากกว่าอยู่ (ดังที่ ได้กล่าวถึงมาแล้วนั้น) ในสภาวะต่อเนื่องของการเคลื่อนที่ของแต่ละ อนุภาคของสสาร และในทฤษฎีของไอน์สไตน์ ยิ่งมีการอนุมานถึงความ แตกต่างพื้นฐานอยู่ในชุดของกาลและสถานที่เกิดขึ้นพร้อมกันและมี ระยะห่างเท่ากัน ทฤษฎีควอนตัมน�ำความแตกต่างพืน้ ฐานอืน่ เพิม่ เข้ามาอีก ซึ่งเราไม่มีที่ว่างพอจะกล่าวถึงในที่นี้ เห็นได้ชัดว่า พัฒนาการอันสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์นั้น โดย ทั่วไปขึ้นอยู่กับการรับรู้ถึงความไม่สอดคล้องของชุดแห่งความแตกต่าง และความเหมือนพื้นฐานที่รับรู้กันอยู่แล้ว ซึ่งหากพูดในเชิงจิตวิทยา นี่ คือขั้นตอนที่ยากที่สุด แต่เมื่อมันเกิดขึ้นแล้ว ก็อาจช่วยปลดปล่อยจิตใจ ให้เกิดความใส่ใจ ตื่นตัว ตระหนัก และละเอียดอ่อน จนมันสามารถค้น พบระเบียบใหม่ และสามารถสร้างโครงสร้างใหม่ทางความคิดและมโนทัศน์ขึ้นได้ ความสัมพันธ์ระหว่างนักวิทยาศาสตร์ที่สร้างสรรค์กับผลงาน สร้างสรรค์ของนักวิทยาศาสตร์รนุ่ ก่อนหน้านัน้ เป็นสิง่ ส�ำคัญยิง่ ยวดในทีน่ ี้ นักวิทยาศาสตร์ดังกล่าวไม่อาจเป็นเหมือนกับไอน์สไตน์ได้ในแง่คุณภาพ ของความสร้างสรรค์ หากเขาเพียงแต่ประยุกต์สงิ่ ทีไ่ อน์สไตน์ใช้กบั ปัญหา ใหม่ๆ หรือแม้กระทั่งเพียงแปรรูป ขยายความ และพัฒนามันเพื่อให้เผย ถึงนัยต่างๆ ทีซ่ อ่ นอยูอ่ ย่างเต็มที่ เมือ่ น�ำไปสังเคราะห์รวมกับทฤษฎีอนื่ ๆ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอยู่แล้ว แน่นอนว่านักวิทยาศาสตร์เช่นนั้นย่อมไม่อาจ สร้างสรรค์ได้เพียงด้วยการตอบโต้หรือเพิกเฉยต่องานของไอน์สไตน์ แต่ สิง่ ทีจ่ ำ� เป็นอย่างยิง่ คือเขาต้องเรียนรูจ้ ากไอน์สไตน์ในแง่ทวี่ า่ เขาไม่เพียง ต้องเข้าใจสิ่งที่ไอน์สไตน์ท�ำ แต่ยังต้องรับรู้ถึงความแตกต่างระหว่างการ ว่าด้วยความสร้างสรรค์
64
หยัง่ รูข้ องไอน์สไตน์และการหยัง่ รูท้ บี่ ดั นีพ้ ฒ ั นาขึน้ ในจิตใจของเขา ขณะที่ ท�ำงานในหัวข้อนัน้ ๆ (ซึง่ จะต้องแตกต่างจากงานของไอน์สไตน์อย่างไม่มี ข้อสงสัย ไม่เพียงเพราะเขามีความรูใ้ หม่ทงั้ ทางการทดลองและทางทฤษฎี แต่ยังมีเหตุผลอื่นๆ อีกนับไม่ถ้วนที่ยากหรือเป็นไปไม่ได้ที่จะเจาะจงลง ไปในรายละเอียด) มันคือการหยั่งถึงความแตกต่างเยี่ยงนั้น ซึ่งจะบ่งชี้ ถึงความเหมือนชนิดใหม่ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ของตัวเขาเอง ความ เหมือนใหม่ๆ เหล่านี้ในที่สุดจะน�ำไปสู่ชุดอันแตกต่างของกฎธรรมชาติ ซึ่งควรบรรจุอยู่ด้วยสิ่งที่ถูกต้องตามกฎของไอน์สไตน์ในฐานะที่เป็นกรณี ตัวอย่างและค่าประมาณการเท่านั้น ดังนี้ การรับรูใ้ หม่ทสี่ ร้างสรรค์จงึ น�ำไปสูร่ ะเบียบใหม่ดงั ทีม่ นั เคยท�ำ มาก่อนแล้ว เป็นระเบียบใหม่ในล�ำดับชัน้ ของความเข้าใจกฎธรรมชาติของ เรา ซึง่ ไม่ใช่ทงั้ การเลียนแบบระเบียบเก่าหรือปฏิเสธความถูกต้องของมัน ทีจ่ ริงแล้ว มันท�ำหน้าทีใ่ นการช่วยน�ำความรูเ้ กีย่ วกับกฎเก่าเข้าสูร่ ะเบียบที่ เหมาะสมยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกัน มันก็ช่วยขยายพรมแดนความรู้ออกไป ในมิติใหม่ๆ แต่กล่าวโดยทั่วไปแล้ว ไม่มีเหตุผลที่จะคาดหวังว่า ชุดของ กฎธรรมชาติใดๆ จะมีความถูกต้องอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ทว่า เมื่อกฎใดๆ ถูกประยุกต์ใช้จนเกินเลยขอบข่ายที่เหมาะสมของมัน ก็เป็นเรื่องแน่นอน ที่จะได้พบว่า ความแตกต่างพื้นฐานที่สอดคล้องในการให้นิยามระเบียบ ของธรรมชาติในขอบข่ายเดิมนัน้ จะไม่เหมือนกันอีกต่อไป ทีจ่ ริงแล้ว บัดนี้ ความแตกต่างจะแตกต่าง สิ่งนี้จะน�ำความเหมือนอย่างใหม่กลับเข้ามา และดังนัน้ จึงเกิดการรับรูใ้ นระเบียบใหม่ และเกิดการสร้างโครงสร้างใหม่ ขึ้น ดังนั้น ระเบียบและโครงสร้างของความรู้เรื่องกฎธรรมชาติของเราจึง วิวฒ ั น์อยูเ่ สมอ ด้วยหลักการทีค่ ล้ายคลึงกันกับโครงสร้างและระเบียบของ ธรรมชาติ จากความแตกต่างทีเ่ หมือนกัน น�ำไปสูค่ วามเหมือนทีแ่ ตกต่าง ว่าด้วยความสร้างสรรค์
65
กัน ในล�ำดับชัน้ ของระเบียบทีเ่ ติบโตมากขึน้ ซึง่ จะก่อให้เกิดเป็นองค์ความ รู้รวมของกฎธรรมชาติเช่นที่เคยเป็น ไม่ เ พี ย งในวิ ท ยาศาสตร์ เ ท่ า นั้ น ที่ ก ารรั บ รู ้ ถึ ง ความแตกต่ า งที่ สอดคล้องคือขั้นตอนพื้นฐาน ที่จริงแล้วทุกการรับรู้เริ่มต้นด้วยการรับรู้ ถึงความแตกต่างเยี่ยงนั้น นี่เป็นเพราะระบบประสาทยังส่งสัญญาณเช่น เดิมต่อสิ่งที่เคยเป็น กระทั่งมันตอบสนองน้อยลงหรือไม่ตอบสนองอีกต่อ ไป เมื่อนั้นความแตกต่างก็จะปรากฏขึ้นอย่างแจ่มชัดในการตระหนักรู้ ตัวอย่างเช่น ลองพิจารณาดูสงิ่ ทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ เราทิง้ เหรียญลงไปบน พรมที่มีลวดลายมากมาย ปกติแล้วแทบเป็นไปไม่ได้ที่จะมองเห็นเหรียญ แต่เมื่อเราเห็นประกายของโลหะ ทันใดนั้นเหรียญก็โดดเด่นขึ้นมาและ มองเห็นได้ชดั เจน สิง่ ทีเ่ รารับรูไ้ ด้คอื ความแตกต่างระหว่างภาวะของพรม ก่อนหน้ากับภาวะทีม่ ปี ระกายเกิดขึน้ สิง่ นีท้ ำ� ให้เราจดจ�ำได้ถงึ ความแตก ต่างทีเ่ หมือนกันในประสบการณ์อดีต เมือ่ วัตถุโลหะก่อให้เกิดประกายขึน้ บนพื้นที่มิใช่โลหะ ในตอนนี้ เราจึงเห็นเหรียญได้อย่างง่ายดาย เพราะรูป แบบทัง้ หมดของความแตกต่างระหว่างเหรียญและพรมเข้ากันได้พอดีกบั รูปแบบของความแตกต่างที่เหมือนกันที่เรารู้อยู่แล้ว การรับรู้จ�ำนวนมากของเรานั้นมักจะเป็นไปในท�ำนองนี้ ซึ่งค่อน ข้างเป็นกลไก ในแง่ที่ว่าระเบียบ รูปแบบ และโครงสร้างของสิ่งที่ถูกรับ รู้มาจากความทรงจ�ำของประสบการณ์ในอดีตและความคิด แน่นอนว่า ความทรงจ�ำนี้ถูกท�ำให้หลากหลาย ปรับ และดัดแปลงเพื่อให้รองรับข้อ เท็จจริงที่รับรู้ในปัจจุบันได้ แต่โดยพื้นฐานแล้วมันไม่ใช่สิ่งใหม่ การรับรู้ในระดับสูงขึ้นไปอีกเกิดขึ้นเมื่อเราคิดถึงระเบียบและ โครงสร้างในอดีตที่ไม่ได้เชื่อมโยงตามปกติกับชุดความแตกต่างที่สังเกต ว่าด้วยความสร้างสรรค์
66
ได้ ตัวอย่างเช่น เราอาจเห็นว่าความแตกต่างในสนามปรากฏการณ์ที่ สังเกตได้นนั้ เหมือนกับสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นสนามของปรากฏการณ์ทดี่ ไู ม่เกีย่ วข้อง กันเลยเมื่อมองทีแรก ดังนั้น เราจึงถูกชักน�ำให้ประยุกต์แนวคิดที่มีอยู่ กับบริบทใหม่ ตัวอย่างที่มีช่ือเสียงที่สุดอย่างหนึ่งของการรับรู้ท�ำนองนี้ คือเรื่องของอาร์คีมีดีส ซึ่งเข้าใจขึ้นมาทันทีว่าความแตกต่างในปริมาตร ของวัตถุที่แตกต่างกันนั้น ย่อมเหมือนกันกับความแตกต่างของปริมาณ น�้ำที่มันเข้าไปแทนที่ จึงกล่าวได้ว่า ระเบียบของปริมาตรของวัตถุอาจ ถือได้ว่าเหมือนกันกับระเบียบของปริมาตรของน�้ำที่ถูกแทนที่โดยวัตถุ นัน้ ๆ ดังนัน้ ด้วยการวัดปริมาณของน�ำ้ ทีถ่ กู แทนที่ เราก็สามารถแยกแยะ ความถ่วงจ�ำเพาะของวัตถุแต่ละอย่างได้ แม้รูปร่างของมันจะซับซ้อน เกินกว่าจะสามารถค�ำนวณได้โดยตรงจากคุณสมบัตทิ างเรขาคณิตก็ตาม การหยั่งรู้อันแหลมคมเยี่ยงนี้อาจน�ำไปสู่การค้นพบส�ำคัญๆ และ การประดิษฐ์ใหม่ๆ ทีส่ ามารถน�ำมาใช้งานได้ แต่กระนัน้ มันก็ไม่ใช่ความ สร้างสรรค์ เพราะในความสร้างสรรค์ เราจะต้องรับรู้ถึงชุดความแตก ต่างที่เหมือนกันในระดับรากฐานชุดใหม่ ซึ่งก่อให้เกิดระเบียบใหม่อย่าง แท้จริง (ไม่ใช่เพียงความสัมพันธ์ระหว่างระเบียบสองชุดหรือกว่านั้นซึ่ง เป็นที่รับรู้กันอยู่แล้ว) ระเบียบใหม่นี้น�ำไปสู่โครงสร้างชนิดใหม่ที่มีพิสัย กว้างขวาง กล่าวโดยทั่วไป การหยั่งรู้อันโดดเดี่ยวและแหลมคมซึ่งเชื่อม โยงสนามปรากฏการณ์หนึง่ เข้ากับอีกสนามหนึง่ นัน้ ไม่อาจท�ำทัง้ หมดนีไ้ ด้ บางที ธ รรมชาติ เ ดิ ม แท้ แ ละมี ลั ก ษณะปฏิ วั ติ ข องการรั บ รู ้ ที่ สร้างสรรค์อย่างแท้จริงนัน้ อาจบรรยายออกมาได้อย่างน่าประทับใจหาก เราลองพิจารณาประสบการณ์ของเฮเลน เคลเลอร์ เมื่อจู่ๆ เธอก็รับรู้ถึง ธรรมชาติของนามธรรมเชิงมโนทัศน์ ในตอนแรก เธอเพียงแค่ตระหนัก ถึงชุดของความแตกต่าง ซึง่ คือความแตกต่างระหว่างสภาวะจิตตามปกติ ว่าด้วยความสร้างสรรค์
67
ของเธอ กับสภาวะทีไ่ ด้สมั ผัสกับแง่มมุ อันหลากหลายของสิง่ ทีเ่ ราเรียกว่า น�้ำ (แต่แน่นอนว่า เธอไม่รู้อะไรเกี่ยวกับมันเลย) เบาะแสของโครงสร้างที่ เหมือนกันในผัสสะที่แตกต่างกันซึ่งถูกขีดเขียนลงบนมือของเธอในแต่ละ ครัง้ นัน้ ท�ำให้เธอเข้าใจว่าความแตกต่างทัง้ หมดนีโ้ ดยพืน้ ฐานแล้วเหมือน กัน ความเข้าใจนี้ไม่เพียงเป็นผลของสิ่งที่เธอเคยรู้จักมาก่อน มิใช่แม้แต่ การรับรูถ้ งึ ความสัมพันธ์ใหม่ในระเบียบต่างๆ ทีเ่ ธอเคยเผชิญมาก่อนแล้ว เท่านั้น ที่จริงแล้ว มันคือการรับรู้แรกของระเบียบที่ใหม่เอี่ยมทั้งหมดใน จิตใจ นัน่ คือระเบียบของมโนทัศน์ และเมือ่ มโนทัศน์เหล่านีถ้ กู จัดระเบียบ ขึ้นใหม่ตามล�ำดับชั้น นี่จึงน�ำไปสู่โครงสร้างจิตใจใหม่ทั้งหมด ท�ำให้เธอ สามารถสือ่ สารกับคนอืน่ และคิดด้วยตัวเองได้ ดังนัน้ ไม่เพียงตัวครูผสู้ อน จะสร้างสรรค์อย่างยิง่ เท่านัน้ ทว่าตัวนักเรียนเองก็เข้าสูก่ ารเปลีย่ นผ่านซึง่ เป็นระเบียบแห่งความสร้างสรรค์ในระดับที่สูงขึ้นด้วย ดังนั้นเพื่อเป็นการสรุป เราอาจกล่าวได้ว่าโดยทั่วไปแล้วในการรับ รู้เชิงสร้างสรรค์นั้น แรกทีเดียว เราต้องเริ่มตระหนัก (ปกติแล้วไม่ใช่ด้วย ถ้อยค�ำ) ถึงชุดของความแตกต่างที่สอดคล้องชุดใหม่ และเริ่มรู้สึกหรือ สังเกตถึงชุดของความเหมือนชุดใหม่ ซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นเพียงเพราะความรู้ ในอดีต ไม่ว่าในกรอบเดียวกันหรือคนละกรอบ สิ่งนี้น�ำไปสู่ระเบียบใหม่ ซึ่งจะท�ำให้เกิดล�ำดับชั้นของระเบียบใหม่อีกหลายอย่าง ซึ่งประกอบกัน เป็นชุดของโครงสร้างชนิดใหม่ กระบวนการทั้งหมดมีแนวโน้มจะก่อให้ เกิดความกลมกลืนและองค์รวมที่เป็นเอกภาพ ให้ความรู้สึกงดงาม รวม ทั้งสามารถท�ำให้ผู้ที่เข้าใจสิ่งนี้เกิดความรู้สึกประทับใจอย่างล�้ำลึก เห็นได้ชัดว่า ความสร้างสรรค์แบบนี้เป็นเรื่องที่หาได้ยากมากที เดียว ในประวัติศาสตร์มนุษย์ทั้งหมด บางทีอาจมีคนเพียงสองสามคน ที่บรรลุถึง การกระท�ำของมนุษย์ส่วนใหญ่ที่เหลือมักจะเป็นเพียงเรื่อง ว่าด้วยความสร้างสรรค์
68
พื้นๆ แม้มันจะถักทอเข้ากับประกายของการหยั่งรู้ที่ช่วยยกระดับมันขึ้น เหนือกิจวัตรธรรมดาๆ อันน่าเบื่อ เหนือสิ่งอื่นใด เหตุผลก็คือการท�ำงาน สร้างสรรค์ตอ้ งการสภาวะจิตทีส่ ร้างสรรค์ ซึง่ หากกล่าวโดยทัว่ ไป สิง่ ทีเ่ รา เรียนรู้ตั้งแต่เด็ก จากพ่อแม่ ครู เพื่อน และสังคมโดยรวม ก็คือสภาวะ จิตที่ต้องยอมศิโรราบ ลอกเลียน และเป็นกลไก ซึ่งจะไม่มีอันตรายใดๆ เพราะไม่ได้ไป “กระทบกระทั่ง” ใคร จากนั้นคนส่วนใหญ่ที่ไม่พอใจกับ การสมาทานดังกล่าวก็กลับตกอยู่ในกับดักของการขบถต่อต้านมัน ด้วย การน�ำเสนออุดมการณ์ทเี่ ป็นด้านตรงข้ามหรือขัดแย้ง แล้วพยายามจะไป สมาทานเข้าหามันแทน แต่เห็นได้ชัดว่าการสมาทานแบบนี้ก็ไม่ใช่ความ สร้างสรรค์ ด้วยเหตุผลที่ยากจะเจาะจงลงไป มีน้อยคนนักที่จะหนีพ้น จากการท�ำงานของจิตใจที่ถูกก�ำหนดด้วยความเป็นกลไกทั้งสองแบบนี้ และในน้อยคนเหล่านี้ ยิ่งมีน้อยลงไปอีกที่สามารถหนีออกจากความ ขัดแย้งอันใหญ่หลวงทั้งภายในและภายนอกได้ เป็นความขัดแย้งซึ่งอาจ เกิดจากความกลัวว่าจะไปสั่นคลอนสภาวะต่างๆ ที่ด�ำรงอยู่ ซึ่งทั้งความ มั่นคงของเรา ความสุขของเรา และแม้กระทั่งชีวิตของเราล้วนต้องพึ่งพิง ถ้าเช่นนั้น อะไรคือสภาวะสร้างสรรค์ของจิต ซึ่งน้อยคนสามารถ เข้าถึงได้ ดังที่กล่าวไว้ก่อนนี้ แรกสุด นั่นคือผู้ที่ความสนใจของเขาทุ่มเท จดจ่ออยู่ในสิ่งที่กระท�ำไปอย่างเต็มหัวใจเหมือนกับเด็กเล็กๆ ด้วยจิตใจ เยีย่ งนี้ จึงเปิดกว้างเสมอทีจ่ ะเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ ทีจ่ ะรับรูค้ วามแตกต่างใหม่ๆ และความเหมือนใหม่ๆ ซึง่ น�ำไปสูร่ ะเบียบและโครงสร้างใหม่ แทนทีจ่ ะอิง อยู่กับระเบียบและโครงสร้างที่คุ้นเคยในกรอบของสิ่งที่เคยเห็นมา การกระท�ำชนิดนีข้ องสภาวะจิตอันสร้างสรรค์นนั้ ย่อมเกิดขึน้ ไม่ได้ หากเราถูกจ�ำกัดโดยเป้าหมายทีค่ บั แคบและไม่เป็นสาระ เช่นความมัน่ คง ปลอดภัย การเดินตามความทะเยอทะยานส่วนตัว การเชิดชูบคุ คลหรือรัฐ ว่าด้วยความสร้างสรรค์
69
เกิดอาการ “เบิกบานยินดี” หรือรูส้ กึ พึงพอใจกับงานของตน อะไรท�ำนอง นี้ แม้แรงขับเคลือ่ นทีว่ า่ อาจก่อให้เกิดความสว่างวาบของการหยัง่ รูภ้ ายใน บ้างเป็นบางครัง้ แต่เห็นได้ชดั ว่ามันมักเหนีย่ วรัง้ ดวงจิตให้เป็นแค่นกั โทษ ของโครงสร้างความคิดและการรับรู้แบบเก่าที่คุ้นเคย ที่จริงแล้ว เพียงแค่ สืบค้นเข้าไปสู่สิ่งไม่รู้ก็จะน�ำเราเข้าสู่สถานการณ์ที่ทุกสิ่งที่ท�ำลงไปอาจ กลายเป็นสิง่ คุกคามต่อการบรรลุความส�ำเร็จในเป้าหมายอันคับแคบและ จ�ำกัดเหล่านั้น ขั้นตอนใหม่เอี่ยมที่ยังไม่เคยลองพยายามจึงอาจล้มเหลว อย่างสิ้นเชิง หรือไม่เช่นนั้น ต่อให้ประสบความส�ำเร็จ แนวคิดนั้นก็จะยัง ไม่ได้รับการยอมรับจนกว่าคนผู้นั้นจะตายไปแล้ว นอกจากนี้ เป้าหมายเช่นทีว่ า่ ยังไม่สอดคล้องกับความกลมเกลียว ความงาม และองค์รวมอันเป็นลักษณะของความสร้างสรรค์ที่แท้จริง ด้วย สถาปนิกย่อมเข้าใจว่าแรงขับเคลือ่ นอันต�ำ่ ทรามและจ�ำกัดของคนที่ อยากสร้างตึกให้ส�ำเร็จนั้นย่อมน�ำไปสู่เมืองที่ยากจะใช้ชีวิตอยู่ได้ เพราะ มันเต็มไปด้วยระเบียบที่ขัดแย้งกันของลีลาความเคลื่อนไหวอันขัดแย้ง ของการจราจรรวมถึงระเบียบอันเสื่อมสลายของชุมชนแออัด เพราะการ ออกแบบและโครงสร้างโดยรวมนี้อย่างดีที่สุดก็เป็นได้แค่ของพื้นๆ แต่ อย่างร้ายที่สุดจะน่ารังเกียจเหลือแสน บางสิ่งที่คล้ายกันนี้ก็ได้ผนวกรวม อยู่ในกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ศิลปะ การศึกษา หรืออะไรก็ตามของ มนุษย์ทั้งปวงด้วย เรื่องท�ำนองนี้ย่อมไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ เพราะเมื่อคนแต่ละคนใน แต่ละกลุม่ แสดงออกด้วยระเบียบเฉพาะทีจ่ งใจไม่ขนึ้ แก่กนั มันจะเป็นอืน่ ใดไปได้เล่านอกจากระเบียบเหล่านีจ้ ะปะทะและขัดแย้งกัน (ตัวอย่างเช่น ให้นึกถึงการปะทะกันของการจราจรตรงสี่แยกที่ไม่มีไฟสัญญาณ หรือ การที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งถูกท�ำลายโดยมะเร็ง ซึ่งเซลล์แบ่งตัวโดยไม่ตระหนัก ว่าด้วยความสร้างสรรค์
70
ถึงระเบียบโดยรวมของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ) ระเบียบที่ปะทะและขัดแย้งกัน อย่างโกลาหลคล้ายคลึงกันนี้ส�ำแดงให้เห็นไม่เพียงในชีวิตประจ�ำวันและ ในองค์กรทางสังคมทั่วไปของเราเท่านั้น แต่ยังปรากฏในความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศด้วย ซึง่ ในปัจจุบนั นีค้ กุ คามทุกประเทศด้วยการท�ำลายล้าง เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงเห็นได้ชัดว่าบุคลิกแบบกลไกที่ไม่สร้างสรรค์ใน กิจกรรมส่วนใหญ่ของมนุษย์ อย่างน้อยที่สุดย่อมน�ำไปสู่สิ่งที่อาจเรียก ได้ว่า “ความยุ่งเหยิงทั่วไป” บางทีในอดีตมันอาจดูมีเหตุผลส�ำหรับคน จ�ำนวนไม่น้อยที่จะหวังว่า ผลลัพธ์สุทธิของระเบียบเชิงกลไกที่ขัดแย้งกัน นับไม่ถ้วนเหล่านี้ในระยะยาวแล้วจะน�ำไปสู่ความก้าวหน้าได้ ท�ำให้เกิด ความกลมเกลียวและความสุขที่ยิ่งใหญ่ขึ้น แต่ในระยะหลัง พัฒนาการ ของสังคมที่เป็นไปอย่างแท้จริงนั้นท�ำให้ยากยิ่งที่จะเชื่อได้ว่าจะเกิดอะไร อืน่ ผุดขึน้ มาจากกระบวนการนี้ นอกจากการท�ำลายล้างครัง้ ใหญ่ ทัง้ ทาง กายและทางจิตใจ ถ้าหากมันยังด�ำเนินไปโดยไม่หยุดยั้ง อย่างไรก็ตาม “ความยุ่งเหยิงทั่วไป” นี้ ไม่ใช่สิ่งใหม่เสียทีเดียว ข้อเท็จจริงก็คือ เป็นเวลานานมาแล้วที่ผู้คนเป็นอันมากได้ตระหนักว่า ระเบียบของสังคมไม่ใช่ระเบียบที่ดีงามอย่างแท้จริง โดยเนื้อแท้แล้ว ตลอดประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา มีปัจเจกชนเป็นอันมากในแต่ละช่วง เวลา ได้พยายามริเริ่มระเบียบใหม่ที่ดีกว่าด้วยวิธีใช้ความรุนแรงตาม แนวอุดมการณ์บางอย่าง เพื่อก่อให้เกิดสภาวะสร้างสรรค์แห่งความกลม เกลียวของสังคมขึ้น แต่หลายๆ เหตุการณ์ได้พิสูจน์ว่าสิ่งนี้ไม่ได้ผลดัง คาดหมาย เหตุผลก็คือ แนวคิดที่ยอมรับกันว่าเป็นการสร้างความกลม เกลียวขึน้ ในสังคมนัน้ แท้จริงก็เป็นเพียงแค่กลไกและไร้เหตุผลเหมือนกับ สภาวะโกลาหลของระเบียบทีข่ ดั แย้งกันซึง่ ตัวมันตัง้ เป้าจะก�ำจัดนัน่ เอง สิง่ นีโ้ ดยเนือ้ แท้แล้วคือข้อบกพร่องพืน้ ฐานของความรุนแรงทุกรูปแบบ เพราะ ว่าด้วยความสร้างสรรค์
71
ความรุนแรงนัน้ มักเป็นเรือ่ งกลไกอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้เสมอ ด้วยเหตุนเี้ อง ความรุนแรงจึงเป็นเพียงการน�ำรูปแบบของการปะทะและขัดแย้งใหม่ เข้ามาแทนที่อันเก่า ซึ่งในหลายกรณีนั้นอันตรายและท�ำลายล้างมากยิ่ง กว่าเก่าเสียอีก ความปรารถนาในอ�ำนาจเพื่อเอื้อให้ใครคนหนึ่งสามารถ ครอบง�ำสังคมตามความคิดของตนเองด้วยวิธีที่รุนแรงนั้น จึงมีพื้นฐาน อยู่บนภาพลวงตาที่ไร้ความหมาย สิ่งที่จ�ำเป็นในการสร้างระเบียบใหม่ที่จริงแท้ไม่ว่าในสาขาไหน (ไม่ใช่แค่ความต่อเนือ่ งเชิงกลไกในการดัดแปลงรูปแบบของระเบียบทีแ่ ตก กระจายเป็นเศษเสี้ยวและขัดแย้งกันเท่านั้น) คือสภาวะจิตที่ช่างสังเกต สังกาอย่างต่อเนือ่ งไม่หยุดยัง้ ในข้อเท็จจริงของระเบียบทีแ่ ท้ของสิง่ ซึง่ คน ผูน้ นั้ ก�ำลังกระท�ำอยู่ หาไม่ ความพยายามของเราก็ยอ่ มพินาศล้มเหลวได้ เพราะระเบียบของสิง่ ทีท่ ำ� จะไม่ตอบสนองกับธรรมชาติทแี่ ท้จริงของสรรพ สิ่ง และสิ่งนี้จะก่อให้เกิดความขัดแย้งบางอย่างขึ้นมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ ได้ แท้จริงแล้ว ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ที่แท้จริงที่มนุษย์จะ สามารถก่อให้เกิดขึ้นมาได้ ไม่ว่าจะในธรรมชาติหรือในสังคม เว้นแต่เขา จะอยูใ่ นสภาวะจิตทีส่ ร้างสรรค์ อันเป็นจิตทีส่ มั ผัสรับรูไ้ ด้ถงึ ความแตกต่าง ที่ด�ำรงอยู่ระหว่างข้อเท็จจริงที่เราแลเห็นกับแนวคิดใดๆ ที่เรามีอยู่ ไม่ว่า แนวคิดที่เรามีอยู่นั้นจะแลดูสูงส่ง งดงาม และยิ่งใหญ่มากแค่ไหนก็ตาม เราได้เห็นแล้วว่าสังคมตกอยู่ในภาวะแห่งความยุ่งเหยิง ซึ่งเป็น ผลของความขัดแย้งของระเบียบเชิงกลไกที่แตกแยกและพลการอันเกิด จากการกระท�ำที่มุ่งมั่นจะแยกขาดเป็นอิสระ ความพยายามใดๆ ที่จะ ก�ำหนดระเบียบโดยรวมทั้งหมดลงไปใน “ความยุ่งเหยิง” นี้ จะยิ่งท�ำให้ ย�่ำแย่ลงกว่าเดิม แล้วจะท�ำอย่างไรเล่า ประการแรก ข้าพเจ้าขอเสนอ ว่าความพยายามจะแก้ไขปัญหาสังคมเป็นอันดับแรกนั้นเป็นวิธีการที่ผิด ว่าด้วยความสร้างสรรค์
72
พลาด ทว่าทางออกกลับอยู่ในสภาวะจิตของปัจเจกบุคคล เพราะตราบ เท่าที่ปัจเจกไม่สามารถเรียนรู้จากสิ่งที่เขาท�ำและเห็น เมื่อไรก็ตามที่การ เรียนรูด้ งั กล่าวไม่ชว่ ยให้เขาออกไปนอกกรอบคิดเดิม ทีส่ ดุ แล้วการกระท�ำ ของเขาก็ยังถูกก�ำกับด้วยความคิดที่ไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่เป็น การกระท�ำเช่นนัน้ ก็ยงิ่ กว่าไร้ประโยชน์ และไม่สามารถก่อเกิดวิธแี ก้ปญ ั หา ของปัจเจกและของสังคมที่แท้จริงขึ้นมาได้ ดังนั้น โดยพื้นฐานแล้ว ระเบียบที่ผิดพลาดของการกระท�ำมนุษย์ ที่ส่งผลต่อความยุ่งยากพื้นฐานของเรา จึงมาจากข้อเท็จจริงที่ว่า เรามัก ท�ำอะไรแบบกลไกในขณะทีส่ งิ่ จ�ำเป็นแท้จริงคือความสร้างสรรค์ แน่นอน การกระท�ำที่มีระเบียบเชิงกลไกนั้นมีที่ทางที่เหมาะสมของมัน ท�ำให้เรา ต้องมีแบบแผนมากมายที่ตกลงกันไว้ก่อน (เช่นการขับรถบนถนนด้าน เดียวกัน) ซึ่งเป็นกลไกที่จ�ำเป็น ยิ่งกว่านั้น เครื่องจักรของเราจะต้องท�ำ หน้าที่ตามระเบียบที่ได้ระบุไว้เป็นอย่างดี ไม่อย่างนั้นมันก็จะเสีย แต่ เมื่อเราพยายามจะน�ำระเบียบเชิงกลไกเข้ามาท�ำหน้าที่เกี่ยวกับจิตใจโดย รวม เราก็ก�ำลังยืดขยายระเบียบนี้ไปเหนือขอบข่ายที่เหมาะสมของมัน ตัวอย่างเช่น เมื่อพ่อแม่ไม่พึงใจจะบอกลูกว่าให้ประพฤติตัวอย่างไร (ซึ่ง โดยทัว่ ไปเป็นเรือ่ งสมเหตุสมผลทีจ่ ะท�ำ) แต่กลับบอกเขาว่าเขาควรจะเป็น คนประเภทไหน (เช่นที่เคี่ยวเข็ญกันว่า “ต้องเป็นเด็กดี!”) นั่นบ่งเป็นนัย ถึงความพยายามทีจ่ ะปลูกฝังรูปแบบเชิงกลไกลงไปในระเบียบโดยรวมใน ระดับลึกซึ่งความคิดจิตใจท�ำงานอยู่ ความพยายามแบบเดียวกันนี้ก็เกิด ขึ้นเช่นกันเมื่อเด็กถูกสอนว่าเขาควรคิดอย่างไร (บนพื้นฐานของอ�ำนาจ เพือ่ ให้เด็กรับความคิดเห็นบางอย่างว่าเป็นสิง่ ที่ “ถูกต้องเหมาะสม”) และ เขาควรรู้สึกอย่างไร (รักพ่อแม่และเกลียดศัตรูของประเทศ) เพราะจิตใจ ไม่ใช่กลไก จริงๆ แล้วมันจึงไม่อาจรับระเบียบแบบนัน้ ดังนัน้ เด็กทีเ่ รียน ว่าด้วยความสร้างสรรค์
73
รู้ที่จะเชื่อฟังแบบกลไกจึงอดไม่ได้ที่จะเกิดความรู้สึกก้าวร้าวอยู่ภายใน ต่อคนที่เขาควรจะรัก เด็กที่เรียนรู้ที่จะก้าวร้าวเชิงกลไกและครอบง�ำนั้น ย่อมช่วยไม่ได้ท่ีจะรู้สึกโดดเดี่ยวและตื่นตระหนกเมื่อคนที่เขาพยายาม จะครอบง�ำไม่ยอมรักเขา หากเรานึกถึงแนวคิดเรื่องระเบียบที่เราคุยกันมาก่อนหน้านี้ เรา อาจพูดได้ว่า (เช่นเดียวกับกระบวนการของธรรมชาติ) โดยพื้นฐานแล้ว ระเบียบของจิตก็คือระเบียบอันไม่รู้จบที่มักจะวิวัฒน์ไปสู่ระเบียบใหม่ๆ เสมอ ดังนัน้ จึงพัฒนาล�ำดับชัน้ ทีป่ ระกอบไปด้วยโครงสร้างประเภทใหม่ๆ ในอีกด้านหนึง่ ระเบียบเชิงกลไกทุกแบบนัน้ มีขอ้ จ�ำกัดบางอย่าง มันจึงไม่ สามารถตอบสนองอย่างเหมาะสมต่อสิ่งที่ใหม่และสร้างสรรค์ ด้วยเหตุนี้ ความพยายามใดๆ ที่จะก�ำหนดระเบียบเชิงกลไกลงไปในจิตใจจะน�ำไป สู่ผลที่ไม่อาจคาดคิด เป็นผลที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาที่ไม่อาจคาดเดาซึ่งขัด แย้งกับระเบียบที่เราต้องการจะก�ำหนด ดังนั้น แนวคิดเชิงกลไกนั้นต้อง จ�ำกัดอยูก่ บั การใช้งานในขอบข่ายจ�ำกัด ซึง่ สามารถท�ำงานเชิงนามธรรม ได้อย่างถูกต้องในบางระดับเท่านัน้ แต่โดยทัว่ ไปแล้ว ไม่วา่ เราจะรับมือกับ จิตใจหรือกับธรรมชาติภายนอกในแง่มมุ ทีก่ ว้างขึน้ เราจ�ำเป็นต้องเตรียม พร้อมทุกขณะในการเรียนรู้บางสิ่งซึ่งอาจเป็นเรื่องใหม่โดยพื้นฐาน สิ่งนี้ จะเป็นไปได้เพียงเมือ่ จิตใจนัน้ สดใหม่และสร้างสรรค์ แทนทีจ่ ะเป็นความ คิดแบบพื้นๆ และเป็นกลไก ถ้าใครละเอียดอ่อนและช่างสังเกตจริงๆ เขาจะรับรู้ได้ว่าจิตใจ กระท�ำการด้วยระเบียบทีผ่ ดิ พลาด เมือ่ มันพยายามจะด�ำเนินตามรูปแบบ เชิงกลไกที่มีอยู่เพื่อไปสู่สิ่งที่ลึกขึ้น อย่างเช่นเราเป็นคนแบบไหน เราควร รูส้ กึ และคิดอย่างไร อะไรท�ำนองนี้ เห็นได้ชดั ว่า เมือ่ ถึงตรงนี้ จิตใจจะอยู่ ในสภาวะขัดแย้ง เพราะส่วนหนึ่งคิดว่าเราไม่ควรท�ำเช่นนั้น ข้อเท็จจริงก็ ว่าด้วยความสร้างสรรค์
74
คือ ทัง้ สองส่วนประกอบด้วยระเบียบในการท�ำงานแบบแตกแยกและเป็น กลไกซึง่ ขัดแย้งกัน ในแง่ทวี่ า่ มันไม่สามารถอยูร่ ว่ มกันได้ บางคนอาจรูส้ กึ ได้ถึงระเบียบแห่งความขัดแย้งนี้ ซึ่งอาจรับรู้ได้ในฐานะที่เป็นความทุกข์ เพราะมีความปรารถนาและแรงกระตุน้ อันแรงกล้าทีฉ่ ดุ ดึงเขาไปในทิศทาง ตรงกันข้ามในขณะเดียวกัน สิ่งที่จ�ำเป็นต้องมีในความขัดแย้งเช่นนี้ก็คือ จิตจะต้องเห็นความ ไม่สอดคล้องของรูปแบบเชิงกลไกทั้งหมดในฐานะสิ่งที่เราควรเป็น หรือ คิด หรือรู้สึก ที่จริงแล้ว ความไม่สอดคล้องกลมกลืนที่ผุดขึ้นอย่างหลีก เลี่ยงไม่ได้จากการพยายามจะก�ำหนดหรือด�ำเนินตามรูปแบบเช่นนั้น จะมาถึงจุดยุติได้ก็ต่อเมื่อมีการตอบสนองเชิงสร้างสรรค์ของจิตเท่านั้น จากชั่วขณะหนึ่งถึงอีกชั่วขณะหนึ่ง มีเพียงสิ่งนี้เท่านั้นจึงจะสามารถก่อ ก�ำเนิดองค์รวมที่ถูกจัดระเบียบอย่างกลมกลืนขึ้นในจิตใจ แทนที่จะเป็น โครงสร้างของส่วนย่อยที่ขัดแย้งกัน แต่เพราะความขัดแย้งนั้นโดยทั่วไป มักเจ็บปวดมาก จิตจึงพยายามหนีจากการตระหนักรู้ถึงสิ่งที่เกิดขึ้นก่อน ทีม่ นั จะมีโอกาสได้ตอบสนองในรูปแบบนี้ ดังนีม้ นั จึงสร้างสภาวะสับสนขึน้ แน่นอน มีความสับสนแบบง่ายๆ อยูช่ นิดหนึง่ ซึง่ มักจะเกิดขึน้ เมือ่ ใดก็ตามที่เราพบกับข้อเท็จจริงและการรับรู้ใหม่ๆ ที่ซับซ้อน ปกติแล้ว ต้องใช้เวลาเพื่อให้ทั้งหมดนี้ได้เกิดการ “แยกแยะ” ในช่วงนี้ เป็นเวลา เหมาะสมทีค่ วามตัง้ ใจอย่างสุดจิตสุดใจของเราจะบรรลุถงึ การรับรูอ้ นั แจ่ม ชัดของสิ่งที่เคย “ยุ่งเหยิง” ก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม เมื่อจิตพยายามจะ หลีกหนีจากการตระหนักรู้ถึงความขัดแย้ง จะเกิดความสับสนที่แตกต่าง กันมากซึง่ เรียกว่าความสับสนในการพยุงตัวตน ซึง่ เป็นความตัง้ ใจในส่วน ลึกของเราในการหลีกเลีย่ งทีจ่ ะรับรูถ้ งึ ความจริง แทนทีจ่ ะจ�ำแนกแยกแยะ และท�ำให้มันแจ่มชัดขึ้น ว่าด้วยความสร้างสรรค์
75
เมื่อใดก็ตามที่สิ่งนี้เกิดขึ้น เรามักกล่าวว่าจิตอยู่ในภาวะ “ไร้ ระเบียบ” แต่ที่จริงแล้วอาจมองได้ว่าจิตก�ำลังเดินตามระเบียบที่ดีแต่ท�ำ หน้าที่ผิด (ตัวอย่างเช่น เหมือนกับการท�ำงานของอวัยวะย่อยอาหารที่ ปล่อยให้อาหารหมักบูดแทนทีจ่ ะดูดซึมเข้าไปในกระแสเลือดในรูปแบบที่ เหมาะสม) เนื้อแท้ของระเบียบที่ผิดพลาดคือทุกครั้งที่จิตพยายามจะเพ่ง ดูความขัดแย้ง มันจะ “กระโดด” ไปยังสิ่งอื่นแทน มันเพียงแต่ไม่ยอมอยู่ กับที่ ถ้าไม่เอาแต่โผจากสิง่ หนึง่ ไปยังอีกสิง่ หนึง่ มันก็ตอบสนองด้วยความ ตืน่ ตระหนก จนท�ำให้หนั ไปสนใจแต่กบั สิง่ เล็กน้อยแทน หรือไม่กต็ าย ทือ่ หรือด้านชา หรือสร้างเรือ่ งเพ้อฝันขึน้ มาปกปิดความขัดแย้ง หรือท�ำสิง่ อืน่ ทีช่ ว่ ยให้ไม่ตอ้ งตระหนักถึงภาวะเจ็บปวดจากความขัดแย้งทีจ่ ติ ต้องเผชิญ อยูไ่ ปชัว่ คราว ระเบียบของความสับสนแบบพยุงตัวตนนีม้ กั แพร่ไปยังด้าน อื่นๆ แล้วในที่สุดองค์รวมของจิตก็จะเสื่อมถอยลง เมือ่ กระบวนการเสือ่ มถอยทัว่ ไปในระเบียบการท�ำงานของจิตมาถึง จุดหนึง่ ก็อาจพูดได้วา่ ความขัดแย้งของคนคนหนึง่ ท�ำให้เขาเป็นประสาท ถึงตอนนัน้ ทุกคนจะตระหนักว่ามีอะไรบางอย่างผิดพลาดอยูล่ กึ ๆ กับการ ท�ำงานของจิตของคนผู้นั้น อย่างไรก็ตาม จากการสังเกตอย่างใกล้ชิดได้ แสดงให้เห็นถึงสภาวะความขัดแย้งที่คล้ายคลึงกันโดยพื้นฐานเมื่อมันถูก ครอบง�ำอยูด่ ว้ ยความสับสนแบบพยุงตัวตน มันจะปรากฏออกในสิง่ ทีเ่ รียก กันทัว่ ไปว่าเป็นสภาวะจิต “ปกติ” คือความขัดแย้งและสับสนในจิตใจของ เราแต่ละคนที่ได้สร้างความ “ยุ่งเหยิง” ขึ้น ซึ่งทั้งปัจเจกและสังคมก�ำลัง เป็นกันอยู่ พูดอีกอย่างหนึง่ “ความยุง่ เหยิงภายนอก” โดยหลักๆ แล้วเป็น ผลมาจาก “ความยุ่งเหยิงภายใน” (แม้แน่นอนว่าจะมีการกระท�ำทุติยภูมซิ งึ่ ความขัดแย้งภายนอกเองเข้ามาก่อให้เกิดความขัดแย้งภายในด้วย) ดังนั้นจึงเปล่าประโยชน์ส�ำหรับคนที่จิตของพวกเขาอยู่ในภาวะ ว่าด้วยความสร้างสรรค์
76
สับสนหลีกหนีการตระหนักรูถ้ งึ การปะทะกันของระเบียบทีข่ ดั แย้งภายใน ในอันทีจ่ ะสร้างสรรค์ทงั้ ชีวติ ทีก่ ลมกลืนของปัจเจกหรือระเบียบของสังคม ที่กลมกลืนโดยรวม เว้นเสียแต่ว่าจิตจะเข้าถึงบูรณภาพที่ไม่แบ่งแยกเสีย ก่อน เพื่อที่จิตจะได้ไม่พยายามหลีกเลี่ยงการตระหนักถึงความขัดแย้ง อันไม่พึงปรารถนาของธรรมชาติพื้นฐาน ปัญหาของทั้งปัจเจกและสังคม ไม่สามารถท�ำอะไรได้มากไปกว่าพัฒนาไปตามการปะทะกันของแรงตรง ข้ามทีเ่ กิดจากปฏิกริ ยิ าเชิงกลไกลทีส่ บั สนของเรา ทีจ่ ริงแล้ว อาจกล่าวได้ ว่า ในระยะยาวแล้ว ไม่มีปัญหาใดที่ละเอียด ลึกซึ้ง และเอื้อมไม่ถึงซึ่งจะ สามารถแก้ไขได้เลยไม่ว่าด้านใดก็ตาม ยกเว้นจะแก้ไขจากคนที่สามารถ ตอบสนองด้วยวิธีที่สร้างสรรค์และแปลกใหม่ ต่อข้อเท็จจริงโดยรวมซึ่ง ผันแปรรุดหน้าไปดังที่พวกเขาก�ำลังเผชิญอยู่ เราจึงมาถึงจุดทีแ่ ลเห็นว่าค�ำถามเรือ่ งการตระหนักรูอ้ ย่างแจ่มชัด ในความแตกต่างระหว่างบุคลิกที่สร้างสรรค์และบุคลิกเชิงกลไกในการ ตอบสนองของมนุษย์นั้น ไปไกลเกินขอบเขตอันจ�ำกัด อย่างเช่นศิลปะ วิทยาศาสตร์ และอื่นๆ ทว่ามันกลับกินความถึงมวลมนุษยชาติทั้งหมด สิ่งที่ต้องการก็คือคุณสมบัติในความสร้างสรรค์ทั่วไปของการใช้ชีวิตใน ทุกพื้นที่ของกิจกรรมมนุษย์ แต่เราจะบรรลุสิ่งนี้ได้อย่างไรเล่า หากว่าเรา มักถูกก�ำหนดด้วยเงือ่ นไขให้มคี วามคิดเชิงกลไกและคิดอะไรพืน้ ๆ เราจะ ทะลุออกจากเงื่อนไขเหล่านี้ได้อย่างไร ดูเหมือนว่า คนแต่ละคนจะต้องค้นหาว่าอะไรคือความหมายของ การเป็นผูร้ เิ ริม่ และสร้างสรรค์ นอกจากนี้ เมือ่ พูดโดยทัว่ ไปแล้ว คุณสมบัติ แบบเด็กๆ ที่สดใหม่ และทุ่มเทความสนใจเต็มที่นั้น ไม่ได้ตายจากไปจน หมดสิ้นจากพวกเราทุกคน มันผลิขึ้นมาแล้วก็สูญหายไปในความสับสน ดุจดังความสนใจอันเก่าทัง้ ปวง รวมถึงความกลัว ความปรารถนา เป้าหมาย ว่าด้วยความสร้างสรรค์
77
ความมั่นคง ความส�ำราญ และความเจ็บปวดที่ผุดขึ้นมาจากอดีต สิ่ง เหล่านี้บิดเบือนความสดกระจ่างของจิตเข้าสู่วิถีแบบกลไก ดังนั้นความ สามารถในการริเริ่มและสร้างสรรค์จึงถูกท�ำให้ตายลงและค่อยๆ “หลับ ใหล” ผลก็คือ ความสามารถอันแยบยลในการริเริ่มและสร้างสรรค์จะฝ่อ ลง จนถึงขั้นอ่อนล้าและเฉื่อยชาไปสิ้น เรื่องนี้ท�ำให้ข้าพเจ้านึกขึ้นได้ถึงสิ่งที่เคยเกิดขึ้นเมื่อข้าพเจ้าขี่ม้า เป็นครั้งแรกเมื่อหลายปีก่อน ชายผู้ให้เช่าม้าบอกข้าพเจ้าว่า “คุณต้องคิด ให้เร็วกว่าม้า ไม่อย่างนั้นคุณจะไปตามที่ม้าพาไป” นี่ท�ำให้ข้าพเจ้าเกิด ความประทับใจลึกซึ้ง เพราะเป็นค�ำพูดที่มีสัจจะส�ำคัญ นั่นคือกระบวน การใดๆ ก็ตามจะสามารถถูกสั่งการได้เพียงจากการแทรกแซงของ ระเบียบของกระบวนการที่เร็วกว่า ละเอียดอ่อนกว่า และแนบเนียนกว่า ดังนัน้ ผูข้ มี่ า้ จึงสามารถเปลีย่ นระเบียบการเคลือ่ นทีข่ องม้าได้ดว้ ยการดึง เชือกบังเหียนเพียงเล็กน้อย เช่นเดียวกัน การกระท�ำทีร่ เิ ริม่ และสร้างสรรค์ ของจิตก็อาจก�ำกับหน้าทีเ่ ชิงกลไกด้วยวิธเี ดียวกัน เพราะมันอาจแลเห็นถึง กลไกนั้นล่วงหน้าก่อนที่มันจะเริ่มมีพลังฉุดดึงไปในทิศทางนั้น แต่ถึงตรงนี้ ให้ลองจินตนาการว่าการขี่ม้าเชิงกลไกได้ท�ำให้ผู้ขี่ หลับ ในบางครั้ง ผู้ขี่ก็ตื่นขึ้นและตระหนกที่ได้เห็นว่าม้าพาเขาไปไหน ดังนัน้ เขาจึงเปลีย่ นทิศทางของม้าเสีย แต่ในไม่ชา้ การขีม่ า้ ก็ทำ� ให้เขาหลับ อีกครัง้ เป็นไปได้วา่ ม้าเองก็เริม่ เป็นกังวลว่ามันจะหาทางกลับสูค่ อกได้ไหม ม้าจึงคิดว่าควรจะปลุกผู้ขับขี่ แต่แรกสุดม้าต้องแน่ใจก่อนว่าผู้ขับขี่จะพา มันกลับเข้าคอก แล้วจะได้กินอาหารดีๆ และพักผ่อนสบายๆ แต่เพราะ การคิดของม้าไม่สอดคล้องกับผู้ขี่ ม้าจึงลังเลไม่อยากปลุกผู้ขี่ ซึ่งอาจพา ม้าไปยังจุดหมายอื่นที่แตกต่างออกไปอย่างสิ้นเชิง
ว่าด้วยความสร้างสรรค์
78
เช่นเดียวกัน ปฏิกิริยาเชิงกลไกของจิตในที่สุดก็จะน�ำไปสู่ความ คิดว่า “ฉันต้องการการตอบสนองที่สร้างสรรค์เพื่อพาฉันออกจากความ ยุ่งเหยิงนี้” แต่แล้วก็มีความคิดเชิงกลไกเกิดขึ้นอีก “ถ้าฉันได้ความคิด ริเริ่ม ฉันอาจท�ำผิด ผู้คนจะประณามฉัน ฉันอาจเสียงานที่ปลอดภัยและ สบาย” หรืออะไรก็ตามทีอ่ าจเป็นไปได้ ดังนัน้ ท้ายทีส่ ดุ ปฏิกริ ยิ าเชิงกลไก จึงไม่สามารถเข้ามาแทรกแซงได้อย่างจริงจังในการปลุกจิตให้ลงมือ กระท�ำอย่างสร้างสรรค์ เป็นไปได้ไหมที่การกระท�ำอันสร้างสรรค์ของจิตจะถูกปลุกขึ้น มาด้วยวิธีใดๆ ก็ตาม ในความเห็นของข้าพเจ้า สิ่งนี้สามารถเกิดขึ้นได้ เพียงจากการตอบสนองทีส่ ร้างสรรค์ของจิตเองเท่านัน้ ในโอกาสเหล่านัน้ จิตอาจเริ่มตื่นขึ้น มันเป็นเหมือนผู้ขับขี่ เมื่อเขาถูกเขย่าให้หลุดออกจาก สภาวะการหลับใหลอันแสนสุข เริ่มตระหนักถึงการตอบสนองเชิงกลไกที่ พาเขากลับไปสู่การหลับใหลใหม่ บางทีด้วยเหตุนี้เขาอาจตื่นขึ้นได้อย่าง แท้จริง ในท�ำนองเดียวกัน ถ้าใครคนหนึ่งจริงจังกับการริเริ่มสร้างสรรค์ จ�ำเป็นส�ำหรับทีเ่ ขาจะต้องริเริม่ และสร้างสรรค์เกีย่ วกับปฏิกริ ยิ าทีท่ ำ� ให้เขา เกิดความธรรมดาสามัญและเป็นกลไก แล้วในท้ายทีส่ ดุ การกระท�ำอย่าง สร้างสรรค์ตามธรรมชาติของจิตก็อาจตืน่ ขึน้ มาเต็มตัว เพือ่ จะเริม่ ท�ำงาน ด้วยระเบียบพืน้ ฐานใหม่ซงึ่ ไม่ถกู ก�ำหนดโดยแง่มมุ ความคิดแบบกลไกอีก ในการเน้นย�้ำถึงความจ�ำเป็นของปัจเจกแต่ละคนที่จะตระหนัก ถึงศักยภาพอันสร้างสรรค์ของจิตมนุษย์ ข้าพเจ้าไม่ได้ต้องการจะเสนอ ว่านี่เป็นเพียงสิ่งที่ข้าพเจ้า (หรือคนอื่นๆ) ปรารถนาให้เกิดขึ้น หรือสิ่งที่ ข้าพเจ้าคิดจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมหรือตัวปัจเจก ทว่า ส�ำหรับข้าพเจ้า แล้ว มันเหมือนสุขภาพของร่างกายเป็นตัวสั่งการให้เราหายใจอย่างถูก ต้อง ดังนัน้ ไม่วา่ เราจะชอบหรือไม่กต็ าม สุขภาวะทางจิตก็ตอ้ งการให้เรา ว่าด้วยความสร้างสรรค์
79
สร้างสรรค์ กล่าวคือ การกระท�ำเชิงกลไกของจิตไม่ใช่เรื่องถูกต้อง และ นีค่ อื เหตุผลทีเ่ รามักล้มเหลวเสมอเมือ่ ไหร่กต็ ามทีเ่ ราพยายามจะท�ำอย่าง เป็นกลไก ผลลัพธ์สดุ ท้ายคือความไม่พึงพอใจ ความสับสนเจ็บปวด และ ขัดแย้ง ซึ่งถูกปกปิดอยู่ด้วยความสนับสนุนของการพยุงตัวตน ซึ่งท�ำให้ จิต “กระโดด” อย่างต่อเนื่องระหว่างระเบียบในการท�ำงานต่างๆ ที่ไม่ สอดคล้องกัน สภาวะนี้ไม่เพียงไม่สร้างสรรค์ แต่จริงๆ แล้วยังห่างไกล จากระเบียบอันจ�ำกัดของเครื่องจักรดีๆ ด้วยซ�้ำ แต่แน่นอน การปลุกสภาวะสร้างสรรค์ของจิตไม่ใช่เรื่องง่าย ตรง กันข้าม มันเป็นหนึง่ ในเรือ่ งยากทีส่ ดุ เท่าทีเ่ ป็นไปได้ดว้ ยซ�ำ้ อย่างไรก็ตาม ด้วยเหตุผลทีข่ า้ พเจ้าได้ให้ไว้ ข้าพเจ้ารูส้ กึ ว่ามันคือสิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ ทีจ่ ะต้อง ลงมือท�ำส�ำหรับเราแต่ละคนทั้งโดยปัจเจกภาพและสังคมโดยรวม โดย เฉพาะในสภาพแวดล้อมทีม่ นุษยชาติกำ� ลังเป็นอยูใ่ นปัจจุบนั และทางออก ก็เป็นดังทีข่ า้ พเจ้าได้ชไี้ ว้ คือตระหนักและตืน่ ตัวต่อปฏิกริ ยิ าเชิงกลไกอย่าง ต่อเนื่อง อันเป็นปฏิกิริยาที่ท�ำให้เรา “หลับใหล” ซ�้ำแล้วซ�้ำเล่า แล้วปฏิกิริยาเหล่านี้คืออะไร นี่เป็นค�ำถามที่ซับซ้อนเกินกว่าจะลง รายละเอียดในทีน่ ี้ แต่โดยคร่าวๆ แล้ว กล่าวได้วา่ รากเหง้าของปัญหาอยู่ ในความสับสนระหว่างสิ่งที่สร้างสรรค์จริงๆ และความต่อเนื่องเชิงกลไก อันเป็นผลของเงื่อนไขในอดีต ตัวอย่างเช่น แต่ละคนจะสังเกตได้ (ไม่ว่า จะรู้อยู่ภายในหรือแสดงออกมา) ว่าตัวเขานั้นให้คุณค่าและความส�ำคัญ ใหญ่หลวงกับความสะดวกสบาย ส�ำราญใจ และความรู้สึก “ซาบซ่าน” ของชีวติ ตามกิจวัตรทีใ่ ห้ทงั้ ความตืน่ เต้น สบาย มัน่ คง และพึงพอใจ รวม ถึงการกระท�ำที่จ�ำเป็นต่อความรู้สึกว่าตนได้รับการยอมรับและมีคุณค่า และการตอบสนองทางจิตแบบอื่นๆ ซึ่งให้ความรู้สึกว่าเกิด ความสลัก ส�ำคัญทางจิตในระดับสูงสุด ที่จริงแล้ว การตอบสนองดังกล่าวบ่อยครั้ง ว่าด้วยความสร้างสรรค์
80
ดูจะเป็นเรื่องพื้นฐานทางจิตที่เราคิดว่าตนจะไม่ยอมถูกบั่นทอน ยิ่งกว่า นัน้ ยังปรากฏบ่อยครัง้ ว่า สิง่ เหล่านีค้ อื ส่วนหนึง่ ทีไ่ ม่อาจแยกขาดออกจาก ความเป็น “ตัวตน” ของเรา ดังนั้นความเป็นไปได้เชิงสร้างสรรค์ของจิต จึงขึน้ อยูก่ บั การมองให้มนั่ ใจเสียก่อนว่ามันเป็นไปอย่างเหมาะสม (เหมือน การกระท�ำทางกายของเราล้วนขึ้นอยู่กับการได้มาซึ่งอาหารที่เหมาะสม อย่างพอเพียง) อย่างไรก็ตาม ถ้าสังเกตให้ละเอียดขึน้ จะเห็นว่า ความต่อ เนื่องของการตอบสนองเหล่านี้ไม่จ�ำเป็นต้องน�ำมาซึ่งความสุขและความ สร้างสรรค์เสมอไป ตรงกันข้าม จริงๆ แล้วมันไม่ใช่อะไรอื่นนอกจากผล เชิงกลไกของเงือ่ นไขในอดีต และทีจ่ ริงคืออุปสรรคหลักของความรืน่ รมย์ และความสร้างสรรค์ที่แท้จริงด้วย ถึงตรงนี้ เราจะค้นพบถ้าสังเกตดูตวั เองและคนอืน่ ๆ อย่างละเอียดลออสักพักหนึ่ง ข้อเท็จจริงก็คือ จิตนั้นไม่อาจเป็นอื่นไปได้นอกจากน�ำ คุณค่าสูงสุดเยี่ยงนี้ไปใช้กับอะไรก็ตามที่ดูเหมือนจะสร้างสรรค์หรือเป็น สิ่งที่จ�ำเป็นต่อความสร้างสรรค์ ดังนั้นจึงเห็นได้ชัดว่า ความสับสนของ ความสร้างสรรค์ดว้ ยกลไกจะส่งผลอย่างล�ำ้ ลึกและกว้างไกลต่อจิตใจโดย รวม ผลนั้นด�ำเนินไปอย่างใหญ่หลวงเกินกว่าความขัดแย้งชนิดที่คับแคบ และจ�ำกัด ดังนั้น สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือเมื่อกลไกซึ่งถูกเข้าใจผิดว่าเป็นความ สร้างสรรค์ เริ่มแสดงให้เห็นถึงความขัดแย้งที่มีอยู่ (การด�ำรงอยู่ของมัน ดูเหมือนจะถูกคุกคาม) พลังงานทั้งหมดของจิตและร่างกายจะถูกขับ เคลื่อนให้ “ปกป้อง” ความคิดและความรู้สึกที่ดูเหมือนทรงค่าสูงสุดและ ก�ำลัง “ถูกคุกคาม” ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว จิตท�ำเช่นนี้ได้ด้วยการตกลงไป สูส่ ภาวะสับสนแบบพยุงตัวตน เพือ่ ทีจ่ ติ จะได้ไม่ตอ้ งตระหนักถึงความคิด ทีข่ ดั แย้งและความขัดแย้งทีเ่ จ็บปวดอันเป็นผลจากจิตอีกต่อไป ในการท�ำ เช่นนี้ จิตจะขาดการรับรู้ที่กระจ่างชัดในเกือบทุกแง่มุมอันละเอียดอ่อน ว่าด้วยความสร้างสรรค์
81
ดังนั้น มันจึงไม่อาจเห็นได้ว่าอะไรคือสิ่งที่สร้างสรรค์และอะไรคือกลไก ที่จริงแล้ว จิตจะเริ่มกดการริเริ่มและสร้างสรรค์ที่แท้จริงเอาไว้ เพราะสิ่ง เหล่านีด้ เู หมือนจะคุกคามต่อสิง่ ทีด่ เู หมือนเป็นความสร้างสรรค์ แต่แท้จริง แล้วเป็นกลไก อันเป็นศูนย์กลางทีป่ รากฏอยูใ่ จกลาง “ตัวตน” ของเรา คือ การกระท�ำเช่นนี้เองที่สร้างกระบวนการ “หลับใหล” ขึ้นมา แนวโน้มที่จะ “หลับใหล” ถูกหล่อเลี้ยงโดยอคติและความคุ้นชิน เป็นอันมากทีก่ ลายเป็นนิสยั ส่วนใหญ่ซมึ ซับเข้ามาตัง้ แต่ชว่ งวัยเยาว์ ด้วย รูปแบบทีไ่ ม่รตู้ วั มากกว่ารูต้ วั ดังนัน้ ใครก็ตามทีส่ นใจอย่างจริงจังในความ หมายแท้จริงของการริเริม่ และสร้างสรรค์ เหนืออืน่ ใดจะต้องให้ความใส่ใจ อย่างยิง่ ยวดและต่อเนือ่ งกับอาการทีส่ งิ่ เหล่านีม้ าเป็นตัวก�ำหนดความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมโดยรวม หลังผ่านไปสักพัก เขาจะเริ่มสังเกต เห็นว่าเกือบทุกสิ่งที่ปัจเจกและสังคมท�ำนั้น ที่จริงแล้วถูกจ�ำกัดอย่างเข้ม งวดโดยกรอบของกลไกซึง่ เกิดขึน้ โดยไม่รตู้ วั แต่เมือ่ เขาเริม่ ตระหนักอย่าง ละเอียดอ่อนถึงการท�ำงานของกระบวนการทัง้ หมด ทัง้ ในตัวเขาและผูอ้ นื่ เขาก็จะค้นพบได้ว่าจิตนั้นเริ่มเข้าสู่อิสรภาพอันเป็นธรรมชาติ ซึ่งเงื่อนไข ทั้งหมดนี้จะถูกมองว่าเป็นสิ่งไร้สาระดังที่มันเป็น เมื่อนั้น การริเริ่มและสร้างสรรค์ก็จะเริ่มผุดขึ้น ไม่ใช่ในฐานะบาง สิ่งซึ่งเป็นผลมาจากความพยายามจะบรรลุเป้าหมายและสิ่งที่มุ่งหวัง แต่ ในฐานะผลพลอยได้ของจิตซึ่งเกิดระเบียบการท�ำงานที่เข้าใกล้สภาวะ ปกติมากขึ้น และนี่คือหนทางเดียวที่การริเริ่มและสร้างสรรค์จะเกิดขึ้น ได้ เพราะความพยายามใดๆ ที่จะเข้าถึงมันผ่านการกระท�ำหรือขั้นตอน ใดๆ คือการปฏิเสธธรรมชาติของสิ่งที่เรามุ่งหวังจะบรรลุ ด้วยเหตุผลนี้ การริเริ่มและสร้างสรรค์จึงอาจก่อเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อทั้งสองสิ่งนี้คือพลัง หลักมาตั้งแต่แรกสุด ว่าด้วยความสร้างสรรค์
82
สิ่งนี้หมายความว่า ขึ้นอยู่กับแต่ละคนที่จะสร้างก้าวแรกขึ้นมาให้ ตัวเอง โดยไม่ตามคนอื่น หรือให้คนอื่นมีอ�ำนาจในการนิยามว่าอะไรคือ ความสร้างสรรค์ และขอค�ำแนะน�ำว่าจะบรรลุถงึ มันได้อย่างไร เราจะต้อง ค้นหาสิง่ เหล่านัน้ ด้วยตัวเอง แทนทีจ่ ะพยายามบรรลุความมัน่ คงปลอดภัย ด้วยการกระท�ำตามแบบแผนที่วางเอาไว้แล้ว เพราะนั่นเท่ากับเป็นการ หลอกตัวเองและเสียแรงไปเปล่าๆ การตระหนักถึงข้อเท็จจริงนี้นับเป็น เรื่องยาก อย่างไรก็ตาม เราต้องแลเห็นให้ได้ว่า การก�ำหนดระเบียบการ ท�ำหน้าที่ทางจิตด้วยการท�ำตามรูปแบบบางอย่างนั้น คือเนื้อหาของสิ่ง อันพื้นๆ และเป็นกลไก ทว่าถึงที่สุดแล้ว เป็นเวลานับพันปีที่ผู้คนถูกท�ำให้เชื่อว่าสิ่งต่างๆ และทุกๆ สิ่งสามารถบรรลุได้ถ้าหากเรามีเทคนิคและวิธีการที่ถูกต้อง เราจึงจ�ำเป็นต้องตระหนักว่าจิตสามารถเลื่อนไหลกลับไปสู่รูปแบบอัน เก่าแก่นี้ได้ง่ายดายเพียงไร แม้บางสิ่งบางอย่างอาจบรรลุได้ด้วยเทคนิค และสูตร แต่การริเริ่มและสร้างสรรค์หาใช่ไม่ การมองให้เห็นสิ่งนี้อย่าง ลึกซึ้ง (ไม่ใช่เพียงด้วยการพูดหรือขบคิดทางปัญญา) คือสิ่งที่ช่วยให้การ ริเริ่มและสร้างสรรค์เกิดขึ้นได้
ว่าด้วยความสร้างสรรค์
83