รายงานการสัมมนา เครือข่ายองค์ความรู้ ปั ญหาการสอบบัญชี
สาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ประจําปี การศึกษา 2554 วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 19.30-22.30 น. ณ โรงอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
(1)
คณะผูจ้ ดั ทํา นางสาวกมลชนก นางสาวกันต์พร
สิ งโตทอง 51205342 เอื้อสุ ทธิสุคนธ์ 51205383
นางสาวขนิษฐา
เช้ารุ่ งโรจน์
51205417
นางสาวจินตนา นางสาวณัฐวรรณ นางสาวเปรมิศา นายพชร
วรรณอรุ ณทอง ผ่องใส ปราณี ใจอารี ย ์
51205490 51205623 51205797 51205813
นางสาวภารวี นางสาวรวิดา นางสาวชัชชญา นางสาวณัฐปวีณ์ นางสาววราภรณ์ นางสาววิไลรัตน์ นางสาวศรุ ดา นางสาวอรัญรัตน์ นางสาวสิ รินภา
เกียรติเสรี ธรรม โชคปิ ตินนั ท์ สุ วรรณโชติ มุ่งสังเกต กิตติธนะพันธ์ เชาวนสุ ภา มณี ศิริ วรมิตร อุไรจิตต์
51205938 51205987 51205995 51205599 51206043 51206076 51206118 51206290 51232114
นางสาวผกามาศ
อินทรสุ วรรณ 51234060
นางสาวพนิดา
คนสุ ภาพ
นายพิทยา นางสาวกฤษณา นางสาวจิราภรณ์
เล้าเจริ ญพานิชย์ 51234128 แสงเมฆ 51236396 แสงทอง 51236404
นายฉัตรชัย
จรรจลานุภาพ 51236420
นางสาวทัศนีย ์
ศรี สุขโข
51236453
นางสาวธัญทิพย์ นางสาวนงลักษณ์ นางสาวพรมณี
ศิริพงษ์วไล อินสุ ข แก้วใจรักษ์
51236461 51236479 51236529
51234078
(2)
นายศักดา
สาธิตเมธา
51236586
นางสาวอมรรัตน์
หนูโยม
51236610
นางสาวชลธิชา
ภาวศิลป์
51238848
นางสาววราภรณ์
พงษ์ดี
51239226
(3)
กิตติกรรมประกาศ ในการประชุ มสัมมนาเชิ งวิชาการ การสัมมนาเครื อข่ายองค์ความรู ้ ทางการบัญชี เรื่ อง ปั ญ หาการสอบบัญ ชี ครั้ งนี้ สามารถประสบความสํา เร็ จ ลุ ล่ ว งได้ด้ว ยดี เนื่ อ งจากได้รั บ ความ อนุเคราะห์ ความกรุ ณา ความช่วยเหลือ และการสนับสนุนเป็ นอย่างดีจาก อาจารย์สมบูรณ์ สาระพัด ที่ได้ให้คาํ แนะนําที่เป็ นประโยชน์ในการศึกษา ตลอดทั้งให้ความเมตตาและเสี ยสละเวลาแก่คณะ ผูจ้ ดั ทํามาโดยตลอด ทําให้การจัดสัมมนาครั้งนี้สาํ เร็ จลุล่วงได้ดว้ ยดี ขอขอบพระคุณผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน รวมทั้งแหล่งศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆ อาทิเช่น หนังสื อ วารสาร บทความ วิทยานิพนธ์ และสื่ อทางอินเตอร์เน็ต ที่ได้ให้คณะผูจ้ ดั ทําใช้เป็ นแนวทาง ในการศึกษาและจัดงานสัมมนาครั้งนี้ข้ ึน ตลอดจนเพื่อนร่ วมกลุ่ม เพื่อนร่ วมรุ่ น และผูท้ ี่เข้าร่ วมการ สัมมนาที่ให้ความร่ วมมือ และความช่ วยเหลือในทุกๆเรื่ อง อีกทั้งยังคอยเป็ นกําลังใจให้กบั คณะ ผูจ้ ดั ทําตลอดมา สุ ดท้ายนี้ ทางคณะผูจ้ ดั ทําต้องขอขอบพระคุณและระลึกอยูเ่ สมอว่าจะไม่มีความสําเร็ จใดๆ เลยในชีวิตของคณะผูจ้ ดั ทํา ถ้าหากปราศจากความรัก ความเข้าใจ และกําลังใจจากบุคคลที่มีพระคุณ ที่คอยให้การสนับสนุนการศึกษาของคณะผูจ้ ดั ทํามาโดยตลอด ขอขอบคุณคณาจารย์ทุกท่าน และ สถาบันการศึกษาอันทรงเกียรติที่มอบโอกาสในการศึกษาหาความรู ้แก่คณะผูจ้ ดั ทํา คณะผูจ้ ดั ทําหวังว่าการสัมมนาในครั้งนี้ จะมีประโยชน์เป็ นอย่างมากสําหรับหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้อง ตลอดจนถึ งผูท้ ี่ สนใจศึ กษาเกี่ ยวกับเรื่ อง ปั ญหาการสอบบัญชี เพื่ อสามารถนําไปใช้ ประโยชน์ได้อย่างถูกต้องต่อไป คณะผูจ้ ดั ทํา กุมภาพันธ์ 2555
(4)
สารบัญ หน้ า คณะผูจ้ ดั ทํา
(1)
กิตติกรรมประกาศ
(3)
สารบัญ
(4)
บทที่ 1 บทนํา หลักการและเหตุผล
1
วัตถุประสงค์
2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
3
บทที่ 2 เครื่ องมือในการศึกษา การสอบบัญชี
4
วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบบัญชี
4
ความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชี
5
ความเสี่ ยงในการสอบบัญชี
6
แนวการสอบบัญชี
6
การเปลี่ยนแปลงหลักการบัญชี
7
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี
7
การยืนยันยอดลูกหนี้
7
ถูกต้องตามที่ควรในสาระสําคัญ
8
เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน
8
(5)
การบัญชีแตกต่างกับการสอบบัญชีอย่างไร
9
ขอบเขตการตรวจสอบ
9
การถูกจํากัดขอบเขตการตรวจสอบ
10
กรณี ศึกษา วิเคราะห์เปรี ยบเทียบมาตรฐานการควบคุมคุณภาพ สํานักงานสอบบัญชีกบั การปฏิบตั ิงานในการตอบรับงาน ของสํานักงานสอบบัญชี ทนายความเสถียรและเพื่อน
11
เทคนิคการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชีของสํานักงาน ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
14
การใช้ระบบสารสนเทศในงานตรวจสอบบัญชีของ สํานักงานตรวจสอบบัญชีสหกรณ์
19
การใช้ผลงานของผูเ้ ชียวชาญและบุคคลอื่นในการสอบบัญชี
21
การบัญชีสืบสวนและการตรวจสอบการทุจริ ต
23
ปั ญหาการตรวจสอบบัญชีสินทรัพย์ในธุรกิจที่ประสบเหตุ อุทกภัยของผูส้ อบบัญชี
27
บทที่ 3 บทสรุ ป การสังเคราะห์องค์ความรู ้
31
ภาพบรรยากาศ
33
บรรณานุกรม
42
บทที่ 1 บทนํา หลักการและเหตุผล ในการดําเนิ นธุ รกิจผูบ้ ริ หารของกิจการจะมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทํางบการเงินเพื่อ แสดงฐานะการเงิ น และผลการดําเนิ นงานของกิ จการในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี งบการเงิ น ดังกล่าว จะเป็ นประโยชน์และเป็ นที่เชื่อถือแก่บุคคลภายนอก หรื อผูถ้ ือหุ น้ ก็ต่อเมื่อ ผูส้ อบบัญชี ซึ่ง มีความเป็ นอิสระและเป็ นผูม้ ีความรู ้ ความสามารถ และเชี่ยวชาญทางการบัญชีได้เข้าตรวจสอบและ ให้ความเห็นรับรองต่องบการเงินดังกล่าวนั้น การสอบบัญชี (AUDITING) เป็ นการตรวจสอบสมุดบัญชี เอกสารประกอบการลงบัญชี และหลักฐานอื่นๆ โดยผูป้ ระกอบวิชาชีพสอบบัญชี ตามแนวทางปฏิบตั ิงานที่วิชาชีพได้กาํ หนดเป็ น มาตรฐานไว้เพื่อที่ให้ผสู ้ อบบัญชี จะสามารถวินิจฉัยและแสดงความเห็นได้ว่างบการเงินที่กิจการ จัดทําขึ้นขัดกับข้อเท็จจริ ง อันเป็ นสาระสําคัญและเป็ นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปหรื อไม่ เมื่อทําการตรวจสอบหลักฐานต่างๆ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตจะเป็ นผูท้ ี่แสดงความเห็นต่างๆ รับรอง รองต่องบการใน ซึ่ งวิธีการในการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตนั้น จะต้องถือปฏิบตั ิตาม มาตรฐานการสอบบัญชี ที่กาํ หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อใช้เป็ นแนวทาง ในการสอบบัญชี บญ ั ชี ของแต่ละองค์กร เนื่ องการเข้าไปตรวจสอบบัญชี ในองค์กรแต่ละองค์กร ผูส้ อบบัญชี จะพบปั ญหาในการสอบบัญชี ที่แตกต่างกัน ในกรณี ที่ผูส้ อบบัญชี เข้าตรวจสอบใน องค์กรที่มีขนาดใหญ่จะพบปั ญหาในเรื่ องของการสุ่ มตัวอย่างในการตรวจสอบ ปั ญหาในเรื่ องการ ทุ จ ริ ตภายนองค์กร หรื อมี การประกอบธุ รกิ จ ที่ มีตอ้ งมี ความรู ้ เฉพาะด้านในการพิ จารณาการ ตรวจสอบ ซึ่ งบางครั้งผูต้ รวจสอบไม่มีความรู ้ที่เชี ยวชาญในด้านนั้นๆ ปั ญหาที่ตามมาอาจเป็ นทํา ให้การตรวจสอบงบการเงิ นมี ขอ้ ผิดพลาดเกิ ดขึ้นได้ งานตรวจสอบบัญชี น้ ัน จะมี การใช้ระบบ
2
สารสนเทศเข้า มาในการจัด เก็ บ ข้อ มู ล ผูส้ อบบัญ ชี ต ้อ งมี ก ารศึ ก ษาการใช้ร ะบบสารสนเทศที่ เหมาะสมในงานสอบบัญชี ในปี ที่ผา่ นมาประเทศไทยได้เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ ทําให้องค์กรหลายองค์กรต้องประสบกับ ปั ญหาในเรื่ อของสิ นทรั พย์ขององค์จมนํ้า ผูส้ อบบัญชี อาจจะพบกับปั ญหาในเรื่ องของการบันทึ ก มูลค่าของสิ นทรั พย์ที่เสี ยหายจากอุ ทกภัยได้ และปั จจุ บนั สํานักงานสอบบัญชี มีเพิ่มมากขึ้ น การ ปฏิบตั ิงานรวมถึงคุณภาพในการปฏิบตั ิงานสอบบัญชีอาจแตกต่างกันดังนั้นสํานักงานสอบบัญชี จึง ต้องปฏิบตั ิตามข้อกําหนดในเรื่ องของการควบคุมคุณภาพให้เท่าเทียมกัน จากปั ญหาต่างๆ ที่ได้กล่าวมาข้างต้น เป็ นปั ญหาที่ผสู ้ อบบัญชี ตอ้ งพบเจอในงานตรวจสอบ บัญชี ก่อนที่ผสู ้ อบบัญชีจะแสดงความเห็นในรายงานผูส้ อบบัญชี ดังนั้นจึงเป็ นเหตุผลที่จะนําปั ญหา มาศึกษาในเรื่ องการสอบบัญชี ในเรื่ องต่างๆ ดังนี้ การควบคุมคุณภาพของสํานักงานสอบบัญชี ให้ เป็ นไปตามมาตรฐานสากล การบัญชีสืบสวนและการตรวจสอบการทุจริ ต การรวบรวมหลักฐานโดย ใช้ผลงานของผูเ้ ชี่ ยวชาญและบุคคลอื่นในการสอบบัญชี การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในงาน ตรวจสอบบัญชี กรณี สาํ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี เทคนิ คการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี ปั ญหาการตรวจสอบบัญชีสินทรัพย์ในธุรกิจที่ประสบเหตุอุทกภัยของผูส้ อบบัญชี วัตถุประสงค์ การสัมมนาเครื อข่ายองค์ความรู ้ทางบัญชี เรื่ องปั ญหาการสอบบัญชี มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ ผูเ้ ข้าร่ วมสัมมนามีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพของสํานักงานสอบบัญชีให้เป็ นไป ตามมาตรฐานสากล การบัญชี สืบสวนและการตรวจสอบการทุจริ ต การรวบรวมหลักฐานโดยใช้ ผลงานของผูเ้ ชี่ ยวชาญและบุคคลอื่นในการสอบบัญชี การศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศในงาน ตรวจสอบบัญชีกรณี สาํ นักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี เทคนิคการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี ปั ญหาการตรวจสอบบัญชีสินทรัพย์ในธุรกิจที่ประสบเหตุอุทกภัยของผูส้ อบบัญชี และเพื่อให้ผเู ้ ข้า สัมมนาได้ทราบถึงประโยชน์และวิธีการของการสอบบัญชี การควบคุมคุณภาพของสํานักงานสอบ
3
บัญชี ให้เป็ นไปตามมาตรฐานสากล การบัญชี สืบสวนและการตรวจสอบการทุจริ ต การรวบรวม หลักฐานโดยใช้ผลงานของผูเ้ ชี่ ยวชาญและบุ คคลอื่ นในการสอบบัญชี การศึ กษาการใช้ระบบ สารสนเทศในงานตรวจสอบบัญชี กรณี สํานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ ชลบุรี เทคนิ คการเลื อก ตัวอย่างในการสอบบัญชี ปั ญหาการตรวจสอบบัญชีสินทรัพย์ในธุรกิจที่ประสบเหตุอุทกภัยของ ผูส้ อบบัญชีวา่ มีความสําคัญต่อพัฒนาองค์กรหรื อประเทศได้อย่างไร รวมไปจนถึงการนําความรู ้น้ นั มาวิเคราะห์และประยุกต์ใช้กบั องค์กรต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและถูกต้อง ตามหลักการสอบบัญชี นอกจากนี้การสัมมนาในครั้งนี้ยงั มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้นกั ศึกษาเกิดทักษะ และรู ้จกั การทํางานรวมกันเป็ นหมู่คณะ รวมไปจนถึงการแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าได้เป็ นอย่างดี ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ การจัดสัมมนากลุ่มเครื อข่ายความรู ้เรื่ องปั ญหาการสอบบัญชี คาดว่าผูร้ ่ วมฟั งสัมมนาจะ ได้รับความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจสอบบัญชี ของผูส้ อบบัญชี ในเรื่ องของเทคนิ คการเลือก ตัวอย่างในการสอบบัญชี การใช้ระบบสารสนเทศในงานตรวจสอบบัญชี การรวบรวมหลักฐานโดย ใช้ผลงานของผูเ้ ชี่ ยวชาญและบุคคลอื่นในการสอบบัญชี ซึ่ งรวมไปถึงปั ญหาจากการตรวจสอบ บัญชีสินทรัพย์ในธุรกิจที่ประสบเหตุอุทกภัย ได้อย่างชัดเจนยิง่ ขึ้นสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการ ทํางานได้ และมีการแลกเปลี่ยนความรู ้และประสบการณ์เกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพของสํานักงาน สอบบัญชีให้เป็ นไปตามมาตรฐานสากล การบัญชีสืบสวนและการตรวจสอบการทุจริ ต เพื่อให้ สามารถนําแนวคิดในด้านการตรวจสอบบัญชีน้ ีนาํ ไปประยุกต์ใช้กบั องค์กรต่างๆได้เป็ นอย่างดีและ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศได้ในอนาคต
บทที่ 2 เครื่องมือในการศึกษา การสอบบัญชี การสอบบัญชี คือ การตรวจสอบสมุดบัญชี เอกสารประกอบการลงบัญชี และหลักฐานอื่นๆ โดยผูป้ ระกอบวิชาชีพสอบบัญชี ตามแนวทางปฏิบตั ิงานที่วิชาชีพได้กาํ หนดเป็ นมาตรฐานไว้เพื่อที่ ให้ผสู ้ อบบัญชีจะสามารถวินิจฉัย และแสดงความเห็นได้วา่ งบการเงินที่กิจการจัดทําขึ้นขัดกับข้อ เท็จจริ ง อันเป็ นสาระสําคัญและเป็ นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปหรื อไม่ วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบบัญชี มีจุดมุ่งหมาย 2 ประการ คือ 1. การตรวจสอบการปฏิบตั ิตามระบบ (Compliance Test) เป็ นวิธีการที่ช่วยให้ผปู ้ ระเมิน ได้ความเชื่อมัน่ อย่างมีเหตุผลว่า การควบคุมภายในที่องค์กรกําหนดขึ้นนั้น ได้มีการ ปฏิบตั ิตามระบบบัญชีและการควบคุมภายในอย่างสมํ่าเสมอและมีประสิ ทธิภาพ ซึ่ งจะ เป็ นการเพิ่มความเชื่อมัน่ ให้ระบบการควบคุมภายในยิง่ ขึ้น 2. การตรวจสอบรายการบัญชีและยอดคงเหลือโดยการทดสอบในสาระสํ าคัญ (Substantive Test) หมายถึง การตรวจสอบหลักฐานประกอบรายการที่ปรากฏในงบ การเงิน ซึ่งจะกระทําภายหลังการตรวจสอบระบบข้อมูล เพื่อให้ผสู ้ อบบัญชีสามารถ แสดงความเห็นต่องบการเงินได้ เป้ าหมายหรื อวัตถุประสงค์หลักในการตรวจสอบมี ดังนี้ 2.1 ความมีอยู่จริงหรือเกิดขึน้ จริง ผูส้ อบบัญชี จะทดสอบรายการที่ปรากฏอยูใ่ นงบ การเงิน ไม่วา่ จะสิ นทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ และค่าใช้จ่าย ว่าจะต้องเป็ นรายการ ที่มีอยูจ่ ริ งหรื อเกิดขึ้นจริ งในกิจการที่รับตรวจสอบ 2.2 ความถูกต้ องและครบถ้ วนของรายการ โดยทัว่ ไปรายการประเภทสิ นทรัพย์ และ รายได้มกั จะมีแนวโน้มที่จะแสดงไว้สูงกว่าที่มีอยูจ่ ริ ง ในขณะที่รายการประเภท
5 หนี้สิน และค่าใช้จ่ายมักจะมีแนวโน้มที่จะแสดงไว้ต่าํ กว่าที่มีอยูจ่ ริ ง ดังนั้นผูส้ อบ บัญชีจึงต้องพิสูจน์วา่ รายการเหล่านี้ได้ถูกบันทึกไว้อย่างถูกต้องและครบถ้วน (ไม่ สู งหรื อตํ่ากว่าความเป็ นจริ ง) ในส่ วนที่มีสาระสําคัญ 2.3 กรรมสิ ทธิ์และภาระหนีส้ ิ น รายการที่จะบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ของกิจการ จะต้อง เป็ นสิ่ งที่กิจการมีกรรมสิ ทธิ์ และรายการที่จะบันทึกเป็ นหนี้สินได้จะต้องเป็ นสิ่ งที่ กิจการมีภาระในการจ่ายชําระ ผูส้ อบบัญชีจึงต้องหาหลักฐานเพื่อดูวา่ สิ นทรัพย์ และหนี้สินที่บนั ทึกในงบการเงินมีกรรมสิ ทธิ์และภาระหนี้สินจริ ง 2.4 การตีราคาหรือการกระจายราคา รายการที่แสดงในงบการเงิน จะต้องเป็ นไปตาม หลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป เช่น รายการที่เกี่ยวกับเงินตราต่างประเทศจะต้องมี การแปลงค่าเป็ นเงินบาทตามอัตราที่หลักการบัญชีได้ระบุไว้ การตีราคาสิ นค้า คงเหลือต้องตีตามราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่ได้รับ เป็ นต้น ดังนั้น ผูส้ อบบัญชีจะต้อง ตรวจสอบว่ารายการเหล่านี้มีการแสดงมูลค่าถูกต้อง 2.5 การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้ อมูลในงบการเงิน นอกจากรายการที่ปรากฏอยู่ ในงบการเงินแล้ว ผูส้ อบบัญชีจะต้องคํานึงถึงรายละเอียดที่ปรากฏอยูใ่ นหมาย เหตุประกอบงบการเงิน เช่น เรื่ องการนําสิ นทรัพย์ไปคํ้าประกันเงินกูย้ มื ผูส้ อบ บัญชีตอ้ งพิจารณาว่าได้มีการเปิ ดเผยข้อมูลไว้หรื อไม่ การมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นใน อนาคต (สหกรณ์ถูกฟ้ องร้องและอยูร่ ะหว่างการดําเนินคดี) เป็ นต้น เพื่อช่วยใน การตัดสิ นใจของผูใ้ ช้งบการเงิน ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ผูส้ อบบัญชีเพียงแต่แสดงความเห็นต่องบการเงินเท่านั้น มิใช่วา่ รับประกันความถูกต้อง ของบรรดางบการเงินต่าง ๆ ในการปฏิบตั ิการตรวจสอบ หากผูส้ อบบัญชีตรวจสอบตามมาตรฐาน การ สอบบัญชีที่รับรองทัว่ ไปแล้ว ผูส้ อบบัญชียอ่ มต้องตรวจสอบพบข้อบกพร่ องอันพึงปรากฏ (ถ้า มี) จากการตรวจสอบตามมาตรฐานฯ นอกเหนือจากนี้แล้วผูส้ อบบัญชีไม่ตอ้ งรับผิดชอบ รวมทั้งความ รับผิดชอบเกี่ยวกับการค้นหาทุจริ ต(แต่ผสู ้ อบบัญชีอาจต้องขยายเวลาการตรวจสอบหรื อหาหลักฐาน เพิ่มขึ้นเพื่อความเพียงพอต่อการแสดงความเห็น) เว้นแต่ ผูส้ อบบัญชีจะปฏิบตั ิหน้าที่โดยไม่สุจริ ต
6 หรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง นอกเหนือจากหน้าที่ที่จะต้องตรวจสอบให้เป็ นไปตามมาตรฐาน แล้ว ผูส้ อบบัญชียงั จะต้องรักษาความลับของลูกค้าที่ได้มาจากการตรวจสอบด้วย ความเสี่ ยงในการสอบบัญชี (Audit Risk) แบ่ งเป็ น 1. ความเสี่ ยงสื บเนื่อง (Inherent Risk : IR ) เป็ นความเสี่ ยงที่มกั จะมีอยูโ่ ดยธรรมชาติ จากการที่กิจการดําเนินธุรกิจนั้น ๆ เช่น กิจการทําธุรกิจให้กยู้ มื เงิน อาจมีความเสี่ ยง จากการเก็บหนี้ไม่ได้ตามกําหนด เป็ นต้น 2. ความเสี่ ยงเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายในของลูกค้ า (Control Risk : CR ) ซึ่งไม่อาจ ป้ องกัน หรื อแก้ไขข้อผิดพลาด (Control risk) ได้ 3. ความเสี่ ยงเกีย่ วกับการตรวจสอบทีไ่ ม่ พบความผิดพลาดทีม่ ีสาระสํ าคัญ (Detection Risk : DR) เช่น ผูส้ อบบัญชีใช้วิธีการตรวจสอบที่ไม่มีประสิ ทธิภาพ เลือกตัวอย่างไม่ ถูกต้อง แนวการสอบบัญชี (Audit Program) ในการสอบบัญชี ผูส้ อบจะต้องจัดเตรี ยมแนวการสอบบัญชีสาํ หรับการตรวจสอบในแต่ละ รายการในงบการเงินเพื่อ 1. ใช้เป็ นเครื่ องมือในการวางแผนการตรวจสอบที่กาํ หนดแนวทางไว้ล่วงหน้าอย่างชัดเจน โดยการนําเอาเทคนิคต่าง ๆ มาใช้เป็ นวิธีการตรวจสอบเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ที่ได้ กําหนดไว้ 2. ใช้เป็ นเครื่ องมือในการมอบหมายงานและติดตามงาน หรื อการควบคุมการปฏิบตั ิงาน ของผูช้ ่วยได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 3. ใช้เป็ นหลักฐานแสดงการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ ถือเป็ นส่ วนหนึ่งของกระดาษทําการ ของผูส้ อบบัญชี
7 แนวการสอบบัญชี ควรจัดทําไว้ล่วงหน้าเพื่อการปฏิบตั ิงานและปรั บปรุ งได้ตามความ เหมาะสมในระหว่างปี ซึ่ งแนวการสอบบัญชีน้ นั ควรจะต้องสัมพันธ์กบั การประเมินประสิ ทธิภาพ การควบคุมภายใน การเปลีย่ นแปลงหลักการบัญชี หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหลักการบัญชี หรื อวิธีการบัญชี ที่กิจการใช้อยู่ในปี ปั จจุบนั ซึ่ ง แตกต่างไปจากที่ใช้ในปี ก่อน เช่น การเปลี่ยนแปลงวิธีคิดค่าเสื่ อมราคาจากวิธีเส้นตรงมาเป็ นวิธียอด ลดลง สําหรับทรัพย์สินในประเภทเดียวกันหรื อเฉพาะที่ซ้ื อใหม่ ตัวอย่างหลักการบัญชีท่ีสาํ คัญ เช่น การตีราคาสิ นค้าคงเหลือ (FIFO , LIFO และอื่น ๆ) การเปลี่ยนแปลงวิธีการบัญชีสาํ หรับงานก่อสร้าง ระยะยาว (คิดกําไรเมื่องานเสร็ จตามสัญญา/คิดกําไรตาม % ของงานเสร็ จ) เป็ นต้น การเปลีย่ นแปลงประมาณการทางบัญชี หมายถึ ง การเปลี่ยนแปลงรายการทางบัญชี ซ่ ึ งมี ลกั ษณะเป็ นการประมาณการ เช่ น การ ประมาณอายุการใช้งานของทรัพย์สินถาวรและหนี้ สงสัยจะสู ญ ตัวอย่างการประมาณการทางบัญชี เช่น การคิดค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ การคิดค่าเสื่ อมราคา เป็ นต้น การยืนยันยอดลูกหนี้ การขอยืนยันยอดลูกหนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานจากภายนอกเพื่อพิสูจน์วา่ ยอดลูกหนี้ที่ปรากฏตามบัญชีถูกต้องและเป็ นจริ ง วิธีการยืนยันยอดลูกหนี้มี 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 แจ้ งยอดคงเหลือของหนีใ้ ห้ ทราบในหนังสื อที่ส่งให้ ลูกหนี้ วิธีน้ ี เหมาะสําหรับกรณี ที่ลูกค้าสามารถปิ ดบัญชีและให้รายละเอียดลูกหนี้ แก่ผสู ้ อบบัญชีเพื่อใช้ประกอบการขอยืนยันยอด ได้ตามวันเวลาที่ผสู ้ อบบัญชีกาํ หนดไว้โดยไม่ล่าช้า จําแนกเป็ น 2 แบบ คือ 1.1 แบบตอบรับทุกกรณี (Positive form of request) 1.2 แบบตอบเมื่อทักท้ วง (Negative form of request)
8 วิธีที่ 2 สอบถามโดยไม่ ระบุยอดคงเหลอในหนังสื อที่ส่งให้ ลูกหนี้ ตามวิธีน้ ี ในหนังสื อที่ ส่ ง ให้ลู ก หนี้ จะไม่ ร ะบุ ย อดหนี้ ที่ ค า้ ง เหมาะสํา หรั บ ใช้ใ นกรณี ที่ ลู ก ค้า ไม่ อ าจปิ ดบัญ ชี ห รื อ ได้ รายละเอียดลูกหนี้แก่ผสู ้ อบบัญชีได้ตามวันเวลาที่ผสู ้ อบบัญชีตอ้ งการยืนยันยอด ถูกต้ องตามทีค่ วรในสาระสํ าคัญ หมายถึง ในการปฏิบตั ิงานตรวจสอบบัญชีเพื่อให้สามารถแสดงความเห็นต่องบการเงินได้ นั้น ผูส้ อบบัญชีอาจทดสอบรายการบัญชีเพียงบางส่ วนแล้ว วินิจฉัยจากผลการทดสอบว่าจะสามารถ ให้ความเชื่ อถือข้อมูลทางบัญชี ท้ งั หมดได้มากน้อยเพียงใด ดังนั้น การสอบบัญชี จึงมิใช่การให้ หลักประกันว่างบการเงิน จะต้องมีความถูกต้องสมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม ผูส้ อบบัญชีที่ปฏิบตั ิงานตาม มาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทัว่ ไปย่อมจะสามารถตรวจสอบพบข้อบกพร่ องหรื ขอ้ ผิดพลาดที่มี นัยสําคัญของบัญชีและงบการเงิน ที่ตรวจสอบได้ ซึ่ งจะทําให้สิ่งบกพร่ องหลงเหลืออยูเ่ ป็ นเพียง ส่ วนที่ไม่มีสาระสําคัญเท่านั้น และสามารถกล่าวได้วา่ งบการเงินนั้นมีความถูกต้องตามที่ควร เหตุการณ์ ภายหลังวันทีใ่ นงบการเงินหมายถึงอะไร 1. เหตุการณ์สาํ คัญที่เกิดขึ้นภายหลังวันที่ในงบการเงินแต่ก่อนวันที่ในรายงานของผูส้ อบ บัญชี ซึ่ งเป็ นหลักฐานหรื อข้อมูลเพิ่มเติมที่แสดงถึงสถานการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วก่อนหรื อ ณ วันที่ในงบ การเงิน เหตุการณ์น้ ี มีผลให้ตอ้ งปรับปรุ งงบการเงินดังกล่าว ทั้งนี้ จะต้องทราบหรื อสามารถกะ ประมาณผลกระทบ ที่มีต่องบการเงินได้อย่างมีเหตุผล เช่น ลูกหนี้ ที่มีปัญหาในด้านการเรี ยกเก็บ หนี้ มาก่อนและต่อมาทราบว่าเป็ นหนี้ สูญภายหลังวันที่ในงบการเงิน หรื อคดีซ่ ึ งเกิดขึ้นและมีมูลค่า ฐานมาก่อนวันที่ในงบการเงิน แล้วรู ้ผลภายหลังวันที่ในงบการเงิน เป็ นต้น 2. เหตุการณ์สาํ คัญที่เกิดขึ้นภายหลังวันที่ในงบการเงินแต่ก่อนวันที่ในรายงานของผูส้ อบ บัญชี ซึ่งเป็ นหลักฐานหรื อข้อมูลเพิ่มเติมแสดงถึงสถานการณ์ที่เกิดขึ้นหลังวันที่ในงบการเงิน ใน กรณี น้ ี ไม่ตอ้ งปรับปรุ งงบการเงิน แต่ตอ้ งเปิ ดเผยให้ทราบถึงสถานการณ์น้ นั ในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน เช่น ความเสี ยหายเนื่องจากไฟไหม้หรื อนํ้าท่วมภายหลังวันที่ในงบการเงิน เป็ นต้น
9 การบัญชีแตกต่ างกับการสอบบัญชีอย่ างไร การบัญชี
การสอบบัญชี
1. เริ่ มจากหลักฐาน/เอกสารสู่ งบการเงิน
1. เริ่ มจากงบการเงินสู่ หลักฐาน/เอกสาร
2. ยึดหลักการบัญชีซ่ ึงกิจการใช้ปฏิบตั ิ
2. พิจารณาว่าหลักการบัญชีมีความขัดแย้งกับ หลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปหรื อไม่
3. งบการเงินที่ผบู ้ ริ หารจัดทําขึ้นอาจยังไม่เป็ นที่ เชื่อถือหรื อเป็ นประโยชน์แก่บุคคลภายนอกเต็มที่
3. มีความรับผิดชอบต่อบุคคลหลายฝ่ าย เช่น ผูถ้ ือหุน้ เจ้าหนี้ ผูล้ งทุน ส่ วนราชการ ลูกค้า ฯลฯ 4. งบการเงินที่ได้ตรวจสอบและแสดงความเห็น แล้วจะได้รับความเชื่อถือจากบุคคลภายนอก
ขอบเขตการตรวจสอบ มี 3 ประการ คือ 1. การตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน (Operational Auditing) เป็ นการตรวจสอบการ ปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้าที่ระดับต่าง ๆ และประเมินผลเพือ่ ทราบประสิ ทธิภาพของงาน และเพื่อปรับปรุ งแก้ไขการปฏิบตั ิงานที่ยงั บกพร่ องให้มีประสิ ทธิภาพ และบรรลุ เป้ าหมายที่กาํ หนดไว้ 2. การตรวจสอบการบริหารงาน (Management Auditing) เป็ นการตรวจสอบเพื่อ ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ริ หารระดับต่าง ๆ เพื่อทราบประสิ ทธิภาพและ ปรับปรุ งให้ดีข้ ึน 3. การตรวจสอบด้ านการเงิน (Financial Auditing) เป็ นการตรวจสอบเพื่อทราบความ ถูกต้อง และเชื่อถือได้ของข้อมูลทางการเงิน และหาทางแก้ไขข้อบกพร่ องของการ ควบคุมด้านการเงิน
10 การถูกจํากัดขอบเขตการตรวจสอบ การจํากัดขอบเขตที่สาํ คัญมักเกี่ยวกับการขอยืนยันยอดลูกหนี้และการสังเกตการณ์ตรวจ นับสิ นค้า กรณี เช่นนี้ถา้ ผูส้ อบบัญชีสามารถตรวจสอบโดยวิธีอื่นได้หลักฐานเป็ นที่พอใจก็ไม่มี ปั ญหา กรณีการขอยืนยันยอดลูกหนี้ 1. กิจการไม่อนุญาตให้ผสู ้ อบบัญชีส่งหนังสื อยืนยันยอดลูกหนี้และลูกหนี้เป็ น จํานวนเงินมาก 2. ลูกหนี้ปฏิเสธหนี้ และกิจการยังหาสาเหตุไม่พบและไม่สนใจจะหา (เพิกเฉย) การสั งเกตการณ์ ตรวจนับสิ นค้ า กิจการไม่อนุญาตให้เข้าร่ วมสังเกตการณ์ตรวจนับสิ นค้า
11 วิเคราะห์ เปรี ยบเทียบมาตรฐานการควบคุมคุณภาพสํ านักงานสอบบัญชี กับการปฏิบัติงานในการ ตอบรับงาน กรณี ศึกษา : สํานักงานสอบบัญชี ทนายความ เสถียรและเพื่อน 1. ความรับผิดชอบของผูน้ าํ ต่อคุณภาพภายในสํานักงาน การนําไปปฏิบตั ิของ มาตรฐานการควบคุมคุณภาพสํ านักงานสอบบัญชี (ISQC 1) สํ านักงานบัญชี ทนายความ เสถียรและเพือ่ น 1.1 ต้องจัดให้มีนโยบายและวิธีปฏิบตั ิที่สนับสนุน 1.1 สํานักงานสอบบัญชีได้มีวฒั นธรรม วัฒนธรรมภายในองค์การ องค์กรที่นาํ มาปฏิบตั ิอย่างเคร่ งครัด 1.2 ต้องจัดให้มีนโยบายและวิธีปฏิบตั ิให้ รับผิดชอบเกี่ยวกับระบบการควบคุมคุณภาพ
1.2 สํานักงานสอบบัญชีไม่มีการกําหนด นโยบายในการควบคุมคุณภาพที่เห็นได้ อย่างชัดเจน
2. ข้อกําหนดด้านจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง การนําไปปฏิบตั ิของ มาตรฐานการควบคุมคุณภาพสํ านักงานสอบบัญชี (ISQC 1) สํ านักงานบัญชี ทนายความ เสถียรและเพือ่ น 2.1 ต้องจัดให้มีนโยบายและวิธีปฏิบตั ิว่าจะปฏิบตั ิ 2.1 สํานักงานสอบบัญชีมีการกําหนด ตามข้อกําหนดด้านจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง นโยบายด้านจรรยาบรรณและพนักงาน ปฏิบตั ิอย่างเคร่ งครัด 2.2 ต้องจัดให้มีนโยบายและวิธีปฏิบตั ิวา่ จะดํารงไว้ 2.2 สํานักงานสอบบัญชีได้ดาํ รงไว้ซ่ ึ งความ ซึ่งความเป็ นอิสระ เป็ นอิ สระในการแสดงความคิ ดเห็ นต่อ งบการเงิน 2.3 ต้องจัดให้มีนโยบายและวิธีปฏิบตั ิที่กาํ หนดให้ 2.3 สํานักงานสอบบัญชี ยงั ไม่มีนโยบายที่ มีการหมุนเวียนผูส้ อบบัญชี ชัดเจนแต่มีการปฏิบตั ิในบางกรณี
12 3. การตอบรับงานและการคงไว้ซ่ ึงความสัมพันธ์กบั ลูกค้าและการที่มีลกั ษณะเฉพาะ การนําไปปฏิบตั ิของ มาตรฐานการควบคุมคุณภาพสํ านักงานสอบบัญชี (ISQC 1) สํ านักงานบัญชี ทนายความ เสถียรและเพือ่ น 3.1 ต้องจัดให้มีนโยบายและวิธีปฏิบตั ิเกี่ยวกับการ 3.1 สํานักงานสอบบัญชีมีนโยบายการรักษา ตอบรับงานและการคงไว้ซ่ ึ งความสัมพันธ์กบั ความสัมพันธ์อนั ดี กบั ลูกค้ารายเก่ าและ ลูกค้า สร้างความสัมพันธ์กบั ลูกค้ารายใหม่ 3.2 ต้องได้มาซึ่งข้อมูลที่สาํ นักงานจะพิจารณาก่อน 3.2 สํานักงานสอบบัญชีมีการของบการเงิน การตอบรับงานกับลูกค้ารายใหม่ และเอกสารทางภาษี ปี ก่ อ นและค้น หา ข้อมูลจากเว็บไซต์หน่วยงานราชการ 4. ทรัพยากรบุคคล การนําไปปฏิบตั ิของ มาตรฐานการควบคุมคุณภาพสํ านักงานสอบบัญชี (ISQC 1) สํ านักงานบัญชี ทนายความ เสถียรและเพือ่ น 4.1 ต้องจัดให้มีนโยบายและวิธีปฏิบตั ิเพื่อสร้าง 4.1 ปั จจุบนั สํานักงานสอบบัญชีมีบุคลากรที่ มีความรู ้เพียงพอในการปฏิบตั ิงาน แต่ ความเชื่ อมั่ น ว่ า บุ ค ลากรมี ท ั ก ษะความรู ้ เมื่อใดที่มาตรฐานมีผลบังคับใช้จะต้องมี ความสามารถที่เพียงพอ การอบรมเพิ่มเติม 4.2 ต้องมอบหมายความรับผิดชอบในงานแต่ละ 4.2 สํานักงานสอบบัญชีมีการมอบหมายงาน งานให้แก่ผสู ้ อบบัญชี อย่างชัดเจน
13 5. การปฏิบตั ิงาน การนําไปปฏิบตั ิของ มาตรฐานการควบคุมคุณภาพสํ านักงานสอบบัญชี (ISQC 1) สํ านักงานบัญชี ทนายความ เสถียรและเพือ่ น 6.1 ต้องจัดให้มีกระบวนการติดตามผลเกี่ยวกับ 6.1 สํานักงานสอบบัญชียงั ปฏิบตั ิเพียง ระบบการควบคุมคุณภาพ บางส่ วนทําให้ไม่มีการติดตามผลที่ ชัดเจน 6.2 ต้องประเมินผลกระทบข้อบกพร่ องที่พบจาก 6.2 สํานักงานสอบบัญชียงั อยูใ่ นขั้นตอนที่ กระบวนการติดตามผล ไม่สามารถประเมินผลกระทบ ข้อบกพร่ องได้ 6. การติดตามผล การนําไปปฏิบตั ิของ มาตรฐานการควบคุมคุณภาพสํ านักงานสอบบัญชี (ISQC 1) สํ านักงานบัญชี ทนายความ เสถียรและเพือ่ น ต้องจัดให้มีนโยบายและวิธีปฏิ บตั ิในการ 5.1 สํานักงานสอบบัญชีเริ่ มมีการเตรี ยมความ ปฏิบตั ิงานเป็ นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ พร้ อมในการนํามาตรฐานมาปฏิ บตั ิ แต่ เพียงบางส่ วนเท่านั้น 5.2 ต้อ งจัด ให้มี น โยบายและวิ ธี ป ฏิ บ ัติ เ พื่ อ สร้ า ง 5.2 สํานักงานสอบบัญชีไม่มีการปรึ กษา ความเชื่ อมัน่ ว่าสํานักงานมี การปรึ กษาหารื อ หารื อ เนื่องจากอํานาจการตัดสิ นใจอยูท่ ี่ อย่างเหมาะสม หัวหน้าสํานักงานเพียงผูเ้ ดียว 5.1
14 เทคนิคการเลือกตัวอย่ างในการสอบบัญชี กรณี ศึกษา : สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี 1. ข้อพิจารณาในการเลือกตัวอย่าง ก่อนที่จะกําหนดหรื อเลือกขนาดตัวอย่างจะต้องทราบลักษณะของธุ รกิ จ ระเบียบปฏิบตั ิ ของกิจการว่าจะให้ดาํ เนิ นงานด้านใดและเป็ นไปอย่างไร กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกิจการที่จะเข้าไป ทําการตรวจสอบ ถ้าไม่ทราบลักษณะของธุ รกิจก็จะไม่สามารถเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี ได้ เมื่ อทราบเกี่ ย วกับข้อมูลต่ างๆที่ ไ ด้ก ล่ า วไว้ขา้ งต้น แล้ว จะไปทําการประเมิ น ประสิ ทธิ ภ าพการ ควบคุมภายในของกิจการ ถ้ากิจการมีระบบการควบคุมภายในที่ดีจะทําให้สามารถกําหนดขนาด ตัวอย่างขนาดเล็กได้และช่วยลดความเสี่ ยงในการสอบบัญชีได้ โดยจะต้องคํานึ งถึง ลักษณะธุรกิจที่ ตรวจสอบ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องของธุ รกิจนั้น ๆ โครงสร้างระบบงาน โครงสร้างผังบัญชี คณะกรรมการ ผูต้ รวจสอบกิจการ 2. ขั้นตอนการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี ทางสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรีใช้คู่มือเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานในการเลือก ตัวอย่าง การเลือกตัวอย่างต้องทําการกําหนดวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบ เช่น เงินฝากธนาคาร ต้องตรวจสอบความมีอยู่จริ งและทําการขอคํายืนยันยอดจากธนาคาร ถ้าเป็ นสิ นทรัพย์ถาวร ต้อง ตรวจสอบความมีอยู่จริ งและทําการตรวจสอบว่ายังสามารถใช้งานได้หรื อไม่ หลังจากที่กาํ หนด วัตถุประสงค์แล้วจะทําการกําหนดประชากรหรื อตัวอย่างที่จะตรวจสอบ ถ้ากิ จการมีการควบคุม ภายในที่ดีจะทําให้กาํ หนดกลุ่มตัวอย่างได้ครบถ้วน ตรวจได้ครอบคลุมทั้งระบบ ทางสํานักงาน ตรวจบัญชี สหกรณ์ ชลบุ รี จ ะกํา หนดตัว อย่า งเป็ นรายเดื อน หลัง จากนั้น จะกํา หนดวิ ธีการเลื อ ก ตัวอย่าง โดยมี วิธีการเลื อกตัวอย่างทางสถิ ติ และไม่ใ ช่ วิธีการเลื อกตัวอย่างทางสถิ ติ ตลอดจน ขั้นตอนการตรวจสอบ และเขียนรายงานสรุ ป ซึ่งมีข้นั ตอนดังนี้ 2.1 กําหนดวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ 2.2 กําหนดประชากรและหน่วยตัวอย่าง 2.3 กําหนดลักษณะข้อผิดพลาด 2.4 กําหนดวิธีการเลือกตัวอย่าง
15 2.5 ตรวจสอบตัวอย่าง 2.6 ประเมินผลการตรวจสอบตัวอย่าง 2.7 บันทึกงานเลือกตัวอย่าง 3. วิธีการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี การเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี หมายถึง การใช้วิธีการตรวจสอบน้อยกว่าร้อยละร้อย ของรายการในยอดคงเหลือตามบัญชี หรื อประเภทของรายการบัญชี ต่าง ๆ ด้วยวิธีการตรวจสอบ เนื้อหาสาระหรื อวิธีการทดสอบการควบคุม โดยรายการแต่ละรายการของข้อมูลทั้งหมดมีโอกาสถูก เลือกมาตรวจสอบเท่า ๆ กัน ทั้งนี้ เพื่อให้ผูส้ อบบัญชี สามารถรวบรวมและประเมินหลักฐานการ สอบบัญชีเกี่ยวกับลักษณะของรายการที่เลือกมาตรวจสอบ ซึ่ งจะช่วยให้ได้ขอ้ สรุ ปเกี่ยวกับข้อมูลที่ ตรวจสอบ และสามารถกําหนดเค้าโครงการแสดงความเห็ นต่ องบการเงิ นได้ โดยวิธีการเลื อก ตัวอย่างมี 2 วิธี ดังนี้ 1. การเลื อ กตัว อย่า งทางสถิ ติ เป็ นการเลื อ กตัว อย่า งที่ ใ ช้ห ลัก สถิ ติม าช่ ว ยในการวาง แผนการเลือกตัวอย่าง แบ่งออกเป็ น 1.1 การเลือกตัวอย่างโดยใช้หลักความน่ าจะเป็ น เป็ นวิธีการเลือกตัวอย่างทางสถิติ โดยใช้หลักความน่าจะเป็ น ประกอบด้วย 1.1.1 การเลื อกตัวอย่างแบบเป็ นระบบ เป็ นการเลื อกโดยจํานวนตัวอย่างใน ประชากรจะถูกหารด้วยขนาดตัวอย่าง เพื่อกําหนดช่วงของตัวอย่าง เช่น เลือกทุกใบที่ 50 ซึ่ งอาจกําหนดจุดเริ่ มต้นที่จะเลือกในช่วง 50 ตัวอย่าง แรก และเลือกตัวอย่างทุกใบที่ 50 ถัดไป แม้ว่าจุ ดเริ่ มต้น อาจมีการ กําหนดแบบไม่เป็ นระบบ 1.1.2 การเลือกตัวอย่างแบบหลายชั้น เป็ นวิธีการเลือกตัวอย่างทางสถิติโดยเมื่อ เลือกตัวอย่างจากกลุ่มใดครบแล้ว ก็จะทําการเลือกตัวอย่างจากแต่ละกลุ่ม อีกขึ้นหนึ่ง และในแต่ละขั้นจะใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบใดก็ได้
16 1.2 การเลือกตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เป็ นวิธีการเลือกตัวอย่างโดยแบ่งข้อมูลทั้งหมด ออกเป็ นกลุ่มย่อย และจัดข้อมูลที่มีลกั ษณะเหมือนหรื อคล้ายคลึงกันอยู่ในกลุ่ม ย่อยเดียวกัน หรื อแบ่งกลุ่มย่อยตามลักษณะเฉพาะ และแยกตัวอย่างแต่ละกลุ่มเป็ น อิสระจากกัน 2. การเลือกตัวอย่างที่ไม่ใช้วิธีทางสถิติ เป็ นการเลือกตัวอย่างที่ใช้ดุลพินิจเยีย่ งผูป้ ระกอบ วิชาชี พ หลีกเลี่ยงการมีอคติให้มากที่ สุด ซึ่ งจะเป็ นการเลื อกตัวอย่างแบบเจาะจง มี หลักการเลือกตัวอย่างโดยการเลือกรายการที่มีมูลค่าสู ง หรื อมีนัยสําคัญ รายการที่มี ลักษณะเฉพาะ รายการที่ให้ขอ้ มูลในเรื่ องที่ตอ้ งการ และรายการที่ครอบคลุมประชากร ทั้งหมด 4. การกําหนดขนาดตัวอย่าง เริ่ มจากการพิจารณาวัตถุประสงค์ของวิธีการตรวจสอบ จากนั้นมีการกําหนดขนาดตัวอย่าง ให้เพียงพอเพื่อลดความเสี่ ยงจากการเลือกตัวอย่างให้อยู่ในระดับตํ่าพอที่จะยอมรับได้ และเลือก ตัวอย่างโดยวิธีที่ทาํ ให้ทุกหน่วยตัวอย่างในประชากรมีโอกาสถูกเลือกเท่า ๆ กัน การเลือกรายการ เพื่อทดสอบมาจากการทดสอบระบบการควบคุมภายในของกิจการที่จะทําการตรวจสอบ ถ้าระบบ การควบคุมภายในมีประสิ ทธิ ภาพจะทําให้การกําหนดขนาดตัวอย่างน้อยลง เป็ นการกําหนดว่า พนักงานของกิจการปฏิบตั ิตามระเบียบที่กิจการกําหนดไว้หรื อไม่ ถ้าปฏิบตั ิตามนั้นข้อผิดพลาดก็จะ ไม่เกิดขึ้น ถ้าหากพบข้อผิดพลาดผูส้ อบบัญชีสามารถยอมรับได้หรื อไม่ เช่น ถ้าเงินสดเกินวงเงินที่ กิ จการกําหนดจะต้องดูว่าเหตุผลของกิ จการคืออะไร เหตุ ใดจึ งเก็บเงิ นไว้เกิ นกว่ายอดที่ กิจการ กําหนด อาจเป็ นเพราะมีผูม้ าชําระหนี้ แล้วเกิ นเวลาการนําฝากของธนาคาร จึ งต้องดูว่าวันต่อไป กิจการได้นาํ เงินจํานวนนั้นไปฝากธนาคารหรื อไม่ ถ้ามีการนําฝากธนาคารจะไม่ทาํ การขยายกลุ่ม ตัวอย่าง แต่ถา้ ไม่มีการนําฝากธนาคารจะต้องทําการขยายกลุ่มตัวอย่างเพิ่มเติม
5. การประเมินผลการเลือกตัวอย่าง ผูส้ อบบัญชีตอ้ งตรวจสอบตัวอย่างที่เลือกขึ้นมา โดยใช้วิธีการตรวจสอบตามมาตรฐานการ สอบบัญชี ท่ีรับรองทัว่ ไป เช่ น การตรวจ การสังเกตการณ์ การสอบถาม การขอคํายืนยันยอด การ
17 คํา นวณซํ้า การวิ เ คราะห์ เ ปรี ย บเที ย บ เป็ นต้น แล้ว ต้อ งทํา การประเมิ น ผลตรวจสอบตัว อย่า ง วิเคราะห์ ขอ้ ผิดพลาดที่ พบในการตรวจสอบตัว อย่าง ประมาณข้อผิดพลาดที่ อาจมี อยู่ในข้อมู ล ทั้งหมด และประเมินความเสี่ ยงของการตรวจสอบตัวอย่าง 6. ความเสี่ ยงในการเลือกตัวอย่างการสอบบัญชี เป็ นความเสี่ ยงที่เกิดจากผูส้ อบบัญชีเลือกตัวอย่างที่ไม่เหมาะสม ทําให้ไม่สามารถตรวจพบ ข้อผิดพลาด หรื อการแสดงข้อมูลที่ขดั กับข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญได้ ความเสี่ ยงจากการเลือก ตัวอย่าง อาจเกิดขึ้นได้ท้ งั ในการทดสอบการควบคุม และการตรวจสอบเนื้อหาสาระ แบ่งเป็ น 1. ความเสี่ ยงจากการเลือกตัวอย่าง ประกอบด้วย 1.1 ความเสี่ ยงที่อาจทําให้ผสู ้ อบบัญชีแสดงความเห็นต่องบการเงินอย่างไม่เหมาะสม 1.1.1 การทดสอบการควบคุ ม ได้ข ้อ สรุ ป ว่ า มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในที่ มี ประสิ ทธิภาพสู งกว่าความเป็ นจริ ง 1.1.2 การตรวจสอบเนื้ อหาสาระ ได้ขอ้ มูลที่ตรวจสอบ ไม่มีขอ้ ผิดพลาดที่เป็ น สาระสําคัญ 1.2 ความเสี่ ยงที่อาจทําให้ผสู ้ อบบัญชีตอ้ งตรวจสอบเพิ่มมากขึ้นโดยไม่จาํ เป็ น 1.2.1 การทดสอบการควบคุ ม ได้ข ้อ สรุ ป ว่ า มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในที่ มี ประสิ ทธิภาพตํ่ากว่าความเป็ นจริ ง 1.2.2 การตรวจสอบเนื้ อหาสาระ ได้ขอ้ มูลที่ ตรวจสอบ มี ขอ้ ผิดพลาดที่ เป็ น สาระสําคัญ ทั้งที่ตามความเป็ นจริ งแล้วไม่มี 3. ความเสี่ ยงที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเลือกตัวอย่าง เช่น
18 3.1 ผูส้ อบบัญชีใช้วิธีการตรวจสอบที่ไม่เหมาะสม 3.2 ผูส้ อบบัญชีตีความหลักฐานที่ได้จากการตรวจสอบผิดพลาด
19 กรณีศึกษา: การใช้ ระบบสารสนเทศในงานตรวจสอบบัญชีของสํ านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ จากการศึกษาแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับการสอบบัญชี ในสภาพแวดล้อมของระบบสารสนเทศที่ ใช้คอมพิวเตอร์ของสํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี คณะผูศ้ ึกษาได้สรุ ปข้อมูลจากการศึกษาจาก ข้อ มู ล ปฐมภู มิ จากการสั ม ภาษณ์ แ ละสั ง เกตการณ์ ก ารปฏิ บ ัติ ง านกลุ่ ม ผูส้ อบบัญ ชี ส หกรณ์ สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี และศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิ บทความ ตํารา หนังสื อ ข้อมูลจาก หน่ ว ยงานที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้อ งกับ การสอบบัญ ชี ใ นสภาพแวดล้อ มของระบบสารสนเทศที่ ใ ช้ คอมพิวเตอร์ ข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมการตรวจสอบบัญชี การศึกษาปั ญหาพิเศษครั้งนี้ ได้ทาํ การศึกษาในสองส่ วนคือ 1) ส่ วนที่เป็ นการเกี่ยวกับการ ทํา หน้า ที่ ต รวจบัญชี ส หกรณ์ ข องผูต้ รวจสอบสํา นัก งานตรวจสอบบัญชี ส หกรณ์ ช ลบุ รี แ ละ 2) การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับความสําคัญของการปฏิบตั ิงาน การควบคุมทัว่ ไป (General Control) และ การควบคุมระบบงาน (Application Control) ในระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ พบว่าสํานักงาน ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรีมีการใช้โปรแกรมสําเร็ จรู ปช่วยตรวจสอบ(Audit Command Language: ACL)ครอบคลุมทั้งระบบสําหรับสหกรณ์ที่ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการบันทึกบัญชี ส่ วนระดับ ความสําคัญของข้อมูลที่นาํ มาตรวจสอบขึ้นอยู่กบั ดุลยพินิจและเทคนิ คการตรวจสอบของผูส้ อบ บัญชีสหกรณ์แต่ละราย ด้านการวางแผนงานสอบบัญชีในระบบสารสนเทศที่ใช้คอมพิวเตอร์ นั้นมี จุดมุ่งหมายสําคัญหรื อมีประโยชน์ต่อการสอบบัญชี ช่วยให้ผสู ้ อบบัญชี สามารถรวบรวมหลักฐาน การสอบบัญชีได้อย่างเพียงพอเหมาะสมและช่วยให้ค่าใช้จ่ายและต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการตรวจสอบ เป็ นไปอย่างเหมาะสม สร้ างความเชื่ อมัน่ ให้ผูส้ อบบัญชี ว่าได้มีการพิจารณาเรื่ องที่ สําคัญอย่าง เหมาะสม รวมทั้งสามารถระบุและจัดการกับปั ญหาที่อาจเกิ ดขึ้นได้ และมีการประสานงานกับ สมาชิกสหกรณ์ได้เหมาะสม โดยสรุ ปการศึกษาครั้งนี้ช้ ีเห็นถึงข้อจํากัดของการเข้าถึงโปรแกรมสารสนเทศทางการบัญชี การใช้โปรแกรม Audit Command Language: ACL ช่วยตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ที่ใช้คอมพิวเตอร์ ในการจัดทําบัญชี ทาํ ได้ค่อนข้างยากและไม่แพร่ หลายนัก เนื่ องจากโปรแกรมดังกล่าว มีราคาสู ง ทางด้านการเผยแพร่ ความรู ้ดา้ นเทคโนโลยีทางบัญชี ของกรมตรวจบัญชี สหกรณ์ ยังไม่ได้รับการ สนับสนุ นจากรัฐบาล ผูต้ รวจสอบบัญชีจึงยังไม่มีความรู ้ความสามารถและความชํานาญในการใช้ โปรแกรม อย่างเพียงพอในการการปฏิบตั ิงาน ทางฝ่ ายสหกรณ์กไ็ ม่มีการพัฒนาบุคคลากรขึ้นมาเพื่อ
20 ตอบสนองกับการพัฒนาประสิ ทธิ ภาพการตรวจสอบบัญชี สหกรณ์โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทางบัญชี ดังกล่าว
21 การใช้ ผลงานของผู้เชี่ยวชาญและบุคคลอืน่ ในการสอบบัญชี การใช้ผลงานของผูเ้ ชี่ยวชาญและบุคคลอื่นมีความจําเป็ นอย่างมากในการสอบบัญชี เพราะ ผูส้ อบบัญ ชี ไ ม่ ไ ด้มี ค วามรู ้ ค วามชํา นาญในทุ ก ๆด้า น และเพื่ อ ให้ ไ ด้ห ลัก ฐานมาประกอบการ พิ จ ารณาที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและความน่ า เชื่ อ ถื อ เราจึ ง ต้ อ งใช้ ผ ลงานของผู ้เ ชี่ ย วชาญและ บุ ค คลภายนอก ซึ่ งมี ค วามรู ้ ค วามสามารถและความเชี่ ย วชาญเฉพาะด้า น (อาทิ วิ ศ วกร นั ก คณิ ตศาสตร์ ประกันภัย ทนายความ และผูป้ ระเมินราคาอิสระ เป็ นต้น) รวมถึงการเป็ นอิสระจาก บริ ษทั ทําให้ผสู ้ อบบัญชีสามารถเอาผลงานของผูเ้ ชี่ยวชาญมาประกอบการตัดสิ นใจได้ แต่ถึงผูส้ อบ บัญชี จ ะใช้ผลงานของผูเ้ ชี่ ยวชาญมาประกอบการตัด สิ น ใจความรั บผิดชอบไม่ ไ ด้ตกไปอยู่กับ ผูเ้ ชี่ ยวชาญแต่อย่างใด ความรั บผิดชอบยังอยู่กบั ผูส้ อบบัญชี แต่เพียงผูเ้ ดี ยว เพราะไม่ใช่ ว่าผูส้ อบ บัญชีจะสามารถเอาหลักฐานของผูเ้ ชี่ ยวชาญมาใช้ได้เลย ผูส้ อบบัญชีตอ้ งทําการตรวจสอบผลงาน ของผูเ้ ชี่ ยวชาญก่อนว่าเป็ นข้อมูลจริ งและความน่ าเชื่ อถือของข้อมูล และยังต้องตรวจสอบความ น่ าเชื่อถือของตัวผูเ้ ชี่ยวชาญ ซึ่ งผูเ้ ชี่ ยวชาญแต่ละคนจะต้องมีสิทธิ บตั รหรื อใบอนุ ญาตในการเป็ น ผูเ้ ชี่ ย วชาญ เมื่ อ ได้ข ้อ มู ล ที่ น่ า เชื่ อ ถื อ แล้ว ผูส้ อบบัญ ชี จ ะต้อ งมี ก ารประยุ ก ต์ หรื อ ปรั บ ใช้ใ ห้ สอดคล้องกับการแสดงความเห็นในรายงานผูส้ อบบัญชี ลักษณะของกิจการที่การตรวจสอบบัญชีจะต้องใช้ผเู ้ ชี่ยวชาญเข้ามามีส่วนร่ วมจะมีลกั ษณะ 3 ประการดังนี้ 1. กิจการที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง ในกิจการแบบนี้จะต้องอาศัยหลักการการรับรู ้รายได้ ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 เรื่ องสัญญาก่อสร้าง ที่ได้ให้หลักการเรื่ องการรับรู ้รายได้และ ต้นทุนค่าก่อสร้าง ซึ่ งจะมีการรับรู ้ ตามขั้นความสําเร็ จของงาน ซึ่ งการวัดขั้นความสําเร็ จของงาน จะต้องอาศัยผูท้ ี่มีความเชี่ยวชาญในการวัดมูล เช่น วิศวกร เป็ นต้น 2. บริ ษัท ที่ อ ยู่ ใ นตลาดหลัก ทรั พ ย์ หรื อกิ จ การที่ เ ป็ น บริ ษัท มหาชน จะต้อ งมี นั ก คณิ ตศาสตร์ ประกันภัยเข้ามามีส่วนในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดําเนิ นงานของบริ ษทั ใน ด้า นต่ า งๆ เช่ น การจัด การทั่ว ไป การตลาด การวิ จ ัย การพิ จ ารณารั บ ประกัน การลงทุ น การ บัญชี การบริ หาร และการวางแผนระยะยาว ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของ พนักงาน ซึ่ งหลักการรั บรู ้ รายการและการวัดมูลค่าผลประโยชน์ของพนักงานจะต้องใช้วิธีการ กําหนดมูลค่าการประมาณการตามหลักการคณิ ตศาสตร์ประกันภัย
22 3. ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการประเมินราคาที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ซึ่ งจะต้องมีผปู ้ ระเมิน อิสระเข้ามาประเมินราคาและวัดมูลค่า ให้เป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่ องที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 เรื่ องการประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่อาจ เกิดขึ้น และสิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น ซึ่ งผูป้ ระเมินอิสระจะมีส่วนเกี่ยวข้องในการประเมินราคา การ กําหนดมูลค่ายุติธรรม
23 การบัญชีสืบสวนและการตรวจสอบการทุจริต Enron บริ ษทั ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1985 หรื อ ประมาณพ.ศ. 2529 จากการควบรวมกิจกรรมท่อก๊าซ 2 แห่ ง คือ InterNorth กับ Houston Nature Gas และล้มละลายในปลายปี ค.ศ. 2001 หรื อ ช่วงเดือน ธันวาคม 2544 รวมอายุองค์การ 15 ปี บริ ษทั ดําเนิ นธุ รกิ จหลักด้าน การค้าพลังงาน คื อ ก๊ าซ ธรรมชาติและไฟฟ้ า ผูก้ ่อตั้งบริ ษทั คือ นาย Kenneth Lay สาเหตุการล่มสลาย เนื่ องจาก การล้มเหลวของกลยุทธ์ที่เลือกใช้ ,ความโลภและระบบดาว คือการให้รางวัลตอบแทนกับบุคคลตามปริ มาณงานและผลกําไรในทําให้คนสนใจรายได้ มากกว่า และเกิดการแก่งแย่งชิงดีกนั , การจัดการความเสี่ ยงและการควบคุมที่ไม่ดี ,ใช้เงินลงทุนในแต่ละ โครงการสู ง โดยไม่มีความรู ้หรื อศึกษาความเป็ นไปได้ เช่น กรณี โครงการ Dabhol ฯ ในอินเดีย ที่ ไม่เข้าใจสภาพพื้นที่ และการเมืองของอินเดีย , การตรวจสอบภายในแบบผิวเผิน ไม่สามารถระบุ ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้, ความไม่มีประสิ ทธิ ภาพของคณะกรรมการบริ หารบริ ษทั ความล้มเหลว ของการตรวจสอบภายนอก เนื่ อ งจากมี ก ารร่ ว มมื อ กัน ปกปิ ด,ความโลภของธนาคาร เห็ น แก่ ประโยชน์ของ ธนาคาร โดยไม่มีการตรวจสอบฐานะการเงินของลูกค้าอย่างแท้จริ ง จุดจบของเอ็นร่ อนเกิดขึ้นเมื่อเอ็นร่ อนได้รายงานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ของสหรัฐฯว่า ต้อง แก้ไขตัวเลขทางบัญชีโดยลดกําไรที่เคยแจ้งไว้ในอดีต 4 ปี ที่ผา่ นมาด้วยจํานวนเงิน 569 ล้านเหรี ยญ สหรัฐฯ หรื อเท่ากับร้อยละ 16 ของกําไรทั้งหมดของผลประกอบการ 4 ปี ที่ผา่ นมา ซึ่ งแสดงผิดความ จริ งไป เนื่ องจากการลงบัญชีที่ผิดพลาด โดยมิได้นาํ เอาผลขาดทุนของหน่ วยกิจการ (Partnerships) จํานวน 3 แห่ ง มารวมในงบของเอ็นร่ อน และต่อมาได้ประกาศเปลี่ยนแปลงงบการเงินในระยะเวลา 4 ปี ที่ผา่ นมา ที่เคยแจ้งให้กบั สํานักงาน ก.ล.ต.และสาธารณชนทราบ รวมทั้งรายงานของผูส้ อบบัญชี ที่เคยให้ความเห็นไว้ต้ งั แต่ปี ค.ศ. 1997 ถึง ค.ศ. 2000 ส่ งผลให้เจ้าหนี้สถาบันการเงินทุกรายหยุดให้ ความช่วยเหลือทางการเงินแก่เอ็นร่ อนเพื่อจะดําเนินกิจการต่อไปรวมทั้งเรี ยกร้องให้คืนเงินกูต้ ่างๆที่
24 ได้เคยให้ไว้ดว้ ย โดยอ้างข้อสัญญากูย้ มื เงินที่ให้สิทธิเจ้าหนี้จะเรี ยกคืนหนี้เมื่อใดก็ได้หากเอ็นร่ อนมี การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอย่างมีสาระสําคัญ ราคาหุ น้ ของเอ็นร่ อนลดตํ่าลงอย่างรวดเร็ ว WorldCom คอร์ ปอเรชั่น จํากัด WorldCom คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด เป็ นบริ ษทั โทรคมนาคมขนาดใหญ่ของสหรัฐอเมริ กา บริ ษทั แห่ งนี้มีที่มาโดยเริ่ มต้นจากนาย Bernie Ebbers ซึ่งรํ่ารวยมาจากธุรกิจโรงแรม ต้องการที่จะหา ช่องทางในการลงทุนใหม่ๆ ขณะเดียวกันในปี 1983 บริ ษทั AT&T ได้ถูกศาลสั่งให้แบ่งแยกธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจโทรศัพท์ทางไกลเพื่อให้เกิดการแข่งขันมากขึ้นในธุรกิจนี้ AT&T ได้ถูกบังคับให้ ต้องเปิ ดโอกาสให้บริ ษทั ขนาดเล็กเข้ามาเช่าสายทางโทรศัพท์ทางไกลของตน และบริ ษทั เหล่านั้นก็ สามารถให้บริ การโทรศัพท์ทางไกลแก่ผบู ้ ริ โภคอีกทอดหนึ่ ง Ebbers ได้ฉวยโอกาสดังกล่าวและ ก่อตั้งบริ ษทั ให้บริ การโทรศัพท์ทางไกลขึ้นในปี เดียวกัน โดยบริ ษทั ใหม่มีชื่อว่า Long Distance Discount Services (LDDS) Ebbers เป็ นหนึ่ งในเก้าคนที่ก่อตั้งบริ ษทั ดังกล่าวและเข้าถือหุ น้ ร้อยละ 14.5 ของทุนจดทะเบียนทั้งหมด แต่เขาปฏิเสธที่จะเป็ นกรรมการบริ ษทั และหวังแต่เพียงว่าจะขาย หุน้ ที่ตนถืออยูเ่ พื่อที่จะได้กาํ ไรที่จะเกิดขึ้นเท่านั้น จาก LDDS สู่ WorldCom โดยการซื้อกิจการของ บริ ษทั UUNET Technologies ซึ่ งมีประธานเจ้าหน้าที่บริ หารคือ นาย John Sidgmore การครอบงํา กิจการครั้งนี้ทาํ ให้ WorldCom สามารถที่เข้าไปแข่งขันในตลาดอินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และ Sidgmore ก็ได้เป็ นประธานฝ่ ายอินเทอร์เน็ตของ WorldCom จุดจบของ WorldCom เริ่ มในปี 2001 เมื่อ ผูต้ รวจสอบภายในเริ่ มพบปั ญหาที่ไม่ปกติใน ส่ วนของบัญชีรายการขายสิ นค้า ในเดือนมิถุนายนปี เดียวกันปรากฏรายการจ่ายเกินค่าคอมมิชชัน่ เป็ นจานวนสู งถึง 930,000 เหรี ยญ ในเดือนมีนาคมปี 2002 ผูต้ รวจสอบภายในที่ชื่อ Cynthia Cooper ได้รายงานรายการที่ตอ้ งสงสัยต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งรายการดังกล่าวเป็ นรายการค่าใช้จ่าย และควรจะลงบัญชีเป็ นรายการค่าใช้จ่ายตามปกติ แต่กลับไปลงเป็ นรายการการลงทุน สิ่ งที่เกิดขึ้น ต่อระบบบัญชีคือ การตัดค่าใช้จ่ายในกรณี ที่เป็ นค่าใช้จ่ายปกติจะตัดครั้งเดียวและในปี ที่เกิดรายการ นั้นๆ แต่หากเป็ นการลงทุนจะทยอยตัดเป็ นเวลาหลายปี ด้วยวิธีการดังกล่าวจะทําให้ผลการดาเนิ น งานของWorldComในปี นั้นจะมีค่าใช้จ่ายตํ่ากว่าปกติ พร้อมกับผลกําไรที่มากขึ้น Cooperได้รายงาน
25 เรื่ อ งนี้ ต่ อคณะกรรมการตรวจสอบ แต่ ค ณะกรรมการตรวจสอบไม่ ไ ด้แ สดงท่ าที ใ ดๆต่ อเรื่ อ ง ดังกล่าว ในทางตรงข้ามถ้าหากคณะกรรมการตรวจสอบแสดงปฏิกิริยาต่อเรื่ องดังกล่าวอย่างรวดเร็ ว ก็จะทําให้ความเชื่ อมัน่ ของผูถ้ ื อหุ ้น ที่ มีต่อราคาหุ ้นของWorldComยังคงจะมัน่ คงอยู่ ในฐานะผู ้ ตรวจสอบภายใน
Cooperพยายามที่จะค้นหาการอธิ บายที่น่าพอใจสําหรั บรายการค่าใช้จ่ายที่
Sullivanไปลงเป็ นงบลงทุน ในปี 2002 Sidgmore ได้เปลี่ยนผูต้ รวจสอบบัญชีจาก Arthur Andersen ไปเป็ น KPMG แทน Cooperได้รายงานเรื่ องดังกล่าวต่อคณะกรรมการตรวจสอบในวันที่ 13 มิถุนายน 2002 จากนั้นมาSullivanก็ได้รับการสอบถามเรื่ องดังกล่าวอย่างเป็ นลายลักษณ์อกั ษรอีก ด้วย Arthur Andersen รายงานว่าขณะที่ทางบริ ษทั เป็ นผูต้ รวจสอบบัญชีน้ นั ไม่เคยปรากฏว่ามีการ ปรึ ก ษาหารื อ การลงบัญ ชี ใ นรู ป แบบดัง กล่ า ว และทั้ง ไม่ ส ามารถอธิ บ ายได้ว่ า ทํา ไมพนัก งาน ตรวจสอบของตนจึ งไม่ได้นาํ ปั ญหาดังกล่าวรายงานต่อทางบริ ษทั หลังจากนั้นมี การรายงานว่า WorldComรายงานกระแสเงินสดเกินจากตัวเลขจริ งสู งถึง 3.8 พันล้านเหรี ยญระหว่างห้าไตรมาส สุ ดท้าย และการเป็ นการลงรายการบัญชี ที่บกพร่ องและร้ ายแรงที่สุดกรณี หนึ่ งของอเมริ กา โดย คาดการณ์กนั ว่าเพราะเหตุการณ์น้ ีWorldComคงจะต้องเข้าสู่ ขบวนการล้มละลาย WorldComยังต้อง พบกับการสอบสวนจากรัฐบาลกลาง และยังต้องดิ้นรนปรับปรุ งโครงสร้างหนี้ มูลค่ากว่าสามหมื่น ล้านเหรี ยญ ในขณะที่ระดับความน่ าเชื่อถือของฐานะบริ ษทั ก็อยู่ในระดับยํ่าแย่ที่สุด และราคาหุ ้น เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2002 ก็ลดตํ่าลงมาแล้วกว่าร้อยละ 94 จากราคาสู งสุ ด Arthur Andersen Arthur Andersen เป็ นหนึ่งในห้า ของบริ ษทั บัญชียกั ษ์ใหญ่ของสหรัฐฯ (The Big Five)โดย ถือกําเนิ ดในปี พ.ศ.2456 ในนาม Andersen Delany and Co. โดยมีสาํ นักงานใหญ่ ณ นครชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริ กา ทั้งนี้ เป็ นผลจากการตกลงกันเป็ นหุ ้นส่ วนระหว่างอาร์ เธอร์ แอนเดอร์ เซน (Arthur Andersen) กับ แคลเรนส์ เดอลานี (Clarence Delany) Arthur Andersen and Co. เริ่ มขยาย สาขาภายในสหรัฐอเมริ กา และเริ่ มขยายสาขาสู่ ต่างประเทศมากขึ้น ส่ งผลให้ให้ มีสาขาในประเทศ ต่างๆ รวม 84 ประเทศ มีพนักงานประมาณ 85,000 คน มีสาํ นักงานทัว่ โลกไม่นอ้ ยกว่า 382 แห่ ง และมีหุน้ ส่ วนการบัญชีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่า 3,504 ราย
26 สาเหตุของการล้มละลาย การปลูกฝังวัฒนธรรมการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์อย่างเคร่ งครัดลง ไปในตัวพนักงานใหม่ทุกคนก่อนเริ่ มทํางาน กฎเกณฑ์อนั เคร่ งครัดนี้ จุกจิกไปถึงแม้กระทัง่ วิธีการ ถือออร์เดิร์ฟที่ถูกต้องในงานเลี้ยงค็อกเทลด้วย วัฒนธรรมที่ควบคุมพนักงานไปทุกฝี ก้าวเช่นนี้ ย่อม นําความหายนะมาสู่ บริ ษทั เมื่อเกมธุรกิจเปลี่ยนทิศ และผูน้ าํ เปลี่ยนทางในการทําธุ รกิจ, ในปี 2540 Andersen Consulting ยื่นฟ้ อง Andersen Worldwide ขอแยกตัวเป็ นวิสาหกิจอิสระ โดย Arthur Andersen ได้เป็ นเจ้าของยีห่ อ้ Andesen ส่ วน Andersen Consulting เปลี่ยนชื่อบริ ษทั เป็ น Accenture ทําให้ต่างฝ่ ายต่างต้องเสี ยเงินค่าธรรมเนี ยมเป็ นจํานวนมาก อีกทั้ง Arthur Andersen ก็ตอ้ งสู ญ โอกาสในการหารายได้จากบริ การการให้คาํ ปรึ กษา และเกือบต้องเริ่ มต้นธุรกิจนี้ใหม่ท้ งั ๆ ที่ Arthur Andersen
เห็ นความสําคัญของบริ การการให้คาํ ปรึ กษาก่ อนยักษ์ใหญ่อื่นๆ ในธุ รกิ จการบัญชี
ระหว่างประเทศ, การที่ Andersen ยังคงยอมรับ Enron เป็ นลูกค้าต่อไปแม้จะมีพฤติกรรมการจัดทํา งบการเงินที่น่าสงสัย ด้วยความละโมบในค่าธรรมเนียมก้อนโตจํานวนหลายล้านดอลลาร์ Andersen จึงยังคงรับรองงบการเงินของ Enron ต่อไป และสั่งย้ายทุกคนที่ไม่ยอมรับรองบัญชี ของ Enron ออกไปไม่ให้ยงุ่ เกี่ยวกับบัญชีของ Enron อีกต่อไป,ความผิดพลาดในการตรวจบัญชีทาํ ให้ Arthur Andersen ต้องจ่ายเงินชดเชยความเสี ยหายจํานวนมากทั้งแก่ผถู ้ ือหุ ้นและเจ้าหนี้ บริ ษทั ที่ Arthur Andersen รับรองงบดุลและรายงานการเงินอย่างไม่ถูกต้อง
27 ปัญหาการตรวจสอบบัญชีสินทรัพย์ ในธุรกิจทีป่ ระสบเหตุอุทกภัยของผู้สอบบัญชี ผูศ้ ึกษาได้ทาํ การสัมภาษณ์ผสู ้ อบบัญชีถึงแนวทางการตรวจสอบบัญชีสินทรัพย์ในธุ รกิจที่ ประสบเหตุ อุ ทกภัย กรณี ศึ ก ษา บริ ษ ัท ธงชัย คอนซัล แท้น ท์ กรุ๊ ป จํา กัด โดยมี ข้ นั ตอนในการ ตรวจสอบดังนี้ แนวการตรวจสอบบัญชีทดี่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ กรณีปกติ 1. ทดสอบยอดคงเหลือ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 2. ทดสอบมูลค่าของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 3. ทดสอบการเปิ ดเผยยอดคงเหลือของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 4. ทดสอบการเช่ าซื้ อสิ นทรัพย์ทางการเงินโดยแสดงยอดยกมา ยอดยกไป การเพิ่มขึ้น และลดลงระหว่างงวด แนวการตรวจสอบบัญชีทดี่ นิ อาคารและอุปกรณ์ เพิม่ เติม กรณีเกิดเหตุอุทกภัย 1. การบันทึกบัญชีค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการป้ องกันเหตุอุทกภัยของบริ ษทั ค่า ใช้จ่ า ยที่ เ กิ ด ขึ้ น ขึ้ น อยู่กับ บริ ษ ทั ว่ามี ก ารดํา เนิ น การอย่า งไร ถ้า บริ ษ ทั ใช้ก าํ แพง กระสอบทรายและกําแพงอิฐนี้เฉพาะกิจเพื่อป้ องกันเหตุอุทกภัยครั้งนี้ เท่านั้นแล้วมิได้ใช้อีก อาจจะ ทําลายกําแพงอิฐทิ้งเสี ย ทิ้งกระสอบทรายที่ไม่ได้ใช้ กรณี เช่ นนี้ ให้ถือเป็ นค่าใช้จ่าย แต่ถา้ บริ ษทั สร้างกําแพงเป็ นการถาวรเพื่อป้ องกันเหตุอุทกภัยครั้งต่อไป ต้องพิจารณาว่าอายุการให้ประโยชน์ นั้นเกินกว่าหนึ่ งปี หรื อไม่ ถ้าใช่ควรถือเป็ นที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และตัดค่าเสื่ อมราคาตามอายุ การให้ประโยชน์ 2. การคิ ดค่ าเสื่ อมราคาเครื่ องจัก รสําหรั บโรงงานที่ จ มนํ้า และบริ ษ ทั หยุดดําเนิ นการ ชัว่ คราวเนื่องจากเหตุการณ์อุทกภัย ในกรณี ที่บริ ษทั ตัดค่าเสื่ อมราคาโดยวิธีอื่นๆ ที่ไม่ใช่ วิธีคิดค่าเสื่ อมราคาตามจํานวน หน่ วยที่ผลิตได้ กรณี น้ ี บริ ษทั ยังคงคิดค่าเสื่ อมราคาต่อไป แต่ในกรณี ที่ใช้วิธีคิดค่าเสื่ อมราคาตาม จํานวนหน่วยที่ผลิตได้น้ นั หน่ วยที่ผลิตเป็ นศูนย์ จึงไม่มีค่าเสื่ อมราคาเกิดขึ้น โดยบริ ษทั จะหยุดคิด ค่าเสื่ อมราคาได้กต็ ่อเมื่อตัดจําหน่ายออกจากบัญชี เช่น ขาย ทิ้ง หรื อทําลาย
28 3. การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินชดเชยที่คาดว่าจะได้รับจากบริ ษทั ประกันภัย การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินชดเชยนั้นมีรายละเอียดปลีกย่อยหลายเรื่ องที่บริ ษทั ควรให้ ความสนใจ โดยบริ ษทั ควรพิจารณาดังนี้ 3.1 กรมธรรม์คุม้ ครองความเสี ยหายจากอุทกภัยหรื อไม่และคุม้ ครองไว้เท่าไร 3.2 มีการแจ้งให้บริ ษทั ประกันภัยทราบ และมาสํารวจความเสี ยหายแล้วหรื อไม่ 3.3 เมื่อบริ ษทั ประกันภัยสํารวจความเสี ยหายแล้ว ได้มีการแจ้งเป็ นลายลักษณ์อกั ษร เกี่ยวกับการชดเชยที่จะจ่ายแล้วหรื อไม่ 3.4 เงินที่บริ ษทั ประกันภัยจ่ายเบื้องต้นนั้น บริ ษทั จําเป็ นต้องจ่ายคืนในส่ วนที่เกิ น กว่าที่มูลค่าความเสี ยหายหรื อไม่ การจะได้รับการชดเชยหรื อไม่น้ นั ขึ้นอยู่กบั เงื่อนไขความคุม้ ครองที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ กรณี ที่กรมธรรม์ระบุว่าคุม้ ครองความเสี ยหายจากอุทกภัย แต่เนื่ องจากบริ ษทั ท่านได้มีการป้ องกัน อย่างดี ทําให้ไม่ได้รับผลกระทบจากเหตุอุทกภัย กรณี น้ ี บริ ษทั ประกันภัยอาจจะโต้แย้งได้ว่าไม่มี ความเสี ย หายเกิ ด ขึ้ น จึ ง ไม่ จ ํา เป็ นต้อ งชดเชย มู ล ค่ า การชดเชยนั้น มิ ไ ด้ห มายความว่ า บริ ษ ัท ประกันภัยจะชดเชยความเสี ยหายเต็มจํานวนตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ ความคุม้ ครองที่ระบุไว้ใน กรมธรรม์เป็ นเพียงมูลค่าสู งสุ ดที่ บริ ษทั ประกันภัยจะจ่ายชําระเท่านั้น บริ ษทั ประกันภัยจึ งต้อง สํารวจความเสี ยหายก่อนจึงสรุ ปความเสี ยหายที่จะชดเชยให้บริ ษทั แนวการตรวจสอบบัญชีสินค้ าคงเหลือ กรณีปกติ 1. การสังเกตการณ์การตรวจนับสิ นค้าคงเหลือ 2. ความถูกต้องของการบันทึกบัญชี 3. การตีราคาสิ นค้าคงเหลือ 4. อื่นๆ
29 แนวการตรวจสอบบัญชีสินค้ าคงเหลือ เพิม่ เติม กรณีเกิดเหตุอุทกภัย การพิจารณาสิ นค้าคงเหลือที่จมนํ้า เมื่อสิ นค้าเกิ ดความเสี ยหายจากเหตุอุทกภัยจนไม่สามารถนําสิ นค้านั้นมาจําหน่ ายได้อีก ควรตัดจําหน่ายสิ นค้าที่ชาํ รุ ดหรื อเสี ยหายนั้นออกจากบัญชี ซึ่งต้องมีหลักฐานประกอบการลงบัญชี ที่ชดั เจนที่แสดงถึงข้อมูลยืนยันการชํารุ ดหรื อเสี ยหาย โดยตัดจําหน่ายมูลค่าตามบัญชีของสิ นค้านั้น รวมทั้งโอนบัญชี ที่เกี่ ยวข้องกับสิ นค้าที่ชาํ รุ ดนั้นออกทั้งหมด ส่ วนผลต่างที่เกิ ดขึ้นถื อเป็ นกําไร (ขาดทุน) จากการตัดจําหน่ายสิ นค้า ผลการศึกษาพบว่า แนวทางการตรวจสอบบัญชีสินทรัพย์ของธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจาก เหตุการณ์อุทกภัยไม่มีความแตกต่างจากการตรวจสอบบัญชีสินทรัพย์ในสถานการณ์ปกติ แต่ผสู ้ อบ บัญชีควรให้ความสําคัญในเรื่ องการบันทึกบัญชีเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชีหรื อไม่ การบันทึก บัญชี ต รงตามรอบระยะเวลาบัญชี พิจ ารณาวัน ที่ เ กิ ด เหตุ อุท กภัย ว่าก่ อ นหรื อหลังวัน ที่ สิ้น รอบ ระยะเวลาที่รายงาน การเปิ ดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพียงพอและครบถ้วนหรื อไม่ เช่น เครื่ องจักรจมนํ้า ชิ้นส่ วนบางส่ วนของเครื่ องจักรเสี ยหาย จะต้องตัดชิ้นส่ วนที่เสี ยหายนั้นเป็ น ค่าใช้จ่าย แต่หากเครื่ องจักรนั้นไม่สามารถใช้งานต่อหรื อซ่อมแซมได้ควรตัดจําหน่ายออกทันที เป็ น ต้น ข้อ ควรพิ จ ารณาในการตรวจสอบบัญ ชี สิ น ทรั พ ย์ คื อ การซ่ อ มแซมและการเปลี่ ย นแทน ตรวจสอบอายุการใช้งานคงเหลือ ตรวจสอบการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ มูลค่าคงเหลือของสิ นทรัพย์ การบันทึกเงินชดเชยจากบริ ษทั ประกันภัย มาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย (PAEs และ NPAEs) ยังไม่มีมาตรฐานการบัญชี ที่เฉพาะเจาะจงที่กาํ หนดเกี่ ยวกับภัยธรรมชาติ โดยจะอ้างอิงมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ เกี่ยวข้องแทน ในการศึกษาครั้งนี้ มาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้อง คือ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ องที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่36 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ อง การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2552 เรื่ อง สิ นค้าคงเหลือ และ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2552) เรื่ อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และ สิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น สํา หรั บ ข้อ จํา กัด ของผูส้ อบบัญ ชี ใ นการตรวจสอบบัญ ชี สิ น ทรั พ ย์ธุ ร กิ จ ที่ ป ระสบเหตุ อุทกภัย คือ เอกสารของกิจการบางส่ วนสูญหายหรื อสู ญหายทั้งหมด ซึ่งจะกระทบต่อการตรวจสอบ
30 ของผูส้ อบบัญชี กิ จการไม่บนั ทึกบัญชี ตามคําแนะนําของผูส้ อบบัญชี ทําให้กระทบต่องบการเงิน ของกิจการและการแสดงความเห็นของผูส้ อบบัญชีในรายงานผูส้ อบบัญชี
บทที่ 3
บทสรุ ป การสั งเคราะห์ องค์ ความรู้
วัตถุประสงค์ของการสอบบัญชีคือ การตรวจสอบสมุดบัญชี เอกสารประกอบการลงบัญชี และหลักฐานอื่นๆ โดยผูป้ ระกอบวิชาชีพสอบบัญชี ตามแนวทางปฏิบตั ิงานที่วิชาชีพได้กาํ หนดเป็ น มาตรฐานไว้เพื่อที่ให้ผสู ้ อบบัญชี จะสามารถวินิจฉัยและแสดงความเห็นได้ว่างบการเงินที่กิจการ จัดทําขึ้นขัดกับข้อเท็จจริ ง อันเป็ นสาระสําคัญและเป็ นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปหรื อไม่ เมื่อทําการตรวจสอบหลักฐานต่างๆ ในการตรวจสอบข้อมูลต่างๆต้องอาศัยการควบคุมภายในที่ดี ซึ่งในปั จจุบนั มีมาตรฐานการควบคุมคุณภาพของสํานักงานสอบบัญชีไทยให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น และเป็ นไปในทิศทางเดียวกันเป็ นไปตามมาตรฐานสากล บัญชี ผูส้ อบบัญชีรับอนุ ญาตจะเป็ นผูท้ ี่ แสดงความเห็ นต่ างๆ รั บรองรองต่ องบการใน ซึ่ งวิธีการในการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชี รับ อนุ ญาตนั้น จะต้องถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการสอบบัญชี ที่กาํ หนดโดยสภาวิชาชี พบัญชี ในพระ บรมราชู ป ถัม ภ์ เพื่ อ ใช้เ ป็ นแนวทางในการสอบบัญ ชี บ ัญ ชี ข องแต่ ล ะองค์ก ร เนื่ อ งการเข้า ไป ตรวจสอบบัญชีในองค์กรแต่ละองค์กรผูส้ อบบัญชีจะพบปั ญหาในการสอบบัญชีที่แตกต่างกัน ใน กรณี ที่ผสู ้ อบบัญชีเข้าตรวจสอบในองค์กรที่มีขนาดใหญ่จะพบปั ญหาในเรื่ องของการสุ่ มตัวอย่าง ผูส้ อบบัญชีจะต้องใช้เทคนิคในการเลือกตัวอย่างในการสอบบัญชี ปัญหาในเรื่ องการทุจริ ตภายนอก องค์กรผูส้ อบบัญชี อาจจะต้องนําการบัญชี สืบสวนและการตรวจสอบการทุจริ ตเข้ามาช่ วยในการ ตรวจสอบเพื่อให้การตรวจสอบบัญชีมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น หรื อมีการประกอบธุ รกิจที่มีตอ้ งมี ความรู ้เฉพาะด้านในการพิจารณาการตรวจสอบ ซึ่ งบางครั้งผูต้ รวจสอบไม่มีความรู ้ที่เชียวชาญใน ด้านนั้นๆ ปั ญหาที่ตามมาอาจเป็ นทําให้การตรวจสอบงบการเงิ นมีขอ้ ผิดพลาดเกิ ดขึ้นได้ผูส้ อบ บัญชี จะต้องอาศัยการรวบรวมหลักฐานโดยใช้ผลงานของผูเ้ ชี่ ยวชาญและบุคคลอื่นในการทําการ สอบบัญชี น้ ัน งานตรวจสอบบัญชี อาจมีการใช้ระบบสารสนเทศเข้ามาช่ วยในการจัดเก็บข้อมูล ผูส้ อบบัญชีตอ้ งมีการศึกษาการใช้ระบบสารสนเทศที่เหมาะสมในงานสอบบัญชีเพื่อทําให้เกิดความ
32
ถูกต้องสู งที่สุด ในบางกรณี ที่กิจการประสบภัยพิบตั ิทางธรรมชาติจนทําให้ผสู ้ อบบัญชีตอ้ งทําการ แก้ปัญหาการตรวจสอบบัญชีสินทรัพย์ในธุรกิจที่ประสบเหตุอุทกภัยของผูส้ อบบัญชี เช่น การตัดค่า เสื่ อมราคา เป็ นต้น
33
ภาพบรรยากาศ
34
35
36
37
38
39
40
41
บรรณานุกรม กนกจันทร์ ปึ งเจริ ญกุล. 2547. ความสามารถในการแข่ งขันของธุรกิจสอบบัญชีในประเทศไทยต่ อ การเปิ ดเสรีภาคบริการ. เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กนกพร ช้างทิม. 2549. การประเมินผลโครงการฝึ กอบรม กรณีศึกษาหลักสู ตรการเตรียมตัวเป็ น ผู้สอบบัญชี สหกรณ์ รุ่ นที่ 1. วิทยานิ พนธ์รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาการบริ หาร ทัว่ ไป, มหาวิทยาลัยบูรพา . กรทิพย์ วาณิ ชวิเศษกุล. 2549. การวิเคราะห์ และประเมินความเสี่ ยงทางธุรกิจในการตรวจสอบ บัญชี กรณีศึกษา : บริษัทในอุตสาหกรรมกระดาษคราฟท์ . เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ สํานักนโยบายและมาตรฐาน. 2550, 1-37 คู่มือการปฏิบัตงิ านสอบบัญช สหกรณ์ และกลุ่มเกษตร เรื่อง การเลือกตัวอย่ าง. ม.ป.ท. กรมอาชีวศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. การตรวจสอบภายใน. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว , 2539. กวี วงศ์พฒ ุ . การตรวจสอบภายใน. กรุ งเทพฯ : พี.เอ็น.เค. การพิมพ์, 2546. กิตติ บุนนาค. ม.ป.ป. ปัญหาการสอบบัญชี. กรุ งเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคําแหง. เกล็ดนที มโนสันติ์ สสิ กาญจน์. 2549. การสอบบัญชี. กรุ งเทพมหานคร: พัฒนาวิชาการ (2535).
43
เกียรติศกั ดิ์ จีรเธียรนาถ. การทุจริตในองค์ กร. กรุ งเทพฯ : บพิธการพิมพ์, 2547. เกียรติศกั ดิ์ จีรเธียรนาถ. ปัญหาของการตรวจสอบภายในในประเทศไทย. สื บค้นจาก : http://www.theiiat.or.th/km/newsdesc.php?n=90210142401. (2555) คะนึงศรี สงวนสัตย์และสุ นนั ทา ทิพย์ชุน. 2555. การใช้ ระบบสาระสนเทศในงานตรวจสอบบัญชี ในสํ านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ชลบุรี.พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพมหานคร: ม.ป.ท. จักรพงษ์ รัตน. 2547. ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบตั ิงานของสํ านักงานสอบบัญชีในเขต กรุงเทพมหานคร. บัญชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี, มหาวิทยาลัยบูรพา. จันทนา สาขากร, นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ และ ศิลปะพร ศรี จนั่ เพชร. 2548. การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน. กรุ งเทพมหานคร: ห้างหุน้ ส่วนจํากัด ทีพเี อ็น เพรส. ฉัตรา วาสิ กคุตต์.2547. การใช้ คอมพิวเตอร์ ในการจัดทําและตรวจสอบบัญชี.พิมพ์ครั้งที่1. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั พี.เอ ลีฟวิ่ง จํากัด ชัยน้อย ศักดิ์ขจรชัย. 2543. ปัญหาและอุปสรรคต่ อการดําเนินงานสอบบัญชีสหกรณ์ : ศึกษากรณี สํ านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ภูมิภาคที่ 9. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขา นโยบายสาธารณะ, มหาวิทยาลัยบูรพา. ณิ ภา วิจิตรลักษณา. 2550. การศึกษาแนวทางพัฒนาการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ ในโครงการ ปรับปรุงระบบการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ . วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขา เศรษฐศาสตร์สหกรณ์, มหาวิทยาลัยแม่โจ้,
44
ตฤษพัฒน์ คลํ้าศิริ. 2546. การศึกษาปัจจัยทีม่ ีผลกะทบต่ อการตัดสิ นใจของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ในการกําหนดขนาดตัวอย่ างในการสอบบัญชี. วิทยานิพนธ์บญั ชีมหาบัณฑิต สาขาการ บัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทิพารัตน์ ลิ้มวัฒนะพันธ์. 2547. ความคิดเห็นของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตต่ อปัจจัยทีม่ ีผล ในการรับงานสอบบัญชี. บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริ หารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ธวัชชัย สี สุวรรณ. พฤติกรรมการทุจริตงบประมาณแผ่ นดิน : กรณีศึกษาองค์ การบริหารส่ วน จังหวัดขอนแก่ น. ภาคนิพนธ์หลักสู ตรพัฒนาบริ หารศาสตร์มหาบัณฑิต(พัฒนาสังคม) คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริ หารศาสตร์, 2540. ธานินทร์ ศิลป์ จํารุ . การบริหารการเงินธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ : วี.เอ็นพริ้ น, 2548. ธิดารัตน์ ตรี โรจน์พร. 2552. ความคิดเห็นของผู้ทาํ บัญชีและผู้สอบบัญชีบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทยทีม่ ีต่อมาตรฐานการบัญชี (ฉบับปรับปรุ งปี 2550). บัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. นพรัตน์ บุญเกษม. 2555. หัวหน้าแผนกบัญชี 3. สั มภาษณ์ , 18 มกราคม 2555. นลินรัตน์ เด่นดอนทราย. 2547. ปัจจัยทีจ่ ะศึกษาถึงกับการเกิดพฤติกรรมของผู้สอบบัญชีทที่ าํ ให้ คุณภาพงานสอบบัญชีลดลง: มุมมองของผู้ช่วยผู้สอบบัญชีและผู้จัดการงานสอบบัญชี. บัญชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นิตยา วงศ์ภินนั ท์วฒั นา. 2553. การควบคุมและตรวจสอบระบบสารสนเทศ. พิมพ์ครั้งที่1. กรุ งเทพมหานคร: Imagineering
45
นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ และ ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร. 2545. การสอบบัญชี. เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. ม.ป.ท. นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร จัน่ เพชร.2549. คู่มือสอบ CPA วิชาการสอบบัญชี 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพมหานคร: ห้างหุ น้ ส่ วนจํากัด ทีพเี อ็น เพรส. นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ และ ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร. 2552. การสอบบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: ทีพีเอ็น เพรส. เนื้อทิพย์ สุ่ มแก้ว. (2552). การบัญชีนิติเวช : Forensic Accounting. มหาวิทยาลัยนเรศวร. แน่งน้อย เจริ ญทวีทรัพย์. 2551. การเลือกตัวอย่ างแบบสถิติเพือ่ การตรวจสอบบัญชี. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บริ ษทั เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด. 2554. บัญชีน่าคิดจากนํา้ ท่ วม (online). www.kpmg.co.th., 25 มกราคม 2555. บริ ษทั ชูไก จํากัด (มหาชน). (2550). รายงานประจําปี . สื บค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2555 จาก www.chukai.co.th/asset/annualS.pdf บริ ษทั ลัคกี้เท็คซ์ (ไทย) จํากัด (มหาชน). (2552). รายงานประจําปี . สื บค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2555 จาก www.toray.co.th/ltx/Report/Fin.pdf ปนัดดา ใจมัน่ . 2552. การนําโปรแกรมระบบตรวจสอบสหกรณ์ เชิงลึก (CATs) มาใช้ ในการ ตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ ทใี่ ช้ ระบบสารสนเทศทางการบัญชีในพืน้ ทีส่ ํ านักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ ที่ 7. วิทยานิพนธ์บญั ชีมหาบัณฑิตสาขาบัญชี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
46
ประสิ ทธิ์ ดํารงชัย. การจัดตั้งองค์ กรแห่ งชาติเพือ่ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตในฝ่ ายการเมือง. กรุ งเทพฯ, 2545. ปิ ยมาศ เรื องแสงรอบ และศิลปพร ศรี จนั่ เพชร. 2552. “ปั ญหาและอุปสรรคของการควบคุม คุณภาพสํานักงานสอบบัญชีให้เป็ นไปตามมาตรฐานสากล.” วารสารสภาวิชาชีพ 5 (13): 83-95. พยอม สิ งห์เสน่ห์. 2545, การสอบบัญชี.กรุ งเทพมหานคร: ห้างหุ น้ ส่ วนจํากัด โรงพิมพ์ชวนพิมพ์. พยอม สิ งห์เสน่ห์. 2543. การสอบบัญชี. กรุ งเทพมหานคร: ชวนพิมพ์. พยอม สิ งห์เสน่ห์. 2548. การสอบบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั ธรรมนิติเพรส จํากัด พรรณภา แจ้งสุ วรรณ. 2547. การศึกษาการใช้ ปัจจัยและองค์ ประกอบความเสี่ ยงในการประเมิน ความเสี่ ยงในการตรวจสอบของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. พลพธู ปี ยวรรณ และสุ ภาพร เชิงเอี่ยม. 2549. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั จูนพับลิชชิ่ง จํากัด. ภาวิณี อรุ ณคีรีวฒั น์. 2550. ความคิดเห็นของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในเขตกรุ งเทพมหานครทีม่ ี ต่ อมูลค่ ายุติธรรม. การศึกษาค้นคว้าอิสระ หลักสูตรปริ ญญาบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริ หารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
47
มนู อรดีดลเชษฐ์ และธีรนิจ ยุวะหงส์. 2530. เอกสารการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์ สํ าหรับผู้สอบบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพมหานคร: สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิ ราช สาขาวิชาวิทยาการจัดการ. 2544. เอกสารการสอนชุ ดวิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชวนพิมพ์. รัตนาวรรณ เจี่ยงเพ็ชร์. 2538. แนวทางการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ ออมทรัพย์ ทใี่ ช้ คอมพิวเตอร์ ในการบันทึกบัญชี.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ สหกรณ์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. รุ่ งนภา แต่สุขะวัฒน์. 2547. ความคิดเห็นของผู้สอบบัญชีทมี่ ีต่อความเสี่ ยงในการสอบบัญชีกบั การควบคุมภายในของธุรกิจขนาดย่ อม. การศึกษาค้นคว้าอิสระ หลักสู ตรปริ ญญา บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริ หารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. เรวดี เมฆวิชยั .2546. ง่ ายๆกับ "IT Audit". พิมพ์ครั้งที่1. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั ซีเอ็ดยูเคชัน่ จํากัด(มหาชน) เริ งธรรม จงจิตรและมนวิกา ผดุงสิ ทธิ์.การใช้ ผลงานของผู้ตรวจสอบภายใน ในการตรวจสอบงบ การเงินโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทจดทะเบียน.วารสารวิชาชีพบัญชี ปี ที่ 3 ฉบับที่ 6 เมษายน 2550 วชิรพล อินสุ วรรณ. 2551. ปัจจัยเสี่ ยงของการทุจริตและผลกระทบต่ อการวางแผนการสอบบัญชี ของผู้สอบบัญชี. บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
48
วีรณา ติรณะประกิจ. 2552. ปัจจัยทีม่ ีความสั มพันธ์ กบั พฤติกรรมของผู้สอบบัญชีทที่ าํ ให้ คุณภาพ งานสอบบัญชีลดลง. บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต บริ หารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ศรี สมพร รอดศิริ. 2551. ประสิ ทธิผลการปฏิบตั ิงานของบุคลากรในการนําระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ มาใช้ ในกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ . วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขายุทธศาสตร์การพัฒนา,มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร. (2551). นักบัญชีสืบสวน. วารสารวิชาชีพบัญชี. 4(9),20-21. ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร และธรรมรัฐ ต่อพิพฒั น์. บทบาทผู้ตรวจสอบภายในกับการทุจริตในองค์ กร. กรุ งเทพฯ, 2545. ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร ,การตรวจสอบด้ านสิ่งแวดล้อม วารสารวิชาชีพบัญชี มุมตรวจสอบ ปี ที่ 6 ฉบับที่ 15 เมษายน 2553 ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร 2552. “การควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี” วารสารวิชาชีพบัญชี 5 (13) : 25 – 30 ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร. 2552. “การควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีสาํ หรับสํานักงานสอบบัญชีขนาด เล็กและขนาดกลาง.” วารสารสภาวิชาชีพ 5 (14) :26 -28. สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. 2555. มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 200.วัตถุประสงค์ โดยรวมของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและการปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบ บัญชี.กรุ งเทพมหานคร.
49
สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. 2555. มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 210.ข้ อตกลงในการ รับงานสอบบัญชี.กรุ งเทพมหานคร. สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. 2555. มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 220.การควบคุม คุณภาพการตรวจสอบงบการเงิน.กรุ งเทพมหานคร. สภาวิชาชีพบัญชี. ม.ป.ป. มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 240 ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี เกีย่ วกับการพิจารณาการทุจริตในการตรวจสอบงบการเงิน. (Online). http://www.fap.or.th/st_auditing.php, 22 กุมภาพันธ์ 2555. สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่ งประเทศไทย. (2555), มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 500.หลักฐานการสอบบัญชี.กรุ งเทพมหานคร. สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. 2552. มาตรฐานการบัญชี (online). www.fap.or.th., 8 ธันวาคม 2554 สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่ งประเทศไทย. (2555), มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 505. การขอคํายืนยันจากบุคคลภายนอก.กรุ งเทพมหานคร. สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. 2555. มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 530 การเลือกตัวอย่ าง ในการสอบบัญชี. กรุ งเทพมหานคร. สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย. (25555), มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 610. การใช้ ผลงานของผู้ตรวจสอบภายใน. กรุ งเทพมหานคร. สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย. (2555), มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 620. การใช้ ผลงานของผู้เชี่ยวชาญของผู้สอบบัญชี.กรุ งเทพมหานคร.
50
สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย. (2555), มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 1000. วิธีการขอคํายืนยันระหว่ างธนาคาร.กรุ งเทพมหานคร. สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. 2557. มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ ฉบับที่ 1 การ ควบคุมคุณภาพสํ าหรับสํ านักงานทีใ่ ห้ บริการด้ านการตรวจสอบและการสอบทานงบ การเงินและงานให้ ความเชื่อมั่นอืน่ ตลอดจนบริการเกีย่ ว.กรุ งเทพมหานคร. สมเดช โรจน์คุรีเสถียร. 2544. การบัญชีสําหรับทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุ งเทพมหานคร: ธรรมนิติ. สมบูรณ์ ศุภศิริภิญโญ. 2554. การบัญชีภายหลังวิกฤตนํา้ าท่ วม (online). www.kpmg.co.th., 25 มกราคม 2555. สมพงษ์ พรอุปถัมภ์. 2545. การสอบบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: ธรรมนิติ. สาธิต โชติสุขรัตน์. 2542. การวางแผนการสอบบัญชี กรณีศึกษาธุรกิจอสั งหาริมทรัพย์. การศึกษาค้นคว้าอิสระ หลักสูตรปริ ญญาบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริ หารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สิ ขริ นทร์ แสงจันทร์. 2548. การศึกษาการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีในเขต ภาคเหนือตอนบน. บัญชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สุ ชาย ยังประสิ ทธิ์กลุ .2549. การสอบบัญชี.พิมพ์ครั้งที่1. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั ออดิทพอยท์ จํากัด.
51
สุ ชาย ยังประสิ ทธิ์กลุ . 2552. การสอบบัญชี Principles of Auditing. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุ งเทพมหานคร: ห้างหุน้ ส่ วนจํากัด ทีพเี อ็น เพรส. สุ เมธ หาญเทพินทร์. 2548. ปัญหาของผู้สอบบัญชีในการสอบบัญชีธุรกิจขนาดย่ อมทีจ่ ัดทําบัญชี โดยใช้ บริการสํ านักงานรับทําบัญชี ในจังหวัดเชียงใหม่ . บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สุ รีย ์ ดารารัตน์ทวี. 2542. การสอบบัญชี. กรุ งเทพมหานคร: ราชภัฏสวนดุสิต. สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดสงขลา. การป้องกันและปราบปรามการทุจริต. สื บค้นจาก : http://www.songkhlaculture.com/index2.htm. (2555). อังสนา พิทยุทยั วรรณ. 2543. การวางแผนงานสอบบัญชีสําหรับธุรกิจพัฒนาอสั งหาริมทรัพย์ . การศึกษาค้นคว้าอิสระ หลักสูตรปริ ญญาบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริ หารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. อังสนา ศรี ประเสริ ฐ. (2549). การบัญชีนิติเวชศาสตร์ : แนวทางใหม่ สําหรับการสอบบัญชี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. 26(1),9. อัญชนา เหมวงศ์กลุ . 2552. การสอบบัญชี. กรุ งเทพมหานคร: ส่ งเสริ มวิชาการ. อาณดา โซ่จินดามณี . 2551. แนวปฏิบตั ิเกีย่ วกับการประเมินความเสี่ ยงในการสอบบัญชีของระบบ สารสนเทศทีใ่ ช้ คอมพิวเตอร์ . วิทยานิพนธ์บญั ชีมหาบัณฑิต สาขาบัญชี, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
52
อุษณา ภัทรมนตรี . 2548. การตรวจสอบและการควบคุมด้ านคอมพิวเตอร์ . พิมพ์ครั้งที่1. กรุ งเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อุษณา ภัทรมนตรี . 2551. การตรวจสอบและการควบคุมด้ านคอมพิวเตอร์ ทางบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์จามจุรีโปรดักท์. อุษณา ภัทรมนตรี . 2549. การตรวจสอบภายในสมัยใหม่ . กรุ งเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. อุษณา ภัทรมนตรี . 2552. การตรวจสอบภายในสมัยใหม่ . กรุ งเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. เอื้อมอุรา พรมจันทร์. 2551. สภาพและปัญหาในการปฏิบตั ิงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตใน ประเทศไทย. บัญชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. อํานาจ ธีระวนิช. 2550. การจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: โรงพิมพ์ มาเธอร์ บอสแพคเก็จจิ้ง. Audit Evidence. 2010, Guidance on Monitoring Internal Control Systems, Journal of Accountancy. CHEE - YEOW LIM. and HUN-TONG TAN. 2008. “Non-audit Service Fees and Audit Quality: The Impact of Auditor Specialization.” Journal of Accounting Research 1 (46): 199,241,244. DessalegnGetieMihret. 2011, American Accounting Association(Reliance of External Auditors on Internal Audit Work: A Corporate Governance Perspective), Vol. 4 No. 2 April.
53 Â
Dr. Qasim Mohammad Zureigat. 2011. "The Effect of Ownership Structure on Audit Quality: Evidence from Jordan." International Journal of Business and Social Science 10 (2) : 38-44. Duane M. Brandon. 2010, American Accounting Association (ExternalAuditor Evaluations of Outsourced InternalAuditors), Vol. 29 No. 2.November EI GAO. (1998). Investigation of the Perpetration and Concealment Process of Management Fraud: An Empirical Analysis of Fraud Schemes. Renmin University of China. Etienne, C. A. and Joel, K. 2010. The impact of extended audit tenure on auditor independence : Auditors perspective. UMEA Universitet. Gary Colbert, and Dennis Murray. 1998. "The Association between Auditor Quality and Auditor Size : An Analysis of Small CPA Firms." Journal of Accounting, Auditing and Finance : 135-149. Ghassan.F . Al Matarneh, Factor Determing the Internal Audit Quality in Banks: Empirical Evidencefrom Jordan:Journal 2011 GuChunyan and Lin Juan. The Research on Computer Audit Techniques under Electronic Data Processing Environment. China University of Geosciences , Beijing Jean, A. M. 2007. Continuing Professional Education and Its Impact on the Practices and Careers of Certified Public Accountants. Doctor of Philosophy A Dissertation in The
54
School of Human Resource Education & Workforce Development, Louisiana State University Jere R. Francis. 2011. "A Framework for Understanding and Researching Audit Quality." A Journal of Practice & Theory 2 (30) : 125-152. Johnnie Ray Bejarano. (2008). Mitigating Corporate Financial Fraud : A Qualitative Study. University of Phoenix School of Advanced Studies. Lawrence Chui. (2010). An Experimental Examination of the Effects of Fraud Specialist and Audit Mindsets on Fraud Risk Assessments and on The Development of FraudRelated Problem Representations. University of North Texas.
Michael, D. Y. 2007. The Effect of Big Four Office Size on Audit Quality. Doctor of Philosophy, University of Missouri – Columbia. M. Virginia Cerullo and Michael J. Cerullo. 2003. “Impact of SAS No. 94 on Computer Audit Techniques.” Information Systems Audit and Control Association, Volume 1. Paul Harrison. (2008). An Evaluation of Internal Auditor Responsibility for Fraud Detection. Wichita State University School of Accountancy Barton School of Business Wichita.
55 Â
Phaithun Intakhan and Phapruke Ussahawanitchakit. 2009. "Impacts of Professional Commitment and Ethical Orientation on Audit Independence and Audit Quality Via A Moderator of Prfessional Responsibility : Evidence from CPAs in Thailand." International Journal of Business Research 4 (10) : 1-14. Regis, E. H. and Danni, W. 2009. Cultural impact on the audit planning phase : An empirical study in China and France. UMEA Universitet. Renu Desai and Vikram Desai, Toward a Decision Aid for External Audit Evalution of the Internal Audit Function, Journal of Global Business Issues, Volume 4 Issue 1 She-I Chang, Cheng - Chih Wu and I-Cheng Chang. The Development of a Computer Auditing System Sufficient for Sarbanes-Oxley Section 404— A Study on the Purchasing and Expenditure Cycle of the ERP System. Department of Accounting and Information Technology, National Chung Cheng University, Chia-Yi, Taiwan. Sioux Empire Fair Association, Inc. (2009). Forensic Accounting Report. Searched on February 22, 2555 from www.argusleader.com/assets/pdf/DF12971234.PDF Tamara, A. C. 2009. The Influence of Internal Control Structure on Auditor Risk Assessments. Doctor of Philosophy, Florida State University. Thompson. 1959. Problems of Auditing Computing Data: Internal Audit Practice, Cambridge.
56
Tommie W. Singleton. 2011. “How the IT Auditor Can Make Substantive Contributions to a Financial Audit”. volume1. ISACA JOURNAL. Travis Holt and Bruce Wampler ,Confirmations as Audit Tools: Intern Audit 68 no3 Je 2011 June 2011 Internal Auditor Velina Krastimirova Poppva. (2008). Integration of Fraud Risk in the Risk of Material Misstatement and the Effect on Auditors’ Planning Judgments. University of Oklahoma Graduate College.