เอกสารประกอบการสอน รายวิชาดนตรี-นาฏศิลป์ เรื่อง รำวงมาตรฐานสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Page 1



รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

คานา เอกสารประกอบการสอน รายวิชาดนตรี-นาฏศิลป์ เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน นี้ ได้เรี ย บเรีย งขึ้น อย่ างเป็นระบบ ครอบคลุ มเนื้อหาสาระรายวิช า นาฏศิลป์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนการศึกษา ขึ้นพื้นฐาน 2551 เพื่อใช้เป็น เครื่ องมือส าคัญของครูผู้ส อนในการใช้ประกอบการสอน ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา เอกสารเล่ม นี้ ครูผู้ ส อนได้ทาการศึกษารายละเอียดแต่ละหั ว ข้อเรื่องที่ส อนจาก เอกสาร หนังสือ ตารา หรือสื่ออื่น ๆ แล้วทาการเรียบเรียงเนื้อหาในการเรียนการสอนไว้ 6 บทเรียน ได้แก่ บทที่ 1 ประวัติความเป็นมาราวงมาตรฐาน บทที่ 2 ลักษณะและรูปแบบ การแสดงราวงมาตรฐาน บทที่ 3 เครื่องแต่งกายการแสดงราวงมาตรฐาน บทที่ 4 เครื่อง ดนตรีที่บรรเลงประกอบการแสดงร าวงมาตรฐาน บทที่ 5 โอกาสที่ใช้ในการแสดงราวง มาตรฐาน และบทที่ 6 ราวงมาตรฐานเพลงชาวไทย หวังว่าเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้คงอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอน พอสมควร หากท่ า นที่ น าไปใช้ มี ข้ อ เสนอแนะ ผู้ เ ขี ย นยิ น ดี รั บ ฟั ง ข้ อ คิ ด เห็ น ต่ า ง ๆ และสุ ด ท้ า ยนี้ ข อพระขอบคุ ณ คณะผู้ บ ริ ห าร ครู อาจารย์ โ รงเรี ย นสาธิ ต นวั ต กรรม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุ รีที่ได้ให้การสนับสนุนตลอดมา ขอพระขอบคุณ รศ. คารณ สุนทรานนท์ รศ. ดร. รจนา สุนทรานนท์ อาจารย์ณัฏฐนันท์ จันนินวงค์ และ อาจารย์ภาณุรัชต์ บุญส่ง ที่ได้ให้ความเมตตาตรวจสอบเนื้อหา ชี้แนะแนวทางในการจัดทา เอกสารประกอบการสอนในครั้งนี้ และขอบพระคุณผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านมา ณ โอกาสนี้

นาย ลิขิต ใจดี นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

1


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

สารบัญ

เรื่อง คานา สารบัญ บทที่ 1 ประวัติความเป็นมาราวงมาตรฐาน บทที่ 2 ลักษณะและรูปแบบการแสดงราวงมาตรฐาน บทที่ 3 เครื่องแต่งกายการแสดงราวงมาตรฐาน บทที่ 4 เครือ่ งดนตรีที่บรรเลงประกอบการแสดงราวงมาตรฐาน บทที่ 5 โอกาสที่ใช้ในการแสดงราวงมาตรฐาน บทที่ 6 ตัวอย่างราวงมาตรฐานเพลงชาวไทย บรรณานุกรม

หน้า 1 2 3 5 9 15 17 19 28

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

2


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

บทที่ 1 ประวัติความเป็นมาราวงมาตรฐาน

ราวงมาตรฐาน เป็นการแสดงที่มีวิวัฒนาการมาจาก “ ราโทน” ซึ่งเป็นการร้องรา ของชาวไทยภาคกลางหลังจากเสร็จภารกิจในการทางาน ซึ่งผู้ชายและผู้หญิงจะรากันเป็นคู่ ในลักษณะเป็นวงกลมรอบครกตาข้าวที่วางคว่าไว้ ใช้ โทนเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ ลั ก ษณะการร้ อ ง ร านั้ น ไม่ มี แ บบแผน โดยมี จุ ด ประสงค์ ข องร้ อ ง ร า เล่ น เพื่ อ ความ สนุ ก สนานรื่ น เริ ง เป็ น ส าคั ญ เครื่ อ งดนตรี ที่ ใ ช้ ป ระกอบร าโทน คื อ ฉิ่ ง กรั บ และโทน ราตามจังหวะหน้าทับของเสียงโทน คือ “ปะ โทน ปะ โทน ปะ โทน โทน ” ดั้งนั้นจึงเรียก การแสดงชุดนี้ตามจังหวะหน้าทับว่า “ ราโทน” ต่อมาจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ในขณะนั้นจึงได้ตระหนักถึงคุณค่า และความส าคัญของการละเล่น ประจ าชาติ คือ ราโทน ซึ่งชาวบ้านนิยมร้อง รา กันใน ขณะนั้น และเห็นว่าคนไทยนิยมเล่นราโทนกันอย่างแพร่หลายจึงมีแนวคิดที่จะนาการเล่นรา โทนมาปรับปรุงให้มีระเบียบแบบแผนมากยิ่งนี้ทั้งเนื้อเพลง กระบวนท่ารา และเครื่องแต่ง กาย ในปี พ. ศ. 2487 จึงได้มอบหมายให้กรมศิลปากรปรับปรุงราโทนให้มีแบบแผนเป็น มาตรฐาน มีการแต่งเนื้อร้อง ทานองเพลงขึ้นใหม่ และปรับปรุงท่ารา โดยนาท่าราจากท่า ของแม่บ ทมากาหนดเป็ น ท่ า ร าเฉพาะของแต่ ล ะเพลงอย่า งมีแ บบแผน ก าหนดให้ เ ป็ น มาตรฐานเดีย วกั น และเปลี่ ย นชื่อ จากร าโทนมาเป็น “ร าวง” ต่อ มาเนื่อ งจากกระบวน ท่า ร าที่มี ร ะเบี ย บแบบแผนเป็ น มาตรฐาน กรมศิล ปากรจึง เรี ยกว่ า “ร าวงมาตรฐาน” นิยมเล่นในงานรื่นเริงบันเทิงต่างๆ และยังนิยมนามาใช้เล่นแทนการเต้นรา ซึ่งประกอบไป ด้วยเพลงทั้งหมด 10 เพลง ดังนี้ 1. เพลงงามแสงเดือน 2. เพลงชาวไทย เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

3


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

3. เพลงราซิมารา 4. เพลงคืนเดือนหงาย 5. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ 6. เพลงดอกไม้ของชาติ 7. เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า 8. เพลงหญิงไทยใจงาม 9. เพลงบูชานักรบ 10. เพลงยอดชายใจหาญ กรมศิ ล ปากร และกรมประชาสั ม พั น ธ์ เ ป็ น ผู้ แ ต่ ง ท านองเพลงทั้ ง 10 เพลง ผู้ประดิษฐ์ท่าราราวงมาตรฐาน คือ นางลมุล ยมะคุปต์ นางมัลลี คงประภัศร์ และหม่อมครู ต่วน (ศุภลักษณ์) ภัทรนาวิก ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป ส่วนผู้คิด ประดิ ษ ฐ์ จั ง หวะเท้ า ของเพลงดวงจั น ทร์ วั น เพ็ ญ คื อ นางจิ ต รา ทองแถม ณ อยุ ธ ยา อาจารย์ใหญ่โรงเรียนสังคีตศิลป (วิทยาลัยนาฏศิลป) ในปี พ.ศ.2485–2486 ปรากฏรายชื่อ ผู้แสดงครั้งแรก (รจนา สุนทรานนท์ และคารณ สุนทรานนท์. 2558: …..) ดังนี้ 1. นายอาคม สายาคม 2. นายจานง พรพิสุทธิ์ 3. นายธีรยุทธ ยวงศรี 4. นางสุวรรณี ชลานุเคราะห์ 5. นางศิริวัฒน์ ดิษยนันทน์ 6. นางสาวสุนันทา บุณยเกตุ

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

4


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

บทที่ 2 ลักษณะและรูปแบบการแสดงราวงมาตรฐาน

ลักษณะและรู ปแบบการแสดง เป็ นรามาตรฐาน ประเภทราหมู่ประกอบด้ว ยผู้ แสดง 4 คู่ ( 8 คน ) เป็นการราร่วมกันเป็นคู่ชาย-หญิงเดินราเป็นวงกลมเวียนซ้ายไปขวา (ทวนเข็มนาฬิกา) ด้วยกระบวนท่าราที่กาหนดไว้แต่ละเพลงอย่างมีแบบแผนเป็นมาตรฐาน มีความสัมพันธ์คู่สื่ออารมณ์และความรู้สึกด้วยสายตาและกระบวนท่าราและสัมพันธ์หมู่ใน การราและการแปรแถวในรูปแบบของการราเป็นวงอย่างพร้อมเพรียงกัน นอกจากนี้ได้ กาหนดจารีตของการแสดงโดยปลูกฝังวัฒนธรรมเป็นขั้ นตอนการไหว้ ให้ผู้หญิงไหว้และ ผู้ชายรับไหว้ ก่อนและหลังแสดงทุกครั้งและมีการแต่งกายตามแบบวัฒนธรรมไทยในยุค สมัยต่างๆ ซึ่งกาหนดไว้เป็นแบบแผน การราแบ่งออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้ สีม่วง แทน ผู้แสดงผู้หญิง สีเขียว แทน ผู้แสดงผู้ชาย ช่วงที่ 1 ผู้แสดงชายและหญิงเดินออกมาเป็นแถวตอนสองแถวหันหน้าเข้าหากัน ผู้หญิงไหว้และผู้ชายรับไหว้

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

5


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

ภาพที่ 1 รูปแบบการแสดงช่วงที่ 1 แหล่งที่มา: ชวลิต สุนทรานนท์ และคณะ ช่วงที่ 2 ราแปรแถวเป็นวงกลมตามทานองเพลงและราตามบทร้องรวม 10 เพลง โดยเปลี่ยนท่าราไปตามเพลงต่าง ๆ ที่กาหนดไว้แล้ว เริ่มตั้งแต่เพลงงาม แสงเดือน เพลงชาวไทย เพลงราซิมารา เพลงคืนเดือนหงาย เพลงดวง จันทร์วันเพ็ญ เพลงดอกไม้ของชาติ เพลงหญิงไทยใจงาม เพลงดวงจันทร์ ขวัญฟ้า เพลงยอดชายใจหาญ และเพลงบูชานักรบ

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

6


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

ภาพที่ 2 รูปแบบการแสดงช่วงที่ 2 แหล่งที่มา: ชวลิต สุนทรานนท์ และคณะ ช่วงที่ 3 เมื่อราจบเพลงที่ 10 ผู้หญิงไหว้และผู้ชายรับไหว้แล้วเดินเข้า หรือใน รูปแบบของการแสดงเมื่อราจบบทร้องในเพลงที่10 ผู้แสดงราเข้าเวที ทีละคู่ตามทานองเพลงจนจบเพลง โดยเดินเป็นวงเข้าด้านซ้ายของเวที

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

7


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

ภาพที่ 3 รูปแบบการแสดงช่วงที่ 3 แหล่งที่มา: ชวลิต สุนทรานนท์ และคณะ

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

8


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

บทที่ 3 เครื่องแต่งกายการแสดงราวงมาตรฐาน

แต่งกายของผู้แสดงราวงมาตรฐานมีการกาหนดให้มีระเบียบ ด้วยการใช้ชุดไทย และชุดสากลนิยม ในลักษณะการแต่งเป็นคู่ๆ ทั้งชายและหญิง อาทิ ผู้หญิงนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้ อ คอกลม มีผ้ า คาดเอว ผู้ ห ญิ งนุ่ ง โจงกระเบน ห่ ม สไบอั ด จี บ การแต่ ง กายร าวง มาตรฐานนั้นสามารถแบบออกได้ 4 แบบตามรูปแบบของกรมศิลปกร ดังนี้

แบบที่ 1 การแต่งกายแบบชาวบ้าน ผู้ชาย : สวมเสื้อคอพวงมาลัยสีพื้น หรือลายดอก นุ่งผ้าโจง กระเบน ใช้ผ้าคาดสะเอวห้อยชายด้านหน้า ผู้ห ญิง :

ห่ มผ้ าสไบอัดจี บ นุ่ งโจง

กระเบน ปล่ อ ยผม ทั ด ดอกไม้ ด้ า นซ้ า ย คาดเข็มขัดใส่เครื่องประดับทอง

ภาพที่ 4 การแต่งกายราวงมาตรฐานแบบชาวบ้าน แหล่งที่มา: ชวลิต สุนทรานนท์ และคณะ เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

9


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

แบบที่ 2 การแต่งกายแบบสมัยรัชกาลที่ 5

ภาพที่ 5 การแต่งกายราวงมาตรฐานแบบสมัยรัชกาลที่5 แหล่งที่มา : ชวลิต สุนทรานนท์ และคณะ

ผู้ชาย : นุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อราชประแตน ใส่ถุงเท้า สวมรองเท้า ผู้หญิง : นุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อลูกไม้ สไบพาดบ่าผูกเป็นโบว์ ทิ้งชายไว้ข้าง ลาตัวด้านซ้าย ใส่เครื่องประดับมุก ใส่ถุงน่อง สวมรองเท้า

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

10


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

แบบที่ 3 การแต่งกายแบบสากลนิยม การแต่ ง กายแบบสากลนิ ย ม คื อ การแต่ ง กายด้ ว ย ชุ ด ไทยพระราชนิ ย ม ตามความนิยมของชาวไทยในสมัยรัตน์โกสินทร์ต่างๆ ผู้ชาย :

สวมเสื้อเชิ้ตด้านใน สวมสูททับเสื้อ ผูกไท้ นุ่งกางเกง สวมถุงเท้า และรองเท้า

ผู้หญิง : แต่งกายชุดไทยพระราชนิยม เช่น แต่งกายแบบ ชุด ไทยเรือนต้น, ชุดไทยบรมพิมาน, ชุดไทยจักพรรดิ์, ชุดไทยดุสิต, ชุดไทยจักรี, ชุดไทยจิตรลดา, ชุดไทยอัมรินทร์, และชุดไทยศิวาลัย

ภาพที่ 6 การแต่งกายราวงมาตรฐานแบบสากลนิยม แหล่งที่มา : ชวลิต สุนทรานนท์ และคณะ เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

11


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

ภาพที่ 4 การแต่งกายราวงมาตรฐานแบบสากลนิยมฝ่ายหญิง(ชุดไทยพระราชนิยม) แหล่งที่มา : Thai Classical Performing Arts News: What Where When

หมายเลข  หมายเลข  หมายเลข  หมายเลข  หมายเลข  หมายเลข  หมายเลข  หมายเลข 

การแต่งกายแบบไทยเรือนต้น การแต่งกายแบบไทยจิตรดา การแต่งกายแบบไทยอัมรินทร์ การแต่งกายแบบไทยบรมพิมาน การแต่งกายแบบไทยจักรี การแต่งกายแบบไทยดุสิต การแต่งกายแบบไทยจักรพรรดิ์ การแต่งกายแบบไทยศิวาลัย

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

12


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

ยกตัวอย่างชุดไทยพระราชนิยม ชุดไทยบรมพิมาน แต่งชุดไทยบรมพิมานคือ สวมเสื้อคอตั้งผ่าหน้าแขนกระบอก นุ่งกระโปรงยาวจีบหน้านางมีชายพกยาวกรอมเท้า ศีรษะทาผมเกล้าเป็นมวยสูง ใส่เกี้ยว และเครื่องประดับและสวมรองเท้าหรือแต่งชุดไทยพระราชนิยมชุดอื่นๆ ชุดไทยจักรพรรดิ ชุดไทยจักรพรรดิ ห่มสไบปล่อยชายด้านหน้านุ่งกระโปรงยาว กรอมเท้า จีบหน้านาง มีชายพกเปิดไหล่ขวา ศีรษะทาผมเกล้าเป็นมวยสูง ใส่เกี้ยวและ เครื่องประดับและสวมรองเท้า หรือแต่งชุดไทยพระราชนิยมชุดอื่นๆ

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

13


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

แบบที่ 4 การแต่งกายแบบราตรีสโมสร

ภาพที่ 7 การแต่งกายราวงมาตรฐานแบบราตรีสโมสร แหล่งที่มา : ชวลิต สุนทรานนท์ และคณะ

ผู้ชาย : นุ่งกางเกง สวมเสื้อพระราชทาน เอวคาดผ้าห้อยชายด้านหน้า ใส่ถุงเท้า สวมรองเท้า ผู้หญิง : นุ่งผ้าจีบหน้านาง สวมเสื้อจับเดรป ชายผ้าห้อยจากบ่าลงไปทางด้านหลัง เปิดไหล่ขวา ศีรษะทาผมเกล้าเป็นมวยสูง ใส่เกี้ยวและเครื่องประดับ สวมรองเท้า

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

14


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

บทที่ 4 เครื่องดนตรีที่บรรเลงประกอบการแสดงราวงมาตรฐาน

เครื่ อ งดนตรี ที่ ใ ช้ ใ นการแสดง ร าโทน หรื อ ร าวงนั้ น แต่ เ ดิ ม มี เ ครื่ อ งดนตรี ประกอบการรา คือ โทน ฉิ่ง และกรับ ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาราโทนขึ้นเป็นราวงมาตรฐาน จึงได้เพิม่ เครื่องดนตรีประกอบการแสดง เป็นวงดนตรีไทยหรือวงดนตรีสากล วงดนตรีไทย คือ วงปี่พาทย์เครื่องห้า ประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ระนาดเอก ฉิ่ง ปี่ใน ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน กลองทัด

ภาพที่ 8 วงปี่พาทย์เครื่องห้า แหล่งที่มา: http://supraneetl.blogspot.com เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

15


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

วงดนตรีสากลที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดงราวงมาตรฐานแสดง เครื่องดนตรี ประกอบไปด้วย คาริเนต ทรอมโบน ทรัมเปต ไวโอลิน วิโอลา เซลโล เบส โทน ชาตรี ฉิ่ง กรับพวง โหม่ง

ภาพที่ 9 วงดนตรีสากล แหล่งที่มา: http://supraneetl.blogspot.com

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

16


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

บทที่ 5 โอกาสที่ใช้ในการแสดงราวงมาตรฐาน

ราวงมาตรฐานเป็นการราที่ได้รับ การสืบทอดมาตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน นิยม เล่นในงานบันเทิงรื่นเริงต่างๆใช้เล่นแทนการเต้นรา มักนิยมนามาราหลังจากจบการแสดง หรืองานบันเทิงต่างๆเพื่อเชิญชวนให้ผู้ร่วมงานออกมาราวงร่วมกัน เป็นการแสดงที่ส่งเสริม ความสามัคคีกลมเกลียวกันเป็นหมู่คณะ และยังเป็นที่นิยมของชาวต่างชาติในการออกมารา วงเพื่อความสนุกสนาน และยังสามารถเผยแพร่ให้แก่ประชาชนทั่วไปในโอกาสต่างๆ

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

17


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

เรื่องน่ารู้ วงปี ่พ าทย์เ ครื ่อ งห้า เป็น วงดนตรีที ่ใ ช้ ป ระกอบการแสดงโขนกลางแปลง โขนนั่งราวและโขนโรงใน ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีเครื่องบรรเลงคือ ปี่กลาง ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน กลองทัด (แต่เดิม ใช้เ พีย ง 1 ลูก ต่อมาในสมัย รัช กาลที่ 1 จึง เพิ่ม เป็น 2 ลูก ) และฉิ่งโดยจะมี 2 วงเป็นอย่างน้อย โดยโขนโรงในใช้วงปี่พาทย์เ ครื่องห้าตั้งแต่ส มัยกรุง ศรีอยุธยาตอนปลายมาจนถึงรัชกาลที่ 3 จึงมีการเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลงไป

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

18


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

บทที่ 6 ตัวอย่างราวงมาตรฐาน เพลงชาวไทย ประวัติความเป็นมาของเพลงชาวไทย ร าวงมาตรฐานเพลงชาวไทยเป็ น เพลงล าดั บที่ 2

ของเพลงราวงมาตรฐาน

ผู้ป ระพัน ธ์ บทร้อง คือ จมื่น มานิตย์ นเรศ (นายเฉลิ ม เศวตนันท์) หั วหน้ากองการสังคีต กรมศิ ล ปากร โดยประพั น ธ์ ขึ้ น ในนามของกรมศิ ล ปากร ผู้ เ รี ย บเรี ย งท านองเพลง คื อ ศาสตราจารย์ มนตรี ตราโมท ผู้เชี่ยวชาญดนตรีไทย กรมศิลปากร ผู้ประดิษฐ์ท่ารา คือ นางลมุ ล ยมะคุ ป ต์ นางมั ล ลี คงประภั ศ ร์ และหม่ อ มครู ต่ ว น (ศุ ภ ลั ก ษณ์ ) ภั ท รนาวิ ก ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย วิทยาลัยนาฏศิลป รูปแบบและลักษณะการแสดงเพลงชาวไทย ลักษณะและรูปแบบการแสดงรามาตรฐานเพลงชาวไทย เป็นการแสดงประเภทรา หมู่ประกอบด้วยผู้แสดง 4 คู่ (8 คน) หรือ 5 คู่ (10คน) เป็นการราร่วมกันระหว่างคู่ชายหญิ ง เดิ น ร าเป็ น วงกลมเวี ย นซ้ า ยไปขวา(ทวนเข็ ม นาฬิ ก า) ด้ ว ยท่ า ชั ก แป้ ง ผั ด หน้ า มีความสัมพันธ์คู่สื่ออารมณ์และความรู้สึกด้วยสายตาและกระบวนท่าราและสัมพันธ์หมู่ใน การราและการแปรแถวในรูปแบบของการราเป็นวงอย่างพร้อมเพรียงกัน

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

19


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

เครื่องแต่งกายการแสดงเพลงชาวไทย แบบที่ 1 การแต่งกายแบบชาวบ้าน ผู้ชาย : สวมเสื้อคอพวงมาลัยสีพื้นหรือลายดอก นุ่งผ้าโจงกระเบน ใช้ผ้าคาด สะเอวห้อยชายด้านหน้า ดังตัวอย่างภาพประกอบในบทที่ 3 ภายในเล่มนี้ ผู้หญิง: ห่มผ้าสไบอัดจีบ นุ่งโจงกระเบน ปล่อยผม ทัดดอกไม้ด้านซ้ายคาดเข็มขัด ใส่เครื่องประดับทอง ดังตัวอย่างภาพประกอบในบทที่ 3 ภายในเล่มนี้ แบบที่ 2 การแต่งกายแบบสมัยรัชกาลที่ 5 ผู้ชาย : นุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อราชประแตน ใส่ถุงเท้า สวมรองเท้า ดังตัวอย่างภาพประกอบในบทที่ 3 ภายในเล่มนี้ ผู้หญิง : นุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อลูกไม้ สไบพาดบ่าผูกเป็นโบว์ ทิ้งชายไว้ข้าง ลาตัวด้านซ้าย ใส่เครื่องประดับมุก ใส่ถุงน่อง สวมรองเท้าดังตัวอย่าง ภาพประกอบในบทที่ 3 ภายในเล่มนี้ แบบที่ 3 การแต่งกายแบบสากลนิยม การแต่งกายแบบสากลนิยม คือ การแต่งกายด้วยชุดไทยพระราชนิยมตามความ นิยมของชาวไทยในสมัยรัตน์โกสินทร์ต่างๆ ผู้ชาย : สวมเสื้อเชิ้ตด้านใน สวมสูททับเสื้อ ผูกไท้ นุ่งกางเกง สวมถุงเท้า และรองเท้าดังตัวอย่างภาพประกอบในบทที่ 3 ภายในเล่มนี้ ผู้หญิง : แต่งกายชุดไทยพระราชนิยม เช่น แต่งกายแบบ ชุด ไทยเรือนต้น, ชุดไทยบรมพิมาน, ชุดไทยจักพรรดิ์, ชุดไทยดุสิต, ชุดไทยจักรี, ชุดไทยจิตรลดา, ชุดไทยอัมรินทร์, และชุดไทยศิวาลัยดังตัวอย่าง ภาพประกอบในบทที่ 3 ภายในเล่มนี้

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

20


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

แบบที่ 3 การแต่งกายแบบราตรีสโมสร ผู้ชาย : นุ่งกางเกง สวมเสื้อพระราชทาน เอวคาดผ้าห้อยชายด้านหน้า ใส่ถุงเท้า สวมรองเท้าดังตัวอย่างภาพประกอบในบทที่ 3 ภายในเล่มนี้ ผู้หญิง : นุ่งผ้าจีบหน้านาง สวมเสื้อจับเดรป ชายผ้าห้อยจากบ่าลงไปทางด้านหลัง เปิดไหล่ขวา ศีรษะทาผมเกล้าเป็นมวยสูง ใส่เกี้ยวและเครื่องประดับ สวมรองเท้าดังตัวอย่างภาพประกอบในบทที่ 3 ภายในเล่มนี้ เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดงเพลงชาวไทย เครื่ อ งดนตรี ที่ ใ ช้ ใ นการแสดง ร าโทน หรื อ ร าวงนั้ น แต่ เ ดิ ม มี เ ครื่ อ งดนตรี ประกอบการรา คือ โทน ฉิ่ง และกรับ ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาราโทนขึ้นเป็นราวงมาตรฐาน จึงได้เพิ่มเครื่องดนตรีประกอบการแสดง เป็นวงดนตรีไทยหรือวงดนตรีสากล วงดนตรี ไ ทย คื อ วงปี่ พ าทย์ เ ครื่ อ งห้ า ประกอบไปด้ ว ย ระนาดเอก ฉิ่ ง ปี่ ใ น ฆ้องวงใหญ่ ตะโพน และกลองทัด ดังตัวอย่างภาพประกอบในบทที่ 4 ภายในเล่มนี้ วงดนตรีสากลที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดงราวงมาตรฐานแสดง เครื่องดนตรี ประกอบไปด้วย คาริเนต ทรอมโบน ทรัมเปต ไวโอลิน วิโอลา เซลโล เบส โทน ชาตรี ฉิ่ง กรับพวง และโหม่ง ดังตัวอย่างภาพประกอบในบทที่ 4 ภายในเล่มนี้ โอกาสที่ใช้ในการแสดงเพลงชาวไทย ราวงมาตรฐานเพลงชาวไทยเป็นการราที่ได้รับการสืบทอดมาตั้งแต่อดีตมาจนถึง ปัจจุบัน นิยมเล่นในงานบันเทิงรื่นเริงต่างๆใช้เล่นแทนการเต้นรา มักนิยมนามาราหลังจาก จบการแสดงหรืองานบันเทิงต่างๆเพื่อเชิญชวนให้ผู้ร่วมงานออกมาราวงร่วมกัน เป็นการ แสดงที่ส่งเสริมความสามัคคีกลมเกลียวกันเป็นหมู่คณะ และยังเป็นที่นิยมของชาวต่างชาติ ในการออกมาราวงเพื่อความสนุกสนาน และยังสามารถเผยแพร่ให้แก่ประชาชนทั่วไปใน โอกาสต่างๆ

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

21


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

เนื้อร้องเพลงเพลงชาวไทย ชาวไทยเจ้าเอ๋ย การที่เราได้เล่นสนุก เพราะชาติเราได้เสรี เราจึงควรช่วยชูชาติ เพื่อความสุขเพิ่มพูน

ขออย่าละเลยในการทาหน้าที่ เปลื้องทุกข์สบายอย่างนี้ มีเอกราชสมบูรณ์ ให้เก่งกาจเจิดจารูญ ของชาวไทยเราเอย

ความหมายของเนื้อร้องเพลงชาวไทย หน้าที่ที่ชาวไทยพึงมีต่อประเทศชาตินั้นเป็นสิ่งที่ทุกคนควรกระทา อย่าได้ละเลยไป เสียในการ ที่เราได้มาเล่นราวงกันอย่างสนุกสนาน ปราศจากทุกข์โศกทั้งปวงนี้ก็เพราะว่า ประเทศไทยเรามีเอกราช ประชาชนมีเสรีในการจะคิดจะทาสิ่งใดๆ ดังนั้น เร่าจึงควรช่วยกัน เชิดชูชาติไทยให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป เพื่อความสุขยิ่งๆขึ้นของไทยเราตลอดไป นาฏยศัพท์ในเพลงชาวไทย ค าว่ า นาฏยศั พ ท์ เป็ น ค าสมาส ประกอบด้ ว ยค าสองค า คื อ นาฏย + ศั พ ท์ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายไว้ว่า นาฏย [นาดตะยะ-] (แบบ) ว. เกี่ยวกับการฟ้อนรา, เกีย่ วกับการแสดงละคร, เช่น นาฏยศาลา (2554, หน้า 621) ศัพท์ [สับ] น. เสียง คา เช่น ศัพท์บัญญัติ ; คายากที่ต้องแปล ศัพท์เฉพาะวิชา น. คาที่ตราขึ้นหรือกาหนดใช้ในแต่ละวิชา ศัพท์บัญญัติ น. คาที่ตราขึ้นหรือกาหนดขึ้นไว้ให้ มีความหมายเฉพาะเป็นเรื่อง ๆ ไป (2546, หน้า 1139) นาฏยศัพท์ หมายถึง คาศัพท์เฉพาะที่ใช้ในวงการนาฏศิลป์ไทย ที่ใช้เรียกท่าทาง หรือท่ารา หรือกิริยาอาการต่างๆที่เกี่ยวกับนาฏศิลป์ไทยเพื่อใช้สื่อความหมายในการปฏิบัติ ท่าราและการแสดงให้เข้าใจตรงกัน นาฏยศัพท์ในการแสดงราวงมาตรฐานเพลงชาวไทยมี ดังนี้

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

22


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

1. การย่าเท้า การย่าเท้าเป็นนาฏยศัพท์ที่ปรากฏในการแสดงนาฏศิลป์ไทย คือ การ ยกเท้าวางสลับกันไป ซ้าย-ขวา ตามทานองและจังหวะของเพลง ส่วนการย่าเท้าที่ใช้ในเพลงชาวไทยนั้นจะเริ่มจากการย่าเท้าซ้ายก่อนแล้ว มาย่าเท้าขวาสลับกันไป โดยจะปฏิบัติสลับกันไปในลักษณะนี้ตามทานอง และ จังหวะของเพลงชาวไทยตลอดทั้งเพลง 2. การตั้งวง การตั้งวงเป็นนาฏยศัพท์ที่ปรากฏในการแสดงนาฏศิลป์ไทย คือการใช้ มื อ ทั้ ง สองข้ า งหั ก ข้ อ มื อ นิ้ ว ทั้ ง สี่ ตึ ง ชิ ด ติ ด กั น นิ้ ว หั ว แม่ มื อ หั ก หลบเข้ า ฝ่ า มื อ เล็กน้อยซึ่งสามารถเรียกอีกอย่างว่า “วง” ขึ้นอยู่กับระดับ หรือตาแหน่งของวง ส่วนการตั้งวงที่ใช้ในเพลงชาวไทย เรียกว่า “ตั้งวงหน้า ” คือ การทอด ส่วนโค้งของลาแขนไปด้านหน้าระดับปาก โดยจะเริ่มจากการตั้งวงหน้าด้านซ้าย ก่อนแล้วมาตั้งวงหน้าระดับปากด้านขวาปฏิบัติสลับกัน ไปในลักษณะนี้ตามทานอง และจังหวะของเพลงชาวไทยตลอดทั้งเพลง 3. การจีบ การจีบเป็นนาฏยศัพท์ที่ปรากฏในการแสดงนาฏศิลป์ไทย คือ การใช้ปลาย นิ้วหั วแม่มือ (นิ้ วโป้ง) จรดกับข้อแรกของนิ้วชี้ โดยนับจากปลายนิ้วลงมา ส่ว น นิ้วกลาง นิ้วนาง และนิ้วก้อยกรีดตึงออกไปเป็นรูปพัด นิ้วหัวแม่มือควรงอ เล็กน้อย พองาม การจีบจะต้องหักข้อมือเข้าหาลาแขนเสมอ โดยหักปลายจีบเข้าหาฝ่ามือ ส่ว นการจี บ ที่ใช้ในเพลงชาวไทยนั้นเรียกว่า “จีบปรกข้า ง” โดยจะใช้ ปลายนิ้วหัวแม่มือจรดกับข้อแรกของนิ้วชี้ โดยนับจากปลายนิ้วลงมาส่วนนิ้วกลาง นิ้วนาง และนิ้วก้อยกรีดตึงออกไปเป็นรูปพัดหักข้อมือเข้าหาลาแขน ตัวนางอยู่ใน ระดับหางคิ้ว ส่วนตัวพระอยู่ในระดับแง่ศีรษะ โดยจะเริ่มจีบปรกข้างด้านขวาก่อน แล้วมาจีบปรกข้างด้านขวาปฏิบัติสลับกันในลักษณะนี้ตามทานอง และจังหวะของ เพลงชาวไทยตลอดทั้งเพลง และ “จีบคว่า” คือการจีบที่คว่ามือลง ปลายนิ้วที่จีบ เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

23


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

ชี้ลงเบื้องล่าง โดยจะเริ่มจีบคว่ามือซ้ายก่อนแล้วมาจีบคว่ามือขวาปฏิบัติสลับกันใน ลักษณะนี้ตามทานอง และจังหวะของเพลงชาวไทยตลอดทั้งเพลงเช่นกัน 4. การเอียงศีรษะ การเอียงศีรษะ คือ การเอียงศีรษะไปข้างใดข้างหนึ่ง ซึ่งจะต้องทา พร้อมกับการกดไหล่และเอวไปด้วย เช่น เอียงศีรษะด้านซ้าย ต้องกดไหล่และกด เอวด้านซ้ายไปพร้อมๆกัน ส่ ว นการเอีย งศีร ษะที่ใช้ในเพลงชาวไทยนั้ นจะเริ่มจากการเอียงศีรษะ ด้านขวาก่อนแล้วมาเอียงศีรษะด้านซ้ายสลับกันไป โดยจะปฏิบัติสลับกันไปใน ลักษณะนี้ตามทานอง และจังหวะของเพลงชาวไทยตลอดทั้งเพลง

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

24


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

ภาษานาฏศิลป์ในเพลงชาวไทย ภาษาท่า นาฏศิ ล ป์ หมายถึ ง ท่า ทางที่ ใ ช้ สื่ อ ความหมายในการแสดงนาฏศิ ล ป์ หรือการละคร ระหว่างผู้แสดงและผู้ชมการแสดงให้เกิดความเข้าใจซึ่งกันละกัน โดยผู้แสดง เป็ น ผู้ น าสาร ท่าทางเป็ น สาร ผู้ ช มเป็ น ผู้ รั บสาร ท่าทางที่แสดงออกมาเป็นท่าทางที่สื่ อ ความหมายแทนคาพูด เลียนแบบท่าทางของมนุษย์ ธรรมชาติ และสัตว์ ส่ว นภาษานาฏศิล ป์ หรื อท่าร าในเพลงชาวไทย เป็นภาษาท่าทางที่มาจากการ ประดิษฐ์ท่าราของครูอาจารย์ทางด้านนาฏศิลป์ไทย เรียกว่า ท่าชักแป้งผัดหน้า

ภาพที่ 10 ท่าชักแป้งผัดหน้า แหล่งที่มา : ชวลิต สุนทรานนท์ และคณะ เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

25


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

อธิบายหลักการปฏิบัติท่ารา บทร้อง

ชาวไทยเจ้าเอย

อธิบายปฏิบัติท่ารา ก้าวเท้าขวาตรงคาว่า “ชาว” ส่วนมือขวา

หมายเหตุ

ที่จีบปรกข้าง ลดลงมาเป็นมือแบบหงาย ปลายนิ้วตกลงด้านข้างมือซ้ายลดลงจาก วงหน้าลงมาอยู่ระดับอกสูงกว่าชายพก เล็กน้อย ตรงคาว่า “เอย”

ขออย่าละเลยในการทา หน้าที่

ตรงคาว่า “ขออย่า” ให้เริ่มจีบคว่ามือ ซ้าย แล้วค่อย ๆ หมุนตัวเข้าด้านในพร้อม กัน ยกมือซ้ายที่จีบคว่าขึ้นไปเป็นจีบปรก ข้าง มือขวาปาดมาอยู่เป็นวงหน้า ศีรษะ เอียงทางซ้าย ก็จะได้จีบปรกข้างซ้าย หรือ ชักแป้งผัดหน้าซ้ายตรงคาว่า “หน้าที่” ลดจีบปรกข้างซ้ายลงมาแบระดับด้านข้าง มือขวาลดลงมาอยู่สูงกว่าชายพก หลังคา

การที่เราได้เล่นสนุก

ว่า “สนุก” ให้จีบคว่ามือขวา แล้วค่อย ๆ หมุนตัวออกด้านนอกวง

เปลื้องทุกข์สบายอย่างนี้

เพราะชาติเราได้เสรี

ยกมือขวาที่จีบคว่าขึ้นไปเป็นจีบปรกข้าง มื อ ซ้ า ยยกปาดเป็ น วงหน้ า ศี ร ษะเอี ย ง ทางขวา ตรงคาว่า “อย่างนี้” ลดจี บ ปรกข้ างด้า นขวาลงพร้ อมมือ ซ้า ย แบมือตรงคาว่า “เสรี”

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

26


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

บทร้อง มีเอกราชสมบูรณ์

เราจึงควรช่วยชูชาติ

อธิบายปฏิบัติท่ารา เปลี่ยนเป็นจีบปรกข้างซ้าย มือขวาตั้งวง

หมายเหตุ

หน้า ศีรษะเอียงทางซ้าย ลดจี บ ปรกข้ า งซ้ า ยลงพร้ อ มมื อ ขวา มื อ ซ้ายแบหงายตรงคาว่า “ชูชาติ” จีบคว่ามือขวาตรงคาว่า “ให้” แล้วค่อย ๆ

ให้เก่งกาจเจิดจารูญ

หมุ น ตัว เข้า ในวงพร้อ มกับ ยกมื อ ขวาขึ้ น เป็นจีบปรกข้าง มือซ้ายตั้งวงหน้า ศีรษะ เอียงทางขวา

เพื่อความสุขเพิ่มพูน

ลดจีบปรกข้างขวาพร้อมกับมือซ้าย จีบคว่ามือซ้ายตรงคาว่า “ของ” ค่อย ๆ

ของชาวไทยเราเอย

หมุนตัวเข้าในวงพร้อมกับยกจีบคว่าซ้าย เปลี่ยนเป็นจีบปรกข้างซ้าย มือขวาตั้งวง หน้า ศีรษะเอียงทางซ้าย

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

27


รำวงมำตรฐำนสำหรับกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน

บรรณานุกรม

กาญจนา อินทรสุนานนท์ และรุจี ศรีสมบัติ. ราวงมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ วัฒนา พานิช. 2547 ชวลิต สุนทรานนท์ และคณะ. ทะเบียนข้อมูล : วิพิธทัศนา ชุดระบา รา ฟ้อน เล่ม2. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ไทภูมิ. 2550 รจนา สุนทรานนท์ และคารณ สุนทรานนท์ . 2558. เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพนาฏศิลป์ ไทยระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ภาควิชานาฏดุริยางคศิลป์ คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมี บุคส์พบั ลิเคชั่นส์, 2546. สุมิตร เทพวงษ์. นาฏศิลป์ไทยสาหรับครูประถมศึกษา-อุดมศึกษา. กรุงเทพ: สานักพิมพ์โอ เดียนสโตร์. 2548 “ระบาชุดไทยพระราชนิยม”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา Thai Classical Performing Arts News: What Where When. (27 สิงหาคม 2559). “วงดนตรีสากล”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://supraneetl.blogspot.com (27 สิงหาคม 2559). “วงปี่พาทย์”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://supraneetl.blogspot.com (27 สิงหาคม 2559).

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ราวงมาตรฐานสาหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน | จัดทาโดย นายลิขิต ใจดี

28


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.