สิริธรชาดก (ผลของทาน) : การสร้ างสรรค์ หนังสือนิทานสาหรับเด็ก เพื่อส่ งเสริมลักษณะนิสัยตามหลักปฏิบัตคิ ่ านิยม 12 ประการ SIRIDRON JATAKA : THE CHILDREN’S CREATIVE STORY FOR BEHAVIOR AS TWLVE VALUEA ANNOUCED BY THE HEAD OF THE NATIONAEL CONCIL OF PEACE AND ORDER (NCPO)
อาจารย์ ผ้ ูสอน อาจารย์ มาโนช บุญทองเล็ก อาจารย์ สุชีรา อินทโชติ
โดย นายลิขิต ใจดี นักศึกษาชันปี ้ ที่3 ห้ อง 1 เลขที่ 3 (สาขานาฏศิลป์ไทย)
เอกสารเล่ มนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษารายวิชา ความเป็ นครู นาฏศิลป์ ภาควิชานาฏดุริยางคศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2557
(ก)
คานา นิทานเรื่ องสิริธรชาดก (ผลของทาน) เป็ นการนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเรื่ องสิริ ธรชาดกในปั ญญาสชาดก มาดัดแปลงให้ อยู่ในรู ปแบบของนิทานสาหรับเด็กโดยมีเนื ้อหาสาระ สอดคล้ อง กับค่านิยม 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) นิทานเรื่ องสิริธรชาดก (ผลของทาน) เป็ นการส่งเสริ มให้ เด็กเกิดการเรี ยนรู้ตามศักยภาพ และ ปฏิ บัติต นให้ เ ป็ นเยาวชนไทยที่ ดี มี คุณ ค่า ต่อ สัง คมตามหลัก ค่า นิ ย มในข้ อ ที่ 6 คื อ มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีตอ่ ผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปั น ซึง่ เป็ นคุณสมบัติของเยาวชนไทย ที่ควรแก่การยึดถือและปฏิบตั ิ ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์ทกุ ท่านที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ ให้ แก่ผ้ สู ร้ างสรรค์ รวมทังคณาจารย์ ้ ผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็ นเจ้ าของบทความ ตาราต่างๆ ที่ผ้ สู ร้ างสรรค์ได้ ใช้ ในการ การศึกษาอ้ างอิง ทาให้ เอกสารเล่มนี ้สาเร็จลงได้ อย่างสมบูรณ์
( นายลิขิต ใจดี )
(ข)
สารบัญ บทที่ 1 บทนา ความเป็ นมาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ของการจัดสร้ าง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับ กรอบแนวคิดในการสร้ างสรรค์ นิยามศัพท์เฉพาะ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวกับเด็ก จิตวิทยาพัฒนาการวัยเด็กตอนปลาย การส่งเสริมพัฒนาการของวัยเด็กตอนปลาย ความต้ องการและความสนใจของเด็ก จิตวิทยาการสอนสาหรับวัยเด็กตอนปลาย เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวกับหนังสือนิทาน หนังสือสาหรับเด็ก หนังสือกับพฤติกรรมด้ านต่างๆของวัยเด็ก หนังสือนิทาน จุดมุง่ หมายของนิทาน ลักษณะของนิทานสาหรับเด็ก ประเภทของนิทานสาหรับเด็ก ปริมาณเนื ้อหาและรูปแบบของหนังสือนิทาน องค์ประกอบของหนังสือนิทานสาหรับเด็ก
หน้ า 1 1 3 4 5 6 7 7 7 10 11 14 15 15 15 18 19 20 22 25 25
(ค)
สารบัญ (ต่ อ)
บทที่ ขันตอนการจั ้ ดสร้ างหนังสือนิทานสาหรับเด็ก เทคนิคออกแบบหนังสือนิทานสาหรับเด็ก นิทานส่งเสริมจินตภาพ หลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่ อง สิริธรชาดก 3 วิธีดาเนินงานจัดสร้ าง ศึกษาและเก็บรวบรวมข้ อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ดาเนินการทดลองในการจัดสร้ างหนังสือนิทาน ดาเนินการหาประสิทธิภาพของหนังสือนิทาน ดาเนินการปรับปรุงแก้ ไข ดาเนินการจัดสร้ างหนังสือนิทานสาหรับเด็ก เรื่ อง สิริธรชาดก (ผลของทาน) ฉบับสมบูรณ์ ดาเนินการเผยแพร่หนังสือนิทาน 4 หนังสือนิทานสาหรับเด็ก เรื่ อง สิริธรชาดก (ผลของทาน) 5 บทสรุป และข้ อเสนอแนะ บรรณานุกรรม ภาคผนวก
หน้ า 27 30 39 41 44 47 48 51 51 52 53 56 57 58 83 85 88
บทที่ 1 บทนำ ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญ หนังสือเป็ นสื่ ออย่างหนึ่งที่มีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชี วิตของมนุษย์ ซึ่งจะนาไปสู่ความเจริ ญงอกงาม ทังทางอารมณ์ ้ สังคม และสติปัญญา อีกทังยั ้ งเป็ นการ ส่ง เสริ ม ให้ ม นุษย์ มี คุณ ลักษณะนิสัยรักการอ่าน เห็นคุณค่าและความสาคัญของหนัง สื อ ดั่ง พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู่หัว ภูมิ พ ลอดุลยเดชฯ รั ช กาลที่ 9 ที่ทรงพระราชทานแก่คณะสมาชิกห้ องสมุดทัว่ ประเทศ ในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2514 ณ ศาลาดุ สิดาลัย สวนจิตรลดา ว่า “หนังสือเป็ นการสะสมความรู้ และทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์ได้ สร้ าง มา ทามา คิดมาแต่โบราณกาลจนทุกวันนี ้ หนังสือจึงเป็ นสิ่งที่สาคัญ เป็ นคล้ าย ๆ ธนาคาร ความรู้และเป็ นออมสิน เป็ นสิ่งที่จะทาให้ มนุษย์ก้าวหน้ าได้ โดยแท้ ” หนังสือจึงเป็ นเครื่ องมือที่ สาคัญ ค่อยบันทึกเรื่ องราวและเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ ้นเอาไว้ ให้ กบั บุคคลรุ่นหลังได้ นาเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิตน และยังเป็ นประโยชน์ต่อ วงการทางการศึกษา เพื่อนาไป พัฒนาสังคมและประเทศชาติตอ่ ไป ดัง่ ที่ พิมพ์จิต สถิตวิทยานันท์ (2546: 1) ได้ กล่าวไว้ ว่า หนัง สือ เปรี ยบ เสมื อนหนึ่ง ขุม ทรั พ ย์ ทางปั ญญา และคลัง แห่ง ความบันเทิงขนานมหึม า สาหรับมวลมนุษย์ ไม่เว้ นแม้ แต่หนังสือนิทาน ซึ่งหนังสือนิทานนัน้ เป็ นส่วนหนึ่งที่จะช่วย สร้ างสรรค์และเสริมสร้ างพัฒนาการทางด้ านต่าง ๆ ให้ แก่เด็ก นิทานสาหรับเด็ก เป็ นกุศโลบายอย่างหนึ่งที่ม่งุ เน้ นทางด้ านจิตวิทยาเป็ นสาคัญ ที่ จะค่อ ยปลูกฝั ง ให้ เ ด็กมี ลักษณะนิสั ยที่ ดี เป็ นบุค คลที่ มี คุณ ภาพ พร้ อมที่ จ ะเป็ นมนุษย์ ที่ สมบูรณ์ และเป็ นกาลัง สาคัญของชาติ ต่อไป ด้ วยเหตุนีห้ นังสือนิทานสาหรับเด็กจึงได้ รับ ความนิยม และได้ รับการสนับสนุน จากภาครัฐบาลและเอกชน ในปั จจุบนั นี ้สานักพิมพ์และ ผู้ผ ลิ ตหนัง สื อนิทานส าหรั บเด็ก ของไทยต่างความสนใจและได้ มี การพัฒ นาคุณภาพของ หนังสือทังทางด้ ้ าน เนื ้อเรื่ อง ภาพประกอบ และรู ปแบบของหนังสือให้ น่าสนใจมากยิ่ง ขึ ้น (ศูนย์สง่ เสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม, 2552: 11)
และที่สาคัญนิทานสาหรับเด็กจะสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ใหม่และความคิดให้ กบั เด็กได้ ผ่านเนื ้อหาสาระในนิทานที่ประกอบไปด้ วยลักษณะตัวละคร เหตุการณ์ หรื อพฤติกรรมต่าง ๆ ที่ มี โ ดดเด่ น และสะดุด ตา จะท าให้ กระตุ้น ให้ เด็ ก เกิ ด ความสนใจ ตัง้ ใจฟั ง มี ส มาธิ ขณะเดียวกันเด็กจะได้ เรี ยนรู้ ทางด้ านภาษาจากเนื ้อหาของนิทาน เกิดความเข้ าใจเกี่ ยวกับ กลุ่มคาใหม่ จนเกิดการพัฒนาการอย่างถาวร (ศิริลกั ษณ์ คลองข่อย, 2555: 2)ซึ่งจุดมุ่งหมาย หลักของนิทานสาหรับเด็กนัน้ เพื่อสร้ างความบันเทิง และขัดเกลาจิตใจ ก่อให้ เกิดแต่สิ่งที่ดี งามภายในจิตใจเด็ก เช่นนิทานเรื่ องปลาปู่ ทอง ให้ ข้อคิดเกี่ยวกับความกตัญญูกตเวทีและผล ของการปฏิบตั ใิ นสิ่งที่ดีงาม เป็ นต้ น นิทานสาหรับเด็กมีหลากหลายรูปแบบ ดัง่ ที่ วิริยะ สิริสิงห(2524: 14) และ ปิ ยรัตน์ วิภาสุรมณทล (2532: 56) ได้ กล่าวเอาไว้ ว่า หนังสือนิทานสาหรับเด็กนันสามารถแบ่ ้ งตาม เกณฑ์ของอายุ และเกณฑ์ระดับชันเรี ้ ยนได้ แต่หากจะแต่งตามลักษณะของเรื่ องก็สามารถแบ่ง ได้ เช่นกัน ขึ ้นอยูก่ บั ผู้แต่งหรื อผู้สร้ างสรรค์จะนาเสนอให้ อยู่ในรูปแบบและลักษณะใด และที่ สาคัญอีกประการหนึ่งผู้แต่งหรื อผู้สร้ างสรรค์จะต้ องมีความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับพัฒนาการ ทางด้ านร่างกาย สติปัญญา และความสนใจของเด็กในแต่ช่วง ซึ่งจะแตกต่างกันออกไป สิ่ง เหล่านี ้จะเป็ นสิ่งที่ผ้ แู ต่งหรื อผู้สร้ างสรรค์ควรจะคานึงถึงเป็ นอันดับแรก เพื่อที่จะทาให้ หนังสือ นิทานเรื่ องนัน้ ๆ เป็ นที่นิยมและสนใจของเด็ก ๆ หากหนังสือเรื่ องนันเป็ ้ นที่นิยมหรื อเด็กสนใจ มากเป็ นพิเศษ ก็จะถือว่านิทานเรื่ องนันมี ้ ประสิทธิ ภาพ บรรลุตามวัตถุประสงค์ในการแต่ง หรื อสร้ างสรรค์นนั่ เอง ในปั จจุบนั ลักษณะการเรี ยนการสอนในชัน้ เรี ยน มีหลากหลายรู ปแบบขึน้ อยู่กับ เทคนิคและวิธีการของครูผ้ สู อน เพื่อที่จะทาให้ เด็กนักเรี ยนเกิดการเรี ยนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ สูงสุดอย่างเต็มศักยภาพ ตามกระบวนและวิธีการของครูผ้ สู อน ซึ่งรูปแบบการเรี ยนการสอน ด้ วยใช้ นิทานเป็ นสื่อก็เป็ นหนึ่ง ในรู ปแบบที่มีความนิยมมากในปั จจุบนั และเหมาะสาหรับ โรงเรี ยนในระดับชัน้ ประถมศึกษา ดังนัน้ ในฐานะที่ ผ้ ูศึกษาเป็ นเยาวชนไทยคนหนึ่ง ที่ไ ด้ มี โอกาสเข้ ารับการศึกษาในหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญ บุรี จึง เกิ ด แรงบัน ดาลใจที่ จ ะน าวรรณกรรมทางพระพุท ธศาสนา เรื่ อ งสิ ริ ธ รชาดก การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
2
ในปั ญญาสชาดก มาดัดแปลงให้ อยู่ในรู ปแบบของนิทานสาหรับเด็ก โดยนิทานเรื่ องนี จ้ ะ เหมาะสาหรับเด็ก ในช่วงอายุ 10-12 ปี มีเนื อ้ หาสาระสอดคล้ องกับหลักปฏิ บตั ิค่านิยม 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ข้ อที่ 6 คือ มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งบัน ซึ่งเป็ นคุ ณสมบัติของเยาวชนไทยที่ควร แก่การยืดถือปฏิบตั ิ เพื่อเป็ นการส่งเสริ มให้ เด็กเกิดการเรี ยนรู้ ตามศักยภาพและปฏิบตั ิตน ให้ เป็ นเยาวชนไทยที่ ดี มี คุณ ค่ า ต่ อ สัง คม โดยการด าเนิ น งานมี ผ้ ูช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.รจนา สุนทรานนท์ และอาจารย์มาโนช บุญทองเล็ก เป็ นที่ปรึกษาองค์ประกอบเนื ้อเรื่ อง ดร.นพดล พรหมณี เป็ นที่ปรึ กษาองค์ประกอบรู ปภาพและสี อาจารย์ อรัญญา ศรี จารย์ เป็ นที่ปรึกษาองค์ประกอบของภาษาและวรรณกรรมที่ใช้ สาหรับเด็ก และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฏฐพงค์ ชูทยั เป็ นที่ปรึกษาด้ านจิตวิทยาและพัฒนาการของเด็ก เพื่อให้ การจัดทาหนังสือ นิทานสาหรั บ เด็ก เรื่ องสิ ริธ รชาดก (ผลของทาน) มี ประสิ ทธิ ภ าพสูง สูด และบรรลุตาม วัตถุประสงค์ในการจัดทา อันจะนาไปสูก่ ระบวนการเผยแพร่ให้ แก่เด็กและผู้ที่สนใจ อีกทังยั ้ ง เป็ นการเพิ่มพูนประสบการณ์ ในการพัฒนาศักยภาพด้ านความรู้ทางด้ านวิชาการของผู้จดั ทา ต่อไป วัตถุประสงค์ ของกำรจัดทำ 1. เพื่อศึกษาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่ องสิริธรชาดก 2. เพื่อสร้ างสรรค์นิทานส าหรับเด็ก เรื่ องสิริธรชาดก (ผลของทาน) ที่มี เนื อ้ หา สาระสอดคล้ องกับหลักปฏิบัติค่านิยม 12 ประการ ตามนโยบายของคณะ รักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) 3. เพื่อเผยแพร่หนังสือนิทานเรื่ องสิริธรชาดก (ผลของทาน) ให้ แก่เด็กและผู้ที่สนใจ
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
3
ประโยชน์ ท่ คี ำดว่ ำจะได้ รับ 1. ได้ ศกึ ษาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่ องสิริธรชาดก 2. ได้ สร้ างสรรค์นิทานสาหรับเด็ก เรื่ องสิริธรชาดก(ผลของทาน) ที่มีเนื ้อหาสาระ สอดคล้ องกับหลักปฏิบตั ิของค่านิยม 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษา ความสงบแห่งชาติ (คสช.) 3. สามารถเผยแพร่หนังสือนิทานเรื่ องสิริธรชาดก (ผลของทาน) ให้ แก่เด็กและผู้ที่ มีความสนใจต่อไป
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
4
กรอบแนวคิดในกำรสร้ ำงสรรค์ นิทำนสำหรับเด็ก วรรณกรรม เรื่องสิริธรชำดก เป็ นวรรณกรรมทางพระพุทธ ศาสนาที่มีเนื ้อหาสาระมุง่ เน้ น ในความศรัทธาของการ บริจาคทานอย่างเป็ นนิจ ให้ เป็ นกิจนิสยั
นิทำน เรื่ องราวที่เล่าสืบต่อกันมาหรื อมี ผู้แ ต่ง ขึน้ เพื่ อ ความสนุก สนาน ตื่นเต้ น ชวนติดตาม และเต็มไป ด้ ว ยจิ น ตนาการ ซึ่ง จะน าไปสู่ กระบวนการพัฒนาการของเด็ก ทังทางด้ ้ านอารมณ์ สังคม และ สติปัญญาอย่างแท้ จริง
หลักปฏิบัตติ น หลั ก ปฏิ บั ติ ค่ า นิ ย ม 12 ประการ ตามนโยบาย ของคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ (คสช.)
หนังสือนิทำนสำหรับเด็ก เรื่องสิริธรชำดก (ผลของทำน) เป็ นนิทานที่ เหมาะสาหรับเด็กในช่วงอายุ 10 -12 ปี โดยมีเนือ้ หาสาระสอดคล้ องกับหลักปฏิบตั ิ ค่านิยม 12 ประการ ตามนโยบายของคณะกรรมการรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ในข้ อที่ 6 คือ มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีตอ่ ผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปั น ซึ่งเป็ นคุณสมบัติของเยาวชน ไทยที่ควรแก่การยื ดถื อและปฏิ บตั ิ เพื่ อเป็ นการส่งเสริ มให้ เด็กเกิ ดการเรี ยนรู้ ตามศักยภาพและ ปฏิบตั ติ นให้ เป็ นเยาวชนไทยที่ดี มีคณ ุ ค่าต่อสังคม
คุณภำพ ความเหมาะสมในการใช้ งานเป็ นไปตาม วั ต ถุ ป ระสงค์ โดยมี เ นื อ้ หาสาระ ภาษา ตัวอักษร รู ปภาพประกอบ ผ่านการตรวจสอบ เพื่อหาคุณภาพ (IOC) จากท่านผู้เชี่ยวชาญ
ดำเนินกำรเผยแพร่ ผลงำน การเผยแพร่ ห นัง สื อ นิ ท านเรื่ อ งสิ ริ ธ รชาดก (ผลของทาน)ให้ แก่เด็กและผู้ที่สนใจเพื่อเป็ น ประโยชน์แก่วงการทางการศึกษาต่อไป
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
5
นิยำมศัพท์ เฉพำะ หมายถึ ง เรื่ องเล่ า ที่ สื บ ต่ อ กั น มาหรื อแต่ ง ขึ น้ ใหม่ โ ดยมี จุดมุ่งหมายเน้ นให้ เกิดความบันเทิงและขัดเกลาจิตใจให้ แก่เด็ก ให้ มี แ ต่สิ่ ง ที่ ดี ง ามภายในจิ ต ใจ พร้ อมจะพัฒ นาทัง้ ทางด้ า น อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ค่ ำ นิ ยม 12 ประกำร หมายถึง หลักการปฏิ บัติต นจ านวน 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เพื่อสร้ างสรรค์ ประเทศไทยให้ เข้ มแข็ง นิ ท ำนเรื่ องสิ ริ ธ รดก(ผลของทำน) หมายถึ ง การน าเอาวรรณกรรมทาง พระพุทธศาสนา เรื่ องสิ ริ ธ รชาดก ในปั ญญาส ชาดก มา ดัดแปลงให้ อยูใ่ นรูปแบบของนิทานสาหรับเด็กในช่วงอายุ 10-12 ปี โดยมีเ นือ้ หาสาระสอดคล้ องกับหลักปฏิ บตั ิค่านิยม 12 ประการ ในข้ อที่ 6 คือมีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีตอ่ ผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปั น นิทำน
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
6
บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้ อง นิท านส าหรั บ เด็ก มี ค วามส าคัญ และนิ ย มมากในปั จ จุบัน นี ้ เพราะนิท านเป็ น เครื่ อ งมื อ อย่ า งหนึ่ ง ที่ จ ะท าให้ เ ด็ ก มี พัฒ นาการที่ ส มบูร ณ์ ทัง้ ทางด้ า นอารมณ์ สัง คม และสติปัญญา การพัฒนาหนังสือนิทานสาหรับเด็กก็มีหลากหลายรู ปแบบ หลากหลายวิธี ขึน้ อยู่กับ ผู้ที่ แ ต่ง หรื อผู้ส ร้ างสรรค์ จะนาเสนอออกมาในรู ปแบบใด ให้ มี ค วามน่า สนใจ และเป็ นที่ ต้องการของเด็กๆ และที่ สาคัญอี กประการหนึ่งที่ ผ้ ูแต่ง หรื อผู้สร้ างสรรค์ควรจะ คานึงถึงเป็ นอันดับแรก คือความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงอายุที่ มี ความแตกต่างกัน ดังนันผู ้ ้ ศกึ ษาจึงได้ ศกึ ษาค้ นคว้ า เอกสาร งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ องและสัมภาษณ์ ท่านผู้เชี่ยวชาญ เพื่อนาความรู้ดงั กล่าวมาเป็ นพื ้นฐานในการจัดสร้ างนิทานสาหรับเด็กเรื่ อง สิริธรชาดกต่อไป โดยสามารถแบ่งเนื ้อหาได้ ดงั นี ้ เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวกับเด็ก จิตวิทยำพัฒนำกำรวัยเด็กตอนปลำย วัยเด็กตอนปลายอายุระหว่าง 10-12 ปี ซึ่งจะเป็ นวัยที่คาบเกี่ยวกับวัยรุ่ นและ วัย เด็ก ตอนต้ น วัย นี ไ้ ม่แ ตกต่า งกับ วัย เด็ก ตอนกลางมากนัก แต่ เ กิด การเปลี ่ย นแปลง ทางด้ านร่ างกายเนื่องจากการทางานของต่อมต่าง ๆ มี การเปลี่ยนแปลงของโครงกระดูก สัดส่วนของร่างกายเมื่อเข้ าสูว่ ยั รุ่น สุชา จันทน์เอม (2538:51-55) ได้ กล่าวถึงพัฒนาการของวัยเด็กตอนปลายว่า วัยเด็กตอนปลายนันจะมี ้ พฒ ั นาการในด้ านต่าง ๆ ทังทางด้ ้ านร่างกาย อารมณ์ สังคม และ สติปัญญา
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
7
พัฒนาการทางร่างกาย ในระยะนี ้เป็ นวัยเด็กที่กาลังเจริ ญงอกงามอย่างรวดเร็ ว พอ ๆ กับวัยทารก ทังทางด้ ้ านส่วนสูงและน ้าหนัก โครงสร้ างกระดูก สัดส่วนของร่ างกาย และการเคลื่อนไหว พัฒนาการทางอารมณ์ ซึง่ เด็กวัยนี ้มีการแย้ งทางด้ านอารมณ์ จนบางครัง้ เด็ก เกิดปั ญ หา ครอบครัวกับสิ่ง แวดล้ อมเป็ นปั จ จัยที่สาคัญมาก เด็ก ที่ถูกทอดทิ ้งที่บ้านและ โรงเรี ยนจะเป็ นเด็กที่ไม่มีความสุข กลายเป็ นเด็กเงี ยบขรึ ม หรื อไม่ก็มีพฤติกรรมขัดขืนไม่ เกรงกลั ว ใคร ความเครี ย ดที่ เ ด็ ก ได้ รั บ จากทางบ้ านอาจน้ อยลงหรื อ หายไปได้ ถ้ า ความสัม พัน ธ์ ร ะหว่า งเขากับ เพื่ อ นและครู เ ป็ นอย่า งดี ดัง นัน้ ผู้ป กครองและครู ที่ มี ส่ว น เกี่ยวข้ องกับเด็กวัยนี ้ควรที่จะเอาใจใส่เรื่ องอารมณ์ อธิบายให้ คาแนะนาที่ถกู ต้ องเมื่อต้ องการ เพื่อช่วยให้ พฒ ั นาการทางอารมณ์ของเด็กเป็ นไปอย่างเหมาะสม ทิพย์ภา เชษฐ์ เชาวลิต (2541: 81-82) ได้ กล่าวถึงลักษณะอารมณ์ของวัยเด็ก ตอนปลายไว้ ดงั นี ้ อารมณ์โกรธ เด็กวัยนี ้สามารถควบคุมและระงับความโกรธได้ ดีขึ ้น ไม่โกรธง่าย และหายเร็วนัก พัฒนาการการแสดงออกจะเปลี่ยนไป จากเดิมที่แสดงออกด้ วยการร้ องไห้ ดิ ้น กับพื ้นเสียงดัง ทิ ้งตัวลงนอนเมื่อได้ รับการตอบสนองในสิ่งที่ต้องการ ก็จะเปลี่ยนเป็ นการคิด แก้ แค้ นในใจแต่ไม่ทาจริ งดังที่คิด หรื อการหลีกเลี่ยงจากสถานการณ์ที่ไม่พึงใจในทันที ไม่มี พฤติกรรมแบบต่อสู้โดยใช้ กาลัง อารมณ์รัก เด็กวัยนี ้จะแสดงออกในด้ านความรักด้ วยการมีน ้าใจช่วยเหลือผู้อื่น ร่ า เริ ง แจ่ ม ใส อารมณ์ ดี จะระมั ด ระวัง ไม่ ท าให้ ผู้ อื่ น เสี ย ใจหรื อ กระทบกระเทื อ นใจ โดยเฉพาะขณะอยูใ่ นกลุม่ เพื่อน สังคม ต้ องการความรัก ความอบอุ่นมัน่ คงในครอบครัวและ หมูค่ ณะ
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
8
อารมณ์กลัว เด็กวัยนี ้จะเลิกกลัวสิ่งที่ไม่มีตวั ตน พิสูจน์ไม่ได้ อารมณ์กลัวของ เด็กวัยนี ้เกิดจากประสบการณ์ การเรี ยนรู้ที่ได้ รับมา สิ่งที่เด็กวัยนี ้กลัวมากที่สดุ คือ กลัวไม่เป็ น ที่ยอมรับของกลุม่ กลัวไม่มีเพื่อน ไม่ชอบการแข่งขัน ไม่ต้องการเด่นหรื อด้ อยกว่ากลุ่ม ชอบ การยกย่องแต่ไม่ชอบการเปรี ยบเทียบ นอกจากนี ้เด็กยังกลัวอันตรายต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ ้นกับ ตนและบุคคลที่รัก การตอบสนองความกลัวจะเป็ นลักษณะการต่อสู้ การถอยหนี และการ ทาตัวให้ เข้ ากับสิ่งนัน้ ๆ ความกลัวของเด็กจะเริ่มลดลงเรื่ อย ๆ พร้ อมกับการเปลี่ยนแปลงด้ าน ร่างกาย เด็กจะเปลี่ยนจากความกลัวเป็ นความกังวลเรื่ องรูปร่างของตนเองแทน คือ กังวล จากความต้ องการให้ ตนมีรูปร่างที่แข็งแรงสวยงาม อย่างไรก็ตามดังที่เห็นได้ ชัดเจนว่า เด็กวัยนี ้จะมีการเปลี่ยนแปลงความรู้ สึกที่ เกิดขึน้ เร็ ว บางครัง้ ทาตัวเป็ นผู้ใหญ่ บางครัง้ ทาตัวเป็ นเด็ก ความขัดแย้ งทางอารมณ์ จึง เกิดขึ ้นได้ เสมอ พัฒนาการทางอารมณ์ของเด็กวัยนี ้จึงขึ ้นอยูก่ บั ลักษณะการเลี ้ยงดูของพ่อแม่ ครูผ้ สู อน ซึง่ สาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาความรู้สกึ มัน่ คงของเด็กต่อไป พัฒนาการทางสังคม เด็กในวัยนี ้จะปลีกตัวออกจากบุคคลในครอบครัวจะชอบ อยู่ในหมู่เพื่อนและมีความเห็นว่าหมู่คณะเป็ นสิ่งที่สาคัญสาหรับเขามาก จึงมีการแต่งตัว พูดจาและนิยมสิ่งต่าง ๆ เหมือนเพื่อน การที่เด็กมีความสุขความพอใจกับกลุ่มเพื่อนของตน ถ้ ามากเกินไปอาจทาให้ เด็กละเลยหน้ าที่ของตนเองได้ เด็กวัยนี ้จะเริ่ มหัดเป็ นตัวเองตนเอง ชอบตัดสิ นใจ ไม่ช อบให้ ผ้ ูใหญ่ เข้ ามายุ่ง เกี่ ยวในเรื่ องส่วนตัว ชอบอิสระ เด็กผู้ชายและ เด็กผู้หญิงจะเล่นด้ วยกันน้ อยลง จะเริ่ มสนใจเพื่อนต่างเพศ เด็กผู้ชายจะสามารถรวมกลุ่ม เพื่อนได้ นานกว่ากลุ่มเพื่อนของเด็กผู้หญิง เพื่อนที่ถูกใจมากจะมีเพียงคนเดียวหรื อสองคน เท่านัน้ ส่วนเด็กหญิงจะมี เพื่อนที่ถกู ใจประมาณ 3-5 คน การมีกลุ่มเพื่อนจะส่งเสริ มความ กล้ า รู้จกั ใช้ ความคิด และรู้จกั ให้ ความร่วมมือกับผู้อื่น พัฒนาการทางสติปัญญา เด็กในวัยนี ้เห็นได้ จากความสามารถในการใช้ เหตุผล เข้ าใจความหมายของคาพูดได้ ถูกต้ อง สามารถใช้ คาจากัดความแก่คาที่เป็ นนามธรรมได้ สามารถมองเห็นความสัมพันธ์ ของสิ่งต่าง ๆ ได้ มากขึน้ ความจาพัฒนาขึน้ เด็กวัยนีจ้ ะมี ความสนใจเล่นทายปั ญหามากที่สุด เด็กที่มีสติปัญญาที่ช้าจะไม่ค่อยมีสมาธิในการทางาน การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
9
เด็กที่ฉลาดจะมีความสามารถในการใช้ คาพูดที่เป็ นนามธรรมได้ ซึ่งเด็กในวัยนี ้จะมีจุดเด่น คือมีความกระตือรื อร้ น รู้จกั ใช้ เหตุผล รับฟั งความคิดเห็นของผู้อื่น รักษาความลับได้ แต่จะมี ความสนใจที่แตกต่างกันออกไป เด็กผู้ชายจะมีความสนใจในวิชาเรี ยน ทางด้ านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ ส่วนเด็กผู้หญิงจะมีความสนใจทางด้ านงานบ้ าน และสนใจใน รู ป ร่ า งของตนเอง แต่ก็ มี ค วามสนใจที่ ค ล้ า ยกัน คื อ ด้ า นการเลี ย้ งสัต ว์ ดูภ าพยนตร์ ท่องเที่ยว ส่วนน้ อยสนใจเรื่ องของอาชีพ กำรส่ งเสริมพัฒนำกำรของวัยเด็กตอนปลำย การส่งเสริ มพัฒนาการของวัยเด็กตอนปลาย เป็ นหน้ าที่ของผู้ป กครองและ ครู ผ้ ู ส อน ที่จ ะหลัก มีวิธี ก ารในการส่ง เสริ ม ให้ เ ด็ก มีพ ัฒ นาการที่ สมบูรณ์ ทัง้ ทางด้ าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เพื่อที่จะทาให้ เด็กเป็ นเยาวชนที่ดี และมีประโยชน์ ต่อสังคมและประเทศชาติตอ่ ไป ทิพ ย์ ภ า เชษฐ์ เ ชาวลิ ต (2541: 85-87) ได้ กล่าวถึง ลัก ษณะการส่ง เสริ ม พัฒนาการของวัยเด็กปลาย เพื่อที่จะให้ ผ้ ปู กครองและครู ผ้ สู อนได้ นาไปเป็ นแนวทางในการ ส่งเสริมอย่างสร้ างสรรค์ตามหลักและวิธีการอย่างถูกวิธี ดังนี ้ กำรส่ งเสริ มพัฒนำกำรด้ ำนร่ ำงกำย คือการแนะนาในเรื่ องการออกกาลัง กาย การเล่นกีฬา การใช้ เวลาว่างให้ เกิดประโยชน์เพื่อให้ มีสุขภาพร่ างกายที่แข็งแรง แนะนา เรื่ องการรับประทานอาหารที่เป็ นประโยชน์ เพราะอาหารมีความสาคัญต่อการเจริ ญเติบโตของ เด็กวัยนี ้ เด็กจะต้ องได้ รับสารอาหารครบทุกหมูใ่ นปริมาณที่เพียงพอ โดยเฉพาะวัยนี ้มักสนใจ การเล่นกับกลุม่ เพื่อนมากกว่าการรับประทานอาหาร กำรส่ งเสริ มพัฒนำกำรด้ ำนด้ ำนจิตใจ คือการแนะนาเรื่ องการรู้ จักตนเอง การมองตนเองตามความเป็ นจริ ง ด้ วยการบริ หารจิตใจ การทาสมาธิ การเสียสละเพื่อผู้อื่น อย่า งเหมาะสม ฝึ กการผ่อ นคลายความเครี ย ดในลัก ษณะต่า ง ๆ เช่น การผ่ อ นคลาย กล้ ามเนื ้อทุกส่วนของร่ างกาย จินตภาพบาบัด หรื อการทางานอดิเรกที่ชอบ เช่น ฟั งเพลง เล่นดนตรี อ่านหนังสือที่ชอบ วาดภาพ เป็ นต้ น
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
10
กำรส่ งเสริมพัฒนำกำรด้ ำนด้ ำนสังคม คือการแนะนาเรื่ องการปรับตัวให้ เข้ า กับเพื่อนได้ อย่างเหมาะสม ให้ ร้ ูจกั การยืดหยุ่น รู้ จกั การแพ้ ชนะ และให้ อภัย เข้ าใจความ แตกต่างระหว่างบุคคลตามสภาพความเป็ นจริ ง เพื่อลดความคาดหวังจากผู้อื่นในทุก ๆ ด้ าน ฝึ กพฤติกรรมการแสดงออกอย่างเหมาะสมในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทังพฤติ ้ กรรมทางด้ านร่างกาย และคาพูด การจัดให้ มีการแสดงบทบาทสมมติสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้ เกิดทักษะนาไปสู่ การปฏิบตั ติ อ่ ไป จากข้ อความข้ างต้ นผู้ศกึ ษาสามารถสรุ ปถึงการส่งเสริ มพัฒนาการวัยเด็กตอน ปลายได้ ว่า เป็ นวัยเตรี ยมพร้ อมที่จะเข้ าสู่วยั รุ่นและวัยผู้ใหญ่ การเจริ ญเติบโตด้ านร่ างกาย ของเด็กวัยนี จ้ ะช้ า แต่เ ป็ นไปอย่างสม่ าเสมอ มี การเปลี่ ย นแปลงโครงร่ าง ส่วนสูง และ นา้ หนักใกล้ เ คียงวัยผู้ใหญ่ ม ากขึน้ เด็กผู้หญิ ง จะโตเร็ วกว่าเด็กผู้ช าย เด็กวัยนี จ้ ะเข้ าใจ อารมณ์ของตนเองและผู้อื่นดีขึ ้น รู้จกั ควบคุมอารมณ์ตนเอง การให้ ความรู้และคาแนะนาที่ เหมาะสมเกี่ ยวกับพัฒ นาการและการเปลี่ ยนแปลงของเด็กวัยนี ้ จะช่วยให้ เด็กเกิ ดความ เข้ าใจ เตรี ยมพร้ อมต่อการดาเนินชีวิตที่เหมาะสมและก้ าวไปสูว่ ยั อื่นอย่างเหมาะสมต่อไป ควำมต้ องกำรและควำมสนใจของเด็ก ในด้ า นของความต้ อ งการของเด็ก นัน้ มี ผ้ ูที่ ไ ด้ ก ล่าวเอาไว้ ห ลากหลายท่า น เช่นกัน คือ ฉัตรชัย ศุภระกาญจน์ (2523: 14) ได้ กล่าวไว้ ว่าความต้ องการของเด็กสามารถ แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือความต้ องการทางด้ านร่างกาย ความต้ องการทางด้ านจิตใจ วิระยะ สิริสิงห (2524: 13) กล่าวถึงความต้ องการพื ้นฐานของเด็กมีอยู่ 7 ประการดังนี ้ 1) ความอบอุน่ ปลอดภัย ทางวัตถุ อารมณ์และจิตใจ 2) การเป็ นส่วนหนึง่ ของหมูค่ ณะ 3) ต้ องการให้ ความรักกับผู้อื่น การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
11
4) ต้ องการประสบผลสาเร็จ 5) ต้ องการเรี ยนรู้ 6) ต้ องการความเปลี่ยนแปลง 7) ต้ องการความสวยงาม รัญจวน อินทรกาแหง (2517: 18-22) ได้ แบ่งความต้ องการของเด็กออกเป็ น 6 ประเด็นดังนี ้ 1) ด้ านความรัก 2) ด้ านความมัน่ คง 3) ด้ านสังคม 4) ด้ านความสาเร็จ 5) ด้ านการเปลี่ยนแปลง 6) ด้ านความสุขทางสุนทรี ย์ จากการศึกษาความต้ องการของเด็ก จากเอกสารและงานวิ จัย ผู้ศึกษาขอกล่า ว สรุ ปว่าความต้ องการพื ้นฐานหรื อมูลฐานที่ควรรู้ ควรเข้ าใจก่อนจะทาการจัดทาหนังสือนิทา สาหรับเด็กซึง่ สามารถแบ่งออกได้ 2 กลุม่ ใหญ่ๆ คือ ความต้ องการทางด้ านร่างกาย (ปั จจัยสี่) และความต้ องการทางด้ านจิตใจที่ก่อให้ เกิดความสุข และอีกทัง้ ควรรู้ และเข้ าใจถึงความ สนใจของเด็ก ซึง่ สามารถแบ่งตามช่วงอายุดงั ตารางต่อไปนี ้
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
12
ตำรำงแสดงช่ วงอำยุกับลักษณะควำมสนใจของเด็ก ช่ วงอำยุ อายุ 1-3 ปี อายุ 3-5 ปี
อายุ 5-8 ปี
อายุ 9-11 ปี
อายุ 12-16 ปี
ลักษณะควำมสนใจ เด็กในวัยนี ้จะชอบเรื่ องสัน้ ๆ มีตวั ละคร 2-3 ตัว โครงเรื่ องไม่ซบั ซ้ อนจบ แบบสมหวัง เด็กในวัยที่สนใจสภาพแวดล้ อมทางธรรมชาติ ชอบพูดซา้ ๆ เป็ นจังหวะ ชอบซักถามและสนใจฟั งนิทานจากผู้ใหญ่ ชอบเรื่ องราวเกี่ ยวกับสัตว์ ขอบหนังสือที่มีภาพ อยากให้ ผ้ ใู หญ่อา่ นหนังสือให้ ฟัง มีความสนใจมากนานมากขึ ้น ประมาณ 15-20 นาที ชอบเล่นรวมกลุ่ม โดยไม่ แ ยกเพศ รู้ จั ก การรั ก ษากฎเกณฑ์ ชอบนิ ท านที่ มี เ รื่ อ งราว สนุกสนานเพ้ อฝั น นิทานที่มีเรื่ องราววัยเดียวกัน มีความสนใจนานมากขึ ้นกว่าเดิม ประมาณ 30-40 นาที ทางานร่วมกับ ผู้อื่ น ได้ ดี สนใจนิ ท านและเล่า นิ ทานให้ ผ้ ูอื่ น ฟั ง สนใจนิ ท านที่ ใ ห้ ค ติ สอนใจ เรื่ อ งราวขวนคิด นิ ท านตลกขบขัน ผจญภัย วิ ท ยาศาสตร์ ประวัตคิ วามเป็ นมาของสิ่งต่างๆ เด็กหญิงและเด็กชายเริ่ มมีความสนใจที่ แตกต่า งกัน ในการอ่ า นหนัง สื อ เด็ ก ชายชอบเรื่ อ งราวเกี่ ย วกับ สัต ว์ เด็กหญิงจะชอบเริ่ องราวเกี่ยวกับชีวิตประจาวัน มีความสนใจยาวนาน 50-60 นาที ต้ องการความเป็ นอิสระ ภาษาที่ใช้ เขียนต้ องใช้ เทคนิคและวิธีเขียนเช่นเดียวกับผู้ใหญ่ สมจริ งต้ องการสะระ มากกว่ารูปภาพ
ที่มำ: บันลือ พฤกษะวัน (2524: 23) และถวัลย์ มาสจรัส (2538: 55) การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
13
จิตวิทยำกำรสอนสำหรับวัยเด็กตอนปลำย การสอนเด็กในวัยเด็กตอนปลายเป็ นเรื่ องที่ไม่ยาก หากว่าครูผ้ สู อนมีหลักและ วิธีการสอนที่ถกู วิธี รู้และเข้ าใจถึงลักษณะการเปลี่ยนแปลงความสนใจ และความต้ องการ ของเด็ก ในวัย นี ้ ซึ่ง ทิศนา แขมมณี (2548: 56-62) ได้ กล่าวถึงแนวคิดเกี่ยวกับการสอน สาหรับวัยเด็กตอนปลายพอสรุปได้ ดังนี ้ เด็ก วัย นี ้ให้ ค ณ ุ ค่า กับ เรื ่ อ ง ความยุต ิธ รรม ความจงรัก ภัก ดี และการ รับผิดชอบ สามารถแยกแยะได้ ว่าอะไรเป็ น “ของฉัน” หรื อ “ของเธอ” โดยปกติเขามักจะพูด ความจริ งและยอมรับการตาหนิ เมื่อได้ ทาสิ่งที่ไม่เหมาะสมลงไป บางครัง้ อาจจะมีเด็กบาง คนที่ชอบทาลายสิ่งของหรื อรังแกเด็ก ที่ไม่อยู่ในกลุ่มของตน ความผิดปกตินี ้สามารถแก้ ไข ได้ ถ้าเด็กได้ เรี ยนรู้ถึงการเอาใจเขามาใส่ใจเรา การเรี ยนการสอนสาหรับเด็กในวัยนี ้ต้ องเป็ น เรื่ องที่สนุก เช่น การเล่นเกมที่เกี่ยวกับคาต่าง ๆ การถอดรหัส เกมปริศนา อะไรเอ่ย เป็ นต้ น ความจ าเป็ นสิ่ ง ที่ จ ะทาให้ เ ขารู้ สึกว่าตนประสบผลส าเร็ จ เขามี พ ลัง ในการ ทางานที่สร้ างสรรค์งานที่ท้าทาย และงานที่ใหม่ ๆ ทางานอดิเรก หรื องานโครงการที่ยาวกว่า ได้ นาน ถ้ าเขาได้ รับการสนับสนุนและการชื่นชม เขาพร้ อมที่จะเผชิญหน้ ากับความล้ มเหลว ถ้ าหากว่าเขามีประสบการณ์แห่งความสาเร็ จมาแล้ ว พลังเหล่านี ้ครู ควรค้ นให้ พบในเด็กแต่ ละคนน าออกมาใช้ ใ นสิ่ ง ที่ ถูก ต้ อ ง มิ เ ช่น นัน้ เด็ก ๆ อาจจะใช้ พ ลัง เหล่า นี ไ้ ปในทางที่ ไ ม่ เหมาะสมได้ ครูควรมอบหมายงานหรื อหน้ าที่ตามความสามารถของเขา เขาชื่นชอบการ ยกย่องงานของเขามากกว่าการไม่ได้ รับรู้ หรื อไม่ช มหรื อไม่ให้ รางวัลเขาเลย เด็กในวัยนี ้ ต้ องการได้ รับความรู้ สึกว่าตนเองเป็ นที่ชื่นชอบและเป็ นที่ไว้ วางใจ ครู ควรเป็ นเพื่อนกับเขา เป็ นต้ น เด็กในวัยนี ้ต้ องการความช่วยเหลือเป็ นพิเศษ เช่น เด็กที่ชอบก่อปั ญหาว้ าเหว่ ขี ้อาย เรี ยนช้ า เด็กเหล่านี ้จะต้ องไม่เรี ยกเขาว่าเป็ นเด็กเลว เด็กขี ้เกียจ หรื อโง่อย่างเด็ดขาด ครูต้องพยายามค้ นหาสาเหตุของความผิดปรกติของเขาให้ พบ เพราะบางครัง้ ปั ญหาเกิดจาก ความเข้ าใจผิดเท่านันเอง ้ ซึง่ เราสามารถแก้ ไขได้ โดยการพูดคุยทาความเข้ าใจกัน การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
14
เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวกับหนังสือนิทำน หนังสือสำหรับเด็ก หนังสือสาหรับเด็ก หมายถึง หนังสือที่ให้ ความบันเทิง อาจเป็ นนิยาย นิทาน วรรณคดีประเภทต่าง ๆ ที่เหมาะสมหรับเด็ก เป็ นหนังสือที่ให้ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน และความรู้ในด้ านต่าง ๆ อันแตกต่างจากหนังสือแบบเรี ยน เพื่อมีเรื่ องราวที่สนกะทั ั้ ดรัด มี ภาพประกอบทุกหน้ า ขนาดของตัวหนังสือต้ องเหมาะกับเด็กในแต่ละช่วงอายุ ความสันยาว ้ ต้ องเป็ นไปตามหลักจิตวิทยา จึงจะถือว่าหนังสือนิทานฉบับหรื อเล่มนันมี ้ คณ ุ ภาพเหมาะสม กับเด็ก(สมทรง ลิมาลัย, 2526: 14) หนังสือที่เกี่ยวกับพฤติกรรมด้ ำนต่ ำง ๆ ของวัยเด็ก หนังสือคือขุมทรัพย์ทางปั ญญาและเป็ นคลังแห่งความบันเทิงสาหรับมวลมนุษย์ และที่สาคัญหนังสือยังช่วยเสริ มสร้ างและพัฒนาพฤติกรรมด้ านภาษา สังคม อารมณ์ สติปัญญาของเด็กให้ เป็ นเยาวชนที่ดีมีคณ ุ ภาพ ดังที่ อรสา กุมารี ปุกหุต (2524: 798-809) ได้ ให้ แนวคิดว่า หนังสือจะช่วยพัฒนาพฤติกรรมด้ านต่าง ๆ พอสรุปได้ ดงั นี ้ หนังสือช่ วยส่ งเสริมและพัฒนำพฤติกรรมทำงด้ ำนภำษำ เด็กดาเนินชีวิตใน อยูส่ งั คม ดังนันจึ ้ งต้ องมีการพัฒนาทางด้ านภาษา เพราะภาษาเป็ นสื่อกลางที่มีความสาคัญ อย่างยิ่งที่จะช่วยให้ เด็กมีความรู้ เข้ าใจในเรื่ องต่าง ๆ ภาษาเป็ นสื่อที่ช่วยให้ เกิดความหมาย การแสดงออก ตลอดจนความคิดสร้ างสรรค์ตา่ ง ๆ ดังนันเด็ ้ กจึงจาเป็ นต้ องได้ รับการฝึ กฝนให้ พัฒนาทางด้ านการใช้ ภาษาให้ ถกู ต้ อง ก่อนที่เด็กจะได้ อ่านเขียนเรี ยนภาษาโดยตรง เด็กจะเริ่ มคุ้นเคยกับท่าทาง สี หน้ า และภาษาพูดของคนที่สิ่งแวดล้ อมอยูก่ ่อน และจะเลียนแบบได้ ตามสภาพการใช้ ภาษา สี ห น้ าท่ า ทางของผู้ ใหญ่ ใ กล้ ชิ ด เหล่ า นั น้ ถ้ าเด็ ก มี พั ฒ นาทางภาษาดี จะห มายถึ ง ความสามารถที่เด็กแสดงออกมาในการเป็ นเครื่ องสื่อความหมายได้ ถูกต้ องชัดเจน ตรงกับ
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
15
ความต้ องการของตนเอง ทาให้ ผ้ อู ื่นเข้ าใจได้ ถกู ต้ อง และในขณะเดียวกันตนเองก็สามารถ เข้ าใจผู้อื่นปฏิบตั ติ ามได้ ดังนันภาษาจึ ้ งเป็ นเครื่ องมือที่ชว่ ยให้ เด็กอยูใ่ นสังคมได้ อย่างดี และ ยังเป็ นสิ่งที่แสดงออกถึงพัฒนาการทางด้ านสองของเด็กอีกด้ วย เมื่อเด็กเจริ ญ วัยการสื่อความหมายเด็กก็จ ะกว้ างขึน้ โดยการอ่านการเขียน เพราะจะช่วยให้ เด็กสามารถใช้ ภาษาได้ กว้ างขวางขึ ้น จะเห็นได้ ว่าการอ่านเป็ นสื่อที่สาคัญที่ จะพัฒนาด้ านภาษาได้ เป็ นอย่างดี ได้ แก่ ช่วยใช้ สามารถเข้ าใจเรื่ องราวต่าง ๆ ที่มิอาจสื่อ ความหมายด้ วยวิธีการพูดได้ ช่วยให้ เข้ าใจถึงความคิดของผู้อื่นได้ เป็ นอย่างดี และช่วยให้ เกิด ทักษะการฟั งและการพูด หนังสือช่ วยส่ งเสริมพัฒนำพฤติกรรมทำงด้ ำนสังคม เด็กได้ รับอิทธิพลจาก สิ่งต่างๆ ช่วยให้ มี ความสามารถในทางสังคมขึน้ เรื่ อย ๆ อิทธิ พลเหล่านัน้ อาจได้ แก่ การ อบรมเลี ้ยงดู บุคคลผู้ใกล้ ชิด สิ่งแวดล้ อม เพื่อนบ้ าน ครู เพื่อน รวมทังการเรี ้ ยนการสอน และหนังสือต่าง ๆ ด้ วย ซึง่ หนังสือจะพัฒนาทางด้ านสังคมดังนี ้ 1) ช่วยให้ เด็กมีความรู้ความเข้ าใจและสามารถปรับตัวเข้ ากับสังคม 2) ช่วยเป็ นแบบอย่างที่ดีในการเลือกปฏิบตั ิในทางที่ถูกที่ควร 3) ช่วยให้ เกิดความคิด รู้จกั การตัดสินใจและประพฤติปฏิบตั สิ ิ่งต่าง ๆ ต่อผู้อื่น 4) ช่วยแสดงออกทางสังคมได้ อย่างเหมาะสม 5) ส่งเสริ มอุดมการณ์ซึ่งจะนาไปสู่ประพฤติปฏิบตั ิ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ เป็ นที่ ยอมรับของสังคม 6) เรื่ องราว หรื อสถานการณ์ตา่ ง ๆ ที่เด็กไดอ่านจะค่อย ๆ พฤติกรรมไปตามทัศนคติ หนังสือช่ วยส่ งเสริมพัฒนำพฤติกรรมทำงด้ ำนอำรมณ์ หนังสือสาหรับเด็ก ช่วยพัฒนาพฤติกรรมทางด้ านอารมณ์ได้ หลายประการ ซึ่งจะขอยกตัวอย่างประกอบว่าเรื่ อง ประเภทใดจะช่วยพัฒนาอารมณ์ทางด้ านใด เพื่อจะได้ เข้ าใจได้ ชดั เจนยิ่งขึ ้น ดังนี ้ 1) ประเภทเทพนิยาม ช่วยทาให้ เด็กได้ อารมณ์เพ้ อฝั น 2) ประเภทศาสนา ช่วยทาให้ เด็กมีความรู้สกึ ที่ดีงาม 3) ประเภทผจญภัย ช่วยทาให้ เด็กมีความรู้สกึ ตื่นเต้ น การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
16
ดัง นัน้ การจะพัฒ นาพฤติก รรมของเด็ก ทางอารมณ์ นัน้ ควรที่ จ ะทราบถึ ง พื ้นฐานทางอารมณ์อนั พึงปรารถนาก่อน แล้ วจึงคัดเลือกหนังสือที่จะช่วยพัฒนาอารมณ์ของ เด็กให้ พัฒ นาขึน้ เช่น อยากให้ เ ด็กมี พัฒ นาอารมณ์ มี ความอบอุ่นควรจะหาหนัง สื อที่ มี เรื่ องราวเกี่ยวกับความรักของครอบครัว หรื อหนังสือนิทานเกี่ยวกับครอบครัว เป็ นต้ น หนังสือช่ วยส่ งเสริมพัฒนำพฤติกรรมทำงด้ ำนสติปัญญำ พัฒนาการของเด็กทางด้ านสติปัญญาที่ได้ รับการพัฒนาขึ ้นเป็ นลาดับ จากการได้ รับประสบการณ์ และสิ่งแวดล้ อมต่าง ๆ ซึ่งเป็ นองค์ประกอบให้ เด็กมีพัฒนาการ ทางด้ านนี ้ และหนังสือมีอิทธิ พลอย่างยิ่งไม่แพ้ อิทธิ พลทางด้ านอื่น โดยเด็กจะได้ รับ ความรู้ ความคิด เห็น วิธี ก าร ขั ้นตอน ความจริ ง ปั ญ ญา วิธี แก้ ปัญหาต่าง ๆ ทัง้ โดยตรงและ ทางอ้ อมจาการอ่านหนังสือ ซึ่งหนังสือแต่ละประเภทย่อมให้ ความรู้อนั ก่อให้ เกิดภูมิปัญญา ในแง่มมุ ต่างกันไป ด้ วยเหตุดงั กล่าว จึงปรากฏอยู่เสมอว่าเด็กที่มีโอกาสอยู่ใกล้ ชิดหนังสือ และ ชอบอ่านหนัง สื อจึง มี โอกาสเพิ่ม พูนความรึ ความสามารในอันที่ จ ะพัฒ นาสติปัญญาของ ตนเองมากกว่าเด็กที่ไม่คอ่ ยได้ อ่านหนังสือ หากอาหารที่มีประโยชน์เมื่อบริ โภคแล้ วจะทาให้ เด็กมีสติปัญญาที่ดี หนังสือที่ดีและมีคณ ุ ภาพก็ให้ ประโยชน์เช่นกัน
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
17
หนังสือนิทำน หนัง สื อ นิ ท านเป็ นหนัง สื อ ที่ จัด อยู่ใ นประเภทบัน เทิ ง คดี คื อ งานเขี ย นหรื อ หนัง สือที่ผ้ ูเขี ยนมีเ จตนาให้ เกิ ดความเพลิ ดเพลิน ส่วนความรู้ เป็ นผลพลอยได้ ติดตามมา เฉพาะในเรื่ องความบันเทิงของผู้อ่าน ผู้อ่านต่างวัย ต่างวัฒนธรรม ย่อมมีความแตกต่างกัน ออกไป (พิมพ์จิต สถิตวิทยานันท์ , 2546: 12) และยังมีผ้ เู ชี่ยวชาญด้ านนิทานออกมาให้ ความหมายหลากหลายท่านด้ วยกันดังนี ้ ปี ดา ปั ญ ญาจันทร์ และชี วัน วิสาสะ (2544: 45) ผู้เชี่ ยวชาญด้ านหนังสื อ นิทาน ได้ กล่าวเไว้ ว่า การเลือกหนังสือนิทานประการแรกต้ องดูก่อนว่า นิทานเรื่ องนันสมอง ้ ความต้ องการของเด็กมากน้ อยเพี ยงใด และนอกจากนัน้ ต้ องตอบสนองความต้ องการขัน้ พื ้นฐานของเด็กทัง้ 3 ประการ คือ การกิน การเล่น และมหัศจรรย์ เป็ นต้ น ทิพวัน บุญวีระ ได้ ให้ สมั ภาษณ์ ในรายการโทรทัศน์ “เพื่อนหญิงพลังหญิง” ได้ กล่าวถึง หนัง สื อนิ ท านไว้ ว่า หนัง สื อ นิท านเป็ นที่ สนใจของเด็ก ดัง นัน้ จึง เป็ นหน้ า ที่ ข อง ผู้ปกครอง หรื อครูผ้ สู อนจะนาตรงนี ้มาเป็ นช่องทางที่สาคัญในการอบรมสัง่ สอน ให้ คา่ นิยมที่ ดีงามแก่ตวั เด็กจึงนาไปสูก่ ารเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทังทางอารมณ์ ้ สังคม และสติปัญญา เกริก ยุ้นพันธ์ (2539: 16) ได้ ให้ ความหมายของนิทานว่าหมายถึงเรื่ องราวที่เล่า สืบต่อ กันมาตังแต่ ้ สมัยโบราณโดยมีเนื ้อหาที่เล่าเป็ นการปลูกฝั งคุณธรรมจริ ยธรรม ความ งาม ความดีเพื่อปลูกจิตสานึกของคนให้ ประพฤติปฏิบตั ิอยู่ในความดี และเป็ นตั วอย่างแก่ สังคม ครุรักษ์ ภิรมย์รักษ์ (2540 : 45) กล่าวว่านิทานเป็ นเรื่ องราวทัว่ ๆไปที่เล่าสืบต่อ กัน มาโดยมีจดุ ประสงค์เพื่อสืบทอดประสบการณ์ความรู้ความคิดหรื อค่านิยมบางอย่างให้ กบั ผู้ ฟั งพร้ อมทังสอดแทรกความสนุ ้ กสนานเพลิดเพลินไปพร้ อมๆกัน ฉวีวรรณ กินาวงศ์ (2533 : 101) นิทานหมายถึงเรื่ องราวที่เล่าต่อๆกันมาเป็ น เวลานานแล้ วแต่ไม่ทราบแน่ชัดว่าเริ่ ม ต้ นเล่ากันมาตังแต่ ้ เมื่อใดการเล่านิทานก็ เพื่อความ
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
18
สนุกสนานเพลิดเพลินและให้ ความรู้เพื่อเป็ นคนดีอยูใ่ นสังคมได้ อย่างมีความสุขและบางครัง้ ก็ สอดแทรกเพื่อสอนใจไปด้ วย ภิญญาพร นิตยะประภา (2534 : 32) นิทาน หมายถึง เรื่ องราวที่เล่าสืบต่อกัน มาที่มิได้ เจาะจงแสดงประวัติความเป็ นมาของเรื่ องจุดใหญ่ก็เพื่อความสนุกสนานและความ พอใจทังผู ้ ้ เล่าและผู้ฟังที่จะสนองความต้ องการทางด้ านจิตใจของผู้ฟังโดยบางครัง้ สอดแทรก คติสอนใจเอาไว้ ด้วย ทรงพร สุทธิธรรม (2534 : 56) นิทานหมายถึงเรื่ องราวที่เล่าต่อกันมาหรื อแต่ง ขึน้ โดยมี จุด ประสงค์ เ พื่ อ ความสนุก สนานหรื อ สอดแทรกแนวคิ ด คุณ ธรรมลัก ษณะที่ พึ ง ประสงค์แก่เด็กเพื่อให้ สามารถปฏิบตั ติ นได้ เหมาะสมในการดารงชีวิตในสังคม จากที่ผ้ ศู ึกษาได้ ศึกษาเกี่ยวกับความหมายของนิทาน ผู้ศึ กษาจึงกล่าวมาสรุ ป ได้ ว่านิทาน หมายถึง เรื่ องราวที่เล่า สืบต่อกันมาหรื อแต่งขึน้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ เกิ ด ความสนุกสนานและแฝงข้ อคิดสอนใจหรื อให้ เกิดการเรี ยนรู้จากนิทาน โดยมีการสอดแทรก คุณธรรมจริ ยธรรมและลักษณะที่พึงประสงค์ตา่ งๆ เพื่อผู้ฟังนาไปเป็ นแนวทางในการดาเนิน ชีวิต จุดมุ่งหมำยของนิทำน จุดมุ่งหมายหลักของการเล่านิทาน คือ เพื่อการบันเทิง นอกเหนือไปจากความ บันเทิงนิทานยัง ให้ ข้อคติ ข้ อคิด ข้ อเตือนใจต่างๆ ให้ แก่ผ้ ูฟั งด้ วย ศิราพร ฐิ ตะฐาน ณ ถลาง (2539:13-42) กล่าวถึงบทบาทหน้ าที่และความสาคัญของคติช นในสังคมไทย โดย ยกตัวอย่างจากคติชนประเภทเรื่ องเล่าไว้ ว่า คติชนเป็ นทางออก สาหรับความขัดแย้ งและ กฏเกณฑ์ทางสังคมโดยยกตัวอย่างการระบายความตึงเครี ยดให้ สงั คมจากการนิทานประเภท จักรๆ วงค์ๆ นิทานมุขตลก จินตนา ใบกาซูยี (2534: 27-28) กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของหนังสือสาหรับเด็กไว้ 7 ประการ คือ ช่วยให้ เ ด็กได้ รับความบันเทิง ช่วยเสริ ม สร้ างความคิดสร้ างสรรค์ ช่วย การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
19
พัฒ นาการเรี ยนรู้ ด้ านภาษาของเด็ก ช่วยปลูกฝั ง คุณธรรมแก่เด็ก ช่วยให้ เด็กรักการอ่าน ทดแทนความรู้สกึ ที่ขาดหายไปของเด็ก และช่วยให้ เด็กอ่านหนังสือที่มีสาระเหมาะสมกับวัย วิไล มาศจรัส (2539: 23) กล่าวว่าวัตถุประสงค์ในการเล่านิทานมี 2 ข้ อ ด้ วยกันคือความเพลิดเพลิน และคติสอนใจ จากการศึกษาจุดมุ่ง หมายข้ างต้ นผู้ศึกษาขอสรุ ปว่า จุดมุ่ง หมายของนิทาน สามารถแบ่งออกได้ 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือเพื่อการบันเทิง และเพื่อการวิชาการหรื อ ความรู้ หลังจากการได้ อา่ นหรื อศึกษานิทานนันสามารถน ้ ามาเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิตนได้ ลักษณะของนิทำนสำหรับเด็ก มีผ้ ูกล่าวถึง ลักษณะของนิทานส าหรั บเด็กไว้ หลายหลายท่าน ซึ่ง แต่ละท่าน อาจจะให้ ลกั ษณะมีความคล้ ายกับบางประการพอจะสรุปได้ ดังนี ้ รัญจวน อินทรกาแพง (2517: 23) ปรี ดา ปั ญญาจันทร์ และ ชีวัน วิสาสะ (2540: 54)ได้ กล่าวว่าลักษณะนิทานที่ดีสาหรับเด็ก คือ 1) ตรงกับความสนใจของเด็กตอบสนองความต้ องการของเด็ก 2) เค้ าโรงเรื่ องไม่ซบั ซ้ อน 3) ใช้ สานวนง่ายๆ เข้ าใจได้ ทนั ที 4) เนื ้อเรื่ องมุง่ เน้ นความสนุกสนานเป็ นหลักตามด้ วยข้ อคิดที่ได้ เป็ นรอง 5) ความยาวของเนื ้อหามีความเหมาสมกับ้ อู า่ นหรื อกลุม่ เป้าหมาย 6) ส่งเสริมจินตนาการและเปิ ดโลกทัศน์ 7) มีภาพประกอบที่สอดคล้ องกับเนื ้อหา 8) ขนาดตัวอักษรเหมาะกับเด็กหรื อกลุม่ เป้าหมาย 9) รูปเล่มกะทัดรัดสวยงาม น่าสนใจ
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
20
และที่สาคัญอีกประการหนึ่งผู้แต่งหรื อผู้สร้ างสรรค์ควรคานึงถึงคือลักษณะวรรณกรรมหรื อ นิทานที่ไม่เหมาะสมกับเด็ก ดังที่ เกริก ยุ้นพันธ์ (2539: 66-68)ได้ กล่าวเอาไว้ ดงั นี ้ 1) เป็ นนิทานเชิงวิชาการมากจนเกินไป 2) ให้ ภาษาไม่เหมาะสมกับเด็ก 3) มีเนื ้อหาสาระยาวและซับซ้ อน 4) เป็ นเรื่ องราวทารุณ โหดร้ าย 5) ส่งเสริมค่านิยมในทางผิตทางศีลธรรม พิมพ์จิต สถิตวิทยานันท์ ้ (2546: 10) ได้ กล่าวถึงลักษณะหนังสือสาหรับเด็กไว้ ว่า หนังสือที่มีลกั ษณะที่ดีสาหรับเด็ก เมื่อเด็กอ่านแล้ วจะมีความสนุกสนานเพลิดเพลิน มี เนื ้อหาสาระตรงกับใจเด็ก มีรูปเล่มที่สวยงามสีสนั สะดุดตาชวนให้ หยิบขึ ้นมาดูมาอ่าน โดย จะสรุปถึงองค์ประกอบได้ 3 ประการ ดังนี ้ 1) องค์ประกอบทางด้ านเทคนิคการพิมพ์และการจัดรูปเล่ม 2) องค์ประกอบด้ านเนื ้อหาที่นา่ สนใจ 3) องค์ประกอบทางด้ านภาพประกอบสวยงาม วินยั รอดจ่าย ( 2549: 8-9) ได้ กล่าวถึงลักษณะหนังสือสาหรบเด็กไว้ ดงั นี ้ ซึ่ง ประกอบไปด้ วยกันทังหมด ้ 4 ประการ 1) มุง่ ให้ ความบันเทิงเป็ นหลัก 2) เนื ้อหาสอดคล้ องกับวัย 3) เป็ นหนัง สื อ ที่ รั บ การนิ ย มในกลุ่ม เด็ก โดยจะตัด สิ น ใจเลื อ กและ ตัด สิ น ใจโดยตนเองซึ่ง อาจจะกล่า วถึ ง ลัก ษณะทางกายภาพของหนัง สื อ ที่ ส วยงามตาม ทัศนคติของเด็ก
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
21
4) เป็ นที่ร้ ู จักและยอมรับซึ่งสามารถสังเกตจากสถิตของการพิมพ์เพิ่ม มากขึ ้นหรื อยอดของการจาหน่าย พิมพ์จิต สถิตวิทยานันท์ อ้ างอิงถึง ทิพวัน บุญวีระ ซึ่งได้ ให้ สมั ภาษณ์ ใน รายการโทรทัศน์ “เพื่อนหญิงพลังหญิง” ได้ พดู ถึงลักษณะหนังสือนิทานที่ดีไว้ 9 ประการ ดังนี ้ 1) เรื่ องที่มาจากเค้ าโครงเรื่ องจริง 2) เรื่ องประเภทเพ้ อฝั น 3) เรื่ องที่เกี่ยวข้ องกับขนบธรรมเนียม ประเพณี บุญที่ม่งุ ปลูกฝั งให้ มี ความละอายต่อการทาชัว่ 4) นิทานชาวบ้ าน 5) เทพนิยาย 6) นิทานที่ใช้ เหตุการณ์และตัวละครเปรี ยบเทียบ 7) นิทานประจาชาติ 8) นิทานเกี่ยวกับท่องเที่ยวผจญภัย ผลจากการวิจยั ของ สมทรง สีตลายัน (2515: 10) เรื่ อง การศึกษาเกี่ยวกับ ลักษณะหนังสือที่เด็กชอบ ได้ กล่าวไว้ ว่า ขนาดของรู ปเล่มที่ เด็กประถมศึกษาตอนปลาย (อายุ 10- 12 ปี ) คือ 6 × 8.5 นิ ้ว ขนาดของตัวอักษร 20 ปอยท์ ตัวเรี ยงหาง ภาพแบบไทยแท้ พิมพ์ 4 สี ประเภทของนิทำนสำหรับเด็ก การแบ่ง ประเภทของหนัง สื อ ส าหรั บ เด็ก นัน้ มี นัก วิช าการหลายท่า นได้ แ บ่ง ประเภทเอาไว้ ห ลากหลายลักษณะ เช่น แบ่ง ตามวิธี การเขี ย น ดัง ที่ ณรงศ์ ทองปาน (2526: 35) ได้ กล่าวเอาไว้ วา่ การแบ่งตามลักษณะของงานเขียน ไว้ 3 ประเภท ดังนี ้ 1) บันเทิงคดี ได้ แก่ นิทาน เรื่ องสัน้ นวนิยาย การ์ ตนู 2) สารคดี ได้ แก่ สารคดีทวั่ ไป สารคดีชีวประวัติ สารคดีทอ่ งเที่ยว การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
22
3) ร้ อยกรอง ได้ แก่ ร้ อยกรองสาหรับเด็ก ร้ อยกรองสาหรับเยาวชน การแบ่งประเภทของนิทานสาหรับเด็กนัน้ มีเกณฑ์ในการแบ่งที่แตกต่าง ๆ กัน ออกไป เช่น แบ่งตามอายุ แบ่งตามระดับชันเรี ้ ยน และแบ่งตามลักษณะเรื่ อง ซึ่งมีผ้ กู ล่าว ไว้ อย่างมากมายดังนี ้ สมพร จารุนฏั (2538: 6-7) แบ่งวรรณกรรมสาหรับเด็กออกเป็ น 2 ประเภท คือ บันเทิงคดี และสารคดี วิริยะ สิริสิงห(2524: 56)ได้ กล่าวถึงการแบ่งนิทานตามเกณฑ์อายุไว้ 5 ระดับ ดังนี ้ 1) หนังสือนิทานสาหรับเด็กอายุระหว่าง แรกเกิด – 3 ปี 2) หนังสือนิทานสาหรับเด็กอายุระหว่าง 3-6 ปี 3) หนังสือนิทานสาหรับเด็กอายุระหว่าง 6-11 ปี 4) หนังสือนิทานสาหรับเด็กอายุระหว่าง 11- 14 ปี 5) หนังสือนิทานสาหรับเด็กอายุระหว่าง 14-18 ปี ปิ ยรัตน์ วิภาสุรมณทล (2532: 88) ได้ กล่าวถึงการแบ่งนิทานสาหรับเด็กตาม เกณฑ์ระดับชันเรี ้ ยน ซึ่งแบ่งออกเป็ น 3 ระดับ คือ วัยเด็กเล็ก วัยเด็กประถมศึกษา และวัย เด็กมัธยมศึกษา และอีกประการหนึ่งที่ ปิ ยรัต วิภาสุรมณทม ได้ กล่าวถึงการแบ่งนนิทานตาม ลักษณะของเรื่ องราว ซึ่งสามารถแบ่งได้ 3 ประเภท คือ บันเทิงคดี สารคดี และบทร้ อย กรอง วิริยะ สิริสิงห (2524: 57) และ ปิ ยรัตน์ วิภาสุรมณทล (2532: 89) ได้ กล่าวถึง การแบ่งนิทานตามเกณฑ์จดุ มุง่ หมายของเรื่ องไว้ ตรงกัน ซึง่ สามารถสรุปได้ 9 ประเภท ดังนี ้ 1) หนังสือภาพ 2) บทเห่กล่อมและบทกลอน 3) หนังสือนิทาน 4) นวนิยายสาหรับเด็ก การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
23
5) หนังสือสารคดี 6) หนังสือแบบเรี ยน 7) หนังสืออ่านเพิ่มเต็ม 8) หนังสืออ้ างอิง 9) วารสารและหนังสือพิมพ์ จิระประภา บุญยนิตย์ (2526: 15-19) ได้ กล่าวถึงประเภทของนิทานไว้ ดงั นี ้ 1) นิทานปรัมปราเป็ นนิทานที่มีลกั ษณะเรื่ องค่อนข้ างยาวเป็ นเรื่ องที่มกั สมมุ ติ ขึน้ ณ ที่ ใดที่หนึ่ง ไม่กาหนดชัดเจนว่าที่ไ หนตัวเอกของเรื่ องจะเป็ นผู้ที่มีคุณสมบัติที่พิเศษ ประการใดประการหนึ่งเช่นเป็ นผู้มีอานาจมี ฤทธิ์ เดชทาให้ ศตั รู พ่ายแพ้ ได้ ถ้าเป็ นหญิ งมักได้ แต่งงานกับชายผู้สงู ศักดิเ์ ช่นเรื่ องปลาบูท่ อง สโนโวท์ และซินเดอเรลล่า 2) นิ ท านท้ อ งถิ่ น เป็ นนิ ท านที่ มี เ รื่ อ งสัน้ กว่ า นิ ท านปรั ม ปรามัก เน้ น เรื่ อ งราว เกี่ยวกับ ความเชื่อขนบธรรมเนียมประเพณีโชคลางหรื อคตินิยมแต่เชื่อว่าเป็ นเรื่ องที่เกิดขึน้ จริงหรื อมีเค้ าความจริงมีบคุ คลจริงๆมีสถานที่จริงที่กาหนดแน่นอนกว่านิทานปรัมปรา 3) เทพนิยายเป็ นนิทานที่มีเทวดานางฟ้าเป็ นตัวเอกของเรื่ อง เช่นเมขลารามสูร ท้ าวมหากานต์ 4) นิทานเรื่ องสัตว์มีนิทานที่มีตวั เอกเป็ นสัตว์และมีความคิดและการกระทาต่าง ๆ ตลอดจนการพูดอย่างคน หรื ออาจมีคนเกี่ยวข้ องอยู่ด้วยทังคนและสั ้ ตว์สามารถพูดโต้ ตอบ และปฏิบตั ติ อ่ กันนิทานประเภทนี ้อาจแบ่งได้ 2 ประเภท คือ นิทานเรื่ องสัตว์ประเภทคติธรรม ได้ แก่นิทานเรื่ องอีสปและชาดก ต่างๆ และนิทานเรื่ องสัตว์ประเภทเล่าซ้ าหรื อเล่าไม่ร้ ูจกั จบ เช่นเรื่ องยายกับตา
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
24
จากประเภทของนิทานที่นิยม ดังที่ผ้ ศู กึ ษาได้ นาที่กล่าวไว้ ในข้ างต้ นนันพอสรุ ้ ป ได้ ว่าเป็ นนิทานเกี่ ยวกับเรื่ องของผู้มีอิทธิฤทธิ์ปฏิหาริ ย์ เทพนิยายเรื่ องราวที่เกี่ยวข้ องกับสัตว์ และเรื่ องราวที่เกี่ ยวข้ องกับชีวิตประจาวันที่สอดแทรกคุณธรรมจริ ยธรรมต่างๆให้ เด็กได้ คิด และจินตนาการเพื่อนามาเป็ นแนวปฏิบตั ใิ นการดาเนินชีวิตประจาวัน ปริมำณทำงด้ ำนเนือ้ หำและรู ปแบบของหนังสือนิทำน เนื ้อหาของนิทานมักจะยึดอายุของเด็กเป็ นสาคัญเพราะรู ปแบบและความยาว ของเนือ้ หา ควรที่จ ะสอดคล้ องกับจิ ตวิทยาเป็ นหลักในการเรี ยนรู้ ของเด็ก หนัง สือทียาว เกินไป หรื อสันเกิ ้ นไป ไม่ใช้ สิ่งที่ดีและเหมาะสมสาหรับเด็กในวัยต่าง เราสามารถกาหนด ปริ มาณของเนื ้อและรูปแบบให้ เหมาะสมกับเด็กได้ ดงั ที่ วินยั รอดจ่าย (2540: 14) ได้ กล่าว เอาไว้ ดังนี ้ เด็กที่มีอายุระหว่าง 3-5 ขวบ นิยมใช้ หนังสือขนาด 17 ×18.50 เชนติเมตร จานวน 12 หน้ า พร้ อมภาพประกอบที่ชดั เจน ไม่รวมปกหน้ าและปกหลัง ปริ มาณของเนื ้อหา ที่น้อย เด็กที่มีอายุ 6-9 ขวบ นิยมใช้ หนังสือขนาด 14.50 × 21 เซนติเมตร หรื อที่เรี ยก กันว่าขนาด16 หน้ ายก จานวน 12 หน้ า พร้ อมภาพประกอบไม่รวมปกหน้ าและปกหลัง เด็กที่มีอายุ 9-11 ขวบ นิยมใช้ หนังสือ ขนาด 18.50 × 26 เซนติเมตร หรื อที่ เรี ยกว่า 8 หน้ ายก จานวน 24 หน้ า พร้ อมด้ วยภาพประกอบ ไม่รวมหน้ าปกและปกหลัง องค์ ประกอบของหนังสือนิทำนสำหรับเด็ก หนังสือแต่ละประเภทจะมีองค์ประกอบที่เหมือนกัน เช่น หน้ าปก ตัวอักษร แต่ หนังสือนิทานจะมีความพิเศษเพราะทุกๆองค์ประกอบจะเป็ นส่วนที่ช่วยสร้ างจินตนาการและ ส่งเสริ มให้ เด็กมีพัฒนาการตามวัยที่สมบูรณ์ องค์ประกอบของนิทานสาหรับเด็กต่างมีผ้ ูที่ ศึกษาเอาไว้ และให้ ความเห็นหลากหลายท่าน เช่น
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
25
กาธร สถิกลุ (2540: 35) ไว้ ว่าองค์ประกอบที่สาคัญของหนังสือนิทานสาหรับ เด็กที่ควรคานึงถึงมีดงั นี ้ 1) ขนาดของเล่มหนังสือ 2) รูปร่างของหนังสือ 3) ตาแหน่งต่าง ๆ ในหน้ าหนังสือ 4) สี 5) ภาพประกอบ 6) ตัวพิมพ์ (ตัวอักษร) 7) การวางหน้ าหนังสือ (ตังแต่ ้ หน้ าปก-ปกหลัง) วินยั รอดจ่าย (2540: 9-10) ได้ กล่าวถึงองค์ประกอบหลักที่สาคัญของหนังสือสาหรับ เด็กไว้ 3 ประการใหญ่ ๆ คือ องค์ประกอบทางด้ านรูปเล่ม องค์ประกอบทางด้ านเนื ้อหา สาระ และองค์ประกอบทางด้ านภาพประกอบ ประภารัตน์ นววิภาพันธ์ (2546: 133)ได้ กล่าวถึงส่วนประกอบของหนังสือนิทานไว้ ว่า หนังสือนิทานสาหรับเด็กนันควรมี ้ สว่ นประกอบดังนี ้ 1) ปกนอก 2) ใบปกรอง 3) หน้ าลิขสิทธ์ 4) หน้ าคานา 5) หน้ าสารบัญ 6) ส่วนเนื ้อหา 7) ส่วนหนังหรื อปกหลัง
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
26
ขัน้ ตอนกำรจัดสร้ ำงหนังสือนิทำนสำหรับเด็ก ขั ้นตอนการสร้ า งหนัง สือ ส าหรับ เด็ก ดัง ที่ ฉวีว รรณ คูห าภิ นัน ท์ (2527: 12-21) ได้ กล่าวถึงขันตอนการท ้ าหนังสือสาหรับเด็กไว้ ดงั นี ้ ขัน้ 1 ศึกษาหาความรู้ เกี่ยวกับการทาหนังสือเด็ก โดยศึกษาจากตารา เอกสารต่าง ๆ การอบรม สัมมนา ศึกษาจากหนังสือสาหรับเด็กที่ได้ รับรางวัลจากการประกวด เป็ นต้ น ขัน้ 2 เขียนโครงเรื่ อง (Plot) จะทาให้ ทราบว่าเป็ นเนื ้อเรื่ องเกี่ยวกับอะไร พร้ อมกับบอกแกนของเรื่ อง เพื่อจะได้ ทราบว่าหนังสือเด็กเรื่ องนัน้ มีแกนของเรื่ องอย่างไร แล้ วจึงคิดผูกเป็ นเรื่ องง่าย ๆ ไม่ซบั ซ้ อน ขัน้ 3 เนื ้อเรื่ องย่อ คือ การเขียนเนื ้อเรื่ องย่อ ๆ ของเรื่ องที่จะแต่งขึน้ มา ทาให้ ผ้ อู า่ นทราบได้ วา่ เนื ้อเรื่ องนี ้ มีเนื ้อเรื่ องย่อเกี่ยวกับอะไร ซึง่ จะละเอียดกว่าโครงเรื่ อง ขัน้ 4 เขียนบทสคริ ปต์ (Script) คือ การนาเรื่ องราวที่ได้ จากโครงเรื่ องมา เขียนบอก ขัน้ ตอนของเนือ้ เรื่ องและรู ปภาพ เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดวางภาพและรู ปเล่ม ของหนังสือตังแต่ ้ หน้ าปกจนถึงหน้ าสุดท้ าย ขัน้ 5 การทาดัมมี่ (Dummy) คือ การทาหนังสือจาลองของหนังสือที่จะ ทาขึ ้นมา โดยทารายละเอียดจากบทสคริ ปต์มาเขียนและวาดรู ปหรื อทาสัญลักษณ์แทนรู ป เป็ นการทดลองก่อนที่จะพิมพ์เป็ นเล่ม เพื่อดูความเหมาะสม ขัน้ 6 การทารู ปเล่ม (Format) คือ การทาหนังสือจริ ง ๆ ได้ แก่ การวาด ภาพ คาบรรยายรวมทังการวางหน้ ้ า การจัดภาพ (layout) ของหนังสือให้ เหมาะสมโดยดู จากดัมมี่ สาหรับขนาดของรูปเล่มมีหลายขนาดที่นิยมคือ ขนาดเล็ก 13 ซม.×18.5 ซม. หรื อ 16 หน้ ายก ขาดกว้ าง 14.6 ซม.× 21ซม. หรื อ 16 หน้ ายกใหญ่ ลักษณะของรู ปเล่ม มี 2 ลักษณะ คือ แบบแนวตังและแบบแนวนอน ้ ขัน้ 7 การตัง้ ชื่ อ เรื่ อ งต้ อ งน่ า สนใจ น่ า ติ ด ตามอ่ า น โดยอาศัย การ พิจารณาจาก เนื ้อเรื่ อง ในการสร้ างหนังสือที่ดีสาหรับเด็กผู้สร้ างต้ องการวางแผนที่ดีเพราะจะ ช่วยให้ หนังสือ ที่จดั ทาขึ ้นมีคณ ุ ค่า น่าอ่านชวนติดตาม ตลอดจนจูงใจให้ เด็กรักการอ่านยิ่งขึ ้น การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
27
ถวัลย์ มาศจรัส (2539 : 41-47) ได้ กล่าวถึงขันตอนการเขี ้ ยนหนังสือ ดังนี ้ ขันที ้ ่ 1 ปั จจุบนั สอนกลุม่ ประสบการณ์อะไร ขันที ้ ่ 2 จะเขียนหนังสือส่งเสริมการอ่าน ชันประถมศึ ้ กษาปี ที่เท่าไร ขัน้ ที่ 3 เขี ยนเรื่ องอะไร แล้ วตอบคาถามเหล่านี ใ้ ห้ ไ ด้ เขี ยนทาไม เพื่ ออะไร เนื ้อหาเป็ นอย่างไร สาระที่ได้ คืออะไร รูปแบบการเขียนเป็ นอย่างไร (ร้ อยแก้ วหรื อร้ อยกรอง) ขันที ้ ่ 4 หาข้ อมูลจากที่ไหน ขันที ้ ่ 5 วางแผนการเขียนไว้ อย่างไร ขันที ้ ่ 6 จะลงมือเขียนเมื่อไร และกาหนดจะให้ แล้ วเสร็จเมื่อใด ขัน้ ที่ 7 ลงมือเขี ยนผู้ศึกษาได้ ดาเนินการศึกษาข้ อมูลต่างๆ ให้ สอดคล้ องกับ สภาพปั ญ หา วัย ของเด็ ก ธรรมชาติข องเนื อ้ หาสาระความรู้ เพื่ อ เกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลในองค์ความรู้และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในวงการศึกษาต่อไป สมศักดิ์ ศรี มาโนชน์ (2523: 78-88) ได้ กล่าวถึงขันตอนการด ้ าเนินงานการผลิต หนังสือนิทานภาพเล่มใหญ่สาหรับเด็กปฐมวัยไว้ ดงั นี ้ 1) ศึกษาเนื ้อหา - หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 - พัฒนาการทางภาษาสาหรับเด็กปฐมวัย - การสอนภาษาไทยแนวสมดุลภาษาสาหรับเด็กปฐมวัย - หนังสือนิทานภาพเล่มใหญ่สาหรับเด็กปฐมวัย - การประเมินพัฒนาการทางภาษาสาหรับเด็กปฐมวัย - งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
28
2) สร้ างหนังสือนิทานภาพเล่มใหญ่สาหรับเด็กปฐมวัย จานวน 8 เล่ม โดย ดาเนินการตามลาดับดังนี ้ - ศึกษาเกณฑ์การสร้ างหนังสือนิทานภาพเล่มใหญ่สาหรับเด็กปฐมวัย ของสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ - กาหนดแนวคิดของเรื่ องในหนังสือนิทานภาพเล่มใหญ่แต่ละเล่มให้ สอดคล้ องสัมพันธ์กนั กับหน่วยการเรี ยนรู้และแผนการจัดประสบการณ์ที่ได้ กาหนดขึ ้น - วางโครงเรื่ องนิทานภาพ ว่าตอนต้ น ตอนกลาง และตอนจบเรื่ องจะ ลาดับเรื่ อง อย่างไร - ลงมือเขียนเรื่ องเต็ม - แบ่งตอนกาหนดภาพประกอบเรื่ อง เพื่อเป็ นแนวทางในการสร้ าง ภาพประกอบ - ทาหนัง สือนิทานภาพเล่มใหญ่ฉบับร่ าง นาเนือ้ เรื่ องและกาหนด ภาพประกอบที่ ตรวจแก้ ไขแล้ วในแต่ละตอน มาจัดเป็ นหน้ าของหนังสือ พร้ อมจัดเป็ นรูปเล่ม ครบถ้ วนตามลักษณะที่ดีของหนังสือนิทานภาพเล่มใหญ่สาหรับเด็กปฐมวัย คือ มีปกนอก คานา เนื ้อเรื่ อง และปกหลัง - ลงมือทาหนังสือนิทานภาพเล่มใหญ่ และการทารูปเล่ม การทดลอง ใช้ หลังจากการผลิตหนังสือนิทานภาพเล่มใหญ่ก่อนทาฉบับจริ ง โดยนาไปทดลองใช้ กับ ผู้เรี ยนชันอนุ ้ บาล 2 โรงเรี ยนบ้ านหลักปั น อาเภอสันทราย สานักงานเขตพื ้นที่การศึกษา เชียงใหม่ เขต 2 แล้ วนาข้ อมูลจากการทดลองใช้ มาปรับปรุ งหนังสือนิทานภาพเล่มใหญ่ ฉบับจริง เพื่อให้ มีความสมบูรณ์ที่สดุ - จัดทาหนังสือนิทานภาพเล่มใหญ่ฉบับสมบูรณ์ทงหมด ั้ 8 เล่ม นาไป ให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญ จานวน 5 ท่าน เพื่อตรวจสอบความเที่ยงเชิงเนื ้อหา (IOC) และแก้ ไขตาม ข้ อเสนอแนะอีกครัง้ หนึง่
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
29
การสร้ างหนังสือสาหรับเด็กต้ องสร้ างเป็ นลาดับขันตอน ้ เป็ นการปฏิบตั ิที่มีแบบ แผน ทังยั ้ งเป็ นการสร้ างวินยั ให้ กับตนเองอีกด้ วย และต้ องศึกษาข้ อมูลจากงานเอกสารและ แหล่งต่าง ๆหลาย ๆ แหล่ง เพื่อจะได้ นาความรู้ และประสบการณ์ มาเป็ นแนวทางสาหรั บ พัฒนาหนังสือให้ ได้ หนังสือที่มีคณ ุ ภาพและน่าสนใจ เทคนิคและวิธีกำรออกแบบหนังสือนิทำนสำหรับเด็ก การสร้ างหนังสือนิทานสาหรับนันผู ้ ้ สร้ างจะต้ องมีความรู้ ในด้ านการออกแบบ เพื่อที่จะนามาเป็ นพื ้นฐานในการสร้ างสรรค์ผลงาน และในขันออกแบบหนั ้ งสือนิทานสาหรับ เด็กนี ้ก็เป็ นขันตอนที ้ ่สาคัญ เพื่อที่จะทาให้ การสร้ างสรรค์นิทานบรรลุตามจุดมุ่งหมาย และ เกิดประสิทธิภาพสูงสูด โดยยังมีผ้ รู ้ ูได้ กล่าวถึงวิธีการออกแบบหนังสือนิทานสาหรับเด็กไว้ ดงั นี ้ ฉวีวรรณ คูหาภินนั ทน์ (2527: 86-88) ได้ กล่าวถึงหลักในการออกแบบหนังสือ นิทานสาหรับเด็ก พอสรุปได้ ดงั นี ้ 1) ปกสี สันสะดุดตาส าหรั บเด็ก เพราะปกและภาพมีอิทธิ พ ลต่อการ เรี ยนรู้มาก เนื ้อหาเพียงปานกลาง การวางหน้ าที่ดงึ ดูดสายตา และยิ่งถ้ าออกแบบให้ เด็กเล่ น กับปกได้ ก็จะดี 2) รู ปเล่ม ออกแบบดึงดูดความสนใจ รู ปสี่เหลี่ยมทรงเรขาคณิต รู ป หลายเหลี่ยม วงกลม หรื อว่าอาจจะออกแบบเป็ นรูปสัตว์ ผลไม้ เป็ นต้ น 3) เนือ้ ใน หน้ าหนัง สื อที่ บรรจุภ าพและอักษรที่ มีเรื่ องราว มีทัง้ หน้ า ซ้ ายมือและทางขวามือ 4) ขนาดของหนังสือเหมาะสม เพื่อความสะดวกในการอ่าน 5) ภาพของหนังสือ ขอบภาพที่ง่าย ๆ ไม่ซบั ซ้ อน 6) ตัวอักษร ให้ เหมาะสมกับไว้ เด็กที่มีอายุน้อยให้ ใช้ ตวั หนังสือที่ใหญ่ 7) สีของภาพ เด็กชอบภาพสีน ้ามันมากกว่าภาพลายเส้ น ภาพสีน ้ามัน ก่อให้ เกิดจินตนาการ
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
30
8) ขนาดของภาพ มีลกั ษณะใหญ่จะได้ ความนิยมมากกว่าขนาดเล็ก 9) การวางหน้ าที่สาคัญ หลักการของความสมดุลของภาพ มีจุดเด่น ของภาพและมีจดุ ระเว้ นสายตา เทคนิคกำรออกแบบขนำดของหนังสือ ฉวีวรรณ คูหาภินนั ทน์ (2527: 82) ได้ กล่าวถึงเทคนิคการออกแบบด้ านขนาด ของหนัง สือไว้ ดังนี ้ การทาหนังสือสาหรับเด็ก และให้ ความเห็นเรื่ องขนาดของหนังสือว่ามี หลากหลายขนาดด้ วยกัน ทัง้ 8 หน้ ายก 16 หน้ ายก การนากระดาษแผ่นใหญ่มาตรฐาน คือ 31X43 นิ ้ว มาตัดออกเป็ น 4 ส่วน หรื อเศษ 1 ส่วน 4 ของแผ่นใหญ่ ถือเป็ นกระดาษ 1 ยก เป็ นต้ น สุขมุ เฉลยทรัพย์ อ้ างอิงใน ฉวีวรรณ คูหาภินนั ทน์ (2537: 152) ได้ ให้ เทคนิคใน การออกแบบรูปเล่มว่า ควรมีขนาด 10X13 นิ ้ว แตกต่างจากบทเรี ยน แข็งแรงต่อการใช้ งาน เทคนิคกำรจัดว่ ำงหน้ ำหนังสือ เปรื่ อง กุมทุ (2523: 44-47) ได้ กล่าวถึงเทคนิคด้ านการจัดว่างหน้ าหนังสือไว้ ว่า การจัดว่างหนังสือสาหรับเด็กนันถื ้ อว่าเป็ นงานหนัก และต้ องใช้ หลักเกณฑ์ทางศิลปะมาก เป็ นพิเศษ แม้ แต่เรานาผลการวิจยั เกี่ยวกับภาพ ทังแบบ ้ ขนาด สี ลักษณะทัง่ ไปที่เด็กชอบ อักษรทังรู้ ปแบบ สีและขนาดมาออกแบบเป็ นที่พอใจ ในที่สดุ เราก็ยงั ต้ องเอาสิ่งที่ออกแบบ เหล่านันมาวางจั ้ ดเรี ยงหน้ าในตอนนี ้เองเป็ นเวลาที่หลักการต่างๆ ทางศิลปะจะถูกประยุกต์ เข้ ากับงานการวางหน้ าหนังสือต่อไปสิ่งที่นามาวางนัน้ ที่สาคัญคือภาพกับตัวหนังสือ แต่ หลักเกณฑ์ทางศิลปะในการวางนันที ้ ่สาคัญก็คือ 1) หลักความสมดุล 2) หลักเอกภาพ 3) หลักการเน้ น การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
31
4) การเว้ นช่องว่างขาว 5) หลักการนาสายตา เทคนิคกำรกำหนดขนำดของภำพประกอบ ภาพประกอบ หมายถึง ภาพประกอบหนังสือนิทานสาหรับเด็กเป็ นภาพหรื อ ส่วนประกอบเนื ้อหาที่เป็ นภาพวาด ทาให้ ผ้ ูอ่านเกิด จินตภาพ เมื่อได้ อ่านเนื ้อหาแล้ ว ภาพประกอบหนังสือช่วยอธิ บายให้ เรื่ องนันชั ้ ดเจนยิ่งขึน้ (ปวีณา ศรี วิพฒ ั น์ อุดมศักดิ์ สาริ บุตแ และจตุรงค์ เลาหะเพ็ญศรี , 2556: 5) หทัย ตันหยง (2525: 232) ได้ กล่าวถึงเทคนิคในการกาหนดขนาดของภาพว่า ส่วนใหญ่การพิจารณาเรื่ องขนาดของภาพนันอาจพิ ้ จารณาได้ 2 นัย คือ 1) ขนาดที่เป็ นจริง คือ ขนาดที่อาจวัดออกมาเป็ นหน่วยความกว้ างยาว ได้ จริ ง ขนาดที่เป็ นจริ งนี ้โดยทัว่ ไปแล้ วไม่ว่าขนาดเล็กหรื อใหญ่ไม่มีผลในการเรี ยกร้ องความ สนใจของผู้อา่ นให้ แตกต่างกันออกไป เพราะในขณะที่ผ้ อู า่ นดูภาพนัน้ ความสนใจของผู้อ่าน อยูท่ ี่ภาพในหนึง่ หน้ าเท่านันไม่ ้ วา่ จะเป็ นภาพเล็กหรื อภาพใหญ่ ความสนใจจึงเท่าเทียมกัน 2) ขนาดเปรี ยบเทียบ คือ ขนาดที่นาเอามาเปรี ยบเทียบกันเอาภาพเล็ก กับภาพใหญ่ มาเปรี ยบเที ยบกัน เอาภาพเล็ กกับภาพใหญ่ ม าดูพ ร้ อมกันภาพที่ ใ หญ่ กว่าจะ เรี ยกร้ องความสนใจมากกว่าภาพที่มีขนาดเล็ก กาธร สถิรกุล (2532: 148-149) ได้ กล่าวว่า ขนาดภาพที่นามาประกอบใน หนังสือนัน้ ควรเหมาะสมกับวัยเด็ก เด็กยิ่งเล็กภาพควรจะยิ่งมีขนาดใหญ่ เพื่อช่วยให้ เห็น ชัดเจน เด็กชันแรกควรขนาดภาพประมาณ ้ 3 ใน 4 ของหน้ ากระดาษ 1 ใน 4 ใช้ ในการ บรรยายภาพ เด็กชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 1 ควรมีขนาดของภาพหรื อพื ้นที่ที่ภาพประมาณ 2 ใน 3 ของหน้ ากระดาษ และเด็กที่อยูใ่ นระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 3 - 6 ควรมีขนาดของภาพ 1 ใน 2 ของหน้ ากระดาษ ใช้ คาบรรยายภาพ
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
32
อย่างไรก็ตามการจัดภาพหน้ าหนังสือสาหรับเด็ก ควรถือหลักทางจิตวิทยาที่จะ สร้ างบรรยากาศขึน้ บนหน้ าหนัง สื อ ให้ เ ด็กผู้อ่านด้ วยความสบายใจ โล่ง จิ ต มี เสรี ภ าพ ทางด้ านอารมณ์ จึงไม่ควรขีดเส้ นตีกรอบในหน้ าหนังสือ จากความจริ งข้ อหนึ่งก็คือ ภาพใน หน้ าหนังสือนันบางภาพไม่ ้ เต็มสมบูรณ์เพราะสุดขอบ เด็กจะชอบขีดเขียนต่อภาพออกไปที่ ว่าง จึงนับเป็ นความคิดที่น่ารักเอ็นดูของเด็กที่เราควรไม่ขดั ขวาง (บันลือ พฤกษะวัน , 2521: 78) ภาพประกอบหนังสือนิทานสาหรับเด็กหรื อส่วนประกอบเนื ้อหาเป็ นภาพวาด และงานเขียนมีแหล่งกาเนิดแบบธรรมดา และจุดมุง่ หมายแรกของภาพประกอบ คือ การทา ให้ เข้ าใจถึงเนื ้อหาของต้ นฉบับ หรื อเล่มที่ตีพิมพ์ และส่วนที่ ตกแต่งกลายเป็ นสิ่งที่สาคัญ เป็ นการแปลข้ อความของผู้เขียนเรื่ องมาเป็ นภาพ ซึ่งจะมีลกั ษณะเป็ นรูปธรรมมากกว่าข้ อความ ทาให้ ผ้ ูอ่านเกิดจินตภาพ เมื่อได้ อ่านเนือ้ หาแล้ ว ดังนัน้ ผู้วาดภาพหรื อเขียนภาพควรที่จ ะ เขียนภาพของมาให้ มีความชัดเจน สื่อความหมายได้ ดีที่สดุ (พิ มพ์จิต สถิวิทยานันท์ , 2546: 25) ณรงค์ ทองปาน (2526 : 80)ได้ กล่าวไว้ วา่ ภาพประกอบถือว่าเป็ นหัวใจสาคัญ ของนิทาน โดยเฉพาะนิทานสาหรับเด็กอนุบาล หรื อเด็กที่มีอายุ 3-8 ขวบ ซึ่งคุณสมบัติของ ภาพต้ องเป็ นภาพที่ให้ ความรู้สกึ มีชีวิต เคลื่อนไหวสอดคล้ องกับเนื ้อเรื่ อง และอธิบายเรื่ องได้ เพื่อเป็ นการส่งเสริมจินตนาการให้ กบั เด็กเกิดพัฒนาการที่สมบูรณ์
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
33
เทคนิคกำรกำหนดขอบหน้ ำหนังสือ การกาหนดขอบหน้ าหนังสือ หมายถึง การใช้ ตวั อักษรและรู ปภาพขนาดไหน หน้ าหนังสือแต่ละหน้ าจะมี 4 ด้ าน ซึ่งแต่ละด้ านจะต้ องมีขนาดที่เท่ากัน เว้ นแต่ด้านที่เป็ น สันที่ใช้ สาหรับเย็บเล่มควรมีการออกแบบให้ พอสาหรับการเข้ าเล่ม ขนาดพอสวยงามตาม ความเหมาะสมและ วิริยะ สิริสิงห (2524: 64) ได้ กล่าวไว้ ว่า การวางหน้ าหนังสือสามารถ เรี ยกได้ ดงั นี ้ 1) แบบ ก. ด้ านใน (ติดสันหนังสือ) สอง ด้ านครึ่ง ด้ านบนสอง ด้ าน นอกสาม ด้ านล่างสี่ 2) แบบ ข. ด้ านใน (ติดสันหนัง สือ) สอง ด้ านบนสาม ด้ านนอกสี่ ด้ านล่างห้ า เทคนิคกำรเลือกใช้ สีในนิทำนสำหรับเด็ก สีเป็ นส่วนที่สาคัญสาหรับหนังสือนิทานเด็ก เพราะสีถือเป็ นสิ่งที่จะช่วยกระตุ้น ให้ เด็กเกิ ดการเรี ยนรู้ อย่ างเต็ม ศักยภาพ และยังช่วยดึง ดูดสายตาให้ เด็กเกิดความสนใจ มุง่ เน้ นที่อยากจะศึกษา ตามหลักจิตวิทยาอาจกล่าวได้ วา่ “แรงจูงใจ” นันเอง ้ รัถพร ขังธาดา (2531 : 45) ให้ ความเห็นในหนังสือนิทานสาหรับเด็กว่า การใช้ สีภาพ ควรใช้ สีสดใสสวยงาม เพราะเด็กชอบภาพสีมากกว่า ขาวดาโดยเฉพาะเด็กเล็กจะ ชอบภาพที่ใช้ สีสดใสจากประเภทแม่สี โดยคานึงถึงรายละเอียดและความเป็ นจริ ง ส่วนเด็ก โตมักจะชอบภาพใกล้ เคียงธรรมชาติ ขนาดใหญ่ชดั เจนสมวัย เกริ ก ยุ้นพันธ์ (2543: 34) การเลือกใช้ สีในการวาดภาพผู้สร้ างสรรค์ต้องมี ความรู้และเข้ าใจถึงความหมายของสีตา่ งๆ เพื่อที่ภาพวาดออกมาจะได้ สอดคล้ องหรื อตรงกับ ความหมายของเรื่ องที่ผ้ สู ร้ างต้ องการสื่อความหมายออกไป วงจรสี เ ป็ นความรู้ พื น้ ฐานที่ ผ้ ู สร้ างสรรค์ นิ ท านควรรู้ และสามารถน ามา ประยุกต์ใช้ กบั นิทานที่สร้ างสรรค์ให้ มีความเหมาะสมและสวยงามตามวัตถุประสงค์ เพราะว่า การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
34
พลังสีสามารถช่วยในการบาบัดโรคได้ นักจิตวิทยาเชื่อว่าสีมีความสัมพันธ์กับร่างกาย จิตใจ อารมณ์ของเราทุกคน สีบอกความเป็ นตัวตน สีโทนร้ อน เช่น สีแดง สีส้ม สีเหลือง สีม่วง ให้ ความรู้สกึ ที่ตา่ งจากสีโทนเย็นเช่น สีขาว สีเขียว สีฟ้า สีชมพู เป็ นต้ น สีโทนร้ อนหรื อสีโทนเย็น จะไปกระตุ้นต่อมไพเนียล ซึ่งจะส่งผลถึงฮอร์ โมน ความรู้ สึก จิตใจ อารมณ์ของแต่ละบุคคล ดังที่ สุภวรรณ พันธุ์จนั ทร์ (2556:12-14) ได้ กล่าวถึงความรู้พื ้นฐานเกี่ยวกับสี และอารมณ์ ความรู้สกึ ของสี ดังนี ้ สีขนที ั ้ ่ 1 คือ แม่สี ได้ แก่ สีแดง สีเหลือง สีน ้าเงิน สีขนที ั ้ ่ 2 คือ สีที่เกิดจากสี ขันที ้ ่ 1 หรื อแม่สีผสมกันในอัตราส่วนที่เท่ากัน จะทาให้ เกิดสีใหม่ 3 สี ได้ แก่ สีแดง ผสมกับสี เหลือง ได้ สีส้ม สีแดง ผสมกับสีน ้าเงิน ได้ สีมว่ ง สีเหลือง ผสมกับสีน ้าเงิน ได้ สีเขียว สีขนที ั้ ่ 3 คือ สีที่เกิดจากสีขนที ั ้ ่ 1 ผสมกับสีขนที ั ้ ่ 2 ในอัตราส่วนที่เท่ากัน จะได้ สีอื่น ๆอีก 6 สี คือ สี แดง ผสมกับสีส้ม ได้ สีส้มแดง สีแดง ผสมกับสีม่วง ได้ สีม่วงแดง สีเหลือง ผสมกับสีเขียว ได้ สีเขียวเหลือง สีน ้าเงิน ผสมกับสีเขียว ได้ สีเขียวน ้าเงินสีน ้าเงิน ผสมกับสีม่วง ได้ สีม่วงน ้าเงิน สีเหลือง ผสมกับสีส้ม ได้ สีส้มเหลือง สีแดงเป็ นสีแห่งอานาจแสดงถึงการมีพลัง ช่วยพิชิตความคิดเห็นในทางลบหรื อ การมองโลกในแง่ร้าย สีแดงมักเข้ าสู่กระบวนด้ านการรักษามากกว่าตามโรงพยาบาลไปแต่ผ้ ู ถูกบาบัดรู้ สึกอึดอัด ไม่สบายตัว เพราะสีแดงเป็ นสีที่กระตุ้นระบบประสาทได้ รุนแรงที่สุดให้ ความรู้สกึ เร้ าใจ ตื่นเต้ น ท้ าทาย สี ช มพูเ ป็ นสี ที่ มี ลัก ษณะให้ ความรู้ สึ ก ต่า งๆ สงบลงในขณะเดี ย วกัน ก็ ใ ห้ ความรู้สกึ ของการมีน ้าใจดี จิตใจกว้ างขวาง อบอุน่ และทะนุถนอม ซึ่งตรงกันข้ ามกับสีแดงถ้ า หากมี สีชมพูอยู่รายรอบจะทาให้ ร้ ู สึกถึงการปกป้อง ความรักจึงมักจะนาสีนีม้ าบาบัดหรื อ บรรเทา คนที่มีความรู้ สึกโดดเดี่ยวมีอารมณ์ ท้อแท้ คนที่มีความรู้ สึกที่ไวเกินไป เปราะบาง หรื อไม่มีความมัน่ คงทางอารมณ์ สีส้มเป็ นสีแห่งความเบิกบานและความรื่ นเริ งเป็ นความรู้ สึกที่อิสระและได้ รับ การปลดปล่อยความสงสาร และยินดีที่จะให้ หรื อแบ่งปั น เป็ นความรู้ สึกที่เกิดจากจิตใจที่
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
35
ต้ องการปรับปรุ งชีวิตให้ สดใส สีส้มเป็ นสีแห่งความสร้ างสรรค์ อบอุ่นสดใสมีสติปัญญาเต็ม เปี่ ยมไปด้ วยพลัง สีเขี ยวเป็ นสี ที่มี ความสัมพันธ์ ช่วยให้ เรามี อารมณ์ ร่วมกับสิ่งอื่ น ๆ ตลอดจน ธรรมชาติตา่ งๆ รอบตัวเราได้ สีเขียวจะช่วยสร้ างสรรค์บรรยากาศของความสบาย ผ่อนคลาย สงบ ก่อให้ เกิดความรู้สึกสันโดษว่า งเปล่าสมดุล แต่ถ้าเป็ นสีเขียวเข้ ม มีความหมายของการ หลุดพ้ น ความพอดีและถ่อมตน เป็ นสีที่ปฏิเสธต่อความรัก สีเหลืองมักเป็ นสีของความสุข ความเบิกบาน ความมีชีวิตชีวา งานเฉลิมฉลอง เป็ นสีของความแจ่มใส มักจะเกี่ยวข้ องกับเชาว์ สติปัญญาข้ างใน และพลังของความคิดเป็ น ภูมิและความรู้ เป็ นความจ าที่แจ่ม ใส ความคิดที่ กระจ่างเป็ นอารมณ์ ของการใช้ ความคิด สร้ างสรรค์ใหม่ ๆ เป็ นสีที่กระตุ้นให้ เกิดการมองโลกในแง่ดี ในทางตรงกันข้ ามสีเหลืองเข้ มกับ กลายเป็ นสัญญาลักษณ์ของความหวาดกลัว สีน ้าเงิน เป็ นความหมายของการสงบเย็น สุขมุ เยือกเย็น หนักแน่นและละเอียด รอบคอบสีน ้าเงินเป็ นสีที่มีความหมายเกี่ยวโยงกับจิตใจได้ สูงกว่าสีเหลือง มีความหมายถึง กลางคืนให้ ร้ ู สึกสงบได้ ลึกกว่าและผ่อนคลายกว่า แต่ถ้าเป็ นสีนา้ เงินอ่อนจะทาให้ เรารู้ สึ ก ปกป้องจากภารกิจตลอดจนกิจกรรมที่เกิดขึ ้นในแต่ละวัน ดังนันสี ้ น ้าเงินจึงมักนามาบาบัดคน ที่นอนไม่หลับ เป็ นสี ของห้ องนอน สี นา้ เงินเป็ นสี ที่ความคุม จิตใจภายในให้ เกิดความรู้ สึก กระจ่างและสร้ างสรรค์ สีน ้าเงินเข้ มแต่ยงั ไม่ถึงขันสี ้ กรมท่ามีอิทธิพลอย่างสูงต่อการกดหรื อ กล่อมประสาทและจิตใจเป็ นสีที่เข้ าถึงสัญชาตญาณ จิตใต้ สานึกได้ ดี สีฟ้า เป็ นสีที่ให้ ความรู้ สึกสงบเยือกเย็น เป็ นอิสระ ปลอดโปร่งสบาย ปลอดภัย ใจเย็นและสามารถระงับความกระวนกระวายในใจได้ ด้วยพลังของสีฟ้ามีคุณสมบัติในการ รักษาอาการของโรคปอด ลดอัตราเผาผลาญพลังงาน รักษาอาการเจ็บคอและทาให้ ชีพจรเต้ น เป็ นปกติ สีมว่ ง เป็ นสีการดูแลและปลอบโยน ช่วยให้ จิตใจสงบและอดทนต่อความรู้สึกที่ โศกเศร้ าหรื อสูญเสียที่มากระทบจิตใจและประสาท สีม่วงยังช่วยสร้ างสมดุลของจิตใจให้ ฟืน้ การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
36
กลับมาจากภาวะตกต่าหรื อความเศร้ าที่ครอบงาอยู่ สีม่วงเป็ นสีที่เ ข้ าไปเปลี่ยนแปลงการ สื่ อสารระดับลึกเข้ า ไปแทนที่ และต่อสู้กับความกลัวและความตกใจเข้ าไปช าระล้ า งสิ่ง ที่ รบกวนอยู่ในสมอง ซึ่งสีม่วงมักเข้ าไปเชื่อมโยงกับสื่อแขนงอื่น ๆ ศิลปะ ดนตรี และความ ลึกลับเป็ นสี ที่มีอิทธิ พ ลต่อความรู้ สึกทางด้ านความสวยงาม ปรัชญาขัน้ สูง กระตุ้ นให้ เกิ ด ความคิดสร้ างสรรค์ แรงบันดาลใจ ก่อให้ เกิดความเห็นอกเห็นใจสีม่วงยังเป็ นสีที่มีอิทธิพลต่อ ความเชื่อที่ลกึ ลับทางจิตวิญญาณ สีขาว เป็ นสีที่หมายถึงความบริ สทุ ธิ์อย่างยิ่ง จัดอยูใ่ นกลุม่ ของการปกป้อง สร้ าง สันติ สบายช่วยบรรเทาอารมณ์ตกใจหรื อหวาดวิตก ส่งเสริ มให้ จิตใจสะอาดบริ สุทธิ์ มีพลัง ทางความคิดและจิตใจ นอกจากนันยั ้ งหมายถึงความเยือกเย็น สี ดาเป็ นสี ที่มี ความหมายทัง้ ในแง่ ของความสะดวกสบาย การปกป้อง และ ความลึกลับมักจะเข้ าไปเกี่ ยวข้ องกับความเงียบ มีความหมายของหนทางอันมีลกั ษณะอัน ไกล นอกจากนี ้ยังหมายถึงพลังชีวิตที่ถดถอยหรื ออ่อนล้ า หมดพลัง ขัดขวางการเจริญเติบโต สีน ้าตาลเป็ นสีของแผ่นดิน ให้ ความรู้สึกมัน่ คง ลดความรู้สึกที่ไม่ปลอดภัย มัก เกี่ยวข้ องกับการเติมเต็มของความรู้ สึก บาบัดจากความเศร้ าโศก ช่วยเหลือคนที่ร้ ู สึกหมด คุณค่าในตัวเอง เทคนิคกำรจัดวำงเนือ้ ที่ภำพ จากงานวิจยั ของ สมทรง ลิมาลัย (2526: 4) เรื่ อง “การศึกษาความชอบของ เด็กที่มีต่อรู ปแบบของเนือ้ ที่ภาพ หนังสือสาหรับเด็ก ” ทัง้ แบบหน้ าเดียวและหน้ าคู่ โดย เปรี ยบเทียบคะแนนความชอบที่มีต่อรู ปแบบของเนื ้อที่ภาพ ระหว่างรู ปแบบของเนื ้อที่ภาพ ทรงต่างๆ และระหว่างชันเรี ้ ยน กลุ่มตัวอย่างคือนักเรี ยนชันประถมศึ ้ กปี ที่ 1 ประถมศึกษาปี ที่ 3 ประถมศึกษาปี ที่ 5 ผลการวิจัยพบว่าการจัดหน้ าหนัง สื อหน้ าเดี่ยวเด็กระดับชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 1 รู ปแบบของเนือ้ ที่ภาพควรใช้ ทรงกลม และทรงที่ไม่ควรใช้ คือ ทรง เรขาคณิต ในการพิจารณาเนื ้อที่ภาพไปใช้ ควรคานึงถึงรูปทรงเป็ นมากว่ารูปแบบย่อย ส่วน หนังสือสาหรับเด็กระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 3 และประถมศึกษาปี ที่ 5 สามารถใช้ รูปแบบ การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
37
ของเนื ้อที่ภาพได้ ทกุ ทรง แต่ในการพิจารณาว่าจะใช้ ในรูปแบบใดนันต้ ้ องคานึงถึงรูปแบบย่อย เพราะเด็กมีความชอบต่อรู ปแบบย่อยแตกต่างกันออกไป ส่วนการจัดหน้ าหนัง สือแบบคู่ สาหรับเด็กใช้ ประถมศึกษา สามารถใช้ ภาพประกอบที่มีรูปแบบของเนื ้อที่ภาพได้ ทกุ แบบแต่ ในการพิจารณานาไปใช้ จะต้ องคานึงถึงรู ปแบบย่อย เพราะเด็กมีความชอบที่แตกต่างกัน หนัง สื อ นิ ท านส าหรั บ เด็ก ประถมศึก ษาควรมี ภ าพมาก ๆ เพราะเด็ก ทุก ๆชัน้ ให้ คะแนน ความชอบต่อรูปแบบเนื ้อที่ภาพสูง และเด็กชอบภาพทุกรูปแบบ เทคนิคกำรใช้ ตัวอักษรในนิทำนสำหรับเด็ก การใช้ ตวั อักษรในหนังสือนิทานสาหรับเด็กนันว่ ้ าเป็ นเรื่ องที่สาคัญอีกประการ หนึ่ง ถ้ าผู้ปกครองหรื อครูผ้ สู อนสังเกตขณะให้ เด็กอ่านหนังสือบางเล่ มก็จะสังเกตว่าต้ องเพ่ง สายตามากกว่าปกติ ทังนี ้ ้จากตัวพิมพ์หรื อตัวเขียนที่ใช้ ในหนังสือเหล่านันอาจไม่ ้ ชดั เจนหรื อ อ่านยาก ซึ่งสิ่งเหล่านี ้จะสะท้ อนถึงปั ญหาและอุปสรรคในการสร้ างสรรค์นิทานสาหรับเด็กได้ เป็ นอย่างดี ดังนันแล้ ้ วผู้สร้ างควรที่จะคานึงถึงการใช้ ตวั อักษรในหนังสือนิทานสาหรับเด็กให้ มาขึ ้น เพื่อที่จะทาให้ นิทานเรื่ องนันเกิ ้ ดประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ของการสร้ างอย่างเต็ม ศักยภาพ ดังที่ พิมพ์จิต สถิตวิทยานันท์ (2546: 36) ได้ กล่าวถึงเทคนิคการเลือกใช้ ตวั อักษร ในนิทานสาหรับเด็ก 1) ตัวอักษรมีขนาดโต เส้ นหนา พอเหมาะกับสายตาเด็ก 2) ตัวอักษรต้ องเป็ นแบบที่เหมาะสมกับความสูงและความหนา 3) น ้าหนักของตัวอักษรต้ องสม่าเสมอไม่ขาด มีหวั ชัดเจน 4) ตัวอักษรแต่ละตัวต้ องเรี ยงติดกันได้ ดี เพื่อสร้ างเป็ นคา 5) ตัวอักษรต้ องมีลกั ษณะที่อา่ นแล้ วสบายตา 6) เนื อ้ หาที่ ส าคัญ ควรใช้ ตัวอักษรใหญ่ และหน้ า เพื่ อให้ ความรู้ สึกเน้ นหนัก แสดงความสาคัญของข้ อความนัน้ เพราะการเน้ นตัวอักษรเป็ นตัวเข็มเฉพาะส่วนสาระสาคัญ ช่วยให้ เด็กเข้ าใจเรื่ องราวได้ ดีกว่า ไม่เน้ นตัวอักษรเป็ นตัวเข้ มในส่วนที่สาระสาคัญ
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
38
7) การเลือกใช้ ตวั อักษรแบบใดแบบหนึ่งให้ หนังสือสาหรับเด็ก ต้ องคานึงถึง ความอ่านง่ายและอ่านออกสาคัญ ทังนี ้ ้ต้ องพิจารณาถึงรูปแบบ ขนาดช่องไฟ สี และความ ตัดกันตัวอักษรกับพื ้นหลังอีกทังการใช้ ้ ตวั อักษรที่นิยมอยู่ทวั่ ไปจะเป็ นประโยชน์ตอ่ เด็กในการ ที่จะทาให้ เด็กเกิดความคุ้นเคยกับลักษณะและขนาดของตัวอักษร สามารถอ่ านหนังสือให้ กว้ างขวางต่อไป เนื่องจากขนาดของตัวอักษร มีความสัมพันธ์ กบั อายุของผู้อ่าน กล่าวว่า เด็ก เล็กตัวอังษรควรโต แต่เด็กยิ่งโต ตัวอักษรก็จะเล็กลงได้ อาทิ เช่น เด็ก 7-10 ปี ควรใช้ ขนาดประมาณ 20 Points สาหรับเด็กเล็กกว่าคือ 5-7 ปี จึงควรใช้ ตวั อักษรประมาณ 22 Points และอีกประการหนึง่ ที่เป็ นข้ อควรระวัง ดังที่ ทศสรี พูลนวล (2541: 77)ได้ กล่าว เอาไว้ ต าแหน่ง ที่ วางตัวอักษร ในกรณี ที่เ นื อ้ หาแน่นมาก นอกจากจะต้ อ งเผื่ อ พื น้ ที่ ใ ห้ พอที่จ ะลงตัวอักษรได้ ครบแล้ ว ยัง ต้ องระวังไม่ให้ ตัวอักษรเบียดภาพให้ ดูอึ ดอัด และอี ก ประหนึ่งไม่ควรวางตัวอักษรช้ อนภาพบริ เวณที่เป็ นจุดสาคัญหรื อมีรายละเอียดและสีสนั มาก เพราะจะทาให้ อา่ นอยาก นิทำนส่ งเสริมจินตภำพ จินตภาพ หมายถึง ภาพที่เกิดจากความนึกคิดหรื อที่คิดว่าควรเป็ นเช่นนัน้ มี ความหมายเดียวกันกับ มโนภาพ เป็ นผลิตผลจากจินตนาการคือภาพที่เกิดจากอานวยของ จิตใจเป็ นภาพที่เห็นไม่ชดั จับต้ องไม่ได้ จนกว่าศิลปิ นจะได้ ถ่ายทอดเป็ นจินตนาภาพโดยผ่าน ภาพร่ างหรื อผลงานศิลปะรู ปลักษณะต่างๆ กัน และพัฒนาไปเป็ นผลงานสร้ างสรรค์ทาง ศิลปะที่สมบูรณ์ (ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์, 2543 :106) นิทานเป็ นเรื่ องราวที่มีความสนุกสนานที่เสริ มสร้ างจินตนากา แฝงด้ วยแง่คิด และก่อให้ เกิดความสุขแก่ผ้ ไู ด้ ฟัง ไม่จากัดว่าเด็กเล็กหรื อเด็กโต รวมแล้ วคือสาเหตุว่าทาไม นิทานจึงสามารถครองใจเด็ก ๆ ได้ ทงที ั ้ ่เป็ นเพียงหนังสือเล่มหนึ่ง แต่เด็กก็ยงั ชอบและผูกติด ตนเองให้ ล่องลอยไปกับภาพฝั นของเรื่ องราวในนิทานอยู่ดี และแน่นอนที่ สุดว่านิทานให้ การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
39
ประโยชน์แฝงอะไรแก่เด็ก ๆ มากกว่านัน้ หนังสือของผู้ใหญ่โดยทัว่ ไป ส่วนใหญ่มีตวั อักษร เป็ นสื่อภาษาเพียงอย่างเดียว ที่เรื่ องถ่ายทอดเรื่ องราวให้ ได้ รับรู้ ถ้ าเรื่ องนันไม่ ้ น่า สนใจ เราก็ อ่านเพียงผ่านให้ ร้ ู ถึงลืมไปบ้ างไม่เป็ นไรแต่ถ้าเรื่ องไหนเราสนใจ เช่น บทความย่อหน้ าสันๆ ้ เรื่ องตลกเสียดสีสงั คม คาคมที่กินใจ เป็ นต้ น ธัญญา ผลอนันต์ อ้ างอิงใน พิมพ์จิต สถิตวิทยานันท์ (2546: 39) ว่าการเรี ยนรู้ หากทาอย่างถูกวิธีจะเป็ นการสร้ างมโนภาพ หรื อจิ นตภาพในภาษาของผู้ใหญ่ พูดให้ เข้ าใจ ง่ายในความหมายเดียวกันก็คือการสร้ างจินตนาการในภาษาเด็ก การสร้ างภาพทาให้ เราจา ความรู้ ที่ต้องการจาหรื อข้ อความที่ต้องการได้ ง่ายขึ ้นให้ ประทับอยู่ในความทรงจาดังกล่าว นัน่ เอง กำรหำประสิทธิภำพเบือ้ งต้ นของหนังสือนิทำน การหาประสิทธิภาพเบื ้องต้ นของหนังสือนิทานโดยใช้ วิธีการให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญเป็ นผู้ ตรวจสอบดัง นี ด้ ัง ที่ (จิ นตนา ใบกาซู ยี ,2534:67) ได้ กล่า วถึง วิธี การการหาประสิทธิ ภ าพ เบื ้องต้ นของหนังสือนิทานเรื่ อง น้ องหมีสีชมพู ไว้ ว่า นานิทานไปให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญ 5 ท่าน ตรวจ ความเหมาะสมของเนื ้อหา กับการจัดกิจกรรมการเล่านิทานก่อนกลับบ้ านเพื่อเป็ นการสร้ าง เสริ มความมีคณ ุ ธรรม จริ ยธรรมและวินยั ในตนเองและความถูกต้ องของภาษา และเนื ้อเรื่ อง โดยใช้ เกณฑ์ 3 ใน 5 ท่าน ในการตัดสินผลการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญเป็ นดังนี ้ จากนิทาน ทังหมด ้ 20 เรื่ องผู้เชี่ยวชาญเห็ นชอบตรงกันทัง้ 3 ท่านในเชิงเนื ้อหา แต่ให้ ปรับปรุ งในเรื่ อง ภาษา และปรั บ ตัว ละครในนิ ท านบางเรื่ อ งให้ เ หมาะสมกับ วัย ของนัก เรี ย นที่ เ รี ย นอยู่ใ น ระดับชันอนุ ้ บาล นานิทานที่ผ่านผู้เชี่ยวชาญตรวจแล้ วมาแก้ ไขปรับปรุงเนื ้อหา ภาษาและตัว ละครให้ เหมาะสมตามข้ อเสนอแนะ
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
40
ไพศาล วรคา (2555:262-263) ได้ กล่าวว่าการนาผลการตรวจสอบของท่าน ผู้เ ชี่ ยวชาญมาค านวณหาความเที่ ย งตรงเชิ ง เนื อ้ หา ซึ่ง ค านวณได้ จ ากความสอดคล้ อ ง ระหว่างประเด็นที่ต้องการวัดกับข้ อคาถามที่สร้ างขึ ้น เรี ยกว่า ดัชนีความสอดคล้ องระหว่าง ข้ อคาถามกับวัตถุประสงค์ (Item-Objective Congruence Index : IOC) โดแปลงระดับ คะแนนดังนี ้ สอดคล้ อง มีคะแนนเป็ น +1 ไม่แน่ใจ มีคะแนนเป็ น 0 ไม่สอดคล้ อง มีคะแนนเป็ น -1 และสามารถหาดัชนีความสอดคล้ อง
IOC
∑ n
เมื่อ R เป็ นคะแนนความสอดคล้ องที่ผ้ เู ชี่ยวชาญแต่ละคนประเมินในแต่ละข้ อ n เป็ นจานวนผู้เชี่ยวชาญที่ประเมินความสอดคล้ องในข้ อนัน้ หลักปฏิบัตคิ ่ ำนิยม 12 ประกำร สานัก งานรั ฐ มนตรี ( 2557:1)ได้ ก ล่า วไว้ ว่า สื บ เนื่ อ งจากเมื่ อ วัน ที่ 11 กรกฎาคม 2557 พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายกรัฐมนตรี ได้ กล่าวว่า สิ่งที่คนไทย ประเทศไทย ยังเป็ นปั ญหา และต้ องพัฒนาอย่างเร่ งด่วน ต้ องมีความร่ วมมือของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประชาชนในทุกระดับชัน้ ทุกเพศ ทุกวัย เราน่าจะกาหนดค่านิยมหลักของคนไทยขึ ้นมาให้ ชัดเจนขึ ้น ทังนี ้ ้เพื่อเราจะสร้ างสรรค์ประเทศไทยให้ เข้ มแข็ง ฉะนันคนต้ ้ องเข้ มแข็งก่อน คนใน ชาติจะต้ องเป็ นอย่างไร ดังนี ้ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซึง่ เป็ นสถาบันหลักของชาติในปั จจุบนั 2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอดุ มการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม 3. กตัญญู ต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ 4. ใฝ่ หาความรู้ หมัน่ ศึกษา เล่าเรี ยน ทางตรงและทางอ้ อม การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
41
5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีตอ่ ผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปั น 7. เข้ าใจ เรี ยนรู้ การเป็ นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุขที่ถกู ต้ อง 8. มีระเบียบวินยั เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จกั การเคารพผู้ใหญ่ 9. มีสติ รู้ตวั รู้คดิ รู้ทา รู้ปฏิบตั ิ ตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั 10. รู้ จักด ารงตนอยู่โดยใช้ หลักปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ยงตามพระราชดารั สของ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั รู้ จักอดออมไว้ ใช้ เมื่อยามจาเป็ น มีไว้ พอกินพอใช้ ถ้ าเหลือก็ แจกจ่าย จาหน่าย และขยายกิจการ เมื่อมีความพร้ อม โดยมีภมู ิค้ มุ กันที่ดี 11. มีความเข้ มแข็งทังร่้ างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ ตอ่ อานาจฝ่ ายต่า หรื อกิเลส มีความ ละอาย เกรงกลัวต่อบาป ตามหลักของศาสนา 12. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และต่อชาติ มากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง คณะกรรมการการศึกษาขันพื ้ ้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ (ออนไลน์,2558:3) ได้ กล่าวว่าให้ ผ้ อู านวยการสานักงานเขตพื ้นที่การศึกษาทุกเขต ให้ ทราบถึงแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับ ค่านิยมหลัก 12 ประการ โดยมีทงหมด ั้ 5 ข้ อ สรุปได้ ดงั นี ้ 1. ให้ สถานศึกษาผนวกค่านิยมหลัก 12 ประการ ในการจัดการเรี ยนรู้ทกุ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ และจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนอย่างเป็ นรูปธรรม เช่น มีการประกวดเล่า เรื่ อง อ่านทานองเสนาะ แต่งกลอน ทาโครงงานตามแนวพระราชดาริ กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ 2. ให้ สถานศึกษาปลูกฝั ง และพัฒ นาค่านิยมหลัก 12 ประการให้ กับ นัก เรี ย นอย่ า งสม่ า เสมอและต่อ เนื่ อ ง เน้ น การปฏิ บัติ จ ริ ง ในชี วิ ต ประจ าวัน จนเกิ ด เป็ น พฤติกรรมยัง่ ยืนตามระดับชัน้ ดังนี ้ - ป.1-ป.3 เน้ นด้ านการรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย์ ความ กตัญญู และการมีระเบียบวินยั เคารพกฎหมาย
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
42
- ป.4-ป.6 เน้ นในด้ านซื่อสัตย์ เสียสละอดทน ใฝ่ หาความรู้ หมั่น ศึกษาเล่าเรี ยน และมีความเข้ มแข็งทังกายใจ ้ - ม.1-ม.3 เน้ นในด้ านรักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย เข้ าใจ เรี ยนรู้ ประชาธิปไตยที่ถกู ต้ อง และปฏิบตั ติ ามพระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั - ม.4-ม.6 เน้ นในด้ านมีศีลธรรม รักษาความสัตย์ ดารงตนตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการเห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวม 3. ให้ ส ถานศึก ษาก าหนดวิธี การเรี ย นรู้ ค่านิ ยมหลัก 12 ประการให้ เหมาะสมกับวัยและศักยภาพผู้เรี ยน เช่น - ระดับประถมศึกษา ให้ เรี ยนรู้ผ่านบทเพลง นิทาน หรื อศึกษาจาก แหล่งเรี ยนรู้ตา่ ง ๆ - ระดับมัธยมศึกษา ให้ เรี ยนรู้ผ่านการศึกษาเปรี ยบเทียบ วิเคราะห์ สังเคราะห์ชีวประวัตบิ คุ คลสาคัญ คนที่ทาคุณประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม 4. ให้ ผ้ บู ริ หารสถานศึกษากากับ ติดตาม นิเทศการดาเนินงานเกี่ยวกับค่านิยม หลัก 12 ประการให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ 5. ให้ สานักงานเขตพื ้นที่การศึกษาติดตาม นิเทศ และประเมินสถานศึกษาที่ ดาเนินการเกี่ยวกับค่านิยมหลัก 12 ประการอย่างเป็ นรูปธรรม และเกิดประสิทธิผลชัดเจน พระมหาวุฒิชยั วชิรเมธี ได้ กล่าวในรายการเดินหน้ าประเทศไทย เรื่ อง ค่านิยม หลักคนไทย เพื่อประเทศไทยเข้ มแข็ง ผ่านทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย ว่า นโยบายการสร้ างค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ของคณะรั กษาความสงบแห่งชาติ หรื อ คสช. เมื่อนามาเปรี ยบเทียบกับหลักธรรมะ ถือว่ามีลกั ษณะที่คล้ ายคลึงกัน เพราะเป็ น จริ ยธรรมที่ทกุ คนควรยึดถือ และประพฤติ ปฏิบตั ิ ซึ่งขณะนี ้ นับเป็ นช่วงเวลาที่เหมาะสมที่จะ ฟื น้ ฟูคา่ นิยมเหล่านี ้ให้ กลับคืนสูส่ งั คมไทย อย่างไรก็ตาม การสร้ างค่านิยมให้ ประสบผลสาเร็ จ จะต้ องปลูกฝั ง ลงไปในรากฐานจิ ตใจของเด็กและเยาวชน โดยผู้ใหญ่ ต้องเป็ นแบบอย่า ง ขณะเดียวกัน สื่อมวลชนและโรงเรี ยนต้ องร่ วมปลูกฝั งด้ วย สาหรับกระบวนการปลูกฝั งให้ ใช้ การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
43
วิธี "อบรม บ่มเพาะ" เริ่ มจากจุดประกายให้ คนรับรู้ จากนันแตกหน่ ้ อไปสู่การพัฒนา และต่อ ยอดจนกลายเป็ นวัฒนธรรม(ออนไลน์,2558:2) ทังหมดนี ้ ้คือหลักค่านิยมของคนในชาติ ไทยที่ ควรนาไปประยุกต์ในชัน้ เรี ยนได้ สาหรับครูผ้ สู อน ซึ่งสามารถนาไปแต่งเป็ นเพลงเหมือนเพลงวันเด็กที่เราท่องจาจนขึ ้นใจ บท อาขยาน ละครเวที หรื อว่าครูผ้ สู อนอาจจะสร้ างหนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริ มคุณธรรม จริ ยาธรรมตามหลักค่านิยม 12 ประการ หากเด็กไทยยึดมัน่ ตามค่านิยมชาติที่เน้ นทังเรื ้ ่ อง การพัฒนาตัวเองทังในด้ ้ านความสามารถ ทัง้ คุณธรรม ศีลธรรม เพื่อร่ วมมือกันทาให้ ชาติ บ้ านเมืองและส่วนรวมดีขึ ้น จนทาให้ ประเทศชาติมีเข้ มแข็งมายิ่งขึ ้น เหมือนดังอดีต
วรรณกรรมทำงพระพุทธศำสนำ เรื่อง สิริธรชำดก ชายเข็ญใจผู้หนึ่งหาเลี ้ยงชีพกับภรรยา ซึ่งอาศัยอยู่ ณ เมืองสาวัตถี สองสามี ภรรยาคูน่ ี ้มีอาชีพเที่ยวเกี่ยวหญ้ าและหาฟื นมาขายได้ ทรัพย์มาเลี ้ยงชีวิตตามกาลังที่ตนมี ซึ่ง ชายใจเข็ญผู้นี ้มีความศรัทธาในเรื่ องการบริ จาคทาน หลังจากที่เที่ยวเกี่ยวหญ้ าและหาฟื นมา ขายก็แบ่งทรัพย์ออกเป็ นสามส่วน คือ บริ จาคส่วนหนึ่ง ใช้ บริ โภคในครัวเรื อนส่วนหนึ่ง และ เก็บเอาไว้ ใช้ ในชีวิตภายภาคหน้ าส่วนหนึ่ง วันหนึ่งชายเข็ญใจผู้นนได้ ั ้ คิดว่า สัตว์และสังขาร ที่เป็ นอดีต อนาคต ปั จจุบนั ย่อมไม่เที่ยงกันทังสิ ้ ้น จึงได้ เดินเข้ าไปปรึกษาภรรยาว่า บรรดา สังขารทังหลายทั ้ งปวงย่ ้ อมไม่เที่ยง และมีความตาย เป็ นที่สดุ สมบัติที่มีอยู่ ตายแล้ วเราทัง้ สองไม่สามารถเอาไปได้ เลย ทานเท่านันที ้ ่จะติดตามเราไปภายภาคหน้ าหลังจากนันภรรยาได้ ้ ฟั งจุดประสงค์ขอสามีจงึ ได้ มีความยินดียิ่งที่จะพร้ อมใจกัน เพื่อบริ จาคทานอีกส่วนหนึ่งที่เก็บ เอาไว้ และสองสามีภรรยาเลี ้ยงชีพด้ ว ยทรัพย์หนึ่งส่วน บริ จาคสองส่วนเสมอมา และยัง เพียรพยายามเกี่ยวหญ้ า หาฟื น ขายได้ มลู ค่ามากมาย จึงมัง่ มีทงทรั ั ้ พย์สินเงินทอง
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
44
อยู่ ม าวัน หนึ่ ง สองสามี ภ รรยาได้ ระลึ ก ถึ ง สมเด็ จ พระบรมศาสดา สั ม มา สัมพุทธเจ้ า จึงได้ พากันไปเข้ าเฝ้า เมื่อถวายนมัสกาลแล้ วได้ ทลู ว่า ข้ าแต่พระพุทธองค์ ข้ า พระบาทได้ ทรัพย์มาแล้ วก็ได้ แบ่งออกบริจาคสองส่วนเสมอมา ณ เวลานี ้ เราทังสองจึ ้ งได้ มงั่ มี ด้ วยทรัพย์สิน เห็นคุณจากอนิสงค์ ประจักษ์ดงั ชาตินี ้ สมเด็จพระสุคตมุนีได้ กล่าวว่า ดูก่อน อุบาสก อุบาสิกา ท่านให้ ทานแล้ วกลับ ถึงซึ่งความมัง่ มีเหมือนด้ วยโบราณบัณฑิตแต่ปางก่ อน ตรัสดังนี ้แล้ วก็นิ่งอยู่สองสามีภรรยา จะใคร่ร้ ูเรื่ องราว จึงกราบทูลอาราธนาขอให้ สมเด็จพระสุคตมุนีเทศนา พระพุทธองค์จึงทรง นาเรื่ องที่ลว่ งแล้ วมาเล่าให้ แก่สองสามีภรรยาฟั ง ในกาลที่ ล่วงมาแล้ ว มี พ ระราชาองค์หนึ่ง ทรงพระนามว่าพรหมทัตเสวยราช สมบัติ ณ เมืองพาราณสี คราวนันพระบรมโพธิ ้ สตั ว์เจ้ าบังเกิดเป็ นเศรษฐี มีนามว่า สิริธร เป็ น เศรษฐี ที่มีความศรัทธาอยู่ในศีลในธรรม คราวนัน้ มีพระปั จเจกโพธิองค์หนึ่ง ออกจากนิโรธ สมาบัตใิ นวันคารบเจ็ด คิดว่าวันนี ้เราจะไปบ้ านสิริธรเศรษฐี ทาสรี กิจสีฟันบ้ วนปากแล้ วคลุม จีวร ถือเอาบาตรดินเหาะไปโดยอากาศลงยืนอยู่ ณ ประตูเรื อนสิริธรเศรษฐี พอดีเป็ นเวลา บริ โภคอาหารเช้ า พ่อครัวจัดอาหารให้ สกุ เสร็ จดีแล้ ว มองเห็นพระปั กเจกโพธิเจ้ าก็ดีใจมาก เพราะได้ พบพระปั จเจกโพธิเป็ นความโชคดียิ่ง สิริธรจึงถือเอาถาดใส่ภตั ตาหารยกขึ ้นทูนเศียร เกล้ าเข้ าไปสูส่ านักพระปั กเจกโพธิ วางสารับนันบนบนบาตรแล้ ้ วทาความปรารถนาว่า ข้ าแต่ พระผู้เป็ นเจ้ าผู้เจริ ญด้ วยอานาจของผลบุญที่ข้าพเจ้ าได้ ทาในวันนี ้ ขอให้ เทวดาและมนุษย์ ทังหลายทั ้ งปวง ้ จงทาสักการบูชาใหญ่แก่ข้าพเจ้ า ให้ ข้าพเจ้ าได้ เป็ นพระพุทธเจ้ าองค์หนึ่ง ภายหลัง พระปั จเจกโพธิ จึงได้ กล่าวว่า ความปรารถนาของท่านจงสาเร็ จเทอญ และได้ กล่าวคาถา ความว่า ความประสงค์ที่ท่านปรารถนาแล้ วด้ วยใจ ความปรารถนาที่ท่านตังไว้ ้ ด้ วยกายและวาจา จงสาเร็ จแก่ท่านโดยเร็ วพลัน หลังจากพระพระปั จเจกโพธิได้ กล่าวคาถา จบ ก็เหาะไปยังภูเขาคันธมาทน์เพื่อฉันอาหารบิณฑบาตแล้ วจึงพานักอยูท่ ี่นนั่ สิริธรได้ กลับไปยังบ้ าน ระลึกถึงทานที่ตนได้ ให้ แล้ วอธิ ษฐานว่าหากว่าอานิสงส์ ทานของเรามีจริ ง ขอให้ ลาภจงบังเกิดแก่ตวั ข้ าในชาตินี ้ด้ วยเถิด ทันใดนัน้ ด้ วยอานาจผล ทาน บ้ านของสิริธรที่เก่าก็หลายไป ปรากฏบ้ านหลังใหม่ ซึ่งเป็ นทองคา สิริธรเห็นบ้ านเป็ น การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
45
ทองคา จึงรู้ สึกดีใจเข้ าไปนั่งในบ้ าน มีพ่อครัวยกสาหรับอาหารมาให้ สิริธรจึงทานอาหาร พวกนันด้ ้ วยความสุขเกสมสาราญ เปรี ยบประดุจเทพยดา อิ่มทิพ ย์ หลังจากสิริธรทานเสร็ จ จึงได้ ให้ บริวารทานด้ วย ทานเท่าไรก็ไม่หมด กลิ่นของของอาหารหอมฟุ้งทัว่ ไปทังเมื ้ อง ผู้คน ในเมืองต่างพากันมาขอทานอาหารแก่สิริธร สิริธรมีความเมตตาจึงแบ่งอาหารให้ แก่ผ้ คู นที่มา ขอแบ่งอาหารไป บ้ างก็กิน บ้ างก็นาอาหารไปให้ กับลูก บางก็นาไปให้ พ่อแม่ ต่างก็เกษม ส าราญ และพากัน ยกมื อ ไหว้ แล้ ว กล่ า วว่ า ผู้ค นที่ ม ากราบไหว้ ข้ า แต่ท่า นมหาเศรษฐี ข้ าพเจ้ าทังหลายนี ้ ้นี ้ขออนุโมทนายินดีกบั ผลของทานที่ทา่ นได้ รับด้ วยผู้คนทังเมื ้ องต่างชวนกัน โบกธง ส่งเสียงซ้ องสาธุการสนัน่ ลัน่ ไป ร้ องราทาเพลงแสดงความยินดีแก่สิริธร นานถึงเจ็ด วันเจ็ดคืน หลังจากนันสิ ้ ริธรจึงได้ แสดงธรรมแก่ที่ประชุมว่า ท่านทังหลายจงฟั ้ งข้ าเถิด ผล ของทานที่ให้ แล้ วด้ วยศรัธรา ย่อมนามาซึ่งเรามี มีอายุยืนยาว ผิวพรรณที่ผ่องใส มีสขุ ภาพ สมบูรณ์แข็งแรง มีพละกาลังที่ดี มีลาภ ยศ และมีความสุขในการใช้ ชีวิตในที่สดุ หลังจากสิริ ธรได้ เทศนาธรรมเสร็ จผู้คนต่างเลื่อมใสและศรัทธา บางคนมอบตนเป็ นคนรับใช้ เทวดาต่าง โปรยดอกไม้ ทิพ และพญานาคก็มาแสดงความยินดีด้วยพร้ อมทังแก้ ้ วเจ็ดประการ พระอินทร์ นามาซึ่งเครื่ องนุ่งห่มทิพ ย์ พระพรหมนามาซึ่งร่ มทองคา ทาการสักระบูชาแก่สิริธรและทรง ตรัสคาถาซึ่งมีความว่าทานเป็ นสิ่งที่ประเสริ ฐที่สุด นามาซึ่งลาภที่พึ่งปรารถนาดังที่เห็นใน ปั จจุบนั นี ้ สองสามีภรรยา ต่างกราบไหว้ บูชาสมเด็จพระสุคตมุนีที่ค่อยชี ้แนะแนวทางใน การดาเนินชีวิตที่อยู่ในศีลในธรรม รู้จกั การให้ ทานแก่บคุ คลอื่นๆ และผลของทานจะนามาซึ่ง ความสุขความเจริญก้ าวหน้ า และที่สาคัญก็เป็ นแบบอย่างให้ แก่บคุ คลอื่น ๆ อีกด้ วย
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
46
บทที่ 3 วิธีดำเนินงำนจัดสร้ ำง
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริ มลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั ิ ค่านิยม 12 ประการ เป็ นการสร้ างสรรค์ที่มีจดุ ประสงค์เพื่อออกแบบหนังสือนิทานเรื่ อง สิริ ธรชาดก (ผลขอทาน) ให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีกระบวนการดาเนินงานไปตามลาดับ ขันตอนในการออกแบบดั ้ งนี ้ 1. ศึกษาและเก็บรวบรวมข้ อมูลจากเอกสารตารา งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง 3. ดาเนินการทดลองในการจัดสร้ างหนังสือนิทานรอบที่1 4. ดาเนินการหาประสิทธิภาพของหนังสือนิทาน (IOC)จากผู้เชี่ยวชาญ 5. ดาเนินการปรับปรุงแก้ ไขตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ 6. ดาเนินการจัดสร้ างหนังสือนิทานสาหรับเด็ก เรื่ อง สิริธรชาดก (ผลของทาน) ฉบับสมบูรณ์ 7. ด าเนิ น การเผยแพร่ ห นัง สื อ นิ ท านเรื่ อ ง สิ ริ ธ รชาดก (ผลของทาน) ให้ แก่ กลุม่ เป้าหมายและผู้ที่สนใจ
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
47
ศึกษำและเก็บรวบรวมข้ อมูลจำกเอกสำร ตำรำ งำนวิจัยที่เกี่ยวข้ อง ดาเนินการศึกษาและเก็บข้ อมูลจากเอกสาร ตารา งานวิจยั ที่ เกี่ยวข้ อง จานวน 29 เล่ม เพื่อนามาเป็ นพื ้นฐานในการจัดสร้ างหนังสือนิทานสาหรับเด็ก เรื่ องสิริธรชาดก (ผลของ ทาน)ดังนี ้ เกริก ยุ้นพันธ์. (2539). กำรเล่ ำนิทำน. พิมพ์ครัง้ ที่ 2 กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน กาธร สถิรกุล. (2540).หนังสือและการพิมพ์.พิมพ์ครัง้ ที่2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคาแหง. ครุรักษ์ ภิรมย์รักษ์. (2540). “นักเล่ ำนิทำนสร้ ำงนักอ่ ำน” สารพัฒนาหลักสูตร. ทรงพร สุทธิธรรม. (2534). กำรศึกษำควำมสำมำรถในกำรรั บรู้ และ เข้ ำใจทัศนคติของผู้อ่ ืน ของเด็กปฐมวัยที่ผ้ ูปกครองจัดกิจรรมนิทำนเพื่อ ส่ งเสริมกำรคลำยกำรยึดตนเองเป็ น ศูนย์ กลำง. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต วิชาเอกการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัย ศรี นครินทรวิโรฒประสานมิตร. ทิศนา แขมมณี. (2554). ศำสตร์ กำรสอน. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ฉวีวรรณ กินาวงศ์. (2533). กำรศึกษำเด็ก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ . ภิญญาพร นิตยประภา. (2534). กำรผลิตหนังสือสำหรั บเด็ก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ . จิระประภา บุญนิตย์. (2526). หุ่นกำรทำ และวิธีกำรใช้ . กรุงเทพฯ : ปาณย. จินตนา ใบกาซูยี. (2534). กำรจัดทำหนังสือสำหรับเด็ก.กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. พิมพ์จิต สถิตวิทยานันท์. (2546). กำรออกแบบหนังสือนิทำนเพื่อส่ งเสริมจินตภำพ สำหรับเด็กพิกำรทำงสำยตำ. หลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิตสาขาการ ออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปกร.
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
48
ฉัตรชัย ศุภระกาญจน์. (2532). กำรสร้ ำงหนังสือสำหรั บเด็ก.นครศรี ธรรมราช:ภาควิชา บรรณารักษ์ศาสตร์ วิทยาลัยครูนครูศรี ธรรมราช. ชีวนั วิสาสะ. (2540). คุณฟองนักแปรงฟั น.พิมพ์ครัง้ ที่2. กรุงเทพฯ:อมรินทร์ พริ น้ ติ ้งแอนด์ พับลิชชิ่ง. ถวัลย์ มาศจรัส. (2538). เทคนิคและตัวอย่ ำงกำรเขียนหนังสือส่ งเสริมกำรอ่ ำน เพิ่มเติม. กรุงเทพฯ:มิตใิ หม่ บันลือ พฤกษะวัน. (2524). วรรณกรรมกับเด็ก.พิมพ์ครัง้ ที่2. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. รัญจวน อินทรกาแหง. (2517).วรรณกรรมสำหรับเด็กและเยำวชน. กรุงเทพฯ:ดวงกมล. สมทรง ลิมาลัย. (2526). กำรศึกษำควำมชอบของเด็กที่มีต่อรู ปแบบของเนือ้ ที่ภำพ หรับหนังสือ.มหาวิทยาลัยศรี นครทรวิโรฒ ประสานมิตร. ไพศาล วรคา. (2555). กำรวิจัยทำงกำรศึกษำ.พิมพ์ครัง้ ที่ 5 . มหาสารคาม: ตักศิลาการพิมพ์. วิริยะ สิริสิงห. (2524). กำรเขียนเรื่องสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก วิไล มาศจรัส. (2539).เทคนิคกำรเขียนกำรเล่ ำนิทำนสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: มิตใิ หม่. ฉวีวรรณ คูหาภินนั ทน์. (2527).สำระสังเขปบทควำมกำรทำหนังสือสำหรับเด็ก. โครงการตาราและเอกประกอบการสอน ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษ ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ วิทยาครูบ้านสมเด็จเจ้ าพระยา. ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. (2527). กำรวิจัยทำงศิลปะ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ณรงค์ ทองปาน. (2527). กำรสร้ ำงหนังสือสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: กรมฝึ กหัดครู . วินยั รอดจ่าย. (2540). กำร์ ตูนศำสตร์ แห่ งศิลป์และจิตนำกำร. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ: ต้ นอ้ อ แกรมมี่ จากัด ศิราพร ฐิ ตะฐาน ณ ถลาง. (2539).ในท้ องถิ่นมีนิทำนและกำรละเล่ น. กรุงเทพฯ:มติชน. การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
49
สมศักดิ์ ศรี มาโนชน์. (2523). กำรเขียนนิทำนสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: โอเดียนโตร์ . หทัย ตันหยง. (2525). กำรผลิตหนังสือสำหรับเด็ก. พิษณุโลก:มหาวิทยาลัยศรี นคริน วิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลก,. ทศสิริ พูลนวล. (2543). หัวใจและเทคนิคกำรทำภำพประกอบนิทำนสำหรับเด็ก.พิมพ์ ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเด็ก. เปรื่ อง กุมทุ . (2523).กำรออกแบบหนังสือสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ:มูลนิธิวรรณกรรม. รัถพร ซังธาดา. (2531). หนังสือสำหรับเด็ก.มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
50
วิเครำะห์ ข้อมูลจำกเอกสำร ตำรำ และงำนวิจัยที่เกี่ยวข้ อง การวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร ตารา งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ องผู้สร้ างสรรค์ได้ นาข้ อมูล การการศึกษาจานวน 29 เล่ม มาทาการวิเคราะห์ เพื่อดาเนินการสรุปในการจัดสร้ างดังนี ้ 1. ส่วนประกอบของหนังสือนิทานสาหรับเด็ก เพื่ อส่งเสริ มลักษณะนิสยั ตามหลัก ปฏิบตั ิคา่ นิยม 12 ประการ โดยใช้ หลักจิตทยาสาหรับเด็กในการจัดสร้ างเพื่อ หาขอบเขตในการจัดสร้ างหนังสือนิทาน เรื่ อง สิริธรชาดก (ผลของทาน) 2. กรรมวิธีในการจัดสร้ างหนังสือนิทานสาหรับเด็กเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ดำเนินกำรทดลองในกำรจัดสร้ ำงหนังสือนิทำน ในการทดลองในการจัดสร้ างหนังสือนิทานนัน้ ผู้สร้ างสร้ างสรรค์ได้ นาข้ อมูลจาก การวิเคราะห์ข้างต้ นมาดาเนินการจัดสร้ างหนังสือนิทานเรื่ อง สิริธรชาดก (ผลของทาน) โดย มีลาดับและขันตอนดั ้ งต่อไปนี ้ 1. กาหนดประเภทของนิทาน 2. กาหนดแก่นของเรื่ อง 3. เขียนเนื ้อหาสาระ 4. วางโครงเรื่ อง 5. ลงมือเขียน 6. กาหนดภาพประกอบ 7. จัดสร้ างรูปเล่มนิทาน
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
51
ดำเนินกำรหำประสิทธิภำพของหนังสือนิทำน (IOC) จำกผู้เชี่ยวชำญ ดาเนินการนาเสนอผลงานในการสร้ างสรรค์นิทานเรื่ อง สิริธรชาดก (ผลของทาน) ต่อผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน เพื่อที่จะหาคุณภาพของหนังสือนิทาน (IOC) โดยมีท่าน ผู้เชี่ยวชาญดังต่อไปนี ้ 1. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ณฏั ฐพงค์ ชูทยั ภาควิชาการศึกษาคณะครุศาสตร์ อุสาหากรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เชี่ยวชาญด้ านจิตวิทยาและพัฒนาการเด็ก - ปริญญาโท (สาขาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว) - ปริญญาตรี (สาขาอังกฤษ) 2. ดร.นภดล พรามณี ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษาและสื่อการศึกษาคณะครุ ศาสตร์ อุส าหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี เชี่ ยวชาญด้ านเทคโนโลยี การศึกษาและการออกแบบ - ปริญญาเอก(Instvuctional Technology) - ปริญญาโท(Instvuctional Technology) - ปริญญาตรี (สาขาเทคโนโลยีการศึกษา 3. อาจารย์อรัญญา ศรี จารย์ คณะศิลปศาสตร์ สาขาภาษาตะวันออกมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เชี่ยวชาญด้ านภาษาและวรรณกรรมสาหรับเด็ก - ปริญญาเอก (กาลังศึกษาสาขาไทยศึกษา) - ปริญญาโท(ภาษาไทย) - ปริญญาตรี (ภาษาไทย)
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
52
ดำเนินกำรปรั บปรุ งแก้ ไขตำมคำแนะนำของผู้เชี่ยวชำญ ขันด ้ าเนินการปรับปรุงแก้ ไขตามคาแนะนาจากท่านเชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน และที่ ปรึ กษา ซึ่งผู้สร้ างสรรค์ได้ สร้ างเครื่ องมือเพื่อหาคุณภาพของนิทานซึ่งรายการคาถามในการ ประเมินดังนี ้ 1. คุณลักษณะทำงด้ ำนเนือ้ หำของนิทำน 1.1 ความยาวเนื ้อเรื่ องเหมาะสมกับวัยและความสนใจของเด็ก อายุ 10-12 ปี 1.2 เนื ้อเรื่ องง่าย ต่อความเข้ าใจเด็กอายุ 10-12 ปี 1.3 เค้ าโครงเรื่ องไม่ซบั ซ้ อน เหมาะสมกับเด็กอายุ 10-12 ปี 1.4 เนื ้อเรื่ องเสริมสร้ างค่านิยมที่ดีแก่เด็กอายุ 10-12 ปี 1.5 เนื ้อเรื่ องมีความต่อเนื่องสัมพันธ์กนั 1.6 เด็กอายุ10-12 ปี สามารถจับใจความสาคัญของเนื ้อเรื่ องได้ 1.7 เนื ้อหาสนุก น่าอ่าน ชวนติดตาม 1.8 เรื่ องราวสอดคล้ องกับชีวิตประจาวัน 1.9 เนื ้อเรื่ องมีประโยชน์เหมาะสาหรับเป็ นหนังสือส่งเสริมการเรี ยนรู้ 1.10 เนื ้อเรื่ องชวนส่งเสริ มคุณลักษณะนิสยั ที่ดี ตามค่านิยม 12 ประการ ในข้ อที่ 6 คือ มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีตอ่ ผู้อื่น เผื่อแผ่ และแบ่งปั น
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
53
2. คุณลักษณะด้ ำนภำษำที่ใช้ ในนิทำน 2.1 ใช้ ภาษาได้ อย่างถูกต้ อง เข้ าใจง่ายเหมาะสมกับวัยเด็กอายุ 10-12 ปี 2.2 การใช้ ภาษาสื่อความหมายได้ ชดั เจนเหมาะสมกับวัยเด็กอายุ 10-12 ปี 2.3 ใช้ ที่ประโยคสัน้ เข้ าใจง่าย เหมาะสมกับการสื่อสาร 2.4 การจัดวรรคตอน ถูกต้ อง เหมาะสมกับเด็กอายุ 10-12 ปี 2.5 ภาษาและภาพมีความสอดคล้ องกัน 2.6 ภาษาจูงใจให้ ให้ เด็กสนใจติดตาม 2.7 มีการใช้ คาได้ อย่างเหมาะสมกับเรื่ อง 2.8 ความถูกต้ องของคา และตัวสะกด 3. คุณลักษณะด้ ำนกำรจัดภำพประกอบ 3.1 ภาพปกหน้ ามีความเหมาะสมกับเรื่ อง 3.2 ภาพปกหลังมีความเหมาะสม 3.3 ภาพปกสวยงาม น่าสนใจ เหมาะสมหรับเด็กอายุ 10-12 ปี 3.4 ภาพประกอบมีความสมดุจกับกระดาษ 3.5 ภาพเหมาะสมกับวัย ส่งเสริมจินตนาการของเด็กอายุ 10-12 ปี 3.6 สัดส่วนของภาพมีความเหมะสม 3.7 ให้ สีได้ นา่ สนใจ เหมาะสมกับวัย 4. คุณลักษณะของรู ปเล่ ม 4.1 รูปเล่มภายนอกสวยงามดึงดูดความสนใจ 4.2 ขนาดและความหนาของหนังสือสามารถจับถือได้ สะดวก 4.3 การเข้ ารูปเล่มมีความแข็งแรง เด็กสามารถเปิ ดอ่านได้ สะดวก 4.4 สีของกระดาษมีความเหมาะสมกับเด็ก
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
54
หลังจากท่านผู้เชี่ยวชาญได้ ประเมินเพื่อหาคุณภาพของหนังสือนิทานสาหรั บเด็กเรื่ อง สิริธรชาดก (ผลของทาน) โดยการตอบจากแบบประเมินข้ างต้ นและแก้ ไขตามคาแนะนา โดย ผู้ส ร้ างสรรค์ไ ด้ ดาเนินการคานวณหาความเที่ ยงตรงเชิ ง เนื อ้ หา ซึ่ง คานวณได้ จ ากความ สอดคล้ อ งระหว่ า งประเด็ น ที่ ต้ อ งการวัด กับ ข้ อ ค าถามที่ ส ร้ างขึ น้ เรี ย กว่ า ดัช นี ค วาม สอดคล้ องระหว่างข้ อคาถามกับวัตถุประสงค์ (Item-Objective Congruence Index : IOC) โดยแปลงระดับคะแนนดังนี ้ สอดคล้ อง มีคะแนนเป็ น +1 ไม่แน่ใจ มีคะแนนเป็ น 0 ไม่สอดคล้ อง มีคะแนนเป็ น -1 และสามารถหาดัชนีความสอดคล้ อง IOC =∑R n เมื่อ R เป็ นคะแนนความสอดคล้ องที่ผ้ เู ชี่ยวชาญแต่ละคนประเมินในแต่ละข้ อ n เป็ นจานวนผู้เชี่ยวชาญที่ประเมินความสอดคล้ องในข้ อนัน้
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
55
ดำเนินกำรจัดสร้ ำงหนังสือนิทำนสำหรับเด็ก เรื่อง สิริธรชำดก (ผลของทำน) ฉบับสมบูรณ์ หลังจากการคานวณหาความเที่ยงตรงเชิงเนื ้อหา ซึ่งคานวณได้ จากความสอดคล้ อง ระหว่างประเด็นที่ต้องการวัดกับข้ อคาถามที่สร้ างขึ ้น เรี ยกว่า ดัชนีความสอดคล้ องระหว่าง ข้ อคาถามกับวัตถุประสงค์ (Item-Objective Congruence Index : IOC) แล้ วผู้สร้ างสรรค์จึง ได้ ดาเนินการสร้ างหนังสือนิทานสาหรับเด็ก เรื่ อง สิริธรชาดก (ผลของทาน) ฉบับสมบูรณ์ ขึ ้น โดยมีสว่ นประกอบของที่นิทานดังรายการดังต่อไปนี ้ 1. ปกนอก 2. คานา 3. ปกใน 4. ส่วนเนื ้อหาของนิทานพร้ อมรูปภาพประกอบ จานวน 16 หน้ า 5. ข้ อคิดที่ได้ รับจากนิทาน 6. ความรู้ เพิ่มเต็ม หลักการปฏิบตั ิตนค่านิยม 12 ประการตามนโยบายของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) 7. ประวัตผิ ้ เู ขียน 8. ปกหลัง
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
56
กำรเผยแพร่ หนังสือนิทำน เรื่ องสิริธรชำดก(ผลของทำน)ให้ แก่ กลุ่มเป้ำหมำยและ ผู้ท่ สี นใจ ผู้สร้ างสรรค์ดาเนินการเผยแพร่ หนังสือนิทานสาหรับเด็กเรื่ อง สิริธรชาดก (ผลของ ทาน) ให้ แ ก่ ก ลุ่ม เป้ าหมายและผู้ที่ ส นใจในเบื อ้ งต้ น ซึ่ง ผู้ส ร้ างสรรค์ ไ ด้ รั บ การสนับ สนุน งบประมาณส่วนหนึ่งจากร้ านทะรึ่ งปริ น้ เตอร์ ในการจัดพิมพ์ อยู่ในรูปแบบของหนังสือทามือ จานวน 10 เล่ม เพื่อนาไปบริ จาคแก่นกั เรี ยนราชประชานุเคราะห์ 24 จังหวัดพะเยา และ หวัง ว่าหนัง สื อ นิท านเล่ม นี ค้ งได้ มี โ อกาสในการจัดพิ ม พ์ เพื่ อเป็ นประโยชน์ แ ก่ว งการทาง การศึกษาต่อไป
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
57
บทที่ 4 หนังสือนิทำนสำหรับเด็ก เรื่อง สิริธรชำดก (ผลของทำน) นิทานเรื่ องสิริธรชาดก (ผลของทาน) เป็ นการนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่ องสิ ธิช าดก ในปั ญ ญาสชาดกมาดัดแปลงให้ อยู่ในรู ปแบบของนิทานส าหรั บเด็กโดยมี เนื ้อหาสาระสอดคล้ องกับค่านิยม 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ ซึง่ นิทานฉบับสมบูรณ์ มีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ 1. ปกนอก 2. คานา 3. ปกใน 4. ส่วนเนื ้อหาของนิทานพร้ อมรูปภาพประกอบ จานวน 16 หน้ า 5. ข้ อคิดที่ได้ รับจากนิทาน 6. ความรู้เพิ่มเต็ม หลักการปฏิบตั ติ นค่านิยม 7 .ประวัตผิ ้ เู ขียน 8 ปกหลัง
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
58
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
59
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
60
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
61
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
62
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
63
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
64
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
65
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
66
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
67
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
68
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
69
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
70
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
71
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
72
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
73
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
74
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
75
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
76
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
77
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
78
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
79
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
80
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
81
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
82
บทที่ 5 บทสรุป และข้ อเสนอแนะ หนังสือนิทานจัดเป็ นหนังสือที่ชว่ ยส่งเสริ มทางด้ านพัฒนาการและการเรี ยนรู้ให้ กบั เด็ก ทังทางด้ ้ านอารมณ์ สังคม และสติปัญญา ด้ วยเหตุนี ้หนังสือนิทานสาหรับเด็กจึงได้ รับการ ส่งเสริมจากหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชน อีกทังทางโรงเรี ้ ย นส่วนใหญ่ส่งเสริ มให้ เด็ก ได้ ใช้ หนังสือนิทานในการฝึ กการอ่าน และยังสามารถนาไปบูรณาการในการเรี ยนการสอนได้ หลากหลายกลุม่ สาระการเรี ยนรู้ การสร้ างสรรค์ครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์เนื ้อหา รูปแบบในการสร้ างสรรค์ รวมถึงกรรมวิธีในการผลิตที่เหมาะสม เพื่อนาไปสู่การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็ก เรื่ อ ง สิ ริธ รชาดก (ผลของทาน) ที่ ส่ง เสริ ม ลักษณะนิ สัย โดยมี เ นื อ้ หาสาระสอดคล้ อ งกับ ค่านิยม 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ กาหนดเอาไว้ นิ ท านเรื่ อ งสิ ริ ธ รชาดก (ผลของทาน) เป็ นการส่ ง เสริ ม ให้ เ ด็ ก เกิ ด การเรี ย นรู้ ตาม ศักยภาพและ ปฏิบตั ิตนให้ เป็ นเยาวชนไทยที่ดี มีคณ ุ ค่าต่อสังคมตามหลักค่านิยมในข้ อที่ ๖ คือ มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปั น ซึ่งเป็ นคุณสมบัติของ เยาวชนไทยที่ควรแก่การยึดถือและปฏิบตั ิตอ่ ไป สรุปผลกำรจัดสร้ ำง การสร้ างสรรค์ในครัง้ นี ้เป็ นการศึกษารูปแบบของการผลิต เพื่อนามาเป็ นแนวทางใน การออกแบบหนังสือนิทานสาหรับเด็ก ให้ เหมาะสม ถูกต้ อง ตามจุดมุ่งหมาย ซึ่งจากการ สร้ างสรรค์ สามารถสรุปผลได้ ดงั นี ้ องค์ประกอบของหนังสือนิทานสาหรับเด็ก เรื่ อง สิริธรชาดก (ผลของทาน) มีขนาด ของเล่มหนังสือที่เหมาะสมสาหรับการออกแบบเป็ นหนังสือที่ส่งเสริ มการเรี ยนรู้ สาหรับตาม วัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมาย คือ เด็กอายุ 10 -12 ปี ซึ่งได้ กาหนดขนาดของหนังสือที่มี ความกระทัดรัด สามารถพกพาสะดวก ขนาดที่ได้ จากการวิเคราะห์ข้อมูลคือขนาด 20 X 20 การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
83
เซนติเมตร ขนาดตัวตัวอักษรที่เหมาะสมหรับกลุ่มเป้าหมายคือ ขนาด 20 ฟอนต์ TH Niramit AS และมีภาพประกอบที่เหมาะสมสอดคล้ องกับเนื ้อเรื่ องและให้ ภาษาที่เหมาะสม กับช่วงวัยที่ผ่านการประเมินจากท่านผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน ที่มีความเชี่ยวชาญทัง้ ทางด้ านจิตวิทยาพัฒนาการเด็ก เทคโนโลยีการศึกษา และภาษาที่ใช้ สาหรับเด็ก เพื่อหา ประสิทธิภาพของหนังสือนิทาน โดยมีสว่ นประกอบของหนังสือดังต่อไปนี ้ ปกนอก คานา ปก ใน ส่วนเนื ้อหาของนิทานพร้ อมรู ปภาพประกอบ จานวน 16 หน้ า ข้ อคิดที่ได้ รับจากนิทาน ความรู้เพิ่มเต็ม หลักการปฏิบตั ติ นค่านิยม ประวัตผิ ้ เู ขียน ปกหลัง ข้ อเสนอแนะ นิทานที่สร้ างตามขันตอนที ้ ่ถกู ต้ อง และผ่านการหาประสิทธิภาพเช่อได้ วา่ นิทานที่สร้ าง ขึน้ มี คุณ ภาพสามารถพัฒ นาความรู้ ความจ า ความเข้ าใจแก่ผ้ ูเรี ยนได้ อย่างดีแล้ ว จึง นาไปใช้ ในการจัดการเรี ยนรู้ ซึง่ สามารถจัดการเรี ยนได้ หลากหลายรูปแบบ ทังเรี ้ ยนตามปกติ ในชันเรี ้ ยน และเรี ยนนอกเวลา ขึ ้นอยูเ่ ทคนิคและวิธีการของครูผ้ สู อนว่าจะนาไปบูรณาการใน ชันเรี ้ ยนได้ อย่างไร ในฐานะที่ผ้ สู ร้ างสรรค์เป็ นนักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขานาฏศิลป์ ไทย จึ ง ท าการยกตัว อย่ า งแนวทางการจัด การเรี ย นรู้ กลุ่ม สาระการเรี ย นรู้ ศิล ปะ วิ ช า นาฏศิลป์ โดยยึดแนวทางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระที่ 3 นาฏศิล ป์ มาตรฐาน ศ 3.1 เข้ า ใจ และแสดงออกทางนาฏศิ ล ป์ อย่ า ง สร้ างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คณ ุ ค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้ สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน ตัวชี ้วัดระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 4 ระบุทกั ษะพื ้นฐานทางนาฏศิลป์และ การละครที่ใช้ สื่อความหมายและอารมณ์ ตัวชี ้วัดระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 6 ที่วา่ แสดงนาฏศิลป์และการละคร ง่าย ๆ และบรรยายความรู้สกึ ของตนเองที่มีตอ่ งานนาฏศิลป์และการละครอย่าง สร้ างสรรค์ เป็ นต้ น การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
84
บรรณำนุกรรม เกริก ยุ้นพันธ์. (2539). กำรเล่ ำนิทำน. พิมพ์ครัง้ ที่ 2 กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน กาธร สถิรกุล. (2540).หนังสือและการพิมพ์.พิมพ์ครัง้ ที่2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย รามคาแหง. ครุรักษ์ ภิรมย์รักษ์. (2540). “นักเล่ ำนิทำนสร้ ำงนักอ่ ำน” สารพัฒนาหลักสูตร. ทรงพร สุทธิธรรม. (2534). กำรศึกษำควำมสำมำรถในกำรรั บรู้ และ เข้ ำใจทัศนคติของผู้อ่ ืน ของเด็กปฐมวัยที่ผ้ ูปกครองจัดกิจรรมนิทำนเพื่อ ส่ งเสริมกำรคลำยกำรยึดตนเองเป็ น ศูนย์ กลำง. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต วิชาเอกการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัย ศรี นครินทรวิโรฒประสานมิตร. ทิศนา แขมมณี. (2554). ศำสตร์ กำรสอน. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ฉวีวรรณ กินาวงศ์. (2533). กำรศึกษำเด็ก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ . ภิญญาพร นิตยประภา. (2534). กำรผลิตหนังสือสำหรั บเด็ก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ . จิระประภา บุญนิตย์. (2526). หุ่นกำรทำ และวิธีกำรใช้ . กรุงเทพฯ : ปาณย. จินตนา ใบกาซูยี. (2534). กำรจัดทำหนังสือสำหรับเด็ก.กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. พิมพ์จิต สถิตวิทยานันท์. (2546). กำรออกแบบหนังสือนิทำนเพื่อส่ งเสริมจินตภำพ สำหรับเด็กพิกำรทำงสำยตำ. หลักสูตรปริญญาศิลปะมหาบัณฑิตสาขา การออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปกร ฉัตรชัย ศุภระกาญจน์. (2532). กำรสร้ ำงหนังสือสำหรั บเด็ก.นครศรี ธรรมราช:ภาควิชา บรรณารักษ์ศาสตร์ วิทยาลัยครูนครู ศรี ธรรมราช. ชีวนั วิสาสะ. (2540). คุณฟองนักแปรงฟั น.พิมพ์ครัง้ ที่2. กรุงเทพฯ:อมรินทร์ พริ น้ ติ ้งแอนด์ พับลิชชิ่ง.
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
85
ถวัลย์ มาศจรัส. (2538). เทคนิคและตัวอย่ ำงกำรเขียนหนังสือส่ งเสริมกำรอ่ ำน เพิ่มเติม. กรุงเทพฯ:มิตใิ หม่ บันลือ พฤกษะวัน. (2524). วรรณกรรมกับเด็ก.พิมพ์ครัง้ ที่2. กรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิช. รัญจวน อินทรกาแหง. (2517).วรรณกรรมสำหรับเด็กและเยำวชน. กรุงเทพฯ:ดวงกมล. สมทรง ลิมาลัย. (2526). กำรศึกษำควำมชอบของเด็กที่มีต่อรู ปแบบของเนือ้ ที่ภำพ หรับหนังสือ.มหาวิทยาลัยศรี นครทรวิโรฒ ประสานมิตร. ไพศาล วรคา. (2555). กำรวิจัยทำงกำรศึกษำ.พิมพ์ครัง้ ที่ 5 . มหาสารคาม: ตักศิลาการพิมพ์. วิริยะ สิริสิงห. (2524). กำรเขียนเรื่องสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก วิไล มาศจรัส. (2539).เทคนิคกำรเขียนกำรเล่ ำนิทำนสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: มิตใิ หม่. ฉวีวรรณ คูหาภินนั ทน์. (2527).สำระสังเขปบทควำมกำรทำหนังสือสำหรับเด็ก. โครงการตาราและเอกประกอบการสอน ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษศาสตร์ และสังคมศาสตร์ วิทยาครูบ้านสมเด็จเจ้ าพระยา. ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. (2527). กำรวิจัยทำงศิลปะ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ณรงค์ ทองปาน. (2527). กำรสร้ ำงหนังสือสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: กรมฝึ กหัดครู. วินยั รอดจ่าย. (2540). กำร์ ตูนศำสตร์ แห่ งศิลป์และจิตนำกำร. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ: ต้ นอ้ อ แกรมมี่ จากัด ศิราพร ฐิ ตะฐาน ณ ถลาง. (2539).ในท้ องถิ่นมีนิทำนและกำรละเล่ น. กรุงเทพฯ:มติชน. สมศักดิ์ ศรี มาโนชน์. (2523). กำรเขียนนิทำนสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: โอเดียนโตร์ . หทัย ตันหยง. (2525). กำรผลิตหนังสือสำหรับเด็ก. พิษณุโลก:มหาวิทยาลัยศรี นคริน วิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลก,. ทศสิริ พูลนวล. (2543). หัวใจและเทคนิคกำรทำภำพประกอบนิทำนสำหรับเด็ก.พิมพ์ ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเด็ก. เปรื่ อง กุมทุ . (2523).กำรออกแบบหนังสือสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ:มูลนิธิวรรณกรรม. การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
86
รัถพร ซังธาดา. (2531). หนังสือสำหรับเด็ก.มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
87
ภำคผนวก แบบประประเมินเพื่อหาคุณภาพ (IOC) จากท่านผู้เชี่ยวชาญ
การสร้ างสรรค์หนังสือนิทานสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมลักษณะนิสยั ตามหลักปฏิบตั คิ า่ นิยม 12 ประการ
88