หน่วยที่ 1 องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์กายภาพและสิ่งแวดล้อม

Page 1

วิทยาศาสตร์ สาหรับ

เด็กปฐมวัย ECED 501


หน่วยที่ 1 องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ กายภาพและสิ่งแวดล้อม


องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เกิดจากการที่มนุษย์ได้สังเกตสรรพสิง่ และปรากฏการณ์ธรรมชาติ ในระยะแรกมนุษย์ไม่เข้าใจ คิดว่าเป็นอานาจของภูตผีปีศาจ หรือ เทพเจ้า จึงเกิดลัทธิบูชาเทพเจ้า ภูตผีปีศาจ ต่อมามีการสังเกตมากขึ้น

มีข้อสงสัยเกี่ยวกับ ปรากฏการณ์ธรรมชาติมากขึ้น


คาถามที่สาคัญ คือ อะไร อย่างไร และทาไม อะไร ทาให้ได้ข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับธรรมชาติอย่างไร ทาให้ได้

ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการต่างๆ ในธรรมชาติทาไมคาตอบจะต้อง เกิดจากการผสมผสานทุกเรื่องที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันเข้า ด้วยกัน แล้วสรุปเพื่อตอบคาถามว่าทาไม ทาให้เกิดเป็น กฎ

หลักการ และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์


ประเภทของความรู้วิทยาศาสตร์ ความรู้ที่เกิดจากความจริงตามธรรมชาติทั้งหมด ยังไม่มีการดัดแปลงใดๆ เรียกว่า วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ ความรู้ในส่วนทีเ่ ป็นสิ่งไม่มีชีวติ เรียกว่า วิทยาศาสตร์กายภาพ


ประเภทของความรู้วิทยาศาสตร์(ต่อ) ความรู้ในส่วนที่เป็นสิง่ ที่มีชีวิต เรียกว่า วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ทุกสิ่งรอบตัวเราทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เรียกว่า

วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม


ประเภทของความรู้วิทยาศาสตร์(ต่อ) การผสมผสานวัสดุธรรมชาติกับวิธีการต่าง ๆ เกิดเป็นนวัตกรรม

การนานวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์ต่าง ๆ นั้นมาใช้ประโยชน์กัน แพร่หลายในชีวิตประจาวัน เรียกว่า เทคโนโลยี หรือ วิทยาศาสตร์ ประยุกต์


ประเภทของความรูว ้ ท ิ ยาศาสตร์(ต่อ) อาจจัดประเภทตามลักษณะเนื้อหา ดังนี้ • ข้อเท็จจริง ความจริงเดีย่ ว ไม่ว่าจะพิสูจน์ที่ไหน โดยผู้ใด • ความคิดรวบยอด รวมหลายข้อเท็จจริงเป็นสิ่งที่คดิ เห็นโดยสรุป • หลักการ กฎ ทฤษฎี รวมหลายความคิดรวบยอดทีส่ ัมพันธ์กันเข้า ด้วยกัน


ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ • เป็นความรู้ที่เกิดจากการสังเกตธรรมชาติ

ซึ่งเกิดขึ้น มีอยู่ และดับไป ปัจจุบันมนุษย์ยังไม่รู้ เรื่องของธรรมชาติทั้งหมด จึงต้องศึกษากันเรื่อยไป ยังไม่มีที่สิ้นสุด ธรรมชาติมีการรักษาสมดุล เรียกว่า “สมดุลธรรมชาติ”


เพื่อรักษาสมดุลธรรมชาติ ควร..... อัญเชิญแนวพระราชดาริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มาใช้เป็น

หลักในการดาเนินชีวิต


หลักเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ มีเหตุผล

มีภมู คิ มุ้ กัน


ความหมายของวิทยาศาสตร์ เป็นวิชาที่มีการสืบค้น การสังเกต การแสวงหาความจริงทุกสิง่ ทุกอย่าง ในโลก วิทยาศาสตร์สอนให้มนุษย์รู้ความจริงที่มรี ะบบ และจัดไว้อย่างมี

ระเบียบแบบแผน สามารถยอมรับและพิสูจน์ได้


ความสาคัญของวิทยาศาสตร์ทาให้เด็กปฐมวัย... • ช่างสังเกต • มีประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ • รู้จักประโยชน์และคุณค่าของสิ่งแวดล้อม สังคม และ

สติปัญญา •

ใช้เวลาว่างอย่างมีคุณค่า


ความสาคัญของวิทยาศาสตร์ทาให้เด็กปฐมวัย... • มีอิสระในการคิด

• ได้ใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายทางาน เพื่อประสานสัมพันธ์กนั • กระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น

• ตอบสนองธรรมชาติตามวัยเด็ก • เป็นนักคิด นักค้นคว้า ทดลอง • อยากเรียนอยากรู้ในทุกเรื่อง


ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์ ช่วยพัฒนาความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ สติปัญญา มีความกระตือรือร้น และพยายามแสวงหาความรู้ เด็กเกิด .... ความรู้ มีจิตวิทยาศาสตร์ และเกิดทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์


แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ 1. การเปลี่ยนแปลง (change) ทุกสิ่งในโลกเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

2. ความแตกต่าง (variety) ทุกสิ่งในโลกคล้ายกันแต่ไม่เหมือนกัน 3. การปรับตัว (adjustment)

ต้องปรับตัวจึงจะอยู่ได้


แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์(ต่อ) 4. การพึ่งพาอาศัยกัน (maturity) ทุกสิ่งในโลกต้องพึ่งพาอาศัยกัน

5. ความสมดุล (equilibrium) ธรรมชาติมีความสมดุล และต้องรักษาสมดุล


เนื้อหาทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย 1. เรื่องสสารและพลังงาน 1.1 อากาศที่อยู่รอบตัวเรา

1.2 อากาศที่อยู่ในที่ว่าง 1.3 การเคลื่อนที่ของอากาศ 1.4 อากาศที่เราหายใจเข้าไป


เนื้อหาทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย(ต่อ) 1.5 อากาศช่วยให้ติดไฟ 1.6 ไอน้าในอากาศ 1.7 การเปลี่ยนรูปร่างจากน้าเป็นก้อนเมฆ 1.8 แสงสว่างจากไฟฟ้า

1.9 แรงดึงดูดของแม่เหล็กต่อน้า


เนื้อหาทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย(ต่อ) 1.10 การเดินทางของเสียง 1.11 แหล่งกาเนิดของเสียง 1.12 การทางานของเครื่องจักร 1.13 เครื่องยนต์มีสงิ่ ที่ทาให้เกิดพลังงานต่างกัน เช่น น้ามัน ไฟฟ้า หรือแรงลม


เนื้อหาทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย(ต่อ) 2. สิ่งมีชีวิต 2.1 สิ่งมีชีวิตต้องการอากาศ น้า อาหาร และอุณหภูมิที่เหมาะสม 2.2 สัตว์แต่ละชนิดกินอาหารต่างกัน 2.3 สัตว์เคลื่อนที่ได้หลายวิธี 2.4 พืชที่อยู่ในน้าและพืชที่ปลูกในดิน 2.5 พืชบางอย่างเกิดจากเมล็ดบางอย่างเกิดจากหน่อ 2.6 พืชผลัดใบ และพืชไม่ผลัดใบ


เนื้อหาทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย(ต่อ) 2.7 การปรับตัวของพืชและสัตว์ตามฤดูกาล 2.8 ลูกอ่อนของสัตว์ 2.9 การเลี้ยงดูลูกอ่อนของสัตว์บางชนิด


เนื้อหาทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย(ต่อ) 3. โลกและจักรวาล

3.1 ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวต่าง ๆ 3.2 การเดินทางไปดวงจันทร์ของมนุษย์

3.3 การส่งดาวเทียมไปโคจรรอบโลก 3.4 การโคจรของดวงดาว


เนื้อหาทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย(ต่อ)

3.5 แสงสว่าง และความร้อนจากดวงอาทิตย์ 3.6 ส่วนประกอบของโลก ดิน และน้า 3.7 อากาศที่ห่อหุ้มโลก 3.8 ชนิดของดิน


เนื้อหาทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 4. มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม

4.1 พืชและสัตว์ใช้ทาอาหาร เครื่องนุ่งห่มและที่อยู่อาศัยของมนุษย์ 4.2 แรงงานจากสัตว์ช่วยมนุษย์ได้

4.3 มนุษย์เลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อความเพลิดเพลิน 4.4 มนุษย์สามารถเดินทางได้หลายวิธี

4.5 มนุษย์สามารถสร้างและควบคุมแสงสว่างได้ 4.6 มนุษย์สามารถสร้างและควบคุมความร้อนได้


กระบวนการแสวงหาความรูว้ ิทยาศาสตร์ ความรู้วิทยาศาสตร์ เกิดจาก..... ความบังเอิญ....การสังเกต ความรู้ที่เป็นระบบเกิดจาก... กระบวนการแสวงหาความรู้วิทยาศาสตร์ ได้แก่ -ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ - มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - มีเจตคติวิทยาศาสตร์ หรือจิตวิทยาศาสตร์


วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 1. ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา 2. ขั้นตั้งสมมติฐาน 3. ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล 4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล

5. ขั้นอภิปรายและลงข้อสรุป


การกาหนดขอบเขตของปัญหา เพื่อให้สามารถศึกษาได้ทันเวลา เหมาะสมกับทรัพยากร เวลา แรงงาน ที่มีอยู่ เช่น ปัญหาคือ......


การกาหนดขอบเขตของปัญหา จะทาน้าให้สะอาดได้อย่างไร อาจกาหนดว่า จะทาน้าในสระนี้ให้สะอาดได้อย่างไร ถ้าไม่กาหนดขอบเขตไว้ ต้องทาน้าทั้งโลกให้สะอาดคงไม่ไหว


การตั้งสมมติฐาน เป็นการคาดคะเนคาตอบปัญหาล่วงหน้า อย่างมีเหตุผล โดยใช้ข้อมูลที่มีอยู่บางส่วน อาจมีหลายคาตอบ หรือหลายสมมติฐาน อาจผิด หรือ ถูกก็ได้


การเก็บรวบรวมข้อมูล คือการรวบรวมข้อมูลความรู้ ที่เกี่ยวกับปัญหานั้น ๆ ด้วยการ ทดลอง อ่าน ศึกษา ค้นคว้า ถามผู้รู้ ให้ได้ข้อมูลให้มากที่สุด


การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลที่รวบรวมมาได้ครบถ้วนถูกต้อง เพียงพอที่จะใช้แก้ปัญหาหรือไม่

ต้องนามาวิเคราะห์


การอภิปรายและลงข้อสรุป นาข้อมูลที่วิเคราะห์แล้ว มาอภิปรายร่วมกัน เพื่อสรุปเรียงลาดับ และเลือกวิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุด มาใช้แก้ปัญหานั้น ๆ


วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 1. ขั้นกาหนด ขอบเขตปัญหา 5. ขั้นอภิปราย และลงข้อสรุป

4. ขั้นวิเคราะห์ขอ ้ มูล

วิธีการ ทางวิทยาศาสตร์

2. ขั้นตั้งสมมุติฐาน

3. ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.