หน่วยที่ 2 จิตวิทยาศาสตร์

Page 1

หน่วยที่ 2 จิตวิทยาศาสตร์


จิตวิทยาศาสตร์ อาจเรียกได้อีก

คาหนึ่งว่า เจตคติทาง

วิทยาศาสตร์ เป็นเรื่องของความคิด ความเข้าใจภายใน บุคคลที่มีจิตวิทยาศาสตร์

จะแสดงพฤติกรรม ดังนี้


1. สนใจใฝ่รู้ 2. มีความเพียรพยายาม 3. มีเหตุผล

4. ซื่อสัตย์

5.มีระเบียบและรอบคอบ

6.ใจกว้าง


คุณลักษณะของผู้มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ สามารถส่งเสริมให้ เกิดขึ้นได้ ควรเริ่มตั้งแต่เด็กปฐมวัย


การสอนเพื่อให้เด็กมีจิตวิทยาศาสตร์ เพราะเด็กสามารถซึมซับสิ่ง ต่างๆได้อย่างรวดเร็ว โดยการจัด ประสบการณ์ และกิจกรรม ให้เด็กเกิดการเรียนรู้โดยผ่านทางการเล่น

หรือจัดกิจกรรมการเรียน

โดยให้เด็กได้ทดลอง การปฏิบัติ การเล่น

กับเพื่อนการศึกษานอกสถานที่ (นอกห้องเรียน)


การสอนเพื่อให้เด็กมีจิตวิทยาศาสตร์(ต่อ) การเล่านิทาน การวาดภาพที่สื่อจากความคิดของเด็ก และใน ทุกกิจกรรม ครูใช้คาถามถามเพื่อให้เด็กตอบโดยแสดง ความคิดออกมา


สิ่งจาเป็นสาหรับครู ต้องเรียนรู้หลักทั่วไปและทฤษฎีพัฒนาการเพื่อให้สามารถ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสมกับวัย และตรง ตามความต้องการของเด็ก


หลักทั่วไปของพัฒนาการ 1. พัฒนาการเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องกัน 2. พัฒนาการจะเกิดตามลาดับขั้นตอน

3. พัฒนาการของส่วนต่างๆ จะมี อัตราไม่เท่ากัน 4. พัฒนาการของแต่ละบุคคลมีลักษณะเฉพาะเป็นของตนเอง 5. พัฒนาการย่อมมีความสัมพันธ์กับวุฒิภาวะของสมอง 6. อัตราพัฒนาการของแต่ละบุคคลจะช้าหรือเร็วแตกต่างกัน 7. ร่างกายจะค่อยๆพัฒนา การโต้ตอบต่อสิ่งเร้าอย่างมีความหมาย


หลักทั่วไปของพัฒนาการ (ต่อ) 8. พัฒนาการเป็นสิ่งที่สามารถพยากรณ์ได้

9. พัฒนาการที่แต่ละบุคคลพัฒนาไปนั้น จะเห็นลักษณะเด่นของ พัฒนาการระยะเหล่านั้นได้ 10. พัฒนาการย่อมมีทิศทางที่แน่นอน

11. สิ่งแวดล้อมมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะของบุคคล


พัฒนาการของเด็กปฐมวัย 1. พัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด – 1 ปี ใช้ประสาทสัมผัสได้ดี เมื่ออายุใกล้ 1 ปี เริ่มเข้าใจคาพูด เริ่มเรียก พ่อ แม่ ฟังคาสั่งง่าย ๆได้ รู้จักเวลา

การทากิจกรรมในชีวิตประจาวัน 2. พัฒนาการเด็กวัย 1 – 2 ปี เรียนรู้มากขึ้น ประสาทสัมผัสพัฒนา สมบูรณ์ควรฝึกประสาทสัมผัสโดยการเล่น ให้ช่วยตนเอง เช่น รับประทานอาหาร ใส่ ถอด ถุงเท้า รองเท้า


พัฒนาการของเด็กปฐมวัย 3. พัฒนาการเด็กวัย 2 - 3 ปี เริ่มควบคุมและทาอะไรด้วยตนเองได้ การใช้ภาษาดี ขึ้น ทรงตัวได้ดี เดินคล่อง ชอบเลียนแบบคนที่ชื่นชอบ ควรฝึกให้เก็บของใช้ให้ พึ่งพาตนเองตามความเหมาะสม ช่วยให้เกิดความมั่นใจและเป็นตัวเอง 4. พัฒนาการเด็กวัย 3 - 4 ปี ช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น เดินเก่งและมั่นคง ชอบ กระโดดและหยุดได้ทันที ยืนเขย่งปลายเท้าได้ชั่วครู่ ขี่จักรยาน 3 ล้อได้คล่อง ชอบช่วยงานบ้านพูดประโยคสั้นๆได้ ใช้ภาษาได้มากขึ้น มีจินตนาการสูงสนใจ เล่นกับเด็กอื่น แยกจากแม่ได้เป็นวัยที่เริ่มไปโรงเรียนอนุบาล


พัฒนาการของเด็กปฐมวัย 6. พัฒนาการเด็กวัย 5 - 6 ปี ช่วยเหลือตัวเองได้มากขึ้น มีความเชื่อมั่น ในตนเอง มีเหตุผล เรียนรู้ได้ดี เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ สนใจเล่นแบ่งปัน สิ่งของให้เพื่อน เชื่อฟังและปฏิบัติตามคาสัง่ ครู มีความอดทน รู้จักรอ คอย ซึ่งเป็นพื้นฐานพัฒนาการทางสังคม ใช้กล้ามเนื้อได้ดี เขียนชื่อ ตนเองได้ กระโดดขาเดียวได้ วาดภาพเป็นจริงมากขึ้น มีความคิดเป็น ของตนเอง เลียนแบบผู้ใกล้ชิด


ครูต้องรู้ทฤษฎีพัฒนาการ ควรรู้ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา เพื่อให้เข้าใจ สามารถ จัดการสอนได้เหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุดทฤษฎีพัฒนาการ

ทางสติปัญญาที่ควรรู้ มีดังนี้............


ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์ 1. การจัดระบบโครงสร้าง เป็นการจัดระบบภายในสมอง โดยรวม กระบวนการต่างๆเข้าด้วยกัน เช่น รวมการเห็น และการคว้าจับเป็น การเห็นแล้วคว้าจับ


2. การปรับตัว เป็นการปรับตัวเข้ากับสิง่ แวดล้อม โดย.. 2.1 กระบวนการดูดซึม นาประสบการณ์ใหม่ผสานกับ ประสบการณ์เดิม 2.2 กระบวนการปรับขยายโครงสร้าง จากข้อ 2.1 ทาให้ ประสบการณ์เดิมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น


เพียเจท์ ได้แบ่งขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์ เป็น 4 ขั้น 1. ขั้นประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (แรกเกิด – 2 ปี) เด็กเรียนรู้จากการ สัมผัสและการเคลื่อนไหว สนใจสภาพแวดล้อมรอบตัว เริ่มสื่อสารได้ เล่น ตามแบบได้

2. ขั้นความคิดก่อนเกิดปฏิบัตกิ าร (อายุ 2 – 6 ปี) เริ่มพัฒนาสติปัญญาเป็นระบบมากขึ้น เริ่มเรียนรู้ภาษาพูด เข้าใจเครื่องหมาย

ต่างๆ สิ่งที่เป็นตัวแทน มองของมากกว่า 1 สิ่งในเวลาเดียวกัน ไม่สามารถคิด ย้อนกลับได้ เป็นการรับรู้มากกว่าเข้าใจ


3. ขั้นปฏิบัติการคิดแบบรูปธรรม (อายุ 7 – 11 ปี) มีพัฒนาการทาง สมองมากขึ้นมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม เรียนรู้และจาแนกสิ่งที่เป็น รูปธรรมได้ แต่ยังไม่สามารถจินตนาการสิ่งที่เป็นนามธรรม 4. ขั้นปฏิบัติการคิดแบบนามธรรม (อายุ 11 – 15 ปี) พัฒนาการสูงสุด ใช้เหตุผลได้ดี เรียนรู้เรื่องที่เป็นนามธรรมได้โดยไม่ ต้องอาศัยของจริงหรือสิ่งประกอบ มีการพัฒนาแนวคิดเชิงตรรกศาสตร์ ความคิดเป็นผู้ใหญ่ แต่ต่างกันที่ประสบการณ์


การนาแนวคิดของเพียเจท์มาใช้ในการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์

-จัดประสบการณ์โดยคานึงถึงการใช้ภาษาและความคิด -จัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่ฝึกให้คิดและกล้าแสดงออกทาง

ความคิด


การนาแนวคิดของเพียเจท์ มาใช้ในการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์

-ให้โอกาสเด็กตัดสินใจและแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเองได้ใช้ประสาทสัมผัสหลายๆ ด้าน

ได้เคลื่อนไหวร่างกายขณะทากิจกรรม -ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม


การนาแนวคิดของเพียเจท์ มาใช้ในการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ -ไม่บงั คับให้เด็กทากิจกรรมที่ยากเกินความ

สามารถ ควรกระตุ้น และส่งเสริมให้ทา กิจกรรมทีเ่ ด็กมีความพร้อมให้เด็กมีอส ิ ระใน การ เลือกทากิจกรรมตามความสนใจด้วยตนเอง

-ส่งเสริมให้แสดงความคิดเห็นที่เด็กถนัด ด้วยการวาดภาพ การพูด เป็นต้น


ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์ 1 การเรียนรู้โดยการกระทา (enactive representation)


ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์ 2 การเรียนรูโ้ ดยการรับรูภ ้ าพและ จินตนาการ (iconic representation) 3 การเรียนรูโ้ ดยการสื่อความหมายทาง สัญลักษณ์ (symbolic representation)


การนาแนวคิดของบรูเนอร์ มาใช้ในการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์

1. ให้เด็กเรียนรู้จากการกระทา ให้เด็กใช้ ประสาทสัมผัสทัง้ ห้าทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง ลงมือปฏิบัตจ ิ ริง ช่วยให้เด็กกล้าคิด กล้าทา และ กล้าแสดงออก 2. คานึงถึงความพร้อมและความสามารถตามวัย


การนาแนวคิดของบรูเนอร์ มาใช้ในการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ 3. ตอบสนองความพึงพอใจของเด็กอย่าง ทันท่วงทีที่ทางาน แต่ละครั้งเสร็จบรูเนอร์ถอ ื ว่า พัฒนาการทางความรู้ ความเข้าใจจะทา

ได้โดยผ่านขั้นตอนทั้ง 3 ขั้น คือการเรียนรู้ โดยการ กระทา การเกิดภาพในใจ และการใช้

สัญลักษณ์


ทฤษฏีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์ จาแนกความสามารถของคนไว้ 8 ด้าน 1. สติปัญญาด้านภาษา (verbal/linquistic intelligence)

2. สติปัญญาด้านตรรกและคณิตศาสตร์ (logical/mathematicintelligence)


ทฤษฏีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์ 3. สติปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ (visual/spatial intelligence) 4. สติปัญญาด้านร่างกายและการเคลือ ่ นไหว

(bodily-kinesthetic intelligence)


ทฤษฏีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์ 5. สติปัญญาทางด้านดนตรี และจังหวะ (musical/rhythemic intelligence) 6. สติปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์ (interpersonal intelligence)


ทฤษฏีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์ 7. สติปัญญาด้านตนเองและการเข้าใจ ตนเอง (intrapersonal intelligence) 8. สติปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา (naturalist intelligence)


ทฤษฏีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์ ได้อธิบายลักษณะที่สาคัญไว้ดังนี้ 1. ทุกคนมีปัญญาทัง้ 8 ด้านมาก-น้อยต่างกันไป 2. บุคคลทุกคนสามารถพัฒนาปัญญาแต่ละด้าน ให้สูงขึ้น 3. ปัญญาด้านต่าง ๆ สามารถทางานร่วมกันได้ 4. ปัญญาแต่ละด้านจะมีการแสดงความสามารถ หลายทาง


การนาแนวคิดของการ์ดเนอร์ มาใช้ในการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ 1. จัดกิจกรรมที่พัฒนาพหุปญ ั ญาทุกด้าน 2. ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติกจ ิ กรรมจาก

ความสามารถของตนเอง 3. บูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ เตรียม กิจกรรมให้เด็กเลือกทาตามความสนใจ


การนาแนวคิดของการ์ดเนอร์มาใช้(ต่อ) 4. ให้เด็กทางานและแสดงความคิดร่วมกับ ผู้อื่น 5. ให้เด็กได้เลือกรูปแบบการเรียนรู้ทม ี่ ี

ความเหมาะสมกับตนเอง 6. ครูและเด็กสรุปด้วยการอภิปรายร่วมกัน

7. นาสิ่งที่เรียนรู้ไปใช้ในชีวต ิ ประจาวัน


การนาทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ มาใช้ ในระยะแรกอาจเป็น เรื่องยาก แต่ถ้าได้ทาความ เข้าใจให้ดีแล้ว จะเป็นเรื่องปกติ ในการเรียนการสอนประจาวัน


จิตวิทยาจาเป็นที่ครูควรใช้ ในการเรียนการสอนทุกวัน คือ การเสริมพลัง และการชักจูงใจ


การเสริมพลัง คือการที่ครูทา อย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อให้เด็กแสดง พฤติกรรมที่ครูต้องการซ้าอีก เช่น เด็กตอบคาถามได้ถูกต้อง เด็กเก็บของเข้าที่เรียบร้อย โดยใช้คาพูด ท่าทาง และผสมผสาน


การชักจูงใจ คือ การที่ครู ทาอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้เด็ก สนใจบทเรียน เช่น ใช้คาถาม รูปภาพ หุ่นจาลอง เล่านิทาน เล่าเรื่องในชีวต ิ ประจาวัน ร้องเพลง บทบาทสมมติ เป็นต้น


การชักจูงใจตอนเริ่มบทเรียน เรียกว่า การนาเข้าสู่บทเรียน ถ้าขณะสอน เรียก การชักจูงใจ หรือเมื่อเห็นว่าเด็กเริ่ม ไม่สนใจเรียน เพื่อให้เด็ก สนุกสนาน สนใจเรียน


ถ้าครูทาให้การเรียนเป็น เรื่องสนุก น่าสนใจ เด็กจะ เรียนรู้ได้ดี มีพัฒนาการ ก้าวหน้า รักโรงเรียน อยากมาโรงเรียน


ให้นักศึกษาทาแบบฝึกปฏิบัตป ิ ระจาหน่วยที่ 2 และให้ตอบแบบฝึกหัดท้ายบท หาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก

เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 2 และให้ส่งงานตามเวลาทีอ ่ าจารย์ผส ู้ อน นัดหมาย

ขอให้โชคดี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.