หน่วยที่ 6 สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
สาหรับเด็กปฐมวัย
ผศ.ชุลพ ี ร สงวนศรี รศ.ทิพย์วล ั ย์ สีจันทร์
ความหมายของสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
เครื่องมือในการถ่ายทอดเรื่องราวและเนือ ้ หา ต่าง ๆ จากครูไปสู่เด็ก ทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้
ตามจุดประสงค์ทไ ี่ ด้ตั้งไว้ ช่วยให้เด็กได้รับ ประสบการณ์ตรง เรียนรู้ด้วยความเพลิดเพลิน
และค้นพบด้วยตนเอง จากการจัดกิจกรรมของ ครูโดยมีสื่อเป็นองค์ประกอบ
ความสาคัญของสือ ่ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
1. ช่วยทาให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง 2. ช่วยสร้างความพร้อมในการเรียนเป็น
แหล่งรวมความสนใจ 3. ช่วยเชื่อมโยงระหว่างสิง่ ทีเ่ ป็น นามธรรมไปสู่สิ่งทีเ่ ป็นรูปธรรม
ความสาคัญของสื่อฯ วิทยาศาสตร์ (ต่อ) 4. ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจในกระบวนการ สืบเสาะหา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
5. ช่วยให้การสอนของครูมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น
ความสาคัญของสือ ่ ฯ วิทยาศาสตร์ (ต่อ) 6. ช่วยให้เด็กได้สัมผัสสื่อการเรียนการสอนด้วย ประสาทสัมผัสต่าง ๆ
7. ช่วยให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดทีถ ่ ก ู ต้องและ รวดเร็ว 8. ช่วยให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
ประเภทของสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
การแบ่งสื่อการเรียนการสอนตามลักษณะ ประสบการณ์
1. ประสบการณ์ตรงหรือประสบการณ์จริง 2. ประสบการณ์จาลอง 3. ประสบการณ์นาฏการ
การแบ่งสื่อการเรียนการสอนตามลักษณะ ประสบการณ์
4. การสาธิต
5. การศึกษานอกสถานทีห ่ รือ ทัศนศึกษา 6. การจัดนิทรรศการ
ประเภทของสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
การแบ่งสื่อการเรียนการสอนตามลักษณะ ประสบการณ์ 7. โทรทัศน์การศึกษาและภาพยนตร์ 8. ภาพนิ่ง วิทยุ การบันทึกเสียง
9. ทัศนสัญลักษณ์ 10. วจนสัญลักษณ์
ประเภทของสือ ่ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
การแบ่งสื่อการเรียนการสอนตาม แหล่งทีม ่ าของสื่อ 1. สื่อการสอนทีไ ่ ด้จากธรรมชาติ 2. สื่อการสอนทีไ ่ ด้มาจากการซือ ้
3. สื่อการสอนทีป ่ ระดิษฐ์ขน ึ้ เอง
ตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง
โทรศัพท์จะ๊ จ๋า
ตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง
กล้องแสนกล
ตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง
สีแสนสวย
ตัวอย่างสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ที่ประดิษฐ์ขึ้นเอง
เสียงอะไรเอ่ย
หลักการผลิตสือ ่ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
1. การผลิตสื่อควรคานึงถึงประโยชน์ ความจาเป็นและความคุ้มค่าของการ นาไปใช้ 2. การผลิตสื่อควรเตรียมวัสดุอป ุ กรณ์ ให้พร้อม
หลักการผลิตสือ ่ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
3. ควรผลิตสื่อทีช ่ ่วยพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้ หลากหลายทักษะ 4. ผลิตสื่อทีม ่ ีความแข็งแรง ทนทาน มีจานวนเพียงพอ
หลักการผลิตสือ ่ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
5. ผลิตสือ ่ ทีเ่ ด็กสามารถเล่นคนเดียว หรือเล่นเป็นกลุม ่ เพื่อเด็กจะได้เรียนรู้การ รอคอย การแบ่งปัน และการมีนาใจ ้
6. ผลิตสื่อให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทัง้ ห้า
หลักการผลิตสือ ่ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
7. ควรผลิตสื่อโดยคานึงถึงความ ประหยัด คุ้มค่า
8. ควรผลิตสื่อทีเ่ ด็กปฐมวัยสามารถ หยิบ จับได้
หลักการผลิตสือ ่ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
9. ควรผลิตสือ ่ ทีเ่ ด็กสามารถนามาใช้ ประโยชน์ได้ตลอดเวลา โดยปราศจาก
วัสดุที่เป็นอันตราย 10. ผลิตสื่อให้ตอบสนองพัฒนาการตามวัย
มีทั้งสื่อทีง่ ่ายและยากสลับกันไป
หลักการเลือกสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
1. เลือกสือ ่ ให้ตรงกับจุดมุง่ หมายและ เรื่องทีส ่ อน 2. เลือกสือ ่ ทีส ่ ามารถสังเกตได้ง่าย
เด็กสามารถใช้ประสาทสัมผัสทัง้ ห้า ได้มากทีส ่ ุด
หลักการเลือกสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
3. สื่อมีขนาดเหมาะสมกับวัยและ ความสามารถของเด็ก 4. มีคุณภาพดี มีความแข็งแรง
คงทน ไม่แตกสลายง่าย
หลักการเลือกสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์(ต่อ)
5. เลือกสื่อให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ของท้องถิ่นทีเ่ ด็กอยูห ่ รือสถานภาพ สถานภาพของสถานศึกษา
6. มีความถูกต้องตรงตามเนื้อหาและ ทันสมัยสามารถเลือกใช้ได้ตาม วัตถุประสงค์
หลักการเลือกสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
7. มีการใช้สื่ออย่างทัว ่ ถึง และใช้
ประโยชน์ได้หลายวัตถุประสงค์ 8. เลือกสือ ่ ทีม ่ ีวธ ิ ีใช้ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน 9. เลือกสือ ่ ทีส ่ ามารถหาซื้อได้ง่าย ราคา ประหยัด
หลักการเลือกสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
10. เลือกสื่อทีน ่ า่ สนใจ ส่งเสริมวิธีคด ิ และการจินตนาการ
11. รูปทรงไม่เป็นทรงแหลมหรือทรง เหลีย ่ มเพราะเด็กอาจได้รับอันตราย
หลักการเลือกสื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
12. มีความปลอดภัยและหลีกเลีย ่ งสื่อที่ เป็นอันตรายต่อตัวเด็ก
13. วัสดุที่ใช้ตอ ้ งไม่มีพษ ิ ไม่หก ั และ แตกง่าย
หลักการใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
1. ขั้นเลือกสื่อ 1.1 มีความเหมาะสมสอดคล้องกับ เนื้อหาและตรงตามจุดประสงค์ ที่ต้องการจัดประสบการณ์ให้กบ ั เด็ก
ปฐมวัย
หลักการใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
1.2 ควรเลือกสื่อทีเ่ ป็นของจริงเพือ ่ ให้
เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทัง้ ห้าให้ เหมาะสมกับการเรียนรู้ตามวัยของเด็ก
หลักการใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
1.3 สื่อควรมีคุณภาพดี ปลอดภัย ทนทาน
แข็งแรง ถ้าเป็นของจริง เช่น ผัก ผลไม้ ควรเป็นของสดสะอาดและใหม่ เป็นต้น 1.4 สามารถดึงดูดความสนใจของเด็กโดย
อยู่ทเี่ ทคนิคการนาเสนอและการจัด ประสบการณ์ของผู้สอนเป็นสาคัญ
หลักการใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
2. ขั้นเตรียมสือ ่ 2.1 จัดลาดับการใช้สื่อว่าจะใช้
อะไรก่อนหรือหลังเพื่อความสะดวก ในการสอน
หลักการใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
2.2 ผู้สอนควรมีการทดลองใช้สื่อ ก่อนนามาจัดประสบการณ์จริงเพื่อ
แก้ไขข้อบกพร่องและเพื่อให้ได้ ประโยชน์จากการใช้ให้มากทีส ่ ุด
หลักการใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
2.3 ผู้สอนควรเตรียมวัสดุอุปกรณ์
ที่ใช้ร่วมกับสื่อการเรียนการสอนที่ ครูเลือกใช้เพื่อความสะดวกและ
รวดเร็วในการนาเสนอสื่อ
หลักการใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
3. ขั้นนาไปใช้
3.1 ควรมีเทคนิควิธีการที่เร้าความ สนใจให้เด็กอยากเรียนรู้
3.2 ควรใช้ประโยชน์ ให้มาก ที่สุดเท่าที่จะมากได้
หลักการใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
3.3 ควรให้เด็กได้ใช้และเรียนรูด ้ ้วย
ตนเอง โดยวิธีการที่เด็กเลือกเอง 3.4 ใช้สื่อตามลาดับขัน ้ ของแผน การจัดกิจกรรมที่กาหนดไว้
หลักการใช้สอ ื่ การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
3.5 ไม่ควรให้เด็กเห็นสือ ่ หลาย ๆ ชนิดพร้อม ๆ กัน 3.6 ผู้สอนควรยืนอยูด ่ ้านข้างหรือ ด้านหลังของสื่อที่ใช้กับเด็ก เพราะ
จะต้องพูดคุยกับเด็ก
หลักการใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
4. ขั้นประเมินการใช้สื่อ การประเมินการใช้สื่อ สามารถประเมิน
ได้ขณะสอนและใช้สื่อชนิดนั้น ผู้สอน ควรเปิดโอกาสให้เด็กซักถาม โดยครูใช้ คาถามกระตุน ้ การคิด
ขั้นประเมินการใช้สื่อ (ต่อ) และใช้วิธีการสังเกต อภิปรายซักถาม ตลอดจนร่วมกันสรุปขั้นตอนการนาสื่อ ไปใช้ เพื่อจะได้นามาปรับปรุงสื่อให้ดี
ยิ่งขึ้น
สื่อและอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
พืช • การสังเกตเมล็ดของพืชชนิดต่าง ๆ • การเจริญเติบโตของเมล็ดพืช • การจาแนกประเภทเมล็ดพืช • การปลูกพืชประดับ • การจาแนกประเภทใบไม้ • การใช้ประสาทสัมผัสทัง้ ห้า
สื่อและอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
เด็กปฐมวัยสังเกตและจาแนกประเภทใบไม้ กิ่งไม้ จากธรรมชาติ
สื่อและอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
สัตว์ • การเรียนรู้เกีย ่ วกับวงจรชีวิตของสัตว์
• การเรียนรู้เกีย ่ วกับหนอน • การเรียนรู้เกีย ่ วกับไส้เดือนและมด
• การเรียนรู้เกีย ่ วกับสัตว์ที่อยู่บริเวณโรงเรียน • การเรียนรู้เกีย ่ วกับสัตว์ชนิดต่าง ๆ
สื่อและอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
เด็กปฐมวัยสังเกตทีอ ่ ยูข ่ องมดโดยใช้แว่นขยาย
สื่อและอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
เด็กปฐมวัยสังเกตพืชและสัตว์น้าจากอ่างเลีย ้ งปลา
สื่อและอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
ร่างกายของเรา • สังเกตร่างกายของตนเอง • การใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
สื่อการสอนชนิดต่าง ๆ แหล่งการเรียนรู้จากสถานทีต ่ ่าง ๆ
สื่อและอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
•
การเล่นตามมุม
• การเล่นสร้างสรรค์ • เกมการศึกษา • การเล่นกลางแจ้ง
สื่อและอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
เด็กปฐมวัยทดลองและสังเกตวัตถุตา่ ง ๆ จากการใช้แม่เหล็ก
สื่อและอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
เด็กปฐมวัยทดลองและสังเกตการชั่งวัตถุจากตาชั่ง 2 แขน
สื่อและอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
เด็กปฐมวัยศึกษาและสังเกตสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
การเก็บรักษาและซ่อมแซมสือ ่ การเรียนการสอน
ควรจัดให้เป็นหมวดหมู่ตามลักษณะ
ประเภทของสื่อ จัดวางสื่อไว้ในระดับสายตาของเด็ก ฝึกให้เด็กรู้ความหมายของรูปภาพหรือสี
ที่เป็นสัญลักษณ์แทนประเภทของสือ ่
การเก็บรักษาและซ่อมแซมสือ ่ การเรียนการสอน (ต่อ)
ควรจัดเก็บสื่อใส่กล่องและมีฝาปิด
ตรวจสอบจานวนหลังการใช้ว่าครบถ้วน และมีสภาพสมบูรณ์หรือไม่ ซ่อมแซมและทาสื่อเพิม ่ เติมสาหรับสื่อ
ที่ขาดหายไปให้ครบชุด
ให้นักศึกษาทาแบบฝึกปฏิบัตห ิ น่วยที่ 6
และให้ตอบแบบฝึกหัดท้ายบท หาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 6 และให้สง่ งานตามเวลา ที่อาจารย์ ผู้สอนนัดหมาย ขอให้โชคดี