หน่วยที่ 7 การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย
ผศ.ชุลพ ี ร สงวนศรี รศ.ทิพย์วล ั ย์ สีจันทร์
ความหมายของการวัด กระบวนการกาหนดสิ่งต่าง ๆ ตามเกณฑ์ โดยอาศัยตัวเลขแทนปริมาณของสิ่งนัน ้ ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ
1. จุดมุ่งหมายของการวัด 2. เครื่องมือวัด วิธีวัด 3. การแปลผลการวัด และการนาผลไปใช้
ความหมายของการประเมิน
การนาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากการวัดมา พิจารณา เพื่อประเมินความสามารถของเด็ก และลงข้อสรุป เมื่อทราบผลการประเมินแล้ว
นาผลการประเมินนั้นมาใช้ประโยชน์ ทั้ง เพื่อการแก้ไขพัฒนาการของเด็กหรือเพื่อ พัฒนาเด็กในสิ่งที่ดีให้ดียงิ่ ขึน ้
ขอบข่ายการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
1. พัฒนาการด้านร่างกาย 1.1 พัฒนาการของกล้ามเนื้อ ใหญ่ 1.2 พัฒนาการของกล้ามเนื้อ เล็ก
ขอบข่ายการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย (ต่อ)
2. พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ และ สังคม แบ่งออกได้ดังนี้ 2.1 การแสดงความรู้สึกและ อารมณ์ 2.2 การช่วยเหลือตนเอง
ขอบข่ายการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย (ต่อ) 2.3 การเล่นและการทางานร่วมกับผู้อื่น
2.4 การปฏิบัติตามข้อตกลง รับผิดชอบงาน ที่ได้รบ ั มอบหมาย 2.5 มารยาทตามวัฒนธรรมไทย
ขอบข่ายการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย (ต่อ)
3. พัฒนาการด้านสติปัญญา ประกอบด้วย 3.1 การรับรูด ้ ้วยประสาทสัมผัสทัง้ ห้า 3.2 การจาแนกประเภท
3.3 การจัดหมวดหมู่ 3.4 การเรียงลาดับ
3. พัฒนาการด้านสติปญ ั ญา ประกอบด้วย(ต่อ)
3.5 การหาความสัมพันธ์ 3.6 การแก้ปัญหา
3.7 การรูค ้ ่าจานวน 3.8 การเรียงลาดับ 3.9 ความคิดสร้างสรรค์
วัตถุประสงค์ของการประเมินทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ระดับเด็กปฐมวัย
1. เพื่อช่วยให้ครูสามารถประเมิน เด็กปฐมวัย
2. สามารถประเมินทักษะด้านต่างๆ เป็นรายบุคคลตามตารางปกติ ประจาวัน
วัตถุประสงค์ของการประเมินทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ระดับเด็กปฐมวัย
3. นาข้อมูลจากการประเมินมาจัด ประสบการณ์ให้เหมาะสมกับเด็ก
แต่ละคน 4. เพื่อช่วยให้ครูมีความรู้ความเข้าใจ และยอมรับความแตกต่างของเด็ก
วัตถุประสงค์ของการประเมินทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ระดับเด็กปฐมวัย (ต่อ)
5. ครูจัดกิจกรรมได้เหมาะสมกับ
พัฒนาการและการเรียนรู้ 6. จัดประสบการณ์ได้สอดคล้อง กับจุดประสงค์
วัตถุประสงค์ของการประเมินทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ระดับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 7. ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ 8. สามารถหาแนวทางการช่วยเหลือเด็ก ที่มีทักษะด้านใดด้านหนึง่ ไม่เป็นไปตาม
เป้าหมาย
หลักการประเมินทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ระดับเด็กปฐมวัย 1. ประเมินตามความก้าวหน้าของเด็กเป็น รายบุคคลอย่างสม่าเสมอและต่อเนือ ่ ง
2. ครอบคลุมทักษะทุกด้าน ได้แก่ การสังเกต การจาแนกประเภท การวัด การสื่อความหมาย การลงความเห็น การหาความสัมพันธ์ระหว่าง สเปสกับเวลา และการใช้ตัวเลข
หลักการประเมินทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ระดับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 3. เป็นไปตามปกติเช่นเดียวกับการปฏิบัติ กิจกรรมตามตารางประจาวัน
4. ประเมินอย่างเป็นระบบมีการวางแผน เลือกใช้เครือ ่ งมือและจดบันทึกเป็นหลักฐาน 5. ประเมินตามสภาพจริง ใช้แหล่งข้อมูล
หลาย ๆ ด้าน
หลักการประเมินทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ระดับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 6. ผู้ประเมินจะต้องเป็นผูท ้ ม ี่ ีความรูค ้ วาม เข้าใจพัฒนาการเด็ก 7. ควรพิจารณาเด็กเป็นรายบุคคลว่ามีการ พัฒนาทักษะแต่ละด้านอย่างไร
8. ไม่ใช้ความรู้สึกส่วนตัว ควรพิจารณา จากหลักฐานทีเ่ ก็บสะสมอย่างมีระบบ
หลักการประเมินทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ระดับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 9. สัมพันธ์กบ ั จุดประสงค์ทก ี่ าหนดไว้
10. จัดประสบการณ์ให้เหมาะสมกับความ ต้องการของเด็ก 11. เด็กมีพัฒนาการการเรียนรู้ และมี
ประสบการณ์ที่แตกต่างกัน
การวัดและการประเมินทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ระดับเด็กปฐมวัย
1. ขั้นศึกษาพฤติกรรม
1.1 การสังเกต 1.2 การสนทนา 1.3 การสะสมผลงานของเด็ก
1.4 การซักถาม
การวัดและการประเมินทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ระดับเด็กปฐมวัย (ต่อ)
2. ขั้นบันทึกและสรุปพฤติกรรม 3. ขั้นบันทึกแบบประเมิน 4. ขั้นพิจารณาจัดประสบการณ์
สาหรับเด็ก
กิจกรรมตามตารางประจาวัน
กิจกรรมตามตารางประจาวัน
กิจกรรมตามตารางประจาวัน
ตารางต่อไปนี้ ดูได้จากเอกสารประกอบการสอน หน่วยที่ 7 ถ้าดูจากสื่อนี้ ตัวอักษรอาจเล็กเกินไป
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
1. ทักษะการสังเกต
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
- สังเกตจากการที่เด็กบอก คุณสมบัตข ิ องสิ่งของโดยผ่าน ประสาทสัมผัสทั้งห้า 1. ด้านการมองเห็น 2. ด้านการชิมรส 3. ด้านการได้ยิน 4. ด้านการดมกลิ่น 5. ด้านการสัมผัส
รับรู้ดว ้ ยประสาทสัมผัสทั้งห้า โดยแสดงความสามารถบอกผล การสังเกต ตัวอย่าง เช่น ในการ สังเกตใบไม้ เมื่อครูถาม เด็ก ๆ เห็นอะไรบ้าง (เห็นใบไม้) มี อะไรบ้าง (มีก้านใบ มีเส้นใบ) พบ อะไรบ้าง(มีจด ุ สีนา้ ตาล) สี อะไรบ้าง (สีเขียว สีเหลือง สี น้าตาล)พืน ้ ผิวมีลักษณะอย่างไร (ขรุขระ)รูปร่างอะไร(กลมๆ รี ปลายแหลมๆ) หรือในการสังเกตผล ส้มเขียวหวาน ครูถามว่าผลส้มมี รูปร่างอะไร
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ (กลม รีๆ) ผิวส้มมีลักษณะอย่างไร (ผิวเรียบ เป็นมัน สีเขียว มีลาย เป็นเม็ดเล็ก ๆ มีจุดสีเขียว กระจาย) ให้เด็กดมผิวส้ม ภายนอก แล้วให้ปอกส้มแล้วถาม คาถาม ส้มที่ปอกแล้วมีลักษณะ อะไรบ้าง( ผิวมีกลิ่น ผิวด้านในสี ขาว ไม่เรียบ ผิวที่ติดกับเนือ ้ ส้ม เป็นเส้น มีกลิ่นน้อยกว่าผิวนอกที่ มีเขียว) รสชาติอะไร และอธิบาย ผลจากการสังเกตโดยผ่านการใช้ ประสาทสัมผัสทั้งห้าได้
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
2. ทักษะการจาแนก ประเภท
แนวทางการประเมิน
1. จาแนกประเภทตามความ เหมือน ความแตกต่าง 2. การจัดหมวดหมู่สงิ่ ของ 3. การเรียงลาดับสิง่ ต่าง ๆ 4. การเรียงลาดับเหตุการณ์
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 1. เด็กสามารถบอกหรือแสดง การจาแนก เปรียบเทียบสิง่ ต่าง ๆ ตามลักษณะความเหมือน ความ แตกต่างหรือคุณสมบัติ อื่น ๆ ได้ เช่น สี รูปร่าง กลิ่น รส เสียง สัมผัส สามารถจัดกลุม ่ ความ เหมือนหรือความต่างกันได้ ในขณะทากิจกรรมประจาวัน 2. เด็กสามารถจัดสิง่ ต่าง ๆ เป็น หมวดหมู่ เช่น การเก็บเครือ ่ งเล่น เข้าที่ตามสี ขนาด รูปทรง ฯลฯ
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 3. เด็กสามารถเรียงลาดับสิง่ ต่าง ๆ ได้ เช่น เข้าแถวเรียงลาดับ ตามความสูงไปหาเตีย ้ จัดของเล่น เรียงลาดับจากใหญ่ไปหาเล็ก เรียงลาดับดินสอจากดินสอแท่ง ยาวไปหาดินสอแท่งสัน ้ เรียงลาดับสีเทียนจากแท่งยาวไป หาสีเทียนแท่งสัน ้ ลงตามลาดับ
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 4. เด็กสามารถเรียงลาดับ เหตุการณ์ได้ เช่น การแปรงฟัน มีลาดับขัน ้ ตอนอะไรบ้าง การ รับประทานอาหารมีขน ั้ ตอน อะไรบ้าง เช่น เมื่อถึงเวลา รับประทานอาหาร ให้ไปล้างมือ ให้สะอาด แล้วมาที่โต๊ะอาหาร รับอาหารจากครู เมื่อครูอนุญาต ให้รับประทานได้กร็ บ ั ประทาน อย่างเรียบร้อย ไม่ให้หกออกมา เขี่ยอาหารลงมาจากขอบภาชนะ (จานหรือถาด) ไม่พูดคุยกัน ไม่ ส่งเสียงดังขณะทานอาหาร
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ถ้าอาหารหมดแต่ยงั ไม่อม ิ่ ให้ยก มือบอกครูเพือ ่ ให้นาอาหารมาเพิม ่ เมื่อรับประทานอาหารเสร็จแล้ว ให้ดื่มน้า แล้ววางลงให้เรียบร้อย แล้วคอยครู คอยเพื่อนให้ลก ุ จาก โต๊ะอาหารพร้อมกัน เป็นต้น
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 3. ทักษะการวัด
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
1. การเลือกเครือ ่ งมือในการ วัด 2. บอกเหตุผลในการเลือก เครื่องมือ 3. การใช้เครือ ่ งมือในการวัด 4. มีหน่วยกากับเสมอ
1. เด็กสามารถเลือกใช้เครือ ่ งมือ ในการวัดได้ถูกต้องด้วยตนเอง เช่น เด็กเลือกใช้ไม้บรรทัดวัด ความยาว ของสมุด ดินสอ แต่ เลือกใช้สายวัด วัดรอบผลส้ม หรือเลือกใช้ตาชัง่ ชั่งน้าหนักของ ผลส้ม เป็นต้น 2. บอกเหตุผลในการเลือก เครื่องมือได้ดว ้ ยตนเอง ว่าเหตุที่ เลือกเครื่องมือตามข้อ 1 เพราะวัด ได้สะดวก
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 3. เด็กสามารถใช้เครือ ่ งมือวัด และแสดงวิธว ี ด ั ได้อย่างถูกต้อง ด้วยตนเอง เช่น การวัดด้วยไม้ บรรทัด ต้องเริม ่ วัดจากจุดเริม ่ ต้น ของความยาว ไปจนถึงจุดสิน ้ สุด และไม้บรรทัดต้องแนบขนานไป ตามความยาวของสิ่งทีต ่ อ ้ งการวัด 4. เมื่อวัดแล้วต้องมีหน่วยกากับ เสมอ เช่น สมุดยาว 10 นิ้ว รอบ ผลส้มยาว 12 นิ้ว หรือ ผลส้มหนัก 1 ขีด (100 กรัม)
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 4. ทักษะการสื่อ ความหมาย
แนวทางการประเมิน
1. การนาเสนอข้อมูลด้วย การพูดแสดงความคิดเห็น 2. บรรยายหรืออธิบายสิง่ ที่ ต้องการให้ผู้อื่นรูไ ้ ด้อย่าง ถูกต้อง
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 1. เด็กสามารถ พูด เล่าเรื่อง บรรยาย แสดงความคิดเห็นด้วย การพูด อธิบายเหตุผล ที่เป็น ความคิดของตนเองได้ 2. บอกหรือสรุปสิง่ ที่ผู้อน ื่ แสดง ความคิดเห็นให้ฟงั ได้และสามารถ ตอบให้ครูเข้าใจได้วา่ พูดหรือ นาเสนอเกี่ยวกับเรือ ่ งอะไร
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 5. ทักษะการลงความเห็น
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
เพิ่มความคิดเห็นให้กบ ั ข้อมูล ที่ได้จากการสังเกต
- มีความสามารถในการเพิ่มความ คิดเห็นให้กบ ั ข้อมูลที่ได้จากการ สังเกตได้ดว ้ ยตนเอง เช่น จาก กิจกรรมการสังเกตผลส้มเขียว หวานส้มบางผลมีผิวสีเขียว เด็ก สามารถลงความเห็นได้ว่า ส้มยัง ไม่สุกงอม แต่ส้มบางผลมีผิวสี เหลืองอมส้ม เด็กสามารถลง ความเห็นได้วา่ ส้มนี้สุกงอมแล้ว (เรามักไม่เรียกส้มว่าสุกงอม กิจกรรมนีถ ้ า้ จะให้ชด ั เจนควรใช้ กล้วยน้าว้า หรือ กล้วยไข่ หรือ มะม่วงก็ได้)
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ หรือจากการสังเกตใบไม้บางใบมี สีเขียว เด็กสามารถลงความเห็น ได้ว่า ใบไม้สด แต่ใบไม้บางใบมีสี เหลืองหรือสีนาตาล ้ เด็กสามารถ ลงความเห็นได้วา่ ใบไม้นแ ี้ ก่ เริ่ม แห้งแล้ว เป็นต้น
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
6. ทักษะการหา ความสัมพันธ์ระหว่างสเปส กับเวลา
1. การวาดรูป 2 มิติจากวัตถุที่ กาหนดให้ 2. การบอกได้วา่ วัตถุใดเป็น 2 มิติ และวัตถุใดเป็น 3 มิติ 3. การบอกตาแหน่งบน ล่าง ซ้าย ขวา หน้า หลัง ใกล้ ไกล ทิศตะวันออก ทิศ ตะวันตก ของวัตถุได้ 4. การบอกตาแหน่งของวัตถุ กับอีกวัตถุหนึง่ ได้
1. วาดรูป 2 มิติจากวัตถุที่ กาหนดให้ได้ดว ้ ยตนเอง โดยมี รายละเอียดของภาพชัดเจน เช่น ให้เด็กวาดภาพ แก้วน้า ภาพผล ส้ม ภาพผลกล้วย ภาพขวดน้า หรือสิ่งของต่าง ๆ ที่ครูเห็นว่ามี รายละเอียดไม่มากเกิน ความสามารถของเด็กระดับ ปฐมวัย
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 2. บอกวัตถุที่เป็น 2 มิติ (สิ่งที่มี 2 มิติ มักไม่เป็นวัตถุ เพราะมีเพียง 2 ด้าน ได้แก่ เงา ภาพที่เกิดจากเงา เป็นต้น ส่วนวัตถุ 3 มิติ คือ สิ่งของทุกอย่างในโลกนี้ ถ้าเห็น เป็นชิ้นเป็นอัน หยิบ จับต้องได้ จะเป็นวัตถุ 3 มิติ ได้แก่ สมุด ปากกา ดินสอ แก้วน้า กระเป๋า กล่อง รองเท้า ไม้บล็อก อุปกรณ์ ของเล่น ภาพต่อ ครูพยายามสอน ให้เด็กเข้าใจ เมื่อเด็กตอบคาถาม ยกตัวอย่างได้ แสดงว่าเกิดทักษะ
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 3. บอกตาแหน่งหรือทิศทางของ วัตถุหนึง่ ได้อย่างถูกต้อง เช่นวัตถุ นี้ อยู่บน ล่าง ข้างซ้าย ข้างขวา หน้า หลัง ใกล้ ไกล ด้วยตนเอง 4. บอกได้อย่างถูกต้องว่าวัตถุ หนึ่งอยู่ในตาแน่งที่อยูข ่ องอีกวัตถุ หนึ่งได้ดว ้ ยตนเอง เช่น กล้วย วางอยู่บนจานสีฟา้ สมุดอยูบ ่ น ชั้นวางของ เป็นต้น
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 5. บอกความสัมพันธ์ระหว่างการ เปลี่ยนแปลงตาแหน่งที่อยูข ่ อง วัตถุกับเวลาได้อย่างถูกต้องด้วย ตนเอง เช่น เวลาเช้า ดวงอาทิตย์ อยู่ทางทิศตะวันออก เวลาเย็น อาทิตย์อยูท ่ างทิศตะวันตก หรือ การเดินข้ามถนน ตาแหน่งที่อยู่ ของตัวเรา กับตาแหน่งที่อยู่ของ รถยนต์ทแ ี่ ล่นมา มีความสัมพันธ์ กัน และมีเวลาเข้ามาเกีย ่ วข้อง
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 6. บอกความสัมพันธ์ระหว่างการ เปลี่ยนแปลงขนาดหรือปริมาณ ของสิง่ ต่าง ๆ กับเวลา เช่น วาง ก้อนน้าแข็งก้อนใหญ่ไว้บนโต๊ะ เวลาผ่านไป 1 ชั่วโมง จะเป็น อย่างไร ร่างกายของเด็กขณะนี้ กับเวลาที่ผ่านไป 1 ปี จะเป็น อย่างไร ต้นไม้ที่ปลูกไว้วันนี้ ถ้า ดูแลอย่างดีเมือ ่ เวลาผ่านไป 1 ปี จะเป็นอย่างไรได้อย่างถูกต้อง ด้วยตนเอง
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 7. ทักษะการใช้ตว ั เลข
แนวทางการประเมิน
1. การนับจานวนสิง่ ของได้ (จานวนไม่เกิน 20) 2. การใช้ตว ั เลขแสดงแทน จานวนที่นบ ั ได้ (จานวนไม่ เกิน 10) 3. การตัดสินว่าสิง่ ของใน แต่ละกลุม ่ มีจานวนเท่ากัน น้อยกว่า มากกว่า และ แตกต่างกัน (จานวนไม่เกิน 20)
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 1. นับจานวนได้ถูกต้องด้วย ตนเอง 2. เขียนตัวเลขแสดง แทนสิง่ ของ ที่นับได้ถูกต้องด้วยตนเอง 3. สามารถบอกได้วา่ สิง่ ของใน แต่ละกลุม ่ มีจานวนเท่าไร เท่ากัน หรือไม่ได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
แนวทางการประเมิน
พฤติกรรมและความสามารถ ที่แสดงว่าเด็กมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
4. การตัดสินว่าสิง่ ของในกลุม ่ 4. สามารถบอกได้วา่ สิง่ ของใน ใดมีจานวนเท่ากัน น้อยกว่า กลุม ่ ใดมีจานวนเท่ากัน น้อยกว่า มากกว่า และแตกต่างกัน มากกว่า และแตกต่างกันได้อย่าง (จานวนไม่เกิน 20) ถูกต้องด้วยตนเอง
การประเมินผลการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ ระดับปฐมวัย
ให้นักศึกษาดูจากตารางที่ 7.2 ในเอกสาร ประกอบการสอน หน่วยที่ 7
ให้นักศึกษาทาแบบฝึกปฏิบัติหน่วยที่ 7 และให้ตอบแบบฝึกหัดท้ายบท หาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 7 และให้สง่ งานตามเวลา ที่อาจารย์ผู้สอนนัดหมาย
ขอให้โชคดี