หน่วยที่ 5
การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ สาหรับเด็กปฐมวัย
ผศ.ชุลพ ี ร สงวนศรี รศ.ทิพย์วล ั ย์ สีจันทร์
ความหมายของการจัดประสบการณ์
ทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมทีเ่ ด็กได้มีโอกาสใช้ประสาท สัมผัสทัง้ ห้า ได้ลงมือปฏิบัตจ ิ ริงด้วยตนเอง จากความต้องการ ความสนใจ ความอยากรู้ อยากเห็น เป็นการตอบคาถามทีเ่ ด็กสงสัย เป็นการหาคาตอบด้วยตนเองจากกิจกรรมทีม ่ ี ความหลากหลาย ให้เด็กได้เลือกปฏิบัตต ิ าม ความต้องการ มีครูคอยอานวยความสะดวก
ความสาคัญและประโยชน์ 1. เด็กได้ประสบการณ์ เกิดการเรียนรู้ จดจาได้นาน 2. เด็กรับรู้การเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีและ วิทยาศาสตร์ ทาให้ ทันโลก ทันเหตุการณ์
ความสาคัญและประโยชน์ (ต่อ) 3. เด็กได้แสดงความสามารถ ความคิด ความรู้ ให้เป็นทีย ่ อมรับใน กลุ่มเพื่อน 4. เด็กเรียนรูแ ้ ละรักทีจ ่ ะทางานหรือ สร้างสรรค์ ผลงานทีด ่ ีและเป็น ประโยชน์
ความสาคัญและประโยชน์ (ต่อ) 5. เด็กประสบความสาเร็จจากการทา กิจกรรม เป็นการสร้างความมัน ่ ใจ และสร้างคุณค่าให้กบ ั ตนเอง 6. เด็กได้รับการเตรียมความพร้อม ทางการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ และ ด้านภาษาด้วย
ความสาคัญและประโยชน์ (ต่อ) 7. เด็กมีอส ิ ระในการแสดงออก การใช้ความคิดหาเหตุผลในการเลือก ทากิจกรรม เด็กเกิดความพึงพอใจ ตอบสนองความต้องการของเด็ก 8. เด็กได้ฝก ึ ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์
ความสาคัญและประโยชน์ (ต่อ) 9. เด็กได้เรียนรูก ้ ระบวนการในการ ค้นคว้าข้อมูลทีเ่ ป็นระบบ ช่วยให้คิด
อย่างเป็นระบบ 10. เด็กได้ทากิจกรรมซ้าบ่อย ๆ ช่วยให้เด็กมีจต ิ วิทยาศาสตร์ หรือ เจตคติทาง วิทยาศาสตร์เพิม ่ ขึ้น
ความสาคัญและประโยชน์ (ต่อ) 11. เด็กได้พัฒนาทักษะในการ เคลื่อนไหว 12. เด็กได้เรียนรู้ความก้าวหน้าทาง วิทยาศาสตร์ สามารถปรับตัวให้เข้า กับสังคมที่มีการเปลีย ่ นแปลง
จุดมุ่งหมายของการจัดประสบการณ์ ทางวิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย
1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้รบ ั ความรู้ 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กฝึกทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. เพื่อส่งเสริมความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์
จุดมุ่งหมายของการจัดประสบการณ์ทาง วิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 4. เพื่อให้เด็กมีจต ิ วิทยาศาสตร์
เกิดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 5. นาความรูจ ้ ากการจัดประสบการณ์
ทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ประโยชน์ใน การแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน
จุดมุ่งหมายของการจัดประสบการณ์ทาง วิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 6. ส่งเสริมการใช้ประสาทสัมผัสทัง้ ห้า ให้ได้ทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ 7. ส่งเสริมความสามารถของเด็กเป็น
รายบุคคลและเป็นกลุม ่
จุดมุ่งหมายของการจัดประสบการณ์ทาง วิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 8. ให้เด็กปฏิบต ั ิกจ ิ กรรมที่เป็น ประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม
9. ให้เด็กแสวงหาความรู้ กล้า แสดงออก ทางด้านการคิด การพูด และการลงมือทา
จุดมุ่งหมายของการจัดประสบการณ์ทาง วิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 10. ฝึกให้เด็กเป็นผูน ้ าและผูต ้ ามที่ดี
มีเหตุผลยอมรับความคิดเห็นของครู และของเพือ ่ น
11. ให้รู้จก ั ปรับตัว อดทน เสียสละ ความรับผิดชอบ ฝึกการรอคอย และการตรงต่อเวลา
จุดมุ่งหมายของการจัดประสบการณ์ทาง วิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ)
12. เกิดความซาบซึ้ง ชื่นชม เห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมและการ อนุรักษ์ธรรมชาติ 13. ให้เด็กเป็นผูท ้ ใ ี่ ฝ่รู้ ชอบการ ค้นคว้าทดลอง
จุดมุ่งหมายของการจัดประสบการณ์ทาง
วิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 14. ให้ตระหนัก เห็นคุณค่าประโยชน์ ของวิทยาศาสตร์
15. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 16. ให้เด็กมีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าตัดสินใจ
จุดมุ่งหมายของการจัดประสบการณ์ทาง
วิทยาศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 17. ให้เด็กเรียนรู้กระบวนการทางาน ที่เป็นไปตามลาดับขั้นตอน 18. ให้เด็กนาทักษะทางวิทยาศาสตร์
ด้านต่าง ๆ ไปเป็นพื้นฐานเพือ ่ พัฒนา ทักษะทีส ่ ูงขึ้น
หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ สาหรับเด็กปฐมวัย
1. ต้องมีการวางแผนทีด ่ ี กาหนด จุดมุ่งหมายทีช ่ ัดเจน
2. มุ่งเน้นพัฒนาความรู้ ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ
ให้มีจต ิ วิทยาศาสตร์ หรือเจตคติทาง วิทยาศาสตร์
หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 3. เลือกกิจกรรมทีเ่ หมาะสมกับ ความสามารถตามวัยและความสนใจ ของเด็ก
4. แนะนาวัสดุอุปกรณ์ ชักชวนให้เด็ก สนใจ และลงมือปฏิบัติ
หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 5. จัดประสบการณ์หลาย ๆ ประเภท เช่น การสาธิต การเล่านิทาน การอภิปราย และการปฏิบัตก ิ ารทดลอง 6. ใช้คาถามกระตุน ้ ให้เด็กคิดและ
กระตือรือร้นทีจ ่ ะค้นหาคาตอบด้วยตนเอง
หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 7. ให้เด็กถามคาถาม ครูไม่ควรตอบเด็ก ทันที แต่ให้โอกาสเด็กได้ทากิจกรรมที่ เด็กค้นพบด้วยตนเอง 8. ยืดหยุ่นเวลาให้โอกาสเด็กได้ทา
กิจกรรมต่อไป เมื่อเด็กยังให้ความสนใจ
หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 9. ให้เด็กเลือกทากิจกรรมต่าง ๆ จาก ความสนใจและความต้องการด้วยความสุข
10. ให้มีความต่อเนื่องสม่าเสมอ และ หมุนเวียนสับเปลีย ่ นกิจกรรมไปตาม เหตุการณ์
หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 11. การจัดสภาพแวดล้อมให้น่าสนใจ
ปลอดภัย 12. ควรเป็นเรือ ่ งราวทีใ ่ กล้ตว ั เด็ก มีความหมายกับเด็ก
หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ)
13. เปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการจัด 14. เด็กปฐมวัยนัน ้ เป็นนักวิทยาศาสตร์ โดยธรรมชาติอยู่แล้วจัดสภาพแวดล้อม เอื้อให้เด็กได้สารวจ ค้นพบ
การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ แบบเป็นทางการ
ครูเป็นผูก ้ าหนดหัวเรือ ่ งให้เด็ก พร้อมทัง้
เป็นผู้เตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จะต้อง ใช้เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ไว้อย่าง พร้อมเพรียง โดยครูควรอธิบายวิธก ี าร ทางานก่อน แล้วจึงให้เด็กลงมือปฏิบต ั ิ ด้วยวิธก ี ารของตนเอง (มีต่อ)
การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ แบบเป็นทางการ (ต่อ)
ขณะเด็กกาลังปฏิบต ั ิกิจกรรมครูควร เดินดูอย่างใกล้ชิด หลังจากเด็กปฏิบต ั ิ
เสร็จแล้ว ครูและเด็กอภิปรายร่วมกัน โดยอาจจัดเป็นกลุม ่ ใหญ่ กลุ่มย่อย หรือรายบุคคล
การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
แบบไม่เป็นทางการ การสร้างเสริมประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ ที่เปิดโอกาสให้เด็กเลือกทากิจกรรมตามความ
สนใจ และตามวิธีการของเด็กเอง ครูเป็นผู้ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมและเพียงพอ
สาหรับเด็กทุกคน ครูเป็นผู้กระตุ้นความสนใจ ให้เด็กอยากเรียนรู้ อยากทดลองทา
กิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง
การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
แบบตามเหตุการณ์ทเี่ กิดขึ้น
• การนา เรื่องราวเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ที่ เกิดขึ้นรอบตัวเด็ก มีความเกีย ่ วข้องกับ เด็กมาจัดกิจกรรม เหตุการณ์ทเี่ กิดขึ้น ตามธรรมชาติ เหตุการณ์ทม ี่ นุษย์ทาให้
เกิดขึ้น เหตุการณ์ทม ี่ ีความสัมพันธ์กบ ั ชีวิตของเด็ก
ประเภทการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
สาหรับเด็กปฐมวัย 1. การจัดประสบการณ์แบบสนทนาและ อภิปรายซักถาม เปิดโอกาสให้เด็กได้พด ู คุย และ
สนทนา แสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยน กับเพือ ่ นๆ
ประเภทการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 2. การจัดประสบการณ์แบบการเล่านิทาน
และละครสร้างสรรค์ เด็กได้รบ ั ประสบการณ์ตรง ได้ถา่ ยทอด
ความคิดโดยแสดงท่าทางประกอบ เนื้อหา น่าสนใจ เด็กเข้าใจง่ายขึ้น เป็นการเรียนรู้
โดยผ่านทางการเล่น และการแสดงออก
ประเภทการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ)
3. การจัดประสบการณ์แบบสาธิต ครูสาธิตให้เด็กสังเกตจากการ ปฏิบัติจริง ช่วยให้เด็กเข้าใจ จดจา ได้ดี
ประเภทการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 4. การจัดประสบการณ์แบบปฏิบัตก ิ าร ทดลองและการทาอาหาร
เปิดโอกาสให้เด็กได้ทดลองทาด้วยตนเอง เรียนรูจ ้ ากกระบวนการทางาน ใช้ประสาท สัมผัส ช่วยให้มท ี ก ั ษะนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน
ประเภทการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 5. การจัดประสบการณ์แบบการศึกษานอก สถานที่
ให้เด็กศึกษาจากสภาพจริง สถานทีจ ่ ริง ได้ประสบการณ์ตรง ศึกษาสิ่งทีไ ่ ม่สามารถ นามาให้ดใ ู นห้องเรียนได้
ประเภทการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 6. การจัดประสบการณ์แบบการเล่นเกมและ บทบาทสมมุติ ได้ฝก ึ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
เด็กได้เรียนรูบ ้ ทบาทหน้าที่ของตนในการอยู่ ร่วมกับผูอ ้ น ื่ ในสังคม
ประเภทการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 7. การจัดประสบการณ์แบบการทาสวน ปลูกพืช
ส่งเสริมให้เด็กใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เรียนรูจ ้ ากประสบการณ์ตรง เด็กได้ฝึกการ
สังเกต สร้างความสามัคคีในกลุม ่ เพือ ่ น รู้จักรักษาสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ
ประเภทการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ สาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) 8. การจัดประสบการณ์แบบผสมผสาน
นาวิธีการจัดประสบการณ์แบบต่างๆ มาจัดอย่างผสมผสานกลมกลืนกัน
วิธีจัดกิจกรรม - ขั้นนา
- ขั้นรวบรวมข้อมูล - ขั้นสรุปผล
ตัวอย่างแผนการจัดประสบการณ์ ทางวิทยาศาสตร์ ชื่อหน่วย ผักบุ้งของฉัน
ให้ดูรายละเอียดในเอกสาร ประกอบการสอนหน่วยที่ 5
ให้นักศึกษาทาแบบฝึกปฏิบัติหน่วยที่ 5 และให้ตอบแบบฝึกหัดท้ายบท หาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 5
และให้ส่งงานตามเวลา ที่อาจารย์ผู้สอนนัดหมาย ขอให้โชคดี