หน่วยที่ 3 การคิดกับการใช้คาถาม สาหรับเด็กปฐมวัย ผศ.ชุลีพร สงวนศรี รศ.ทิพย์วัลย์ สีจันทร์
ความหมายของการคิด
เป็นความสามารถในการคิดสิ่งต่าง ๆ เกิดขึ้นและดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา
การเรียนรู้จากการคิด การเรียนรู้จากการคิด
กระบวนการทางสมอง
การคิด การแก้ปัญหา การจา การสร้างองค์ความรู้
ผลผลิตเมื่อสิ้นสุด กระบวนการทางสมอง
องค์ความรู้ที่บอก หรืออธิบายได้ การกระทาที่เป็นผลจากการคิด การแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล ผลงานที่เกิดจาก องค์ความรู้และการจา
การคิดคือ “ฝนกาลังตก”
การคิดคือ “การไปเที่ยวสวนสัตว์”
การคิดคือ “ครอบครัวแสนสุข”
การคิดคือ “การใช้สมอง”
การคิดคือ “เรื่องที่เราคิดได้ด้วยตนเอง”
การคิดคือ “การแสดงเหตุและผล”
การคิดคือ “จะไปฉลองปีใหม่ที่ทุ่งทานตะวัน”
ความสาคัญของการคิด การคิดมีความสาคัญ ต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ดังนี้ • รู้จักแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล • เรียนรู้วิธีการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
ความสาคัญของการคิด(ต่อ) • ได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ • มีโอกาสหาคาตอบจากการทา กิจกรรมวิทยาศาสตร์
ความสาคัญของการคิด(ต่อ) • เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องอยู่
ตลอดเวลา • สามารถแก้ปัญหาที่ซับซ้อนได้ถ้า ปัญหานั้น • มีความเกี่ยวข้องกับเด็ก
ความสาคัญของการคิด(ต่อ) • เด็กฝึกทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ • มีโอกาสหาคาตอบจากการทากิจกรรม วิทยาศาสตร์ • เรียนรู้ศักยภาพทางการคิดของตนเอง
บทบาทครูในการส่งเสริมการคิด สาหรับเด็กปฐมวัย ครูควรระลึกเสมอว่า เด็กจะต้องสะท้อนการได้มาซึ่งคาตอบ และแลกเปลี่ยนวิธีการแก้ปัญหากับ เพื่อนในชั้น การได้คาตอบอาจมีมากกว่า 1 วิธี
บทบาทครูในการส่งเสริมการคิดสาหรับ เด็กปฐมวัย (ต่อ) ครูควรนาเสนอปัญหา ครั้งละไม่เกิน 1 – 2 ปัญหาต่อวัน โดยการเล่านิทาน ตั้งคาถาม หรือการ วาดภาพเพื่อแสดงวิธีการแก้ปัญหา
การคิดกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เด็กปฐมวัยเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากการใช้ ประสาทสัมผัส ครูจึงมีบทบาทสาคัญใน การจัดประสบการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้เด็กมี โอกาสได้ใช้ประสาทสัมผัสเพื่อฝึกการคิด และทักษะทางวิทยาศาสตร์
การใช้คาถามสาหรับเด็กปฐมวัย หากเด็กได้รับการกระตุ้นและมีการ เตรียมความพร้อมด้วยการใช้คาถาม อย่างถูกวิธีจะส่งผลให้พัฒนาการทาง สติปัญญาเจริญงอกงาม
การใช้คาถามสาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) คาถามจึงช่วยพัฒนากระบวนการ คิด ส่งเสริมให้เด็กคิดอย่างมี เหตุผล ให้เด็กสนใจสิ่งต่าง ๆ ช่วยส่งเสริมและท้าทายความ อยากรู้อยากเห็นของเด็ก
การใช้คาถามสาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ครูควรฝึกถามคาถามเพื่อ กระตุ้นการคิด ค้นหาคาตอบ โดยนาประสบการณ์เดิมและ
การใช้คาถามสาหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ) ประสบการณ์ใหม่มาเป็นพื้นฐาน ให้เด็กตอบคาถามอย่างมีอิสระ จะช่วยพัฒนาทักษะต่างๆ ของเด็ก ได้ดี
ลักษณะของคาถามที่ดี • เปิดโอกาสให้เด็กคิดวิเคราะห์
เพื่อให้ได้คาตอบ
• ให้เด็กคิดและจินตนาการถ่ายทอด ความคิดด้วยวิธีการที่เด็กเลือกด้วย ตนเอง
ลักษณะของคาถามที่ด(ี ต่อ)
• เปิดกว้างให้เด็กมีอิสระทางความคิดโดยไม่ คานึงถึงคาตอบว่าจะต้องเป็นจริงเสมอไป
• ให้เด็กทุกคนได้แสดงความคิดเห็นจากสิ่งที่ อยู่ใกล้ตัวเด็กหรือเริ่มจากสิ่งที่ง่ายไปสู่สิ่งที่ ยากขึ้น
ลักษณะของคาถามที่ด(ี ต่อ)
• ตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น ตามวัยและธรรมชาติของเด็ก
เทคนิคการใช้คาถาม 1. ยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง มุ่งให้เด็กหาคาตอบด้วยตนเอง • ให้เด็กรู้สึกปลอดภัย อบอุ่นใจ (ยังมีต่อ)
•จัดกิจกรรมที่เด็กสนใจ เพื่อกระตุ้นการคิด เช่น การระดมพลังสมอง •ใช้คาถามที่ช่วยเร้าความสนใจ ความอยากรู้อยากเห็น (ยังมีต่อ)
2. การใช้คาถามที่เหมาะสมกับวัย เด็กปฐมวัยยึดตนเองเป็นสาคัญ พัฒนาการทางภาษาก้าวหน้า สามารถบอกเหตุผลอย่างง่าย ได้จากประสบการณ์เดิมของ ตนเอง
3. ครูควรใช้ภาษาที่ง่ายๆน้าเสียง นุ่มนวลชัดเจน และที่ สาคัญต้องมีจุดมุ่งหมายในการ ถามว่าการถามนี้เพื่อต้องการทราบ ว่าจะให้เด็กเกิดพฤติกรรมใด
ประเภทของคาถาม 1. แบ่งตามลักษณะของการคิด - จากการสังเกตและการจา - มีการคิดอย่างสร้างสรรค์
ประเภทของคาถาม (ต่อ) 2. แบ่งตามวัตถุประสงค์ - ให้สังเกต - ให้ทบทวนความจา - ให้บอกความหมาย/ คาจากัดความ
ประเภทของคาถาม (ต่อ) - ให้อธิบาย - คาถามเปรียบเทียบ - แบบจาแนกประเภท - ให้ยกตัวอย่าง - ให้วิเคราะห์
ภาพวาดประกอบคาถามและคิดคาตอบ “หนูไปทะเลมีปูมีปลากับต้นมะพร้าว”
ภาพวาดประกอบการคิดและคาถามที่เด็กๆ อยากรู้ “ปลากาลังว่ายน้าไปที่ไหน”
ให้ดูตัวอย่าง คาถามที่นาไปสู่ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในเอกสารประกอบการสอน หน่วยที่ 3 ดูในสื่อนี้ตัวอักษรเล็กเกินไป
ตัวอย่างคาถามที่นาไปสู่ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์
ลักษณะที่แสดงว่ามีทักษะ
1. ทักษะการสังเกต ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตได้แก่ ข้อมูลเชิง คุณภาพ เช่น สี รูปร่าง ลักษณะ พื้นผิว กลิ่น การมีเสียง ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลจากการ ประมาณ ได้แก่ จานวน(ไม่เกิน3-5) มาก น้อย สูง เตี้ย กว้าง
1. ใช้ประสาทสัมผัสมากส่วน ที่สุด แต่ไม่มีอันตรายสังเกตวัตถุ หรือปรากฎการณ์โดยละเอียด 2. บ่งชี้หรือบรรยายคุณสมบัติ ของวัตถุ 3. ไม่ใส่ความคิดของตน
1. ผลไม้ที่ครูถืออยู่นี้มีลักษณะอย่างไร 2. จะเกิดอะไรขึ้นถ้านาขนมปังกรอบใส่ ลงไปในแก้วนม 3. น้าผลไม้ในแก้วที่ 1 กับแก้วที่ 2 แตกต่างกันหรือเหมือนกันอย่างไร
2. ทักษะการจาแนกประเภท
1. แยกประเภทได้ 2. จัดจาพวกเองได้บอกประเภท ที่ผู้อื่นจาแนกไว้ได้ 3. เรียงลาดับสิ่งของได้ 4. เรียงลาดับเหตุการณ์ได้
1. ให้แบ่งกลุ่มผลไม้ที่มีอยู่เป็น 3 กลุ่ม โดยกาหนดเกณฑ์ด้วยตนเอง 2. ให้แบ่งกลุ่มสิ่งของที่มีอยูโ่ ดยอธิบาย เกณฑ์การแบ่ง 3. ให้เรียงลาดับการงอกของถั่วเขียว 4. เรียงลาดับการเกิดฝนตก
ตัวอย่างคาถามที่นาไปสู่ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างคาถามที่นาไปสู่ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 3. ทักษะการวัด ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการวัด -เครื่องมือวัด -วิธีวัด -สิ่งที่จะวัด
4. ทักษะการสื่อความหมาย
ลักษณะที่แสดงว่ามีทักษะ
ตัวอย่างคาถามที่นาไปสู่ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1.เลือกเครื่องได้เหมาะสมกับสิ่งที่วัด 2.แสดงวิธีวัดได้ถูกต้อง 3.มีหน่วยกากับ
1. น้องส้มสูงเท่าไร ใช้อะไรวัด หน่วย วัดคืออะไร 2. แครอทหัวนี้หนักเท่าไร ใช้อะไรวัด หน่วยวัดคืออะไร 3. แสดงวิธีวัดให้ดูซิ 4. ดินสอแท่งนี้ยาวเท่าใร ใช้อะไรวัด หน่วยวัดคืออะไร
1. บอก อธิบาย บรรยาย ให้ผู้อื่น เข้าใจได้ 2. ใช้วิธีวาดภาพเพื่อสื่อความหมายได้ 3.อาจเขียนแผนผัง หรือแผนภูมิ ง่าย ๆ ได้
1.นักเรียนอธิบายวิธีเพาะเมลดดผักบุ้ง 2.ให้บอกขั้นตอนการเพาะเมลดดผักบุ้ง 3. จะบันทึกการเจริญเติบโตของต้นไม้ที่ ปลูกด้วยวิธีใด 4. ให้นักเรียนออกมารายงานผลการ เพาะเมลดดผักบุ้ง
ตัวอย่างคาถามที่นาไปสู่ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (ต่อ) ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 5. ทักษะการลงความเหดน
ลักษณะที่แสดงว่ามีทักษะ
ตัวอย่างคาถามที่นาไปสู่ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ลงความเหดนจากสิ่งที่สังเกต ผสมผสานกับประสบการณ์เดิมได้
1. นักเรียนคิดว่าทาไมนกในกรงจึงตาย 2. ทาไมน้าจึงท่วม 3. ทาไมผ้าที่ตากไว้จึงแห้ง 4. ทาไมต้นกุหลาบจึงเหี่ยวเฉา
6. ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่าง 1.บอกทิศทางของวัตถุ สเปสกับเวลา
1. ตุ๊กตาและหนังสือที่ครูถืออยูน่ ี้ สิ่งใด อยู่ด้านบน และสิ่งใด อยู่ด้านล่าง 2. เดดกสังเกตดูสิว่าเพื่อนถือถ้วยนมด้วย มือข้างใด 3. กล่องใบนี้ใส่ดินสอได้กี่แท่งจึงจะเตดม กล่องพอดี
7. ทักษะการใช้ตัวเลข
1. นับจานวนผลไม้ทั้ง 3 ชนิดว่ามีชนิด ละกี่ผล 2. ผลไม้ชนิดที่ 1 กับผลไม้ชนิดที่ 2 นับรวมกันแล้วมีผลไม้ทั้งหมดกี่ผล
ให้นักศึกษาทาแบบฝึกปฏิบัติหน่วยที่ 3 และให้ตอบแบบฝึกหัดท้ายบท หาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 และให้ส่งงานตามเวลา ที่อาจารย์ผู้สอนนัดหมาย ขอให้โชคดี