a day BULLETIN 510

Page 1

TODAY EXPRESS PRESENTS

30 OCT 2017

511 510 509


02

รายงานดัชนีความสามารถในการแข่งขันระดับโลก ประจ�ำปี 2017-2018

AGENDA ความส�ำเร็จของ ฉลาดเกมส์โกง ทีข่ น ึ้ แท่นเป็นหนัง ท�ำเงินอันดับ 6 ใน Worldwide Box Office

COVER STORY แนวความคิดและประสบการณ์จากคนรุน ่ ใหม่ ผูม ้ ใี นหลวง รัชกาลที่ 9 เป็นต้นแบบในการใช้ชวี ต ิ

BEHIND THE COVER

CONTENTS

DATABASE

TODAY EXPRESS PRESENTS

30 OCT 2017

511 510 509

และการท�ำงาน

SPACE & TIME ร่วมออกเดินทางตามหาร่องรอยแห่งความทรงจ�ำ

I S S U E 510 30 Oct 2017

จากการน�ำทางของในหลวง รัชกาลที่ 9 ไปกับ ‘ที่ที่พ่อไป’

FOODIE อาหารจานพิเศษจากวัตถุดิบของโครงการหลวง ด้วยแรงบันดาลใจจากในหลวง รัชกาลที่ 9

THE CONVERSATION ครูอา๋ ย ศิลปินผูห ้ ลงรักการปักลวดลายผ้าทัง ้ หัวใจ

EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิการ ทัศนะต่อชีวิตและสังคม ผ่านสายตา วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ

ศิลปินปักลวดลายผ้าผูส ้ ร้างสรรค์ภาพปกของเรา ฉบับนีค ้ อื นพเก้า เนตรบุตร หรือ ‘ครูอา๋ ย’ ในชัว่ ชีวต ิ นี้ เธอปักภาพในหลวง รัชกาลที่ 9 เพียงไม่กภ ี่ าพ ภาพหนึง่ ่ ปีทแี่ ล้ว ภาพหนึง ่ ถูกน�ำเสนอในสกูป ๊ ของ a day เมือ ่ เดือน เพิง่ ได้เผยแพร่ในรายการทีวี Heart Work เมือ กันยายนทีผ ่ า่ นมา อีกภาพหนึง่ เป็นหน้าปกหนังสือของ อาจารย์ชมัยพร แสงกระจ่าง ภาพเหล่านี้เธอเริ่ม ลงมือปักในวันทีโ่ ศกเศร้าจากความสูญเสียพร้อมๆ กับ พสกนิกรทัง้ ประเทศ ครูอา๋ ยบอกว่า การปักผ้าคือ Heart Work ทุกฝีเข็มที่เธอบรรจงเรียงร้อยหวังจะให้เป็น แรงบันดาลใจและให้เกิดประโยชน์ตอ ่ ผูค ้ น ภาพปกของ a day BULLETIN ฉบับนีย้ งั ไม่เคยเผยแพร่ทไี่ หน เธอมอบ ให้กบ ั โรงเรียนดนตรี Legato Music และ นทีกาญจน์ ตัง ้ ไพศาลกิจ ทีอ ่ นุเคราะห์ให้ทม ี งานเราหยิบยืมมาถ่าย เพื่อใช้เป็นปกที่สวยสดงดงามนี้

ที่ปรึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการที่ปรึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ พิมพ์อร นทกุล กองบรรณาธิการ ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ พัทธมน วงษ์รัตนะ นักเขียน/ประสานงาน ตนุภัทร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ คเชนทร์ วงศ์แหลมทอง หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรม ชยุตม์ คชโกศัย สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�ำดวน ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ มิ่งขวัญ รัตนคช กองบรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ จักริน อินต๊ะวงค์ ผู้ จั ด การฝ่ า ยดิ จิ ต อลมี เ ดี ย ธนาคาร จั น ทิ ม า ผู้ ป ระสานงานฝ่ า ยดิ จิ ต อลมี เ ดี ย สิ ริ น ารถ อิ น ทะพั น ธุ์ ผู้ ช� ำ นาญการฝ่ า ยดิ จิ ต อลมี เ ดี ย กะรั ต เพชร บุ ญ ลั ก ษณ์ ศิ ริ ที่ ป รึ ก ษาฝ่ า ยโฆษณา ศรวณี ย์ ศิ ริ จ รรยากุ ล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ชินวัฒน์ เฟื้องฟู 09-4353-9639 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ณัฐรดา ตระกูลสม นักศึกษาฝึกงาน ภาณุทัช โสภณอภิกุล ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� ำ กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อี เ มล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com, www.godaypoets.com


a day bulletin

DATABASE

04

เรื่อง : ตนุภัทร โลหะพงศธร ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

ที่มา : World Economic Forum, The Global Competitiveness Report 2017–2018

THE GLOBAL COMPETITIVENESS

รายงานดัชนีความสามารถในการแข่งขันระดับโลก หรือ Global Competitiveness Index ประจ�ำ ปี 2017-2018 โดย World Economic Forum ถื อ เป็ น ข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ ที่ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ภาพรวม ความสามารถในการแข่งขันของแต่ละประเทศ อย่างรอบด้านและครบถ้วนที่สุด ซึ่งมีประโยชน์ ในการก� ำ หนดแนวทางการพั ฒ นาประเทศ เป็ น การยกระดั บ ความสามารถในการแข่ ง ขั น เพือ ่ เพิม ่ ประสิทธิภาพของประเทศ โดยเฉพาะ การเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ อั น ส่ ง ผล ถึงคุณภาพชีวต ิ และการเป็นอยู่ 06 ของประชากรในประเทศ hong kong ต่อไป

ุ่ม

ั บ กล

อันด

REPORT

ั นีความสามารถในการแ ี ช ใต้ที่มด ขง่ ขันระ ั ออกเฉียง ะวน ต ดับโลก ย ี ช เ อ เ ศ สงู สด ุ ประเท 04 netherlands

05

03

02

singapore

united states

01 switzerland

germany

อันดับ ปี 2016-2017 07

6 vietnam

sweden

55

08

9

united kingdom

09 japan

60

LAOS

98

93

7

philippines

3 Thailand

32

57

56 8 cambodia

34

94 10

อันดับ ปี 2017-2018

89

ดัชนีความสามารถ ในการแข่ ง ขั น ของ ประเทศไทย

2 malaysia

finland

23

25

5

46

1 singapore

3

brunei

2017

32

58

2

34

2016

4 indonesia

36

32

41

ดัชนีความสามารถในการแข่งขันของแต่ละประเทศ เกิดขึ้นจากการส�ำรวจและเก็บข้อมูลจากองค์กรระหว่างประเทศ โดยมีตัวชี้วัดทั้งหมด 114 ตัว

31

โดยจัดกลุ่มได้ 3 กลุ่ม มีทั้งหมด 12 ด้าน issue 510

A. กลุ่มดัชนีย่อยด้านความต้องการพื้นฐาน

B. กลุ่มดัชนีย่อยด้านการเสริมประสิทธิภาพ

C. กลุ่มดัชนีย่อยด้านนวัตกรรมและความเชี่ยวชาญ

30 OCT 2017

Pillar 1 : สภาพแวดล้อมด้านสถาบัน

Pillar 5 : การศึกษาขั้นสูงและการฝึกอบรม

Pillar 11 : ระดับการพัฒนาธุรกิจ

Pillar 2 : โครงสร้างพื้นฐาน

Pillar 6 : ประสิทธิภาพของตลาดสินค้า

Pillar 12 : นวัตกรรม

Pillar 3 : สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ มหภาค Pillar 4 : สุขภาพและการศึกษาพื้นฐาน

Pillar 7 : ประสิทธิภาพของตลาดแรงงาน

37

2013

Pillar 8 : พัฒนาการของตลาดการเงิน Pillar 9 : ความพร้อมด้านเทคโนโลยี Pillar 10 : ขนาดของตลาด

38

2012

2015

2014


05

เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ

AGENDA

“ในฐานะคนท� ำ งาน ผมรูส ้ ก ึ ว่าไม่วา่ จะเป็น ใครก็แล้วแต่ ผูก ้ ำ� กับ คนไหนก็แล้วแต่ แค่ ท�ำในสิ่งที่เชื่อ ท�ำใน สิง ่ ทีใ่ ช่ ท้าทายตัวเอง ไปเรื่อยๆ แล้วมันจะ ส่งผลทีด ่ ต ี อ ่ ภาพรวม ของวงการหนั ง ไทย ในอนาคต”

กลายเป็นภาพยนตร์ไทยทีม ่ าแรงในต่างประเทศสุดๆ ส�ำหรับ ฉลาดเกมส์โกง (Bad Genius) ทีก ่ วาดรายได้ ถล่มทลายทั้งในจีน ไต้หวัน และฮ่องกง จนส่งผลให้หนังเรื่องนี้ขึ้นแท่นเป็นภาพยนตร์ท�ำเงินอันดับ 6 ใน Worldwide Box Office เมือ ่ วันที่ 15 ตุลาคมทีผ ่ า่ นมา ไม่เพียงเท่านัน ้ ตัวละครและฉากในภาพยนตร์ เรือ ่ งนีย ้ ง ั ได้รบ ั ความนิยมจนเกิดเป็นกระแสฟีเวอร์ในกลุม ่ วัยรุน ่ ชาวจีนอีกด้วย

หลังจาก ฉลาดเกมส์โกง ภาพยนตร์ไทยจากค่าย GDH เข้าฉายในประเทศจีนได้เพียง 3 วัน ก็เกิดเป็นกระแสฮือฮาและ กวาดรายได้ไปถึง 100 ล้านหยวน หรือประมาณ 500 ล้านบาท อย่างรวดเร็ว โดยล่าสุดเมื่อ 19 ตุลาคมที่ผ่านมา ท�ำรายได้ 7 วัน เป็นจ�ำนวนเงิน 167.34 ล้านหยวน หรือประมาณ 836.7 ล้านบาท และยังเป็นภาพยนตร์ไทยที่ท�ำรายได้มากที่สุดในบอกซ์ออฟฟิศ ของฮ่องกงและไต้หวันอีกด้วย

www.gatesnotes.com

‘บาส’ นั ฐ วุ ฒ ิ พู น พิ ร ิ ย ะ

นอกจากความส�ำเร็จด้านรายได้แล้ว วัยรุ่นจีนจ�ำนวนมาก ยังประทับใจภาพยนตร์เรื่องนี้จนเกิดเป็นกระแสฟีเวอร์น่ารักๆ อย่างเช่น การถ่ายภาพเลียนแบบโปสเตอร์หนังลงโซเชียลมีเดีย รวมถึงเด็กนักเรียนชายคนหนึ่งที่ปั้นรูป ‘ครูพี่ลิน’ ที่รับบทโดย ‘ออกแบบ’ - ชุตมิ ณฑน์ จึงเจริญสุขยิง่ แล้วตัง้ ไว้ทโี่ ต๊ะอ่านหนังสือ เพื่อบูชาเป็นเทพเจ้าแห่งการสอบ เรียกได้ว่า ‘อิน’ กันสุดๆ แต่อะไรคือปัจจัยหลักที่ท�ำให้ภาพยนตร์ ฉลาดเกมส์โกง ประสบความส�ำเร็จได้ขนาดนี้ ยงยุ ท ธ ทองกองทุ น ผู ้ อ� ำ นวยการอาวุ โ สฝ่า ยธุ ร กิ จ ต่างประเทศ บริษัทจีดีเอช ห้าห้าเก้า ให้สัมภาษณ์ว่า “หนังไทย

ที่ไปฉายต่างประเทศ ถ้าไม่ใช่หนังแอ็กชัน ก็จะเป็นหนังอาร์ต ไปเลย แต่เรื่องนี้ถูกหลายๆ ที่มองว่าเป็นหนังค่อนข้างแมส มี ค วามเป็ น สากล ก็ เ ลยเจาะตลาดง่ า ยกว่ า รวมถึ ง มี เ รื่ อ ง ระบบการศึกษาและการสอบที่คนเอเชียมีอารมณ์ร่วมได้ง่าย” ส่วน นัฐวุฒิ พูนพิริยะ ผู้ก�ำกับภาพยนตร์เรื่องดังกล่าว เล่าว่า “นอกจากประเด็นเรือ่ งการสอบซึง่ เป็นหัวใจส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ วัยรุ่นเอเชียอินกับหนังเรื่องนี้แล้ว ฝั่งยุโรปหรืออเมริกาก็จะมอง ในมุมที่ว่าหนังมันดูสนุก ตื่นเต้น และสามารถเอาเรื่องน่าเบื่อ อย่างการสอบมาผสมกับหนังสไตล์จารกรรม-แอ็กชันได้ค่อนข้าง ลงตัว ซึง่ เขาจะชืน่ ชมกับไดเรกชันในการเล่าเรือ่ งของหนังมากกว่า” เมื่อมองย้อนไปทั้งเรื่องจังหวะเวลาของหนังเรื่องนี้ รวมถึง เนือ้ หาทีม่ คี วามสากล ไดเรกชันแปลกใหม่ และการเจาะกลุม่ ผูบ้ ริโภค ต่างประเทศอย่างมีชั้นเชิง ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า ฉลาดเกมส์โกง เป็นอีกหนึง่ หนังไทยทีช่ ว่ ยให้วงการภาพยนตร์ไทยดูมชี วี ติ ชีวาขึน้ หลังจากซบเซามาหลายปี ค�ำถามส�ำคัญก็คือ ภาพยนตร์เรื่องนี้ จะเป็ น ตั ว อย่ า งบทเรี ย นส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ ผู ้ ผ ลิ ต ภาพยนตร์ ไ ทย อย่างไรได้บ้าง และภาครัฐ ในฐานะผู้สนับสนุน จะช่วยท�ำหน้าที่ ผลักดันภาพยนตร์ไทยให้ออกไปสู่สายตาชาวโลกอย่างไร

RANKING 5 อันดับภาพยนตร์ไทยที่ท�ำเงินสูงสุดใน Worldwide Box Office

1 2 3 4 5

43, 044, 087

27, 123, 056

24, 111, 969

8, 031, 732

7, 583, 050

ต้ ม ย� ำ กุ้ ง (2006)

ฉลาดเกมส์ โ กง (2017)

องค์ บ าก (2005)

ลั ด ดาแลนด์ (2011)

องค์ บ าก 2 (2009)

USD

USD

USD

USD

USD

*ข้อมูลเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2560

ที่มา : http://news.voicetv.co.th http://movie.sanook.com www.prachachat.net www.khaosod.co.th www.posttoday.com

THE HIGHEST-GROSSING THAI FILM OF 2017


08 a day bulletin

Cover Story

issue 510

30 oct 2017


09

THE KING’S LEGACY หากถามว่า สิง ่ ล�ำ้ ค่าทีส ่ ด ุ ทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินท ร ม ห า ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช ทรงทิง้ ไว้ให้กบ ั ปวงชนชาวไทย คื อ อะไร ส� ำ หรั บ เรา สิ่ ง นั้ น ไม่ ใ ช่ แ ค่ พ ระราชกรณี ย กิ จ จ�ำนวนมหาศาลหรือพระราชด�ำริของพระองค์ทก ี่ ลายมาเป็น แนวทางในการใช้ชวี ต ิ ของใคร หลายๆ คนเท่านั้น แต่สงิ่ ทีม ่ ค ี ณ ุ ค่ามากทีส ่ ด ุ เราคิดว่าคือ ‘แรงบันดาลใจ’ ที่ผลักดันให้คนรุ่นใหม่ลุกขึ้น มาสร้างสรรค์สงิ่ ดีๆ และส่งต่อ ให้กับผู้อื่นในวงกว้างต่อไป เราได้พด ู คุยกับคนเหล่านัน ้ ทั้ ง กลุ่ ม สื่ อ มวลชนที่ ลุ ก ขึ้ น ม า บ อ ก เ ล่ า เ รื่ อ ง ร า ว ข อ ง พระองค์ ท่ า นผ่ า นรายการ โทรทัศน์ที่ตีความจากศิลปิน หรือกลุม ่ คนท�ำธุรกิจทีน ่ อ ้ มน�ำ แนวคิ ด มาปรั บ ใช้ ใ นการท� ำงาน หรือ แม้กระทั่ง กลุ่ม เด็ ก รุ่ น ใหม่ ที่ ตั ด สิ น ใจสมั ค ร เข้าท�ำงานกับโครงการหลวง ด้วยตัวเอง จุดร่วมทีเ่ ราสัมผัสได้จาก ทุกๆ คนคือความรูส ้ ก ึ บางอย่าง ภายในที่เอ่อล้น และพวกเขา แปรเปลีย ่ นให้เป็นแรงบันดาลใจ ที่ ส่ ง ต่ อ ตามความถนั ด ของ พวกเขา สิ่งที่เกิดขึ้นเหล่านี้ แหละทีเ่ ป็น ‘สมบัต’ิ ทีย ่ ง ิ่ ใหญ่ ที่ สุ ด ที่ พ ระองค์ ท รงมอบไว้ ให้กับพวกเรา

ขอขอบคุณ วิภว์ บูรพาเดชะ และนิตยสาร Happening


a day bulletin

10

:

About Them วิภว์ บูรพาเดชะ บรรณาธิการนิตยสาร Happening และเป็นโปรเจ็กต์ไดเร็กเตอร์ของสารคดี Heart Work วินัย สัตตะรุจาวงษ์ ตากล้องวิดีโออิสระที่มีประสบการณ์มายาวนาน และเป็นไดเร็กเตอร์ที่ร้อยเรียงไอเดียของศิลปินออกมาเป็นรายการทั้ง 13 ตอน (สามารถติดตามชมรายการได้ที่ http://program.thaipbs.or.th/Heartwork/videos/clip

)

Heart Work เรื่อง : ปริญญา ก้อนรัมย์ ภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี

issue 510

กลุม ่ คนเล็กๆ ทีม ่ องเห็นความส�ำคัญของการ ‘ส่งต่อ’ เรือ ่ งราว ของพระองค์ ท่ า น ทั้ ง พระราชกรณี ย กิ จ ที่ เ ราคุ้ น หู เรื่ อ งเล่ า เกี่ยวกับสิ่งของพระราชทาน และโครงการในพระราชด�ำริต่างๆ ซึ่งพวกเขาถ่ายทอดออกมาเป็นรายการโทรทัศน์ 13 ตอน และได้ ศิลปิน 13 กลุม ่ มาตีความเรือ ่ งราวเหล่านัน ้ เพือ ่ ส่งต่อให้คนรุน ่ ใหม่ ได้เข้าใจอย่างลึกซึ้ง

30 oct 2017


11 The Beginning วิภว์ : จริงๆ รายการ Heart Work เป็ น ส่ ว นที่ ข ยายมาจากหนั ง สื อ ที่ Happening จัดท�ำถวายพระองค์ทา่ นเมือ่ ตุลาคมปีทแี่ ล้ว แล้วทางช่องไทยพีบเี อส ก็ติดต่อมาว่าสนใจคอนเทนต์ อยากให้ เอา Heart Work ไปท�ำเป็นรายการทีวี ตอนทีร่ บั โจทย์มาจากทางช่อง เราก็มามอง ว่าคอนเซ็ปต์ของหนังสือเป็นการร่วมแรง ร่วมใจของศิลปิน พอเป็นรายการทีวี ก็ เ ลยอยากให้ มี ค อนเซ็ ป ต์ เ หมื อ นกั น 13 เทป ศิลปิน 13 ทีม ที่มาตีความ 13 พระราชกรณียกิจของพระองค์ท่าน เป็ น การส่ ง ต่ อ เรื่ อ งราวของพระองค์ หน้าที่ของเราคือการบอกต่อเรื่องราว เหล่ า นี้ และบอกเล่ า เรื่ อ งที่ เ ป็ น แก่ น ด้วยว่าสิง่ ทีพ่ ระองค์ทรงท�ำส�ำคัญอย่างไร The Reason วินัย : เราว่าค�ำตอบในการท�ำ โปรเจ็กต์นี้ก็คือเหตุผลเดียวที่วิภว์ท� ำ หนังสือ Heart Work เมือ่ ปีทแี่ ล้วนัน่ แหละ รายการสารคดีก็เป็นอีกช่องทางหนึ่ง ทีไ่ ม่ใช่การเผยแพร่เรือ่ งราวของพระองค์ แบบตีความตรงๆ สุดท้ายสารคดีชุดนี้ เป็นงานปลายเปิดที่ศิลปินทุกคนเขาจะ มีสไตล์เป็นของตัวเอง หน้าที่ของเรา กับวิภว์ก็คือการไปถกเถียงกับทางช่อง ว่ า ศิ ล ปิ น ทุ ก คนมี ค วามหลากหลาย และนั่นเป็นจุดเด่นที่ท�ำให้คนที่เข้าใจ พระราชกรณียกิจของในหลวงมากขึ้น เป็นเหมือนการ ‘ส่งต่อ’ อะไรบางอย่าง มากกว่า วิภว์ : ใช่ เพราะจุดหนึ่งเราตั้งใจ จะสื่อสารกับคนรุ่นใหม่ที่อายุ 30 ลงมา ซึ่งเป็นกลุ่มที่อาจจะโตไม่ทันตอนท่าน ทรงงานหนักๆ เราก็เลยอยากน�ำเสนอ ในรูปแบบที่คนรุ่นใหม่จะเข้าใจ

01 02 03 04 05 06

The Young Vision วินยั : ผมสังเกตเวลาไปสัมภาษณ์ เบื้องหลังรายการ จะเห็นว่าทุกคนพูด เหมือนๆ กันว่าตัดสินใจท�ำโปรเจ็กต์นี้ โดยไม่ต้องคิดเลย และไม่รู้ด้วยว่าจะ ล�ำบากแค่ไหน และยิ่งพอเราบอกให้ทำ� ด้ ว ยวิ ธีข องตั ว เอง ทุ ก คนยิ่ ง ไม่ เ กร็ ง อาจเพราะส่วนหนึ่งแต่ละคนจะรู้สึกว่า งานปกติของตัวเองมีกรอบ มีข้อจ�ำกัด บางอย่างที่จะท�ำอะไรเพื่อพระองค์ท่าน เขาเลยคงรูส้ กึ ว่างานตรงนีเ้ ป็นโอกาสหนึง่ ที่เขาจะได้สร้างสรรค์บางสิ่งขึ้น วิภว์ : คือเราค่อนข้างเปิดกว้าง อย่างกลุม่ JDI Film Production เราให้โจทย์ เขาเรื่องการศึกษาทางไกล และศิลปิน อีกคนที่เข้ามาร่วมก็คือแป้งโกะ ที่เหลือ ก็แล้วแต่เขาแล้วว่าจะตีความออกมา อย่างไร วินัย : แล้วมันน่ารักมากๆ เพราะ หลังจากถ่ายตอน ปลายทาง จบ เขา เอาเงิ น ที่ เ หลื อ ไปซื้ อ ของบริ จ าคเด็ ก ในโรงเรียนที่เ ขาไปถ่ า ยท�ำ ด้ ว ย หรือ อย่างงานของก่อ (ชาคร ไชยปรีชา) ทีท่ ำ� ตอน งานวิจัยชุด ‘ค่านิยมและความเหลื่ อ มล�้ ำ ของระบบการศึ ก ษาไทย

ในปัจจุบัน’ เขาได้โจทย์เรื่องการศึกษา และมูลนิธิพระดาบส และเขารู้ว่าระบบ การศึกษามันมีปญ ั หา เขาเลยตีความซ�ำ้ และน�ำเสนอมันเหมือนโครงงานการศึกษา เล่าเป็น Powerpoint ประมาณครึง่ ชัว่ โมง ซึ่งช่องก็ช็อกว่านี่คือรายการทีวีแน่เหรอ แต่พอเด็กๆ ได้เห็นทุกคนชอบเพราะมัน แปลก The Inspiration วิภว์ : ผมว่าในการท�ำงานทัว่ ๆ ไป เรามักจะคิดเรื่องความอยู่รอด คิดถึง ปัญหาและทางแก้ จนหลายๆ ครั้งเรา มักจะหลงลืมไปโดยปริยายว่าสิ่งที่เรา ท�ำอยูค่ อื อะไร Heart Work คืองานทีต่ า่ ง ออกไป เมื่ อ เราเป็ น สื่ อ มวลชน และ สามารถท�ำสิง่ ทีย่ งิ่ ใหญ่กว่าการอยูเ่ ฉยๆ ได้ น ะ มี ส ารอย่ า งหนึ่ ง ที่ เ ราสามารถ สื่อกับคนทั้งประเทศได้ คือการที่ท่าน ทรงท�ำอะไรไว้บ้าง และการลุกขึ้นมา ท�ำงานตรงนี้ได้ใช้ความรู้ความสามารถ ในงานของเรา กลายเป็น ว่า เติมเต็ม ตัวเราเองด้วย วินัย : ก่อนหน้าที่จะมีโปรเจ็กต์ แบบนี้ ผมจะมีงานอะไรทีเ่ ติมเต็มข้างใน ตั ว เองอยู ่ เ รื่ อ ยๆ บางงานเราไปท� ำ เพราะว่าดีกับเรา เราได้เรียนรู้อะไรใน ชี วิ ต งานแบบนี้ มั น ก็ เ ติ ม เต็ ม เราอี ก มุมหนึ่ง ส่วนตัวที่ได้มันคือการบาลานซ์ ชีวิตเลยล่ะ Heart Work วิภว์ : การท�ำ Heart Work มันเป็น สิง่ ทีด่ ี ผมอ่านหนังสือเยอะมากเพือ่ สรุป เป็นบทความในหนังสือ และท�ำให้เรา ได้คยี ข์ นึ้ มาค�ำหนึง่ คือ ‘พระองค์ทำ� เพือ่ คนอื่ น ’ จริ ง ๆ สิ่ ง ที่ พ ระองค์ ท รงคิ ด ไม่ได้แค่เพื่อคนไทย แต่มันเพื่อชาวโลก เลยแหละ การท�ำเพื่อผู้อื่นมันพลิกกลับ จากตัวเราเยอะ เป็นการละตัวตนทางหนึง่ ถ้าเราต่อสู้ในชีวิตประจ�ำวันเยอะแล้ว แต่เราหันมาช่วยเหลือผูอ้ นื่ บ้าง ชีวติ เรา ก็จะบาลานซ์ไปโดยปริยาย


a day bulletin

01 02 03 04 05 06

The Creator 2

12 เรื่อง : ศรัญญา โรจน์พิทักษ์ชีพ, พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร

ตัวแทนของหนุ่มสาวคนรุ่นใหม่หัวใจพอเพียง The Creator พอแล้วดี รุ่น 2 ทั้ง 6 คนจาก 6 ธุรกิจ ได้เล็งเห็นถึงคุณค่าของหลักค�ำสอน พร้อมน้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการด�ำเนินชีวิต โดยผนวกอาชีพที่ชอบและความสุขที่ใช่ ก่อเกิดเป็นความยั่งยืนที่ก�ำลังพอดีต่อตัวเอง ดั่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชด�ำรัสไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 Sufficiency Economy Philosophy ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักปฏิบัติที่ไม่ได้หมายความถึงแค่การท�ำเกษตรกรรมอย่างที่หลายคนเข้าใจ แต่ยังสามารถน�ำมาปรับใช้กับคนเมือง และเป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ประจ�ำวันได้ดี อย่างทีพ่ วกเราน�ำมาต่อยอดเป็นธุรกิจทีเ่ ติมความคิดสร้างสรรค์ใส่เข้าไปในกระบวนการท�ำงานด้วยรูปแบบทีแ่ ตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจแฟชั่น ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ เครื่องหอม โฮสเทล รวมถึงครีเอทีฟคอนเทนต์ ซึ่งตอบโจทย์ทั้งตัวเอง ผู้ผลิต และผู้บริโภค เกิดเป็นห่วงโซ่ ที่มีคุณค่า ยั่งยืน และปฏิบัติได้จริง From Philosophy To Practice โครงการพอแล้วดี The Creator เป็นการรวบรวมและบ่มเพาะนักธุรกิจแนวไลฟ์สไตล์ร่นุ ใหม่ทมี่ คี วามเชือ่ และปฏิบตั บิ นแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ควบคู่ไปกับแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยพวกเราเป็น The Creator รุ่นสอง เริ่มอบรมกันมาตั้งแต่เดือนมีนาคม 2560 แกนหลักของการคัดเลือกคือ ต้องเป็น นักธุรกิจที่มีความคิดสร้างสรรค์ หากไม่ได้เข้าใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมากนักก็ไม่เป็นไร เพราะสามารถเข้ามาเรียนรู้ภายหลังได้ ที่ส�ำคัญจะต้องเป็น คนที่เล็งเห็นว่าตัวเองมีคุณค่าและท�ำประโยชน์ต่อสังคม เป็นนักเล่าเรื่องที่สร้างแรงบันดาลใจและทัศนคติด้านการท�ำธุรกิจให้กับคนอื่นๆ ได้ เพื่อส่งต่อความรู้ และเป็นตัวอย่างของการน�ำหลักปรัชญาของพระองค์ไปใช้ต่อได้ The Concept เราน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาย่นย่อให้เป็นหลักการ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข แต่ไม่หลงลืมหลักทฤษฎีภาคธุรกิจ เริ่มที่ห่วงแรกคือ รู้จักประมาณตน รู้จักตัวเอง รู้ว่าชอบอะไรไม่ชอบอะไร ดีแค่ไหน (SWOT) แต่จะท�ำอย่างไรให้ธุรกิจที่ชอบอยู่รอดล่ะ ก็ต้องมีห่วงที่สองคือ การคิดอย่างเป็นเหตุและผล เช่น การค�ำนวณต้นทุน ประมาณการคู่แข่ง หรือเรียกว่า Strategic Management และธุรกิจของเราจะต้องอยู่ได้นาน ไม่ล้มกลางทาง ก็ต้องมีห่วงทีส่ ามคือ ภูมคิ ้มุ กัน เป็นหนทางของการป้องกันตัวเองจากความเสี่ยงในอนาคต (Risk Management) โดยมี 2 เงื่อนไขมาก�ำกับอีกชั้น คือความรู้และคุณธรรม เพื่อให้ธุรกิจไปรอด ได้โดยไม่เอาเปรียบใคร และไม่ได้มุ่งแค่แสวงหาก�ำไรเป็นที่ตั้งอย่างเดียว Happiness is... ความพอดีไม่ได้ดีแค่ธุรกิจ แต่ทำ� ให้พวกเรามีสติ รู้เท่าทันความคิดของตัวเอง รู้จักประมาณตน ไม่เห็นแก่ตัว แบ่งปันซึ่งกันและกัน จนเกิดเป็นคุณค่า ที่ขยายออกไปเป็นวงกว้าง เริ่มจากตัวเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม รวมทั้งคนอื่นๆ ที่เชื่อมโยงอยู่ในธุรกิจ ท�ำให้เกิดความภาคภูมิใจ มีความความสุข ซึง่ ทัง้ หมดไม่สามารถเกิดขึน้ ได้จากคนคนเดียว แต่มนั จะเกิดขึน้ จากคนทุกคนทีอ่ ยู่รอบด้าน และสิง่ เหล่านีจ้ ะเป็นของกันและกัน ท้ายสุดความพอดีจะท� ำให้เรา อยู่ร่วมกันได้ รวมทั้งสร้างการเติบโตทางธุรกิจได้อย่างยั่งยืนเช่นกัน Your True Self ระหว่างการท�ำธุรกิจของเราทั้งหกคนล้วนมีความยากง่ายแตกต่างกันออกไป แต่มีสิ่งหนึ่งที่พวกเราคิดว่ายากที่สุด คือการไม่รู้จักตัวเอง เพราะเมื่อไหร่ ก็ตามทีเ่ ราไม่รจู้ กั ใจตัวเอง ไม่เคยค้นพบตัวเอง ไม่รวู้ า่ ตัวเองอยากท�ำอะไร ไม่เคยรูส้ กึ เลยว่าการเป็นตัวของตัวเองนัน้ มีคา่ ท้ายทีส่ ดุ มันก็หล่อหลอมให้เรากลายเป็น คนที่ไม่เคยเห็นค่าในตัวเองเลย หลายคนอาจติดกับดักนั้น จนวันหนึ่งพวกเราลุกขึ้นมาถามตัวเองอีกครั้ง บอกกับตัวเองชัดๆ พร้อมพิสูจน์ให้ทุกคนเห็นว่า การเป็นตัวของตัวเองนั้นสามารถสร้างอาชีพ และมีค่าพอที่จะอยู่บนโลกใบนี้ได้ In Daily Life หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงใช้ได้กบั ทุกเรือ่ ง ตัง้ แต่การเลือกเรียน การใช้ชวี ติ การงาน อาชีพ แม้กระทัง่ ความรัก หรือการเลือกซือ้ ของง่ายๆ ด้วยสามค�ำถาม ที่ต้องตอบตัวเอง หนึ่ง แน่ใจหรือเปล่า สอง เพราะอะไร และสาม เกินไปไหม ค�ำตอบที่ได้ล้วนจากสติ ผ่านการคิดที่เป็นเหตุและผล โดยที่ไม่หลงลืมศีลธรรม อันดีงาม ท้ายสุดแล้วความพอดีของคนเราก็ไม่เท่ากัน แต่สิ่งที่จะได้รับเท่าๆ กันคือหลักค�ำสอนของในหลวง รัชกาลที่ 9 ที่พวกเราได้น้อมน�ำมาปรับใช้ในชีวิต และการสร้างอาชีพ เพื่อแสดงถึงความรักที่มีต่อพระองค์ เป็นความรักที่พาพวกเราก้าวไปข้างหน้าพร้อมๆ กัน และยังเป็นการสานต่อสิ่งที่พระองค์ทรงท�ำไว้ โดยมุ่งหวังให้ประชาชนอยู่ดีมีสุขบนพื้นฐานของความพอเพียงจากรุ่นสู่รุ่นไปอีกยาวนาน

:

issue 510 30 oct 2017

About Them ‘โทน’ - กิตติพจน์ อรรถวิเชียร ‘Creative Tone Content and Design for Social Change’ ผู้ผลิตคอนเทนต์ เพื่อให้ผู้คนได้ตระหนักถึงสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยยึดหลักค�ำสอนของในหลวง รัชกาลที่ 9 เป็นไตรสรณะของชีวิตและใช้ในวิชาชีพ ‘บิ๊ก’ - ชินศรี พูลระออ ‘ข้าวธรรมชาติ’ จ.เชียงราย น้อมน�ำศาสตร์พระราชามาปรับใช้ ผสานภูมิปัญญาพื้นบ้าน ผนวกกับข้อมูลทางวิชาการ รวมกลุ่มชาวนาท�ำนาไร้เคมี เพื่อชาวบ้านมีรายได้ และสุขภาพที่ดี พร้อมส่งข้าวปลอดภัยให้ผู้บริโภค ‘เก๋’ - บุณยนุช วิทยสัมฤทธิ์ แบรนด์กระเป๋าแฟชัน ่ ‘31 Thanwa’ ท�ำธุรกิจบนพืน ้ ฐานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการผลักดันให้ผผ ู้ ลิตเห็นคุณค่าของอาชีพช่างศิลป์ เติมความคิดสร้างสรรค์ และส่งต่อคุณค่าสู่มือผู้บริโภค ‘ส้ม’ - อติพร สังข์เจริญ ‘The Yard Hostel’ หรือบ้านญาติโฮสเทล น�ำหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข มาใช้จนเกิดเป็นที่พักขนาดเล็ก อบอุ่นดุจมาบ้านญาติมิตร ก่อเกิดความสุขต่อตัวเอง คนรอบข้าง และลูกค้าได้ยาวนาน ‘นุช’ - วรนุช ภาคานาม เจ้าของน�้ำมันหอมระเหยกลิ่นสมุนไพรไทยตามธาตุเจ้าเรือน แบรนด์ ‘คุณยายปลั่ง’ ผู้น�ำหลักค�ำสอนและความรักที่มีต่อในหลวง รัชกาลที่ 9 มาเปลี่ยนเป็นพลังท�ำสิ่งที่ชอบ จนกลายเป็นอาชีพที่ใช่ ‘ผึ้ง’ - ภมรรัตน์ พรรณรัตนพงศ์ เจ้าของแบรนด์ ‘Hug Organic’ ผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพผิวอย่างอ่อนโยน ใช้หลักคิดด้วยนึกถึงผู้อื่นและเห็นคุณค่าต่อสิ่งที่ตัวเองท�ำ หาความรู้ที่ขาด และน�ำค�ำสอนของพระองค์มาปรับใช้อย่างจริงจัง


13


a day bulletin

14

:

About Them สานต่อทีพ ่ อ ่ ท�ำ กลุม ่ อาสาสมัครจากหลากหลายความถนัดในวิชาชีพสือ ่ สารมวลชน ตัง ้ ใจน�ำความถนัดของตัวเองมาใช้ในการเผยแพร่เรือ ่ งราวของในหลวง รัชกาลที่ 9 โดยตกลงว่าจะท�ำงาน ด้วยกัน 365 วัน เพื่อบอกเล่า 70 ปีที่พระองค์ทรงงาน ผ่านวิธีการสื่อสารหลากหลายรูปแบบที่พวกเขาเชื่อว่าจะเข้าไปแตะหัวใจผู้รับสารรุ่นใหม่ได้มากที่สุด

สานต่ อ ที่ พ่ อ ท� ำ

เรื่อง : พิมพ์อร นทกุล ภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี

issue 510

“เราจะสามารถเข้าใจชีวต ิ การท�ำงานตลอด 70 ปีของคนคนหนึง่ ภายใน 1 ปีได้ไหม” คือโจทย์ของ ‘สานต่อทีพ ่ อ ่ ท�ำ’ กลุม ่ อาสาสมัครทีร ่ วมตัวกันเพือ ่ น�ำเรือ ่ งราวของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมาสื่อสารต่อให้คนรุ่นใหม่ได้เรียนรู้ ผ่านกระบวนการเรียนรู้หลายรูปแบบจากหลายโครงการที่พวกเขา ตั้งใจท�ำขึ้น ตั้งแต่หนังสือนิทานและแอนิเมชันชุด ‘ตามค�ำพ่อ’, เดิน | ทาง | พ่อ, ภาพยนตร์สั้นของ ‘9 บุคคลสานต่อ’ ไปจนถึง ‘The Visionary’ ซึ่งทุกโครงการมีจุดรวมอยู่ที่เฟซบุ๊กแฟนเพจ ‘สานต่อที่พ่อท�ำ’

30 oct 2017

ซึ่งวันนี้เราได้เจอกับทีมงาน ‘สานต่อที่พ่อท�ำ’ ผู้ที่ตอบค�ำถามข้างต้นให้เราแล้วว่า เราสามารถเข้าใจชีวิตการท�ำงานตลอด 70 ปีของคนคนหนึ่งภายใน 1 ปีได้จริง แต่ค�ำถามที่ส�ำคัญกว่านั้นคือ เราจะน�ำสิ่งที่ได้เข้าใจนั้นมาสานต่อหรือไม่


15 The Beginning ทุกอย่างเริม่ มาจากความตัง้ ใจของ พวกเราที่อยากท�ำอะไรสักอย่างเนื่องใน วโรกาสที่ในหลวง รัชกาลที่ 9 ครองราชย์ ครบรอบ 70 ปี เมือ่ วันที่ 9 มิถนุ ายน 2559 เรารู้สึกว่า การที่คนคนหนึ่งจะท� ำงาน ไม่มีวันหยุดมา 70 ปี นั้น เป็นเรื่องที่ต้อง เล่าต่อ เพราะเราเป็นนักสื่อสาร แล้วงาน ที่ พ ระองค์ ท� ำ ส่ ง ผลต่ อ คนไทยทุ ก คน น�้ำทุกหยดที่เราดื่มเราใช้ พืชพรรณที่เรา กิน พระองค์ทำ� งานหนักมาตลอด ป่วยหนัก แค่ไหนก็ไม่เคยพัก เราจึงมองว่านี่เป็น เรือ่ งน่าอัศจรรย์มาก จะไปหาแบบนีไ้ ด้อกี ทีไ่ หน ไม่มหี รอก เพียงแต่วา่ เรือ่ งราวของ พระองค์นนั้ กระจัดกระจาย แล้วแต่วา่ ใคร จะหยิ บ เรื่ อ งไหนมาเล่ า ซึ่ ง เราพบว่ า เจเนอเรชันใหม่จะไม่ค่อยได้รับรู้เรื่องราว ของพระองค์ และพวกเขาก็มวี ธิ กี ารสือ่ สาร ทีเ่ หมาะกับเจเนอเรชันเขา เพราะโดยปกติ การท�ำงานสื่อสารอันดับแรกคือ คุณต้อง วิเคราะห์ผู้รับสาร ถ้าคุณเข้าใจผู้รับสาร ดีพอ คุณก็จะออกแบบสิ่งที่ต้องการจะ สือ่ สารและวิธที จี่ ะสือ่ สารให้เข้าไปในหัวใจ เขาได้มากที่สุด เราเลยอยากจะเล่าเรื่อง พระองค์ ใ นแบบที่ ค นรุ ่ น ใหม่ จ ะเข้ า ใจ ให้เขารูว้ า่ คนทีเ่ จ๋งทีส่ ดุ ทีค่ นทัง้ โลกยอมรับ ไม่ใช่ สตีฟ จ็อบส์ หรือ อีลอน มัสก์ แต่เป็นในหลวงของเรานี่แหละ

01 02 03 04 05 06

The Process เราเริม่ รวมตัวกันตัง้ แต่เดือนพฤษภาคม 2559 และเปิดตัวบนเฟซบุก๊ ตัง้ แต่ 17 ตุลาคม 2559 ในการเตรียมคอนเทนต์ เราต้องหา ข้อมูลกันอย่างหนัก เริ่มจากลิสต์ชื่อคนที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การทรงงานของพระองค์ โดยตรง โดยเน้นเป็นเรื่องเล่าจากคนที่อยู่ ในเหตุการณ์ พอได้รายชื่อก็ติดต่อขอ สัมภาษณ์ แต่ละคน เราก็ได้เรื่องเล่าของ คนยีส่ บิ กว่าคนทีเ่ คยถวายงานให้พระองค์ นอกจากนีก้ ท็ ำ� การศึกษาจากหนังสือจาก ห้องสมุดต่างๆ แต่ด้วยความที่ข้อมูลที่ได้ มันเยอะมาก เราจึงต้องมาคิดหาวิธีเล่า ทีต่ อบโจทย์ทตี่ งั้ ไว้แต่แรกว่าคนรุน่ ใหม่จะ รับรู้และเข้าใจได้ง่ายที่สุดโดยแตกออก เป็น 12 หมวด เช่น อุปกรณ์การทรงงาน, โครงการทางภาคเหนือ, โครงการทาง ภาคใต้ วิธนี ำ� เสนอเราจะไม่ยัดเยียดข้อมูล แต่จะหาสไตล์การเล่า ถ้าเป็นภาพประกอบ ก็จะไม่ซบั ซ้อน เข้าใจง่าย แต่สงิ่ ทีน่ า่ สนใจ กว่าเรือ่ งเล่าเหล่านัน้ คือวิธคี ดิ ของพระองค์ มีความร่วมสมัยมาก เวลาเราอ่านเรือ่ งราว ของพระองค์จะรูว้ า่ ท�ำอะไร แต่ไม่ได้มองลึก ไปถึงมุมมองทัศนคติ ซึ่งเราอยากน�ำสิ่งนี้ มาน�ำเสนอ The Lessons การเข้าใจพระองค์ก็เหมือนเวลา เรียนหนังสือ ยิง่ เราเข้าใจทีม่ าและเรือ่ งราว แวดล้อมเท่าไหร่ เราก็จะเข้าใจแก่นแท้ ของบทเรียนเท่านัน้ ตอนแรกเราเองก็ไม่ได้ คิดว่าจะต้องลงลึกไปถึงการอ่านพระราชด�ำรัสหรอก แต่กล็ องอ่านกันตัง้ แต่ปี 2521 จนถึงล่าสุด แล้วพบว่ามีอะไรน่าสนใจ

มากมายที่สื่อต่างๆ ยังไม่เคยหยิบยกมา เล่า อย่างถนนห้วยมงคล ถนนสายแรก ทีพ่ ระองค์ทา่ นทรงสร้าง ในพระราชด�ำรัส พระองค์ ท รงเล่ า ว่ า ถนนสายนี้ ท� ำ ให้ พระองค์เรียนรู้ว่า การสร้างถนนอาจจะ ไม่ใช่ค�ำตอบของวิถีชีวิตคนพื้นที่นั้นก็ได้ เพราะหลั ง จากที่ ส ร้ า งถนนสายนั้ น ก็มีนายทุนมากว้านซื้อพื้นที่ มันจึงไม่ใช่ โครงการทีป่ ระสบความส�ำเร็จร้อยเปอร์เซ็นต์ ซึ่ง พอเราได้ ม าศึก ษาดีๆ จะได้ เ ห็น ว่ า พระองค์ทา่ นเองก็เติบโตผ่านบทเรียนและ ความผิ ด พลาด หรื อ อย่ า งปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียงเอง พอน�ำมาเล่าเป็น หลักการมากๆ ก็เข้าใจได้ยาก แต่ถ้าลอง ศึกษาจากสิ่งที่พระองค์พูด จากตัวอย่าง ที่ ย กมา จะเข้ า ใจได้ ง ่ า ยเลยว่ า สิ่ ง ที่ พระองค์คิดคืออะไร The Visionary ในหลวง รั ช กาลที่ 9 เป็ น คน หัวก้าวหน้ามาก ลองคิดดูว่าเมื่อ 70 ปี ที่แล้ว ทรงมองการณ์ไกลได้ถึงขนาดนี้ แล้วคนสมัยนี้ชอบหนังสือ how-to มาก คนเก่งๆ ดังๆ เขาก็มีหนังสือ how-to กั น หมดแล้ ว เราก็ อ ยากให้ มี ห นั ง สื อ เกีย่ วกับพระองค์ทคี่ นรุน่ ใหม่สามารถอ่าน แล้วน�ำไปใช้กบั ชีวติ เขาได้จริงๆ จึงเกิดเป็น หนังสือ The Visionary ขึ้นมา ข้อมูลใน หนังสือเล่มนีก้ เ็ ป็นชุดเดียวกับทีเ่ ราน�ำมา ย่อยเนื้อหาลงบนโซเชียลมีเดีย เพียงแต่ น�ำมาเสนอในอีกรูปแบบหนึ่ง เราไม่ได้ตงั้ เป้าหมายว่าอ่านจบแล้วต้องรัก ต้องเทิดทูน พระองค์ เราว่าเรือ่ งนัน้ มาทีหลัง แต่อา่ นแล้ว น�ำไปท�ำจริงๆ เป็นเรื่องส�ำคัญกว่า The Next Step เราตั้งใจจะอยู่ด้วยกัน 1 ปี ตอนนี้ ก็หมดหน้าทีข่ องเราแล้ว เหลือก็แต่นำ� สิง่ ที่ ได้เรียนรูไ้ ปสานต่อในหน้าทีท่ เี่ รารับผิดชอบ อยู่ เพราะทุกคนก็มงี านประจ�ำของตัวเอง ซึง่ เรามัน่ ใจว่าสิง่ ทีเ่ ราท�ำไว้จะกลับมาอ่าน เมื่อไหร่ก็ได้ มันอยู่ที่เราทุกคนแล้วว่าจะ หยิ บ ไปใช้ หยิ บ ไปดู หยิ บ ไปสอนต่ อ หรือเปล่า พ่อแม่จะอ่านนิทานทีเ่ ราท�ำให้ลกู ฟังไหม แนวคิดทีโ่ ครงการ ‘เดิน | ทาง | พ่อ’ เล่าไว้หมดแล้ว คุณจะตามรอยเขาไหม หรือสิง่ ที่ ‘9 บุคคลสานต่อ’ ได้ทำ� จนประสบ ความส�ำเร็จแล้วจริงๆ ก็มเี ยอะ แต่คณ ุ จะ ลองปรับใช้กับสิ่งที่คุณท�ำอยู่ไหม สิ่งที่พระองค์ทรงสร้างไว้ สอนไว้ ท�ำให้ดูไว้แล้ว ตลอด 70 ปี มีอยู่รอบตัว เราเลย ต้องมีสักอันแน่ๆ ที่เราจะสานต่อ ได้ด้วยตัวเอง ไม่ต้องรอหรอก เริ่มได้เลย


a day bulletin

01 02 03 04 05 06

Good for the Good of It เรื่อง : กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร

เรือ ่ งราวของ Good for the Good of It : กลุม ่ ศิลปินงานศิลป์สร้างบุญ ทีป ่ ระกอบไปด้วย ‘มง’ - พงษ์พน ั ธ์ รุ่งหิรัญรักษ์, ‘เป๋า’ - กรองกาญจน์ เพียรพานิชย์, ‘เก๋’ - สุรวีร์ หาญอนันทสุข และ ‘โอ๋’ - พัชญะห์เอก แก้ ว พิ ชั ย น์ กุ ล กลุ่ ม เพื่ อ นต่ า งสายงานที่ ร่ ว มกั น ท� ำ ความดี เ พื่ อ ช่ ว ยเหลื อ มู ล นิ ธิ เ ล็ ก ๆ ในประเทศไทย โดยใช้ ความรักและความสามารถด้านศิลปะมาต่อยอดความเชื่อมั่นใน ‘ความดี’ ที่มี ‘ในหลวง’ เป็นต้นแบบ

issue 510

Good Intention พวกเราคือกลุ่มคนเล็กๆ จากหลากหลายสาขาอาชีพที่มีความรักในงานศิลปะเหมือนกัน เราเริ่มจัดงานแสดงครั้งแรกที่ไดอะล็อกคอฟฟี่จากค�ำชวนของ รุ่นน้อง แต่เราเองก็ไม่ใช่ศิลปิน ตอนตัดสินใจท�ำเลยน�ำเงินที่ได้จากการประมูลและขายภาพไปช่วยเหลือเด็กๆ ที่ติดเชื้อเอชไอวีที่มูลนิธิคามิลเลียนโซเชียล หลังงานจบ สิ่งนี้ก็เลยกลายมาเป็นโมเดลของงาน Good ที่มูลนิธิเล็กๆ จะได้มาเล่าเรื่องราว ปัญหา และศิลปินก็จะได้มาเล่าแรงบันดาลใจในการสร้างผลงาน โดยในนิทรรศการดอกไม้ของพ่อครั้งนี้ เราจะน�ำเงินรายได้มอบแก่มูลนิธิมอบด้วยใจ ให้ด้วยรัก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล เพื่อจัดซื้อเครื่องมือแพทย์ Good Mechanism เราเชิญชวนเพื่อนๆ ศิลปินแขนงต่างๆ มาร่วมบุญกัน หลังจากที่คัดเลือกมูลนิธิที่ต้องการความช่วยเหลือ ผ่านการจัดแสดง การประมูลและการจ�ำหน่าย เพื่อกระจายข่าวสารและระดมทุนให้มูลนิธิ แต่งานของ Good ไม่ได้จบที่แค่นิทรรศการ ไม่ใช่แค่มาดูรูปแล้วกลับ เราให้ความส�ำคัญกับคอนเทนต์ทุกส่วน เพราะมันคือการปลูกเมล็ดพันธุ์ความดีแก่ผู้ร่วมงานและทุกคนที่ผ่านมาเห็น ให้พวกเขาซึมซับ เข้าใจ และอยากท�ำอะไรคืนแก่สังคม Good Question การจัดงานก็เหมือนกับงานทั่วไปที่มีการขอสปอนเซอร์ เรามักถูกตั้งค�ำถามว่า ‘ท�ำแล้วได้อะไร?’ และต้องกลับไปคิดหาค�ำตอบ จนได้ไปเจอค�ำของ ท่านพุทธทาสว่า คนเราท�ำดีกเ็ พือ่ ความดี มันเลยกลายมาเป็นชือ่ ของพวกเรา การจัดงานแต่ละครัง้ เราช่วยน�ำเงินไปให้แก่กลุม่ คนทีก่ ำ� ลังเดือดร้อน ซึง่ หากจะตีคา่ สิ่งที่ได้เป็นเม็ดเงิน สิ่งที่เราได้มาในฐานะคนจัดก็คงไม่คุ้มนัก อย่างที่ในหลวงเคยพูดว่า ‘ขาดทุนคือก�ำไร’ ว่าการท�ำอะไรให้คนอื่นนั้นอาจจะขาดทุน แต่เราจะ ได้ผลตอบแทนกลับมาในรูปแบบอื่นๆ ซึ่งการท�ำงานแบบคอมเมอร์เชียลให้ไม่ได้ เราเลยกลับมาถามตัวเองใหม่ ว่า ‘เราท�ำไปเพราะเราอยากจะให้ไม่ใช่หรือ?’ Great Inspiration ในหลวง รัชกาลที่ 9 เป็นต้นแบบทีย่ งิ่ ใหญ่ของการท�ำเพือ่ คนอืน่ โดยไม่คาดหวังอะไรตอบแทน เคยมีหนังสือเล่มหนึง่ กล่าวไว้วา่ การท�ำดีคอื การสวนกระแส มันคืองานยาก ที่ในกรณีของเรามันมาพร้อมกับค�ำถามประหลาดๆ อีกมากมาย แต่พอเราได้อ่าน ได้ศึกษาพระราชด�ำรัสของท่าน จึงได้เห็นว่าท่านท�ำและสอน เรื่องการให้-การช่วยเหลือคนอื่นมาตลอด ทุกครั้งที่เจออุปสรรค พวกเราจึงมีท่านเป็นก�ำลังใจ เหมือนเราได้กลับมาตอบค�ำถามตัวเองอีกครั้ง ว่าจริงๆ แล้ว การท�ำความดีนั้นไม่ต้องคาดหวัง แค่เชื่อก็ลุกขึ้นมาท�ำได้เลย คนไทยโชคดีที่มีในหลวงเป็นแบบอย่าง ท่านท�ำงานหนักกว่าเรามาตลอด 70 ปี งานที่เต็มไปด้วยค�ำถามว่า ‘ท�ำไปเพื่ออะไร?’ ท�ำไมท่านต้องขึ้นไปหา ชาวเขา ท�ำไมต้องเอาตัวเองเข้าไปหาสิ่งที่ล�ำบาก ซึ่งท่านก็ได้ตอบค�ำถามเหล่านั้นด้วยความดีที่ท่านท�ำ และท้ายที่สุด ความดีนี้จะเป็นวิธีที่เราได้เข้าใกล้ และเข้าใจพระราชาที่เรารักมากขึ้น แม้ในวันที่ท่านไม่อยู่แล้ว Good Change สิ่งที่เราท�ำไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไรยิ่งใหญ่ แต่เป็นจุดเริ่มต้นเล็กๆ มากกว่า คนที่เข้ามาในงาน จะได้รู้ว่าตัวเองก็เริ่มต้นท� ำดีได้ แม้มันจะเป็นเงิน ช่วยเหลือเพียงเล็กน้อย ถ้ามาคิดอีกที มูลนิธติ า่ งๆ กลับเป็นฝ่ายทีช่ ว่ ยเรา ถามว่าเราเอาเงินไปให้เด็กๆ แล้วชีวติ พวกเขาเปลีย่ นเลยไหม ก็ไม่นะ เราเองทีเ่ ปลีย่ น มากกว่า เพราะเรากลับมากับความรู้สึกปลื้มปริ่ม อิ่มเอมใจที่ได้ทำ� อะไรเพื่อคนอื่น เหมือนว่า ‘การให้’ มันกลายเป็น ‘รางวัล’ ชิ้นใหญ่ของพวกเรา Good Future ส�ำหรับเรา Good จะหมายถึงใคร จะเป็นงานรูปแบบไหนก็ได้ เราไม่จ�ำเป็นต้องหาเงินล้านเพื่อช่วยเหลือคนอื่น คุณอาจรวมกับเพื่อนจัดงานประมูล ผลงานศิลปะไม่กี่ชิ้น แล้วน�ำเงินไปให้มูลนิธิเล็กๆ สักแห่ง เป็นไปได้ทั้งนั้น เรามองว่า ถ้า Good ยังจัดโดยแค่เรา มันก็จะเป็นงานรูปแบบเดิมๆ ถ้าอย่างนี้ Good คงเป็นเมล็ดพันธุ์แห่งความดีที่คงไม่มีวันได้เติบโต เพราะมันไม่มีโอกาสได้ร่วงลงสู่ดิน เราจึงอยากเห็นงานของ Good กระจายออกไปในวงกว้าง เป็นโครงสร้างหรือรูปแบบที่การท�ำความดี ที่ใครๆ ก็สามารถท�ำได้

30 oct 2017

:

About Them GOOD for the Good of It เริ่มต้นขึ้นในปี 2014 ด้วยความตั้งใจที่จะ ‘ท�ำดี... เพื่อความดี’ ให้เกิดสิ่งดีๆ ขึ้นในสังคม ที่ผ่านมาพวกเขาจัดนิทรรศการงานศิลป์เพื่อระดมเงินบริจาค ร่วมสมทบทุนช่วยเหลือมูลนิธิต่างๆ ได้แก่ มูลนิธิคามิลเลียนโซเชียล ระยอง เพื่อช่วยเหลือเด็กติดเชื้อเอชไอวีโดยก�ำเนิด, มูลนิธิ Operation Smile ช่วยเหลือเด็กปากแหว่งเพดานโหว่, มูลนิธิสติ ช่วยเหลือด้านการศึกษาและสุขภาพอนามัยของเด็กตามแนวตะเข็บชายแดนภาคเหนือ และในครั้งล่าสุด มูลนิธิมอบด้วยใจ ให้ด้วยรัก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล เพื่อจัดซื้อเครื่องมือแพทย์ เฟซบุ๊ก : @GOODfortheGOOD อีเมล : good4thegood@gmail.com

16


17


a day bulletin

18

:

About Them ‘โอ’ - ณัฐพัชร์ ทาทอง อายุ 35 ปี เจ้าหน้าที่พัฒนาระบบและประกันคุณภาพ, ‘ชมพู่’ - จุฑาทิพย์ สิงหกลางพล อายุ 26 ปี เจ้าหน้าที่เลขานุการ ฝ่ายกฎหมาย, ‘อุ้ม’ - อภิญญา ผาสุข อายุ 26 ปี เจ้าหน้าที่สื่อสารการตลาด และ ‘เอย’ - ผวริศา สุระจรัส อายุ 24 ปี เจ้าหน้าที่สื่อสารองค์กร

DOI KHAM

เรื่อง : ตนุภัทร โลหะพงศธร ภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี

issue 510 30 oct 2017

ท่ามกลางแม่น�้ำสายธุรกิจ คลื่นสังคมแห่งการบริโภคจากแรงลมของทุนนิยมได้พัดเข้าปะทะตัวเราอย่างเต็มก�ำลัง พร้อมกรรโชกให้พลัดลงสู่กระแสน�้ำอันเชี่ยวกรากและท�ำให้เราต้องพยายามกอบโกยทุกสิ่งที่หยิบฉวยได้ เพื่อหวังให้เป็น เครือ ่ งแสดงความมัน ่ คงในชีวต ิ ในทางตรงกันข้าม ธุรกิจเพือ ่ สังคมเปรียบเป็นแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติอน ั อุดมสมบูณท ์ เี่ กิดขึน ้ เพือ ่ เกือ ้ กูลทุกชีวต ิ ให้ดำ� รงอยู่ ด้วยความตระหนักรู้ถึงความมั่นคงจากการเป็นผู้ให้ เหมือนกับที่กลุ่มคนรุ่นใหม่ตัวแทน ‘ดอยค�ำ’ ผู้บอกเล่าเรื่องราว และถ่ายทอดประสบการณ์จากการท�ำงานสืบสานแนวพระราชปณิธานของในหลวง รัชกาลที ่ 9 ซึง่ ท�ำให้เรารูแ้ ละเข้าใจถึงนิยาม ความมัน ่ คงอย่างยัง่ ยืน และความสุขทีแ่ ท้จริงของชีวต ิ


19

01 02 03 04 05 06

The Meaningful Mission ด้วยจุดเริม่ ต้นจากแนวพระราชด�ำริ ของในหลวง รัชกาลที ่ 9 ที่ต้องการแก้ไข ปัญหาการปลูกฝิน่ และการท�ำไร่เลือ่ นลอย ของประชาชนในภาคเหนือ โดยส่งเสริม ให้ปลูกพืชผักและผลไม้ทดแทน ท่านยัง ให้จดั ตัง้ สหกรณ์ชาวเขา และโรงงานหลวง อาหารส� ำ เร็ จ รู ป ใกล้ แ หล่ ง เพาะปลู ก เพื่อช่วยเหลือและรับซื้อผลผลิตในราคา เป็นธรรม และเพิ่มมูลค่าให้ผลผลิตโดย น� ำ มาแปรรู ป เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ คุ ณ ภาพ ในราคาที่จับต้องได้ภายใต้เครื่องหมาย การค้า ‘ดอยค�ำ’ ตามแนวทางอุตสาหกรรมเกษตรเพื่ อ การพั ฒ นาชนบท ปั จ จุ บั น ดอยค� ำ ด� ำ เนิ น กิ จ การในรู ป แบบธุ ร กิ จ เพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับ การพัฒนาความกินดีอยู่ดีของคนไทย The Sustainable Steps เราด� ำ เนิ น งานตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ขององค์กร คือให้ความช่วยเหลือและ ส่งเสริมด้านการเกษตรตลอดกระบวนการ ตั้งแต่ให้ความรู้ เตรียมการ เพาะปลูก ดูแล รับซื้อ แปรรูป ส่งขาย เพราะเรามี องค์ความรู้ มีหลักทฤษฎี ส่วนเกษตรกร เป็นผู้ลงมือปฏิบัติจริง เราแลกเปลี่ยน เรียนรู้กันและกัน ซึ่งเป็นการลงทุนกับ ทรัพยากรบุคคล แล้วเราก็พฒ ั นาผลิตภัณฑ์ ให้หลากหลายมากขึน้ เพิม่ ทางเลือกใหม่ ให้ผบู้ ริโภคเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์ ก็จะท�ำให้ มีรายได้เพิ่มขึ้นเพื่อน�ำไปรับซื้อผลผลิต จากเกษตรกร นี่คือวัฏจักรที่เราช่วยกัน พั ฒ นาให้ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ คุณ ภาพชีวิตที่ดีอย่ า งสมดุลยั่ง ยืน ของ เกษตรกร The Precious Pleasure เราทุ ก คนมี โ อกาสลงพื้ น ที่ ต าม โรงงานหลวงอาหารส�ำเร็จรูป เราเห็นภาพ ความแตกต่างระหว่างอดีตที่ยากล�ำบาก กับผลส�ำเร็จในปัจจุบนั ทีเ่ กิดขึน้ เกษตรกร ในพื้นที่มีคุณ ภาพชีวิตดีขึ้นมาก เขามี ความรู ้ มีอาชีพ มีความเป็นอยูท่ ดี่ ี ตอนทีเ่ รา เดินเข้าไปหาเขาแล้วถามถึงความเป็นอยู่ ค�ำตอบทีเ่ ราได้ฟัง และรอยยิม้ ทีเ่ ราได้รบั มันสัมผัสได้ถึงความสุขจากใจของเขา เราเองก็รสู้ กึ ดีไปด้วย เหมือนใจมันพองฟู อย่ า งบอกไม่ ถู ก ทั้ ง อิ่ ม เอมทั้ ง ภู มิ ใ จ แม้ว่าพวกเราจะท�ำงานที่ส�ำนักงานใหญ่ ในกรุ ง เทพฯ แต่ เ ราก็ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่มีส่วนช่วยผู้อื่น เราได้เข้าใจจริงๆ ว่า การได้ท�ำเพื่อคนอื่น ท�ำให้เรามีความสุข คิ ด ไม่ อ อกเลยว่ า จะมี ที่ ไ หนจะให้ ประสบการณ์เหล่านี้กับเราได้ The Memorable Moment เราได้ไปปฏิบัติงานที่โรงงานหลวง อาหารส�ำเร็จรูป จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่าง ทางผ่ า นโค้ ง เยอะมาก รู ้ สึ ก เหนื่ อ ย ทั้งเวียนหัว ทั้งหงุดหงิด แต่พอถึงแล้ว ได้เห็นภาพในหลวง รัชกาลที ่ 9 ทีเ่ กษตรกร ติดไว้ในกระท่อมเก็บผลผลิต ในตอนนั้น น�้ำตาก็ไหลออกมาเอง พร้อมกับมีภาพ

จ�ำนวนมากที่เกิดขึ้นมาในหัว ภาพที่ท่าน เดินเท้าขึ้นมาที่นี่ ไม่มีรถ ไม่มีถนน ไม่มี อะไรเลย ท่านตัง้ ใจมาเพราะท่านนึกถึงคนอืน่ แล้วเราเคยดูรายการสัมภาษณ์ผู้ใหญ่ ทีต่ ามเสด็จในทีวี เขาบอกว่า ล�ำบากแค่ไหน ท่านไม่เคยบ่นเลย ท่านเป็นแรงบันดาลใจ ให้เรามากๆ ภาพในวันนั้นของท่านเป็น เหมือนยาวิเศษให้เรามุ่งมั่นตั้งใจท�ำงาน The Great Guidance ทุกคนเห็นการท�ำงานของท่านมา ตลอด ท่ า นไม่ เ คยหยุ ด ท� ำ งานเลย ทุกค�ำสอนของท่านมีมากมายเหลือเกิน ที่จ ะให้ เ ราน้ อ มน�ำ มาใช้ ทั้ง การท�ำ งาน และการใช้ชีวิต เวลาท่านท�ำอะไร ท่านมี ความรู้ความเข้าใจในสิ่งนั้นจริงๆ ด้วย การทุ่ ม เทศึก ษาและลงมือ ท�ำ ซ�้ำ ๆ จน เชีย่ วชาญ นอกจากนีย้ งั มีเรือ่ งความเพียร และความอดทน เราเห็ น ท่ า นปฏิ บั ติ พระราชกรณียกิจต่างๆ เรารู้ทันทีว่าท่าน มุ่งมั่นช่วยเหลือประชาชนจริงๆ เราเห็น ท่านเป็นแบบอย่าง และอยากท�ำให้ได้ สักเสี้ยวหนึ่งของท่านก็ยังดี การที่ท่าน เป็นกษัตริยท์ ที่ ำ� หน้าทีโ่ ดยสมบูรณ์ ก็สอน ให้เราทุกคนรู้จักการท�ำหน้าที่ของตัวเอง ให้ดีที่สุด เมื่อทุกคนท�ำหน้าที่ของตัวเอง อย่างเต็มที่ สิง่ ทีด่ กี จ็ ะเกิดขึน้ ทัง้ ต่อตัวเรา ต่อสังคม และต่อประเทศชาติ The Self-Sufficiency สั ง คมไทยอ่ อ นไหวง่ า ยต่ อ วั ต ถุ เป็นเรื่องธรรมดาที่คนเราจะมีความรู้สึก หลงไปกับความอยากได้ แต่เราต้องมีสติ รู้เท่าทัน พอใจสิ่งที่มี และถามตัวเองว่า สิ่ ง ที่ อ ยากได้ อ ยากมี เ ป็ น เพราะสิ่ ง นั้ น จ�ำเป็นกับเราจริงๆ หรือเป็นเพียงความอยากมีตามคนอื่น ถ้าเปรียบเทียบกับ ธุรกิจหรือบริษทั อุตสาหรรมทีเ่ น้นผลก�ำไร มากๆ พวกเรามั ก จะถู ก ถามเสมอว่ า รายได้ ห รื อ เงิ น เดื อ นที่ ไ ด้ รั บ พอใช้ จ ่ า ย จริงๆ หรือ ค�ำตอบทีจ่ ะตอบค�ำถามนีไ้ ด้ดี ทีส่ ดุ คือ ค�ำสอนเรือ่ งความพอเพียงทีท่ า่ น เป็นแบบอย่างมาตลอด จะพอหรือไม่พอ อยูท่ ตี่ วั เรา หากรูจ้ กั ใช้จา่ ยอย่างมีเหตุมผี ล มีสติ เราพบว่าเหลือเก็บด้วยซ�ำ้ ไม่อย่างนัน้ มีเท่าไหร่ก็ไม่พอหรอก


a day bulletin

01 02 03 04 05 06

College of Music, Mahidol University

20

เรื่อง : ปริญญา ก้อนรัมย์ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล

ในช่ ว งเวลาของความโศกเศร้ า จากความสู ญ เสี ย ครั้ ง ยิ่ ง ใหญ่ หลายๆ คนลุ ก ขึ้ น มาสร้ า งสรรค์ สิ่ ง ดี ๆ ตามทิศทางและความถนัดในแบบของตัวเอง และทุกคนในวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นหนึ่งใน กลุ่มคนเหล่านั้น ล่าสุดพวกเขาได้จัดการแสดงคอนเสิร์ต Requiem for King Rama IX บรรเลงบทเพลง สดุดีผู้วายชนม์ เพื่อร�ำลึกถึงการจากไปของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่ง ดอกเตอร์ ณรงค์ ปรางค์เจริญ คณบดีวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ได้มาบอกเล่าถึงแนวคิดเบื้องหลังในการจัดงาน รวมถึง พูดคุยเกี่ยวกับพระอัจฉริยภาพทางดนตรีของพระองค์ท่านในมุมมองที่เราไม่เคยได้ฟังมาก่อน

My Remember ผมโตมาพร้อมกับเพลงพระราชนิพนธ์หลายๆ เพลง และทันเห็นพระองค์ท่านในช่วงเวลาที่ทรงมีพระราชกรณียกิจอยู่ รวมทั้งได้ฟังเรื่องเล่าจากบรรดา ผู้หลักผู้ใหญ่พ่อแม่ว่าพระองค์ท่านทรงท�ำอะไรมาบ้าง ผมโตมากับยุคที่เห็นทุกสิ่งที่พระองค์ท่านทรงท�ำจริงๆ กับตา ไม่ได้เห็นจากสื่อยุคหลังๆ ท�ำให้ส่วนตัว มีความรู้สึกผูกพันกับพระองค์ท่าน หรือในฐานะที่เป็นนักแต่งเพลงเอง ผมมีสตูดิโอท� ำงานอยู่ที่อเมริกา ข้างในจะมีอุปกรณ์แต่งเพลงทุกอย่าง และจะมี คอมโพเซอร์เพียง 2 คนที่ผมจะมีรูปอยู่บนหิ้งด้านหลังโต๊ะท�ำงาน คนหนึ่งคือบีโธเฟน และอีกคนคือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 อย่างบีโธเฟน ผมปลาบปลื้มเขามาก เพราะเขาแทบจะเป็นพระเจ้าของคนแต่งเพลงเลย ส่วนในหลวง ท่านทรงให้แรงบันดาลใจผมหลายๆ อย่าง ในฐานะนักแต่งเพลง ผมเคยสิ้นหวัง เคยท้อ เคยมีปัญหาหลายๆ อย่าง ถึงแม้ทุกคนในวงการดนตรีจะมองว่าผมมีชีวิตที่ดี เพลงที่ผมเขียนประสบ ความส�ำเร็จ น�ำไปบรรเลงในวงออร์เคสตราทั่วโลก ตอนนี้ทุกคนมองผมคือนักแต่งเพลงที่ประสบความส�ำเร็จมาก ไปไหนมาไหนนั่งเครื่องบินชั้นธุรกิจ มีบา้ นทีอ่ เมริกา มีคอนโดฯ ทีไ่ ทย มีรถ ทุกคนก็จะบอกว่าชีวติ เราดี ถามว่าแล้วชีวติ จะมีปญ ั หาอะไร แต่จริงๆ คือเขาไม่ได้อยูใ่ นชีวติ เรา ไม่รวู้ า่ การเดินทางไปดู คอนเสิรต์ ทุกวันน่าเบือ่ ขนาดไหน การนัง่ แต่งเพลงอยูใ่ นห้องมันน่าเบือ่ ขนาดไหน บางทีเหมือนเราสนุกกับการแต่งเพลง แต่พอเราท� ำเป็นอาชีพ การต้องอยูก่ บั มัน ทุกวันไม่ได้สนุกตลอด จนมาถึงจุดหนึ่งผมได้มาตั้งใจศึกษาเพลงพระราชนิพนธ์ ศึกษาเรื่องของพระองค์อย่างจริงจัง ได้เห็นว่าพระองค์ท่านเหนื่อย ทรงมี พระราชกรณียกิจเยอะมาก แต่ท่านก็ยังทรงถ่ายรูป ยังทรงวาดรูป แต่งเพลง ออกก�ำลังกาย ท่านเอาเวลาที่ไหนมาท�ำ สิ่งนี้กลายมาเป็นแรงบันดาลใจ ตัวเรา ท�ำอาชีพเดียว ท�ำอยู่อย่างเดียว ดังนั้น อย่าบ่น เพราะว่าท่านทรงท�ำหลายอย่างแต่ท่านไม่เคยบ่นเลย ตั้งแต่นั้นมาทุกคนไม่ได้ยินผมบ่นเรื่องการท�ำงานอีกเลย

issue 510 30 oct 2017

Action Changes Things ความสนใจเรือ่ งดนตรีของพระองค์ทา่ นสร้างความเปลีย่ นแปลงให้กบั วงการดนตรีคอ่ นข้างมาก แต่กอ่ นดนตรีแจ๊ซไม่ได้แพร่หลายในสังคมเรา และต้องบอก ก่อนว่าวัฒนธรรมของประเทศไทยไม่ได้มีการชมการแสดงดนตรี เพราะจะสังเกตได้ว่าดนตรีไทยจะเข้าไปประกอบพิธีต่างๆ มากกว่า พิธีมงคล พิธีศพ เราไม่มี การดูดนตรีอย่างเดียว มันไม่ใช่วฒ ั นธรรม ไม่ได้อยูใ่ นดีเอ็นเอของเรา แต่พอพระองค์ทา่ นทรงแสดงดนตรีให้พวกเราชม เราสามารถนัง่ ฟังเงียบๆ ได้ เพลงพระราชนิพนธ์ของพระองค์สนับสนุนให้คนรู้จักดนตรีมากขึ้น และพระองค์ท่านเคยให้สัมภาษณ์กับ Voice of America (VOA) ตอนปี 2013 เนื้อความประมาณว่า ความสามารถทางด้านดนตรีเป็นสิ่งที่ทุกคนมีอยู่ในตัว ซึ่งดนตรีคือความละเอียดอ่อนที่ต้องมีอยู่ในชีวิต เราควรจะได้รับรู้ด้านที่ละเอียดอ่อนนั้น ผมได้เรียนรู้ว่า ดนตรีมีคุณค่ากับชีวิตเราอย่างไร และจะใช้สิ่งนี้มาสนับสนุนชีวิตเราได้ยังไง นอกไปจากนั้นพระองค์ท่านทรงให้การสนับสนุนดนตรีเสมอมา ในบทสัมภาษณ์ของพระองค์ท่านครั้งนั้น พระองค์ยังตรัสด้วยว่าดนตรีที่ทรงกล่าวถึง หมายถึงดนตรีทุกประเภท ซึ่งที่คณะของเราก็ดำ� เนินตามแนวคิดนั้น คนอาจจะคิดว่าเราเน้นแต่ดนตรีคลาสสิก แต่จริงๆ เรามีทั้งดนตรีหมอล�ำ หมอแคน เมื่อสามเดือนที่แล้วเราส่งนักดนตรีไปเล่นที่เทศกาลดนตรีที่เยอรมนี มีเครื่องดนตรีอย่างแคน โปงลาง พิณ และก็นักร้องหมอล�ำไป บางคนก็งงว่าท�ำไมผม ไม่ส่งวงสตริงควอเท็ต หรือส่งเปียโนทรีโอไป แต่ผมบอกว่าฝรั่งเขาไม่อยากดูของพวกนั้นหรอก เขาอยากดูวัฒนธรรมพื้นบ้านที่มีคุณค่าของเราจริงๆ


21


a day bulletin

22

issue 510 30 oct 2017

: Requiem for King Rama เป็นหนึ่งในคอนเสิร์ตครั้งส�ำคัญในประวัติศาสตร์ ในรูปแบบ Requiem ซึ่งเป็นบทเพลงสดุดีผู้วายชนม์ที่ใช้ประกอบ ในพิธงี านศพ เพือ่ ขับกล่อมดวงวิญญาณ มีวงดุรยิ างค์ฟลี ฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย ร่วมบรรเลงแบบออร์เคสตราเต็มรูปแบบ ภายใต้การควบคุมวงโดย Alfonso Scarano วาทยกรรับเชิญชาวอิตาลี พร้อมทั้งการแสดงบทเพลง Requiem จากงานประพันธ์ของคีตกวีเอกชั้นน�ำของโลกอย่าง Wolfgang Amadeus Mozart, Gabriel Fauré , Giuseppe Verdi และยังมีบทประพันธ์ Requiem จาก ดอกเตอร์ณรงค์ ปรางค์เจริญ นักประพันธ์ชั้นน�ำชาวไทย เพื่อร�ำลึกถึงการจากไปและ พระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อเป็นการสดุดีแก่ผู้วายชนม์และขับกล่อมส่งดวงวิญญาณไปสู่สุคติ

About Them


23 Music Talents of His Majesty พระอั จ ฉริ ย ภาพทางดนตรี ข อง พระองค์ ท ่ า นมี เ ยอะมาก อย่ า งเช่ น ทฤษฎีอะไรทีฝ่ รัง่ บอกว่าผิด พระองค์ทา่ น สามารถท� ำ ให้ ถู ก ได้ ใ นแง่ ศิ ล ปะและ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ยกตั ว อย่ า งเช่ น ฝรั่งบอกว่าเวลาแต่งเพลงห้ามมีไตรโทน หรือห้ามมีสามเสียงเต็ม เช่นเรามีโน้ตโด เร มีโน้ตตัวฟาจะต้องท�ำให้เป็นครึ่งเสียง ใครที่แต่งโดยใช้สามเสียงเต็มโดยเปลี่ยน เป็นตัวฟาชาร์ป เสียงมันจะกัดกันมาก และไม่เพราะ แต่ถ้าเราไปดูในเพลงพระราชนิพนธ์ พรปีใหม่ เราจะเห็นว่าเพลง มีโน้ตสามเสียงเต็มอยู่ ในขณะทีฝ่ รัง่ บอกว่า ไม่เพราะ แต่พระองค์ท่านสามารถท�ำให้ อยู่ในบริบทที่เหมาะสมได้ มันลงตัวพอดี มากๆ เลย หรือลองสังเกตดูวา่ เพลงพระราชนิพนธ์ของพระองค์ท่านเราจะจ�ำได้ง่าย และจ�ำได้ไวด้วย เพราะพระองค์ทา่ นสามารถ ซ้ อ นทุ ก เลเยอร์ ข องเสี ย งให้ ฟ ั ง ง่ า ยได้ พระองค์ท่านทรงเก่งเรื่องการอธิบายเรื่อง ยากๆ ให้เป็นเรื่องง่ายให้ทุกคนฟังและ สามารถเข้าใจได้ เวลายกตัวอย่างให้เด็กๆ ฟัง ผมมักจะเล่าเรือ่ งพวกนี้ ซึง่ มันสะท้อน ถึ ง พระราชกรณี ย กิ จ ของพระองค์ ท ่ า น ตลอดเวลา เพราะมีหลายๆ ครั้ง หลายๆ เรื่ อ งที่ เ ราคิ ด ว่ า มั น คงไม่ มี ท างท� ำ ได้ พระองค์ท่านก็สามารถท�ำได้จริงๆ Requiem for King Rama IX เราจัดการแสดงคอนเสิรต์ Requiem for King Rama IX เพื่อร�ำลึกถึงการจากไป ของพระองค์ทา่ น ซึง่ มีคริสตจักร 5 องค์กร ในประเทศไทยมาร่ ว มมื อ กั น ท่ า นทู ต จากวาติกันก็มาเป็นตัวแทนเพื่อที่จะมา สนับสนุน เพราะเรามองว่าประชาชนทุกคน ทุกศาสนา ควรทีจ่ ะสามารถท�ำอะไรสักอย่าง เพือ่ ในหลวง รัชกาลที่ 9 และงานในวันนัน้ ทุ ก อย่ า งมั น ดู ก ลมกลื น กั น ไปหมด ไม่มีแบ่งแยก ซึ่งคอนเซ็ปต์ของงานคือ การบรรเลงบทเพลงสดุดีผู้วายชนม์ที่ใช้ ประกอบในพิธีง านศพ และมีพิธีก รรม การอธิฐาน เราจะเล่นบทเพลงเหล่านี้ ในช่ ว งเวลาที่ เ ราสู ญ เสี ย ใครสั ก คนไป เพือ่ ทีจ่ ะบอกกับพระเจ้าว่าคนคนนัน้ จะได้ พักผ่อนแล้ว และพวกเราเชื่อว่าพระองค์ ท่านจะเสด็จขึน้ ไปอยูบ่ นสวรรค์และอยูก่ บั พระเจ้าทุกๆ ที่ ทุกๆ ศาสนา Turning Simple into Special ผมรู ้ สึ ก ว่ า เราควรอยู ่ กั บ เพลง พระราชนิพนธ์ของพระองค์ท่านให้เป็น ปกติ ที่ สุ ด คื อ คนไทยอยากได้ สิ่ ง ที่ มั น รวบรัด เราเห็นดาราประสบความส�ำเร็จ และอยากเป็ น อย่ า งเขาจั ง เลย แต่ เ รา ไม่เคยรู้ว่าก่อนหน้านี้เขาเจออะไรมาบ้าง เขาผ่านประสบการณ์ ผ่านการสั่งสมมา กี่ ป ี มุ ม มองที่ เ รามี ต ่ อ พระองค์ ท ่ า นก็ เหมื อ นกั น เราชอบมองอะไรที่ ร วบรั ด เราอยากให้ เ พลงพระราชนิพนธ์ อยู ่ กับ ทุกคน เราก็พยายามบังคับให้ทุกคนฟัง

ให้ทุกคนร้อง ทุกคนเล่น แต่ผมว่าไม่ใช่ เรื่องที่ดีนะ เราต้องท�ำให้เป็นธรรมชาติ คือทุกคนควรสามารถเล่นได้ ฟังได้ ผมว่า ถ้าเป็นอย่างนั้น เพลงพระราชนิพนธ์ก็จะ อยู่ในสังคมไทย และเป็นเพลงที่ทุกคนฟัง แล้วชอบ เข้าใจมัน และสิ่งนี้จะอยู่กับเรา ต่อไปเรื่อยๆ Doing Good Leads to More Good แต่ ก ่ อ นวิ ท ยาลั ย ดุ ริ ย างคศิ ล ป์ เป็นเหมือนภูเขาทีใ่ หญ่มาก ภูเขานีค้ วรทีจ่ ะ มียอดเขามาให้คนปีน เหมือนที่เราปีน เอเวอเรสต์ ที่เมื่อใครไปปักธงบนยอดเขา เขาจะรู้สึกภูมิใจ เราควรท�ำให้คนที่จบ การศึกษาทีน่ ี่ คนทีท่ ำ� งานทีน่ มี่ คี วามภูมใิ จ ตรงนั้น จุดนี้เราควรพัฒนาต่อไป แต่ว่า ตอนนีถ้ า้ มองจากบนยอดเขาลงไปข้างล่าง เราจะเห็นแต่ทะเลทราย เห็นก้อนกรวด ผมว่าหน้าที่ของภูเขาลูกนี้ คือท�ำอย่างไร ให้เมล็ดพันธุ์ทางดนตรีทั้งหลายกระจาย ไปทั่วๆ เพื่อที่จะท�ำให้อย่างน้อยทุกๆ ที่ โดยรอบเขียวขึ้น นั่นคือมิชชันต่อไปที่จะ พั ฒ นาเรื่ อ งการศึ ก ษาทางด้ า นดนตรี ออกไปทั่วประเทศ ให้มีความสมดุลด้าน อารยธรรม และภู เ ขานี้ ค วรจะปกป้ อ ง อารยธรรมของเราเอง ตอนที่ ผ มกลั บ มาเป็ น คณบดี ที่ นี่ ทุกคนก็งงว่าท�ำไมผมถึงกลับมาเป็นคณบดี และมีคนคิดว่าผมอยากมีพาวเวอร์หรือเปล่า แต่ ผ มบอกพวกเขาเลยว่ า คุ ณ มองผม คนละมุมแล้ว ตัง้ แต่วนั แรกทีผ่ มเข้ามาเป็น คณบดี ผมบอกทุกคนว่าไม่ต้องเรียกผม ว่าเจ้านาย ไม่ต้องเรียกผมว่าท่านคณบดี ผมเป็ น เพื่ อ นร่ ว มงานของคุ ณ ทุ ก คน มีหน้าที่มีฟังก์ชันในสังคม หน้าที่ของผม เป็ น คณบดี ก็ คื อ การท� ำ บทบาทตั ว เอง ให้ดที สี่ ดุ แม่บา้ นมีหน้าทีข่ องเขาก็ทำ� งาน ของเขาให้ดที สี่ ดุ ไม่ได้หมายความผมเป็น เจ้านาย ผมต้องอยูส่ งู กว่า ทุกคนเท่ากันหมด แต่สงิ่ หนึง่ ทีผ่ มอยากมาท�ำงานในบทบาท ตรงนี้ คือผมสามารถเปลี่ยนแปลงชุมชน ได้ สามารถสร้างประโยชน์ให้กับสังคม ในทางใดทางหนึง่ นิยามความเป็นคนเก่ง ของผมมันเปลีย่ นไปแล้ว ผมอยากกลับมา เป็นคนเก่งอีกด้านหนึ่งที่ช่วยเหลือผู้คน บ้างมากกว่า อันนีเ้ ป็นแนวคิดอีกเรือ่ งหนึง่ ทีผ่ มได้รบั มาจากพระองค์ท่าน กลายเป็น หลักการหนึ่งในการด� ำเนินชีวิตและมา ประยุกต์ใช้กับชีวิตของตัวเอง


a day bulletin

Space & Time

เรื่อง : กมลวรรณ ส่งสมบูรณ์ ภาพ : อภิสิทธิ์ ศุภกิจเจริญ

24

พระที่นั่งอนันตสมาคม, 9 มิถุนายน 2549

“มันคือก�ำไรของชีวิต ที่ได้มาศึกษาสิ่งที่พระองค์ได้มอบไว้ให้กับพวกเราชาวไทย” -อภิสิทธิ์ ศุภกิจเจริญ

ที่ที่พ่อไป

โครงการพระราชด�ำริฯ แหลมผักเบี้ย 15 กรกฎาคม 2547

ร่ อ งรอยแห่ ง ความทรงจ� ำ จากการน�ำทางของในหลวง ย้อนไปเมือ ่ วันที่ 24 ตุลาคม 2559 ช่วงเวลาแห่งความสูญเสียครัง ้ ใหญ่ ‘เจมส์’ - อภิสท ิ ธิ์ ศุภกิจเจริญ ตัดสินใจออกเดินทางไปยัง สถานทีท ่ ใี่ นหลวง รัชกาลที่ 9 เคยเสด็จพระราชด�ำเนิน ด้วยความตัง้ ใจทีจ่ ะได้เห็นความเปลีย ่ นแปลงในแต่ละพืน ้ ทีก ่ บ ั ตา และได้รบ ั รูถ ้ งึ งานพัฒนาทีใ่ นหลวงทรงริเริม ่ ไว้ดว้ ยตัวเอง ทุกครัง้ เขาบันทึกรูปถ่ายโดยใช้เทคนิคการซ้อนภาพอดีตในสถานทีจ่ ริงในปัจจุบน ั แล้วกลับ มาแบ่งปันเรือ ่ งราวให้เพือ ่ นๆ ได้ฟงั ทางเฟซบุก ๊ จากในกลุม ่ เพือ ่ น รูปภาพถูกแชร์ตอ ่ ๆ กันนับหมืน ่ ครัง้ เรือ ่ ยมาจนวันนีเ้ พจ ‘ทีท ่ พ ี่ อ ่ ไป’ มีรป ู ภาพในเฟซบุก ๊ กว่า 90 ภาพ กับ 90 เรือ ่ งราวการเดินทางของพระมหากษัตริยผ ์ ย ู้ งิ่ ใหญ่ในพืน ้ ทีก ่ ว่า 17 จังหวัด กับอีก 2 ประเทศ

issue 510 30 OCT 2017

“เราได้เรียนรู้เรื่องของในหลวง รัชกาลที่ 9 ทุกครั้งที่ได้ออกเดินทาง แต่สิ่งที่เห็นได้จากภาพรวมก็คือพระอัจฉริยภาพของในหลวง รัชกาลที่ 9 ที่พระองค์จะทรงคิดเสมอว่าในพื้นที่ ที่พระองค์พัฒนาหรือแก้ปัญหา อะไรคือสิ่งที่เหมาะสมที่สุดในพื้นที่นั้น จากนั้นจึงใช้วิธีเรียบง่ายในการลงมือปฏิบัติ สิ่งนี้ท� ำให้ผมทึ่งทุกครั้งที่เดินทางไปในแต่ละพื้นที่ เรารู้สึกเลยว่า มันคือก�ำไรของชีวิตที่ได้มาศึกษาสิ่งที่พระองค์ได้มอบไว้ให้กับพวกเราชาวไทย และอยากน�ำสิ่งเหล่านี้มาถ่ายทอดให้คนอื่นๆ ได้รู้ด้วย” หลายครั้งที่การเดินตามรอยในหลวงของเจมส์ท�ำให้เขาได้ค้นพบว่า พระองค์เสด็จพระราชด�ำเนินเป็นการส่วนพระองค์ไปยังพื้นที่นั้น พระองค์ยังทรงงานและเสร็จเยี่ยมเยียน ราษฎรอยู่เสมอ แม้ในเวลานอกเหนือจากการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ “ครั้งหนึ่ง ผมได้เดินทางไปโครงการวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ และได้พูดคุยกับ อาจารย์เกษม จันทร์แก้ว ผู้อำ� นวยการโครงการฯ อาจารย์ได้เล่าให้ผมฟังถึงหลักคิดหนึ่งของในหลวง รัชกาลที่ 9 ที่ว่า ‘Our loss is our gain.’ หรือ ‘ขาดทุนคือก�ำไร’ อาจารย์เล่าว่าโครงการนี้ใช้เงินต่อปีราว 25 ล้านบาท แต่ชาวบ้าน สร้างรายได้ได้ 120 บาทต่อปี รัฐอาจคิดไปว่ามันคือการลงทุนที่ขาดทุน แต่จริงๆ ผลประโยชน์ตกอยู่ที่ประชาชนแล้ว” เจมส์เล่าปิดท้ายถึงหลักคิดของพ่อที่เขาน้อมน�ำมาใช้เพื่อเดินทาง ต่อไป


25 ต�ำหนักจันทร์ วัดบวรนิเวศวิหาร 5 พฤศจิกายน 2499

ad K-Village adB510.pdf 1 24-Oct-17 12:14:27 PM

น�้ำตกพรหมโลก จ.นครศรีธรรมราช 15 มีนาคม 2502

ต้นยูงทอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต 3 พฤศจิกายน 2529


a day bulletin

FOODIE

26

เรื่อง : พิมพ์อร นทกุล ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล

Fresh Pasta with Smoked Sturgeon in Fennel SaUCE

issue 510

Recommended Recipes : Fresh Pasta with Smoked Sturgeon in Fennel Sauce BY Nuntaporn Leelaryonkul

30 OCT 2017

inspiration : “เรารู้ จั ก ร้ า นดอยค� ำ และ โครงการหลวงมานาน หลายปี ติดตามผลิตภัณฑ์ ใหม่ ๆ ที่ มี ม าวางจ� ำ หน่ า ย อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง พื ช ผั ก ผลไม้ สมุ น ไพรฤดู ห นาว หลายชนิดก็เป็นที่รู้จักและ ใช้ ใ นครั ว ไทยกั น มานาน แ ล ะ บ า ง ช นิ ด ก็ เ พิ่ ง เ ริ่ ม ออกวางจ� ำ หน่ า ยให้ เ รา

ได้ท�ำความรู้จักกับรสชาติ ใหม่ ๆ นอกจากนั้ น ยั ง มี ผลิตภัณฑ์จากเนือ ้ สัตว์ เช่น ปลารมควัน ทัง้ ปลาเทราต์ แ ล ะ ป ล า ส เ ต อ ร์ เ จี ย น ประจวบกับในช่วงฤดูกาลนี้ มี เ ฟนเนลซึ่ ง เป็ น ผั ก ที่ มี กลิ่ น หอมเย็ น นิ ย มน� ำ มา ปรุงอาหารประเภทปลา จึง เกิดความคิดที่อยากจะท�ำ ซอสพาสต้ า ที่ ใ ช้ เ ฟนเนล

แ ล ะ ป ล า ร ม ค วั น จ า ก โครงการหลวง เราตั้ ง ใจ ที่ จ ะปรุ ง รสให้ น้ อ ยที่ สุ ด มี แ ค่ เ กลื อ และพริ ก ไทย เท่ า นั้ น เพื่ อ คงรสชาติ ที่ แ ท้ จ ริ ง ข อ ง วั ต ถุ ดิ บ รั บ รู้ ถึ ง ความสดชื่ น ของ มะเขือเทศ รสชาติหอมหวาน ของเฟนเนล และหอม กลิ่ น รมควั น จากเนื้ อ ปลา สเตอร์เจียน”

พาสต้ า ปลาสเตอร์ เ จี ย นรมควั น ซอสเฟนเนลจานนี้ คือเมนูอาหาร ที่ ‘โอ’ - นั น ทพร ลี ล ายนกุ ล เชฟและเจ้ า ของเพจ The Dish Whisperer ได้รับแรงบันดาลใจ มาจากในหลวง รัชกาลที่ 9 โดย วัตถุดบ ิ ทีใ่ ช้ตงั้ แต่หวั หอม มะเขือเทศ เส้นพาสต้าสด ไปจนถึงเฟนเนล พื ช ป ร ะ จ� ำ ท้ อ ง ถิ่ น ข อ ง แ ถ บ เมดิ เ ตอร์ เ รเนี ย นนั้ น มาจาก โครงการหลวงของพระองค์ท่าน ทั้งสิ้น

Ingredients : หอมใหญ่ 1 ลูก / หอมแขก 1 ลูก / เฟนเนล 4 หัว / ม ะ เ ขื อ เ ท ศ 1 6 ลู ก / ปลาสเตอร์ เ จี ย นรมควั น 1 แพ็ ก / พาสต้ า สามสี โครงการหลวง 2 แพ็ก / เกลือและพริกไทยเล็กน้อย

RECIPE : 1. น�ำหอมลงผัดกับน�ำ้ มัน ตามด้ ว ยเฟนเนล และ มะเขือเทศ 2. ผัดจนมีกลิน ่ หอมก่อนใส่ ปลาสเตอร์เจียนลงไป 3. ปรุ ง รสด้ ว ยเกลื อ และ พริกไทยตามชอบ 4. ลวกเส้ น พาสต้ า สด คลุกเคล้ากับซอส เสิรฟ ์ กับ ปลาสเตอร์เจียนรมควัน


a day bulletin

THE CONVERSATION

เรื่อง : วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล

28

Healing Your Heart and Living Your Passion issue 510 30 OCT 2017

นพเก้า เนตรบุตร หรือ ‘ครูอา๋ ย’ ศิลปินปักลวดลายผ้า อดีตสาวนักโฆษณาทีร ่ ส ู้ ก ึ เบิรน ์ เอาต์จากงาน จึงออกเดินทาง ค้นหาตัวเองกลับคืนมา ด้วยการท�ำงานอดิเรกที่หลากหลาย เธอหัดเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ หลายอย่าง จนกระทั่งมาพบเจองาน อันเป็นทีร ่ ก ั งานทีอ ่ ดตาหลับขับตานอนท�ำจนดึกดืน ่ แล้วอยาก ตื่ น เช้ า ขึ้ น มาท� ำ ต่ อ ไปเรื่ อ ยๆ และคิ ด ว่ า จะเป็ น งานสุ ด ท้ า ย ของชีวต ิ นัน ่ คือการปักลวดลายผ้า


29 “ชีวิตคนเราผ่านไปแต่ละวันๆ ปีหนึ่งๆ ถ้าเราไม่ได้ท�ำอะไร มันก็ผ่านไปอย่างสูญเปล่า แต่ถ้าเราได้ท�ำงานที่รัก เมื่อเวลาผ่านไปแล้วหันมองกลับมา เห็นว่าตัวเองท�ำงานเสร็จเป็นชิ้นเป็นอัน ก็จะภูมิใจ สุขใจ”

Healing Your Heart จริงๆ เธอเริม่ ต้นหัดปักผ้าเมือ่ สีห่ า้ ปีมานีเ้ อง หลังจากการท�ำงานอยูใ่ นวงการโฆษณามาตัง้ แต่เรียนจบ จนอายุสสี่ บิ กว่าๆ ในตอนนั้นกระแสสโลว์ไลฟ์ก�ำลังมา พวกคนหนุ่มสาวแนวฮิปสเตอร์หันไปสนใจท�ำงานคราฟต์และแฮนด์เมด เธอไปเข้าคอร์สเรียนวิชางานฝีมือต่างๆ เพือ่ มาท�ำเป็นงานอดิเรก จนกระทัง่ ไปเรียนด้านการปักผ้า “ตอนแรกก็ปกั ผ้าไป ท�ำงานไป ถือว่าการปักผ้าเป็นการเยียวยาตัวเองแบบหนึง่ นอกจากนี้ เมือ่ ก่อนเคยชอบวาดรูป ถ่ายรูป เดินทางท่องเทีย่ ว แต่พอ ปักผ้าเป็นก็ไม่ได้ไปไหนอีกเลย ตอนเย็นหลังเลิกงานกลับมาถึงบ้านก็ปกั ผ้า วันหยุดตืน่ เช้ามาก็ปกั ผ้า จนในทีส่ ดุ ก็ลาออกจากงาน และหันมาเป็นครูสอนปักผ้า เป็นอาชีพ ตอนนัน้ ไม่คดิ เลยว่าจะมีรายได้พออยูไ่ ด้ไหม แค่อยากท�ำงานนีม้ าก รักและคิดถึงงานนีต้ ลอดเวลา และในทีส่ ดุ ถึงตอนนีก้ อ็ ยูไ่ ด้พอเพียง” ครูอา๋ ยแนะน�ำคนหนุม่ สาวทีท่ ำ� งานประจ�ำแล้วรูส้ กึ เบือ่ หรือเครียด ว่าควรหางานอดิเรกสนุกๆ เพือ่ ช่วยเยียวยาจิตใจ ในบางครัง้ งานอดิเรกอาจจะช่วย ให้เราค้นพบตัวเอง และเกิดความเปลีย่ นแปลงในตัวเองชัดเจน “จากเมือ่ ก่อนเป็นคนใจร้อน ขีเ้ หวีย่ ง ขีว้ นี เพราะในวงการโฆษณา เราต้องต่อสูต้ อ่ รองกับลูกค้าและเพือ่ นร่วมงานตลอดเวลา เราจึงสร้างเกราะป้องกัน ตัวเองขึน้ มา ใครพูดอะไรผิดไป เราก็จะเหวีย่ งใส่ไปก่อน แต่พอมาปักผ้า ก็รสู้ กึ ว่ามันเป็นงานเย็น รูส้ กึ ใจเย็นลง คงเพราะเซลล์สมองเปลีย่ นแปลงไป” เธอบอกว่าการท�ำงานฝีมอื เป็น ‘งาน 1 ต่อ 1’ หมายความว่าเมือ่ คุณปักลงไปแต่ละฝีเข็ม จะเกิดเป็นความคืบหน้าของงานทีละฝีเข็ม ทุกอย่างต้องลงมือ ท�ำตรงหน้าจึงจะเกิดเป็นผลงานออกมาจริง การท�ำงานฝีมอื แบบนีจ้ งึ ท�ำให้ผทู้ ำ� ได้เข้าสูค่ วามจริงของโลกมากกว่า “งานแบบนีท้ ำ� ให้เรายอมรับความเป็นไปรอบตัว ความจริงของโลก เข้าใจเหตุและผลว่าเกิดจากการลงมือท�ำของเราเอง ต้องลงมือท�ำ งานจึงจะส�ำเร็จ” ระยะหลังๆ มานี้ เพือ่ นมักจะทักว่าเธอใจเย็นลงมาก ชีวติ และจิตใจปรับเปลีย่ นไปในทางทีด่ ขี นึ้ และเมือ่ เธอน�ำวิชานีไ้ ปถ่ายทอด ลูกศิษย์ทมี่ านัง่ เรียน ก็พดู ตรงกันว่างานแบบนีช้ ว่ ยเยียวยา “อย่างน้อยทีส่ ดุ คุณรูส้ กึ ว่ามีผลงานส�ำเร็จออกมาตรงหน้า หลายคนทีม่ าเรียนไม่เคยคิดว่าตัวเองจะท�ำงานฝีมอื อะไรได้ ไม่คดิ ว่าฉันจะปักผ้าได้ เราเอง ถ้าเป็นเมือ่ สิบปีกอ่ น ก็ไม่เคยคิดหรอกว่าท�ำสิง่ นีไ้ ด้ ทุกคนกลัวไปก่อน บอกว่าฉันไม่มหี วั ทางด้านศิลปะ ฉันไม่ใช่คนแบบแม่พลอย ทีจ่ ะมานัง่ พับเพียบปักผ้า แต่พอลงมือท�ำจริงๆ ก็ได้ผลงานออกมาจริงๆ สิง่ นีท้ ที่ ำ� ให้คนท�ำงานภูมใิ จ และเป็นสุขใจ” เคล็ดลับทีส่ ำ� คัญ คือเมือ่ เราท�ำงานเสร็จออกมาชิน้ แรก สิง่ ดีๆ จะเกิดขึน้ ตามมา คือเราจะอยากลงมือท�ำชิน้ ต่อไปอีกเรือ่ ยๆ ครูอา๋ ยบอกว่า ขอเพียงให้ลงมือท�ำ อดทนท�ำออกมาให้เสร็จ แล้วเราทุกคนจะสามารถไปต่อไป

Living Your Passion

เราถามครูอา๋ ยว่า ให้ยอ้ นกลับไปมองถึงการท�ำงานออฟฟิศว่าไม่ดอี ย่างไร งานในวงการโฆษณานัน้ สูบกินพลังชีวติ คนท�ำงานมากเลยหรือ? เธอตอบว่า มันไม่ถงึ ขัน้ เลวร้าย เพียงแต่การท�ำงานออฟฟิศแตกต่างจากการท�ำงานฝีมอื เพราะผลงานของเราไม่ได้ออกมาเป็นรูปธรรมให้เห็น ถึงแม้งานโฆษณาจะช่วยสร้างธุรกิจและท�ำให้เศรษฐกิจเดินหน้าไป ตัวเธอเองท�ำงานในวงการโฆษณามาเนิน่ นาน ได้รบั รางวัลมามากมาย แต่กลับรูส้ กึ ถึง ความว่างเปล่าภายในใจตัวเอง ข้อดีประการหนึง่ ของงานประจ�ำ ตลอดทางทีท่ ำ� งานมา คือเธอได้เก็บเกีย่ วความรู้ ประสบการณ์ รสนิยม เรือ่ งราวข่าวสารใหม่ๆ รอบตัว จนเมือ่ มาเริม่ ต้นท�ำงานทีแ่ ท้จริงของตัวเอง ก็ได้นำ� มาประยุกต์ใช้ และได้พบคุณค่าของตัวเองกลับมา “ตอนท�ำงานโฆษณาก็สนุก แต่มนั ซ�ำ้ ซากจนเบือ่ การปักผ้าก็ซำ�้ ๆ เหมือนกัน แต่เรายังไม่เบือ่ เพราะเราลองศึกษาขัน้ สูงขึน้ ไปๆ คิดว่าจะไม่เบือ่ แน่นอน งานปักผ้าน่าจะเป็นงานสุดท้ายในชีวติ เพราะยังมีวชิ าด้านนีอ้ กี มากมายทีต่ อ้ งเรียนรูแ้ ละฝึกฝน เราก็ยงั รูส้ กึ ท้าทายไปได้เรือ่ ยๆ” ถึงแม้รายได้ในชีวติ ตอนนีจ้ ะไม่เท่ากับตอนท�ำงานโฆษณา แต่กพ็ ออยูพ่ อกิน ครูไม่ได้ทำ� งานปักผ้าขาย แต่ยดึ เอาการเป็นครูสอนเป็นงานทีท่ ำ� ให้มรี ายได้ มากกว่า ลูกศิษย์มาเรียนแล้วก็มคี วามสุข และสามารถน�ำไปเป็นวิชาชีพได้ นัน่ ก็เท่ากับว่างานทีร่ กั สามารถไปเป็นประโยชน์ตอ่ คนอืน่ ได้ดว้ ย “ถึงแม้วา่ งานปักผ้าจะถือว่าเป็นงานทีเ่ ล็กน้อยมากๆ แต่กเ็ ป็นหนึง่ ในงานเล็กๆ เหมือนงานอืน่ ๆ นัน่ แหละ ทีเ่ ป็นประโยชน์จริงๆ ได้” ครูอา๋ ยบอก อย่างน้อยที่สุดมันก็ให้ความงาม ขั้นต่อมามันให้ความสุข และส�ำหรับบางคน มันเป็นวิชาชีพ ครูอ๋ายสรุปว่า งานที่ดีคืองานที่ให้ความสุขกับตัวเอง และเป็นประโยชน์กบั ผูอ้ นื่ “คุณต้องลองนะ ลองค้นหาดู ทดลองท�ำหลายๆ งาน ลองท�ำในฐานะทีเ่ ป็นงานอดิเรกไปก่อน แล้วคุณอาจจะเจองานทีเ่ ป็นงานทีแ่ ท้จริงของชีวติ ของคุณเอง” ครูอา๋ ยเล่าถึงเพือ่ นสนิทคนหนึง่ ทีช่ อบเล่นไพ่จนี เล่นแบบอดหลับอดนอน พวกเขาคุยกันว่างานอดิเรกเป็นเกมการละเล่นเล็กน้อยแบบนีจ้ ะเป็นประโยชน์ อะไรได้ จนได้ขอ้ สรุปว่า ถ้าเราไปสอนคนแก่ให้หดั เล่นบ้าง จะได้ฝกึ สมอง ไม่เป็นอัลไซเมอร์ เพราะไพ่จนี เล่นยาก ต้องใช้ความจ�ำเยอะมาก แบบนีง้ านอดิเรก เล็กๆ น้อยๆ ของเราก็กลายเป็นประโยชน์ขนึ้ มาได้ “เหมือนงานปักผ้า มันเป็นงานจิ๊บจ๊อย เล็กน้อยมาก แต่ก็เล็กน้อยเหมือนกับงานอื่นๆ งานของเราไม่ต้องยิ่งใหญ่อะไรก็ได้ เพราะในความเล็กน้อยนี้ ก็เป็นประโยชน์ตอ่ ผูอ้ นื่ ได้ แค่นกี้ เ็ พียงพอแล้ว” ครูยำ�้ เตือนว่า ชีวติ คนเราผ่านไปแต่ละวันๆ ปีหนึง่ ๆ ถ้าเราไม่ได้ทำ� อะไร มันก็ผา่ นไปอย่างสูญเปล่า แต่ถา้ เราได้ทำ� งานทีร่ กั เมือ่ เวลาผ่านไปแล้วหันมอง กลับมา เห็นว่าตัวเองท�ำงานเสร็จเป็นชิน้ เป็นอัน ก็จะภูมใิ จ สุขใจ

Inspired by the King

ก่อนหน้านี้ ครูอา๋ ยไม่เคยปักภาพในหลวง รัชกาลที่ 9 มาก่อน เพราะถือว่าเป็นของสูง เธอมิกล้าอาจเอือ้ ม จนกระทัง่ วันที่ 13 ตุลาคม เมือ่ ปีทแี่ ล้ว เริม่ มี ข่าวเกีย่ วกับอาการประชวรเผยแพร่ออกมา เธอจึงตัดสินใจเลือกรูปภาพทีเ่ ธอรักและหยิบผ้าขึน้ มาลงมือปักลาย เพือ่ ส่งแรงใจและถวายพระพร ผลงานภาพนัน้ ได้ลงในนิตยสาร a day ในช่วงเดือนหลังจากนัน้ “คนรุน่ เราเติบโตมากับช่วงเวลาทีใ่ นหลวง รัชกาลที่ 9 มีพระราชกรณียกิจต่างๆ พวกเราเห็นด้วยความเคยชินในข่าวทางทีวี จนกระทัง่ เราไม่มที า่ นแล้ว จึงส�ำนึกได้ว่าเรื่องราวเหล่านั้นช่างมากมาย และส่งผลดีต่อประเทศชาติและประชาชนทุกหมู่เหล่า ปีที่ผ่านมา เราไปร่วมท�ำสารคดีกับรายการ Heart Work ทีโ่ ครงการดอยค�ำ จังหวัดเชียงใหม่ ขนาดในทุกวันนีย้ งั ล�ำบากทุลกั ทุเล เรานึกเทียบกับเมือ่ สีส่ บิ ห้าสิบปีกอ่ นทีพ่ ระองค์ทา่ นเสด็จไป ต้องทุรกันดารกว่านีไ้ ม่รกู้ เี่ ท่า ท่านบุกเบิกทุกสิง่ ทุกอย่างไว้ พอได้ไปเห็นก็รสู้ กึ ซาบซึง้ ในหัวใจ” ครูอา๋ ยบอกกับ a day BULLETIN ว่า ในหลวง รัชกาลที่ 9 เป็นแรงบันดาลใจให้กบั การท�ำงานของเธอ เมือ่ ได้เห็นว่าคนอืน่ ท�ำงานหนักกว่า เหนือ่ ยยากกว่า เธอเองก็ไม่อยากบ่นเบือ่ อะไรอีก เธออยากลงมือท�ำงานทีร่ กั อยากให้ผลของงานนัน้ ได้ถกู ส่งต่อ และเป็นประโยชน์ตอ่ คนอืน่ ต่อไป


a day bulletin

,

Editor s Note

30

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness

Why We Work

issue 510 30 OCT 2017

มักจะมีนอ้ งๆ มาถามว่า ผมท�ำงานมานานแค่ไหน พอตอบไปว่ายีส่ บิ กว่าปีแล้ว พวกเขามักจะท�ำหน้า ประหลาดใจ ผมถามว่า เพราะพี่ดูหน้าเด็กมากเหรอ พวกเขาบอกเปล่า แค่คดิ ว่าพีค่ งจะต้องรักในงานนีม้ ากแน่ๆ รักในงานนี้เหรอ? ผมนึกในใจ หลายปีกอ่ นผมเคยจัดรายการพอดแคสต์รว่ มกับเพือ่ น มีรายการตอนหนึ่งเนื่องในโอกาสวันแม่ ผมสัมภาษณ์ป๊า และแม่ตวั เอง เพราะถือว่าทุกคนล้วนมีเรือ่ งเล่าของตัวเอง และอยากบันทึกเสียงสัมภาษณ์พวกเขาเก็บไว้เป็นทีร่ ะลึก เราคุยกันถึงเรื่องราวต่างๆ ที่ผ่านมาในชีวิต มีอยู่ ช่ ว งหนึ่ ง เราถามพวกเขาเรื่ อ งการงานอาชี พ ว่ า ท�ำ ไม เขาถึงได้มาท�ำงานค้าส่งเส้นก๋วยเตี๋ยว พวกเขาบอกว่า มั น เป็ น อาชี พ ที่ สื บ ทอดต่ อ มาในครอบครั ว ของเรา จากคนรุ่นอากงอาม่า เราถามเขาว่า ท�ำงานนี้มานานกี่ปี เขากลอกตาไปมาค�ำนวณในใจ ตั้งแต่อายุยี่สิบจนถึง ห้าสิบกว่าๆ รวมแล้วก็เกือบสี่สิบปี ผมเกิดและเติบโตมา ตัง้ แต่จำ� ความได้กเ็ ห็นพวกเขา ท�ำงานนี้มาตลอด และไม่คิดว่ามันเป็นงานที่น่าสนุกหรือ มีความท้าทายอะไร พวกเขาตืน่ ตีสคี่ รึง่ เข้านอนเทีย่ งคืน ระหว่างวันท�ำงาน จัดส่งเส้นก๋วยเตีย๋ วให้กบั ร้านอาหารละแวกบ้าน ท�ำงานกัน แบบไม่เคยมีวันหยุดพักผ่อน เพราะถ้าหยุด ร้านอาหาร เหล่านี้ก็จะหันไปซื้อเส้นก๋วยเตี๋ยวจากร้านอื่นทันที ผมสงสัยว่า พวกเขารักในงานนีเ้ หรอ? เราถามเขาว่า ได้อะไรจากการท�ำงานนี้มาอย่างยาวนาน แม่ บ อกว่ า งานนี้น ่ า เบื่อ หน่ า ยและยากล� ำ บาก พวกเขาเหนือ่ ยสายตัวแทบขาด จนมาถึงตอนนี้ แค่คดิ ย้อน กลับไปก็ยังรู้สึกกลัว ไม่รู้ว่าครอบครัวเราผ่านช่วงเวลานั้น มาได้อย่างไร ป๊าบอกว่า อย่างไรก็ตาม ในระหว่างวันที่ก�ำลัง ออกไปตะลอนส่ ง ก๋ ว ยเตี๋ ย วแล้ ว นึ ก ถึ ง ลู ก ๆ ที่ ก� ำ ลั ง เรียนหนังสืออยู่ในโรงเรียนชั้นน�ำ เขาก็มีความสุขใจ

แม่ฟังแล้วก็หัวเราะชอบใจใหญ่ ผมได้เรียนรู้จากวันนั้นว่า สิ่งที่ผลักดันให้คนท�ำงาน ไม่ใช่แค่เรื่องความรักในงาน ความคิดเกี่ยวกับงานเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ในสังคมสมัยเก่า เราเลือกงานตามบรรพบุรุษที่สืบทอด ต่อกันมา พอมาในยุคสมัยใหม่ หลังจากที่โลกนี้มีระบบ อุตสาหกรรมและทุนนิยมเสรี และมันได้สร้างงานเพิ่มขึ้น มา เราเลือกงานตามตัวเลขรายได้และความร�่ำรวย ดังนัน้ ทัง้ ชีวติ ของคนรุน่ เดียวกับผม หลังจากทีไ่ ด้รบั การศึกษาเล่าเรียนสูงขึ้น เราพยายามถีบตัวเองให้ขึ้นไป สูงขึน้ หลีกหนีจากงานของทีบ่ า้ น เพราะมองว่าเหน็ดเหนือ่ ย สกปรกเลอะเทอะ ต๊อกต๋อย ไปท�ำงานในองค์กรธุรกิจ ชั้นน�ำ ดูดีมีหน้ามีตา มีเงินเดือนจับจ่ายใช้สอย การท�ำงานนีม้ านานยีส่ บิ กว่าปี ท�ำให้ผมได้หดั เขียน หนังสืออย่างคมคาย ได้มโี อกาสพบเจอกับคนดังมากมาย ขึ้นบนเวทีทอล์กมีไฟสาดส่อง ได้ออกทีวี บางครั้งก็มีสื่อ ชั้นน�ำมาขอสัมภาษณ์เรื่องราวแห่งแรงบันดาลใจ ถามว่ารักในงานนีเ้ หรอ? ผมไม่รวู้ า่ จะตอบว่าอย่างไร ดู เ หมื อ นว่ า ความรั ก ในงานจะกลายเป็ น เรื่ อ ง ส�ำคัญมากส�ำหรับยุคปัจจุบัน เท่าที่จ�ำได้ ก่อนหน้านี้ ยังไม่มีใครพูดถึงค�ำว่าแพสชัน ความฝัน ความเป็นตัวเอง หรืออะไรท�ำนองนั้น การตั้งค�ำถามกับอาชีพการงาน เป็นปฏิกิริยาของ คนรุ่นนี้ที่มีต่อคนรุ่นก่อนหน้า พวกเขาไม่เชื่อในระบบ เศรษฐกิจแบบสะสมและแลกเปลี่ยน พวกเขาไม่ต้องการ ท�ำงานที่ไร้ความหมายต่อตัวเอง เพียงเพื่อจะได้สะสม เงินทอง แล้วน�ำไปแลกเปลีย่ นเอาความหมายมาใส่ตวั เอง พวกเขาต้องการให้งานที่ท�ำนั้นมีความหมาย หนังสือฮาวทู ไลฟ์โค้ช หรือนักคิดนักเขียนต่างๆ พยายามสอนเรื่ อ งความรั ก ในงาน ตามหาแพสชั น เดินทางตามความฝัน เมื่อคุณเลือกงานที่ตรงกับตัวเองได้ แล้วคุณจะได้มีความสุขความส�ำเร็จตลอดไป

แต่ทางเลือกนัน้ บางทีเป็นเรือ่ งของคนเพียงแค่บางกลุม่ เท่านัน้ ยังมีคนอีกกลุ่มไม่มที างเลือกอืน่ ใด ไม่มกี ารศึกษา ฐานะยากจน ขาดโอกาสทางสังคม คุณได้ทำ� งานที่ไม่ได้ ดูสวยหรูเด่นดัง หรือร�่ำรวยอะไร ถามว่ารักในงานนี้เหรอ? พวกเขาก็จะตอบไม่ได้ เช่นกัน แต่ละยุคสมัยเป็นปฏิกริ ยิ าต่อยุคสมัยทีอ่ ยูก่ อ่ นหน้า เรามีความคิดต่อเรือ่ งงาน ด้วยการทะเยอทะยานออกไปให้ ไกลกว่าคนรุ่นก่อนหน้า คนรุ่นผมหนีไปหาความร�่ำรวย หรูหรากว่าคนรุ่นพ่อแม่ คนหนุ่มสาวรุ่นใหม่หนีออกไป หาความหมายของชีวติ ทีด่ กี ว่าคนรุน่ ผม ถึงที่สุดแล้ว เหตุผลในการท�ำงานของเราคืออะไร กันแน่? ผมคิดว่าไมใช่เรื่องความรักในงาน แต่มันเป็นเรื่อง ความหมายทีง่ านนัน้ ให้เราต่างหาก การงานทีแ่ ท้จริงคือการงานทีท่ ำ� แล้วให้ความหมาย กับชีวิตเรา เกิดมาท�ำไม มีชีวิตอยู่ไปเพื่ออะไร และฉัน คือใคร ด�ำรงอยู่ ณ แห่งหนต�ำบลใดในโลกใบนี้ งานที่ดูเหมือนว่าไม่มีความหมายกลับกลายเป็น มีความหมายขึ้นมา ด้วยการที่ผู้ท�ำงานให้ความหมาย กับมัน เหมือนกับคนรุน่ พ่อแม่สละความต้องการของตัวเอง ความหวัง ความฝัน ความทะเยอทะยาน เพือ่ ให้คนรุน่ หลัง ได้ทำ� สิง่ นัน้ แทน นีค่ อื เหตุผลว่าพ่อแม่ถงึ ได้รกั ลูก เพราะเราคือผลพวง จากแรงงานของเขา ดังนั้น เราอาจจะไม่จ�ำเป็นจะต้องค้นหาค�ำตอบ ทัง้ หมดของตัวเองให้เจอ เพือ่ จะได้เจองานทีด่ ี เพราะการท�ำงานไป มีงานก็ทำ� งาน ก็เป็นอีกหนทางหนึง่ ซึง่ เราสามารถ ค้นหาความหมายของชีวิตจากงานนั้นได้ด้วยเช่นกัน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.